การจัดทำบัญชีครัวเรือน

Page 1

สภาพปญหาการจัดทําบัญชีครัวเรือน บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

กุลธิดา เสียงใส


พัฒนานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาฝกงานพัฒนาชุมชน (0109411) Practicum in Community Development ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จดวยดีเพราะไดรับความชวยเหลือ คําแนะนําจาก หลาย ๆ ฝาย ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร อาจารยที่ปรึกษา ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความชวยเหลือในการตรวจและแกไขขอบกพรองตาง ๆ รวมทั้งใหความรู เพิ่มเติม ขอมูลในหลายๆเรื่อง จนสามารถทําใหพัฒนานิพนธเลมนี้สําเร็จไดดวยดี ขอกราบขอบพระคุณสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ อาจารยภาคสนาม คุณภักดี พรมเมือง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ ที่ไดกรุณาใหนิสิตรวมเรียนรู และฝกประสบการณ การพัฒนาชุมชน รวมไปถึงใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการอยูในพื้นที่ ขอขอบพระคุณพอวิกรานต โตะชาลี ผูใหญบาน ตลอดจนชาวบานบานหวยยางเหนือ ที่ใหขอมูล และชวยเหลือในการประสานงานใหขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการทําพัฒนานิพนธ อีกทั้งยังใหที่อยู อาศัยแกนิสิตที่ฝกงาน เหมือนลูกหลาน ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทาน ที่ไดกรุณาให ชี้แนะขอบกพรองตาง ๆ คอยอบรมสั่งสอน คอยชี้แนะมาตลอด ทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้สมบูรณยิ่งขึ้น ขอขอบคุณเพื่อนนิสิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชนที่ไดแนะนํา ชวยเหลือเพิ่มเติมขอมูลใหพัฒนา นิพนธนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ขอบคุณครอบครัวที่ใหการสนับสนุนและใหกําลังใจแกผูวิจัยดวยดีตลอดมา จนทําใหผูศึกษา สามารถทําพัฒนานิพนธนี้จนสําเร็จ


ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบใหแกผูที่มีพระคุณทุกทาน รวมถึงผูที่ สนใจพัฒนานิพนธฉบับนี้

กุลธิดา เสียงใส


สารบัญ เรื่อง

หนา

ประกาศคุณูประกาศ...........................................................................................................................

บทคัดยอ.............................................................................................................................................. ข สารบัญ ..............................................................................................................................................

สารบัญตาราง ....................................................................................................................................... ง บทที่ 1 บทนํา 1.1 ภูมิหลัง.................................................................................................................................

1

1.2 วัตถุประสงคของงานวิจัย .....................................................................................................

3

1.3 ขอบเขตการวิจัย...................................................................................................................

4

1.4 แนวคิดที่ใชในการศึกษา .....................................................................................................

5

1.5 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ..................................................................................................... 10 1.6 วิธีดําเนินงานวิจัย...............................................................................................................

12

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ ..............................................................................................................

12

บทที่ 2 บริบทชุมชนทั่วไปของชุมชน 2.1 ประวัติศาสตรชุมชน .........................................................................................................

13

2.2 สภาพภูมิศาสตร ................................................................................................................

14

2.3 ความเชื่อประเพณีวัฒนธรรมและพฤติกรรม .....................................................................

16

2.4 องคกรชุมชน .....................................................................................................................

18


สารบัญ เรื่อง

หนา

บทที่ 3 บริบทดานเศรษฐกิจครัวเรือนหนี้สิน 3.1 การประกอบอาชีพ ............................................................................................................

19

3.2 ประเภทรายไดของครัวเรือน..............................................................................................

20

3.3 ประเภทรายจายของครัวเรือน.............................................................................................

21

3.4 ประเภทภาวะหนี้สินของครัวเรือน......................................................................................

22

บทที่ 4 สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือนของครัวเรือนหนี้สิน 4.1 ความเปนมาของการจัดทําบัญชีครัวเรือน............................................................................

23

4.2 สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือน............................................................................................

23

4.3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีครัวเรือน.............................................................

81

4.4 ปญหาและความตองการในการจัดทําบัญชีครัวเรือน...........................................................

81

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผล ...............................................................................................................................

82

5.2 อภิปรายผล..........................................................................................................................

83

5.3 ขอเสนอแนะ........................................................................................................................

85


สารบัญ เรื่อง

หนา

บรรณานุกรม......................................................................................................................................

89

ภาคผนวก...........................................................................................................................................

90

ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบพัฒนานิพนธ........................................................................................... 91 ภาคผนวก ข รายชื่อผูใหขอมูล ............................................................................................................. 107 ภาคผนวก ค แผนทีบ่ าน......................................................................................................................... 110 ภาคผนวก ง ปฏิทินวัฒนธรรม............................................................................................................... 112 ภาคผนวก จ แบบสัมภาษณ .................................................................................................................. 115 ภาคผนวก ฉ ตัวอยางสมุดบัญชีครัวเรือน............................................................................................... 119 ประวัติยอของผูศึกษา............................................................................................................................. 124


สารบัญตาราง ตาราง

หนา

1 ประเภทรายจายสวนใหญของชาวบานหวยยางเหนือ......................................................................... 2 2 การประกอบอาชีพของชาวบานหวยยางเหนือ.................................................................................... 19 3 รายไดของชาวบานหวยยางเหนือ........................................................................................................ 20 4 รายจายของชาวบานหวยยางเหนือ...................................................................................................... 21 5 ภาวะหนี้สินของชาวบานหวยยางเหนือ............................................................................................... 22 6 บัญชีครัวเรือนประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 164 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ....................... 24 7 บัญชีครัวเรือนประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 164 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ......................... 26 8 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 180 หมู 9 บานหวยยางเหนือ....................... 27 9 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 180 หมู 9 บานหวยยางเหนือ......................... 32 10 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ..................... 35 11 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ....................... 37 12 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ..................... 38 13 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ....................... 42 14 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ...................... 45 15 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ...........................49 16 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ..................... 52 17 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ....................... 56


สารบัญตาราง(ตอ) ตาราง

หนา

18 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ.................... ..59 19 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ........................ 63 20 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ...................... 66 21 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ........................ 70 22 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ.......................73 23 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ...........................75 24 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ........................ 77 25 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ...........................80


บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง บานหวยยางเหนือ หมู 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครแบงแยกออก จากบานหวยยาง หมู 6 เมื่อป พ.ศ. 2538 หมูบานหวยยาง เคยเปนหมูบานที่ยากจนที่สุดแหงแรกในจังหวัด สกลนครและเคยเปนหมูบานประสบภัยแลงถึง 2 ครั้งดวยกัน ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2510 จึงมีการอพยพไปอยู ที่บานทามวง ตําบลน้ํากลั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย จํานวน 20 ครัวเรือน และบางสวนยายไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชมพู อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย และครั้งที่ 2 เมื่อป พ.ศ. 2524 ทําใหชาวบาน หวยยางไดรับความเดือดรอนอยางมาก จึงไดพากันเดินทางไปขอทานตามจังหวัดใกลเคียงตางๆ เชน นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ เฉลี่ยประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด ชาวบานบางสวนก็อพยพออกจาก หมูบานเพื่อไปทํางานตางถิ่น ชาวบานที่เหลือในหมูบานตองกลายเปนคนวางงานจนกระทั่งมีการลงขาวใน หนังสือพิมพเดลินิวส โดยมีการพาดหัวขาววา พบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบขาว พระองคจึงโปรดมีคําสั่งใหกรมชลประทานไดดําเนินการสราง อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 และพระองคทานไดเสด็จพระราช ดําเนินมาทําการเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเองในป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จึงทําใหชาวบาน ใน ชุมชนบานหวยยางและหมูบานใกลเคียงในตําบลเหลาโพนคอ มีน้ําในการทําการเกษตร อีกทั้งมีการสงเสริม อาชีพตางๆใหกับชาวบาน นอกจากนี้แลวยังไดสงเสริมใหหมูบานหวยยางเปนหมูบานเศรษฐกิจพอพียงใน ดานการเกษตรใหเปนอันดับหนึ่งในอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 เปนหมูบานที่มีปญหาหนี้สินแหงหนึ่ง (ดูรายละเอียดในตารางที1่ ) ซึ่ง หนวยงานของรัฐไดเขามามีบทบาทชวยเหลือ โดยในปพ.ศ. 2550 เจาหนาที่จาก ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร (ธกส.) ไดเขามาจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับการทําบัญชีครัวเรือนใหกับชาวบานเพื่อ เปนเครื่องมือในการจัดการปญหาหนี้สินดังกลาว


ตารางที่ 1 : ประเภทรายจายสวนใหญของชาวบานบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 รายจายจากภาวะหนี้สินของประชาชนในหมูบาน 1.หนี้สินรวมทั้งหมูบาน

จํานวนหนี้(บาท) 7,160,000

2.หนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน

48,000

3.หนี้สินเฉลี่ยตอคน

11,000

แยกกเปน 1.หนี้ ธกส.รวมทั้งหมูบาน

1,200,000

2.หนี้กองทุนหมูบาน

1,200,000

3.หนี้กองทุนราชการ

4,000,000

4.หนี้นอกระบบ

100,000

5.หนี้สินอื่นๆนอกเหนือจากขอ 1-4

660,000

จากการสัมภาษณผูใหญบาน พบวา ชาวบานยังมีปญหาในการทําบัญชีครัวเรือน กลาวคือ สวน ใหญชาวบานไมคอยมีเวลาจดบันทึกบัญชีครัวเรือน เพราะชาวบานตองออกไปทํางานตั้งแตเชาจนถึงเย็นจึง ทําใหไมมีเวลามานั่งทําบัญชีครัวเรือนและเกิดจากความเหน็ดเหนื่อยจากการทํางาน ทําใหชาวบานเองไม คอยสนใจที่จะจดบันทึกรายรับ – รายจาย นอกจากนั้นชาวบานไมไดมีรายรับเขามาทุกวันเลยทําใหชาวบาน บานหวยยางเหนือไมสนใจที่จะจดบันทึกรายรับ – รายจายของครัวเรือน และปญหาอีกอยางหนึ่งคือ ชาวบานขาดความเขาใจในการทําบัญชีครัวเรือน ขาดการชวยเหลือหรือคําแนะนําจากเจาหนาที่เมื่อมีปญหา ในการทําบัญชีครัวเรือน (นายวิกรานต โตะชาลี, สัมภาษณ) สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร เปนหนวยงานที่ดูแล รับผิดชอบ และดําเนินงานภายใตนโยบายการพัฒนาตางๆ ครอบคลุม 4 ตําบลคือ ตําบลแมดนาทม ตําบล ตองโขบ ตําบลดานคํามวง และตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งในปงบประมาณ 2554 นี้ สํานักงานพัฒนาชุมชนโคก ศรีสุพรรณ มีนโยบายที่จะดําเนินงานสงเสริมหมูบา นเศรษฐกิจ โดยมีตําบลเหลาโพนคอเปนตําบลเปาหมาย ในการดําเนินนโยบาย และมีหมูบานหวยยางเปนหมูบานนํารอง โดยจะมีการใชกรอบตัวชี้วัด6×2 มาเปน


เกณฑ อีกทั้งจะมีการนําปรัชญาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดํารงชีวิตและปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัวจนถึงระดับชุมชน มีการสงเสริมใหชาวบานมีการจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อตองการใหชาวบานหลุดพนจากการเปนหนี้ การที่จะเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงชาวบานตองมีการจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางนอยรอยละ 70 ของ ครัวเรือนทั้งหมด และตองมีการนําตัวชี้วัด 6×2 มาเปนเกณฑ และตองการใหชาวบานอยูแบบพอเพียง พอประมาณ และบานหวยยางเหนือเปนพื้นเปาหมายของสํานักงานพัฒนาชุมชน เพื่อตองการใหบานหวย ยางเหนือเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง คําถามในงานวิจัย

1.ชาวบานมีการทําบัญชีครัวเรือนอยางสม่ําเสมอหรือไม ทําถูกตองไหม ใครเปนคนทํา เพราะเหตุ ใดถึงไมทําอยางสม่ําเสมอ 2. จะมีแนวทางอยางไรในการสงเสริมใหชาวบานทําบัญชีครัวเรือนอยางสม่ําเสมอและถูกตอง

วัตถุประสงค

1.

เพื่อศึกษาสภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือน ของชาวบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

2.

เพื่อศึกษาความรู ความเขาใจ และปญหาในการจัดทําบัญชีครัวเรือน ของชาวบานหวยยางเหนือ หมู ที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

3.

เพื่อหาแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการจัดทําบัญชีครัวเรือนของชาวบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

เพื่อเปนแนวทางและสงเสริมใหชาวบานทําบัญชีครัวเรือนไดอยางถูกตองและสม่ําเสมอสามารถ ดําเนินชีวิตโดยการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็ดพระเจาอยูหัวฯ ชาวบานมีเงินออม เอาไวใชจายเมื่อยามจําเปนและมีความเปนอยูที่ดีขึ้น

ขอบเขตของการศึกษา

-

ขอบเขตเชิงพื้นที่ พื้นที่ในการวิจัย : บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณจังหวัด

สกลนคร กลุมเปาหมายในการวิจัย : กลุมชาวบานที่เปนลูกหนี้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) และกลุมครัวเรือนที่ตกเกณฑ จปฐ. ของชาวบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เหตุผลที่เลือกพื้นที่นี้เพราะ : เนื่องจากชาวบานบานหวยยางเหนือมีประสบการณในการบัญชี ครัวเรือนแตชาวบานไมมีการบันทึกบัญชีครัวเรือนอยางสม่ําเสมอและชาวบานบางครัวเรือนไดเลิกการทํา บัญชีครัวเรือนไปแลว ผูวิจัยจึงสนใจประเด็นดังกลาวและมีความสอดคลองกับทางสํานักงานพัฒนาชุมชน อําเภอโคกศรีสุพรรณ เพราะในแผนงบประมาณป 2554 สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ โคกศรีสุพรรณ มี แผนงานในการสงเสริมหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีพื้นที่เปาหมาย บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 จึงทําให ผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาพื้นที่นี้

-

ขอบเขตของเวลา


ชาวบานบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 เริ่มทําบัญชีครัวเรือนเมื่อป 2550 ชาวบานมีการบันทึกรายรับรายจายของครัวเรือนอยางสม่ําเสมอ มีเจาหนาที่จากธนาคารการเกษตรและสหกรณการการเกษตรเขามาให ความรู คําแนะนําในการทําบัญชีครัวเรือน ทําใหชาวบานรูจักใชจายเงิน เลือกซื้อสิ่งของที่จําเปน รูจักการ เก็บออม เปนการสรางวินัยในเรื่องการจัดการทางการเงินของครัวเรือน -

ขอบเขตเชิงเนื้อหา วิเคราะหหาสาเหตุที่ชาวบานบานหวยยางเหนือ วาชาวบานมีการทําบัญชีอยางสม่ําเสมอหรือไม

ชาวบานทําทุกตองไหมใครเปนคนทําและอะไรคือสาเหตุที่ชาวบานไมทําบัญชีครัวเรือนรวมถึงวิเคราะห แนวทางการแกไขปญหา วาจะมีวิธีการอยางไรที่จะใหชาวบานกลับมาสนใจทําบัญชีครัวเรือน และ ประโยชนที่ชาวบานจะไดรับ

ประชากรกลุมตัวอยาง

- กลุมชาวบานที่เปนลูกหนี้ธนาคารเพื่อกรเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) - กลุมครัวเรือนที่ตกเกณฑ จปฐ. แนวคิดที่ใชในการศึกษา แนวคิดการทําบัญชีครัวเรือน การทําบัญชีเปนกิจกรรมเรียนรูอยางหนึ่ง การทําบัญชี จึงเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู การศึกษา การฝกตน เพื่อใหเกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู ความคิด และการปฏิบัติที่ถูกตอง กอความเจริญทัง้ ในดานอาชีพหรือเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เปนตนได การทําบัญชี คือ การจดบันทึก ขอมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปจจัยในการดํารงชีวิตของเรา ในครอบครัว ของเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเราขอมูลที่ไดจากการบันทึกจะเปนตัวบงชี้อดีตปจจุบันและอนาคต ของชีวิตเรา เราสามารถนําขอมูลอดีตมาบอกปจจุบันและอนาคตของเราได ขอมูลที่ไดที่บันทึกไว จะเปน ประโยชนตอการวางแผนชีวิตและกิจกรรมตาง ๆ ในชีวิตครอบครัว


การทําบัญชีครัวเรือนในดานเศรษฐกิจ หรือการบันทึกรายรับรายจายที่ทางราชการพยายามสงเสริม ใหเราไดทํากัน นั่น เปนเรื่องการบันทึกรายรับรายจายประจําวันประจําเดือนวา เรามีรายรับจากอะไรบาง จํานวนเทาใด มีรายจายอะไรบาง จํานวนเทาใด ในแตละวัน สัปดาห เดือน และ ป เพื่อจะไดเห็นภาพรวมวา เรารับเทาใด จายเทาใด เหลือเทาใด หรือเกิน คือ จายเกินรับเทาใด รายการใดจายนอยจายมาก จําเปนนอย จําเปนมาก จําเปนนอย อาจลดลง จายเฉพาะที่จําเปนมาก เชน ซื้อกับขาว ซื้อยา ซื้อเสื้อผา ซอมแซมบาน การศึกษา เปนตน เทาใด ซื้อบุหรี่ ซื้อเหลา เขาบาร บาหวย เปนตน จํานวนเทาใด เมื่อนํามาบวกลบคุณหาร กันแลวขาดดุลเกินดุลไปเทาใด เมื่อเห็นตัวเลข เราก็อาจคิดไดวาไอสิ่งไมจําเปนนั้นมันก็จายเยอะ ลดมันได ไหม เลิกมันไดไหม ถาไมลดไมเลิกมันจะเกิดอะไร กับเรากับครอบครัวเรา กับประเทศเรา ถาคิดได ก็เทากับ วา รูจักความเปนคนไดพัฒนาตนเอง ใหเปนคนมีเหตุมีผล เปนคนรูจักพอประมาณ เปนคนรักตนเอง รัก ครอบครัว รักชุมชน และรักประเทศชาติมากขึ้นจึงเห็นไดวา การทําบัญชีครัวเรือน ในเรื่องรายรับรายจายก็ดี เรื่องอื่น ๆ ก็ดี ก็คือวิถีแหงการเรียนรูเพื่อพัฒนาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นั่นเอง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะ แนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤติการณทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ํา แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยาง มั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลง มีหลักพิจารณา ดังนี้ กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปนโดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกิดไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน ตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ


3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้ง ใกลและไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้ง ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความ รอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อ สัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต แนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: แนวคิดใหมในการพัฒนาเศรษฐกิจ 1.1 เปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจโดยทั่วไป ผูบริหารเศรษฐกิจมีเปาหมายที่สําคัญสามประการคือ ก) ดานประสิทธิภาพคือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมักจะพิจารณาจากการขยายตัว ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestio Product) ซึ่งแสดงวาในระยะเวลา 1 ป ประเทศผลิต สินคาและบริการรวมแลวเปนมูลคาเทาใด ดังนั้น การที่ประเทศมี GDP ขยายตัว จึงหมายถึงวาสังคมมีการ ผลิตสินคาและบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางตอเนื่อง มีทรัพยากรมากขึ้น ประชาชนโดยรวมมีความมั่งคั่งมาก ขึ้น ซึ่งการขยายตัวไดดีแสดงวาระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรที่ดี ข) ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ การที่ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สําคัญไมเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว การไมมี shock ในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ประชาชนโดยทั่วไปยอมไมชอบการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว ทําใหปรับตัวไดยาก ในดานเสถียรภาพนี้มักจะมองไดหลายมิติคือ การมีเสถียรภาพในระดับราคา ของสินคา หมายถึง การที่ระดับราคาของสินคาไมเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ประชาชนสามารถคาดการณ ราคาสินคาและบริการได การมีเสถียรภาพของการมีงานทํา หมายถึง การที่ตําแหนงงานมีความเพียงพอตอ ความตองการของตลาดแรงงาน การมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ หมายถึง การที่ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศไมมีการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ซึ่งจะมีผลตอเสถียรภาพของราคา ในประเทศ และทําใหวางแผนการทําธุรกรรมระหวางประเทศมีความยุงยากมากขึ้น ค) ดานความเทาเทียมกัน โดยทั่วไปหมายถึง ความเทาเทียมกันทางรายได เมื่อเศรษฐกิจมี การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา รายไดของคนในประเทศมีความแตกตางกันมากขึ้นเรื่อยๆ


แสดงใหเห็นวามีคนเพียงกลุมนอยไดประโยชนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ สถานการณจะเลวรายไปกวา นี้อีก หากเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา มีคนจนมากขึ้นเรื่อยๆ 1.2 โครงสรางและเนื้อหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแสพระราชดํารัสใหผูบริหารประเทศและประชาชน เห็น ถึงความสําคัญของการพัฒนาที่สมดุล มีการพัฒนาเปนลําดับขั้น ไมเนนเพียงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยาง รวดเร็วมาเปนเวลานานแลว เชนพระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517 ที่วา "ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้น เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใชของ ประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควร แลว การชวยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวใหมีความพอกินพอใชกอนอื่นเปน พื้นฐานนั้น เปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งยวด เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอ ที่จะพึ่งตนเองยอมสามารถสราง ความเจริญกาวหนาระดับที่สูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน สวนการถือหลักที่จะสงเสริมความเจริญ ใหคอยเปน คอยไปตามลําดับดวยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อปองกันการผิดพลาด ลมเหลว" และ พระราชดํารัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517 " ใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวด " ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒนความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดพี อสมควร ตอการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นัก ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการ รองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทัง้ ดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดมีการศึกษาโครงสรางและเนื้อหา โดยกลุมพัฒนากรอบแนวคิด ทางเศรษฐศาสตรของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจําแนกองคประกอบของปรัชญาเปนกรอบความคิด คุณลักษณะ คํานิยาม เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ สรุปวา กรอบความคิด ของปรัชญานี้ เปนการชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนทั้งแนวทางปฏิบัติและตัวอยางการประยุกตที่เกิดขึ้น โดย ปรัชญาใชไดทั้งระดับปจเจกชนครอบครัวชุมชนประเทศในที่นี้มองในแงการบริหารเศรษฐกิจ


(ระดับประเทศ) เปนการมองโลกในลักษณะที่เปนพลวัต มีการเปลี่ยนแปลง มีความไมแนน และมีความ เชื่อมโยงกับกระแสโลก คือไมใชปดประเทศ แตในขณะเดียวกันก็ไมเปนเสรีเต็มที่อยางไมมีการควบคุมดูแล ไมใชอยูอยางโดดเดี่ยวหรืออยูโดยพึ่งพิงภายนอกทัง้ หมดคุณลักษณะเนนการกระทําที่พอประมาณบน พื้นฐานของความมีเหตุมีผลและการสรางภูมิคุมกัน ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีระบบภูมิคุมกันที่ดีตอผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลหากขาดองคประกอบใดก็ไมเปนความพอเพียงที่สมบูรณ ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลาวอยางงายๆวาเปนการยืนไดโดยลําแขงของตนเอง โดยมีการ กระทําไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค การผลิตอยูในระดับสมดุล การใชจาย การ ออมอยูในระดับที่ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง พรอมรับการเปลี่ยนแปลความมีเหตุมีผล หมายความ วา การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอประมาณ ในมิติตางๆ จะตองเปนไปอยางมีเหตุมีผล ตองเปนการมอง ระยะยาว คํานึงถึงความเสี่ยง มีการพิจารณาจากเหตุปจจัยและขอมูลที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา จะเกิดการมีภูมิคุมกันการมีภูมิคุมกันในตัวดีพอสมควร พลวัตในมิติตาง ๆ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงใน สภาวะตางๆ อยางรวดเร็วขึ้น จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงดานตางๆ การกระทําที่เรียกไดวาพอเพียงไมคํานึงถึงเหตุการณและผลในปจจุบัน แต จําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ภายใตขอจํากัดของขอมูลที่มี อยู และสามารถสรางภูมิคุมกันพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เงื่อนไขการปฏิบัติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงคือ การมีความรอบรู รอบคอบระมัดระวัง มีคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต ความรอบรู คือ มีความรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆอยางรอบดาน ในเรื่องตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปน ประโยชนพื้นฐานเพื่อนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมีการตัดสินใจที่ ถูกตอง ความรอบคอบ คือ มีการวางแผน โดยสามารถทีจ่ ะนําความรูและหลักวิชาตางๆมาพิจารณา เชื่อมโยงสัมพันธกัน ความระมัดระวัง คือ ความมีสติ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได ในการนําแผนปฏิบัติที่ ตั้งอยูบนหลักวิชาตางๆเหลานั้นไปใชในทางปฏิบัติ โดยเปนการระมัดระวังใหรูเทาทันเหตุการณที่ เปลี่ยนแปลงไปดวย ในสวนของคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งคลุมคนทั้งชาติ รวมทั้งเจาหนาที่ นักวิชาการ นักธุรกิจ มีสองดานคือ ดานจิตใจ/ปญญาและดานกระทํา ในดานแรกเปนการเนนความรูคู คุณธรรมตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความรอบรูที่เหมาะสม สวนดานการกระทําหรือ แนวทางดําเนินชีวิต เนนความอดทน ความเพียร สติ ปญญา และความรอบคอบ เงื่อนไขนี้จะทําใหการ ปฏิบัติตามเนื้อหาของความพอเพียงเปนไปได ปรัชญากลาวถึงแนวทางปฏิบัติและผลที่คาดวาจะไดรับดวย โดยความพอเพียงเปนทั้งวิธีการและผล (End and mean) จากการกระทํา โดยจะทําใหเกิดวิถีการพัฒนาและ ผลของการพัฒนาที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ความสมดุลและความพรอมรับการเปลี่ยนแปลง หมายถึง ความสมดุลในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน ความ


สมดุลของการกระทําทั้งเหตุและผลจะนําไปสู ความยั่งยืนของการพัฒนา ภายใตพลวัตทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ จาก คุณลักษณะ ของปรัชญานี้ชี้ใหเห็นวา การบริหารเศรษฐกิจจะตองเปนทางสายกลาง รูเทาทัน เพื่อการใชประโยชนจากกระแสโลกาวิวัฒน ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจจะไมใชการปดประเทศ ตองสงเสริม การคาและความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ณัฏฐพงศ ทองภักดีและคณะ(2542) ชี้วาการใช ประโยชนจากกระแสโลกาภิวัฒนตามแนวนี้ จะสอดคลองกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตรเรื่องการผลิตและ การคาทําตามความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศเปนหลักการสําคัญ นั่นคือการสรางความ ไดเปรียบอยางแทจริงของประเทศ นโยบายเศรษฐกิจจะตองสนับสนุนการแขงขันทางการผลิตและการคา เพื่อใหสังคมมีประสิทธิภาพ และผูบริโภคไดประโยชน ไมปกปองอุตสาหกรรมขนาดใหญ ไมมีความ ไดเปรียบในการผลิตโดยตั้งภาษีนําเขาสูง ซึ่งจะทําใหไมไดประโยชนจากการคาระหวางประเทศ เพราะ สินคานําเขาจะมีราคาแพง ตนทุนการผลิตในประเทศสูงขึ้น การสงออกทําไดยากขึ้นในขณะเดียวกันตองมี นโยบายสําหรับผูเดือดรอนจากการกระแสโลกาภิวัฒนใหปรับตัวได เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ สุพรรณี ตอนรับ (2551) ไดศึกษาเรื่องการทําบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตรในจังหวัดเชียงใหมซึ่งมุงศึกษาเกษตรกรที่เปนลูกคาธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตรที่เขารวมโครงการครอบครัวเกษตรกรไทยรวมใจทําบัญชีครัวเรือนใน จังหวัดเชียงใหม จํานวน 396 คน จากการทบทวนงานวิจัยขางตน ผูว ิจัยเห็นดวยกับงานวิจัยชิ้นนี้ เพราะในงานวิจัยชิ้นนี้มีการศึกษา สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในจังหวัด เชียงใหญ แลวยังมีการศึกษาทัศนคติของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรที่มี การจัดทําบัญชีครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม อีกทั้งยังมีการศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคในการจัดทําบัญชี ครัวเรือนของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม พรอมทั้งยัง บอกถึงผลที่เกิดขึ้นกับครัวเรือนเกษตรกรที่จัดทําบัญชีครัวเรือน ทําใหเกษตรกรมีฐานะความเปนอยูที่ดีขึ้น ชําระหนี้ไดตรงตามกําหนดเวลา มีเงินออมไวใชในยามฉุกเฉินซึ่งถือวางานชิ้นนี้มีการศึกษาอยางละเอียด ครบถวน ผูชวยศาสตราจารยสุนีย ตฤณขจี และ ผูชวยศาสตราจารยนิยะดา วิเศษบริสุทธิ์ (2551) ไดศึกษาเรื่อง การรับรูและปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจจัดทําบัญชีครัวเรือนของประชาชนในอําเภอพระนครศรีอยุธยา


จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยงานวิจัยครั้งนี้ใชกลุมตัวอยางที่มีที่อยูอาศัยในสําเนาทะเบียนบาน 20 ตําบล จํานวน 343คน จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตน สะทอนใหเห็นวาประชาชนในอําเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาใหความสําคัญกับการจัดทําบัญชีครัวเรือนและผูวิจัยเห็นดวย กับงานชิ้นนี้ เพราะในงานวิจัยชิ้นนี้มีการศึกษาการรับรูเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีครัวเรือนและศึกษาปจจัยที่มี ผลตอการตัดสินใจจัดทําบัญชีครัวเรือนของประชาชนรวมทั้งศึกษาสาเหตุที่ทําใหไมมีการจัดทําบัญชี ครัวเรือนของประชาชนในอําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรอมทั้งบอกถึงแหลงขอมูล ขาวสารที่ประชาชนไดรับรูและปจจัยที่ทําใหประชาชนจัดทําบัยชีครัวเรือนการที่ไดเรียนรูการบริหารและ วางแผนการใชจายเงิน ซึ่งถือวางานวิจัยชิ้นนี้มีการศึกษาอยางละเอียดครบถวน ผูชวยศาสตราจารยวาริพิณ มงคลสมัย (2551) ไดศึกษาเรื่องการจัดการความรูทางการบัญชีเพื่อ พัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิต ผลิตภัณฑลําไยอบแหงสีทองของกลุมเกษตรกรบานเหมืองกวัก ต.มะเขือ แจ อ.เมือง จ.ลําพูน จํานวน 49 คน จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตน ผูวิจัยเห็นดวยกับงานวิจัยชิ้นนี้ เพราะในงานวิจัยชิ้นนี้มี การศึกษาการจัดทาบัญชีของกลุมเกษตรกรบานเหมืองกวัก หมู 5 ตําบลมะเขือแจ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน และพัฒนาการจัดทาบัญชีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแกปญหาหนี้สนิ และเพื่อการพึ่งตนเอง อีก ทั้งยังมีการศึกษาถึงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภายใตการพึ่งพาทรัพยากรภายในชุมชน พรอมทั้งยังบอกถึงผล ที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรบานเหมืองกวักมีความรูดานบัญชีครัวเรือน บัญชีตนทุน และเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากหนวยงานภาครัฐ เชน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ ไดเขามาใหความรูดานบัญชีครัวเรือน เกษตรกรทราบจานวนตนทุนการอบลาไยเปนอยางดีเนื่องจากเกษตรกรทําลําไยอบแหงมานานกวา 10 ป และเกษตรกรรับรูแนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง จากสื่อตาง ๆเชน โทรทัศน และหนังสือพิมพ เกษตรกร ทราบขอมูลเกี่ยวกับบัญชีตนทุนเปนอยางดี เนื่องจากเกษตรกรมีประสบการณการทาลาไยอบแหงที่ยาวนาน กวา 10 ป แตการบันทึกบัญชีตนทุนเกษตรกรจะบันทึกเฉพาะคาแรงงาน สาหรับคาวัตถุดิบและคาใชจายใน การผลิตไมไดบันทึกไวเปนหลักฐาน


วิธีดําเนินการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยที่ผูศึกษาจะใชชีวิตอยูในชุมชนเพื่อ สังเกตการณแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล มีดังนี้ 1. สมุดจดบันทึก 2. กลองถายรูป 3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ อีกทั้งผูศึกษายังมีการศึกษาขอมูลมือสองและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับแสดงขอมูลรายรับ และ รายจายของชุมชน เพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหและอธิบายอยางเปนระบบ นิยามศัพทเฉพาะ

บัญชีครัวเรือน หมายถึง การแสดงหรือบันทึกจํานวนเงิน รายรับ- รายจาย ประจําวันของครัวเรือน โดยแสดง วัน เดือน ป รายรับ-รายจายและจํานวนเงิน บัญชีครัวเรือนมีทั้งแบบบันทึกอยางงายและแบบ บันทึกที่ซับซอน เชน การสํารวจขอมูลครัวเรือนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนที่ธนาคารเพื่อการเกษตร และลสหกรณการเกษตรใหการสนับสนุนโดยขอความรวมมือกับชาวบานใหบันทึกบัญชีครัวเรือน ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่ซอนเรนภายในรางกายที่ยังไมไดถูกนํามาใช


บทที่ 2 บริบททั่วไปของชุมชน ประวัติศาสตรหมูบาน ชนเผาผูไทในอดีตสรางบานแปงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรม ราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และ พระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เมื่อโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบ ทรัพทยสมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีกครั้ง หนึ่งมีเนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน 1. ผูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีดําและสีคราม 2. ผูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีขาว บานหวยยางอพยพมาจาก Hun Phan เนื่องจากในยุคสมัยนั้นมีโจรจีนฮอเขามาปลนบานเมือง ฆา คน ชิงทรัพยและเผาบานเผาเมืองเปนจํานวนมากจึงไดรับความเดือนรอนตองหนีโจรเขาปาเปนจํานวนมาก เพราะความดุรายของจีนฮอ โดยมีผูนํากลุมคือ “ยางธิสาร” ทานมีความเกงกลาและวิชาอาคม ยางธิสารไดนํา ชนเผาผูไทในความปกครองของตนมาจากบานมั่น เมืองเซะ สาระวัน คําทอง ขามแมน้ําโขงมาสูนครพนม แลวเดินทางตอมาจนถึงภูพาน ซึ่งปจจุบัน คือ บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร เพราะทานเห็นวาที่แหงนี้มีดินดีมีน้ําอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก ในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ยายไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัย ไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งที่ 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพนี่ องไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย


ตอมาในป พ.ศ. 2524 บานหวยยาง-เหนือพบกับปญหาภัยแลงเชนเดียวกับป พ.ศ. 2510 ชาวบาน หวยยาง-เหนือจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชนนครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด จนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวสพาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของ สกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานได มอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเมือ่ ป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปน ตนมาจนถึงปจจุบันทําใหบานหวยยาง-เหนือและหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ เปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงจากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจนํารองดานการเกษตรอันดับ 1 ของ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ป พ.ศ. 2548 ไดรับการคัดเลือกจากองคกรพัฒนาประชาชน (คอป.) ไดรับงบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ และติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคอีสานในนามกลุม เพาะพันธุกลาไม -

ประชากรมีประชากรทั้งสิ้น 858 คน แยกเปน ชาย 420 คน หญิง 438 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 163 ครัวเรือน

สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง ที่ตั้งหมูบาน ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาณาเขต ทิศเหนือ

ติดเขตบานโพนสูง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร

ทิศใต

ติดเขตบานโพนงาม ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม


ทิศตะวันออก ติดเขตบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ทิศตะวันตก

ติดเขตเทือกเขาภูพาน อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง ผูใหญบาน ชื่อ นายวิกรานต โตะชาลี ผูชวยผูใหญบาน 1. นายมานะชัย แสนธิจักร 2. นายวิวร โตะชาลี 3. นายวิตตะ ยางธิสาร (ผรส.) สมาชิก อบต. 1. นายจบ ยางธิสาร 2. นางวงคจันทร ยางธิสาร จํานวนคุม ในหมูบาน มี 4 คุม ดังนี้ 1. ชื่อคุม คุมกลางใหญ

หัวหนาคุม ชื่อ นายจบ ยางธิสาร

2. ชื่อคุม คุมกลางตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายไมตรี ศูนยราช

3. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายสนธีร ยางธิสาร

4. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนลาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายคําตา นาริเพ็ง

- ประธานประชาคม นายเจริญ โตะชาลี การประกอบอาชีพ - มีอาชีพทํานา 163 ครอบครัว - อาชีพรับจาง 100 ครอบครัว - อาชีพคาขาย 6 ครอบครัว


- อาชีพเลี้ยงสัตว 120 ครอบครัว -อาชีพรับราชการ 13 คน ความเชื่อประเพณี วัฒนธรรมและพฤติกรรม บานหวยยางเหนือ ไดดําเนินชีวิตประจําวันตามหลักของ ฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณีที่นับถือมา แตโบราณกาล มีวัฒนธรรมเรื่องการนับถือผี เชน ผีปูตา ซึ่งในเดือน 3 ของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตาซึ่ง ชาวบานจะชวยกันเก็บรวบรวมเงินตาม ศรัทธาจากชาวบานมาซื้อไกไวทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา พิธีเหยา การเหยา(การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผ”ี วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ตอดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผี หมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอ เหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวย ที่หายเจ็ยไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลีย้ งผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)


4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน ฟอนผูไท ฟอนผูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิลปดั้งเดิมของชาวผูไท ที่ไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการรําผูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพื่อพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามศิลปดั้งเดิม อยางหนึ่งหรือเปนการรําเพื่อความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปที่ขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะที่พระธาตุเชิงชุม แลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอน ในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6 อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทา รํา 16 ทา เวลาฟอนทั้งชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ที่สําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัว ฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มา แสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหคนทั่วไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและ ถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไผ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บานหวยยางเหนือ มีสภาพแวดลอมที่ดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปา ชุมชนซึ่งประชาชนใชประโยชนรวมกัน 1 แหง สถานบริการของรัฐและสถานที่สําคัญของชุมชน - มีรานคาขายของชํา

4

แหง

- สถานบริการคาราโอเกะ

1

แหง


องคกรชุมชน - กลุมเพาะพันธกลาไม จํานวน 53 คน ชื่อประธาน นายเริง ยางธิสาร - กลุมเยาวชน จํานวน 65 คน ชื่อประธาน นายแสงเพชร ยางธิสาร - กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวน 76 คน ชื่อประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร - กลุม เลี้ยง โคพันธุพื้นเมือง จํานวน 84 คน ชื่อประธาน นายวิวร โตะชาลี - กลุมทอผาไหม จํานวน 63 คน ชื่อประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร


บทที่ 3 บริบทดานเศรษฐกิจครัวเรือนหนี้สิน

การประกอบอาชีพ ตารางที่ 2 การประกอบอาชีพของชาวบานหวยยางเหนือแยกเปนประเภท มีดังนี้ การประกอบอาชีพ

จํานวนหลังคาเรือน

ทํานา

163

เพาะพันธุกลาไม

70

เลี้ยงสัตว

120

คาขาย

6

รับราชการ

13

รับจางทั่วไป

100

ชาวบานบานหวยยางเหนือสวนมากจะประกอบอาชีพทํานา 163 ครัวเรือน รับจางทั่วไป 100 ครัวเรือน ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว 120 ครัวเรือน มีอาชีพเพาะพันธุกลาไม 70 ครัวเรือนมีอาชีพรับราชการ 13 ครัวเรือนและอาชีพคาขาย 6 ครัวเรือน


ประเภทของรายไดของครัวเรือน ตารางที่ 3 รายไดของชาวบานหวยยางเหนือแยกเปนประเภท มีดังนี้ ประเภทของรายไดของครัวเรือน

จํานวนเงิน (ตอเดือน)

รายไดจากการขายผลผลิตการเพาะพันธุกลาไม

7,000 - 20,000

รายไดจากการขายผลผลิตจากการทํานา ทําสวน

3,000 – 7,000

รายไดที่ไดมาจากการรับจางทั่วไป

3,000 – 4,000

รายไดที่ไดมาจากการคาขาย

5,000 - 6 ,000

รายไดที่ไดมาจากลูกหลานสงมาให

2,000 – 3,000

รายไดที่ไดมาจากการขายผลผลิตจากการทําพืชไร

5,000 – 7,000

รายไดที่ไดมาจากการขายผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว

3,000 – 5,000

ชาวบานบานหวยยางเหนือสวนใหญจะมีรายไดจากการขายผลผลิตการเพาะพันธุกลาไมเฉลี่ย ประมาณ 7,000 - 20,000 บาทตอครัวเรือน รายไดจากการขายผลผลิตจากการทํานา ทําสวน เฉลี่ยประมาณ 3,000 – 7,000 บาทตอครัวเรือน รายไดที่ไดมาจากการรับจางทั่วไป เฉลี่ยประมาณ 3,000 – 4,000 บาทตอ ครัวเรือน รายไดที่ไดมาจากการคาขาย เฉลี่ยประมาณ 5,000 - 6 ,000 บาทตอครัวเรือนรายไดที่ไดมาจาก ลูกหลานสงมาให เฉลี่ยประมาณ 2,000 – 3,000 บาทตอครัวเรือน รายไดที่ไดมาจากการขายผลผลิตจากการ ทําพืชไร เฉลี่ยประมาณ 5,000 – 7,000 บาทตอครัวเรือน และรายไดที่ไดมาจากการขายผลผลิตจากการเลี้ยง สัตว เฉลี่ยประมาณ 3,000 – 5,000 บาทตอครัวเรือน


ประเภทรายจายของครัวเรือน ตารางที่ 4 รายจายของชาวบานหวยยางเหนือแยกเปนประเภท มีดังนี้ ประเภทรายจายของครัวเรือน

จํานวนเงิน (ตอเดือน)

ดานคาอาหาร

1,500 – 2,000

ดานการศึกษา

2,000 – 3,000

ดานการลงทุนประกอบอาชีพ

2,000 – 3,000

รายจายจากการใชของใช

500 – 1,000

ดานยารักษาโรค

100 – 300

ดานเครื่องดื่ม / ขนม

200 – 500

ชาวบานบานหวยยางเหนือสวนใหญจะมีจายในดาน รายจายดานคาอาหาร เชน คาเนื้อหมู ไก ไขไก น้ําปลา ผงชูรส น้ํามันพืช เปนตน เฉลี่ยประมาณ 1,500 – 2,000 บาทตอครัวเรือน รายจายดานการศึกษา เชน คาเทอม คารถ คาหนังสือและคาเครื่องแตงกาย เปนตน เฉลี่ยประมาณ 2,000 – 3,000 บาทตอครัวเรือน รายจายดานการลงทุนประกอบอาชีพ เชน คาปุยเคมี คาจางแรงงาน คารถไถ คาเมล็ดพันธุ เปนตน เฉลี่ย ประมาณ 2,000 – 3,000 บาทตอครัวเรือน รายจายจากการใชของใช เชน ผงซักผา ยาสีฟน เสื้อผา เปนตน เฉลี่ยประมาณ 500 – 1,000 บาทตอเดือน รายจายดานยารักษาโรค เชน ยาแกปวดเมื่อย ยาแกโรคกระเพาะ ยา แกปวดทอง / แกทองเสีย เปนตน เฉลี่ยประมาณ 100 – 300 บาทตอเดือน และรายจายดานเครื่องดื่ม / ขนม เชน น้ําอัดลม นม น้ํา / น้ําแข็ง เหลา / เบียร เปนตน เฉลี่ยประมาณ 200 – 500 ตอครัวเรือน


ภาวะหนี้สินของครัวเรือน ตารางที่ 5 ภาวะหนี้สินของชาวบานหวยยางเหนือแยกเปนประเภท ดังนี้ แหลงหนี้สินของครัวเรือน

จํานวนเงิน (ตอเดือน)

หนี้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร

20,000 – 80,000

หนี้กองทุนหมูบาน กองทุนเงินลาน

10,000 – 30,000

หนี้จากการยืมญาติ พี่นอง หนี้กองทุนราชการ หนี้นอกระบบ

2,000 – 3,000 30,000 – 50,000 3,000 – 5,000

ชาวบานบานหวยยางเหนือสวนใหญจะมีภาวะหนี้สินในครัวเรือน คือ หนี้ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เฉลี่ยประมาณ 20,000 – 80,000 บาทตอครัวเรือน หนี้กองทุนหมูบาน กองทุนเงินลาน เฉลี่ยประมาณ 10,000 – 30,000 บาทตอครัวเรือน หนี้จากการยืมญาติ พี่นอง เฉลี่ยประมาณ 2,000 – 3,000 บาทตอครัวเรือน หนี้กองทุนราชการ เฉลี่ยประมาณ 30,000 – 50,000 บาทตอครัวเรือน และ หนี้นอกระบบ เฉลี่ยประมาณ 3,000 – 5,000 บาทตอครัวเรือน


บทที่ 4 สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือนของครัวเรือนหนี้สิน ความเปนมาของการจัดทําบัญชีครัวเรือน การจัดทําบัญชีครัวเรือนของชาวบาน บานหวยยางเหนือเริ่มจัดทําบัญชีครัวเรือน เมื่อ พ.ศ.2548 โดยมีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนผูที่เขามาใหความรู คําแนะนําในแกลูกหนี้ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร การจัดทําบัญชีครัวเรือนเปนการลงรายละเอียดขอมูล รายรับ – รายจายของแตละครัวเรือนเพื่อที่ชาวบานจะไดทราบถึงที่มาของรายไดและรายจายของในแตละเดือน และ ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรตองการใหชาวบานมีเงินออมเหลือใชในเวลาที่จําเปน สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือน จากการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 10 ครัวเรือน ไดพบขอเท็จจริงเกี่ยวกับ การจัดทําบัญชีครัวเรือน ในชวงเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2554 ในประเด็น ผูจัดทําบัญชี ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี รายรับ และรายจาย โดยจะมีการนําเสนอผลการศึกษาเปนรายกรณี จํานวน 10 กรณี ดังนี้ กรณีศึกษาที่ 1 ครัวเรือนของนายสาคร คําภูษา บานเลขที่ 164 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 3 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ลูกสาว ชื่อนางสาวรัศมี คําภูษา อายุ 26 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวาไมมีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากไมไดมี รายรับเขามาทุกวันและเอาเวลาสวนใหญไปกรอกดินเพื่อเพาะพันธุกลาไมขาย สรุปการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนบานเลขที่ 164 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตได จากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 7,500 บาท และมีรายจายจํานวน 3,100 บาท และมี ยอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลว จํานวน 4,400 บาท


ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 8,500 บาท และมีรายจายจํานวน 4,500 บาท และ มียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวจํานวน 4,000 บาท

ตารางที่ 6 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 164 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

รายจาย

1ก.ค.54

ขายพันธุไม เชน มะกรูด มะนาว

500

5ก.ค.54

จายคากับขาวและคาผลไม

500

9ก.ค.54

จายคาน้ํา

100

10ก.ค.54

ขายพันธุไม เชน สะเดา มะขามปอม จําป

13ก.ค.54

จายคากับขาวและคาขนมจีน

500

18ก.ค.54

จายคากรอกถุง

1,000

20ก.ค.54

ขายตนจําป

23ก.ค.54

จายคาของเบ็ดเตล็ด เชน ชมพู สบู ยาสีฟน

500

25ก.ค.54

จายคาขนมและจายคานม

500

26ก.ค.54

ขายตนไม เชน ตนประดู มะคา จําปและ

1,000

2,000

4,000

มะละกอ รวม สรุปมีรายรับจํานวน 7,500 บาท มีรายจายจํานวน 3,100 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวนเงิน 4,400 บาท

7,500

3,100


ตารางที่ 7 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 164 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

1ส.ค.54

ขายตนเมา

1,000

5ส.ค.54

จายคาของเบ็ดเตล็ด เชนผงซักผา น้ํายาลางจาน

รายจาย

1,000

น้ํายาขัดหองน้ํา 7ส.ค.54

ขายตนจําป ตนมะยม ตนมะนาว

2,000

10ส.ค.54

รับเงินจากการขายตนจําปและตนมะตูม

2,500

11ส.ค.54

จายคากับขาว

500

13ส.ค.54

จายคาน้ํา

100

14ส.ค.54

จายคาปุย 3 กระสอบ

1,500

15ส.ค.54

รับเงินจากการขายผักหวาน ตนหวาย

16ส.ค.54

จายคากรอกถุง

18ส.ค.54

รับเงินจากการขายตนมะนาว

2,000

รวม

8,500

สรุปมีรายรับจํานวน 8,500 บาท มีรายจายจํานวน 4,500 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวนเงิน 4,000 บาท

1,000 1,000

4,500


กรณีศึกษาที่ 2 ครัวเรือนของนายมนูญ นิศปน บานเลขที่ 180 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 4 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ลูกชาย ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางรุงฤดี นิศปน อายุ 39 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากการทําบัญชี ครัวเรือนทําใหทราบถึงฐานะทางการเงินที่แทจริง และยังเปนการชวยใหคิดกอนใชเงินทุกครั้ง สรุปการจัดทําบันชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน บานเลขที่ 180หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนีใ้ นชวงเดือนกรกฎาคมมีรายรับที่ มากกวารายจาย ครอบครัวนี้รายรับจํานวน 6,610 บาท และมีรายจายจํานวน 5,160 บาท และมียอดเงิน คงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 1,450 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 15,420 บาท และมีรายจายจํานวน 15,490บาท ซึ่ง ในเดือนสิงหาคมครัวเรือนหลังนี้ไดมีการกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรจํานวน เงิน 15,000 บาท เพื่อมาใชจายในครัวเรือนและครัวเรือนนี้ในเดือนสิงหาคมมีรายจายมากกวารายรับเปน จํานวนเงิน 70 บาท ตารางที่ 8 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 180 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

เติมน้ํามันรถ

50

ซื้อกับขาว

100

รับจางดํานา 2ก.ค.54

รายรับ

รายจาย

300

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

40


3ก.ค.54

ซื้อกับขาว

70

ซื้อของใชครัวเรือน

200

รับจางดํานา 4ก.ค.54

5ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

ซื้อกับขาว

100

เติมน้ํามันรถ

50

ซื้อขนมใหลูก

20

ซื้อโคก

25

จายคาไฟฟา

500

จายคาปะปา

130

นองสาวใหเงินมา

6ก.ค.54

3,000

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

จายคากับขาว

120

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

จายคากับขาว

80

เติมน้ํามันรถ

50

รับจางดํานา 7ก.ค.54

300

300

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

เติมน้ํามันรถ

50


ซื้อขนมใหลูก รับจางดํานา

20 300

จายคาน้ําดื่มออมทรัพย 10ก.ค.54

12ก.ค.54

รับจาง

16ก.ค.54

400

จายคากับขาว

200

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

รับจาง

15ก.ค.54

40

100

จายคาขนมลูก

50

เติมน้ํามันรถ

50

จายคากับขาว

100

รับจาง

200

จายคาขนมลูก

50

ซื้อโคก

25

จายคากับขาว

100

จายคาทําบุญ

10

จายคาพริก

10

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

20

รับจาง

200


17ก.ค.54

18ก.ค.54

19ก.ค.54

20ก.ค.54

จายคากับขาว

200

จายคาขนมลูก

50

เติมน้ํามันรถ

50

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

จายคากับขาว

100

จายคาขนมลูก

40

รับจาง จายคาขนมลูก

20

จายคากับขาว

100

จายคาน้ําดื่มออมทรัพย

40

เติมน้ํามันรถ

50

จายคาขนมลูก

50

จายคากับขาว

200

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

เติมน้ํามันรถ

50

จายคากับขาว

200

รับจางดํานา 21ก.ค.54

100

300

จายคาขนมลูก

50

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55


22ก.ค.54

เติมน้ํามันรถ

50

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

จายคากับขาว

150

จายคาขนมลูก

20

ขายพริก

23ก.ค.54

คาน้ํามันรถ

80

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

40

จายคากับขาว

200

ขายนมถั่วเหลือง

26ก.ค.54

27ก.ค.54

60

200

เติมน้ํามันรถ

50

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

55

จายคากับขาว

90

คาน้ํามันรถ

40

ไปรับจาง

300

ขายนมถั่วเหลือง

150

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

75

จายคากับขาว

50

จายคาขนมกับนม

20

ไปรับจาง

100


28ก.ค.54

รับจาง

300

จายคากับขาว รวม

100 6,610

5,160

สรุปมีรายรับจํานวน 6,610 บาท มีรายจายจํานวน 5,160 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวนเงิน 1,450 บาท

ตารางที่ 9 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 180 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

จายคาผอนตูแชเครื่องดื่ม

1,000

จายคารถรับ – สงนักเรียน ของลูก 2 คน

1,400

จายคาไฟ

800

จายคาเรียนพิเศษ

300

จายคากับขาวและใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

200

คาน้ํามันรถ

200

จายคากับขาวและใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

200

2ส.ค.54

3ส.ค.54

กูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตร

รายรับ

15,000

รายจาย


4ส.ค.54

จายคาทําแหนบรถ

3,400

จายคาเหล็กทําหลังคารถ

1,400

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

70

คาน้ํามันรถ

200

จายคาฌาปณกิจศพ

1,800

จายคาเงินออม

1,200

ซื้อของใชครัวเรือน

800

จายคาเปลี่ยนน้ํามันเครื่องรถ

600

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

120

จายคากับขาว

70

รับจาง

100

5ส.ค.54

จายคากับขาว

60

7ส.ค.54

จายคากับขาว

100

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

40

คาน้ํามันรถ

60

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

70

จายคาตลาดนัด

100

ใหลูกไปโรงเรียน 2 คน

70

คาน้ํามันรถ

60

9ส.ค.54

10ส.ค.54


11ส.ค.54

จายคากับขาว

100

จายคาของใชประจําวันที่บิ๊กซี

1,000

รับจาง

200

ซื้อของใหลูก

20

คาน้ํามันรถ

40

รับจาง

100

ขายขยะ

20

รวม

15,420

สรุปมีรายรับจํานวน 15,420 บาท มีรายจายจํานวน 15,490 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 70 บาท

15,490


กรณีศึกษาที่ 3 ครัวเรือนของนายธีรพงษ คําสิงห บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 3 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางสาวธิดาทิพย ยางธิสาร อายุ 27 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวาไมมีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากครัวเรือน หลังนี้มีอาชีรับจางทั่วไป เลิกงานกับมาถึงค่ําเลยไมมีความสนใจที่จะลงบัญชีรายรับ รายจาย สรุปการจัดทําบันชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครพบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตได จากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 10,500 บาท และมีรายจายจํานวน1,856 บาท ซึ่งใน เดือนกรกฎาคมครัวเรือนหลังนี้ไดมีการกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรจํานวน เงิน 10,000 บาท เพื่อมาใชจายในครัวเรือนและมียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงิน จํานวน 8,644 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 270 บาท และมีรายจายจํานวน 1,373บาทและ ครัวเรือนนี้ในเดือนสิงหาคมมีรายจายมากกวารายรับเปนจํานวนเงิน 1,103 บาท ตารางที่ 10 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

เนื้อหมู คาลูกไปโรงเรียน คาน้ําปลา คาเกลือ

95

2ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน เติมน้ํามัน คาขนมลูก

75

7ก.ค.54

รับจางกรอกถุง

9ก.ค.54

รายรับ

รายจาย

150

เติมแกส

150

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว

100

ขายหนอไม

100


11ก.ค.54

เติมเงินโทรศัพท คากับขาว

120

12ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว เติมน้ํามัน

90

15ก.ค.54

คาขนมลูก ซื้อปลา ซื้อผงซักผา

56

20ก.ค.54

รับจางกรอกถุง

150

ขายหนอไม

100

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว 22ก.ค.54

กูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ

90 10,000

การเกษตร ซื้อขาวสาร เนื้อหมู ผักคะนา

550

23ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว คาขนมลูก

100

24ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว ซื้อปลา

80

28ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว คาขนมลูก คาผลไม

120

29ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว คาขนมลูก

100

30ก.ค.54

คากับขาว คาขนมลูก เติมน้ํามัน

130

รวม สรุปมีรายรับจํานวน 10,500 บาท มีรายจายจํานวน 1,856 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 8,644 บาท

10,500

1,856


ตารางที่ 11 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

คาไฟฟา คากับขาว เนื้อหมู พริก

200

2ส.ค.54

คาพริก คากับขาว คาปลารา

80

5ส.ค.54

เติมน้ํามัน คากับขาว

103

7ส.ค.54

คาขนมลูก คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว

100

รับจางกรอกถุง 8ส.ค.54

รายรับ

50

คาลูกไปโรงเรียน คากับขาว ขายหนอไม

รายจาย

80 120

10ส.ค.54

ซื้อไก ซื้อผลไม คากับขาว

150

13ส.ค.54

ซื้อปลา ผงชูรส คานม

100

15ส.ค.54

เนื้อหมู คากับขาว เติมน้ํามัน

170

16ส.ค.54

ซื้อเสื้อผา คากับขาว ผลไม

300

18ส.ค.54

รับจางกรอกถุง

100

คากับขาว รวม สรุปมีรายรับจํานวน 270 บาท มีรายจายจํานวน 1,373 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 1,103 บาท

90 270

1,373


กรณีศึกษาที่ 4 ครัวเรือนของนายอดิศร พลราชม บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 4 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ลูกชาย ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางรุงตะวัน พลราชม อายุ 37 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากชาวบาน ตองการรูรายรับที่แทจริง สรุปการจัดทําบันชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครพบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตได จากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 16,800บาท และมีรายจายจํานวน 9,915 บาท ซึ่งใน เดือนกรกฎาคมครัวเรือนหลังนี้ไดมีการกูยืมเงินจากญาติพี่นองจํานวนเงิน 10,000 บาท เพื่อมาใชจายใน ครัวเรือนและมียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 6,885บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 1,850 บาท และมีรายจายจํานวน 4,136บาทและ ครัวเรือนนี้ในเดือนสิงหาคมมีรายจายมากกวารายรับเปนจํานวนเงิน 2,286 บาท ตารางที่ 12 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

70

รับจางดํานา

2ก.ค.54

รายรับ

รายจาย

300

คาน้ํามันรถ

40

คากับขาว

40

คาลูกไปโรงเรียน

60


3ก.ค.54

4ก.ค.54

5ก.ค.54

ขายหนอไม

100

รับจางกรอกถุง

150

คาลูกไปโรงเรียน

60

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

60

คากับขาว

50

คาน้ํามันรถ

40

คากับขาว

70

รับจางดํานา 8ก.ค.54

9ก.ค.54

11ก.ค.54

200

ซื้อของใชในครัวเรือน

300

ขายหนอไม

100

รับจางกรอกถุง

200

ลูกสงมาให

1,500

คากับขาว

100

คาน้ํามันรถ

40

คาลูกไปโรงเรียน

60

คาน้ําดื่ม

40

คากับขาว

60

จายคาไฟฟา

300


รับจางดํานา

13ก.ค.54

15ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

60

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

70

จายคาขนมลูก

20

คากับขาว

50

คาน้ํามันรถ

40

รับจางดํานา 16ก.ค.54

18ก.ค.54

20ก.ค.54

300

คาลูกไปโรงเรียน

50

จายคาทําบุญ

20

รับจางดํานา

300

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาน้ํามันรถ

40

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

60

รับจางกรอกถุง 22ก.ค.54

250

150

คาลูกไปโรงเรียน ญาติโอนเงินมาให

60 3,000


23ก.ค.54

25ก.ค.54

จางคนดํานา

1,500

คาน้ําดื่ม

40

คาลูกไปโรงเรียน

60

คากับขาว

60

คาลูกไปโรงเรียน

60

รับจางกรอกถุง

27ก.ค.54

คากับขาว

60

คาลูกไปโรงเรียน

60

รับจางกรอกถุง

29ก.ค.54

31ก.ค.54

100

150

คากับขาว

50

ใหลูกไปรานอินเตอรเน็ต

40

ยืมเงินจากญาติ

10,000

จายคารถมอเตอรไซค

1,500

จายคาเรียนพิเศษลูก

300

จายคาเงินออม

2,000

ซื้อของใชในครัวเรือนที่บิ๊กซี

1,725

คากับขาว

60

คาลูกไปโรงเรียน

60

คาน้ํามันรถ

70


รวม

16,800

9,915

สรุปมีรายรับจํานวน 16,800 บาท มีรายจายจํานวน 9,915 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 6,885 บาท

ตารางที่ 13 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 113 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

100

คาน้ํามันรถ

60

คาขนมลูก

30

2ส.ค.54

3ส.ค.54

รับจางกรอกถุง

รายจาย

150

คาลูกไปโรงเรียน

70

ซื้อน้ําปลา ผงชูรส

26

คาลูกไปโรงเรียน

70

คาน้ํามันรถ

40

ขายหนอไม 5ส.ค.54

รายรับ

70

จายคาน้ําดื่ม

60

คาลูกไปโรงเรียน

70


คากับขาว

7ส.ค.54

9ส.ค.54

12ส.ค.54

14ส.ค.54

15ส.ค.54

16ส.ค.54

100

รับจางกรอกถุง

150

ลูกโอนเงินมาให

500

จายคารถรับ - สงลูก

300

คากับขาว

80

คาลูกไปโรงเรียน

70

จายคาฌาปณกิจศพ

50

คากับขาว

80

คาน้ํามันรถ

100

ทําบุญวันแมที่วัด

20

ซื้อของทําบุญ

100

คาขนมลูก

50

คาลูกไปโรงเรียน

70

จายคารถมอเตอรไซค

1,500

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

70

คาน้ํามันรถ

60

ขายเห็ด

80

ขายหนอไม

150


รับจางกรอกถุง

150

คาลูกไปโรงเรียน 17ส.ค.54

18ส.ค.54

ลูกโอนเงินมาให

500

คากับขาว

30

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

40

คาลูกไปโรงเรียน

70

คาลูกไปโรงเรียน

70

คาน้ํามันรถ

40

รับจาง 19ส.ค.54

70

100

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

70

คาน้ํา คาไฟฟา

300

รวม สรุปมีรายรับจํานวน 1,850 บาท มีรายจายจํานวน4,136 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 2,286บาท

1,850

4,136


กรณีศึกษาที่ 5 ครัวเรือนของนายสัน คําเครือ บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 4 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ลูกชาย ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางจํานะ คําเครือ อายุ 45 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากชาวบานมี ความเขาใจในการจดบันทึกและทําแลวทําใหทราบถึงที่มาของรายไดและรายจาย สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตไดจากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 4,190 บาท และมีรายจายจํานวน 2,760 บาท และมียอดเงินคงเหลือหลังจาก การหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 1,430 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 5,230 บาท และมีรายจายจํานวน 1,850บาท และ มียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 3,380 บาท ตารางที่ 14 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน รับจางดํานา

2ก.ค.54

รายรับ

รายจาย 40

300

คาน้ํามันรถ

50

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

40

คากับขาว

80

คาน้ํา คาไฟฟา

300

คาน้ํามันรถ

30


3ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน รับจางกรอกถุง

4ก.ค.54

8ก.ค.54

9ก.ค.54

11ก.ค.54

200

คาลูกไปโรงเรียน รับจางกรอกถุง

5ก.ค.54

40

40 200

คาขนม

20

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาลูกไปโรงเรียน

40

คากับขาว

30

ซื้อของใชในครัวเรือน

200

รับจางดํานา

500

รับจางดํานา

400

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง

250

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

40

จายคาน้ําดื่ม

50


13ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน รับจางดํานา

15ก.ค.54

40 200

คาน้ํามันรถ

30

คากับขาว

60

รับจางทั่วไป

200

คาลูกไปโรงเรียน 16ก.ค.54

18ก.ค.54

ขายหนอไม

120

รับจางดํานา

250

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

40

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาน้ํามันรถ

30

รับจางทั่วไป 20ก.ค.54

250

คาลูกไปโรงเรียน

40

คากับขาว

100

รับจางดํานา 22ก.ค.54

40

200

คาลูกไปโรงเรียน

40

คากับขาว

60

ขายหนอไม

120

ขายปลา

200


23ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน รับจางทั่วไป

25ก.ค.54

27ก.ค.54

29ก.ค.54

31ก.ค.54

40 200

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาน้ํามันรถ

40

คากับขาว

100

คาขนมลูก

20

ใหเงินลูกเขารานอินเตอรเน็ต

40

คากับขาว

50

รับจางกรอกถุง

200

รับจางกรอกถุง

200

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คากับขาว

50

ซื้อของใชในครัวเรือน

300

คาลูกไปโรงเรียน

40

คากับขาว

50

รับจางกรอกถุง

200

รวม

4,190

สรุปมีรายรับจํานวน4,190 บาท

2,760


มีรายจายจํานวน 2,760 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 1,430 บาท

ตารางที่ 15 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 40 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน รับจางกรอกถุง

2ส.ค.54

3ส.ค.54

5ส.ค.54

รายรับ

รายจาย 40

200

คากับขาว

50

ใหเงินลูกเขารานอินเตอรเน็ต

40

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คาน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง

200

จายคาน้ําดื่ม

50

คาลูกไปโรงเรียน

40

ขายเห็ด

80

ขายหนอไม

150

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาน้ํามันรถ

30


7ส.ค.54

9ส.ค.54

รับเงินจากการขายผักหวาน ตนหวาย จายคาน้ํา

100

คาลูกไปโรงเรียน

40

จายคาของเบ็ดเตล็ด เชน ชมพู สบู ยาสีฟน

500

ลูกโอนเงินมาให

12ส.ค.54

15ส.ค.54

16ส.ค.54

1,000

จายคาไฟฟา

100

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คาน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง 14ส.ค.54

1,000

200

ใหเงินลูกเขารานอินเตอรเน็ต

40

คากับขาว

50

จายคาน้ําดื่ม

50

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คาน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง

200

คาลูกไปโรงเรียน

40

ใหเงินลูกเขารานอินเตอรเน็ต

40


17ส.ค.54

18ส.ค.54

19ส.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คาน้ํามันรถ

30

ขายตนจําป

2,000

รับจางทั่วไป

200

คาลูกไปโรงเรียน

40

คาขนมลูก

20

คาลูกไปโรงเรียน

40

ใหเงินลูกเขารานอินเตอรเน็ต

40

คากับขาว

100

รวม สรุปมีรายรับจํานวน 5,230 บาท มีรายจายจํานวน 1,850 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 3,380 บาท

5,230

1,850


กรณีศึกษาที่ 6 ครัวเรือนของนายบุญจันทร ยางธิสาร บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 3 คน ประกอบ พอ แม และลูกชาย ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางทองทิพย ยางธิสาร คําภูษา อายุ 35 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากชาวบานมี เวลาวางเหลือจากการรับจางและตองการทราบฐานะทางการเงินของครัวเรือน สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตไดจากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 25,500 บาท และมีรายจายจํานวน20,145 บาท ซึ่งในเดือนกรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้ไดมีการกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรจํานวนเงิน 20,000 บาท เพื่อมาใชจายในครัวเรือนและมียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 5,355 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 3,000 บาท และมีรายจายจํานวน2,280 บาทและ ครัวเรือนนี้ในเดือนสิงหาคมมีรายรับมากกวารายจายเปนจํานวนเงิน 720 บาท ตารางที่ 16 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

1ก.ค.54

ขายพันธุผักหวาน มะกรูด มะนาว

1,000

2ก.ค.54

รายจาย

คากับขาว

100

ใหลูกไปโรงเรียน

50

จายคาจางกรอกถุง

500

ใหลูกไปโรงเรียน

50


คากับขาว ขายพันธุตนมะตูม จําป

3ก.ค.54

4ก.ค.54

5ก.ค.54

8ก.ค.54

9ก.ค.54

11ก.ค.54

100 500

เติมน้ํามันรถ

50

จายคาน้ําดื่ม

40

ซื้อของใชในครัวเรือน

300

จายคาจางกรอกถุง

500

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

50

ลูกโอนเงินมาให

2,000

จายคาน้ํา คาไฟฟา

250

จางคนดํานา

1,500

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถ

30

คากับขาว

70

ซื้อน้ํายาปรับผานุม

20

ซื้อปลารา

10

จายคาฌาปณกิจศพ

50

เติมน้ํามันรถ

30

ใหลูกไปโรงเรียน

50


จางคนดํานา

1,000

จายคาน้ําดื่ม

40

ขายตนผักหวาน 13ก.ค.54

15ก.ค.54

1,000

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

70

เติมน้ํามันรถ

30

กูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ

20,000

การเกษตร

16ก.ค.54

18ก.ค.54

20ก.ค.54

จายคาจางกรอกถุง

500

จางคนดํานา

500

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

70

จายคางวดรถยนต

7,500

จายคาเงินออมทรัพย

1,000

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถยนต

300

จายคาน้ําดื่ม

40

ขายพันธุตนมะตูม จําป

22ก.ค.54

500

จายคาปุย 3 กระสอบ

1,500

จายคารถดิน

1,500


23ก.ค.54

25ก.ค.54

27ก.ค.54

29ก.ค.54

31ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

100

เติมน้ํามันรถ

30

ใหลูกจายคารถรับ – สง นักเรียน

300

คาขนมลูก

30

ซื้อผงชูรส น้ําตาล

25

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

20

ใหลูกไปโรงเรียน

50

จายคาจางกรอกถุง

500

คากับขาว

100

จายคาน้ําดื่ม

40

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

40

เติมน้ํามันรถ

100

ใหลูกไปโรงเรียน

50

ซื้อยาฆาหอยเชอรี่ในนาขาว

240

จายคาจางกรอกถุง

250

คาขนมลูก

20

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

100


ขายพันธุตนมะนาว

500

รวม

25,500

20,145

สรุปมีรายรับจํานวน 25,500 บาท มีรายจายจํานวน 20,145 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 5,355 บาท

ตารางที่ 17 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 194 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

100

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

40

คาขนมลูก

20

จายคาน้ําดื่ม

40

2ส.ค.54

ลูกโอนเงินมาให

3ส.ค.54

5ส.ค.54

รายรับ

รายจาย

1,000

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถ

30

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

70

ซื้อเกลือ น้ําตาลทราย

40


7ส.ค.54

9ส.ค.54

12ส.ค.54

14ส.ค.54

15ส.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

50

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

30

เติมน้ํามันรถ

30

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

70

คาขนมลูก

20

ขายพันธุตนดอกจําป มะกรูด

1,000

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถ

30

คาขนมลูก

20

จายคาทําบุญ

50

ซื้อของทําบุญ

100

ลูกขอเงินเขารานอินเตอรเน็ต

30

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถ

30

คากับขาว

70

ใหลูกไปโรงเรียน

50

คาขนมลูก

20

จายคาจางกรอกถุง

500


16ส.ค.54

17ส.ค.54

18ส.ค.54

จายคาฌาปณกิจศพ

30

จายคาน้ําดื่ม

40

ซื้อยาแกปวดหัว แกไข

50

ใหลูกไปโรงเรียน

50

เติมน้ํามันรถ

30

คากับขาว

70

คาขนมลูก

20

ใหลูกไปโรงเรียน

50

ขายพันธุตนมะกรูด

1,000

คากับขาว รวม สรุปมีรายรับจํานวน 3,000 บาท มีรายจายจํานวน 2,280 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 720 บาท

200 3,000

2,280


กรณีศึกษาที่ 7 ครัวเรือนของนายทวีศักดิ์ ยางธิสาร บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 4 คน ประกอบ พอ แม และลูกชาย 2 คน ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางพรทิพย ยางธิสาร คําภูษา อายุ 35 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากตองการทราบ ถึงรายจายที่ไดจายไปกับการเพาะพันธุกลาไมและตองการทราบถึงรายรับที่ไดจากการขายผลผลิตจากการ เพาะพันธุกลาไม สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตไดจากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 6,020 บาท และมีรายจายจํานวน 5,127 บาท และมียอดเงินคงเหลือหลังจาก การหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 893 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน2,750 บาท และมีรายจายจํานวน 2,548บาท และมี ยอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 202 บาท ตารางที่ 18 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

50

รับจางดํานา

2ก.ค.54

รายรับ

รายจาย

300

คาน้ํามันรถ

20

คากับขาว

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

ขายหนอไม

150


รับจางกรอกถุง 3ก.ค.54

4ก.ค.54

5ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

35

คาน้ํามันรถ

30

คากับขาว

35

รับจางดํานา 6ก.ค.54

9ก.ค.54

12ก.ค.54

250

300

ซื้อของใชในครัวเรือน

200

ขายหนอไม

120

รับจางกรอกถุง

250

ลูกสงมาให

500

คากับขาว

100

คาน้ํามันรถ

50

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ําดื่ม

30

คากับขาว

37

จายคาไฟฟา

150

รับจางดํานา

300


13ก.ค.54

15ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

60

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

40

จายคาขนมลูก

10

คากับขาว

30

คาน้ํามันรถ

30

รับจางดํานา 16ก.ค.54

18ก.ค.54

19ก.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

50

จายคาทําบุญ

20

รับจางดํานา

250

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

50

คากับขาว

100

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

36

รับจางกรอกถุง 22ก.ค.54

250

200

คาลูกไปโรงเรียน รับจางทั่วไป จางคนดํานา

50 150 1,000


23ก.ค.54

26ก.ค.54

คาน้ําดื่ม

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

24

คาลูกไปโรงเรียน

50

รับจางกรอกถุง

27ก.ค.54

คากับขาว

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

รับจางกรอกถุง

29ก.ค.54

30ก.ค.54

500

500

คากับขาว

100

ใหลูกไปรานอินเตอรเน็ต

40

ยืมเงินจากญาติ

2,000

จายคารถมอเตอรไซค

1,000

จายคาเรียนพิเศษลูก

300

จายคาเงินออม

100

ซื้อของใชในครัวเรือนที่บิ๊กซี

500

คากับขาว

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

30

รวม

6,020

5,127


สรุปมีรายรับจํานวน 6,020 บาท มีรายจายจํานวน 5,127 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 893 บาท

ตารางที่ 19 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 124 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ส.ค.54

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

100

คาน้ํามันรถ

30

คาขนมลูก

20

2ส.ค.54

3ส.ค.54

รับจางกรอกถุง

รายจาย

250

คาลูกไปโรงเรียน

50

ซื้อน้ําปลา ผงชูรส

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

30

ขายหนอไม 4ส.ค.54

รายรับ

150

จายคาน้ําดื่ม

30

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

100


6ส.ค.54

9ส.ค.54

12ส.ค.54

13ส.ค.54

14ส.ค.54

16ส.ค.54

รับจางกรอกถุง

500

ลูกโอนเงินมาให

500

จายคารถรับ - สงลูก

250

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

50

จายคาฌาปณกิจศพ

30

คากับขาว

40

คาน้ํามันรถ

20

ทําบุญวันแมที่วัด

30

ซื้อของทําบุญ

90

คาขนมลูก

10

คาลูกไปโรงเรียน

50

จายคารถมอเตอรไซค

1,000

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

20

ขายเห็ด

200

ขายหนอไม

150

รับจางกรอกถุง

500


คาลูกไปโรงเรียน 17ส.ค.54

ลูกโอนเงินมาให

50 500

คากับขาว

100

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

58

คาลูกไปโรงเรียน

60

รวม สรุปมีรายรับจํานวน 2,750 บาท มีรายจายจํานวน 2,548 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 202 บาท

2,750

2,548


กรณีศึกษาที่ 8 ครัวเรือนของนางทวีสุข ยางธิสารบานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 2 คน ประกอบ ยาย และหลานสาว ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ยาย ชื่อนางทวีสุข ยางธิสาร อายุ 56 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอและไมมีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากครัวเรือนหลังนี้ไมไดมีรายรับเขามาทุกวันและการลงบัญชีราย รายจายเปนที่มีอายุเลยทําใหบางครั้ง มีการหลงลืม สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตไดจากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน3,903 บาท และมีรายจายจํานวน2,040 บาท และมียอดเงินคงเหลือหลังจาก การหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 1,863 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 2,420 บาท และมีรายจายจํานวน 1,150บาท และ มียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 1,270 บาท ตารางที่ 20 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

40

คาน้ําดื่ม

40

รับจางกรอกถุง 2ก.ค.54

รายรับ

รายจาย

300

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

30

รับจางดํานา

500


ลูกโอนเงินมาให 3ก.ค.54

4ก.ค.54

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

30

จายคาฌาปณกิจศพ

50

ใหหลานไปโรงเรียน

20

รับจางกรอกถุง 5ก.ค.54

8ก.ค.54

9ก.ค.54

11ก.ค.54

1,500

300

เติมน้ํามันรถ

30

ซื้อปลา เนื้อหมู

120

รับจางดํานา

500

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

20

คาน้ําดื่ม

50

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

100

ซื้อของใชในครัวเรือน เชน ยาสีฟน แชมพู

200

คาขนมหลาน

20

ใหหลานไปโรงเรียน

20

เติมน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง

300


13ก.ค.54

15ก.ค.54

16ก.ค.54

18ก.ค.54

20ก.ค.54

22ก.ค.54

คาขนมหลาน

20

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

50

ซื้อปลา ไก

150

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

20

เติมน้ํามันรถ

30

ซื้อของใสบาตรตอนเชา

20

ใหหลานไปโรงเรียน

20

ลูกโอนเงินมาให

500

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

20

เติมน้ํามันรถ

30

รับจางกรอกถุง

100

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

20

คากับขาว ผลไม

150

คาน้ําดื่ม

40

ซื้อยาฆาหอยเชอรี่ในนาขาว

240


รับจางกรอกถุง 23ก.ค.54

25ก.ค.54

27ก.ค.54

100

ใหหลานไปโรงเรียน

20

เติมน้ํามันรถ

30

คากับขาว

30

ซื้อเห็ด

50

ทําบุญ

10

ใหหลานไปโรงเรียน

20

รับจางกรอกถุง

100

คาขนมหลาน

20

คากับขาว

70

รวม

3,903

2,040

สรุปมีรายรับจํานวน 3,903 บาท มีรายจายจํานวน 2,040 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 1,863 บาท

ตารางที่ 21 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 171 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

รายจาย

1ส.ค.54

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว

30


เติมน้ํามันรถ รับจางกรอกถุง 2ส.ค.54

20

คากับขาว

100

9ส.ค.54

20 200

คาขนมหลาน

10

ใหหลานไปโรงเรียน

20

รับจางกรอกถุง

7ส.ค.54

120

ใหหลานไปโรงเรียน รับจางถอนหญาอยูนา

5ส.ค.54

100

ใหหลานไปโรงเรียน

ขายหนอไม 3ส.ค.54

30

100

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

40

จาคาน้ําดื่ม

40

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

10

เติมน้ํามันรถ

30

คากับขาว

30

จายคาน้ํา คาไฟฟา

250

รับจางกรอกถุง คาขนมหลาน

100 20


12ส.ค.54

14ส.ค.54

15ส.ค.54

16ส.ค.54

รับจางถอนหญาอยูนา

200

คากับขาว ผลไม

100

คาขนมหลาน

20

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คาขนมหลาน

10

ใหหลานไปโรงเรียน

20

ซื้อเห็ด

30

รับจางกรอกถุง

100

ลูกโอนเงินมาให

1,500

จายคาน้ําดื่ม

40

ใหหลานไปโรงเรียน

20

คากับขาว ซื้อปลา เนื้อหมู

200

รวม สรุปมีรายรับจํานวน 2,420 บาท มีรายจายจํานวน 1,150 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 1,270 บาท

2,420

1,150


กรณีศึกษาที่ 9 ครัวเรือนของนางสายมณี ยางธิสารบานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 2 คน ประกอบ ยาย และหลานสาว ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ยาย ชื่อนางสายมณี ยางธิสาร อายุ 55 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากมีรายรับสวน ใหญจากการรับจางกรอกถุงดินและลูกสาวสงเงินมาให สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาครอบครัวนี้มีรายรับที่มากกวารายจาย สังเกตไดจากเดือน กรกฎาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 7,000 บาท และมีรายจายจํานวน1,240 บาท และมียอดเงินคงเหลือหลังจาก การหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน5,760 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 2,000 บาท และมีรายจายจํานวน 2,740บาทและ ครัวเรือนนี้ในเดือนสิงหาคมมีรายจายมากกวารายรับเปนจํานวนเงิน 740 บาท ตารางที่ 22 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

1 ก.ค.54

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

3 ก.ค.54

5 ก.ค.54

รายจาย

ใหหลานไปโรงเรียน

20

จายคาอาหาร

100

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

ใหฌาปณกิจศพ

100

จายคาน้ํา คาไฟฟา

300

ลูกสงมาให

3,000

รับจางทั่วไป

100


8 ก.ค.54

10ก.ค.54

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

จายคาขนมหลาน

50

จายคาอาหาร

100

รับจางทั่วไป

100

จายคาเครื่องครัวในบาน 11ก.ค.54

13ก.ค.54

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100 100

ใหหลานไปโรงเรียน

20

จายคาอาหาร

100

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

ใหฌาปณกิจศพ 18ก.ค.54

21ก.ค.54

23ก.ค.54

100

ไดรับเงินลูกสงมาให

3,000

รับจางทั่วไป

100

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

จายคาขนมหลาน

50

จายคาอาหาร

100

รับจางทั่วไป

100

จายคาเครื่องครัวในบาน รวม สรุปมีรายรับจํานวน 7,000บาท

100 7,000

1,240


มีรายจายจํานวน1,240บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 5,760 บาท

ตารางที่ 23 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 175 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

1 ส.ค.54

รับจางทั่วไป

100

2 ส.ค.54

จายคาน้ํามันรถ

100

จายคาขนมหลาน

50

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

รับจางทั่วไป

100

จายคาอาหาร 5 ส.ค.54

8 ส.ค.54

10ส.ค.54

รายจาย

ไดรับเงินลูกสงมาให

100 1,000

จายคาน้ํา คาไฟฟา

300

ใหหลานไปโรงเรียน

20

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

ใหหลานไปโรงเรียน

20

ซื้อของใชเบ็ดเตล็ดในครัวเรือน

300

จายคาน้ํามันรถ

100

รับจางทั่วไป

100


11ส.ค.54

12ส.ค.54

13ส.ค.54

15ส.ค.54

รับจางถอนหญาตนไม

100

จายคาอาหาร

100

จายคางวดรถมอเตอรไซค

1,000

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

100

จายคาขนมหลาน

50

จายคาน้ํามันรถ

100

รับจางทั่วไป

100

จายคาน้ํามันรถ

100

จายคาเสื้อผา

100

ใหฌาปณกิจศพ

100

รับจางทั่วไป

100

จายคาซอมรถเปลี่ยนยางลอรถ 18ส.ค.54

รับจางกรอกถุงเพาะพันธุกลาไม

150 100

จายคารถไปหาหมอ รวม สรุปมีรายรับจํานวน 2,000 บาท มีรายจายจํานวน 2,740 บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 740 บาท

50 2,000

2,740


กรณีศึกษาที่ 10 ครัวเรือนของนายวิกรานต โตะชาลี บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ครัวเรือนนี้มีสมาชิกครอบครัวจํานวน 4 คน ประกอบ พอ แม และลูกสาว ลูกชาย ผูจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ ภรรยา ชื่อนางบัวสอน โตะชาลี อายุ 40 ป ความสม่ําเสมอในการจัดทําบัญชี พบวามีความสม่ําเสมอและไมมีความส่ําเสมอในการจัดทําบัญชี เนื่องจากมีรายรับและรายจายเขามาไมพรอมกันและมีรายจายมากกวารายไดเลยไมอยากทีจ่ ะลงบัญชีรายรับ รายจายของครัวเรือน สรุปรายรับและรายจายของ บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวาเดือนกรกฎาคมครัวเรือนหลังนี้มีรายจายมากกวารายรับ มีรายรับอยูที่ 4,920 บาท มีรายจายอยูที่ 5,410บาท และมียอดใชจายที่เกินไปจากรายรับที่หามาไดอยูที่ 490 บาท ในเดือนสิงหาคม ครัวเรือนหลังนี้มีรายรับจํานวน 3,220 บาท และมีรายจายจํานวน 1,600 บาท และ มียอดเงินคงเหลือหลังจากการหักคาใชจายแลวยังคงเหลือเงินจํานวน 1,620 บาท ตารางที่ 24 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนกรกฎาคม 2554 บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

1ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

50

รับจางดํานา 3ก.ค.54

รายจาย

300

ใหลูกไปโรงเรียน รับจางดํานา

5ก.ค.54

รายรับ

70 300

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

คากับขาว

100

ใหลูกไปโรงเรียน

70


เติมน้ํามันรถ รับจางกรอกถุง 7ก.ค.54

8ก.ค.54

10ก.ค.54

14ก.ค.54

200

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

ใหลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

50

ซื้อน้ําปลา น้ําตาล ผงชูรส

50

ใหลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

50

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

40

รับจางกรอกถุง

12ก.ค.54

50

250

คาขนมลูก

20

คากับขาวตอนเย็น

70

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ญาติโอนเงินมาให

2,000

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

จายคาน้ําคาไฟฟา

400

จายคาน้ําดื่ม

40

จายคาจางคนดํานา

1,500


16ก.ค.54

19ก.ค.54

20ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

70

จายคาฌาปณกิจศพ

30

คาขนมลูก

20

ซื้อหวย

120

เติมน้ํามันรถ

50

ใหลูกไปโรงเรียน

70

คากับขาว

100

ใหลูกไปโรงเรียน

70

รับจางกรอกถุง 21ก.ค.54

23ก.ค.54

25ก.ค.54

250

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

คาขนมลูก

20

รับจางกรอกถุง

250

ลูกโอนเงินมาให

1,500

จายคางวดรถมอเตอรไซค

1,500

คาขนมลูก

20

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ขายหนอไม คากับขาว

120 100


26ก.ค.54

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ซื้อผงซักผา น้ํายาปรับผานุม

30

รวม

4,920

5,410

สรุปมีรายรับจํานวน 4,920 บาท มีรายจายจํานวน 5,410บาท มีรายจายมากกวารายรับจํานวน 490 บาท

ตารางที่ 25 บัญชีครัวเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2554 บานเลขที่ 13 หมู 9 บานหวยยางเหนือ วัน/เดือน/ป

รายการ

รายรับ

1ส.ค.54

ลูกโอนเงินมาให

1,500

2ส.ค.54

คากับขาว

100

ใหลูกไปโรงเรียน

70

ใหลูกไปโรงเรียน

70

รับจางกรอกถุง

4ส.ค.54

6ส.ค.54

รายจาย

250

คากับขาว

50

ใหลูกไปโรงเรียน

70

เติมน้ํามันรถ

50

ซื้อปลา เนื้อหมู

250

ใหลูกไปโรงเรียน

70


ขายหนอไม

120

คากับขาว รับจางกรอกถุง 7ส.ค.54

9ส.ค.54

12ส.ค.54

13ส.ค.54

250

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

20

ขายเห็ด

200

ขายหนอไม

150

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

50

จายคาน้ําดื่ม

40

จายคาทําบุญที่วัด

30

ซื้อของใสบาตร

100

คาขนมลูก

30

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

คาลูกไปโรงเรียน

50

คาน้ํามันรถ

50

รับจางกรอกถุง

15ส.ค.54

50

250

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

50


รับจางกรอกถุง

17ส.ค.54

250

คากับขาว

50

คาลูกไปโรงเรียน

50

คากับขาว

50

ใหลูกไปเขารานอินเตอรเน็ต

40

รับจางถอนหญาอยูนา

250

คาขนมลูก รวม

20 3,220

1,600

สรุปมีรายรับจํานวน 3,220 บาท มีรายจายจํานวน 1,600 บาท มีรายรับมากกวารายจายจํานวน 1,620 บาท

สรุปจากตารางการจัดทําบัญชีครัวเรือนพบวามีชาวบานที่ลงบันทึกบัญชีรายรับรายจายไดอยาง ละเอียดครบถวน คือครัวเรือนตัวอยางของ นางรุงฤดี นิศปน ที่มีการลงรายละเอียดไดอยางสมบูรณ มีการ ลงบันทึกบัญชีรายรับ รายจายทุกวันและสม่ําเสมอ จึงทําใหทราบถึงที่มาของรายไดและรายจายอยางชัดเจน และการทําบัญชีครัวเรือนยังสอนใหรูจักการเก็บออม ทําใหมีเงินออมเอาไวใชในยามจําเปนและการทําบัญชี ครัวเรือนยังสอนใหชาวบานจัดเรียงลําดับความสําคัญของรายจายที่ชาวบานไดจายออกไปมากที่สุด คือ 1. คาใชจายดานอาหาร 2. คาใชจายดานการศึกษา รายรับที่ชาวบานกลุมตัวอยางไดรับมามากที่สุด คือ ไดมา จาก 1. การขายพันธุกลาไม 2. การรับจางทั่วไป เชนการรับจางกรอกถุง การรับจางดํานาและการทําบัญชี รายรับ รายจายของครัวเรือนยังทําใหชาวบานรูฐานะทางการเงินของครัวเรือนอีกดวย หลังจากการใหกลุม ตัวอยางลงบัญชีรายรับ รายจายของครัวเรือน ยังพบวา ชาวบานยังคงตองการใหเจาหนาที่ที่รับผิดชอบเขามา ใหความรู คําแนะนําในการทําบัญชีครัวเรือนในเวลาที่ชาวบานมีปญหา


ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีครัวเรือน ผูวิจัยพบวา จากการที่ผูวิจัยไดใหชาวบานบานหวยยางเหนือลงรายละเอียดขอมูลบัญชีรายรับ – รายจาย พบวาชาวบานบานหวยยางเหนือสวนใหญมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจดบันทึกบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนเปนอยางดี เพราะการทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนทําใหทราบถึงฐานะที่ แทจริงของครอบครัว การจดบันทึกบัญชีรายรับ - รายจายของครัวเรือนทําใหชาวบานบานหวยยางคิดกอน ทุกครั้งกอนที่จะตัดสินใจซื้อของและชาวบานมีการจัดเรียงลําดับความจําเปนในการใชจายเงินกอนที่จะมี การซื้อของและการจัดทําบัญชีครัวเรือนจะเปนการสรางวินัยอยางหนึ่งในเรื่องของการใชจายเงิน ชาวบาน เองรูจักการใชจายเงินอยางประหยัด ปญหาและความตองการในการจัดทําบัญชีครัวเรือน ปญหาในการจัดทําบัญชีครัวเรือนของชาวบานบานหวยยางเหนือ สวนใหญชาวบานไมคอยมีเวลา ในการจดบันทึกบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน เพราะชาวบานตองออกไปทํางานตั้งแตเชา จนถึงเย็นจึง ทําใหไมมีเวลามานั่งจดบันทึกบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน และเกิดจากความเหน็ดเหนื่อยจากการ ทํางานมาทั้งวัน ทําใหชาวบานเองไมคอยสนใจที่จะจดบันทึกบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน นอกจากนั้นชาวบานไมไดมีรายรับเขามาทุกวันเลยทําใหชาวบานบานหวยยางเหนือไมสนใจที่จะจดบันทึก บัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน และเวลาที่ชาวบานมีปญหาในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจายของ ครัวเรือน ชาวบานตองการใหมีเจาหนาที่เขามาใหคําแนะนําในการจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อที่ชาวบานจะได ทราบวาการจัดทําบัญชีครัวเรือนใหประโยชนอยางไรและชาวบานจะไดรับอะไรจากการทําบัญชีครัวเรือน


บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตนพบผลการศึกษา สรุปไดดังนี้ สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือน จากการวิจัยพบวาสภาพในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน ชาวบานหวยยางเหนือ เริ่มทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน ประมาณ พ.ศ. 2548 สมัยรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรและ มีเจาหนาที่จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเขามาใหความรูในเรื่องการจัดทําบัญชี รายรับ – รายจายของครัวเรือน ชวงแรกชาวบานไดใหความรวมมือเปนอยางดีในการลงบันทึกรายรับ– รายจายของครัวเรือน เปน อยางดีและสม่ําเสมอ หลังจากนั้นไมนานชาวบานบานหวยยางเริ่มไมมีความสนใจที่จะทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน เพราะชาวบานใหเหตุผลวา ตัวชาวบานเองไมไดมีรายรับเขามาทุกวัน และไมรูวา การทําบัญชีรายรับ - รายจายมีประโยชนอยางไรและทําแลวชาวบานยังมีความเปนอยูที่เหมือนเดิม ความรูความเขาใจในการจัดทําบัญชีครัวเรือน จากการวิจัยพบวาชาวบานบานหวยยางเหนือสวนมากมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจดบันทึก บัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนเปนอยางดี เพราะการทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนทําให ทราบถึงฐานะที่แทจริงของครอบครัว การจดบันทึกบัญชีรายรับ - รายจายของครัวเรือนทําใหชาวบาน บานหวยยางคิดกอนทุกครั้งกอนที่จะตัดสินใจซื้อของและชาวบานมีการจัดเรียงลําดับความจําเปนใน การใชจายเงินกอนที่จะมีการซื้อของและการจัดทําบัญชีครัวเรือนจะเปนการสรางวินัยอยางหนึ่งในเรื่อง ของการใชจายเงิน ชาวบานเองรูจักการใชจายเงินอยางประหยัด


โครงการฝกอบรมวิเคราะหการจัดทําบัญชีครัวเรือน บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การจัดโครงการฝกอบรมวิเคราะหการจัดทําบัญชีครัวเรือน เพื่อที่จะใหชาวบานบานหวยยางเหนือ รูจักใชจายเงินและวิเคราะหการทําบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือน เพื่อที่จะทําใหชาวบานบานหวย ยางเหนืออยูแบบพอเพียง พอประมาณ รูจักประมาณตนในเรื่องการใชจายเงินและวิเคราะหการลง รายละเอียดของการทําบัญชีครัวเรือนไดอยางถูกตองและไดมีการนําแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เขามาใชในการดําเนินชีวิต ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบียนตัวเอง และผูอื่น เชนการผลิตและบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํา นั้นๆอยางรอบคอบ ภูมิคุมกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล

การอภิปรายผล การวิจัยเรื่อง “สภาพปญหาการจัดทําบัญชีครัวเรือน บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร” ทําใหทราบรายละเอียด ดังนี้ 1. สภาพการจัดทําบัญชีครัวเรือนของชาวบานบานหวยยางเหนือพบวา ชาวบานบานหวยยางเหนือ สวนใหญเคยมีประสบการณในการจัดทําบัญชีครัวเรือนเปนอยางดี เพราะมีเจาหนาที่จากธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตรเขามาใหความรูและใหคําแนะนําในการทําบัญชีครัวเรือนกับชาวบาน โดย ชาวบานเริ่มทําบัญชีครัวเรือนของสมัยรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร


ในที่นี้ผูวิจัยขอยกคําพูดของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กลาวกับชาวบานตีนธาตุ อ. พราว จ.เชียงใหม ในการเดินทางไปเยือนหมูบานแหงนี้ นายกรัฐมนตรีย้ําอีกวาตองการใหชาวบานดําเนิน ชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจแบบพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเปนคําตอบที่ดีที่สุดในการ แกไขปญหาความยากจน ชาวบานบานหวยยางเหนือจะทําการจดบันทึกบัญชีครัวเรือนอยูที่บานโดยทําในชวงเวลาเย็นถึง กลางคืนและสวนใหญชาวบานจะทําบัญชีครัวเรือนหนึ่งถึงสี่ครั้งตอสัปดาหแตชาวบานบางสวนยังเขาใจวา การทําบัญชีครัวเรือนทําใหเสียเวลา แตแทจริงแลวการจดบันทึกบัญชีครัวเรือนนั้นใชเวลาแคไมกี่นาทีซึ่งถือ วาเปนสิ่งที่คุมคามากเมื่อเทียบกับการไดรับรูสถานะทางการเงินของครัวเรือน เพราะการรับรูสถานะทาง การเงินนั้นทําใหครัวเรือนสามารถวางแผนการใชจายตางๆในแตละเดือน 2.ความรูความเขาใจในการจัดทําบัญชีครัวเรือนของชาวบานบานหวยยางเหนือ จากการศึกษาพบวา ชาวบานบานหวยยางเหนือสวนใหญมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักการการจัดทําบันทึกบัญชีรายรับ – รายจายของครัวเรือนเปนอยางดี แตบางครั้งชาวบานเองยังตองการไดรับคําแนะนําจากเจาหนาธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร และจากหนวยงานที่เกี่ยวของเพราะชาวบานตองการความรู ความเขาใจ ใหมากขึ้นกวาเดิม ชาวบานเห็นดวยอยางยิ่งงวาการทําบัญชีครัวเรือนมีความจําเปน เพราะทําใหมีเงินออมมากขึ้น เมื่อ รูจักบันทึกรายรับรายจายตางๆ ก็จะทําใหทราบถึงสถานะการเงินของครอบครัววามีความสมดุลกันหรือไม และเมื่อมีรายไดมากแตรายจายนอยก็จะทําใหเหลือเงินอีกสวนหนึ่งที่จะเก็บไวเปนเงินออมของครัวเรือน ตอไปทําใหวางแผนชําระหนี้ ธ.ก.ส. ไดตรงตามเวลาที่กําหนดเมื่อถึงวาระที่จะตองชําระหนี้ก็สามารถที่จะ มีเงินที่จะนําไปชําระไดครบถวนตามเวลาที่กําหนด เพราะไดแบงเงินสวนหนึ่งเก็บออมไวแลว ทําใหทราบ รายละเอียดรายไดรายจายของครอบครัวในแตละเดือน การบันทึกรายการตางๆ ลงในสมุดบัญชีครัวเรือน ทํา ใหเกษตรกรสามารถที่จะรับรูฐานะทางการเงินของครอบครัวในแตละเดือนวารายไดกับรายจายสมดุลกัน หรือไม อีกทั้งยังทําใหเกษตรกรมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น เพราะมีการใชจายอยางพอตัวทําใหไมตองไปกู หนี้ยืมสินจากแหลงตางๆ มาชวยครัวเรือน และยังเห็นวาการทําบัญชีครัวเรือนทําใหมีการใชจายอยาง รอบคอบและไมฟุมเฟอย รูจักตัดทอนรายจายตางๆที่ไมจําเปนและเปนสิ่งของฟุมเฟอยออกไปได


ขอเสนอแนะ ผลการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะวา 1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรควรเขามาใหความรูและคําแนะนําตางๆ ตลอดจน จัดการฝกอบรมเกี่ยวกับการทําบัญชีครัวเรือนใหแกชาวบานอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง และสงเสริมหรือ ใหการสนับสนุนใหชาวบานในการจดบันทึกบัญชีครัวเรือน เพือ่ ทําใหรูรายรับ-รายจาย และสามารถ วางแผนการเงินของครอบครัวได 2. ควรมีการประชาสัมพันธและรณรงคการจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางสม่ําเสมอ 3. ควรมีการจัดฝกอบรม และมีกิจกรรมตางๆ ที่จะทําใหเกิดความรูและประโยชนแก ชาวบานอยางทั่วถึง 4.ควรมีการสงเสริมและสนับสนุนใหชาวบานที่เปนลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตรมีการจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางทั่วถึงและทําอยางตอเนื่อง

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. .ใหลูกหลานทําบัญชีครัวเรือน โดยวิธีการใหพอแมสอนลูกในการทําบัญชีรายรับ – รายจาย และ จะเปนการสอนหนังสือลูกไปในอีกทางหนึ่งดวย



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.