คุยกับภูมิสถาปนิก

Page 1


บทนำ�

‘คนจัดสวน’ เป็นค�ำที่เราจะได้ยินบ่อยๆ เมื่อคนใช้อ้างอิง ถึงภูมิสถาปนิกในอดีต และแน่นอนเป็นค�ำค�ำหนึ่งที่ ภูมิสถาปนิกเกลียดมาก เพราะภูมิสถาปนิกไม่ใช่แค่คน จัดสวน และเมื่ออ้างถึงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ก็จะจบลงที่เจ้าของโครงการบอกว่าเป็นคนชอบปลูกต้นไม้ จึงไม่จ�ำเป็นต้องจ้างภูมิสถาปนิก แต่ปัจจุบันบทบาทของ ภู มิ ส ถาปนิ ก ได้ มี อิ ท ธิ พ ลกั บ งานออกแบบอย่ า งมาก โดยเฉพาะกับงานสถาปัตยกรรม จนคนทั่วไปรู้จักบทบาท และความส�ำคัญของเขาเหล่านั้นมากขึ้น และผลงานก็ได้ พิสูจน์ให้เห็นว่าไม่ใช่แค่คนจัดสวน ถ้าจะพูดจริงๆ แล้ว จากการสัมภาษณ์ภมู สิ ถาปนิกหลายท่าน ก็ยอมรับว่าไม่ได้ มีความรูเ้ รือ่ งต้นไม้ดมี ากนัก หรือรูจ้ กั ต้นไม้ทกุ ต้น แต่เน้น ที่จะให้ความส�ำคัญของการจัดวางของพื้นที่ว่าง การใช้งาน และรูปทรงของต้นไม้มากกว่า รวมทัง้ ให้ความส�ำคัญกับความ สัมพันธ์ของงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิสถาปัตยกรรม ในแต่ละโครงการเป็นหลัก ในงานออกแบบโครงการไม่วา่ ใหญ่หรือเล็ก ภูมสิ ถาปัตยกรรม ทีด่ ียอ่ มมีสว่ นส่งเสริมภาพลักษณ์และเพิ่มมูลค่าให้กบั งาน ได้อย่างมาก บางโครงการในปัจจุบนั งานภูมสิ ถาปัตยกรรม มีสว่ นช่วยส่งเสริมงานออกแบบและมีบทบาทส�ำคัญมากขึน้ อย่างเห็นได้ชดั ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบการจัดวางองค์ประกอบ ทางภูมทิ ศั น์ทแี่ ปลกแตกต่างจากเดิม โดยมีวธิ กี ารใช้พชื พันธุ์ ที่น่าสนใจ มีรูปแบบหลากหลายและมีเอกลักษณ์มากขึ้น รวมทั้งยังมีบทบาทในการอนุรักษ์พลังงานหรือลดโลกร้อน


โดยเฉพาะโครงการที่ต้องท�ำการวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อม (EIA) ต้องขอขอบคุณภูมสิ ถาปนิกไทยในปัจจุบนั ที่ได้ท�ำให้คนทั่วไปหันมาสนใจงานภูมิสถาปัตยกรรมและ เห็นถึงความส�ำคัญของงานภูมสิ ถาปัตยกรรมมากขึน้ ท�ำให้ พวกเราสถาปนิกไม่ตอ้ งมาท�ำหน้าทีอ่ อกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม แทนแบบรู้บ้างไม่รู้บ้าง เพราะเจ้าของไม่ยอมจัดจ้าง ภูมสิ ถาปนิกอีกต่อไปแล้ว และเพือ่ ให้สงั คมของนักออกแบบ ไทยมีพฒ ั นาการทีด่ ขี นึ้ ไม่สำ� คัญว่าต�ำแหน่งของคุณจะเป็น คนจัดสวน ภูมสิ ถาปนิก สถาปนิก มัณฑนากร หรือช่างไฟ ทุกคนล้วนแต่มีบทบาทส�ำคัญและเป็นส่วนจ�ำเป็นกับงาน ทุกงาน ขึน้ อยูก่ บั ว่าคุณให้คำ� จ�ำกัดความของตัวเองอย่างไร และไกลแค่ไหนที่คุณอยากจะไปหรืออยากจะเป็น และขอ ภูมใิ จกับภูมสิ ถาปนิกไทยทีม่ คี วามสามารถจนเป็นทีย่ อมรับ ในต่างประเทศ เป็นความภูมใิ จของวงการออกแบบไทยอย่างยิง่ สุดท้ายนี้ เอาเป็นว่าที่แน่ๆ เขาเหล่านี้ไม่ใช่ ‘คนจัดสวน’ อย่างแน่นอน แต่ถ้าจะให้พูดกันถึงบทบาท หน้าที่ และ ความหมายของภูมสิ ถาปนิก แม้แต่สถาปนิกด้วยกันยังให้คำ� จ�ำกัดความได้ไม่เหมือนกัน และก็ไม่แน่ใจว่าค�ำจ�ำกัดความ ที่ให้จะถูกใจภูมิสถาปนิกทุกคนหรือเปล่า ทางที่ดีที่สุดต้อง ถามจากเจ้าตัวว่าเขาคือใคร บทบาทของเขาเหล่านั้นเป็น อย่างไร หวังว่าบทสัมภาษณ์ในหนังสือเล่มนี้จะช่วยให้เรา เข้าใจ ‘ภูมิสถาปนิก’ มากขึ้นตามสมควร สิวิชัย อุดมวรนันท์ สัมภาษณ์


สารบัญ


P LANDSCAPE

วรรณพร พรประภา

017++


++ 054

LANDSCAPE ARCHITECTS OF BANGKOK ธวัชชัย กอบกัยกิจ ธัชพล สุนทราจารย์ บุณฑริกา วรรณพิณ สมเกียรติ โชควิจิตรกุล


P.L. DESIGN

วีระพันธ์ ไพศาลนันท์

090++


++ 122

LANDSCAPE ARCHITECTS 49 ปรีดาพนธ์ บัณฑิตยานนท์ อารักษ์ อุยยามะพันธุ์


SHMA

นำ�ชัย แสนสุภา ประพันธ์ นภาวงศ์ดี ยศพล บุญสม

162++


14

++ 214

TROP

ป๊อก คบคงสันติ

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


15

CHUCHAWAL


16

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


17

วรรณพร พรประภา P Landscape

+

+กระบวนการท�ำงานควรจะเป็นเส้นทางที่มีความสุขใจ เกิดขึ้นด้วย ส่วนเรื่องความสมบูรณ์แบบ การควบคุมที่เข้มงวด เป็นเรื่องฝืนธรรมชาติ งานช่วงหลังของเราเปลี่ยนไปบ้างในเชิงที่สัมพันธ์ กับบริบทโดยรอบมากขึ้นและก็ยอมรับ กับการเปลี่ยนแปลงที่เราควบคุมไม่ได้

P LANDSCAPE


30

+เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องส�ำคัญ

ที่ซับซ้อนละเอียดอ่อนและท้าทายในการท�ำรีสอร์ต เพราะมักจะผกผันกับการลงทุนทางธุรกิจ ในเชิงของเจ้าของ ส�ำหรับเรางานรีสอร์ต เรื่องของ site preservation ส�ำคัญมาก การรักษาและส่งเสริมสิ่งที่มีอยู่ เป็นสิ่งที่ยากล�ำบาก และต้องอดทนจริงๆ สิวิชัย: ช่วงหลังมานี้งานของภูมิสถาปนิกมีขอบข่ายกว้างมากขึ้น เน้นเรื่องคอนเซปต์และแนวคิดการจัดการ ไม่เหมือนกับ สมัยก่อนที่คนเข้าใจว่าแลนด์สเคปคือการเอาต้นไม้มาจัด องค์ประกอบ วรรณพร: ค่ะ ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐเข้าใจถึงขอบเขตของงาน ภูมสิ ถาปัตยกรรมมากขึน้ เรียกว่าขอบเขตงานนัน้ มีตงั้ แต่งาน วางผังระดับมหภาค งานอนุรกั ษ์ภมู ทิ ศั น์ งานภูมทิ ศั น์เมือง ภูมทิ ศั น์ถนน เป็นงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวติ สิง่ แวดล้อม และระบบนิเวศน์ ไม่ใช่แค่เรือ่ งจัดสวนอย่างเดียว ในส่วนของภาครัฐก็มีการน�ำภูมิสถาปนิกมามีส่วนร่วมใน กระบวนการท�ำงานเพิ่มขึ้น สิวิชัย: การท�ำงานที่เน้นเรื่องของกระบวนการ บางครั้งอาจจะมี ความต้องการจากสามส่วน จากคนทัว่ ไป จากเจ้าของหรือคน ทีม่ อี ำ� นาจในการตัดสินใจ รวมถึงจากดีไซเนอร์เอง ในกรณี CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


31

วรรณพร:

สิวิชัย: วรรณพร: สิวิชัย: วรรณพร:

ทีม่ คี วามต้องการแตกต่างกัน มีวธิ ที จี่ ะให้ความรูห้ รือชักจูง ทุกฝ่ายไปในทางไหนเพื่อให้งานส�ำเร็จครับ ทีส่ ำ� คัญคือการรับฟังและท�ำความเข้าใจ หมายถึงพยายาม เข้าใจภูมหิ ลังของแต่ละคน ความต้องการและวิธคี ดิ ของผูอ้ นื่ ว่าอะไรเป็นเหตุทคี่ ดิ ต่าง และเอามาพิจารณากลับกับความ ต้องการความคิดของเรา ทีไ่ ม่ได้แปลว่าจะถูกหรือเป็นสิง่ ดี ที่สุดเสมอไป จากนั้นก็คงเป็นการสื่อสารที่ต้องมีทัศนคติ เป็นบวก การสือ่ สารทีม่ าจากความคิดทีว่ า่ จะท�ำงานให้ออกมา ดีและเหมาะสมในองค์รวมมากกว่าเอาความคิดของเราที่ อาจจะดีแต่เป็นแค่ด้านเดียวเป็นหลัก การท�ำงานที่เน้น กระบวนการจะเห็นได้ชดั จากงานทีเ่ กีย่ วข้องกับภาครัฐ เช่น งานภูมิทัศน์เมือง เพราะสิ่งที่ส�ำคัญเริ่มตั้งแต่นโยบาย กระบวนการทีท่ ำ� งานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ เรือ่ งของ กฎหมายข้อบังคับต่างๆ ก็เลยไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะท�ำให้สิ่งที่ เหมือนง่ายเกิดขึ้น เช่น แค่การตัดแต่งต้นไม้ใหญ่ริมถนน ให้ถกู วิธกี ด็ เู หมือนว่าท�ำไมท�ำไม่ได้สกั ที ทัง้ ๆ ทีท่ ราบว่าทาง กทม. ก็ได้เชิญภูมิสถาปนิกไปให้ความรู้อยู่บ่อยครั้ง คิดว่า เกิดจากระบบการท�ำงานที่เป็นแบบแยกส่วน การเชิญภูมสิ ถาปนิกเข้ามา เพิง่ มีมาในยุคหลังหรือเปล่าครับ เท่าที่ทราบคงมีนานแล้วนะคะ เช่นทราบว่าอาจารย์เดชา ได้รับเชิญไปให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่กทม.อยู่เรื่อยๆ หรือ ทางสมาคมภูมิสถาปนิกฯ ก็เช่นกัน งานประเภทไหนที่คิดว่ายากที่สุดครับ ส�ำหรับเราคงเป็นงานทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบายภาครัฐ เพราะมี ปัจจัยอืน่ เหนือความควบคุมของเราไปอีกมากทีจ่ ะให้เกิดผล เป็ น รู ป ธรรมได้ งานพวกแลนด์ ส เคปสาธารณะนี้ ยั ง P LANDSCAPE


40

+งานที่ดีที่มีคุณภาพจะเกิดจากทีม ที่แม้มีความถนัดคนละทาง แต่ก็มีความเข้าใจส่วนอื่นๆ และท�ำงานส่งเสริมกันได้ดี

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


41

สิวิชัย: การจบสายสถาปัตย์แล้วมาเป็นภูมสิ ถาปนิกมีขอ้ ได้เปรียบ ไหม วรรณพร: ภูมิสถาปนิกที่สนใจงานสถาปัตย์และงานอินทีเรียก็น่าจะ ได้เปรียบ กว่าคนที่ไม่สนใจ เพราะสามารถสร้างงานที่มี ความเป็นองค์รวมได้มากขึ้น ถ้าเราชอบงานสถาปัตย์ และอินทีเรียด้วยเวลาเริ่มท�ำงานท�ำให้ตั้งใจดูแบบให้เข้าใจ มากก่อน ท�ำให้งานของเราส่งเสริมกันได้ ในทางกลับกัน สถาปนิกแต่ละคนก็ไม่เหมือนกัน มีทรรศนะและกระบวน การท�ำงานกับงานภูมสิ ถาปัตยกรรมต่างกันด้วย มีตงั้ แต่คน ทีช่ อบแลนด์สเคปมีความรูแ้ ละให้ความส�ำคัญมากๆ หรือคน ที่มองแบบตัดขาดเป็นชิ้นๆ หรือคนที่ชอบคอนโทรลมากๆ กับคนที่ให้อิสระให้ความร่วมมือส่งเสริมกันมากในการ ท�ำงาน เชือ่ ว่างานทีด่ ที มี่ คี ณ ุ ภาพจะเกิดจากทีม ทีแ่ ม้มคี วาม ถนัดคนละทางแต่ก็มีความเข้าใจส่วนอื่นๆ และท�ำงาน ส่งเสริมกันและกันได้ดี สิวิชัย: ถ้ามีคนบอกว่าการที่ได้รับโอกาสดีกว่าคนอื่นๆ เป็นเพราะ นามสกุลหรือเพราะหน้าตาสวย รู้สึกอย่างไร คิดว่ามีส่วน ไหมครับ วรรณพร: ก็คงไม่ปฏิเสธในเรือ่ งของโอกาสค่ะ เราเกิดในครอบครัวใหญ่ ที่ท�ำธุรกิจมีเครือข่ายที่ท�ำให้รู้จักคนซึ่งท�ำธุรกิจ ท�ำให้มี โอกาสได้ท�ำงานมากขึ้น เรียกว่าประตูแห่งโอกาสอาจจะ เปิดกว้าง แต่ถา้ มีโอกาสแล้วท�ำไม่ได้ดกี ค็ งต้องจบอยูต่ รงนัน้ หรือถ้าหน้าตาดีแล้วท�ำงานไม่ได้เรือ่ งก็คงแย่เหมือนกัน สรุป ว่าถ้าเราสมมติตัวเองเป็นเจ้าของคงไม่อยากเสี่ยงมาให้ท�ำ แค่เพราะรูจ้ กั กันหรือชอบหน้าตา เมือ่ ก่อนได้ฟงั คนพูดแบบนี้ ก็น้อยใจเสียใจเหมือนกัน เพราะอยากให้คนชมว่าเก่งด้วย P LANDSCAPE


54

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


55

ธวัชชัย กอบกัยกิจ ธัชพล สุนทราจารย์ บุณฑริกา วรรณพิณ สมเกียรติ โชควิจิตรกุล LANDSCAPE ARCHITECTS OF BANGKOK

+

+เราบอกลูกค้าเสมอว่าเราเชื่ออะไร

และเราอยากจะท�ำอะไร เพราะนอกจากเขาจะได้ สิ่งที่เขาอยากได้แล้ว ในฐานะภูมิสถาปนิก เราก็จะใส่สิ่งที่เราคิดว่าเหมาะสมลงไปด้วย LANDSCAPE ARCHITECTS OF BANGKOK


56

ภูมสิ ถาปนิกกรุงเทพ (Landscape Architects of Bangkok, LAB) ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2552 มีผลงานการออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรมโครงการหลากหลาย ประเภททัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ อาคารพักอาศัย อาคารพาณิชย์ สถาบันการศึกษา โครงการ mix-used และสวนสาธารณะ มีผลงานเป็นทีร่ จู้ กั เช่น ศูนย์การค้า เดอะไนน์ เซ็นเตอร์ พระรามเก้า ธนาคารแห่งประเทศไทย คิง เพาเวอร์ ศรีวารี รวมถึงได้เข้าร่วมประกวดแบบโครงการระดับประเทศ ในหลายๆ โอกาส และได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ โครงการประกวดแบบ ลานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช LAB เป็นการรวมตัวกันของภูมสิ ถาปนิกสีค่ นทีม่ ปี ระสบการณ์การท�ำงานทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ น�ำโดยธวัชชัย (หนุม่ ) ต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การ ร่วมด้วยธัชพล (จอร์จ) บุณฑริกา (นุน่ ) และสมเกียรติ (บอย) ในต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการออกแบบ ปัจจุบนั LAB ให้ความส�ำคัญในการน�ำประเด็นเรือ่ ง สิง่ แวดล้อม รวมถึงกระบวนการคิดและการทดลองใหม่ๆ มาเป็นแนวคิดหลัก ในการออกแบบ CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


57

Landscape Architects of Bangkok

สิวิชัย: ไม่ทราบว่าทุกท่านเรียนจบด้านภูมสิ ถาปัตยกรรมมากันหมด เลยหรือไม่ครับ ธวัชชัย: ใช่ครับ ส�ำหรับผมหลังจากทีเ่ รียนจบ ผมก็ไปท�ำงานกับอาจารย์ วีระพันธ์ (วีระพันธ์ ไพศาลนันท์) ทีบ่ ริษทั P.L. Design ถ้านับกัน ผมเป็นดีไซเนอร์รนุ่ แรกทีน่ นั่ ทีจ่ บจากจุฬาฯ ตอนนัน้ ประมาณ ปี 2536 อาจารย์เพิ่งเริ่มตั้งออฟฟิศที่อพาร์ตเม้นต์ที่ อาจารย์ พั ก แถวสามเสน จากนั้ น ผมก็ ไ ปเรี ย นต่ อ ที่ อิลลินอยส์ (University of Illinois) at Urbana-Champaign สิวิชัย: หลักสูตรการเรียนที่เมืองนอกแตกต่างจากเมืองไทยมาก ไหมครับ ธวัชชัย: ทีอ่ ลิ ลินอยส์มกี ารสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง human behavior เพือ่ ให้ นักออกแบบเข้าใจว่าเรือ่ งนีม้ ผี ลอย่างไรกับการออกแบบบ้าง และอีก approach ทีไ่ ด้เรียนเพิม่ เติมคือเรือ่ งสภาพแวดล้อม ที่นี่จะเน้นสอนเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมเหมือนกับการ เรียนภูมสิ ถาปัตยกรรมทัว่ ๆ ไป ก็แปลกดีวา่ การเรียนการสอน LANDSCAPE ARCHITECTS OF BANGKOK


64

การพรีเซ้นต์ แต่ไม่ได้ครอบคลุมถึงการก่อสร้าง เพราะโปรเจ็กต์ ส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ในประเทศนั้น และเรื่องของภาษาด้วย ภาษาจีนเป็นภาษาทีเ่ ราสือ่ สารไม่ได้อยูแ่ ล้ว

+เราท�ำตัวเลือกค่อนข้างเยอะมาก

กว่าจะส่งไปให้ลูกค้า บางทีส่งไปสาม แต่เบื้องหลังเป็นสิบ และพยายามจะให้น้องๆ มีส่วนร่วมในการคิดทุกคน ไม่ใช่เจ้าของออฟฟิศ เป็นคนคิดว่าต้องท�ำแบบไหน เรามีการประกวดแบบ กันตลอดเวลา เน้นการช่วยกันคิด เหมือนกับการท�ำทดลองในแล็บ เพื่อให้ได้งานที่ดีที่สุดออกไปจากออฟฟิศเรา สิวิชัย: ชือ่ ออฟฟิศมาจากอะไรครับ ธัชพล: ตอนแรกเราอยากได้ชอื่ กลางๆ เพราะอยากท�ำให้เป็นองค์กร ระยะยาว ไม่คดิ ว่าจะจบแค่เราสีค่ น อนาคตองค์กรควรจะไป ต่อได้ดว้ ยองค์ความรูท้ สี่ งั่ สมมา เราเลยคิดชือ่ Landscape Architects of Bangkok (LAB) ขึน้ มา ซึง่ ก็ฟงั ดูกลางๆ ดี และอยูท่ กี่ รุงเทพฯ มัน represent ความเป็นสากล บุณฑริกา: ชือ่ ย่อ ‘LAB’ สือ่ ถึงการตัง้ ออฟฟิศเพือ่ ท�ำการทดลองสร้าง ผลงานทีด่ ที สี่ ดุ ออกไป ไม่ใช่วา่ หนึง่ หัวคิดหนึง่ อย่าง หลักการ ท�ำงานของเราคือเน้นการทดลอง เราท�ำตัวเลือกค่อนข้างเยอะ มากกว่าทีส่ ง่ ไปให้ลกู ค้า บางทีสง่ ไปสามแบบแต่เบือ้ งหลัง CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


63

โครงการประกวดแบบลานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้LANDSCAPE าอยู่หัวภูมิพลอดุ ลยเดช ARCHITECTS OF BANGKOK


90

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


91

วีระพันธ์ ไพศาลนันท์ P.L. DESIGN

+

+คุณมีพรสวรรค์แล้วคุณไม่ใช้ หรือขี้เกียจ

มันก็ไม่ไปไหนเหมือนกัน ผมท�ำร้อยโปรเจ็กต์ อีกคนหนึ่งท�ำสองโปรเจ็กต์ โอกาสพลาด ผมก็เยอะกว่าแน่นอน แต่โอกาสที่ผมจะ ประสบความส�ำเร็จก็มากกว่าเหมือนกัน P.L. DESIGN


104

+ส�ำหรับผมถ้าเก็บได้ตามอัตราของสมาคมฯ น่าจะโอเค แต่รุ่นหลังๆ บอกว่าน้อยไป ซึ่งเราคิดไปเองหรือเปล่าไม่รู้ แต่ผมว่า มันก็อยู่ที่เราบริหารตัวเราเองด้วย Ideo Q Chula

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


105

สิวิชัย: พอจะยกตัวอย่างโปรเจ็กต์ทท่ี ำ� ในต่างประเทศให้ฟงั ได้ไหมครับ วีระพันธ์: งานหลักๆ เกือบครึ่งเป็นงานต่างประเทศ เราก็ท�ำอย่างนี้ ควบคู่กันมาตลอด ก็มีพวกโรงแรมกับพวกคอนโดฯ และ บ้านจัดสรรใหญ่ๆ ตอนนี้ส่วนมากคือในอินเดีย สิวิชัย: มี ป ระสบการณ์ ห รื อ ข้ อ ควรระวั ง อะไรเวลาไปรั บ งาน ต่างประเทศ โดยเฉพาะอินเดียไหมครับ วีระพันธ์: ผมว่าแขกเป็นนักต่อรองที่เก่งที่สุดในโลก ผมใช้ค�ำว่า ต่อรอง เพราะเขาถูกสอนมาอย่างนั้นจริงๆ ผมเคยไปดู โรงเรียนในชนบท คือเขาเรียนแค่ครึง่ วัน เขาไม่ได้เรียนเยอะ เขาเรี ย นวิ ช าการครึ่ ง หนึ่ ง นอกนั้ น เป็ น เรื่ อ งที่ ห ยิ บ มา อภิปราย เขาฝึกพูดกันตั้งแต่เด็กๆ ฉะนั้นในเรื่องของ การต่อรองเขาจะกล้าพูดเราเองไม่กล้า การต่อรองคือ ใครพูดโน้มน้าวได้เก่งคนนั้นก็ชนะ มันเป็นเรื่องของธุรกิจ ตอนที่ผมไปท�ำที่อินเดียใหม่ๆ ก็ไม่เข้าใจเรื่องระบบและ วัฒนธรรมการท�ำงานของเขา แต่ทุกวันนี้ชินแล้ว คนที่ รู้จักเหมือนเป็นเพื่อนกันไปแล้ว โดยเฉพาะบริษัทที่ผมท�ำ กันมานานก็ไม่ต้องคุยเรื่องค่าแบบกันมากมาย ถือเป็นค่า ออกแบบทีม่ าตรฐาน ในเรือ่ งของการต่อรองต้องยอมรับว่า เขาถูกสอนมาอย่างนัน้ จริงๆ ถ้าเราไม่ให้กไ็ ม่เป็นไร เขาขอ แหลก เขาขอมาร้อยอย่าง คุณให้เขาอย่างเดียว ก็ไม่เป็นไร สิวิชัย: เคยโดนเบี้ยวบ้างไหมครับ วีระพันธ์: มีแน่นอน แต่พอเราเห็นว่าจังหวะไม่ดี เราก็ชงิ่ ก่อน แล้วเรา อาจจะท�ำมานาน ผมก็มีเพื่อนอยู่พอสมควร พอจะเสนอ งานใหม่กจ็ ะกระซิบถามเพือ่ นว่าบริษทั นีเ้ ป็นอย่างไร ก็จะมี ส่วนช่วยมาก ผมกลับคิดว่าคนอินเดียถ้าเรารูจ้ กั จริงๆ แล้ว เขาดีมาก เขาช่วยเหลือผมเยอะมาก ก็อาจเป็นเพราะเราไม่ไป เอาเปรียบเขา ที่จริงเขาก็กลัวเรา เหมือนที่เราก็กลัวเขา P.L. DESIGN


116

+พยายามจะสอนทุกคนว่าวันหนึ่งแปดชั่วโมง

ท�ำให้เสร็จ เก่งไม่เก่งอาจจะไม่เกี่ยว ถ้าเราท�ำได้เร็ว เสร็จเร็ว ยิ่งมีเวลาว่าง ชีวิตมีอิสระมากขึ้น สิวิชัย: มีวิธีหาแรงบันดาลใจจากไหนครับ เล่นอินเทอร์เน็ตไหม วีระพันธ์: ก็มีบ้าง แต่ส่วนใหญ่ผมชอบท่องเที่ยวหาความรู้มากกว่า บางทีก็ไปกับครอบครัว บางทีก็ไปเที่ยวคนเดียว เพราะผม อาจจะเป็นคนทีอ่ สิ ระมาตัง้ แต่เด็ก แต่โชคดีทคี่ รอบครัวผม เข้าใจ แรงบันดาลใจของดีไซเนอร์อย่างเราคือการทีไ่ ด้ออก ไปเห็นอะไรเยอะๆ สิวิชัย: มีวธิ รี กั ษาสมดุลชีวติ อย่างไรบ้างครับ ในแง่ของการบริหาร จัดการออฟฟิศ การท�ำงาน รวมถึงการหาแรงบันดาลใจ การเที่ยว อาจารย์มีการวางแผนไว้ไหม วีระพันธ์: มันก็อาจจะมีบ้าง ผมอาจจะโชคดีที่มีผู้ช่วย ผู้ร่วมงานที่มี ความรับผิดชอบและก็มีฝีมือ ทุกวันนี้ผมก็ท�ำงานน้อยลง แต่เข้าที่ท�ำงานทุกวัน อาจจะสายบ้าง ตอนเช้าก็ไปว่ายน�้ำ ผมคิดว่าสุขภาพมันเป็นเรือ่ งส�ำคัญ และเรือ่ งของครอบครัว ให้เวลาเขาเยอะๆ ผมท�ำงานมาตั้งแต่เด็กๆ เราต้องแบ่ง เวลาเรียนหนังสือ ต้องไปท�ำงานหาเงิน ต้องมีเวลาสนุก กับเพื่อน รู้จักเรื่องการแบ่งเวลาในชีวิตประจ�ำวันมาตลอด พอเราโตก็ใช้ระบบอย่างนั้น พยายามจะสอนทุกคนว่า วันหนึ่งแปดชั่วโมงท�ำให้เสร็จ เก่งไม่เก่งอาจจะไม่เกี่ยว ถ้าเราท�ำได้เร็ว เสร็จเร็ว ยิ่งมีเวลาว่าง ชีวิตมีอิสระมากขึ้น CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


119

01

02

01 สวนเบญจกิติ, กรุงเทพมหานคร 02 อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก, นนทบุรี

P.L. DESIGN


122

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


123

ปรีดาพนธ์ บัณฑิตยานนท์ อารักษ์ อุยยามะพันธุ์ LANDSCAPE ARCHITECTS 49

+

+ผมอยากท�ำงานสาธารณะที่คนใช้เยอะๆ

ไม่ใช่แค่สวนสาธารณะ ผมอาจจะมองแบบ regional เขาถึงได้บอกว่าวิชาชีพนี้มันใหญ่ ทุกอย่างถูกสอน ในวิชานี้หมด แล้วเรามองภาพรวม ตั้งแต่เข็มหมุด ยันเรือใบ โดยเฉพาะภูมิสถาปนิกสายวิชาการ ที่รู้จริง ปัญหาเรื่องเมือง เรื่องน�้ำ เรื่องอะไรอย่างนี้ แก้ไขได้หมด LANDSCAPE ARCHITECTS 49


130

ปรีดาพนธ์:

สิวิชัย: อารักษ์: ปรีดาพนธ์:

สักอย่างถึงต้องสัมภาษณ์หลายรอบขนาดนี้ เลยรู้สึกเสีย ความมัน่ ใจทีจ่ ะท�ำงานกับเขาไปเลย ผมเลยว่าถ้าเข้าไปแล้ว เขาต้องมานั่งมองว่าจ้างผมแล้วคุ้มหรือไม่คุ้ม อย่างนั้นผม ไม่ท�ำดีกว่า ผมเลยปฏิเสธไป ทางเขาก็ดีนะครับมาหาผม หลังจากนั้นถึงที่บ้านและติดต่ออีกหลายครั้ง เนื่องจากผม ตัดสินใจไปแล้ว เลยคิดว่ามาท�ำกับเซงดีกว่า ตอนนัน้ เงินเดือนผมก็แค่หมืน่ กว่าบาท เขามาก็คงประมาณ เท่าผม น้องๆ สมัยนัน้ เริม่ ใหม่ๆ เงินเดือนเริม่ ต้นไม่เท่าไหร่ ประมาณหกพันถึงเจ็ดพันบาท งานแรกสุดน่าจะเป็นงาน สุขุมวิทพลาซ่า ที่กลายเป็น Korean Town ในปัจจุบัน ตอนนี้ยังเห็นเป็นหมากรุกและเป็นกระถางลอยอยู่บนฟ้า หรือตรงลิฟต์มาแล้วเป็นน�ำ้ วนๆ เขาก็ยงั อุตส่าห์ไม่ทบุ ทิง้ นะ ยังเป็นซากที่หลงเหลืออยู่บ้าง พอมาท�ำงานด้วยกันแล้ว มีวิธีแบ่งงานกันอย่างไรครับ ตอนนั้นเซงโยนเป็นโปรเจ็กต์ๆ ให้ผมไปจัดการท�ำเองเลย คือตอนนั้นเรายังเป็นออฟฟิศเล็กๆ ตอนนี้ก็ยังเป็นอยู่นะ แต่ผมก็พยายามแบ่งชัดเจนเป็นโปรเจ็กต์ไปเลยว่าใครดูแล งานไหน แต่ถงึ เวลาไม่ใช่วา่ เขาดูแล้วผมไม่ชว่ ยท�ำนะ ก็ชว่ ย กันท�ำอยู่ดี ตอนนี้ก็ยังเป็นแบบนั้นอยู่ อย่างน้อยก็มานั่ง แชร์ไอเดียกัน ผมว่าทีเ่ ราอยูด่ ว้ ยกันมาท�ำให้เราเห็นต่างมุมกัน บางทีเราพยายามจะผลักดันเรื่องหนึ่งด้วยเห็นเหตุผลบาง อย่าง ในขณะทีเ่ ขามองเห็นอีกอย่างซึง่ เราไม่เคยเห็นมาก่อน เราก็ตอ้ งกลับมาพิจารณาใหม่อกี ที คาแรกเตอร์ของผมสองคน ดูเหมือนจะสนใจกันคนละอย่าง แต่ผมว่าเป็นความแตกต่าง ที่เกื้อกูลกันมากกว่า แต่ในแง่ของดีไซน์ก็มีอยู่ช่วงที่ท�ำมา สักครึง่ ทางก่อนวิกฤติตม้ ย�ำกุง้ อย่างไรก็ไม่รู้ เส้นทีข่ น้ึ หรือ CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


131

01

02

03 01 Pullman Bangkok King Power, Bangkok 02 Parkland, Bangkok 03 Serene Lake, Chiang Mai

LANDSCAPE ARCHITECTS 49


144

+เราจะไม่วางตัวเป็น Versace หรือ Dolce & Gabbana แต่น่าจะเป็นประมาณ Prada ที่ออกแบบเรียบๆ เท่ๆ ดูเหมือนไม่มีอะไรโดดเด่น แต่ดูรวมๆ แล้วท�ำให้ คนใส่สวย อีกยี่สิบปีถ้าเอาชุดนี้มาใส่ก็ยังดูได้ CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


145

ปรีดาพนธ์: ของผมต่อให้ขนึ้ มาก่อนผมก็กดั แหลก ถ้าเกิดไม่ดี แล้วเขาก็ ทนกันไม่ได้ อารักษ์: หลายครัง้ ผมก็บอกว่า เซงท�ำไปแล้วเขาจะแก้ไหม เซงจะเหนือ่ ย เปล่าๆ ถ้าคิดว่าท�ำไปแล้วเหนือ่ ยเปล่าก็เงียบๆ ปล่อยเขาไป อาจจะไม่ได้รอ้ ยเปอร์เซ็นต์ ก็ปล่อยเถอะ แล้วเราก็ทำ� ในส่วน ของเรา อย่าไปยุง่ อะไรกับเขามาก ก็จบง่าย แล้วแต่วา่ ลูกค้า เปิดให้เรามีสว่ นร่วมแค่ไหน ถ้าลูกค้าบอกว่าเราเปลีย่ นได้หมด เราก็เต็มที่ แต่ถา้ มาแนวจะเอาเร็วๆ เสียเวลา งานจะเดินแล้ว ผมก็บอกเซงเหมือนกันว่าปล่อยไปเถอะ งานจะได้จบ สิวิชัย: พี่สองคนแบ่งงานกันอย่างไรครับ พี่อารักษ์จะไม่ค่อยรับ โปรเจ็กต์ต่างประเทศใช่ไหม อารักษ์: ผมมีปญ ั หาเรือ่ งภาษา ถ้าเป็นภาษาไทยจะถ่ายทอดได้ดกี ว่า ในขณะทีภ่ าษาอังกฤษถ่ายทอดได้นอ้ ยและจะตกทีน่ งั่ ล�ำบาก คือการที่เราพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ดี เวลาเขาพูดอะไรมา เราไม่สามารถโต้ตอบได้ทนั ทีเพราะฉะนัน้ เราจะเสียเปรียบ เลยถูกให้เราแก้ทำ� งานเพิม่ และบางทีกลายเป็นเราอธิบาย ไม่ได้ตามเหตุผลที่จะเป็น ผมก็จะไม่ค่อยท�ำ นอกจากงาน ตอนนีผ้ มท�ำกับ A49 เชียงใหม่ทพี่ กุ าม ถึงจะไม่ใช่ฝรัง่ แต่เขา ก็พดู ภาษาอังกฤษได้ดกี ว่าผม และยินดีทจี่ ะฟังภาษา broken English ของผม ผมก็ทำ� ด้วยได้ ถ้าเป็นเซงจะถนัดอินเตอร์ มากกว่า ปรีดาพนธ์: แต่กไ็ ม่รทู้ ำ� ไม อย่างเวลาเขียนบทความ รูส้ กึ ว่าตัวเองใช้ภาษา อังกฤษได้แบบชกตรงหมัดกว่า ในขณะที่เขียนภาษาไทย จะเลือกค�ำทีใ่ ช้กำ� กวมกว่าและคิดหนักกว่า ภาษาไทยทีผ่ ม คุน้ เคยก็จะเป็นภาษาพระอภัยมณีบวกบูล๊ มิ้ ไม่เหมือนภาษา ทั่วไปที่เขาใช้กัน เพราะผมไม่ชอบอ่านหนังสือประเภท LANDSCAPE ARCHITECTS 49


162

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


163

น�ำชัย แสนสุภา ประพันธ์ นภาวงศ์ดี ยศพล บุญสม Shma

+

+สิ่งที่เหนือ passion คือจุดที่มองว่าท�ำแล้วสังคม

จะต้องดีขึ้น จะเป็นตัวผลักดันให้เราท�ำเรื่อยๆ ถึงแม้จะเหนื่อยบ้าง แต่มันจะมีพลังกลับมาท�ำอีก จนกว่าเป้าหมายนั้นจะส�ำเร็จเพราะเป้าหมายนั้น มันใหญ่กว่าตัวเรา SHMA


182

สิวิชัย: เท่าที่ดูๆ งานของ Shma จะเกี่ยวพันกับงานสถาปัตย์ เยอะมาก จะไปเกาะอยู่ที่ตัวตึกเลยก็มี ส่วนตัวพี่ก็ว่าโอเค แต่เคยเจอปัญหาไหม ทีส่ ถาปนิกบางคนทีไ่ ม่ยอมให้เข้ามา ยุ่งกับงานของเขา ยศพล: เคยครับ อันนี้เป็นเรื่องความอัดอั้นเหมือนกัน คือการ ท�ำงานในยุคก่อนๆ สถาปนิกกับภูมสิ ถาปนิกแทบไม่จำ� เป็น ต้องคุยกัน เขาตีกรอบให้เราตรงนี้เราก็ท�ำแค่นี้ แต่พอมา ในยุคนี้ เราก็เริม่ เข้าไปตัง้ ค�ำถามเยอะขึน้ งานก็จะเกีย่ วพัน กันมากขึน้ มันได้ให้ประสบการณ์ทดี่ กี ว่า ได้การ interpret ที่น่าสนใจ เพราะเรามองสิ่งต่างๆ เป็นสิ่งแวดล้อมที่ผสาน เป็นหนึ่งเดียวกัน (total environment) ประพันธ์: ดีเวลลอปเปอร์ทเี่ ราท�ำด้วยบ่อยๆ เขาจะไว้ใจเราในการทีจ่ ะ propose ตรงนัน้ ออกมา เพราะเขาคิดว่ามันช่วยเพิม่ คุณค่า ให้โปรเจ็กต์ ถ้าลูกค้าอนุมัติตามที่เราเสนอ สถาปนิกก็จะ รับฟังและเล่นด้วย แต่ในทีส่ ดุ แล้วผมว่ามันเป็นการท�ำงาน ร่วมกันด้วยเหตุผล เราอธิบายได้ว่าท�ำไมเราถึงเสนอ อย่างนี้ และเราจะถือภาพรวมของโปรเจ็กต์เป็นส�ำคัญ เราก็ไม่ชอบที่โปรเจ็กต์หนึ่งออกมาดูเหมือนต่างคนต่าง ดีไซน์แข่งกันเองแบบนั้น ซึ่งไม่ค่อยพบปัญหากับสถาปนิก ยศพล: สถาปนิกบางคนสนุกทีจ่ ะ engage กับเรา แต่บางงานก็ไม่ได้ มีไดอะล็อกแบบนัน้ ซึง่ ผมว่าก็ตอ้ งเป็นการท�ำความเข้าใจว่า งานสถาปัตย์หมายถึงอะไร หมายถึง isolation อย่างนัน้ เหรอ คือผมยกตัวอย่างว่าทุกครั้งที่เราท�ำงานกับสมดุลค่อนข้าง แฮปปี้ เพราะว่าคุยแล้วเป็นอันเดียวกัน ผมว่าจริงๆ มัน ส�ำคัญทีจ่ ะต้องมีไดอะล็อก เพือ่ ให้เกิดบริบทใหม่ อย่างตอนท�ำ ประกวดแบบลานเฉลิมพระเกียรติฯ เราท�ำกับสมดุลและ CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


183

+นึกย้อนกลับไปสมัยเรียน ค�ำจ�ำกัดความ

ของงานภูมิสถาปัตย์ที่เรารู้จัก สิ่งแรกที่เห็นคือ ความสวยงาม ฟุ่มเฟือยหรือเปล่าไม่รู้ แต่ก็รู้สึกผิดทุกครั้ง อย่างสมมติว่าไปรีสอร์ต ที่ต้องผ่านเมืองรกๆ เข้าไปแล้วเจอพาราไดซ์ ในรีสอร์ต มันก็เป็นค�ำถามกับเรา SHMA


190

01

02

01 Water City 02 Bang Bon Ecological Park CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


191

ส�ำคัญกับตัวออฟฟิศและวงการวิชาชีพ ทุกวันนี้ถ้าเกิดเรา ไม่ท�ำให้มันสวย เพื่อให้ดีเวลลอปเปอร์ขายแล้วได้ก�ำไร แล้วเราใช้วิชาชีพนั้นท�ำอะไรได้อีก อันนี้คือค�ำถามที่หนึ่ง แล้วส�ำหรับตัวออฟฟิศเอง การได้ท�ำสิ่งเหล่านี้คือการฝึก กระบวนการคิ ด และใช้ วิ ช าชี พ เพื่ อ สาธารณะมากขึ้ น เป็นการสร้างสมดุลให้สงั คม เพราะน้องๆ เองก็อยากท�ำมาก ถึงแม้จะเหนื่อย แต่ก็เกิดความภูมิใจที่ว่าวิชาชีพไม่ได้แค่ รับใช้นายทุนอย่างเดียว มันได้แผ่ไปในวงกว้าง เพื่อสร้าง ประโยชน์ให้กับสังคมด้วย แล้วกลยุทธ์เราก็ต้องทดสอบ สิ่งที่เราท�ำกับโลก ว่าโลกเขาพูดในสิ่งที่เราสนใจอยู่ไหม แล้วเราอยูท่ ตี่ ำ� แหน่งไหน เรายังพูดถึง hospitality อย่างเดียว หรือเปล่า คือเราไม่ได้หวังว่าสิง่ ทีเ่ ราท�ำจะแก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ทั้งหมด แต่เราคิดว่ามันได้จุด ประเด็นในการคิด แล้วท�ำให้เกิดโมเมนตัมลักษณะนีใ้ นสังคม ให้ ค นหั น มามองและช่ ว ยกั น ติ ด ต่ อ และหวั ง ว่ า มั น จะ สามารถปรับใช้กับโครงการที่เป็นคอมเมอร์เชียลได้ด้วย ซึ่งส�ำคัญมาก สิวิชัย: น้องๆ ในออฟฟิศก็มีแนวคิดแบบนี้หรือเปล่า สมมติงาน เยอะๆ เอาเวลาที่ไหนท�ำ เด็กมีปัญหาไหม มีวิธีอย่างไร ให้ลูกน้องอยากท�ำด้วย ถ้าถามออฟฟิศเก่าๆ หรือออฟฟิศ ใหญ่ๆ จะไม่มีอย่างนี้ เพราะท�ำยาก แต่ออฟฟิศรุ่นใหม่ จะเป็นอย่างนี้เยอะ ออกแนวเพื่อชีวิตก็ได้ ไม่ได้นั่งท�ำงาน อยู่ในออฟฟิศอย่างเดียว มีการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มกัน ของดีไซเนอร์รนุ่ ใหม่ๆ เพราะว่าถ้าดูในแง่วชิ าชีพแล้วคงอยู่ คนเดียวไม่ได้ อาจจะไม่แข็งแรงพอ ต้องช่วยกันทั้งหมด ทุกวิชาชีพ เป็นหน้าที่ทุกคน SHMA


214

CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


215

ป๊อก คบคงสันติ TROP

+

+การตามเทรนด์ก็คือการท�ำตามคนอื่น

แต่ถ้าเราเชื่อในสิ่งที่เราเชื่อ เราจะตามเทรนด์หรือจะน�ำเทรนด์ หรือจะไม่โดนเทรนด์เลยมันไม่ใช่สาระ คือถ้ากังวลกับเทรนด์มากก็ไม่ต้องท�ำงานกันพอดี TROP


226

+ผมบริหารออฟฟิศเหมือนร้านซูชิ

อยู่ๆ จะให้ลูกน้องเป็นคนปั้นให้ลูกค้ากินเลยไม่ได้ ต้องให้เรียนรู้เรื่องเลือกปลา เรื่องซาวข้าว พอเลือกปลาได้ค่อยมาหั่นปลา ซาวข้าวได้ ค่อยมาหุงข้าว ต้องเก่งจริงถึงจะให้ไปปั้น ต้องเรียนรู้พCONVERSATIONS ื้นฐานก่อWITH น ARCHITECTS SERIES


สิวิชัย: ป๊อก:

สิวิชัย: ป๊อก:

สิวิชัย: ป๊อก:

โดนดุเรือ่ งเล็กๆ น้อยๆ เช่นเล่นเฟซบุก๊ บ่อยเกิน แต่ผมไม่ ห้ามนะ ไม่บล็อกด้วย ถ้าเล่นแล้วงานเสร็จก็ไม่เป็นไร น้องๆ ทีร่ องจากคุณมีบทบาทในแง่ไหน ปล่อยเขาขนาดไหน ตอนเเรกผมออกแบบเองทุกงาน บางทีกเ็ ขียนแปลนให้เสร็จ เลยด้วย แต่ไม่ได้เขียนเองทุกงาน หลังๆ เริม่ ไม่ไหวแล้ว เวลา ไปรับงานส่วนใหญ่ไปคนเดียว แล้วก็กลับมาคิดแบบต่อที่ ออฟฟิศ น้องๆ แต่ละคนท�ำ 3D โปรเจ็กต์ตวั เอง พวกเด็ก จบใหม่ๆ ไม่ได้ออกแบบเองอยูแ่ ล้ว อาจจะมีบา้ งช่วงทีผ่ มไม่มี เวลาก็จะให้เขาเริม่ ไปก่อน ถ้าได้กเ็ อาถ้าไม่ได้กลับมาแก้ใหม่ แต่สว่ นใหญ่กย็ งั ต้องได้แก้อยู่ แต่กเ็ ริม่ ดีขน้ึ เยอะ เคยเห็นสเตตัสในเฟซบุ๊กคุณเขียนประมาณว่าถ้าอยากทํา ดีไซน์กต็ อ้ งดีไซน์ให้ได้ดว้ ย ไม่ใช่วา่ นัง่ อยากอย่างเดียว แล้ว มาบ่นว่าไม่ได้ทำ� สักที มีคนแอบมาเม้าท์ให้ฟงั ว่าพวกอาจารย์รนุ่ ใหม่บอกเด็กว่าอย่า มาอยู่ TROP เลย เพราะไม่ให้ดไี ซน์ คือจริงๆ ถ้าคุณดีไซน์ ได้เอาไปเลย แต่ถา้ ยังไม่ได้ผมก็ตอ้ งท�ำเอง เพราะลูกค้าเขา ไม่ได้คาดหวังว่างานนี้เป็นงานกระจอกของเรา ลูกค้าต้อง คาดหวังว่าให้ดสี ดุ อยูแ่ ล้ว แล้วอยูๆ่ เราจะให้เด็กดีไซน์ได้ อย่างไร เพราะเขายังมือไม่ถงึ ในมุมมองของลูกค้าก็ตอ้ งไม่เอา เพราะเขาก็อยากได้ชอื่ ผม คือผมบริหารออฟฟิศเหมือนร้าน ซูชิ อยูๆ่ จะให้ลกู น้องเป็นคนปัน้ ให้ลกู ค้ากินเลยไม่ได้ ต้อง ให้เรียนรูเ้ รือ่ งเลือกปลา เรือ่ งซาวข้าว แล้วเลือกปลาได้คอ่ ย มาหัน่ ปลา ซาวข้าวได้คอ่ ยมาหุงข้าว ต้องเก่งจริงถึงจะให้ไป ปัน้ ต้องเรียนรูพ้ นื้ ฐานก่อน ออฟฟิศเราก็มมี าตรฐานของเรา เคยต้องไปแข่งกับบริษทั ทีข่ นาดใหญ่กว่าเราไหม เคย มีงานที่ผมท�ำประกวดแบบช่วยบริษัทสถาปนิกท�ำ TROP

227


230

ป๊อก: ใช่ ผมค่อนข้างโชคดีมาก ไม่เคยมีชว่ งไม่มงี าน ถ้าช่วงไหน งานน้อยลงก็ถอื ว่าเรายังมีงาน ก็นงั่ ท�ำทัง้ วัน ช่วงทีง่ านเยอะ ก็คอ่ นข้างเต็มมือ สิวิชัย: เลือกงานไหม ป๊อก: ไม่เชิงเลือก ไม่ถงึ ขัน้ สิบงานเอางานเดียว ก็แล้วแต่ลกู ค้า ต่างคนต่างเลือก ถ้าผมยุง่ อยูก่ เ็ สนอค่าแบบสูงหน่อย ได้กท็ ำ� ไม่ได้กไ็ ม่เป็นไร ก็ยงั มีงานท�ำอยู่ แต่ถา้ ได้เราก็อดั หน่อย แต่ หลังๆ ก็ตอ้ งรอคิวสามเดือน ส่วนใหญ่เขาก็ไม่เอา คือจากสิบ proposal อย่างมากเขาจะตอบรับหนึง่ หรือสอง แต่เราก็โอเค แล้ว เพราะออฟฟิศผมจะเป็นแบบหนึง่ โปรเจ็กต์ตอ่ ห้าคนท�ำ แต่บางโปรเจ็กต์กใ็ ห้ทำ� คนเดียว สิวิชัย: แปลว่าไม่คอ่ ยสนใจเรือ่ งการจัดการค่าแบบใช่ไหม อย่างเช่น โปรเจ็กต์นคี้ า่ แบบเท่านีต้ อ้ งใช้แค่สองคนพอ ห้าคนไม่ได้ ป๊อก: ผมไม่ค่อยจัดการเท่าไหร่ เนื่องจากโชคดีที่ตอนนี้มีงาน มากกว่ารายจ่ายเท่านัน้ เอง แต่ผมถือว่าแค่นกี้ อ็ ยูไ่ ด้ น้องอยูไ่ ด้ มีโบนัส ใครอยากซือ้ อุปกรณ์อะไรก็ได้เต็มที่ แค่นกี้ พ็ อแล้ว สิวิชัย: คิดว่าจุดทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จต้องเป็นอย่างไร เป้าหมาย ของออฟฟิศจะโตไปขนาดไหน ป๊อก: ผมอยากเป็นอย่าง A49 อยากให้นอ้ งๆ โตขึน้ มาเป็นพาร์ทเนอร์ แต่ตอนนีย้ งั ไม่ถงึ ขัน้ นัน้ เพราะว่าบางคนอยูแ่ ค่หา้ ปีกล็ าออก อยากให้อยู่นานกว่านั้นเพื่อจะเป็นพาร์ทเนอร์ แต่เขาก็รอ ไม่ไหว สิวิชัย: อันนีเ้ ป็นปัญหาคลาสสิกของทุกบริษทั คุณได้คยุ กับเขาก่อน หรือเปล่า ป๊อก: คุยครับ คือแค่ห้าปีเป็นพาร์ทเนอร์ไม่ได้อยู่แล้ว จะเป็น ระดับพาร์ทเนอร์ได้กต็ อ้ งดีไซน์ได้เองเลย ผมไม่ตอ้ งยุง่ เเล้ว CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES


231

01

02

01 Pyne 02 Baan Plai Haad 03 Sansiri Quattro

03

TROP



สิวิชัย อุดมวรนันท์ สถาปนิก / บรรณาธิการ สถาปนิก เจ้าของและผู้ก่อตั้งบริษัท Architecture of my own (AOMO) จบการศึกษา ปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2531-2536) และ ปริญญาโทจาก University of Washington (2540-2542) ได้ท�ำงานและใช้ชีวิตใน สหรัฐอเมริกาหลังจากท�ำงานกับบริษัท Miller/Hull Partnership LLP (AIA firm of the year 2003) เป็นระยะเวลากว่าหกปี และได้กลับมาประเทศไทยท�ำงานกับบริษทั สถาปนิก 49 (2550-2557) จนกระทัง่ ได้ตำ� แหน่งเป็นพาร์ทเนอร์ และสุดท้ายได้แยกออกมาก่อตัง้ บริษทั ออกแบบสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในของตนเองในปี 2557 รวมทั้งเป็นอาจารย์พิเศษ ในสถาบันอุดมศึกษา ตลอดระยะเวลาในการท�ำงานทั้งในและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับ ในเรื่องการเขียนภาพทัศนียภาพและสเก็ตช์ด้วยมือ ซึ่งมีเอกลักษณ์ในการใช้ต้นไม้และ ธรรมชาติเป็นองค์ประกอบของภาพ ซึ่งก็มาจากความสนใจและความชอบส่วนตัวเกี่ยวกับ เรื่องการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ตลอดการท�ำงานทั้งในและต่างประเทศได้มีประสบการณ์ในการท�ำงานกับที่ปรึกษาวิชาชีพ ต่างๆ มากมาย ท�ำให้เห็นความแตกต่างด้านแนวความคิด ทัศนคติ และวิธกี ารท�ำงานทีแ่ ตก ต่างกัน กระนั้นยังมีความเชื่อในการออกแบบที่เหมาะสมกับความสภาพเป็นจริงและบริบท ที่เกี่ยวข้องมากกว่าความสวยงามเพียงแต่อย่างเดียว


CONVERSATIONS WITH ARCHITECTS SERIES พ็อกเก็ตบุ๊กที่จะชวนให้ผู้อ่านสนุกไปกับบทสนทนาที่บันทึกแบบคำ�ต่อคำ�ในบรรยากาศแบบสบายๆ ของคนที่ทำ�งาน ในแวดวงเดียวกัน คำ�สนทนามุ่งเน้นถึงแนวคิดในแง่มุมต่างๆ ทั้งในแง่ของการปฎิบัติวิชาชีพ การดำ�เนินชีวิตพร้อมกับ บทวิจารณ์ผลงานของสถาปนิกท่านอื่นๆ สอดแทรกอยู่ด้วย ด้วยเจตนาร่วมส่งเสริมและผลักดันให้วิชาชีพนี้เจริญ ก้าวหน้าในระดับสากล 01 คุยกับต้นกล้าสถาปนิก 02 คุยกับสถาปนิกหญิง 03 คุยกับลูกสถาปนิก 04 คุยกับสถาปนิกกลายพันธุ์ 05 คุยกับลูกสถาปนิกต�่ำสิบ ​​​ 06 คุยกับสถาปนิกต้นแบบ 1 07 คุยกับสถาปนิกต้นแบบ 2 08 คุยกับสถาปนิกรุ่นใหม่ 09 คุยกับอินทีเรียดีไซเนอร์ 10 คุยกับสถาปนิกรุ่นใหญ่ 1 11 คุยกับสถาปนิกรุ่นใหญ่ 2 12 ชีวิตสถาปนิกไทยในต่างแดน 1 13 ชีวิตสถาปนิกไทยในต่างแดน 2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.