long nan JUN-JUL 2014

Page 1

Long Nan Booklet | 1


A

B

C

D

E

F

1 3

2

เวียงเหนือ วัดพระธาตุเขาน้อย

3

วัดพระธาตุเขาน้อย ตัง้ อยูบ่ นยอดดอยเขา น้อย ซึง่ อยูท่ างด้านทิศตะวันตกของตัวเมืองน่าน เป็นระยะทางไม่ไกลนัก พระธาตุเขาน้อย เป็น ศิลปะพม่าผสมล้านนา สร้างในสมัยเจ้าปู่แข็ง ประมาณปี พ.ศ. 2030 และได้รับการบูรณะ ปฏิสังขรณ์ในสมัยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ในช่วงปี พ.ศ. 2449-2454 โดยใช้ช่างชาว พม่า และมีการสร้างพระวิหารขึ้นในสมัยนั้น ด้วย ทั้งยังมีที่ประดิษฐานพระพุทธมหาอุดม มงคลนันทบุรีศรีเมืองน่าน ซึ่งเป็นจุดชมวิว ที่สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของตัวเมืองน่าน ได้โดยรอบและสามารถมองเห็นแสงอาทิตย์ แรกของเมืองน่านได้อีกด้วย (รูปเพิ่มเติมหน้า 3)

แนว

ล�ำน

�้ำน่า

นเก

่า

4

2

5

เมืองน่าน

1

6

เวียงใต้ เรือนโบราณ

1

คุ้มเจ้าทองย่น

พิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานที่จัดแสดงพระไม้

2

พิพิธภัณฑ์ชุมชนพระเกิด

3

พิพิธภัณฑ์ชุมชนน�้ำล้อม

2 | จุลสารล่องน่าน

B-5 E-3 F-2

ชุมชนศรีพันต้น ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน วัดพระเกิด ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน วัดน�้ำล้อม ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน

แผนที่ชุมชนน่าน แผนทีแ่ สดงอาณาเขตของเวียงเหนือ เวียงใต้ และเมืองน่านในยุค ของเจ้าผูค้ รองนคร ซึง่ เริม่ ต้นจากยุคของเวียงใต้ของพญาผากองจนถึง สมัยเจ้าสุมนเทวราช และยุคเวียงเหนือในสมัยของเจ้าสุมนเทวราช จนถึงสมัยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช และยุคเมืองน่านปัจจุบันในสมัยของ เจ้าอนันตวรฤทธิเดชจนถึงเจ้ามหาพรหมสุรธาดา


สิง่ แรก ครัง้ แรก มักเป็นเรือ่ งราวทีน่ า่ ตืน่ เต้นและชวนให้ตดิ ตามอยูเ่ สมอ เพราะจะส่งผลถึงสิง่ ทีป่ รากฏ ให้เห็น และลักษณะทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั การจะเข้าใจบางสิง่ บางอย่างว่าเพราะเหตุใดถึงเป็นเช่นนัน้ เช่นนี้ จึงต้องมองย้อนกลับไปที่จุดก�ำเนิดของสิ่งนั้นว่ามีความเป็นมาอย่างไร ประวัติศาสตร์แรกเริ่มของสิ่งหนึ่ง จึงเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญพอๆ กับลักษณะของมันที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน สิ่งแรกที่เกิดขึ้นในเมืองน่าน ครั้งแรกที่มีขึ้นของเมืองน่าน หรือวิถีปฏิบัติเพื่อเริ่มกระท�ำการใดๆ ของ ชาวน่าน จึงเป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจเกินกว่าทีใ่ ครจะคาดคิด และกลายเป็นทีม่ าของล่องน่านฉบับนี้ ทีภ่ าพปกเป็น รูปแผนทีเ่ ก่าเมืองน่าน ซึง่ ผมคาดเดาว่าน่าจะเป็นแผนที่ทจี่ ัดท�ำขึน้ ด้วยความถูกต้องของขนาด และระยะ พิกัดเป็นครั้งแรกของเมืองน่าน นอกเหนือจากแผนที่โบราณที่เป็นลักษณะของภาพวาดสามมิติ หรือตาม การกะระยะเอาเองของผู้วาด นอกจากภาพปกและเนื้อหาด้านในแล้ว ผู้อ่านลองถามตัวเองดูสิครับว่า มี สิง่ ใดอีกทีน่ า่ จะเป็นสิง่ แรก ครัง้ แรกของเมืองน่าน ทีล่ อ่ งน่านฉบับนีย้ งั ไม่ได้กล่าวถึง ผมคิดว่าน่าจะยังมีอกี หลายสิ่งหลายอย่าง ที่เราสามารถมาช่วยกันฟื้นความทรงจ�ำร่วมด้วยกันได้ไม่ยาก ไม่ว่าจะเป็น ถนนสาย แรกทีล่ าดยางของเมืองน่าน การแข่งเรือครัง้ แรกในล�ำน�ำ้ น่าน โรงแรมหรือธนาคารทีเ่ ปิดท�ำการเป็นครัง้ แรก ในเมืองน่าน หรือสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำเป็นสิง่ แรกในการประกอบพิธกี าร หรือเริม่ งานประเพณีทอ้ งถิน่ ของชาวน่าน อ่านล่องน่านเล่มนี้จบแล้ว ผู้อ่านท่านใดพบสิ่งแรก ครั้งแรกของเมืองน่านที่พอนึกออก และอยากจะ บอกเล่าให้คนในชุมชน เยาวชนรุ่นหลังได้รับฟัง สามารถเข้าไปร่วมแบ่งปันเรื่องราว และประสบการณ์ได้ ใน Facebook ของล่องน่านที่ www.facebook.com/LongNanProject ผมเชื่อว่ายังมีเรื่องราวที่คน รุ่นหลัง เยาวชนคนรุ่นใหม่ไม่เคยรับทราบอีกเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งน่าเสียดายที่จะปล่อยให้เรื่องราวเหล่านี้ สูญหายไปกับกาลเวลา โดยไร้การบันทึกไว้จากคนรุ่นเราในปัจจุบัน ณวิทย์ อ่องแสวงชัย | บรรณาธิการ

สัญลักษณ์ได้รับแรงบันดาลใจมาจากตัวอักษรพื้นเมืองที่อ่านว่า “น่าน” ภายใต้กรอบรูปทรงวงรี หลายโค้งอันไม่สมมาตร ซึ่งแสดงถึงการหลอมรวมกันของผู้คนและศิลปวัฒนธรรม จนเป็นเนื้อเดียวกัน ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะเมืองน่าน กรอบรูปนั้นจึงไม่ใช่วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยมพื้นฐานที่พบเห็นได้ทั่วไป ชื่อ “ล่องน่าน” สื่อความถึง ความผูกพันกับสายน�้ำน่านของคนน่าน และยังเป็นที่มาของฟ้อนล่อง น่าน ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงดั้งเดิมของเมืองน่าน “ล่องน่าน” ยังให้นัยยะถึง การเข้ามาค้นหาความน่าตื่น ตาตื่นใจในศิลปวัฒนธรรม ที่ผ่านการสืบทอดมาอย่างยาวนานได้อย่างไม่รู้จบจากผู้มาเยือน ดุจดั่งการล่อง ไปในจินตนาการ ในขณะที่ “Long Nan” เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมืองน่าน และศิลป วัฒนธรรมที่มีรากฝังลึกมาแต่อดีตช้านาน จนผู้มาเยือนอาจต้องใช้เวลานานกว่าที่คิดไว้ในการเข้าไปสัมผัส

ที่ปรึกษา | Adviser สุรพล เธียรสูตร, รศ.ดร. ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา, เพลินจิต พ่วงเจริญ บรรณาธิการ | Editor ณวิทย์ อ่องแสวงชัย กองบรรณาธิการ | Editorial Staff สุกันย์ณภัทร กันธะวงค์, บรรจง อูปแก้ว, วราวุธ ธิจินะ, วธัญญู ภูวงค์

อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครีเอทีฟคอมมอนส์ 239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย โทร: 0 5394 2806, แฟกซ์: 05 322 1448 www.arc.cmu.ac.th

ติดต่อโฆษณา หรือร่วมสนับสนุนโครงการ โทร: 08 7496 4142

LongNan is a bimonthly magazine published by Faculty of Architecture, จุลสาร “ล่องน่าน” เป็นจุลสารรายสองเดือน จัดท�ำโดยโครงการ “การจัดการทรัพยากรทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในชุมชน Chiang Mai University. The project is supported by Area-Based เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนฐานวัฒนธรรมในเขตเมืองน่าน” ภาย Collaborative Research-Upper Northern Region (ABC-UN), The Thailand Research Found (TRF). ใต้การสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

จุลสารล่องน่าน ฉบับอิเล็กทรอนิกส์

ติดตามอ่านล่องน่านฉบับอิเล็กทรอนิกส์ได้ในระบบของ ebooks.in.th ระบบที่เข้าถึงได้ง่าย สามารถเปิดอ่านหนังสือ eBooks ได้หลากหลาย อุปกรณ์ ทั้ง iPhone iPad Android และ PC โดยท�ำตามขั้นตอนดังนี้

1. โหลดผ่านอุปกรณ์พกพา Smart Phone, Tablet โหลดแอปชื่อ “ebooks.in.th” จาก App Store หรือ Google Play เปิดแอปแล้ว ค้นหา ล่องน่าน หรือ Long Nan โหลดหนังสือฉบับที่ชอบเก็บไว้อ่านได้ตลอดเวลา 2. โหลดผ่าน Web Browser http://www.ebooks.in.th/longnanproject เลือกโหลด PDF ไฟล์ จากหน้าเว็บ

Long Nan Booklet | 3


เมินนาน น่านนคร ย้อนรอยต้นก�ำเนิดเมืองน่าน องน่านนัน้ ถือก�ำเนิดอย่างไรไม่ปรากฏหลักฐานเป็นลายลักษณ์อกั ษร ปฐมบทของเมื ที่แน่ชัด มีเพียงต�ำนานอันเป็นที่รู้จักและได้รับบอกเล่าสืบต่อกันมาเกี่ยวกับ

ขุนฟองผู้พี่และขุนนุ่นผู้น้อง สองทายาทของพญาภูคาเจ้าเมืองย่าง ที่ได้แยกย้ายกันไป สร้างเมือง โดยขุนนุน่ ได้เดินทางเลียบไปทางทิศตะวันออกของแม่นำ�้ โขงและได้สร้างเมือง จันทบุรี (หลวงพระบาง) ขึ้นตามหลักทักษา จันทพยุหะ ส่วนขุนฟองได้เดินทางขึ้นไป ทางเหนือของแม่น�้ำโขงจนมาเจอชัยภูมิที่เหมาะสม ห่างจากฝั่งน�้ำน่าน 5,000 วา หรือ ที่เป็นบริเวณเมืองปัวในปัจจุบัน จากนั้นได้สร้างบ้านแปงเมืองขึ้นตามหลักทักษา เตชะ กะพยุหะ และตั้งชื่อว่า เมืองวรนคร ท�ำให้ทั้งสองเมืองนี้เป็นเหมือนดั่งเมืองพี่เมืองน้อง กัน มีการติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีอันดีกันมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เมื่อถึง สมัยของพญาการเมือง (พ.ศ. 1901-1906) ก็ได้ย้ายเมืองจากเมืองปัว มาตั้งอยู่ที่ดอย ภูเพียงแช่แห้ง บริเวณด้านทิศตะวันออกของแม่น�้ำน่าน หลังจากนั้นอีกไม่นานในสมัย ของพญาผากอง (พ.ศ. 1906-1931) ได้ย้ายเมืองอีกครั้งมาตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของ แม่น�้ำน่าน หรือเวียงใต้ในปัจจุบัน เป็นเวลา 400 กว่าปี จนเมื่อปี พ.ศ.2360 ได้เกิด น�้ำท่วมครั้งใหญ่ขึ้น กระแสน�้ำพัดพาบ้านเรือน วัดวาอาราม ตลอดจนก�ำแพงเมืองได้ รับความเสียหายเป็นอันมาก พระยาสุมนเทวราชซึ่งเป็นเจ้าหลวงน่านในสมัยนั้น จ�ำ ต้องย้ายเมืองขึ้นไปตั้งอยู่บริเวณดงพระเนตรช้าง (เวียงเหนือในแผนที่หน้า 2) ซึ่งอยู่ ห่างจากตัวเมืองน่านขึ้นไปทางเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร ใช้เวลาสร้างอยู่หกเดือนจึง แล้วเสร็จ พงศาวดารเมืองน่านได้กล่าวไว้ว่า คูเมืองด้านตะวันออกยาว 940 ต่า ด้าน ตะวันตกยาว 728 ต่า ด้านใต้ยาว 393 ต่า ด้านเหนือยาว 677 ต่า ปากคูกว้าง 5 ศอก ท้องคูกว้าง 4 ศอก ลึก 9 ศอก ปัจจุบันยังพบร่องรอยคูน�้ำคันดินอยู่บริเวณถนนหัวเวียง และถนนประชาราษฎร์ จนถึงสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เมื่อวางแผนจัดการระบบ น�้ำและป้องกันน�้ำท่วมในเวียงใต้ส�ำเร็จ จึงได้ย้ายเมืองกลับมายังเวียงใต้อีกครั้ง และ ท�ำการบูรณะซ่อมแซม สร้างบ้านแปงเมืองขึ้นใหม่อีกครั้งในปีพ.ศ. 2400 โดยยังคงยึด หลักทักษาที่มีมาแต่โบราณ

(รูปบน) ปัจจุบนั ก�ำแพงเมืองน่านทีย่ งั อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์มคี วามยาวเพียง 25 เมตร และสูง 5 เมตร เท่านัน้ ซึง่ เป็นแนวก�ำแพง ด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือ บริเวณถนนมหาวงศ์เชื่อมต่อกับถนนอนันตวรฤทธิเดช กรมศิลปากรได้ท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์ แนวก�ำแพง และส่วนทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมไปทัง้ สิน้ 415 เมตร เมือ่ พ.ศ. 2536 และครัง้ ล่าสุดเมือ่ ปี พ.ศ. 2555 ก�ำแพงเมืองนีไ้ ด้รบั การขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 61 ตอนที่ 64 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2537

4 | จุลสารล่องน่าน


วัดมณเฑียร

วัดไผ่เหลือง คุ้มหลวง

วัดศรีพนั ต้น วัดมิ่งเมือง

วัดอภัย แนวคูเมืองก�ำแพงเมือง

ประตูเชียงใหม่

ส�ำหรับเป็นทางออก ไปต่างเมือง

วัด

ใจเมือง

คุ้ม

ประตูเมือง

การสร้างบ้านแปงเมืองของน่าน แสดงให้เห็นถึง คติความเชือ่ เรือ่ งของหลักทักษาทีส่ ง่ ผลต่อการเลือก ชัยภูมิ อันเป็นมงคลที่ตั้งของเมือง รวมถึงการวาง ผังเมืองและการจัดวางองค์ประกอบของเมือง ตาม หลักทักษาเตชะกะพยุหะคือ ใช้หลักของทิศทางลมมา ก�ำหนดในการวางทักษาเมืองเป็นหลัก ซึง่ คนโบราณ เรียนรูห้ ลักการเลือกภูมปิ ระเทศทีด่ ที สี่ ดุ ในการสร้าง เมือง หรือที่คนจีนเรียกว่า ฮวงจุ้ย หรือทักษา ใน ภาษาไทย หรือในปัจจุบนั ก็คอื การวางผังเมืองนัน่ เอง เมืองน่านถือหลักฮวงจุย้ เช่นเดียวกับล้านนาโบราณ คือ หลังอิงเขา หน้าเนาน�้ำ ซึ่งหมายถึงการหันหน้า เมืองไปทางแม่น�้ำใหญ่ด้วยเหตุผลทางภูมิศาสตร์ที่ ว่า น�้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต�่ำ ก่อนสร้างเมืองต้องดู ระดับน�้ำว่าในช่วงฤดูน�้ำหลากน�้ำท่วมถึงระดับไหน รวมถึงลักษณะทางกายภาพอื่นๆ เช่น ภูมิอากาศ แสงแดด แรงลม ฤดูกาล จากนั้นจึงเริ่มก�ำหนดวาง ทักษาเมืองขึน้ ดูทศิ ของดาวอัฐเคราะห์ทเี่ ป็น บริวาร

คุม้ เจ้าบัวเขียว

วัดหัวข่วง คุ้มเจ้าราชบุตร วัดน้อย

คุม้ เจ้าทองย่น

แน ว

คุม้ เจ้าจันทร์ทองดี

คุม้ เจ้าจันทร์ทองดี

คาราวานวัวต่างม้าต่าง มาจอดเทียบค้าขายที่นี่

คุม้ เจ้าเมฆวดี

คุม้ เจ้าเทพมาลา

ประตูหนองห้า ป้อมปืน

วัดมงคล

ประตูรมิ

�้ำน่า นใน

อดีต ให้คนในเมือง เข้า-ออกไปท�ำไร่นา

แน วคเู มอื ง กำ� แ พงเ มอื ง

ประตูปล่องน�ำ้

สร้างขึ้นใหม่ เมื่อปี ๒๔๕๐ ประตูอมร ป้อมปืน

แม่น

ใช้เดินทางสู่เมืองขึ้นของนคร น่านทางตอนเหนือ

ใช้ระบายน�้ำและเป็นทางเข้า ป้อมปืน ออกสู่พะเยาและเชียงราย

ประตูนำ�้ เข้ม

วัดหลวง คุม้ เจ้าหมอกฟ้า

ใจเมือง

วัดกูค่ ำ�

วัดภูมินทร์

บ้านคุณหลวง ธนานุสาร

ประตูท่าลี่ ส�ำหรับน�ำศพออกไป เผานอกเมือง ณ สุสานดอนไชย

สะพานกรุงศรี

ใช้ติดต่อค้าขายทางน�้ำ ของคนทั่วไป

ประตูชัย เป็นทางเข้าออกของ เจ้านายและกองทัพ

วัดพญาภู ป้อมปืน

นั จบุ อื ง ั จ ม เ ง ป แพ นใน อื งกำ� ่ า ม ู เ น ค ำ�้ แนว มน่ แ ว แน

ผังแสดงทักษาเมืองน่าน ที่มา: หนังสือแผนที่ชุมชนเมืองเก่าน่าน

อายุ เดช ศรี มูล อุตสาหะ มนตรี และกาลกิณี ว่า อยู่ทางทิศไหนก่อน จากนั้นจึงท�ำการวางผัง สร้าง องค์ประกอบต่างๆ ของเมืองขึ้นตามทิศเหล่านั้น เมื่อก�ำหนดวางผังเสร็จแล้ว ก็เอาต้นไม้ใหญ่เป็นที่ หมายของเมือง หรือศรีเมือง (สลีเมือง) โดยเมือง น่านได้ยดึ ให้ตน้ ศรีมหาโพธิเ์ ป็นไม้สลีเมือง และสร้าง เสาหลักเมืองขึน้ มา ในบริเวณใจเมืองหรือสะดือเมือง โดยเสาหลักเมืองเดิมนั้นน่าจะอยู่ใกล้กับต้นโพธิ์ที่ หอค�ำ แต่ที่ปัจจุบันเสาหลักเมืองอยู่ที่วัดมิ่งเมือง เนื่องจากช่วง 200 ปี ที่เมืองน่านขึ้นกับพม่า เมือง น่านถูกทิ้งร้างไปนานหลายครั้งหลายหน จนเมื่อถึง สมัยรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2331 เจ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงมาเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช เพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา ซึ่ง หลังจากกลับขึ้นไปแล้วเจ้าอัตถวรปัญโญก็ยังมิได้ เข้าไปอยู่เมืองน่านเสียทีเดียวเนื่องจากเมืองน่าน ยังรกร้างอยู่ จนเมื่อได้บูรณะซ่อมแซมเมืองน่าน

แล้วเสร็จพร้อมทั้งได้ขอพระบรมราชานุญาตแล้ว จึงกลับเข้ามาอยู่ในเมืองน่านในปี พ.ศ. 2344 และ โปรดให้ฝังเสาหลักเมืองไว้ที่วัดมิ่งเมือง โดยใช้เสา ที่ท�ำจากไม้สักทองขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 60 เซนติเมตร สูงประมาณ 3 เมตร ทรง กลม หัวเสาสลักเป็นรูปดอกบัวตูม ฝังลงกับพื้นดิน โดยไม่มศี าลครอบ เมือ่ ผ่านไปกว่าร้อยปีเสาต้นเดิม ได้ผกุ ร่อนลงและถูกน�ำ้ ทีไ่ หลเข้าท่วมเมืองน่านในปี พ.ศ.2504 ท�ำให้เสาเดิมโค่นล้มลง จึงได้เปลีย่ นเป็น เสาก่ออิฐถือปูนโดยน�ำเสาต้นเดิมที่โค่นล้มลงนั้น มาเกลาแต่งใหม่เป็นรูปพรหมสี่หน้า ดังที่เห็นใน ปัจจุบัน ซึ่งในสมัยแรกที่ย้ายเมืองมาอยู่ที่ราบลุ่ม ริมน�้ำน่านปัจจุบันนั้น เจ้าหลวงน่านต้องไปเลี้ยงผี บรรพบุรุษที่ปัว เพื่อขอย้ายลูกหลานมาอยู่ที่เมือง น่าน และการฝังเสาหลักเมืองก็จะมีพิธีเลี้ยงผีบ้าน ผีเมือง ซึง่ เรือ่ งผีนถี้ อื เป็นจารีต เป็นกฎทีต่ อ้ งยึดถือ ปฏิบัติ โดยบริเวณที่เสาหลักเมืองถือเป็นบริเวณ Long Nan Booklet | 5


โรงเรียนสุริยานุเคราะห์เป็นสถานศึกษาแห่งแรกในเมือง น่าน ที่พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ทรงตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2450 ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของโรงเรียนสตรีศรีน่าน

ตลาดเมืองน่านในอดีต ปัจจุบันคือ ตลาดราชพัสดุด้านหน้าของโรงแรมเทวราช

คุ้มหลวงหอค�ำในอดีต สังเกตเห็นสัญลักษณ์โคอุศุภราช บนหน้าบันและก�ำแพงแก้วล้อมรอบวัง

รูปสันนิษฐาน ตลาดเก่าบริเวณสี่แยกวัด ภูมินทร์ และวัดช้างค�้ำในปัจจุบัน

แนวคูเมืองเวียงเหนือด้านทิศเหนือ บริเวณชุมชนเชียงแข็งในปัจจุบัน

วัดหลวงราชสถานกลางเวียง หรือวัดช้างค�้ำในปัจจุบัน

ซากแนวก�ำแพงเมืองโบราณ ใต้ถุนบ้าน ในบริเวณชุมชนพญาภู

สะพานกรุงศรี เดิมเป็นสะพานข้ามแม่น�้ำน่าน สายเก่าที่ปัจจุบันได้เปลี่ยนทิศทางไปแล้ว

6 | จุลสารล่องน่าน

หลักในการชุมนุมทัพ เป็นจุดนัดพบ และเป็นทีท่ ำ� พิธี สักการะ หรืองานพระราชพิธีต่างๆ ซึ่งต้องมีพื้นที่ เป็นบริเวณกว้าง ส�ำหรับเป็นทีช่ มุ นุมคนจ�ำนวนมาก ตามหลักทักษา วังหลวงจะสร้างคู่กับวัดหลวง และเนือ่ งจากทิศตะวันออกเป็นทิศกาลกินขี องเมือง จึงได้สร้างวัดหลวงบังวังหลวงไว้ เพื่อป้องกันรังสี ของกาลกิณี ลดพลังที่ไม่ดี เอาพลังที่ดีของศาสนา เข้ามา วัดช้างค�้ำจึงตั้งอยู่ระหว่างหอค�ำกับล�ำน�้ำ น่าน และได้ชื่อว่าเป็นวัดหลวงราชสถานกลางเวียง ฉะนัน้ พืน้ ทีข่ องวัดช้างค�ำ้ จะมีบริเวณกว้างขวางกว่า วัดอืน่ ๆ แต่เดิมนัน้ วัดช้างค�ำ้ ไม่ได้มกี ำ� แพงและถนน กัน้ ท�ำให้พนื้ ทีว่ ดั และข่วงหลวงเป็นพืน้ ทีเ่ ดียวกันจึง ยิ่งท�ำให้มองเห็นเป็นลานกว้างขวางยิ่งขึ้น ชาวบ้าน จึงเรียกพื้นที่ว่างระหว่างวัดหลวงและวังหลวงว่า “ข่วงหลวง” มีบันทึกของเมืองน่านของ เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน กล่าวถึงเมืองน่านไว้ในบันทึกการเดินทางสู่ แม่นำ้� โขงตอนบนประเทศสยามในช่วงปี พ.ศ. 2436 ว่า “มีตลาดเช้าอยู่ภายในก�ำแพงเมือง ตรงบริเวณ ลานโล่งที่เป็นคล้ายสนามหรือลานบ้าน แวดล้อม ด้วยวัดทัง้ สามด้าน ส่วนทางด้านทิศตะวันตกเป็นวัง ซึง่ มีรปู ทรงเป็นเรือนหลังใหญ่ ไม่มลี กั ษณะสะดุดตา มากนัก” ซึง่ วัดทัง้ สามก็คอื วัดช้างค�ำ้ วัดหัวข่วง และ วัดภูมนิ ทร์ ส่วนวังหลวงหรือหอค�ำในทิศตะวันตกของ ข่วงหลวงทีเ่ ฮอร์เบิรท์ วาริงตัน บรรยายถึงคือ เรือน ไม้ 7 หลัง ของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เนือ่ งจาก เฮ อร์เบิรท์ วาริงตัน เขียนบันทึกเกีย่ วกับเมืองน่านในช่วง


ก�ำแพงเมืองน่านสมัยรัชกาลที่ 5

โรงเรียนประชาบาล (โรงเรียนจุมปีวนิดาภรณ์)

พ.ศ.2436 ซึง่ เป็นปฐมสมัยของเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดช เป็นเจ้าหลวงน่าน หอค�ำจึงยังคงเป็นอาคารหลังเดิม ในสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช ค�ำว่า “หอค�ำ” คือ อยู่ของเจ้าผู้ครองนคร แต่ มิใช่เมืองประเทศราชทุกเมืองจะสามารถมีหอค�ำได้ เนือ่ งจากหอค�ำเป็นเป็นเครือ่ งแสดงถึงเกียรติยศของ เจ้าประเทศราชที่ได้รับเกียรติยศพิเศษเหนือเจ้าผู้ ครองเมืองสามัญ ค�ำว่า “คุ้ม” นั้นตรงกลับภาษา ไทยใต้ที่เรียกว่า “วัง” แต่ทางเหนือเรียกว่า “คุม้ แก้ว” เพือ่ ให้ยกให้เป็นสถานทีว่ เิ ศษ และ “หอค�ำ” นัน้ ตรงกับภาษาไทยใต้ทเ่ี รียกว่า “ต�ำหนักทอง” การที่ จะเรียก หอค�ำ หรือสร้างหอค�ำขึน้ มาได้นนั้ เจ้าผูค้ รอง เมืองประเทศราชนัน้ จะต้องได้รบั การอวยยศเป็นพิเศษ เหนือประเทศราชอืน่ ๆ ซึง่ ในสมัยของพระยาอนันตยศ ทรงได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าอนันต วรฤทธิเดช ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้านครน่านคน แรก เนื่องจากในสมัยรัตนโกสินทร์เจ้าเมืองน่าน องค์ก่อนหน้านั้นมียศเป็นเพียงพระยาเท่านั้น เจ้า อนันตวรฤทธิเดชจึงเป็นเจ้าเมืองน่านคนแรกที่ได้ รับพระราชทานยศเป็นเจ้าราชวงศ์ผคู้ รองนครน่าน ท่านจึงได้สร้างหอค�ำขึน้ พร้อมกับการย้ายเมืองน่าน กลับมายังเวียงใต้อีกครั้ง หอค�ำในสมัยเจ้าอนันตวรฤทธิเดชเป็นกลุ่ม อาคารเรือนไม้ยกใต้ถุนสูง 7 หลังติดกันสร้างด้วย ไม้สักผสมไม้ตะเคียน ต่อมาในสมัยเจ้าสุริยพงษ์ ผริตเดช ในปี พ.ศ. 2446 ด้วยความดีความชอบที่

เมืองน่านร่วมปราบกบฏเงี้ยวที่เมืองแพร่ได้ส�ำเร็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 5 จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้าสุริยพงษ์ ผริตเดชฯ เลื่อนพระฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น พระเจ้า นครน่าน ท�ำให้ทรงเป็น พระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวของเมืองน่าน เมือ่ กลับมาจากการรับ ต�ำแหน่ง จึงได้รื้อหอค�ำที่เป็นเรือนไม้ติดกัน 7 หลัง ของพระบิดาออก และโปรดให้สร้างคุ้มหลวงขึ้นมา ใหม่เพือ่ ประดับเกียรติยศพิเศษทีไ่ ด้รบั พระราชทาน มา ซึง่ เป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารก่อสร้างอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงยุโรปขึ้นเป็นวังหลวง ซึ่งอาคารนี้ในปัจจุบัน คือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน แต่เดิมบริเวณ หน้าบันของอาคารเป็นสัญลักษณ์องค์นาคเกีย้ ว ตรง กลางวงกลมเป็นรูปวัวอุสุภราช สะท้อนให้เห็นว่า เมืองน่านนับถือพระพุทธศาสนาเป็นหลักชัย จึงน�ำ สัญลักษณ์ของพระสมณโคดม หรือพระพุทธเจ้าองค์ ปัจจุบันไว้ด้านบน เมืองน่านจึงมีหอค�ำเป็นวังหลวง และมีคุ้มเจ้าราชบุตรเป็นวังหน้าหรือคุ้มเจ้าอุปราช ซึง่ ตัง้ อยูด่ า้ นตะวันออกของวัดหัวข่วง โดยมีหอค�ำตัง้ อยูด่ า้ นทิศตะวันตกของข่วงหลวง และมีแนวก�ำแพง แก้วล้อมรอบวังอีกชั้นหนึ่ง กั้นวัดหัวข่วงกับวัง ซึ่ง ในสมัยนั้นยังไม่มีถนนผากอง มีข่วงหลวงเชื่อมวัง กับวัดหลวงหรือวัดช้างค�้ำและวัดภูมินทร์ที่อยู่ทาง ด้านทิศใต้ของวัง มีคุ้มเจ้านาย และเรือนของเหล่า เสนาบดีอยูร่ ายรอบภายในก�ำแพงเมืองไม่ไกลจากวัง หลวง เพื่อสะดวกในการเรียกใช้งาน แนวถนนสุมน เทวราชเดิมคือแนวก�ำแพงเลียบแม่นำ�้ น่านเก่า ซึง่ เป็น ย่านเศรษฐกิจของเมืองน่าน ในชุมชนหัวเวียงใต้จงึ มี ศาลเจ้าปุงเถ้ากงอยู่ เนื่องจากมีคนจีนอพยพเข้ามา ตัง้ รกรากท�ำมาค้าขายอยูบ่ ริเวณนัน้ เป็นจ�ำนวนมาก โดยมีประตูน�้ำเข้มที่อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมือง เป็นประตูส�ำหรับการเข้าออกเพื่อติดต่อค้าขายขน ถ่ายสินค้าของประชาชนทั่วไป ซึ่งตามหลักทักษา ของเมือง นอกจากการวางผังต�ำแหน่งทีต่ งั้ ของเวียง วัง และวัดแล้ว สิ่งส�ำคัญที่ขาดไม่ได้คือ การวางผัง ประตูเมือง มีการก�ำหนดว่าการออกจากเมืองไป ยังทิศทางใดเหมาะสมกับการประกอบกิจกรรม ประเภทใด เช่น ออกจากเมืองทิศไหนเป็นมงคลต่อ การท�ำศึกสงคราม เป็นต้น โดยก�ำแพงเมืองถือเป็น เครือ่ งหมายทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์วา่ เมืองน่าน เป็นนครรัฐอิสระหนึ่ง ที่สามารถปกครองตนเองได้ และสามารถรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตน ไว้ได้เป็นอย่างดี ก�ำแพงเมืองน่านได้รบั การสร้างขึน้ ครัง้ แรกในสมัยพญางัว่ ฬารผาสุม (เจ้างัวผาสุม) เมือ่ ปี พ.ศ. 1969 โดยก�ำแพงเมืองแต่เดิมนั้นเป็นเนิน ดินก่อสูง มีรั้วไม้ลวกที่ยอดเนินและมีธงปัก จนเมื่อ ถึงในสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช ได้มีการสร้าง ก�ำแพงก่ออิฐถือปูนขึ้นเป็นครั้งแรกในเมืองน่าน มี ทั้งอิฐสี่เหลี่ยมและอิฐบัว แนวก�ำแพงเป็นสี่เหลี่ยม ผืนผ้าด้านยาวทอดไปตามล�ำน�้ำน่าน ก�ำแพงเมือง ที่สร้างขึ้นมีประตูทั้ง 4 ทิศ โดยสร้างขึ้นตามหลัก ทักษาโบราณดังนี้

ทิศตะวันออก มีประตูชัย ซึ่งเป็นประตูที่เจ้า ผู้ครองนครและเจ้านายฝ่ายในใช้ในการเสด็จล่อง ชลมารคสู่พระนครรัตนโกสินทร์ หรือเป็นทางออก ของกองทัพที่จะออกไปรบ และประตูน�้ำเข้ม ซึ่ง เป็นประตูท่าน�้ำ ส�ำหรับการใช้ติดต่อค้าขายและ เข้าออกสู่แม่น�้ำน่านของประชาชนทั่วไป ต่อมาใน สมัยเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้านครน่านองค์สดุ ท้าย ได้โปรดให้รื้อแนวก�ำแพงด้านตะวันออก เพื่อน�ำอิฐ บางส่วนไปสร้างเป็นสะพานกรุงศรีทอดข้ามแม่น�้ำ น่านเก่า(คลองหลวง) ในปี พ.ศ. 2473 และได้มีการ ตัดถนนสุมนเทวราชขึน้ ไปตามแนวของก�ำแพงเมือง ด้านตะวันออกในสมัยต่อมา ทิศเหนือ มีประตูริมหรือประตูอุญญาณ ซึ่งแต่ เดิมนัน้ มีเพียงประตูเดียวต่อมาในปี พ.ศ.2450 ได้มี การเจาะช่องประตูเพิ่มขึ้นอีก 1 ช่อง คือประตูอมร ซึง่ อยูใ่ กล้ตำ� แหน่งสีแ่ ยกอมรศรี เพือ่ สร้างถนนมหายศ ทิศตะวันตก มีประตูหนองห้า ส�ำหรับชาวเมือง เข้าออกไปท�ำไร่ท�ำนา และประตูปล่องน�้ำ ซึ่งเป็น ประตูที่ใช้ในการระบายน�้ำจากบริเวณภายในตัว เมืองด้านเหนือ ซึ่งเป็นที่ลุ่มน�้ำออกสู่คูเมืองด้าน นอก ประตูดังกล่าวนี้ตั้งอยู่ในบริเวณถนนมหาวงศ์ ตรงจุดที่ปรากฏซากก�ำแพงที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ทิศใต้ มีประตูเชียงใหม่ ส�ำหรับเป็นทางออกไป ต่างเมือง และประตูท่าลี่ ส�ำหรับน�ำศพออกไปเผา นอกเมือง และให้ราษฎรที่อยู่ในก�ำแพงเมืองและ นอกก�ำแพงเมืองไปมาหาสู่กันได้ ก�ำแพงเมืองทีส่ ร้างจากอิฐนีม้ คี วามสูงจากระดับ พื้นดินถึงพื้นเชิงเทินประมาณ 3.80 เมตร กว้าง ประมาณ 3.50 เมตร เชิงเทินกว้าง 2.20 เมตร เหนือ เชิงเทินประดับด้วยใบเสมารูปสี่เหลี่ยมตัดมุมบน 60 องศา ทั้งสองด้าน กว้าง 0.80 X 1.00 X1.20 เมตร มุมก�ำแพงทั้ง 4 ด้าน ก่อเป็นป้อมและมีปืน ประจ�ำป้อม ป้อมละ 4 กระบอก ที่ประตูก่อเป็น ซุ้มทรงเรือนยอด ตัวประตูเป็นไม้ มีการเปิด-ปิด ตลอดเวลา โดยมีนายประตูเป็นผู้รักษา และมีบท ลงโทษส�ำหรับผู้ปีนป่ายก�ำแพงหรือรื้อก�ำแพงเมือง แต่อาญานี้ยกเลิกไปเมื่อครั้งพระเจ้าสุริยพงษ์ผริต เดชฯ เป็นเจ้านครน่าน มีการตรวจตราคนเข้าออก เมือง ดังนัน้ หากมีการการเข้าออกเมืองจะต้องแจ้งให้ เจ้าหน้าที่รับทราบ เช่น หากต้องการออกไปค้าขาย จะต้องแจ้งว่าไปกีค่ น สินค้าอะไร เป็นต้น ซึง่ การตั้ง กฎเหล่านี้ก็เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการปกครองและ การรักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย ให้กบั ผูค้ นภายในก�ำแพงเมือง มีเวลาเปิด-ปิดประตู ท�ำให้เกิดการสร้างแพนอกก�ำแพงเมืองเพื่อใช้เป็น ที่พักผ่อนของพ่อค้าแม่ค้าที่เข้าในเมืองไม่ได้หลัง ประตูเมืองปิด ท�ำให้บริเวณแพเหล่านั้นเป็นแหล่ง แลกเปลี่ยนและพักสินค้าวัวต่างม้าต่าง ในยามเช้า เมื่อประตูเมืองเปิดก็จะพากันน�ำสินค้าไปวางขาย ที่ข่วงหลวง ซึ่งเป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้ากันภายใน ก�ำแพงเมือง มีการก�ำหนดเส้นทางสินค้า โดยแยก ประเภทเป็นสินค้า เกษตรกรรม หัตถกรรม เพราะ

Long Nan Booklet | 7


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน หรือหอค�ำในอดีต ซึ่งเป็นอาคาร ก่ออิฐถือปูนสองชั้นแบบตรีมุข รูปแบบผสมผสานระหว่างศิลปะไทย และตะวันตก เคยเป็นที่ประทับของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ และเจ้ามหาพรหมสุรธาดา

แต่ละประตูจะมีนายด่านจดบันทึก ซึ่งนอกจากมี กฎกติกาการเข้าบ้านเมือง เมืองน่านยังมีกฎหมาย ระหว่างประเทศมานานแล้ว เนือ่ งจากผูค้ า้ ทีม่ าน่าน ส่วนใหญ่ตอ้ งการซือ้ เกลือจากฉางหลวง ซึง่ เมืองน่าน มีการค้าขายเกลือในปริมาณมหาศาล เนือ่ งจากเกลือ เป็นหนึง่ ในทรัพยากรทีส่ ำ� คัญของเมืองน่าน แม้จะไม่ ปรากฏหลักฐานว่าเริม่ มีการส่งเกลือเป็นส่วยให้กบั เจ้า เมืองน่านได้อย่างไร แต่มตี ำ� นานบอกเล่าต่อกันมาว่า เจ้าหลวงภูคาได้เกณฑ์คนจากเชียงแสนเข้ามาแผ้ว ถางพงอยู่อาศัยกันที่บ่อมางหรือบริเวณอ�ำเภอบ่อ เกลือเนื่องจากมีแม่น�้ำล�ำธารอุดมสมบูรณ์ และให้ มาท�ำเกลือ โดยเจ้าหลวงภูคาทูลให้เจ้าเมืองน่าน ไปขอพญาเม็งราย เพื่อขอเกณฑ์คนจากเชียงแสน มาอยู่ที่บ่อมางเมื่อราวปี พ.ศ. 2323-2327 ชาว เมืองบ่อต้องส่งส่วยเกลือไปถวายเจ้าหลวงน่านถึงปี ละ ห้าล้าน ห้าแสน ห้าหมื่น ห้าพัน หรือประมาณ 7,395 กิโลกรัมต่อปี โดยเจ้าหลวงน่านจะส่งคนไป รับเกลือทีน่ าปางถิน่ หรือทีส่ นามบินน่านในปัจจุบนั จนกระทั่งถึงสมัยของเจ้ามหาพรหมสุรธาดา จึงได้ ยกเลิกการส่งส่วยเกลือไป เกลือของเมืองน่านมีอิทธิพลต่ออาณาจักร รอบข้าง ทั้งสุโขทัย ล้านนา ล้านช้าง ตลอดจนถึง อโยธยา (อยุธยา) และเป็นสาเหตุให้พระเจ้าติโลก ราชยกทัพมาตีเมืองน่านเป็นประเทศราชใต้อทิ ธิพล

ต้นโพธิ์ภายในบริเวณพิพิธภัณฑ์ฯ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นต้นไม้สลีเมือง (ศรีเมือง)

ของล้านนา เพือ่ กีดกัน้ ไม่ให้นา่ นท�ำการค้ากับสุโขทัย และอโยธยาได้ ด้วยในสมัยนั้นเกลือถือเป็นยุทธ ปัจจัยในกองทัพ ใช้ในการท�ำอาหารและถนอม อาหาร ซึง่ ในสมัยก่อนเกลือสามารถใช้แทนเงินตรา ได้ และเมืองน่านก็เป็นแหล่งผลิตเกลือบกแหล่ง ใหญ่ที่มีความส�ำคัญต่อเมืองใหญ่ที่รายล้อม แม้แต่ อโยธยาที่มีพื้นที่ออกสู่ทะเลก็ไม่อาจผลิตเกลือด้วย ตนเองได้กอ่ นสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ เนือ่ งจาก สมัยนั้นภูมิปัญญาการท�ำนาเกลือหรือเกลือสมุทร ถือเป็นความลับของรัฐบาลจีนราชวงศ์หมิง ท�ำให้ อโยธยาเกิดวิกฤตการณ์ขาดแคลนเกลืออย่างหนัก อยู่ช่วงหนึ่ง อีกทั้งเกลือเมืองน่านยังมีสีขาวบริสุทธิ์ สามารถน�ำไปใช้ได้ทันทีอย่างหลากหลาย จึงเป็นที่ ต้องการของตลาดเกลืออย่างมาก ท�ำให้เมืองน่าน ที่แม้จะเป็นเพียงเมืองเล็กๆ แห่งหนึ่งในหุบเขา แต่ ก็มีอิทธิพลต่อเมืองใหญ่ที่รายรอบ ทั้งเมืองน่านมี สัมพันธไมตรีอนั ดีกบั สุโขทัยมาอย่างยาวนานเนือ่ งจาก เป็นคูค่ า้ เกลือทีส่ ำ� คัญ ท�ำให้เมืองน่านได้รบั อิทธิพล ของพระพุทธศาสนาส่วนใหญ่มาจากสุโขทัย และยัง เป็นเมืองทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์เคียงคูม่ าด้วยกันกับเมือง สุโขทัย ซึง่ พงศาวดารเมืองน่านได้กล่าวถึงพญาการเมือง (ครานเมือง) ไว้ว่า เจ้าเมืองสุโขทัย (พระมหาธรรม ราชาลิไท) ได้เชิญพญาการเมืองให้ไปร่วมสร้าง วัดหลวงอภัย (วัดอัมพวนาราม) ขากลับเจ้าเมือง

สุโขทัยได้พระราชทานพระธาตุ 7 องค์ พระพิมพ์ ทองค�ำ 20 องค์ และพระพิมพ์เงิน 20 องค์ ให้ พญาการเมืองน�ำกลับมาบูชาที่เมืองปัวด้วย ท�ำให้ พญาการเมืองสร้างพระธาตุขึ้นบนดอยภูเพียงแช่ แห้ง ก่อนจะอพยพผู้คนย้ายเมืองจากเมืองปัวมา ตั้งเมืองใหม่อยู่ที่ภูเพียงแช่แห้งเมื่อ พ.ศ.1902 โดย มีพระธาตุแช่แห้งเป็นศูนย์กลางของเมือง และใน ปัจจุบันได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอารามหลวง มีชื่อ ในเรื่องของการเป็นโบราณสถานศักดิ์สิทธิ์คู่เมือง น่านและเป็นอนุสรณ์ที่แสดงถึงสัมพันธไมตรีอันดี ระหว่างเมืองน่านกับเมืองสุโขทัยในอดีต ก�ำเนิดและพัฒนาการของเมืองน่านแสดงให้ เห็นเป็นประจักษ์ถึงการเป็นนครรัฐที่มีความอุดม สมบูรณ์ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ศาสนา รวมถึง ศิลปวัฒนธรรม และความหลากหลายของผู้คน แต่ละชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกันอย่างถ้อยทีถ้อย อาศัย ประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ ของเมืองน่าน ถูกผสมผสาน สะสมบ่มเพาะมายาวนานกว่า 700 ปี การสร้างบ้านแปงเมืองจนส�ำเร็จสืบต่อเป็นเมือง น่านในปัจจุบันนี้ โดยที่ความคิด ความเชื่อ ตลอด จนวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ อันหลากหลาย ได้ถูก กลัน่ กรองและหลอมรวมมาอย่างยาวนานและปรับ เปลี่ยนให้เหมาะสมตามแต่ละยุคสมัย และจากการ ที่เมืองน่านเป็นศูนย์กลางการค้าของล้านนาตะวัน ออก ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น ทักษาเมือง ศิลปวิทยาการ ศาสนา ตลอดจนความเชือ่ เรือ่ งผี เช่น การก�ำหนดทิศอ้าง เจ้าที่เจ้าทาง หรือข้อห้ามเกี่ยว กับวิถีปฏิบัติ จึงเข้ามาพร้อมกับการติดต่อค้าขาย ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ ลองผิดลองถูก ผสมผสาน จน พัฒนาเป็นกฎระเบียบปฏิบตั ิ ทีเ่ ป็นทีย่ อมรับกันโดย ทัว่ ไปของเมืองน่านขึน้ มา ซึง่ เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยรักษาความ เป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม ผดุงไว้ซงึ่ ความสงบ สุขในการด�ำรงชีวติ ของผูค้ นในเมือง เป็นเครือ่ งมือใน การขัดเกลาสังคม ซึง่ ในสมัยโบราณทีก่ ารศึกษายังไม่ ทั่วถึง วิถีปฏิบัติเหล่านี้เป็นสิ่งที่คนในสังคมยอมรับ และยึดถือด�ำเนินตาม สืบทอดต่อกันมา ยังผลให้ เมืองน่านยังคงสามารถรักษาแบบแผนวิถชี วี ติ ตลอด จนโบราณสถาน และโบราณวัตถุไว้ได้ภาคภูมิ และ ส่งผลให้เกิดการสร้างสรรค์องค์ประกอบของเมืองที่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง อันแตกต่างไปจาก เมืองในวัฒนธรรมล้านนาอื่นๆ โดยทั่วไป

ข้อมูลอ้างอิง: • สัมภาษณ์ อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม วันที่ 3 เดือนพฤศจิกายน 2556 และวันที่ 25 เดือนกุมภาพันธ์ 2557 • ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, หนังสือแผนที่ชุมชน เมืองเก่าน่าน • ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่าน, หนังสือชุดน่าน อนันตกาล ต�ำนานแห่งขุนเขา เมืองเก่าที่มีชีวิต • ส�ำนักศิลปากรที่ ๗ น่าน ส�ำนักโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, หนังสือภูมิหลังเมืองน่าน โครงการสืบค้นแหล่งวัฒนธรรมลุ่มแม่น�้ำน่าน-แม่น�้ำว้า โดยประชาชนมีส่วนร่วม • เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน สมิธ, บันทึกการเดินทางสู่แม่น�้ำโขงตอนบนประเทศสยาม • http://www.lannatouring.com/Nan/Interesting-article/BokluaSintoun-Nan.htm เรื่องบ่อเกลือสินเธาว์ภูเขา อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน27

8 | จุลสารล่องน่าน


วันปากปี๋ ปี๋ใหม่เมือง

รูปโดย อภิวัฒน์ ธนะวัติ ปากปีถือเป็นวันแรกของจุลศักราชใหม่เมืองน่าน หรือที่เรียกกันติดปากว่า ปี๋ใหม่เมือง ซึ่งเป็น วันสุดท้ายของเทศกาลสงกรานต์ของเมืองน่าน ค�ำว่า สงกรานต์ มาจากค�ำสันสกฤตหมายถึง การเคลื่อนย้าย เป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี ซึ่งคนโบราณยึดถือว่า เป็นการเคลือ่ นเข้าสูป่ ใี หม่ โดยในสมัยก่อนทีย่ งั ไม่มปี ฏิทนิ ก็จะใช้วธิ กี ารถามพระสงฆ์ทรี่ อบรูเ้ รือ่ งของ โหราศาสตร์ ซึง่ พระสงฆ์ในสมัยก่อนมักจะมีตำ� ราค�ำนวณระยะเวลาของฤกษ์ยามและวันส�ำคัญอันเป็น มงคลต่างๆ ในแต่ละปี ส่วนในปัจจุบันก็ยึดถือเอาตามปฏิทินสากลเป็นหลัก

วัน

วันปากปีถือเป็นประเพณีอันเป็นมงคลหนึ่งที่ กระท�ำสืบต่อกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ มีความเชื่อว่า การสืบทอดประเพณีที่จัดขึ้นในวันปากปีนี้ จะช่วย เสริมสร้างสิรมิ งคลให้แก่ตนเองและครอบครัว ทัง้ ยัง เป็นการสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีทดี่ งี ามให้คง อยูต่ อ่ ไป โดยในวันนีช้ าวน่านจะไปท�ำบุญตักบาตรร่วม กันทีว่ ดั โดยของทีน่ ำ� ไปท�ำบุญประกอบด้วย ข้าวสาร อาหารแห้ง ดอกไม้ธูปเทียน และปัจจัย (เงิน) ตาม แต่ศรัทธา ผูค้ นจะเริม่ ไปท�ำบุญใส่บาตรตัง้ แต่เช้าตรู่

ต่อจากนัน้ จะมีพธิ ถี วายเจดียท์ ราย คุณยายสีวนั มณี รัตน์ ผูส้ งู อายุชาวชุมชนมหาโพธิได้เล่าให้ลอ่ งน่านฟัง ว่า คนน่านมีความเชือ่ เกีย่ วกับการถวายเจดียท์ ราย ว่าเป็นการน�ำทรายมาคืนให้แก่วดั เนือ่ งจากตลอดทัง้ ปีทเี่ ราเข้าวัดท�ำบุญในแต่ละครัง้ เราได้เหยียบย�ำ่ น�ำ ทรายติดเท้าออกไปจากวัดด้วย ถึงแม้ว่าจะไม่ตั้งใจ ก็ตาม แต่กถ็ อื เป็นบาปแก่ตวั เพราะน�ำของวัดออกไป ภายนอก ดังนัน้ ในวันปากปีซงึ่ เป็นฤกษ์ดถิ ขี นึ้ ปีใหม่ ตามความเชือ่ พืน้ เมือง ชาวน่านก็จะพากันขนทราย

มาจากแม่น�้ำน่านไปถวายวัด ถือเป็นการน�ำทราย กลับคืนสูว่ ดั ในรูปของเจดียท์ ราย และเพือ่ ถวายเป็น พุทธบูชา แต่ในสมัยปัจจุบนั นิยมสัง่ ซือ้ ทรายมากอง ไว้หน้าวัด เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนทีม่ าท�ำบุญได้ตกั เอา ทรายเข้าไปถวายในวัด เพื่อสร้างเจดีย์ทราย โดยมี การถวายเป็นเงินเป็นปัจจัยค่าทรายให้แก่วัดแทน เพื่อให้วัดน�ำเงินไปใช้ประโยชน์ในการท�ำนุบ�ำรุง ศาสนสถานในด้านอืน่ ๆ ต่อไป ซึง่ แม้ประเพณีดงั้ เดิม จะถูกเปลีย่ นแปลงและปรับให้เป็นไปตามยุคสมัย แต่ ก็ยงั ตัง้ อยูบ่ นความเชือ่ ของการน�ำทรายกลับคืนสูว่ ดั เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชาเช่นเดิม และในการก่อเจดีย์ ทรายนีจ้ ะมีการประดับเจดียท์ รายด้วยตุง ซึง่ เป็นธง ท�ำด้วยกระดาษสี ตัดเป็นรูปสามเหลีย่ ม หรือฉลุเป็น ลวดลายต่างๆ แต่ตงุ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มกันมากของชาวน่าน คือ ตุงนักษัตร ซึ่งเป็นตุงที่ท�ำมาจากกระดาษพิมพ์ ลายปีนักษัตร การปักตุงนี้มีคติความเชื่อที่ว่า ชาย ตุงจะช่วยน�ำผูถ้ วายเจดียท์ รายไปสูส่ วรรค์ หลังจาก การถวายตุงแล้วจะเป็นพิธีสรงน�้ำพระพุทธรูป โดย ใช้นำ�้ สะอาดผสมแป้งและส้มป่อยในการสรงน�ำ้ จาก นั้นจึงน�ำน�้ำจากภาชนะที่ใช้รองน�้ำสรงพระพุทธรูป กลับไปรดน�ำ้ ด�ำหัวให้กบั สมาชิกในบ้าน เพือ่ เป็นสิริ มงคลกับตนเองและครอบครัว ซึง่ วันปากปีนคี้ นน่าน ถือเป็นวันเริ่มต้นใหม่ จึงควรที่จะน�ำสิ่งที่ดีงามและ เป็นสิริมงคลมาสู่ตนเองในวันแรกของปี เพื่อจะได้ ประสบแต่สิ่งดีงามตลอดทั้งปีต่อไป Long Nan Booklet | 9


คืนพระไม้ ให้เมืองเก่า ตอน ศรัทธาจากคนสู่ไม้

ชาว

น่านเป็นผู้ที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนามาอย่าง มั่นคงและยาวนาน ดังเห็นได้จากการสร้างวัดวาอาราม ตลอดจนการน�ำสัญลักษณ์ของโคอุศุภราช อันเป็นตัวแทนแห่งพระ สมณโคดมหรือพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ประดิษฐานบนหน้าบันของ หอค�ำ อันเป็นที่อยู่อาศัยของเจ้าผู้ครองนคร และในปัจจุบัน แม้จะไม่มี การปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แล้ว แต่เมืองน่านยังคง สัญลักษณ์ของศาสนาแห่งสมณโคดมไว้ในตราประจ�ำจังหวัด เป็นรูป พระธาตุแช่แห้งประดิษฐานบนหลังโคอุศภุ ราช แสดงให้เห็นว่าดินแดน แห่งนี้มีพระพุทธศาสนาสถิตอยู่อย่างมั่นคง จึงไม่แปลกที่จะสามารถ พบพระพุทธรูปเก่าแก่มากมายได้ในเมืองน่าน โดยเฉพาะพระพุทธรูป ไม้ ซึง่ ค่านิยมในการถวายพระพุทธรูปไม้เกิดขึน้ มาได้อย่างไรไม่ปรากฏ หลักฐานแน่ชัด มีเพียงข้อสันนิษฐานที่เล่าสืบต่อกันมาว่า สมัยก่อน เมืองน่านได้ตกเป็นเมืองประเทศราชทั้งของล้านนาและพม่า มาอย่าง ยาวนาน ผู้คนในเมืองถูกกวาดต้อนจนต้องทิ้งให้เมืองร้างอยู่หลายครั้ง หลายครา ดังนั้นโลหะส�ำริดจึงเป็นวัตถุที่หายากและถูกตรวจตราเข้ม งวด เนือ่ งจากมีความส�ำคัญในการใช้สร้างเป็นอาวุธในการสูร้ บ ในช่วง เวลาดังกล่าวการหล่อองค์พระพุทธรูปด้วยโลหะจึงเป็นเรือ่ งทีเ่ ป็นไปได้ ยาก อันแตกต่างจากการใช้ไม้ ทีใ่ นสมัยก่อนเป็นวัสดุทหี่ าได้งา่ ยในท้อง ถิ่น ชาวบ้านจึงนิยมสร้างพระพุทธรูปไม้โดยการแกะสลักแทนการหล่อ พระพุทธรูปส�ำริดแทน ผนวกกับงานช่างฝีมอื ถือเป็นทักษะทีค่ นโบราณ ส่วนใหญ่ต่างมีความสามารถเป็นเรื่องปกติ นอกจากที่เมืองน่านแล้ว เรายังสามารถพบพระพุทธรูปไม้ได้มากในภาค อีสาน และในประเทศ ลาว เนื่องจากตามประวัติศาสตร์น่านและล้านช้างมักตกเป็นเมืองขึ้น ภายใต้การปกครองของพม่าและสยามอยู่เสมอท�ำให้เกิดการถ่ายทอด ศิลปวัฒนธรรมประเพณีระหว่างกันอยู่เสมอ

10 | จุลสารล่องน่าน


พระพุทธรูปไม้ลักษณะต่างๆ ที่ถูกแกะขึ้นโดยช่างชาวบ้าน มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ ไม่ตายตัว สะท้อนถึงตัวตนและศรัทธาของผู้แกะได้อย่างชัดเจน ปัจจุบันถูกเก็บไว้ตาม พิพิธภัณฑ์ชุมชน ไว้ส�ำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนรุ่นหลัง

สิ่งส�ำคัญในขั้นตอนของการ แกะสลักพระพุทธรูปไม้ ที่จะท�ำให้งานออกมาสวยงามคือ การเข้าใจสัดส่วนที่ถูกต้อง และหมั่นตรวจทานระหว่าง การแกะสลักอยู่เสมอ

การเสื่อมความนิยมในการถวายพระพุทธรูป ไม้แกะสลักของเมืองน่าน สันนิษฐานได้ว่าเมื่อสิ้น สุดการท�ำศึกสงครามและเกิดการเปลี่ยนแปลง ระบอบการปกครองของสยาม ท�ำให้โลหะส�ำริดไม่ ได้เป็นสิง่ ทีเ่ ข้าถึงยากอีกต่อไป ค่านิยมของการสร้าง พระพุทธรูปด้วยส�ำริดจึงสูงขึ้นด้วยคุณสมบัติที่มี ความคงทนและทรงคุณค่ากว่า ด้วยค่านิยมทีม่ มี าแต่ สมัยโบราณว่า รูปปั้นรูปเคารพจะต้องสร้างขึ้นจาก โลหะทีม่ คี า่ เช่น ทองค�ำ ทองแดง ส�ำริด โดยเฉพาะ ส�ำริด เป็นโลหะสีทองที่มีความมันวาวเช่นเดียวกับ ทองค�ำ และในสมัยโบราณหากพูดถึง “ทอง” จะ หมายถึงทองส�ำริด หากพูดถึง “ค�ำ” จะหมายถึง “ทองค�ำ” อีกทั้ง “ส�ำริด” สามารถเขียนอีกอย่าง หนึง่ ได้วา่ “สัมฤทธิ”์ ซึง่ น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษา สันสกฤต และตรงกับภาษาบาลีว่า สมิทฺธิ ที่แปลว่า “ความส�ำเร็จ” จึงนิยมน�ำมาสร้างศิลปะรูปเคารพต่างๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลและทรงคุณค่า ซึ่งนอกจาก ส�ำริดจะมีทั้งความหมายและความคงทนมากกว่า ไม้แล้ว ในปัจจุบัน ไม้หลายชนิดถูกตรากฎหมาย ขึ้นควบคุมการตัด ท�ำให้ไม้มงคลหลายชนิดกลาย เป็นวัตถุที่หาได้ยาก อีกทั้งยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ไปท�ำให้งานช่างฝีมือได้รับความสนใจจากเยาวชน รุ่นหลังลดน้อยลง เนื่องจากต่างมีทางเลือกในการ ท�ำกิจกรรมที่ตนเองสนใจมากขึ้นกว่าการแกะสลัก ไม้ งานช่างแกะสลักไม้จึงเป็นงานที่จ�ำกัดกลุ่มคนที่ มีจำ� นวนแคบลงเรือ่ ยๆ คุณลุงสมบูรณ์ แก้วอุน่ สล่า แกะสลักพระพุทธรูปไม้ท่านหนึ่งแห่งบ้านอภัยได้ กล่าวว่า ปัจจุบนั นีห้ าเยาวชนที่สนใจงานศิลปะการ แกะสลักพระพุทธรูปไม้ได้ยาก เท่าทีพ่ บส่วนใหญ่จะ เป็นกลุ่มพระสงฆ์ เนื่องจากงานแกะสลักไม้ต้องใช้ เวลานานอีกทัง้ ราคาทีใ่ ห้เช่าบูชาก็ไม่สงู มากนักเช่น งานพระพุทธรูปไม้ 5 นิ้ว ใช้เวลาแกะสลักประมาณ 3-4 วัน ให้เช่าในราคา 1,500 บาท ซึ่งหากราคาเช่า สูงกว่านีก้ จ็ ะไม่คอ่ ยมีคนสัง่ ท�ำ จึงเป็นอีกปัจจัยหนึง่ ที่ท�ำให้การแกะสลักพระไม้ถวายวัดเริ่มเสื่อมความ นิยมลง และได้หายไปจากเมืองน่านในที่สุด

การถวายพระพุทธรูปไม้จึงกลายเป็นอดีต ที่ใน ปัจจุบนั เป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะกระท�ำกัน ล่องน่านจึงได้จดั โครงการ “คืนพระพุทธรูปไม้สเู่ มืองเก่า” ขึน้ มาเพือ่ เป็นการฟืน้ ความทรงจ�ำร่วม และสานต่อวัฒนธรรม อันดีงามนี้ให้คงอยู่คู่คนน่านต่อไป ซึ่งกิจกรรมแรก ของโครงการคือ การฝึกอบรมการแกะสลักพระพุทธ รูปไม้ในระหว่างวันที่ 28 เมษายน - 4 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในการฟื้นฟูวิถี ปฏิบัติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของเมืองน่านให้ กลับมาอีกครัง้ ซึง่ ต้องเริม่ จากการสร้างวิถที างในการ

เข้าใจพุทธศิลป์ เข้าใจลักษณะเนื้อไม้ และมีจิตแห่งศรัทธา คือ หัวใจของการ แกะสลักพระไม้ สืบสานงานช่างแกะสลักมาสูค่ นรุน่ ปัจจุบนั โดยล่อง น่านได้รบั ความกรุณาจาก พระมหาธนพล ธมฺมพโล วัดแสงดาว อ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน มาเป็นพระ วิทยากรส�ำหรับการฝึกอบรมนี้ ซึ่งท่านได้กล่าวถึง หัวใจของการแกะสลักพระพุทธรูปไม้ว่า หนึ่งจะ ต้องมีความเข้าใจในพุทธศิลป์และพุทธลักษณะของ องค์พระเช่น พระแบบเชียงแสน จะมีพุทธลักษณะ ที่เรียกว่า พระสีหลักษณะคือ มีพระวรกายสง่า ผ่าเผย อวบอิ่ม พระอุระอูม พระพักตร์กลม เม็ด พระศกเป็นก้นหอยขนาดใหญ่ รัศมีเป็นบัวตูมหรือ ลูกแก้ว ประทับขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย ชาย ผ้าสังฆาฏิพาดเหนือพระถันด้านซ้าย พระพุทธชิน ราชแบบสุโขทัย จะมี พรหมลักษณะคือ องค์พระมี

ความสงบเงียบวางเฉย พระวรกายสง่างาม เส้นรอบ นอกพระวรกายอ่อนช้อย พระขนงโก่ง พระเนตร ประดุจตากวาง พระนาสิกโด่ง ชายผ้าสังฆาฏิแยก เป็นเขี้ยวตะขาบ นิ้วพระหัตถ์ทั้งสี่ยาวเสมอกัน อยู่ ในลักษณะปางมารวิชยั เป็นต้น สองต้องมีความรูใ้ น ลักษณะของเนือ้ ไม้ ลายไม้ การแกะไปตามแนวเสีย้ น ไม้ทางไหนที่จะไม่ท�ำให้องค์พระไม้เกิดการแตก ดัง ค�ำพืน้ เมืองทีส่ อนสืบต่อกันมาว่า “จวดดินได้ จวดไม้ เสีย” หมายถึง ไม้ที่ใช้ในการแกะสลัก หากไม้แตก หรือแกะไม้แล้วเกิดความเสียหายผิดรูป หรือแกะ ไม่ได้สัดส่วน เป็นเรื่องที่แก้ไขได้ยาก โดยมากหาก แกะเสียแล้วก็ต้องทิ้งไปกลายเป็นฟืน ต่างจากดิน ที่หากปั้นไม่ได้สัดส่วนหรือปั้นเสียหรือขาดสัดส่วน ไปก็สามารถน�ำมาปั้นเพิ่มเติมได้ นอกจากนี้ยังต้อง รูจ้ กั ไม้มงคลตลอดจนคุณสมบัตขิ องไม้แต่ละชนิดที่ จะน�ำมาแกะสลัก และข้อสามเรื่องของจิตใจ ผู้แกะ สลักต้องมีความมานะพยายาม มีความอดทน และ จิตใจสงบในขณะที่แกะสลักพระพุทธรูป เนื่องจาก อารมณ์ของผูแ้ กะสลักจะถูกถ่ายทอดออกมาในงาน พุทธศิลป์นนั้ ๆ และสิง่ ส�ำคัญเหนือสิง่ อืน่ ใดคือ ความ พยายามและความศรัทธา ดังเรือ่ งจากอดีตทีเ่ ล่าสืบ ต่อกันมาเกี่ยวกับนายพร้าโต้ ซึ่งเป็นผู้ที่ศรัทธาใน พระพุทธศาสนามาก ไม่มีอุปกรณ์ในการแกะสลัก อะไรเลยนอกจากพร้าโต้หนึ่งเล่ม แต่เขาก็สามารถ ใช้พร้าโต้แกะสลักพระพุทธรูปได้สำ� เร็จ แสดงให้เห็น ถึงจิตใจที่มุ่งมั่น เพียรพยายาม และศรัทธาอันแรง กล้า น�ำมาซึ่งความส�ำเร็จ นอกจากพระมหาธนพล ธมฺมพโล จะสอนถึงวิธี การแกะสลักพระพุทธรูปไม้เชิงปฏิบตั กิ ารแล้ว ท่านยัง ให้ความรูแ้ ก่ผฝู้ กึ อบรมในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องอีกมากมาย เช่น ความเชือ่ เกีย่ วกับไม้แต่ละชนิด ความเชือ่ ในการ ถวายพระพุทธรูปไม้ ตลอดจนความแตกต่างของผล งานทางพุทธศิลป์ของแต่ละสกุลช่างไม้ ซึ่งเรื่องราว ทั้งหมดล้วนท�ำให้วิถีปฏิบัติเกี่ยวกับพระพุทธรูปไม้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า ที่พบเห็น ได้ที่เมืองน่านเพียงแห่งเดียว Long Nan Booklet | 11


3

1

4

2 5

6

9

10

สัดส่วนของพระพุทธรูปไม้ที่ใช้ในการศึกษา

เศียรองค์พระ ขนาด 1 ส่วนครึ่ง

ความสูงของส่วนที่ 5 จะอยู่ที่ระหว่างคิ้ว พระพักตร์กว้าง 1 ส่วน

หัวไหล่กว้าง 3 ส่วน

แขนยาว 2 ส่วน

มือยาว 1 ส่วน

เท้า 1 ส่วนเศษ ความกว้างของหน้าตัก 5 ส่วน

12 | จุลสารล่องน่าน

7

8 1. วาดแบบร่างลงบนกระดาษ 2. คัดลอกแบบลงบนไม้ 3. ไม้ที่คัดลอกแบบเสร็จแล้ว 4. แกะไม้ตามโครงที่ลอกแบบไว้ 5. วัดสัดส่วนอื่นๆ เพิ่มเติมลงไปเพื่อรักษาสัดส่วนไม่ให้หลุด ออกไปจากกรอบไม้ทั้งหมด 6-9. ใช้สิ่วขนาดเล็กส�ำหรับการลงรายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆ ซึ่งการเก็บรายละเอียดเล็กๆ ต้องอาศัยความระมัดระวังในการ แกะสลักเพราะไม้ที่ถูกตัดออกไปจะไม่สามารถน�ำกลับมาได้ 10. พระพุทธรูปไม้ที่แกะสลักส�ำเร็จแล้วใน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแกะสลักพระพุทธรูปไม้ รุ่นที่ 1 ณ วัดมหาโพธิ

พระมหาธนพล ธมฺมพโล วิทยากรผูส้ อนการแกะสลักพระพุทธรูปไม้ได้ กล่าวถึงขั้นตอนในการแกะสลักพระพุทธรูปไม้ โดยเริ่มจากการร่างแบบ คร่าวๆ ลงบนกระดาษหรือเนือ้ ไม้ จากนัน้ จึงก�ำหนดสัดส่วน ตามต�ำรามีการ ก�ำหนดสัดส่วนออกมาเป็น 5 ส่วนคือ ความกว้างของหน้าตักมี 5 ส่วน เท่ากับความสูงของส่วนที่ 5 จะอยู่ที่ระหว่างคิ้ว ขององค์พระ และส่วนที่ 6 จะเท่ากับโคนพระเกศโมลี ส่วนที่ 4 จะเท่ากับปลายคางหรือคอ ส่วนที่ 3 เท่ากับพระอุระ ส่วนทีน่ นู ทีส่ ดุ คือ ราวพระถันใกล้รอ่ งพระพาหา เมือ่ ก�ำหนด สัดส่วนและวางเค้าโครงรูปร่างองค์พระพุทธรูปได้แล้วจึงท�ำการโกนคือ การ ตัดส่วนที่ไม่ใช้ออก โดยใช้ขวานหรือมีดพร้า จากนั้นจึงใช้สิ่วตอกเซาะให้ เกิดเป็นรูปร่างขององค์พระขึ้นมา พร้อมทั้งเก็บรายละเอียดต่างๆ ขององค์ พระ และขัน้ ตอนสุดท้ายคือ การขัดแต่งองค์พระให้มผี วิ เรียบเนียนสวยงาม จากนั้นจึงน�ำไปลงรัก ปิดทอง ล่องชาด ตามแต่ความต้องการของผู้สร้าง หรือผูถ้ วาย ในส่วนของฐานพระส่วนใหญ่จะท�ำเป็นฐานแบบทรงพระอาทิตย์ ทรงบัว หรือท�ำเป็นลักษณะของฐานแม่บทของสถาปัตยกรรมล้านนาคือ ฐานแบบบัวคว�่ำ บัวหงาย ประโยชน์ของฐานพระจะท�ำไว้เพื่อจารึกข้อมูล อักขระ ค�ำอธิษฐานต่างๆ ข้อมูลเชิงพุทธประวัติ อาจมีการกล่าวถึงวันเม็ง วันไตรศิริ ข้างขึ้น ข้างแรม หรือปีนักษัตร หรือจารึกชื่อของคณะศรัทธาผู้ สร้างถวาย


คัดฤกษ์งาม สรรยามดี แฮก

มีความหมายเดียวกับค�ำว่า แรก ใน ภาษากลาง หมายถึง การเริม่ ต้น คน น่านสืบทอดวัฒนธรรมการแฮกมาแต่โบราณจาก รุ่นสู่รุ่นและมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย โดย เฉพาะพิธีแฮกที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรกรรม ซึ่ง ถือเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาแต่โบราณ พิธีแฮก เป็นพิธีการเริ่มต้นในการปลูกพืชชนิด ต่างๆ ซึ่งชาวบ้านยึดถือความเชื่อการปลูกเอาฤกษ์ เอาวัน เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล โดยการแฮกสามารถ ท�ำได้กับพืชทุกชนิด ขึ้นอยู่กับเกษตรกรที่ต้องการ เพาะปลูกเช่น ชาวนาก็จะท�ำพิธีแฮกข้าว ที่จะปลูก ในฤดูการถัดไป ชาวไร่ชาวสวนก็จะท�ำพิธีแฮก พืช ไร่หรือไม้ผลทีต่ อ้ งการปลูกในพืน้ ทีแ่ ปลงเกษตรของ ตนเอง เป็นต้น เกษตรกรมีความเชื่อว่า การเริ่มต้นเพาะปลูก ในวันที่ดีจะท�ำให้พืชผลที่ผลิตออกมาในอนาคต งอกงามสมบูรณ์ ไม่เป็นโรค หรือประสบภัยธรรมชาติ ต่างๆ อันเป็นผลให้ตน้ กล้าทีป่ ลูกได้รบั ความเสียหาย หรือเพือ่ ให้ผลผลิตทีไ่ ด้มานัน้ ขายได้ราคาดี เกษตรกร เมืองน่านส่วนใหญ่นยิ มท�ำพิธแี ฮก 2 ครัง้ ด้วยกันคือ ก่อนท�ำการปลูกและก่อนเก็บเกี่ยวพืชผลทางการ เกษตร ซึ่งการแฮกทั้งสองครั้งนี้จะเริ่มต้นจากการ หาฤกษ์หาวันอันเป็นมงคล เพื่อท�ำพิธีแฮก โดยการ ถามวันมงคลจากผูส้ งู อายุทเี่ คยท�ำพิธนี มี้ าก่อน หรือ ถามพ่อหมอ (หมอสู่ขวัญ) ในหมู่บ้าน ซึ่งแต่ละคน ก็จะมีความเชื่อ และค�ำแนะน�ำในการให้ฤกษ์วันที่ แตกต่างกันออกไป บางคนก็ถอื เอาวันพืชมงคลเป็น วันดีในการท�ำพิธีแฮก บางคนก็ถือเอาวันอาทิตย์ หรือวันพฤหัสบดีเป็นวันดี หรือบางคนก็ยึดถือตาม ต�ำราจันทรคติ ซึ่งเมื่อเกษตรกรได้ฤกษ์วันดีอันเป็น มงคลแล้ว ก็จะท�ำพิธีเพื่อบวงสรวงบูชาเทพยดาที่ คุ้มครองเกี่ยวกับการท�ำนาหรือการเพาะปลูกอื่นๆ เช่น ท้าวจตุโลกบาล พระแม่โพสพ หรือพระแม่ธรณี เป็นต้น เพื่อท�ำการบอกกล่าวและขออนุญาตสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้นในการท�ำการเพาะปลูก และ

พ่อหมอขณะท�ำพิธีบวงสรวง และขอพรจากพระแม่ธรณีให้ช่วยดูแลผลผลิตทางการเกษตร

อธิษฐานขอพรให้พระแม่ธรณีช่วยดูแลผลผลิตให้ เจริญงอกงาม ไม่ให้พืชผลได้รับความเสียหายจาก โรคพืชหรือแมลงต่างๆ โดยเครื่องเซ่นที่ใช้ในการ ประกอบพิธีเซ่นสรวงนั้นประกอบด้วย กล้วยสุก 1 ใบ หมาก 1 ค�ำ ใบพลู 1 ใบ ข้าวเหนียว 1 ปั้น บรรจุ รวมกันอยู่ในกระทงขนาดเล็กที่ท�ำจากใบตองหรือ กระดาษพับตามแต่สะดวก โดยมีธูป 2 ดอก เทียน 2 เล่ม และดอกไม้ ใช้ในการไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยส่วนใหญ่ก็จะท�ำพิธีแฮกบริเวณที่ดินเรือกสวน ไร่นาของแต่ละคน แต่หากเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ที่ไม่ค่อย สะดวกไปไร่นาก็จะท�ำพิธแี ฮกในบริเวณบ้านของตน เนือ่ งจากการแฮกเป็นการถือเอาฤกษ์เอาวันดีเท่านัน้ จึงยึดความสะดวกของผู้แฮกเป็นหลัก นอกจากเพื่อความเป็นสิริมงคลแล้วเช่น การ แฮกพืชไร่ ยังเป็นการทดสอบอัตราการงอกของเมล็ด พันธุ์ได้ในขณะเดียวกัน โดยชาวบ้านจะนิยมแฮก ปลูก 7 หลุม หลุมละ 7 เมล็ด หลังจากปลูกพืชเสร็จ ก็เป็นอันเสร็จพิธีการแฮก จากนั้นประมาณ 7-10 วัน เกษตรกรก็จะตรวจดูการงอกของพืชในแต่ละ หลุม ซึ่งจะท�ำให้ทราบอัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์ เบือ้ งต้นได้ ส่วนการแฮกครัง้ ทีส่ องท�ำในช่วงฤดูเก็บ เกี่ยวผลผลิต ซึ่งจะมีพิธีคล้ายกับการแฮกเมื่อเริ่ม ปลูกคือ เริ่มจากการหาฤกษ์วันดีก่อน เมื่อได้ฤกษ์ วันแล้วก็ท�ำการเก็บเกี่ยวผลผลิตเอาฤกษ์ดี ซึ่งหาก เป็นการเกีย่ วข้าวก็จะถือเอาเลขมงคลเช่น เกีย่ วข้าว 7 มัดเพื่อเอาฤกษ์ก่อน จากนั้นก็จะก�ำหนดวันเก็บ

เกี่ยวจริง ซึ่งอาจขึ้นอยู่กับความความสะดวกของ เกษตรกรแต่ละคน โดยในสมัยนีจ้ ะมีการจองคิวจ้าง รถเกีย่ วข้าวต่อๆ กัน หรือการจ้างคนลงแขก ซึง่ ต้อง รอเวลาที่สะดวกพร้อมลงมือเก็บเกี่ยวผลผลิต เมื่อ เกี่ยวข้าวแล้วเสร็จก็จะมีการท�ำพิธีสู่ขวัญข้าว ซึ่ง หมายถึงการท�ำพิธีเพื่อเรียกขวัญข้าวที่ตกหล่นอยู่ ในที่ต่างๆ มาสู่เรือนข้าว หรือหลองข้าว (ยุ้งข้าว) และเพือ่ สักการะพระแม่โพสพหรือพระแม่ธรณีทไี่ ด้ บนบานสานกล่าวเอาไว้ตั้งแต่พิธีแฮกปลูก ซึ่งการสู่ ขวัญข้าวจะมีการเตรียมของเหมือนการสู่ขวัญคน โดยให้ผู้อาวุโสของหมู่บ้านมาท�ำพิธีเรียกขวัญข้าว ให้เข้ามาอยู่ในหลองข้าว นอกจากนี้ยังมีประเพณี ตานข้าวใหม่ คือ การท�ำบุญโดยการน�ำข้าวเปลือก หรือข้าวสารที่เก็บเกี่ยวมาได้ใหม่ๆ ไปถวายท�ำบุญ ที่วัด กล่าวค�ำอุทิศไปให้บรรพบุรุษของเจ้าของนาที่ ล่วงลับไปแล้ว หรืออุทิศให้แก่เทพยาดา เพื่อความ เป็นสิริมงคลต่อไป ปัจจุบันการเกษตรส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความ ส�ำคัญกับการแฮก หรือการสู่ขวัญข้าว เนื่องจาก ค่านิยมทีเ่ ปลีย่ นไปตามยุคสมัย มีการน�ำเทคโนโลยี สมัยใหม่มาช่วยในการเกษตร มีการพึง่ พาธรรมชาติ ที่น้อยลง จากระบบชลประทานและการควบคุม เมล็ดพันธุ์ อีกทั้งการให้ความส�ำคัญแก่การท�ำ เกษตรกรรมจากคนในสังคมทีล่ ดลง ท�ำให้พธิ เี หล่า นี้เริ่มหายไปจากสังคมอย่างน่าเสียดาย Long Nan Booklet | 13


ด้านหน้าของคุ้มมองเห็นบันไดทางขึ้นและระเบียงนั่งเล่น ส�ำหรับใช้พักผ่อนและรับรองแขก

ห้องรับแขกด้านขวาของตัวเรือนที่ดัดแปลงมาจากระเบียงบ้านในสมัยก่อน

ห้องครัวเปิดผนังโล่งด้านหลังคุ้ม

ชานบันไดหน้าบ้านและระเบียงส�ำหรับใช้พักผ่อนและรับรองแขก

คุ้มเจ้าทองย่น าทองย่น เป็นชื่อเรียกติดปากกันของชาวบ้านในละแวกนี้ส�ำหรับเรือน คุ้มเจ้ขนาดใหญ่ หลังนี้ เนื่องจากเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเจ้าทองย่น บุตรีของ

เจ้าทองย่น รัตนวงศ์ไชย

1

B-5

ต�ำแหน่งในแผนที่ 14 | จุลสารล่องน่าน

เจ้าอินต๊ะ กับเจ้าบุญยืน สารรัตน์ (ณ น่าน) ซึ่งท่านทั้งสองเป็นเชื้อสายของ เจ้ามหาวงษ์ และเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 61 และ 62 ตาม ล�ำดับ ที่ดินและบ้านหลังนี้แต่เดิมนั้น เป็นบ้านของรองอ�ำมาตย์ตรีเคี่ยน รัตนวงศ์ ไชย อดีตข้าราชการห้องคลังหลวง ซึ่งท่านมีลูกชายโทนคือ คุณสมบูรณ์ รัตนวงศ์ ไชย อดีตผูช้ ว่ ยศึกษาธิการจังหวัด โดยในสมัยก่อนคุณสมบูรณ์ เป็นชายหนุม่ ทีห่ ล่อ มาก ส่วนเจ้าทองย่นก็เป็นผู้หญิงที่สวยมากเช่นกัน ทั้งสองพบรักกันที่เมืองน่านนี้ และได้แต่งงานกันในที่สุด เจ้าทองย่นจึงได้ย้ายออกมาจากคุ้มเจ้าฟองค�ำ ซึ่งเป็น เรือนเกิดของตน มาอาศัยอยู่ที่นี่แทน เจ้าทองย่นมีลูกชาย 2 คน และลูกผู้หญิง 1 คน ซึ่งก็คือคุณอดิสัย วิเศษวัชร์ ซึ่งเป็นเจ้าของบ้านคนปัจจุบัน


1.50 2.00

โถงบริการเชื่อมส่วนนั่งเล่นด้านหน้า และส่วนรับประทานอาหารด้านหลัง

เก็บของ

ห้องน�้ำ

วางเก็บ ภาชนะ

เติ๋น

3.00

ห้องพัก โถง

ชาน

6.00 2.00

โถงบริการ

บริเวณ รับประทาน อาหาร

ขึ้น

ห้องน�้ำ ห้องน�้ำ

ขึ้น ขึ้น ห้องพัก

ห้องนอน

ห้องพัก ห้องพัก

4.00

พื้นที่ส�ำหรับเก็บภาชนะดินเผาหลังบ้าน

ห้องพัก

3.50

ครัวไฟ

โถงนั่งเล่น

2.00 2.00

ห้องนอน ระเบียง ขึ้น

3.00

โถงรับแขก

4.00

คุณอดิสัยได้เล่าถึงบ้านของตนว่า เรือนหลังนี้ สร้างขึน้ เมือ่ ใดไม่แน่ชดั แต่สนั นิษฐานว่า น่าจะสร้าง ขึน้ ก่อนปี พ.ศ. 2455 เนือ่ งจากปูเ่ คีย่ นได้สร้างเรือน หลังนีม้ านานก่อนทีค่ ณ ุ สมบูรณ์ผเู้ ป็นบิดาของตนจะ เกิด บ้านหลังนี้แต่เดิมแบ่งเป็นสองส่วนคือ ตัวบ้าน และยุ้งข้าว เสาบ้านเป็นเสากลมที่ท�ำจากไม้ทั้งต้น มีชานระเบียงกว้างด้านหน้า และมีชานไม้ตากผ้า ด้านข้าง บริเวณด้านบนของฝาผนังเรือนใต้ชายคา จะมีช่องลม โดยตีเป็นไม้ระแนงตีไขว้กันเป็นรูป สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนเพื่อระบายอากาศใต้หลังคา เรือนหลังเล็กด้านหลังทีเ่ ชือ่ มกับเรือนใหญ่ดว้ ยชาน ปัจจุบันยังสามารถเห็นหลังคามุงกระเบื้องดินขอ ได้ทั้งหลัง บันไดทางขึ้นเรือนมีสองทางคือ บันได ปูนป่องไข่ด้านหน้า และบันไดไม้ธรรมดาด้านหลัง คุณอดิสัยอธิบายว่า เนื่องจากสมัยก่อนชานด้าน หน้าใช้ส�ำหรับรับแขก ต้องดูแลรักษาความสะอาด ให้ความสวยงามอยู่เสมอ ส่วนบันไดหลังบ้านเป็น บันไดส�ำหรับเจ้าของบ้านหรือบ่าวไพร่ในเรือนที่ กลับจากเรือกสวนไร่นา ซึ่งเนื้อตัวมักจะเปื้อนดิน โคลน ก็ให้เดินขึ้นบันไดด้านหลังเพื่อไปอาบน�้ำล้าง ตัว ห้องรับแขกอยูต่ รงส่วนหน้าของบ้านด้านขวามือ ที่ต่อออกไปอีกสองช่วง ซึ่งเป็นบริเวณที่กว้างมาก

บันไดทางเข้า หน้าบ้าน

ขึ้น

4.00

4.00

ต่อมาราวปี พ.ศ. 2510 ก็ได้กั้นห้องตรงระเบียงฝั่ง ขวาให้เป็นห้องนอน และห้องพระ มียงุ้ ข้าวอยูใ่ กล้ๆ ด้านซ้ายของเรือน ซึง่ ในสมัยก่อนบ้านหลังนีเ้ ลีย้ งวัว ไว้เยอะมาก เพื่อใช้ลากเกวียนขนข้าวมาเก็บในยุ้ง ถือกันว่าในสมัยนั้นหากใครมีที่นา มีข้าว มีวัวต่าง เกวียนข้าวเดินเข้าบ้านเป็นแถวยาวถือว่าเป็นคนที่ มีหน้ามีตามาก โดยวัวและควายเหล่านี้จะถูกเลี้ยง ไว้ในบริเวณใต้ถุนยุ้งข้าว ภายในบ้านคุณอดิสยั ยังคงมีเครื่องมือเครือ่ งใช้ โบราณเช่น ฮอกช้าง ซึ่งในสมัยก่อน จะใช้ส�ำหรับ แขวนไว้ที่คอช้าง เพราะช้างเป็นสัตว์เดินเบา เมื่อ ช้างเดินหนีไปจะท�ำให้เราทราบได้ ซึ่งโบราณสอน ไว้ว่า ผู้หญิงให้เดินเหมือนช้างคือ เดินเบา เดิน สวย เรียบร้อย ไม่วิ่งกระโดกกระเดก บนบ้านยังมี กะหลก ที่ใช้ส�ำหรับตีเพื่อส่งสัญญาณว่ามีโจร หรือ มีเภทภัยต่างๆ สมัยก่อนในบริเวณบ้านจะมีบ่อน�้ำ อยู่ที่หน้าบ้าน และคนในชุมชนจะมาตักน�้ำจากที่นี่ ไปใช้ เนือ่ งจากสมัยก่อน บ่อน�ำ้ ไม่ได้เป็นสมบัตสิ ว่ น บุคคล แต่เป็นบ่อรวมที่ทกุ คนใช้ร่วมกัน ซึ่งในเดือน เมษายนของทุกปี คนในชุมชนจะพากันมาช่วยกัน ล้างบ่อ โดยการตักน�้ำในบ่อออกให้หมด เพื่อให้น�้ำ ใหม่ที่ใสสะอาดไหลเข้ามาแทนที่

ผังพื้นชั้นบน คุ้มเจ้าทองย่น

4.00

4.00

4.00

คุณอดิสยั ยังเล่าถึงความรูเ้ กีย่ วกับพืน้ ของเรือนที่ มีระดับลดหลัน่ กันไปว่า เนือ่ งจากคนโบราณนิยมนัง่ บนพื้น แต่บ่าวไพร่จะนั่งเสมอเจ้านายไม่ได้ จึงต้อง สร้างเรือนที่มีการลดหลั่นระดับของพื้นบ้านลงมา ทั้งหน้าบ้านและหลังบ้าน จะได้ไม่ถือเป็นการตีตน เสมอเจ้านาย และมีการสร้างเรือนนอนส�ำหรับบ่าว ไพร่ด้านหลัง ท�ำให้เรือนหลังนี้มีความสลับซับซ้อน ขององค์ประกอบภายในเรือนมากมายที่น่าสนใจ อีกทั้งด้วยความเอาใจใส่ของลูกหลานที่ยังคงรักษา ดูแลเรือนหลังนี้ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์อยู่เสมอ สังเกตได้จากความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายใน บ้าน และสิ่งของเครื่องใช้โบราณที่ยังคงเก็บรักษา ไว้ให้ลูกหลานได้เห็น ถือได้ว่าคุ้มเจ้าทองย่นก็เป็น อีกหนึ่งสถาปัตยกรรมที่ทรงคุณค่าและเปี่ยมด้วย ความทรงจ�ำอันยาวนาน และเป็นเรือนหลังแรกที่ เราสามารถพบได้ เมื่อเดินทางเข้าสู่เขตเทศบาล เมืองน่าน โดยตัวเรือนตั้งอยู่บริเวณสี่แยกบนถนน สุริยพงษ์ ตรงข้ามวัดศรีพันต้น เป็นเรือนที่ร่มรื่นได้ ด้วยต้นไม้ใหญ่นอ้ ย ทีไ่ ด้รบั การดูแลสืบต่อกันมาเป็น อย่างดีจากเจ้าของบ้าน

Long Nan Booklet | 15


แรกเริ ม ่ ประเดิมน่าน พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรก ที่เสด็จเยือนเมืองน่าน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จ พระราชด�ำเนินมายังที่ว่าการอ�ำเภอสา จังหวัดน่าน ศาลากลางจังหวัดน่าน (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน) และทรงเสด็จพระราชด�ำเนินไปสักการะพระเจ้าทอง ทิพย์ ณ วัดสวนตาล

ดร.ฮิวจ์ เทเล่อร์ มิชชันนารีในจังหวัดน่าน ได้สร้างอาคารขึน้ เป็นอาคารตึกก่ออิฐสีแดง 2 ชั้น (ตึกลินกัลน์) และท�ำพิธีเปิดอาคาร เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2450 ณ บ้านต้นปล้อง ถนนสุมนเทวราช ให้ชอื่ ว่า “โรงเรียนลินกัลน์อะแคเดมี” โดยเปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย ปัจจุบันคือ “โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา” พระเจ้าสุริยพงษ์ ผริตเดชฯ ทรงได้รับ พระมหากรุณาธิคุณ จากรัชกาลที่ 5 ให้ ด�ำรงยศเป็น “พระเจ้านครน่าน” นับ ได้ว่าเป็นพระเจ้านครน่านองค์แรกและ องค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน โรงแรมไม้สามชัน้ แห่งแรกใน เมืองน่าน สร้างประมาณปี พ.ศ. 2478-2499 ในช่วงก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 2 ได้มีชาวจีนเชื้อสายไหหล�ำคณะหนึ่งสร้างโรงแรมไม้สองชั้น เล็กๆ ขึ้นชื่อว่า โรงแรม “นั่มเส่งเฮ็ง” (南盛兴) ต่อมาได้ขายกิจการ ไป จนมาถึงเจ้าของคุณเป็งหย่วน ได้รื้อและสร้างโรงแรมขึ้นใหม่ใน ปี พ.ศ.2498 เป็นอาคารไม้สามชั้นแห่งแรกในเมืองน่าน และได้ตั้ง ชื่อใหม่ว่า “โรงแรมน่านฟ้า” ต่อมาได้ขายกิจการทั้งหมดให้กับคุณ บัณฑูร ล�่ำซ�ำ ซึ่งได้ปรับปรุงและเปิดกิจการโดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “โรงแรมภูคาน่านฟ้า” ดังที่เห็นในปัจจุบัน

16 | จุลสารล่องน่าน

ดอยภูคาเป็นพื้นที่ ที่พบ “ดอกชมพู ภูคา” แห่งแรกในประเทศไทย ค้นพบเมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2529 โดย ดร.ธวัชชัย สันติสุข ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้หายาก และไม่พบใน พื้นที่ใดอีกเลย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.