Long Nan August 2013

Page 1

จุลสารล่องน่าน

จุลสารล่องน่าน | Long Nan Booklet จุลสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในชุมชนเมืองน่าน

แจกฟรี | ฉบับที่ 2 | สิงหาคม 2556

กอยกาดแลง กำ�กิ๋นลำ� ตลาดสดชุมชนเชียงแข็ง

FREE COPY AUGUST 2013

ชุมเชียงแข็ง ตวยต๋ามฮีต งามเงินเมืองน่าน ย้อนเยือน ชนเข้มแข็ง การตั ตัดต๋ามฮอย กว่าจะเป็นเครื่องเงินเมืองน่าน เฮือนน่าน ดตุงในแบบน่านน่าน ที่ตลาดสดชุมชนเชียงแข็ง

แอ่วผ่อเฮือนบ่าเก่าจาวน่าน

ซิ่นไม่สิ้น

ตามหาผู้ปั่นต่อเส้นฝ้าย ผ้าซิ่นเมืองน่าน


Editor Talk

สารบัญ

หน้าฝนปีนี้ ความชุ่มช�่ำของสายฝนมา ทักทายกันตั้งแต่ต้นฤดูอย่างต่อเนื่อง หลาย พื้นที่ของเมืองน่านต้องประสบกับปัญหาน�้ำ ท่วมอีกเช่นเคย โดยเฉพาะชุมชนที่ตั้งอยู่ริม ฝั่งแม่น�้ำน่าน การมาของน�้ำในปริมาณที่มาก ในทีเดียว ท�ำให้เราต้องปรับตัวในการอยูอ่ าศัย การประกอบกิจกรรมต่างๆ และการปรับปรุง โครงสร้างพืน้ ฐานของเมืองไปพร้อมๆ กัน รวม ถึงการเตรียมรับมือกับภัยพิบตั ทิ จี่ ะอาจเกิดขึน้ อีกในอนาคต การขาดซึง่ การเตรียมการรับมือ ที่ดี อาจหมายถึงการสูญเสียที่มากกว่ามูลค่า ทางเศรษฐกิจ หรือความสะดวกสบายในการ ด�ำรงชีวติ และยังส่งผลกระทบไปถึงความต่อ เนือ่ งของศิลปวิทยาการ และการสืบทอดการ สร้างงานทางวัฒนธรรม รวมถึงการประกอบ กิจกรรมประเพณีต่างๆ ในพื้นที่ ที่อาจท�ำให้ เกิดการสูญหาย หรือท�ำให้ต้องมีการปรับ ตัวในการปฏิบัติ หรือต้องมีการเสริมสร้าง ความแข็งแรงของสิง่ ปลูกสร้างทีม่ คี ณ ุ ค่าทาง ประวัติศาสตร์ โบราณสถานต่างๆ ตัวอย่าง ใกล้ตัวของการได้รับผลกระทบที่รุนแรง จน เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถอนรากถอนโคน ให้กับเมือง มีให้เห็นเช่นที่เวียงกุมกาม ที่ จมหายไปกับสายน�้ำปิงที่ล้นขึ้นมาเอ่อท่วม

ดูเหมือนว่าโลกปัจจุบนั เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลง อะไรขึ้น มักส่งผลกระทบที่รุนแรงกว่าในอดีต และทุกสิ่งทุกอย่างดูเหมือนล้วนสัมพันธ์เกี่ยว เนื่องกันไปหมด บ้านพื้นถิ่นเมืองน่าน 3 หลังในล่องน่าน ฉบับนี้ คงเป็นตัวอย่างที่ดีของการลองผิดลอง ถูกของคนในอดีตมาแล้วว่า อะไรเหมาะสมกับ อะไร ท�ำไมบรรพบุรุษของเราถึงสร้างบ้านกัน แบบนี้ เช่นเดียวกับงานฝีมอื งานหัตถกรรมอัน ประณีตบรรจงของชาวน่านหลายอย่าง ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจและใช้วสั ดุจากธรรมชาติ รวมถึง อาหารการกินต่างๆ ที่พึ่งพิง และหาเอาได้จาก ธรรมชาติเป็นหลัก ถ้าธรรมชาติเปลีย่ นแปลงไป จนส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่พื้นฐานของ เราอย่างบ่อยครั้งและรุนแรงแล้ว ทรัพยากร ทางวัฒนธรรมและการประกอบกิจกรรมทาง วัฒนธรรรม ดังเช่นที่น�ำเสนอในล่องน่านฉบับ นี้ ก็คงได้รบั ผลกระทบจนเกิดการเปลีย่ นแปลง อย่างแน่นอน ถึงเวลาแล้วที่เราควรหวนแหน และรักษา ธรรมชาติให้เข้มข้นกว่าทีเ่ ป็นอยู่ ถึงแม้เรารูอ้ ยู่ แก่ใจว่า สายไปแล้วก็ตาม ณวิทย์ อ่องแสวงชัย | บรรณาธิการบริหาร

สัญลักษณ์ได้รับแรงบันดาลใจมาจากตัวอักษรพื้นเมืองที่อ่านว่า “น่าน” ( ) ภายใต้กรอบ รูปทรงวงรีหลายโค้งอันไม่สมมาตร ซึ่งแสดงถึงการหลอมรวมกันของผู้คน และศิลปวัฒนธรรม จน เป็นเนื้อเดียวกัน ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะเมืองน่าน กรอบรูปนั้นจึงไม่ใช่วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยม พื้นฐานที่พบเห็นได้ทั่วไป ชื่อ “ล่องน่าน” สื่อความถึง ความผูกพันกับสายน�้ำน่านของคนน่าน และยังเป็นที่มาของ ฟ้อนล่องน่าน ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงดั้งเดิมของเมืองน่าน “ล่องน่าน” ยังให้นัยยะถึง การเข้ามา ค้นหาความน่าตื่นตาตื่นใจในศิลปวัฒนธรรม ที่ผ่านการสืบทอดมาอย่างยาวนานได้อย่างไม่รู้จบจาก ผู้มาเยือน ดุจดั่งการล่องไปในจินตนาการ ในขณะที่ “Long Nan” เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์อัน ยาวนานของเมืองน่าน และศิลปวัฒนธรรมที่มีรากฝังลึกมาแต่อดีตช้านาน จนผู้มาเยือนอาจต้องใช้ เวลานานกว่าที่คิดไว้ในการเข้าไปสัมผัส

ที่ปรึกษา | Adviser บรรณาธิการบริหาร | Editor in Chief กองบรรณาธิการ | Editorial Staff ภาพถ่าย | Photograph ศิลปกรรม | Graphic Designers

สุรพล เธียรสูตร, รศ.ดร. ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา ณวิทย์ อ่องแสวงชัย บรรจง อูปแก้ว, สุกันย์ณภัทร กันธะวงค์ วราวุธ ธิจินะ, ชมพูนุท ชมภูรัตน์, ศุภกุล ปันทา

จุลสาร “ล่องน่าน” เป็นจุลสารรายสองเดือน จัดท�ำโดยโครงการ “การจัดการทรัพยากรทาง สถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในชุมชน เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วบนฐานวัฒนธรรมในเขตเมืองน่าน” ภายใต้การสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Long Nan is a bimonthly magazine. Published by Faculty of Architecture, Chiang Mai University.

01 | จุลสารล่องน่าน

---/1/ บทบรรณาธิการ ---/2/ แผนที่เมืองน่าน ---/3-6/ ชุมเชียงแข็งชนเข้มแข็ง เดินเที่ยวยามเย็น ที่ตลาดสดชุมชนเชียงแข็ง

---/7-8/ งามเงินเมืองน่าน

กว่าจะเป็นเครื่องเงินเมืองน่าน

---/9/ ตวยต๋ามฮีตตัดต๋ามฮอย

ตามรอยวิธีการตัดตุงในแบบน่านน่าน

---/10-13/ ย้อนเยือน เฮือนน่าน

แอ่วผ่อเฮือนบ่าเก่าจาวน่าน

---/14/ ซิ่นไม่สิ้น

ตามหาผู้ปั่นต่อเส้นฝ้าย ผ้าซิ่นเมืองน่าน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร: 0 5394 2806, แฟกซ์: 05 322 1448 www.arc.cmu.ac.th

ติดต่อโฆษณาหรือร่วมสนับสนุนโครงการ โทร: 08 7496 4142 www.facebook.com/longnanproject www.longnanproject.wordpress.com longnanproject@gmail.com อนุญาติให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาติครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาติแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย


A

B

C

D

E

F มหาวิทยาลัยเทค โนโลยีราชมงคลลานนา

1

แม น

3

24

้ำนา

1

สนามบิน

7

2

5 ถน

นม

หาย

3 ถ

าช

เทวร

ุมน นนส

4 แม

น้ำน

าน

วัดสวนตาล

6 พิพิธภัณฑ สถานแหงชาติ

วัดพระธาตุชางค้ำ

ถนนม

5

หาวง

ศ

วัดภูมินทร

ไปพระธาตุเขานอย

6

แผนที่ชุมชนน่าน

ไปพระธาตุแชแหง

1

นายจรัญ ขัดมัน ครูภูมิปัญญาการท�ำเครื่องเงินเมืองน่าน

4

2

คุณยายวันดี สิทธิสัน ช่างตัดตุงล้านนา

5

3

คุณยายขันแก้ว เพชรพ่วง ช่างทอผ้าซิ่นเมืองน่าน

E-2 F-1 F-2

F-1

บ้านคุณบัวจันทร์ มงคลวิสุทธิ์ บ้านเลขที่ 79 ชุมชนเชียงแข็ง

6

E-3

บ้านคุณนางจันทร์ศรี ภักดี บ้านเลขที่ 7/1 ซ.1 ถ.สุมนเทวราช ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน

7

D-5

บ้านคุณจิรวรรณ อิสรางกูร ณ อยุธยา บ้านกาแล โฮมสเตย์

F-1

ตลาดสดเชียงแข็ง ชุมชนเชียงแข็ง Long Nan Booklet | 02


บรรยากาศตลาดยามผู้คนเข้ามาจับจ่ายซื้อของ

ชุมเชียงแข็ง

ชนเข้มแข็ง ตลาดชุมชนรักสุขภาพ ห่วงสิ่งแวดล้อม

7

F-1

ต�ำแหน่งในแผนที่ 03 | จุลสารล่องน่าน

ทางตอนเหนือของเทศบาลเมืองน่าน มีโครงการร่วมของสามชุมชนที่ ชื่อว่า “ลงเรือน�้ำล้อม ชมตลาดเชียงแข็ง กินข้าวแลงมหาโพธิ” ล่องน่าน ฉบับนี้ เราจะพาไปเที่ยวตลาดเชียงแข็งที่มคี �ำขวัญของตลาดว่า “สดจาก ป่า อาหารพื้นบ้าน ไร้มลพิษ” กัน โดยมีคุณสัมฤทธิ์ จิตวงศนันท์ หัวหน้า บ้านเชียงแข็ง และคุณสมหวัง ระวังยศ ผู้จัดการตลาดเชียงแข็ง เป็นผู้พา เยี่ยมชมตลาด และเล่าถึงเรื่องราวความเป็นมาตลอดถึงการจัดการระบบ ต่างๆ ของตลาดให้พวกเราฟัง พร้อมทัง้ ชิมของกินพืน้ เมืองอร่อยๆ ไปด้วย

แรกเริ่มเดิมทีบริเวณสองข้างถนนเทศบาล ด�ำริห์ได้มีชาวบ้านน�ำข้าวปลาอาหารที่เหลือจาก การบริโภคในครัวเรือนมาวางขาย จนเริ่มมีผู้คน เข้ามาค้าขายและจับจ่ายซือ้ ของมากขึน้ เรือ่ ยๆ ทาง เทศบาลเกรงว่าอาจเกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ ได้ จึงให้ยา้ ยเข้า มาอยูใ่ นเขตของวัด และเริม่ ปลูกสร้างเป็นเพิงไม้ขนึ้ ในราวปี พ.ศ.2520 ต่อมาได้มีการปรับปรุงโดยการ เทพื้นซีเมนต์ แต่ก็ยังคงเป็นการวางของขายกับพื้น จนกระทั่งปี พ.ศ.2555 ทางชุมชนได้เงินสนับสนุน ในการปรับปรุงมาจากโครงการ SML จึงได้รื้อถอน อาคารเก่าทั้งหมดแล้วสร้างเป็นอาคารถาวรอย่าง ที่เห็นในปัจจุบัน ตลาดสดบ้านเชียงแข็งเป็นหนึ่งในสถานที่ท่อง เที่ยวเชิงอนุรักษ์ ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาล เมืองน่าน น�ำรถรางมาจอดแวะให้นกั ท่องเทีย่ วได้มา จับจ่ายซือ้ ของน�ำไปรับประทาน ซึง่ ตลาดแห่งนี้ เป็น ตลาดสดชุมชนเพียง แห่งเดียวในเขตเทศบาลเมือง น่านทีม่ กี ารบริหารจัดการโดยคณะกรรมการทีเ่ ลือก ตั้งจากชุมชน โดยพ่อค้าแม่ค้าส่วนใหญ่เป็นคนใน


ข้าวแช่ และบรรจุภัณฑ์ จากธรรมชาติ

(ซ้าย) คุณสมหวัง ระวังยศ ผู้จัดการตลาดเชียงแข็ง

ข้าวต้มมัดไส้ถั่วลิสง และไส้กล้วย ห่อด้วยวัสดุธรรมชาติ

(ขวา) คุณสัมฤทธิ์ จิตวงศนันท์ หัวหน้าบ้านเชียงแข็ง

น�้ำลูกหม่อน ไส้กรอก

ป้ายคะแนน แนะน�ำเมนูเพื่อสุขภาพ

ชุมชนเชียงแข็งประมาณ 60% นอกนัน้ ก็มาจากต่าง ชุมชนจนถึงนอกเขตเทศบาลใกล้เคียง ภายในตลาด ถูกแบ่งเป็นโซนขายสินค้าประเภทต่างๆ ตามสีผ้า กันเปื้อน เช่น สีแดงคือ โซนเนื้อสด สีชมพูคือ โซน อาหารปรุงส�ำเร็จรูป สีเขียวคือ โซนผักสดปลอดสาร พิษ สีนำ�้ เงินคือ อาหารทัว่ ไป เป็นต้น ล่องน่านแปลก ใจมากที่ตลาดดูสะอาดสะอ้านไม่ค่อยมีแมลงวันมา รบกวนเลย อาจารย์สมหวังเล่าว่า ตลาดนี้มีการน�ำ น�ำ้ คลอรีนล้างตลาดเดือนละสองครัง้ จึงท�ำให้ตลาด สะอาด ไร้กลิ่น ไม่ค่อยมีแมลงวันมารบกวน อาหารในตลาดเชียงแข็งนีร้ บั ประกันความสดใหม่ ถูกหลักสุขอนามัย โดยทั้งหมดได้ผ่านการประเมิน จากสาธารณสุขจังหวัดแล้ว ว่าผ่านมาตรฐานใน ระดับดี มีป้ายประกาศรับรอง นอกจากนี้เพื่อให้มี สินค้าสดใหม่อยูเ่ สมอไม่คา้ งข้ามวัน จึงได้มโี ครงการ ช่วยเหลือผู้ค้าโดยการติดต่อกับทางโรงพยาบาลให้ มาเป็นผูร้ บั ซือ้ ผักสดต่างๆ เพือ่ ใช้ในการปรุงอาหาร ให้กับผู้ป่วยของโรงพยาบาล ซึ่งแต่ละวันผู้ค้าแต่ละ เจ้าจะน�ำสินค้ามารวมกันให้ได้อย่างน้อยวันละ

ขนมเปียกปูนใบเตย

สิบกิโลกรัม โดยชนิดของสินค้านั้นจะผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันไป เป็นการช่วยเหลือด้านการตลาด ให้แก่ผู้ค้าอีกทางด้วย นอกจากความสะอาดสดใหม่แล้ว ตลาดเชียง แข็งยังค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดยมีการรณรงค์ให้ ใช้ตะกร้าหรือถุงผ้ามาจ่ายตลาด และมีการสะสม แต้มแลกรางวัลด้วย โดยใครน�ำถุงผ้าหรือตะกร้า มาซื้อของก็จะมีแต้มให้วันละ 1 แต้ม ใครได้ครบ 80 แต้ม แล้วสามารถน�ำไปแลกของรางวัลได้ ส่วน ของรางวัลได้รับมาจากผู้ร่วมสนับสนุนรวมถึงเหล่า พ่อค้าแม่ค้าในตลาด ตลาดเชียงแข็งมีสวัสดิการเพือ่ รักษาความปรองดอง กันระหว่างพ่อค้าแม่ค้าในตลาดคือ ได้ท�ำการรวม เงินทุนกลางจากการทอดผ้าป่า และขายล็อตเตอรี่ เมือ่ พ่อค้าแม่คา้ เจ็บป่วยก็จะน�ำเงินส่วนนีไ้ ปซือ้ ของ เยีย่ มไข้ ซึง่ ก่อให้เกิดปฏิสมั พันธ์อนั ดีระหว่างผูค้ า้ ใน ตลาด มีการตัง้ กฎระเบียบของตลาดส่วนรวมขึน้ มา โดยให้ลงมติเห็นชอบและบังคับใช้กฎนัน้ ร่วมกัน และ ในอนาคตก�ำลังริเริ่มโครงการอีกหนึ่งอย่างคือ การ

พี่เพ็ญอาหารเมือง

ลงเรือน�้ำล้อม ชมตลาดเชียงแข็ง กินข้าวแลงมหาโพธิ ประกวดมารยาทของพ่อค้าแม่ค้า โดยการลงเสียง เลือกจากพ่อค้าแม่ค้ากันเองในตลาด ในอนาคตอันใกล้ ตลาดเชียงแข็งมีโครงการต่อ เติมตลาดให้เป็นอาคารสองชัน้ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีใ่ นการ จับจ่ายใช้สอย และสงวนพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ไว้ให้สำ� หรับ ประชาชนหรือนักท่องเที่ยวที่อยากมานั่งรับทาน อาหารสบายๆ ในตลาด โดยโครงการดังกล่าวมี องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) เป็นผู้สนับสนุนในด้าน งบประมาณการก่อสร้าง ซึ่งปัจจุบันก�ำลังอยู่ใน ระหว่างการท�ำประชาคมเพื่อหาแนวทางในการต่อ เติมที่เหมาะสม Long Nan Booklet | 04


ตลาดสดเชียงแข็ง ของเรา “สดจากป่า อาหารพื้นบ้าน ไร้มลพิษ” ค่ะ ^^

ห้องน�้ำสะอาด มีบริการอยู่ ด้านหลังตลาดค่ะ

ใครไม่ใช้ถุงพลาสติก จะได้แต้มสะสมมา แลกของรางวัลดัวย นะครับ

การแบ่งพื้นที่ขายของ

กอยกาดแลง กำ�กิ๋นลำ�

ถนน

ตลาดเขียงแข็งเป็นตลาดเย็น เปิดตั้งแต่บ่ายสามโมง ถึงประมาณหนึ่งทุ่มนะโฮ่ง

ขายผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษ ของป่าแปลกๆ

อาหารสด เนื้อสัตว์

อาหารทั่วไป อาหารแห้ง อาหาร ปรุงส�ำเร็จ

ในแต่ละวันนอกจากจะมีของป่าแปลกๆ จาก พ่อค้าแม่ค้าขาจร ที่เข้ามาจับจองแผงแล้ว ก็ยังมี ส่วนของแผงอาหารของพ่อค้าแม่คา้ ขาประจ�ำทีเ่ รียก ได้วา่ ต้องได้มาลองซือ้ หากลับไปชิมไปฝากกันให้ได้ เลยทีเดียว ทั้งของคาวของหวาน อาหารพื้นเมืองที่ การันตีคณ ุ ภาพ จากป้ายแนะน�ำอาหารเพือ่ สุขภาพ พี่เพ็ญน�้ำพริกตาแดง จากตลาด และเสียงเล่าลือจากคนที่เคยได้ลองชิม นอกจากอาหารเมืองแปลกๆ เช่น แอ๊บไข่ปลา และแนะน�ำมาแบบปากต่อปาก แอ๊บหมูแล้ว สิ่งที่ขายดีที่สุดของพี่เพ็ญคือ “น�้ำ พริกตาแดงสูตรเด็ด” ที่ท�ำกันสดๆ วันต่อวันกา รันตีด้วยการต่อคิวที่มีต่อเนื่องเรื่อยๆ สามารถสั่ง มากน้อยได้ตามราคาที่อยากได้พ่ีเพ็ญตักขายให้ได้ หมดไม่ต้องเกรงใจ 05 | จุลสารล่องน่าน

จอดรถได้ที่ วัดเชียงแข็ง

สนาม เด็กเล่น

ถนน

ข้าวแช่เชียงแข็ง ข้าวแช่เย็นหอมชืน่ ใจ ในถุงพลาสติกใส ห่อด้วย ใบตองสีเขียวสะดุดตา วางขายประมาณ 15.00 น. แต่จะหมดไปอย่างรวดเร็วภายในหนึ่งชั่วโมง หากว่าใครอยากจะลองชิมแล้ว ขอแนะน�ำให้มา แต่เนิ่นๆ จะดีที่สุด


อาหารสะอาด ถูกสุขลักษณะ และมีคุณค่าทางโภชนาการ สังเกตได้จากคะแนนดาว บนป้ายแนะน�ำได้เลยครับ

ผ้ากันเปื้อนสีแดงคือ โซน เนื้อสด สีชมพูคือ โซนอาหาร ปรุงส�ำเร็จรูป สีเขียวคือ โซน ผักสดปลอดสารพิษ สีน�้ำเงิน คือ อาหารทั่วไป นะโฮ่ง

ร้านรุ่งทิพย์ ไส้อั่วน่าน เป็นร้านขายไส้อั่วที่มีรสอร่อยมากร้านหนึ่งใน ตลาด ทั้งยังเคยท�ำไส้อั่วถวายสมเด็จพระเทพฯมา แล้ว นอกจากไส้อั่วแล้วยังมีแอบอ่องออหมู หมู กรอบ และแป้งนมอบ อีกด้วย ปกติจะขายทุกวัน วัน ละ 40 กิโลกรัม เริ่มขายตั้งแต่ 4 โมงเย็นจนถึงทุ่ม ก็หมด นอกจากนี้ยังมีบริการไส้อั่วใส่ถุงสุญญากาศ ให้สามารถน�ำขึ้นเครื่องบินได้อีกด้วย

พ่อแม่มาจ่ายตลาด เอาลูกๆ มาเล่นที่ สนามเด็กเล่นรอได้

ลงเรือน�้ำล้อม ชมตลาดเชียงแข็ง กินข้าวแลงมหาโพธิ

ร้านแคบหมู ยายเรียม นันทชัย แคบหมูของคุณยายเป็นแคบหมูสูตรเฉพาะที่ ตกทอดมาจากรุ่นแม่ รสชาติอร่อยแปลกไม่เหมือน ใคร ทีส่ ำ� คัญเป็นแคบหมูทกี่ รอบมาก คุณยายไม่หวง สูตร ใครอยากจะเรียนวิชาท�ำแคบหมูสูตรเฉพาะนี้ ไปขอคุณยายได้ตลอดเวลาที่ตลาดได้เลย

ร้านแกงพื้นบ้าน ป้าบัวแก้ว ณ น่าน ร้านข้าวแกงพื้นบ้านของป้าแก้วมีมานานกว่า 30 ปี แกงที่ขึ้นชื่อของคุณป้าได้แก่ แกงแค ต้มส้ม ซี่โครงหมู น�้ำพริกปลาย่าง และผัดเปรี้ยวหวาน ผัก ที่ใช้ประกอบอาหารก็เป็นผักที่ปลูกเอง จึงปลอด สารพิษ อย่างแน่นอนร้านป้าบัวเริ่มขายตั้งแต่บ่าย 3-6 โมงเย็น Long Nan Booklet | 06


งามเงิน เมืองน่าน

ลุงจรัญ ขัดมัน ครูภูมิปัญญาการทำ�เครื่องเงินเมืองน่าน

07 | จุลสารล่องน่าน


เตาหลอมและแม่พิมพ์ผลิตจากชันโรง

ในอดีตเจ้าเมืองทางเหนือนิยมใช้ภาชนะเครือ่ ง เงิน มีการส่งส่วยส่งอากรเป็นเครื่องเงินต่างๆ ถวาย แด่เจ้าเมือง และหัตถกรรมเครื่องเงินจากเมืองน่าน ก็เป็นแหล่งเครื่องเงินที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาค เหนือ และมีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นไม่ แพ้ทใี่ ด ความพิเศษของเครือ่ งเงินเมืองน่านคือ การ ผลิตที่มาจากเม็ดเงินแท้ 96-100% คือ มีสิ่งผสม ปลอมปนน้อยมากจนถึงไม่มี ซึ่งท�ำให้ได้เครื่องเงิน ที่มีความอ่อนตัวกว่าที่อื่น บุคคลหนึ่งซึ่งเป็นครูภูมิปัญญาการท�ำเครื่อง เงินของเมืองน่านคือ พ่อจรัญ ขัดมัน ได้สืบทอด ภูมิปัญญาการท�ำเครื่องเงินมาจากบิดา ปัจจุบัน พ่อจรัญมีอายุ 61 ปี และได้ใช้ชีวิตคลุกคลีอยู่กับ เครื่องเงินมาตั้งแต่เกิด เนื่องจากปู่เริง ขัดมัน ผู้เป็น บิดามีอาชีพเป็นช่างท�ำเครื่องเงิน และได้ถ่ายทอด ความรู้สู่บุตรชาย ในสมัยก่อนเครื่องเงินที่ทำ� ส่วน ใหญ่เป็นประเภทเครื่องใช้ และภาชนะต่างๆ เช่น สลุง ขัน ตลับใส่หมากพลู และพาน เป็นต้น แต่ใน ปัจจุบันความต้องการเครื่องเงินเหล่านี้เกิดความ อิ่มตัว และมีราคาแพงขึ้นตามคราคาของเม็ดเงิน ที่สูงขึ้น ถ้าหากเป็นเครื่องใช้หรือภาชนะผู้ที่ซื้อไป แล้วก็ไม่ต้องการซื้อเพิ่มอีก เนื่องจากสามารถใช้ได้ เป็นเวลานาน ส่วนคนที่ไม่มีหรือต้องการซื้อเพิ่ม ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ก็มักจะหันไปซื้อเครื่องใช้หรือ ภาชนะทีท่ ำ� จากวัสดุอนื่ ทีม่ รี าคาย่อมเยากว่า ดังนัน้ พ่อจรัญจึงได้ปรับเปลีย่ นมารับท�ำเครือ่ งเงินชิน้ เล็กๆ จ�ำพวกเครื่องประดับ เช่น สร้อย แหวน ก�ำไล หรือ

การขึ้นรูปสลุง 1 ใบใช้เวลา 5-6 วัน

เครื่องเงินลายกระถินพื้นบ้าน

กรอบพระ มากขึน้ เนือ่ งจากใช้เม็ดเงินน้อย ราคาไม่ ต่างจากถ่านไม้ชนิดอืน่ ทีต่ ดิ ไฟแล้วจะดับก็ตอ่ เมือ่ ถ่าน สูงเหมือนเครือ่ งเงินขนาดใหญ่ และผูซ้ อื้ สามารถน�ำ หมด โดยมีเครือ่ งมือทีส่ ำ� คัญในการท�ำเครือ่ งเงินสอง ไปใช้สอยในชีวิตประจ�ำวันได้ง่ายกว่า ส่วนคือ เครือ่ งมือในการขึน้ รูป และเครือ่ งมือในการ ตอกลวดลาย การขึน้ รูปนัน้ จะใช้ระยะเวลาในการปัน้ รูปประมาณ 5-6 วัน ส�ำหรับขัน 1 ใบ จากนั้นก็จะ น�ำมาตอกลายอีกประมาณ 3 วัน จะเห็นได้ว่าผลิต เครื่องเงินของพ่อจรัญ เครือ่ งเงินแต่ละชิน้ นัน้ นอกเหนือจากฝีมอื และความ ยังคงใช้การหลอมแบบโบราณ ประณีตในชิน้ งานแล้ว ต้องมีความอดทนและความ ใช้สูบมือแบบโบราณ พยายามสูงในการสร้างเครื่องเงินแต่ละชิ้นขึ้นมา ปัจจุบันพ่อจรัญก็ได้รับเชิญไปถ่ายทอดความรู้ และใช้ถ่านจากไม้พะยอม ให้แก่เด็กๆ ในวิทยาลัยชุมชนน่านอยู่บ่อยครั้ง เพื่อ ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่เด็กรุ่นหลัง เนื่องจากสกุลสล่า การท�ำเครื่องเงินในยุคแรกนั้นจะใช้เหรียญ เครือ่ งเงินน่านแท้ๆ ในตอนนีม้ เี หลืออยูเ่ พียงไม่กคี่ น เงินในสมัยรัชกาลที่ 5 หรือจ�ำพวกเงินฮาง ฉะนั้น นอกเหนือจากนั้นจะเป็น เครื่องเงินที่เป็นผลงาน เงินที่ใช้ท�ำในสมัยก่อนเงินที่น�ำมาหลอมจึงเป็นเงิน จากกลุ่มชาวเขา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นชิ้นงานขนาด 90% แต่ในปัจจุบันจะใช้เม็ดเงินแท้ 100% ซึ่งสั่ง เล็กจ�ำพวกเครือ่ งประดับ ผูม้ คี วามรูม้ ฝี มี อื ท�ำเครือ่ ง ซื้อมาจากที่อื่น โดยลวดลายที่ท�ำบ่อย และเป็นที่ เงินแบบดัง้ เดิมในเมืองน่านนับวันจะลดลง เนือ่ งจาก นิยมของชาวเมืองน่านคือ ลายกระถินพื้นบ้าน ลาย การท�ำเครือ่ งเงินต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูงในการ เทพพนม ลายสิบสองราศี นอกจากนั้นก็เป็นลายที่ ซือ้ เครือ่ งมือ และวัสดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ เพราะเครือ่ งมือ ประยุกต์ขนึ้ เองให้เข้ากับยุคสมัยและความต้องการ ในการท�ำเครือ่ งเงินมีหลากหลายชนิด ในขณะทีก่ าร ของลูกค้า ลักษณะเด่นของเครือ่ งเงินพ่อจรัญคือ เป็น ซื้อขายไม่คล่องเหมือนในอดีต ท�ำให้อาชีพช่างเงิน เครือ่ งเงินทีม่ สี ดั ส่วนสมดุลได้ขนาด มีความประณีต เมืองน่านไม่ค่อยได้รับความนิยม และค่อยๆ ลด จ�ำนวนลง หัตถกรรมเครื่องเงินน่านแบบดั้งเดิมจึง ของเนื้องานสูง วิธกี ารท�ำเครือ่ งเงินของพ่อจรัญ ยังคงใช้วธิ กี าร เป็นมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ มควรได้รบั การสนับสนุน หลอมแบบโบราณ คือการใช้สบู มือแบบโบราณ และ ให้เกิดการสืบทอดไปยังคนรุ่นต่อไปอย่างเร่งด่วน ใช้ถา่ นจากไม้พะยอม ซึง่ เป็นถ่านไม้ชนิดเดียวทีเ่ มือ่ ติดไฟแล้วจะสามารถดับเองได้ถา้ ไม่สบู ลมเป่า แตก

นายจรัญ ขัดมัน ครูภมู ปิ ญ ั ญาการท�ำเครือ่ งเงินเมืองน่าน บ้านเลขที่ 31/1 ถ.รอบก�ำแพงเมืองด้าน เหนือ ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน

//ดูสถานที่ตั้งในแผนที่ีท้ายเล่ม : 1

E-2

สลุงเป็นเครื่องเงินที่เป็นผลิตภัณฑ์เด่นของลุงจรัญ

เหล็กขึ้นรูป เสียบกับท่อนไม้ให้แน่น ใช้ลิ่มเสียบประกบเข้าไปเพื่อให้แน่น และง่ายในการขึ้นรูป

ค้อนหลากขนาด ส�ำหรับใช้ตีขึ้นรูปเครื่องเงิน

Long Nan Booklet | 08


ตวยต๋ามฮีต

ตัดต๋ามฮอย ยายวัน คนแป๋งตุงบ่าเก่า

นักท่องเที่ยวที่มีโอกาสผ่านมาทางภาคเหนือของประเทศไทย คงมีโอกาสพบเห็น “ตุง” อยู่ไม่ มากก็น้อย ตุงเป็นธงแขวนแถบยาวมีลวดลายและสีสันต่างๆ ประดับตามรายทาง หรือวัดวาอาราม ได้ไม่ยาก ซึ่งตุงแต่ละชนิดจะถูกน�ำมาใช้ในพิธีกรรมที่แตกต่างกันไปตามความเชื่อของชาวล้านนา เมืองน่านมีการท�ำตุงมาอย่างต่อเนื่อง หนึ่งใน ครูภูมิปัญญาผู้เชี่ยวชาญการท�ำตุงคือ คุณยายวันดี สิทธิสนั ซึง่ เรียนรูก้ ารท�ำตุงมานานกว่า 60 ปี คุณยาย วันดีเรียนรู้การท�ำตุงรูปแบบต่างๆ ด้วยตนเอง โดย การจดจ�ำมาจากคนรุ่นก่อน และได้คิดค้นดัดแปลง รูปแบบเพิ่มเติมด้วยตนเองมาเรื่อยๆ จนสามารถ ถ่ายทอดวิธกี ารตัดตุงให้กบั ลูกหลาน เพือ่ นบ้าน และ ผู้ที่สนใจรุ่นลูกหลานได้อย่างเชี่ยวชาญในปัจจุบัน จนได้รบั เชิญให้ไปสอนการตัดตุงตามโรงเรียนต่างๆ หลายแห่งในจังหวัดน่าน วัสดุที่ใช้ในการท�ำตุงส่วนใหญ่จะเป็น ผ้า หรือ กระดาษ และเพียงแค่มีกรรไกร กับกาว คุณยาย วันดีก็สามารถรังสรรค์ผ้าหรือกระดาษเหล่านี้ให้มี รูปทรง และลวดลายต่างๆ ด้วยเทคนิควิธีการพับ กระดาษอันหลากหลาย แล้วท�ำการตัดให้เป็นรูป 09 | จุลสารล่องน่าน

ทรงตามความต้องการ ก่อนจะตกแต่งลวดลายของ ตุงด้วยกระดาษสีทอง หรือสีอนื่ ๆตามความต้องการ หรือความเหมาะสมของลักษณะการใช้งาน เช่น ลาย ปราสาท ลายดอกไม้ ลายผีเสื้อ ซึ่งลายรูปปราสาท จะถูกน�ำไปใช้เกี่ยวกับงานอวมงคลเท่านั้น โดย แต่ละลวดลายที่คุณยายคิดประดิษฐ์ขึ้นจะมาจาก สิง่ ทีพ่ บเห็นรอบตัว เช่น ดอกไม้ชนิดต่างๆ ลวดลาย ไทยตามผนังวัด รวมถึงรูปทรงเรขาคณิตขนาดต่างๆ ที่น�ำมาตกแต่งให้ตุงมีความสวยงาม และเหมาะสม ตามการใช้งานแต่ละประเภท โดยคุณยายวันดีได้อธิบายให้ลอ่ งน่านฟังว่า ตุงมี หลายชนิดตามรูปแบบการใช้งานทีแ่ ตกต่างกัน เช่น ตุงมงคล จะมีลวดลาย และสีสันสดใสหลากหลายสี ซึง่ เชือ่ ว่าจะน�ำโชคดีความดีงามสูช่ วี ติ ตุงขาวเป็นตุง ส�ำหรับคนตาย ตุงแดงส�ำหรับผีตายโหงใช้ปักตรง

บริเวณที่ผู้ตายประสบอุบัติเหตุ ตุงสามหางใช้น�ำ หน้าศพ โดยมีความเชื่อว่าจะเป็นบันไดน�ำวิญญาณ คนตายไปสู่สวรรค์ เป็นต้น นอกจากการตัดตุงแล้ว คุณยายยังมีความเชีย่ วชาญ ในการประดิษฐ์ฝ้ายมงคลพื้นเมืองส�ำหรับใช้ในงาน แต่งงาน ฝ้ายมงคลพื้นเมืองนี้นับวันจะหาดูได้ยาก และค่อยๆเลือนหายไปจากเมืองน่าน เนื่องจากถูก แทนที่ด้วยฝ้ายมงคลส�ำเร็จรูปจากระบบการผลิต สมัยใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ ฝ้ายมงคลพื้นเมืองน่านนั้น จะท�ำมาจากฝ้ายพืน้ เมือง พันด้วยกระดาษทองเป็น ข้อๆ และด้วยความสนใจในวัฒนธรรมประเพณีที่ สืบทอดมาแต่โบราณ คุณยายวันดียังสามารถท�ำ เครื่องประกอบพิธีต่างๆ ได้หลากหลายประเภท เช่น พิธีสืบชะตา งานแต่งงาน งานบายศรีฯ งาน บวช และงานศพต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยส่วนประกอบ ในการจัดท�ำมากมาย และความรู้ความช�ำนาญใน การน�ำส่วนประกอบเหล่านีม้ าจัดเป็นเครือ่ งประกอบ พิธตี า่ งๆ ความสามารถในงานฝีมอื ของคุณยายวันดี ท�ำให้คนเมืองน่านต่างยกย่องให้คณ ุ ยายวันดีเป็นครู ภูมิปัญญาที่ส�ำคัญอีกท่านหนึ่ง

คุณยายวันดี สิทธิสัน ช่างตัดตุงล้านนา บ้านเลขที่ 32/2 บ้านเชียงแข็ง ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน โทร. 087-8445484 //ดูสถานที่ตั้งในแผนที่ีท้ายเล่ม : 2

F-1


ย้อนเยือน เฮือนน่าน

คุณจิรวรรณ อิสรางกูร ณ อยุธยา

ขึ้นชื่อว่า “เมืองเก่าที่มีชีวิต” อย่างเมืองน่าน ถ้าลองกวาดสายตาดูอย่าง รวดเร็ว หลายคนคงนึกถึงวัดเก่าที่มีอยู่มากมายในเมืองน่าน จนอาจลืมนึกไปถึง เรือนพื้นถิ่นดั้งเดิมที่ยังหลงเหลือให้เห็นอยู่จ�ำนวนไม่น้อย เพราะเมื่อมองอย่างผิว เผิน เมืองน่านดูเหมือนจะเต็มไปด้วยอาคารทีอ่ ยูอ่ าศัย และร้านค้าสมัยใหม่เสียเป็น ส่วนใหญ่ ล่องน่านแต่ละฉบับจะพาไปพิสจู น์ให้เห็นว่าเมืองน่านนีย้ งั อบอวลไปด้วย วิถชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องผูค้ นในเรือนพืน้ ถิน่ หลังงามจ�ำนวนมาก ทีห่ ลบอยูต่ ามมุม ต่างๆของเมืองและรอผู้สนใจจริงๆ มาค้นหาเท่านั้น

ลานโล่งหน้าบริเวณตัวอาคารถูใช้เป็นเส้นทางสัญจรและจัดสวนประดับตกแต่งสวยงาม

บันไดหลังบ้าน

ชาน

เติน๋

รูปด้านหน้า

4

D-5

ต�ำแหน่งในแผนที่

บ้านกาแล โฮมสเตย์

บ้านคุณจิรวรรณ อิสรางกูร ณ อยุธยา

บ้านกาแลซึ่งเป็นโฮมสเตย์ด้วยหลังนี้มีอายุกว่า 80 ปีแล้ว แต่ได้รับการดูแลรักษาเป็นอย่างดี จน เป็นเรือนกาแลหลังงามที่สุดหลังหนึ่งของเมืองน่าน และคุณจิรวรรณได้ปรับปรุงซ่อมแซมบ้านหลังนี้ให้ แข็งแรงคงทนอยู่เสมอ ท�ำให้บ้านหลังนี้ยังคงดูใหม่ สะอาดสะอ้านร่มรื่นน่าอยู่ ผนวกกับคุณจิรวรรณ เป็นผู้ชื่นชอบการจัดแต่งสวน และปลูกต้นไม้ ทั้งไม้ดอกไม้ประดับ เป็นพิเศษ ท�ำให้บริเวณบ้านดูร่มรื่น จนเป็นที่สะดุดตาแก่ผู้พบเห็น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่มักขอเข้ามาถ่ายรูปอยู่เสมอ จนท�ำให้ คุณจิรวรรณคิดเปิดเป็นโฮมสเตย์ขึ้นมา คุณจิรวรรณได้เล่าถึงความเป็นมาของบ้านหลัง เมือ่ พ่อแม่เสียชีวติ ไปและน้องสาวแต่งงานออก นี้ให้ล่องน่านฟังว่า บ้านหลังนี้เป็นบ้านที่พ่อแม่ของ เรือนแยกตัวไปสร้างบ้านอยู่ฝั่งตรงข้าม เพื่อไปมา ตนสร้างขึน้ เมือ่ ท่านทัง้ สองได้ยา้ ยมาท�ำงานในจังหวัด หาสู่ และพึ่งพาอาศัยกันได้ไม่ยาก คุณจิรวรรณจึง น่าน บ้านหลังนี้แต่เดิมหลังคาจะเป็นทรงปั้นหยา ได้จัดพื้นที่เรือนฝั่งซ้ายให้เป็นที่พักแบบโฮมสเตย์ มุงด้วยกระเบื้องว่าว เมื่อฝนตกน�้ำจะรั่ว ลงสู่ชาน ไว้ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ส่วนเรือนทางด้านขวา เรือนเพราะไม่มีรางริน ต่อมาภายหลังจึงได้เปลี่ยน เป็นห้องนอนคุณจิรวรรณเอง โดยมีพื้นที่ด้านหลัง เป็นทรงจั่วประดับด้วยกาแล เดิมแยกตัวเรือนเป็น เป็นห้องครัว และพื้นที่ตรงชานเรือนเก่าเป็นที่นั่ง สองหลังเชื่อมต่อกันด้วยชาน ตัวเรือนท�ำจากไม้สัก เล่นและต้อนรับแขก เกือบทั้งหลัง

ผังพื้นชั้นบน

บริเวณด้านหลังของบ้านเคยมีบอ่ น�ำ้ เก่าอยู่ แต่ เมื่อมีระบบน�้ำประปามาถึงก็ได้เลิกใช้น�้ำบ่อไป ต่อ มามีการถมถนนลาดยางหน้าบ้านท�ำให้บ้านอยู่ต�่ำ กว่าระดับถนน เกิดปัญหาน�้ำท่วมขังตามมา คุณจิร วรรณจึงได้ดีดบ้านขึ้นอีก 1.80 เมตร และถมดินสูง ขึ้นอีก 1.30 เมตร สมัยก่อนเมืองน่าน น�้ำท่วมเกือบ ทุกปี ทุกบ้านจึงต้องใช้เรือในการสัญจรไปมา โดย จะเก็บเรือไว้ใต้ถุนบ้าน แต่ในสมัยนี้น�้ำไม่ได้ท่วม บ่อนเหมือนแต่ก่อน เรือจึงค่อยๆ หมดความส�ำคัญ ลงไปจนเมื่อเกิดน�้ำท่วมใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2549 เรือ ก็กลับมามีความจ�ำเป็นอีกครั้ง และท�ำให้ตนน่าน ได้เห็นถึงคุณค่าของการอยู่อาศัยแบบดั้งเดิม และ การช่วยเหลือพึ่งพากันในยามยาก Long Nan Booklet | 10


มุมห้องนั่งเล่นทางทิศตะวันออก ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ไปตาม ความต้องการของผู้ใช้งานในแต่ละฤดูกาล

4

E-3

ต�ำแหน่งในแผนที่

คุณจันทร์ศรี ภักดี

เรือนหลังยาว ของชาวพระเนตร บ้านคุณจันทร์ศรี ภักดี

บ้านพักอาศัยของป้าจันทร์ศรี ภักดี เป็นเรือนพืน้ ถิน่ หลังใหญ่ทสี่ ดุ หลังหนึง่ ในชุมชนพระเนตร ทีป่ จั จุบนั ยังคงรูปแบบเดิมของเรือนทีพ่ กั อาศัยพืน้ ถิน่ ในเขตเมืองน่านไว้ได้คอ่ นข้างสมบูรณ์ ต้นตระกูลของสกุลภักดี ซึ่งคุณปู่ของป้าจันทร์ศรีได้อพยพจากจังหวัดเชียงใหม่มาตั้งรกรากที่เมืองน่าน ตั้งแต่สมัยคุณปู่ซึ่งเคยเป็น คนเลี้ยงช้างให้กับเจ้าเมืองน่านในสมัยนั้น และลูกหลานได้อยู่อาศัยในเมืองน่านต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งนับได้ 5 ช่วงอายุคนแล้วคือ ตั้งแต่รุ่นปู่มาจนถึงรุ่นหลานของป้าจันทร์ศรี แต่เดิม ครอบครัวของป้าจันทร์ศรีได้สร้างบ้าน อยู่อีกฟากหนึ่งของถนน ซึ่งเป็นฟากที่ติดกับแม่น�้ำ น่าน ป้าจันทร์ศรีเล่าว่าในสมัยตนเองยังเด็ก เมื่อ ถึงฤดูน�้ำหลากบ้านหลังนั้นเกิดปัญหาน�้ำท่วมบ่อย มาก ระดับน�้ำท่วมสูงถึงเอว ท�ำให้ไม่สามารถอาศัย อยู่ที่นั่นได้ ดังนั้นทุกครั้งที่น�้ำท่วม ก็จะพากันมา อาศัยอยู่ท่ี “เฮือนเหย้า” ซึ่งเป็นเรือนพักชั่วคราว ส�ำหรับหนีน�้ำ โดยที่ตั้งของเรือนเหย้าก็คือ บริเวณ ทีต่ ง้ั ของบ้านหลังปัจจุบนั นี้ ต่อมาในช่วงหลังน�ำ้ ท่วม ถีข่ นึ้ เรือ่ ยๆ จนเมือ่ ปี พ.ศ.2508 พ่อของป้าจันทร์ศรี ตัดสินใจรื้อบ้านหลังที่อยู่ติดน�้ำน่าน แล้วมาสร้าง บ้านหลังที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน โดยน�ำไม้จากบ้าน หลังเดิมมาสร้างร่วมกับไม้ที่ซื้อมาเพิ่มจากป่าบ้าน น�้ำใส (ปัจจุบันคือ ต. ฝายแก้ว) หลังจากรุน่ คุณปูท่ เี่ ป็นคนเลีย้ งช้างให้เจ้าเมืองน่าน เมื่อสิ้นเจ้าครองน่านองค์สุดท้ายคือ เจ้ามหาพรหม สุรธาดา ครอบครัวของป้าจันทร์ศรีกห็ นั มาท�ำอาชีพ เกษตรกรรม ปลูกสวนส้มส่งขาย ค่อนข้างมีรายได้ดี 11 | จุลสารล่องน่าน

เพราะสมัยก่อนยังมีคนปลูกน้อย แต่หลังจากคุณพ่อ ของป้าจันทร์ศรีเสียชีวิตไป ก็ไม่มีใครท�ำสวนส้มสืบ ต่อ จึงต้องปล่อยทิง้ ทีใ่ ห้รกร้างไป แต่เมือ่ หลังจากน�ำ้ ท่วมใหญ่เมื่อ ปีพ.ศ. 2549 ครอบครัวป้าจันทร์ศรีก็ เริ่มปรับเปลี่ยนพื้นที่สวนให้กลายเป็นสวนผักผลไม้ ผสม ได้แก่ ล�ำไย มะกอก ชมพู่ มะม่วง กระท้อน และผักกินใบต่างๆ แรกเริ่มเดิมทีบ้านหลังนี้มีผู้อยู่อาศัยด้วยกัน รวมทั้งหมด 9 คน คือ พ่อ แม่ น้าของป้าจันทร์ ศรี และพี่น้องอีก 4 คน รวมป้าจันทร์ศรีด้วย ส่วน ปู่ย่าได้เสียชีวิตไปหลังจากย้ายมาอยู่ในบ้านหลังนี้ ได้ไม่นาน ภายในบ้านมี 4 ห้องนอน ห้องหนึ่งเป็น ของพ่อกับแม่ของป้าจันทร์ศรี ห้องที่สองเป็นของ น้าของป้าจันทร์ศรี ห้องที่สามเป็นของป้าจันทร์ศรี และพี่น้องผู้หญิงด้วยกัน และห้องที่สี่ซึ่งเป็นห้อง ใหญ่สุดเป็นของ พี่น้องผู้ชาย 4 คน โดยห้องนั้นจะ มีผนังด้านหนึ่งที่ท�ำเป็นผนังบานเฟี้ยม ที่สามารถ เปิดผนังกั้นระหว่างห้องนอนกับห้องนั่งเล่นออกให้

พื้นที่ต่างระดับใช้นั่งพักผ่อน มีแสงและลมธรรมชาติเข้ามาจากหน้าต่างขนาดใหญ่ที่ ปรับเปลี่ยนมาจากประตูทางเข้าบ้านเดิม

กลายเป็นโถงกว้างเพื่อใช้งานเอนกประสงค์ต่างๆ ที่ส�ำคัญ และเมื่อต้องการพื้นที่ใช้สอยกว้างต่อเนื่อง กัน เช่น งานบุญบ้านใหม่ หรืองานศพของคนในบ้าน เป็นต้น ปัจจุบันได้กั้นห้องเพิ่มเป็น 5 ห้อง โดยกั้น จากห้องนอนของพ่อแม่ป้าจันทร์ศรี เนื่องจากคุณ พ่อของป้าจันทร์ศรีได้เสียชีวิตลง และมีลูกหลาน เพิ่มขึ้น พี่น้องบ้างก็ออกไปท�ำงานต่างจังหวัด ห้อง ต่างๆจึงถูกแบ่งเป็นห้องของลูกหลานของป้าจันทร์ ศรี และเป็นห้องว่างส�ำหรับให้ญาติมาพัก บางห้อง ก็ใช้เก็บของด้วย ตลอด 48 ปีที่ผ่านมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่ม เติมและรือ้ ถอนรูปแบบโครงสร้างของบ้านหลังนีใ้ น บางส่วนให้มนั่ คงแข็งแรงขึน้ และเหมาะกับผูอ้ ยูอ่ าศัย โดยในส่วนของหลังคาบ้านแต่เดิมลาดลงหน้าบ้านตาม แนวบันได แต่ต่อมาได้เปลี่ยนแนวหลังคาให้ลาดลง ด้านข้างแทน เพือ่ แก้ปญ ั หาฝนสาดเข้ามาในตัวบ้าน บันไดขึน้ บ้านเคยมีอยูส่ องทางคือ ทางหน้าบ้าน และทางครัว เมื่อเปลี่ยนหลังคาบ้าน ก็ได้ย้ายบันได หน้าบ้านไปไว้ตรงทางเดินเชือ่ มห้องครัวแทนเพือ่ กัน ฝนสาดซึง่ จะท�ำให้บนั ไดผุพงั เร็ว และได้เพิม่ ราวกัน ตกเหล็กทีป่ ระตูเข้าบ้านจากต�ำแหน่งบันไดเดิม เพือ่ ใช้เป็นหน้าต่างแทน ส่วนบันไดใหม่ที่อยู่ทางห้อง ครัวก็ได้เพิ่มราวบันไดขึ้นมาเพื่อความปลอดภัยให้ กับสมาชิกผูส้ งู อายุของบ้านด้วย ฝ้าเพดานบางส่วน ได้เปลี่ยนจากไม้เป็นวัสดุสมัยใหม่แทน ในส่วนของ ห้องครัว และทางเดินเชื่อมต่อระหว่างเรือนครัวกับ เรือนนอนยังคงสภาพเดิมไว้อย่างค่อนข้างสมบูรณ์ รวมทั้งต�ำแหน่งของยุ้งข้าวเดิมด้วย ห้องนอนของป้าจันทร์ศรีมีชั้นวางหนังสือติด ผนังที่ท�ำขึ้นง่ายๆ โดยอาศัยแผ่นไม้กระดานยาวๆ


รูปด้านหน้า ผังพื้นชั้นบน

ห้องนั่งเล่น

ชาน

ชาน

โถงทางเดิน หลังบ้าน

โถง โถงรับแขก

ทางเข้าหน้าบ้าน

ทางเข้าหลังบ้าน

มาตอกติดกับผนังในแนวขวางให้สามารถวางหนังสือ บนชั้นติดผนังได้ เนื่องจากป้าจันทร์ศรีชื่นชอบการ อ่านหนังสือเป็นอย่างมาก และยังสนใจในงาน ถัก ไหมพรม ถักโครเชต์ ต่างๆ ผ้าคลุมเตียงของป้า จันทร์ศรีก็เป็นผลงานของตนเองที่ใช้เวลาถักเกือบ 3 เดือน ส่วนการตกแต่งพื้นที่ใช้สอยภายใน โดยใช้ เครื่องเรือนต่างๆ ลูกสาวป้าจันทร์ศรีก็ดัดแปลงมา จากสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วให้เกิดประโยชน์สร้างสรรค์มากขึน้ เช่น เก้าอี้ไม้สีขาวบริเวณทางเดินที่ดัดแปลงมาจาก เก้าอีเ้ ก่าโดยตัดขาทีช่ ำ� รุดออก ทาสีใหม่ หาเบาะมา วางเพิ่มสีสัน และความสบายเมื่อใช้งาน โดยมีโต๊ะ ข้างเล็กๆ เข้าชุดกัน ซึ่งดัดแปลงมาจากขาตู้เย็นเก่า ก่อนอ�ำลาเจ้าของบ้านออกมา ป้าจันทร์ศรีเล่า ให้ฟังอย่างภูมิใจกับล่องน่านว่า ลูกสาวป้าจันทร์ศรี เป็นคนชอบของเก่า และเรือนพื้นบ้านแบบนี้ เธอ จะเป็นคนดูแลรักษาบ้านเก๊า (บ้านหลังแรก) ของ ตระกูลหลังนี้เอาไว้เอง โดยไม่คิดจะรื้อสร้างใหม่

บ่อน�้ำโบราณยังคงรักษาไว้ และบริเวณข้างเคียงใช้เป็น พื้นที่ในการปลูกพืชผักสวนครัว ใต้ถุนปรับพื้นเพื่อใช้เป็นพื้นที่อเนกประสงค์

หน้าต่างขนาดใหญ่ที่ปรับเปลี่ยนมาจากประตู ทางเข้าบ้านเดิม ติดลูกกรงกันตก ใช้เป็นพื้นที่พักผ่อน และรับแขกประจ�ำบ้าน

Long Nan Booklet | 12


ในเรือนหลังใหญ่ถูกแบ่งเป็นเรือนขนาดย่อยทั้งครัว หลองข้าว ห้องนอน เชื่อมต่อกันด้วยชานที่มีหลังคาคลุม ท�ำหน้าที่เป็นเสมือนห้องรับแขกไปในคราวเดียวกัน

การจัดการพื้นที่ครัวขนาดเล็กให้เกิดการใช้สอย ที่คุ้มค่าทั้งในระนาบนอนและตั้ง

คุณบัวจันทร์ มงคลวิสุทธิ์

ผังพื้นชั้นบน

ครัว

โถงทางเดิน หลังบ้าน

รูปด้านหน้า

4

F-1

ต�ำแหน่งในแผนที่

หมู่เรือนงามมีชานเชื่อม บ้านคุณบัวจันทร์ มงคลวิสุทธิ์

นักท่องเที่ยวถ้ามีโอกาสผ่านมาทางถนนเทศบาลด�ำริห์ ในบ้านเชียงแข็ง ก็จะพบกับบ้านไม้พื้นถิ่นที่มี รูปทรงแปลกตา ตกแต่งงดงามด้วยการจัดองค์ประกอบพื้นที่ และรายละเอียดพื้นถิ่น ด้วยชานเรือนกว้าง ในบริเวณด้านหน้า ท�ำให้บา้ นของป้าบัวจันทร์ มงคลวิสทุ ธิ์ เป็นบ้านทีโ่ ปร่งโล่งดูนา่ สบายตามลักษณะเรือน พืน้ ถิน่ ทางภาคเหนือของไทย ภายในเรือนยังคงลักษณะดัง้ เดิมเอาไว้เกือบทัง้ หมด เติน๋ ทีเ่ ป็นพืน้ ทีต่ า่ งระดับ เชือ่ มกับชานเรือน มีพนื้ ทีป่ ระกอบอาหารด้านหลังทีม่ พี นื้ ปูดว้ ยไม้เว้นร่องเพือ่ ให้เกิดช่องลมระบายอากาศ ผนังด้านข้างเป็นผนังรัว้ ด้านบนเปิดโล่งเพือ่ ให้ระบายควัน และกลิน่ จากการหุงหาอาหารต่างๆออกไปโดยง่าย พื้นที่ด้านหลังที่ติดกับครัวมีบันไดลงไปด้านล่างเพื่อสะดวกในการลงไปหาบน�้ำหาบฟืนขึ้นมาหุงหาอาหาร คุณป้าบัวจันทร์ มงคลวิสุทธิ์ เจ้าของบ้านเล่า ให้ล่องน่านฟังว่า บ้านหลังนี้สร้างมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2506 สมัยก่อนป้าบัวจันทร์ประกอบอาชีพท�ำสวน ไร่ส้ม ซึ่งมีรายได้ดี ท�ำให้ค่อนข้างมีฐานะ จึงปลูก บ้านโดยใช้ไม้เกือบทัง้ หลัง เมือ่ แรกสร้างบริเวณชาน ไม่มหี ลังคาคลุม เป็นพืน้ ทีไ่ ว้ใช้ตากทีน่ อน หมอน มุง้ แต่เดิมหลังคามุงด้วยกระเบื้องปั้นด้วยซีเมนต์ ก่อน ที่จะเปลี่ยนมามุงด้วยสังกะสีเช่นในปัจจุบัน เพราะ กระเบื้องปั้นด้วยซีเมนต์ช�ำรุดเสียหายไปตามกาล 13 | จุลสารล่องน่าน

เวลาและเริ่มมีราคาแพง เนื่องจากมีการผลิตน้อย ลงเรื่อยๆ สมัยเมื่อย้ายมาอยู่ที่นี่ใหม่ๆ ต้องไปหาบ น�้ำมาจากบ่อน�้ำบ้านจ๋อน ซึ่งอยู่ไกลออกไปทางใต้ ของหมู่บ้าน เป็นบ่อน�้ำรวมของหมู่บ้านที่ใช้ร่วมกัน แต่ตอ่ มาบ้านแต่ละหลังเริม่ ขุดบ่อน�ำ้ ไว้ใช้เองในบ้าน จึงขุดบ่อน�้ำขึ้นมาใช้เองบ้าง สมัยก่อนจะมีการร่วม กันเอามื้อ (ลงแขก) ขุดบ่อน�้ำช่วยกัน เป็นการถ้อย ทีถ้อยอาศัยช่วยเหลือกันละกันของคนในหมู่บ้าน เป็นอีกหนึง่ ในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของ

ชุมชนที่นับวันจะหาได้น้อยลงเรื่อยๆ การหาพื้นที่ หรือบริเวณที่เหมาะสมในการขุดบ่อก็เป็นอีกหนึ่ง ภูมิปัญญาชาวบ้านที่คุณป้าเล่าให้ฟังว่า คนสมัย ก่อนจะใช้กะลาครอบลงบนพื้นดินเพื่อเสี่ยงทายหา ตาน�้ำเป็นจุดๆ โดยทิ้งครอบกะลาไว้ 1 คืน ถ้าวัน รุ่งขึ้นปรากฏมีไอน�้ำเกาะในกะลา แสดงว่ามีตาน�้ำ อยู่ด้านล่าง สามารถขุดท�ำเป็นบ่อน�้ำได้ และเมื่อ ขุดพบตาน�้ำแล้ว คนสมัยก่อนจะใช้ไม้มะขามป้อม โยนทิ้งลงไปในบ่อ เพื่อท�ำให้น�้ำหวาน อร่อย ชื่นใจ บ้านของป้าบัวจันทร์นมี้ พี นื้ ทีใ่ ช้สอย และห้องหับ มากมาย แต่เมือ่ ดูจากภายนอก บ้านก็จะยังคงดูโล่ง โปร่ง ไม่ทึบตัน การซอยพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ โดยมี ชานเชื่อมถึงกัน และมีขนาดกับระนาบหลังคาที่ลด หลัน่ กันไป เป็นภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ อันหนึง่ ทีท่ ำ� ให้บา้ น ของคนน่าน ซึง่ ไม่วา่ จะเล็กหรือใหญ่ ก็ให้ความรูส้ กึ ทีถ่ อ่ มตน เปิดรับธรรมชาติ และดูรม่ รืน่ น่าอยูอ่ าศัย


ซิ่นไม่สิ้น

ยายขันแก้ว เพชรพ่วง

ยายขันแก้ว เพชรพ่วง

ผู้ปั่นต่อเส้นฝ้ายผ้าซิ่นเมืองน่าน

เมืองนันทบุรีหรือเมืองน่าน เป็นแหล่งก�ำเนิด และผลิตผ้าซิ่นทอมือที่งดงามหลากหลายรูปแบบ เนือ่ งจากจังหวัดน่านประกอบไปด้วยกลุม่ ชนหลาก หลายชาติพันธุ์ ผ้าซิ่นพื้นเมืองของเมืองน่านจึง เป็นการน�ำเอาเทคนิคของชนชาติตา่ งๆ เช่น ลือ้ ลาว ยวน ม่าน ฯลฯ มาหลอมรวมจนเกิดเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ท�ำให้ผา้ ซิน่ เมืองน่านมีชอื่ เสียงโดดเด่น โดย ภูมปิ ญ ั ญาการทอผ้าส่วนใหญ่สบื ทอดมาจากชาวไท ลื้อโบราณ ลักษณะเด่นของผ้าซิ่นเมืองน่านคือ จะ เน้นความส�ำคัญของการออกแบบลวดลายส่วนกลาง ผืนทีเ่ ลียนแบบธรรมชาติ และลายเรขาคณิต โดยจะ แบ่งลวดลายตามลักษณะการทอ คือ 1. การล้วง เป็นการสร้างลวดลายโดยการล้วง ด้วยมือ ใช้เส้นด้ายหลากสีพุ่งเกาะเกี่ยวกันเป็น ช่วงๆ เกิดเป็นลายคล้ายสายน�้ำไหล หรือเรียกว่า ซิ่นลายน�้ำไหล 2. การเก็บมุก เป็นการทอโดยใช้เส้นยืนพิเศษ เพิ่มบนกี่ทอผ้า โดยใช้ไม้ไผ่เหลาให้กลมตรงปลาย มนเก็บมุก เมื่อเก็บเสร็จจะสอยด้ายเส้นยืนด้วยไม้ 3. การคาดก่าน เป็นการทอด้วยลายมัดหมี่ พุ่งสลับกับร่วมกับลายขิด ท�ำให้มีลักษณะเป็นลาย ขวางบนตัวซิ่น ซิ่นในเมืองน่านที่โดดเด่นคือ ซิ่นม่าน ทอใน ลักษณะเป็นลายริ้วขวางสลับสีพื้น ไม่เกิน 3 สี เช่น สีแดง สีด�ำ สีม่วง มีช่องไฟขนาดใหญ่เล็กไม่เท่ากัน อาจคัน่ ด้วยไหมทองหรือไหมเงินให้ดูแวววาวระยับ ทั้งผืน ตีนซิ่นต้องมีสีแดงและป้านใหญ่ และซิ่นป้อง ซึ่งเป็นลายริ้วขวางคล้ายกัน แต่มีขนาดช่องไฟเท่า กันทั้งผืน มักทอเป็นริ้วเล็ก สลับลายมุก คุณยายขันแก้ว เพชรพ่วง วัย 79 ปี เชือ้ สายไทลือ้ ดัง้ เดิม เป็นผูห้ นึง่ ทีไ่ ด้เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาการทอผ้าจาก ครอบครัวมาตั้งแต่เด็ก ตั้งแต่สมัยที่อาศัยอยู่อ�ำเภอ ท่าวังผา ครอบครัวคุณยายขันแก้วสืบทอดการทอผ้า

1

ต่อกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เมื่อแต่งงานคุณยาย ขันแก้วได้ย้ายมาอาศัยอยู่ที่บ้านน�้ำล้อม ในอ�ำเภอ เมืองน่านมาจนถึงปัจจุบนั โดยได้ยดึ อาชีพทอผ้าเป็น งานอดิเรกมากว่า 70 ปีแล้ว ส่วนญาติๆ ที่อาศัยอยู่ ที่อ�ำเภอท่าวังผาก็ยังคงทอผ้าเป็นงานอดิเรกกันอยู่ จนถึงปัจจุบนั ด้วยการทอผ้าส่วนใหญ่จะมาจากใบสัง่ ของลูกค้า ไม่มีวางขายตามท้องตลาด เพราะล�ำพัง เพียงการผลิตตามใบสัง่ ก็ไม่มเี วลาทอผ้าส�ำหรับน�ำ ไปวางขายในตลาดทั่วไปแล้ว ผ้าซิน่ ทีค่ ณ ุ ยายขันแก้วทอส่วนใหญ่เป็นลวดลาย โบราณทีท่ อสืบต่อกันมาคือ ซิน่ ม่าน และซิน่ ป้อง ซึง่ ซิน่ ทัง้ สองชนิดนีย้ งั ถูกเรียกชือ่ ต่างกันออกไปอีกตาม ลวดลายและสีสันบนผ้า เช่น ผ้าซิ่นม่านเหลือง ผ้า ซิน่ ม่านค�ำไว้สำ� หรับใส่ไปในงานศพ ผ้าซิน่ เชียงแสน ผ้าซิ่นป้องค�ำ ไว้ใส่ไปงานมงคล เป็นต้น เครื่องมืออุปกรณ์ในการทอผ้าของคุณยายขัน แก้วเป็นการทอด้วยกี่ทอผ้าแบบไทลื้อดั้งเดิม มี โครงสร้างเป็นสี่เหลี่ยมมีสี่เสายึดติดกัน กี่ทอผ้า ที่ใช้ในปัจจุบันนี้เป็นหลังที่คุณพ่อของคุณยายขัน แก้วท�ำให้ ซึ่งมีอายุกว่า 60 ปีแล้ว ส่วนอุปกรณ์ ประกอบอื่นๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการทอผ้า ได้แก่ กระสวย ซึ่งเป็นอุปกรณ์ส�ำหรับใช้บรรจุหลอดด้าย เส้นพุ่งทีใ่ ช้ในการทอผ้า มีหน้าที่สง่ ด้ายพุ่งเข้าไปใน ด้ายเส้นยืนทีข่ งึ อยูบ่ นหูกทอผ้า เครือ่ งปัน่ ด้าย ภาษา พืน้ ถิน่ ทางเหนือเรียก กวง เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้สำ� หรับ ปั่นฝ้ายให้เป็นเกลียวเป็นเส้นด้าย โดยมีมะกวัก (ม้วนฮูก) ซึ่งท�ำจากไม้ไผ่สาน ส�ำหรับม้วนฝ้าย มะกวัก 1อันจะม้วนฝ้ายได้ 1 สี เมื่อจะใช้มะกวักม้วน ฝ้ายก็จะเอาไปเสียบกับ หางเห็น โดยมี กกกว้าง ที่ ท�ำมาจากไม้ไผ่ผกู โยงกับเชือกให้ตงึ ส�ำหรับใส่ฝา้ ย มี เสาไม้สองเสาส�ำหรับสอดกกกว้าง ให้หมุนกวักฝ้าย ปัจจุบนั ฝ้ายแท้ในเมืองน่านหาซือ้ ได้ยาก เพราะ ไม่มีใครปลูกต้นฝ้ายกันแล้ว คุณยายขันแก้วจึงใช้

2

ฝ้ายโทเรแทนฝ้ายแท้ในการทอผ้าซิ่น เนื่องจากหา ซื้อได้ง่าย และให้เส้นใยที่เหนียวกว่า ระยะเวลาใน การทอผ้าซิ่นแต่ละผืนใช้เวลา 6-7 วัน ท�ำให้แต่ละ เดือน คุณยายขันแก้วทอผ้าได้เพียง 2-3 ผืนเท่านั้น เมื่อยิ่งแก่ตัวลงก�ำลังในการทอผ้าก็ยิ่งลดลง การท�ำ สิ่งใดซ�้ำนานๆ ก็จะท�ำให้ปวดเมื่อยได้ง่าย และด้วย กระบวนการทอผ้าซิ่นแต่ละผืนที่ต้องใช้เวลานานนี้ เอง ท�ำให้คณ ุ ยายขันแก้วไม่สามารถทอผ้าเป็นอาชีพ หลักได้ เพราะล�ำพังรายได้จากการขายผ้าซิ่น ซึ่งมี ราคาประมาณ 600-700 บาทต่อผืน ท�ำให้รายได้ ต่อเดือนจากการทอผ้าเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต่อการด�ำรงชีพ ลูกหลานของคุณยายที่ได้รับการ ถ่ายทอดการทอผ้าต่อ ต่างก็ทอผ้ากันเป็นเพียงแค่ งานอดิเรกเท่านั้น ทั้งยังสามารถทอได้เฉพาะลาย ผ้าพื้นๆ ที่มีวิธีการทอไม่ซับซ้อน เช่นพวกผ้าขาวม้า ต่างๆ เพราะการเรียนรู้การทอผ้าลายต่างๆ ต้อง อาศัยทัง้ เวลาและประสบการณ์ในการทออย่างมาก และเมือ่ เทียบราคาจากการขายผ้าทอต่อผืนกับเวลา ที่เสียไป คนรุ่นใหม่จงึ สนใจการทอผ้าน้อยลง ท�ำให้ ภูมิปัญญาการทอผ้าซิ่นของคนพื้นเมืองน่านนับวัน จะยิ่งสูญหายไปจากท้องถิ่น คุณยายขันแก้ว เพชรพ่วง ช่างทอผ้าซิ่นเมืองน่าน บ้านเลขที่ 159/1 บ้านน�้ำล้อม ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน โทร.081-3873466 //ดูสถานที่ตั้งในแผนที่ีท้ายเล่ม : 3F-2

1. กกกว้าง 2. หางเห็นและม้วนฮูก 3. กระสวย

3 Long Nan Booklet | 15



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.