การพิมพ์ลวดลายผ้าด้วยสีธรรมชาติ (natural dyes printing)

Page 1

กระบวนการพิมพลวดลายผาฝายดวยมือ จากสีธรรมชาติ ผูชวยศาสตราจารยมนตรี เลากิตติศักดิ์

Cotton Fabric Hand Printing Process with Natural Dyes


เอกสารเผยแพรประกอบโครงงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงใหม คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องประดับ ๒๕๕๗


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๑

ปจจุบันนี้วิถีชีวิตของผูคนมีความเกี่ยวเนื่องกับการใชสอยลวดลายมากกวาอดีต โดยเฉพาะการใชลวดลายในเครื่องนุงหมทั้งเสื้อผา เครื่องตกแตงรางกาย รวมทั้งเครื่องใช อื่นๆ ซึ่งตองมีลวดลายเขามาเกี่ยวของเพื่อใหเกิดความสวยงามแสดงถึงวิถีชีวิต สถานะ ทางสังคม แสดงออกซึ่งความเปนอัตลักษณ ปจจุบันกระแสของการบริโภคสินคา ผาพื้นเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Product) เริ่มมีบทบาทสูงขึ้น และเปน แนวทางหนึ่งที่รัฐบาลสงเสริมเพื่อสรางสินคาที่ปลอดภัยจากสารเคมีเพื่อสนองตอบตอ ผูบริโภคทั้งใน และตางประเทศ การวิจัยเพื่อคนหาองคความรู คนหากระบวนการในการพิมพ โดยใชวัตถุดิบที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมมีพิษ ไมใชสารเคมี ที่ผูผลิตผาพื้นเมืองสามารถหาไดเอง ในทองถิ่น และมีราคาถูกเพื่อนำมาสรางลวดลายดวยกระบวนการพิมพดวยมือ ลงบนผืนผา ใหสามารถสรางมูลคาเพิ่ม มีความเปนเอกลักษณเฉพาะตนสามารถ สรางทางเลือกใหกับผูบริโภคจึงนาจะเปนแนวทางที่เปนประโยชน เอกสาร กระบวนการพิมพลวดลายผาฝายดวยมือจากสีธรรมชาติ ไดรวบรวมผลของ การวิจัยในสามหัวขอหลักไดแก กระบวนการในการสกัดสียอมจากธรรมชาติเพื่อใชทำ สีพิมพ กระบวนการในการทำสีพิมพ กระบวนการพิมพ และกระบวนการทำใหสีพิมพ ธรรมชาติติดบนผา ซึ่งคาดวาจะสามารถใชเปนแนวทางในการสรางงานพิมพผาฝายดวย สีธรรมชาติ เพื่อนำไปสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาหัตถกรรมสิ่งทอที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไดตามแนวทางการสงเสริมสินคาที่ปลอดภัยจากสารเคมี ตอไป

ผูชวยศาสตราจารยมนตรี เลากิตติศักดิ์


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๒

สารบาญ - สียอมธรรมชาติและกระบวนการในการสกัดสียอมธรรมชาติ - กระบวนการสกัดสียอมจากธรรมชาติ - กระบวนการทำสีพิมพจากธรรมชาติ - กระบวนการทำแมพิมพไม - กระบวนการทำแมพิมพแบบเจาะฉลุ - กระบวนการพิมพผาดวยมือ - กระบวนการทำใหสีติด - ผลการทดสอบคุณภาพ

หนา ๓ ๔ ๖ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๓

สียอมธรรมชาติ และกระบวนการ ในการสกัดสียอมธรรมชาติ สีธรรมชาติ มักเปนสีที่สกัดไดจากวัตถุดิบจำพวก พืช สัตว และแรธาตุ ตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการตามธรรมชาติ แหลงวัตถุดิบของสีธรรมชาติ สามารถหาไดจาก ตนไม ใบไม ผล แกน ราก เปลือก และจากสวนตางๆ ของ สัตว หรือแมลงบางชนิด ซึ่งสามารถใหสีตามตองการ และดวยกรรมวิธีการสกัดสี ที่แตกตางกันทำใหสีที่ไดมีความสวยงาม และหลากหลาย การหาสีพิมพจาก วัตถุดิบธรรมชาติ ควรพิจารณาวา เปนวัตถุดิบที่สามารถหาไดไมยาก หรือมีใช อยูแลวในทองถิ่น ไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอม หรือ สามารถเพาะปลูกได วัตถุดิบสามารถใหสีไดคอนขางเขมขน สกัดไดดวยกระบวนการที่ไมซับซอน เชน การตมดวยความรอน


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๔

กระบวนการสกัดสียอมจากธรรมชาติ ขั้นเตรียมวัตถุดิบ เพื่อเปนการเตรียมวัตถุดิบที่จะนำมาใชสกัดสีใหมีสภาพ เหมาะสมกอนการสกัดสี และทำใหไดสีจากวัตถุดิบอยางเต็มที่ โดยการนำวัตถุดิบมา ทำการตัด หั่น บด หรือ ปน เพื่อใหมีขนาดที่เล็กลงเมื่อนำไปตมสีจะละลายออกจาก เนื้อวัสดุไดงาย

ขั้นการสกัดสียอมจากวัตถุดิบ ในการสกัดสียอม เนื่องจากวัตถุดิบที่ใช เปนการยอมสีในแบบยอมรอนจึงใชความรอนโดยใหน้ำเปนตัวละลายสีจากวัตถุดิบ ออกมาเปนของเหลวแลวนำน้ำออกจากตัวสีเพื่อใหเกิดความเขมขนที่เหมาะกับการ นำมาเปนสีพิมพ ทั้งนี้ไดกำหนดสูตรดังนี้ สูตร ในการสกัดสียอมจากวัตถุดิบใหสีตามธรรมชาติ ๑. วัตถุดิบ ๑ สวน ๒. อัตราสวน วัตถุดิบ : น้ำ เทากับ ๑ : ๕ ๓. ความรอน ๑๐๐ องศาเซลเซียส ๔. ใชเวลา ตมเดือดประมาณ ๖๐ – ๑๒๐ นาที 60 นาที 100 ํ C

30 - 40 นาที

เหลือน้ำสี 1/5

90 ํ C ตักกากหยาบออก กรองกากละเอียดออก

วัตถุดิบใหสียอม + น้ำ ใหความรอน

แผนภูมิแสดงขั้นตอนการสกัดสียอม

เก็บไวใชงาน


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๕

กระบวนการสกัดสียอมจากธรรมชาติ จากสูตรดังกลาวปฎิบัติการใชวัตถุดิบ มาหาปริมาณตามสูตร ดังนี้ ๑. วัตถุดิบธรรมชาติ จำนวน ๑๐๐๐ กรัม (๑ กิโลกรัม) ๒. ใชน้ำ ๑ : ๕ เทากับ ๑๐๐๐ X ๕ = ๕๐๐๐ ซีซี (๕ ลิตร) การสกัดสีจากวัตถุดิบมีขั้นตอนในการสกัดน้ำสีออกจากวัตถุดิบ ดังนี้ ๑. นำวัตถุดิบ และน้ำไปตมดวยความรอนประมาณ ๑๐๐ องศาเซลเซียส (ตมใหเดือด) ๒. เมื่อน้ำเดือดจับเวลา เปนเวลา ๖๐ นาที ๓. ทำการตักกากหยาบ ของวัสดุออกจากน้ำสีที่ได ๔. ตมน้ำสีตอไปใหเหลือปริมาณเทากับ ๑๐๐๐ ซีซี. หรือประมาณ ๑ สวน ๕ ของทั้งหมด จากนั้นนำน้ำสีที่ไดมากรองเอากากละเอียดออกใหเหลือแตน้ำสีเขมขน เพื่อนำไปใชทำเปนสีพิมพ


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๖

กระบวนการทำสีพิมพธรรมชาติ การทำแปงพิมพ และสีพิมพ วัตถุดิบที่สามารถนำมาใชทำแปงพิมพ หรือสารขน (Thickener) ควรพิจารณาใหแปงที่จะใชมีลักษณะดังนี้ มีความหนืด ที่เหมาะสมกับการควบคุมลวดลายได, ขนาดของแปงพิมพจะตองละเอียดพอที่ จะผานแมพิมพไปได, ราคาถูก, การเตรียมไมยุงยาก, เปลี่ยนแปลงความหนืด นอย บูดเนาไมงายจนเกินไป, หาไมยากมีตามทองถิ่น ไมกระทบตอสิ่งแวดลอม จากเกณฑดังกลาวสามารถเลือก แปงมัน มาใชได สวนสารชวยที่นำมาใชทำ แปงพิมพประกอบดวย เกลือปน และสารสม สูตรในการทำแปงพิมพประกอบดวย ๑. แปงมัน ๑ สวน ๒. อัตราสวน แปง : น้ำ เทากับ ๑ : ๑๐ ๓. เกลือแกง ๒๐๐ กรัม/ลิตร ๔. สารสม ๘๐ กรัม/ลิตร หมายเหตุ ในที่นี้น้ำที่ใชจะใชน้ำสีที่เตรียมไดจากการสกัดสีจากวัสดุให สียอมธรรมชาติที่เตรียมไว

แผนภูมิขั้นตอนการทำสีพิมพจากธรรมชาติ


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๗

กระบวนการทำสีพิมพธรรมชาติ

ขั้นตอนการ ทำแปงพิมพ และสีพิมพ การทำแปงพิมพ และสีพิมพ ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ ๑. นำเกลือละลายในน้ำที่เตรียมไว (น้ำในที่นี้จะใชน้ำสีที่ไดจากการสกัดจากวัตถุดิบ) ๒. เมื่อเกลือละลายดีแลวนำสารสมที่เตรียมไวตำจนละเอียดละลาย ในน้ำสีใหหมด ๓. นำแปงที่เตรียมไวใสในภาชนะที่จะตม ๔. คอยๆ เทน้ำสีที่ละลายเกลือ และสารสมแลว ลงในแปงคนให ละลายเขากัน ๕. นำขึ้นตั้งไฟคนสม่ำเสมอเพื่อไมใหแปงติดกนภาชนะ ๖. เมื่อน้ำเริ่มรอนมีควันขึ้นและเริ่มหนืดใหยกลง (ไมตองใหแปงสุก) ๗. คนตอไปแปงจะเริ่มจับตัวขนขึ้น ประมาณใหมีความขนเหนียวเทา นมขนหวานเมื่อแปงพิมพเย็นตัวลงสามารถนำไปใชพิมพได


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๘

กระบวนการทำแมพิมพไม

การทำแมพิมพแบบแมพิมพแกะไม (Block Printing) จะใชวัสดุที่ สามารถดูดซับสีใหติดบริเวณผิวหนาวัสดุไดดี แตตองไมดูดซับสีเขาสูเนื้อของวัสดุ และสามารถถายเทสีลงสูวัสดุที่ตองการพิมพไดดี ลางทำความสะอาดไดงาย นอก จากนั้นยังตองสามารถทำการแกะ ตัด หรือฉลุลายไดงายไมแข็งจนเกินไป และไม ออนจนไมสามารถคงรูปไดเมื่อมีแรงกดขณะทำการพิมพ วัสดุเหลานี้สวนมากจะ นิยมใชไมเนื้อออน จนถึงไมเนื้อปานกลาง หรืออาจใชวัสดุสังเคราะห เชนแผน โฟมยาง หรือ กระเบื้องยาง ก็ได บางครั้งหากตองการความแข็งแรงทนทานมากๆ อาจใชแมพิมพที่เปนโลหะ แตกรรมวิธีการทำจะคอนขางยุงยากซับซอน นำวัสดุเหลานี้มาเขียนลวดลายลงบนวัสดุ แลวจึงทำการ แกะ ฉลุ ตัด ตามความตองการ โดยสวนที่แกะออกจะเปนสวนที่ไมตองการใหสีติด สวนที่คงอยู จะเปนสวนที่เปนลวดลาย หรือสวนที่ตองการใหสีติด จากนั้นจึงนำลวดลายที่ไดติด ลงบนพื้นหลังเพื่อความแข็งแรง แลวจึงนำไปติดกับดามจับเพื่อใหเกิดความสะดวก ในการทำงานขณะพิมพ


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๙

กระบวนการทำแมพิมพแบบเจาะฉลุ แมพิมพแบบเจาะฉลุ (Stencil Printing) การทำแมพิมพแบบเจาะฉลุ จะใชวัสดุทำแมพิมพที่มีลักษณะเปนแผนบาง สามารถ ตัด เจาะ ไดงาย อาจใช กระดาษ หรือกระดาษแข็ง ที่มีความหนาไมมาก ในกรณีที่ตองการพิมพจำนวน ไมมากนัก เนื่องจากกระดาษจะเปอยยุย และขาดงายเมื่อถูกน้ำจากสีพิมพ อาจ ตองใชสีน้ำมัน หรือเชลแล็กค ชวยเคลือบใหเกิดความคงทนมากขึ้น ปจจุบันแผน พลาสติกหาไดไมยากจึงมีความนิยมนำมาใชแทนกระดาษเนื่องจากมีความเหนียว ใส และทนน้ำไดดี แมพิมพมีความคงทนสูง สามารถนำมาใชไดหลายครั้ง การทำแมพิมพแบบเจาะฉลุ จะเริ่มจากการรางลวดลายลงบนกระดาษ จากนั้นนำแผนพลาสติกวางทับลงบนแบบที่รางไวแลวใชมีดปลายแหลม หรือ มีดคัทเตอรตัดสวนของลวดลายที่ตองการใหติดสีออก เหลือสวนที่ไมตองการ ใหสีผานไว เมื่อตัดจนครบตามแบบที่ตองการ ก็สามารถนำไปใชพิมพได


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๑๐

กระบวนการพิมพผาดวยมือ

กระบวนการทดลองพิมพผาฝายดวยมือจากสีธรรมชาติ กอนเริ่มการพิมพ ตองนำผาที่ตองการพิมพไปผานกระบวนการทำความสะอาดเพื่อกำจัดแปง ไขมัน และสิ่งสกปรกตางๆ ออกจากผืนผา โดยนำผาไปตมในน้ำสบู อัตราสวน สบูเหลว : น้ำ ๕ กรัม : ลิตร ใชความรอน ๘๐-๑๐๐ องศา ตมเปนเวลา ๖๐ นาที เมื่อครบเวลานำ ไปลางน้ำใหสะอาดผึ่งใหแหงแลวจึงนำมาพิมพตามขั้นตอนดังนี้ ๑. ปูผาที่จะพิมพบนพื้นที่มีความนุมพอสมควร อาจรองพื้นดวยฟองน้ำ อยางบางความหนาประมาณ ๑-๒ มิลลิเมตร หรือปูผาบนหนังเทียมที่ขึงตึงบนโตะ ๒. เตรียมถาดรองสีโดยใชผาเนื้อหยาบขนาดกวางกวาแมพิมพเล็กนอย วางในถาด แลวนำสีพิมพที่เตรียมไวมาเกลี่ยลงบนผาใหทั่วเสมอกัน ๓. นำแมพิมพไมลงแตะในถาดสีใหสีติดทั่วผิวหนาของแมพิมพ แลวนำไป พิมพ โดยกดลงบนผืนผาใหลวดลายตอเนื่องกันไปตามตองการ ๔. หากใชแมพิมพแบบเจาะฉลุ หลังจากขั้นตอนที่ ๑ ใหนำแมพิมพวางใน ตำแหนงที่ตองการ จากนั้นจึงนำตุมหรือแปลงจุมสี เกลี่ยใหพอดีแลวจึงนำไปกดหรือ ระบายลงบนบริเวณลวดลายที่เจาะไวจนทั่ว เมื่อระบายทั่วแลวคอยยกแมพิมพออก วางในตำแหนงที่ตองการพิมพลวดลายตอเนื่องกันไป


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๑๑

กระบวนการทำใหสีติด กระบวนการทำใหสีติด เปนกระบวนการหลังจากการพิมพเรียบรอยแลว ทั้งนี้ ชิ้นงานที่พิมพตองแหงสนิทกอนจากนั้นจึงนำชิ้นงานไปนึ่งในไอน้ำอิ่มตัว เพื่อใหเกิดการยอม ขึ้นในพื้นที่ของลวดลายที่พิมพไวโดยแปงที่เปนสารขน และสารชวยยอมจะรวมกับไอน้ำเปน เหมือนบอยอมขนาดเล็กๆ บนผิวผา ในการนึ่งชิ้นงานอาจใชรังถึงขนาดใหญที่ใชนึ่งอาหาร สำหรับการทำงานชิ้นไมใหญมากนัก ขอสำคัญของการผนึกสีวิธีนี้คือตองไมใหชิ้นงานเปยก หรือโดนน้ำในระหวาง ทำการนึ่งไอน้ำเพราะจะทำใหสีเกิดการซึมเปอนกับพื้นที่ดานขางได งายทั้งนี้อาจใชกระดาษหอ ไวเพื่อไมใหเกิดการสัมผัสกับน้ำโดยตรง จนกวาจะครบเวลา ๕๐ - ๖๐ นาที โดยประมาณ จากนั้นจึงคอยนำชิ้นงานออกซักน้ำสะอาดจนกระทั่งหมดกากสี สวนเกินที่ติดบนชิ้นงานใหเหลือ เฉพาะตัวสีที่ติดบนผืนผา หรือสังเกตวาน้ำที่ใชลางใสจึงนำ ชิ้นงานออกผึ่งในที่รมจนแหงจึงสามารถนำไปใชงานได

หอชิ้นงานดวยกระดาษ

นำชิ้นงานออกจากหอกระดาษ

ซักน้ำเย็นจนหมดกากสี

นำไปผึ่งแหงในที่รม

นำไปนึ่งไอน้ำ ๖๐ นาที

เปรียบเทียบชิ้นงานหลังและกอนการซัก


กระบวนการพิมพผาดวยสีธรรมชาติ ๑๒

ผลจากการทดสอบคุณภาพ

จากการทดสอบชิ้นตัวอยางตามกระบวนการมาตรฐานของการทดสอบ สิ่งทอในหัวขอหลัก สามหัวขอไดแก ความคงทนตอแสงแดด ความคงทนตอการซัก ความคงทนตอการขัดถู ผลการทดสอบมีดังนี้ ความคงทนของสีตอการซัก พบวา การทดสอบการเปอนกับเสนใยตางชนิด มีอัตราการเปอนสี (Rating) ที่ระดับ ๔-๕ ซึ่งเปนอัตราที่นาพอใจ ความคงทนของสีตอการขัดถู พบวาสีพิมพที่ไดจากวัสดุธรรมชาติทั้งหมดมี อัตราการเปลี่ยนแปลงสี (Rating) ที่ระดับ ๔-๕ ซึ่งเปนอัตราที่นาพอใจ ความคงทนตอแสง พบวาสีพิมพที่ไดจากวัสดุธรรมชาติทั้งหมดมีอัตรา การเปลี่ยนแปลงสีไปจากเดิมที่ระดับ ๓ จนถึง มากกวา ๓ ซึ่งเปนอัตราที่นาพอใจ ซึ่งพอจะสรุปไดวาคุณภาพของสีพิมพจากสีธรรมชาติตามสูตรที่กำหนดมี คุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑสิ่งทอเปนไปตามเกณฑ ทั้งนี้อยางไรก็ตามผูผลิตจะ ตองทำการซักลางในกระบวนการขจัดสีสวนเกินใหดีพอกอน

ตัวอยางผลิตภัณฑจากการพิมพดวยสีธรรมชาติ


กระบวนการพิมพลวดลายผาฝายดวยมือจากสีธรรมชาติ Cotton Fabric Hand Printing Process with Natural Dyes

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงใหม คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องประดับ ๒๕๕๗ หามจำหนาย


เอกสารเผยแพรประกอบโครงงานวิจัย หามจำหนาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงใหม ๙๕ หมู ๒ ถนนซูเปอรไฮเวยเชียงใหม-ลำปาง ตำบลชางเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ๕๐๓๐๐ โทร.๐๕๓-๔๑๔๒๕๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.