มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562
การจัดการขยะ สร้างสุขภาวะคนอีสาน ปี 2562 สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอย ในปี 2561 สถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศมีปริมาณ 76,529 ล้านตัน/ วัน (สผ.2560) สาหรับในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ในปี 2561 มีปริมาณขยะมูลฝอยรวม 21,316 ตัน/ วัน ในเขต เทศบาลตาบล 8,556 ตัน/วัน นอกเขต เทศบาลตาบล กาจัดได้ 42,760 ตัน/ วัน ให้ขยะตกค้างสะสม 1,496,124.30 ตัน ในภาพรวมจาก นโยบายการจัดการขยะ 3Rs เริ่มนาขยะมานามาใช้ประโยชน์มากขึ้น ร้อยละ 30 โดยแผนปฏิบัติการประเทศไทยไร้ ขยะของประเทศไทย ในระยะสั้นมุ่งดาเนินการ 2 ระยะ คือ ระยะต้นทาง และระยะกลางทาง นั่นคือ ระยะต้นทาง คือ การลดปริมาณขยะและการส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทางบนพื้นฐานแนวคิด 3R เพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย และขยะอันตราย ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกและนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ และเพื่อเพิ่มมูลค่าที่ต้น ทาง ระยะกลางทาง คือ การจัดทาระบบเก็บและขนย้ายขยะให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ และสอดคล้องกับสถานการณ์ ขยะในพื้ น ที่ เพื่ อ น าไปสู่ ก ารจั ด การขยะในระยะปลายทางอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในอนาคต ประกอบด้ ว ย 5 องค์ประกอบ คือ ภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา ภาคการศาสนา ภาคประชาชนและประชาสังคม โดย จังหวัด เป็นหน่วยงานหลักในเรื่อง การถ่ายทอดนโยบายหลัก การกากับ ติดตาม เร่งรัด การดาเนินการด้านการ จัดการขยะมูลฝอยในภาพรวมของพื้นที่ คือ 1. จัดทาแผนปฏิบัติการระดับจังหวัดเพื่อดาเนินงานในการจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด 2. เร่งรัดการดาเนินการกาจัดขยะมูลฝอยตกค้างภายในจังหวัดให้หมดไป โดยกากับดูแลของ อปท. ปิด และ/ หรือปรับปรุงฟื้นฟูสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยเดิมให้ถูกต้อง 3. สนับสนุนการรวมกลุ่มพื้นที่กาจัดขยะมูลฝอย (Clusters) การกาจัดขยะมูลฝอยโดยเทคโนโลยีที่เหมาะสม และส่งเสริมเอกชนลงทุนด้านจัดการขยะมูลฝอย 4. สนับสนุนให้มีศูนย์รวบรวมขยะอันตรายชุมชนของจังหวัดหรือ อปท. 5. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด คัดแยก ขยะมูลฝอยและขยะอันตรายที่ต้นทางให้กับประชาชน และสนับสนุน อปท. ดาเนินการลด คัดแยก และนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ 6. ติดตามและกากับดูแล อปท. ดาเนินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและ ขยะอันตรายภายในจังหวัดให้มี ประสิทธิภาพและถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมถึงให้มีการรายงานผล การดาเนินการ 7. สนับสนุนการจัดหาพื้นที่ในการจัดการหรือกาจัดขยะมูลฝอยของ อปท. 8. สนับสนุนการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ โดยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเปิด ช่องทางให้ประชาชนสามารถเสนอแนะ ร่วมตัดสินใจและร่วมมือในการดาเนินโครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและ ขยะอันตรายตั้งแต่ต้นทาง 9. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน พ.ศ. 2548 หรือระเบียบ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การจัดการขยะมูลฝอยต้นทาง 1
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ปี 2561 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.8 ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2560 มีปริมาณ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.64 เนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจาก สังคมเกษตรกรรมสู่สังคม เมือง การเพิ่มขึ้นของประชากร การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยใน หลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น แม้ว่าปริมาณขยะมูลฝอยจะเพิ่มขึ้น แต่การจัดการขยะมูลฝอยใน ปี 2561 มีแนวโน้มดีขึ้น จาก การถูกคัดแยก ณ ต้นทาง และนากลับไปใช้ประโยชน์ 9.58 ล้านตัน (ร้อยละ 34) เพิ่มขึ้น จากปี 2560 ร้อยละ 13 ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิลและทาปุ๋ยอินทรีย์ขยะมูลฝอยชุมชน อีกจานวน 10.88 ล้านตัน (ร้อยละ 39) ถูกจาจัดอย่างถูกต้อง ที่เหลือเป็นขยะที่ถูกกาจัด อย่างไม่ถูกต้องประมาณ 7.36 ล้านตัน (ร้อยละ 27) ซึ่งแนวโน้ม การจัดการขยะที่ดีขึ้นเป็นผลมาจากนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) บน แนวคิด 3R ประชารัฐ ที่มุ่งเน้นการจัดการขยะมูลฝอย ณ ต้นทาง โดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐและประชาชน ทั้งนี้ การจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายพื้นที่ ยังไม่มีการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเพื่อส่งไปกาจัด อย่างถูกต้อง ใน 76 จังหวัดทั่วประเทศ มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นทั้งหมด ประมาณ 22.97 ล้านตัน (ร้อยละ 83 ของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมด) มาจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่มีระบบเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย ไป กาจัด ยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยจานวน 4,894 แห่ง ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 2,881 แห่ง ยังไม่มี การเก็บรวบรวมขนส่งขยะมูลฝอยไปกาจัด โดยประชาชนต้องกาจัดขยะในพื้นที่ของตน การจัดการขยะมูลฝอยกลางทางและปลายทาง 1. การจัดสถานทีก่ าจัดขยะมูลฝอยชุมชนและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน ในปี 2561 สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยชุมชนและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน ทั่วประเทศ มีจานวน 3,205 แห่ง เปิดดาเนินการ 2,786 แห่ง และปิดดาเนินการ 419 แห่ง เนื่องจากมีขยะมูลฝอยเต็มพื้นที่ และดาเนินการ ปิดตามนโยบายของจังหวัดเพื่อผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มในพื้นที่ เมื่อพิจารณาการหยุดดาเนินการของสถานที่กาจัด ขยะมูลฝอย พบว่า สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยของภาครัฐ ปิดดาเนินการ มากที่สุด จานวน 371 แห่ง ส่วนใหญ่เป็น สถานทีก่ าจัดขยะมูลฝอยในระดับหมู่บ้าน หรือชุมชน และ สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่สามารถดาเนินการกาจัดขยะ มูลฝอยได้อย่างถูกต้อง โดยสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยชุมชน 2,764 แห่ง และสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน 22 แห่ง โดยดาเนินการอย่างถูกต้อง จานวน 647 แห่ง มีการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล การฝังกลบเชิงวิศวกรรม การฝัง กลบแบบกึ่งใช้อากาศ การฝังกลบแบบเทกองควบคุมขนาดน้อยกว่า 50 ตัน/วัน เตาเผาที่มีระบบกาจัดมลพิษทาง อากาศ เตาเผาเพื่อผลิตพลังงาน การหมักทาปุ๋ย การกาขยะมูลฝอยแบบเชิงกล - ชีวภาพ/การผลิตเชื้อเพลิง จากขยะ มูลฝอย และการนาขยะมูลฝอยไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ยังเป็นการช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการขยะมูล ฝอย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อีกทางหนึ่ง ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าจากขยะ 35 แห่ง กาลังการผลิตไฟฟ้า เท่ากับ 313.354 เมกะวัตต์ ซี่งอยู่ในสถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ เชิงพาณิชย์แล้ว 2. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกลางทางและปลายทาง มีดังนี้ 1) ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง 1.1) รณรงค์สร้างความรับรู้ ความเข้าใจและจิตสานึก ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ลดปริมาณ และ คัดแยกมูลฝอย เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ มีการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิด 1.2) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 เห็นชอบโครงการ “ทาความดี ด้วยหัวใจ ลดภัย สิ่งแวดล้อม” ให้หน่วยงานภาครัฐเป็นต้นแบบและร่วมรณรงค์ให้ภาคเอกชนและประชาชน ลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ลดรับ ลดให้ลดใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว และงดใช้โฟมบรรจุอาหาร รวมถึงในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ สวนสัตว์ และมีการ จัดการขยะบกสู่ทะเล ในพื้นที่ 24 จังหวัดชายทะเล 2
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 1.3) ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดขยะ เช่น จัด ทาโครงการวันงดรับถุงพลาสติก สาหรับ ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อชั้นนา 2) สนับสนุนให้คาแนะนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดการขยะมูลฝอยแบบรวมศูนย์ (Cluster) มี การลด คัดแยกขยะตั้งแต่บ้านเรือน มีการเก็บขนแบบแยกประเภทและนาไปกาจัดอย่างถูกต้อง รวมทั้งให้คาแนะนาใน การสร้างสถานทีก่ าจัดขยะมูลฝอย การดูแล/ปรับปรุงสถานที่กาจัดขยะมูลฝอย ให้ถูกต้อง 3) ติดตาม ตรวจสอบ ให้คาแนะนาสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ประสบ ปัญหา พร้อมทั้งจัดทาข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ไข 4) ออกประกาศแนวทางและหลักเกณฑ์ในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยให้เหมาะสมกับพื้นที่ ของตนเอง ดังนี้ 4.1) หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่การออกแบบก่ อสร้าง และ การจัดการ สถานที่ฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล สถานที่กาจัดมูลฝอยโดยเตาเผา สถานที่หมักปุ๋ย จากมูลฝอย และ สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย 4.2) หลักเกณฑ์การออกแบบและก่อสร้างสถานที่คัดแยกและแปรสภาพขยะมูลฝอยชุมชน เพื่อผลิต เป็นเชื้อเพลิง 4.3) แนวทางการพิจารณาคัดเลือกรูปแบบเทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสม สาหรับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4.4) แนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยด้วยเตาเผาอย่างมีประสิทธิภาพ 4.5) คุณลักษณะที่เหมาะสมเบื้องต้นสาหรับเชื้อเพลิงขยะจากขยะมูลฝอยชุมชน 3. การจัดการขยะพลาสติก เน้นการจัดการขยะบนบกโดยเฉพาะขยะพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single Use Plastic) เศษ พลาสติกที่มีการนาเข้าเพื่อการรีไซเคิลเป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรม โดยการจัดทา (ร่าง) Roadmap การจัดการ ขยะพลาสติก (พ.ศ. 2562-2570) มีเป้าหมาย 1) ขยะผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์พลาสติก เข้าสู่ระบบการนากลับมาใช้ประโยชน์ ร้อยละ 100 ปี 2570 2) ลด/ เลิก ใช้ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์พลาสติกหรือมีการใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม 7 ประเภท (ก) พลาสติกหุ้มฝาขวดน้าดื่ม (cap seal) เลิกใช้ภายในปี 2562 (ข) ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่มีส่วนผสมของสาร ประเภทอ็อกโซ่ (Oxo) เลิกใช้ ภายในปี 2562 (ค) ไมโครบีดจากพลาสติก (Microbead) เลิกใช้ภายในปี 2562 (ง) ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาดความหนา 4. การจัดการของเสียอันตรายชุมชน 1) วางระบบจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง มีจุดรวบรวมของเสียอันตรายในชุมชนและส่งมายังศูนย์รวบรวมของเสียอันตรายในระดับจังหวัด และเร่งรัดการออก กฎระเบียบคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชนออกจากขยะทั่วไป 2) จัดทาร่างพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการ กาหนดให้ผู้ผลิตมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายหลังการบริโภค ตามหลักการขยาย ความรับผิดชอบของผู้ผลิต (Extended ProducerResponsibility:EPR) ด้วยการจัดระบบหรือกลไก เรียกคืนซาก ผลิตภัณฑ์เพื่อนาไปจัดการอย่างถูกต้อง เพื่อลดผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพของประชาชน ปัจจุบันร่าง พระราชบัญญัติการจั ดการซากผลิ ตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ได้ผ่านความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2561 3
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 3) ควบคุม และดาเนินการสถานที่คัดแยกซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่เปิด ดาเนินการอย่างไม่ถูกต้อง กรณีตัวอย่างการจัดการซากผลิตภัณฑ์ที่ อาเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและผู้ประกอบการโดยเร่งขนย้ายขยะอิเล็กทรอนิกส์ สะสมในพื้นที่บ่อกาจัดขยะไปกาจัดอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ พร้อมทั้งปลูกพืชที่สามารถดูดซับมลพิษ จากดินและแหล่ งน้าเพื่อฟื้นฟู ปัญหามลพิษจากซาก ผลิตภัณฑ์ตลอดจนกาหนดมาตรการเพื่อหยุดยั้ง นาขยะอันตรายหรือขยะอิเล็กทรอนิกส์มากาจัดรวมกับขยะชุมชน 4) การจัดการการนาเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ โดยกาหนดมาตรการให้ยกเลิก การนาเข้า ขยะอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศไม่เกิน 2 ปี (ปี 2562-2563) ยกเลิกการนาเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ใช้แล้วยกเว้นที่จาเป็นและต้องมีมาตรการที่เข้มงวดในการตรวจสอบการนาเข้า และเพิ่มความเข้มงวด ในการบังคับใช้กฎหมายและติดตามตรวจสอบกากับดูแลเส้นทางการนาเข้าและ การประกอบกิจการของโรงงานคัด แยกและรีไซเคิลให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การจัดการขยะมูลฝอย สร้างสุขภาวะคนอีสาน ปี 2562 สถานการณ์ขยะของภาคอีสาน สถานการณ์ข ยะในภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ แบ่ง เป็น พื้นที่ อุด รธานี เลย หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มีปริมาณ 5,348.46ตัน/วัน กาจัดได้ 1,841.32 ตัน/ วัน ขยะตกค้างสะสม 176,694 ตัน พื้นที่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม หนองบัวลาภู มีปริมาณ 5,417.47 ตัน/ วัน กาจัดได้ 2,333.81 ตัน/ วัน ขยะตกค้าง สะสม 1,019,160.60 ตัน (จังหวัดขอนแก่นมีขยะตกค้างมากที่สุด คือ 754,904 ตัน/ ปี) พื้นที่ นครราชสีมา ศรีษะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปริมาณ 6,778.67 ตัน/ วัน กาจัดได้ 1,780.37 ตัน/ วัน ขยะตกค้างสะสม 289,802.76 ตัน และพื้นที่สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 12 ยโสธร มุกดาหาร อานาจเจริญ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี ปริมาณ 4,356.16 ตัน/วัน กาจัดได้ 1,232.9 ตัน/ วัน ขยะตกค้างสะสม 10,467.09 ตัน/วัน ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนภาคอีสาน 1) มีขยะมูลฝอยตกค้างอยู่เป็นจานวนมาก เนื่องจากสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยส่วนใหญ่ดาเนินการ ไม่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมีการเผากลางแจ้ง กองทิ้งในบ่อดินเก่าหรือพื้นที่รกร้าง 2) สถานทีก่ าจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการมีไม่เพียงพอ การขออนุญาตใช้พื้นที่ต้องใช้ระยะ เวลานาน หรือไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ 3) ประชาชนคัดค้าน ไม่เห็นด้วยให้มีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยอยู่ในพื้นที่ของตนเอง ส่งผลให้สถานทีก่ าจัดที่ ก่อสร้างแล้วไม่สามารถเปิดเดินระบบได้ หรือมีการคัดค้านไม่ให้ก่อสร้างสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยใหม่ 4) นโยบายของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ให้ความสาคัญกับการจัดการขยะมูลฝอยบางแห่ง ขาดความต่อเนื่องในการบริหารจัดการ 5) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีข้อ จากัดด้านงบประมาณ อุปกรณ์เครื่องมือในการเก็บขนและกาจัดไม่ เพียงพอ ยังไม่มีระบบเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท รองรับการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง 6) ไม่มีระบบรองรับการให้บริการการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเพียงพอในแหล่งท่องเที่ยว หรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็กและที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล เนื่องจากไม่ได้มีการวางแผนและการเตรียมความพร้อมเพื่อ รองรับการจัดการขยะมูลฝอย ควบคู่ไปกับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว
4
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 7) ขาดความร่วมมือและความตระหนักจากประชาชน นักท่องเที่ยว และผู้ประกอบการในการลด และคัด แยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง รวมถึงยังมีการใช้สินค้าและ/หรือบรรจุภัณฑ์ที่กาจัดยากอย่างฟุ่มเฟือยและ ย่อยสลาย ตามธรรมชาติได้ยาก อาทิถุงพลาสติก โฟม 8) ขาดกฎระเบียบบังคับเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย เช่น เทศบัญญัติการเก็บขนขยะมูลฝอยแบบแยก ประเภท เทศบัญญัติการกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการเก็บขนและกาจัดมูลฝอย เป็นต้น รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย ยังไม่มีประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ 9) ขาดประสิทธิภาพของการจัดเก็บค่าธรรมเนียมให้ครอบคลุมและไม่สะท้อนต้นทุนการจัดการขยะทั้ง ระบบ 10) ขาดการบูรณาการอย่างแท้จริงระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านนโยบายกฎหมาย แผนงาน งบประมาณ 11) การจัดการขยะมูลฝอยแบบรวมศูนย์ ไม่สามารถดาเนินการในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลาย แห่ง ที่มีขนาดเล็กและปริมาณขยะมูลฝอยน้อย เนื่องจากขาดการยอมรับจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการคัดค้านจากประชาชน คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน หรือ กขป. ปี 2561 ภาคอีสานมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสานพลังการทางานร่วมกัน ของภาคีเครือข่าย โดยสานักงาน คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ร่วมกับคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) ใน 4 เขตภาคอีสาน จัด งาน “มหกรรมสานพลัง โฮมสุขอีสานครั้งที 1 ทีจ่ ังหวัดขอนแก่น เพื่อสนับสนุนการสานพลังการพัฒนาและขับเคลื่อน งานสุขภาวะในประเด็น การจั ดการขยะ ซึ่งเป็นหนึ่งในประเด็นร่วมของ กขป.ภาคอีสานที่มีการนากิจกรรมพื้นที่ ต้นแบบมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนผลงานนวัตกรรม มีประกาศเจตนารมณ์การจัดการขยะ ภาคอีสาน “ชาวอีส าน จะสานพลั ง ร่ วมแรง ร่ ว มใจ จัดการขยะ มูล ฝอย สิ่ งปฏิกูลและของเสียอันตรายให้ เกิดความสุ ขแก่ ครัวเรือนและชุมชนมีและข้อเสนอนโยบายจากการประชุมวิชาการ ห้อง “ตุ้มโฮมอีสานการจัดการขยะสร้างสุข ” จาก หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย เอกชน ชุมชน ทุกระดับ บวร.สอ. (บ้าน วัด โรงเรียน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น) ร่วมสร้างแนวทางการจัดการขยะต้นทาง กลางทาง ปลายทาง ระดับจังหวัด เขต ภาค ดังนี้ 1. เสริมสร้างองค์ความรู้ ประชาชนระดับครัวเรือนและชุมชน เพื่อให้เกิดความตระหนัก ในการจัดการขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของเสียอันตราย โดยเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง 2. เพิ่มประสิทธิภาพ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของเสีย อันตราย 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ภาควิชาการ เอกชน แก่ครัวเรือน ชุมชน องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการ ขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของเสียอันตราย 4. สร้างต้นแบบระดับตาบล เพื่อนาร่องการจัดการขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของเสียอันตราย โดยกลไก ตาบลจัดการตนเอง ให้เป็น “ตาบลปลอดขยะ” 5. สนับสนุน ให้มี “ถนนปลอดถังขยะ” ภายใต้กระบวนการดาเนินงาน ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ระดับอาเภอ (พชอ.) 6. บูรณาการ การขับเคลื่อนโยบายสาธารณะการจัดการขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของเสียอันตราย ระดับ จังหวัด ให้มี 1 จังหวัด 1 หน่วย การจัดการขยะอันตราย 7. กขป.ภาคอีสาน เขต 7, 8, 9, 10 ต้อง “ฟูมฟัก เชิดชู ต่อยอด” การจัดการขยะ มูลฝอย สิ่งปฏิกูลและ ของเสียอันตราย ในพื้นที่ทุกระดับ 5
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 การสานพลังของ กขป.ภาคอีสาน ในการขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอย กขป. มีเจตนาที่จะสานพลังเชื่อมโยงวาระยุทธศาสตร์จังหวัดด้านการจัดการขยะ (จังหวัดสะอาด) ที่มีผู้ว่า ราชการมอบหมาย ทสจ./ ท้องถิ่นจังหวัด ขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะ 3Rs ในรูปแบบต่างๆ สู่ พชอ. สนับสนุนให้ หน่วยบริการ สถาบันการศึกษา/ วิชาการ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการจัดการขยะ มี อนุกรรมการเชิงประเด็น ที่ประกอบด้วย สานักงานสิ่งแวดล้อมภาค 9-10-11-12 ท้องถิ่นจังหวัด และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เป็นคณะทางานขับเคลื่อนและเชื่อมประสานงานการจัดการขยะในระดับจังหวัด (จังหวัดสะอาด) อาเภอ (พชอ.) ตาบล (ธรรมนูญสุขภาพตาบล/ กองทุนหลักประกันสุขภาพตาบล) มีการถอดบทเรียนนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการขยะทั้งทางตรงและทางอ้อม การกากับติดตามผลการดาเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมสร้างเสริม องค์ความรู้ประชาชนระดับครัวเรือนและชุมชน เพื่อให้เกิดความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและของ เสียอันตราย โดยเน้นการจัดการที่ต้นทาง และเผยแพร่บทเรียนสู่สาธารณะ โดยบทเรียนการจัดการขยะของ กขป. ภาคอีสาน ปี 2562 ดังนี้ 1. กขป. ทาหน้าที่ประสานข้อมูล แผนงาน ชุดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น ทสจ. สสภ. อื่นๆ เพื่อสังเคราะห์เทียบเคียงกับสถานการณ์ปัญหาปัจจุบัน และสะท้อนผลข้อมูลสู่การ เรียนรู้และหาข้อสรุปร่วมกัน มีตัวแทน กขป. ในสังกัดหน่วยงานของรัฐผลักดันข้อสรุปของ กขป. เสนอต่อผู้ว่าราชการ จังหวัดและหัวหน้าส่วนงานที่เกี่ยวข้อง 2. การเข้าร่วมประชุมในฐานะผู้สังเกตการณ์ ที่ปรึกษาอนุกรรมการรายประเด็นและให้ข้อเสนอแนะ (ยังไม่มี ตาแหน่งรองรับในกรรมการต่างๆ) มีการขับเคลื่อนงานผ่านเครือข่าย องค์กรในพื้นที่ เช่น การบริหารจัดการขยะตาบล ศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ การขับเคลื่อนงานผ่าน 4PW ศปจ. สมัชชาฯ เป็นต้น 3. กขป. มีการแต่งตั้งอนุกรรมการประเด็นการจัดการขยะ มีกระบวนการทางานและเรียนรู้ร่วมกันในพื้นที่ แต่ละจังหวัดเพื่อค้นหาปัญหา บทเรียน นวัตกรรมที่ดี เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันและเผยแพร่ 4. กขป. และอนุกรรมการฯ ในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการจัดการขยะที่หลากหลาย เช่น การจัดงานวัน สิ่งแวดล้อม การขับเคลื่อนผ่านธรรมนูญ การเชื่อมโยงกับกองทุนตาบล การรณรงค์ลดการใช้พลาสติกและโฟม การ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อต่างๆ และการพัฒนานวัตกรรมร่วมกับนักวิชาการ 5. มีตัวแทน กขป. บางพื้นที่ผลักดันนโยบายเกษตรอินทรีย์อาหารปลอดภัย บูรณาการกับการจัดการขยะ อินทรีย์สู่วาระ พชอ. (ระดับอาเภอ) และพัฒนาเทคโนโลยีในการเพิ่มมูลค่าจากขยะอินทรีย์ ทิศทางที่พึงประสงค์ของ กขป. ในการบริหารจัดการขยะ 1. ร่วมกาหนดเป้าหมาย ทิศทางและแผนงาน ในการดาเนินการและพัฒนาเกี่ยวกับการขับเคลื่อนตาม ประเด็นด้านการจัดการขยะ ของ กขป.โดยบูรณาการภารกิจและบทบาทหน้าที่ ให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ให้เป็นนโยบายสาธารณะ ที่สอดคล้องกับความจาเป็นของประชาชนและชุมชนในพื้นที่ 2. มีแผนงานที่คณะทางานด้านการจัดการขยะออกแบบและกาหนดโดยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับทุก ภาคส่วน สนับสนุนให้เกิดต้นแบบนวัตกรรมใหม่ๆ ในการดาเนินงานด้านสุขภาพตามประเด็นการจัดการขยะในพื้นที่ 3. ให้ข้อคิดเสนอแนะและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการดาเนินงานด้านการกาจัดขยะ และงานด้านสุขภาพต่อ คณะทางานเชิงประเด็น หน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 4. ประสานงานกับภาคีต่างๆ ในเขตพื้นที่ ให้เกิดการบูรณาการงานด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพในรูปแบบ สานพลังภาคี ในการทางานด้านเชิงนโยบายสุขภาพแบบมีส่วนร่วม รวมไปจนถึงจัดทาแต่งตั้งคณะทางานระดับต่างๆ ที่สอดคล้องตามแนวทางการดาเนินงาน 5. ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามเป้าหมาย ทิศทางและแผนงานด้านสุขภาพตามประเด็นการ 6
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 จัดการขยะ ในเขตพื้นที่แต่ละจังหวัด เก็บรวมรวมข้อมูลที่มีอยู่ในพื้นที่ ตามบริบทชุมชนนั้นๆ สรุป /รวบรวมเพื่อ รายงานเป็นข้อเสนอแนะต่อกรรมการ กขป. 6. นาเสนอรายงานผลการดาเนินงาน ต่อ คณะกรรมการ กขป. 7. ทั้งนี้การปฎิบัติภารกิจ/ การทางานอยู่ภายใต้ความเห็นชอบหรือมติของคณะกรรมการ กขป. ตามความ พร้อมของพื้นที่ปฎิบัติภารกิจ หรือการทางานให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงประเด็นที่กาหนด
ต้นแบบการขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอย ภาคอีสาน ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 7 ขอนแก่น ตารางที่ 16 แสดงปริมาณขยะและการกาจัดโดย กลไก อปท. เขตสุขภาพที่ 7 ขอนแก่น ปริมาณขยะ มูลฝอย/ วัน (ตัน) กาฬสินธุ์ 976.79 ขอนแก่น 1,817.92 ชัยภูมิ 557.98 มหาสารคาม 882.75 ร้อยเอ็ด 1,254 หนองบัวลาภู 482.96 จังหวัด
จานวน อปท. ที่มีการ จัดการขยะ (แห่ง) 89 (กาจัดถูกวิธี 6 แห่ง) 53 (กาจัดถูกวิธี 1 แห่ง) 20 (กาจัดถูกวิธี 4 แห่ง) 28 (กาจัดถูกวิธี 1 แห่ง) NA 48 (กาจัดถูกวิธี 2 แห่ง)
ปริมาณที่เก็บขน ไปกาจัด/ วัน (ตัน) 678.59 315.27 238.15 162.43 NA 177.36
ปริมาณขยะตกค้างในรอบปี (ตัน) 17,510.28 (จัดการขยะต้นทาง 59.85 %) 80,334.56 (จัดการขยะต้นทาง 51.87 %) 9,683.5 (จัดการขยะต้นทาง 57.32 %) 11,784.1 (จัดการขยะต้นทาง 61.75%) 133,660.8 50,554.83 (จัดการขยะต้นทาง 75.72 %)
ปัญหาสาคัญการจัดการของ อปท. ในพื้นที่ 1. ชุมชนชนเมืองและขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อความแออัด มีปัญหาการจราจรบางจุด ขยะและของ เสียชุมชนมีแนวปริมาณเพิ่มมากขึ้น การบริหารจัดการยังไม่ถูกวิธี 2. มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น เช่น จังหวัดกาฬสินธุ์ มีขยะ 976.79 ตัน/วัน กาจัดถูกต้อง 99.9 ตัน/วัน คิด เป็นร้อยละ 10 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมีสถานที่กาจัดขยะทั้งหมด 51 แห่ง จาแนกเป็นสถานที่กาจัดขยะถูกต้องตาม หลักวิชาการ 3. มีกลุ่ม/ องค์กรในชุมชนนาขยะอันตรายมาจัดการเอง โดยมุ่งที่การแปรสภาพเพื่อนาเศษลวด อลูมิเนียมและ วัสดุที่จาหน่ายได้มาเพิ่มมูลค่า แต่เหลือเศษซากขยะอันตรายทิ้งไม่ถูกหลักวิชาการในชุมชน เช่น ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ 4. จังหวัดขอนแก่นมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 1,817.92 ตันต่อวัน กาจัดถูกต้อง 538.42 ตันต่อวัน ร้อยละ 30 ของขยะที่เกิดขึ้น มีสถานที่กาจัดขยะ 196 แห่ง เป็นสถานที่กาจัดขยะถูกต้องตามหลักวิชาการเพียง 12 แห่ง 5. การบริหารจัดการของ Clustering ไม้เป็นไปตามเกณฑ์ และขาดมาตรฐาน เขตสุขภาพที่ 8 อุดรธานี ในพื้นที่ กขป.8 มี อปท. 716 แห่ง สถานที่กาจัดขยะที่ไม่ถูกต้องจานวน 271 แห่ง ส่วนใหญ่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นผู้รับผิดชอบในการกาจัดขยะตามบทบาทของหน่วยงานนั้น กาจัดโดยการเทกองกลางแจ้ง โดยอาจมีการ ขุดหลุมหรือเทกองบนพื้น สถานที่บ่อทิ้งขยะที่ไม่ถูกต้องมักอยู่ในพื้นที่ป่าหรือพื้นที่สาธารณะประโยชน์ บางพื้นที่มีการ เผาทาให้เกิดเป็นมลพิษต่อคุณภาพอากาศในบริเวณใกล้เคียง ปัญหาการกาจัดขยะแบบเทกองก่อให้เกิดปัญหาน้าชะ ขยะที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพดินและน้าบริเวณนั้น จากการดาเนินงานสารวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่รวม 716 แห่ง ตั้งแต่ปี 2556-2560 มีแนวโน้มปริมาณขยะเพิ่มขึ้น ดังตารางที่ 17 7
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ตารางที่ 17 แสดงปริมาณขยะและการกาจัดโดย อปท. เขตสุขภาพที่ 8 อุดรธานี จังหวัด อุดรธานี เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม สกลนคร หนองบัวลาภู รวม
ปริมาณขยะมูล ฝอย/ วัน (ตัน) 1,690.02 655.05 557.98 424.66 856.43 1,164.33 476.25 5,348.46
จานวน อปท. ที่มีการ จัดการขยะ (แห่ง) 89 (กาจัดถูกวิธี 6 แห่ง) 53 (กาจัดถูกวิธี 1 แห่ง) 20 (กาจัดถูกวิธี 4 แห่ง) 28 (กาจัดถูกวิธี 1 แห่ง) 39 (กาจัดถูกวิธี 3 แห่ง) 33 (กาจัดถูกวิธี 2 แห่ง) 48 (กาจัดถูกวิธี 2 แห่ง) 261 (กาจัดถูกวิธี 17 แห่ง)
ปริมาณที่เก็บขน ไปกาจัด/ วัน (ตัน) 678.59 315.27 238.15 162.43 207.9 238.96 177.36 1,841.32
ปริมาณขยะตกค้างในรอบปี (ตัน) 17,510.28 (จัดการขยะต้นทาง 59.85 %) 80,334.56 (จัดการขยะต้นทาง 51.87 %) 9,683.5 (จัดการขยะต้นทาง 57.32 %) 11,784.1 (จัดการขยะต้นทาง 61.75%) 50,554.83 (จัดการขยะต้นทาง 75.72 %) 5,424.5 (จัดการขยะต้นทาง 79 .47%) 20,561.60 (จัดการขยะต้นทาง NA %) 175,291.77 (จัดการขยะต้นทาง 65.57 %)
หมายเหตุ – ข้อมูลจากสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 9 และ 10 ปี 2559–60 กาจัดถูกหลักสุขาภิบาล 17 แห่ง กาจัดไม่ถูกหลักสุขาภิบาล 244 แห่ง ปริมาณขยะและการกาจัดโดย อปท. พื้นที่เขต 8 อุดรธานี พบว่า จังหวัดที่มีภาวะเสี่ยงด้านการจัดการขยะต้น ทาง มากที่สุด คือ จังหวัดเลย ร้อยละ 51.87 เพราะมีปริมาณขยะสะสมค่อนข้างมาก มี อปท.บางแห่งปิดบ่อขยะ เนื่องจากอยู่ในที่พื้นที่ต้นน้าชั้น 1A ทาให้เทศบาลเมืองต้องแบกรับภาระมากขึ้น รองลงมาคือ จังหวัด หนองคาย ร้อย ละ 57.32 ส่วนจังหวัดที่มีการจัดการขยะต้นทางได้ค่อนข้างดี คือ จังหวัดสกลนคร (79 .47%) ปัญหาของ Clustering และการจัดการของ อปท. ในพื้นที่เขต 8 อุดรธานี 1. เจ้าภาพ (NODE) ไม่มีพื้นที่ในเขต อปท. ของตน หรือมีการบริหารจัดการนอกพื้นที่ มีการพัฒนา ข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง อปท. พบว่าบางอปท.ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข เช่น การจัดการขยะ 3Rs ให้มากที่สุดก่อน นามาทิ้งร่วม อปท. ที่ร่วมทิ้งขยะอยู่ห่างไกล ขาดงบฯ ขาดรถขนขยะ ปัญหาการตกลงราคาทิ้งขยะ/ ตัน แต่ละกลุ่ม ราคาไม่เท่ากัน 2. เจ้าภาพ (NODE) ไม่สามารถบริหารจัดการได้ตามเงื่อนไข เช่น เทศบาลเมืองเลยมี 40 อปท.มาร่วมทิ้ง ขยะเพราะพื้นที่ลุ่มน้าถูกสั่งปิด แต่ใน MOU มีเพียง 25 อปท. ประกอบกับเทศบาลเมืองเลยเปิดระบบมานานขาดการ ซ่อมไม่ได้มาตรฐาน มีพื้นที่ไม่เพียงพอ ตัวอย่าง อาเภอภูกระดึง ขอใช้ประโยชน์จากกรมป่าไม้ ไม่รวมพื้นที่กับ อปท. ข้างเคียง (อบต. ศรีฐาน) ทาให้การพัฒนาระบบไม่เพียงพอ 3. การขอใช้พื้นที่ป่าสงวนฯ อย่างเป็นทางการล้าช้า เอกชนไม่ร่วม/ พื้นที่น้อย ราคาที่ดินสูงเอกชนไม่กล้า ลงทุน/ การศึกษา EIA กรณีจะพัฒนาขยะเป็นพลังงาน ทาได้ยาก 4. จังหวัดสะอาดเน้นต้นทาง 3Rs (มีตัวชี้วัดกากับ) แต่ไม่มุ่งเน้นการจัดการขยะปลายทาง 5. สาหรับการจัดการขยะราย อปท. พบว่า ส่วนหนึ่งเกิดจากการเทกองบนพื้น (open dumping) ซึ่งเป็น วิธีที่ง่ายที่สุดและเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นกลายภูเขาขยะ ขยะอาหารจะเกิดการเน่าเสียและ ย่อยสลาย เกิดกลิ่นเหม็นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนาโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ฯลฯ การพัฒนาภายใต้โครงการจังหวัดสะอาด ตามบทบาทของ อปท. ในพื้นที่เขต 8 อุดรธานี พบว่า จังหวัดเลย (กลุ่มจังหวัดขนาดกลาง) ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 โดยผู้ว่า ราชการจังหวัดเลยมีวิสัยทัศน์ และนโยบายที่ชัดเจน มีความใส่ใจ ลงพื้นที่มาบริหารจัดการขยะร่วมกับทุกภาคส่วน ไม่ ว่าจะเป็นประชาชน ผู้นาท้องถิ่น ผู้นาท้องที่ วัด ภาคเอกชน โรงเรียน และสถานประกอบต่างๆ โดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีการเก็บค่าธรรมเนียม ออกข้อบัญญัติเกือบทุกพื้นที่ มีการนาวัสดุธรรมชาติใบตองมาทาเป็นรูปทรงแทน การใช้โฟม ต่อยอดเป็นนวัตกรรมลดการเกิดขยะ มีการทาข้อตกลงระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ สถานศึกษา 8
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ภาคเอกชน ประชาชน มีการแลกขยะนามาเป็นกองทุนสนับสนุนการจัดงานให้สมากชิกที่เสียชีวิต มีหน่วยงานราชการ เป็นองค์กร Zero Waste นอกจากนี้จังหวัดสกลนคร (กลุ่มจังหวัดขนาดใหญ่) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 และจังหวัดบึงกาฬ (กลุ่มจังหวัดขนาดเล็ก) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ปี 2561 ในพื้นที่เขต 8 อุดรธานี พบว่า ขยะมูลฝอยชุมชน ร้อยละ 40 ได้รับการกาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องตาม หลักวิชาการ ร้อยละ 20 ได้รับการปรับปรุง แก้ไข ปิด หรือบาบัดฟื้นฟู ขยะมูลฝอยชุมชน ร้อยละ 30 ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ ครัวเรือน ร้อยละ 50 เข้าร่วมเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)” เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะ มูลฝอย หมู่บ้านชุมชนร้อยละ 100 มีการจัดตั้งจุดรวบรวมขยะอันตรายชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อย ละ 100 มีภาชนะรองรับมูลฝอยแบบแยกประเภทในสวนสาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยว ตารางที่ 18 แสดงตัวชี้วัดและแนวทางการพัฒนาภายใต้โครงการจังหวัดสะอาด ด้าน ตัวชี้วัด การบริหาร 1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 100 มีการรายงานข้อมูลในแบบรายงานผล (มฝ.2) ผ่านระบบ จัดการ สารสนเทศ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 100 ออก ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติการจัดการขยะมูลฝอย 3) จังหวัดมีการประชุมคณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูล ฝอยจังหวัดอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง 4) การจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับ จังหวั ด อาเภอ อปท. และมีการประชุมดาเนินกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนในพื้นที่อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง แนวทางการสนับสนุน คือ 1) อปท. มีถนนอย่างน้อย 1 สายทาง ความยาวระยะทาง ไม่น้อยกว่า 500 เมตร เป็นถนน สะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย ตามแนวทางการดาเนินโครงการ “1 อปท. 1 ถนนท้องถิ่นใส่ใจสิ่งแวดล้อม” 2) อปท.มีการจัดทาโครงการ 1 อปท. 1 วัด ประชารัฐสร้างสุข 5 ส. ท้องถิ่นละ 1 โครงการ 3) จัดตั้งคณะทางานเพื่อ ดาเนินการพัฒนา “ถนนท้องถิ่นใส่ใจสิ่งแวดล้อม” 4) สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอาเภอ/จังหวัด ให้ความ ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คาแนะนา การจัดการ 1) อปท, ร้อยละ 100 มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ 3ช: ใช้น้อย ใช้ซ้า นากลับมาใช้ใหม่ อย่างน้อยองค์กร ขยะต้นทาง ปกครองส่วนท้องถิ่นละ 1 โครงการ 2) ขยะเปียกถูกคัดแยกและจัดการโดยผู้ผลิตขยะ แบ่งเป็น 2 เป้าหมาย ดังนี้ (1) ครัวเรือนร้อยละ 100 ที่มีบริเวณหรือพื้นที่ในการจัดทาถังขยะเปียกครัวเรือน ได้รับ การส่งเสริมให้จัดทาถังขยะเปียก (2) อปท, ร้อยละ 100 มีการจัดทาถังขยะเปียกรวมและมีการ จัดเก็บขยะเปียกที่ครัวเรือนคัดแยกไว้นาไปบริหารจัดการอย่างน้อย 1 แห่ง 3) ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ในปี 2562 ร้อยละ 40 ถูกนาไปใช้ประโยชน์ 4) การจัดตั้งกลุ่มกิจกรรมเพื่อนาขยะที่คัดแยกแล้วไป จาหน่ายหรือแลกเปลี่ยนเป็นเงินหรือสิ่งของที่มีมูลค่า เช่น ตลาดนัดขยะ ฯลฯ อย่างน้อย อปท.ละ 1 กลุ่ม และมีการดาเนินกิจกรรมอย่างน้อย 1 โครงการ 5) ครัวเรือน ร้อยละ 60 เข้าร่วมเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก” เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอย 6) อปท.ร้อยละ 100 มีการจัด กิจกรรมร่วมกับเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก” อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง แนวทางการสนับสนุน คือ 1) ห้องน้าสาธารณะ ในความรับผิดชอบของ อปท. เช่น โรงเรียนในสังกัดท้องถิ่น ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก สถานที่สาธารณะ ร้อยละ 100 ได้รับการดูแล ปรับปรุง ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี “ห้องน้า ท้องถิ่น สะอาดและปลอดภัย” 2) แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบเพื่อให้มีผู้รับผิดชอบในการทากิจกรรม กาหนดแผนปฏิบัติ การจัดทา 5ส เช่น ส2 สะดวก และ ส3 ทาความสะอาดให้ทาทุกวัน ในส่วนของ ส1 สะสาง อาจทาทุกวันพระ เดือนละ 1 ครั้ง 3) พัฒนาห้องน้าสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบ ได้แก่ ห้องน้าในสานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานีขนส่ง อาคารอเนกประสงค์ ตลาด สวนสาธารณะ และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อ ความพึงพอใจของประชาชนและนักท่องเที่ยว8) แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับ อปท. ร่วมกับกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอยในระดับพื้นที่ อบรมให้ความรู้กับประชาชนคัดแยกขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน 9
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 การจัดการ 1) อปท. ร้อยละ 100 มีภาชนะรองรับมูลฝอยแบบแยกประเภทในสถานที่สาธารณะ 2) อปท. ร้อยละ ขยะกลางทาง 80 มีการวางระบบการเก็บขนมูลฝอยให้สอดคล้องกับพื้นที่ (เฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี การเก็บขน) ยังมี อปท. หลายแห่งที่มามีรถขนขยะและปฏิบัติตามเงื่อนไขของ Clustering แนวทางการสนับสนุน คือ 1) ออกข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติการจัดการขยะมูลฝอย อ้างอิงต้นแบบ 2) จัดหาภาชนะ รองรับขยะมูลฝอยแบบแยกประเภทในสวนสาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบให้ครบทุกแห่ง/ จัดหา ยานพาหนะขนส่ งขยะมูล ฝอยและพนั กงานประจารถให้ เพียงพอกับปริมาณขยะมูล ฝอยที่เกิดขึ้น 3) จัดทาสื่ อ ประชาสัมพันธ์รณรงค์วิธีการนาขยะไปใช้ประโยชน์ผ่านหอกระจายข่ าวหมู่บ้านหรือสถานีวิทยุของรัฐ กระตุ้นหมู่บ้าน/ ชุมชนเห็นประโยชน์ 3ช (ใช้น้อย ใช้ซ้า นากลับมาใช้ใหม่) การจัดการ 1) ขยะอันตรายชุมชนร้อยละ 100 ที่จัดเก็บและรวบรวมได้ ได้รับการกาจัดอย่างถูกต้องตามหลัก ขยะปลายทาง วิชาการ 2) ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 80 ได้รับการกาจัดอย่าง ถูกต้องตามหลักวิชาการ 3) กลุ่มพื้นที่ในการจัดการมูลฝอย (Clusters) ของอปท.ร้อยละ 100 ในแต่ ละจังหวัด มีการดาเนินการกาจัดขยะ หรือมีแผนการดาเนินการฯ โดยผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยจังหวัด แนวทางการสนับสนุน คือ 1) สร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์จากขยะแก่ประชาชนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ เช่น โซฟาถัง ขยะ โต๊ะเก้าอี้เครื่องใช้ภายในบ้านจากไม้เก่า เตาเผาไร้ควัน ไส้เดือนดินทาปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน ธนาคารขยะ โรงเรียน ศูนย์รีไซเคิลชุมชน กิจกรรมขยะแลกไข่/สิ่งของ กิจกรรมตลาดนัดมือสอง ฯลฯ 2) ขยะมูลฝอยชุมชนต้องผ่านกระบวนการคัดแยกแล้ว ถูกนาไปกาจัดถูกต้อง เช่น การฝังกลบอย่างถูกต้องตามหลัก วิชาการ (sanitary landfill) การฝังกลบเชิงวิศวกรรม (Engineer Landfill) การหมักทาปุ๋ยหรือก๊าซชีวภาพ การกาจัด ด้วยพลังงานความร้อน การแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงหรือพลังงาน RDF ผลิตกระแสไฟฟ้า การกาจัดขยะมูลฝอยแบบ เชิงกลชีวภาพ (MBT) การกาจัดแบบผสมผสาน การฝังกลบแบบเทกองควบคุม หรือวิธีอื่นที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ พื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะ การจัดการขยะของเทศบาลตาบลพังโคน อาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ตาบลพังโคนมีประชากร 6,700 คน (ประชากรแฝง เช่น ม.ราชมงคลอีสานกว่า 2,000 คน) ยกฐานะจาก สุขาภิบาล ก่อนปี 2549 การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยใช้วิธีเทกลางแจ้ง ในเนื้อที่ 10 ไร่ มีปัญหาชุมชนร้องเรียน บ่อ ขยะ กลิ่น ควัน กระทบชุมชน 2 แห่ง เพื่อแก้ไขปัญหาและจัดการขยะมูลฝอยชุมชนให้มีประสิทธิภาพ พบว่า ผู้บริหาร ให้ความสนใจ พาชุมชนไปดูงาน มีการจัดเวทีประชาคม เน้นกระบวนการรับฟังความคิดเห็น สร้างกลไกการมาส่วน ร่วม และมีกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ 1. โครงการเก็บขยะสะสมเงินทองคุ้มครองอนาคต เป็นการลดปริมาณขยะ เน้นครัวเรือนลดปริมาณ คัด แยกขยะ และนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ รายได้จากขยะ โดยโครงการ กาหนดหลักเกณฑ์ให้สมาชิกแต่ละครัวเรือน จาหน่ายขยะขายได้ เมื่อเป็นสมาชิกติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน หากมีสมาชิกในครัวเรือนเสียชีวิต ได้รับเงินจาก กองทุนช่วยค่าทาศพๆ ละ 5,000 บาท 2. สิ่งประดิษฐ์เครื่องล้างและคัดแยกถุงพลาสติกช่วยลดโลกร้อน ชุมชนหนองสระพัง อาเภอพังโคน เป็น ชุมชนที่ตั้งอยู่ติดกับบ่อขยะเทศบาลตาบลพังโคน ชาวบ้านในชุมชนจึงร่วมกันแยกขยะตั้งแต่ครัวเรือนก่อนนาไปทิ้งใน บ่อ นาขยะที่เป็นถุงพลาสติกมาล้างและปั่นจนแห้ง แยกตามชนิดของเนื้อถุงพลาสติก เอาไปอัดเป็นแท่งเพื่อนาไปขาย ให้กับโรงงานแปรรูป ซึ่งรับซื้ออย่างไม่อั้นในราคา 5-11 บาท ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับขยะถุงพลาสติก สามารถสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน 3. รับซื้อขยะกล่องนมและกล่องน้าผลไม้ ในราคากิโลกรัมละ 2 บาท ส่งขายให้บริษัทที่มารับซื้อไปผลิตเป็น กระเบื้องยิบซัมทาหลังคาบ้าน 10
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 4. โครงการขยะพิษแลกแต้ม เกิดจากขยะพิษในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟนีออน กระป๋องสเปรย์ ถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ นามาแลกแต้ม สะสมแต้มแทนการรับซื้อ ใครได้แต้มสูง ถึง 5,000 แต้ม ได้รับเครื่องใช้ในครัวเรือนเป็น การตอบแทน ส่วนการจัดการขยะพิษ นาไปฝังกลบไว้ในบ่อฝังกลบที่ได้จัดเตรียมไว้ 5. เทศบาลตาบลพังโคนนับเป็นต้นแบบที่ดี ในการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการขยะมูลฝอยเปียก วิธีการ คือ นาเศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม้ อินทรียวัตถุ ที่สามารถย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย มีความชื้นสูง มาทาเป็นปุ๋ย หมัก และทาแก๊สชีวภาพ ซึ่งนอกจากช่วยลดปริมาณขยะในบ้านแล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย ลดค่าแก๊สใน ครัวเรือน เพิ่มรายได้จากการขายปุ๋ยชีวภาพจากขยะถังข้าวหมู เทศบาลตาบลเชียงเครือ อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ตาบลเชียงเครือมี 17 ชุมชน ประชากร 17,000 คน (ประชากรแฝงจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.)) มีปริมาณขยะ 7.5 ตัน/ วัน ตั้งแต่ปี 2551 ร่วมกับภาคีเครือข่ายสกลนครเมืองน่าอยู่ และเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดสกลนคร ปี 2556 เริ่มทา 3Rs มีนวัตกรรม หนอนแมลงวันลาย กาจัดขยะ อินทรีย์ ธนาคารน้าใต้ดิน ธนาคารขยะ Bio gas ท่อซีเมนต์เจาะก้น เลี้ยงไส้เดือน มีระบบกาจัดทิ้งที่ท่าแร่ 8 อปท. ค่า เก็บ 500 บาท/ ตัน เน้นการส่งเสริมให้เกิดการจัดการขยะที่ต้นทางใช้หลักการ 3Rs ประสบความสาเร็ จ โดยอาศัย “การพัฒนากลไกชุมชน การพัฒนากิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และการพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ต่างๆ” เน้นกิจกรรม ทีป่ ระสบความสาเร็จ การจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ได้แก่ การดาเนินโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลเพื่อสวัสดิการ ฌาปนกิจในพื้นที่ตาบลเชียงเครือ ทั้ง 17 หมู่บ้าน เป้าหมายเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล ตั้งแต่ต้นทาง และสร้างจิตสานึกในการคัดแยกมูลฝอย (ยิ่งแยกขยะยิ่งเพิ่มมูลค่า) เริ่มจากการรับสมัครสมาชิก แล้ว นา วัสดุรีไซเคิลมาชั่งน้าหนักประเมินมูลค่าเป็นจานวนเงิน บันทึกลงสุมดคู่ฝากที่ได้ประสานราคากับร้านรับซื้อของเก่าเป็น เกณฑ์ในการกาหนดราคา ทั้งนี้รายได้จากการขายขยะรีไซเคิลของแต่ละครอบครัวที่เป็นสมาชิก นาไปสงเคราะห์ ช่วยเหลือเป็นค่าจัดการศพของครอบครัวของสมาชิก ที่ถึงแก่ความตาย โดยหักจากบัญชีเงินฝากธนาคารขยะรีไซเคิล ศพละ 20 บาท โดยเทศบาลตาบลเชียงเครือจ่ายให้กับผู้เสียชีวิตคนละ 20,000 บาท ปัจจุบันเทศบาลตาบลเชียงเครือ มีสมาชิก 1,452 คนยอดเงินออมสะสมทั้งสิ้น 540,000 บาท กิจกรรมเด่นในการจัดการขยะอินทรีย์ของเทศบาลตาบลเชียงเครือ ได้แก่ การเลี้ยงไส้เดือน 10 ครัวเรือน ที่ ม.11 ขยายไปหมู่อื่นๆ มีการทาเกษตรแปรรูป เช่น ม.1 ลุงสมศักดิ์ (ทสม. ต้นแบบ) ทาการเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย สนับสนุนโดย ม. เกษตร มาสอน/ มีการอบรมประจา ปัญหา คือ ไก่จิกกินขยะ อาหารย่อยเร็ว ม.12 บ้านโนนศาลา น้าหมักรดขยะอินทรีย์ในบ่อซีเมนต์ ย่อยเร็ว ได้ปุ๋ยอินทรีย์ ปล่อยฟีรอโมนแมลงวันไม่ชอบ การจัดทา Bio gas นาร่อง การจัดการขยะของโรงเรียนศิริราชวิทยาคม มีงบสนับสนุน จากสสส. และม.ราชภัฎสกลนคร เทศบาลตาบลเชียงเครือ มีการพัฒนาธนาคารน้าใต้ดิน นาเศษอิฐ หิน ดิน มาเทในหลุม ป้องกันน้าแช่ขัง 2 รูปแบบ 1) ระบบเปิด ทาบ่อรีชาร์ด น้า สะดือลึก 3 เมตร หลุมเล็กๆ ในสระดึงอากาศจากดิน น้าจะไหลขึ้นมา 2) ระบบปิดในครัวเรือน น้าเสียห้องน้า ซึม หายไป ไม่มีสิ่งปฏิกูล ดับกลิ่น คาว ลดพาหะ น้าเสียสู่ 17 ชุมชน ทาถนนไร้คลอง แทนถังดักไขมันที่มกี าร อุดตัน การจัดการขยะ อบต.เหล่าโพนค้อ จังหวัดสกลนคร อบต.เหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ มีพื้นที่ 32 ตารางกิโลเมตร 11 หมู่บ้าน ประชากร 5,562 คน เป็น พื้นที่ชุมชนดั้งเดิมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมมายาวนาน มีขยะเกิดขึ้นวันละ 2 ตัน ชุมชนสามารถจัดการได้ดีตามหลัก 3Rs ปี 2549 เริ่มโครงการการจัดการขยะโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (CBM) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ต่อมาปี 2558 เข้าร่วมโครงการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพ ของ สปสช. เขต 8 อุดรธานี มีผลให้คนในชุมชน
11
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 เกิดสานึกการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ได้พัฒนาบ้านหนองเหียน (หมู่ที่ 4) เป็นชุมชนนาร่องด้านการจัดการขยะครบ วงจร นาขวดพลาสติกสี มารีดเป็นเส้นและทาไม้กวาดจากขยะ และใช้เทคโนโลยีแบบเรียบง่ายผสมผสาน สามารถ รวมกลุ่มเป็นกลุ่มวิสาหกิจทาไม้กวาดจากพลาสติก เป็นแหล่งเรียนรู้ที่โดดเด่นในพื้นที่ เทศบาลเมืองวังสะ อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เทศบาลเมืองวังสะ มี 19 ชุมชน ปริมาณขยะวันละ 12 ตัน พบว่ามีขยะแฝง (ขยะจากนอกพื้นที่มาทิ้งร่วม) เทศบาลเป็นเจ้าภาพในการบริหารจัดการขยะของกลุ่ม (Clustering) มี อปท. มาร่วมทิ้งขยะ 29 แห่ง เรียกเก็บค่า กาจัดตันละ 300 บาท เอกชนตันละ 400 บาท มีนโยบาย 3Rs สามารถลดขยะได้กว่า 2 ตัน/ วัน ที่สาคัญมีการ จัดการขยะจากตลาดสด (2 แห่ง) ปริมาณขยะอินทรีย์ เศษอาหารประมาณวันละ 1 ตัน ครึ่งหนึ่งชุมชนต้นแบบ/ เครือข่ายนาไปจัดการ อีกครึ่งหนึ่งแบ่งให้สมาคม ฯ (องค์กรพัฒนาเอกชนร่วมกับชาวบ้าน) ในตาบลศรีสงครามนาขยะ อินทรีย์ไปเลี้ยงไส้เดือนผลิตเป็นปุ๋ยอีกทอดหนึ่ง (ได้รับการสนับสนุนทุนจาก JICA) ปี 2556 ร่วมกับ สสส. ดาเนิน โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ หนุน 6 ชุมชน ประกอบไปด้วยชุมชนวังสะพุง 1,2 จอมมณี 1,2 มีการ ดาเนินงานโครงการถนนปลอดถัง ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย โดยประชาชนร่วมจัดการสิ่งแวดล้อม ลด ขยะจนไม่เหลือถัง ตั้งธนาคารรับซื้อขยะอินทรีย์ เพื่อนามาเลี้ยงไส้เดือนดิน ปลูกผักไร้สารรับประทานเอง พร้อมอวด หน้าบ้าน-หลังบ้านสวยน่าอยู่ ปี 2559 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศของเมืองน่าอยู่เทศบาลขนาดกลาง นางดรุณี มาลี ประธานชุมชนวังสะพุง 1 (ไวยาวัฎจักรวัด และ แกนนาจิตอาสา) ได้เชื่อมโยงสู่การจัดการวัดสะอาด (วัดศรีชมชื่น) จน ได้รับรางวัลระดับประเทศในปี 2562 เทศบาลตาบลแสงสว่าง อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ตาบลแสงสว่าง มี 4 หมู่บ้าน กว่า 800 หลังคาเรือนประชากร 3,600 คน มีขยะวันละ 2 ตัน มีการคักแยก ขยะตามหลัก 3Rs เหลือขยะที่จะนาไปกาจัดเพียง 300-400 กิโลกรัม/ วัน ในการจัดการขยะรีไซเคิลมีกองทุน ฌาปนกิจศพละ 10,000 บาท ส่วนการจัดการขยะอันตราย เฉลี่ยปี ละ 15 กิโลกรัม เทศบาล นาส่งให้ อบจ. อุดรธานี นาไปกาจัด กิจกรรมโดดเด่นในปี 2556 มีโครงการจัดการขยะอินทรีย์ นาร่องการจัดทาแก๊สชีวภาพในโรงเรียน/ ครัวเรือนต้นแบบ ปี 2557 มีการจัดทาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพร่วมกับ สช. สปสช. เขต 8 อุดรธานี ปี 2560 อบต. มีการพัฒนาโครงการเสนอของบฯ CSR ของ ปตท./ ลงนาม MOU เป็นค่าพลาสติกคุณภาพ อุปกรณ์ สาย วาว ท่อซีเมนต์ (รวม 10,000 บาท/ เพื่อจัดสร้างแก๊สชีวภาพของชุมชนบ้านทับไฮ นาร่องไปกว่า 120 หลังคาเรือน มีจุด สาธิตแหล่งเรียนรู้ที่วัด มีกระบวนการขับเคลื่อน โดย ผู้นาประกาศรับสมัคร อบรม 2 วัน จ่ายค่าสมทบเข้ากลุ่ม 500 บาท/ ชุด กรรมการติดตามให้คาแนะนา กลุ่มบ้านทับไฮมีการนาร่องนาขวดพลาสติกสีมาแปรรูปทาไม้กวาดจาหน่าย ควบคู่กันไป ในโรงเรียนนาร่อง มีการถอดบทเรียนการทาแก๊สชีวภาพบูรณาการสู่หลักสูตร สนับสนุนให้นักเรียนชั้น ป.4-6 ปลูกหญ้าเนเปียร์ นาไปแลกมูลสัตว์มาเติมแก็ส ควบคู่กับการใช้ขยะอินทรีย์ประเภทต่างๆ เขตสุขภาพที่ 9 นครราชสีมา มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 859 แห่ง แบ่งเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 4 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตาบล 206 แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล 639 แห่ง พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอย เกิดขึ้นรวม 6,389.67 ตัน/วัน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ให้บริการเก็บขนรวม 340 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 39.77 ของ อปท. ทั้งหมด มีปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับบริการเก็บขนรวม 1,931.00 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 30.22 ของ ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น โดยมีขยะมูลฝอยที่ถูกนาไปกาจัดถูกต้อง จานวน 1,073.34 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 55.58 ของ ปริมาณขยะที่เก็บขนทั้งหมด หรือคิดเป็นร้อยละ 16.80 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ไม่มี การให้บริการจัดการขยะมูลฝอย จานวน 515 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.23 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ปริมาณขยะที่กาจัดไม่ถูกต้อง จานวน 2,529.43 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 39.59 และมีปริมาณขยะมูลฝอย ที่ถูก นาไปใช้ประโยชน์ 2,818.04 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 44.10 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ดังตารางที่ 18 12
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ตารางที่ 18 ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นที่ของอปท. เขตสุขภาพที่ 9 นครราชสีมา จังหวัด นคราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ รวม
ปริมาณขยะ อปท.ที่มีการ อปท.ที่ไม่มี ที่เกิดขึ้น ให้บริการ การบริการ (ตัน/วัน) (แห่ง) (แห่ง) 2,460.99 1,074.27 1,565.00 1,289.41 6,389.67
155 92 73 20 340
178 50 135 152 515
ปริมาณขยะ ปริมาณขยะ ที่เก็บขนไป ทีก่ าจัด กาจัด ถูกต้อง (ตัน/วัน) (ตัน/วัน) 1,008.14 708.11 441.42 60.00 341.57 195.52 139.87 109.71 1,931.00 1,073.34
ปริมาณขยะ ที่กาจัดไม่ ถูกต้อง (ตัน/วัน) 794.52 197.1 818.61 719.2 2,529.43
ปริมาณขยะ ที่ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ (ตัน/วัน) 958.37 817.17 582 460.50 2,818.04
พื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะ เทศบาลนคร นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะกลางทาง - ปลายทาง) เทศบาลนครนครราชสีมามีพื้นที่ 37. 5 ตร. กม. มีประชากรจานวน 129,680 คน ประชากรแฝง 28,967 คน เป็นเจ้าภาพ (NODE) ในการจัดการขยะ มี อปท. ร่วมทิ้งขยะ 35 แห่ง มีปริมาณขยะรวมในกลุ่ม 464.35 ตัน/ วัน (กาจัดได้ถูกต้องตามหลักวิชาการเพียง 200 ตัน/ วัน) มีการศึกษาระบบกาจัดขยะแบบฝังกลบให้มีอายุยืนยาวมากขึ้น และสามารถนาขยะเก่ามาใช้ประโยชน์ (ปริมาณขยะ 230 ตัน/ วันขณะนั้น) โดยขยะจะถูกคัดแยกเข้าระบบบ่อหมัก ก๊าซ โดยค่า COD อยู่ที่ 53,000 มิลลิกรัม/ ลิตร ด้วยอัตรา 80 – 100 ลูกบาศก์เมตร/ วัน สาหรับค่า COD ขาออก จากบ่อหมักก๊าซอยู่ที่ 4,000 มิลลิกรัม/ ลิตร ประสิทธิภาพการกาจัดขยะอินทรีย์ร้อยละ 92 ก๊าซชีวภาพจะถูกนาเข้าสู่ เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด 800 กิโลวัตต์ แต่ผลิตได้จริงเพียง 500 กิโลวัตต์ แบ่งขายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 300 กิโลวัตต์ และอีก 200 กิโลวัตต์จะนามาใช้ในโรงงานกาจัดขยะ ปัจจุบันสานักงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมของเทศบาลมีแผนการเก็บขนขยะที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มี ระบบ GPS ติดตั้งกับรถขยะมูลฝอยทั้ง 4 เขต โดยแบ่งได้ดังนี้ เขตที่ 1 จานวน 10 คัน, เขต 2 จานวน 7 คัน, เขต 3 จานวน 8 คัน เขต 4 จานวน 12 คัน รวมทั้งหมด 37 คัน เทศบาลตาบลบ้านค่ายหมื่นแผ้ว อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ปี 2562 มีการต่อยอดการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน "จังหวัดสะอาด" กิจกรรมเด่น คือ ขยะทอง คุ้มครองชีวิต การทากรรมธรรม์ประกันชีวิต จากการซื้อขยะเดือนละ 200 บาท ร่วมกับวิริยะประกันภัย ประกันการ เสียชีวิตปกติ คุ้มครองวงเงิน 10,000 บาท เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ วงเงิน 100,000 บาท ชุมชนนาร่อง คือ ชุมชนร่วมใจ ขยายพื้นที่ดาเนินงานครอบคลุม 9 ชุมชน ดังตารางที่ 19 ตารางที่ 19 แสดงตัวอย่างชุมชนในเขตเทศบาลตาบลบ้านค่ายหมื่นแผ้วที่มีการจัดการขยะ ลา ชุมชน ดับ 1 ร่วมใจพัฒนา
กองทุนฌาปนกิจ หรือ กิจกรรมในการลดปริมาณขยะ (ทุกชุมชนมีการคัดแยกขยะ 4 ประเภท) ธนาคารขยะ สมาชิก 87 ครัวเรือน การทาประกันชีวิตจากขยะ (กองทุนขยะทองคุ้มครองชีวิต) มีการจัดทาถัง กองทุน 95,960 บาท ขยะเปียกในครัวเรือน ทาปุ๋ยหมักวงบ่อซีเมนต์ ปุ๋ยล้อมคอกต้นไม้ การทา อีเอ็มจากเศษอาหาร ทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า/เปลจากซองนม กระเป๋า หอมจากซองน้ายาปรับผ้านุ่มทาจานรองแก้วจากแผ่นซีดี มีเครือข่าย อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกและหมอน้อยจิตอาสา คนในชุมชนพร้อมด้วย เด็กและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะทาความสะอาดถนนในพื้นที่ชุมชน
13
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ตารางที่ 19 แสดงตัวอย่างชุมชนในเขตเทศบาลตาบลบ้านค่ายหมื่นแผ้วที่มีการจัดการขยะ (ต่อ) ลา ชุมชน ดับ 2 วังพระเจริญ พัฒนา
3
4
5 6 7 8 9
กองทุนฌาปนกิจ หรือ กิจกรรมในการลดปริมาณขยะ (ทุกชุมชนมีการคัดแยกขยะ 4 ประเภท) ธนาคารขยะ สมาชิก 21 ครัวเรือน การทากิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน มีการจัดทาถังขยะเปียกใน กองทุน 9,249 บาท ครัวเรือน ร่วมส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษและสมุนไพรบริโภค ตาม โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประกันชีวิตจากขยะ (กองทุนขยะ ทองคุ้มครองชีวิต) มีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก และหมอน้อยจิตอาสา บ้านค่ายแสนสุข ยังไม่ตั้ง มีการจัดทาถังขยะเปียกในครัวเรือน ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษและ สมุนไพรบริโภคในครัวเรือน ตามโครงการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ ทาตะกร้าจากเส้นเชือกพลาสติก เป็นเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก และหมอน้อยจิตอาสา คนในชุมชนพร้อมด้วยเด็กและเยาวชนร่วมกันเก็บ ขยะ โนนสะอาด สมาชิก 28 ครัวเรือน มีการจัดทาถังขยะเปียกในครัวเรือน ทาตะกร้าจากเส้นเชือกพลาสติก เป็น พัฒนา กองทุน 9,049 บาท เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกและหมอน้อยจิตอาสา คนในชุมชน เด็กและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะ ทาความสะอาดถนนและกาจัดลูกน้า ยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ให้ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง มีการทาประกันชีวิตจากขยะ (กองทุนขยะทอง คุ้มครองชีวิต) หมื่นแผ้วพัฒนา สมาชิก 36 ครัวเรือน มีการจัดทาถังขยะเปียกในครัวเรือน เป็นเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิน่ รักษ์ กองทุน 31,948 บาท โลกและหมอน้อยจิตอาสา คนในชุมชนเด็กและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะ ทาความสะอาดถนนและกาจัดลูกน้ายุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายใน สันติสุขพัฒนา (รวม 3 หมู่บ้าน) ชุมชน ให้ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง มีการทา บ้านค่ายสามัคคี โค้งยางพัฒนา สมาชิก 25 ครัวเรือน ประกันชีวติ จากขยะ (กองทุนขยะทองคุ้มครองชีวิต) กองทุน 15,045 บาท โซ้งมะเกลือ สมาชิก 27 ครัวเรือน การทาปุ๋ยหมักวงบ่อซีเมนต์การทาอีเอ็ม ทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า คนใน พัฒนา กองทุน 14,800 บาท ชุมชนเด็กและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะ ทาความสะอาดถนนและกาจัด ลูกน้ายุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ให้ปราศจากแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง มีการทาประกันชีวิตจากขยะ (กองทุน ขยะทองคุ้มครองชีวิต)
เทศบาลตาบลโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มจากปี 2557 โดยจัดทาเป็นแผน 3 ปี จากนั้นก็มาสู่เทศบัญญัติ โดยมุ่งหวังให้ชุมชนสะอาดปราศจากขยะ ดาเนินชีวิตตามเศรษฐกิจพอเพียงวิธีการคือสร้างกระแสปลุกจิตสานึกให้คนเห็นความสาคัญของการจัดการขยะ มีการ วางแผนร่ว มกันในการทางานเชิงรุกประสานผู้นา อสม มีภาคีเครือข่า ย เช่น ร้านค้า รพ.สต โรงพยาบาล ทหาร โครงการสานักและบารุงรักษาเขื่อน โรงเรียนวัด รีสอร์ท บ้านเช่า ป่าไม้ ตารวจ ปกครอง ที่ดิน โดยมีทสจ. เป็นพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ดาเนินการ คือ การให้ความรู้ ศึกษาดูงาน สร้างกระแสปลุกจิตสานึก ประเพณีของเทศบาลโนนดินแดง ทุก ชุมชนมีการประกวดผ้าป่าขยะ ประกวดนางงามรีไซเคิล อสมเป็นแกนนาขับเคลื่อนกิจกรรม รับบริจาคขยะในชุมชน มาจัดทาธนาคารขยะระดับอาเภอ มีเงินหมุนเวียนประมาณ 110,000 บาท เป็นสวัสดิการของ อสม ดูแลเรื่องการเจ็บ ไข้ได้ป่วย มีการขยายธนาคารย่อยในแต่ละชุมชน ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้เสียชีวิต จะได้รับมอบเงินใน งานศพ ในการประชาคมชุมชนเน้นการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือนโดยใช้หลัก 3Rs มีการใช้ถุงผ้าไปตลาดผ้า การ 14
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 หิ้วปิ่นโตไปวัด นาวัสดุทใี่ ช้ไม่ได้มาปลูกต้นไม้ เช่น ล้อรถ หม้อนึ่ง หวดข้าว นาเศษอาหารมาทาขยะอินทรีย์ เป็นดินใน การปลูกพืชผัก ตัวอย่างการแปรรูปขยะ เช่น ชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแกกวน มีการนาขยะ 120 กิโลต่อวัน มาเทรวมกัน มีเศษผ้าจากครัวเรือนจานวนมาก มีการติดตามบ้านที่ทิ้งขยะและสร้างความตระหนักว่าเศษผ้าเหล่านั้นสามารถนามารี ไซเคิลได้ ปัจจุบันขยะที่นามานามารีไซเคิลได้ ร้อยละ 30 มีการนาเศษอาหารไปเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไส้เดือน เศษผักผลไม้ ทาปุ๋ยน้าหมักใช้ EM กากน้าตาลเข้ามาช่วย มีเทศบาลนามาแจกจ่ายให้กับชุมชน เหลือประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ เป็น ขยะอันตราย เทศบาลจะรวบรวมส่งให้ อบจ. เพื่อนาไปกาจัดต่อไป ผลที่เกิดจากการจัดการขยะ คือ ความสามัคคี สิ่งแวดล้อมดี มีรายได้เพิ่มขึ้น เพราะสามารถปลูกพืชผักสวน ครัวได้ไม่ต้องใช้จ่ายมีแต่คนอื่น ชุมชนร่วมเก็บขยะวันเว้นวันปัจจุบันเข้าไปเก็บสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สิ่งที่พบโดยไม่คาด ฝันคือการระบาดของโรคไข้เลือดออก ไม่มีต่อเนื่องมา 5 ปี เพราะพื้นที่สะอาด ปัจจุบันชุมชนมีรายได้หมุนเวียน ประมาณ 5 ล้านบาท มาจากการขายผลผลิตของชาวบ้าน จากการมาศึกษาดูงานของพื้นที่อื่น ปริมาณขยะจาก 120 กิโลกรัมต่อวัน ลดเหลือ 7 กิโลกรัมต่อวัน คนหนองสะแกกวน ลดค่าใช้จ่าย มีอาชีพ มีรายได้ เฉลี่ย 1-2 แสนบาทต่อ เดือน เป็นชุมชนที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน ระดับประเทศ รางวัลจากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยร่วมกับ Toyota ได้ไปศึกษาดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น รางวัลรองชนะเลิศกรมการปกครอง รางวัลชนะเลิศเศรษฐกิจพอเพียงของ กองทัพไทย และเป็นศูนย์เรียนรู้ระดับประเทศ เทศบาลตาบลกันตวจระมวล อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ปีงบประมาณ 2559 บ้านกันตวจระมวล มีครัวเรือนนาร่องเข้าร่วมโครงการ จานวน 174 หลังคาเรือน มี ภาชนะในการคัดแยก ครบทุกหลังคาเรือน และมีถังคัดแยกขยะในงานต่างๆ ของชุมชน เช่น ถังคัดแยกขยะ ถังน้า หมัก (ใช้เป็นคุ้ม) คอกปุ๋ยหมัก และครัวเรือนที่ไม่อยู่ คณะกรรมการทาความสะอาดให้ทุกเดือน จึงไม่เกิดขยะชุมชน ต่อมาในปี 2561 ชุมชนดาเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการเก็บขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนมาเทกองรวมกันแล้วคัดแยกออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอินทรีย์ 224 กิโลกรัม/วัน ขยะรีไซเคิล 107กิโลกรัม/วัน ขยะทั่วไป 12 กิโลกรัม/วัน รวม ปริมาณ 343 กิโลกรัม/วัน คิดเป็นร้อยละ98.28 จากขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมดในชุมชน ตารางที่ 20 แสดงการจัดการขยะของชุมชนกันตวจระมวลในรอบวัน ตั้งแต่ปี 2559-2561 ประเภทขยะ ปี 59
เกิดขึ้น ปี 60
ปี 61
ปริมาณขยะ (กก./วัน) นากลับมาใช้ประโยชน์ ปี 59 ปี 60 ปี 61 130 198 120 (58.04%) (100%) (100%) 60 95 57 (56.04%) (100%) (100%) 7 2 2 (58.33%) (20%)
ปี 59 94 ขยะอินทรีย์ 224 198 120 (41.96%) 47 ขยะรีไซเคิล 107 95 57 (43.96%) 5 ขยะทั่วไป 12 10 3 (41.67%) 0.05 ขยะอันตราย 0.05 0.03 0.02 (100%) 197 295 179 146.05 รวม 343.05 303.03 180.02 (57.42%) (97.35%) (99.43%) (42.57%)
นาไปกาจัด ปี 60
ปี 61
-
-
-
-
8 (80%) 0.03 (100%) 8.03 (2.64%)
1 (100%) 0.02 (100%) 1.02 (0.57%)
ขั้นตอน/ กระบวนการในการจัดการขยะของเทศบาลตาบลกันตวจระมวล 15
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 1) ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และเกิดจิตสานึก ตระหนึกถึงปัญหาขยะมูลฝอยชุมชน รวมทั้งมีส่วน ร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทาง 2) ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จานวน 174 ครัวเรือน และปฏิบัติตามกฎ กติกาของชุมชน ไม่มีการเผาขยะในชุมชน 3) ประชาชนนาความรู้และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ไปดาเนินการลด คัดแยก และใช้ ประโยชน์จากขยะมูลฝอย ได้อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ และมีทัศนียภาพที่สวยงาม 4) ชุมชนบ้านกันตรวจระมวล มีปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องกาจัดลดลง ลดผลกระทบต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม 5) เด็กเยาวชนในชุมชนช่วยกันรักษาความสะอาด เก็บขยะในที่สาธารณะด้วยตนเอง กิจกรรมการลดขยะที่สาคัญ 1) การจัดการขยะอินทรีย์ ชุมชนบ้านกันตวจระมวล นาเศษอาหาร เศษผลไม้ เศษผักต่าง ๆ ไปกาจัดโดย การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อกาจัดขยะอินทรีย์ และการทาน้าหมักชีวภาพชนิดต่างๆ เพื่อใช้รดพืชผักสวนครัว 2) การจัดการขยะรีไซเคิล ชุมชนบ้านกันตวจระมวล ได้จัดตั้งธนาคารขยะเพิ่มทรัพย์บ้านกันตวจระมวล เพื่อรับซื้อขยะที่แต่ละครัวเรือนแยกประเภทเรียบร้อยแล้ว และยังสามารถนามาทาสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น ที่ ใส่ไม้กวาดจากยางรถยนต์ เก้าอี้นั่งจากยางรถยนต์ ไม้กวาดหยากไย่จากขวดพลาสติก ถังคัดแยกขยะจากขวดน้า อีก ทั้งยังเก็บล้อยางภายในชุมชน ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย มาทาเป็นซุ้มประตู ได้สวยงามไปอีก สามารถทาลาย 3) การจัดการขยะทั่วไป ชุมชนบ้านกันตวจระมวลสามารถนาถุงหิ้วที่ใช้แล้วนากลับมาใช้ใหม่โดยการทา พวงมาลัยจากถุงหิ้ว หรือเปลือกข้าวโพดก็สามารถนามาทาดอกไม้ได้ เศษผ้าไหมนามาทาดอกไม้ติดยางมัดผม และ รวบรวมส่งพ่อค้ารับซื้อถุงพลาสติกหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้ 4) การเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ฐานเรียนรู้ที่ 1 การจัดการขยะของชุมชน ให้ความรู้เกี่ยวกับ กลไกการทางานและการขับเคลื่อนงาน ติดตามการจัดการขยะที่ต้นทาง การบริหารจัดการธนาคารขยะเพิ่มทรัพย์ในชุมชน เป็นจุดรวบรวมขยะอันตรายของ ชุมชน และมีเส้นทาง การคัดแยกขยะแต่ละประเภท ฐานเรียนรู้ที่ 2 บ้านต้นแบบการจัดการขยะ ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน การ นาขยะอินทรีย์มาทาน้าหมักชีวภาพ ทาดินปลูก และการเลี้ยงไส้เดือน การทาสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ การ จัดสรรพื้นที่ภายในบ้านปลูกพืชจากน้าหมัก และดินปลูก ฐานเรียนรู้ที่ 3 การจัดการด้านสมุนไพรพื้นบ้าน ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์ โดยการเพิ่ม คุณค่าเศษใบไม้ที่เคยมองข้ามให้มีมูลค่า จากอดีตชุมชนจะนาเศษขยะใบไม้ในครัวเรือนไปเผาก่อให้เกิดมลพิษ และ สร้างรายได้ให้กับชุมชนศึกษาสรรพคุณของขยะ มีการนาตามความรู้ของบรรพบุรุษสมุนไพรพื้นบ้าน มารักษาอาการ เจ็บป่วย แปรรูปเป็นยาดม ลูกประคบ และส่งจาหน่ายไปยังต่างจังหวัด ฐานเรียนรู้ที่ 4 ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการจักสาน มีการนาเศษวัสดุเหลือใช้ มาประยุกต์กับภูมิปัญญา ท้องถิ่น เช่น การนาเชือกฟางมารัดไม้กวาดทางมะพร้าว ทาให้ไม้กวาดคงทน ใช้ได้นานขึ้น นาเศษไม้จากการต่อเติม สร้างบ้านมาประดิษฐ์เป็นไม้กระดานยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ถังน้ายาแอร์ประดิษฐ์กระปุกออกสิน เตาประหยัดพลังงาน ฐานเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มการทอผ้าไหมพื้นเมืองกันตวจระมวล เป็นกลุ่มการทอผ้าไหมพื้นบ้านกันตวจระมวล ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากผู้เฒ่าผู้ แก่ สู่ลูกหลานในหมู่บ้าน มีผ้าไหมหลากหลายรูปแบบ มี ลายทอผ้าไหมเป็นเอกลักษณ์ของตาบลกันตวจระมวล เป็นต้นมะขามป้อมที่พันเกี่ยวร้อยรัดกันโดยการมัดหมี่เป็นลาย สร้างสรรค์อเรียกว่า “ลายนตวจระมวล” สร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน มีการนาเศษผ้าที่เหลือทาสิ่งประดิษฐ์ และนาไปทาเป็นถุงผ้าใช้ในชุมชน เป็นการลดใช้ถุงพลาสติก 16
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 ฐานเรียนรู้ที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกันตวจระมวล เป็นโรงเรียนที่สังกัดเทศบาลตาบลกันตวจระมวล มีการ สร้างจิตสานึกให้กับนักเรียนในโรงเรียน อบรมให้ความรู้ การบริหารจัดการขยะในครัวเรือน มีกิจกรรมการจัดการขยะ ต่างๆ ภายในโรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมการลดการเกิดขยะพลาสติกโดยใช้แก้วน้าส่วนตัวของนักเรียนในการดื่มน้าใน โรงเรียน เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชานี ปริมาณขยะตกค้างของ 5 จังหวัดในเขต 10 เกิดจากปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้อง ทาให้มีปริมาณขยะ มูลฝอยเหลือตกค้างในสถานที่กาจัด โดยในปี 2559 มีปริมาณขยะตกค้างรวมทั้ง 5 จังหวัดมีจานวน 146,716 ตัน ขณะที่ในปี 2560 มีปริมาณขยะตกค้างของทั้ง 5 จังหวัด รวม 10,573 ตัน ลดลงจากปี 2559 ถึงร้อยละ 92.79 โดย จังหวัดที่มีปริ มาณขยะตกค้างในสถานที่กาจัดมากที่สุดคือ จังหวัดศรีส ะเกษ รองลงมา คือ จังหวัดอุบลราชธานี อานาจเจริญ มุกดาหาร และยโสธร ปริมาณขยะเหลือตกค้างตามลาดับ ได้แก่ 5,414 ตัน 3,988 ตัน 840 ตัน 331 ตัน และยโสธรไม่มีขยะตกค้างในสถานที่กาจัด ในการขับเคลื่อนการทางานของคณะกรรมการสุขภาพเพื่อประชาชนเขต 10 (กขป.เขต 10) ที่ผ่านมา กับการ เชื่อมโยงการทางานการทางานกับพื้นที่ กขป.เขต 10 มีบทบาทเป็นหน่วยประสานภาคีการทางาน 5 จังหวัดในการ ทางานขับเคลื่อนประเด็นการจัดการขยะ เพื่อหาพื้นที่รูปธรรม ซึ่งแบ่งเป็นการจัดการขยะในเขตเมือง และเขตชนบท เป็นพื้นที่นาร่องในการเรียนรู้ มีการจัดทาแผนการทางานขับเคลื่อนการจัดการขยะ โดยบทบาทของ กขป.คือการจัด ให้มีพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเขตและมีการศึกษาติดตามประเด็นการขับเคลื่อนการจัดการขยะของแต่ละจังหวัด มีการไปศึกษาดูงานที่จังหวัดอานาจเจริญ โดยมี พชอ. ลืออานาจเป็นเจ้าภาพ และลงพื้นที่ดูงานการจัดการขยะใน พื้นที่ของ อบต.ไร่ขิง มีการจัดการขยะโดยใช้รูปแบบปลอดถังขยะ และมีบ่อกาจัดสิ่งปฏิกูล ชาวบ้านในหมู่บ้านให้ ความสาคัญและมีส่ วนร่วม แม่บ้านในชุมชนมีบทบาทในการขับเคลื่อนการจัดการ โดยมีการคัดแยกขยะ มีจัดตั้ง กองทุนขยะ การศึกษาดูงานของคณะทางาน กขป.นอกจากจะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นขยะกับพื้นที่ มีการเก็บ ข้อมูลและนาประสบการณ์การจัดการขยะชุมชนมาบอกเล่าให้ข้อมูลประชาชนผ่านสื่อวิทยุชุมชน และมีการเสนอ ข้อมูลต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ แผนการทางานในระยะต่อไปของ กขป.เขต 10 คือลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในพื้นที่รูปธรรมของแต่ละจังหวัด ตารางที่ 21 แสดงลาดับและปริมาณขยะตกค้างในสถานที่กาจัดปี 2559 และ 2560 ลาดับที่ของ ประเทศ 39 40 44 52 68
ปี 2559 จังหวัด ยโสธร อานาจเจริญ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี มุกดาหาร
ปริมาณขยะ ตกค้าง (ตัน) 46,400 44,156 33,399 18,634 4,127
ลาดับที่ของ ประเทศ 59 61 66 69 71
ปี 2560 จังหวัด ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อานาจเจริญ มุกดาหาร ยโสธร
ปริมาณขยะ ตกค้าง (ตัน) 5,414 3,988 840 331 -
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ 2560 และ 2561 จากตารางที่ 21 พบว่า ในปี 2560 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ 10 มีการจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ ปริมาณขยะตกค้างภาพรวมลดลง โดยจังหวัดยโสธรสามารถบริหารจัดการขยะไม่ให้มีตกค้างได้ 17
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 วิเคราะห์กระบวนการจัดการขยะของพื้นที่ต้นแบบ ตารางที่ 22 ปัจจัยความสาเร็จของกระบวนการและผลผลิต ของพื้นที่ต้นแบบ พื้นที่ ปัจจัยความสาเร็จ เขตสุขภาพที่ 8 อุดรธานี ทต.พังโคน นโยบายจังหวัดสะอาด ผู้บริหาร จ.สกลนคร อปท. เข้าร่วม LA 21 เข้าร่วม โครงการเมืองน่าอยู่กระทรวง ทรัพยากรฯ ทีมปฏิบัติ อปท. ได้แก่ ปลัด ผอ.กองสาธารณสุข และทีม วิทยากรสนับสนุนจาก สสภ. 9 ทสจ. เอกชน เครือข่าย ทสม. อสม. ความร่วมมือแกนนาชุมชน ทต. เชียงเครือ -นโยบายจังหวัดสะอาด ผู้บริหาร จ.สกลนคร อปท. สถาบันอุดมศึกษา งานวิจัย ม.เกษตรศาสตร์ การออกแบบ ธนาคารน้าใต้ดินของกองช่าง เทศบาล การพัฒนา ทสม. ครัวเรือน ต้นแบบ อบต. เหล่า การเข้าร่วมโครงการ CBM ของ โพนค้อ กสส. ผู้บริหารท้องถิ่นสนับสนุน จ.สกลนคร มอบหมายกลุ่มงานด้านการเกษตร การคัดแยกขยะ ตามหลัก 3Rs เข้า ร่วมโครงการธรรมนูญสุขภาพของ สปสช. เขต 8 -การรวมกลุ่มจัดการขยะรีไซเคิล ชุมชนนาร่อง ทม.วังสะพุง นโยบายผู้บริหารในการลดขยะ การ จ. เลย เข้าร่วมโครงการของ สสส. ความ ร่วมมือกับสมาคม เอกชน โครงการ ถนนปลอดถัง โครงการจัดระเบียบ ตลาดสด ทาข้อตกลงกับ อปท. อบต. แสง สว่าง จ. อุดรธานี
- CSR ของ ปตท. สนับสนุน - การเก็บข้อมูลครัวเรือน โรงเรียน ต้นแบบบ้านทับไฮ ประชาคม ตัวแทนชุมชนด้านแก๊สชีวภาพใน ครัวเรือน
กระบวนการ
ผลผลิต
เก็บขยะสะสมเงินทองคุ้มครองอนาคต ค่าทาศพๆ ละ 5,000 บาท สิ่ง ประดิษฐ์เครื่องล้างและคัดแยก ถุงพลาสติก ลดโลกร้อน เพิ่มมูลค่า ขยะจากกล่องนม กล่องน้าผลไม้ โครงการขยะพิษแลกแต้ม ขยะอินทรีย์ ทาเป็นปุ๋ยหมัก ทาแก๊สชีวภาพ
การคัดแยกและบริหารจัดการ ขยะ 3Rs มีสมาชิกเพิ่มขึ้นและ มีความต่อเนื่องกว่า 10 ปี เทศบาลเป็นพีเ่ ลี้ยงชุมชน และ ถือว่าการบริหารจัดการขยะ เป็นภาระงานประจาที่สาคัญ
เข้าร่วมเมืองน่าอยู่ กสส./ ทสจ. เครือข่าย ทสม. จังหวัดสกลนคร อบรมการจัดการขยะ 3Rs นางานวิจัย มก. มาประยุกต์ใช้ เช่น การเลีย้ ง แมลงกาจัดขยะ ธนาคารน้าใต้ดิน
แกนนาชุมชนตื่นรู้เทคนิคการ จัดการขยะโดยใช้หลักวิชาการ และงานวิจัยเข้าช่วย วัตกรรม ธนาคารน้าใต้ดิน ที่เหมาะสม กับสภาพเมืองเพื่อขยายผล
เข้าร่วมโครงการ CBM ของ กสส./ ทสจ. กลุ่มงานด้านการเกษตรอบรม การคัดแยกขยะ และจัดตั้งธนาคาร ขยะ ตามหลัก 3Rs แปลงเป็น ธรรมนูญสุขภาพของ สปสช.เขต 8 การรวมกลุ่มจัดการขยะรีไซเคิล ออกแบบผลิตภัณฑ์ จดทะเบียน
ชุมชนเห็นคุณค่าขวดพลาสติก ฝาขวด ขยะรีไซเคิลอื่นๆ ที่ สามารถนามาเพิม่ มูลค่า แปร รูปก่อเกิดรายได้ ผูส้ ูงอายุ วัย แรงงาน มีพื้นที่สร้างสรรค์การ ทางานร่วมกัน อบต. สนับสนุนพัฒนาเป็นแหล่ง เรียนรู้กลุ่มวิสาหกิจในพื้นที่ การเข้าร่วมโครงการของ สสส. เกิดกลไกความร่วมมือของ ความร่วมมือจัดการขยะอินทรียด์ ว้ ย เอกชน วัด ชุมชน เทศบาลใน การเลีย้ งไส้เดือน ถนนปลอดถัง วัด การจัดการขยะอินทรียค์ ู่วิถี สะอาด (นาร่องศรีชมชื่น) จัดระเบียบ การผลิต และมีรปู แบบจิต ตลาดสด ข้อตกลง อปท. อาสาในชุมชนเพื่อดูแลความ สะอาดของชุมชนตนเอง การวางแผนร่วมกันของ อบต. และ มีรูปแบบการทางานร่วมกัน ปตท. วิเคราะห์แผนแม่บทชุมชน ใน ของพื้นที่พิเศษ ที่คานึงถึงมิติ เวทีประชาคม ผู้บริหาร แกนนาศึกษา การพัฒนาที่รอบด้านรวมกัน ดูงาน ปตท. พัฒนากิจกรรมนาร่อง บริหารงบฯ CSR ที่เหมาะสม ถอดบทเรียนขยายผล
ตารางที่ 22 ปัจจัยความสาเร็จของกระบวนการและผลผลิต ของพื้นที่ต้นแบบ (ต่อ) พื้นที่
ปัจจัยความสาเร็จ
กระบวนการ
ผลผลิต
18
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 อบต. แสง สว่าง จ. อุดรธานี
กระบวนการขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพของ สช./ สปสช. อบต. เป็นพี่ เลี้ยง รวมกลุ่มแปรรูปขยะรีไซเคิล ทางานแบบจิตอาสา ทบาท บวร
สปสช. สช. สนับสนุนให้ใช้เครื่องมือ ธรรมนูญฯ ร่วมขับเคลื่อน คัดเลือก บ้านทับไฮเป็นต้นแบบ วัด เป็นศูนย์ รวมแหล่งเรียนรู้
และเป็นต้นแบบในการพัฒนา นวัตกรรมจากการเพิ่มมูลค่า ทรัพยากรฯ เกิดมาตรการทาง สังคม/ หลักสูตรการเรียนรู้ ร่วมกันทั้งในและนอกระบบ โรงเรียน
เขตสุขภาพที่ 9 นครราชสีมา ทต. โนนดิน นโยบายผู้บริหาร อปท. ประสานความ แดง จ.บุรีรัมย์ ร่วมมือทุกภาคส่วน พัฒนากลไกอสม. ทางานเชิงรุกร่วมกับหน่วยบริการปฐม ภูมิ เข้าร่วมโครงการพิเศษ เช่น Toyota ลดโลกร้อนด้วยวิถีพอเพียง สร้างโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่ เจ้าหน้าที่ แกนนาชุมชนด้านการ จัดการขยะและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนคร นครราชสีมา
การให้ความรู้ ศึกษาดูงาน สร้าง กระแสปลุกจิตสานึก ทาผ้าป่าขยะ อสม.ทางานเชิงรุกกับ รพ.สต. การ พัฒนากองทุนจากขยะเสริม สวัสดิการกลุม่ เสี่ยง เช่น ผู้ป่วยติด เตียง พัฒนาเทศบัญญัติของเทศบาล ที่ทันต่อเหตุการณ์ การบูรณาการ ความร่วมมือทุกภาคส่วน และการ สร้างกระแสต่อเนื่อง
คนในชุมชนตระหนักและมี ส่วนร่วมเก็บรวบรวม คัดแยก ขยะ นามาใช้ประโยชน์ ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจ พอเพียงจากการจัดการขยะ และก่อเกิดรายได้ เชื่อมโยง การเรียนรู้สโู่ รงเรียน ท้องถิ่น ปรับปรุงรูปแบบการทางานกับ ชุมชนและหน่วยงาน เกิด ชุมชนต้นแบบหนองสะแกกวน สร้างการมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ การพัฒนารูปแบบการจัดเก็บขยะที่ การตรวจสอบเส้นทางการ เก็บข้อมูลปริมาณขยะและวิเคราะห์ สอดคล้องแผนงาน สร้างวินัยให้ จัดเก็บขยะมูลฝอยแต่ละวัน องค์ประกอบ การจัดหาพื้นที่กาจัด ชุมชน ลดปริมาณขยะตกค้าง ลด ควบคุมความเร็วรถ ป้องกัน ขยะทีเ่ พียงพอ ออกแบบระบบการใช้ ปริมาณขยะในพื้นที่ฝังกลบ การลด การนาไปใช้ส่วนตัว จักรกลที่เหมาะสมเพื่อช่วยในระบบ มลภาวะจากกลิ่น น้าเสีย พัฒนา Computer PC พัฒนา ย่อยสลาย เพิ่มมูลค่าจากขยะโดยการ ผลิตภัณฑ์จากการคัดแยกขยะแล้ว เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ ทาปุ๋ยหมักจากกากตะกอน กิ่งไม้ นามาเพิ่มมูลค่า การนาปุ๋ยหรือสาร จัดการขยะปลายทาง เพิ่ม ใบไม้ และผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง (RDF) บารุงดินคืนสู่ธรรมชาติ พัฒนา มูลค่า การลดต้นทุนใน การหมักขยะเพื่อนาก๊าซมาผลิต เทคโนโลยีให้ได้ก๊าซชีวภาพจากขยะ กระบวนการบริหารจัดการ กระแสไฟฟ้าใช้และจาหน่าย ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ขยะระยะยาว สร้างรายชุมชน ลดผลกระทบด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเพิ่มปริมาณไฟฟ้า ช่วยภาครัฐ
ภาพรวมนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย พื้นที่ต้นแบบ ได้แก่ การจัดการขยะมูลฝอยต้นทาง : เน้นการคัด แยกขยะแต่ละประเภทและนามาใช้ประโยชน์ การจัดการกลางทาง : เช่น การเก็บขน ค่าบริการ การขนส่ง การนา ขยะอินทรีย์ไปจัดการเป็นระบบ การจัดการปลายทาง : เป็นการกาจัดขยะที่ถูกต้อง การลดมลภาวะ และพัฒนาเป็น พลังงานในรูปแบบต่างๆ ดังผังภาพรวมนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย พื้นที่ต้นแบบ ภาพที่ 6 ขยะต้นทาง ขยะกลางทาง/ ขยะปลายทาง ทต.พังโคน ความยั่งยืนกองทุนสวัสดิการ ขยะ 3Rs
ทต. โนนดินแดง ขยะลดภาวะโลกร้อนแบบ พอเพียง
ทม.วังสะพุง ขยะอินทรีย์คู่วิถีเกษตรยั่งยืน
ทต. เชียงเครือ การจัดการขยะอินทรีย์แบบ บูรณาการ
ทต. กันตวจละมวล ขยะชุมชนบนฐานภูมิปญ ั ญา
อบต. แสงสว่าง การพัฒนาพลังงานทางเลือก จากขยะ
19
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562
อบต. เหล่าโพนค้อ วิสาหกิจขยะรีไซเคิลเพื่อ คุณภาพชีวิต
ทต.บ้านค่ายหมื่นแผ้ว กองทุนประกันชีวิตจากขยะ
ทน.นครราชสีมา ขยะเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า
จังหวัด และ พชอ.
ภาพที่ 6 แสดงภาพรวมนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย พื้นที่ต้นแบบ ความเชื่อมโยงของกระบวนการขับเคลื่อนประเด็นการจัดการขยะ โดย กขป. ภาคอีสาน ดังตาราง 23 ตารางที่ 23 กระบวนการขับเคลื่อนประเด็นการจัดการขยะ โดย กขป. ภาคอีสาน พื้นที่ เขต 7
เขต 8
เขต 9
รูปแบบการขับเคลื่อน ขับเคลื่อนประเด็นอาหารปลอดภัยและ พยายามจะเชื่อมโยงกับการจัดการขยะ อินทรีย์กระบวนการผลิตที่ปลอดภัย มีการ เลือกพื้นที่ที่เกี่ยวข้องระดับชุมชนในการ จัดการขยะเพื่อเชื่อมโยงกับการทาเกษตร อินทรีย์ ขับเคลื่อนเรื่องมะเร็งควบคู่กัน กขป. มีการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ตนเอง ทางานเชื่อมโยงกับนะโยบายจังหวัด สะอาด -มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน และถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ คณะอนุ กรรมการฯ ขับเคลื่อนในงานประจาของ ตน เช่น ทสจ. สกลนคร -การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ครัวเรือน/ ผู้ประกอบการในการจัดการ ขยะต้นทาง - การร่วมมือกันลดขยะปลายทาง - การเพิ่มมูลค่าจากขยะรีไซเคิล เน้นใน พื้นที่ที่มีตัวแทน กขป./ สนับสนุนงาน ประจาด้วย
กลไกสนับสนุน โดย กขป. จัดตั้งคณะทางานฯ อนุกรรมการ อาหารปลอดภัย มีตัวแทน มหาวิทยาลัยร่วมดาเนินการ ผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อน ในระดับพื้นที่พชอ, -คณะอนุกรรมการฯ เสริมพลังกับ ภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น 4PW สมัชชา สุขภาพรายจังหวัด สภาองค์กร ชุมชน โรงเรียน เอกชน อื่นๆ - พัฒนาศักยภาพคณะทางาน ระดับ อปท. ต้นแบบในการจัดการ ความรู้และร่วมถอดบทเรียน ตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน และ คัดเลือกพื้นที่ต้นแบบโดย อปท. สนใจและให้ความร่วมมือใน การจัดการขยะตั้งแต่ ต้นทาง – กลางทาง – ปลายทาง โดย ประชาชน หน่วยงาน และ ภาคีที่ เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ตัวอย่างพื้นที่ เป็นพื้นทีอ่ าหารปลอดภัย อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด อ.บ้านไผ่ บ้านแฮด จ.ขอนแก่น อ.สหัสขันธุ์ จ.กาฬสินธุ์ พื้นที่ จังหวัดสกลนคร (บทบาท ทสจ. เป็นหลัก) เทศบาลตาบลศรีวิลัย จ.บึงกาฬ เทศบาลวังสะพุง จ. เลย อบต. แสงสว่าง จ. อุดรธานี -จังหวัดนครราชสีมา เทศบาล นครนครราชสีมา - จังหวัดบุรีรัมย์ – เทศบาล ตาบลโนนดินแดง - จังหวัดสุรินทร์ – เทศบาล ตาบลกันตรวจระมวล - จังหวัดชัยภูมิ –เทศบาลบ้าน ค่ายหมื่นแก้ว
ตารางที่ 23 กระบวนการขับเคลื่อนประเด็นการจัดการขยะ โดย กขป. ภาคอีสาน (ต่อ) พื้นที่ เขต 10
รูปแบบการขับเคลื่อน -มีกระบวนการสร้างพื้นที่ต้นแบบ เช่น จังหวัดศรีษสะเกษ อุบลราชธานี และขยายผล 5 จังหวัดในเขตสุขภาพ -การถอดบทเรียนการจัดการขยะพิษ – สะท้อนการเรียนรู้สู่ภาคประชาสังคม
กลไกสนับสนุน โดย กขป. ลงพื้นที่สร้างความเข้าใจ และตั้ง คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน ทางานบูรณาการกับ สสภ. 12 ทสจ. สถ. อบจ. มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี
ตัวอย่างพื้นที่ จังหวัดอุบลราชธานี – ตาบล บ้านกอก อ. เขื่องใน จังหวัดศรีสะเกษ – กสน จัดการขยะของ อบจ. ศรีสะ เกษ
20
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 จากกระบวนการขยะตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วน เป็น บทเรียนที่สามารถพัฒนาสู่นเยบายสาธารณะ ได้ทุกระดับ มีรูปแบบเพื่อ กขป.ขับเคลื่อนงาน 3 รูปแบบ คือ
กขป. รายบุคคล / พื้นที่ จังหวัดขับเคลื่อนในพื้นที่
กขป. ตั้งคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อน
ตัวแทนอนุกรรมการ ขับเคลื่อนในพืน้ ที่
ข้อเสนอเชิงนโยบาย กขป.ภาคอีสาน ข้อเสนอเพื่อการปฏิบัติการ การจัดการขยะต้นทาง ระดับครัวเรือน : ครัวเรือนมีบริเวณหรือพื้นที่ในการจัดทาถังขยะเปียกครัวเรือน และนาขยะ รีไซเคิล/ ขยะอินทรีย์ ถูกนาไปใช้ประโยชน์ที่หลากหลาย ระดับชุมชนเครือข่าย : จัดตั้งกลุ่มกิจกรรมเพื่อนาขยะที่คัดแยกแล้วไปจาหน่ายหรือแลกเปลี่ยนเป็นเงิน หรือสิ่งของที่มีมูลค่า เช่น ตลาดนัดขยะ มีเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก” มีการจัดการขยะมูลฝอยร่วมกันทุก ฝ่าย บวร และสนับสนุนชุมชนเข้าถึงสวัสดิการจากการจัดการขยะที่เหมาะสม ระดับท้องถิ่น พื้นที่ : ผู้บริหารท้องถิ่นมีนโยบาย แปลงสู่การกาหนดยุทธศาสตร์ จัดทา ปรับปรุง ข้อบัญญัติท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ปลัด กองสาธารณสุข ทีมงาน แกนนาชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ด้านการ จัดการขยะมูลฝอย วิทยาการถ่ายทอดความรู้ การจัดการขยะกลางทาง : สนับสนุนให้อปท. 1) มีภาชนะรองรับมูลฝอยแบบแยกประเภทในสถานที่ สาธารณะ 2) มีชุมชนต้นแบบ/ มีบุคลากรสาธารณสุขร่วมจัดการขยะอินทรีย์ และค่อยๆ ขยายผล 3) มีกลไกและบวน การทางานแบบจิตอาสาของชุมชน 4) วางระบบการเก็บขนมูลฝอยให้สอดคล้องกับพื้นที่ (อปท.ที่มีการเก็บขน) 5) มี การเก็บค่าบริการตามความเหมาะสม คุ้มทุน 6) มีระบบการตรวจสอบประเมินกระบวนการขนส่งขยะของ อปท. 7) ถอดบทเรียนชุมชนต้นแบบของ อปท. หรือโครงการเด่นที่เป็นนวัตกรรมเชิงลึก และเผยแพร่ 8) สนับสนุนการบูรณา การนวัตกรรมสู่ธรรมนูญสุขภาพ หรือพื้นที่ และ 9) ทบทวน MOU ความร่วมมือของ อปท. ในการนาขยะมาทิ้งใน รูปแบบ Clustering การจัดการขยะปลายทาง : 1) ขยะอันตรายชุมชนได้รับการกาจัดอย่างถูกต้อง มีสถานที่จัดเก็บได้มาตรฐาน ตามหลักวิชาการ ลดปัญหามลภาวะ 2) ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นการกาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ คัดแยกซ้า ใช้เทคโนโลยีต่างๆ ตามความเหมาะสม 3) กลุ่มพื้นที่ในการจัดการมูลฝอย (Clusters) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการดาเนินการกาจัดขยะ หรือมีแผนการดาเนินการฯ โดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการจัดการสิ่งปฏิกูลและ มูลฝอยจังหวัด 4) มีกระบวนการศึกษารูปแบบการนาขยะมาพัฒนาเป็นพลังงานการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ผ่าน ความเห็นชอบของชุมชน และ 5) สนับสนุนชุมชนมีส่วนร่วมในการศึกษา EIA HIA และนาผลการศึกษามาสะท้อนมีมติ ร่วมกันในการจัดการขยะ ข้อเสนอเพื่อการบริหารจัดการ 21
มหกรรมสานพลัง สร้างสุข ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ปี 2562 การจัดการขยะต้นทาง : จัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนร่วมกับชุมชน จิตอาสา การลงนามความร่วมมือ อปท.มีการประชุมคณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยระดับพื้นที่ และการเสริมสร้างทีมงานใน อปท. การจัดการขยะกลางทาง : สนับสนุนการประชาคมเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียม เทคโนโลยี ข้อบัญญัติ และ การเรียกเก็บค่าทิ้งขยะในกลุ่ม ปฏิบัติตาม TOR การจัดการขยะปลายทาง : ส่งเสริมการศึกษารูปแบบการนาขยะสะสมมาใช้ประโยชน์ ประสานการบูรณา การจัดการผลกระทบ สวล. สุขภาพ การปรับพื้นที่คืนสู่ธรรมชาติการพัฒนาเทคโนโลยี งานวิจัยพัฒนาด้านพลังงาน ข้อเสนอแนะอื่นๆ 1. สนับสนุนให้มีตัวแทน กขป. หรือ คณะอนุกรรมการรายประเด็น (ที่เกี่ยวข้อง) เข้ามามีส่วนร่วมกับ คณะทางานที่เกี่ยวข้อง เช่น 4PW ศปจ. สมัชชาฯ หรือให้มีตัวแทนกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยจังหวัด 2. สนับสนุนให้ อปท. ที่ร่วมลงนามใน MOU ระหว่าง อปท. กับ NODE มีการจัดการขยะ 3Rs ให้มากที่สุด 3. สนับสนุนให้ อปท. มีการสร้างภาพลักษณ์องค์กรที่ต่อเนื่อง ผู้บริหารสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมกับชุมชน เช่น ระยะแรกต้องนาพาชุมชนจัดการขยะที่เป็นระบบ จัดการการเงิน- บัญชี การตลาด การพัฒนาเทคโนโลยี อื่นๆ 4. สนับสนุนให้หน่วยงาน องค์กร และ ผู้เชี่ยวชาญ ให้มีกระบวนการศึกษาแบบมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ ความเป็นไปได้ในการนาขยะมาพัฒนาเป็นพลังงาน โดยความร่วมมือภาคเอกชน ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ รูปแบบการบริหารจัดการของ อปท. ที่ไม่ก่อผลกระทบด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 5. สนับสนุนให้ กรรมการจังหวัดสะอาด พัฒนาแผนงาน กากับติดตาม พชอ. เชื่อมโยงเครือข่าย ทสม. ทุก ระดับ 6. ศึกษารูปแบบการจัดการ สิ่งปฏิกูลขาดคนดูแล มาตรฐาน ทาได้จริง เช่นการอาศัย สสภ. ทสจ. ที่เกี่ยวข้อง มาเสริมความรู้และการทางาน เช่น หมักไว้ 28 วัน ไข่พยาธิจะตายจริงหรือไม่ 7. กขป. ประสานความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศึกษารูปแบบการจัดการขยะอันตรายที่ชุมชนท้องถิ่น จัดเก็บไม่ได้มาตรฐาน ลดการลักลอบทิ้งของคลินิกเอกชน และขยะอันตรายแฝง 8. สนับสนุน Clustering ดูแลระบบที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ การจัดการ กากับอปท. ที่ไม่ทิ้งตาม MOU
22