บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
จารุวรรณ โบขุนทด
พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยความอนุเคราะหจากทานอาจารยสายไหม ไชยศิ รินทร ที่ปรึกษาพัฒนานิพนธ ทานไดเสียสละเวลาอันมีคา เพื่อใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทําวิจัย ทุกขั้นตอนในการศึกษาคนควาตลอดเวลาทีท่ ําวิจัย ตรวจขอสอบแกไขขอบกพรองตางๆดวยความ เอาใจใสอยางดียิ่งตลอดมา ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอกราบขอบพระคุณ นายเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตรองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาจารยภาคสนาม ที่ไดกรุณาให คําแนะนําตลอดจนใหความชวยเหลือเกี่ยวกับขอมูลตางๆ ในการฝกงานภาคสนาม ซึ่งทานไดคอย แนะนําเรื่องราวตางๆใหผูศึกษามาโดยตลอด ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอกราบขอบพระคุณองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่ใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดีทําใหไดรับประสบการณที่ดีในการ ฝกงานครั้งนี้ ขอกราบขอบพระคุณคุณอนุสรณ พลราชม นายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ นางสาวดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษาและนายรัตนะ คําโสมศรี ปลัด อบต.เหลาโพนคอ และ เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอทุกทานที่คอยใหขอมูล แนะนํา รวมถึงใหการ ตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดี ขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทาน ที่ไดกรุณาให คําแนะนําขอบกพรองตางๆ คอยอบรมสั่งสอน คอยชีแ้ นะมาตลอด ทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้ สมบูรณยิ่งขึ้น ขอขอบคุณเพื่อนนิสิตที่ฝกงานรวมกัน ที่ใหการแนะนําและชวยเหลือในการลงพื้นที่ใน การเก็บขอมูลตางๆ งานวิจัยเลมนี้ลุลวงไมไดหากไมไดรับการสนับสนุนจากครอบครัวโบขุนทด โดยเฉพาะ อยางยิ่งคุณพอคุณแม ขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่ชวยเหลือสนับสนุนทั้งแรงกายแรงใจและ กําลังสติปญญาตลอดมา ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบใหแก นายนิวัฒน โบขุนทด บิดาของผูศึกษา นางบุญยาพร โบขุนทด มาดาของผูศึกษา รวมถึงสมาชิกในครอบครัวโบขุนทด รวมถึงผูที่สนใจพัฒนานิพนธฉบับนี้
จารุวรรณ โบขุนทด
ชื่อเรื่อง ผูศึกษา อาจารยที่ปรึกษา ปริญญา มหาวิทยาลัย
บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นางสาวจารุวรรณ โบขุนทด อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.)สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2555
บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาสภาพปญหาของผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.เพื่อศึกษาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีกลุมเปาหมาย คือ อาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุในตําบลเหลาโพนคอ จํานวน 5 คน ผูสูอายุที่ไดรับการดูแล จํานวน 15 คน ครอบครัวผูดูแลผูสูงอายุ 10 คน โดยผูวิจัยไดเขาไปสังเกตการณและมีสวนรวมภายในชุมชนใน ระยะเวลา 2 เดือน ระหวางวันที่ 11 มิถุนายน- 15 สิงหาคม 2555 เพื่อสังเกตพฤติกรรมตางๆ ภายในชุมชน วิธีการศึกษาในครั้งนี้ การสัมภาษณผูดูแลผูสูงอายุ(อผส.)และผูสูงอายุที่ไดรับการ ดูแลจาก อผส. ภายในชุมชน โดยใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสังเกตการณแบบมีสวนรวม การบันทึกภาคสนาม แผนที่ชุมชนในตําบล กลองถายรูป แลว นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาสรุปและวิเคราะหเปนผลการศึกษาดังนี้ ประการแรก พบวาสภาพปญหาของผูสูงอายุในตําบลเหลาโพนคอ 3 ดานคือ ปญหาดาน สังคม ปญหาดวนสุขภาพ ปญหาดานเศรษฐกิจ จึงทําใหบุตรหลานที่เคยดูแลเอาใจใสผูสูงอายุตอง ออกไปหางานทําที่ตางจังหวัด เพื่อนําเงินมาจุนเจือครอบครัว ทําใหผูสูงอายุในตําบลตองจํานวน มากอาศัยอยูเพียงลําพัง จึงตองการการไดรับการชวยเหลือจากชุมชนและหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ที่จะตองใหการชวยเหลืออยางใกลชิด
ประการที่สอง พบวาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ในตําบลเหลาโพนคอปฎิบัติ คือ มีการออกไปเยี่ยมบานผูสูงอายุที่อยูในการดูแลของตน จึงสงผลใหผูสูงอายุมีความเปลี่ยนแปลงใน เรื่องของ สุขภาพรางกาย จิตใจ และสังคม ในทางที่ดีขึ้น และอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุสามารถ ปฏิบัติหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุที่ตนรับผิดชอบไดอยางทั่วถึง ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ(อผส.) ไดแก ปญหาเรื่องการไมปฏิบัติตามคําแนะนําของผูสูงอายุ จํานวนผูสูงอายุที่ตองดูแลมีมากเกินไป การ ขาดความรูในการปฏิบัติหนาทีใ่ นบางเรื่องและการสื่อสารกับผูสูงอายุมีปญหา สําหรับขอเสนอแนะสําคัญที่ไดจากการวิจัย คือ 1) ควรมีการอบรมความรู เรื่องสิทธิประโยชน และวิธีการดูแลสุขภาพผูสูงอายุใหแก อผส. บอยครั้งขึ้น 2) ควรมีการสรางขวัญและกําลังใจใหกับ อผส. ในรูปแบบตาง ๆ เชน การมอบรางวัล ใหแก อผส. ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเดน 3) ควรจัดตั้งหนวยงานหลัก สําหรับดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน เพื่อ เปนรากฐานในการดําเนินงาน เชน การสงตองาน เวลาที่ อผส. ตองไปประกอบอาชีพเมื่อถึง ฤดูกาลเก็บเกี่ยว หรือติดภารกิจไมสามารถไปปฏิบัติหนาที่ได ในการฝกงานครั้งนี้ไดจัดโครงการสงเสริมการใชสมุนไพรพื้นบานในการดูแลสุขภาพ ผูสงู อายุ เพื่อเปนการสงเสริมบทบาทของผูดูแลผูสูงอายุในการนําสมุนไพรมาทําเปนยา โดยสรุปแลวการศึกษานี้ใหความสําคัญกับ การใชสมุนไพรในรักษาสุขภาพของผูสูงอายุ และจะทําใหผูดูแลผูสูงอายุสามารถนําสมุนไพรมาทําเปนยา ทําใหผูศึกษามีความสนใจที่จะศึกษา บทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ
สารบัญ บทที่ หนา 1 บทนํา ....................................................................................................................... 1 ภูมิหลัง ........................................................................................................... 1 วัตถุประสงคของการศึกษา ............................................................................. 3 ขอบเขตของการศึกษา .................................................................................... 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ............................................................................. 5 นิยามศัพทเฉพาะ ............................................................................................. 5 แนวคิดที่ใชในการศึกษา ................................................................................. 6 วิธีการศึกษา .................................................................................................... 20 งานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................... 30 2 บริบทตําบล ............................................................................................................... 34 สภาพทั่วไป ..................................................................................................... 34 ประวัติตําบล .................................................................................................... 35 บริบททางวัฒนธรรม ....................................................................................... 36 โครงสรางทางการเมือง ................................................................................... 41 สถานบริการรัฐ ............................................................................................... 42 แหลงทองเที่ยว ............................................................................................... 43 3 สภาพปญหาของผูสูงอายุ .......................................................................................... 44 ขอมูลดานสถิติของผูสูงอายุ ........................................................................... 44 สภาพความเปนอยูของผูสูงอายุ ..................................................................... 46 สภาพปญหาของผูสูงอายุ .............................................................................. 47 4 บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ .............................................................................. 49 ความเปนมาของอาสาสมัคร .......................................................................... 49 ขอมูลทั่วไปของอาสาสมัคร .......................................................................... 51 กระบวนการเขาสูตําแหนง ............................................................................ 52 บทบาทของอาสาสมัคร ................................................................................. 54 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ ........................................................ 59 ผลดําเนินงานของอาสาสมัค .......................................................................... 60 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ........................................................................... 63 สรุปผลการศึกษา ........................................................................................... 63 อภิปรายผลการศึกษา ..................................................................................... 67
ขอเสนอแนะ ................................................................................................. บรรณานุกรม .............................................................................................................. ภาคผนวก .................................................................................................................. ภาคผนวก ก รายนามผูใหสัมภาษณ ........................................................................... ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ....................................................................................... ภาคผนวก ค แผนที่หมูบาน ........................................................................................ ภาคผนวก ง ภาพประกอบพัฒนานิพนธ ..................................................................... ประวัติยอของผูศึกษา .................................................................................................
68 70 74 75 77 85 92 100
สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 จํานวนประชากร ...................................................................................................... 40 2 รายชื่อผูนําหมูบาน ................................................................................................... 41 3 จํานวนผูสูงอายุแตละหมูบาน ................................................................................... 44 4 เพศของผูสูงอายุแตละหมู ......................................................................................... 45 5 ชวงอายุผูสูงอายุ ........................................................................................................ 46 6 ความถี่ในการออกเยี่ยม ............................................................................................. 62
บัญชีภาพประกอบ ภาพ หนา ภาพประกอบ 1 แผนที่ตําบล ....................................................................................... 34 ภาพประกอบ 2 กิจกรรมพิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน ....................................................... 37 ภาพประกอบ 3 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ .................................................... 37 ภาพประกอบ 4 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ .................................................... 38 ภาพประกอบ 5 อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ...................................................................... 52
บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ผูสูงอายุ หมายถึง บุคคลในวัยสุดทายของวงจรชีวิต องคการสหประชาชาติ ไดกําหนด เกณฑสังคมผูสูงอายุไววา ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป เปนสัดสวนเกิน 10% หรือ อายุ65 ปขึ้นไป เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ ถือวาประเทศนั้นไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (AgingSociety) และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged Society) เมือ่ สัดสวนประชากรอายุ 60 ปเพิ่มเปน 20% และอายุ 65 ปขึ้นไป เพิ่มเปน 14% ของประชากรทั้งประเทศ สวนประเทศ ไทยเกณฑการเกษียณอายุโดยทั่วไป คือ 60 ป และในพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 ก็ให ความหมายผูสูงอายุ หมายถึง ผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ในปจจุบันประเทศไทยกําลังกาวเขาสูยุคดิจิตอล มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี โดยเฉพาะสาขาการแพทยและสาธารณสุข ทําใหประชากรมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีอายุ ยืนมากขึ้น ประกอบกับความสําเร็จจากนโยบายประชากร และการวางแผนครอบครัว ทําให โครงสรางประชากรในปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร อยางรวดเร็ว ไดสงผลใหประชากรในวัยเด็กมีแนวโนมลดลง วัยแรงงานมีสัดสวนคงที่และมี แนวโนมที่ลดลง สวนประชากรผูสูงอายุจะมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร จะทําใหอัตราภาวะวัยผูสูงอายุที่ เพิ่มขึ้น และสงผลกระทบโดยตรงตอผูสูงอายุในอนาคตอันใกล กลาวคือ ผูที่อยูในวัยแรงงาน จะตองรับภาระในการเลี้ยงดูผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทายที่สุดผูที่อยูในวัยแรงงานและผูสูงอายุจะอยู ในสภาพที่ออนแอทั้งสองฝาย ซึ่งจะสงผลกระทบใหผูสูงอายุถูกละเลยและถูกทอดทิ้งในที่สุด (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2551: คํานํา) จากการสํารวจขอมูลสวัสดิการสังคมระดับครัวเรือนทั่ว ประเทศ พบวาผูสูงอายุไมมีผูดูแลและชวยเหลือตัวเองไมไดเปนจํานวน 253,360 ครอบครัว คิด เปนรอยละ 7.3 ของผูสูงอายุทั้งหมดในเวลานั้น ซึ่งสวนใหญอยูในชนบทและยังไมสามารถเขาถึง บริการสําหรับผูสูงอายุของภาครัฐและเอกชนไดอยางเพียงพอและทั่วถึงอันเนื่องมาจากบริการ สวัสดิการสังคมของผูสูงอายุในทองถิ่น จากการสํารวจขอมูลสวัสดิการสังคมระดับครัวเรือนทั่วประเทศ พบวาผูสูงอายุไมมีผูดูแล และชวยเหลือตัวเองไมไดเปนจํานวน 253,360 ครอบครัว คิดเปนรอยละ 7.3 ของผูสูงอายุ ทั้งหมดในเวลานั้น ซึ่งสวนใหญอยูในชนบทและยังไมสามารถเขาถึงบริการสําหรับผูสูงอายุของ ภาครัฐและเอกชนไดอยางเพียงพอและทั่วถึง อันเนื่องมาจากบริการสวัสดิการสังคมของผูสูงอายุ ในทองถิ่น
ดวยเหตุดังกลาวสํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและ พิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย ไดดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน สงเสริมใหเกิดระบบงาน อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ (อผส.) เพื่อเปนกลไกลในระดับฐานรากของชุมชน โดยมีการฝกอบรม ฝกทักษะเสริมสรางทัศนคติ ใหมีความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อไปชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ ที่ชวยเหลือตัวเองไมได ถูกทอดทิ้งใหอยูลําพัง ถูกละเลยเฉย ไดรับการดูแลที่ไมถูกตอง ยากจน ฯลฯ โดยเปนมาตรการเชิงรุกทางสังคมที่มุงเขาไปดูแลชวยเหลือผูสูงอายุถึงตัวถึงบาน ทั้งนี้ไดเริ่มดําเนินโครงการนํารอง เมื่อป พ.ศ. 2546 – 2547 ในพื้นที่ 8 จังหวัด และมีมติ คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานผูสูงอายุแหงชาติ ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2547 ใหขยายผลพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ และในวันที่ 10 เมษายน 2550 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบใหขยายผลโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน โดยกําหนดเปนนโยบายดานผูสูงอายุ และใหองคการปกครองสวนทองถิ่น เปนองคกรหลักในการดําเนินงานรวมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในทองถิ่น และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปน หนวยงานสนับสนุนดานวิชาการ จากพัฒนาการจะเห็นขั้นตอนที่สําคัญคือการโอนถายงานสงเสริมสวัสดิการผูส ูงอายุไปสู องคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งนอกเหนือจากการดําเนินการเรื่องเบี้ยยังชีพแลวนาจะมีการ ดําเนินการสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุในเรื่องตาง ๆ เนื่องจากชุมชนจะเปนผูรูถึงปญหาและความ ตองการของผูสูงอายุไดอยางดีและสามารถดําเนินการดูแลผูสูงอายุในชุมชน โดยทุกคนในชุมชนมี สวนรวม ผูสูงอายุมีความคุนเคย รูจัก รูสึกมั่นคงทางใจอบอุนรวมทั้งไดอยูใกลชิดครอบครัว การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้จะสงผลกระทบตอระบบตาง ๆ ของประเทศเปนอยางมากโดยจะเปน ปรากฏการณที่สงผลกระทบทางลบแกผูสูงอายุ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม นอกจากนี้ ประชากรผูสูงอายุมักมีปญหาสุขภาพมากขึ้น ซึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพรางกายเขาสูวัย สูงอายุและผลแทรกซอนของความเจ็บปวยในชวงชีวิตกอนหนานี้ ทําใหผูสูงอายุตกอยูในภาวะ พึ่งพิงการบริการและการดูแลจากผูอื่นมากบางนอยบางในแตละชวงเวลาและการดูแลผูสูงอายุโดย บุคคลในครอบครัวเริ่มเปนปญหา ดังนั้นสังคมโดยเฉพาะชุมชนที่ใกลชิดผูสูงอายุมากที่สุดควร วางแผนการเตรียมการปองกันปญหาตาง ๆ รวมทั้งศึกษาองคความรูที่จะเตรียมความพรอม ในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครมีทั้งหมด 11 หมูบาน จํานวนหลังคาเรือน 872 หลังคาเรือน ประชากร4,662 คน จํานวนผูสูงอายุ 843 คน จํานวน ผูสูงอายุ ที่ปวยเปนโรคเรื้อรัง 200 คน จํานวนผูสูงอายุ ที่ชวยตนเองไมได 9 คนจํานวนผูสูงอายุที่รับ เบี้ยยังชีพ 843 คน มีรูปแบบการดําเนินการเกี่ยวกับผูสูงอายุคือจัดตั้งชมรมผูสูงอายุ สนับสนุน กิจกรรมวันผูสูงอายุ จัดตั้งอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานๆละ 5 คน จัดตั้งกองทุน ชวยเหลือ ผูสูงอายุ กรณีเจ็บปวย และเสียชีวิต โดยเจ็บปวยตองนอนโรงพยาบาลตั้งแต 3 วันขึ้นไป
สามารถเบิกเงินจากกองทุนไดวันละ 300 บาท ถา เสียชีวิตจะไดเงินชวยเหลือศพละ 2000 บาท และมีปญหาในการดูแลไมทั่วถึงเพราะผูสูงอายุตองการที่จะไดรับความรักความเอาใจใสจากสังคม และการใหสวัสดิการดานอื่นๆที่ไดจากการวางกลยุทธสนับสนุนองคกรชุมชนใหมีบทบาทในการ จัดสวัสดิการสังคม ดังนั้นทางองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดรับแจงจากสํานักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษยจังหวัดสกลนครใหดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน(อผส.) ประจําป2555 เพื่อทําหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบตามคําสั่ง สน 0004/2555 จึงมีคําสั่งใหแตตั้งอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน(อผส.) ตําบลเหลาโพนคอประจําป 2555 จํานวน 5 รายที่จะมีหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุและมีการติดตามผลของการทํางานและจะมีการ ทํางานรวมกับ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณในการทํางานคือจะมีการออกตรวจสุขภาพผูสูงอายุ ผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาสภาพชีวิตความเปนอยูและสภาพปญหาของผูสูงอายุและ บทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่มีผลการดําเนินงานโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน หลังจากที่ผานการ อบรมใหความรูจากหมอที่โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณและไดปฏิบัติงานมาแลวชวงระยะเวลาหนึ่ง รวมไปศึกษาปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) ใน ตําบลเหลาโพนคอ ทั้งนี้ เพื่อนําผลการศึกษาไปใชเปนขอมูลในการพิจารณาปรับปรุงการ ดําเนินงานตามโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บานและแนวทางการพัฒนาบทบาทอาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุประจําของตําบลเหลาโพนคอตอไป วัตถุประสงคการวิจัย งานวิจัยนี้ ผูวิจัยตองการศึกษาบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน รูปแบบการจัด สวัสดิการผูสงู อายุโดยมีองคการบริหารสวนตําบลเปนผูจ ัดสรรงบประมาณในการใหสวัสดิการ ตางๆในชุมชน จึงใหความสําคัญกับกลุมผูสูงอายุ โดยมีวัตถุประสงคในการวิจัยดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสภาพปญหาของผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร 2. เพื่อศึกษาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
คําถามในวิจัย ในพัฒนานิพนธนี้ ผูวิจัยมีคําถามในการวิจัยดังนี้ 1. สภาพผูสูงอายุมีชีวิตความเปนอยูอยางไร มีปญหาอะไรบาง 2. ปจจุบันอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุมีการดําเนินงานชวยเหลือผูสูงอายุอยางไรบาง มีปญหา หรืออุปสรรคในการดําเนินงานหรือไม อะไรบาง 3. แนวทางการพัฒนาบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานเปนอยางไร ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตเชิงพื้นที่ ในการวิจัยนี้ผูวิจัยไดเลือกพื้นที่ชุมชนตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร เนื่องจากเปนชุมชนที่มีผสู ูงอายุที่ไมคอยไดรับการดูแลจากครอบครัว จึงมีโครงการ อาสามัครดูแลผูสูงอายุในตําบลขึ้น ขอบเขตดานระยะเวลา ทําการเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือนมิถุนายน 2555 ถึงสิงหาคม 2555 ขอบเขตดานเนื้อหา ในการศึกษาบทบาทของอาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานในตําบลเหลาโพน คอ เพื่อที่จะเปนแนวทางการพัฒนาบทบาทของอาสาสมัคในการดูแลผูสูงอายุ 1. ศึกษาปญหาดานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบทบาทของอาสาสมัครในการดูแล ผูสูงอายุประจําหมูบานในตําบลเหลาโพนคอ 2. ศึกษาการทํากิจกรรมระหวางผูดูแลผูสูงอายุและผูสูงอายุวามีการทํางานอยางไรและมี การติดตามผลการทํางานมากนอยแคไหน 3. ศึกษาขอมูลสถานการณภายในของกลุม โดยเปนการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของ กลุม ในประเด็นการทํางานดูแลผูสูงอายุ 4. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสภาพความเปนอยูของผูสูงอายุผูสูงอายุ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ การศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุ ครั้งนี้คาดวาจะกอใหเกิด ประโยชนแกผูเกี่ยวของ 1.ทราบถึงการดําเนินงานโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บานหลังจากที่ผานการอบรม ใหความรูและไดปฏิบัติงานมาแลวชวงระยะเวลาหนึ่ง 2.ทราบถึงปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) ในตําบลเหลาโพนคอ 3.สามารถนําผลการศึกษาไปใชประโยชนในการปรับปรุงโครงการอาสาสมัครดูแล ผูสูงอายุที่บาน ในตําบลเหลาโพนคอ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไดตอไป พื้นที่เปาหมาย ชุมชนที่มีประชากรผูสูงอายุทั้ง11หมูบานในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่ไดรับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําตําบลเหลาโพนคอ องคกรที่เกี่ยวของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นิยามศัพทเฉพาะ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) หมายถึง เปนประชาชนในชุมชน ที่มีความสมัครใจ และไดรับการคัดเลือกจากการประชุมประชาคมหมูบานหรือตําบล ใหเปนตัวแทนมาปฏิบัติหนาที่ ดูแลผูสูงอายุที่บาน จํานวนผูสูงอายุที่ตองดูแล หมายถึง จํานวนผูสูงอายุที่ อผส. 1 คน ตองดูแลทั้งหมดซึง่ ไดแก จํานวนผูสูงอายุที่ อผส. ตองดูแลในครอบครัว และจํานวนผูสูงอายุที่ อผส. ตองดูแลใน หมูบาน การมีตําแหนงทางสังคม หมายถึง ตําแหนงของบุคคลซึ่งไดมาจากการเปนสมาชิกของกลุม และของสังคมในหมูบาน จํานวนระยะเวลาในการปฏิบัติหนาที่ หมายถึง จํานวนระยะเวลาที่ อผส. ไดเริ่มปฏิบัติ หนาที่ในการดูแลผูสูงอายุ ภายใตโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน ความรูของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน หมายถึง ความรูขั้นพื้นฐานของอาสาสมัครดูแล ผูสูงอายุ ที่ตองทราบในการปฏิบัติหนาที่ ไดแก ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผูส ูงอายุ และความรู เกี่ยวกับสิทธิประโยชนที่ผูสูงอายุพึ่งไดรับ
ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ไดแก ความรูดานการจัดอาหารที่เหมาะสม สําหรับผูสูงอายุ รูปแบบการออกกําลังกายที่เหมาะสม การชวยบรรเทาความเครียดในผูสูงอายุ การพักผอนที่เหมาะสมสําหรับผูส ูงอายุ การจัดสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับผูสูงอายุ การสนับสนุนทางสังคมจากเจาหนาที่ หมายถึง ความรวมมือและความชวยเหลือที่ไดรับ จากเจาหนาที่ ในการปฏิบัติหนาที่ ของ อผส. เชน คอยมาชวยแนะนําใหความรูเพิ่มเติมระหวาง ปฏิบัติหนาที่ และเมื่อมีปญหาในการปฏิบัติหนาที่ มักจะเขามาชวย อผส. แกไขปญหาอยูเสมอ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ หมายถึง ความถี่ในการปฏิบัติหนาที่ของ อผส. และความทั่วถึงในการปฏิบัติหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุ แนวคิดทฤษฎีที่ใชในการศึกษา แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับบทบาท แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทเปนแนวคิดทางสังคมวิทยาและจิตวิทยาสังคม ที่ใหความ สนใจเรื่องตัวบุคคลในฐานะเปนสมาชิกของสังคม การปฏิสัมพันธหรือการเกี่ยวของในสังคม เปน ลักษณะที่สําคัญของบทบาทที่แสดงอยู และเราไมมีทางหลีกเลี่ยงไดจึงจําเปนตองมีการปฏิสัมพันธ กันตลอดเวลา เพื่อใหสังคมกาวไปสูสังคมที่บุคคลสวนใหญปรารถนา และตองการจะเปน การศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทนั้น ไดมีนักวิชาการหลายทานไดทําการศึกษาและให แนวความคิดตาง ๆ ไวดังนี้ Turner (1982: 349-351) ไดกลาวถึงทฤษฎีบทบาทเชิงปฏิกรรมสัญลักษณนิยม (SymbolicInteractionism) โดยเปรียบเทียบเหมือนกับ การเลนละครบนเวที (Dramaturgical Approach) ซึ่งประกอบดวยลักษณะความคาดหวัง(Expectation) ทั่ว ๆ ไป 3 ประการ 1) ความคาดหวังจาก “บท” (Expectation from the “Script”) หมายถึง ภาวะความเปนจริงตาง ๆ ทาง สังคม(Social Reality) จะสามารถเปรียบเทียบไดกับละคร(Script) ซึ่งประกอบดวยตําแหนงตาง ๆ ทางสังคม โดยมีบรรทัดฐาน(Norm) เปนตัวกําหนดตาง ๆ ทางสังคมจะถูกจัดระบบและควบคุม โดยบรรทัดฐานที่แตกตางกันไปตามสถานการณและเงื่อนไขทางสังคมที่แตกตางกัน 2) ความคาดหวังจากผูรวมแสดงอื่น ๆ (Expectation from other “Players”) หมายถึง การที่สังคมมีบรรทัดฐานซึ่งเปรียบเสมือน Script ที่กําหนดบทบาทของบุคคลใน ความสัมพันธกับทางสังคมดังกลาวแลว บุคคลในสังคมจึงตองมีการสวมบทบาท(Role Taking) ซึ่ง กันและกัน เพื่อที่บุคคลจะไดคาดหวังพฤติกรรมของบุคคลอื่นในสังคมที่แสดงออก และสามารถมี ปฏิสัมพันธที่ถูกตองไดตามความคาดหวังของสังคมและบุคคลอื่นๆ 3) บทบาทคาดหวังจากผูชม(Expectation from the “Audience”) หมายถึง เปนความคาดหวังของ บุคคลในสังคมที่อยูในสถานภาพตาง ๆ กัน ซึ่งจะตองคาดหวังและสวมบทบาทของบุคคลอืน่ เพื่อที่จะเปนเครื่องนําทางไปสูการปฏิสัมพันธของสังคมอยางถูกตองและเปนไปตาม
หลักเกณฑที่ความคาดหวังรวมกัน Boom และ Selznick (1977:18) ไดกลาววาตําแหนงทางสังคม จะตองมีการกําหนดสิทธิ และหนาที่ไวเสมอเพื่อใหแตละคนรูวาจะตองแสดงบทบาทอยางไรบาง บทบาทเปนสิ่งที่ติดตามมา กับตําแหนงอันเปนเครื่องกําหนดการดํารงตําแหนงนั้น ๆ นอกจากนั้น Boom และ Selznick จําแนกลักษณะบทบาทไว 3 ประการ ดังนี้ 1) บทบาทที่กําหนดไว หรือบทบาทตามอุดมคติ(Prescribe or Ideal Role) เปน บทบาทตามอุดมคติที่กําหนดของสิทธิและหนาที่ของตําแหนงไวอยางแนนอนและชัดเจน 2) บทบาทที่ควรกระทํา(The Precisive Role) เปนบทบาทที่แตละบุคคลเชื่อวาควรกระทําในหนาที่ ในตําแหนงนั้นๆ ซึ่งอาจไมตรงตามบทบาทตามอุดมคติทุกประการ และอาจแตกตางไปแตละ บุคคลก็ได 3) บทบาทที่กระทําจริง (The Performed Role) เปนบทบาททีแ่ ตละบุคคลไดกระทําไปจริง ตาม ความเชื่อและความคาดหวัง ตลอดจนความกดดันและโอกาสที่จะกระทําในแตละสังคมในชวง ระยะเวลาหนึ่ง ๆ Murray (1968: 46) กลาวถึงความคาดหวัง (Expectation) วาหมายถึง ระดับผลงานที่บุคคล กําหนด หรือคาดหมายวาจะกระทํา เพื่อใหบุคคลทํางานที่ตนเคยทํา และความคาดหวังนั้นเปน ระดับที่บุคคลปรารถนาไปใหถึงเปาหมายที่กําหนดไวในการทํางาน แตละครั้งที่เขาไดกลาวถึง บทบาทที่คาดหวัง(Role Expectation) วาหมายถึง ความคิดเห็นที่มีตอบุคคลซึ่งอยูในตําแหนงหนึ่ง Theodore (1972: 546) ไดจําแนกลักษณะที่สําคัญของบทบาทออกเปน 2 ประเภท คือ 1) ความคาดหวัง (Expectations) เปนความคาดหวังของบุคคลที่ตําแหนงนั้น ๆวาควรที่จะแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสมกับตําแหนงนั้นอยางไร 2) การแสดงบทบาท (Enactment) เปนการแสดงบทบาทของบุคคลใหสอดคลองกับบทบาทที่ กําหนดไว Cohen (1979: 17) อธิบายวา บทบาทเปนพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังที่ผูอื่นที่จะใหผูที่ดํารง ตําแหนงปฏิบัติโดยยึดบทบาทเปนมาตรการโดยการตรวจสอบที่จะใหเห็นวาบุคคลผูดํารงตําแหนง นั้นจะปฏิบัติอยางไรภายใตขอบเขตฐานะของตนเอง Merrill (1957: 183) ไดใหคําจํากัดความของคําวา บทบาท คือ แบบแผนของพฤติกรรมที่ คาดหวัง ซึ่งผูกพันกับตําแหนงในสังคม พัทยา สายหู (2516: 66) อธิบายวา บทบาทหนาที่ คือ สิ่งที่ทําใหเกิดความเปน “บุคคล” และเปลี่ยนไดเสมือน “บท” ของตัวละครที่กําหนดใหผูแสดงในละครนั้น ๆ เปน(ละคร) อะไร มี บทบาทที่ตองจะแสดงอยางไร ถาแสดงพฤติกรรมหรือไมสมบทบาทก็อาจถูกเปลี่ยนตัวไมใหแสดง ไปเลย ในความหมายเชนนี้ “บทบาท” ก็คือการกระทําตาง ๆ ที่ “บท” กําหนดไวใหผูแสดงตองทํา ตราบใดที่ยังอยูใน “บท”นี้
ปฬาณี ฐิติวัฒนา (2523 : 66-67) กลาววา โดยทั่วไปบทบาทมีความหมายใกลเคียงกับ สถานภาพมาก เปนรูปการที่เปลี่ยนไปตามสถานภาพ กลาวคือ จะใชบทบาทเมื่อหมายถึงการที่ บุคคลปฏิบัติตามสิทธิและหนาที่ของตนมีอยู โดยทั่วไป บทบาทอาจพิจารณาได 2 ความหมาย ใน ความหมายแรกพิจารณาในดานโครงสรางทางสังคม บทบาทหมายถึงตําแหนงทางสังคมที่มีชื่อ เรียกตางๆ ซึ่งแสดงลักษณะโดยคุณสมบัติและกิจกรรมของบุคคลที่ครองตําแหนงนั้น ความหมาย อีกนัยหนึ่ง หมายถึงการแสดงบทบาทหรือการกระทําตอกัน หรือการปะทะสังสรรคกันทางสังคม (Social Interaction) อุทัย หิรัญโต (2526: 197) อธิบายวา บทบาทเปนหนาที(่ Function) หรือพฤติกรรมอันพึง คาดหมาย (Expected Behavior) ของบุคคลแตละคนในกลุมหรือในสังคมหนึ่งๆ หนาที่หรือ พฤติกรรมดังกลาว โดยปกติเปนสิ่งที่กลุมหรือสังคมหรือวัฒนธรรมกลุมหรือสังคมนั้นกําหนดขึ้น ฉะนั้น บทบาทจึงเปนแบบแหงความประพฤติของบุคคลในสถานที่หนึ่งที่พึงมีตอบุคคลอื่นใน สถานอีกอยางหนึ่งในสังคมเดียวกัน ทิตยา สุวรรณะชฎ (2527: 43) ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทไววา บทบาทเปน ลักษณะของพฤติกรรมที่ถูกกําหนดในฐานะของตําแหนงและไดแบงบทบาทออกเปนบทบาทอุดม คติ หรือบทบาทที่ผูดํารงตําแหนงทางสังคมจะปฏิบัติจริง ทั้งนี้บทบาทที่ปฏิบัติจริงเปนผลรวมของ บทบาทตามอุดมคติ บุคลิกภาพของผูดํารงตําแหนง อารมณและการแสดงบทบาทและปฏิกิริยาของ ผูเกี่ยวของอยางไรก็ตาม ทิตยา สุวรรณะชฎ ไดสรุปฐานะ ตําแหนง และบทบาทหนาที่ทางสังคมไว ดังนี้ 1) มีสถานภาพ อยูจริงในทุกสังคมและมีอยูกอนที่ตัวเขาไปครอง 2) มีบทบาทที่ควรเปน ประจําอยูในแตละตําแหนง 3) วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมนั้น เปนสวนหนึ่งซึ่งสําคัญใน การกําหนดฐานะตําแหนงและบทบาทที่ควรจะเปน 4) การที่คนเราทราบถึงฐานะ ตําแหนงหรือบทบาทนั้นไดมาจากสถานการณใน สังคมนั้นๆ บทบาทที่ควรจะเปนนั้นไมแนนอนเสมอวาจะเหมือนกับพฤติกรรมจริง ๆ ของคนที่ครอง ฐานะตําแหนงอื่น ๆ เพราะพฤติกรรมจริง ๆ นั้น เปนผลของปฏิกิริยาของคนที่ครองฐานะตําแหนงที่ มีบทบาทที่ควรจะเปนบุคลิกภาพของตนเอง และบุคลิกภาพของผูอื่นที่เขามารวมพฤติกรรมและ เครื่องกระตุน ที่มีอยูในเวลาและสถานที่เกิดการติดตอทางสังคม แสวง รัตนมงคลมาศ และคณะ (2537) ไดจําแนกลักษณะบทบาทไว 5 ประการ ดังนี้ 1) บทบาทในอุดมคติ (Ideal Roles) หมายถึงบทบาทที่ควรจะเปนไปตามอุดมคติอุดมการณหรือ หลักการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
2) บทบาทที่เปนจริง (Actual Roles) หมายถึง ขอเท็จจริงในดานกิจกรรมหรือผลงานที่ไดปฏิบัติจริง 3) บทบาทที่รับรู (Perceived Role) หมายถึง ความรูความเขาใจในหนาที่ความรับผิดชอบหรือ ภารกิจ ของตนวาควรเปนอยางไร 4) บทบาทที่คาดหวัง (Expecting Role) หมายถึง ฝายใดฝายหนึ่งมุงหวังตองการใหอีกฝายหนึ่ง ประพฤติปฏิบัติอยางไร 5) บทบาทที่ถูกคาดหวัง (Expected Role) หมายถึง การที่ฝายหนึ่งถูกคาดหวังจากอีกฝายหนึ่งวา ตองประพฤติปฏิบัติอยางไรจึงจะเปนไปตามคาดหวังของอีกในการศึกษาเรื่องบทบาทในแตละคู นั้น มีหลักการวิเคราะหวาบทบาทในแตละคูควรที่จะสอดคลอง จึงจะมีความสําเร็จสูง หากมีความ ขัดแยงในบทบาท (Role Conflict) มากเทาไร ความลมสลายจะเกิดขึ้น สนทยา ผลศรี (2545: 125) อธิบายวา บทบาท หมายถึง หนาที่ของบุคคลตามสถานภาพ หรือตําแหนงฐานะที่ดํารงอยู บทบาทจึงเปนกลไกลอยางหนึ่งของสังคมที่ทําใหคนที่อยูรวมกัน สามารถสรางระบบความสัมพันธตอกัน ไดอยางเปนระเบียบเรียบรอย บุคคลจะมีสถานภาพและ บทบาทหลายสถานภาพและแตกตางกันออกไป เชนเปน พอ แม ลูก ครู อาจารย ทหาร ตํารวจ แพทย นักเรียน นิสิต เปนตน จากความหมายดังกลาวขางตน สรุปไดวา บทบาทหนาที่หมายถึง หนาที่หรือพฤติกรรรมที่ บุคคลกระทําหรือแสดงออก ตามฐานนะหรือตําแหนงที่ไดรับมา ซึ่งในการศึกษาเรื่องบทบาท อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ต.เหลาโพนคอ ในครั้งนี้จะเปนการศึกษาการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน จะเปนการศึกษาถึงบทบาทที่เปนจริงของ อผส. วามีการปฏิบัติ หนาที่ตามบทบาทที่ไดรับเพียงใด แนวคิดการศึกษากระบวนการของภาวะสูงอายุ ความหมายของผูสูงอายุ วัยสูงอายุจัดเปนวัยที่อยูในระยะสุดทายของชีวิต ลักษณะและพัฒนาการในวัยนี้ จะตรง ขามกับวัยเด็ก คือมีแตความเสื่อมโทรมและสึกหรอ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะดําเนินไปอยางคอยเปน คอยไป (ชูศรี วงเครือ, 2543, น. 47) จึงเปนการยากที่จะกําหนดวาบุคคลใดอยูในวัย สูงอายุ เกณฑ ที่สังคมจะกําหนดวาบุคคลใดเปนผูสูงอายุนั้น จะแตกตางกันไปตามสภาพสังคมซึ่งไดมีผูใหคํา นิยามเกี่ยวกับผูสูงอายุไว เชน ฮอลล (Hall D.A., 1976, pp. 3-4 อางใน แสงเดือน มุสิกรรมณี, 2545, น. 7) ไดแบงการสูงอายุของบุคคลออกเปน 4 ประเภท คือการสูงอายุตามวัย (Choronological Aging) หมายถึง การสูงอายุตามปปฏิทินโดยการนับจากปที่เกิดเปนตนไป และ บอกไดทันทีวา ใครมีอายุมากนอยเพียงใดการสูงอายุตามสภาพรางกาย (Biological Aging) เปนการ พิจารณาการสูงอายุจากสภาพรางกายและสรีระของบุคคลที่เปลี่ยนไป เมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ประสิทธิภาพการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ในรางกายลดนอยลง เปนผลมาจากความเสื่อมโทรมตาม
กระบวนการสูงอายุซึ่งเปนไปตามอายุขัยของแตละบุคคลการสูงอายุตามสภาพจิตใจ (Psychological Aging) เปนการเปลี่ยนแปลงในหนาที่ การรับรู แนวความคิด ความจํา การเรียนรู เชาวปญญา และ ลักษณะบุคลิกภาพที่ปรากฎในระยะตาง ๆ ของชีวิตแตละคนที่มีอายุเพิ่มขึ้นการสูงอายุตามสภาพ สังคม (Sociological Aging) เปนการเปลี่ยนแปลงในบทบาทหนาที่สถานภาพของบุคคลในระบบ สังคม รวมทั้งความคาดหวังของสังคมตอบุคคลนั้นซึ่งเกี่ยวกับอายุ การแสดงออกตามคุณคาและ ความตองการของสังคมสําหรับการกําหนดวา ผูสูงอายุเริ่มเมื่ออายุเทาใดนั้น ขึ้นอยูกับความแตกตาง กันในแตละสังคม สําหรับสังคมไทยนั้นกําหนดวา ผูสูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีสัญชาติไทยและมี อายุตั้งแต 60 ปบริบูรณขึ้นไป (พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.2546) ทั้งนี้ผูสูงอายุมิไดมีลักษณะ เหมือนกันหมดแตจะมีความแตกตางกันไปตามชวงอายุ องคการอนามัยโลกจึงไดแบงเกณฑอายุ ตามสภาพของการมีอายุเพิ่มขึ้น ดังนี้ ผูสูงอายุ (Elderly) มีอายุระหวาง 60 –74 ป คนชรา (Old) มีอายุระหวาง 75 –90 ป คนชรามาก (Very Old) มีอายุ 90 ปขึ้นไป การแบงผูสูงอายุเปน 3 ชวงดังกลาว สําหรับในสังคมไทยยังมิไดมีขอสรุปวาจะมีการจัดประเภท ของผูสูงอายุในลักษณะใด การจัดโดยใชเกณฑอายุก็ยังมีขอถกเถียงวายังไมเหมาะสม นักวิชาการ บางทานจึงใชเกณฑความสามารถของผูสูงอายุแบงเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดดี กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดบาง กลุมที่ชวยเหลือตนเองไมได เนื่องจากมีปญหาสุขภาพ มีความพิการ ลักษณะของผูสูงอายุ บริบูรณ พรพิบูลย (2536, น. 10-11) ไดจําแนกลักษณะของผูสูงอายุ ไว ดังนี้ ผิวหนังเหี่ยวยน ผมหงอก ฟนสั่นคลอน ผูหญิงจะหมดประจําเดือน และมีความเสื่อมโทรม โดยทั่วไปใหเห็นมีความรูสึกวาตัวเองเรี่ยวแรงนอยลง กําลังลดถอย เหนื่อยงาน มองเห็นอะไร ไมคอยชัด หูตึง รับกลิ่นรสเลวลง ความจําเสื่อม เรียนรูสิ่งใหมไดชา ความสามารถในการทํางาน ลดลง เจ็บปวยงายและเมื่อเจ็บปวยแลวก็หายไดชาขาดความมั่นใจในตัวเอง มีอารมณกังวลงายและ กลัวในสิ่งที่ไมเคยกลัวมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งกลัวถูกทอดทิ้งและกลัวความตายนอกจากนี้ยัง รูสึกหงอยเหงาเปนนิจ ใจนอยและสะเทือนใจงาย บางคนกลายเปนคนหงุดหงิดโมโหราย ชอบ แยกตัวบางคนก็มีอารมณเศรา ตองการตายเร็วหรืออยากฆาตัวตาย แตก็มีบางคนกลายเปนคนเพอเจ อชอบโออวดและชอบ ตอเติมความเปนจริง การจัดประเภทผูสูงอายุจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง เพราะผูสูงอายุในแตละประเภทจะมีความ ตองการบริการสวัสดิการสังคมที่แตกตางกันไป ความเขาใจตอบริการสวัสดิการผูสูงอายุ ที่ผาน
มาจึงถูกจํากัดดวยการจัดบริการแบบ One Size fits for all ซึ่งไมสามารถตอบสนองกับความ ตองการของผูสูงอายุที่แทจริง นิวการเตนและคณะ (Neugarten และคณะ, 1968 อางในบุษยมาส สินธุประมา, 2539, น. 48) กลาวถึงบุคลิกภาพและการปรับตัวของผูสูงอายุไว 8 ประเภท ดังนี้ 1.Reorganizer เปนพวกหากิจกรรมใหมๆ เพื่อมาแทนที่กิจกรรมที่สูญเสียไป 2.Focusal เปนพวกชางเลือกในการทํากิจกรรม พวกนี้จะหยุดทํากิจกรรมบางอยาง ในขณะเดียวกัน ก็จะจูจี้ในการที่จะเลือกกิจกรรมใหม 3.Disengaged เปนพวกที่ดึงตัวเองออกมาจากบทบาทความรับผิดชอบที่มีอยูเดิม โดยสมัครใจ 4.Holding – on พวกที่พยายามจะอยูใกลชิดกับคนวัยกลางคน 5.Constricted เปนพวกที่พยายามจะปดตัวเองจากโลกภายนอกมากขึ้นเรือ่ ย ๆ(ไมยุงเกี่ยวกับโลก) 6.Succorance – seeking เปนพวกที่มีความพอใจในชีวิตตนเอง ตราบที่สามารถหาคนเปนที่พึ่งพา ได พวกนี้ตองการคนมาชวยดูแลและเอาใจใส 7.Apathetic เปนพวกดึงตัวเองออกมา จะหยุดคิดหรือหมดหวังในชีวิตคอนขางเร็วตั้งแตเนิ่น ๆ ไม เคยเปลี่ยนความเชื่อแบบทํารายตนเอง วาตนเองไมสามารถที่จะจัดการสิ่งแวดลอมของตนเองได 8.Disorganized เปนพวกมีกิจกรรมตางๆ นอยและมีสภาพจิตไมเปนปกติกลุมหมายเลข 1-3 เปน พวกที่ความพึงพอใจในชีวิตสูง มีบุคลิกภาพที่มั่นคง หมายเลข6 - 8 เปนพวกมีความพึงพอใจในชีวิต นอย แนวคิดการศึกษากระบวนการของภาวะสูงอายุ กระบวนการของภาวะสูงอายุ หมายถึง ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของบุคคลที่อยูใน ภาวะสูงอายุ ซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2539,น. 53อางถึง Mcpherson, 1983) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้รวมทัง้ การเปลี่ยนแปลงทางรางกายและสรีระวิทยา จิตใจและสังคมที่มนุษยไมอาจหลีกเลี่ยงได ดังนี้ 1. กระบวนการภาวะสูงอายุทางสรีระวิทยา ภาวะสูงอายุทางสรีระวิทยาเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผูสูงอายุทางรางกาย เปนการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่จะปรากฎใหเห็นอยางชัดเจนกับรางกายของคนเมื่อวัยสูงขึ้น กระบวนการนี้มี 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงทางรางกายและการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2539, น. 54–55) (1) การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและโครงสรางของ รางกายที่ปรากฎใหเห็นอยางชัดเจน เชน ผิวหนังเหี่ยวยน ตกกระ ผิวบาง เกิดบาดแผลไดงาย กลามเนื้อลดจํานวนลงทําใหความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง กระดูกเปราะบาง กระดูผุ กระดูกขอ อักเสบ ฯลฯ
(2) การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาเปนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอวัยวะตางๆ ใน รางกายที่เคยใชงานไดดี เชน การใชสายตา หู ลิ้น ฯลฯ หยอนสมรรถภาพลง จํานวนเซลลสมอง ลดลงทําใหความจําเสื่อมลงไป ระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปสสาวะ ฯลฯทํางาน ไดนอยลง ทําใหเกิดอาการผิดปกติตามมา เชน อาหารไมยอย เปนไขหวัดไดงาย อั้นปสสาวะไมได ฯลฯ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยานี้มีผลทําใหผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพไมมากก็นอย ซึ่งหากผูใดมีปญหามาก ก็มักจะสงผลไปถึงจิตใจของผูสูงอายุไปดวย อาจจะเกิดความหดหู ซึมเศรา หรือหงุดหงิด เกรี้ยวกราด เปนตนผลการสํารวจสุขภาพของผูสูงอายุไทยในงานวิจัยจํานวนมาก พบวาปญหาหลักของผูสูงอายุคือ ปญหาสุขภาพ ทั้งที่สุขภาพไมสมบูรณไมแข็งแรงเชนแตกอน และปญหาการเจ็บไขไดปวยดวยโรคตางๆ ซึ่งโรคที่มักพบในผูสูงอายุทั่วไปไดแก ปวดหลัง/เอว ไข ขออักเสบ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ โรคหัวใจ ตอกระจกตา ตอเนื้อตา โรคเกี่ยวกับหู อัมพาต/อัมพฤกต (นภาพร ชโยวรรณ และ จอหน โนเดล, 2539) 2. กระบวนการภาวะสูงอายุทางจิตวิทยาสังคม แนวคิดทฤษฎีที่ใชอธิบายภาวะสูงอายุทางจิตวิทยาสังคมที่ใชกันแพรหลายในปจจุบันมี 2 แนวทาง คือ ทฤษฎีกิจกรรมและทฤษฎีภาวะถดถอย (สุรกุล เจนอบรม, 2534, น. 34-35) (1) ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory) เปนทฤษฎีที่เสนอโดย Robert Havighurst (1963) ซึ่ง ทําการศึกษาผูสูงอายุชาวผิวขาวที่มีฐานะปานกลางและมีสุขภาพดี พบวา ผูสูงอายุที่มีกิจกรรม ปฏิบัติอยูเสมอๆ จะมีบุคลิกที่กระฉับกระเฉงและการมีภาระกิจกรรมสม่ําเสมอจะทําใหมีความพึง พอใจในชีวิตและปรับตัวไดดีกวาผูสูงอายุที่ปราศจากกิจกรรมหรือบทบาทภาระกิจหนาที่ใดๆ (2) ทฤษฎีภาวะถดถอย (Disengagement Theory) เปนทฤษฎีที่อธิบายในสิ่งที่ ตรงขามกับ ทฤษฎีกิจกรรม เสนอโดย William Henry (1961) ซึ่งกลาววา เมื่อเขาสูวัยสูงอายุ ผูสูงอายุจะลด กิจกรรมและบทบาทของตนเองลง ซึ่งจะเปนผลจากการที่รูสึกวาตนเองมีความสามารถลดลงและ การที่ผูสูงอายุไมเขาไปยุงเกี่ยวกับกิจกรรมและบทบาททางสังคม เปนการถอนสถานภาพและ บทบาทของตนเองใหแกหนุมสาวหรือคนที่จะมีบทบาทหนาที่ไดดีกวาทั้งนี้เพราะสังคมตองการคน ที่มีทกั ษะใหมและคนรุนใหมเขาไปแทนที่ ทฤษฎีทั้งสองทฤษฎีนี้มีความสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากเปนทฤษฎีที่สามารถอธิบายภาวะการ สูงอายุของผูสูงอายุที่มีพื้นฐานของชีวิตในวัยหนุมสาวที่แตกตางกัน อันอาจเนื่องมาจากการใชชีวิต ในวัยหนุมสาวที่มีสภาพสังคมและเศรษฐกิจตางกัน ทฤษฎีกิจกรรมที่นํามาใชกับผูสูงอายุที่มีวิถีชีวิต ที่เกี่ยวของกับการมีสถานภาพและบทบาทในสังคมมาตลอดชวงวัยหนุมสาวจนถึงวัยกลางคน เมื่อ ตองละบทบาทและสถานภาพนั้นลงตามชวงวัยชราการเกษียณอายุ จําเปนอยางยิ่งที่สังคมจะตอง
เตรียมสถานภาพและบทบาทอื่นๆรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของ ผูสูงอายุกลุมนั้น ในขณะที่ผูสูงอายุที่มีวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ตั้งแตวัยหนุมสาว วัยกลางคนจนเขาสูวัยสูงอายุ อาจจะไมตองการกิจกรรมรองรับมากเทาผูสูงอายุกลุมแรก สวนทฤษฎีภาวะถดถอยใชอธิบายกับ ผูสูงอายุที่มีความพรอมในการเขาสูภาวะสูงอายุที่แตกตางกัน ผูสูงอายุที่มีความพรอมเขาสูภาวะ สูงอายุจะลดบทบาททางสังคมของตนไดเมื่อเขาสูวัยสูงอายุ และทําหนาที่สนับสนุนคนหนุมสาวให รับภาระทางสังคมแทน ตัวผูสูงอายุเองจะหันเขาหากิจกรรมอื่น ๆ ตามภาวะถดถอยของตน เชน การศึกษาธรรมะ ฯลฯ ดังนั้นผูสูงอายุที่ถดถอยตนเองลงไดชา จึงตองนําทฤษฎีกิจกรรมมาใชในการ อธิบายภาวะสูงอายุของผูสูงอายุกลุมนี้แทน
แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ลอวตัน (Lawton, 1985 อางใน สิทธิอาภรณ ชวนป, 2540, น. 17 และ ลลิลญา ลอย ลม, 2545, น. 42) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตหรือการมีชีวิตที่ดีในผูสูงอายุและกลาววาผูสูงอายุที่มี คุณภาพชีวิตที่ดีตองประกอบดวยปจจัยสําคัญ 4 ดาน คือ 1. การมีความผาสุกทางดานจิตใจ (Psychological Well-Being) หมายถึง การที่บุคคล สามารถประเมินไดวา ประสบการณในชีวิตที่ผานมามีคุณภาพ โดยประเมินไดจากผลกระทบระดับ ความสุขที่ไดรับและความสําเร็จที่ไดบรรลุตามความตองการหรือเปาหมายที่ตั้งไว 2. ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม (Behavioral Competence) หมายถึงความสามารถ ในการทําหนาที่ของบุคคล ซึ่งรวมถึงการทําหนาที่ของรางกาย การมีสุขภาพที่ดี การรับรูที่ ถูกตองและการมีพฤติกรรมทางสังคมที่ถูกตอง 3. สิ่งแวดลอมของบุคคล (Objective Environment) หมายถึง สิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอ คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ประกอบดวย 5 สวน ไดแกสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และที่อยูอาศัยบุคคลที่มีความสําคัญตอผูสูงอายุ เชน สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคคลอื่นทั่วไปที่มีปฏิสัมพันธกับผูสูงอายุสถานภาพทางสังคม อายุ เชื้อชาติ และเศรษฐกิจ สภาพสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนที่ผูสูงอายุอาศัยอยู 4. การรับรูคุณภาพชีวิต (Perceived Quality of Life) หมายถึง การทีบ่ ุคคลมีการประเมินตนเอง เกี่ยวกับความผาสุกทางดานจิตใจ ความสามารถในการทําหนาที่ ตลอดจนสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพล ตอบุคคลดังที่ไดกลาวมา ปจจัยดานความผาสุกดานจิตใจอันเปนเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตที่สําคัญยิ่งของการดําเนิน ชีวิต มีความใกลเคียงกับความพึงพอใจในชีวติ เปนสิ่งที่พึงปรารถนาของบุคคล เพราะเปนการ สะทอนใหเห็นถึงคุณภาพชีวิตของบุคคลนั้น และในการศึกษาดานวิทยาการผูสูงอายุ (Gerontology)
มักใชความพึงพอใจในชีวิตเปนตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ โดยมีผูใหนิยามของความพึงพอใจ ในชีวิตของผูสูงอายุไว ดังนี้ Wolman (1973 อางใน สุรกุล เจนอบรม, 2541, น. 48) ไดใหความหมายของ ความพึง พอใจในชีวิตวา เปนความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อความตองการไดรับการตอบสนอง Barrow and Smith (1977 อางใน สุรกุล เจนอบรม, 2541, น. 48) กลาวถึง ความพึงพอใจ ในชีวิตวาเปนความรูสึกที่เปนสุข ประกอบดวยความสนุกสนาน ไมตองเผชิญความเครียดความไม พึงประสงค และความชอกช้ํา ซึ่งความรูสึกนี้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดเปรียบเทียบสถานการณปจจุบันที่ เปนอยูกับสถานการณที่เขาคาดหวังใหเปน ซึ่งสอดคลองกับความเห็นของ Cambell (1976) และ Powell (1983) ที่ไดใหความหมายเพิ่มเติมวา ความสุขนั้นไมจําเปนตองเกิดขึ้นจากการที่บุคคล ไดรับการตอบสนองอยางสมบูรณในทุกๆสิ่งที่ตองการ แตหมายถึง ความสุขที่เกิดจากการปรับตัว รับสภาพที่เกิดขึ้นจากสิ่งตางๆหรือจากสภาพแวดลอมไดเปนอยางดี ความสุขของผูสงู อายุนั้น มิลเลอรและคณะ (Miller, et. al., 1986) ไดจําแนกองคประกอบที่ ทําใหผูสูงอายุที่มีชีวิตอยางสมบูรณและเขมแข็งไวดังนี้ มองโลกในแงดี และมีความพึงพอใจในชีวิต มีความรักคือ พรอมที่จะใหและรับความรักจากผูอื่น มีความศรัทธาในสิ่งที่ถูกตองและแนนอน มีอารมณขัน มีความยึดมั่นในตนเองในทางที่เหมาะสม ใหอํานาจแกตนเอง มีการจัดการกับความเครียด มีความสัมพันธกับสังคม บริบูรณ พรพิบูลย (2528,น.112-113) กลาวถึงความสุขของผูสูงอายุวาควรประกอบดวย องคประกอบ 3 ประการ คือ มีสุขภาพดี มีความพอใจในการดํารงชีวิต มีความสุขตามสภาพตนเอง นอกจากนั้นยังกลาวถึงทางเลือกในการหาความสุขของผูสูงอายุ 2 ทาง คือ การหาความสุขในทาง โลก การมุงหาความสุขในทางธรรม ประสพ รัตนากร (2529 อางใน แสงเดือน มุสิกรรมณี, 2545, น. 9-10) ไดกลาวถึง คุณลักษณะ 7 ประการที่ผูสูงอายุพึงมี อันจะนําไปสูการมีความสุขทางใจ หรือการที่ผูสูงอายุจะมี ความพึงพอใจในชีวิตได คือ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
เปนผูมีสุขภาพดี เปนผูที่ไมเคยหมดหวัง เปนผูที่มีความขยันขันแข็ง เปนผูที่ทําตัวดี เปนผูที่เชื่อถือได เปนผูที่มีเกียรติในตนเอง เปนผูที่มีความสุภาพ
จิราพร เกศพิชญวัฒนา จันทรเพ็ญ แสงเทียนฉายและยุพิน อังสุโรจน (2543) สรุปแนวคิด เกี่ยวกับความผาสุกทางใจของผูสูงอายุไทย ซึ่งประกอบดวยมิติตาง ๆ 5 มิติ คือ ความสามัคคี ปรองดอง การพึ่งพาอาศัยกันและกัน ความสงบสุขและการยอมรับ การเคารพนับถือและความเบิก บาน โดยแตละมิติมีรายละเอียดดังนี้ ความสามัคคีปรองดอง (Harmony) เกิดขึ้นระหวางบุคคลในครอบครัว เชน ลูกหลาน การ เปนมิตรที่ดีตอกันระหวางเพื่อน เพื่อนบาน ตลอดจนความสําเร็จ ความกาวหนาของบุคคลใน ครอบครัว ลูกหลาน นํามาซึ่งความผาสุกทางใจของผูสูงอายุ การพึ่งพาอาศัยกันและกัน (Interdependence) ผูสูงอายุแสดงความรูสึกสบายใจมีความสุข ในการที่ตนเองไดทําตนใหเปนประโยชนหรือชวยเหลือลูกหลาน บุคคลในครอบครัวใน ขณะเดียวกันบุคคลในครอบครัวหรือลูกหลานตอบแทนโดยการเลี้ยงดู ชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ โดยเฉพาะในยามเจ็บปวย ความสบายใจเกิดจากการมีคุณคาในตนเอง ที่ผูสูงอายุรูสึกวาตนเองยัง สามารถชวยเหลือตนเองได มีประโยชนแกลูกหลาน มิใชพึ่งพาลูกหลานฝายเดียว ความสงบสุขและการยอมรับ (Acceptance and Calmness) การทําใจใหยอมรับและหา ความสงบในจิตใจ การปลอยวางความคิดที่ทําใหไมสบายใจ ปลงกับสิ่งที่ตนเองไมสามารถ ขัดขวางหรือควบคุมได ทําใจใหสงบ ไมคิดมากหรืออารมณเสีย ไมกลุมกับสิ่งที่ทําใหไมสบายใจ การเคารพนับถือ (Respect) การที่ผูสูงอายุรับรู มีความรูสึกถึงการเคารพใหเกียรติหรือ คําแนะนําใหแกผูอาวุโสนอยกวา มีผูรับฟงหรือปฏิบัติตามการเคารพนับถือที่ผูสูงอายุไดรับจาก บุคคลอื่นแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จในชีวิตของผูสูงอายุในการดําเนินชีวิตที่ดี เปนที่เคารพนับถือ ของบุคคลในชุมชนนั้น ๆ ความเบิกบาน (Enjoyment) ความรูสึกสดชื่นมีชีวิตชีวา และสนุกสนานรื่นรมยกับ สิ่ง รอบตัว ความเบิกบานอาจเกิดจากการทํากิจกรรมกับเพื่อนหรือกลุมผูสูงอายุในวัยเดียวกัน เชน รวม กิจกรรมชมรมผูสูงอายุ ไปวัด หรืออาจเปนความเบิกบานจากการทําสิ่งที่ตนเองชอบงานยามวาง หรือเก็บเกี่ยวความสุขเล็กๆนอยๆที่อยูรอบตัว รวมทั้งการมีอารมณขันคุณภาพชีวิตและความพึง พอใจในชีวิตของผูสูงอายุจะเปนตัวแปรหนึ่งที่กําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยอันเปนปจจัยที่
สงผลตอความตองการสวัสดิการสังคมของผูสูงอายุในการวิจัยครั้งนี้ ซึ่งมารศรี นุชแสงพลี (2532, น. 26-36) ไดศึกษาปจจัย 3 ดานที่คาดวาจะมีผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ คือ 1. ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย ระดับการศึกษา การมีงานอดิเรก และสุขภาพ 1.1 ระดับการศึกษา เปนปจจัยที่มีความสัมพันธกับความพึงพอใจในชีวิตเพราะระดับ การศึกษามีอิทธิพลตอชนิดของอาชีพ รวมไปถึงระดับรายได สุขภาพ คานิยม รสนิยม ความคิด เกี่ยวกับตนเองและทัศนคติตอการศึกษาในอนาคต จากผลการศึกษาเกี่ยวกับการใชเวลาวางของ ผูสูงอายุไดผลที่ใกลเคียงกันวา มีความแตกตางระหวางกลุมที่ไดรับการศึกษาสูงสุดกับกลุมที่ไดรับ การศึกษาต่ําสุด ในเรื่องการใชเวลาวาง กลาวคือ กลุมผูสูงอายุที่มีการศึกษาสูงใชเวลาวางในการทํา กิจกรรมดานนันทนาการ ทํางานอดิเรก เลนกีฬา เปนสมาชิกชมรม ทํากิจกรรมทางการเมือง งาน อาสาสมัคร หรืออานหนังสือ และกลุมที่มีระดับการศึกษาสูงสวนใหญมักจะเคยมีอาชีพที่ตองใช วิชาชีพและการจัดการ สวนผูสูงอายุที่มีระดับการศึกษาต่ําจะมีอาชีพทางดาน การเกษตร บริการ และอาชีพที่ตองใชแรงงาน ซึ่งใหคาตอบแทนในระดับที่ต่ํากวา นอกจากนี้ภาวะสุขภาพของผูสูงอายุยังขึ้นอยูกับความสามารถในการดูแล ตนเอง จากผลการวิจัยพบวา ผูสูงอายุที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีความสามารถในการดูแลตนเอง และมีโอกาสเลือกทํากิจกรรมไดดีและมากกวากลุมทีม่ ีการศึกษาต่ํา ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ระดับการศึกษาสงผลตอรายได ภาวะสุขภาพ และโอกาสในการเลือกปฏิบัติกิจกรรมตางๆ อันจะ สงผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุได 1.2 งานอดิเรก หมายถึง วิถีทางในการใชเวลาทํากิจกรรมดานตาง ๆ นอกเหนือไปจาก หนาที่การงานประจํา หรือเปนกิจกรรมที่ทําในเวลาวางดวยความสมัครใจเพื่อกอใหเกิดความ เพลิดเพลินแกผูกระทําโดยตรง นักทฤษฎีกิจกรรมเชื่อวาผูสูงอายุทั่วไปพยายามรักษากิจกรรมและ ทัศนะของคนวัยกลางคนไวใหนานที่สุด บทบาทและกิจกรรมใดที่บุคคลผลักดันใหเลิกกระทํา จะตองมีกิจกรรมใหมขึ้นมาทดแทน และกิจกรรมที่ถูกเลือกเขามาคืองานอดิเรก ดังนั้นงานอดิเรกจึง มีความสัมพันธทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ 1.3 สุขภาพ ผูสูงอายุมักประสบปญหาเกี่ยวกับสุขภาพที่ทรุดโทรมลงเนื่องจากความมีอายุ ซึ่งทําใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการเสื่อมถอย เปนผลใหความสามารถ ทางดานรางกายของผูสูงอายุลดนอยลง และมักประสบปญหาสุขภาพ ซึ่งเปนอุปสรรตอการปฏิบัติ กิจวัตรประจําวัน จําเปนตองพึ่งพิงผูอื่นและการที่ตองพึ่งพิงผูอื่นนี้เองที่ทําใหผูสูงอายุมีความรูสึก ดอยในสายตาของบุคคลทั่วไปและจะสงผลตอความพึงพอใจของผูสูงอายุดวย 2. ปจจัยทางเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจนับวามีบทบาทสําคัญตอการดํารงชีวิตของบุคคลที่ จะสนองความตองการในดานตาง ๆ ทั้งดานที่อยูอาศัยในสภาพที่ดี อาหารที่มีคุณคา การ รักษาพยาบาลอยางถูกตอง อุปกรณอํานวยความสะดวกแกตนเอง ตลอดจนสงผลไปถึงการเลือกทํา กิจกรรม เนื่องจากการมีสวนรวมในกิจกรรมบางอยางตองอาศัยเงินเปนปจจัยสําคัญ ปญหา
เศรษฐกิจมักเปนปญหาหลักของผูสูงอายุ เนื่องจากขอจํากัดของการประกอบอาชีพเนื่องมาจาก ความมีอายุทําใหรายไดลดลง สงผลทําใหเกิดความยากลําบากในการดูแลตนเองทางดานสุขภาพ และสงผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ ดังนั้นรายไดจะเปนตัวลดปญหาสุขภาพและ ยกระดับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ 3. ปจจัยดานความสัมพันธทางสังคม เมื่อเขาสูวัยชรา จากสภาพรางกายที่ไมเอื้ออํานวยตอ การประกอบอาชีพเหมือนเชนในชวงวัยที่ผานมา หรือจากขอกําหนดของสังคมใหตองเกษียณอายุ งาน ทําใหผูสูงอายุตองเสียบทบาทในการทํางาน ดังนั้นผูสูงอายุจึงเปลี่ยนจุดสนใจไปยังครอบครัว หาบทบาทใหมใหกับตนเองดวยการเปนผูใหคําปรึกษาแนะนํา ชวยเหลือดูแลลูกหลานภายในบาน และในทางกลับกัน ลูกหลานในครอบครัวสามารถเปนที่พึ่งพาทางดานเศรษฐกิจและกําลังใจใหแก ผูสูงอายุดวย ผูสูงอายุเปนผูที่ตองการความรัก ความเอาใจใสจากครอบครัวโดยเฉพาะผูที่ชวยเหลือ ตนเองไดนอยลงจากปญหาสุขภาพ ดังนั้น การที่ผูสูงอายุ มีคูสมรสหรือบุตรหลานเปนผูคอยดูแล ทุกขสุขคอยชวยเหลือหรือใหความเคารพนับถือ ยกยองใหความสําคัญ ทําใหผูสูงอายุรูสึกวาตนเอง เปนบุคคลที่มีความหมายตอครอบครัว ดวยเหตุนี้ความสัมพันธที่ดีในครอบครัวจึงมีอิทธิพลตอ ความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุนอกจากความสัมพันธภายในครอบครัวแลว ความสัมพันธของ ผูสูงอายุกับบุคคลภายนอกก็มผี ลตอความพึงพอใจในชีวิตเชนกัน ญาติหรือเพื่อนที่มีความรูสึกที่ดี ตอกัน มีความหวังดี คอยใหความชวยเหลือ เห็นอกเห็นใจและสามารถปรับทุกขกันไดทําให ผูสูงอายุสามารถยอมรับสภาพกับความรูสึกที่ตองสูญเสียสถานภาพทางสังคมเดิมหรือสูญเสียบุคคล อันเปนที่รัก ซึ่งรูปแบบความสัมพันธดังกลาวนี้จะนําไปสูความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุอยาง มากโดยเฉพาะผูสูงอายุที่ไมมีบุตรหลาน ซึ่งมักแยกตัวเองออกจากสังคมอันจะทําใหรูสึกโดดเดี่ยว วาเหว หรือรูสึกวาตนเองไมมีความหมายซึ่งสงผลใหความพึงพอใจในชีวิตลดต่ําลง ดังนั้นจึง จําเปนอยางยิ่งที่ผูสูงอายุควรไดรับความชวยเหลือ ความอบอุน ความรักและความสนใจจากทั้ง บุคคลในครอบครัวและบุคคลในสังคม ซึ่งบุคคลเหลานี้เปรียบเสมือนเครือขายการสนับสนุนทาง สังคมในอันที่จะชวยประดับประคองสภาพจิตใจของผูสูงอายุ ซึ่งจะเปนการชวยยกระดับคุณคา ใน ชีวติ ตลอดจนความเชื่อมั่นในตนเองและยังเปนการชวยรักษาความสมดุลยระหวางจิตใจและ อารมณของผูสูงอายุ ซึ่งจะนําไปสูความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ วรรณี ชัชวาลทิพากร; มาลินี ชลานันท; อรพิณ ฐานกุลศักดิ;์ และดารุณี ภูษณสุวรรณศรี (2543) ศึกษาพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุ 8 ดาน ไดแก การรับประทานอาหาร การ ออกกําลังกาย การรับผิดชอบตอสุขภาพและการจัดการกับความเครียดพบวา ผูสูงอายุมีการออก กําลังกายในระดับต่ํา การรับผิดชอบตอสุขภาพของเพศหญิงอยูในระดับต่ํา เพศชายอยูในระดับปาน กลาง การรับประทานอาหารอยูในระดับปานกลางและการจัดการกับความเครียดอยูในระดับสูง และพบปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมสุขภาพดังนี้ - เพศหญิงดูแลสุขภาพดีกวาเพศชาย
- ผูสูงอายุที่อายุนอยดูแลสุขภาพดีกวาผูสูงอายุที่อายุมาก - ผูสูงอายุที่ระดับการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองสูง ดูแลสุขภาพดีกวาผูทมีี่ ระดับการรับรู ระดับภาวะสุขภาพต่ํา - ผูสูงอายุที่มีอาชีพหลังอายุ 60 ป ในกลุมอาชีพเกษตรกรรม ทําสวนทําไร ทํานาและรับจาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่เคยเปนขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และไมไดทํางาน - ผูสูงอายุที่ไมมีโรคประจําตัวมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมผูมีโรคประจําตัว - ผูสูงอายุที่มีสถานบริการและสถานที่ในการสงเสริมสุขภาพในชุมชนที่ผูสูงอายุสามารถ เขาถึงและใชบริการไดสูง มีพฤติกรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่ไมมีสถานบริการและเขาถึง บริการไดต่ํา - ผูสูงอายุที่มีสวนรวมในกิจกรรมการสงเสริมสุขภาพในชุมชนมีพฤติกรรมการดูแล สุขภาพดีกวากลุมที่ไมไดเขารวมกิจกรรม - ผูสูงอายุที่ไดรับการสนับสนุนดานการสงเสริมสุขภาพจากเจาหนาที่สูงมีพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่ไมไดรับการสนับสนุนดานการสงเสริมสุขภาพจากเจาหนาที่ - ผูสูงอายุที่ไดรับขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวา กลุมที่ไมไดรับขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ เมื่อผูวิจัยทําการวิเคราะหถดถอยพหุคุณระหวางตัวแปรตางๆ ตอพฤติกรรมการดูแล สุขภาพของผูสูงอายุ พบวา ตัวแปรดานการมีสถานบริการและสถานทีใ่ นการสงเสริมสุขภาพ และ ตัวแปรดานการไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพจากสื่อตาง ๆ มีอิทธิพลตอการที่ ผูสูงอายุจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพสูง ประนอม โอทกานนท; ชวนพิศ สินธุวรการ และ ผองใส เจนศุภการ (2543) ศึกษาความ พึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ โดยศึกษาปจจัยดานสวนบุคคลและปจจัยดานการปฏิบัติตน จากการ วิเคราะหพบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจของผูสูงอายุเรียงตามลําดับไดแก การปฏิบัติตน ดานสังคม (การมีกิจกรรมทั้งตอครอบครัว เมืองและชุมชน) การปฏิบัติตนดานรางกาย (การดูแล รางกาย) การปฏิบัติดานเศรษฐกิจ (การทํางานและมีรายได) การมีรายไดพอดีใช การมีรายไดเหลือ เก็บ และการมีอายุยังนอย (เปนผูสูงอายุวัยตน) นอกจากนั้นยังพบวาตัวแปรอื่นๆที่มีความสัมพันธกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ ไดแก การมีสมาชิกอื่นอยูในครอบครัว การมีคูสมรส การมีอาชีพเกษตรกรรมและการมีการศึกษา สูง ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรในการศึกษา ผูสูงอายุทั้ง 11 หมูบาน ในตําบลเหลาโพนคอ
กลุมประชากรวัยสูงอายุ (อายุตั้งแต 60 ขึ้นไป) ที่ไดรับการดูแล 15 คน ครอบครัวผูดูแลผูสูงอายุ 10 คน ผูดูแลผูสูงอายุ 5 คน วิธีการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยที่ผูศึกษาจะใชชีวิตอยูใน ชุมชนเพื่อสังเกตการณแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เครื่องมือที่ใชในการเก็บ รวบรวมขอมูลมีดังนี้ 1. สมุดจดบันทึก 2. กลองถายรูป 3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 6. แผนที่เดินดิน
การทบทวนวรรณกรรมและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย เอกสารที่เกี่ยวของ ความหมายของผูสูงอายุ ผูใหความหมายของคําวา “ผูสูงอายุ” มีดังตอไปนี้องคการสหประชาชาติ ไดใหความหมาย ของคําวา “ผูสูงอายุ” หมายถึง ผูที่มี 60 ปขึ้นไปโดยเอาอายุเปนหลักในการเรียก สวนคําวา “คนชรา” หมายถึง การใชลักษณะทางการภาพเปนหลักในการเรียก สวนคําวา “อาวุธโส” หมายถึง การเอาสถานภาพทางชราที่แกกวาเปนหลักในการเรียกนอกจากนี้คําภาษาอังกฤษที่เรียกผูสูงอายุ Aging, Elderly, Older Person, Senior Citizen แตองคการสหประชาชาติใชคําวา Older Persons เรียกผูสูงอายุ (บรรลุ ศิริพานิช, 2551 : 107) นภาพร ชโยวรรณ (2542 : 2-3) ใหความหมายของผูสูงอายุไววา เปนประชากรที่มีอายุ 60ป ขึ้นไป เนื่องจากเปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกายที่ชัดเจนและใชเปนอายุที่เกษียณสําหรับ ราชการไทย โดยพิจารณาวาวัยนี้เปนวัยที่มีความเสื่อมของรางกายซึ่งเปนไปโดยธรรมชาติ มีกําลัง ลดนอยถอยลง เชื่องชา จึงเปนบุคคลที่ตองการการดูแลเปนพิเศษ
นาถ พันธุมนาวิน และคณะ(2549: 32) ผูสูงอายุหมายถึง บุคคลอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ซึ่ง เปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปสูความเสื่อมถอยของรางกายและจิตใจ การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย และจิตใจของผูสูงอายุจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับพันธุกรรมสิ่งแวดลอมของชีวิตที่ผานมา พระราชบัญญัติผูสูงอายุแหงชาติ พ.ศ. 2546 ไดให ความของคําวา “ผูสูงอายุ” หมายความวา บุคคล ที่มีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป และสัญชาติไทย (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย, 2548 : 2) สุรกุล เจนอบรม (2541 : 6-7) ไดกําหนดเกณฑการพิจารณาผูสูงอายุไว 4 ลักษณะ คือ 1) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากอายุจริงที่ปรากฏ (Chronological Aging) เปนการดูที่ จํานวนป หรืออายุที่ปรากฏจริงตามปฏิทินโดยไมนําเอาปจจัยอื่นมาพิจารณา 2) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากหลักการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย(Physiological Aging หรือ Biological Aging) โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางรางกายที่เกิดขึ้น ซึ่งกระบวนการ ทางการเปลี่ยนแปลงทางรางกายที่เกิดขึ้น ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้จะเพิ่มขึ้นตามอายุขัยในแต ละป 3) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ(Psychological Aging) เปนการพิจารณาจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ สติปญญา การรับรูและเรียนรู ที่ถดถอยลง 4) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากบทบาททางสังคม( Sociological Aging) เปนการดูจาก บทบาทหนาที่ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การมีปฏิสัมพันธกับกลุมบุคคลอื่นๆ ตลอดจนความ รับผิดชอบในการทํางานดวยจากความหมายดังกลาวสรุปไดวา ผูสูงอายุหมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ขึ้นไป ซึ่งมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ หรือความเจ็บปวยจะขึ้นอยูกับพฤติกรรม สิ่งแวดลอมภาวะโภชนาการ และเปนวัยที่สมควรมีผูดูแลหรือใหความชวยเหลือ สถานการณผูสูงอายุในระดับสากลประชากรสูงอายุ หมายถึงผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ใน ป ค.ศ. 1950 มีประชากรทั่วโลกที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป จํานวน 205 ลานคน ในตอนนั้น มีเพียง 3 ประเทศเทานั้นที่มีประชากรอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปจํานวนมากกวา 10 ลานคน คือ จีน (42 ลานคน) อินเดีย (20 ลานคน) และสหรัฐอเมริกา (20 ลานคน) แตในป ค.ศ. 2007 จํานวนประชากรโลกที่มี อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปไดเพิ่มจํานวนขึ้น 3.5 เทาตัว เปน 705 ลานคน โดยมี 11 ประเทศที่มีจํานวน ประชากรที่มีอายุ รายงานขององคการสหประชาชาติ ไดระบุวา ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Aging) ไดกลายเปนแนวโนมหลัก และเปนลักษณะเดนของศตวรรษที่ 21 และกระบวนการที่เปนพื้นฐาน ของภาวะประชากรสูงอายุ คือ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร (Demographic Transition) (United Nations, 2008 : 1 )
1) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรในระดับสากลกระบวนการที่เปนพื้นฐานของ ภาวะประชากรสูงอายุคือ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร (Demographic Transition) อัตรา การตายที่ลดลง และอัตราการเกิดใหมที่ลดลงในขณะที่ชวงอายุของคน มีความยืนยาวมากขึ้น เปน ผลใหโครงสรางประชากรในภูมิภาคตางๆ ของโลกไดมีการลดสัดสวนประชากรที่มีอายุนอย แลว เพิ่มขึ้นในสัดสวนของประชากรผูสูงอายุ (United Nations, 2008 : 5) อัตราการเกิดใหมที่ลดลงอยางสม่ําเสมอเปนสาเหตุหลักของภาวะประชากรสูงอายุ ประชากรในวัยเจริญพันธุมีลูกนอยลงทําใหสัดสวนของประชากรวัยเด็กและหนุมสาวมีนอยลงเมื่อ เปรียบเทียบกับสัดสวนของประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้น ในระดับโลกนั้น อัตราการเกิดที่ลดลง เปน สิ่งที่เห็นไดตั้งแตทศวรรษที่ 1950 โดยลดลงจากจํานวนเด็ก 5 คนตอผูหญิง 1 คนในชวงป ค.ศ. 1950-1955 เปน 2.7 ตอ 1 ในชวงป ค.ศ. 2005-2010 และไดมีการคาดการณกันวาในชวงป ค.ศ. 2045-2050 จะลดลงเหลือ 2.1 ตอ 1 อัตราการเกิดใหมที่ลดลงนี้เริ่มปรากฏในกลุมประเทศที่พัฒนา แลวในศตวรรษที่ 20 สวนในกลุมประเทศที่พัฒนานอยอัตราการเกิดใหมที่ลดลงเริ่มขึ้นชากวาแตมี อัตราที่เร็วกวา (United Nations, 2008 : 5-6)ในขณะที่อัตราการเกิดใหมลดลง อัตราการตายก็ลดลง ดวยเชนกันโดยเฉพาะในกลุมผูสูงอายุ และเปนสาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งของภาวะประชากร สูงอายุ ในประเทศที่พัฒนาแลว ที่อัตราการเกิดใหมไดลดลงสูระดับต่ํามาเปนเวลานานกวา 2 ทศวรรษ การเพิ่มสัดสวนของประชากรผูสูงอายุเปนผลมาจากการเพิ่มความยืนยาวของอายุใหแก คนวัยชราตั้งแตทศวรรษที่ 1950 ชวงอายุขัยเมื่อแรกเกิดของคนไดเพิ่มขึ้นประมาณ 20 ป กลาวคือ เพิ่มขึ้นจาก 2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรและ ภาวะประชากรสูงอายุไดสงผลกระทบอยางลึกซึ้งและกวางขวางในทางเศรษฐกิจ การเมือง และ สังคม ตัวอยางเชน ความกังวลที่เพิ่มขึ้น เกี่ยวกับความสามารถในการเจริญเติบโตระยะยาวของ ระบบการสนับสนุนทางสังคมระหวางคนรุนตาง ๆ ซึ่งเปนสิ่งที่มีความสําคัญตอทั้งประชากรที่ สูงอายุและประชากรที่มีอายุนอยกวา ความกังวลเชนนี้มีความเขมขนมากขึ้นภายในสังคมที่การดูแล ระหวางบุคคลในครอบครัวไดมีความยุงยากมากขึ้น เนื่องจากผูหญิง(ซึ่งตามประเพณีมีบทบาทเปน ตัวหลักในการดูแลคนในครอบครัว)ไดออกไปทํางานหารายไดนอกบาน และในขณะที่ผูคนมีอายุ ยืนยาวมากขึ้นคาใชจายดานบํานาญ เบี้ยผูสูงอายุ บริการสาธารณสุข และการดูแลผูสูงอายุ ก็มี ชวงเวลาที่ตองแจกจายยาวนานเพิ่มขึ้นตามไปดวย ผลที่ตามมาก็คือ ระบบประกันสังคมตองมีการ ปรับปรุง ชวงอายุที่ยืนยาวมากขึ้นนี้ทําใหตนทุนดานการแพทย และอุปสงคตอบริการสาธารณสุข เพิ่มขึ้น 2.1สถานการณผูสูงอายุในประเทศไทย ประเทศไทยมีแนวโนมของประชากรที่ลดลงอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการลดลงอยางรวดเร็วของ อัตราการเกิดในระยะเวลาอันสั้น สงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของอายุประชากร ในป
พ.ศ. 2503 มีจํานวนประชากรสูงอายุ 1.5 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 54 ของประชากรทั้งหมด จํานวนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเปน 6.7 ลานคนในป พ.ศ. 2548หรือคิดเปนรอยละ 10.3 ของประชากรทั้งหมด และจะเพิ่มเปน 2 เทาตัวในป พ.ศ. 2568 คือ 14.0 ลานคน หรือรอยละ 20 ของประชากรทั้งหมด สถานการณนี้ทําใหสังคมไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ(บรรลุ ศิริพานิช และคณะ, 2551: 2-3) 1) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรในประเทศไทยสืบเนื่องจากการนโยบายประชากร และการวางแผนครอบครัวที่ประสบความสําเร็จ ทําใหโครงสรางประชากรในปจจุบันได เปลี่ยนแปลงไปอยางมาก เห็นไดจากป พ.ศ.2513 ซึ่งมีสัดสวนประชากร วัยเด็ก: วัยแรงงาน: วัน สูงอายุ เทากับ 45.1: 49.99: 4.89 เปลี่ยนแปลงไปเปน 21.51: 67.37: 11.12 ในปจจุบันซึ่งเห็นไดวา ประชากรในวัยเด็กมีแนวโนมลดลง วัยแรงงานมีสัดสวนคงที่และมีแนวโนมที่ลดลง สวนประชากร ผูสูงอายุจะมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจะมีสัดสวนมากวากลุมเด็กตั้งแตป พ.ศ. 2563 ซึ่งสงผล ใหประชากรในวัยแรงงานตองรับภาระเพิ่มขึ้นในการดูแลประชากรวัยเด็กและสูงอายุ(สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2551:16) สํานักงานสถิติแหงชาติ (2551: คํานํา) ไดกลาวถึง อัตราภาวะวัยผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นจะสงผล กระทบโดยตรงตอผูสูงอายุในอนาคตอันใกล หมายถึง ผูทอี่ ยูในวัยแรงงานจะตองรับภาระในการ เลี้ยงดูผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น และในที่สุดผูที่อยูในวัยแรงงานและผูสูงอายุจะอยูในสภาพที่ออนแอ ทั้งสองฝาย ซึ่งจะสงผลกระทบใหผูสูงอายุถูกละเลยและถูกทอดทิ้งในที่สุด 2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรสูงอายุผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางประชากรตอสัดสวนการพึ่งพา การเปลี่ยนแปลงทางประชากรใน ประเทศไทยที่มีอัตราการเกิดนอยลงทําใหโครงสรางประชากรที่ประกอบดวยประชากรในวันเด็กมี แนวโนมลดลงและอัตราสวนการพึ่งพาก็นอยลงดวยในขณะที่สัดสวนในวัยแรงงานและวัยสูงอายุ อาจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางทางอายุของประชากร มีผลสืบเนื่องทางเศรษฐกิจ ในแงอุปทานแรงงาน ในอีก 20 ป ขางหนา (นภาพร ชโยวรรณ, 2545: 17-23) ซึ่งคนกลุมนี้เปนแกน สําคัญที่จะชวยเพิ่มผลผลิตของประเทศ สงผลใหผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) ลดลงและ สงผลกระทบตอการลงทุนของประเทศ(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ, 2551: 21) บรรลุ ศิริพานิช (2542 : 30-31) กลาววา เมื่อโครงสรางประชากรสังคมเปลี่ยนแปลงไป โดยมีสัดสวนผูสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ยอมกอใหเกิดผลกระทบในดานตาง ๆ ตามมาดังนี้ 1) ดานเศรษฐกิจ ผูสูงอายุมีความสามารถในการผลิตลดลงตามสมรรถภาพของรางกายที่ คอยๆ เสื่อมถอย ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งตองการความชวยเหลือ แทนที่เคยเปนผูผลิต สังคมโดยรวมจึง จําเปนตองชวยเหลือ
2) ดานสุขภาพอนามัย รางกายของผูสูงอายุจะออนแอเพิ่มขึ้นโอกาสโรคภัยไขเจ็บมากขึ้น ถึงแมไมมีโรคภัยรางกายก็เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพธรรมชาติและเกิดความพิการในที่สุด ซึ่งสังคม โดยรวมตองชวยเหลือ 3) ดานสังคมและครอบครัว ยอมเปนภาระที่จะใหความคุมครองดูแลชวยเหลือผูสูงอายุใน ดานตาง ๆ 4) ดานการศึกษา แบงได 2 ดาน คือ นอกจากตองใหการศึกษาใหผูสูงอายุไดรูเทาทันโรค แลว ยังตองศึกษาวิจัยในวิทยาการเกี่ยวกับผูสูงอายุ เพื่อดําเนินการใหผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ผูสูงอายุและสังคมเปนไปในทางที่ดี
สวัสดิการผูสูงอายุ ศศิพัฒน ยอดเพชร (2534: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “แนวทางการจัดบริการ สวัสดิการสําหรับผูสูงอายุ” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ และสถานภาพของ ผูสูงอายุในสังคมไทย แนวความคิดและหลักการจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับผูสูงอายุ งาน สังคมสงเคราะหกับการบริการสังคมสําหรับผูสูงอายุ วิธีการศึกษาในเรื่องนี้เนนการศึกษาจาก เอกสารและการศึกษาเฉพาะกรณี ผลการศึกษาปรากฎวา ในวัยสูงอายุจะเนนการพัฒนาการขั้นหนึ่ง ของชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ กอใหเกิดปญหาตอผูสูงอายุก็คือปญหาทางดานรางกายอันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพทางรางกาย การทํางานของอวัยวะตาง ๆ ดําเนินไปไมปกติ ทําใหเกิดภาวะการเจ็บปวยหรือมีโรคแทรกซอนและ กอใหเกิดปญหาทางดานจิตตามมา ที่สําคัญ ปญหาทางดานเศรษฐกิจสังคมเปนอีกปญหาหนึ่งที่ ผูสูงอายุตองเผชิญในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงจากหนาที่การงานอาชีพ และสถานการณทางสังคม กอใหเกิดปญหาการขาดรายไดและการถูกทอดทิ้ง และการไมยอมรับในความสามารถและปญหา อื่น ๆ ตามมาอีกหลายประการ ดังนั้นผูสูงอายุจึงเปนกลุมบุคคลที่ไดรับการชวยเหลือดูแลและมี บริการสวัสดิการสังคมที่เพียงพอตอบสนองตอความตองการ ผูวิจัยใหความเห็นเกี่ยวกับความ ตองการของผูสูงอายุควรจะครอบคลุมเรื่องชีวิตการทํางาน (Professional Life) ความรูสึกทาง อารมณ(Sentimental Life) ชีวิตครอบครัว(Family Life) ชีวิตสังคม(Social Life) การใชเวลาวาง (Leisure Activities) ความตองการเหลานี้ชี้ใหเห็นวาเปนความตองการของบุคคลที่มีความเจริญใน วุฒิภาวะแลว เพราะครอบคลุมทั้งการมีความสําเร็จ และโอกาสกาวหนาในหนาที่การงาน ความ ตองการมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ในสังคม รวมทั้งการดําเนินชีวิตเพื่อใหเกิดประโยชนทั้งแก ตนเองและสังคมอีกดวย บรรพต ศรีจันทรนิตย และคณะ (2546 : บทคัดยอ) วิจัยเรื่องการพัฒนาระบบสวัสดิการ สําหรับผูสูงอายุในชุมชนแออัด เทศบาลเมืองสุรินทร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพชีวิตของ
ผูสูงอายุที่อยูอาศัยในชุมชนแออัดในเขตเทศบาลเมือง และปจจัยที่เปนสาเหตุของปญหาการดํารง ชีพแนวทางและรูปแบบการแกไขปญหาดวยการชวยเหลือกันเองในกลุมสูงอายุชุมชน หนวยงาน ภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ ในทองถิ่น และการเขาถึงระบบบริการของรัฐโอกาสและรูปแบบ ในการใหความชวยเหลือแกผูสูงอายุเปนการศึกษาเชิงคุณภาพโดยคัดเลือกพื้นที่ศึกษาแบบเจาะจง คือชุมชนแออัดในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร กลุมตัวอยางคือผูสูงอายุที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ผูใหขอมูล คือผูนําและคณะกรรมการชุมชน ผลการศึกษาพบวา ผูสูงอายุที่อาศัยอยูในชุมชนแออัดมักประกอบ อาชีพเก็บของเกาในตลาดเปนสวนใหญ ผูสูงอายุในชุมชนแออัดมักถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานใหอยู ตามลําพัง และไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากบุตรหลาน และมีโรคภัยไขเจ็บเปนอุปสรรคตอการ ดํารงชีพ การแกไขปญหา โดยนําแนวคิดพุทธศาสนา บุญกรรมมาอธิบายปรากฏการณของตน และ ความชวยเหลือจากเพื่อนบานในชุมชน หนวยงานดานสาธารณสุขใหความชวยเหลือจัดทําบัตร สงเคราะหการรักษาพยาบาลและการตรวจรักษาโรคในชุมชน สําหรับบทบาทขององคกรชุมชนใน การจัดทําโครงการสวัสดิการชุมชนคือ จัดเบี้ยยังชีพสงเคราะหแกผูสูงอายุและคนพิการในชุมชน (โดยชุมชนจัดเอง) แตเปนโครงการไมตอเนื่อง และแนวทางในการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมแก มรกต สิงหคะเชนทร (2545,น. 4-5) ไดกลาวถึงบริการสําคัญสวนใหญจะเปนภารกิจหลัก ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย หนวยงานที่ดูแล คือ กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ บริการและสวัสดิการผูสูงอายุที่ดําเนินการโดยหนวยงานของรัฐที่เปนรูปธรรม ไดแก - บริการสถานสงเคราะห เปนบริการดานที่อยูอาศัยที่จัดใหกับผูสูงอายุที่ประสบปญหา ความทุกขยากเดือดรอน เชน ถูกทอดทิ้ง ไมมีที่อยูอาศัย ไมมีผูอุปการะดูแล บริการที่จัดใหไดแก บริการดานปจจัยสี่ บริการตรวจสุขภาพทั่วไป การรักษาพยาบาล บริการดานกายภาพบําบัด บริการ ใหคําปรึกษา แนะนํา และการปรับตัวฯลฯ ปจจุบันสถานสงเคราะหของรัฐจํานวน 20 แหงกระจาย อยูทั่วทุกภาคของประเทศ สามารถรับผูสูงอายุไดประมาณ 3,000 คน ในปงบประมาณ 2546 สถาน สงเคราะหจะถูกโอนภาระกิจไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดูแลดําเนินการจํานวน 13 แหง - ศูนยบริการสังคมผูสูงอายุ (Day Center) เปนบริการใหแกผูสูงอายุที่อยูกับครอบครัว ไดมาใชบริการและกิจกรรมภายในศูนยในลักษณะเชาไปเย็นกลับ บริการที่จัดใหภายในศูนยไดแก บริการตรวจรักษาโรค บริการดานกายภาพบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพ บริการใหคําปรึกษาแนะนํา บริการนันทนาการ กิจกรรมเสริมรายได บริการหนวยเคลื่อนที่และบริการบานพักฉุกเฉิน ฯลฯ ปจจุบันประเทศไทยมีศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุจํานวน 18 แหงทั่วประเทศและหนวยบริการ 1 แหง สามารถใหบริการแกผูสูงอายุไดประมาณ 330,000 คนในปงบประมาณ 2546 จะโอน ภาระกิจ ไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดูแลดําเนินการจํานวน 9 แหง - ศูนยบริการผูสูงอายุในวัดโดยชุมชน เปนการสนับสนุนใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแล ผูสงู อายุในชุมชนของตนเอง โดยวัดหรือสถาบันทางศาสนา เชน โบสถ มัสยิด ฯลฯ เปนศูนยกลาง ในการจัดกิจกรรมตามความตองการของชุมชน ปจจุบันมีการตั้งศูนยฯประมาณ 200 แหงทั่วประเทศ
นอกจากบริการหลักดังกลาวแลวยังมีการใหบริการสงเคราะหเครื่องอุปโภคบริโภค เครื่องชวยความพิการอื่นๆ บริการหนวยเคลื่อนที่และการจัดอบรมดูแลผูสูงอายุ เปนตน การดูแลผูสูงอายุโดยลดการพึ่งพาสถาบัน (Deinstitutionalization) บริการดูแลผูสูงอายุโดย ลดการพึ่งพาสถาบันที่สําคัญ คือ บริการการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เปนการสนับสนุนให ผูสูงอายุอยูในครอบครัว ในชุมชนโดยโดยไมตองเขามาอยูใน สถานสงเคราะห บริการนี้ไดกําหนด คุณสมบัติของผูสูงอายุยากจน ไมมีรายได ไมมีผูดูแลเริ่มดําเนินการในป พ.ศ. 2536 โดยรัฐจัดสรร ใหเปนเงินชวยเหลือรายเดือนๆละ 200 บาท/คน แบบตลอดชีพ ระยะแรกจัดสรรให 20,00 คนใช งบประมาณจํานวน 12 ลานบาท (3 เดือน) และขยายเพิ่มขึ้นเรื่อยและในป พ.ศ. 2542 เมื่อประเทศ ไทยประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ รัฐไดเพิ่มเงินเบี้ยยังชีพเปนเดือนละ300 บาท/คน มีจํานวน ผูสูงอายุที่ไดรับเบี้ยยังชีพ 400,000 คนใชงบประมาณทั้งสิ้น 1,101.6 ลานบาท เมื่อรัฐมีการปฏิรูป ระบบราชการสงผลใหในปงบประมาณ 2545 ไดมีการโอนภารกิจของบริการเบี้ยยังชีพจากกรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะหเดิม) ไปใหกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น เปนผูดําเนินการเบิกจายใหกับผูสูงอายุแทน บริการประกันสังคมสําหรับผูสูงอายุเนื่องจากสภาพปญหาดานรายไดถือเปนปญหาหลัก ของผูสูงอายุไทย และบริการที่รัฐจัดใหผูสูงอายุมักเปนบริการที่มุงชวยเหลือผูสูงอายุที่ยากจน ขาด การอุปการะและ ชวยเหลือตนเองไมได ในรูปของการใหสิ่งของและบริการ และในระยะหลัง เปลี่ยนมาในรูปของเงินในโครงการเบี้ยยังชีพ เมื่อคิดคํานวณออกมาเปนตัวเงินแลวจะมีจํานวนนอย มากและไมสามารถกระจายไปยังผูสูงอายุไดอยางทั่วถึงและเหมาะสมกับความตองการของผูสูงอายุ ในแตละ สถานภาพได รัฐบาลจึงไดนําความคิดการสรางหลักประกันโดยสรางระบบใหผูที่กําลังอยูใน ตลาดแรงงานชวยกันออมเพื่อสรางหลักประกันชราภาพสําหรับตนเองและบุคคลภายในกลุมเพื่อให สามารถดํารงชีวิตอยูไดในระดับมาตรฐานที่ไมแตกตางจากเดิมกอนที่จะกลายเปนผูไมไดทํางาน เนื่องจากความสูงอายุ ดังนั้นพระราชบัญญัติประกันสังคมซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2533 ระบุใหมี การขยายขอบเขตของการประกันชราภาพ หลังจากที่กฎหมายใชครบแลว 6 ป ดังนั้นในป 2539 จึง มีการเก็บเงินสมทบเพิ่มขึ้นทั้งจากฝายลูกจาง นายจางและรัฐบาล ในอัตรารอยละ 2 โดย ผูประกันตนกรณีชราภาพจะไดรับประโยชนภายใตเงื่อนไข คือ จายเงินสมทบไมนอยกวา180 เดือน ไมวาระยะเวลา 180 เดือนจะติดตอกันหรือไมก็ตาม และมีอายุครบ55 ปบริบูรณและความ เปนผูประกันตนสิ้นสุดลงโดยจะไดรับประโยชนทดแทนในสองกรณีคือเงินบํานาญชราภาพ ผูประกันตนจะไดรับเงินบํานาญชราภาพในอัตรารอยละ 15 ของคาจางเฉลี่ย 60 เดือนสุดทายที่ใช เปนฐานในการคํานวณเงินสมทบกอนความเปนผูกันตนสิ้นสุดลง และหากจายเงินสมทบเกินกวา 180 เดือนจะไกรับเงินเพิ่มรอยละ 1 ตอระยะเวลาการจายเงินสมทบทุก 12 เดือนเงินบําเหน็จชรา
ภาพ กรณีผปู ระกันตนจายเงินสมทบต่ํากวา 12 เดือนใหจายเงินบําเหน็จชราภาพเทากับจํานวนเงิน สมทบที่ผูประกันตนจายสมทบเขากองทุนและในกรณีที่จายเงินสมทบตั้งแต 12 เดือนขึ้นไปให จายเงินบําเหน็จชราภาพเทากับจํานวนเงินสมทบที่ผูประกันตนและนายจางจายสมทบเขากองทุน พรอมผลประโยชนตอบแทนที่สํานักงานประกันสังคมประกาศ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 สงเสริมให นายจางและลูกจางจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเพื่อเปนสวัสดิการแกลูกจางออกจากงาน สงเสริม การออมและระดมเงินออมออกไปใชในการพัฒนาประเทศ โดยกองทุนดังกลาวมีฐานะเปนนิติ บุคคลและมี คณะกรรมการกองทุนเปนผูดูแลและบริหารจัดการ โดยลูกจางยินยอมใหหักเงินคาจาง รอยละ 3 –15 ของคาจางเพื่อเปนเงินสะสมเขากองทุน และนายจางตองสงเงินสมทบในอัตราไมต่ํา กวา เงินสะสมของลูกจาง แนวทางการปฏิบัติงานของผูที่เกี่ยวของกับโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน แนวทางปฏิบัติงานของ อผส. 1) อผส. ใหการดูแล ชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิ โดยใหการดูแล การเฝาระวังและ เตือนภัย และการจัดบริการและสวัสดิการใหแกผูสูงอายุในชุมชนทุกคนทั้งนีให ้ จัดแยกผูสูงอายุ ออกเปน 2 กลุม คือ ผูสูงอายุที่ประสบปญหาความทุกขยาก เดือดรอน และผูสูงอายุอื่นในชุมชนโดย อผส. ใหการดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิตามความจําเปนและความตองการของ ผูสูงอายุอยางทั่วถึง เทาเทียม เพียงพอ และสม่ําเสมอ รวมทั้งครอบคลุมสิทธิของผูสูงอายุทั้ง 4 ดาน ไดแก สิทธิการมีอายุยืน สิทธิการคุมครอง สิทธิการสงเสริม สิทธิการมีสวนรวม 2) อผส. ใหความรูในเรื่องตาง ๆ ที่เปนประโยชนแกผูสูงอายุ 3) อผส. ใหความรูแกสมาชิกครอบครัว และประชาชนในชุมชน เพื่อให การดูแลผูสูงอายุอยางถูกตองเหมาะสม 4) อผส. เฝาระวังและเตือนภัยสําหรับผูสูงอายุ 5) อผส. เปนสื่อกลางในการนํา ประสาน สงตอ บริการสวัสดิการสังคม ใหแกผูสูงอายุ 6) อผส. เปนสื่อกลางในการนํา ประสาน สงตอ บริการสวัสดิการสังคม ใหแกผูประสบความทุกขยากเดือดรอน ผูดอยโอกาสในชุมชน 7) อผส. 1 คน ใหการดูแลผูสูงอายุที่แบงตามความรับผิดชอบเปน 2 กลุม คือ ดูแลผูสูงอายุกลุมที่ 1 ไมนอยกวา 5 คน ดูแลผูสูงอายุกลุมที่ 2 ไมนอยกวา 15 คน (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ,2550: 41 - 42) แนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการ อผส.
คณะกรรมการ อผส. ประจําเขตพื้นที่ เปนบุคคลที่ไดรับการเลือกจาก อผส. ในเขตพื้นที่นั้น ๆ ใหทํา หนาที่เปนผูแทน มีขอแนะนําวากรรมการ อผส. ควรเปนผูแทนของ อผส. จากหมูบานตาง ๆ ภายในเขตพื้นที่ อยางนอยหมูบานละ 1 คนแนวปฏิบัติของคณะกรรมการ อผส. ประจําเขตพื้นที่แต ละแหง คือ 1) ประสาน สงเสริม สนับสนุนระบบการปฏิบัติงานของ อผส. ในเขตพื้นที่ ใหสามารถ ดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิผูสูงอายุทุกคนในเขตพื้นที่ใหไดรับสิทธิผูสูงอายุ ทั้ง 4 ดาน (การมีอายุยืน การคุมครอง การสงเสริม และการมีสวนรวม) 2) ประสานกับองคการปกครองสวนทองถิ่น ในฐานะศูนยสนับสนุนการปฏิบัติงานใน พื้นที่ และผูนําชุมชน รวมทั้งหนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน องคกรชุมชนและผูเกี่ยวของ ตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. และ อผส. 3) นิเทศ ใหคําปรึกษา แนะนํา ดูแล อผส. ใหปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง 4) พัฒนาการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ อผส. 5) ระดมเงินและทรัพยากรสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ อผส. 6) รักษาปริมาณและคุณภาพของ อผส. ใหเพียงพอแกการดูแลชวยเหลือคุมครอง และ พิทักษสิทธิผูสูงอายุ 7) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของ อผส. และรายงานตอฝายที่เกี่ยวของ 8) ปฏิบัติหนาที่ใหการดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิผูสูงอายุเชนเดียวกับอผส. (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550 : 42 - 43) แนวทางปฏิบัติขององคการปกครองสวนทองถิ่นและผูนําชุมชน การปฏิบัติงานของ อผส. และคณะกรรมการ อผส. จะดําเนินไปไดเปนผลดี หากไดรับการสงเสริม สนับสนุนจากภาค/สวนตาง ๆ ในพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากองคการปกครองสวนทองถิ่นและ ผูนําชุมชน 1) แนวทางปฏิบัติขององคการปกครองสวนทองถิ่น ทําหนาที่เปนศูนยสนับสนุนการปฏิบัติงานในพื้นที่ ใหการ สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. และ อผส. อยางใกลชิด สม่ําเสมอ และตอเนื่อง ประสาน สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานของ อผส.รวมกับผูนําชุมชน นิเทศงานแกฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สนับสนุนเงินและทรัพยากรตาง ๆ ในการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. อผส. และผูสูงอายุ อํานวยความสะดวกดานอาคารสถานที่ เพื่อจัดการประชุมพบปะของ อผส. และ การจัดกิจกรรมเพื่อผูสูงอายุ ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานตอฝายที่เกี่ยวของ
แตงตั้งเจาหนาที่ 1 คน เปนผูประสานงานและปฏิบัติหนาที่อยางตอเนื่อง (สํานัก สงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550: 44 - 45)
2) แนวทางปฏิบัติของผูนําชุมชน ประสาน สงเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานเริ่มตน และดําเนินงานรวมกับ องคการปกครองสวนทองถิ่น ประสานกับหนวยงานและผูเกี่ยวของตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการ อผส. และ อผส. นิเทศงานแกคณะกรรมการ อผส. และ อผส. พัฒนาการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของคณะกรรมการ อผส.และ อผส. สนับสนุนเงินและทรัพยากร และอํานวยความสะดวกเพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ คณะกรรมการ อผส. อผส. และผูสูงอายุ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ อผส.และ อผส. และรายงานตอฝายที่ เกี่ยวของ (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550: 45)
งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข รัชนีกร ภูกร (2523: 54-69) ไดศึกษาเรื่อง ทัศนคติของประชาชนตอการปฏิบัติงานของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) ในเขตอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พบวา ประชาชนเห็นดวยกับการมี อสม. เปนสวนมากเพื่อชวยเหลือยามเจ็บปวย และทําใหรูเรื่องเกี่ยวกับ สุขภาพ แตยังมีปญหาในการใหบริการเนื่องจากประชาชนเห็นวา อสม. มีความรูความสามารถใน การใหบริการแกประชาชนยังไมเพียงพอมีถึงรอยละ22.5 อสม.ขาดยาและอุปกรณในการ รักษาพยาบาล รอยละ12.0 ไปหา อสม. ไมคอยพบ เพราะ อสม. ตองไปประกอบอาชีพนอกบาน รอยละ4.0 และมีประชาชนที่ยังไมคอยรูจักหนาที่ของ อสม.รอยละ9.0 ซึ่งแสดงวา การ ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงบทบาทและหนาที่ของ อสม. ยังไมทั่วถึง สนธยา มโหทาน (2548: 86) ศึกษาเรือ่ งการรับรูบทบาทที่กําหนด บทบาทที่คาดหวัง และ บทบาทที่เปนจริงของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ในศูนยสาธารณสุขมูลฐาน ชุมชน (สสมช) พบวาระดับการรับรูบทบาทที่กําหนด บทบาทที่คาดหวัง และบทบาทที่เปนจริงใน ภาพรวม อยูในระดับปานกลางทุกบทบาท โดยมีบทบาทคาดหวังมีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือการ รับรูบทบาทที่กําหนด และบทบาทที่ปฏิบัติจริง เปนไปตามหลักจิตวิทยาที่วาบุคคลมักมีความ ตองการหรือความคาดหวังสูงกวาความเปนจริงเสมอ ถึงอยางไรก็ดี บทบาทที่ปฏิบัติจริงก็มีคา
คะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด นั่นแสดงวาอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในศูนยสาธารณสุขมูลฐาน ชุมชนในจังหวัดสระบุรี มีการปฏิบัติงานไมเปนไปตามที่คาดหวัง นาจะเปนขอบงชี้ถึงความไม สอดคลองในบทบาทของอาสาสมัคร และอาจทําใหเกิดสภาวะความเครียด ดังนั้น สิ่งที่สงผลตอ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครที่ปฏิบัติงานในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชนสวนหนึ่งเกิดจากการที่ ไมสามารถปฏิบัติบทบาทจริงไดตามความคาดหวังในบทบาทหนาที่ที่ตนเองและสังคมตองการให ปฏิบัติ ทวีทอง หงษวิวัฒน และคณะ (2524 : 3-4) ไดทําการศึกษาประเมินผลโครงการสาธารณสุข มูลฐานไทย ผลของการศึกษาที่เกี่ยวกับ อสม. พบวาการปฏิบตั ิงานของ อสม. มีผลตอการใชบริการ สุขภาพต่ํามาก โดยเฉพาะจากปญหาการนิเทศงานและปญหาในการสนับสนุนยา จะทําให ความสามารถ ในการคงระดับหรือการยกระดับการบริการของ อสม.เปนไปไดยาก นอกจากนั้นอ สม. สวนใหญมักเนนหนักการรักษาพยาบาล การจําหนายยาสามัญประจําบานและบริการวางแผน ครอบครัว ในการเขามามีสวนรวมของประชาชนนั้น เนนหนักดานรักษาพยาบาล สวนงานดาน สงเสริมสุขภาพและปองกันโรค เชน งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค งานสุขาภิบาล และงาน โภชนาการ ยังไมมีการเขารวมเทาที่ควร สาโรจน ลิมปภูษณะ (2548: บทคัดยอ, 104) ไดศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยมีวัตถุประสงค เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศึกษาระดับของปจจัยตาง ๆ และหาความสัมพันธระหวางปจจัยตาง ๆ ในการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครสาธรณสุขประจําหมูบาน การศึกษาครั้งนี้ใชรูปแบบการวิจัย สํารวจเชิงพรรณนา ประชากรที่ใชในการศึกษาไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ในเขต อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม จํานวน 15 ตําบล 204 หมูบาน 1,697 คน กําหนดตัวอยางโดย ใชสูตรยามาแน ไดจํานวนตัวอยาง 324 คน ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ผลการศึกษาพบวา (1) สิ่งที่เปนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ อสม.ในระดับมากคือ อยากใหมี เงินเดือนเปนคาตอบแทน และสิ่งที่เปนแรงจูงใจในระดับคอนขางมาก ไดแก การมีความรูดาน นิตยา อุนเบา (2549: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขใน การดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง กรณีศึกษาเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง และบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุขตอการปฏิบัติงานการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังวิธีการศึกษาเปน การศึกษาแบบสํารวจ โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือ อาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน ศูนยบริการสาธารณสุขที่ 10 และ41 จํานวน 150 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือแบบสอบถามผล การศึกษาพบวา ภาพรวมของความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง อยูในระดับปานกลาง เวนดานผลกระทบของการเจ็บปวยเรื้อรังตอผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังที่กลุม
ตัวอยางมีความรูอยูในระดับสูงในประเด็นเรื่องผูสูงอาจเกิดโรคแทรกซอนไดงาย และการเจ็บปวย เรื้อรังทําใหผูสูงอายุวิตกกังวลและซึมเศรา ภาพรวมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขตอการ ปฏิบัติงานดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังพบวา กลุมตัวอยางเห็นดวยในระดับปานกลาง ยกเวนดาน ใหคําแนะนํา/เผยแพรความรู ที่เห็นดวยในระดับสูงในประเด็นการกระตุนใหผูสูงอายุในชุมชน ตระหนักถึงการตรวจสุขภาพประจําปและการกระตุนใหผูสูงอายุในชุมชนเห็นความสําคัญของการ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู นอกจากนี้พบวาความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับโรค เรื้อรัง และผลกระทบของโรคเรื้อรังที่แตกตางกัน มีผลตอบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขตอ การปฏิบัติงานการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังในดานการใหคําแนะนํา/เผยแพรความรู ดานการรับ ขาวสาร และดานการประสานงานที่แตกตางกัน ประเทือง วงษแจง (2541: 88-98) ไดทําการศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของอาสาสมัคร สาธารณสุขในการสงเสริมสุขภาพประชาชนเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี วัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาการมีสวนรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขใน เรื่องการสงเสริมสุขภาพประชาชนเรื่องความดันโลหิตสูงโดยเก็บรวบรวมขอมูลจาการสัมภาษณ อาสาสมัครสาธารณสุขโดยใชแบบสัมภาษณกลุมตัวอยางจํานวน 40 หมูบาน และเลือกอาสาสมัคร มาหมูบานละ 5 คน ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัครสาธารณสุขสวนใหญเปนเพศหญิงมากวาเพศ ชาย มีอายุระหวาง 36-50 ป จบการศึกษาระดับประถมศึกษา วิธีการที่ไดรับคัดเลือกเขามาเปน กรรณิการ พงษสนิท และคณะ(2535) ไดศึกษาการดูแลตนเองของผูสูงอายุที่มีความดัน มี โลหิตสูง ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในกลุมตัวอยางจํานวน 100 ราย พบวาผูสูงอายุที่มี ความดันโลหิตสูง และมีการดูแลตนเองไดดี โดยมีการปฏิบัติตัวในดานรับประทานอาหาร การ ขับถาย การรักษาความสะอาดของรางกาย การพักผอนนอนหลับ การทํากิจกรรมและการออกกําลัง กาย ดานที่อยูอาศัย และการปองกันอุบัติเหตุ ดานบทบาทหนาที่ และการปรับตัวจะสามารถควบคุม อาการและภาวะโรคแทรกซอนความดันโลหิตได นิรนาท วิทยโชคกิติคุณ(2534) ไดศึกษาความสามารถในการดูแลตนเองและภาวะสุขภาพ ของผูสูงอายุ และปจจัยพื้นฐานบางประการ ไดแก เพศ สถานภาพสมรส การศึกษา และรายได ใน ผูสูงอายุที่มีภูมิลําเนาอยูในเขต อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค จํานวน 120 ราย ผลการศึกษาพบวา ผูสูงอายุกลุมตัวอยางเปนวัยสูงอายุตอนตน (60-74ป) ประเมินภาวะสุขภาพคอนขางดี และดีมาก ระดับความสามารถในการดูแลตนเองอยูในเกณฑคอนขางสูง และพบวาโรคที่พบในกลุมตัวอยาง คือ โรคกระดูกและขอ และโรคความดันโลหิตสูง สวนปจจัยดานการศึกษา และสถานภาพสมรส เปนปจจัยที่มีความสัมพันธเชิงบวกกับความสามารถในการดูแลตนเอง จากความหมายดังกลาวขางตน สรุปไดวา บทบาทหนาที่หมายถึง หนาที่หรือพฤติกรรรมที่ บุคคลกระทําหรือแสดงออก ตามฐานนะหรือตําแหนงที่ไดรับมา ซึ่งในการศึกษาเรื่องอาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุที่บานในครั้งนี้จะเปนการศึกษาการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน
จะเปนการศึกษาถึงบทบาทที่เปนจริงและบทบาทที่คาดหวังของ อผส. วามีการปฏิบัติหนาที่ตาม บทบาทที่ไดรับเพียงใด สภาพปญหาและความตองการของผูสูงอายุ นภาพร ชโยวรรณ (2531) ทําการศึกษาสภาวะเศรษฐกิจและรายไดของ ผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุสวนใหญมักประสบปญหาเกี่ยวกับการเงิน (รอยละ 39) รองลงมาคือปญหาเกี่ยวกับสุขภาพ (รอยละ 34) และปญหาสุขภาพจิต (รอยละ 13) และมีเพียงรอยละ 11 เทานั้นที่ไมมีปญหา ซึ่งทั้ง เพศชายจะมีปญหามากกวาเพศหญิง และผูสูงอายุในชนบทมีปญหาทางการเงินมากกวาผูสูงอายุใน เมือง โดยผูสูงอายุรอยละ 48 มีรายไดสวนใหญจากบุตร รอยละ 28 มาจากการทํางานของตนเอง รอยละ 8 มาจากเงินออม และรอยละ 2 มาจากเงินบํานาญ นภาพร ชโยวรรณ และ จอหน โนเดล (2539) ไดทําการศึกษาถึงรายไดในรอบปที่ผานมา ของผูสูงอายุและคูสมรส พบวา ผูสูงอายุมีรายไดเฉลี่ยระหวาง10,000–19,999 บาทตอป และแหลง รายไดสําคัญคือจากบุตร รองลงมาคือจากการทํางานของตนเองและการไดรับการสงเคราะหมี สัดสวนที่ต่ําที่สุด โดยผูสูงอายุในเขตชนบทมีแหลงรายไดจากการทํางานสูงกวา ผูสูงอายุในเขตเมือง สุทธิชัย จิตะพันธุกุลและคณะ (2537 และ 2542) ไดทําการศึกษาถึงสภาพปญหาดาน สุขภาพและภาวะทุพพลภาพ (ภาวะจํากัดในการปฏิบัติกิจอันเปนปกติของบุคคลอันเนื่องมาจาก ความเจ็บปวยหรือความบกพรอง หรือความพิการทางรางกาย) ภาวะพึ่งพาและภาวะสมองเสื่อมใน ผูสูงอายุไทย พบวา ปญหาดานสุขภาพที่ผูสูงอายุไทยประสบอยูคือ กลุมโรคไมติดตอและอุบัติเหตุ ซึ่งสวนใหญเปนโรคเรื้อรัง เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือด ภาวะซึมเศรา และการหกลม เปนตน นอกจากนี้ สุทธิชัย จิตะพันธุกุลและคณะ (2542) ยังพบวาปญหาดาน สุขภาพสงผลใหผูสูงอายุทุก 1 ใน 4 คน ไมสามารถเคลื่อนไหวหรือทํากิจกรรมไดตามปกติและถือ วามีปญหาทุพพลภาพ โดยมีผูที่ประสบปญหาทุพพลภาพนานกวา 6 เดือนถึงรอยละ 19 และ ประชากรผูส ูงอายุรอยละ 4 ประสบปญหาภาวะสมองเสื่อม ผูสูงอายุไทยอยูในภาวะทุพพลภาพรุนแรงปานกลางหรือรุนแรงมากมีจํานวนประมาณรอย ละ 1.7 –2.1 ซึ่งจะตองมีผูดูแลชวยเหลือและมีการพึ่งพาผูอื่นในกิจวัตรประจําวัน เชน การ รับประทานอาหาร การสวมใสเสื้อผา เปนตน มัลลิกา มัติโก (2542, น.6-7)สุขภาพจิตของผูสูงอายุมีผลตอคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ จาก การประมวลสถานภาพทางสุขภาพและสังคมของผูสูงอายุไทย พบวาภาวะสุขภาพของผูสูงอายุ ขึ้นอยูกับปจจัยแวดลอม เชน การที่ผูสูงอายุไดรับความเคารพนับถือและเชื่อฟงของบุตรหลาน การ ไดรับการดูแลเอาใจใสจากบุตรหลาน และการที่บุตรหลานยังใหความสําคัญในฐานะเปนที่ปรึกษา ทําใหผูสูงอายุมีความสุขและความพึงพอใจในการดํารงชีวิตของผูสูงอายุ สวนปจจัยที่สงผลตรงกัน
ขามคือความรูสึกสูญเสียจะมีผลตอสุขภาพจิตของผูสูงอายุในระดับสูง อยางไรก็ตามโดยทั่วไปจะ พบวาผูสูงอายุมีความวิตกกังวลทุกขรอนหวงใยลูกหลาน กลัวจะถูกทอดทิ้ง กังวลวาจะไมมีคนดูแล ไปจนถึงความรูสึกเหงาและโดดเดี่ยว หมดกําลังใจและเศราใจบอยๆ และตัวแปลดานสถานภาพ สมรส สภาวะสุขภาพและโรคประจําตัวมีความสัมพันธกับสุขภาพจิตรของผูสูงอายุโดยผูสูงอายุที่ มีคูจะมีสุขภาพจิตรที่ดีกวาผูที่มีสถานภาพโสด หยา มาย ผูที่แข็งแรงมีสุขภาพจิตที่ดีกวาผูที่มี สุขภาพออนแอและมีโรคภัยไขเจ็บ
บทที่ 2 บริบทของชุมชน สภาพทั่วไปของตําบล ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอประมาณ 9 กิโลเมตร อาณาเขตตําบล มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ตางๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ต.แมดนาทุม อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ทิศใต ติดกับ เทือกเขาภูพาน อ.เตางอย จ.สกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ต.หนองบอ อ.นาแก จ.นครพนม ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ตองโขบ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
ภาพประกอบ 1 แผนที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ
ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะติด กับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะ เปนชวงที่ชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็น จัดประมาณ 13Cº เพราะติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลที่ชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิตทาง การเกษตรโดยเฉพาะผลิตจากการทํานา
ภาพประกอบ 2 ลักษณะภูมิอากาศ ประวัติศาสตรตําบลเหลาโพนคอ จากคําบอกเลาจากผูเฒาผูแกในแตละหมูบาน ประชากรตําบลเหลาโพนคอ เดิมอพยพจาก เมืองวังอางคํา ฝงซายของแมน้ําโขง ในสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทร ประกอบดวยเผาภูไทยอ เปนพื้นที่รอยตอระหวางจังหวัดสกลนครกับจังหวัดนครพนม โดยแยก ออกจากอําเภอเมืองสกลนครมาขึ้นกับกิ่งอําเภอโคกศรีสุพรรณ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2524 ปจจุบันตําบลเหลาโพนคอขึ้นตรงตออําเภอโคกศรีสุพรรณ ในตําบลเหลาโพนคอปจจุบันมีหมูบาน ทั้งหมด11หมูบาน คือ บานโพนคอ หมูที่ 1 บานโพนไฮ หมูที่ 2 บานดง หมูที่ 3 บานหนองเหียน หมู 4 บานเหลา หมูที่ 5 บานหวยยาง หมูที่ 6 บานเหลาเหนือ หมูที่ 7 บานดงนอย หมูที่ 8 บานหวย ยางเหนือ หมูที่ 9 บานโพนสูง หมูที่ 10 บานนอยหนองไผสวน หมูที่ 11 ซึ่งแตละหมูบานในอดีตมีการแยกบานและหาที่ตั้งคือ เริ่มแรกเดิมทียังมีพระธุดงคองคหนึ่ง แขวงเมืองสุวรรณเขต ประเทศลาว ไดเดินธุดงคไปตามวิสัยสมณะบรรพชิตทั้งในปาและในบาน วันหนึ่งพอไปถึงบึงแหงหนึ่ง (นาบึง) อันมีอาณาเขตติดตอกับบานหนองเหียนอุปหาด (คําวา “อุป หาด” เปนชื่อของผูมาตั้งบานหนองเหียนเปนคนแรก)เห็นวาเปนที่อุดมสมบูรณพอที่จะตั้งถิ่นฐาน บานเรือนไดพอพระธุดงคองคนั้นกลับถึงบานก็เลาเรื่องตางๆที่ไดไปพบไปเห็นมาใหพี่นองและ ชาวบานฟงวาไดไปพบเห็นที่อุดมสมบูรณแหงหนึ่งในเมืองไทย ขาวนี้ไดแพรไปถึงบุคคลที่มีชื่อ วา อาญาพระพลและอาญาพระประเทพ ทานทั้งสองไดสอบถามถึงรายละเอียดตางๆ จากผูที่ไป พบเห็นมานั้นเห็นวาเปนความจริง จึงไดรวบรวมสมัครพรรคพวก เผากะเลิงไดประมาณ 8 ครอบครัว นําโดยอาญาพระพลและอาญาพระเทพเปนหัวหนา ขามลําน้ําโขงเดินทางรอนแรมมา จนถึงบานหนองเหียนอุปหาดในระยะนั้นไดพากันหยุดอยูที่นั้น เพื่อจะไดคนหาทําเลอันเหมาะสม พอที่จะตั้งบานเรือนได แลวก็ไดพบลําน้ําแหงหนึ่งชื่อลํา (หวยทรายในปจจุบัน) ทานทั้งสองจึง แยกจากกันออกเปน 2 พวก คือพวกของพระยาเทพไดพากันไปตั้งบานเรือนอยูที่ดอนตากลา ริม หวยทราย ปจจุบันเปนหวยทราย สวนอาญาพระพลนั้นไดพาสมัครพรรคพวกไปตั้งบานเรือนอยูที่ ดงหมน ริมหวยทรายตอนบน เปนสายธารอันเดียวกัน เรียกชื่อวา บานอุมไผนาทาม ปจจุบัน เปนทุงนา แตหมูบา นทั้งสองนี้ไดรับความลําบากมากเพราะอุทกภัย คือพอฤดูฝนน้ําจะทวมแทบ
ทุกป ทําใหการทํามาหากิน การอยูอาศัย การสัญจรไปมาลําบากมากจึงไดพรอมกันเลือกที่ทํามา หากินทําเลใหมใหดีและเหมาะสมกวาเดิม แลวก็ไดพบโนนแหงหนึ่ง มีตนคอมาก เห็นวา เหมาะสมสําหรับจะตั้งบานเรือนได จึงไดพากันอพยพไปตั้งบานเรือนอยูที่โนนคอนั้น เรียกชื่อ บานวา บานโพนคออุมไผ ขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม อาชีพของชาวบานเวลานั้น สวนใหญไดแก การทําไร ตอมามีประชากรเพิ่มมากขึ้นการทําไรก็ขยายออกไปเรื่อยๆ จนมีอาณา เขตกวางขวาง และหางไกลออกไปจากบานเดิม เปนเหตุใหลําบากในการดูแลรักษาพืชไรของตน เมื่อเปนดังนี้ ตางคนก็ตางพากันไปปลูกบานเรือนอยูตามไร ตามสวนของตนเอง ซึ่งยังเปนปาเปน ดงอยูจึงกลายเปนหมูบานเล็กๆ ขึ้นหมูบานหนึ่ง เรียกวา บานเหลา เพราะสถานที่ตงั้ บานเรือน ยัง เปนเหลาเปนดงอยูนั่นเองเมื่อกาลตอมาจึงไดเอาชื่อบานทั้งสองนี้รวมเขากัน เรียกวา บานเหลา โพนคอ หรือตําบลเหลาโพนคอในปจจุบัน บริบททางวัฒนธรรม ในตําบลเหลาโพนคอสวนใหญจะเปนคนภูไท จะถูกอบรมสั่งสอนมา ใหยึดหลักความ ถูกตองในทุกๆเรือ่ ง จะเนนในเรื่องไมใหทําผิดศีลธรรม โดยเฉพาะศีลหา และเนนไมใหไปผิดลูก เขาเมียใคร ผูเฒาผูแกก็จะคอยสั่งสอนลูกหลานใหอยูในธรรมเนียมประเพณีในเรื่องชูสาว เพราะ อาจจะทําใหผิดผีได ผิดผีในที่นี้คือ ผิดประเพณีการปฏิบัติที่ดีงามของบรรพบุรุษ คือ เจาปูแหง หมูบานนั้นเอง ถาทําผิดแลวก็มีความเชื่อวาอาจกอใหเกิดเหตุเภทภัยขึ้นตอผูคนในหมูบานหรืออาจ เกิดเรื่องรายๆขึ้นตอคนในครอบครัวที่ทําผิดนั้นได แตหากมีผูทําผิดประเพณีแลว ตองมีการแกเคล็ด โดยการไหวเจาปู ดวยวิธีการที่บรรพบุรุษสืบถอดกันมาเพื่อประกาศใหคนทั้งหมูบาน และภูตผี เทวดาไดรับรู วาไดทําการขอขมาลาโทษ ตอผูเฒาผูแกที่ตนเคารพนับถือคือสารภาพบาปนั้นเอง ก็ จะไดรับการใหอภัยจากภูตผีเทวดาและจากญาติพี่นองของตนเองรวมไปถึงคนในหมูบานดวย ภาษา ชาวบานในตําบลเหลาจะใชภาษาผูไทและภาษากลางในการสื่อสาร และยังคงรักษา ไวไดดวยดีตลอดมา ภาษาผูไทเปนภาษาที่พูดแปรงไปจากภาษาลาวและภาษาไทยภาคกลาง ซึ่งไม สามารถอธิบายเปนภาษาเขียนได
ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และพิธีกรรม 1. ประเพณีพิธีกรรมที่ทําทั้งตําบล พิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน ชาวบานโพนคอ โพนสูง ไดทําพิธีทงิ้ ครก ทิ้งสากขอฝน บริเวณวังเดือนหา อางเก็บน้ําหวย ทราย เนื่องจากในปนี้ชาวบานประสบปญหาฝนทิ้งชวงทําใหอางเก็บแหงขอดไมมีน้ําเพียงพอใน การทํานาจึงไดทําพิธีขอฝนโดยการทิ้งครกทิ้งสาก ซึ่งมีเรื่องเลาวาผีแมหมายทีอยู ่ ในวังเดือนหา (อาง
เก็บน้ําหวยทราย) มาเขาฝนบอกวาอยากไดครกและสากสําหรับไวตําขาว เมื่อไดครกและสากแลว จะชวยบรรดาลใหฝนฝาตกตามฤดูกาล ขาวปลาอาหารอุดมสมบูรณ ชาวบานจึงไดยึดถือปฏิบัติ เรื่อยมาในปที่ฝนแลงก็จะทําพิธีนี้ทุกป
ภาพประกอบ 3 กิจกรรมพิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน
พิธขี อฝน หนองกุดแกลบ เปนพิธีกรรมที่ชาวบานในตําบลที่จะทําเปนประจําทุกป มีชาวบานสวนมากจะเปนบานดง นอยที่ไปเขารวมมากที่สุดและจะไปทําพิธีที่สระน้ําหนองกุดแกลบ โดยจะมีการฟอนรํารอบสระน้ํา และก็มีการทํากับขาวไปถวายเพลที่บริเวณนั้นดวย ซึ่งเปนความเชื่อของชาวบานวาทําแลวจะทําให ฝนตกลงมาใหไดทําการเกษตร ซึ่งจะทําเปนประจําทุกป
ภาพประกอบ 4 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ
งานประเพณีสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนจะ ทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุงในชวงบาย พระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเชื่อวา หากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล
ภาพประกอบ 5 กิจกรรมพิธพี ิธีสรงน้ําพระภู
2. ประเพณีพิธีกรรมที่ทําทุกหมูบาน ประเพณีอันเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาในบรรดาประเพณีตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนาดูเหมือนวา “ฮีตสิบสอง” จะเปนประเพณีที่ชาวภูไทรูจักกันดีและปฏิบัติสืบตอกัน มาอยางไมขาดสาย ถึงแมบางฮีตจะถูกลบเลือนและปฏิบัติกันนอยลง หรือไมปฏิบัติเลยก็ตาม แต
บางฮีตก็ไดรับการยอมรับและปฏิบัติการอยางเครงครัดมาถึงปจจุบัน ฮีต ประเพณีที่ปฏิบัติกันทั้ง ตําบลมีดังนี้ เดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานรื่นเริง กัน เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะ มีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดย มีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เดือนสี่ “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของ ชาวไทยอีสานทัว่ ไป เพื่อเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลาม สอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ เดือนหา “บุญบั้งไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนการขอฝนตามความเชื่อดั้งเดิม โดยชาวบานทั้งตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพื่อนําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยัง พระธาตุดอยอางกุง เมื่อพระสงฆฉันเพลเสร็จก็จะทําพิธีที่บริเวณพระธาตุ และก็ใหชาวบานสรง น้ําพระธาตุเพื่อใหเปนสิริมงคล เดือนหก “บุญมหาชาติ” หรือเรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญที่ยิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสองผู ที่มีศรัทธาทั้งหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานทั้งฝายฆราวาสและฝายสงฆจะ ชวยกันตกแตงประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดร ฝายฆราวาสหญิงตองเตรียมอาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ําเตรียมไวใหแขกใช แขกตางหมูบานนอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยังตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแหขาวพันกอนไปถวายพระ ที่ตองทําใหไดถึงพันกอนนั้น เนื่องจากถือวาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศนมหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตน ดอกเงิน และการแหกัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลวนําเขามาถวายที่วัดก็เปนเสร็จพิธี เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญที่ชาวบานไมเคยละเลยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวายภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือที่เรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญที่แสดงความกตัญู กตเวทีตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีที่ไดกระทําตอตนเองเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยูความผูกพัน กันเชนนี้ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนํา ขาวพรอมอาหารคาวหวานที่ทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพื้นดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลวกรวดน้ําอุทิศสวนกุศลใหญาติพี่นอง บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาใน วันแรม 14 ค่ําเดือนเกาบรรดาผูลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลาน นั่นเอง
เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติที่ลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล เดือนสิบเอ็ด “ทําบุญกฐิน” เมื่อพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตที่ 8 และออกพรรษาตามฮีต ที่แลวแสดงวาจําพรรษาครบสามเดือน ก็จะไดรับอานิสงสพรรษาในฮีตที่ 12 นี้ พระพุทธเจาทรง อนุญาตใหพระภิกษุแสวงหาไตรจีวรไดในทายฤดูฝน 1 เดือนเริ่มตั้งแตกลางเดือนสิบเอ็ดถึง กลางเดือนสิบสองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน นอกจากบุญประเพณีตางๆแลวการที่ผูสูงอายุในตําบลไดทํากิจกรรมตางๆแลวผูสูงอายุใน ตําบลยังไดรับการชวยเหลือจากหนวยงานขางนอกที่ผูสูงอายุไดรับ
จํานวนประชากรของตําบล จํานวนประชากรในเขต อบต. 5,809คน และจํานวนหลังคาเรือน 1,325 หลังคาเรือน ตารางแสดง 1. จํานวนและครัวเรืองในตําบลเหลาโพนคอ หมูที่ ชื่อหมูบาน จํานวน จํานวน ชาย หญิง ครัวเรือน ประชากร 1 โพนคอ 168 767 375 392 2 โพนไฮ 55 263 136 127 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ดง 83 289 155 หนองเหียน 144 675 324 เหลา 130 545 257 หวยยาง 185 897 456 เหลาเหนือ 79 414 196 ดงนอย 121 342 164 หวยยางเหนือ 159 804 419 โพนสูง 166 649 325 นอยหนองไผสวน 35 164 85 รวม 1,325 5,809 2,892 ที่มาองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ(พ.ศ. 2554) การรวมกลุมชวยเหลือ มวลชนจัดตั้ง ลูกเสือชาวบาน รุนที่ 6779/1 จํานวน 288 คน รุนที่ 2 จํานวน 120 คน
134 351 288 441 218 178 388 324 79 2,917
รุนที่ 3 จํานวน 50 คน ไทยอาสาปองกันชาติ รุนที่ 1242/2528 จํานวน 300 คน กองหนุนเพื่อความมั่นคงแหงชาติ จํานวน - คน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 2 รุน จํานวน 113 คน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม) จํานวน 98 คน ชมรมผูสูงอายุ จํานวน 164 คน หนวยกูชีพ กูภัยและหนวยแพทยฉุกเฉิน จํานวน 150 คน กลุมบานพักโฮมสเตย จํานวน 11 ครัวเรือน อาสาสมัครนําเที่ยว จํานวน 10 คน การตั้งกลุม
ภาพประกอบ 6 กลุมไวน ภาพประกอบ 7 กลุมเพาะพันธกลาไม กลุมทําไวนและน้ําหวานบานเหลาเหนือ สถานที่ตั้ง : 95/1 หมู 7 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายฮงชัย ขันทีทาว กลุมน้ําดื่มออมทรัพย สถานที่ตั้ง : 82 เหลา หมู 5 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายบานเย็น คําเพชรดี กลุมเพาะพันธุกลาไม สถานที่ตั้ง : หมู9 บานหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายเริง ยางธิสาร โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง ในตําบลเหลาโพนคอจํานวน 11 หมูบานมีการอํานาจในการการปกครองของแตละหมูบาน คือ ตาราง 2. แสดงรายชื่อผูนําหมูบาน
ชื่อ-สกุล ตําแหนง หมูที่ ชื่อหมูบาน นาย เหรียญทอง พลราชม กํานัน 1 บานโพนคอ นาย อุทัย พลราชม ผูใหญบาน 2 บานโพนไฮ นาย ทองพูน ทวีสุข ผูใหญบาน 3 บานดง นาย วารินทร จันทะวงศ ผูใหญบาน 4 บานหนองเหียน นาย บานเย็น คําเพชรดี ผูใหญบาน 5 บานเหลา นาย พายับ โตะชาลี ผูใหญบาน 6 บานหวยยาง นาย นรงค กันหา ผูใหญบาน 7 บานเหลาเหนือ นาย วิพล หาญชนะ ผูใหญบาน 8 บานดงนอย นาย ทวีชัย ยางธิสาร ผูใหญบาน 9 บานหวยยางเหนือ นาย วีราวัตน เทือกตาหลอย ผูใหญบาน 10 บานโพนสูง นายประเวส ศรีกะษร ผูใหญบาน 11 บานนอยหนองไผสวน ที่มา: องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ(พ.ศ. 2555) ขอมูลอาชีพของตําบล อาชีพหลัก ทํานา ทําสวน ทําไร
ภาพประกอบ 8 อาชีพทํานา ชาวบานสวนใหญที่อยูบานจะเปนผูสูงอายุเปนสวนใหญและจะดํารงอาชีพทําการเกษตร เปนหลักเพราะวาถาเปนวัยทํางานสวนใหญก็จะไปทํางานในเมืองไมไดทําการเกษตรเหมือนแต กอนทําใหผูที่อยูบานตองทําการเกษตรไปเรื่องรวมทั้งสภาพภูมิอากาศเปนที่เอื้อตอการทํา การเกษตรและไดผลผลิตดีสวนการทํานานั้นชาวบานสวนใหญจะไมคอยไปรับจางจะเปนการไป ชวยแรงทําใหเพื่อนบานแลวเพื่อนบานนั้นก็จะมาชวยกลับ อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว
ชาวบานที่อยูกับบานสวนใหญจะมีการเลี้ยงสัตวเปนอาชีพเสริมจากรองจากการทํา การเกษตรเพื่อที่จะไดเลี้ยงไวเปนอาหารและไวขายเสริมรายไดสวนสัตวเลี้ยงที่มีชื่อเสียงและเลี้ยง มากที่สุดคือโคขุน สถานบริการของรัฐ 1. การบริการดานความจําเปนขั้นพื้นฐาน มีดังนี้
ภาพประกอบ 9 รพสต.
ภาพประกอบ 10 แจกเบี้ยยังชีพ
1.1 การบริการดานสุขภาพ ในการใหการบริการดานสุขภาพของรัฐ หนวยงานที่ใหการ บริการ คือ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ และ อาสาสมัครสาธารณสุขและผูดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานและการชวยเหลือจากองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอซึ่งมีรถบริการฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง 1.2 การใหบริการเบี้ยยังชีพ แกผูพิการและคนชรา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ จะเปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการใหบริการเบี้ยยังชีพแกชุมชน ในรอบ 1 ป จะใหบริการทุก เดือน
การศึกษา
ภาพประกอบ 11 โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง คือ โรงเรียนบานหวยยาง ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนถึงระดับ มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานเหลาโพนคอเหลาราษฎรวิทยา ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแต ระดับ อนุบาลจนถึงระดับ มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดงหนองเหียน ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนถึง ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่อานหนังสือประจําหมูบาน 7 แหง โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2 แหง จะอยูที่บานหวยยาง 1 แหงและบานหนองเหียน 1 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เปนการใหบริการ การศึกษาเด็กกอนวัยเรียน ตั้งแตอายุ 2 ปถึง 4 ป
ขอมูลผลิตภัณฑที่นาสนใจ
เพาะชํากลาไม กลาไมนานาชนิด ไมดอก ไมประดับ รวมทั้งพืชสวนครัวใชถุงพลาสติกบรรจุ แกลบเผานําเมล็ดลงกลาในถุงประมาณ 1 เดือน จะไดตนกลา นําไปจําหนายได (แลวแตประเภท ของพืชชนิดนั้นที่ใชระยะเวลาในการเพาะ) เครื่องดื่มที่มีการจัดตั้งกลุมในตําบล 1. น้ําหมากเมาพรอมดื่ม 2. น้ําดื่มออมทรัพย ขอมูลแหลงทองเที่ยว อางเก็บน้ําหวยโท หวยยาง ตั้งอยูทางทิศใตของบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ เปนอางเก็บน้ําฝายดิน ขนาด บรรจุ 200,000 ลูกบาตรเมตร เปนอางเก็บน้ําเพื่อใชในการเกษตรกรรม อางเก็บน้ําหวยโท หวยยางเปนแหลงน้ําที่ติดอยูแนวภูเขา (เขาดอยอางกุง) เปนแหลงทองเที่ยวที่ สวยงามมากเวลาน้ํามาในฤดูฝน สามารถพายเรือเที่ยวชมทิวทัศนได สถานที่ทองเที่ยวปาโลกลานป ลองเรือชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ระยะทางนั่งเรือจากจุดชม วิวอาง เก็บน้ําหวยโท หวยยางถึง ทามวง 1.32 กิโลเมตรทามวง 1.32 กิโลเมตร สนุกสนานกับการเลนน้ําตกศรีตาดโตน ระยะทางเดินจากทามวงถึงน้ําตกศรีตาด โตน 1.86 กิโลเมตร พักแรมจุดชมวิวภูผาเจื่อน ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ปาโลกลานป กราบนมัสการพระอรหันตธาตุ 24 พระองค ที่พระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําใตบาดาล ที่ถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก