แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเหล่าโพนค้อ

Page 1

1 คํานํา ตามที่ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดดําเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ ทองถิ่นหรือพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหกับบุคคลในพื้นที่ สงเสริมกระบวนการการมีสวนรวมตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการของประชาชนใน ทองถิ่น และกําหนดใหองคการบริหารสวนตําบลและเทศบาลไดมีสวนในการดําเนินงาน บริหารจัดการ ระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสมรรถภาพที่ จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิตในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ ทั้งนี้ใหเปนไปตามเจตนารมณแหง พรบ. หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 47 การจัดทําแผนสุขภาพถือเปนความสําคัญในการกําหนดทิศทางใหสอดคลองกับปญหาเรงดวนที่ เกิดขึ้นเพื่อการแกไขปญหาในดานสุขภาพในพื้นทีต่ ําบลเหลาโพนคอ ใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายที่ สําคัญ 5 กลุม ไดแก กลุมหญิงมีครรภ กลุมเด็กเล็กตั้งแตแรกเกิดถึงต่ํากวา 6 ป กลุมเด็กโตและเยาวชนอายุ ตั้งแต 6 ป ถึงต่ํากวา 25 ป กลุมผูใหญ คือ อายุตั้งแต 25 ปขึ้นไป และกลุมผูพิการหรือทุพพลภาพ คณะกรรมการกองทุนหลักประกัน สุขภาพตําบลเหลาโพนคอ


2 สารบัญ หนา ขอมูลทั่วไป สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ เขตการปกครอง/ประชากร จํานวนหมูบาน แผนที่ตําบลเหลาโพนคอ จํานวนประชากรแยกตามอายุ/รายหมูบาน โรค 5 อันดับ บทที่ 2 ความเปนมา บัญชีรายรับกองทุน วิสัยทัศนกองทุนหลักประกันสุขภาพ พันธะกิจ จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร/แนวทางการพัฒนา บทที่ 3 ขั้นตอน/กระบวนการสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหบริบท/สถานการณของพื้นที่ ขั้นตอนที่ 2 การกําหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา ขั้นตอนที่ 3 การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรหลัก ขั้นตอนที่ 4 การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 5 การนิยามเปาประสงคของยุทธศาสตรจาก SLM ขั้นตอนที่ 6 การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการยอย ผลการดําเนินงานป 2551 ผลการดําเนินงานป 2552 แผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2554 ภาคผนวก

2 2 2 3 3 4 4 5 8 8 8 9 9 9 9 10 10 10 12 16 19 19 20 21 22 23


3 แผนพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประวัติความเปนมา กอนที่จะมาเปนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ใน ปจจุบัน เริ่มแรกเดิมทียังมีพระธุดงคองคหนึ่ง (ไมปรากฏชื่อ) ในสมัย.............ชาวบานดงกึม แขวงเมือง สุวรรณเขต ประเทศลาว ไดเดินธุดงคไปตามวิสัยสมณะบรรพชิตทั้งในปาและในบาน วันหนึ่งพอไปถึงบึง แหงหนึ่ง (นาบึง) อันมีอาณาเขตติดตอกับบานหนองเหียนอุปหาด (คําวา “อุปหาด” เปนชื่อของผูมาตั้งบาน หนองเหียนเปนคนแรก)...เห็นวาเปนที่อุดมสมบูรณพอที่จะตั้งถิ่นฐานบานเรือนไดพอพระธุดงคองคนั้น กลับถึงบาน...ก็เลาเรื่องตางๆที่ไดไปพบไปเห็นมาใหพี่นองและชาวบานฟงวาไดไปพบเห็นที่อุดมสมบูรณ แหงหนึ่งในเมืองไทย ขาวนีไ้ ดแพรไปถึงบุคคลที่มีชื่อวา อาญาพระพลและอาญาพระประเทพ ทานทั้ง สองไดสอบถามถึงรายละเอียดตางๆ จากพระธุดงครูปนั้น เห็นวาเปนความจริง จึงไดรวบรวมสมัครพรรค พวกซึ่งเปนเผา “ภูไท”ไดประมาณ 8 ครอบครัว นําโดยอาญาพระพลและอาญาพระเทพเปนหัวหนา ขาม ลําน้ําโขงเดินทางรอนแรมมาจนถึงบานหนองเหียนอุปหาดในระยะนั้นไดพากันหยุดอยูที่นั้น เพื่อจะได คนหาทําเลอันเหมาะสมพอที่จะตั้งบานเรือนได แลวก็ไดพบลําน้ําแหงหนึ่ง (หวยทรายในปจจุบัน) ทานทั้ง สองจึงแยกจากกันออกเปน 2 พวก คือพวกของพระยาเทพไดพากันไปตั้งบานเรือนอยูทดี่ อนตากลา ริม หวยทราย ปจจุบันเปนหวยทราย สวนอาญาพระพลนั้นไดพาสมัครพรรคพวกไปตั้งบานเรือนอยูที่ดงหมน ริมหวยทรายตอนบน เปนสายธารอันเดียวกัน เรียกชื่อวา บานอุมไผนาทาม เพราะเดิมอุดมสมบูรณไปดวยปาไผปจจุบันเปนทุง นา แตหมูบานทั้งสองนีไ้ ดรับความลําบากมากเพราะอุทกภัย คือพอฤดูฝนน้ําจะทวมแทบทุกป ทําใหการทํา มาหากิน การอยูอาศัย การสัญจรไปมาลําบากมากจึงไดพรอมกันเลือกที่ทํามาหากินทําเลใหมใหดีและ เหมาะสมกวาเดิม แลวก็ไดพบโนนแหงหนึ่ง มีตนคอมาก เห็นวาเหมาะสมสําหรับจะตั้งบานเรือนได จึง ไดพากันอพยพไปตั้งบานเรือนอยูที่โนนคอนั้น เรียกชื่อบานวา บานโพนคออุมไผ ขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม อาชีพของชาวบานเวลานั้น สวนใหญไดแก การทําไร ตอมามีประชากรเพิ่มมากขึ้นการ ทําไรก็ขยายออกไปเรื่อยๆ จนมีอาณาเขตกวางขวาง และหางไกลออกไปจากบานเดิม เปนเหตุใหลําบาก ในการดูแลรักษาพืชไรของตน เมื่อเปนดังนี้ ตางคนก็ตางพากันไปปลูกบานเรือนอยูตามไร ตามสวนของ ตนเอง ซึ่งยังเปนปาเปนดงอยูจึงกลายเปนหมูบานเล็กๆ ขึ้นหมูบานหนึ่ง เรียกวา บานเหลา เพราะสถาน ที่ตั้งบานเรือน ยังเปนเหลาเปนดงอยูนั่นเอง เมื่อกาลตอมาจึงไดเอาชื่อบานทั้งสองนี้รวมเขากัน เรียกวา บานเหลาโพนคอ หรือตําบลเหลาโพนคอในปจจุบัน เมื่อบานมีความเจริญ สมควรจะมีวัดเพื่อจะ ไดบําเพ็ญกุศลทางพุทธศาสนาจึงไดพรอมใจกันสรางวัดขึ้น มีเจาอธิการโสม เปนผูริเริ่มพรอมกับชาวบาน ใหชื่อวา วัดโพนคอ จึงนับไดวา อาญาพระพลและอาญาพระเทพ ทั้งสองทานนี้เปนคนสําคัญและเปนสอง คนแรกที่มาตั้งบานโพนคอ อาญาพระพล ภรรยาไมปรากฏชื่อ มีลูกดวยกัน 6 คนเปนชาย 3 คนคือ 1.นายนาม 2.นายโนรา


4 3.นายทะ เปนหญิง 3 คน 1.นางวันทา 2.นางแกนตา 3.นางเลื้อม อาญาพระเทพ ภรรยาไมปรากฏชื่อ มีลูกดวยกัน 4 คน เปนชาย 2 คนคือ 1.นายคําดี 2.นายคําฝน เปนหญิง 2 คน 1.นางแขว 2.นางคําไพร ตอมาเมื่อบานเมืองมีความเจริญรุงเรื่อง ทางราชการกําหนดใหตั้งชื่อสกุล (สมัยรัชกาลที่ 6 ประมาณป........) จึงไดเอาชื่อบิดาและบุตร รวมกันเปนชื่อสกุล เปน พลราชา บาง เทพคําดี บาง ตอมา ไดเปลี่ยนจาก พลราชา เปน พลราชม เปลี่ยนจาก เทพคําดี เปน ทนคําดี ตอมาคุณครูคัมภีร ไดเปลี่ยน จาก ทนคําดี เปน ธนะคําดี เปนอันวา คุณครูคัมภีร ธนะคําดี เปนตนสกุลของธนะคําดี องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ยกฐานะจากสภาตําบล เปนองคการบริหารสวนตําบล เมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ 2540 จนถึงปจจุบัน ขอมูลทั่วไป องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปน อบต.เล็กๆ ที่ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรี สุพรรณ มีระยะทางหางจากอําเภอฯ ประมาณ 10 กิโลเมตร หางจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 30 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร เปนพื้นที่ทําการเกษตร 9,787 ไร มีอาง เก็บน้ําขนาดใหญ 2 แหง คือ อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง และอางเก็บน้ําหวยนอย มีลําหวยสายหลักที่ สําคัญที่ใชเพื่อการเกษตร อยู 2 สาย คือลําหวยยางและลําหวยทราย โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ จดพื้นที่ตําบลแมดนาทม อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต จดเทือกเขาภูพาน อ. เตางอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ. มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพื้นที่ตําบลตองโขบ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สภาพภูมิประเทศ ภูมิประเทศโดยทั่วไปพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบสลับดอน บริเวณที่ราบจะทําการเพาะปลูกพืชและ เลี้ยงสัตว มีพื้นที่บางสวน(หวยยาง หมูที่ 6 และหวยยางเหนือ หมูที่ 9)ติดกับเทือกเขาภูพาน สภาพปาไม เปนปาโปรง มีไมเบญจพรรณเหมาะสําหรับการหาของปา สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มี 3 ฤดู ฤดูรอ น เริ่มตั้งแตเดือนมีน าคม - เดือนพฤษภาคมของทุก ป ซึ่งอากาศจะรอนมากในเดือ น เมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคมของทุกป ฝนจะตกชุกในชวงเดือน กรกฎาคม -สิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ อากาศจะหนาวจัดในชวงเดือนธันวาคม – เดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 37 องศาเซลเซียส


5 เขตการปกครอง / ประชากร ประกอบดวย 11 หมูบาน อยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอทั้งหมด และมีจํานวน ประชากร รวมทั้งหมด 5,809 คน เปนชาย 2,892 คน หญิง 2,917 คน จํานวน ครัวเรือน 1,325 หลังคา เรือน (ขอมูล ณ เดือน กันยายน 2552) จํานวนหมูบาน มีจํานวนหมูบานและประชากร ดังนี้ หมูที่ ชื่อหมูบาน จํานวน จํานวน ชาย หญิง ครัวเรือน ประชากร 1 โพนคอ 168 767 375 392 2 โพนไฮ 55 263 136 127 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ดง หนองเหียน เหลา หวยยาง เหลาเหนือ ดงนอย หวยยางเหนือ โพนสูง นอยหนองไผสวน รวม

83 144 130 185 79 121 159 166 35 1,325

289 675 545 897 414 342 804 649 164 5,809

155 324 257 456 196 164 419 325 85 2,892

หมายเหตุ ขอมูลอางอิง จากสํานักทะเบียนอําเภอโคกศรีสุพรรณ 30 ตุลาคม 2552 แผนที่แสดงถึงขอบเขตตําบลเหลาโพนคอ

134 351 288 441 218 178 388 324 79 2,917


6 แผนที่ตําบลเหลาโพนคอ

ขอมูลประชากรแยกชวงชั้นอายุ/รายหมูบาน เปาหมาย นอยกวา 1 ป 1 ปเต็ม – 2ป 3 ปเต็ม-5ป 6 ปเต็ม 11 ป 12 ปเต็ม-14 ป 15 ปเต็ม – 17 ป 18 ปเต็ม-25 ป 26 ปเต็ม-49 ป 50 ปเต็ม-60 ปเต็ม มากกวา 60 ปเต็ม ขึ้นไป รวม

หมูที่ 1 6 9 24 47 32 19 45 204 99 104

หมูที่ 2 1 2 17 18 12 8 23 80 22 28

589

211

หมูที่ 3 หมูที่ 4 หมูที่ 5 1 7 1 6 11 6 8 23 16 14 48 25 14 34 15 11 16 13 18 34 17 93 149 118 40 69 73 35 81 41 240

472

325

หมูที่ 6 หมูที่ 7 หมูที่ 8 หมูที่ 9 2 2 1 6 20 11 4 19 23 18 11 19 48 38 21 52 40 15 17 34 46 15 11 29 81 36 24 56 272 116 101 190 97 48 35 72 83 51 43 62 712

350

หมายเหตุ ขอมูลอางอิงจากประชากรที่อาศัยอยูจริงจากการสํารวจ จปฐ. ป 2552

268

539

หมูที่ 10 หมูที่ 11 1 2 9 4 20 7 41 17 35 10 25 8 42 22 167 72 82 16 77 10 499

168


7 โรค 5 อันดับของแตละหมูบาน หมูบาน: โพนคอ ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 DM ( เบาหวาน ) 130 2 common cold ( ไขหวัด ) 94 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 92 4 M00 - M99 ( 13:โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม..........Diseases of the musculoskeletal 66 system and connective tissue ) 5 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 63 หมูบาน: โพนไฮ ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 44 2 common cold ( ไขหวัด ) 40 3 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 34 4 rash ( ผื่นคัน ) 24 5 M00 - M99 ( 13:โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม..........Diseases of the musculoskeletal 21 system and connective tissue ) หมูบาน: ดง ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 50 2 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 39 3 L00 - L99 ( 12:โรคผิวหนังและเนื้อเยื้อใตผิวหนัง.....Diseases of the skin and subcutaneous tissue ) 29 4 DM ( เบาหวาน ) 22 5 common cold ( ไขหวัด ) 22 หมูบาน: หนองเหียน ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 23


8 2 common cold ( ไขหวัด ) 19 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 17 4 rash ( ผื่นคัน ) 16 5 L00 - L99 (โรคผิวหนังและเนื้อเยื้อใตผิวหนัง..Diseases of the skin and subcutaneous tissue )12 หมูบาน: เหลา ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 L00 - L99 (โรคผิวหนังและเนื้อเยื้อใตผิวหนัง.....Diseases of the skin and subcutaneous tissue ) 179 2 common cold ( ไขหวัด ) 58 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 52 4 rash ( ผื่นคัน ) 52 5 muscle strain ( ปวดกลามเนื้อ ) 37 หมูบาน: หวยยาง ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 DM ( เบาหวาน ) 56 2 common cold ( ไขหวัด ) 38 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 36 4 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 34 5 rash ( ผื่นคัน ) 27 หมูบาน: เหลาเหนือ ชื่อโรค: 1 common cold ( ไขหวัด ) 2 DM ( เบาหวาน ) 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 4 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 5 rash ( ผื่นคัน )

จํานวนครั้ง: 44 44 44 35


9

หมูบาน: ดงนอย ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 26 2 M00 - M99 ( 13:โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม..........Diseases of the musculoskeletal 23 system and connective tissue ) 3 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 17 4 common cold ( ไขหวัด ) 17 5 muscle strain ( ปวดกลามเนื้อ ) 16 หมูบาน: หวยยางเหนือ ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 31 2 common cold ( ไขหวัด ) 25 3 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 25 4 rash ( ผื่นคัน ) 24 5 L00 - L99 (โรคผิวหนังและเนื้อเยื้อใตผิวหนัง.....Diseases of the skin and subcutaneous tissue ) 20 หมูบาน: โพนสูง ชื่อโรค: จํานวนครั้ง: 1 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 46 2 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 42 3 M00 - M99 ( 13:โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม..........Diseases of the musculoskeletal 36 system and connective tissue ) 4 common cold ( ไขหวัด ) 34 5 hypertension ( ความดันโลหิตสูง ) 32


10 หมูบาน: นอยหนองไผสวน ชื่อโรค: 1 J00 - J99 ( 10:โรคระบบหายใจ.......Diseases of the respiratory system ) 2 common cold ( ไขหวัด ) 3 pu, peptic ulcer ( กระเพาะอาหารเปนแผล ) 4 rash ( ผื่นคัน ) 5 cough ( ไอ(ไมมีเลือดออก) )

จํานวนครั้ง: 17 16 15 4 3

บทที่ 2 กองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ ............................................................................. ความเปนมา เริ่มสมัครจัดตั้งในชวงที่ นายอนุสรณ พลราชม ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ โดย สมัครจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพ เมื่อวันที่ 6 กรกฏาคม 2551 บัญชีรายรับของกองทุน ฯ บัญชีเงินฝากประเภท ออมทรัพย ธนาคารเพื่อการการเกษตรและสหกรณการเกษตร สาขา โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร หนวยงานที่สมทบ / ผูสมทบ 1 สนง.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ 2 องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 3 เงินบริจาค

รายรับ : บาท ป 2551 ป 2554 206,250.00 191,760 106,000.00 70,000 -


11 วิสัยทัศนกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ ภายในป 2556 ประชาชนตําบลเหลาโพนคอจะมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง ประชาชนทุก กลุมเปาหมายเขาถึงบริการหลักประกันสุขภาพ ดวยการบริหารการจัดการอยางเทาเทียม พันธกิจ 1. ประชาสัมพันธกองทุนหลักประกันสุขภาพใหทั่วถึง 2. สงเสริมใหกลุมเปาหมายเขาถึงการบริการอยางเทาเทียมกัน 3. สงเสริมใหมีการจัดการดานสุขภาพและอนามัยชุมชน จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา 1. เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง 2. เพื่อใหประชาชนทุกกลุมเปาหมายเขาถึงการใหบริการของกองทุน 3. เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพอนามัย สมบูรณดี ปราศจากโรคภัยทั้งตําบล 4. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพตําบล ประเด็นยุทธศาสตร ที่คาดวาสามารถสรางความแข็งแกรงและแกไขปญหาดานสุขภาพใหแกชุมชน 1. การประชาสัมพันธ 2. การพัฒนาดานสุขภาพและอนามัยชุมชน 3. การมีสวนรวมในการพัฒนากองทุน ยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตรที่ 1 การประชาสัมพันธ แนวทางการพัฒนา - จัดทําปายประชาสัมพันธกองทุนหลักประกันสุขภาพตามถนนสายหลัก - ประชาสัมพันธผานหอกระจายขาวหมูบาน - จัดตั้งศูนยประสานงานกองทุนระดับตําบล ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาดานสุขภาพประชาชนและอนามัยชุมชน แนวทางการพัฒนา - ดําเนินโครงการดานสุขภาพทุกกลุมเปาหมาย - ดําเนินโครงการดานสุขภาพระดับชุมชน


12 ยุทธศาสตรที่ 3 การมีสวนรวมในการพัฒนากองทุน แนวทางการพัฒนา - จัดทําประชาคมเพื่อรับทราบปญหาดานสุขภาพ - จัดตั้งคณะกรรมการกองทุนที่มาจากตัวแทนกลุมเปาหมายตางๆ อยางทั่วถึง - สรางเครือขายรวมกับหนวยงานในพื้นที่และกลุมเปาหมายในพื้นที่

บทที่ 3 การสรางและใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (Strategic Route Map) เพื่อการสรางเสริมสุขภาพในกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ .............................................................................

ขั้นตอน / กระบวนการสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหบริบท / สถานการณของพื้นที่ การวิเคราะหสถานการณ (Situation Analysis) เปนขั้นตอนเริ่มตนของการสรางและใชแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตรเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญมากจะเรียกวาสําคัญที่สุดก็วาได เนื่องจากเปนการระดมความคิดเห็น ใหไดมาซึ่งขอมูลหรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ และ บริบทแวดลอมของพื้นที่ตําบลชองลม เพื่อ นําไปใชในการสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรในขั้นตอนตอไป “หากวิเคราะหรอบดาน และ ไดขอมูลที่ลึก เพียงใดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรก็จะตอบสนองความตองการกับพื้นที่มากเทานั้น” ในการวิเคราะหสถานการณ (Situation Analysis) วิทยากรไดแบงกลุมเปาหมายที่เขารวมประชุม ออกเปน 3 กลุม โดยในแตละกลุมจะมีบุคคลแตละกลุมรวมอยูดว ยในจํานวนที่ใ กลเคียงกัน รวมกัน วิเคราะหสถานการณตําบลหนองสรวง โดยใชภาพแผนที่ความคิด (Mind Map) เริ่มตนดวยการเขียนคํา สั้น ๆ (Key Words) วา “วิเคราะหสถานการณตําบลเหลาโพนคอ” ไวตรงกลางแลวแบงระดับ หรือ มุมมองเปน 4 กิ่งใหญ หรือ 4 มุมมอง ประกอบดวย กิ่งที่ 1 ประชาชน หรือ มุมมองเชิงคุณคา (Valuation Perspective) จะใชประเด็น คําถาม 3 ขอ ดังนี้  สภาพปญหาของตําบลเหลาโพนคอตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันอยางไร? มีอะไรดีบาง? มีอะไรเปนปญหาบาง ? ประชาชนในตําบลเหลาโพนคอมีพฤติกรรมอยางไร ?


13  ความตองการเห็นอะไรเกิดขึ้นในตําบลเหลาโพนคอภายในระยะเวลา 3 – 5 ป ขางหนา  ประชาชนหรือกลุมเปาหมายที่ตั้งไวตองทําอะไรบาง ? กิ่งที่ 2 ภาคี หรือ ผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Perspective) ภาคีเครือขาย คือ กลุม องคก ร หรือ เพื่อน ที่ทํางานรว มกับกองทุนหลัก ประกัน สุข ภาพฯ หรือ กองทุน หลัก ประกันสุขภาพ ฯ จะตองทํางานรวมกับใครบาง ? และกองทุนตองการใหภาคีเครือขายแสดงบทบาทอยางไร ? โดยพิจารณา จากจุดออน (Weaknesses) จุดแข็ง (Strengths) ของแตละภาคีเครือขายมาใชในการกําหนดบทบาทที่พึง ประสงคหรือสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตอีก 3- 5 ป ขางหนา จะใชประเด็นคําถาม 2 ขอ ดังนี้  ภาคีที่จะมาชวยเราทํางานไดจริง ๆ มีใครบาง ?  สิ่งที่อยากเห็นหรืออยากใหภาคีแตละภาคสวนแสดงบทบาทอะไรบาง ? กิ่งที่ 3 รากฐาน หรื อ มุ ม มองการเรี ย นรู แ ละพั ฒ นา (Learning and Development Perspective) เปน การวิเคราะหวาการทํางานของกองทุน ฯ คณะกรรมการกองทุนเปนอยางไร? มี ความรู มีคุณธรรม มีความเพียรพยายาม มีความรัก มีความสามัคคีอยางไร ? วัฒนธรรมของชุมชนมีวิถี ชีวิตอยางไร ? ความมุงหวังที่ตองการใหกองทุนเปนแบบไหนอยางไรในอนาคต 3 ปขางหนา หากจะ ทําใหเขมแข็งไดตองอาศัยอะไรเปนรากฐานบาง ? และกองทุนมีขอมูลที่จําเปนในการทํางานเปนอยางไร? จะไดขอมูลมาจากไหนและนําไปใชประโยชนไดอยางไร ? จะใชประเด็นคําถาม 4 ขอ ดังนี้  ศักยภาพของคน , กองทุน ฯ มีความพรอมเปนอยางไร? มีจุดแข็ง จุดออน สวน ขาดอะไรบาง? มีความรูและทักษะการทํางานอยางไร ?  ขอมูลที่ใชในการทํางาน ยังขาดอะไรบาง ?  วัฒ นธรรมและบรรยากาศในการทํางานของกองทุน ฯ หรือคณะกรรมการ ฯ ทีมงานเปนอยางไร ?  ทุนอื่น ๆ เชน องคความรู ทรัพยากรตางๆ ที่มีความจําเปน ในการทํางานเปน อยางไร ? กิ่งที่ 4

กระบวนการหรือมุมมองเชิงการบริการจัดการ (Management Perspective) กองทุนมีวิธีการทํางานหรือบริหารจัดการอยางไรที่จะไปใหถึงเปาหมาย เชน การ สื่อสารของชุมชน , องคกร ,การจัดทําแผนของชุมชน ,การจัดระบบงบประมาณหรือทรัพยากรในชุมชน , การจัดการความสัมพันธระหวางกลุมองคกรตาง ๆ , การจัดการเกี่ยวกับความรู ภูมิปญญาของทองถิ่น ที่ จะทําใหเกิดขึ้นในอนาคตอีก 3 ปคืออะไรบาง ? จะใชประเด็นคําถามวา มีวิธีการทํางานหรือกระบวนการ สําคัญอะไรบางที่จะไปทํางานรวมกับภาคีตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อเปนเสริมสรางศักยภาพ ความเขมแข็ง


14 ใหกับกองทุนและกองทุน จะสงเสริมหรือสนับสนุนใหภาคีสามารถแสดงบทบาทตามที่กองทุนคาดหวัง ไดอยางไร ? ซึ่งอาจเปนวิธีที่ทํางานที่ยังไมเคยทําหรืออาจจะคิดใหมใหเกิดนวัตกรรมการทํางานใหม ๆ และเมื่อวิทยากรไดนําผลการวิเคราะหสถานการณทั้ง 3 กลุมยอยมาเขียนรวมกันโดยใช Program Maindmanager ขั้นตอนที่ 2 การกําหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา (Destination Statement) ผูเขารวมประชุมรวมกันกําหนดจุดหมายปลายทางของกองทุนในระดับ/มุมมองทั้ง 4 ระดับ / มุมมอง ไดแก ระดับประชาชน (Valuation Perspective) , ระดับภาคี (Stakeholder Perspective) , ระดับ กระบวนการ (Management Perspective) และระดับรากฐาน (Learning and Development Perspective) วาภายใน 3 ปขางหนากองทุนจะไปทางไหน ? มีเปาหมายอยางไร? โดยประเมินสถานการณ ในขั้นตอนที่ 1 นํามาปรับขอความที่เหมือนกัน สอดคลองกันรวมเปนประเด็นเดียวกัน วิทยากรใหแตละ กลุมนํากระดาษปรุฟ (Proof Paper) มาแบงเปน 4 สวน / ชอง โดยแตละสวน / ชอง เขียนหัวขอไว 4 หัวขอ คือ ประชาชน , ภาคีเครือขาย , กระบวนการ และรากฐาน และนําขอความจากแผนที่ความคิด (Mind Map) ในขั้นตอนที่ 1 มาเขียนลงในแตละชอง จากการวิเคราะหสถานการณ / บริบทในขั้นตอนที่ 1 ของแตละกลุม ยอย นํามาเขียนในผังจุดหมาย ปลายทางตําบลเหลาโพนคอพรอมภาพได ดังตอไปนี้ ผังจุดหมายปลายทางตําบลเหลาโพนคอป 2553 - 2555 กลุมที่ 1 ประชาชน กระบวนการ  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่  มีการวางแผนอยางมีสวนรวม ถูกตอง  ประชาสัมพันธ และการสื่อสารดานสุขภาพ  ลดการใชสารเคมี เปลี่ยนมาใชปุยชีวภาพ ที่ดี  หมูบานมีที่ทิ้งขยะ  มีการระดมทุน  มีการเฝาระวังยาเสพติด (ยาบา / สุรา /  มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู บุหรี)่  สรางแรงจูงใจ  มีชมรมการออกกําลังกายและกิจกรรม  ติดตามประเมินผล ตอเนื่องทุกหมูบาน  มีการประสานงานกับหลายหนวยงานและ  มีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี เชื่อมโยงกับเครือขาย ภาคี รากฐาน  อบต. / อบจ. สนับสนุนเรื่องงบประมาณ  บุคลากรมีศักยภาพ มีพฤติกรรม  เกษตร ใหความรู สนับสนุนเรื่องพันธุพืช เปนแบบอยาง


15 พันธุสัตว  สาธารณสุข / อสม. ใหความรูดานสุขภาพ และเฝาระวัง  ครู ใหความรูกับเด็กและเยาวชน  วัด สงเสริมดานคุณธรรม  ผูนําชุมชน ประสานงาน / ประชาสัมพันธ

 มีระบบฐานขอมูลถูกตองเปนปจจุบัน  มีกําลังใจ / ความสุขในการทํางาน  มีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ ทองถิ่นที่ดีเปนระบบ

ผังจุดหมายปลายทางตําบลเหลาโพนคอ ป 2553 - 2555 กลุมที่ 2 ประชาชน กระบวนการ  ประชาชนมีสุขภาพที่ดี  มีการประชาสัมพันธ และมีระบบ การประสานงานที่ดีในเรื่องขาวสาร / ขอมูล  มีศูนยฝกอาชีพเสริม  มีการประสานงานที่ดีกับหนวยงานที่เกี่ยวของ  ลดการใชสารพิษ / สารเคมี  ประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในการคิด / การ  มีแผนงาน / โครงการ / งบประมาณจาก การมีสวนรวมของชุมชน ทํางาน ตาง ๆ  สรางแรงจูงใจ  มีการดําเนินชีวิตตามระบบเศรษฐกิจพอเพียง  มีการติดตาม / ประเมินผล ภาคี รากฐาน  อบต. / อบจ. / กองทุนตาง ๆ / พมจ.อน.  บุคลากร (คณะกรรมการกองทุนฯ)มีความรู สนับสนุนงบประมาณ ความเขาใจและเปนแบบอยางที่ดี  องคกรเครือขายชุมชน (กํานัน , ผญบ. /  ขอมูล= มีขอมูลที่เปนระบบ /ชัดเจน/ถูกตอง วัด / อปพร.สวนรวมในชุมชนเปนแบบอยาง  ทํางานอยางมีระบบแบบแผน ในการสรางสุขภาพ  บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (โปรงใส  หนวยงานภาครัฐ / เกษตร / ศพด. / หมอ , ตรวจสอบได , มีคุณธรรม , จริยธรรม , โรงเรียน / อสม. / รวมกระบวนการสนับสนุน ประชาชนมีสวนรวม , ประเมินผลได ฯลฯ) วิชาการ / งบประมาณ  ปลูกจิตสํานึกที่ดีใหกับชุมชน


16 ผังจุดหมายปลายทางตําบลเหลาโพนคอ ป 2553 - 2555 กลุมที่ 3

• • • • • • • • • • • •

• •

ประชาชน พฤติกรรมการบริโภคอยางถูกตอง ลดการใชสารเคมีทางการเกษตร มีการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง มีการดูแลสุขภาพตัวเองได ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา / อบายมุข มีการกําจัดขยะอยางถูกวิธี มีครอบครัวอบอุน ปลอดยาเสพติด มีสุขภาพจิตดี ภาคี จัดกิจกรรมปฏิบัติธรรม / เขาคายเยาวชน สาธารณสุขใหความรูดานสุขภาพ/ สงเสริม ดูแลสุขภาพประชาชน อสม.สํารวจขอมูลดานสุขภาพ , เฝาระวัง / ควบคุมโรคในชุมชุน , แนะนําใหความรู ดานสุขภาพ , เปนผูนําดาน สุขภาพ ครู / โรงเรียน / ศพด. ปลูกฝงพฤติกรรม การบริโภค , ดูแลสุขภาพเด็ก , เฝาระวัง ปญหายาเสพติด ประชาสัมพันธขอมูลดานสุขภาพ , เฝาระวัง ปญหาดานอบายมุขในหมูบาน อบต.สนับสนุน / จัดกิจกรรมดานการสงเสริม / ปองกันโรค

      

กระบวนการ มีแผนงาน / โครงการ / ชัดเจน มีการจัดเวทีประชาคมหมูบาน/ ตําบล มีการอบรมใหความรูดานสุขภาพ มีระบบการประสานงานชัดเจน มีศูนยการประชาสัมพันธแตละหมูบาน สรางเครือขายสุขภาพ มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงาน

รากฐาน • คณะกรรมการกองทุน มีการทํางานโดยยึด หลักธรรมมาภิบาล , มีจิตอาสา , ปฏิบัติตาม ระเบียบขอบังคับ มีภาวะผูนํา • ฐานขอมูลดานสุขภาพ , มีฐานขอมูลที่เปน ปจจุบันและถูกตอง • ทีมงานเขมแข็ง มีกิจกรรม OD (กิจกรรม ละลายพฤติกรรมเพื่อสรางความสามัคคี) , สรางขวัญและกําลังใจ(คาตอบแทน)

เมื่อ วิทยากรนําผังจุดหมายปลายทางตําบลเหลาโพนคอทั้ง 3 กลุมยอยมารวมเปน ผังจุด หมาย ปลายทางตําบลเหลาโพนคอ ป 2553-2555 จะปรากฏดังภาพดานลางนี้แลว นําเสนอนายกองคการบริหาร สว นตําบลเหลาโพนคอ เพื่อใหความเห็นชอบอนุมัติและประกาศเปนพัน ธะสัญญาตอประชาชนที่จ ะ ปฏิบัติงานรว มกันใหเกิด จุดหมายปลายทาง ซึ่งนายกองคก ารบริหารสวนตําบลไดพิจ ารณาใหค วาม เห็นชอบอนุมัติและลงนามประกาศใชผังจุดหมายปลายทางกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่น


17 หรือพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ป 2553 – 2555 ใหแกประชาชนทั่วไปทราบเพื่อเปน พันธะสัญญาที่จ ะทํางานรวมกันกับประชาชนและภาคีเครือขายตาง ๆ ในการบริก ารจัดการดานสุขภาพ ภายในระยะเวลา 3 ป (พ.ศ. 2553 -2555) เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552 ผังจุดหมายปลายทางกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ ตําบลเหลาโพนคอป 2553 – 2555

• • • • • • • • • • •

ประชาชน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกตอง มีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ด(ี ตอซัง/ขยะ/ลด การใชสารเคมี) ลดการเสพยาเสพติด(เหลา/บุหรี/่ ยาบา) มีวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีสวนรวมคิดแผนงาน/โครงการ มีสุขภาพจิตดี ภาคี / เครือขาย เทศบาล./อบจ.สนับสนุนงบประมาณ ภาครัฐสนับสนุนวิชาการ(เกษตรอําเภอ หมออนามัย พัฒนากร) ครู/ผูนําศาสนาปลูกฝงพฤติกรรมเด็ก/ เยาวชน อสม./ผูนําชุมชนชวยประสานงานและ ประชาสัมพันธ/และทําตัวเปนตัวอยาง กองทุนตางๆในหมูบานสนับสนุน งบประมาณ

• • • •

• • • •

กระบวนการ มีการประชาสัมพันธที่ดี มีแผนงานแบบมีสวนรวม มีการสรางแรงจูงใจ มีการประเมินผลที่ดี

รากฐาน คณะกรรมการมีความรูและทักษะในการ ทํางาน และทําตัวเปนตัวอยาง คณะกรรมการมีขวัญและกําลังใจในการ ทํางาน มีระบบฐานขอมูลที่ถูกตองเปนจริง ทํางานตามหลักธรรมาภิบาลโปรงใส ตรวจสอบได และทํางานอยางมีความสุข

(ลงชื่อ) สิทธิชัย ธนะคําดี (นายสิทธิชัย ธนะคําดี) นายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ


18

ขั้นตอนที่ 3 การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับหลัก เมื่อ นายสิทธิชัย ธนะคําดี ประธานกรรมการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ ได พิจารณาใหความเห็นชอบอนุมัติและลงนามประกาศใชผังจุดหมายปลายทางกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตําบล เหลาโพนคอ ป 2553 – 2555 เปนกรอบในการบริหารจัดการดานสุขภาพใหแกประชาชนทั่วไปทราบเพื่อเปนพันธะ สัญญาที่จะทํางานรวมกันกับประชาชนและภาคีตาง ๆ ใหแกประชาชนทั่วไปทราบ เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552 นั่น หมายความวา หากใครตองการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุน ฯ ไปดําเนินการแกไขปญหาดานสุขภาพจะตอง จัดทํ าโครงการใหอยู ภายในกรอบ และแนวทางที่กองทุ นและภาคีกําหนดไว หากไมอยู ในกรอบของผัง จุดหมาย ปลายทางคณะกรรมการกองทุนจะไมพิจารณาสนับสนุนงบประมาณให ในขั้นตอนที่ 3 นี้ผูเขารวมประชุมจะตองนําขอมูลที่อยูในผังจุดหมายปลายทางในขั้นตอนที่ 2 มา กําหนดเปาประสงคหรือกลยุทธของยุทธศาสตร (Strategic Objective)หรือสิ่งที่กองทุนตองการใหเกิดขึ้นมาในอนาคต ซึ่งในขั้นตอนนี้วิทยากรจะแบงผูเขารวมประชุมตามระดับ / มุมมอง ออกเปน 4 กลุม เชน ระดับภาคีเครือขายจะ ประกอบไปดวย หัวหนาสถานีอนามัย , ครู , องคกรภาคประชาสังคม, ผูชวยครูผูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย รวมกันระดมความคิดวาเปาประสงคหรือจุดหมายปลายทางที่รวมกันกําหนดไวขั้นตอนที่ 1 และ 2 ระดับภาคี เครือขายมีวิธีการที่จะทําหรือกลยุทธ (Strategic) อยางไรที่จะทําใหจุดหมายปลายทางที่กําหนดไวเกิดขึ้นจริงได ซึ่ง แตละกลุมเมื่อระดมความคิดหาวิธีการที่จะทําหรือกลยุทธ (Strategic) ไดดังนี้

ประชาชน 1. มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกตอง -สงเสริมใหประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกตอง -สนับสนุนใหประชาชนมีการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง 2. มีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี (ตอซัง / ขยะ /ลดการใชสารเคมี) -สงเสริมใหประชาชนใชสารชีวภาพ 3. ลดการเสพยาเสพติด (เหลา / บุหรี่ / ยาบา) -รณรงคใหประชาชนลด ละ เลิก บุหรี่ / สุรา / ปลอดยาบา -สรางมาตรการดานยาเสพติดในหมูบาน 4. มีวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง -สงเสริมการปลูกผักกินเอง -สงเสริมใหประชาชนทําไรนาสวนผสม -สงเสริมการผลิตปุยชีวภาพในเกษตรกร 5. มีโครงการเปนของตนเอง -สรางการมีสวนรวมของประชาชน -พัฒนาศักยภาพประชาชน ในดานการจัดทําแผนงานโครงการ -จัดเวทีประชาคม 6. มีสุขภาพจิตดี -สงเสริมใหวัดจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรม -สงเสริมประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่น - สรางเครือขายการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน


19

ภาคี / เครือขาย 1. อบต. / อบจ. สนับสนุนงบประมาณ -พั ฒนาแผนงานโครงการใหสอดคลองกั บความตองการของประชาชน -ผลั กดั นแผนงานโครงการเขาสูขอบั ญญั ติงบประมาณ 2. ภาครั ฐสนับสนุนโครงการ -สรางระบบประสานความรวมมือที่ดีก ั บภาครั ฐ -จั ดสวั สดิ การใหภาครั ฐ 3. ครู / ผู นําศาสนาปลูกฝังพฤติ กรรมเด็ก / เยาวชน -ประสานงานกับครู ผู นําศาสนา -พั ฒนาศั กยภาพครูในเรื่องของสุขภาพอนามั ย -สนับสนุนการสอนเรื่องสุขภาพ 4. อสม. / ผู นําชุมชน ชวยประสานงานและประชาสั มพั นธ/ ทํ าตั วเป็ นตั วอยาง -สรางระบบประสานความรวมมือที่ดีก ั บภาครั ฐ -จั ดสวั สดิ การใหภาครั ฐ 5. กองทุนตาง ๆ ในหมูบานสนับสนุนงบประมาณ -จั ดทํ าหนังสือขอความสนับสนุนงบประมาณใหก ั บคณะกรรมการ -เสนอแผนงาน / โครงการ เพื่อขอรั บการสนับสนุน

กระบวนการ มีการประชาสั มพั นธที่ดี มีการออกเสี ยงตามสาย ทํ าเอกสาร / แผนพั บ จั ดเวที แลกเปลี่ยน ประชุมประจํ าเดือน

การสรางแรงจูงใจ  มีการมอบรางวั ล (เงิ น , สิ่ งของ) ,โล , เกียรติ บ ั ตร ฯลฯ ให แตละหน วยงานที่ รวมดําเนิ นการ  มีการแตงตั ้ งใหเป็ นคณะกรรมการ กองทุน

มีแผนงานแบบมีสวนรวม มีการประสานงานที่ดี จั ดเวที ประชาคม

การประเมิ นผลที่ดี  ให ประชาชนมีสวนรวมในการ ประเมิ นผล โดยใชแบบสอบถาม และความพึงพอใจ  ใชเวทีประชุมตรวจสอบ ของ หมูบานแตละเดือน  แตงตั ้ งคณะกรรมการประเมิ นผล


20

รากฐาน 1. คณะกรรมการมีความรูและทักษะในการทํ างานและทํ าตั วเป็ นตั วอยาง 1.1 กําหนดทิ ศทางการทํางานรวมกัน 1.2 พัฒนาศั กยภาพคณะกรรมการ 1.3 สรางที่ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน 1.4 สนับสนุนใหคณะกรรมการลงทํางานในพื้นที่

2. คณะกรรมการมีขวั ญและกํ าลั งใจในการทํ างาน 2.1 2.2 2.3

จั ดสวั สดิ การแกคณะกรรมการ สรางขวั ญและกําลั งใจในการทํางาน พั ฒนาระบบการทํางานเป็ นทีม

3. มีระบบฐานขอมูลที่ถ ู กตองเป็ นจริ ง 3.1 3.2

สรางระบบการจั ดเก็บขอมูลที่ดี จั ดหาเทคโนโลยีที่ท ันสมั ย

4. ทํางานตามหลั กธรรมาภิ บาล (Goodgovernanc) 4.1 4.2 4.3 4.4

สรางจิ ตสํานึ กในการทํางานรวม พั ฒนาระบบตรวจสอบที่โปรงใส สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการทํ างานของกองทุน ประเมิ นความพึงพอใจการทํางานของคณะกรรมการ

ภายหลังจากที่กลุม กําหนดวิธีการที่จะทําหรือกลยุทธ (Strategic) วาจะทําอยางไร ?ใหไปสู จุดหมายปลายทางที่ตั้งไวในแตละระดับ / มุมมอง (ประชาชน , ภาคีเครือขาย , กระบวนการ และรากฐาน) ไดแลว จึงดําเนินการดังนี้ 1. วิทยากรจะนํากระดาษปรุฟ (Proof Paper) มาแบงพื้นที่กระดาษปรุฟ (Proof Paper) ทั้งหมดตามแนวนอน ออกเปน 4 สวน ตามระดับ / มุมมอง โดยเริ่มจากบนสุดลงลางสุดเรียงตามระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประชาชน 1.2 ระดับภาคี 1.3 ระดับกระบวนการ 1.4 ระดับรากฐาน ดังภาพหนาถัดไป 2. ตอจากนั้น วิทยากรใหแตละกลุมนํากระดาษ A 4 มาแบงเปน 2 สวนเขียนขอความ เปนที่เขียนไวเปนกลองในผังจุดหมายปลายทางที่นายกเทศมนตรีตําบลชองลม อนุมัติและลงนามแลว มา เขียนเปนเปาประสงคเชิงผลผลิต (Out Put) ลงในจุดที่ 1 ของแตละระดับ / มุมมอง ของแตละกลองในแต ละระดับ (ประชาชน , ภาคี , กระบวนการ , รากฐาน)


21 3. เขียนหัวขอยอยในกลองเปาประสงค อยางนอย 3 กลยุทธตอ 1 กลอง 4. เขียนลูกศรแสดงความเชื่อมโยง เชิงเหตุและผล โดยกลองที่อยูหางลูกศรเปนเหตุของกลองที่ อยูหัวลูกศรเปนผล ที่เชือ่ มโยงเกี่ยวเนื่องกัน ลูกศรหนาใชเมื่อมีการเชื่อมโยงหลายจุดสูหลายจุดพรอมกัน หรืออาจทั้งระดับ / มุมมองตอระดับที่เหนือขึ้นไป สวนลูกศรบางใชเชื่อมโยงระหวางกลองตอกลอง ขั้นตอน / กระบวนการใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ขั้นตอนที่ 4

การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model : SLM) การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตําบล เหลาโพนคอ ป พ.ศ. 2553 จะเปนแผนที่ที่ผูบริหาร พิจารณาตัดสินใจเลือกทางเดินของแผนที่ เฉพาะใน สว นที่จ ะสามารถทําไดจ ริงในระยะเวลา 1 ป จากการประชุม จะไดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉ บับ ปฏิบัติการของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ จะดําเนินการ ในป พ.ศ. 2553 - 2556 ขั้นตอนที่ 5

การนิยามเปาประสงคของยุทธศาสตรจาก SLM และการ กําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จ เปนขั้นตอนที่ตอเนื่องจากขั้นตอนที่ 4 จะประกอบดวย ขั้นตอนยอย 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การจัดทําแผนกลยุทธระดับปฏิบัติการ 2. การกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จ วิทยากรแบงผูเขารวมประชุมออกเปนกลุมยอยและใหแตละกลุมรวมกันสรางเครื่องชี้วัดของ แผนกลยุทธจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการโดยใชตารางการนิยามวัตถุประสงค ขั้นตอนที่ 5 (ตอ) จากตารางหนาที่ผานมาจะแบงออกเปน 9 ชอง เรียงตามลําดับ ดังนี้ ชองที่ 1 คือ วัตถุประสงคของยุทธศาสตร ไดมาจากวัตถุประสงคในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ชองที่ 2 คือ กลยุทธ (Strategic) ยกเอากลยุทธของวัตถุประสงคของยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ (SLM) นํามาใส ซึ่งมีอยูแลวจากการวิเคราะหในขั้นตอนที่ผาน ๆ มาโดยเฉพาะ กลยุทธจะปรากฏอยูในแผนทางเดินยุทธศาสตร 3 ป (พ.ศ.2553 - 2555) ที่ ถูกพิจารณานํามาทําเปนแผนยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ ชองที่ 3 คือ กิจกรรมสําคัญ เปนสิ่งที่ตองรวมกันคิด ซึ่งอาจจะเปนความคิดใหม ๆ วากิจกรรม สําคัญของแตละกลยุทธในแตละวัตถุประสงคลงในชองกิจกรรมสําคัญ เชน


22 ชองที่ 4 คือ การกระทํา (วิธีการ / กระบวนการอยางไร / มีมาตรการทางวิชาการอยางไร) โดยระบุอาการ / กิริยากระทํา หรือ วิธีการกระทํากิจกรรมสําคัญแตละกิจกรรมวามี วิธีการทําอยางไร ชองที่ 5 คือ ตัวชี้วัดการกระทํา (PI) / มาตรการทางสังคม ซึ่งจะตองคิดและออกมาตรการโดย ชุมชนเอง เพื่อควบคุมกระบวนการทางวิชาการใหไดผลยิ่งขึ้น เชน มาตรการทาง วิชาการกําหนดวาการกําจัดลูกน้ํายุงลายใหหมดไปจากหมูบานจะตองกําจัดลูกน้ํา ยุงลายทุก 7 วัน หมูบานจะตองกําหนดและออกมาตรการทางสังคมของหมูบานขึ้น เองวาในทุก ๆ 7 วันนั้น หมูบานจะกําหนดใหวันไหนเปนวันกําจัดลูกน้ํายุงลาย ของหมูบานและยึดถือปฏิบัติในทุกวันที่กําหนดไวตลอดไป หากครัวเรือนไหนไมทํา หมูบานจะมีกฎเกณฑมาบังคับอยาไรเปนตน ชองที่ 6 คือ ตัวชี้วัดผลงาน (KPI) ในแตละการกระทําตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ชองที่ 7 คือ ตัวชี้วัดความสําเร็จ / ความคิดริเริ่ม เปนหัวใจของความสําเร็จในการใชความคิด ริเริ่มใหมมาดําเนินกิจกรรมเพื่อตอบสนองตอวัตถุประสงคที่ปรากฏในแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ (SLM)โดยตรงหรือใกลเคียง ชองที่ 8 คือ งบประมาณ งบประมาณที่ใชในการดําเนินการในแตละกิจกรรม / โครงการ ชองที่ 9 คือ ผูรับผิดชอบ มีใครเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการแตละกิจกรรม / โครงการ ขั้นตอนที่ 6 การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการยอย หรือ แผนปฏิบัติการ (Mini - SLM) ซึ่งจากการประชุม ผูเขารวมประชุมไดรวมกัน นิยามวัตถุประสงคของยุทธศาสตร จากแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ (SLM) และการกําหนดตัวชี้วัดผลงาน (PI) และตัวชี้วัดความสําเร็จ (KPI) การทําแผนกลยุทธระดับปฏิบัติการและการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จของกองทุนระบบหลักประกัน สุขภาพเทศบาลตําบลชองลมมีดังนี้ 1. มีการประชาสัมพันธที่ดี 2. คณะกรรมการมีความรูและทักษะในการทํางาน 3. อสม. / ผูนําชุมชน 4. มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกตอง ขั้นตอนที่ 6 (ตอ) 5. 6. 7.

รัฐสนับสนุนวิชาการที่มีประสิทธิภาพ ครู / ผูนําศาสนาปลูกฝงพฤติกรรมเด็ก / เยาวชน มีระบบฐานขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง


23 8. ชุมชนมีการจัดการกําจัดขยะ 9. การสรางแรงจูงใจใหภาคีและมีขวัญกําลังใจในการทํางาน 10. การประเมินผลที่ดี มาบรรจุในตาราง 11 ชอง โดยกําหนด 1 กิจกรรมสําคัญตอ 1 วัตถุประสงค จัดลําดับ กิจกรรมกอนหลังในการดําเนินกิจกรรม หากกิจกรรมไหนที่สามารถทําพรอม ๆ กันได ก็ใสหมายเลข เดียวกัน ทั้งนี้ ในชอง 11 ชองสุดทายใหกําหนดตัวรับผิดชอบไวดวย ผลของการรวมคิดกิจกรรมในการ ดําเนินการแตละกลุม แตวิทยากรตัดออก 2 ชอง คือ ชองวิชาการ และชองสังคม จึงเหลือ 9 ชอง ผลการดําเนินโครงการในป 2551 ที่ ชื่อกิจกรรม/โครงการ 1 โครงการดูแลผูปวย โรคเบาหวาน 2 โครงการควบคุมปองกัน โรคมะเร็งปากมดลูก 3 โครงการสงเสริมการ บริโภคเกลือเสริมไอโอดีน เพื่อปองกันโรคขาดสาร ไอโอดีนสูชุมชน 4 โครงการตลาดนัดขยะรี ไซเคิลลดภาวะโลกรอน 5 โครงการพัฒนางาน สาธารณสุขมูลฐานตําบล เหลาโพนคอ 6 โครงการโรงเรียนสงเสริม สุขภาพ 7 โครงการพัฒนาศักยภาพ แกนนําสุขภาพประจํา ครอบครัว

ประเภทกิจกรรม งบประมาณ หนวยงานที่รับผิดชอบ ประเภทที่ 1 29,850 อนามัยบานโพนคอ ประเภทที่ 1

10,000

อนามัยบานโพนคอ

ประเภทที่ 2

33,680

อนามัยบานโพนคอ

ประเภทที่ 3

27,600

อบต.เหลาโพนคอ

ประเภทที่ 3

39,990

อนามัยบานโพนคอ

ประเภทที่ 3

10,000

รร.บานดงหนองเหียน

ประเภทที่ 2

34,335

อนามัยบานโพนคอ

หมายเหตุ


24 ผลการดําเนินงานป 2552 ที่ ชื่อกิจกรรม/โครงการ 1 โครงการ อย.นอย 2 โครงการสงเสริมสุขภาพ และทันตสุขภาพนักเรียน 3 โครงการเคาะประตูดูแล ผูสูงอายุผูพิการและทุพพล ภาพในชุมชน 4 โครงการใหความรูผูมีภาวะ กอนเบาหวาน 5 โครงการฝกอบรมและวิ่ง ทดสอบสมรรถภาพเพิ่ม ศักยภาพการปฏิบัติงาน ใหแกอาสาสมัครกูชีพ กูภัย และ อปพร. ประจําป 2552 6 โครงการเยี่ยมบานหลัง คลอด 7 โครงการคูปองสุขภาพเพื่อ กระตุนการออกกําลังกาย 8 โครงการ อย. นอยเสริม สุขภาพ 9 โครงการ อย. นอย 10 โครงการทันตสุขภาพใน โรงเรียน 11 โครงการสงเสริม โภชนาการสําหรับเด็ก ปฐมวัย 12 โครงการ อสม.นอย 13 โครงการทันตสุขภาพใน โรงเรียน

ประเภทกิจกรรม งบประมาณ ประเภทที่ 1 5,000 ประเภทที่ 1 10,000

หนวยงานที่รับผิดชอบ รร.บานหวยยาง ศพด.บานโพนคอ

ประเภทที่ 1

9,900

กลุม อาสาพัฒนาสังคม

ประเภทที่ 2

19,500

อนามัยบานโพนคอ

ประเภทที่ 3

25,000

ศูนยกูชีพฯตําบลเหลาโพนคอ

ประเภทที่ 3

10,000

ประเภทที่ 3

20,000

ประเภทที่ 1

11,500

กลุมเกษตรกรสายใยรัก ครอบครัว ต.เหลาโพนคอ ชมรมรักษสุขภาพตําบลเหลา โพนคอ รร.บานดงหนองเหียน

ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 1

5,000 5,000

รร.บานเหลาโพนคอฯ รร.บานเหลาโพนคอฯ

ประเภทที่ 1

10,000

ศพด.บานโพนคอ

ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 1

5,000 5,000

รร.บานหวยยาง รร.บานหวยยาง

หมายเหตุ


25 14 โครงการอบรมคณะ กรรมการบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับ ตําบล ประจําป 2552 15 โครงการ อสม.นอย 16 โครงการกําจัดขยะถูกวิธี สุขภาพจะดีมีรายไดเพิ่ม 17 โครงการสงเสริมสุขภาพ อนามัยแมและเด็ก 18 โครงการลด ละ เลิก อบายมุขในชุมชน 19 โครงการเกษตรปลอด สารพิษเพื่อชีวิตยืนยาว

ประเภทที่ 4

12,000

อบต.เหลาโพนคอ

ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 3

5,000 10,000

รร.บานเหลาโพนคอฯ อบต.เหลาโพนคอ

ประเภทที่ 2

20,000

อนามัย

ประเภทที่ 2

2,600

อนามัย

ประเภทที่ 3

14,500

อนามัย

10%

แผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพประจําป 2554 บัญชีรายละเอียดโครงการ/กิจกรรม ที่

โครงการ

กิจกรรม

โครงการ TO BE NUMBER ONE โครงการกินผักเปนยา รักษาสุขภาพดวย สมุนไพร โครงการออกกําลังกาย ดวยมวยโบราณ โครงการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพตําบล เหลาโพนคอ

๑.๑ หางไกลยาเสพติดในเด็ก และเยาวชน ๒.๑ ใหนักเรียนรูประโยชน ของการทานผักและประโยชน ของสมุนไพร ๓.๑ ออกกําลังกายดวยการรํา มวยโบราณ ๔.๑ เขาคายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม

๓ ๔

งบประมา หนวยงาน ณ รับผิดชอบ นักเรียน รร. ๑๕,๐๐๐ ร.ร.บานหวย หวยยาง ยาง นักเรียน รร. ๗,๘๕๐ ร.ร.บานดง ดงหนองเหียน หนองเหียน เปาหมาย

นักเรียน รร. ๓,๐๐๐ ดงหนองเหียน ประชาชนใน ๕๖,๕๔๐ ตําบลเหลา โพนคอ

ร.ร.บานดง หนองเหียน รพ.สต.โพน คอ


26 ๕

๗ ๘

โครงการตลาดนัด สุขภาพเปดรั้ว รพ.สราง สุขภาพในชุมชน โครงการดําเนินงาน แพทยแผนไทยและ แพทยทางเลือกโดยภาคี เครือขายในตําบล โครงการขยะสรางสรรค ในโรงเรียนและชุมชน โครงการอาสาสมัครรัก ชุมชนตําบลเดียวกัน

โครงการแขงขันวิ่งและ ปนจักรยานเพื่อสุขภาพ ประชาชน ๑๐ โครงการสืบสาน วัฒนธรรมสรางสรรค สุขภาพจิตในผูสูงอายุ

๕.๑ ใหประชาชนไดออกกําลัง ประชาชนใน กายไดอยางทั่วถึง ตําบลเหลา โพนคอ ๖.๑ ดําเนินงานแพทยแผนไทย ประชาชนใน และแพทยทางเลือกโดยภาคี ตําบลเหลา เครือขายในตําบล โพนคอ

๔๓,๖๐๐

รพ.สต.โพน คอ

๗๒,๐๐๐

รพ.สต.โพน คอ

๗.๑ สรางวินัยในการคัดแยก ขยะ ๘.๑ ออกตรวจเยี่ยมชุมชน

เยาวชนตําบล เหลาโพนคอ ประชาชนใน ตําบลเหลา โพนคอ ประชาชนใน ตําบลเหลา โพนคอ ผูสูงอายุตําบล เหลาโพนคอ

๓,๐๐๐

ศูนยพัฒนา เด็กเล็กบาน โพนคอ

๑๐,๐๐๐

๙.๑ วิ่งและปนจักรยานเพื่อ สุขภาพประชาชน ๑๐.๑ ผูสูงอายุทํากิจกรรม รวมกัน

๑๑ โครงการสงเสริมสุขภาพ ๑๑.๑ สงเสริมสุขภาพปากและ ปากและฟนเด็กปฐมวัย ฟนเด็กปฐมวัย

เยาวชนบาน ดง หมูมีที่ ๓ ๒๐,๘๕๐ อสม.บานดง หมูที่ ๓ ๒๘,๐๐๐

๒๐,๐๐๐

๑๒ โครงการสงเสริมสุขภาพ ๑๒.๑ สงเสริมสุขภาพปากและ ศูนยพัฒนา ๑๐,๐๐๐ ปากและฟนเด็กปฐมวัย ฟนเด็กปฐมวัย เด็กเล็กบาน หวยยางเหนือ

ชมรมรักษ สุขภาพตําบล เหลาโพนคอ ชมรม ผูสูงอายุ ตําบลเหลา โพนคอ กลุมสายใย รักแหง ครอบครัว ศูนยพัฒนา เด็กเล็กบาน โพนคอ กลุมสายใย รักแหง ครอบครัว ศูนยพัฒนา เด็กเล็กบาน หวยยางเหนือ


27 ๑๓ โครงการสงเสริมสุขภาพ สงเสริมสุขภาพปากและฟนเด็ก ศูนยพัฒนา ปากและฟนเด็กปฐมวัย ปฐมวัย เด็กเล็กบาน หนองเหียน

๑๔ โครงการฝกอบรม เยาวชนโพนคอสราง เสริมสุขภาพหางไกลยา เสพติด ๑๕ โครงการอาสาสมัคร หวงใยใสใจผูพิการ ๑๖ โครงการรณรงคกําจัด และทําลายแหลง เพาะพันธุยุงลาย ปองกัน ภัยรายไขเลือดออก ประจําป พ.ศ.๒๕๕๔ ๑๗ โครงการ TO BE NUMBER ONE

๑๐,๐๐๐

ฝกอบรมเยาวชนโพนคอสราง เยาวชนตําบล ๑๕,๐๐๐ เสริมสุขภาพหางไกลยาเสพติด เหลาโพนคอ

ตรวจเยี่ยมผูพิการ

๒๐,๐๐๐

รณรงคกําจัดและทําลายแหลง เพาะพันธุยุงลาย

ผูพิการตําบล เหลาโพนคอ ตําบลเหลา โพนคอ

หางไกลยาเสพติดในเด็กและ เยาวชน

นักเรียน ร.ร. เหลาโพนคอ

๒๐,๐๐๐

ประชาชนมีสวนรวมกําหนดกิจกรรม

กลุมสายใย รักแหง ครอบครัว ศูนยพัฒนา เด็กเล็กบาน หนองเหียน ชมรมเยาชน โพนคอ

อบต.เหลา โพนคอ

๒๕,๐๐๐ อสม.ตําบล เหลาโพนคอ ม.๑ ร.ร.เรียนเหลา โพนคอ


28


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.