การจัดการบ้านพักโฮมสเตย์ที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

Page 1

การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ศิริภรณ ไชยอุป

พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ศิริภรณ ไชยอุป

พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จได โดยไดรับความอนุเคราะหและความกรุณาจากผูมีพระคุณหลายทานที่ ไดใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรอง จนทําใหงานวิจัยเลมนี้เสร็จสมบูรณได ขอกราบขอบพระคุณ ทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร (อาจารยนิเทศ ) อยางยิ่งที่ไดใหความกรุณา ในการใหคําปรึกษา คําแนะนําที่ดีในทุกๆเรื่อง ทั้งแนะนําเรื่องการวางตัว การปฏิบัตติ ัวที่เหมาะสมในการอยู รวมกับชุมชน อีกทั้งขอขอบพระคุณทานอาจารย ที่ยอมเสียสละเวลางานหรือ เวลาสวนตัว เพื่อตรวจทาน และแกไขขอบกพรองในงานวิจัยนี้ ใหมีความถูกตอง แมนยํา มากที่สุด ขอขอบพระคุณ สํานักงานพัฒนาชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ ที่ไดเปดโอกาสใหผูวิจัยไดไปเรียนรู ประสบการณในการทํางานรวมกับหนวยงาน ขอขอบพระคุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว ( อาจารยภ าคสนาม ) คุณดารุณี พลราชม หัวหนาสวนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม คุณรัตนะ คําโสมศรีหัวหนาสํานัก งาน ปลั ด และเจ าหนา ที่ อ งคก ารบริหารส วนตํ าบลเหล า โพนค อ ทุ ก ท า นที่ ค อยดู แ ลและให ค วามชวยเหลื อ คําปรึกษาในการทํางานรวมถึงใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดี ขอขอบพระคุ ณ พ อ หวล และแม วิชิ น ยางธิ ส าร ที่ ได ให ค วามเมตตา และใหก ารดู แ ล ให ก าร ชวยเหลือในทุกๆเรื่อง เปนอยางดี ใหความอบอุนเสมือนเปนบุคคลในครอบครัวและขอขอบพระคุณสมาชิก กลุมบานพักโฮมสเตยและชาวบานหวยยางทุกทานที่ไดใหความรวมมือ ใหความชวยเหลือ ทั้งการเก็บขอมูล การจัดกิจกรรมหรือดําเนินงานตางๆใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ขอขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทานที่คอยอบรมสั่งสอน คอยชี้แนะมาตลอด ขอขอบคุณเพื่อนๆ ทีมวิจัยพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครทุกคนที่รวมทุก ข รวมสุข ใหความชวยเหลือ ชวยแกไขปญหา และเปนกําลังใจตลอดระยะเวลาในการทําวิจัย ขอกราบขอบพระคุณพอพาลัยไชยอุปบิดาของผูศึกษาคุณแมชุดประเสริฐไชยอุปมารดาของผูศึกษา สมาชิกในครอบครัวที่ใหความอบอุนคอยเปนกําลังใหแกผูศึกษาทําใหการศึกษาครั้งนี้สําเร็จไปดวยดี

ศิริภรณ ไชยอุป


ชื่อเรื่อง

การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศ ึกษา นางสาวศิริภรณ ไชยอุป อาจารยที่ปรึกษา อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2555

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาความเปนมาและการดําเนินงาน ของกลุมบานพักโฮมสเตย 2) เพื่อศึกษาการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง 3) เพื่อ ศึกษาเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตของการศึกษา คือ พื้นที่ชุมชนหวยยาง บานหวยยาง หมูที่ 6 และ บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 โดยมีกลุมเปาหมาย คือ สมาชิกกลุมบานพักโฮมสเตย จํานวน 11 ครัวเรือน ผูที่เคยตอนรับนักทองเที่ยว จํานวน 15 ครัวเรือน ระยะเวลาในการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงคม 2555 วิธีก ารดําเนินการศึกษาครั้งนี้ ศึก ษาขอมูลเอกสารที่เ กี่ยวกับทั่วไปของชุมชนและ การศึกษาภาคสนามจากการเก็บขอมูล เครื่องมือที่ใชในการศึก ษา การสังเกตการณแบบมีสวนรวม การ สั มภาษณ จากกลุ มเป าหมาย การบั น ทึ ก ภาคสนาม แผนชุ มชน กล อ งถ ายรูป แล วนํ า ข อ มู ล ที่ ได จาก การศึกษามารวมสรุปและวิเคราะหเขียนรายงานเปนผลการศึกษา ผลการศึกษามีดังนี้ ประการแรก พบวา ชุมชนหวยยางอยูติดกับเทือกเขาภูพานอาศัยน้ําฝนในการทํานาทําการเกษตร ตอมาเมื่อปพ.ศ. 2524 บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือพบปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ .ศ.2510 ชาวบาน หวยยางจึ งพากัน ไปขอทานกิ น ตามจังหวั ดใกล เคี ยงเช น จังหวั ดนครพนมจังหวั ดมุก ดาหารและจังหวั ด กาฬสินธุประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมดจนกระทั่งหนังสือ พิมพเดลินิวสฟาดหัวขาวหนา 1 วาพบ หมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนครโดยนายเสวกจันทรพรหมผูลงขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จ


พระเจาอยูหัวฯพระองคทานจึงไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางขึ้นในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯทรงเสด็จมา เปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเองเมื่อ ปพ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบันทําให บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือและหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอเปนหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงจากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงนํารองดานการเกษตรอันดับหนึ่งของ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณจังหวัดสกลนครโดยเฉพาะดานกลาไม ชุมชนหวยยางเปนชุมชนที่ตั้งอยูใกลเขตอุทยานแหงชาติภูผายลจึงทําใหแหลงทองเที่ยวของชุมชน หวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูงเพราะมีสภาพพื้นที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณมีวิถีชีวิต ชุมชนประเพณีวัฒนธรรมมีแหลงประวัติศาสตรมีสถานที่สําคัญเขาถึงสะดวกรวดเร็ว ประการที่สอง พบวา ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวบานพักโฮมสเตย ชุมชนยังไมมี ระบบการบริหารจัดการที่เปนแนวชัดเจน ไมมีรูปกิจกรรมการทองเที่ยว บุคลากรในชุมชนหวยยางมีความ พยายามที่จะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการจัดการบานพักโฮมสเตยดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับบานพักโฮมสเตยอยูบาง ในการฝกงานครั้งนี้ไดโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อนําไปสูหมูบานการทองเที่ยเศรษฐกิจ พอเพียงใหกับชุมชน ณ ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครเพื่อเปน การเรียนรูในการพัฒนาการทองเที่ยวในทองถิ่น โดยสรุปการศึกษานี้ไดใหความสําคัญการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวย ยาง ทําใหเห็นวา ชุมชนมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับดานที่พักอาศัย ดานอาหาร ดานวัฒนธรรม ดานแหลง ทองเที่ยว ดานผลิตภัณฑ ดานการประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอมและกาคมนาคม อยางเปนระบบ


สารบัญ บทที่ หนา 1 บทนํา ภูมิหลัง..................................................................................................................................... 1 วัตถุประสงค........................................................................................................................... 4 ขอบเขตของการศึกษา ............................................................................................................ 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ .................................................................................................... 5 ประชากรและกลุมตัวอยาง ..................................................................................................... 5 แนวคิดที่ใชในการศึกษา ........................................................................................................ 6 กรอบแนวคิดในการศึกษา ..................................................................................................... 12 ทบทวนวรรณกรรม ............................................................................................................... 13 - เอกสารที่เกี่ยวของ .................................................................................................. 13 - งานวิจัยที่เกี่ยวของ .................................................................................................. 16 วิธีดําเนินการศึกษา ................................................................................................................. 19 นิยามศัพทเฉพาะ .................................................................................................................... 19 2 บริบททั่วไปของชุมชน ประวัติความเปนมาของชุมชนหวยยาง .................................................................................. สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง ............................................................................................... โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง ........................................................................... การประกอบอาชีพ ................................................................................................................. ความสัมพันธของชุมชน ........................................................................................................ สถานที่สําคัญ ......................................................................................................................... องคกรชุมชน .......................................................................................................................... ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม ................................................................................................ ศิลปวัฒนธรรมภูไท ................................................................................................................

20 22 23 24 24 25 27 29 35

3 การดําเนินงานของกลุมบานพักโฮมสเตย ความเปนมาของกลุมบานพักโฮมสเตย …………………………….………………………. 37 การดําเนินงานกลุม ................................................................................................................. 38


ความพรอมของบานสมาชิกกลุมบานพักโฮมสเตย ................................................................. 40 ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการบานพักโฮมสเตย ……………………….………… 50 4 การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชน บานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ...................................................................... 51 การจัดการบานพักโฮมสเตย ………………………………………………….…………….. 51 เกณฑมาตรฐานบานพักโฮมสเตย .......................................................................................... 56 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ วัตถุประสงคของการศึกษา ..................................................................................................... 58 ประชากรและกลุมตัวอยาง ..................................................................................................... 59 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ………………………………………………………..………… การเก็บรวบรวมขอมูล ……………………………………………………………..……….. สรุปผล ................................................................................................................................... อภิปรายผลการศึกษา ..............................................................................................................

59 59 60 67

ขอเสนอแนะ ........................................................................................................................... 70 บรรณานุกรม .................................................................................................................................... 71 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณมีโครงสราง ………………………………………………..…. 72 ภาคผนวก ข รายนามผูใหสัมภาษณ ...................................................................................... 75 ภาคผนวก ค ปฏิทินวัฒนธรรม .............................................................................................. 77 ภาคผนวก ง รูปกิจกรรม ........................................................................................................ 78 ประวัติยอของผูศึกษา ........................................................................................................................ 85


สารบัญตาราง

ตาราง

หนา

1 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน …………………………………………………………. 27 2 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ....................................................................................... 50


บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ

หนา

1 กรอบแนวคิดในการศึกษา................................................................................................................... 12 2 การทํานาถือเปนอาชีพหลักของชุมชน……………………………………………………………… 24 3 โบสถดิน ………………………………………………………………………………………….... 26 4 การฟอนภูไทของชุมชนหวยยาง ....................................................................................................... 40 5 บานพักโฮมสเตยของนางธิดารัตน ยางธิสาร ..................................................................................... 40 6 หองนอน ……………………………………………………………………………………………. 41 7 หองครัว …………………………………………………………………………………………….. 41 8 สิ่งอํานวยความสะดวก ...................................................................................................................... 41 9 บานพักโฮมสเตยของนางบัวลอย โตะชาลี ........................................................................................ 42 10 หองนอน .......................................................................................................................................... 42 11 หองครัว …………………………………………………………………………………………… 42 12 บานพักโฮมสเตยของนายหนูเตรียม พลราชม ................................................................................. 43 13 หองนอน ........................................................................................................................................... 43 14 สิ่งอํานวยความสะดวก ...................................................................................................................... 43 15 หองครัว ............................................................................................................................................ 44 16 หองรับแขก ....................................................................................................................................... 44 17 บานพักโฮมสเตยนายแกง แพงดี ...................................................................................................... 44 18 หองนอน .......................................................................................................................................... 45 19 สิ่งอํานวยความสะดวก ..................................................................................................................... 45 20 บานพักโฮมสเตยของนายไมตรี สูญราช ......................................................................................... 45 21 หองนอน .......................................................................................................................................... 46 22 สิ่งอํานายความสะดวก ..................................................................................................................... 46 23 บานพักโฮมสเตยของนางไหมคํา ฮมปา ......................................................................................... 46 24 หองนอน ………………………………………………………………………………………….. 47 25 สิ่งอํานวยความสะดวก ..................................................................................................................... 47


ภาพประกอบ

หนา

26 บานพักโฮมสเตยของนางอรุณรัตน ยางธิสาร ................................................................................. 47 27 หองนอน ………………………………………………………………………………………….. 48 28 สิ่งอํานวยความสะดวก ..................................................................................................................... 48 29 บานพักโฮมสเตยของนายชัยพิทักษ ยางธิสาร ................................................................................ 48 30 หองนอน ………………………………………………………………………………………….. 49 31 สิ่งอํานวยความสะดวก .................................................................................................................... 49 32 ตัวอยางบานพักโฮมสเตย ................................................................................................................. 52 33 อาหารของชุมชนหวยยาง ................................................................................................................ 53 34 การแตงกายของชาวภูไทหญิง .......................................................................................................... 53 35 น้ําตกศรีตลาดโตน ………………………………………………………………………………… 54 36 ผลิตภัณฑชุมชนหวยยาง .................................................................................................................. 55


บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ชุมชนหวยยาง ตั้ งอยู ในเขตตํ า บลเหลาโพนคอ อํา เภอโคกศรี สุพรรณ จังหวั ดสกลนคร ตาม ประวัติเดิมของหมูบาน เลาตอกันมาวามีนายยางและนายโตะที่เดินทางมาจากเมืองวัง ของประเทศลาว และ ได พบกั บปา ที่ มีค วามอุ ดมสมบูรณ อีก ทั้ งยั งมีลํ า หวยอยูใกลบริเ วณนั้ น จึง ไดเ ลื อกเอาพื้ น ที่แ ห งนี้ เ ป น สถานที่ในการกอตั้งหมูบาน และไดตั้งชื่อหมูบานวา บานหวยยาง ภายหลังจึงไดมีการแยกหมูบานหวยยาง ออกเปน 2 หมูบาน อันไดแก บานหวยยางหมูที่ 6 และ บานหวยยาง-เหนือหมูที่ 9 เมื่อป พ.ศ. 2538 ซึ่งบาน หวยยางนั้นมี อาณาเขตกับ บ านดงนอ ย บ านห วยยางหมูที่ 9 ตํ าบลเหลาโพนค อ และติ ดกับอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ปจจุบันบานหวยยางหมูที่ 6 มีประชากรทั้งหมด 923 คน แยกเปนเพศชายจํานวน 453 คน เพศหญิงจํานวน 470 คน มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด 194 ครัวเรือน และบานหวยยางหมูที่ 9 มีประชากร ทั้งหมด 858 คน แยกเปนเพศชายจํานวน 420 คน เพศหญิงจํานวน 438 คน มีจํานวนครัวเรือ นทั้งสิ้น 168 ครัวเรือ น โดยมีแบงการปกครองออกเปน 4 คุม ดังนี้ 1. คุมโรงเรียน 57 ครัวเรือน 2. คุมแสงสวาง 44 ครัวเรือน 3. คุมโพธิ์ชัย 76 ครัวเรือน 4. คุมบานนอย 17 ครัวเรือน เดิมหมูบานหวยยาง ถือเปนหมูบานที่ยากจนที่สุดแหงแรกในจังหวัดสกลนครและเคยเปนหมูบาน ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้งดวยกัน ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2510 จึงมีการอพยพไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ํากลั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย จํานวน 20 ครัวเรือน และบางสวนยายไปอยูที่บานโคกสําราญ ตําบลชมพู อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย และครั้งที่ 2 เมื่อป พ.ศ. 2524 ทําใหชาวบานหวยยางไดรับความเดือดรอน อยางมาก จึงไดพากันเดินทางไปขอทานตามจังหวัดใกลเคียงตางๆ เชน นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ เฉลี่ย ประมาณ 90% ของครั วเรื อ นทั้ งหมด ชาวบ านบางส วนก็ อ พยพออกจากหมู บา นเพื่ อไปทํ า งานตา งถิ่ น ชาวบานที่เหลือในหมูบานตองกลายเปนคนวางงานจนกระทั่งมีการลงขาวในหนังสือพิมพเดลินิวส โดยมี การพาดหัวขาววา พบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบ ขาว พระองคจึงโปรดมีคําสั่งใหกรมชลประทานไดดําเนินการสรางอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 และพระองคทานไดเ สด็ จพระราชดํ าเนิน มาทํ าการเปด อา งเก็ บน้ํ าด วย


พระองคเ องในป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จึงทําใหชาวบาน ในชุมชนบานหวยยางและหมูบาน ใกลเ คียงในตําบลเหลาโพนคอ มีน้ํ าในการทําการเกษตร อีกทั้งมีก ารสงเสริมอาชีพต างๆใหกับชาวบา น นอกจากนี้แลวยังไดสงเสริมใหหมูบานหวยยางเปนหมูบานเศรษฐกิจพอพียงในดานการเกษตรใหเปนอันดับ หนึ่งในอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ปจจุบัน การทอ งเที่ยวเปน อุตสาหกรรมการบริการที่มีบทบาทตอ ระบบเศรษฐกิจและสั งคมของ ประเทศไทยเปนอยางมาก การทองเที่ยวในแงของงานพัฒนาชุมชนเปนการใหค วามสําคัญกับสิทธิชุมชน ในการเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดลอม โดยมุงพัฒนาให คนในชุมชน เปนหัวใจสําคัญในการจัดการการทองเที่ยว จึงเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชนและใหคน ในชุมชนไดเขามามีบทบาทในการจัดการการ เพื่อใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือนนําไปสูก ารดูแ ลรักษาและ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยใหมีความสมดุลกับภูมิปญญาทองถิ่นและอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมถึง การเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนในรูปแบบ “ การทองเที่ยวโดยชุมชน ” ซึ่งจะตั้งอยูบนฐานคิดที่เนนให เห็ น ถึง ความสํ า คั ญ ของการผสมผสานจุด มุ ง หมายของการฟ น ฟู แ ละอนุ รัก ษ ส ภาพแวดล อ ม รวมทั้ ง อัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากนี้ยังมีจุดมุงหมายใหคนในชุมชนรูจักการ สร างสํ า นึ ก ท อ งถิ่ น เร ง เร า ความภาคภู มิ ใจในความเป น อั ตลั ก ษณ ข องวั ฒ นธรรมประเพณีข องชุ มชน ตลอดจนเป นส วนช วยให เกิ ดการส งเสริ มใหชุ มชนมีส วนรวมใหมี การสร างให เกิ ดกระบวนการเรีย นรู เกี่ยวกับการวางแผน การบริหารจัดการทรัพยากรและกระจายอํานาจการตัดสินใจโดยเนนความสําคัญของ การจัดการธรรมชาติแวดลอมและใชการทองเที่ยวเปนเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนไปพรอมกัน นอกจากนั้นบานหวยยาง ตํ าบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เปนอี ก หมูบานหนึ่งที่มีกลุมภูไทอาศัยอยูเปนจํานวนมากมีวัฒนธรรมวิถีชีวิตเปนเอกลักษณของตนเองเชน การแตง กาย ภาษาพูด ประเพณี ที่ดํารงอยูบนพื้นฐานของความศรัทธาเปนแนวทางในการปฏิบัติที่สืบทอดกันมา เปนวัฒนธรรมที่แสดงออกในรูปของพิธีกรรมรวมไปถึงการสรางบานทรงภูไทในรูปแบบบานพักโฮมสเตย ทําใหหมูบานมีรายไดเสริมจากอาชีพที่ทําเปนประจํา สงผลใหการดํารงชีวิตดีขึ้นกวาเดิมเปนแหลงเรียนรู ทางวัฒนธรรมของชุมชน ทําใหหมูบานมีการพัฒนาบานพักโฮมสเตยใหมีชื่อ เสียงมากขึ้น สามารถดึงดูด นักทองเที่ยวเขามาพักเปนจํานวนมากมีการจัดการการทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตย ซึ่งประกอบดวย ดาน ที่พักอาศัย ดานอาหาร ดานวัฒนธรรม ดานแหลงทองเที่ยว ดานผลิตภัณฑ ดานการประชาสัมพันธ ดาน ความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอม และการคมนาคม เพื่อเปนองคความรูแ ละรูปแบบการพัฒนามีการ จัดการที่มีความสมดุลระหวางฐานทรัพยากรสิ่งแวดลอมธรรมชาติกับทรัพยากรคนในชุมชนและวัฒนธรรม


ทอ งถิ่น เหมาะสมและสอดคลอ งกัน นอกจากนี้ บานห วยยางยังเปนหมู บา นที่มีค วามหลากหลายทาง วัฒนธรรมประเพณีของกลุมชาติพันธุ “ภูไท” มีภาษาถิ่นที่เปนเอกลักษณ วิถีชีวิตของชาวบานที่ยังคงมีการ พึ่งพาอาศัยระบบความเชื่อแบบดั้งเดิมในการรักษาโรค ซึ่งนับวาเปนเอกลักษณอีกอยางหนึ่งของชุมชนบาน หวยยางที่หาชมไดยาก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย ขึ้นเพื่อใหความรูเกี่ยวกับการใหบริการแกนักทองเที่ยวที่จะเขามาพักในชุมชน และมีการจัดตั้งกลุมบานพัก โฮมสเตย ซึ่งอยูในขั้นตอนของการดําเนินการ อีกทั้งประชาชนในชุมชนหวยยางยังขาดความรูความเขาใจ และประสบการณดานการทองเที่ยว ประกอบกับการบริหารจัดการดานการทอ งเที่ยวภายในชุมชน ยังไม เปนระบบ จากปจจัยตางๆทางดานทรัพยากร การบริหารจัดการ และการใหบริก ารดานการทองเที่ยว พบวา ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนอยู ในระดั บที่ จํา เป น ต อ งมี ก ารเพิ่ ม ระดั บ ขีด ความสามารถในการรองรั บ นักทองเที่ยว เพราะประชาชนในชุมชนยังขาดความรูและประสบการณดานการจัดการการทองเที่ยว ดังนั้น ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงศักยภาพและขอจํากัด ที่เกิดจากการทองเที่ยวของชาวบานหวยยางโดยมี ความตองการจะคนหาคําตอบวา ชุมชนหวยยางมีการบริหารจัดการอยางไร ไดรับการสนับสนุน เพื่อเปน องคความรูและแนวทางการจัดการบานพักโฮมสเตยใหเปนที่รูจักอยางแพรหลายมากขึ้นอันจะสงผลดีตอการ ทองเที่ยวและเศรษฐกิจของชาวบานในชุมชนตอไป

วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาการจัดการบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง 2. เพื่อศึกษาศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง

ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตเชิงพื้นที่ 1.ศึกษาชุมชนหวยยาง คือ บานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.ศึกษาการจัดการบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


ขอบเขตเชิงเวลา ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาในชวงระหวางเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 รวมเปนเวลา 3 เดือน ขอบเขตเชิงเนื้อหา 1.ศึกษาขอมูลบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนหวยยาง บานหวย ยางหมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.ศึกษาขอมูลการดําเนินงานของกลุมบานพักโฮมสเตยของชุมชนหวยยาง ในดานประวัติความ เปนมาและการบริหารจัดการภายในกลุม 3.ศึกษาขอมูลการจัดการบานพักโฮมสเตยของกลุมและผูนําชุมชนหวยยาง ในดานบทบาทหนาที่ ของคณะกรรมการ และมาตรฐานบานพัก 4.ศึกษาปญหาดานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการบานพักของกลุมโฮมสเตยและผูนําชุมชน หวยยางในการสงเสริมและพัฒนากลุม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบถึงความเปนมาและการจัดการของกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง 2. ไดทราบถึงศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง 3. ประโยชนตอชุมชนในการวางแผนการจัดการบานพักโฮมสเตยของชุมชนหวยยาง ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยางหมู 6 จํานวน 740 คน และประชากรบานหวยยางเหนือ หมู 9 จํานวน 858 คน โดยใชกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนํา ชุมชนทั้งสองหมูบาน จํานวน 4 คน สมาชิกกลุมบานพักโฮมสเตย จํานวน 11 ครัวเรือน ผูที่เคยตอนรับ นักทองเที่ยว จํานวน 15 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 30 คน


ทบทวนวรรณกรรม เอกสารที่เกี่ยวของ จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของพบวา มีรูปแบบการทองเที่ยวหลายรูปแบบดังตอไปนี้ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน การทองเที่ยวอยางยั่งยืน (sustainable tourism) มีหลักการทีส่ อดคลองกับการพัฒนาอยางยั่งยืน (sustainable development) คือ จะตองมีการอนุรักษและการใชทรัพยากรอยางพอดี เพื่อใหสามารถใช ประโยชนตอไปไดในระยะเวลายาวนาน และมีการกระจายผลประโยชนใหแกคนสวนใหญ รวมทั้งมีการ รวมมือกันอยางใกลชิดระหวางผูที่เกี่ยวของหรือมีสวนไดสวนเสีย เมื่อนําหลักการนี้มาปรับใชกับการ ทองเที่ยวอยางยั่งยืน จึงมีจุดเนนที่สําคัญดังนี้ 1. จะตองดูแลทรัพยากรการทองเที่ยว ใหสามารถใชประโยชนตอไปไดในระยะเวลา ยาวนานจนถึงชั่วลูกชั่ว หลาน มิใชเพียงเพื่อคนรุนปจจุบันเทานั้น 2. ลดการใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลือง และลดปริมาณของเสียที่จะเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม 3. มีการกระจายรายไดและผลประโยชนใหแกคนในทองถิ่นที่มีแหลงทองเที่ยวตั้งอยู เปดโอกาสใหชุมชน ในทองถิ่นไดเขารวมในการจัดการ และการใหบริการแกนักทองเที่ยว 4. มีการประชุมปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย เชน หนวยงานและองคกรที่ เกี่ยวของ ผูประกอบธุรกิจการทองเที่ยว และชุมชนในทองถิ่น เพื่อการวางแผนงาน การจัดสรรงบประมาณ และการจัดการทรัพยากรอยางเหมาะสม 5. มีการสรางเครือขายเพื่อเผยแพรแนวคิด การศึกษาวิจัย และความรูเกี่ยวกับการ ทองเที่ยวอยางยั่งยืน ออกไปในหมูประชาชน ทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศอยางกวางขวาง การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนการศึกษาหาความรูในพื้นที่หรือบริเวณที่มีคุณลักษณะที่สําคัญทาง ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม มีการบอกเลาเรื่องราวในการพัฒนาทางสังคมและมนุษยผานทาประวัติศาสตร อันเปนผลเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรม องคความรูและการใหคุณคาของสังคม โดยสถาปตยกรรมที่มีคุณคาหรือ สภาพแวดลอมอยางธรรมชาติที่สามารถแสดงออกใหเห็นถึงความสวยงามและประโยชนที่ไดรับจาก ธรรมชาติ สามารถสะทอนใหเห็นถึงสภาพชีวิต ความเปนอยูของคนในแตละยุคสมัยไดเปนอยางดี ไมวาจะ


เปนสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม หรือขนบธรรมเนียมประเพณี ประเภทของแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1.มรดกโลก หมายถึงสิ่งที่บงบอกถึงคุณคาของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติสรางขึ้นมา ควรแก การอนุรักษปกปองใหตกทอดไปยังชนรุนหลัง และเปนสิ่งที่ทุกคนในโลกปจจุบันนี้เปนเจาของรวมกัน แบงเปน มรดกแหงความทรงจําของโลก มรดกโลกทางวัฒนธรรม และมรดกโลกทางธรรมชาติ 2.อุทยานประวัติศาสตร หมายถึงบริเวณที่มีหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตรสมัยใดสมัยหนึ่งของ ประเทศ หลักฐานและความสําคัญดังกลาวอาจเปนทางวัฒนธรรม การเมืองและสังคมวิทยาก็ได 3.พิพิธภัณฑ คือหนวยงานที่ไมหวังผลกําไร เปนสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสารและจัดแสดงนิทรรศการ ใหบริการแกสังคมเพื่อการพัฒนา มีความมุงหมายเพื่อการคนควา การศึกษาและความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานตางๆ ทีเ่ กี่ยวกับมนุษยและสภาพแวดลอมสิ่งซึ่งสงวน รักษาและจัดแสดงนั้นไมใชเปนเพียงวัตถุ แตไดรวมถึงสิ่งที่มีชีวิตดวย โดยรวมไปถึงสวนสัตว สวน พฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตวน้ําและสถานที่อันจัดเปนเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและ แหลงอนุสรณสถาน ศูนยวิทยาศาสตรและทองฟาจําลอง 4.แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น เปนแหลงทองเที่ยวทีต่ รงกันขามกับแหลงทองเที่ยวทาธรรมชาติ เมืองขนาดใหญๆ สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขาไปเที่ยวชมสิ่งกอสรางและสถาปตยกรรมทาง ประวัติศาสตร ศาสนสถาน สถานที่ที่รัฐบาลกอสรางขึ้น เชน พระราชวัง หรืออาคารเกาแกที่มีประวัติความ เปนมาที่สําคัญ 5.แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ เกิดจากสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ ประกอบดวย สภาพ ภูมิอากาศ ทิวทัศนที่สวยงาม และสัตวปา ทองเที่ยวแบบ"โฮมสเตย" เสนหของวิถีชีวิตความเปนไทย คือความเรียบงาย แตมีรายละเอียดแฝงเรนอันนาคนหา และมีกลิ่น ไอที่แสดงเอกลักษณเฉพาะตัวอันงดงาม อีกทั้งยังมีเรื่องราวดานประวัติศาสตร ซึ่ง สิ่งเหลานี้คือแรงจูง ใจที่ ล้ําคา สําหรับการเดินทางขามน้ําขามทะเลของนักท องเที่ยวจากซีก โลกหนึ่งสูอีก ซีกโลกหนึ่ง เพื่อคนหา ความตางที่สรางความทรงจําอันไมรูลืม และเปนของฝากที่ไมมีวันหมดไปจากใจ " โฮมสเตย๎" เปนการทองเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่งของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่เกิดขึ้นมานานหลายสิบ ป กอนที่การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) จะออกมาประกาศใหการสนับสนุนอยางเปนทางการ และ ดวยความแตกต างที่ สรา งคุ ณ คา นี้ เปน ที่ นิ ยมอยา งมากจากกลุ มนัก ท อง เที่ ย วจากยุ โ รป และญี่ปุ น โดย นักทองเที่ยวจะมีโอกาสสําผัสวิถีชีวิตความเปนอยูของคนในทองถิ่นที่แตกตางกันออกไป โดยไมจําเปนวา


สถานที่นั้นจะมีจุดดึงดูดความสนใจดานอื่นๆจึงไมใชเรื่องแปลกที่ตามหมูบานชนบทเล็กๆ ที่ไมมีจุดเดน ดานกายภาพ กลับเปนจุดที่นาสนใจของทั้งจากนักเที่ยวชาวไทยและเทศไดไมยาก ปจจุบันการทองเที่ยวแบบโฮมสเตยมีหลายรูปแบบ ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบประยุกต แบบดั้งเดิม จะ เปนรูปแบบการเขามาพักอยูในชายคาบานของชาวบานที่อาศัยอยูในชุมชน ที่มีเอกลักษณอันนาสนใจ และ นักทองเที่ยวจะใชชีวิตในแบบเดียวกับชาวบานแทบทุกอยาง สวนโฮมเสตยแบบประยุกต เปนการปรับปรุง พื้นที่ในวิถีชีวิตเดิม ใหมีความสะดวกสบายขึ้นอีกระดับ โดยไมทิ้งความเรียบงายและเอกลักษณไทยอันเปน หัวใจของการทองเที่ยวในรูปแบบนี้ เกณฑมาตรฐานบานพักโฮมสเตย สํา นัก งานพั ฒนาการทอ งเที่ ย ว กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬ า (2551 : 1-3) ไดจัดเกณฑ มาตรฐานโฮมสเตยไทยดังตอไปนี้ 1. มาตรฐานดานที่พัก ตองเปนลักษณะบานที่เปนสัดสวนที่พัก ที่นอนสะอาดและสบาย มีหอ ง อาบน้ํา และหองสวมที่สะอาดมิดชิด มีมุมพักผอนภายในบานหรือชุมชน 2.มาตรฐานด านอาหารและโภชนาการ ตอ งคํานึงถึ งชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชประกอบ อาหาร มีน้ําดื่มสะอาด ภาชนะที่บรรจุอาหารสะอาด มีหองครัวและอุปกรณที่ใชในครัวถูกสุขลักษณะ 3.มาตรฐานดานความปลอดภัย มีการเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้อ งตน มีการ จัดการเวรยามดูแลความปอดภัย 4.มาตรฐานด า นอั ธ ยาศั ยไมตรี ข องเจ า ของบ า นและสมาชิ ก ต อ งมี ก ารต อ นรั บ และการสร า ง ความคุนเคย มีการสรางกิจกรรมและเปลี่ยนความรูในวิถีชุมชน 5.มาตรฐานดานกิจกรรมการทองเที่ยว ตองมีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจนซึ่งตองผานการยอมรับจาก ชุมชน มีขอมูลกิจกรรมการทองเที่ยว และเจาของบานเปนมัคคุเทศกทองถิ่นหรือประสานงานใหมัคคุเทศก ทองถิ่นนําเที่ยว 6.มาตรฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอม ตองมีแหลงทอ งเที่ยวภายในชุมชนหรือ บริเวณใกลเคียง มีการดูแลแหลงทองเที่ยว มีแผนงานหรือมาตรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ ลด ผลกระทบจากการทองเที่ยวและลดภาวะโลกรอน 7.มาตรฐานดานวัฒนธรรม มีการดํารงรัก ษาไวซึ่ง วัฒนธรรมและประเพณีทอ งถิ่น รักษาวิถีชีวิต ชุมชนใหคงไวเปนกิจวัตรปกติ


8.มาตรฐานดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑชุมชนมีการสรางผลิตภัณฑชุมชนเพื่อเปนของ ที่ระลึกหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว ตองมีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาเปนเอกลักษณของชุมชน 9.มาตรฐานด า นการบริ หารของกลุ มโฮมสเตย ต อ งมี เอกสารสิ่ง พิมพ เ พื่ อประชาสั มพัน ธ ก าร ทองเที่ยวของชุมชนและตองมีการเผยแพรประชาสัมพันธ มาตรฐานโฮมสเตยไทย หรือ ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทมาตรฐานไทย หมายถึงบานที่อยูใน ชุมชนชนบทที่มีประชาชนในชุมชนเปน เจาของและเจ าของบานหรือสมาชิ ก ในครอบครัวอาศัยอยูเป น ประจํา หรือใชชีวิตประจําวันอยูในบานดังกลาว การบริหารจัดการ/องคกรชุมชน ชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ตองสีองคประกอบสําคัญ หลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุมองคประกอบเหลานั้นไดการพัฒนาแบบมีสวนรวมของชุมชน เปนยุ ทธวิธี ที่สําคัญ ซึ่ งนําไปสูค วามสําเร็ จ ทั้ งนี้ภ าวะใหมแ ห งการพัฒนาจําเปนต องอาศัยฐานคิด ที่เป น แกนกลาง และปฏิสัมพันธกัน กับชุมชน มีชุมชนเปนฐาน โครงสรางการบริหารจัดการเครือขายองคก ร ชุมชน เปนฐานคิดสําคัญในการ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ยกระดับความรูขาวสาร และแลกเปลี่ยนบทเรียน กัน ตลอดทั้งรวมกัน วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจในระดับสังคมอยางสอดคลองกับความตองการของแตล ะ ชุมชน โดยมีเครือขายองคกร ชุมชนในแตละระดับมีสวนรวมในการบริหารจัดการอยางเปนกระบวนการ จากชุมชน หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค และระดับชาติ งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผานมาผูวิจัยพบวา มีก ารศึก ษาเกี่ยวกับ การบริหารจัดการบานพัก โฮมสเตยดังนี้ ปราโมทย ภักดีณรงค (2555 : 122-125) ไดศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพ หมูบานวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยว บานรวมมิตร อําเภอเมือ ง จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบวา วิถี ชีวิต ความเปนอยู ภาษา การแตงกาย และประเพณีพื้นบานของชุมชนบานรวมมิตร ซึ่งเปนชุมชนบาน โบราณ ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร จึงเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ ไดอยาง กลมกลืนเปนวัฒนธรรมเฉพาะกลุมของชุมชนขึ้น และมีการสืบทอด ดํารงรักษาเอกลัก ษณทองถิ่นไวได


เปนอยางดี ไมวาจะเปนงานสืบทอดงานประเพณีทั้งปฏิบัติเปนประจําทุก เดือนในรอบป การประกอบพีธี กรรมทางความเชื่อ ภาษาพูดเปนเอกลักษณ วิถีชีวิต และโบราณวัตถุสถานที่ไดรับการอนุรักษไวเปนอยางดี พรมมา ไขแสง (2551 : 115-116) ไดศึกษาเรื่องการจัดการแหลงขอมูลพักอาศัยแบบโฮมสเตยเพื่อ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษาบานโคกโกง จังหวัดกาฬสินธุ ผลการศึกษาพบวา 1) มีการจัดการองคกร แบบที่ชุมชนมีสวนรวมอยา งเปนรูปธรรม ชุมชนใหค วามรวมมือ และพอใจในกระบวนการที่ทําอยูใน ปจจุ บัน ซึ่งสอดคลอ งกั บแนวทางการจั ดการทอ งเที่ยวที่ยั่งยื น แตมีจุด ออ น คือ ไม มีก ารแบ งงานให มี ผูรับผิดชอบดานการประชาสัมพันธการทองเที่ยว และการใหคําปรึกษาอยางตอเนื่อ ง 2) การจัดการดาน กายภาพพบวาหมูบานโคกโกงไมมีเอกลักษณทางดานกายภาพที่ชัดเจนของสถาปตยกรรมภูไท จึงไมได นําเสนอลักษณะทางกายภาพของหมูบานเปนจุดเดน ในการทอ งเที่ยว มีการจัดการเพียงบํารุงรักษาความ สะอาดและความเปนระเบียบของบานพักโฮมสเตย โดยเจาของบานเปนผูดําเนินการ สวนใหญสามารถทํา ไดเรียบรอย และนัก ทองเที่ยวพอใจ 3) การประชาสัมพันธที่ดําเนินการเองโดยชุมชนในปจจุบัน ยังไม เข าใจถึ งกลุ มเปา หมายหลัก ทํ า ใหนั ก ท อ งเที่ ย วเข า มาเที่ ยวนอ ย จึงต อ งการสนับสนุ น ของหน วยงานที่ เกี่ยวของอยางตอเนื่องเพื่อใหเขาถึงนักทองเที่ยวกลุมเปาหมายไดชัดเจน และเพิ่มจํานวน นักทองเที่ยว 4) ชุมชนมีความตองการเงินทุนสําหรับบํารุงรักษาบานพักโฮมสเตย และแหลงทองเที่ยวในหมูบานจึงควรให การสนับสนุนเงินกองทุนเพิ่มเติม สําหรับใชจายการบํารุงรักษาบานพัก และแหลงทอ งเที่ยวดังกลาว จาก เดิมที่มีการจัดการจัดสรรสําหรับกิจกรรมการตอนรับนัก ทองเที่ยวเทานั้น 5) การจัดกิจกรรมการทองเที่ยว ของหมูบาน เนนการนําเสนอ ดานวัฒนธรรมความเปนอยูที่เปนเอกลักษณของชุมชนและวิถีชีวิตของชาวภู ไทที่สัมพันธกับปาและภูเขา และควรสงเสริมไดจัดกิจกรรมการทอ งเที่ยวที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตเชน ใน ฤดูกาลที่เกี่ยวของใหนักทองเที่ยวมีสวนรวมในกิจกรรม ดวยเพื่อ เพิ่มจุดเดนในกิจกรรมการทองเที่ยวใน หมูบาน 6) ขีดความสามารถในการรองรับ นักทองเที่ยวของชุมชนขึ้นอยูกับจํานวนที่พักที่ชุมชนสามารถ จัดใหนักทองเที่ยวเขาพักไดแตจะตองคํานึงถึงความสามารถในการรองรับไดของแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ และมีการจัดการขยะและน้ําเสียในหมูบานเพิ่มเติม เพื่อใหรองรับนักทองเที่ยวไดตามจํานวนที่พักที่มีอ ยู ขอ เสนอแนะอื่น ๆ ที่ ควรเรงดํ าเนิ นการ ไดแ ก การจัดใหมีการรวมกลุมของแหลงท องเที่ยวต างๆ ที่อ ยู ใกลเคียงและทํากิจกรรมรวมกันเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดึงดูดนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวในชุมชน พนมพร สารสิทธิยศ (2552 : 166-171) ไดศึก ษาเรื่ องการทอ งเที่ยวแบบโฮมสเตยเ พื่อ การ อนุรักษสิ่งแวดลอมกรณีศึกษาชุมชนเกาะยาวนอย จังหวัดพังงา ผลการศึกษาพบวา ชุมชนเกาะยาวนอยมี กระบวนการจัดการทองเที่ยวอยู 4 ประการ ไดแก 1) กระบวนการวางแผน 2) กระบวนการจัดสายงาน


3) กระบวนการดําเนินงาน ซึ่งยึดหลักการสําคัญอยู 3 ประการ คือ 1) ตองมีการจัดสรรนักทองเที่ยวที่จะ เขามาทํากิจกรรมโฮมสเตย 2) ทํากิจกรรมทองเที่ยวโดยไมมุงหวังรายไดเปนหลักแตสรางจิตสํานึก ในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยผสานการประกอบอาชีพ การอนุรักษธรรมชาติและการทอ งเที่ยวใหเปน เรื่องเดียวกัน 3) ตองมีการกระจายรายไดจากการทอ งเที่ยวอยางโปรงใสและเปนธรรม 4) กระบวนการ ควบคลุมการดําเนินงาน ซึ่งกระบวนการจัดการดังกลาวสามารถกระตุนและสรางจิตสํานึก แกนัก ทองเที่ยว และคนในชุมชน ใหหันมารวมมือในการอนุรักษสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตชุมชนตามแนวทางของการจัดการ ทองเที่ยวแบบยั่งยืน โดยชุมชนเกาะนอยมีปจจัยเอื้อที่ทําใหเกิดการทองเที่ยวแบบโฮมสเตย อยู 6 ประการ ไดแก ทุนทางบุคคล ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางเศรษฐกิจ และ ทุนภายนอก ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการตัดกิจกรรมทองเที่ยวแบบโฮมสเตยข องชุมชนเกาะยาว นอย มี 2 ลักษณะ คือ 1) ปจจัยภายในซึ่งเกี่ยวของกับการบริหารภายในคณะกรรมการเอง 2) ปญหา ภายนอก สําหรับแนวทางแกไขปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นชุมชนเกาะยาวนอยตองสรางความเขมแข็งใน ชุมชน การดําเนินการตองเปนไปดวยความโปรงใสตรวจสอบได เมื่อมีปญหาตองพูดคุยกันทําความเขาใจ กัน และทุกคนตองยึดมั่นในแนวทางการดําเนินงานตามเจตนารมณในการจัดกิจกรรมทองเที่ยวของชุมชนที่ ไดตั้งไว รัตนาภรณ มหาศรานนท (2552 : 145-150) ไดศึกษาการทองเที่ยวแบบโฮมสเตยกับการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศที่หมูบานปาสักงาม ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา ชุ มชนมีพัฒ นาการในการจั ดการท องเที่ย วเชิ งนิ เ วศแบบบา นพัก มี สวนรวมกับ ชุมชน โดยแบง พัฒ นาการตามชวงของการเขา มาของศู น ยศึก ษาการพั ฒ นาห วยฮอ งไคร และรู ปแบบของการจั ด การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศแบบบานพักมีสวนรวมกับชุมชนแบงออกเปน 2 ยุค การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศของ ชุมชนบานปาสักงามมีทรัพยากรทองเที่ยวประเภทธรรมชาติเปนสิ่งดึงดูดใจ มีความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุพืชและพันธุสัตว มีคายสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อเปนพิพิธภัณฑทางธรรมชาติที่มีชีวิตเปนศูนยการเรียนรู สงเสริมการปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อ ใหนักทองเที่ยวและผูที่ สนใจเกิดการเรียนรูและเกิดจิตสํานึกในการดูแลสิ่งแวดลอม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหเหมาะสมในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีกิจกรรมการเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ การตั้งแคมปพักแรม บริการบานพักแบบมีสวนรวมกับชุมชน สําหรับปญหาที่สําคัญ คือ ขาดมาตรการใน การควบคลุมปริมาณนักทองเที่ยว อาจสรางผลกระทบตอสภาพแวดลอมและการทอ งเที่ยวของชุมชนเอง เสนทางการเดิน ปาบางชวงยังไมปลอดภัย ขาดความรูในการจัดการขยะ และบําบัดน้ําเสียตามหลัก การ


วิชาการที่ถูกตอง ชุมชนทองถิ่นมีโอกาสนอยในการเขามามีสวนรวมในการจัดการทองเที่ยว กาดําเนินการ จัดการทอเที่ยวเชิงนิเวศและบริการทอ งเที่ยว สวนแนวทางการจัดการที่ไมสอดคลอง ไดแก การจัดการ ทรัพยากรแหลงทอ งเที่ยวและสิ่งแวดล อ ม การจัด การมีสวนรวมของประชาชนในทอ งถิ่น การจั ดการ สงเสริมตลาดและบริการนําเที่ยว วิชุดา ศิริวัฒน (2552 : 51-54 ) ไดศึกษาเรื่อ ง แนวทางการบริหารจัดการที่พักทางวัฒนธรรม (Home stay) เพื่อการทองเที่ยว ในจังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา มีการนําเอาศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีที่มีลักษณะเอกลักษณเฉพาะทองถิ่นที่เปนเอกลักษณของคนโคราชคือ การรวมพักอาศัย เพื่อ ศึกษาวิถีชีวิตที่เรียบงายแบบสังคมชนบทและจุดนี้เองคือเปนจุดขายที่สําคัญ ที่นักทองเที่ยว ใหความสนใจ การจัดกิจกรรมที่พัก สัมผัส วัฒนธรรมชนบท จึงเปนสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับนักทอ งเที่ยวในแหลง ทองเที่ย วชุมชนและเปนทางเลือกในตลาดทองถิ่น ที่ไม ใชคู แขง ในเชิงพาณิช ยที่ทําให เกิด ประชาคมซึ่ง ก อ ให เ กิ ดการเปลี่ ยนแปลงทางเศรษฐกิ จสั ง คมและวัฒ นธรรมอั น เป น ผลจากการจั ดการบ านพัก ทาง วัฒนธรรม สงผลใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว อีกทั้งบงชี้ถึงพฤติก รรมและปจจัยการจูงใจ นักทองเที่ยวและการจัดกิจกรรมในการทองเที่ยว ซึ่งสอดคลองกับการจัดการบานพักทางวัฒนธรรมโดย การมีสวนรวมของคนภายในชุมชน แนวคิดที่ใชในการศึกษา

1. แนวคิดทุนชุมชน (Community Capital) “ทุนชุมชน” (Community Capital) คือ สิ่งที่เปนมูลคาหรือมีคุณคาที่มิใชเงินตราเพียงอยางเดียว แต หมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของคน เชน ทุนทรัพยากรที่กอใหเกิดผลผลิต รวมถึง เงินและสินทรัพยอื่น ๆ ที่เปนความรู ภูมิปญญา ประสบการณข องคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปจจัยบริการทางโครงสรางพื้นฐาน ซึ่ง ดร.สุวิทย เมษินทรีย กลาววา ชุมชนแตละชุมชนจะประกอบดวย ทุนตางๆมากมายและทุนของชุมชนที่สําคัญๆ สามารถจําแนกได 5 ประเภท ไดแก 1. ทุนทรัพยากรมนุษย (Human Capital)หมายถึง คุณสมบัติของคนในชุมชนกลุมตางๆ ทุก เพศทุกวัย ทั้งในดานสุขภาพอนามัย อายุขัย คุณภาพของการดูแลสุขภาพใหกับกลุมคนกลุมตาง ระดับการศึกษา จํานวนปที่เด็กไดเรียน การศึกษาในระบบ ?การศึกษานอกระบบ การแบงปนความรู


2. ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมที่ประชาชนใชเพื่อการดํารงชีพ รวมทั้ง ความไวเนื้อเชื่อใจ การยอมรับซึ่งกันและกันและกันในชุมชน กลุมองคกร เครือขายภาคประชาชน ประชา สังคม ความเชื่อถือศรัทธา ตลอดจนวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน 3. ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึงสิ่งที่มนุษยไดสรางขึ้นเพื่อ อํานวยความสะดวกตอการ ดํารงชีวิต หรือเปนปจจัยพื้นฐานในการผลิตที่สนับสนุนการดํารงชีวิตของประชาชน ไดแก การคมนาคม ขนสง ระบบไฟฟา ประปา ระบบพลังงาน การสื่อสาร โทรคมนาคม โบราณวัตถุ โบราณสถาน หรือสิ่งปลูก สรางตาง ๆ 4. ทุ น ธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดล อ มต า ง ๆ ที่ เ ป น ตั วกํ า หนดศั ก ยภาพในการดํ า รงชี วิตและการประกอบอาชี พของประชาชนในชุ ม ชนไดแ ก แหล งน้ํ า ธรรมชาติ ปาไม ดิน น้ํา ภูเขา ทะเล เกาะ สัตวปา แรธาตุ พลังงาน น้ําพุ พืชพันธุธัญญาหารธรรมชาติ เปนตน 5. ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เปนตัวเงินตรารวมถึงโอกาสทางการเงิน ที่ประชาชนใชเพื่อดํารงชีพ ไดแก ทุนทางการเงินที่มาจากการออม (Available Stocks) ที่เปนเงินสด/เงินฝาก สัตวเลี้ยง อัญมณี และทุนที่มาจากรายไดอื่นไดแก เงินบํานาญ/คาตอบแทนที่ไดจากรัฐและเงินกองทุนตาง ๆ ดังนั้ น“ทุน ชุมชน”ทั้ง 5 ประเภทนี้ จะตอ งใชเ ปน ปจจั ยนําเขา (Input) ในกระบวนการสรา ง ความเขมแข็งของชุมชน โดยการแปลงคาทุนตาง ๆ ใหออกมาเปนผลผลิต/ผลลัพธ (Output/Outcome) ใหได ทั้งนี้ เราจะตองคํานึงถึงทุนประเภทที่จะตองสงวนรักษาหรือพัฒนายกระดับไปพรอม ๆ กันอยางสมดุล โดย ไมทําลายซึ่งกันและกัน สําหรับการศึก ษาในครั้งนี้ เกี่ยวขอ งกับทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท ไมวาจะเปน ทุน มนุษย ทุนทางสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนทางการเงิน ที่มีบทบาท เชื่อมโยง และเอื้อประโยชน ใหกับคนในชุมชน ความสําเร็จของการแกไขปญหาตาง ๆ เกิดจากทุนที่มีอยูในชุมชนแทบทั้งสิ้น 2. แนวคิดการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน (Community –Based Tourism Management ) พจนา สวนศรี (2546: 178-179) ได ร ะบุ วา แนวคิ ด และต น กํ าเนิ ด ของคํ า ว า อี โ คทั วร ริ ซึ ม (ecotourism) มาจากประเทศตะวันตก มีการใหคํานิยามคํานี้หลากหลายขึ้นอยูกับภูมิหลังของแตละคนหรือ สังคมที่ผูเขียนหรือนักวิชาการคลุกคลีอยู โดยสวนใหญจะใหความสําคัญในเรื่อ งการพัฒนาที่คูไปกับการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในบริบทสังคมไทยที่คนกับธรรมชาติมีความผูกพันใกลชิดกัน แนวคิดนี้จึงเนนบทบาทของคนและชุมชนมากขึ้น


การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ไดใหความหมายการทองเที่ยวเชิงนิเวศไววา “การทองเที่ยว อยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่มีเ อกลัก ษณเ ฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ย วเนื่องกั บ ระบบนิเวศในพื้นที่ โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของ ภายใตการจัดการสิ่งแวดลอม เปนการ ทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทองถิ่น เพื่อมุงเนนใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน” ซึง่ มอง วาคนและชุมชนเขาไปมีบทบาทในการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ในลักษณะของการเขาไปมีสวนรวมกับสวนตางๆ ที่เกี่ยวของโดยมีแหลงธรรมชาติเปนฐาน จากบทเรียนของการพัฒนาประเทศ โครงการพัฒนาหลายโครงการเปนโครงการที่ดีแตไมสามารถ ทําไดเนื่องจากมองที่โครงการเปนตัวตั้งไมไดมองที่ประชาชน ดังนั้น การใหบทบาทและความสําคัญของ ประชาชนเขามามีสวนรวมและรูสึก เปนเจาของ เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาที่ยั่งยืน ในสวนขององคก ร ประชาชน และองคก รพั ฒนาเอกชน เห็ นวาหากจะใหก ารทองเที่ยวเชิ งนิเ วศยั่ งยืนตอ งมองที่ชุ มชนเป น ศูนยกลาง จึงเกิดแนวคิดเรื่องการทองเที่ยวโดยชุมชนขึ้น “การทองเที่ยวโดยชุมชน (community base sustainable tourism) คือการทองเที่ยวที่คํานึงถึงความ ยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชน และ ชุมชนมีบทบาทเป นเจาของมีสิทธิ ในการจั ดการดู แลเพื่อ ใหเกิดการเรีย นรูแ กผูมาเยือน” โดยมองวาการ ทองเที่ยวตองทํางานครอบคลุม 5 ดาน พรอมกัน ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม โดยมีชุมชนเปนเจาของและมีสวนในการจัดการ นอกจากนี้การทองเที่ยวยังสามารถเปนเครื่องมือในการพัฒนา โดยใชการทองเที่ยวเปนเงื่อนไขและ สรางโอกาสใหองคกรชุมชนเขามามีบทบาทสําคัญในการวางแผนทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนในชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในชุมชนที่มีแนวโนมวาการทองเที่ยวจะรุกคืบเขาไปถึง หรือตองการเปดเผยชุมชนของ ตนใหเปนที่รูจักในวงกวาง ใหมีการสรางใหเกิดกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับการวางแผน การบริหารจัดการ ทรัพยากรและกระจายอํานาจการตัดสินใจโดยเนนความสําคัญของการจัดการธรรมชาติแวดลอมและใชการ ทองเที่ยวเปนเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนไปพรอมกัน ในชวง 2 - 3 ป ที่ผานมาคําวา "Community-based Tourism : CBT" การทองเที่ยวที่ใหชุมชนเปน ฐานการบริหารจัดการ "การทองเที่ยวโดยชุมชน" เปนที่รูจักและใชกันอยางแพรหลายในหลายๆความหมาย ความเขาใจและประสบการณ ซึ่งการทองเที่ยวโดยชุมชนเปนสวนหนึ่งที่จะนําไปสูการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ได เปนเรื่องการทองเที่ยวเชิงวัฒ นธรรม การจัดการดานโฮมสเตย ที่ตองมี "ชุมชน" เปนสวนประกอบ สําคัญ


การทองเที่ยวกลายเปน"เครื่องมือ"ที่รัฐบาลใหความสําคัญเนื่องจากมีความสําคัญตอการสรางรายได เพื่อพัฒนาประเทศอยางมากและยังเปนรายไดที่เปนอันดับตนๆ ของประเทศ และมีการกระจายไปในหลาย ภาคอยางคอนขางชัดเจน เชนการเดินทาง ที่พัก การซื้อของที่ระลึก ภัตตาคาร รานคาตางๆ จึงมีการประกอบ กิจการที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวทั้งโดยทางตรงและทางออม ขยายมากขึ้น เชนการเพิ่มขึ้นของสถานที่พัก ทั้งโรงแรมขนาด 5 ดาว 4 ดาว ไปถึงที่พักแบบพื้นบานที่เรียกวา โฮมสเตย การเพิ่มขึ้นของรานอาหาร และ แหลงบริการอื่นๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ และการขยายตัวไปในแทบ ทุกภูมิภาคของไทย กอใหเกิดการตื่นตัวเพราะมองวาเปนเรื่องงายที่จะมีรายไดเพิ่มจากการทองเที่ยว ที่เปนผู มาซื้อสินคาถึงที่ไมวาจะที่ใดก็ตาม แตจากการที่ทรัพยากรการทองเที่ยวมีจํากัดไมวาจะเปนทรัพยากรการทองเที่ยวทางดานธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น ซึ่งผูดูแลหรือเปนเสมือนเจาของก็คือประชาชนที่อยูในชุมชนนั้นๆ วาจะมีก าร บริหารจัดการการทองเที่ยวไดอยางไร เพราะทรัพยากรทุก อยางตอ งมีขอจํากัดในการใชทั้งสิ้น อยางไรคือ การใชอยางยั่งยืน และเปนไปไดหรือไมที่จะดําเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และควรทําอยางไร เมื่อ "ชุมชน" กลายเปน "สินคา" หรือ "เครื่องมือ" ที่เปนทั้งผูกระทํา และผูถูกกระทํา ในขณะเดียวกันเปนสิ่ง ที่ทา ทายและละเอียดออนอยางยิ่ง เสมือนกับการที่ตอ งคํานึงถึงความรูสึก ความยินดีข องผูเกี่ยวของ ทั้งยัง เปนผูที่ถูก กลาวอางถึงอยูตลอดเวลาในการที่รัฐบาลจะดําเนินการพัฒนาใดๆจึง "ตองใหความสําคัญต อ ชุมชนในระดับตนๆ และชุมชนตองไดรับประโยชน" อยูเสมอ เมื่อชุมชนมาเกี่ยวของกับการทองเที่ยวก็จะมีคําใหมๆ เกิดขึ้น อาทิเ ชน การทองเที่ยวชุมชน การ ทอ งเที่ ย วโดยชุ มชน การท อ งเที่ ยวผ า นชุ มชน การทอ งเที่ ยวในชุมชน ก็ขึ้ น อยูกั บนิยามแห งการสื่ อ ความหมายตอคําดังกลาว แตที่แ นนอนก็คือ "ชุมชน" เปนสิ่งที่ตองถูก กระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได และ อยางไรคือการทองเที่ยวโดยชุมชน "Community Based Tourism : CBT " ที่เ หมาะสมอันจะเปน แนวทาง สําหรับการพัฒนาดานการทองเที่ยวในชุมชนไดอยางเปนรูปธรรมและเห็นผล การทองเที่ยวโดยชุมชน : "Community-based Tourism : CBT" เปนเรื่องของการเรียนรูรวมกันของ คนในชุมชนทองถิ่นและผูมาเยือน ในการที่จะดูแลรักษาทรัพยากรดานตางๆ ของชุมชนที่มีอยูแลว ตลอดจน เปนเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนใหเกิดความยั่งยืน อันเกิดจากการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในชุมชน เพื่อ ประโยชนแกชุมชน"


กระบวนการเรียนรูของ CBT : มีองคประกอบที่สําคัญคือ - ศักยภาพของคน ตองเริ่มที่คนในชุมชนที่จะตองรูจักรากเหงาของตนเองใหดีเสียกอน เพื่อความ พรอมในการบอกเลาขอมูลและคนในชุมชนตองมีความพรอมที่จะเรียนรู มีความสามัคคี ทํางานรวมกันได - ศักยภาพของพื้นที่ หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปญญาทองถิ่นที่ สืบสานตอกั นมา คนในชุมชนตอ งรูจัก ตอ งรักและหวงแหนเห็นคุณค าของทรัพยากรในชุ มชนของตน สามารถที่จะนํามาจัดการไดอยางคุมคาและยั่งยืน ทั้งนี้แลวชุมชนตองมีความพรอมในการเรียนรู ตลอดจนมี ความรู ความเขาใจ ในเรื่องแนวคิด พื้นฐานทางดานการทองเที่ยวโดยชุมชน และการจัดการในพื้นที่ไดดวย - การจัดการ เปนเรื่องที่ไมงายนักที่จะทําอะไร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด เกิดความยั่งยืน สมดุลใน กลุ มคนหมูม าก ดั งนั้ นชุ มชนที่ จะสามารถบริ หารจั ดการ การทอ งเที่ย วโดยชุมชน : "Community-based Tourism : CBT" ไดตองเปนชุมชนที่มี ผูนําที่เปนที่ย อมรับ มีความคิด มีวิสัยทัศ น ความเข าใจเรื่องการ ทองเที่ยวโดยชุมชน ทั้งยังตองไดรับความรวมมือจากหน วยงานทั้งภาครัฐที่เ กี่ยวขอ ง ตอ งมีก ารพูดคุ ย กําหนดแนวทางในการเตรียมความพรอมชุมชนรู วาพื้นที่ข องตนจะมีรูปแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืนได อยางไร ควรมีกิจกรรมอะไรบาง และจะมีการกระจาย จัดสรรรายไดอ ยางไร ทั้งหลายทั้งปวงที่กลาวมานั้น สิ่งสําคัญที่สุดของชุมชนก็คือการมีสวนรวม อันหมายรวมถึง รวมในทุกๆสิ่ง ทุกอยางเพื่อสวนรวม - มีสวนรวม มีไดอ ยางไร การสื่อ สารพู ดคุย เปนการสื่อ ความคิดเห็น การถกปญหา รวมถึงการ หาทางแกไขปญหาตางๆจากการระดมความคิดจากประสบการณของนักวิจัยทองถิ่นพบวาชุมชนจัดใหมีเวที พูดคุย รวมกันคิดวางแผนดําเนินการ ประสานงานกับหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของในการทํางานรวมกัน สราง กฎระเบียบของชุมชนทางดานตางๆเพื่อใหคนในชุมชนรวมถึงผูมาเยือนปฏิบัติตาม

3. แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม Cultural Ecology พั ฒ นาการของแนวความคิ ด ทางมานุ ษ ยวิ ท ยาในช ว งต น คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 20 ไม ว า จะเป น แนวความคิดแบบประวัติศาสตรเฉพาะกรณีของโบแอส หรือแนวความคิดแบบหนาที่นิยมของแรดคลิฟฟบราวน และมาลิ น อสกี นั้ น ส วนหนึ่ ง เป น ผลมาจากการต อ ต า นข อ สรุ ป ของนั ก ทฤษฏี วิวั ฒนาการใน คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 19 ซึ่ ง ส ง ผลให ทฤษฎี วิวัฒ นาการเสื่อ มความนิ ยมลงไปเป น อย า งมาก อย า งไรก็ ตาม หลังจากป ค.ศ. 1940 เปนตนมา ไดมีนักมานุษยวิทยาอเมริกันกลุมหนึ่งหัน กลับมาสนใจทฤษฎีวิวัฒนาการ และพยายามนําเอาทฤษฎีวิวัฒนาการมาประยุกตใชเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม


นิเวศวิทยา วัฒนธรรม (cultural ecology) เปนแนวคิดทางมานุษยวิทยาแนวหนึ่งที่ส นใจศึก ษาการ เปลี่ ยนแปลงทางสั ง คม วั ฒนธรรม โดยเนน ถึงอิทธิ พ ลของสิ่ง แวดลอ มวาเปน ตัวกํ าหนดกระบวนการ วิวัฒนาการทาง สัง คมวั ฒนธรรม จู เลี ยน สจ วด (Julian Steward) นัก มานุ ษ ยวิ ทยาอเมริ กั น ได อ ธิบาย แนวความคิดแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมวา เปนการศึกษากระบวนการปรับตัวของสังคมภายใตอิทธิพลของ สิ่งแวดลอม โดยเนนการศึกษาวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการปรับตัว (adaptation) ของ สังคม แนวความคิดนี้มองสังคมในลักษณะเปนพลวัตหรือเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเปน ผลมาจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม โดยมีพื้นฐานสําคัญคือ เทคโนโลยีการผลิตโครงสรางสังคม และลักษณะของสภาพแวดลอมธรรมชาติ เปนเงื่อนไข หลักกําหนดกระบวนการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของสังคมวัฒนธรรม สจวด มอง "วัฒนธรรม" วาเปนเครื่องมือชวยใหมนุษยปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม ประเด็นสําคัญ สําหรับการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาจึงมีอยูวา วัฒนธรรมมีการปรับตัวอยางไรใหเขากับสภาพแวดลอม และ มนุษยมีวิธีการอยางไรในการใชเทคโนโลยีและระบเศรษฐกิจในการปรับตัวเขา กับสภาพแวดลอมออกจาก ความตอ งการทางดานรา งกายและจิตใจ ซึ่งเปนพื้ นฐานสําคัญอี กสวนหนึ่งในการอธิบายพฤติก รรมของ มนุษย ตัวอยางเชน ในสังคมดั้งเดิม (primitive societies) มนุษยมีวิถีการผลิตแบบลาสัตวและเก็บหาอาหาร โดยปกติแลวผูหญิงจะเปนผูเก็บหาอาหารและผูชายเปนออกลาสัตว การแบงแยกงานในลักษณะเชนนี้มิได เปนเพราะผูชายมีรางกายแข็งแรงกวา แตเปนเพราะผูหญิงตอ งใชเ วลาดูแลลูก ในขณะที่ผูชายสามารถเดิน ทางไกลและจากบานไปไดเปนระยะเวลานานตาม ทัศนะของสจวด มนุษยเปนสัตวมีเหตุผล และวิวัฒนาการ ทางวัฒ นธรรมวางอยู บนรากฐานของเหตุผ ล แต เ ปน เพราะว า สภาพการณ แ ละสภาวะแวดลอ มมีค วาม แตกตางกันออกไป วัฒนธรรมสองวัฒนธรรมจึงมีพื้นฐานของการปรับตัว การแกปญหาและมีวิวัฒนาการ แตกตางกัน เชน วัฒนธรรมของกลุมที่ตั้งรกรากอยูใกลทะเล ยอ มมีก ารประดิษฐ คิดค นเครื่อ งมือ ยั งชี พ ประเภทเบ็ด แห อวน ฉมวก เรือ และมีก ารพัฒนาสั่งสมความรูเกี่ยวกับการเดินทะเลและการจับปลา ใน ขณะเดียวกัน ชนกลุมอื่นที่ตั้งรกรากอยูในเขตปาดงดิบ อาจมีการประดิษฐคิดคนเครื่อ งมือเพื่อใชในการยั ง ชีพแตกตางกันออกไป เชน หอก ธนู เพื่อใชในการลาสัตวแ ละหาอาหาร กลุมชนทั้งสองกลุ มนี้ยอมตองมี วิวัฒนาการทางวัฒนธรรมแตกตางกัน สจวดปฏิเ สธแนวความคิดแบบวิวัฒนาการเสนตรงของนั กทฤษฎีวิวัฒนาการรุนเกา ซึ่งเสนอว า วัฒนธรรมของทุก เผ าพัน ธุจะมีวิวัฒนาการเปน เส นตรงผานขั้ นตอนตา งๆ เหมื อ นกันหมด สจวดแย งว า วิวัฒนาการทางวั ฒนธรรมอาจเกิดขึ้น ไดหลายสาย (multilinear evolution) และแตล ะแนวยอ มมี ค วาม แตกตางกัน ความแตกตางนี้เกิดจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม เทคโนโลยีแ ละโครงสรางสังคม


เปนเหลัก อาจกลาวไดวาแนวความคิดแบบวิวัฒนาการหลายสายนี้ เปนแนวความคิดใหมซึ่งพัฒนามาจาก ทฤษฎีวิวัฒนาการรุนเกา แนวความคิดนี้เนนความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมกับสภาพแวดลอมวามีค วามแนบแนนใกลชิด และสงผลกระทบซึ่งกันและกันอยางแยกไมออก ในยุคสมัยที่พัฒนาการดานเทคโนโลยียังอยูในระดับต่ํา มนุษยจําตองปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม และทําใหสภาพแวดลอมมีศักยภาพในการเปลี่ยนหรือดัดแปลง สภาพแวดลอ มไดมากขึ้ น อิทธิพลของสภาพแวดลอมก็เ ริ่ม ลดถอยลง หากแต รูปแบบและลั กษณะทาง วัฒนธรรม ประสบการณและความเคยชินในอดีต ตลอดจนวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีบางอยางจะ ยังคงอยู และไดรับการสืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง กลาวโดยสรุปแลว นิเวศวิทยาวัฒนธรรมตามทัศนะของสจวด เปนความพยายามศึกษาวิเคราะหถึง (1) ความสั มพั น ธร ะหว า งสภาพแวดล อ มกั บเทคโนโลยี ทางการผลิ ต ซึ่ งเป น ตั วกํา หนดสํ าคั ญ ต อ การ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม (2) ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับพฤติกรรมของมนุษย และ (3) ผลในการอธิบายตนกําเนิดของลั ก ษณะทางวัฒนธรรม (cultural traits) ของกลุมชนตางๆ เชน เปรู เม็ ก ซิ โก เมโสโปเตเมี ย อี ยิ ป ต และจี น เป น ต น ผลงานของสจ วดมี ส วนสํ า คั ญ ในการกระตุ น ให นั ก มานุ ษยวิ ทยาหั น มาสนใจศึ ก ษาถึ ง ความสํ า คั ญของสภาพแวดล อมและอิ ทธิ พลของสภาพแวดลอ มต อ พัฒนาการทางวัฒนธรรม กรอบแนวคิดในการศึกษา ทุนชุมชน

- ทุนธรรมชาติ

- ทุนทรัพยากรมนุษย

ศักยภาพ

ขอจํากัด

- ทุนทางสังคม -ทุนทางวัฒนธรรม การจัดการบานพักโฮมสเตย

ทฤษฎีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม

การจัดการทองเที่ยวโดย ชุมชน

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา


ประการแรก ผูวิจัยจะใชแนวคิดทุนชุมชนอธิบายถึง ทุนธรรมชาติ ทุนทรัพยากรมนุษ ย ทุนสังคม ทุนทาง วัฒนธรรมวาศักยภาพและขอจํากัดในการพัฒนารูปแบบบานพักโฮมสเตยของชุมชนอยางไร ประการที่สอง ผูวิจัยใชแ นวคิดการทอ งเที่ยวโดยชุมชน อธิบายการดําเนินงานของชุมชนในการจัดการ บานพักโฮมสเตยที่สอดคลองกับศักยภาพชุมชน ประการที่สาม ผูวิจัยใชแนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรมอธิบายถึงการจัดการบานพัก โฮมสเตยที่สอดคลองวิถี การดํารงชีวิตของชุมชนที่สัมพันธกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติจนกลายเปนวัฒนธรรมชุมชน

วิธีดําเนินการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูศึกษาไดเขาไปใชชีวิตอยูในพื้นที่เพื่อ สังเกตแบบมีสวนรวม โดยใชวิธีการดังตอไปนี้ 1. การทบทวนเอกสาร โดยศึกษาขอมูลการศึกษาที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว การจัดการบานพัก โฮมสเตย รวมถึงศึกษาบริบททั่วไปของชุมชนจากขอมูลมือสองของอบต.เหลาโพนคอใน 2. สํารวจพื้นที่เปาหมาย โดยศึกษาบริบททั่วไปของชุมชนบานหวยยางหมู 6 และหมู 9 3. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง สัมภาษณสมาชิกบานพักโฮมสเตย 4. การสัมภาษณเชิงลึก ใชสัมภาษณผูรูดานบริบททางวัฒนธรรมของ 5. การสั งเกตแบบมีส วนร วม โดยผู ศึ ก ษาเข า ไปใช ชี วิตอยู ในชุม ชนเพื่ อ ศึ ก ษาข อ มู ล ต า งๆ โดยเฉพาะขอมูลที่เกี่ยวของกับการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชน รวมถึงระบบการบริหาร จัดการการทองเที่ยวของคนในชุมชน 6. การสนทนากลุมยอย ใชเพื่อเปนเวทีในการระดมความคิดเห็นของชาวบานเกี่ยวกับพัฒนาการ ของการทองเที่ยวและสถานการณของการทองเที่ยวในปจจุบัน เพื่อนําไปสูการพัฒนาบานพักโฮมสเตย 7. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาวิเคราะหและอภิปรายผลอยางเปนระบบตามระเบียบวิธีวิจัยทาง สังคมศาสตร เพื่อนําขอมูลที่ไดมาจัดทําเปนรูปเลม รวมถึงนําขอมูล ที่ไดจากการศึกษาเสนอตอองคก ร ปกครองสวนทองถิ่นเพื่อนําไปพัฒนาบานพักโฮมสเตยของชุมชน


นิยามศัพทเฉพาะ การจัดการ หมายถึง รูปแบบการจัดการวางแผน การประสานงาน การแบงบทบาทหนาที่ การ กําหนดกติกากฎระเบียบภายในกลุม โฮมสเตย หมายถึง การจัดกิจกรรมในรูปแบบที่นักทองเที่ยวเขามาพักคางคืนเพื่อเรียนรูและ แลกเปลี่ยนประสบการณดานการดําเนินชีวิต ศิลปวัฒนธรรม รวมกันระหวางนักทองเที่ยวกับคนในชุมชน ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถหรือความพรอมของชุมชนในการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย


บทที่ 2 บริบททั่วไปของชุมชน

บริบททางประวัติศาสตร จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานไดเลาวา ชาวบานหวยยางนั้นไดอพยพมาจาก บานมั่น เมือง เซะ สาละวัน คําทอง เมืองวัง ของประเทศลาว โดยการนําของนายยาง ( ทาวโพธิสาร) และนายโตะ โดย เดินทางขามแมน้ํ าโขง เขาสูจังหวัดนครพนม แลวเดินทางตอจนมาถึงภูพาน ซึ่งปจจุ บันคือบา นหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร และไดเลือกพื้นที่นี้เปนที่ตั้งหมูบาน เพราะเห็น วาที่แหงนี้มีดิน มีน้ํา ที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูก อย างยิ่ง จึงเปน ที่มาของชื่อ หมูบานหวยยาง เนื่องจากนําชื่อของผูตั้งหมูบานมาเปนชื่อของหมูบาน ตอมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุล จึงตั้งนามสกุล วา “ ยางธิสาร” โดยนําเอาชื่อผูตั้งหมูบานผสมกับชื่อหมูบานหวยยาง ชุมชนหวยยางมีประวัติค วามเปนหมูบานขาดแคลนเนื่องจากประสบภัยแลง โดยในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้ง ที่ 1 ยายไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัยไป 20 ครัวเรือ น กลุมที่ 2 ยาย ไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งที่ 2 หนีภัยไปจํานวน 12 ครัวเรือน โดยยายตาม ญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย บริบททางภูมิศาสตร ที่ตั้ง ชุมชนหวยยาง หมูที่ 6 และหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู ทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอฯประมาณ 12 กิโลเมตร และหางจาก จังหวัดสกลนครประมาณ 36 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอดังนี้


ทิศเหนือ

จรดกับบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทศใต

จรดกับเทือกเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก จรดกับบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันตก จรดกับเทือกเขาภูพาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบที่ 2 แผนที่กายภาพแสดงที่ตั้งของชุมชนหวยยาง ลักษณะภูมิประเทศ ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่ตั้งอยูบนเนินเขาที่เตี้ย ๆ ลอมลอบดวยทุงนาและภูเขาสลับซับซอน ใกลกับอุทยานแหงชาติภูผายล เดิมบริเวณนี้จะเต็มไปดวยปาไม พืชพันธุธรรมชาติ และสัตวปานานาชนิด ซึ่งในปจจุบันไดลดนอยลง เนื่องจากการขยายตัวของประชากรในชุมชน ทําใหความตองการที่จะทํามาหา กินเพิ่มมากขึ้น ระหวางหมูบานกับภูเขาเปนที่ราบลุมเชิงเขา สภาพพื้นที่ในหมูบานหวยยางนั้นถือวาเหมาะ แกการเพาะปลูก ทําไร ทํานา ทําสวน เพราะมีแหลงน้ําเพียงพอในการทําการเกษตร (พาดี ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)


ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของชุมชนหวยยาง มีทั้งหมด 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูรอน เริ่มประมาณเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะบานหวย ยางติดกับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะเปนชวง ที่ชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็นจัด ประมาณ 13 Cº เพราะบานหวยยางติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลที่ชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิต ทางการเกษตรโดยเฉพาะผลผลิตจากการทํานา

ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะภูมิประเทศของชุมชนหวยยาง

บริบททางสังคม ครัวเรือนและประชากร ชุมชนหวยยาง ประกอบดวย บานหวยยาง หมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ซึ่งแยกออกจาก บานหวยยาง หมูที่ 6 เมื่อป พ.ศ.2538 บานหวยยาง หมูที่ 6 มีจํานวน ครัวเรือน 249 ครัวเรือน มีประชากร


ทั้งสิ้น 925 คน เปนชาย 472 คน หญิง 453 คน สวนบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 มีจํานวน ครัวเรือน 248 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 829 คน เปนชาย 427 คน หญิง 402 คน กลุมชาติพันธุ ชาบานหวยยางเปนกลุมชาติพันธุภูไท ซึ่งบรรพบุรุษอพยพมาจากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยการนําของทาวโพธิสาร ชาวภูไทถือวาเปนชนเผาไทหรือไตอีกสาแหรกหนึ่งซึ่งจัดวาเปน ผูที่พูดภาษาตระกูลไทกะได (Tai -Kadai) หรือไท-ลาวชนชาติไทเหลานี้กระจัดกระจายอยูทั่วไปในเขตปา ฝนเมืองรอนโดยเฉพาะในดินแดนลุมแมน้ําโขงลุมแมน้ําสาละวินลุมแมน้ําดําลุมแมน้ําแดงที่อยูในบริเวณรัฐ ชาติไทยพมาลาวเวียดนามและจีนเปนตนรวมทั้งบริเวณทางเหนือของอินเดีย (ธันวาใจเที่ยง, 2545:12) ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปลงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรม ราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และ พระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เมื่อโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบทรัพย สมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีก ครั้งหนึ่งมี เนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน 1. ภูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีดําและสีคราม 2. ภูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีขาว ระบบความสัมพันธของชุมชน ความสัมพันธของชุมชนหวยยาง เปนชุมชนที่มีความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยกัน แบบพี่แ บบนอ ง ทั้งเปนญาติพี่นองกันตามสายเลือดและเครือญาติที่ไมใชญาติพี่นองกันตามสายเลือด มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรักใครสามัคคีก ลมเกลียวกัน เพราะสวนใหญจะอยูกันแบบเครือ ญาติละแวกบานเดียวกัน มีทั้งครอบครัวขยาย และครอบครัวเดี่ยว มีวิถีชีวิตที่มีความผูกพันกับศาสนาผูเฒาผู แกจะชอบไปทําบุญที่วัดซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจที่สําคัญของชาวบานหวยยางและยังพบวาภายในชุมชนยังมี ความสัมพันธในดานอื่นๆ เชน กลุมเพาะพันธุกลาไม กลุมทอผา กลุมเลี้ยงไหม กลุมชีวภาพ และกลุม ออมทรัพย ชุมชนหวยยางมีตระกูลใหญ และสําคัญ อยู 3 ตระกูล ซึ่งเปนตระกูลของผูที่เกี่ยวของกับการกอตั้ง ชุมชนหวยยางในอดีต ไดแก ตระกูลยางธิสาร ตระกูลโตะชาลี และตระกูลแสนธิจักร (หวล ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)


บริบททางการเมืองการปกครอง ชุมชนหวยยาง มีการแบงการปกครองออกเปนคุม มีหัวหนาคุมทําหนาที่ประสานดูแ ล โดยแตล ะ หมูบาน มีการแบงคุม ดังนี้ บานหวยยาง หมูที่ 6 1. ชื่อคุม คุมวัดโพธิ์ชัย

หัวหนาคุม ชื่อ นายสาคร ยางธิสาร

2. ชื่อคุม คุมแสงสวาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายลิขิต ยางธิสาร

3. ชื่อคุม คุมโรงเรียน

หัวหนาคุม ชื่อ นายหวล ยางธิสาร

4. ชื่อคุม คุมบานนอย

หัวหนาคุม ชื่อ นายเรง ยางธิสาร

บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1. ชื่อคุม คุมกลางใหญ

หัวหนาคุม ชื่อ นายจบ ยางธิสาร

2. ชื่อคุม คุมกลางตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายไมตรี ศูนยราช

3. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายสนธีร ยางธิสาร

4. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนลาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายคําตา นาริเพ็ง

ผูนําที่เปนทางการของชุมชน ผูนําที่เปนทางการของชุมชนหวยยาง ประกอบดวยผูนําทางการปกครอง และผูนําทางการเมือ ง ได แก ผู ใหญบาน ผู ชวยผู ใหญบาน สมาชิ ก องคก ารบริ หารสวนตํ าบล ผูทรงคุณ วุฒิ ในแตล ะคุ มและ กรรมการหมูบาน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของชาวบานในหมูบาน ดังตอไปนี้ บานหวยยางหมูที่ 6 1. ผูใหญบาน ชื่อ นายพายัพ โตะชาลี 2. ผูชวยผูใหญบาน

1. นายสมทรง สรอยสรง 2. นายพรเพชร เถือกตาถา 3. นายอภินันท เถือกตาถา

3. สมาชิก อบต.

1. นายสุรัน โตะชาลี 2. นายสาคร ยางธิสาร

บานหวยยางเหนือหมู 9 1 ผูใหญบาน ชื่อ นายทวีชัย ยางธิสาร


2 ผูชวยผูใหญบาน

1. นายมนูญ ยางธิสาร 2. นายมีชัย ยางธิสาร 3. นายวิตตะ ยางธิสาร

3. สมาชิก อบต.

1. นายจบ ยางธิสาร 2. นางวงคจันทร ยางธิสาร

โดยผูนําทางการมีบทบาทหนาที่เปนผูประสานงานระหวางหนวยงานราชการกับชาวบานในพื้นที่ เกี่ยวกับงานพัฒนาในดานตางๆของชุมชน และดําเนินกิจกรรมตางๆในหมูบาน รวมถึงการเปนผูไกลเกลี่ย ปญหา ขอขัดแยงที่เกิดขึ้นกับชาวบาน ผูนําที่ไมเปนทางการของชุมชน ชาวบานหวยยางยังมีความเชื่อวัฒนธรรมประเพณีและใหความเคารพผูอาวุโสมีความเหนียวแนนใน กลุมเครือญาติ แมวาจะมีผูใหญบานที่เปนผูนําทางการแตการทํางานจะตอ งปรึกษาหารือกับผูอาวุโส เชน กิจกรรมวั นสํ าคั ญทางศาสนา ผูนําในพิ ธีก รรมต างๆดา นความเชื่อ การหาฤกษ ย ามในพิธี สํา คัญ ฯลฯ นอกจากนี้ ยั งมีผู รูเ กี่ ยวกั บวั ฒ นธรรมและภู มิปญ ญาพื้ น บา นที่ เ ป น อั ตลั ก ษณ ข องชุ มชน โดยมี ค วามรู ความสามารถดานตางๆดังตอไปนี้ บานหวยยาง หมูที่ 6 1.นายพาดี ยางธิสาร มีความรูค วามสามารถดานการจักสาน ตะกรา กระติ๊บขาว นอกจากนี้ยัง สามารถเปนผูนําในพิธีบายศรีสูขวัญในการตอนรับแขกบานแขกเมือง 2.นางผองคํา โตะชาลี มีความรูความสมารถเกี่ยวกับการรักษาโรคดวยการเปา 3.นายหวล ยางธิสาร นอกจากเปนอดีตผูใหญบานแลวยังมีความรูความสามารถเกี่ยวการใชเครื่อ ง ดนตรีพื้นบานการขับรองหมอลํา และเปนครูสอนเกี่ยวกับกาพยกลอน ทํานองหมอลํา 4. นางแต คําเครือ มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชสมุนไพรพื้นบาน 5. นายเกียน โตะชาลี เปนหมอสูตร มีความรูความสามารถในดานการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ดูฤ กษ มงคลในงานพิธีตางๆ บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1. พระราชรัตนมงคล เลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ทานเปนชาวบานหวยยาง มีบทบาทเปนผูนํา ทางจิตวิญญาณของชาวบานหวยยาง รวมถึงมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนหวยยาง ดวยการฟนฟูวัฒนธรรม


ประเพณีภูไทชาวหวยยาง และสงเสริมดานการทองเที่ยว จากการดําเนินโครงการสรางอุโบสถดิน ถวายเปน พระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสเจริญพระ ชนมพรรษา 84 พรรษา 2.นายเลา ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหวยยาง 3.นายวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบาน 4.นายเซง คําเพชรดี มีความรูความสามารถดานมนตคาถา เปารักษาพิษงู ไลปอบ 5.นายขันคํา ยางธิสาร มีความรูความสามารถดานการเปาฝหัวดํา 6. นางจอม จองสระ มีความรูความสามารถดานยาสมุนไพร 7. นายชุย แสนธิจักร มีความรูความสามารถดานไลปอบ

บริบททางวัฒนธรรม การแตงกาย การแตงตัวของชาวภูไท ผูชายจะนุงผาดําหรือขาว ใสเสื้อทอเองสีดําไมใชเครื่องประดับ ผูหญิงนุง ซิ่นสีดําและใสเสื้อดําสะพายแลง โดยเอาแขนเสื้อสองแขนผูกติดเขาหากันพอปดบังหนาอก เครื่องประดับ ผูหญิงสวมกําไรขอมือสีเงิน ตางหูเงิน เกลาผมสูงจัดเปนกีบสวยงาม รัดดวยผาผืนเล็กๆในงานบุญตางๆ จะ แตงตัวสวยเปนพิเศษ ผูชายจะนุงผาไหมสวมเสื้อชั้นในสะพายผาทอลายตางๆผูหญิงนุงซิ่นมัดหมี่สวมเสื้ อ ดําแขนยาวผาอกติดกระดมดาย 30 - 40 เม็ด สลับดวยลายสตางค มีลูก ปดแกวคลองคอ ขอ มือ และ ประดับผม บางคนมีสรอยหอยเงินเหรียญตางๆ การแตงกายของชาวภูไทไมวาจะอยูในพื้นที่ใดก็มีลัก ษณะ การแตงกายเหมือนกัน

ภาพประกอบที่ 4 ชุดภูไท ชาย – หญิง

ภาพประกอบที่ 5 ชุดภูไทที่ใชตอนรับแขก


ภาษา บานหวยยางจะมีภาษาพูดและเสียงวรรณยุกตใกลเคียงกับภาษาอีสานบางคํา ตางแตสําเนียงพูดที่ ภูไทออกเสียงสระอัว เอีย เอือ ไมได จะออกเสียงอัวเปนโอ และเอียเปนเอ เอือเปนเออ น้ําเสียงมักจะสั้น หวน และตวัดเสียงสูงขึ้นในพยางคทาย เชนคําวา “ไม” จะออกเสียงวา “มิ, มิได” คําวา “อะไร” จะออก เสียงวา “พิสัง” “หองครัว” จะออกเสียงวา “หอ งโค” “พอ,แม” เรียกวา “ผอ ,แหม,โพะ,เบะ” เปนตน จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานบอกวาในอดีตบานหวยยางพูดภาษา “ภูไทเซะ” ซึ่งเปนภาษาที่ ไพเราะและฟงงาย แตปจจุบันภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปเหลือเพียงไมกี่คนที่สามารถพูดภาษาภูไทเซะได ศาสนา ชาวบานหวยยางนับถือศาสนาพุทธทุกหลังคาเรือน จึงถือไดวาวัดเปนจุดศูนยกลางทางพุทธศาสนา ความศรัทธาในการทําบุญประเพณี การทําบุญในวันพระหรือวันธรรมสวนะ และวันสําคัญทางศาสนา เชน วันเขาพรรษา วันออกพรรษา งานบุญผเวส งานบุญสงกรานต เปนตน วัดในชุมชนหวยยาง มี ทั้งหมด 2 วัด คือ วัดโพธิ์ชัย และวัดพุทธนิมิตสถิตสีมาราม นอกจากนั้นยังมีสํานักสงฆที่ตั้งอยูในเขต อุทยานแหงชาติภูผายล จํานวน 2 แหง คือ วัดถ้ําผาแก และวัดภูนอย พิธีกรรม ชาวบานหวยยาง มีความเชื่อเรื่องผี ไดแก ผีแถน ผีฟา ผีปูตา ผีนา ผีบรรพบุรุษ และผีบานผีเรือน รวมถึงมีความเชื่อทางพุทธศาสนา จึงมีการประกอบพิธีกรรมที่สําคัญเพื่อเปนการแสดงใหเห็นถึงการเคารพ นับถือควบคูไปกับการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ซึ่งมีพิธีกรรมสําคัญ เชน พิธีเลี้ยงผีปูตา พิธีเหยา และพิธีสรงน้ําพระภู โดยมีรายละเอียดดังนี้ พิธเี ลี้ยงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เพราะมีความเชื่อวา ผีปูตาเปนผูดูแลคุมครองปกปก รัก ษาลูกหลาน ซึ่งจะมีการจัดพิธีบวงสรวงผีปูตาทุกๆปในวันขึ้น 3 ค่ํา เดือน 3 กอนลงทําไรไถนาก็จะมีการบอกกลาวผีปูตากอนจงจะทําได เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็นําไปถวายผีปูตา กอนจึงจะนําไปรับประทานได ถาไมปฏิบัติเชนนั้นผีปูตาก็จะแสดงสัญลักษณเพื่อเปนการเตือนวาลูกหลาน ไมไดถวายสิ่งของที่ตนเองปลูกฝงลงไปในที่ดินของปูตา ดวยเหตุนี้ผีปูตาจึงเปนที่เคารพนับถือชาวบาน


โดยพิธีการจะทําการบวงสรวงที่ปาชุมชนซึ่งเปนที่ที่ศาลปูตาตั้งอยู เครื่องบูชาประกอบดวย เหลา ขาว 1 ไห ไก 1ตัว ดอกไม ธูป เทียน ตามจํานวนคนที่อาศัยอยูในครอบครัว แลวก็จะมีการบอกกลาวผีปูตา โดยใหเจาจ้ําเปนผูสื่อสารหรือบอกกลาว พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเป นการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผี” วาผูเ จ็บปวยนี้ ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฏิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผี หมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอ เหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวย ที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป) 4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน พิธีสรงน้ําพระภู พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงปลายเดือน 5 หรือตนเดือนหกของทุกป ซึ่งกําหนดการ สรงน้ําพระภูชาวบานจะเปนกําหนดเพื่อหาฤกษที่เปนมงคลและมีความเหมาะสม โดยชาวบานในชุมชนหวย ยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอาง


กุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิ ริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมี ความเชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล ประเพณี 12 เดือน ชาวบานหวยยาง ยังมีการปฎิบัติ ฮีต 12 เปนประเพณีในแตละเดือนดังตอไปนี้ บุญเดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานรื่นเริงกัน บุญเดือนยี่ เปนประเพณีที่เกี่ยวของกับการเก็บขาวและการนวดขาว ทําในชวงที่ขาวออกรวงแกจัด และรอการเก็บเกี่ยว โดยมีพิธีการสูขวัญขาวเปนการเซนไหวผีปาปูตา เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะมี การเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทน เรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เดือนสี่ “บุญมหาชาติ” หรือ เรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญที่ยิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสองผูที่มี ศรัทธาทั้งหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานทั้งฝายฆราวาสและฝายสงฆจะชวยกันตกแตง ประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดรฝายฆราวาสหญิงตอ งเตรียม อาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ํา เตรียมไวใหแขกใชแขกตางหมูบาน นอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยังตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแห ขาวพันกอนไปถวายพระ ที่ตองทําใหไดถึงพันกอนนั้นเนื่องจากถือ วาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศน มหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตนดอกเงิน และการแหกัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลว นําเขามาถวายที่วัดก็เปนเสร็จพิธี เดือนหา บุญสงน้ําพระ หรือที่เรียกวา บุญสงกรานต ชาวบานจะหยุดการทํางาน 3 วัน ระหวาง ในชวงเชาของวันที่ 13 เมษายน ชาวบานจะมีรวมตัวกันที่วัดเพื่อทําบุญใสบาตรที่วัดเพราะถือวาเปนวันขึ้น ปใหมของไทย มีการสรงน้ําพระพุทธรูปซึ่งเปนพระพุทธรูปประจําหมูบาน คือ หลวงพอองคแ สน และ หลวงพอที่ปนดวยกลีบดอกบัวทั้งองค จากนั้นก็สรงน้ําพระสงฆที่วัดโดยจะมีผูนําทางพิธีก รรมทําการขอ ขมาพระสงฆเพื่อจะทําพิธีสรงน้ําเพื่อขอพร เมื่อสรงน้ําพระเสร็จชาวบานก็จะเชิญผูสูงอายุในหมูบานมานั่ง เรียงแถวใหลูกหลานไดรดน้ําดําหัวเพื่อขอพร ชวงบายก็มีการแหหลวงพอองคแ สนพระและพระสงฆรอบ หมูบานหรือที่ชาวบาน เรียกวาพิธีแหหลวงพอองคแ สนซึ่งจะทําเปนประจําทุกปจนเปน ประเพณีคูกับวัน สงกรานต นอกจากนี้ยังมีก ารเลนสาดน้ํากันเพื่อความสนุกสนานแลวก็มีก ารเก็บดอกไมตามไรนาปาเขา ใกลๆเพื่อนําไปบูชาพระ ตอมาก็จะมีการ “จุดบั้งไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนพิธีก ารขอฝน


และเสี่ยงทายฝนฟาตามความเชื่อดั้งเดิม โดยชาวบานทั้งตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพื่อ นําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยังพระธาตุดอยอางกุง เมื่อพระสงฆฉันเพลเสร็จ ก็จะทําพิธีที่บริเวณพระธาตุ และใหชาวบานสรงน้ําพระธาตุเพื่อใหเปนสิริมงคล เดือนหก “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของชาว ไทยอีสานทั่วไป เพื่อเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลามสอบถาม วิญญาณของบรรพบุรุษ เดือนเจ็ด ทําบุญติดปติดเดือน เรียกวาทําบุญดวยเบิกบาน ทําพิธีเลี้ยงมเหศักดิ์หลักเมือ ง เลี้ยงผี บานซึ่งเรียกวาผีปูตา หรือตาปู ซึ่งเปนผีประจําหมูบานและเรียกผีประจําที่น าวา “ผีตาแฮก” คือกอนจะลง ทํานาตองมีการสรวงบูชาเจาผีนากอนเปนการแสดงความนับถือรูบุญคุณ เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญที่ชาวบานไมเคยละเลยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวาย ภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือที่เรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญที่แสดงความกตัญูกตเวที ตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีที่ไดกระทําตอตนเองเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยูความผูกพันกันเชนนี้ ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนําขาวพรอมอาหารคาว หวานที่ทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพื้นดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลว กรวดน้ํา อุทิศสวนกุศลใหญาติพี่นอง บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาในวันแรม 14 ค่ําเดือ นเกา บรรดาผู ลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลานนั่นเอง เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติที่ลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล เดือนสิบเอ็ด เมื่อพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตที่ 8 และออกพรรษาตามฮีตที่เดือ นสิบเอ็ดแลว แสดงวา จํ า พรรษาครบสามเดื อ นทํ าพิ ธี ปวารณา ตามวัด ต า งๆจุ ดประที ปโคมไฟสวางไสว เริ่ม ตั้ ง แต กลางเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน เดือนสิบสอง “ทําบุญกฐิน” (กฐินเริ่มแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ถึงกลางเดือน 12) เปนงานบุญแบบ เดียวภาคกลาง คือมีการจองกฐินแหกฐิน และสมโภชกฐินเปนอันดับสุดทาย โดยปกติในสมัยกอนนิยม ทอกผากฐินกันเอง จะเปนผาฝาย ผาไหม เพราะถือวาไดผลานิสงค


บริบททางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่ดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปาชุมชน ซึ่งประชาชนใชประโยชนรวมกัน 2 แหง แหงแรกตั้งอยูทางทิศเหนือของโรงเรียนบานหวยยางมีเนื้อที่ 3 งาน ซึ่งเป นพื้น ที่ที่ชาวบานใชประโยชน เชน หาเถาวัล ย เห็ด และสัตวปาขนาดเล็ก แตปาชุมชนได ประสบปญหาเถาวัลยปกคลุมตนไมทําลายความหลากหลายทางธรรมชาติ องคก รปกครองสวนทองถิ่นจึง ไดมีโครงการพัฒนาปาชุมชนและปลูกไผเถิดพระเกียรติ 84 พรรษา เพื่อฟนฟูปาชุมชน แหงที่สองเปนปา ชุมชนที่ใชประโยชนเปนปาชาชาวบานในชุมชนจะประกอบพิธีกรรมที่สําคัญคือ พิธีฝงศพ นอกจากนี้บาน หวยยางยังมีหนองน้ําสาธารณะ 1 แหง คือหนองไผ มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร เปนที่ตั้งของศาลปูตาซึ่งมีมา นานพรอมกับหมูบานในชาวบานไดใชประโยชนจากไผที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติไดตลอดทั้งป ในอดีตสภาพ ของหนองไผมีลักษณะเปนปาไผทึบประกอบกับเปนที่ตั้งของศาลปูตาทําใหผูเ ขา ไปใชประโยชนในพื้นที่ หนองไผ มี ค วามเกรงกลั วและถู ก เรี ย กว า เปรี ยบเสมื อ นตู เ ย็ น ของชุ ม ชนเพราะเต็ มไปด วยอาหารและ ประโยชนใชสอยมากมาย

ภาพประกอบที่ 6 ปาชุมชน


บริบททางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพหลัก ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพทํานาเปนหลัก โดยมีทั้งการทํานาปแ ละนาปรัง ซึ่งการทํานา ปรังสวนใหญจะอาศัยน้ําจากอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง การประกอบอาชีพรอง ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพรองหลายอยางดวยกัน ไดแก การทําสวน การเพาะกลาไม การ รับจาง สวนใหญจะเปนอาชีพเสริมตามฤดูก าลไดแก การรับจา งดํานา เกี่ยวขาว รับจางลงกลาผัก หวาน การคาขาย ไดแก ขายกลาไม การคาขายภายในชุมชน ขายของที่ไดจากการหาของปาและสัตวน้ําที่หาได จากอางเก็บน้ําหวยโท สวนการเลี้ยงสัตวมีทั้งการเลี้ยงไวขาย เพื่อใชแรงงาน และเพื่อบริโภค เชน ปลา ไก เปด โคขุน กระบือ เปนตน นอกจากนั้นชาวบานที่เปนผูหญิงยังมีรายไดเสริมจากการทอผาอีกดวย ตารางที่ 1 ปฏิทินทางเศรษฐกิจของชุมชนหวยยาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การทํานาป การทํานาปรัง การปลูกยาสูบ การปลูกถั่วลิสง การปลูกผัก การเพาะพันธุกลาไม การหาของปา การจับปลา การเลี้ยงโคขุน การเลี้ยงไก เปด ปลา การทอผา การรับจางทั่วไป การคาขายในตลาดชุมชน

มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค


บริบทองคกรชุมชน ชุมชนหวยยาง ทั้งหมูบานหวยยางและหวยยางเหนือ มีกลุมองคกรตางๆดังตอไปนี้ 1. วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธกลาไม จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2553 โดย มี วั ต ถุ ป ระ สงค เ พื่ อ รวมกลุมหาเงินมาลงทุนในการเพาะพันธุกลาไม ซึ่งมีแหลงเงินทุนที่สําคัญไดแ ก ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร ซึ่งสมาชิกภายในกลุมไดมีการสรางขอตกลงในการปฏิบัติรวมกัน คือ สมาชิกใน กกลุมจะตองมีการเก็บเงินออมของแตละเดือนเดือนละ 40 บาท ขายตนกลาไมในราคาเดียวกัน และมีการ ประชุมกันเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีการเพาะพันธกลาไมหลายชนิด เชน กลาผักหวาน มะกรูด มะนาว ฯลฯ 2. กลุมเยาวชน จั ดตั้ง ขึ้นเพื่อส งเสริ มให เยาวชนในหมูบา นมีกิ จกรรมและใชเวลาว างใหเ กิ ด ประโยชน ปจจุบันมีการรวมกลุมกับทั้งสองหมูบานคือบานหวยยางและบานหวยยางเหนือ 3. กลุมสตรีแมบานออมทรัพย จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสตรีตอองคกรสตรี ในการ พัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิตของสตรี ในหมู บา นใหมี ค วามเปน อยูที่ดีขึ้ น ตามเกณฑค วามจํ า เป น พื้ นฐานรวมทั้ง ครอบครัวและชุมชน 4. กลุมทอผาไหม จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2531 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ แกไขปญหาความยากจน โดย พระราชิ นี ทานได มีก ารส ง เสริ มให ช าวบ า นได ทอผ า เป น อาชี พเสริม โดยสมาชิก กลุ มทอผา ไหมได ไป ทําการศึกษาดูงานที่จังหวัดรอยเอ็ดเพื่อพัฒนาพันธไหมเพื่อใหไดไหมที่มีคุณภาพ ประเภทของสินคาไดแก ผาพื้น ผาไหมมัดหมี่ หมี่ขอ ผาลายสะโลง ผาขาวกระรอก ผาลายสกอต ซึ่งจะมีผูเขามารับซื้อสินคาทําให สมาชิ ก ภายกลุ มมีวัตถุ ดิบและตลาดรองรับ แต ในปจจุบัน สมาชิ กในกลุมมี จํานวนลดน อ ยลงเนื่อ งจาก สมาชิกภายกลุมไมมีเวลาและขาดสถานที่ทําการกลุมทําใหการประกอบกิจกรรมตางๆจึงคอนขางลําบาก 5. กลุมผลิตปุยชีวภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงคเพื่อตองการปรับเปลี่ยนวิถีการ ผลิ ต ให หั น มาผลิ ต ปุ ย ชีว ภาพเองและไม สิ้ น เปลื อ งมี ก ารนํ า เอาวั ต ถุ ดิ บ ที่ หาได ในชุ ม ชนมาใช เช น กากน้ําตาล เศษอาหาร ผัก ผลไม ศัตรูพืช เชน หอยเชอรรี่ สถานบริการและสถานที่สําคัญของชุมชน รานคาขายของชํา จําหนายขาวของเครื่องใชที่จําเปนในครัวเรือนทั้งใชในการประกอบอาหาร การ ประกอบอาชีพ ซึ่งมีความจําเปนตอชุมชน มีจํานวน 9 ราน ที่อานหนังสือพิมพ เปนสถานที่ที่ชาวบานใชหาขอมูลขาวสารและความเคลื่อนไหวตางๆที่เกิดขึ้น ในสังคม มีจํานวน 2 แหง


หอกระจายขาว เพื่อใหผูนําชุมชนหรือกรรมการหมูบานใชประชาสัมพันธขาวสารตางๆจากทาง ราชการ นอกจากนี้ยังใชประชาสัมพันธเพื่อเรียกประชุมชาวบานในกาลจัดงานสําคัญตางๆ ตูโ ทรศัพทสาธารณะ เพื่อใชติดตอสื่อสารไปยังชุมชนภายนอกหรือใชติดตอญาติพี่นองที่ไปทํางาน ในต า งจั ง หวั ด แต ในป จ จุ บั น โทรศั พ ท ส าธารณะไม ไ ด รั บ ความนิ ย มเนื่ อ งจากแต ล ะครั ว เรื อ นมี โทรศัพทเคลื่อนที่เพราะใชบริการงายกวาโทรศัพทสาธารณะ มีจํานวน 1 ตู ศูนยสาธารณสุขมูลฐาน จัดตั้ งขึ้ นเพื่อ เป นศู นย การนั ดหมายและที่ทํางานหรื อศู นย รวมข อ มู ล ขาวสารทางดานสาธารณสุขของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน รานซอมรถ บริการซอมรถใหกับชาวบานในหมูบานโดยอัตราคาบริการคิดราคาแบบเปนกันเอง มี จํานวน 1 ราน รานตัดผม ใหบริการกับชาวบานภายในชุมชนและชาวบานในชุมชนรอบนอก มีจํานวน 1 ราน อุโบสถดิน

ภาพประกอบที่ 7 อุโบสถดิน เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ตั้งอยูที่บานหวยยางหมูที่ 6 จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิต สถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กอตั้งวัดในป พ.ศ. 2470 สังกัดคณะสงฆธรรมยุต


โรงเรียนบานหวยยาง

ภาพประกอบที่ 8 โรงเรียนบานหวยยาง โรงเรียนบานหวยยาง จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2475 เดิมชื่อวาโรงเรียนวัดบานหวยยาง “วัดโพธิ์ชัย” ตอ มาได ย า ยมาตั้ ง เปน โรงเรีย นบ า นห วยยาง ให บริก ารด านการศึ ก ษาเริ่ มจากชั้ น อนุ บาลไปจนถึ ง ชั้ น มัธยมศึกษาที่ 3 ซึ่งเปนโรงเรียนขยายโอกาส ปจจุบันมีนักเรียนทั้ งหมด 238 คน ในจํานวนนี้มีนัก เรียน จากอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม เขามาศึกษารวมดวย เนื่องจากหมูบานตั้งอยูใกลกับโรงเรียนจึงมีค วาม สะดวกในการเดินทางมาศึกษาที่โรงเรียนบานหวยยาง อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและศาลาอนุสรณทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสราง อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอาง เก็บน้ําดวยพระองคเอง เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 เพื่อใหชาวบานไดใชน้ําในการทําการเกษตรใน ชวงเวลาที่ขาดแคลนน้ํา


ภาพประกอบที่ 9 จุดชมวิวอางเก็ยน้ําหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบที่ 10 ศาลาอนุสรณทรงงาน


บทที่ 3 การจัดการบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ความเปนมาของกลุมบานพักโฮมสเตย ในป พ.ศ. 2550 นั้นชุมชนหวยยางเริ่มมีพิธีตอนรับคนที่มาทอดผาปาที่ชุมชนหวยยาง ซึ่งวิธีการ ตอนรับ คือชุมชนทุกคนจะออกมาตอนรับอยูบริเวณหนาวัดเพื่อตอนรับคณะผาปาที่กําลังเดินทางมา อาจ กลาวไดวาชุมชนหวยยางคุนเคยกับขั้นตอนและวิธีการในการในการตอ นรับคนภายนอกที่มาเยี่ ยมหมูบาน จากนั้นก็มีคณะทําบุญมาทอดผาปาที่ชุมชนอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2552 ชุมชนหวยยางเปนหมูบานนํารองการทําวิจัยชุมชนหวยยางเปนชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงซึ่ง อาจารย สายไหม ไชยศิรินทร จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จึงไดนํานัก ศึกษาเขามาเก็บ ขอมูลเกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยว โดยชุมชนสวนหนึ่งเปนผูใหขอมูลนั้นเมื่อมาชุมชนหวยยางก็ไดพัก อาศั ย อยู ที่บานของชาวบ า น ซึ่ ง ในขณะนั้ น ชุ ม ชนห วยยางยั ง ไมเ ป ดหมู บา นให อ ยู ในรู ปแบบหมู บา น ทองเที่ยวโฮมสเตย การที่มีแ ขกมาพัก อาศัยที่ชุมชนหวยยางนั้นเจาของบานจึงไมไดเก็บเงินแขกที่มาพัก สวนมากก็ชวยเหลือเจาของบานในเรื่องของคาอาหาร โฮมสเตยชุ มชนห วยยางกอตั้ ง เมื่ อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยมีจุดเริ่มตนที่อ งคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตยขึ้นเพื่ อใหความรู เกี่ยวกับการใหบริการแกนักทองเที่ยวที่จะเขามาพักในชุมชน และมีก ารจัดตั้งกลุมบานพักโฮมสเตยขึ้นมา ในการจัดตั้งกลุมขึ้นมานี้มีความรวมจากผูนําชุมชน ซึ่งเปนผูนําทางกิจกรรมของชุมชนหวยยางไดมีค วาม ตองการใหชุมชนหวยยางเปนที่รูจักของผูคนในวงกวางมากขึ้น กลุมผูนําชุมชนจึงเริ่มตนพิจารณาวาชุมชน หวยยางมีวิถีชีวิตของความเปนภูไทซึ่งสามารถนําเสนอได จึงนําจุดเดนของชุมชนใหผูมาเยือนไดเห็น สมาชิกกลุมบานพักโฮมสเตย เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดมีการจัดตั้งกลุม บ า นพั ก โฮมสเตย ให แ ก ผูนํา ชุ ม ชนห วยยางไวร องรั บนั ก ท อ งเที่ ยวที่ จะเข า มาพั ก จํา นวนทั้ ง หมด 15 ครัวเรือน (ตารางที่ 1 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยในอดีตชุมชนหวยยาง)


ตารางที่ 2 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยในอดีตชุมชนหวยยาง ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

นายปรารถนา นางไหมคํา นางธิดารัตน นางบัวลอย นายมีพิมพ นางสมบูรณ นายไมตรี นายแกง นายหนูเตรียม นายอรุณรัตน นายทอน นางอรัญญา นายชัยพิทักษ นายสรสินธ นายไมตรี

ชื่อ-สกุล แสนธิจักร ฮมปา ยางธิสาร โตะชาลี ยางธิสาร ยางธิสาร ยางธิสาร แพงดี พลราชม ยางธิสาร ยางธิสาร ยางธิสาร ยางธิสาร โตะชาลี สูญราช

ตําแหนง ประธานกลุม รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ปจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 11 ครัวเรือน เนื่องจากยังไมมีความพรอมในเรื่องของหองนอน หอ งน้ํา และสมาชิกภายในครอบครัวมีจํานวนมาก มีเด็กทารก คนปวย (ตารางที่ 2 รายชื่อกลุมบานพัก โฮมสเตย ปจจุบันชุมชนหวยยาง) ตารางที่ 3 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยในปจจุบันชุมชนหวยยาง ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6

นายปรารถนา นางไหมคํา นางธิดารัตน นางบัวลอย นายมีพิมพ นายแกง

ชื่อ - สกุล แสนธิจักร ฮมปา ยางธิสาร โตะชาลี ยางธิสาร แพงดี

ตําแหนง ประธานกลุม รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


7 8 9 10 11

นายหนูเตรียม นางอรุณรัตน นายชัยพิทักษ นายสรสินธ นายไมตรี

พลราชม ยางธิสาร ยางธิสาร โตะชาลี สูญราช

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

การดําเนินงานกลุม กระบวนการดําเนินงานของชุมชนหวยยางมีการวางแผนจัดการการทองเที่ยวซึ่งจะตองรับผิดชอบ การตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาพักในชุมชนหวยยางมีการดําเนินการดังตอไปนี้ 1. ฝายตอนรับ เปนกิจกรรมในวันแรกที่นักทองเที่ยวเขามาในหมูบานและจะไดสัมผัสทันทีที่เดิน มาถึงหมูบาน ชาวบานจะแตงกายดวยชุดพื้นบานชาวภูไทในการตอนรับนักทองเที่ยว 2. ฝายจัดการที่พัก ผูนําหมูบานจะเปนผูจัดใหนักทองเที่ยวพักบานที่จัดเตรียมไว ทั้งหมด 11 ครัวเรือน สามารถพักได 30 คน และมีหองน้ําอยูใกลกับบานที่พัก 3. ฝายจัดงานเลี้ยง ชุมชนมีการจัดงานเลี้ยงอาหารค่ําหรือพาแลงสําหรับนักทองเที่ยวที่มาเปนหมู คณะสวนใหญจะเนนอาหารตามฤดูกาล เชน แกงหวายใสไก แกงหนอไม แกงผักหวาน เปนตน 4. ฝายจัดบายศรีสู ขวั ญ นัก ทอ งเที่ยวที่ มาเที่ ยวทุก คนจะไดเ ขา พิธีบายศรีสูข วัญ ซึ่ง เป นประเพณี ดั้งเดิม ของชาวภูไท หลังจากที่นัก ทองเที่ยวทานอาหารเสร็จ ผูใหญและผูสูงอายุในชุมชนเปนผูทําพิธีบายศรีสู ขวัญและผูก ข อตอ แขนเมื่อ มีนักทองเที่ย วพรอ มทั้งกล าวคําอวยพรเพื่อเป นสิริม งคล การเสริมขวัญและ กําลังใจและมอบความประทับใจแกนักทองเที่ยว 5. ฝายการแสดงพื้นบาน กิจกรรมการแสดงพื้นบานใหนักทองเที่ยวไดชมวัฒนธรรมพื้นบานหลังจาก รับประทานอาหารค่ํา มีการจัดแสดงรายการคือ ฟอนภูไท ตลอดจนการขับรอง การจายผญา ซึ่งมีค วาม รวมมือทั้งเยาวชนและผูใหญอยางพรอมเพียงกัน 6. ฝายนําชมสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมในหมูบาน ในตอนเชาของวันรุงขึ้นผูนําหมูบานและ มัคคุเทศกทองถิ่นโดยจะพานําเที่ยวทางธรรมชาติบนภูเขา และพาชมวิถีการดํารงชีวิตของชาวภูไทหวยยาง เชนการทอผาฝาย ทอผาไหม การจักสาร และการเพาะพันธุกลาไม เปนตน


ผลการดําเนินงาน ชุมชนหวยยางมีประสบการณในการตอนรับนักทองเที่ยวหลายคณะเชน คณะผาปาชอง 3 คณะ นักธรรม ผูแสวงบุญ คณะนักศึกษา และชาวตางประเทศ

การตอนรับนักทองเที่ยว ขั้น ตอนในการตอ นรั บนัก ท อ งเที่ ยว นั้น เริ่ มจาก เมื่ อ ไดฟงการประกาศผ านเสี ยงตามสายใน หมูบานวาวันเวลาใด จะมีนักทองเที่ยวมาศึกษาดูงานมาเที่ยวที่หมูบาน เพื่อที่จะเตรียมพรอมในการตอนรับ ชุมชนหวยยางก็จะแตงชุดภูไทเดินออกมาจากบานของตนเอง เดินทางไปยังที่นัดหมาย คือ บริเวณหนาวัด โพธิ์ชัย คือเปนจุดศูนยกลางในการทํากิจกรรม เมื่อเขามาในวัดแลว นักทองเที่ยวมานั่งในศาลาวัดแลวผูนํา ชุมชนกลาวตอนรับคณะนักทองเที่ยวและพูดถึงประวัติศาสตรของชุมชน หลังจากคณะนักทองเที่ยวไดฟง บรรยาย เสร็จแลวแยกยายกันไปตามบานที่กําหนดใหเปนบานพักโฮมสเตยเพื่อนําสิ่งของสัมภาระไปเก็บ และทําความรูจักพูดคุยกับเจาของบาน เมื่อถึงเวลาเย็นราว 17.00 – 18.00 น. นักทองเที่ยวเดินไปยังลานวัด เพื่อทํากิจกรรมในตอนเย็น กิจกรรมตอนเย็น หลังจากที่นักทองเที่ยวนํากระเปาเสื้อผาแยกยายกันไปตามบานหลังที่ตนเองพัก แลว จึงเตรียมไป ทํากิจกรรมเย็น การทํากิจกรรมในตอนกลางคืนโดยเริ่มจากการแสดงดนตรีพื้นเมือง การฟอนภูไท และ การจายผญา ระหวางที่นักทองเที่ยวรับประทานอาหารเย็นแบบพาแลงที่เปนอาหารพื้นบานที่จัดมาใสใน ลักษณะขันโตกที่ล านวัดโพธิ์ชัย พรอมกับชมการแสดงของกลุมแมบานตอดวยการนําพานสูขวัญขนาด ใหญและสวยงามที่ทําขึ้นโดยฝมือของชุมชนหวยยางเปนสิ่งของประกอบในการแสดงและพิธีกรรม เมื่อ กลุมแมบานฟอนจบ ก็จะเขาสูพิธีบายศรีสูขวัญโดยมีคุณตาพาดี ยางธิสาร ทําหนาที่เ ปนพราหมณสูขวัญ ในพานมีไขไกสําหรับใหแขกกินระหวางพิธีสูขวัญเพื่อเปนสิริมงคล และมีผูใหญบานหวยยาง ทั้งหมู 6 และ หมู 9 อยูในกลุมผูนําในพิธีสูข วัญนักทอ งเที่ยวที่มาเยือนหมูบาน แลวชาวบานรวมผูกขอ ตอแขน ใหกับนักทองเที่ยวหลังจากนั้นนักทองเที่ยวแยกยายกันกลับไปผักผอนที่บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 11 การฟอนภูไทของชุมชนหวยยาง ความพรอมของบานสมาชิกในการเปนบานพักโฮมสเตย ชุมชนหวยยางมีการคัดเลือกบานที่จะใหนักทองเที่ยวเขามาพักโดยการคัดเลือกบานที่มีความพรอม ในเรื่องของหองนอน หองน้ําและสมาชิกในครอบครัวมีจํานวนนอย ไมมีเด็กเล็ก (ทารกแรกเกิด) คนปวย อยูในครอบครัวมีความปลอดภัยในเรื่องทรัพยสิน ลักษณะของบานมีอากาศถายเทไดสะดวก ละไมมีกลิ่น อับหองแตล ะหองผ านได ทุกจุด เช น ห องนอน ห องรับแขก หองครัว และห อ งน้ํา ชุมชนหวยยางได คัดเลือกบานที่อยูในลักษณะดังกลาวไดจํานวนทั้งหมด 8 ครัวเรือน ที่มีความพรอมดังนี้ 1. นางธิดารัตน ยางธิสาร บานเลขที่ 235 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 12 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 13 หองนอน

ภาพประกอบ 14 หองครัว

ภาพประกอบ 15 สิ่งอํานวยความสะดวก


2. นางบัวลอย โตะชาลี บานเลขที่ 184 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 16 บานพักโฮมสเตย

ภาพประกอบที่ 17 หองนอน

ภาพประกอบ 18 หองครัว


3. นายหนูเตรียม พลราชม บานเลขที่ 187 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 19 บานพักโฮมสเตย

ภาพประกอบ 20 หองนอน

ภาพประกอบ 21 สิ่งอํานวยความสะดวก


ภาพประกอบ 22 หองครัว

ภาพประกอบ 23 หองรับแขก

4. นายแกง แพงดี บานเลขที่ 265 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 24 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 25 หองนอน

ภาพประกอบ 26 สิ่งอํานวยความสะดวก 5. นายไมตรี สูญราช บานเลขที่ 176 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 27 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 28 หองนอน

ภาพประกอบ 29 สิ่งอํานายความสะดวก

6. นางไหมคํา ฮมปา บานเลขที่ 197 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 30 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 31 หองนอน

ภาพประกอบ 32 สิ่งอํานวยความสะดวก

7. นางอรุณรัตน ยางธิสาร บานเลขที่ 205 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 33 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 34 หองนอน

ภาพประกอบ 35 สิ่งอํานวยความสะดวก 8. นายชัยพิทักษ ยางธิสาร บานเลขที่ 248 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบ 36 บานพักโฮมสเตย


ภาพประกอบ 37 หองนอน

ภาพประกอบ 38 สิ่งอํานวยความสะดวก

ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการบานพักโฮมสเตย จากการสัมภาษณสอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชนตัวแทนชุมชนกลุมบานพักโฮมสเตยและ ประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเที่ยวนั้นชุมชนยังไมมีรูปแบบใน กิจกรรมการทองเที่ยวเนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้งในการ จัดตั้งกลุมโฮมสเตยชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้นและพาผูนําชุมชนตัวแทนชุมชนกลุม บานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเที่ยว ของชุมชนที่ประสบผลสําเร็จในการบริหารจัดการการทองเที่ยวแลวเพื่อนําความรูที่ไดรับและประโยชนที่ จะนํามาใชในการพัฒนาการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวในชุมชนของตนเองนอกจากนี้ชุมชนควรมีการ แบง บทบาทหน า ที่ ข องคนในชุ มชนไม วา จะเป น ผู นํ า ชุ มชนตั วแทนชุ มชนกลุ มบ า นพั ก โฮมสเตย แ ละ ประชาชนในชุมชนใหชัดเจนรวมกันวางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวใหชัดเจนมากขึ้น


บทที่ 4 ศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง บานพักโฮมสเตยทพี่ ึงประสงคของชุมชนหวยยาง บานพักโฮมสเตยที่พึงประสงคข องชุมชน มีทั้ง บานทรงไทยอีสาน และบานทรงภูไทบานพัก โฮมสเตยของชุมชนหวยยาง มีการแยกสวนของบานอยางชัดเจน เชน หองนอน หองสวม หองรับแขก เปนสัดสวน บานเรือนที่พักอาศัยมีการตกแตงดัดแปลงจากเรือนภูไท มาเปน บานเรือ นตามสมัยนิยม แต ชุมชนหวยยางก็ยังคงเอกลักษณในรูปทรงภูไทไวไมใหสูญหาย ศักยภาพบานพักโฮมสเตย ในการศึก ษาการจั ดการบานพัก โฮมสเตย ที่เ หมาะสมกั บชุมชนห วยยาง มี การบริ หารจั ดการ เกี่ ยวกับ บา นพั กที่ มีศั กยภาพ ด านที่พักอาศั ย ดานอาหาร ด านวัฒ นธรรม ด านแหลงทอ งเที่ยว ด าน ผลิตภัณฑ ดานการประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอม และการคมนาคม ที่มีสวน รวมของชุมชนหรือเจาของบานเปนสําคัญ ผูศึกษาไดเสนอตามลําดับขั้นตอนดังนี้ 1. ดานที่พักอาศัย จากการเก็บขอมูล พบวา ลักษณะของตัวบานพักมีความมั่นคงแข็งแรง อยูในสภาพไมชํารุไม เสี่ ยงตอ อัน ตรายจากการใช สอย วั สดุ ที่ใชในการกอ สร างบา นมี ค วามแข็ งแรง บานพั ก มี อากาศถ ายเท สะดวก แสงสว า งสอ งเขาถึ งไมมีก ลิ่ น อับ มีที่น อนที่ส บายเครื่ อ งนอนสะอาด ที่น อนที่ จัด ไวสํ า หรั บ นักทองเที่ยว เปนฟูก และเตียง หองพักหรือหองนอนเปนหองเดี่ยว และหองคู มีการเปลี่ยนเครื่องนอน ทุกครั้งที่มีนักทองเที่ยวเขามาพัก ในหองน้ําและหองสวมสะอาด มีสบู ยาสีฟน แปรงสีฟน ผาเช็ด ตั ว สํารองไวในหองน้ํา ประตูหองน้ํามีกลอน การปดเปดอยูในสภาพดี และปลอดภัย บริเวณรอบๆบานและ หนาบานปลูกไมดอกไมประดับ


ภาพประกอบ 39 ตัวอยางบานพักโฮมสเตย 2. ดานอาหาร จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติ หาอยูหากินตามไรตามนา ตามปาตามภูเขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารที่หามาไดจากธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตาม ทองทุงนา เชน หอย เขียด ปลา ปู ผักหวาน หนอไม หวาย หนอเลา เห็ด เทา ไขมดแดง เปนต น นับวาอาหารของชาวภูไทชุมชนหวยยางจะมีอยูตามธรรมชาติและฤดูกาล ซึ่งแตละวันชาวภูไทชุมชนหวย ยางก็จะขึ้นเขา ลงนาเพื่อหาอาหารในการดํารงชีวิต บางสวนจะไปหาปลาที่อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง อาหารของชาวภูไทชุมชนหวยยางจะมีค วามสัม พันธ ระหวางคนกับคน คนกับผี และคนกั บพระ โดย แสดงออกในพฤติก รรมการรั บประทานอาหารในโอกาสพิ เศษตามประเพณี พิธีก รรม และงานมงคล นอกจากนี้สิ่งที่นํามารับประทานในปจจุบันเปนสัญลักษณที่แสดงสถานภาพทางสังคมของผูบริโภค อาหาร พื้นบานของชาวภูไทมีคุณคาดานสมุนไพร คือ สามารถรักษาอาการโรค และบํารุงรางกายไดดวยสรรพคุณ ของพืชผักธรรมชาติ

และรสฝาด รสขม รสเผ็ด รสเปรี้ยว รสจืด รสหวาน ซึ่งมีความสัมพันธกับ

สรรพคุณยา สิ่งที่นํามารับประทานนั้นลวนแตเปนอาหารที่หางายแตมีคุณคาทางอาหารสูง โดยเฉพาะอยาง ยิ่งอาหารประเภทผักพื้นบาน (เลา ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ) การปรุงอาหารหรือประกอบอาหารจะเปนอาหารที่เปนเอกลักษณพื้นบานหาไดในพื้นที่ นําพืช ผัก สวนครัวหรือที่มีอยูในครอบครัว ในชุมชนนํามาปรุงเปนอาหาร เชน ผักนึ่ง ผักตม น้ําพริก แจวซอมภูไท แกงหวายใส ไ ก แกงผั ก หวาน เป น ตน อาหารรสไม จั ดเกิ น ไป (ไม เ ผ็ ด ไม เ ค็ ม ) ชนิ ดของอาหาร เครื่องปรุง รสชาติ และขั้นตอนการปรุงตองพิถีพิถัน อาหารตองสด สะอาด ตามหลักโภชนาการและ ปลอดสารพิษ


ภาพประกอบ 40 อาหารของชุมชนหวยยาง 3. ดานวัฒนธรรม จากการเก็บขอ มูล พบวา ชุ มชนหวยยาง เปน หมู บานภูไ ทมีวัฒนธรรมเปน เอกลั กษณของ ตนเอง โดยการสืบทอดมาจากภูมิปญญาของบรรพบุรุษ เชน วัฒนธรรมการแตงกาย การแตงกายของภูไท ชุมชนหวยยางในปจจุบันจะแตงกายเหมือนกับทองถิ่นทั่วไปคือ การแต งกายสมัยนิยม ไมตองนุงผาซิ่น ผาถุง แตชุมชนก็ยังคงอนุรักษการแตงกายแบบชาวภูไทไวอยู การแตงกายดวยชุดภูไทจะแตงในโอกาส สําคัญ และเอกลักษณที่เปนภาษาพูดเมื่อมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชนมีก ารจัดกิจกรรมตอนรับโดยอาศัย วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นที่เคยปฏิบัติกันมาแลว เชน การบายศรีสูขวัญ การจายผญา ชุมชนไดมีโอกาส เผยแพรวัฒนธรรมของชุมชน ใหนักทองเที่ยวไดสัมผัส และชื่นชม ถือวาเปนการทํานุบํารุงวัฒนธรรมของ ตน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันระหวางนักทองเที่ยวกับเจาของบาน เชน ในระหวางที่นักทอ งเที่ยวพักอยู ในบานในชุมชนมีการเรียนรู วิถีชีวิตของชุมชน และในขณะเดี๋ยวกัน ชุมชนก็เรียนรูวัฒนธรรมบางอยาง ของนักทองเที่ยวดวย โดยเฉพาะนักทองเที่ยวจากตางประเทศ

ภาพประกอบ 41 การแตงกายของชาวภูไทหญิง


4. ดานแหลงทองเที่ยว จากการเก็บขอ มูล พบวา ในบริเ วณใกลที่พักหรือชุมชน มีแหลงทอ งเที่ยวซึ่งเปนสิ่งดึงดูดใจใหแก นักทองเที่ยวมีมัคคุเทศกทองถิ่นโดยจะพานําเที่ยวทางธรรมชาติบนภูเขา ไดแก จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ถ้ําผาแก ถ้ําอางกุง อางแกว จุดชมวิวพระธาตุดอยอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียง ผานาง และ น้ําตกศรีตลาดโตน แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรโบราณคดี เชน ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร จุดที่พบ ซากฟอสซิลไดโนเสาร วัดศรีแกว สํานักสงฆภูนอ ยอางแกว และมีสถานที่ทองเที่ยวใกลหมูบานมีค วาม สวยงามเปน ที่สัก การบูชาเปน สถานที่ แ หงแรกของประเทศไทยจัด สรา งที่วัดปา พุทธนิมิตสถิตสีมาราม (วัดปานอย) ไดแก โบสถดิน และยังมีกิจกรรมทองเที่ยว เชน เดินปา ปนเขา ภายในชุมชนก็มีศิลปะหัต กรรมพื้นบาน เชน การทอผา จักสาร โดยปกติทั่วไปชุมชนหวยยางมีค วามรู ความสามารถในศิลปะหัต กรรมพื้นบานอยูแลว จึงมีการจัดกิจกรรมใหนักทองเที่ยวมีการฝกหัดดวย เชน ฝกหัดการทอผา จักสาร มี การดูแลสภาพแวดลอมทั้งที่เปนแหลงทองเที่ยวและชุมชนอยูเสมอ (ลิขิต ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)

ภาพประกอบ 42 น้ําตกศรีตลาดโตน 5. ดานผลิตภัณฑ จากการเก็บขอมูลดานผลิตภัณฑ พบวา ในชุมชนมีการจัดการดานผลิตภัณฑโดยใหชุมชนมีการ จัดการดานผลิตภัณฑโดยใหชุมชนหรือชาวบานเปนผูผลิต และใชวัตถุดิบในทองถิ่นชุมชนผลิตเอง เชน การทอผาฝาย การทอผาไหม การทําเรือจากกระบอกไมไผ การจักสาน การเพาะพันธุกลาไมออกจําหนาย ภายในหมูบานและสงขายยังตลาด กลุมทอผาฝาย กลุมทอผาไหม เปนการรวมตัวของชาวบานที่มีฝมือ ทางด านการทอผ าไหม ซึ่งลวดลายทอ ไดแก ลายตนสน ลายขอดอกฝ าย ลายหมากตุมหมู ลายกาบ ลายขาเข เปนตน กลุมทอผาไหมสามารถสรางรายไดเสริมใหแกค รอบครัวเปนอยางมาก มีรานคาขาย ภายในชุมชนไวขายผลิตภัณฑของที่ระลึกใหกับนักทองเที่ยว (เรณู ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)


ภาพประกอบ 43 ผลิตภัณฑชุมชนหวยยาง 6. ดานการประชาสัมพันธ จากการเก็บรวบรวมขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีแหลงทองเที่ยวที่เปนธรรมชาติ มีการเรียนรูวิถี ชีวิตเกษตร การทําปุยหมักชีวภาพ วัฒนธรรมภูไท เยี่ยมชมแหลงทองเที่ยวใกลเ คียง ไดแก จุดชมวิวอ าง เก็บน้ําหวยโท - หวยยาง โบสถดิน ชุมชนหวยยางจึงมีการประชาสัมพันธโดยการทําแผนพับมีการจัดคูมือ เอกสารเผยแพรการทองเที่ยวเปนขอมูลจริง มีลายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมประชาสัมพันธผานทาง ระบบ เครือขายอินเตอรเน็ต http://laophonkhor.go.th/index.php เพื่อ ใหเ ปนที่รูจักอยางแพรหลาย (เกียรติศักดิ์ ขันทีทา ว. 2555 : สัมภาษณ) 7. ดานความปลอดภัย จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีการรักษาความปลอดภัยอยางเครงคัดเพื่อความปลอดภัย แกนักทองเที่ยวไดอยางเต็มที่ โดยจัดตั้งคณะกรรมการหมูบานมีการประชุม และมีมติรวมกันแบงหนาที่ รับผิดชอบจัดเวรยามสอดสอ งบุ คคลภายนอกที่เ ขามาหมู บานทั้งกลางวันและกลางคืน และคอยบริการ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ กิ ด จากการเจ็ บ ป วยอย า งกะทั น หั น หรื อ ต อ งการสิ่ ง ที่ จํา เป น นอกจากนั้ น ช วงที่ มี นักทองเที่ยวเขามาพักเปนจํานวนมากก็จะขอความรวมมือจาก อปพร. โดยผานนายกเทศมนตรีเขามาดูแล ความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง 8. ดานสภาพแวดลอม จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่อุดมสมบรูณมีภูเขาลอมรอบเต็มไปดวย ความเขี ยวชอุม มีก ารกําจัดขยะก็ใชวิธี ฝงกลบหรือนํ าไปเผาในที่ของตนเองและรวมกันดู แลความ


สะอาดบริ เ วณบา นและริ มถนนไม ให มีข ยะหรื อ สิ่ง ปฎิ กุ ล รวมทั้ งบริ เ วณสถานที่ สาธารณะตา งๆมี ขอตกลงในการรักษารวมกัน 9. ดานการคมนาคม จากการเก็บขอมูล พบวา การคมนาคมติดตอสถานที่ทองเที่ยวตาง ๆ ใชในการคมนาคมทางบก ถนนลาดยาง ถนนภายในหมูบานเปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดยชุมชน อยูหางจากตัวจังหวัดสกลนคร เพียง 37 กิโลเมตร ตามถนนสกล – นาแก มีรถประจําทางจากจังหวัด สกลนครผานปากทางเขา

เกณฑมาตรฐานบานพักโฮมสเตย สํา นัก งานพั ฒนาการทอ งเที่ ย ว กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬ า (2551 : 1-3) ไดจัดเกณฑ มาตรฐานโฮมสเตยไทยดังตอไปนี้ 1. มาตรฐานดานที่พัก ตองเปนลักษณะบานที่เปนสัดสวนที่พัก ที่นอนสะอาดและสบาย มีหอ ง อาบน้ํา และหองสวมที่สะอาดมิดชิด มีมุมพักผอนภายในบานหรือชุมชน 2.มาตรฐานด านอาหารและโภชนาการ ตอ งคํานึงถึ งชนิดของอาหารและวัตถุดิ บที่ใชประกอบ อาหาร มีน้ําดื่มสะอาด ภาชนะที่บรรจุอาหารสะอาด มีหองครัวและอุปกรณที่ใชในครัวถูกสุขลักษณะ 3.มาตรฐานดานความปลอดภัย มีการเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้อ งตน มีการ จัดการเวรยามดูแลความปอดภัย 4.มาตรฐานด า นอั ธ ยาศั ยไมตรี ข องเจ า ของบ า นและสมาชิ ก ต อ งมี ก ารต อ นรั บ และการสร า ง ความคุนเคย มีการสรางกิจกรรมและเปลี่ยนความรูในวิถีชุมชน 5.มาตรฐานดานกิจกรรมการทองเที่ยว ตองมีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจนซึ่งตองผานการยอมรับจาก ชุมชน มีขอมูลกิจกรรมการทองเที่ยว และเจาของบานเปนมัคคุเทศกทองถิ่นหรือประสานงานใหมัคคุเทศก ทองถิ่นนําเที่ยว 6.มาตรฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอม ตองมีแหลงทอ งเที่ยวภายในชุมชนหรือ บริเวณใกลเคียง มีการดูแลแหลงทองเที่ยว มีแผนงานหรือมาตรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ ลด ผลกระทบจากการทองเที่ยวและลดภาวะโลกรอน


7.มาตรฐานดานวัฒนธรรม มีการดํารงรัก ษาไวซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีทอ งถิ่น รักษาวิถีชีวิต ชุมชนใหคงไวเปนกิจวัตรปกติ 8.มาตรฐานดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑชุมชนมีการสรางผลิตภัณฑชุมชนเพื่อเปนของ ที่ระลึกหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว ตองมีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาเปนเอกลักษณของชุมชน 9.มาตรฐานด า นการบริ หารของกลุ มโฮมสเตย ต อ งมี เอกสารสิ่ง พิมพ เ พื่ อประชาสั มพัน ธ ก าร ทองเที่ยวของชุมชนและตองมีการเผยแพรประชาสัมพันธ มาตรฐานโฮมสเตยไทย หรือ ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทมาตรฐานไทย หมายถึงบานที่อยูใน ชุมชนชนบทที่มีประชาชนในชุมชนเปน เจาของและเจ าของบานหรือสมาชิ ก ในครอบครัวอาศัยอยูเป น ประจํา หรือใชชีวิตประจําวันอยูในบานดังกลาว บานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง มีการดําเนินสวนใหญที่สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานบานพัก โฮมสเตยที่กําหนดโดยสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ดังกลาวขางตน


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ในการศึกษาเรื่อง การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค เพื่อศึก ษาการจัดการบานพัก โฮมสเตยชุมชนหวยยาง เพื่อศึกษาศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขอมูลที่ชุมชนหวยยาง บานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ระยะเวลาในการศึกษาระหวาง เดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม 2555 วิธีการเก็บขอมูล คือ การสังเกตการณแ บบมีสวนรวมและการ สัมภาษณผูใหขอมูลหลัก การศึกษาขอมูลมือสองและเอกสารที่เกี่ยวของกับบานพักโฮมสเตย ใชแนวคิด ทุนชุมชน แนวคิดการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม ผูศึกษาสรุปผลได ดังนี้ 1. วัตถุประสงคของการศึกษา 2. ประชากรและกลุมตัวอยาง 3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. สรุปผล 6. อภิปรายผล 7. ขอเสนอแนะ

วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาการจัดการบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง 2.เพื่อศึกษาศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง


2. ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายที่ในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยาง จํานวน 740 คน ประชากรบานหวยยางเหนือ จํานวน 858 คน และมีกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนําชุมชน 4 คน สมาชิกกลุมบานพัก โฮมสเตย จํานวน 11 ครัวเรือน และผูที่เคยตอนรับนักทองเที่ยว จํานวน 15 ครัวเรือน

3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับ การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชน บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาไดใชเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมขอมูลจากการศึกษาภาคสนามดังนี้ 1. สมุดจดบันทึก 2. กลองถายรูป 3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลมาใชในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือที่เกี่ยวของจากหองสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อประกอบในการศึกษาครั้งนี้ 2. ศึกษาเอกสารมือสองที่ไดจากหมูบานและองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 3. ขอหนังสือจากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อขออนุญาต เขาไปศึกษาและหนังสือสงตัวนิสิตในการฝกงาน 4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสังเกตการณแบบมีสวนรวมและสัมภาษณประชากร ตามที่กําหนดไวโดยผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองเนื่องจากการศึกษาคนควาครั้ง นี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ


5. สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตนพบผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ ประการแรก ในประเด็นของการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย ชุมชนมีการวางแผนในการ ตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาพักในชุมชน ความเปนมาของกลุมบานพักโฮมสเตย ในป พ.ศ. 2550 นั้นชุมชนหวยยางเริ่มมีพิธีตอนรับคนที่มาทอดผาปาที่ชุมชนหวยยาง ซึ่งวิธีการ ตอนรับ คือชุมชนทุกคนจะออกมาตอนรับอยูบริเวณหนาวัดเพื่อตอนรับคณะผาปาที่กําลังเดินทางมา อาจ กลาวไดวาชุมชนหวยยางคุนเคยกับขั้นตอนและวิธีการในการในการตอ นรับคนภายนอกที่มาเยี่ ยมหมูบาน จากนั้นก็มีคณะทําบุญมาทอดผาปาที่ชุมชนอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2552 ชุมชนหวยยางเปนหมูบานนํารองการทําวิจัยชุมชนหวยยางเปนชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงซึ่ง อาจารย สายไหม ไชยศิรินทร จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จึงไดนํานัก ศึกษาเขามาเก็บ ขอมูลเกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยว โดยชุมชนสวนหนึ่งเปนผูใหขอมูลนั้นเมื่อมาชุมชนหวยยางก็ไดพัก อาศั ย อยู ที่บานของชาวบ า น ซึ่ ง ในขณะนั้ น ชุ ม ชนห วยยางยั ง ไมเ ป ดหมู บา นให อ ยู ในรู ปแบบหมู บา น ทองเที่ยวโฮมสเตย การที่มีแ ขกมาพัก อาศัยที่ชุมชนหวยยางนั้นเจาของบานจึงไมไดเก็บเงินแขกที่มาพัก สวนมากก็ชวยเหลือเจาของบานในเรื่องของคาอาหาร โฮมสเตยชุ มชนห วยยางกอตั้ ง เมื่ อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยมีจุดเริ่มตนที่อ งคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตยขึ้นเพื่ อใหความรู เกี่ยวกับการใหบริการแกนักทองเที่ยวที่จะเขามาพักในชุมชน และมีก ารจัดตั้งกลุมบานพักโฮมสเตยขึ้นมา ในการจัดตั้งกลุมขึ้นมานี้มีความรวมจากผูนําชุมชน ซึ่งเปนผูนําทางกิจกรรมของชุมชนหวยยางไดมีค วาม ตองการใหชุมชนหวยยางเปนที่รูจักของผูคนในวงกวางมากขึ้น กลุมผูนําชุมชนจึงเริ่มตนพิจารณาวาชุมชน หวยยางมีวิถีชีวิตของความเปนภูไทซึ่งสามารถนําเสนอได จึงนําจุดเดนของชุมชนใหผูมาเยือนไดเห็น การดําเนินงานกลุม กระบวนการดําเนินงานของชุมชนหวยยางมีการวางแผนจัดการการทองเที่ยวซึ่งจะตองรับผิดชอบ การตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาพักในชุมชนหวยยางมีการดําเนินการดังตอไปนี้


1. ฝายตอนรับ เปนกิจกรรมในวันแรกที่นักทองเที่ยวเขามาในหมูบานและจะไดสัมผัสทันทีที่เดิน มาถึงหมูบาน ชาวบานจะแตงกายดวยชุดพื้นบานชาวภูไทในการตอนรับนักทองเที่ยว 2. ฝายจัดการที่พัก ผูนําหมูบานจะเปนผูจัดใหนักทองเที่ยวพักบานที่จัดเตรียมไว ทั้งหมด 11 ครัวเรือน สามารถพักได 30 คน และมีหองน้ําอยูใกลกับบานที่พัก 3. ฝายจัดงานเลี้ยง ชุมชนมีการจัดงานเลี้ยงอาหารค่ําหรือพาแลงสําหรับนักทองเที่ยวที่มาเปนหมู คณะสวนใหญจะเนนอาหารตามฤดูกาล เชน แกงหวายใสไก แกงหนอไม แกงผักหวาน เปนตน 4. ฝายจัดบายศรีสู ขวั ญ นัก ทอ งเที่ยวที่ มาเที่ ยวทุก คนจะไดเ ขา พิธีบายศรีสูข วัญ ซึ่ง เป นประเพณี ดั้งเดิม ของชาวภูไท หลังจากที่นัก ทองเที่ยวทานอาหารเสร็จ ผูใหญและผูสูงอายุในชุมชนเปนผูทําพิธีบายศรีสู ขวัญและผูก ข อตอ แขนเมื่อ มีนักทองเที่ย วพรอ มทั้งกล าวคําอวยพรเพื่อเปนสิริม งคล การเสริมขวัญและ กําลังใจและมอบความประทับใจแกนักทองเที่ยว 5. ฝายการแสดงพื้นบาน กิจกรรมการแสดงพื้นบานใหนักทองเที่ยวไดชมวัฒนธรรมพื้นบานหลังจาก รับประทานอาหารค่ํา มีการจัดแสดงรายการคือ ฟอนภูไท ตลอดจนการขับรอง การจายผญา ซึ่งมีค วาม รวมมือทั้งเยาวชนและผูใหญอยางพรอมเพียงกัน 6. ฝายนําชมสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมในหมูบาน ในตอนเชาของวันรุงขึ้นผูนําหมูบานและ มัคคุเทศกทองถิ่นโดยจะพานําเที่ยวทางธรรมชาติบนภูเขา และพาชมวิถีการดํารงชีวิตของชาวภูไทหวยยาง เชนการทอผาฝาย ทอผาไหม การจักสาร และการเพาะพันธุกลาไม เปนตน ผลการดําเนินงาน ชุมชนหวยยางมีประสบการณในการตอนรับนักทองเที่ยวหลายคณะเชน คณะผาปาชอง 3 คณะ นักธรรม ผูแสวงบุญ คณะนักศึกษา และชาวตางประเทศ

การตอนรับนักทองเที่ยว ขั้น ตอนในการตอ นรั บนัก ท อ งเที่ ยว นั้น เริ่ มจาก เมื่ อ ไดฟงการประกาศผ านเสี ยงตามสายใน หมูบานวาวันเวลาใด จะมีนักทองเที่ยวมาศึกษาดูงานมาเที่ยวที่หมูบาน เพื่อที่จะเตรียมพรอมในการตอนรับ ชุมชนหวยยางก็จะแตงชุดภูไทเดินออกมาจากบานของตนเอง เดินทางไปยังที่นัดหมาย คือ บริเวณหนาวัด


โพธิ์ชัย คือเปนจุดศูนยกลางในการทํากิจกรรม เมื่อเขามาในวัดแลว นักทองเที่ยวมานั่งในศาลาวัดแลวผูนํา ชุมชนกลาวตอนรับคณะนักทองเที่ยวและพูดถึงประวัติศาสตรของชุมชน หลังจากคณะนักทองเที่ยวไดฟง บรรยาย เสร็จแลวแยกยายกันไปตามบานที่กําหนดใหเปนบานพักโฮมสเตยเพื่อนําสิ่งของสัมภาระไปเก็บ และทําความรูจักพูดคุยกับเจาของบาน เมื่อถึงเวลาเย็นราว 17.00 – 18.00 น. นักทองเที่ยวเดินไปยังลานวัด เพื่อทํากิจกรรมในตอนเย็น กิจกรรมตอนเย็น หลังจากที่นักทองเที่ยวนํากระเปาเสื้อผาแยกยายกันไปตามบานหลังที่ตนเองพัก แลว จึงเตรียมไป ทํากิจกรรมเย็น การทํากิจกรรมในตอนกลางคืนโดยเริ่มจากการแสดงดนตรีพื้นเมือง การฟอนภูไท และ การจายผญา ระหวางที่นักทองเที่ยวรับ ประทานอาหารเย็นแบบพาแลงที่เ ปนอาหารพื้นบานที่จัดมาใสใน ลักษณะขันโตกที่ล านวัดโพธิ์ชัย พรอมกับชมการแสดงของกลุมแมบานตอดวยการนําพานสูขวัญขนาด ใหญและสวยงามที่ทําขึ้นโดยฝมือของชุมชนหวยยางเปนสิ่งของประกอบในการแสดงและพิธีกรรม เมื่อ กลุมแมบานฟอนจบ ก็จะเขาสูพิธีบายศรีสูขวัญโดยมีคุณตาพาดี ยางธิสาร ทําหนาที่เ ปนพราหมณสูข วัญ ในพานมีไขไกสําหรับใหแขกกินระหวางพิธีสูขวัญเพื่อเปนสิริมงคล และมีผูใหญบานหวยยาง ทั้งหมู 6 และ หมู 9 อยูในกลุมผูนําในพิธีสูข วัญนักทอ งเที่ยวที่มาเยือนหมูบ าน แลวชาวบานรวมผูกขอ ตอแขน ใหกับนักทองเที่ยวหลังจากนั้นนักทองเที่ยวแยกยายกันกลับไปผักผอนที่บานพักโฮมสเตย ความพรอมของบานสมาชิกในการเปนบานพักโฮมสเตย ชุมชนหวยยางมีการคัดเลือกบานที่จะใหนักทองเที่ยวเขามาพักโดยการคัดเลือกบานที่มีความพรอม ในเรื่องของหองนอน หองน้ําและสมาชิกในครอบครัวมีจํานวนนอย ไมมีเด็กเล็ก (ทารกแรกเกิด) คนปวย อยูในครอบครัวมีความปลอดภัยในเรื่องทรัพยสิน ลักษณะของบานมีอากาศถายเทไดสะดวก ละไมมีกลิ่น อับหองแตละหองผานไดทุกจุด เชน หองนอน หองรับแขก หองครัว และหองน้ํา

ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการบานพักโฮมสเตย จากการสัมภาษณสอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชนตัวแทนชุมชนกลุมบานพักโฮมสเตยและ ประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเที่ยวนั้นชุมชนยังไมมีรูปแบบใน กิจกรรมการทองเที่ยวเนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้งในการ


จัดตั้งกลุมโฮมสเตยชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้นและพาผูนําชุมชนตัวแทนชุมชนกลุม บานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเที่ยว ของชุมชนที่ประสบผลสําเร็จในการบริหารจัดการการทองเที่ยวแลวเพื่อนําความรูที่ไดรับและประโยชนที่ จะนํามาใชในการพัฒนาการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวในชุมชนของตนเองนอกจากนี้ชุมชนควรมีการ แบง บทบาทหน า ที่ ข องคนในชุ มชนไม วา จะเป น ผู นํ า ชุ มชนตั วแทนชุ มชนกลุ มบ า นพั ก โฮมสเตย แ ละ ประชาชนในชุมชนใหชัดเจนรวมกันวางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวใหชัดเจนมากขึ้น ประการที่สอง ในประเด็นการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง มีการบริหารจัดการ เกี่ยวกับบานพักทีม่ ีศักยภาพ ดานที่พักอาศัย ดานอาหาร ดานวัฒนธรรม ดานแหลงทองเที่ยว ดาน ผลิตภัณฑ ดานการประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอม และการคมนาคม ทีม่ ีสวนรวม ของชุมชนหรือเจาของบานเปนสําคัญไดเสนอตามลําดับขั้นตอนดังนี้

บานพักโฮมสเตยทพี่ ึงประสงคของชุมชนหวยยาง บานพักโฮมสเตยที่พึงประสงคข องชุมชน มีทั้ง บานทรงไทยอีสาน และบานทรงภูไทบานพัก โฮมสเตยของชุมชนหวยยาง มีการแยกสวนของบานอยางชัดเจน เชน หองนอน หองสวม หองรับแขก เปนสัดสวน บานเรือนที่พักอาศัยมีการตกแตงดัดแปลงจากเรือนภูไท มาเปน บานเรื อ นตามสมัยนิยม แต ชุมชนหวยยางก็ยังคงเอกลักษณในรูปทรงภูไทไวไมใหสูญหาย ศักยภาพบานพักโฮมสเตย ในการศึกษาการจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง มีการบริหารจัดการเกี่ยวกับบานพัก ทีม่ ีศักยภาพ ดานที่พักอาศัย ดานอาหาร ดานวัฒนธรรม ดานแหลงทองเที่ยว ดานผลิตภัณฑ ดานการ ประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอม และการคมนาคม ที่มีสวนรวมของชุมชนหรือ เจาของบานเปนสําคัญ


1. ดานที่พักอาศัย จากการเก็บขอมูล พบวา ลักษณะของตัวบานพักมีความมั่นคงแข็งแรง อยูในสภาพไมชํารุไม เสี่ ยงตอ อัน ตรายจากการใช สอย วั สดุ ที่ใชในการกอ สร างบา นมี ค วามแข็ งแรง บานพั ก มี อากาศถ ายเท สะดวก แสงสว า งสอ งเขาถึ งไมมีก ลิ่ น อับ มีที่น อนที่ส บายเครื่ อ งนอนสะอาด ที่น อนที่ จัด ไวสํ า หรั บ นักทองเที่ยว เปนฟูก และเตียง หองพักหรือหองนอนเปนหองเดี่ยว และหองคู มีการเปลี่ยนเครื่องนอน ทุกครั้งที่มีนักทองเที่ยวเขามาพัก ในหองน้ําและหองสวมสะอาด มีสบู ยาสีฟน แปรงสีฟน ผาเช็ด ตั ว สํารองไวในหองน้ํา ประตูหองน้ํามีกลอน การปดเปดอยูในสภาพดี และปลอดภัย บริเวณรอบๆบานและ หนาบานปลูกไมดอกไมประดับ

2. ดานอาหาร จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติ หาอยูหากินตามไรตามนา ตามปาตามภูเขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารที่หามาไดจากธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตาม ทองทุงนา เชน หอย เขียด ปลา ปู ผักหวาน หนอไม หวาย หนอเลา เห็ด เทา ไขมดแดง เปนต น นับวาอาหารของชาวภูไทชุมชนหวยยางจะมีอยูตามธรรมชาติและฤดูกาล ซึ่งแตละวันชาวภูไทชุมชนหวย ยางก็จะขึ้นเขา ลงนาเพื่อหาอาหารในการดํารงชีวิต บางสวนจะไปหาปลาที่อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง อาหารของชาวภูไทชุมชนหวยยางจะมีค วามสัม พันธ ระหวางคนกับคน คนกับผี และคนกั บพระ โดย แสดงออกในพฤติก รรมการรั บประทานอาหารในโอกาสพิ เศษตามประเพณี พิธีก รรม และงานมงคล นอกจากนี้สิ่งที่นํามารับประทานในปจจุบันเปนสัญลักษณที่แสดงสถานภาพทางสังคมของผูบริโภค อาหาร พื้นบานของชาวภูไทมีคุณคาดานสมุนไพร คือ สามารถรักษาอาการโรค และบํารุงรางกายไดดวยสรรพคุณ ของพืชผักธรรมชาติ

และรสฝาด รสขม รสเผ็ด รสเปรี้ยว รสจืด รสหวาน ซึ่งมีความสัมพันธกับ

สรรพคุณยา สิ่งที่นํามารับประทานนั้นลวนแตเปนอาหารที่หางายแตมีคุณคาทางอาหารสูง โดยเฉพาะอยาง ยิ่งอาหารประเภทผักพื้นบาน 3. ดานวัฒนธรรม จากการเก็บขอ มูล พบวา ชุ มชนหวยยาง เปน หมู บานภูไ ทมีวัฒนธรรมเปน เอกลั กษณของ ตนเอง โดยการสืบทอดมาจากภูมิปญญาของบรรพบุรุษ เชน วัฒนธรรมการแตงกาย การแตงกายของภูไท ชุมชนหวยยางในปจจุบันจะแตงกายเหมือนกับทองถิ่นทั่วไปคือ การแต งกายสมัยนิยม ไมตองนุงผาซิ่น


ผาถุง แตชุมชนก็ยังคงอนุรักษการแตงกายแบบชาวภูไทไวอยู การแตงกายดวยชุดภูไทจะแตงในโอกาส สําคัญ และเอกลักษณที่เปนภาษาพูดเมื่อมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชนมีก ารจัดกิจกรรมตอนรับโดยอาศัย วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นที่เคยปฏิบัติกันมาแลว เชน การบายศรีสูขวัญ การจายผญา ชุมชนไดมีโอกาส เผยแพรวัฒนธรรมของชุมชน ใหนักทองเที่ยวไดสัมผัส และชื่นชม ถือวาเปนการทํานุบํารุงวัฒนธรรมของ ตน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันระหวางนักทองเที่ยวกับเจาของบาน เชน ในระหวางที่นักทอ งเที่ยวพักอยู ในบานในชุมชนมีการเรียนรู วิถีชีวิตของชุมชน และในขณะเดี๋ยวกัน ชุมชนก็เรียนรูวัฒนธรรมบางอยาง ของนักทองเที่ยวดวย โดยเฉพาะนักทองเที่ยวจากตางประเทศ

4.ดานแหลงทองเที่ยว จากการเก็ บข อ มู ล พบว า ในบริ เ วณใกล ที่พัก หรื อ ชุ มชน มี แ หล งท อ งเที่ ยวซึ่ งเป น สิ่ งดึ งดูด ใจให แ ก นักทองเที่ยวมีมัคคุเทศกทองถิ่นโดยจะพานําเที่ยวทางธรรมชาติบนภูเขา ไดแก จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ถ้ําผาแก ถ้ําอางกุง อางแกว จุดชมวิวพระธาตุดอยอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียง ผานาง และ น้ําตกศรีตลาดโตน แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรโบราณคดี เชน ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร จุดที่พบ ซากฟอสซิลไดโนเสาร วัดศรีแกว สํานักสงฆภูนอ ยอางแกว และมีสถานที่ทองเที่ยวใกลหมูบานมีค วาม สวยงามเปน ที่สัก การบูชาเปน สถานที่ แ หงแรกของประเทศไทยจัด สรา งที่วัดปา พุทธนิมิ ต สถิตสีมาราม (วัดปานอย) ไดแก โบสถดิน และยังมีกิจกรรมทองเที่ยว เชน เดินปา ปนเขา ภายในชุมชนก็มีศิล ปหัต กรรมพื้นบาน เชน การทอผา จักสาร โดยปกติทั่วไปชุมชนหวยยางมีค วามรูความสามารถในศิลปะหัต กรรมพื้นบานอยูแลว จึงมีการจัดกิจกรรมใหนักทองเที่ยวมีการฝกหัดดวย เชน ฝกหัดการทอผา จักสาร มี การดูแลสภาพแวดลอมทั้งที่เปนแหลงทองเที่ยวและชุมชนอยูเสมอ 5.ดานผลิตภัณฑ จากการเก็บขอมูลดานผลิตภัณฑ พบวา ในชุมชนมีการจัดการดานผลิตภัณฑโดยใหชุมชนมีการ จัดการดานผลิตภัณฑโดยใหชุมชนหรือชาวบานเปนผูผลิต และใชวัตถุดิบในทองถิ่นชุมชนผลิตเอง เชน การทอผาฝาย การทอผาไหม การทําเรือจากกระบอกไมไผ การจักสาน การเพาะพันธุกลาไมออกจําหนาย ภายในหมูบานและสงขายยังตลาด กลุมทอผาฝาย กลุมทอผาไหม เปน การรวมตัวของชาวบานที่มีฝมือ ทางด านการทอผ าไหม ซึ่งลวดลายทอ ไดแก ลายตนสน ลายขอดอกฝ าย ลายหมากตุมหมู ลายกาบ


ลายขาเข เปนตน กลุมทอผาไหมสามารถสรางรายไดเสริมใหแกค รอบครัวเปนอยางมาก มีรานคาขาย ภายในชุมชนไวขายผลิตภัณฑของที่ระลึกใหกับนักทองเที่ยว 6.ดานการประชาสัมพันธ จากการเก็บรวบรวมขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีแหลงทองเที่ยวที่เปนธรรมชาติ มีการเรียนรูวิถี ชีวิตเกษตร การทําปุยหมักชีวภาพ วัฒนธรรมภูไท เยี่ยมชมแหลงทองเที่ยวใกลเ คียง ไดแก จุดชมวิวอ าง เก็บน้ําหวยโท - หวยยาง โบสถดิน ชุมชนหวยยางจึงมีการประชาสัมพันธโดยการทําแผนพับมีการจัดคูมือ เอกสารเผยแพรการทองเที่ยวเปนขอมูลจริง มีลายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมประชาสัมพันธผานทาง ระบบ เครือขายอินเตอรเน็ต http://laophonkhor.go.th/index.php เพื่อใหเปนที่รูจักอยางแพรหลาย 7.ดานความปลอดภัย จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีการรักษาความปลอดภัยอยางเครงคัดเพื่อความปลอดภัย แกนักทองเที่ยวไดอยางเต็มที่ โดยจัดตั้งคณะกรรมการหมูบานมีการประชุม และมีมติรวมกันแบงหนาที่ รับผิดชอบจัดเวรยามสอดสอ งบุคคลภายนอกที่เ ขามาหมู บานทั้งกลางวันและกลางคืน และคอยบริการ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ กิ ด จากการเจ็ บ ป วยอย า งกะทั น หั น หรื อ ต อ งการสิ่ ง ที่ จํา เป น นอกจากนั้ น ช วงที่ มี นักทองเที่ยวเขามาพักเปนจํานวนมากก็จะขอความรวมมือจาก อปพร. โดยผานนายกเทศมนตรีเขามาดูแล ความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง 8.ดานสภาพแวดลอม จากการเก็บขอมูล พบวา ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่อุดมสมบรูณมีภูเขาลอมรอบเต็มไปดวย ความเขียวชอุม มีการกําจัดขยะก็ใชวิธีฝงกลบหรือนําไปเผาในที่ของตนเองและรวมกันดูแลความสะอาด บริเวณบานและริมถนนไมใหมีขยะหรือสิ่งปฎิกุลรวมทั้งบริเวณสถานที่สาธารณะตางๆมีขอตกลงในการ รักษารวมกัน 9.ดานการคมนาคม จากการเก็บขอ มู ล พบว า การคมนาคมติดตอ สถานที่ทอ งเที่ ย วตาง ๆ ใชในการคมนาคมทางบก ถนนลาดยาง ถนนภายในหมูบานเปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดยชุมชนอยู


หา งจากตั วจั ง หวัด สกลนคร เพี ยง 37 กิ โ ลเมตร ตามถนนสกล – นาแก มีร ถประจํา ทางจากจั งหวั ด สกลนครผานปากทางเขา เกณฑมาตรฐานบานพักโฮมสเตย สํา นัก งานพั ฒนาการทอ งเที่ย ว กระทรวงการท องเที่ ยวและกีฬา (2551 : 1-3) ได จัดเกณฑ มาตรฐานโฮมสเตยไทยดังตอไปนี้ 1. มาตรฐานดานที่พัก ตองเปนลักษณะบานที่เปนสัดสวนที่พัก ที่นอนสะอาดและสบาย มีหอ ง อาบน้ํา และหองสวมที่สะอาดมิดชิด มีมุมพักผอนภายในบานหรือชุมชน 2.มาตรฐานด านอาหารและโภชนาการ ตอ งคํานึงถึ งชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชประกอบ อาหาร มีน้ําดื่มสะอาด ภาชนะที่บรรจุอาหารสะอาด มีหองครัวและอุปกรณที่ใชในครัวถูกสุขลักษณะ 3.มาตรฐานดานความปลอดภัย มีการเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้อ งตน มีการ จัดการเวรยามดูแลความปอดภัย 4.มาตรฐานด า นอั ธ ยาศั ยไมตรี ข องเจ า ของบ า นและสมาชิ ก ต อ งมี ก ารต อ นรั บ และการสร า ง ความคุนเคย มีการสรางกิจกรรมและเปลี่ยนความรูในวิถีชุมชน 5.มาตรฐานดานกิจกรรมการทองเที่ยว ตองมีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจนซึ่งตองผานการยอมรับจาก ชุมชน มีขอมูลกิจกรรมการทองเที่ยว และเจาของบานเปนมัคคุเทศกทองถิ่นหรือประสานงานใหมัคคุเทศก ทองถิ่นนําเที่ยว 6.มาตรฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอม ตองมีแหลงทอ งเที่ยวภายในชุมชนหรือ บริเวณใกลเคียง มีการดูแลแหลงทองเที่ยว มีแผนงานหรือมาตรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ ลด ผลกระทบจากการทองเที่ยวและลดภาวะโลกรอน 7.มาตรฐานดานวัฒนธรรม มีการดํารงรัก ษาไวซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีทอ งถิ่น รักษาวิถีชีวิต ชุมชนใหคงไวเปนกิจวัตรปกติ 8.มาตรฐานดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑชุมชนมีการสรางผลิตภัณฑชุมชนเพื่อเปนของ ที่ระลึกหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว ตองมีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาเปนเอกลักษณของชุมชน 9.มาตรฐานด า นการบริ หารของกลุ มโฮมสเตย ต อ งมี เอกสารสิ่ง พิมพ เ พื่ อประชาสั มพัน ธ ก าร ทองเที่ยวของชุมชนและตองมีการเผยแพรประชาสัมพันธ


มาตรฐานโฮมสเตยไทย หรือ ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทมาตรฐานไทย หมายถึงบานที่อยูใน ชุมชนชนบทที่มีประชาชนในชุมชนเปน เจาของและเจ าของบานหรือสมาชิ ก ในครอบครัวอาศัยอยูเป น ประจํา หรือใชชีวิตประจําวันอยูในบานดังกลาว 6. อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษา การจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ไดพบประเด็นที่นํามาอภิปรายผลใหสอดคลอ งกับวัตถุประสงค ของการวิจัยในครั้งนี้ ไดแก ประเด็นแรก คือ การจัดการบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง และประเด็นที่ สอง คือ ศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ซึ่งผูวจิ ัยจะอภิปรายผลดังนี้ ประเด็ นแรก การจั ดการบ านพัก โฮมสเตยชุม ชนหวยยาง ตํา บลเหล าโพนค อ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จัง หวัด สกลนคร ผลการศึกษาพบวาการดําเนิ นงานของกลุ มบา นพัก โฮมสเตยมีค วามพรอ ม เพราะมีการบริหารจัดการทองเที่ยวเพื่อที่จะการตอนรับนักทองเที่ยวที่จะเขามาพักในชุมชนมีการดําเนินการ แบงบทบาทหนาที่ภายในกลุม ไดแก ฝายจัดการที่พัก ฝายจัดงานเลี้ยง ฝายจัดบายศรีสูขวัญ ฝายาการ แสดงพื้นบาน ฝายนําชมสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมในหมูบาน นอกจากนนี้ชุมชนหวยยางยังมีศักยภาพดาน ทุนทางทรัพยากรมนุษย เพราะไดรับการสนับสนุนสงเสริมดานการทองเที่ยวจากองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอใหมีการจัดตั้งองคกรชุมชนขึ้น คือ กลุมบานพักโฮมสเตยและอาสาสมัครนําเที่ยวขึ้น ในดาน ของผูนําและชาวบานซึ่งพบวาผูนํามีศักยภาพในการประสานกับหนวยงานราชการ ชาวบานมีการเตรียม ความพรอมและใหความรวมมือในการบริหารจัดการ ซึ่งสอดคลองกับแนวทุนชุมชนของสุวิทย เมษินทรีย (มปป.)ที่ไดอธิบายวาทุนชุมชนคือสิ่งที่เปนมูลคาหรือมีคุณคาที่มิใชเงินตราเพียงอยางเดียว แตหมายถึงสิ่ง อื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปน อยูข องคน เชน ทุนทรัพยากรที่กอใหเ กิดผลผลิต รวมถึงเงินและ สินทรัพยอื่น ๆ ที่ เปน ความรู ภูมิปญญา ประสบการณข องคน ทุ นทางสัง คม วัฒนธรรมประเพณี ป จจั ย บริการทางโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งทุนทางชุมชนเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหชุมชนหวยยางคนพบศักยภาพของ ชุมชนในดานตางๆ จากการดําเนินงานที่กลาวมาขางตนทําใหผูวิจัยพบวาชุมชนหวยยางยังมีปญหาในหารพัฒนารูปแบบ การทองเที่ยว คือ ปญหาการคมนาคมไมสะดวก ความรูความเขาใจของชุมชน การจัดระบบการดําเนินงาน และการจัดรายการทําเที่ยว ยังไมมีการประชาสัมพันธที่เ พียงพอ พฤติกรรมและวัฒนธรรมบางอยางของ ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมสาเหตุการจากการรับวัฒนธรรมจากภายนอก การเปลี่ยนแปลงวิถีการ ผลิ ตและอาชี พ ชี พของคนในชุ มชนหลั งจากการสร า งอ า งเก็ บน้ํ า ทํ า ให พฤติ ก รรมของคนในชุ มชน


เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีนิเ วศวิทยาวัฒนธรรมตามทัศ นะของสจวด วาเปนความสัมพันธ ระหวา งสภาพแวดล อ มกั บเทคโนโลยี ทางการผลิ ต ซึ่ งเปน ตั วกํา หนดสํ าคั ญต อ การเปลี่ ยนแปลงทาง วั ฒ นธรรม โดยมี ค วามสั มพั น ธ ร ะหว า งเทคโนโลยี กั บ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย และความสํา คั ญ ของ สภาพแวดลอมและอิทธิพลของสภาพแวดลอมตอพัฒนาการทางวัฒนธรรม เปนตน ซึ่งมีความสอดคลอ ง กับ รัตนาภรณ มหาศรานนท (2552 : 145-150) ไดศึกษาการทองเที่ยวแบบโฮมสเตยกับการทองเที่ยว เชิงนิเวศที่ หมูบานปาสั กงาม ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด จั งหวัดเชีย งใหม ผลการศึก ษาพบว า ชุมชนมีพัฒนาการในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศแบบบานพัก มีสวนรวมกับชุมชน โดยแบงพัฒนาการ ตามชวงของการเขามาของศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร และรูปแบบของการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ แบบบานพักมีสวนรวมกับชุมชนแบงออกเปน 2 ยุคการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศของชุมชนบานปาสักงาม มีทรัพยากรทอ งเที่ยวประเภทธรรมชาติเป นสิ่งดึงดู ดใจ มีค วามหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดลอ ม เพื่อใหนักทองเที่ยวและผูที่สนใจเกิดการเรียนรูและเกิดจิตสํานึกในการดูแ ลสิ่งแวดลอ ม เพื่อปรับเปลี ่ยน พฤติกรรมใหเหมาะสมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ประเด็นที่สอง ศักยภาพบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ชุมชนมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับบานพักทีม่ ีศักยภาพ ดานที่พักอาศัย ดานอาหาร ดานวัฒนธรรม ดานแหลงทองเที่ยว ดานผลิตภัณฑ ดานการประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัย ดานสภาพแวดลอม และ การคมนาคม ที่ มีส วนร วมของชุ มชนหรื อ เจ า ของบ า นเป น สํ า คั ญ ซึ่ง สอดคล อ งกั บแนวคิ ดการจั ด การ ทอ งเที่ย วโดยชุมชน พจนา สวนศรี (2546) ว าใหค วามสํ าคั ญในเรื่อ งการพัฒ นาที่คู ไปกับการอนุรั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในบริบทสังคมไทยที่คนกับธรรมชาติมีความผูกพันใกลชิดกัน สวนการจัดการทองเที่ยวโดยองคกรชุมชน การจัดการการทองเที่ยวของชุมชนกําลังอยูในขั้นของ การดําเนินการชุมชนจึงมีความจําเปนจัดตั้งกลุมองคกรชุมชนเพื่อเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและบริหาร จัดการทอเที่ยวของชุมชน ชื่อกลุม “กลุมทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง” ซึ่งชาวบานมีสวนรวมในการเสนอ รูปแบบและแนวทางการจัดการการทองเที่ยว ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน พจนา สวน ศรี (2546) “การทองเที่ยวโดยชุมชน (community base sustainable tourism) คือการทองเที่ยวที่คํานึงถึงความ ยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชน และ ชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพื่อใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือน” ที่สอดคลองกับงาน วิชุดา ศิริวัฒน (2552 : 51-54 ) ไดศึกษาเรื่อง แนวทางการบริหารจัดการที่พัก ทางวัฒนธรรม(Home stay) เพื่อการทองเที่ยว ในจังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา มีการนํา เอาศิล ปะ วัฒนธรรมและ


ประเพณีที่มีลักษณะเอกลักษณเฉพาะทองถิ่นที่เปนเอกลักษณของคนโคราชคือ การรวมพักอาศัย เพื่อศึกษา วิถีชีวิตที่เรียบงายแบบสังคมชนบทและจุดนี้เองคือเปนจุดขายที่สําคัญ ที่นักทองเที่ยว ใหความสนใจการจัด กิจกรรมที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเปนการกําหนดการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับชุมชน ซึ่งมา จากการมีสวนรวมของชุมชนใหเปนไปตามการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตยที่มีความเหมาะสมกับชุมชน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่ยั่งยืนของชุมชน

7.ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน 1. หนวยงานที่เกี่ยวของควรสนับสนุนและสงเสริมการใหความรูการจัดการบานพักโฮมสเตยแก สมาชิกในหมูบานเพิ่มมากขึ้น ในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว 2.ควรมีการจัดทําเสื่อเผยแพรประชาสัมพันธการทองเที่ยวโฮมสเตย อยางจริงจังจากหนวยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนที่มีสวนเกี่ยวของกับการทองเที่ยว 3.ควรจัดกิจกรรมสงเสริมใหเยาวชนเขามามีสวนรวมในการจัดการโฮมสเตย เพื่อใหเยาวชนเห็น คุณคาความสําคัญของวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณของชุมชนตนเอง

ขอเสนอแนะดานการวิจัย 1.ศึกษาและวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) ของหมูบานเพื่อนําขอมูลที่ได จากการศึกษามาวิเคราะหใหนําไปสูแนวทางการพัฒนาบานพักโฮมสเตยหมูบานหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ตอไป


บรรณานุกรม ปราโมทย ภักดีณรงค. (2551). แนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพ หมูบานวัฒนธรรมเพื่อการ ทองเที่ยว. วิทยานิพนธ ศศ.ม. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ปภังกร เถาวชาลี. (2554). หมูบานทองเที่ยวโฮมสเตย : การพัฒนาการจัดการการทองเที่ยวทาง วัฒนธรรมของกลุม ผูไทยในอีสาน. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. พรมมา ไขแสง. (2551 : 115-116) ไดศึกษาเรื่องการจัดการแหลงขอมูลพักอาศัยแบบโฮมสเตยเพื่อการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษาบานโคกโกง จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รัตนาภรณ มหาศรานนท. (2552). การทองเที่ยวแบบโฮมสเตยกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศกาณีศึกษา หมูบานปาสักงาม ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ ศศ.ม. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิชุดา ศิริวัฒน. (2552). แนวทางการบริหารจัดการที่พักทางวัฒนธรรม (Home stay) เพื่อการทองเที่ยว ในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สวาท กลางประพันธ. (2551). การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการหมูบานวัฒนธรรมเพื่อสงเสริมการ ทองเที่ยว ในจังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. การทองเที่ยวในรูปแบบ “โฮมสเตย” <http://www.google.co.th/search?q=> สืบคนเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2555. สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. มาตรฐานโฮมสเตยไทย. <http://tripsthailand.com/th/nainomestay_standrd> สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2555. พระราชรัตนมงคล. (2546). ตํานานผูไท. พิมพครั้งที่ 1. ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ, กรุงเทพฯ.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ


แบบสัมภาษณมีโครงสราง พัฒนานิพนธเรื่อง : รูปแบบบานพักโฮมสเตยที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมชุมชนภูไทบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ ชื่อ-สกุล............................................................................................................................................... 1. บานเลขที.่ ........................................................................................................................................ 2. อายุ.........ป 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด ( ) สมรส ( ) หยาราง ( ) มาย 4. ศาสนา ( ) พุทธ ( ) อิสลาม ( ) อื่น ๆโปรดระบุ................ 5. การศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) ปวช. ปวส. ( ) ปริญญาตรี ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ.................... 6. ทานประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก ( ) เกษตรกรรม ( ) คาขาย ( ) ประมง ( ) ขาราชการ ( ) รับจางทั่วไป ( ) อื่น ๆโปรด ระบุ................... 7. อาชีพรองของทาน (อาชีพที่ใชเวลาในการประกอบอาชีพนอยกวาอาชีพหลัก) (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) ทําไร/ทําสวน ( ) หาของปา ( ) คาขาย ( ) รับจาง ( ) ไมมี ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ.............................. 8. รายไดเฉลี่ยของทาน......................................... บาท / เดือน 9. ทานไดอาศัยอยูในชุมชนนี้มาเปนระยะเวลา ................... ป 10. ทานมีตําแหนงทางสังคมในชุมชนหรือไม ( ) กรรมการหมูบาน ( ) กรรมการกลุมอาชีพ ระบุ....................................................... ( ) อื่นๆ ระบุ................................................................


ตอนที่ 2: ขอที่ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ความรูและประสบการณดานการใหบริการที่พักแกนักทองเที่ยว

ขอความ ทานตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเที่ยวหรือไม ทานเคยเขารับการอบรมหรือประชุมเกี่ยวกับบานพักโฮมสเตยหรือไม ปจจุบันทานเปนกรรมการหรือมีบทบาทเกี่ยวกับการทองเที่ยวหรือไม ทานเคยเขารวมการตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาเที่ยวในชุมชนหรือไม ทานมีความยินดีใหนักทองเที่ยวมาพักคางที่บานของทานหรือไม ทานมีการจัดเตรียมหรือดูแลบานของทานเปนพิเศษเมื่อมีนักทองเที่ยวมาพัก ทานมีการจัดเตรียมอาหารเปนพิเศษใหแกนักทองเที่ยว ทานมีการปรับเปลี่ยนเวลานอนเมื่อมีนักทองเที่ยวมาพักที่บานทาน ทานมีการปรับเปลี่ยนการแตงกายเมื่อมีนักทองเที่ยวมาพักที่บานทาน ทานไมมีเวลาทํางานสวนตัวเมื่อมีนักทองเที่ยวมาพักที่บานทาน ทานไดมีโอกาสพูดคุยอยางเปนกันเองกับนักทองเที่ยว ทานไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูหรือประสบการณกับนักทองเที่ยว ทานไดรับคาตอบแทนจากนักทองเที่ยว (คาที่พัก คาอาหาร) ทานมีการตอนรับหรือบริการนักทองเที่ยวเสมือนญาติมิตร ทานมีการตอนรับหรือบริการนักทองเที่ยวเสมือนลูกคา ทานมีการตอนรับหรือบริการนักทองเที่ยวเสมือนเจานาย ทานเคยใหนักทองเที่ยวปรุงอาหารทานเองหรือไม ทานเคยใหนักทองเที่ยวรวมทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจของครอบครัวทาน ทานมีการจัดเตรียมหองพักเปนพิเศษใหแกนักทองเที่ยว ทานยังมีการติดตอสื่อสารกับนักทองเที่ยวอยางสม่ําเสมอ

ใช

ไมใช


ตอนที่ 3: ขอที่ 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

รูปแบบบานพักโฮเสเตยที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ขอความ บานพักที่สะดวกสบาย รูปทรงทันสมัย บานพักที่หรูหรา ราคาแพง บานพักที่มีขนาดใหญ มีหลายหองนอน บานพักที่สะอาด เปนระเบียบเรียบรอย บานพักที่มีหองน้ําสะอาด หองครัวสะอาด บานพักรูปทรงอีสานดั้งเดิม บานพักรูปทรงภูไทดั้งเดิม บานพักรูปทรงอีสานประยุกต บานพักรูปทรงภูไทประยุกต บานพักที่มีเครื่องใช เครื่องเรือนเปนของพื้นบาน

ใช

ไมใช

41. ทานคิดวาชุมชนหวยยางมีความพรอมในการพัฒนาบานพักโฮมสเตยอยางไรบาง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 42. ทานคิดวาชาวบานหวยยางมีปญหาอุปสรรคในการเขารวมพัฒนารูปแบบบานพักโฮมสเตยอยางไรบาง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... สัมภาษณวันที่..................................................


ภาคผนวก ข รายนามผูใหสัมภาษณ


รายนามผูใหสัมภาษณ 1. นายปรารถนา แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 109 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 2. นายแกง แพงดี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 265 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 3. นายบุญกอง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 233 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2555. 4. นางอรุณรัตน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 205 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 5. นางญาณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 1 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 6. นางธิดารัตน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 235 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 7. นายหวล ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 215 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 8. นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 133 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 9. นางสาวเยวเรศ ลีคํา เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 212 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 10. นางเรณู ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 207 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555. 11. นางสุนทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 24 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 12. นายวิกรานต โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 13 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 13. นายสรสินธ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 208 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555.


14. นายชัยพิทักษ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 248 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 15. นางวงคจันทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 245 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 16. นางบัวลอย โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 184 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 17. นายบุญญาณ วิจิตร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 87 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 18. นางไหมคํา ฮมปา เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 197 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 19. นางอรัญญา ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 42 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 20. นางรพิญ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 251 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 21. นายหนูเตรียม พลราชม เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 187 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 22. นายไมตรี สูญราช เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 176 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 23. นายมีพิมพ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 6 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 24. นางทอน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 52 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 25. นางปาสัก ไขประภาย เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 239 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 26. นางคําพิษ วงคอินพอ เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 95 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. 27. นายทวีชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 234 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 30 มิถุนายน 2555.


28. นายสาคร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 146 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 23 กรกฎาคม 2555. 29. นายพายัพ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 53 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 11 สิงหาคม 2555. 30. นางวิชิน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 215 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 20 กรกฎาคม 2555.


ภาคผนวก ค ปฏิทินวัฒนธรรม


ปฏิทินวัฒนธรรม


ภาคผนวก ง รูปกิจกรรม


การคมนาคมภายในหมูบาน

ปายทางเขาบานหวยยาง


สภาพแวดลอมภายในหมูบาน

โรงเรียนบานหวยยาง


วัดโพธิ์ชัย

บานพักโฮมสเตย


หองนอนสําหรับนักทองเที่ยว

สิ่งอํานวยความสะดวก


สัมภาษณกลุมเปาหมาย

รวมประชุมในการตอนรับนักทองเที่ยว


บายศรีสูขวัญใหแกนักทองเที่ยว

พิธีบายศรีสูขวัญ (ผูกขอตอแขน)


รวมปลูกหญาแฝกและตนไม

รวมถวายเทียนพรรษากับ อบต. เหลาโพนคอ


ประวัติยอของผูศึกษา

ชื่อ

นางสาวศิริภรณ ไชยอุป

วันเกิด

วันศุกรที่ 25 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533

ที่อยูปจจุบัน

บานเลขที่ 21 หมู 3 บานเปา ตําบลบานเปา อําเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 49160

ประวัติการศึกษา ปจจุบันศึกษาระดับปริญญาตรี ศศบ. การพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชั้นปที่ 4 2545 ชั้นประถมศึกษา จบจากโรงเรียนบานเปา 2551 ชั้นมัธยมศึกษา จบจากโรงเรียนพลังราษฎรพิทยาสรรพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.