คู่มือโปรแกรมคำแนะนำการจัดการดินและ้ปุ๋ยรายแปลง

Page 1

คูมือ โปรแกรมคําแนะนําการจัดการ ดินและปุยรายแปลง Version 3.0


คํานํา ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณสมบัติหลากหลาย เนื่องมาจากปจจัยการกําเนิดดินที่ แตกตางกัน ไดแก วัตถุตน กําเนิดดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ พืชพรรณ และปจจัยเฉพาะแตละ ทองถิ่น จึงจําแนกดินออกเปนชุดดินโดยใชสมบัติดินที่มีคาเปนชวงหรือคาเชิงคุณภาพ เพื่องายตอ การจัดหมวดหมูดิน ดังนั้นดินชุดเดียวกันจึงยังมีความแตกตางกัน ประกอบกับการใชพื้นที่เพื่อทํา การเกษตรที่มมีการจัดการหลากหลาย สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน โดย สวนใหญจะเกิดเฉพาะดินบนบริเวณขอบเขตรากพืช จึงเพิ่มความแตกตางระหวางดินชุดเดียวกัน และตนทุนคงเหลือของธาตุอาหารที่มากนอยตางกันไปในแตละพื้นที่อีกดวย และในการเลือกพืช ปลูกที่ตางชนิดและสายพันธุกันในพื้นที่หนึ่งจึงตองการธาตุอาหาร การจัดการแปลงปลูก รวมทั้ง สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมแตกตางกันไป หากเลือกพื้นที่ที่ไมเหมาะสมกับพืชปลูก หรือเลือก การจัดการสําหรับพืชปลูกที่ไมเหมาะสมยอมเกิดภาวะเสี่ยงทางเศรษฐกิจสูง โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง เพื่อการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ Version 1 จึงถูกจัดทําขึ้นเมื่อ เมษายน 2551 โดยมีแนวความคิดที่จะชวยเหลือเกษตรกรเพื่อสราง แนวทางทางการจัดการดินและปุยใหเจาะจงตามขอมูลดิน พืช และสภาพภูมิอากาศ ณ แปลงปลูก นั้น ๆ เปนหลักเพื่อใหเกิดความคุมคากับเกษตรกร และปรับปรุงเพื่อสงใหแกหนวยงานตาง ๆ ตั้งแตระดับกรมจนถึงสวนภูมิภาค อาทิ กรมสงเสริมการเกษตร กรมวิชาการ และกรมการขาว เปน ตน ในระยะแรกโปรแกรมยังมีวิธีการใชงานที่ยุงยากซับซอน กันยายน 2552 จึงปรับปรุงเปน Version 2 และ Version 2.1 เพื่อใหเหมาะสมแกการใชงานสําหรับหมอดิน และเผยแพรไปสูภูมิภาค ของสํานักงานพัฒนาที่ดินทั้ง 12 เขต ปจจุบันปรับปรุงเปน Version 3.0 โดยมีการปรับปรุงใน หลายๆ สวน แตอยางไรก็ตามยังคงมีอีกหลายๆ สวนที่คงยังตองดําเนินการพัฒนากันตอไป และ ทีมงานยินดีรับฟงคําแนะนําเพิ่มเติมจากผูใชงานเพื่อการพัฒนาโปรแกรมเสมอ ทีมงานพัฒนาโปรแกรม


สารบัญ บทนํา สวนที่ 1 การเริ่มใชงานโปรแกรม 1. องคประกอบของโปรแกรม 2. การเริ่มใชงานโปรแกรม 3. ขั้นตอนการใชงานโปรแกรม สวนที่ 2 คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 1 เริ่มตนการใชงาน 1. องคประกอบของโปรแกรม 2. การติดตั้งและตั้งคาการใชงาน 3. องคประกอบของหนาจอโปรแกรม บทที่ 2 การเรียกดูขอมูลทั่วไปและการตัง้ คาการใชงาน 1. ขอมูลชุดดิน 2. กลุมชุดดิน 3. สูตรปุย 4. คณะวิจยั 5. ตรวจรหัส บทที่ 3 ขั้นตอนสูการจัดการดินและปุยรายแปลง 1. การสืบคนเขตการปกครอง 2. การสืบคนขอมูลดิน 3. การสืบคนขอมูลพืช 4. การประเมินตนทุนธาตุอาหาร 5. คําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง บทที่ 4 คําแนะนําการใชปุยเคมี 1. ขาวไวตอชวงแสง และไมไวตอชวงแสง 2. ขาวโพด 3. ออยปลูก และออยตอ 4. มันสําปะหลัง 5. สับปะรด 6. ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง

หนา 1 2 3 3 4 7 8 8 8 9 11 11 12 13 15 16 16 16 16 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28


สารบัญ (ตอ) 7. ยางพารา 8. ปาลมน้ํามัน 9. ลําไย 10. ลิ้นจี่ 11. มังคุด 12. ทุเรียน บทที่ 5 คําแนะนําการใชปุยอินทรียเพื่อทดแทนการใชปยุ เคมีเบื้องตน 1. ปริมาณการใชปุยอินทรีย บทที่ 6 คําแนะนําอื่น ๆ 1. ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนํา 2. เปรียบเทียบราคาปุย 3. วันปลูกที่เหมาะสม 4. ผลผลิตที่คาดคะเน บทที่ 7 การปรับปรุงดิน 1. คําแนะนําการจัดการดิน 2. ขอจํากัดการใชประโยชน 3. ปริมาณความตองการปูน 4. ความตองการปูนแบบ Woodruff

หนา 29 30 31 32 33 34 35 35 40 40 40 41 42 43 43 44 44 45


1

บทนํา โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง ถูกออกแบบมาโดยมุงหวังใหเป น เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ในการกํ า หนดแนวทางการจั ด การแปลงปลู ก ให เ จาะจงตามข อ มู ล ดิ น พื ช และ ภูมิอากาศ สําหรับพืชที่ปลูก 12 ชนิด คือ ขาว ออย มันสําปะหลัง ปาลมน้ํามัน ยางพารา ขาวโพด สับปะรด ถั่วตางๆ ลําไย ลิ้นจี่ มังคุด ทุเรียน ซึ่งเปนแนวทางหนึ่งในการแกไขปญหาตนทุนการผลิต สูงอันเนื่องมาจากปุยราคาแพง โดยเนนใหเกิดการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ ตรงกับความตองการ ของพืช และเปนการลดตนทุนการผลิตไดทางหนึ่งดวย โดยโปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและ ปุยรายแปลงจะใหรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลดิน ขอมูลการจัดการดิน คําแนะนําการใชปุยในระดับ หนึ่ง ขณะที่จําเปนตองไดรับขอมูลเสริมเพิ่มเติมจากแปลงเกษตรอีกระดับหนึ่ง กลาวคือ เกษตรกรที่ มีความตองการไดรับคําแนะนําอยางจําเพาะเจาะจงเพื่อความมั่นใจของพื้นที่ตนเอง ควรจะตองขุด ดินมาวิเคราะห แลวนําผลการวิเคราะหใสลงในโปรแกรม ก็จะไดคําแนะนําการใชปุยที่เหมาะสม แตหากไมมีการวิเคราะหดินใหมก็จะไดรับคําแนะนําการใชปุยเบื้องตนไดเชนกัน ทั้งนี้ สถานี พัฒนาที่ดินทุกแหงทั่วประเทศพรอมที่จะดําเนินการรับตัวอยางดิน เพื่อสงใหหนวยงานวิเคราะหดนิ ของกรมพัฒนาที่ดินดําเนินการวิเคราะหดินให แตอยางไรก็ดี ในการจัดการดินและปุยที่สมบูรณ ควรมีการใชปุยอินทรียควบคูไปดวยจึงจะทําใหการใชปุยเคมีมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ปจจุบันโปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง ไดรับการปรับปรุงใหมเปน Version 3.0 โดยมีการเพิ่มชนิดพืชที่ใหคําแนะนําเปน 12 ชนิด และเพิ่มศักยภาพใหมของตัว โปรแกรม ในสวนของการคํานวณคําแนะนําปุยโดยปรับปรุงใหสามารถใชคาวิเคราะหเชิงปริมาณ ได รวมทั้งใชคาวิเคราะหจากหนวยวิเคราะหดินเคลื่อนที่ได สามารถกําหนดการใชปุยอินทรีย เพื่อ ลดการใชปุย เคมีไ ด พรอมดว ยหน าจอการแสดงผล มีพื้นที่ แสดงขอมู ลมากขึ้น แต ยังคงความ พยายามในการจัดวางรูปแบบการใชงานใหใชงานไดงายเชนเดิม


-2-

คูมือการใชงานโปรแกรม

สวนที่ 1 การเริ่มใชงานโปรแกรม (greeting start)


-3-

คูมือการใชงานโปรแกรม 1. องคประกอบของโปรแกรม โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลงเพื่อการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ เปน โปรแกรมกึ่งสําเร็จรูป ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยใชโปรแกรมฐานขอมูล Microsoft Office Access 2003 โดยมีการเพิ่มเติมชุดคําสั่ง และหนาจอแสดงผลที่จะทําใหผูใชงานสามารถเรียกใชขอมูลไดโดยงาย ขณะเดียวกันก็มีการเพิ่มเติมคําสั่งประมวลผล เพื่อคํานวณคาตางๆ ใหโดยอัตโนมัติดวย

2. การเริ่มใชงานโปรแกรม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ที่ ใ ช ต อ ง มี โปรแกรม Microsoft office Access version 2003 ขึ้นไป

การเขาสูโปรแกรม ตองตั้งคา ความปลอดภัยเปนระดับปาน กลางหรือระดับต่ํากอน Start>> All program>> Microsoft office>>Microsoft access>> Tools>> Macro>> Security>>medium หรือ low เมื่อเขาสูโปรแกรมจะปรากฏ หน า หลั ก ของโปรแกรม ดั ง ภาพ File>>Open>>Onfarm30


-4-

คูมือการใชงานโปรแกรม 3. ขั้นตอนการใชงานโปรแกรม การสืบคนเขตการปกครอง จังหวัด>> อําเภอ>> ตําบล จากหนาตาง ที่แถบเมนูเลือก เลือกจังหวัด ⇒ นครราชสีมา เลือกอําเภอ ⇒ ปากชอง เลือกตําบล ⇒ ปากชอง การสืบคนขอมูลดิน เลือกชุดดิน โดยพิจารณาจาก ชุดดินใน ตําบล ที่มีสมบัติ ดินใกลเคียงกับแปลง เกษตรกร เลือกชุดดิน ⇒ ปากชอง

การสืบคนขอมูลพืช เลือกชนิดพืช โดยเลือกตาม กลุมสายพันธุ หรือชวงอายุ ในการปลูก เลือกชนิดพืช ⇒ ขาวโพด


-5-

คูมือการใชงานโปรแกรม คําแนะนําธาตุอาหาร แสดงหนาตางคําแนะนํา การจัดการดินและปุย เฉพาะแปลง

การปรับเปลี่ยนสูตร ปุยเคมี • ระบบการเพิ่มสูตรปุย

การปรับปรุงดิน • แสดงคําแนะนําการ จัดการดิน • ขอจํากัดการใช ประโยชน • ปริมาณความตองการ ปูน


-6-

คูมือการใชงานโปรแกรม รุน 3.0

เมื่อกดที่ไอคอน จะแสดงคําแนะนํา การจัดการดินและปุย สําหรับแปลงปลูกขาวโพด ในชุดดินปากชอง ตําบลปากชอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา


-7-

คูมือการใชงานโปรแกรม

สวนที่ 2 คูมือการใชงานโปรแกรม


-8-

คูมือการเริ่มใชงานโปรแกรม บทที่ 1 เริม่ ตนการใชงาน 1. องคประกอบของโปรแกรม โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลงเพื่อการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ เปน โปรแกรมกึ่งสําเร็จรูป ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยใชโปรแกรมฐานขอมูล Microsoft Office Access 2003 โดยมีการเพิ่มเติมชุดคําสั่ง และหนาจอแสดงผลที่จะทําใหผูใชงานสามารถเรียกใชขอมูลไดโดยงาย ขณะเดียวกันก็มีการเพิ่มเติมคําสั่งประมวลผล เพื่อคํานวณคาตางๆ ใหโดยอัตโนมัติดวย โปรแกรม จึงตองอาศัยองคประกอบที่สําคัญ 4 สวน คือ 1. โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง เพื่อการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ 2. เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณตาง ๆ 3. โปรแกรม Microsoft Office Access 2003 ขึ้นไป และ 4. ขอมูลเฉพาะพื้นที่ เฉพาะแปลง 2. การติดตั้งและตั้งคาการใชงาน 2.1 ความตองการของระบบ - เครื่องคอมพิวเตอรที่มีโปรแกรม MS Access 2003 ขึ้นไป - พื้นที่ใน Hard Disk Drive (HDD) 100 Mbs - CD-Rom Drive สําหรับการลงโปรแกรม 2.2 การติดตั้งโปรแกรม - วิธีที่ 1 Copy file Onfarm30 จากแผน CD-Rom ลงสู HDD ในคอมพิวเตอร - วิธีที่ 2 Download โปรแกรมจาก 2.3 การปรับแตงระบบ MS Access การเริ่มใชงานโปรแกรม คลิกปุม Start >> All program >> Microsoft office >> Microsoft Office Access >>Tools >> Macro >> Security >> medium


-9-

คูมือการใชงานโปรแกรม 3. องคประกอบของหนาจอโปรแกรม หนาจอตอนรับเปนหนาจอแรกที่จะแสดงเมื่อทําการเปดใชงานโปรแกรม คลิกปุม file>>open>>Onfarm30 จะขึน้ หนาตาง Security warning คลิก open เพื่อเปดล็อค มาโคร จะแสดงหนาตางโปรแกรมดังภาพ 1 2

3

สวนประกอบในหนาจอตอนรับโปรแกรม การจัดการดินและปุยรายแปลงเพื่อการใชปุย อยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย 3.1 สวนกําหนดขอมูลสําหรับใหคําแนะนํา สามารถเลือกคนหาคําแนะนําการ จั ด การดิ น และปุ ย รายแปลง โดยคลิ ก เลื อ กข อ มู ล การปกครองตั้ ง แต ร ะดั บ จั ง หวั ด จนถึ ง ตํ า บล ( ) เมื่อคลิกเลือกกรอบสี่เหลี่ยมหนาจังหวัดเปนการสั่งใหโปรแกรม จดจําคาไว เมื่อเปดใชงานโปรแกรมครั้งตอไปหนาตางจะแสดงชื่อของจังหวัดนั้นๆ อัตโนมัติ ทั้งนี้ เพื่อสะดวกแกการใชงานเฉพาะพื้นที่ 3.2 สว นแสดงผลขอมูล เมื่อคลิกจะปรากฏหนาตางแสดงขั้นตอนการใช งาน โปรแกรม 5 ขั้นตอน ดังนี้


-10-

คูมือการใชงานโปรแกรม

1. เลือกเขตการปกครอง จังหวัด>> อําเภอ>> ตําบล 2. เลือกชุดดิน โดยพิจารณาจากชุดดินในตําบล ที่มีสมบัติดินใกลเคียงกับแปลง เกษตรกร 3. เลือกชนิดพืช กําหนดเลือกตามกลุม สายพันธุ หรือชวงอายุในการปลูก 4. เลือกตนทุนธาตุอาหารจากคาเฉลี่ยเดิมของชุดดิน หรือจากคาวิเคราะหดินตัวอยาง 5. รับคําแนะนําการจัดการดินและปุย รายแปลง (เลือกปรับสูตรปุยจากชนิดปุยทีม่ ี) 3.3 สวนเสริมการทํางานและขอมูลอื่น ๆ สําหรับเจาหนาที่ในการตรวจสอบ ขอมูลชุดดิน กลุมชุดดิน สูตรปุย คณะวิจัย และตรวจสอบรหัส เพื่อตรวจสอบความถูกตองของ ขอมูลและคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง ในขณะใชงานโปรแกรม


-11-

คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 2 การเรียกดูขอมูลทั่วไปและการตั้งคาการใชงาน 1. ขอมูลชุดดิน คลิกปุม>>ขอมูลชุดดิน แสดงหนาตางลักษณะทั่วไปของชุดดิน ทั้งหมด โดยแสดงทีละ 1 ชุดดิน เรียงลําดับตามอักษรยอชื่อชุดดินในภาษาอังกฤษ เริ่มตั้งแต Ak, Ay…Yt ลักษณะทั่วไปของชุดดินที่แสดงประกอบไปดวย 3 สวน แสดงดังภาพ

1

3 2

ประกอบดวย สวนที่ 1 แถบเครื่องมือสําหรับการคนหาชุดดิน 1

2

3

4

1. 2. 3. 4.

คนหาชุดดินตามอักษรชื่อชุดดินภาษาไทย เลือกไปกอนหนา/ยอนกลับ แสดงขอมูลกลุมชุดดิน ปดหนาตางลักษณะทั่วไปของชุดดินทั้งหมด

สวนที่ 2 แสดงลักษณะทั่วไปของชุดดินที่เลือก สวนบนแสดงชื่อชุดดินภาษาไทย อังกฤษ และอักษรยอ กลุมชุดดิน การซาบซึมน้ํา การระบายน้ํา น้ําไหลบา สภาพพื้นที่ ความลึกของดิน


-12-

คูมือการใชงานโปรแกรม ลักษณะดินบนและดินลาง การใชประโยชนที่ดิน การกระจายตัว/แหลงที่พบ ชุดดินที่คลายกัน คําแนะนําการจัดการดิน ขอจํากัดในการใชประโยชน

สวนที่ 3 รูปภาพแสดงหนาตัดดิน

2. กลุมชุดดิน คลิกปุม>>กลุมชุดดิน แสดงหนาตางสมบัติของกลุมการจัดการดิน 1

2

3


-13-

คูมือการใชงานโปรแกรม ประกอบดวย สวนที่ 1 แถบเครื่องมือสําหรับคนหากลุมชุดดิน

1

2

3

4

5

1. คนหากลุมชุดดินตามอักษรชื่อชุดดินภาษาไทย 2. คนหาตามหมายเลขกลุมชุดดิน 3. เลือกไปกอนหนา/ยอนกลับ 4. แสดงขอมูลชุดดิน 5. ปดหนาตางของลักษณะทั่วไปของกลุมชุดดิน ทั้งหมด

สวนที่ 2 แสดงลักษณะทั่วไปของกลุมชุดดินที่เลือก สวนบนแสดงชื่อกลุมชุดดินเรียงลําดับ ตั้งแตหมายเลข 1-62 กลุมชุดดิน ลักษณะเดนประจํากลุมชุดดิน ลักษณะอื่น ๆ และกลุมชุดดินคลาย สวนที่ 3 รูปภาพชุดดินที่อยูในกลุมชุดดิน

3. สูตรปุย คลิกปุม>>สูตรปุย แสดงหนาตางการปรับเปลี่ยนคาตารางปุย โดยมี สวนประกอบดังนี้ แสดงกลุมปุย สูตรปุย คารอยละของธาตุ N P K และความเหมาะสมสําหรับพืช แตละชนิด และในสวนนีเ้ จาหนาที่และเกษตรกรสามารถเพิ่มสูตรปุยที่ใชแตไมมีอยูใ นคําแนะนําได การเพิ่มสูตรปุย กําหนดไดดงั นี้


-14-

คูมือการใชงานโปรแกรม 3.1 กําหนดคาไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) และโพแทสเซียม(K) ตามสูตรปุยที่ตองการ เพิ่มเติม ดังภาพ

3.2 กดปุม เพิ่มสูตรปุย จะพบหนาตาง คําแนะนําเพิ่มเติม สําหรับพืช โดยกําหนดชนิดพืชที่ ตองการสําหรับสูตรปุยที่เพิม่ เติม เชน พืชผัก ไมผล พืชไร ปาลมน้ํามัน เปนตน


-15-

คูมือการใชงานโปรแกรม 3.3 สูตรปุยที่กําหนดขึ้นจะเพิ่มเขาไปในตารางเปรียบเทียบปุย ดังภาพ

4. คณะวิจัย คลิกปุม>>คณะวิจัย แสดงหนาตางรายนามคณะทํางานและคณะผู ศึกษาวิจัย


-16-

คูมือการใชงานโปรแกรม 5. ตรวจรหัส คลิกปุม>>ตรวจรหัส แสดงหนาตางตรวจรหัส ประกอบดวย รหัส จังหวัด ชนิดดิน ชนิดพืช

บทที่ 3 ขั้นตอนสูการจัดการดินและปุยรายแปลง 1. การสืบคนเขตการปกครอง เลือกเขตการปกครองจาก จังหวัด>> อําเภอ>> ตําบล จาก หนาตางที่แถบเมนูเลือก ดังนี้ ขั้นตอนแรกเลือกจังหวัด ⇒ นครราชสีมา โปรแกรมจะคัดกรอง ขอมูลของชื่ออําเภอที่มีเฉพาะจังหวัดนครราชสีมา เมื่อเลือกอําเภอ ⇒ ปากชอง โปรแกรมจะคัด กรองขอมูลของชื่อตําบลที่มีในอําเภอปากชองนั้น ขั้นตอนสุดทายเลือกตําบล ⇒ ปากชอง เปน สิ้นสุดการสืบคนเขตการปกครอง

2. การสืบคนขอมูลดิน แสดงเมนูลักษณะทั่วไปของชุดดิน ซึ่งประกอบดวย ชื่อ ชุดดิน กลุมชุดดิน การซาบซึมน้ํา การระบายน้ํา น้ําไหลบา สภาพพื้นที่ ความลึกของดิน ลักษณะ ดินบน ดินลาง คําแนะนําการจัดการดิน พรอมทั้งเมนูการใชประโยชนซึ่งบอกถึง ขอจํากัดในการใช ประโยชน การใชประโยชนที่ดิน และเมนูสมบัติอื่น ๆ ทางวิชาการ ประกอบดวย การจําแนกดิน การเกิดดิน การเรียงตัวของชั้นดิน การกระจายตัว/แหลงที่พบ, ชุดดินที่คลายกัน แสดงดังภาพ


-17-

คูมือการใชงานโปรแกรม

>>เลือกแสดงสมบัติกลุมชุดดิน


-18-

คูมือการใชงานโปรแกรม >>เลือกชุดดินปากชอง จากชื่อชุดดิน หรือ กลุมชุดดิน

3. การสืบคนขอมูลพืช สามารถเลือกชนิดพืชที่ปลูกประกอบดวยพืช 12 ชนิด คือ - ขาวไวตอชวงแสง, ขาวไมไวตอชวงแสง - ขาวโพด - ออยปลูก, ออยตอ - มันสําปะหลัง - สับปะรด - ถั่วเหลือง, ถั่วเขียว, ถั่วลิสง - ยางพารา - ปาลมน้ํามัน - ลําไย - ลิ้นจี่ - มังคุด - ทุเรียน


-19-

คูมือการใชงานโปรแกรม

กรณี ชุดดินที่เลือกไมเหมาะสมกับชนิดพืชที่เลือก จะแสดงกลองขอความไมมีคําแนะนํา ปุย แสดงถึง ดินนี้ไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชที่กําหนด จึงไมมกี ารแสดงคําแนะนําการใชปยุ 4. การประเมินตนทุนธาตุอาหาร การประเมินตนทุนธาตุอาหาร มี 4 รูปแบบ 1. คามาตรฐาน โปรแกรมจะแสดงคามาตรฐานอัตโนมัติของชุดดินนัน้ ๆ โดยคา วิเคราะหดินมาตรฐาน ใชน้ํายาสกัด Bray II และ NH4OAc ในการวิเคราะห ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมตามลําดับ 2. ชุดตรวจดินอยางงาย ไดจากการวิเคราะหดนิ ชุดตรวจสอบดินอยางงาย โดยคา วิเคราะห ใชนา้ํ ยาสกัด Mehlich 1 ในการวิเคราะห ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม 3. หองปฏิบัติการ ไดจากการวิเคราะหดินในหองปฏิบัติ โดยคาวิเคราะหดนิ จาก หองปฏิบัติการ ใชน้ํายาสกัด Bray II และ NH4OAc ในการวิเคราะห ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมตามลําดับ 4. หมอดินเคลื่อนที่ ไดจากการวิเคราะหดินจากหมอดินเคลื่อนที่ โดยคาวิเคราะห ใช น้ํายาสกัด Mehlich 1 ในการวิเคราะห ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม


-20-

คูมือการใชงานโปรแกรม สามารถนําคาวิเคราะหมาใสได 4 อยาง คือ - อินทรียวัตถุ - ฟอสฟอรัส - โพแทสเซียม - คากรด-ดาง


-21-

คูมือการใชงานโปรแกรม 5. คําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง ประกอบดวยคําแนะนํา 6 ขอ 1. ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนํา แสดงคําแนะนําปุยตามคาวิเคราะหดนิ ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนํา ทีพ่ ืชชนิด นั้น ๆ ตองการ 2. คําแนะนําการใชปุยเคมี ประกอบดวยคําแนะนําการจัดการปุยเคมี ของพืชแตละชนิดทั้งหมด 12 ชนิด โดยใหคําแนะนําสูตรปุยและอัตราปุยที่ใส 3. คําแนะนําการใชปุยอินทรีย ประกอบดวยขอมูลการใสปุยอินทรีย โดยใหเลือกชนิดของปุยอินทรียท ี่ใช สามารถเลือกชนิดของปุยอินทรียไดมากกวา 1 ชนิด แบง 3 ประเภท คือ ปุยอินทรียใ นแปลง ปุย อินทรียที่ผูใชกําหนดเอง และวัสดุอินทรียอ ื่น ๆ 4. เปรียบเทียบราคาปุย เลือกเปรียบเทียบราคา จะแสดงหนาตางเปรียบเทียบราคาปุยแตละสูตรที่ เลือกใชเพื่อผสมใหไดสูตรปุยตามคําแนะนําของโปรแกรม 5. วันปลูกที่เหมาะสม แสดงชวงวันปลูกที่เหมาะสมสําหรับพืชชนิดนั้น ๆ 6. ผลผลิตที่คาดคะเน (กิโลกรัม/ไร) แสดงผลผลิตที่คาดคะเนเมือ่ ใชปุยตามคําแนะนํา


-22-

คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 4 คําแนะนําการใชปุยเคมี ประกอบดวยคําแนะนําการจัดการปุยเคมี ของพืชแตละชนิดทั้งหมด 12 ชนิด โดยให คําแนะนําสูตรปุยและอัตราปุย ที่ใส

โดยคําแนะนําการใชปุยเคมี สามารถใชรวมกับคําสั่งกดเพื่อแสดงปุยทัง้ หมด/ทองถิ่น และ ตรวจสอบขอมูล

สามารถกดเลือกแสดงปุยในคําแนะนํา ใหสามารถแสดงปุยทั้งหมด หรือแสดงปุยทองถิ่น ได โดยปุย ทั้งหมด คือสูตรปุยทั้งหมดที่มอี ยูในโปรแกรมนี้ สวนปุย ทองถิ่น คือ สูตรปุยเฉพาะที่ถกู เลือกในปุย ทองถิ่น


-23-

คูมือการใชงานโปรแกรม

คําแนะนําการใชปุยเคมีแบงตามชนิดพืช 12 ชนิดไดแก 1. ขาวไวตอชวงแสง และขาวไมไวตอชวงแสง


-24-

คูมือการใชงานโปรแกรม ปุยรองพื้น เลือกสูตรปุยรองพื้น เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะคํานวณอัตราปุยที่ เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เพื่อใหได ปริมาณธาตุอาหารตามคําแนะนําของโปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุย รองพื้นสูตร 46-0-0, 16-20-0 และ 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 10, 10 และ 5 กก./ไร ปุยแตงหนา เลือกสูตรปุยแตงหนา จากตัวอยางนี้เลือก ปุย สูตร 46-0-0 อัตราที่ เหมาะสมคือ 13 กก./ไร 2. ขาวโพด

ปุยรองพื้น เลือกสูตรปุยรองพื้น เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะคํานวณอัตราปุยที่ เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เพื่อใหได ปริมาณธาตุอาหารตามคําแนะนําของโปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุย รองพื้นสูตร 18-46-0 และ 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 4 และ 18 กก./ไร ปุยแตงหนา เลือกสูตรปุยแตงหนา จากตัวอยางนี้เลือก ปุย สูตร 46-0-0 อัตราที่ เหมาะสมคือ 13 กก./ไร


-25-

คูมือการใชงานโปรแกรม 3. ออยปลูก และออยตอ

ปุยรองพื้น เลือกสูตรปุยรองพื้น เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะคํานวณอัตราปุยที่ เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เพื่อใหได ปริมาณธาตุอาหารตามคําแนะนําของโปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุย รองพื้นสูตร 18-46-0 0-0-60 และ 46-0-0 อัตราที่เหมาะสมคือ 6, 10 และ 2 กก./ไร ปุยแตงหนา เลือกสูตรปุยแตงหนา จากตัวอยางนี้เลือก ปุย สูตร 46-0-0 อัตราที่ เหมาะสมคือ 13 กก./ไร


-26-

คูมือการใชงานโปรแกรม 4. มันสําปะหลัง

ปุยรองพื้น เลือกสูตรปุยรองพื้น เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะคํานวณอัตราปุยที่ เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เพื่อใหได ปริมาณธาตุอาหารตามคําแนะนําของโปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุย รองพื้นสูตร 18-46-0 0-0-60 และ 46-0-0 อัตราที่เหมาะสมคือ 15, 9 และ 2 1 กก./ไร


-27-

คูมือการใชงานโปรแกรม 5. สับปะรด

กําหนดรุนของการปลูก ปลูกใหม หรือไวหนอ แบงการใสปุยเปน 3 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 และ 46-0-0 อัตราที่เหมาะสมคือ 36, 67 และ 18 กก./ไร ในการใสปุยครั้งที่ 1 โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิด เดียวกันทั้ง 3 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-28-

คูมือการใชงานโปรแกรม 6. ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง

ปุยรองพื้น เลือกสูตรปุยรองพื้น เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะคํานวณอัตราปุยที่ เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เพื่อใหได ปริมาณธาตุอาหารตามคําแนะนําของโปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุย รองพื้นสูตร 18-46-0 และ 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 5 และ 8 กก./ไร


-29-

คูมือการใชงานโปรแกรม 7. ยางพารา

แบงการใสปุยเปน 4 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 และ 46-0-0 อัตราที่เหมาะสมคือ 4, 8 และ 3 กก./ไร ในการใสปุยครั้งที่ 1 โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิด เดียวกันทั้ง 4 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-30-

คูมือการใชงานโปรแกรม 8. ปาลมน้ํามัน

แบงการใสปุยเปน 4 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 0.44 และ 0.39 กก./ตน ใน การใสปุยครั้งที่ 1 โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิดเดียวกันทัง้ 4 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-31-

คูมือการใชงานโปรแกรม 9. ลําไย

แบงการใสปุยเปน 5 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 0.79 และ 0.29 กก./ตน ใน การใสปุยเรงตน ใสปุยไนโตรเจน 2 ครั้งแรก เพื่อบํารุงตน ใสปุยเรงดอกอัตราที่เหมาะสมคือ 0.58 และ 0.46 กก./ตน เรงผล อัตราที่เหมาะสมคือ 0.38 และ 0.46 กก./ตน และเพื่อผลผลิต ใส0-0-60 0.23 กก./ตน โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิดเดียวกันทั้ง 5 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-32-

คูมือการใชงานโปรแกรม 10. ลิ้นจี่

แบงการใสปุยเปน 5 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 0.39 และ 0.21 กก./ตน ใน การใสปุยเรงตน ใสปุยไนโตรเจน 2 ครั้งแรก เพื่อบํารุงตน ใสปุยเรงดอกอัตราที่เหมาะสมคือ 0.31 และ 0.34 กก./ตน เรงผล อัตราที่เหมาะสมคือ 0.21 และ 0.34 กก./ตน และเพื่อผลผลิต ใส 0-060 0.17 กก./ตน โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิดเดียวกัน ทั้ง 5 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-33-

คูมือการใชงานโปรแกรม 11. มังคุด

แบงการใสปุยเปน 5 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 0.53 และ 0.55 กก./ตน ใน การใสปุยเรงตน ใสปุยไนโตรเจน 2 ครั้งแรก เพื่อบํารุงตน ใสปุยเรงดอกอัตราที่เหมาะสมคือ 0.53 และ 0.64 กก./ตน เรงผล อัตราที่เหมาะสมคือ 0.37 และ 0.55 กก./ตน และเพื่อผลผลิต ใส 0-060 0.46 กก./ตน โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิดเดียวกัน ทั้ง 5 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-34-

คูมือการใชงานโปรแกรม 12. ทุเรียน

แบงการใสปุยเปน 5 ครั้ง เลือกสูตรปุยที่ตองการ เมื่อเลือกสูตรปุยโปรแกรมจะ คํ า นวณอั ต ราปุ ย ที่ เ หมาะสมโดยอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให ไ ด ปริ ม าณธาตุ อ าหารตามคํ า แนะนํ า ของ โปรแกรม ตัวอยาง เลือกปุยสูตร 18-46-0 0-0-60 อัตราที่เหมาะสมคือ 0.60 และ 0.38 กก./ตน ใน การใสปุยเรงตน ใสปุยไนโตรเจน 2 ครั้งแรก เพื่อบํารุงตน ใสปุยเรงดอกอัตราที่เหมาะสมคือ 0.62 และ 0.78 กก./ตน เรงผล อัตราที่เหมาะสมคือ 0.60 และ 0.57 กก./ตน และเพื่อผลผลิต ใส 0-060 0.38 กก./ตน โดยในการใสปุยแตละครั้งสามารถเลือกสูตรปุยที่ตองการใส เปนชนิดเดียวกัน ทั้ง 5 ครั้ง โดย เลือกเครื่องหมายถูกหนาขอความดังนี้


-35-

คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 5 คําแนะนําการใชปุยอินทรียเพื่อทดแทนการใชปุยเคมีเบื้องตน 1. ปริมาณการใชปุยอินทรีย ประกอบดวยขอมูลการใสปุยอินทรีย โดยใหเลือกชนิดของปุยอินทรียท ี่ใช สามารถ เลือกชนิดของปุยอินทรียไดมากกวา 1 ชนิด แบง 3 ประเภท คือ ปุยอินทรียในแปลง ปุยอินทรียที่ ผูใชกําหนดเอง และวัสดุอนิ ทรียอื่น ๆ โดยจะมีคําแนะนําการใชและขอจํากัดการใชงานปุยอินทรีย ดังแสดง


-36-

คูมือการใชงานโปรแกรม

1.1 ปุยอินทรียใ นแปลง ประกอบดวยการไถกลบตอซังและใชปุยพืชสด ผูใชสามารถกําหนดหรือ เลือกใชตามความตองการโดยกรอกขอมูลหรือปรับแกไขอัตรา (กก./ไร) รอยละของ N P และ K รอยละของน้ําหนักแหง รอยละการสลายตัวในรอบการปลูก ใหครบถวน ในกรณีขอมูลที่มาจาก แบบจําลองการปลูกพืช ไดแก ขาวไวตอชวงแสง ขาวไมไวตอชวงแสง และขาวโพด ผูใชไม สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแกใขในสวนนี้ได เนื่องจากมีการประเมินผลในสภาพที่มีการไถกลบตอ ซังและใชปุยพืชสดอยูแลว


-37-

คูมือการใชงานโปรแกรม

- ตัวอยางการเลือกปุยอินทรีย ขั้นตอนแรกคลิกเครื่องหมายถูกในกลอง หนาปุยอินทรียที่ตองการเลือก ในกรอบนี้แสดงถึงเลือกวัตถุอินทรียเปนการไถกลบตอซัง หนาจอ แรกที่ปรากฏเปนคาที่ไดจากการทดลอง ประกอบดวย อัตรา (กก./ไร) คา %N %P และ %K รอย ละน้ําหนักแหง และอัตราการสลายตัวในรอบการปลูก โดยขอมูลเหลานี้สามารถปรับแกได - ผลรวมปริมาณธาตุอาหารที่พืชไดรับจากปุยอินทรียทั้งหมด ในกรณีนี้ เลือกเฉพาะการไถกลบตอซัง ทําใหไดปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ไดรับเทากับ 0.3 กก./ไร 0.13 และ 0.45 กก./ไรสําหรับฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสที่ละลายได ตามลําดับ 1.2 ปุยอินทรียโ ดยผูใชกําหนดเอง ผูใชสามารถเพิ่มเติมชนิดปุย อินทรียที่มกี ารใชนอกเหนือจากที่โปรแกรม กําหนด - ตั ว อย า งการเลื อ กปุ ย อิ น ทรี ย โ ดยผู ใ ช กํ า หนดเอง ขั้ น ตอนแรกคลิ ก เครื่องหมายถูกในกลองปุยอินทรียชนิดที่ 1 เลือก เพื่อเพิ่มขอมูลปุยหมักจากผักตบชวาผสม มูลสุกร กําหนดคาวิเคราะหปริมาณ N P และ K เทากับ 0.6 % 0.07 % และ 0.13 % ตามลําดับ เมื่อ กรอกรายละเอียดปุยอินทรียแลว จะเปลี่ยนเปน ใหกดเลือกบันทึกขอมูล ขอมูลจะถูก บันทึกลงในโปรแกรม และสามารถเรียกใชไดเมื่อเปดโปรแกรมครั้งตอไป หากตองการลบขอมูล


-38-

คูมือการใชงานโปรแกรม . ใหเลือกชนิดของปุยอินทรียที่ตองการลบ เลือก เพิ่มเติมออกจากโปรแกรม

ระบบจะทําการลบขอมูลปุยอินทรียที่ผูใช

- ผลรวมปริมาณธาตุอาหารที่พืชไดรับจากปุยอินทรียทั้งหมด ในกรณีทํา ใหไดปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ไดรับเทากับ 0.99 กก./ไร 0.36 และ 1.21 กก./ไรสําหรับ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสที่ละลายได ตามลําดับ สามารถเพิ่มเติมปุยอินทรียชนิดที่ 2 ได โดยระบบจะรวมผลรวมปริมาณธาตุอาหารที่พืชไดรับ จากปุยอินทรียที่เพิ่มเติมทั้งหมด 1.3. วัสดุอินทรียอื่น ๆ จําแนกปุยอินทรียออกเปน 3 ประเภท คือ ปุยหมัก ปุยคอก และอื่น ๆ ดังภาพ - ตัวอยางการเลือกวัสดุอินทรียอื่น ๆ ขั้นตอนแรกคลิกเครื่องหมายถูกใน กลองวัสดุอินทรียชนิดที่ 1 เลือกประเภทปุยอินทรีย และเลือกวัสดุอินทรียที่ใช เชน มีการใชปุย หมัก - ผลรวมปริมาณธาตุอาหารที่พืชไดรับจากปุยอินทรียทั้งหมด ในกรณีทํา ใหไดปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ไดรับเทากับ 0.80 กก./ไร 1.53 และ 0.46 กก./ไรสําหรับ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสที่ละลายได ตามลําดับ


-39-

คูมือการใชงานโปรแกรม


-40-

คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 6 คําแนะนําอื่น ๆ 1. ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนํา แสดงคําแนะนําปุยตามคาวิเคราะหดิน ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนํา ที่พืชชนิดนั้น ๆ ตองการ โดยแสดงปริมาณธาตุอาหารที่แนะนําในรูปไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัสที่เปน ประโยชน และโพแทสที่ละลายได จากตารางขางลางนี้แสดงคําแนะนําปุยตามคาวิเคราะหดิน สําหรับ ขาวไมไวตอชวงแสง ในชุดดินสระบุรี ซึ่งไดขอมูลมาจากแบบจําลองการปลูกพืช

2. เปรียบเทียบราคาปุย เลือกเปรียบเทียบราคา จะแสดงหนาตางเปรียบเทียบราคาปุยแตละสูตรที่เลือกใชเพื่อ ผสมใหไดสูตรปุยตามคําแนะนําของโปรแกรม โดยผูใชสามารถเลือกเปรียบเทียบราคาปุยพรอมกัน ได 3 รูปแบบ จากนั้นกรอกราคาปุยตอกระสอบ ( 50 กิโลกรัม) โปรแกรมจะทําการคํานวณ เปรียบเทียบตนทุนของปุยตามรูปแบบการเลือกสูตรปุยโดยอัตโนมัติ


-41-

คูมือการใชงานโปรแกรม

3. วันปลูกที่เหมาะสม แสดงชวงวันปลูกที่เหมาะสมสําหรับพืชชนิดนั้น ๆ


-42-

คูมือการใชงานโปรแกรม 4. ผลผลิตที่คาดคะเน (กิโลกรัม/ไร) แสดงผลผลิตที่คาดคะเนเมือ่ ใชปุยตามคําแนะนํา


-43-

คูมือการใชงานโปรแกรม บทที่ 7 การปรับปรุงดิน การปรับปรุงดิน เปนสวนแสดงคําแนะนําสําหรับการปรุงปรุงสมบัติทางเคมีและฟสิกส ของดินอยางจําเพาะตอพื้นที่ปลูก ใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชปลูก นอกจากนี้ยังแสดง ถึงขอจํากัดการใชประโยชนพื้นที่ปลูก เพื่อพิจารณาใชประโยชนพื้นที่ตามตามสมรรถนะของดิน หรือหาแนวทางปรับปรุงแกไขอยางถูกตองและลดภาวะเสี่ยงจากการขาดทุน

องคประกอบของการปรับปรุงดิน ประกอบดวย 4 สวน ดังนี้ 1. คําแนะนําการจัดการดิน: แสดงรายละเอียดขอแนะนําในการปรับปรุงสมบัติของดิน เพื่อใหเหมาะสมตอพืชปลูกตามสภาพปญหาของพื้นที่อยางจําเพาะ เชน คําแนะนําการจัดการชุดดิน สระบุรี ในพื้นที่ ต.พังตรุ อ.ทามวง จ.กาญจนบุรี ควรปรับปรุงบํารุงดิน โดยการใสปยุ อินทรีย ปุยหมัก และปุย เคมี เพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินใหดีขึ้น


-44-

คูมือการใชงานโปรแกรม 2. ขอจํากัดการใชประโยชน: แสดงรายละเอียดขอจํากัดการใชประโยชนดินสําหรับการ ปลูกพืชโดยทั่วไป กรณีนี้ ยกตัวอยาง ขอจํากัดการใชประโยชนของชุดดินสระบุรี คือ มักมีน้ําทวม ขังในฤดูฝนลึก 50 เซนติเมตร นาน 4-5 เดือน พื้นที่แปลงจึงเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตไม เหมาะสมสําหรับปลูกพืชไรหรือไมผล ดังนั้นเกษตรกรควรเลือกชนิดพืชปลูกใหเหมาะสมตอพื้นที่ เพื่อการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิต

3. ปริมาณความตองการปูน: แสดงรายละเอียดปริมาณความตองการปูนของดิน (เฉพาะดิน กรดพีเอชนอยกวา 5 เทานั้น) เพื่อยกระดับพีเอชของดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช โดย เกษตรกรสามารถเลือกชนิดของปูนที่ตองการใชได 5 ชนิด คือ ปูนขาว ปูนมารล หินปูนบด โดโล ไมต และหินปูนเผา เมื่อเลือก/เปลี่ยนชนิดปูนที่ตองการ โปรแกรมจะคําแนะนําปริมาณปูนที่ตองใช โดยอั ต โนมั ติ กรณี ตั ว อย า งของชุ ด ดิ น สระบุ รี นี้ แสดงคํ า แนะนํ า ปริ ม าณปู น ที่ ต อ งใช เ ป น 0 กก./ไร แสดงวาระดับพีเอชเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชปลูก (มากกวา 5) แลว จึงไม แสดงคา นอกจากนี้โปรแกรมยังมีสวนที่แสดงคําแนะนําอื่นๆ แหลงขอมูลอางอิง และภาพแสดง ความเปนประโยชนหรือเปนพิษของธาตุตางๆ ในระดับพีเอชตางๆ ในหนาตางดานขวาอีกดวย


-45-

คูมือการใชงานโปรแกรม 4. ความตองการปูนแบบ Woodruff: แสดงรายละเอียดสําหรับการคํานวณคาความตองการ ปูนแบบ Woodruff กรณีเลือกใชปูนตางชนิดกัน ประกอบดวยขอมูลพีเอชหลังการเติมสารละลาย Buffer ของ Woodruff ความตองการปูนที่แทจริง และปริมาณปูนตางๆ ที่ โดยแสดงตัวคูณปรับคา ปริมาณปูนชนิดตางๆ จากปูนแคลเซียมคารบอเนต เปนปูนขาว ปูนมารล หินปูนบด และโดโลไมต ในดานลางของหนาตางแสดงผล ดังภาพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.