กลุ่มเพาะพันธุ์กล้าไม้บ้านห้วยยาง

Page 1

สถานการณการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

อนุชิดา แพงดวงแกว

พัฒนานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน (0109411 ) (Practicum in Community Development ) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประกาศคุณูปการ


พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จได โดยไดรับความอนุเคราะหและความกรุณาจากผูมีพระคุณ หลายทานที่ไดใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรอง จนทําใหงานวิจัยเลมนี้เสร็จสมบูรณได ขอกราบขอบพระคุณ ทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร (อาจารยนิเทศ ) อยางยิ่งที่ไดให ความกรุณาในการใหคําปรึกษา คําแนะนําที่ดีในทุกๆเรื่อง ทั้งแนะนําเรื่องการวางตัว การปฎิบัติตัวที่ เหมาะสมในการอยูรวมกับชุมชน อีกทั้งขอขอบพระคุณทานอาจารย ที่ยอมเสียสละเวลางานหรือเวลา สวนตัว เพื่อตรวจทาน และแกไขขอบกพรองในงานวิจัยนี้ ใหมีความถูกตอง แมนยํา มากที่สุด ขอขอบพระคุณ สํานักงานพัฒนาชุมชน อําเภอโคกศรีสุพรรณ ที่ไดเปดโอกาสใหผูวิจัยได ไปเรียนรูประสบการณในการทํางานรวมกับหนวยงาน ขอขอบพระคุณ คุณภักดี พรมเมือง ( อาจารย ภาคสนาม ) ที่คอยดูแลและใหความชวยเหลือ ตลอดระยะเวลาที่อยูในพื้นทีท่ ําการวิจัย ขอขอบพระคุณพี่ น้ําฝนและ คุณนิพนธ แกวดี ทานพัฒนาการอําเภอโคกศรีสุพรรณ ที่ไดใหคําปรึกษาในการทํางานอยูเสมอ ขอขอบพระคุณ พอผูใหญหวล และแมวิชิน ยางธิสาร รวมถึงครอบครัวของพอผูชวย เมคินธ ยางธิสาร นองตา นองกัณฑ ที่ไดใหความเมตตา ใหที่พัก และใหการดูแล ใหการชวยเหลือในทุกๆ เรื่อง เปนอยางดี ใหความอบอุนเสมือนเปนบุคคลในครอบครัว ขอขอบพระคุณ พี่ธีรพงศ ยางธิสาร ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยาง หมูที่ 6 ที่ไดใหความรวมมือ ใหความชวยเหลือ ทั้งการเก็บขอมูล การจัดกิจกรรมหรือดําเนินงานตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดทั้งขอขอบพระคุณ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยางทุกทานที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสัมภาษณและเขารวมกิจกรรมตางๆอยางเต็มที่ ขอขอบพระคุณ ชาวบานหวยยางทุกคนที่ไดใหความรัก ความเอ็นดู ใหการตอนรับที่ดี เสมือนผูวิจัยเปนลูกหลานในชุมชน และทําใหผูวิจัยไดมีโอกาสไดเรียนรูวิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชนตางๆ มากมาย

ขอขอบพระคุณ พี่เกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร ประจําองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ ที่ไดชวยเติมเต็มและใหขอมูลในสวนตางๆเพื่อมาทบทวนงานวิจัยฉบับนี้ ใหมีความ ถูกตอง นาเชื่อถือ และเกิดความสมบูรณมากยิ่งขึ้น


ขอขอบคุณเพื่อนๆ ทีมวิจัยพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครทุกคน ที่ไดชวย แกไขปญหา และเปนกําลังใจตลอดระยะเวลาในการทําวิจัย โดยเฉพาะ นางสาวผกาสินี มาธุระ ที่คอยเปน เพื่อนคูคิด รวมทุกข รวมสุข ใหความชวยเหลือตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณบิดา-มารดา คือ คุณพอลิตร และคุณแมสมสมัย แพงดวงแกว รวมถึง พี่นองในครอบครัว ที่ไดใหการอุปการะเลี้ยงดู ใหความอบอุน เปนกําลังใจ และทําใหไดมีโอกาสทาง การศึกษาที่ดี ยอมลําบาก สูกับความเหน็ดเหนื่อย เพื่อใหลูกมีอนาคตที่ดี

อนุชิดา แพงดวงแกว


ชื่อเรื่อง สถานการณการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง

หมูที่ 6

หมูที่ 6 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษา นางสาวอนุชิดา แพงดวงแกว อาจารยที่ปรึกษา อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ปริญญา ศศ.บ สาขาการพัฒนาชุมชน ชื่อมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปที่พิมพ 2554

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้ไดใหความสําคัญกับ สถานการณการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมี จุดมุงหมาย 2 ประเด็น คือ ศึกษาบริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง วิเคราะห สถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร อีกทั้งไดนําผลการศึกษาไปจัดโครงการ การศึกษาในครั้งนี้ไดใชแนวคิดหลาย แนวคิด ดังนี้ แนวคิดวิสาหกิจชุมชน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดการพัฒนาองคกรชุมชน พรอมทั้ง แนวคิดอื่นๆ อีกดวย และใชวิธีการเก็บขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก การสังเกตการณแบบมีสวนรวม และการประชุมกลุมยอย ( Procus Group ) เทคนิคการ SWOT Analysis โดยผูศึกษาไดทําการศึกษา ระหวางวันที่ 3 มิถุนายน - 2 สิงหาคม 2554 ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ ประการแรกพบวา บริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น มีการ ดําเนินงานมาเปนระยะเวลา 1 ป มีสมาชิกเดิม 18 คน สมาชิกใหม 9 คนรวมมีสมาชิกทั้งหมด 27 คน เนื่อง ดวยกลุมเพิ่งเริ่มมีการกอตั้งในปที่ผานมา ทําใหทางกลุม ยังขาดประสบการณในการบริหารจัดการกลุม แต กลุมก็มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานกลุมอยางชัดเจน มีการตั้งกฎระเบียบ ขอบังคับกลุม เพื่อเปน แนวทางในการปฎิบัติรวมกัน รวมถึงทางกลุมมีการกําหนดวัตถุประสงคกลุมไวอยางแนนอน ประการที่สอง ไดมุงไปที่เรือ่ ง การวิเคราะหสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ผลวิจัยพบวาทางกลุมมีศักยภาพและความเขมแข็งอยูหลายดาน อาทิเชน มี


การจัดตั้งกรรมการบริหารจัดการกลุมไวอยางชัดเจน มีการแบงบทบาทหนาที่ในการทํางานชัดเจน ผูนํา กลุมมีความกระตือรือรนในการดําเนินงานของกลุม และทางกลุมมีการประชุมกลุมอยูเสมอ ทางกลุมมีการ เก็บเงินออมทุกๆเดือน มีการทํากิจกรรมกลุมรวมกันอยางตอเนื่อง แตก็ยังพบวากลุมมีจุดออนหลายอยาง ทั้งการบริหารจัดการกลุมที่ยังไมเปนระบบ สมาชิกในกลุมไมสามารถปฏิบัตติ ามกฎ ขอบังคับกลุมได ยังขาดความรูดานเทคโนโลยีการผลิตใหมๆ ยังไมมีตลาดรองรับสินคา คุณภาพของผลผลิตยังไมคอยดี เทาที่ควร และยังไมสามารถพึ่งตนเองในดานเงินทุนได ในการฝกงานนี้ ผูศึกษาจึงไดจัดโครงการถายทอดความรูดานการผลิต เพื่อเสริมสราง ความเขมแข็งวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยสรุปการศึกษานี้ไดใหความสําคัญกับสถานการณภายในวิสาหกิจกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ทําใหเห็นวา วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้นมีทั้งจุดออนและจุดแข็ง ซึ่ง การพัฒนากลุมใหเกิดความเขมแข็งไดนั้น ทางกลุมจะตองมีการบริหารจัดการกลุมที่ดี และตองมีการ บริหารที่เปนระบบ จะตองมีการพัฒนาในหลายๆ ดานพรอมกัน ทั้งการหาตลาดรองรับสินคา การพัฒนา สมาชิกในกลุม การผลิตสินคาในรูปแบบใหมๆเปนการเพิ่มชองทางการผลิตใหมีมากขึ้น เพื่อยกระดับ สินคาใหขายไดในราคาที่สูงขึ้น


สารบัญ บทที่

หนา

1 บทนํา ภูมิหลัง .................................................................................................................................... 1 วัตถุประสงคของการวิจัย .................................................................................................. 4 ผลที่คาดวาจะไดรับ ........................................................................................................... 4 ขอบเขตของการวิจัย ............................................................................................................5 แนวคิดที่เกี่ยวของกับงานวิจัย.................................................................................................... 6 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิจัย …............................................................................................19 วิธีดําเนินการดําเนินการวิจัย ....................................................................................................23 นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................................................. 24 2 บริบททั่วไปของชุมชน ประวัติศาสตรหมูบาน .......................................................................................................... 25 สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง ............................................................................................... 26 โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง ......................................................................... 27 การประกอบอาชีพ ................................................................................................................ 28 ความเชื่อประเพณี วัฒนธรรมและพิธีกรรม .......................................................................... 29 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ....................................................................................... 30 สถานบริการของรัฐและสถานที่สําคัญของชุมชน ................................................................... 31 องคกรชุมชน ......................................................................................................................... 31 3 บริบทของกลุม พัฒนาการความเปนมาของการกอตั้งกลุม .......................................................................... 32 อุดมการณของกลุม ............................................................... ............................................... 33 การบริหารจัดการของกลุม ................................................................................................ 34 ทุนในการดําเนินงานของกลุม ................................................................................................ 43 ผลการดําเนินงานกลุม ............................................................................................................. 43 4 การวิเคราะหสถานการณภายในของกลุม สถานการณดานการบริหารจัดการ ....................................................................................... 57


สถานการณดานเงินทุน ......................................................................................................... 60 สถานการณดานการผลิต ....................................................................................................... 62 สถานการณดานการตลาด ...................................................................................................... 63 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ สรุปผล ................................................................................................................................ 64 อภิปรายผล .......................................................................................................................... 67 ขอเสนอแนะ ....................................................................................................................... 72 บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แนวทางการสัมภาษณ ................................................................................... 79 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ............................................................................................... 83 ภาคผนวก ค แผนที่หมูบาน................................................................................................... 98 ภาคผนวก ง แผนผังเครือญาติ............................................................................................... 100 ภาคผนวก จ ตารางประวัติศาสตรชุมชน ............................................................................. 107 ภาคผนวก ฉ เอกสารการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ...................................................... 109 ภาคผนวก ช รูปภาพกิจกรรม ..............................................................................................111 ประวัติยอของผูศึกษา ........................................................................................................ 118


สารบัญตาราง

ตาราง

หนา

1 รายชื่อสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ………………………………….. 35 2 การถือหุน ของสมาชิกกลุม …………………………………………………………………………... 44 3 การรับฝากเงินของสมาชิกกลุม ……………………………………………………………………... 46 4 การกูยืมเงินของสมาชิกกลุม ………………………………………………………………………. 48 5 ชนิดพันธุพืชที่กลุมสามารถผลิตได ……………………………………………………………….. 51


บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 5

การทํานาเปนอาชีพหลักของชาวบาน ........................................................................................... เห็ดธรรมชาติ (ระโงก) .................................................................................................................... หนอไมธรรมชาติ ........................................................................................................................... อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ............................................................................................................. การประชุมประจําเดือนของกลุม .................................................................................................... การกรอกแกลบดํา ......................................................................................................................... เมล็ดผักหวานที่เตรียมเพาะลงในถุงดํา ......................................................................................... การหยอดเมล็ดพันธุลงในถุงดํา ...................................................................................................... กลาไมที่แข็งแรงและสามารถขายไดแลว ........................................................................................

หนา 28 30 30 30 50 53 53 54 54


บทที่ 1 บทนํา

ภูมิหลัง ชุมชนบานหวยยางหมูที่ 6 ตั้งอยูที่ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ตามประวัติเดิมของหมูบาน เลาตอกันมาวามีนายยางและนายโตะ ที่เดินทางมาจากเมืองวัง ของ ประเทศลาว และไดพบกับปาที่มีความอุดมสมบูรณ อีกทั้งยังมีลําหวยอยูใกลบริเวณนั้น จึงไดเลือกเอาพื้นที่ นี้เปนสถานที่ในการกอตั้งหมูบาน และไดตั้งชื่อหมูบานวา บานหวยยาง และเปนที่มาของนามสกุลใหญสอง นามสกุลของชาวบานในหมูบานอันไดแก ยางธิสารและโตะชาลี ภายหลังจึงไดมีการแยกหมูบานหวยยาง ออกเปน 2 หมูบาน อันไดแก บานหวยยางหมูที่ 6 และ บานหวยยาง-เหนือหมูที่ 9 เมื่อป พ.ศ. 2538 ซึ่งบาน หวยยางนั้นมีอาณาเขตกับ บานดงนอย บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ และติดกับอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ปจจุบันบานหวยยางหมูที่ 6 มีประชากรทั้งหมด 923 คนเปนประชากรชาย 453 คน ประชากรหญิง 470 คน มีทั้งหมด 194 ครัวเรือน มีครัวเรือนตกเกณฑ จปฐ. จํานวน 3 ครัวเรือน มีผูสูงอายุ ทั้งหมด 62 คน เปนเพศชาย 27 คน เพศหญิง 35 คน ผูใหญบานชื่อ นายหวล ยางธิสาร โดยมีแบงการ ปกครองออกเปน 4 คุม ดังนี้ 1) คุมโรงเรียน 57 ครัวเรือน 2) คุมแสงสวาง 44 ครัวเรือน 3) คุมโพธิ์ชัย 76 ครัวเรือน 4) คุมบานนอย 17 ครัวเรือน ชาวบานสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปนหลักและทําการ เพาะพันธุกลาไมเปนอาชีพเสริม สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร เปนหนวยงานที่ดูแล รับผิดชอบ และดําเนินงานภายใตนโยบายการพัฒนาตางๆ ครอบคลุมพื้นที่ 4 ตําบลคือ ตําบลแมดนาทม ตําบลตองโขบ ตําบลดานคํามวง และตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งในปงบประมาณ 2554 นี้ สํานักงานพัฒนา ชุมชนโคกศรีสุพรรณ มีนโยบายที่จะดําเนินงานสงเสริมหมูบานเศรษฐกิจ โดยมีตําบลเหลาโพนคอเปน ตําบลเปาหมายในการดําเนินนโยบาย และมีหมูบานหวยยางเปนหมูบานนํารอง โดยจะมีการใชกรอบตัวชี้วัด 6×2 มาเปนเกณฑ อีกทั้งจะมีการนําปรัชญาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดํารงชีวิตและ ปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัวจนถึงระดับชุมชน หมูบานหวยยาง เคยเปนหมูบานที่ยากจนที่สุดแหงแรกในจังหวัดสกลนครและเคยเปน หมูบานประสบภัยแลงถึง 2 ครั้งดวยกัน ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2510 จึงมีการอพยพไปอยูที่บานทามวง ตําบล


น้ํากลั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย จํานวน 20 ครัวเรือน และบางสวนยายไปอยูที่บานโคกสําราญ ตําบล ชมพู อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย และครั้งที่ 2 เมื่อป พ.ศ. 2524 ทําใหชาวบานหวยยางไดรับความ เดือดรอนอยางมาก จึงไดพากันเดินทางไปขอทานตามจังหวัดใกลเคียงตางๆ เชน นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ เฉลี่ยประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด ชาวบานบางสวนก็อพยพออกจากหมูบานเพื่อไปทํางาน ตางถิ่น ชาวบานที่เหลือในหมูบานตองกลายเปนคนวางงานจนกระทั่งมีการลงขาวในหนังสือพิมพเดลินิวส โดยมีการพาดหัวขาววา พบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง ทราบขาว พระองคจึงโปรดมีคําสั่งใหกรมชลประทานไดดําเนินการสรางอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 และพระองคทานไดเสด็จพระราชดําเนินมาทําการเปดอางเก็บน้ําดวย พระองคเองในป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จึงทําใหชาวบาน ในชุมชนบานหวยยางและหมูบาน ใกลเคียงในตําบลเหลาโพนคอ มีน้ําในการทําการเกษตร อีกทัง้ มีการสงเสริมอาชีพตางๆใหกับชาวบาน นอกจากนี้แลวยังไดสงเสริมใหหมูบานหวยยางเปนหมูบานเศรษฐกิจพอพียงในดานการเกษตรใหเปนอันดับ หนึ่งในอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การเพาะพันธุกลาไมถือเปนอีกอาชีพหนึ่งที่ไดรับความนิยมอยางมาก มีเกษตรกรทํามาก ที่สุด ในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัด จันทบุรี ระยอง เลย ปราจีนบุรี และ สกลนคร การเพาะพันธุกลาไมเปนอาชีพที่สรางรายไดใหกับเกษตรกรไมนอย แตก็มีตนทุนในการผลิต คอนขางสูง เพราะการเพาะพันธุกลาไมมีขั้นตอนในการผลิตที่มากมายหลายขั้นตอน ตั้งแตการเตรียมดิน การเตรียมเมล็ดพันธุ การเตรียมโรงเรือนในการเพาะกลาไม การเตรียมวัสดุ อุปกรณในการเพาะกลา อีกทั้ง ตองอาศัยขั้นตอนการดูแลรักษาอยางสม่ําเสมอ ไมวาจะเปนการรดน้ํา การใสปุย หรือเกี่ยวกับการกําจัด ศัตรูพืชและการปองกันโรคตางๆ ทั้งโรคไรแดง เพลี้ย ใบไหม เขียวตาย เกษตรกรจึงตองอาศัยความชํานาญ และประสบการณในการเพาะกลาไม การเพาะกลาไมที่ไดผลดีที่สุดจะอยูในชวงฤดูฝน แตก็มีความเสี่ยงตอ การเปนโรคตางๆ สูงมาก สําหรับชุมชนหวยยางนั้น การเพาะพันธุกลาไมจําหนายเปนอาชีพเสริม ไดเกิดขึ้นครั้งเมื่อป พ.ศ.2524 โดยนายเรง ยางธิสาร ชาวบานหวยยางหมูที่ 9 เปนผูไปรับซื้อตนกลา มะกรูด มะนาว จากกลุม เพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มาเรขาย แต พบวาไดกําไรนอย จึงไดเรียนรูการเพาะพันธุกลาไมจากบานดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร แลวไดทดลองทําการเพาะพันธุกลาไม ไมวาจะเปนมะกรูด มะนาว ดวยตนเอง แลวนําไปเรขายและพบวาไดกําไรดี ชาวบานหวยยางจึงมีความสนใจและมาเรียนรูการเพาะพันธุก ลาไมจาก


นายเรง ยางธิสาร ตอจากนั้นไดมีการถายทอดกันตอไปเรื่อยๆ เมื่อเห็นวามีผูที่ทําการเพาะพันธุกลาไมมี จํานวนเพิ่มมากขึ้น นายเรง ยางธิสาร จึงจัดตั้งกลุมเพาะพันธุกลาไมขึ้นในป 2542 โดยมีสมาชิกเริ่มตนเพียง จํานวน 27 คน ปจจุบันกลุมมีสมาชิกทัง้ หมด 62 คน โดยเปนกลุมสังกัดบานหวยยาง หมูที่ 9 ซึ่งผลการ ดําเนินงานของกลุมมีความเจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง สมาชิกกลุมมีผลกําไรจากการขายกลาไม เฉลี่ยเดือน ละ 4,000-5000 บาท ในปพ.ศ.2548 หมูบานหวยยางไดรับคัดเลือกองคกรพัฒนาประชาชน (คอป) ไดรับ งบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ และติดอันดับ 1 ใน 2 หมูบานในภาคอีสานในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม (มนูญ ยางธิสาร, สัมภาษณ) จากการประสบความสําเร็จของกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 9 ดังกลาวทําใหในป พ.ศ. 2553 นายหวล ยางธิสาร ผูใหญบาน บานหวยยางหมูที่ 6 ไดประชุมชาวบานหวยยาง เพื่อจัดตั้ง “วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางหมูที่ 6” ขึ้น ซึ่งมีการสนับสนุนจากเจาหนาที่ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) สาขาอําเภอโคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร มีนายธีระพงศ ยางธิสาร เปนประธานกลุม สมาชิกกลุมครั้งแรกมี จํานวน 18 คน ปจจุบันมีสมาชิกเพิ่มขึ้น 9 คน รวมเปน 27 คน วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ไดรับเงินสนับสนุนมาจากธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ซึ่งภายในกลุมไดมีการกําหนดขอตกลงเพื่อเปนแนวทางการ ปฏิบัติของสมาชิกกลุมวา จะตองมีการเก็บเงินออมเดือนละ 40 บาททุกเดือน มีการประชุมกลุมเดือนละหนึ่ง ครั้ง และขายกลาไมในราคาเดียวกัน ปจจุบันนี้กลุม มีการเพาะพันธุกลาไมมากกวา 60 ชนิด อาทิเชน ผักหวาน หวาย มะกรูด มะนาว หวาย ไมแดง ไมยางนา ฯลฯ ซึ่งตอนนี้สมาชิกกลุมเพาะพันธุกลาไม ได ประสบกับปญหาตางๆ ไมวาจะเปนปญหาดานการรวมกลุมที่กลุมยังขาดศักยภาพและขาดความเขมแข็ง ปญหาดานการผลิตที่เสี่ยงตอโรคตางๆ ปญหาตนทุนในการผลิตที่คอนขางสูง ทั้งตนทุนดานเมล็ดพันธุ ปุย ถุงดํา แกลบและคาจางแรงงานอื่นๆ รวมถึงปญหาการขาดความรูของชาวบาน ไมวาจะเปนความรูในการทํา ปุยอินทรีย ความรูในการตัดตอกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา ซึ่งชาวบานตองการนําความรูสวนนี้ เพื่อทีจ่ ะนําไป ประยุกตใชในการเพาะพันธุก ลาไม และยกระดับราคาของกลาไม ใหสามารถขายไดในราคาที่สูงขึ้น และ ปญหาการหาตลาดในการรองรับสินคาโดยไมตองผานพอคาคนกลาง (นายธีรพงศ ยางธิสาร, สัมภาษณ) จากสถานการณความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียงและปญหาของวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ดังกลาวมาแลวขางตน ทําใหผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่อง สถานการณการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยผูวิจัยจะคนหาคําตอบอยางละเอียดและเปนระบบตาม


รูปแบบของการวิจัย วาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม มีพัฒนาการความเปนมาอยางไร มีการบริหาร จัดการอยางไร มีทุนเทาไหร ไดมาจากไหน มีการผลิตอะไร ผลิตอยางไร มีการตลาดอยางไร มีสถานการณ การดําเนินงานที่เปนจุดออนและจุดแข็งอยางไร ซึ่งการคนหาคําตอบดังกลาวจะนําไปสูการเสนอแนว ทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ใหเขมแข็งในอนาคต เพราะถา หากวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 เกิดความเขมแข็ง ก็จะทําใหสมาชิกกลุม สามารถมีรายไดเพิ่มขึ้น ซึ่งมีความสอดคลองกับนโยบายการสงเสริมหมูบานเศรษฐกิจ ภายใตกรอบตัวชี้วัด 6×2 ดานการเพิ่มรายไดและดานการเรียนรู เกี่ยวกับการใชภูมิปญญาทองถิ่นในการเพาะพันธุกลาไม

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาบริบททั่วไปของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. เพื่อวิเคราะหสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาใหวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 มี ความเขมแข็ง

ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบถึงบริบททั่วไปของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ไดทราบถึงสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3. ไดทราบถึงแนวทางการแกไขปญหาและแนวทางการพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชนเพาะพันธุ กลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ใหเกิดความเขมแข็ง


ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตเชิงพื้นที่ พื้นที่ในการทําการวิจัย คือ บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตเชิงเนื้อหา 1. ศึกษาขอมูลบริบทของชุมชน ในดานบริบททางประวัติศาสตร บริบททางเศรษฐกิจ บริบททาง การเมือง บริบททางสังคมและวัฒนธรรม 2.ศึกษาขอมูลบริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ในดานประวัติ ความเปนมาและพัฒนาการของกลุม การบริหารจัดการ เงินทุน การผลิต การตลาด และผลการดําเนินงาน 3.ศึกษาขอมูลสถานการณภายในของกลุม โดยเปนการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของกลุม ใน ประเด็นการบริหารจัดการ เงินทุน การผลิต และการตลาด 4.ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับบทบาทของหนวยงานตางๆในการพัฒนากลุม และความตองการในการ พัฒนากลุม ขอบเขตของเวลา ผูวิจัยไดการวิจัยตั้งแตเดือนมิถุนายน-เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 เปนระยะเวลาทั้งหมด 3 เดือน

ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา ดังนี้คือ ประชากรในการศึกษา ไดแก ชาวบาน บานหวยยาง หมูที่ 6 จํานวน 858 คน กลุมตัวอยางในการศึกษา จากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง ทําใหไดกลุมตัวอยาง จํานวน 23 คน คือ 1.ผูนําชุมชนจํานวน 5 คน 2. สมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนเพาะพันธุกลาไม หมูที่ 6 จํานวน 18 คน


แนวคิดที่เกี่ยวของกับการวิจัย แนวคิดวิสาหกิจชุมชน การประกอบการโดยชุมชนที่มีสมาชิกชุมชนเปนเจาของปจจัยการผลิต ทั้งดานการผลิต การคา การเงิน และการใชปจจัยการผลิตใหเกิดดอกออกผลทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ที่กลาวมาเปน แนวคิดวิสาหกิจชุมชนที่เกี่ยวของกับการรวมกลุมของประชาชนในการประกอบอาชีพ ดังนั้น การศึกษา เรื่อง การวิเคราะหสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จึงตองมีการศึกษาเรื่องนี้เพื่อใหองคความรูสมบูรณมากยิ่งขึน้ แนวคิดวิสาหกิจชุมชนเปนแนวคิดที่มุงแปรรูปผลผลิตตามธรรมชาติ หรือสรางผลิตภัณฑ โดยครอบครัวในชุมชน โดยองคกรชุมชน(กลุม)และเครือขายองคกรชุมชนเพื่อการบริโภค และสรางรายได ใหแกชุมชนโดยมีหลักคิดสําคัญ คือ 1) สรางความหลากหลายของผลผลิต และผลิต ภัณฑในชุมชน 2) ผลิตเพื่อการบริโภคแบบพึ่งพาตนเองลดรายจายในครอบครัว 3) ผลิตและบริโภคเพื่อเสริมสรางสุขภาพ อนามัยที่ดีใหตนเอง 4 ) มีคุณธรรมรับผิดชอบตอสมาชิกคนอื่นๆที่อยูรวมกัน ในชุมชนไมเห็นแก ประโยชนดานกําไรสูงสุดและเอาเปรียบผูบริโภค และไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของ วิสาหกิจชุมชนที่คลายคลึงกัน อยางความหมายของ เสรี พงศพิศ (2548 : 40) กลาวไววา วิสาหกิจชุมชน คือ การประกอบการโดยคนในชุมชนเพื่อจัดการทุนของชุมชนอยางสราง สรรค เพื่อตอบสนองการพึ่งตนเอง และความพอเพียงของครอบครัว และชุมชนสวน วิชิต นันทสุวรรณ (อางในประภาส สุทธิอาคาร 2550 : 9) กลาววาวิสาหกิจชุมชนคือ การประกอบการ ซึ่งรวมถึงกระบวนการคิด การจัดการผลิต และทรัพยากรทุก ขั้นตอน โดยภูมิปญญาขององคกรชุมชน หรือเครือขายองคกรชุมชนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและการ เรียนรูของของชุมชน นอกจากนี้ตามพระราชบัญญัติสงเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 ไดใหคําจัดความ ของวิสาหกิจชุมชน วาคือกิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินคา การใหบริการหรือการอื่นๆที่ดําเนินการ โดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตรวมกัน และรวมตัวกันประกอบกิจกรรมดังกลาว ไมวาจะเปนนิติ บุคคลในรูปแบบใด หรือไมเปนนิติบุคคล เพื่อสรางรายได และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัวชุมชน และระหวางชุมชน นอกจากนี้แลว วิสาหกิจชุมชนยังมีความสําคัญตอสงเสริมการรวมตัวกันของคนในชุมชน เพื่อการประกอบธุรกิจในระดับชุมชน มีความมั่นคงสามารถลดการพึ่งพาจากภายนอกได สงเสริมความรู ภูมิปญญาทองถิ่น การพัฒนาความสามารถในการจัดการตรงตามความตองการของชุมชนที่แทจริง และ


วิสาหกิจชุมชนยังเปนกลไกในการสรางฐานที่มั่นของเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อครัวเรือนเปนหนวยการผลิตที่ เล็กที่สุดของสังคม จะตองคํานึงถึงการผลิต 2 วิถี คือ การผลิตเพื่อกินเพื่อใชโดยตรง(ขาว ปลา ผัก ผลไม ยารักษาโรค)และการผลิตเพื่อแลกเปลี่ยนหรือการซื้อขาย และวิสาหกิจชุมชนยังเปนเครื่องมือเพื่อบรรลุ วัตถุประสงคดานเศรษฐกิจและสังคม เปนเครื่องมือในการสรางฐานรากเศรษฐกิจ และสังคมใหเขมแข็ง เพื่อที่จะใหระบบเศรษฐกิจและสังคมสวนอื่นๆ ไดตอยอดบนฐานที่เขมแข็ง สามารถคงทนตอการ เปลี่ยนแปลงของโลกทุนนิยมได ชวยใหระบบเศรษฐกิจชุมชนมีความเขมแข็งพึ่งพาตนเองได มีความพรอม ที่จะพัฒนาสําหรับการแข็งขันในอนาคตบนฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลักษณะสําคัญของวิสาหกิจ ชุมชนประกอบดวย 1)ชุมชนเปนเจาของและเปนผูดําเนินการ 2) ผลผลิตมาจากขบวนการในชุมชนโดยใช วัตถุดิบ ทรัพยากร ทุน แรงงานในชุมชนเปนหลัก 3) ริเริ่มสรางสรรคเปนนวัตกรรมของชุมชน 4) เกิดบน ฐานของภูมิปญญาทองถิ่น 5) มีการดําเนินการแบบบูรณาการเชื่อมโยงกิจกรรมตางๆเปนระบบ 6)มีกระบวนการเรียนรูเปนหัว ใจสําคัญในการขับเคลื่อน 7) มีการพึ่งพาตนเองของครอบครัวและชุมชน เปนเปาหมาย 8) มิไดแสวงหาผลกําไร แตเนนคุณธรรมจริยธรรมพึ่งพาอาศัยกัน และไดมีแบงประเภทของ วิสาหกิจชุมชนออกเปน 2ประเภทคือ 1)วิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน เปนการผลิต การแปรรูป การดําเนินการ ตางๆ เพื่อกินเพื่อใชในครอบครัว ในชุมชนเพื่อสนองตอบความจําเปนพื้นฐาน 2)วิสาหกิจชุมชนกาวหนา เปนการดําเนินการอยางเปนระบบและดวยรูปแบบที่ทันสมัย ใชทุนและเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองชุมชน เครือขาย และตลาดในวงกวาง สิ่งหนึ่งที่เปนหลักการทําวิสาหกิจชุมชน คือการนําทุนที่มีอยูในชุมชนมาใช ทั้งทุนที่เปนเงินทุนที่เปนทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ํา ปา ทุนที่เปนผลผลิต ทุนความรู ภูมิปญญา ทักษะ ตางๆ ประเพณี วัฒนธรรม ทุนทางสังคม หรือความเปนพี่เปนนอง ความไวใจกันของชุมชน เครือขาย (ประภาส สุทธิอาคาร,2550 : 9 – 10 , 14 ) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะ แนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤติการณทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ํา แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยาง มั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลง มีหลักพิจารณา ดังนี้ กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางทีค่ วรจะเปนโดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิง


ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกิดไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน ตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้ง ใกลและไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้ง ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความ รอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อ สัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต แนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: แนวคิดใหมในการพัฒนาเศรษฐกิจ


1.1 เปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจโดยทั่วไป ผูบริหารเศรษฐกิจมีเปาหมายที่สําคัญสาม ประการคือ ดานประสิทธิภาพคือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมักจะพิจารณาจากการขยายตัว ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestio Product) ซึ่งแสดงวาในระยะเวลา 1 ป ประเทศผลิต สินคาและบริการรวมแลวเปนมูลคาเทาใด ดังนั้น การที่ประเทศมี GDP ขยายตัว จึงหมายถึงวาสังคมมีการ ผลิตสินคาและบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางตอเนื่อง มีทรัพยากรมากขึน้ ประชาชนโดยรวมมีความมั่งคั่งมาก ขึ้น ซึ่งการขยายตัวไดดีแสดงวาระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรที่ดี ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ การที่ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สําคัญไมเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว การไมมี shock ในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ประชาชนโดยทั่วไปยอมไมชอบการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว ทําใหปรับตัวไดยาก ในดานเสถียรภาพนี้มักจะมองไดหลายมิติคือ การมีเสถียรภาพในระดับราคา ของสินคา หมายถึง การที่ระดับราคาของสินคาไมเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ประชาชนสามารถคาดการณ ราคาสินคาและบริการได การมีเสถียรภาพของการมีงานทํา หมายถึง การที่ตําแหนงงานมีความเพียงพอตอ ความตองการของตลาดแรงงาน การมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ หมายถึง การที่ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศไมมีการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ซึ่งจะมีผลตอเสถียรภาพของราคา ในประเทศ และทําใหวางแผนการทําธุรกรรมระหวางประเทศมีความยุงยากมากขึ้น ดานความเทาเทียมกัน โดยทั่วไปหมายถึง ความเทาเทียมกันทางรายได เมื่อเศรษฐกิจมี การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา รายไดของคนในประเทศมีความแตกตางกันมากขึ้นเรื่อยๆ แสดงใหเห็นวามีคนเพียงกลุมนอยไดประโยชนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ สถานการณจะเลวรายไปกวา นี้อีก หากเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา มีคนจนมากขึ้นเรื่อยๆ 1.2 โครงสรางและเนื้อหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแสพระราชดํารัสใหผูบริหารประเทศและ ประชาชน เห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาที่สมดุล มีการพัฒนาเปนลําดับขั้น ไมเนนเพียงการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอยางรวดเร็วมาเปนเวลานานแลว เชนพระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517 ที่วา "ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้น เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใชของ


ประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควร แลว การชวยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวใหมีความพอกินพอใชกอนอื่นเปน พื้นฐานนั้น เปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งยวด เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอ ที่จะพึ่งตนเองยอมสามารถสราง ความเจริญกาวหนาระดับที่สูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน สวนการถือหลักที่จะสงเสริมความเจริญ ใหคอยเปน คอยไปตามลําดับดวยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อปองกันการผิดพลาด ลมเหลว" และ พระราชดํารัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517 " ใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวด " ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒนความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นัก ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการ รองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดมีการศึกษาโครงสรางและเนื้อหา โดยกลุมพัฒนากรอบ แนวคิดทางเศรษฐศาสตรของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจําแนกองคประกอบของปรัชญาเปนกรอบ ความคิด คุณลักษณะ คํานิยาม เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ สรุปวา กรอบความคิด ของ ปรัชญานี้ เปนการชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนทั้งแนวทางปฏิบัติและตัวอยางการประยุกตที่ เกิดขึ้น โดยปรัชญาใชไดทั้งระดับปจเจกชนครอบครัว ชุมชน ประเทศ ในที่นี้มองในแงการบริหารเศรษฐกิจ (ระดับประเทศ) เปนการมองโลกในลักษณะที่เปนพลวัต มีการเปลี่ยนแปลง มีความไมแนน และมีความ เชื่อมโยงกับกระแสโลก คือไมใชปดประเทศ แตในขณะเดียวกันก็ไมเปนเสรีเต็มที่อยางไมมีการควบคุมดูแล


ไมใชอยูอยางโดดเดี่ยวหรืออยูโดยพึ่งพิงภายนอกทั้งหมด คุณลักษณะเนนการกระทําที่พอประมาณบน พื้นฐานของความมีเหตุมีผลและการสรางภูมิคุมกัน ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีระบบภูมิคุมกันที่ดีตอผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลง หากขาดองคประกอบใดก็ไมเปนความพอเพียงที่สมบูรณ ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลาวอยางงายๆวาเปนการยืนไดโดยลําแขงของตนเอง โดย มีการกระทําไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค การผลิตอยูในระดับสมดุล การใช จาย การออมอยูในระดับที่ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ความมีเหตุมีผล หมายความวา การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอประมาณ ในมิติตางๆ จะตองเปนไปอยาง มีเหตุมีผล ตองเปนการมองระยะยาว คํานึงถึงความเสี่ยง มีการพิจารณาจากเหตุปจจัยและขอมูลที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิด การมีภูมิคุมกันการมีภูมิคุมกันในตัวดีพอสมควร พลวัตในมิติตาง ๆ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงในสภาวะตางๆ อยางรวดเร็วขึ้น จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ การกระทําที่เรียกไดวาพอเพียงไมคํานึงถึงเหตุการณและผลในปจจุบัน แตจําเปนตองคํานึงถึงความเปนไป ไดของสถานการณตางๆที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต ภายใตขอจํากัดของขอมูลที่มีอยู และสามารถสรางภูมิคุมกัน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เงื่อนไขการปฏิบัติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การมีความรอบรู รอบคอบระมัดระวัง มีคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต ความรอบรู คือ มีความรูเ กี่ยวกับวิชาการตางๆอยางรอบดาน ในเรื่องตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อใช เปนประโยชนพื้นฐานเพื่อนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมีการตัดสินใจที่ ถูกตอง ความรอบคอบ คือ มีการวางแผน โดยสามารถที่จะนําความรูและหลักวิชาตางๆมาพิจารณา เชื่อมโยงสัมพันธกัน ความระมัดระวัง คือ ความมีสติ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได ในการนํา แผนปฏิบัติที่ตั้งอยูบนหลักวิชาตางๆเหลานั้นไปใชในทางปฏิบัติ โดยเปนการระมัดระวังใหรูเทาทัน เหตุการณที่เปลี่ยนแปลงไปดวย ในสวนของคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งคลุมคนทั้งชาติ รวมทั้ง เจาหนาที่ นักวิชาการ นักธุรกิจ มีสองดานคือ ดานจิตใจ/ปญญาและดานกระทํา ในดานแรกเปนการเนน ความรูคูคุณธรรมตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความรอบรูที่เหมาะสม สวนดานการ กระทําหรือแนวทางดําเนินชีวิต เนนความอดทน ความเพียร สติ ปญญา และความรอบคอบ เงื่อนไขนี้จะทํา ใหการปฏิบัติตามเนื้อหาของความพอเพียงเปนไปได ปรัชญากลาวถึงแนวทางปฏิบัติและผลที่คาดวาจะ ไดรับดวย โดยความพอเพียงเปนทั้งวิธีการและผล (End and mean) จากการกระทํา โดยจะทําใหเกิดวิถีการ พัฒนาและผลของการพัฒนาที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ความสมดุลและความพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงหมายถึง ความสมดุลในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ใน ขณะเดียวกัน ความสมดุลของการกระทําทั้งเหตุและผลจะนําไปสู ความยั่งยืนของการพัฒนา ภายใตพลวัต


ทั้งภายในและภายนอกประเทศ จาก คุณลักษณะ ของปรัชญานี้ชี้ใหเห็นวา การบริหารเศรษฐกิจจะตองเปนทางสายกลาง รูเทาทันเพื่อการใชประโยชนจากกระแสโลกาวิวัฒน ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจจะไมใชการปดประเทศ ตอง สงเสริมการคาและความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ณัฏฐพงศ ทองภักดีและคณะ(2542) ชี้วาการ ใชประโยชนจากกระแสโลกาภิวัฒนตามแนวนี้ จะสอดคลองกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตรเรื่องการผลิตและ การคาทําตามความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศเปนหลักการสําคัญ นั่นคือการสรางความ ไดเปรียบอยางแทจริงของประเทศ นโยบายเศรษฐกิจจะตองสนับสนุนการแขงขันทางการผลิตและการคา เพื่อใหสังคมมีประสิทธิภาพ และผูบริโภคไดประโยชน ไมปกปองอุตสาหกรรมขนาดใหญ ไมมีความ ไดเปรียบในการผลิตโดยตั้งภาษีนําเขาสูง ซึ่งจะทําใหไมไดประโยชนจากการคาระหวางประเทศ เพราะ สินคานําเขาจะมีราคาแพง ตนทุนการผลิตในประเทศสูงขึ้น การสงออกทําไดยากขึ้นในขณะเดียวกันตองมี นโยบายสําหรับผูเดือดรอนจากการกระแสโลกาภิวัฒนใหปรับตัวได แนวคิดการพึ่งตนเอง การพึ่งตนเอง หมายถึง ความสามารถในการดํารงตนอยูไดอยางอิสระ มั่นคง สมบูรณ ซึ่งการ พึ่งตนเองไดนั้น มีทั้งในระดับบุคคล และชุมชน การพึ่งตนเอง ตองสามารถผันเปลี่ยนไปตามเวลาได เพื่อให เกิดความเหมาะสม สอดคลอง และสมดุล หลักการและแนวทางเพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองได ตามหลักทางสังคมวิทยามี 5 ประการ คือ 1.การพึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยี หมายถึง การมีปริมาณและคุณภาพของเทคโนโลยีทางวัตถุ เชน เครื่องไมเครื่องมือ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีทางสังคม เชน การจัดวางโครงการ การจัดการ เปนตน การรูจักใชอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการนําภูมิปญญาชาวบานมาใช หรือประยุกตใชใหเหมาะสม 2. การพึ่งตนเองไดทางเศรษฐกิจ หมายถึง ความสามารถในการทํามาหากินเลี้ยงชีพที่มีความ มั่นคงสมบูรณพูนสุขพอสมควรหรืออยางมีสมดุล 3. การพึ่งตนเองไดทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถในการใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด และความสามารถในการักษาทรัพยากรธรรมชาติใหดํารงอยูไมใหเสื่อมเสีย ไปจนหมดสิ้น หรือไมใหเสียสมดุลธรรมชาติ 4. การพึ่งตนเองไดทางจิตใจ หมายถึง การมีสภาพจิตใจที่กลาแข็ง เพื่อที่สามารถตอสูกับปญหา อุปสรรคตางๆ ทั้งการหาเลี้ยงชีพ การพัฒนาชีวิตใหเจริญกาวหนา การยึดมั่นปฏิบัติตนตามหลักทางสาย กลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา


5. การพึ่งตนเองไดทางสังคม หมายถึงการที่คนกลุมหนึ่งมีความเปนปกแผนเหนียวแนน มีผนู ํา ที่มีประสิทธิภาพ สามารถนํากลุมคนเหลานี้ใหดําเนินการใดๆ เพื่อบรรลุเปาหมายดวยตนเอง หรือสามารถ หาความชวยเหลือจากภายนอกเขามาชวย ทําใหชุมชนชวยตนเองได เสรี พงศพิศ (2548 : 40) แนวคิดการพัฒนาองคกรชุมชน ในการจัดตั้งกลุมหรือองคกรประชาชนเพื่อดําเนินกิจการตางๆ นั้น แบบแผนในการจัดตั้ง กลุมนับวาเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งสําหรับการพิจารณาวากลุมหรือองคกรนั้นๆ ไดมีการพัฒนาและมี องคประกอบของกลุมครบถวนถูกตองมากนอยเพียงใด ซึ่งจะเปนตัวบงชี้ถึงความสําเร็จหรือความลมเหลว ของกลุมที่จะดําเนินกิจกรรมตางๆ ของกลุมตามที่กําหนดไว ดังนั้น จึงขอนําเสนอแนวคิดออกเปน 2 ประเด็นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมกลุม และแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนากลุมเพื่อไปสู ความสําเร็จ ตามลําดับ ดังนี้ แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมกลุม สาเหตุที่มนุษยรวมตัวกันเพื่อจัดตั้งกลุมและสังกัดตนเองเปนสมาชิกกลุมนั้น เกิดจากปจจัย ที่เกี่ยวของหลายประการ เชน ปจจัยดานจิตวิทยา ปจจัยดานสังคมและเศรษฐกิจ เปนตน ซึ่งนักวิชาการได แสดงทัศนะและแนวคิดที่ใชอธิบายสาเหตุของการจัดตั้งกลุมของบุคคล ตลอดจน การสังกัดตนเองเขาเปน สมาชิกกลุมไว 2 แนวคิด คือ 1. เปนแนวคิดที่ไดกลาวถึงสาเหตุที่บุคคลจัดตั้งและเขารวมในกิจกรรมกลุมวามีสาเหตุหรือปจจัย ดึงดูดใหเขารวมกลุม 2 ประเภทหลัก ( สุรพล กาญจนะจิตรา และประภาส ศิลปะรัศมี 2529:14-16) คือ 1.1 ตัวกลุมเปนความตองการของบุคคล คือ บุคคลมีความพอใจในการรวมกลุมเพื่อสนองความ ตองการตนเอง เชน การรวมกลุมเปนสมาชิกสโมสรกอลฟ เพราะวาตนเองชอบกีฬาดังกลาวเหมือนกันกับ ตนเมื่อสรุปแลวคือบุคคลซึ่งเขารวมในกลุมประเภทนี้ เพราะมีความสนใจในกิจกรรมหรือโครงการของ องคการหรือกลุมนั้นๆ 1.2 การเขารวมกลุมจะเปนวิธีสนองความตองการมากกวาอยูนอกกลุม หมายถึง บุคคลเขาเปน สมาชิกของกลุมเพื่อเปนการมุงสูเปาหมายประการตางๆ ซึ่งถาอยูภายนอกกลุมจะไมสามารถบรรลุเปาหมาย ดังกลาวได เชน การที่นักศึกษาหญิงเขารวมเปนสมาชิกสมาคมสตรีในมหาวิทยาลัย เพื่อที่จะไดรับศักดิ์ศรี และชื่อเสียง และเปนที่ยอมรับของนักศึกษาโดยทั่วไปของมหาวิทยาลัย เปนตน


2. เปนแนวคิดที่กลาวถึงกลุมที่เปนทางการ และกลุมที่ไมเปนทางการ วาไดถูกจัดตั้งขึ้นจากหลาย สาเหตุดวยกัน เชน 2.1 จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองความตองการและความพึงพอใจของมนุษย จําแนกเปนความตองการดาน ความมั่นคงปลอดภัย (Security Need) ความตองการทางสังคม (Social Need) และความตองการชื่อเสียง เกียรติยศ (Esteem Need) 2.2 จัดตั้งขึ้นตามลักษณะความคลายคลึงกันและสิ่งดึงดูด หมายถึง กลุมมักจะถูกจัดตั้งขึ้นจากการที่ บุคคลไดมีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งการปฏิสัมพันธกันนั้นมักจะแยกประเภทกลุมที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะดังกลาว เปน 2 รูปแบบ คือการจัดตั้งขึ้นตามลักษณะความคลายคลึงกัน เชน สมาคมชาวทักษิณ หรือสมาคมคน พิการ เปนตน และการจัดตั้งตามสิง่ ดึงดูด หมายถึง กลุมที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะนี้เกิดจากสิ่งดึงดูดใหบุคคล รวมกัน เพราะมีทัศนะคติ หรือแรงจูงใจในบางสิ่งบางอยางที่คลายคลึงกันหรือเหมือนกันนั้นเอง เชน กลุมผู นิยมวัตถุโบราณ หรือชมรมอนุรักษวัฒนธรรม เปนตน 2.3 การจัดตั้งกลุมเพราะเหตุผลในเชิงผลประโยชนทางเศรษฐกิจ การจัดตั้งกลุมขึ้นในกรณีนี้เพราะ บุคคลมีความเชื่อวาถาหากรวมตัวเปนกลุมแลวจะไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจ จากงานที่กระทําอยู เชน นายจางจะรวมกลุมกันเปนกลุมเพื่อที่จะรวมกลุมกันกําหนดคาตอบแทนแกคนงานของพวกตนเอง เพื่อให อัตราคาตอบแทนหรือคาจางแรงงานอยูในอัตราเดี่ยวกัน หรือในทางตรงกันขาม คนงานหรือลูกจางมีการ รวมกลุมกันเพื่อลดการเอารัดเอาเปรียบของกลุมนายจาง หรือกลุมผลประโยชน และเรียกรองคาจางแรงงาน เพิ่ม เชน สมาพันธกรรมกร เปนตน เมื่อพิจารณาจากแนวคิด เรื่องการจัดตั้งกลุมและเหตุผลที่บุคคลเขารวมกลุมดังกลาวขางตน แลวสรุปไดวา สาระที่สําคัญหลักที่ทําใหบุคคลตองจัดตั้งกลุมและเขารวมกิจกรรมกลุมประกอบดวยสาเหตุ ที่บุคคลไมสามารถดํารงอยูในสังคมดวยตัวคนเดียวได จึงตองแสวงหาบุคคลที่มีลักษณะตางๆ ที่เหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน เชน ในดานแนวคิด ทัศนคติ แรงจูงใจ การปฏิบัติงาน หรือคานิยมก็ตามเพื่อรวมกลุมกัน ทํากิจกรรม ซึ่งเปนการตอบสนองตอความตองการของตนเอง ทั้งในดานทางสังคมวิทยาและจิตวิทยา และ สาเหตุที่บุคคลจัดตั้งกลุมและเขารวมกลุม เพราะเหตุผลในเรื่องผลประโยชน เชน ผลประโยชนในเชิงธุกิจ การงาน หรือเปาหมายในดานตางๆ ที่สนองความพึงพอใจของตนเอง


พัฒน บุรยรัตนพันธ (2527: 150) ไดกลาวถึงหลักการรวมกลุมของประชาชนในการพัฒนา ชุมชนวาควรจะเปนการรวมกลุมแบบ 3 ขั้น 8 ตอน ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ ขั้นที่ 1 วาดวยการจัดตั้งกลุม ในการจัดตั้งกลุม เชน กลุมอาชีพ กลุมสตรี หรือกลุมประเภทอื่นๆ มี หลักเกณฑอยู 8 ตอน คือ ตอนที่ 1 วาดวยผูนํา จะตองหาผูนําที่มีความถนัดในเรื่องนั้นโดยเฉพาะ ตอนที่ 2 วาดวยความตองการรวมกลุม กลุมจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อสมาชิกของกลุมนั้นมี ความตองการรวมกันหรือมีวัตถุประสงครวมกัน อาจตองการแกปญหารวมกันหรือดําเนินกิจกรรมอยางใด อยางหนึ่งรวมกัน ดังนั้นจึงตองสํารวจความตองการของแตละบุคคลกอนการรวมกลุม ตอนที่ 3 วาดวยความสมัครใจจริง ตอนที่ 4 วาดวยมีสิ่งแวดลอมคลายคลึงกัน ตอนที่ 5 วาดวยมีวัยเดียวกัน ตอนที่ 6 วาดวยเพศเดียวกัน ตอนที่ 7 วาดวยมีความสัมพันธตอกันไมมีความขัดแยงกัน ตอนที่ 8 วาดวยสถานการณบีบบังคับ ขั้นที่ 2 วาดวยการเคลื่อนไหวของกลุม ซึ่งจะผลักดันใหเกิดพลังการตอสูและพลังการตอรองใน โอกาสตอไป มีหลักเกณฑที่ควรยึด 8 ตอน คือ ตอนที่ 1 วาดวยการสงเสริมการประชุมพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และ เพื่อสรางความสัมพันธกลุม ตอนที่ 2 วาดวยการสงเสริมแนวคิด และการยกระดับจิตใจ ตอนที่ 3 วาดวยการสงเสริมการมีระเบียบวินัย ตอนที่ 4 วาดวยการสงเสริมพันธภาพบุคคล ทั้งสมาชิกภายในกลุมและบุคคลที่มีความ เกี่ยวพันกับสมาชิกภายในกลุม


ตอนที่ 5 วาดวยการสงเสริมกิจกรรมใหตอเนื่อง ตอนที่ 6 วาดวยการสงเสริมวิชาการ ตอนที่ 7 วาดวยการสงเสริมผลประโยชนรวม ตอนที่ 8 วาดวยสงเสริมและดํารงไวซึ่งสถานภาพผูกพันใหทุกคนมีบทบาทหนาที่ในกลุม ใหรูจักรับผิดชอบรวมกันกับกลุม ขั้นที่ 3 วาดวยการเจริญเติบโตของกลุม หมายถึง สมาชิกของกลุมเพิ่มจํานวนขึ้นและเกิดกลุมใหมๆ ตอเนื่อง และสัมพันธกับกลุมที่มีอยูเดิมในการดําเนินงาน เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกลุมวันนี้ มี หลักเกณฑที่ควรยึดถือดังนี้ ตอนที่ 1 วาดวยการเจริญเติบโตในสหพันธรวมกลุม เปนการทําใหกลุมเล็กๆ ซึ่งไดตั้งขึ้น ตามขั้นที่ 1 และมีพลังการเคลื่อนไหวแลวในขั้นที่ 2 ไดเขารวมกัน ตอนที่ 2 วาดวยสรางหนวยนํารวม คือ การนําเอาตัวแทนหรือผูนําของแตละกลุมมารวมกัน เรียกวาตั้งเปน “ หนวยนํารวม” ขึ้น ตอนที่ 3 วาดวยสรางผลประโยชนรวม ตอนที่ 4 วาดวยสรางกิจกรรมพึ่งพากัน ตอนที่ 5 วาดวยสวนวิชาการจากการที่กลุมไดมีผลประโยชนรวมกันและมีกิจกรรมพึ่งพา กันเกิดขึ้นแลว ซึ่งจะชวยเสริมสรางความสามารถและประสิทธิภาพกลุม ตอนที่ 6 สรางพลังรวมและดําเนินงานรวม ตอนที่ 7 ลดความสิ้นเปลืองรวม ตอนที่ 8 สรางพลังตอรอง จากแนวคิดดังกลาวขางตน จึงสรุปไดวา หลักการรวมกลุมของประชาชนควรเปนการ รวมกลุมที่มีกระบวนการหรือขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ การจัดตั้งกลุม การเคลื่อนไหวหรือการจัดกิจกรรมการ รวมกลุมและการพัฒนาของกลุม ซึ่งแตละขั้นตอนจะมีหลักเกณฑของกิจกรรมขั้นตอนละ 8 หลักเกณฑ


แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนากลุมเพื่อไปสูผลสําเร็จ การดําเนินกิจกรรมของกลุมเพื่อพัฒนาไปสูผลสําเร็จนั้น นักวิชาการไดเสนอแนวคิดและ หลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการพัฒนากลุมไวแตกตางกัน ซึ่งพอที่จะประมวลแนวคิดดังกลาวไดดังนี้ แนวคิดในการพัฒนากลุมองคกรประชาชนของสวนราชการ โกวิทย พวงงาม (2527 : 37-38) ไดเสนอแนวความคิดโดยรวบรวมขั้นตอนการพัฒนากลุม องคกร ประชาชนของสวนราชการไวดังนี้ 1.

การจัดตั้งกลุมตองคํานึงถึงความเหนียวแนนและประสิทธิภาพขององคกรเปนหลักเชน

1.1 กลุมจะตองเกิดจากความตองการของชุมชนและความสมัครใจ 1.2 กลุมจะตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนรวมกันของสมาชิก 1.3 กลุมจะตองมีความสัมพันธและบรรยากาศแหงความรวมมือของสมาชิก 1.4 กลุมจะตองกําหนดหนาที่ใหสมาชิกรูจักบทบาทหนาที่ของตน เห็นแกประโยชนของ กลุมมากกวาประโยชนสวนตน 1.5 กลุมตองกําหนดหนาที่สมาชิกใหชัดเจน นอกจากเหนือจากการประชุม 1.6 กลุมจะตองมีระเบียบวินัย อยูรวมอยางมีกฎเกณฑ 1.7 กลุมจะตองสามารถดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง ยั่วยุสมาชิกใหมาพบปะกันบอยครั้ง มีแผนงาน มีกิจกรรมสนองตอบความตองการของสมาชิก กลุมจะตองมีเปาหมายการเพิ่มสมาชิกหรือ ประเมินผลกลุมเอง 2. สวนราชการจะตองเขาใจปรัชญาและหลักการทํางานเพื่อการพัฒนาองคกรประชาชน มากกวาเพื่อมุงหวัง เพื่อประโยชนของหนวยงานโดยการ 2.1 วางรากฐานการทํางานพัฒนาในชนบทหมูบาน จะตองยึดหลักความสําคัญและการ สวนรวมของประชาชน โดยผานขั้นตอนขององคกรประชาชน เห็นความสําคัญและการมีสวนรวมของ


ประชาชนโดยผานขั้นตอนขององคกรประชาชน เห็นความสําคัญของกลุม เพื่อเปดโอกาสและฝกหัดการ ทํางานของกลุมเอง 2.2 จะตองมีเปาหมายในการลด การที่ประชาชนและองคตองพึ่งพาสวนราชการออกไป เชน ใชองคกรในตําบลใหเปนผูคิดริเริ่มทํางานปฎิบัติ และการวัดผลดวยตนเอง สวนราชการเปนเพียงผู ชวยเหลือแนะนําดานวิชาการเทานั้น 2.3 สวนราชการตองผสมผสานแผนการดําเนินการฝกอบรม และการใหความรูแกกลุม หรือองคกรประชาชนอยางเปนระยะ ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพขององคกรและความชํานาญใน เรื่องๆเพิ่มขึ้น สุรพล กาญจนะจิตรา และประภาส ศิลปะรัศมี (2529: 20-22) ไดกลาวถึงรูปแบบ กระบวนการพัฒนากลุมวาประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การยอมรับซึ่งกันและกัน นั่นคือในขั้นตอนของการจัดตั้งกลุม สมาชิกจะยังไม มีการติดตอสัมพันธซงึ่ กันและกันอยางดีที่เทาที่ควร สมาชิกปรารถนาจะแสดงความคิดเห็นทัศนคติอยาง เปดเผย ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนปรากฏการณธรรมชาติของแตละกลุมซึ่งมีภูมิหลังที่แตกตางกัน ตองเขารวมกลุม กิจกรรมกันเปนครั้งแรก แตอยางไรก็ตามจากกระบวนการกลุมแลว ในที่สุดสมาชิกแตละคนจะเริ่ม ติดตอสื่อสารซึ่งกันและกันวาพวกตนเองอยูในกิจกรรมเดียวกัน ขั้นตอนที่ 2 การติดตอสื่อสารและกระบวนการตัดสินใจ เมื่อกลุมไดถูกยอมรับกันใน ระหวางสมาชิกกลุมแลว สมาชิกจะมีการติดตอสื่อสารกันอยางเปดเผย และการติดตอสื่อสารเหลานั้นจะเปน ผลใหเพิ่มความสําคัญและการมีปฏิสัมพันธเพิ่มขึ้นภายในกลุม การถกเถียงหรืออภิปรายที่เกิดขึ้นในกลุมจะ เปนการแกไขปญหาในเรื่องงาน และพัฒนาขั้นตอนการทํางานเพื่อพัฒนาสูความสําเร็จของกลุม ขั้นตอนที่ 3 แรงจูงใจและผลผลิตของกลุม ขั้นตอนนี้จะเปนการพัฒนาของกลุมเพื่อพัฒนา กลุมเพื่อความสําเร็จในเปาหมายของกลุมรวมกัน และดําเนินงานรวมรวมใจกันในระหวางสมาชิกกลุม มิใช การแขงขันกันเองในระหวางสมาชิกกลุม ขั้นตอนที่ 4 ระบบองคการและการควบคุม เปนขั้นตอนที่กลุมไดเกิดบรรทัดฐานกลุม ขึ้น เพื่อใชเปนกฎเกณฑในการเปนแนวทางใหสมาชิกกลุมมีความผูกพันรวม และปฏิบัติตนใหเปนแนวทาง เดียวกัน เปาหมายของกลุมจะมีความสําคัญเหนือกวาเปาหมายสวนตัวของสมาชิกแตละคน กลุมจะสราง


กลไกในการบังคับใหสมาชิกกลุมปฏิบัติตามบรรทัดฐาน หรือกฎเกณฑของกลุม และถาสมาชิกคนใดไม ปฏิบัติตามหรือเบี่ยงเบนออกจากกฎเกณฑที่กลุมตั้งไว กลุมจะใชการควบคุมและจะลงโทษสมาชิกดวยการ ตอตานหรือปลดออกจากสมาชิกของกลุมตอไป

งานวิจัยที่เกี่ยวของ พงษพัฒน วันทองสุข (2547) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอการสรางความเขมแข็งของกลุม เกษตรกรนาทอง กรณีศึกษา บานแบก ตําบลนาทอง อําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ไดพบวาปจจัย ที่ สงผลตอความเขมแข็งของกลุมเกษตรกรบานแบก มีดังนี้ 1. ปจจัยระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเอง เนื่องจากชุมชนมีสภาพภูมิประเทศ สภาพแวดลอมและทรัพยากรที่เหมาะสม จึงทําใหบานแบกมีการทําการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานา ขาวและการทําสวน เนื่องจากเปนที่ราบลุมน้ําทวมถึงของเขตแมน้ําชีที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ ปจจุบันมีระบบ ชลประทานเพื่อสงน้ําแกพื้นที่ของเกษตรกรจึงทําใหเกษตรกรสามารถทํานาไดถึงปละ 2 ครั้ง และสามารถ ทําการปลูกพืชสวนได สมาชิกกลุมเกษตรกรที่ทําการศึกษารอยละ 92 มีการใชน้ําในการทําการเกษตรตลอด ป และนอกจากนี้แลวยังมีถนนหนทางตัดสูพื้นที่ทําการขนสงสินคาเปนไปในทางที่สะดวก 2. ปจจัยทางดานความสัมพันธทางสังคม ที่แนนเฟนทําใหไดรับการชวยเหลือจาก องคกรหรือบุคคลภายนอก ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของกลุมเกษตรกรมีปจจัยจากการชวยเหลือจากบุคคล และองคกรภายนอก ไดแก กองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม โครงการฟอมวัน โครงการธนาคารโค กระบือ จากสถาบันทางศาสนา 3. ปจจัยทางดานคานิยมจากศาสนธรรม วัฒนธรรมและประเพณีของชุมชน สมาชิกของ กลุมเกษตรกรมีความสัมพันธในองคกรชุมชนอยางใกลชิด สนิทสนมมีการพึ่งพิงอาศัยกันอยางยิ่ง ทําให กิจกรรมสามารถดําเนินไปอยางราบรื่นและในการยึดมั่น (ฮีตคอง) ของสังคมยังคงมีการสืบสานจนเปน เอกลักษณ โดยเฉพาะประเพณีบุญเบิกฟาที่จังหวัดมหาสารคาม 4. ปจจัยและกระบวนการเรียนรูเพื่อชีวิต สมาชิกเกษตรกรจะไดรับประสบการณตรง จากการปฏิบัติของตนเองทําใหมีทักษะในการประกอบอาชีพเปนอยางมากและนอกจากนี้ทางกลุมยังไดมี


การจัดศึกษาดูงานแก สมาชิกอยางนอยที่สุดปละ 1-2 ครั้ง มาโดยตลอดในการดําเนินกิจกรรมภายในกลุม หากมีปญหา ประธานก็จะมีการนัดประชุมวิสามัญเพื่อหาขอยุติปญหาของตนเองเปนคราวๆ ไป กองวิจัยและประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน (2550) ไดทําการวิจัยโดยมีการศึกษาถึงปญหาและ อุปสรรคที่สงผลตอการดําเนินงานของกลุมเกษตรกร ซึ่งไดมีการทําการศึกษาขอมูลจากกลุมเกษตรกรที่มีผล การดําเนินงานดี จํานวน 4 กลุม และกลุมที่มีผลการดําเนินงานไมดี จํานวน 4 กลุม รวมกลุมเกษตรที่ ทําการศึกษาทั้งหมด 8 กลุม ประชากรที่ทําการศึกษา ไดแก สมาชิกกลุมเกษตร จํานวน 95 คน กรรมการบริหารงานกลุมเกษตร จํานวน 15 คน กรรมการสภาตําบล จํานวน 29 คน และพัฒนากร จํานวน 9 คน รวมถึงประชากรที่ศึกษาทั้งสิ้น 148 คน โดยผลการศึกษาพบวาในการดําเนินงานของกลุมเกษตรกร ซึ่ง ไดพบปญหาตางๆ ดังนี้ 1. สมาชิกบางคนไมมีเวลาในการเขารวมกิจกรรม เพราะตองประกอบอาชีพ และบางคนอยู หางไกลทําใหลําบากในการติดตอ 2. ขาดวัสดุอุปกรณที่ตองใชในการฝกอบรมหรือเพิ่มพูนความรูใหแกสมาชิกกลุม 3. สมาชิกบางคนไมมีเงินทุนพอที่จะนําความรูที่ไดรับจากการฝกอบรมไปใชในการ ประกอบอาชีพ 4. การอนุมัติโครงการลาชาไมสอดคลองกับระยะเวลาที่สมาชิกสวนใหญ วางจากการ ประกอบอาชีพ 5. คณะกรรมการบริหารงานกลุมไมเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเอง 6. เจาหนาที่พัฒนาชุมชนมีไมเพียงพอ ทําใหไมสามารถเอาใจใสตอกลุมไดเต็มที่ และมี การโยกยายสับเปลี่ยนเจาหนาที่บอยๆ ทําใหการดําเนินงานไมตอเนื่อง 7. สมาชิกกลุมไมมั่นใจวาผลิตภัณฑที่ตนผลิตได จะสมารถจําหนายไดตลอดไป

พนมพร ขันธวิไชย (2536) ไดทําการวิจัยโดยใชการวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษาสภาพปญหาดาน การผลิตของเกษตรกร : กรณีศึกษาหมูบานในจังหวัดสกลนคร โดยมีการศึกษาเกษตรกรที่อยูในเขตพื้นที่


โครงการชลประทานน้ําอูน และเกษตรกรที่อยูนอกเขตพื้นที่โครงการชลประทานน้ําอูน ซึ่งไดพบวา เกษตรกรมีปญหาดานการผลิตดังตอไปนี้ 1. ปญหาดานการผลิตเกี่ยวกับตนทุนในการผลิตที่สูง ในการทําการเกษตรตองมีตนทุนในการผลิต ไมวาจะเปน ปุยเคมี สารเคมี เมล็ดพันธุขาว ยาปราบศัตรูพืช ที่นับวันจะมีราคาสูงขึ้นทุกป อีกทั้งในการทํา การเกษตรมีขั้นตอนหรือกระบวนการหลากหลายขั้นตอน คาใชจายเกี่ยวกับการผลิตจึงมีมากขึ้น 2. ปญหาดานการผลิตเกี่ยวกับการใชปุยเคมี ในการทํานาของเกษตรกรทั้งเกษตรกรทั้ง 2 กลุม มีการ ใชทั้งปุยคอกและปุยเคมี เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา การใชปุยคอกทําใหดินรวนซุยสะดวกตอการ ทํานา แตปุยคอกทําใหขาวเจริญเติบโตชา และมีชวงอายุของการใชนาน เกษตรกรนําปุยคอกมาใสที่นา กอนที่จะเริ่มทํานาและตองใสในปริมาณมากดวย แตสําหรับการใสปุยเคมีนั้นทําใหขาวเจริญเติบโตอยาง รวดเร็วไดผลผลิตเยอะ จึงทําใหเกษตรกรเลือกที่จะใชปุยเคมีในการทําการเกษตรมากวาปุยคอก 3. ปญหาดานการผลิตเกี่ยวกับการใชยาปราบวัชพืช ในการทําการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานา จะตองมีวัชพืชที่เปนปญหาสําหรับนาขาว คือ หญาขนตาชาง ซึ่งเกษตรกรมีวิธีการกําจัดโดยการถอนใน ขณะที่ตนยังเล็ก ถาปลอยใหตนโตจะทําใหตนขาวไมเจริญเติบโต วัชพืชที่เปนปญหาในนาขาวมีหลายชนิด เชน หญาไขเขียด หญาผักบั่ว หญาปกแมงดา เปนตน การกําจัดวัชพืชเหลานี้จึงไมสามารถถอนไดอยางเดียว จึงทําใหเกษตรกรมีการใชยาคุมหญาและยาฆายา แตถาใชยาที่มีปริมาณมากเกินไป จะทําใหขาวไม เจริญเติบโตและบางครั้งขาวอาจตายได และอาจสงผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกรและบุคคลใกลชิด ทําใหเกิดอาการไมสบาย เชน อาเจียน ปวดศีรษะ เนื่องจากยามีกลิ่นเหม็นมาก เมื่อมีการหวานยาฆาหญาลง ไปในนาขาว ก็จะทําใหสัตวน้ําทุกชนิดตายหมด และมีน้ําสีเหลือง ทําใหเกษตรกรไมกลาลงไปในน้ําเพราะ กลัวยาจะซึมเขาไปในรางกาย 4. ปญหาดานการผลิตเกี่ยวกับการใชสารเคมี เกษตรกรทั้งกลุมที่อยูในเขตพื้นที่โครงการ ชลประทานน้ําอูนและที่อยูนอกเขตพื้นที่โครงการชลประทานน้ําอูน ตางก็ประสบกับปญหาศัตรูพืชเขา ทําลายตนขาว การใชยาปราบศัตรูพืชที่ทํามาจากสมุนไพรตามธรรมชาติ ไมวาจะเปน สะเดา ขี้เหล็ก สาบเสือ หรือพืชชนิดอื่นๆ เมื่อนําไปฉีดพนในนาขาวก็สามารถกําจัดศัตรูพืชไดเปนสวนนอย ในนาขาวสวน ใหญเปนจําพวก หอยเชอรรี่ แมลงตางๆ ที่กัดกินใบขาว จึงทําใหเกษตรกรมีการใชสารเคมีในการกําจัด ศัตรูพืช จึงทําใหเกษตรกรบางรายเกิดอาการแพยาตองนําสงโรงพยาบาลดวน และบางรายที่ใชติดตอกันนาน ทําใหสารพิษสะสมอยูในรางกาย จึงถือวาสงผลอันตรายตอสุขภาพ


5. ปญหาดานการผลิตเกี่ยวกับการเตรียมดิน ในการทํานาเกษตรกรสวนใหญมีการใชแรงงานจาก ควายเพื่อไถเตรียมดิน สําหรับการใชรถไถเดินตามมีเพียงรอยละ 15 เทานั้น เนื่องจากเกษตรกรสวนมากไมมี รถไถนาเดินตามเปนของตนเอง ตองไปจางในอัตราไรละ 210 บาท ซึ่งเปนการลงทุนที่คอนขางสูง จึงทําให เกษตรกรตองเสียคาใชจายในสวนที่เปนตนทุนในการเตรียมดินอยางมาก แตเกษตรกรก็พอใจเพราะสามารถ ทํางานใหเสร็จเร็วได 6. ปญหาดานราคาผลผลิต เกษตรกรทั้ง 2 กลุม สวนใหญเปนสมาชิกของธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรกรและมีการกูยืมเงินมาลงทุนในการทํานาเมื่อเก็บเกี่ยวขาวเสร็จ ก็จะนํา ขาวไปขาย ซึ่งราคาขาวก็จะมีราคาต่ํามาก แตเกษตรกรมีความจําเปนตองขายเพื่อนําเงินไปใชหนี้ธนาคารที่กูยืมมาและ เปนคาใชจายในครอบครัว พอถึงชวงการปกดํา ราคาขาวก็จะสูงขึ้นแตเกษตรกรก็จะไมมีขาวที่จะขายแลว ซึ่งเกษตรกรก็รูวาราคาขาวชวงใดราคาสูงและราคาต่ํา ทําใหเกษตรกรขายขาวในราคาที่ต่ํา ไมคุมกับตนทุน ที่ใชในการผลิต จากการทบทวนงานวิจัยดังกลาวทั้งหมด ทําใหผูวจิ ัยไดเห็นวา ในงานวิจัยชิ้นแรก จะเปน การศึกษาถึงปจจัยที่เสริมสรางและทําใหกลุมเกิดความเขมแข็ง สวนงานวิจัยชิ้นที่สอง เปนการศึกษาถึง ปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงานกลุม โดยมีการเปรียบเทียบกลุมตัวอยางใหเห็นอยางชัดเจน และใน งานวิจัยชิ้นสุดทาย มีการศึกษาถึงปญหาดานการผลิตของเกษตรกรในหลายๆดาน นอกจากนี้แลวในงานวิจัย ชิ้นนี้ยังไดศึกษาถึงแนวทางการแกไขปญหาดานการผลิตของเกษตรกรอีกดวย จึงถือไดวางานวิจัยทั้ง 3 ชิ้นนี้ มีการศึกษาในประเด็นที่มีความแตกตางกัน แตก็ไดมีการศึกษาในประเด็นนั้นๆอยางละเอียดครบถวน ผูวิจัย จึงจะขอนําแนวทางของงานทั้ง 3 ชิ้นนี้มาเปนแนวทางในการศึกษาและทําการวิจัย เพื่อใหไดประเด็น เนื้อหา ที่มีครอบคลุม ละเอียดและมีความสมบูรณมากที่สุด

วิธีดําเนินงานวิจัย ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดใชระเบียบวิธีวิจัย แบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูวิจัยไดใชวิธีใน การศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการ ดังนี้ 1.การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 2.สัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เชน ประธานกลุม รองประธาน กรรมการกลุม สมาชิกกลุม


3. การประชุมกลุมยอย ( Focus Group ) 4. การศึกษาเอกสารมือสอง ไมวาจะเปน แผนชุมชน เอกสารตางๆ ของกลุม 5. เทคนิควิธีการ SWOT Analysis ซึ่งเปนการวิเคราะหสถานการณภายในตามหัวขอดังนี้ SWOT เปนคํายอมาจากคําวา Strengths, Weaknesses, Opportunities, and Threats Strengths คือ จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถและสถานการณภายในองคกรที่เปนบวก ซึ่ง องคกรนํามาใชเปนประโยชนในการทํางานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง การดําเนินงานภายในที่ องคกรทําไดดี Weaknesses คือ จุดออน หมายถึง สถานการณภายในองคกรที่เปนลบและดอย ความสามารถ ซึ่งองคกรไมสามารถนํามาใชเปนประโยชนในการทํางานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค หรือ หมายถึง การดําเนินงานภายในที่องคกรทําไดไมดี Opportunities คือ โอกาส หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกที่เอื้ออํานวยใหการ ทํางานขององคกรบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกที่เปนประโยชนตอการ ดําเนินการขององคกร Threats คืออุปสรรค หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกที่ขัดขวางการทํางานของ องคกรไมใหบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึงสภาพแวดลอมภายนอกที่เปนปญหาตอองคกร บางครั้งการจําแนกโอกาสและอุปสรรคเปนสิ่งที่ทําไดยาก เพราะทั้งสองสิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงไป ซึง่ การเปลี่ยนแปลงอาจทําใหสถานการณที่เคยเปนโอกาสกลับกลายเปนอุปสรรคได และในทางกลับกัน อุปสรรคอาจกลับกลายเปนโอกาสไดเชนกัน ดวยเหตุนี้องคกรมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองปรับเปลี่ยนกล ยุทธของตนใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณแวดลอม

นิยามศัพทเฉพาะ


กลุม หมายถึง วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ปญหา หมายถึง สิ่งที่ขัดขวางหรือเปนอุปสรรคในการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ความเขมแข็ง หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการกลุมของตนเอง ใหสามารถ ดํารงอยูและพัฒนาใหเกิดศักยภาพ สถานการณภายใน หมายถึง จุดแข็งและจุดออน รวมถึงปญหา สถานการณการดําเนินงาน ของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


บทที่ 2 บริบททั่วไปของชุมชน

ประวัติศาสตรหมูบาน จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานไดเลาวา ชาวบานหวยยางนั้นไดอพยพมา จาก บานมั่น เมืองเซะ สาละวัน คําทอง เมืองวัง ของประเทศลาว โดยการนําของนายยาง( ทาวโพธิสาร) และ นายโตะ โดยเดินทางขามแมน้ําโขง เขาสูจังหวัดนครพนม แลวเดินทางตอจนมาถึงภูพาน ซึ่งปจจุบันคือบาน หวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร และไดเลือกพืน้ ที่นี้เปนที่ตั้งหมูบาน เพราะเห็นวาที่แหงนี้มีดิน มีน้ํา ที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูกอยางยิ่ง จึงเปนที่มาของชื่อหมูบาน หวยยาง เนื่องจากนําชื่อของผูตั้งหมูบานมาเปนชื่อของหมูบาน ตอมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุล จีงตั้ง นามสกุลวา “ ยางธิสาร” โดยนําเอาชื่อผูตั้งหมูบานผสมกับชื่อหมูบานหวยยาง ในปพ.ศ. 2510 บานหวยยางไดถูกประกาศเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆ ของจังหวัด สกลนคร เปนหมูบานที่ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้งดวยกัน จนตองอพยพไปอยูหมูบานอื่น ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุม ในครั้งที่ 1 ยายไปอยูบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูที่บานโคกสําราญ ตําบลชมพูพร จังหวัดบึงกาฬ สวนครั้งที่ 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายไป ตามญาติพี่นอง 3 กลุมคือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยานไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบงคลา จังหวัดหนองคาย ตอมาในปพ.ศ.2524 บานหวยยางพบกับปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ.ศ. 2510 ชาวบานหวยยางจึง พากันไปขอทานตามจังหวัดใกลเคียง เชน นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ ประมาณ 90 % ของครัวเรือน ทั้งหมดจนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวส พาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัด สกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบขาว พระองคทานไดมี คําสั่งใหกรมชลประทานสรางอางเก็บน้ําหวยโท หวยยางขึ้น ในปพ.ศ.2528 แลวเสร็จในปพ.ศ.2530 ในการ


นี้ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเองในปพ.ศ.2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาทําใหชาวบานบานหวย ยางและหมูบานใกลเคียงเขตตําบลเหลาโพนคอ มีน้ําสําหรับการทําเกษตร และเปนหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียง จากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจนํารองดานเกษตรอันดับ 1 ของอําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะการเพาะพันธุกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ในปพ.ศ.2548 หมูบานหวยยางไดรับคัดเลือกองคกรพัฒนาประชาชน (คอป) ไดรับ งบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ และติดอันดับ 1 ใน 2 หมูบานในภาคอีสานในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม

สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง

บานหวยยาง หมูที่ 6 ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ บานหวยยางนั้นตั้งอยูใกลกับอุทยานแหงชาติภู ผายล เดิมบริเวณนี้จะเต็มไปดวยปาไม พืชพันธุธรรมชาติ และสัตวปานานาชนิด ซึ่งในปจจุบันไดลด นอยลง เนื่องจากการขยายตัวของประชากรในชุมชน ทําใหความตองการที่จะทํามาหากินเพิ่มมากขึ้น ระหวางหมูบานกับภูเขา สภาพพื้นที่ในหมูบานหวยยางนั้นถือวาเหมาะแกการเพาะปลูก ทําไร ทํานา เพราะ มีแหลงน้ําเพียงพอในการทําการเกษตร สวนภูมิอากาศ มีทั้งหมด 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูหนาว ฤดูฝน ในฤดู หนาวนั้นจะมีอากาศที่หนาวเย็นมาก อาณาเขต มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ตางๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดเขตบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต

ติดกับเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก ติดเขตบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันตก ติดเขตบานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร


โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง บานหวยยางครอบคลุมพื้นที่การปกครอง จํานวน 2 หมูบาน คือ บานหวยยาง หมูที่ 6 และบาน หวยยางเหนือ หมูที่ 9 ซึ่งถือเปนชุมชนขนาดใหญ โดยบานหวยยาง หมูที่ 6 มีครัวเรือนทั้งหมด 199 ครัวเรือน ประชากรรวมทั้งสิ้น 1,010 คน แยกเปนชาย 255 คน หญิง 485 คน มีผูสูงอายุทั้งสิ้น 62 คน แยก เปนผูสูงอายุเพศชาย 27 คน ผูสูงอายุเพศหญิง 35 คน มีผูพิการทั้งหมด 12 คน ผูพิการชาย 6 คน ผูพิการ หญิง 7 คน มีครอบครัวที่ตกเกณฑ จปฐ. จํานวน 3 ครอบครัว และมีจํานวนผูสามารถใชสิทธิ์เลือกตั้งทั้งหมด 666 คน โดยมีการแบงการปกครองออกเปน 4 คุม ดังนี้ 1.

คุมวัดโพธิ์ชัย หัวหนาคุม ชื่อ นายสาคร ยางธิสาร

2.

คุมแสงสวาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายเมคินธ ยางธิสาร

3.

คุมโรงเรียน

หัวหนาคุม ชื่อ นายหวล ยางธิสาร

4.

คุมบานนอย

หัวหนาคุม ชื่อ นายเรง ยางธิสาร

มีผูใหญบานทั้งหมดดังนี้ 1.

นายชม บุญเรืองจักร

2.

นายทอน ยางธิสาร

3.

นายไท

4.

นายพาดี ยางธิสาร

5.

นายเลา

6.

นายหวง ยางธิสาร

ยางธิสาร

ยางธิสาร


และปจจุบัน มีผูใหญบานชื่อ นายหวล ยางธิสาร ผูชวยผูใหญบาน

1. นายเมคินธ ยางธิสาร 2.นางญาณี ยางธิสาร 3. นายวีระชัย แสนธิจักร (ผรส.)

สมาชิก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ (ส.อบต) 1.

นายสุรัน ยางธิสาร

2.

นายสาคร ยางธิสาร

การประกอบอาชีพ ชาวบานในหมูบานหวยยางสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมีอาชีพทํานา 199 ครอบครัว ทําสวน 32 ครอบครัว อาชีพเลี้ยงสัตว 85 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 10 คน ประกอบอาชีพ เพียงอาชีพเดียว 24 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 12 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบาน จํานวน 32 คน และนอกจากอาชีพเหลานี้แลว ยังมีอีกอาชีพหนึ่ง ที่สามารถสรางรายไดใหกับชาวบานหวยยางไดไมนอย นั้นคือการเพาะพันธุกลาไม ซึ่งมีการทําเกือบทุกครัวเรือน อาชีพนี้อาจถือวาเปนอาชีพหลักสําหรับหลาย ครอบครัว ซึ่งมีการทําตลอดทั้งป


ภาพประกอบ 1 การทํานา ถือเปนอาชีพหลักของชาวบาน

ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรมและพิธีกรรม ชาวบานหวยยาง ไดดําเนินวิถีชีวิตประจําวันตามหลักของฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณี ที่นับถือมาแตโบราณกาล มีเรื่องวัฒนธรรมความเชื่อเรื่องการนับถือผี เชน ผีปูตา ซึ่งในเดือน 3 ของแตละ ปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ชาวบานจะชวยกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาจากชาวบานในหมูบานเพื่อนํามาซื้อไก ไวใชในการทําพิธี โดยมีตัวแทนในการทําพิธี เรียกกันวา เจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักประเพณีที่ยึดถือและ ปฏิบัติสืบทอดกันมา ชาวบานหวยยางนั้นถือเปนชาวผูไท โดยจะใหความสําคัญและมีความเชื่อ ในการนับ ถือผี โดยจะเห็นไดจากวา หากมีคนในหมูบานปวยหรือไมสบาย พาไปหาหมอแลวก็ยังไมหาย ชาวบานก็ จะใชการรักษาแบบการบูชาผี หรือการเหยา โดยเปนการเสี่ยงทายวาผูเจ็บปวยทําผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไร จึงจะสามารถปฏิบัติเพื่อใหอาการเจ็บปวยหายไป


วัฒนธรรมประเพณีของคนภูไทในบานหวยยาง จะถูกอบรมสั่งสอนมา ใหยึดหลักความ ถูกตองในทุกๆเรื่อง จะเนนในเรื่องไมใหทําผิดศีลธรรม โดยเฉพาะศีลหา และเนนไมใหไปผิดลูกเขาเมีย ใคร ผูเฒาผูแกก็จะคอยสั่งสอนลูกหลานใหอยูในธรรมเนียมประเพณีในเรื่องชูสาว เพราะอาจจะทําใหผิดผี ได ผิดผีในที่นี้คือ ผิดประเพณีการปฏิบัติที่ดีงามของบรรพบุรุษ คือ เจาปูแหงหมูบานนัน้ เอง ถาทําผิดแลวก็มี ความเชื่อวาอาจกอใหเกิดเหตุเภทภัยขึ้นตอผูคนในหมูบานหรืออาจเกิดเรื่องรายๆขึ้นตอคนในครอบครัวที่ทํา ผิดนั้นได แตหากมีผูทําผิดประเพณีแลว ตองมีการแกเคล็ดโดยการไหวเจาปู ดวยวิธีการที่บรรพบุรุษสืบ ถอดกันมาเพื่อประกาศใหคนทั้งหมูบ าน และภูตผีเทวดาไดรับรู วาไดทําการขอขมาลาโทษ ตอผูเฒาผูแกที่ ตนเคารพนับถือคือสารภาพบาปนั้นเอง ก็จะไดรับการใหอภัยจากภูตผีเทวดาและจากญาติพี่นองของตนเอง รวมไปถึงคนในหมูบานดวย ภาษา ชาวบานในหมูบานหวยยางจะใชภาษาผูไทในการสื่อสาร และยังคงรักษาไวได ดวยดีตลอดมา ภาษาผูไทเปนภาษาที่พูดแปรงไปจากภาษาลาวและภาษาไทยภาคกลาง ซึ่งไมสามารถอธิบาย เปนภาษาเขียนได เพราะหลายคํา มีเสียงไมตรงกับวรรณยุกตใด จะขอยกตัวอยางคําบางคําที่พอจะอธิบาย เปนภาษาเขียนไดพอใกลเคียง ดังนี้ คําที่มีสระ เ-อือ , -อัว จะเปนสระ เ-, เ-อ, โอ เชน เมีย - เม , เขียน - เขน , เขียด - เคด

เสื่อ - เสอ ,เลือด - เลิด , เมือง - เมิง , ผัว - โผ , ดวน – โดน เปนตน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บานหวยยาง เปนหมูบา นที่มีสภาพแวดลอมที่ดี ตั้งอยูทามกลางธรรมชาติ มีทุงนาลอมรอบ และอยู ติดเทือกเขาภูพานในทางทิศใต มีปาชุมชนซึ่งชาวบานใชประโยชนรวมกัน 1 แหง และมีแหลงน้ําที่สําคัญที่ ใชในการทําการเกษตร 1 แหง คือ อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง เนื่องจากบานหวยยางมีที่ตงั้ ใกลกับอุทยาน แหงชาติภูผายลซึ่งมีความอุดมสมบูรณมาก ทําใหชาวบานดําเนินชีวิตโดยพึ่งพา และใชประโยชนจากปา


ชาวบานมีการไปหาของปา ไมวาจะเปน เห็ด หนอไม ผักตางๆ มาใชในการประกอบอาหาร

ภาพประกอบ 2 เห็ดธรรมชาติ (เห็ดระโงก)

ภาพประกอบ 3 หนอไมธรรมชาติ

อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง เปนแหลงน้ําขนาดใหญ สําหรับใหชาวบานในหมูบานหวยยาง และหมูบานใกลเคียง ไวใชประโยชนในการทําการเกษตร การทําประมงปลาน้ําจืด เนื่องจากอยูไมไกลจาก หมูบานมากนัก จึงทําใหสามารถเดินทางไปทองเที่ยวไดอยางสะดวก

ภาพประกอบ 4 อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง สถานบริการของรัฐและสถานที่สําคัญของชุมชน 1.

วัด

4 แหง

2.

ที่อานหนังสือพิมพ

1 แหง

3.

หอกระจายขาว

1 แหง


4.

โทรศัพทสาธารณะ

1 แหง

5.

ศูนยสาธารณสุขมูลฐาน

1 แหง

6.

รานคา/ ขายของชํา

8 แหง

7.

รานซอมรถ

2 แหง

8.

รานตัดผม

1 แหง

9.

ประปาหมูบาน

1 แหง

องคกรชุมชน

1.

กลุมวิสาหกิจชุมชนเพาะพันธุกลาไม จํานวน 27 คน ชื่อประธาน นายธีรพงศ ยางธิสาร

2.

กลุมเยาวชน จํานวน 45 คน ชื่อประธาน นายชัชวาล ยางธิสาร

3.

กลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวน 65 คน ชื่อประธาน นางจิตนา พลราชม

4.

กลุมเลี้ยงโคพันธุ พื้นเมือง จํานวน 84 คนชื่อประธาน นายมวลชัย ยางธิสาร

5.

กลุมทอผาไหม จํานวน 27 ชื่อประธาน นางเรณู ยางธิสาร

6.

กลุมผลิตปุยชีวภาพ จํานวน 42 คนชื่อประธาน นายหวล ยางธิสาร


บทที่ 3 บริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูท ี่ 6 ในการศึกษาบริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 นั้นไดมี การศึกษาในประเด็นตางๆ ทั้งพัฒนาการความเปนมาของการกอตั้งกลุม อุดมการณของกลุม ( วิสัยทัศนของ กลุม ภารกิจของกลุม วัตถุประสงคของกลุม ) การบริหารจัดการของกลุม กฎระเบียบ ขอบังคับกลุม ทุนในการดําเนินงานของกลุม ผลการดําเนินงานของกลุม ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

พัฒนาการความเปนมาของการกอตั้งกลุม ชาวบานในหมูบานหวยยางสวนใหญ ประกอบอาชีพทํานา และมีอาชีพเสริม คือ การ เพาะพันธุกลาไม แตเดิมชาวบานหวยยางไมมีความรูในการเพาะพันธุกลาไมเลย แตเมื่อป พ.ศ. 2525 ไดมี โอกาสไปรับซื้อตนกลามะกรูด มะนาว และพันธุพืชอื่นๆ จากกลุมเพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา ตําบล ดานมวงคํา อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มาเรขาย ผลปรากฏวาทําแลวไดกําไรนอย นายเรง ยางธิสาร (ประธานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางเหนือ) จึงมีความคิดวานาจะเรียนรูวิธีการเพาะพันธุ กลาไมจากกลุมเพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา แลวนํามาทําการเพาะพันธุกลาไมเพื่อนําไปขายเองในป พ.ศ. 2528 ซึ่งในปนี้บานหวยยางไดแยกหมูบานออกเปน 2 หมูบาน ไดแก บานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวย ยางเหนือหมูที่ 9 แรกเริ่มนั้นมีผูที่ทําการเพาะพันธุกลาไมเพียงไมกี่คน เมื่อหลายคนเห็น นายเรง ยางธิสาร ประสบความสําเร็จในการเพาะกลาไม ทําแลวมีกําไรมาก และมีรายไดเพิ่มมากขึ้น จึงมีผูที่ทําการ เพาะพันธุกลาไมเพิ่มขึ้น โดยมีการถายทอดความรูการเพาะพันธุกลาไมตอๆกันมา หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2542 ไดมีการจัดตั้งเปนกลุมเพาะพันธุกลาไมเกิดขึ้น โดยมีสมาชิกเริ่มตน 27 คน ไดทําการเพาะพันธุก ลา ไมหลากหลายชนิดเพิ่มมากขึ้น นอกจากตนมะกรูด มะนาว แต ณ ปจจุบันกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 มีสมาชิกทั้งหมด 62 คน และเมื่อป พ.ศ. 2553 ที่ผานมานี้ ชาวบานหวยยางหมูที่ 6 ไดรวมกันจัดตั้งกลุมเพาะพันธุ กลาไม โดยเปน “ วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6” กอตั้งเมื่อวันที่ 13 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยมีการจดทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติสงเสริมวิสาหกิจชุมชน


พ.ศ. 2548 จากเกษตรอําเภอ นายสานิต ศิริวัฒน (นายทะเบียน) สํานักงานเกษตรอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 เกิดขึ้นจากความตองการของ ชาวบานในหมูบานหวยยางที่มีการเพาะพันธุกลาไม และตองการรวมกลุมเพื่อหาเงินลงทุนในการทํา เพาะพันธุกลาไม โดยมีแกนนําหลัก คือ นายธีรพงศ ยางธิสาร ในการดําเนินเรื่องตางๆ และมีนายหวล ยางธิ สาร (ผูใหญบานหวยยาง หมูที่ 6 ) เปนผูผลักดันใหเกิดวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม อีกทั้งยังมีลุง นัด วงศอินพอ เปนที่ปรึกษาในการกอตั้งกลุมใหเกิดขึ้น ซึ่งมีสมาชิกเริ่มตน 18 คน มีการจัดตั้งกรรมการ กลุมทั้ง ประธานกลุม รองประธานกลุม เลขานุการ เหรัญญิก ที่ปรึกษา กรรมการ เปนตน มีการตั้ง กฎระเบียบ ขอบังคับกลุม ณ ปจจุบัน มีการรับสมาชิกใหมเพิ่มอีก 9 คน รวมทางกลุมมีสมาชิกทั้งหมด 27 คน อุดมการณของกลุม

วิสัยทัศนของกลุม “ สรางงาน เพิ่มรายได กระจายการเรียนรู นําไปสูการพัฒนา นําพาความสามัคคี มีชีวิตที่ดี พออยูพอกิน”

ภารกิจของกลุม ภารกิจหรือการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมนั้น จะทําการรวมกลุม และดําเนินการกูยืมเงินจากแหลงเงินทุน ( ธกส. ) เพื่อนํามาลงทุนในการทําเพาะพันธุกลาไม โดยจะทําการ ผลิตรวมกัน รวมกันขาย และรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้นอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน เพื่อพึ่งพาซึ่งกันและกัน และเปดโอกาสใหสมาชิกไดพึ่งพาตนเองตามกําลังความสามารถ


วัตถุประสงคของกลุม วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมประโยชนทาง เศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก โดยวิธีการพึ่งตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกัน รวมทั้งในขอตอไปนี้ 1.

เพื่อเปนสภาที่ปรึกษาใหแกสมาชิก

2.

เพื่อเปนศูนยกลางบริการขอมูลขาวสารทางการเกษตรและขอมูลอื่น ๆ แกสมาชิก

3.

เพื่อเปนศูนยประสานงาน กับธนาคาร สถาบันเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรและสถาบันการเงิน ชุมชน

4.

เพื่อเปนกลไกในการรวมผลผลิตของสมาชิก การรวมซื้อ รวมกันขายสินคาทางการเกษตรและ สินคาอื่นที่จําเปนแกสมาชิก

5.

เพื่อเปนแหลงเงินออมและแหลงเงินทุนของสมาชิกและเครือขาย

6.

เพื่อจัดใหมีสวัสดิการ ประสานประโยชนตางๆ ใหแกสมาชิก

7.

เพื่อเปนการสงเสริมการเรียนรูและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกและเครือขาย

8.

เพื่อประสานความสามัคคีของสมาชิกและตอตานสิ่งผิดกฎหมายที่เปนอันตรายตอประเทศชาติ

9.

เพื่อเปนการสนับสนุนการรวมกลุมอาชีพเพื่อเพิ่มรายไดหรือลดรายจาย

10.

เพื่อเปนการยกระดับการทํางานของเกษตรกรในทองถิ่น

การบริหารจัดการของกลุม 1.คณะกรรมการบริหาร วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมไวอยาง ชัดเจน จํานวน 7 คน ดังนี้ 1.

นายธีรพงศ ยางธิสาร

ประธานกลุม


2.

นายคําแพง ชาลีพร

รองประธาน

3.

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน เลขานุการ

4.

นางศิรินาถ แสนธิจักร เหรัญญิก

5.

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

ประชาสัมพันธ

6.

นายหวล ยางธิสาร

ที่ปรึกษา

7. นายนัด วงศอินพอ

ที่ปรึกษา

2. สมาชิก ป พ.ศ.2553 กลุมมีสมาชิกจํานวน 18 คน ป พ.ศ.2554 กลุมรับสมาชิกใหมเพิ่มอีก 9 คน ปจจุบันกลุมมีสมาชิกทั้งหมด จํานวน 27 คน โดยมีรายชื่อสมาชิกตามตารางที่ 2 ขางลางนี้ ตารางที่ 1 รายชื่อสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ลําดับ

ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1

นายธีรพงศ ยางธิสาร

ประธานกลุม

2

นายคําแพง ชาลีพร

รองประธานกลุม

3

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

เลขานุการ

4

นางศิรินาถ แสนธิจักร

เหรัญญิก

5

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

ประชาสัมพันธ

6

นายหวล ยางธิสาร

ที่ปรึกษา

7

นายนัด วงศอินพอ

ที่ปรึกษา

8

นางนารีรัตน เทือกตาทอง

สมาชิก


9

นางดอกรัก จองสระ

สมาชิก

10

นายชิด ยางธิสาร

สมาชิก

11

นายประมุข วงศอินพอ

สมาชิก

12

นางอรัญญา ยางธิสาร

สมาชิก

13

นางวิจิตร แสนธิจักร

สมาชิก

14

นางทองศรี โตะชาลี

สมาชิก

15

นายภูมี ยางธิสาร

สมาชิก

16

นายมนูญ ยางธิสาร

สมาชิก

17

นางประสบศิลป ทองสงา

สมาชิก

18

นายเมษา ยางธิสาร

สมาชิก

19

นางพจนีย ยางธิสาร

สมาชิกใหม

20

นายรัตนา แผนผา

สมาชิกใหม

21

นายสมทรง สรอยสงฆ

สมาชิกใหม

22

นางมนุรัตน ยางธิสาร

สมาชิกใหม

23

นายสมควร เทาบุรี

สมาชิกใหม

24

นางพรทิพย ยางธิสาร

สมาชิกใหม

25

นางจันที ยางธิสาร

สมาชิกใหม

26

นางบุญเพ็ง ยางธิสาร

สมาชิกใหม

27

นางแสงทวี ยางธิสาร

สมาชิกใหม


3. กฎระเบียบ ขอบังคับกลุม ขอบังคับเรื่องการใหกูยืมเงิน การใหกู วิสาหกิจชุมชนอาจใหเงินกูแกสมาชิกและเครือขาย เพื่อใชตามวัตถุประสงคแหลงเงินกูโดยจัดทําหนังสือกูเงินตามที่คณะกรรมการดําเนินการกําหนด วัตถุประสงคของการกูเงิน สมาชิกอาจกูเงินจากวิสาหกิจชุมชนได เฉพาะวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1.

การพัฒนาอาชีพ

2.

การสรางงาน

3.

การสรางและเพิ่มรายได

4.

ลดรายจาย

5.

เพื่อบรรเทาเหตุฉุกเฉินและความจําเปนเรงดวน

6.

การอุตสาหกรรมและวิสาหกิจขนาดเล็กในครอบครัว

วงเงินกูยืม ที่ประชุมใหญอาจกําหนดวงเงินกูยืม สําหรับปหนึ่งๆ ไวตามที่จําเปนและสมควร แกการดําเนินงาน การกูยืมเงิน วิสาหกิจชุมชนอาจกูยืมเงินสําหรับใชเปนทุนดําเนินงานตามวัตถุประสงคได ตามที่คณะกรรมการดําเนินการเห็นสมควร ทั้งนี้จะตองอยูภายในวงเงินกูยืม ขอบังคับเรื่องการฝากเงิน การรับฝากเงิน วิสาหกิจชุมชนจะรับฝากเงินไดในประเภทออมทรัพยหรือประเภท ประจําจากสมาชิกกลุม การฝากเงิน การถอนเงิน อัตราดอกเบี้ยและอื่นๆ ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ ดําเนินงาน กําหนด


การรับฝากเงิน ถอนเงิน วิสาหกิจชุมชนจะตองบันทึกรายการในสมุดประจําตัว สมาชิกและผูทไี่ ดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินงาน ตองลงลายมือชื่อทุกครั้ง

ขอบังคับการเขาเปนสมาชิกกลุม สมาชิกวิสาหกิจชุมชนนี้คือผูที่มีชื่อและลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิกและการถือหุน ของสมาชิกกลุมวิสาหกิจ และไดชําระคาหุนตามทีจ่ ะถือครบถวนแลว คุณสมบัติการเขาเปนสมาชิกกลุม 1.

เปนลูกคา ธกส. หรือเปนบุคคลที่อาศัยอยูในชุมชนไมนอยกวา 6 เดือน

2.

สหกรณ วิสาหกิจชุมชนอื่น สถาบันการเงินชุมชน กลุมวิสาหกิจ กลุมอาชีพและกลุมบุคคล

บทบาทหนาที่และสิทธิของสมาชิกกลุม บทบาทหนาที่ในฐานะสมาชิก ผูเขาเปนสมาชิกตองลงลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก และการถือหุนของวิสาหกิจชุมชน และไดชําระคาหุนตามจํานวนที่ถือครบถวน เมื่อปฎิบัติดังนี้แลว ถือวาได สิทธิในฐานะสมาชิก สิทธิของสมาชิก มีดังนี้ 1.

เขารวมประชุม เพื่อเสนอความคิดหรือออกเสียงลงคะแนน

2.

เขารวมลงชื่อเรียกประชุมใหญวิสามัญ

3.

เสนอหรือไดรับเลือกเปนกรรมการดําเนินการหรือกรรมการตรวจสอบ

4.

ไดรับบริการทางธุรกิจและวิชาการ

5.

สิทธิอื่นๆ ที่กําหนดไวในขอบังคับ

บทบาทและหนาที่ของสมาชิก 1.

ปฏิบัติตามขอบังคับกลุม มติที่ประชุมใหญและมติที่ประชุมคณะกรรมการ


2.

เขารวมการประชุมทุกครั้งที่มีการนัดหมาย

3.

สงเสริมสนับสนุนกิจการของวิสาหกิจชุมชน เพื่อใหวิสาหกิจชุมชนเปนองคกรที่เขมแข็ง

4.

สอดสงดูแลกิจการของวิสาหกิจชุมชน

5.

รวมมือกับคณะกรรมการดําเนินงาน พัฒนาวิสาหกิจชุมชนใหเจริญรุงเรือง

การขาดจากสมาชิก สมาชิกยอมขาดจากการเปนสมาชิกได ดวยเหตุผลดังตอไปนี้ 1.

ตาย

2.

ลาออก

3.

ยายภูมิลําเนา

4.

ขาดคุณสมบัติ

5.

ที่ประชุมใหญมีมติใหออกไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนสมาชิก

การใหออกจากการเปนสมาชิกวิสาหกิจชุมชน สมาชิกอาจถูกใหออกจากวิสาหกิจชุมชนเพราะสาเหตุอยาง ใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ 1.

ไมชําระคาหุน

2.

จงใจฝาฝนไมปฏิบัติตามขอบังคับ มติที่ประชุมใหญ มติคณะกรรมการ ดําเนินหรือ ประพฤติการใดๆ อันเปนเหตุใหเห็นวาไมซื่อสัตยสุจริต แสดงตนเปนปฏิปกษหรือเสื่อม เสียตอวิสาหกิจชุมชนหรือสมาชิก เมื่อคณะกรรมการดําเนินการไดพิจารณาปรากฏวา สมาชิกมีเหตุใดๆ ดังกลาวขางตน ใหนําเสนอที่ประชุมและมีมติใหออก ก็ถือไดวาสมาชิก นั้นถูกใหออกจากวิสาหกิจชุมชน

ขอบังคับการเลือกตั้งคณะกรรมการการดําเนินการและคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการดําเนินการ ใหที่ประชุมใหญเลือกตั้งคณะกรรมการดําเนินการและกรรมการ ตรวจสอบดังนี้


1. คณะกรรมการดําเนินงานประกอบไปดวย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เลขานุการ เหรัญญิก และกรรมาการอื่น รวมอยางนอย 7 คน ไมเกิน 15 คน 2. กรรมการตรวจสอบมี 2 คน คุณสมบัติของกรรมการดําเนินงานและกรรมการตรวจสอบ 1.

เปนสมาชิกวิสาหกิจชุมชน

2.

มีอายุตั้งแต 20 ปบริบูรณขึ้นไป

3.

เปนผูมีความประพฤติดี เสียสละเพื่อสวนรวม มีความรูความสามารถ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการดําเนินการ 1.

พิจารณารับสมาชิกและเสนอใหสมาชิกพนสภาพตอที่ประชุมใหญ

2.

ใหคําปรึกษาและพิจารณาเรื่องตางๆ

3.

พิจารณาเงินกูแกสมาชิกและเครือขาย

4.

พิจารณาการลงทุนเสนอตอที่ประชุมใหญ

5.

เรียกเก็บเงินกูคืนจากสมาชิกและเครือขายที่ครบกําหนดสง

6.

เปนตัวแทนในการติดตอประสานงานกับหนวยงานอื่น

7.

ทํานิติกรรมตางๆ กับองคกรอื่นตามมติที่ประชุมมอบหมาย

8.

จัดสรรผลกําไรแกสมาชิก ตามมติที่ประชุมใหญ

9.

เก็บรักษาเงินออมของสมาชิกและดําเนินการทางการเงินใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสมาชิก

10.

สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมและฟนฟูอาชีพของสมาชิก

11.

บันทึกบัญชี บันทึกรายงานการประชุมและจัดเก็บเอกสาร ที่เกี่ยวของใหสามารถ ตรวจสอบไดตลอดเวลา


อํานาจหนาที่ของกรรมการตรวจสอบ 1.

ตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการดําเนินการ

2.

ตรวจสอบบัญชีรายรับ-รายจายเงินของบัญชี

3.

นําเสนอผลการตรวจสอบตอที่ประชุมใหญและที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ กําหนดเวลาอยูในตําแหนงของคณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบ

1.

คณะกรรมการดําเนินการ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป

2.

กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป

3. คณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบ พนจากตําแหนงกอนครบวาระไมนอย กวา 3 เดือนจัดใหมีการเลือกตั้งทดแทนภายใน 15 วัน และมีวาระเทากับกรรมการชุดนั้น 4. คณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบครบวาระและยังไมมีการเลือกตั้งใหม ใหคณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบชุดเดิมปฏิบัติหนาที่จนกวาจะมีการเลือกตั้ง คณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบชุดใหม การพนจากตําแหนงคณะกรรมการดําเนินการและกรรมการตรวจสอบ 1.

ครบวาระ

2.

ตาย

3.

ลาออก

4.

ขาดคุณสมบัติ

5.

เปนผูวิกลจริต ทุพพลภาพ หรือมีเหตุผลใดๆ อันไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได

6.

สมาชิกเกินกวากึ่งหนึ่งมีมติใหออก

ขอบังคับเรื่องการออกเสียงและวินิจฉัยปญหาในที่ประชุม


การออกเสียง สมาชิกคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนนออกเสียงในที่ประชุมใหญให ผูอื่นมาประชุมและออกเสียงแทนไมได การวินิจฉัยปญหา การวินิจฉัยปญหาตางๆ ในที่ประชุมใหญหรือประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการ ใหออกเสียงขางมาก ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง หนึ่งเปนเสียงชี้ขาด ขอบังคับการบันทึกรายงานการประชุม รายงานการประชุม ในการประชุมใหญ การประชุมคณะกรรมการดําเนินการ ตองจัดให ผูเขารวมการประชุมลงลายมือชื่อพรอมทั้งบันทึกเรื่อที่พิจารณาวินิจฉัยทั้งสิ้นไวในรายงานการประชุมและ ใหประธานในที่ประชุมกับกรรมการอื่นอีกหนึ่งคนลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ ขอบังคับกับเครือขาย เครือขาย ใหหมายถึง สหกรณ วิสาหกิจชุมชนอื่น สถาบันการเงินชุมชน กลุมวิสาหกิจ กลุม อาชีพและกลุมบุคคล ขอบังคับการเลือกที่ปรึกษากลุม ที่ปรึกษา คณะกรรมการดําเนินการอาจเชิญสมาชิกหรือบุคคลภายนอกซึ่งมีความรู ความสามารถและเหมาะสมเปนที่ปรึกษาไดไมเกินหาคน เพื่อใหความเห็นแนะนําในการดําเนินงานทั่วไป ของวิสาหกิจชุมชน ทุนในการดําเนินงานของกลุม วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น มีทุนในการดําเนินงาน โดยมีที่มา ของเงินทุน ดังตอไปนี้ 1. ระดมทุนจากสมาชิก เปนการออกหุนของสมาชิก ซึ่งสมาชิกหนึ่งคนจะถือหุนได ไม เกิน 10,000 บาท มูลคาหุนละ 40 บาท โดยการออกหุนนั้นออกไดไมจํากัดจํานวน


2. รับฝากเงินหรือเงินออมจากสมาชิก วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยางนั้นมีการรับฝากเงินออมทรัพยจากสมาชิกในทุกๆ เดือน เดือนละ 40 บาท หรือเก็บเปนรายป ปละ 480 บาท ซึ่งเงินออมสวนนี้เปนเงินถอนไมได จะเก็บเงินนี้เปนเงินสวนกลาง และจะมีการปนผลกําไรในสิ้นป 3. กูยืมเงินจากสถาบันการเงิน 4. สะสมเงินทุนสํารองและเงินทุนอื่นๆ 5. รับเงินอุดหนุนหรือเงินบริจาค ผลการดําเนินงานของกลุม 1.การระดมทุนจากสมาชิกในรูปแบบของหุน ซึ่งการเก็บเงินหุนนี้จะเก็บตั้งแตสมัครเขา เปนสมาชิกลุมพรอมทั้งเงินคาแรกเขาอีก 100 บาท ซึ่งหุนนั้นจะมีราคาหุนละ 40 บาท สมาชิกแตละคนจะ สามารถถือหุนได แตไมเกิน 10,000 บาท และเงินหุนนี้จะไมสามารถถอนได เวนจากวาจะมีการลาออกจาก การเปนสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 หรือกรณีสมาชิกเสียชีวิตทางกลุม ก็จะคืนเงินหุนนี้ใหกับสมาชิก การถือหุน ของสมาชิกแตละรายจะมีการบันทึกเปนลายลักษณอักษรไวอยาง ชัดเจน ดังขอมูลในตารางที่ 2 ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ตารางที่ 2 แสดงการถือหุนของสมาชิก ชื่อสมาชิก

จํานวนหุน

จํานวนเงิน

นายธีรพงศ ยางธิสาร

3

120

นายคําแพง ชาลีพร

2

80

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

2

80

นางศิรินาถ แสนธิจักร

2

80

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

2

80

นายหวล ยางธิสาร

2

80


นายนัด วงศอินพอ

2

80

นางนารีรัตน เทือกตาทอง

1

40

นางดอกรัก จองสระ

1

40

นายชิด ยางธิสาร

1

40

นายประมุข วงศอินพอ

1

40

นางอรัญญา ยางธิสาร

2

80

นางวิจิตร แสนธิจักร

1

40

นางทองศรี โตะชาลี

1

40

นายภูมี ยางธิสาร

1

40

นายมนูญ ยางธิสาร

1

40

นางประสบศิลป ทองสงา

2

80

นายเมษา ยางธิสาร

1

40

นางพจนีย ยางธิสาร

1

40

นายรัตนา แผนผา

1

40

นายสมทรง สรอยสงฆ

1

40

นายมนุรัตน ยางธิสาร

2

80

นายสมควร เทาบุรี

1

40

นางพรทิพย ยางธิสาร

1

40

นางจันที ยางธิสาร

1

40


นางบุญเพ็ง ยางธิสาร

1

40

นางแสงทวี ยางธิสาร

2

40

รวมทั้งหมด

39

1,560

จากตารางการถือหุนของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 นั้น จะเห็นไดวาสมาชิกแตละคน ถือหุนในจํานวนที่ตางกันมีตั้งแต 1-3 หุน ขึ้นอยูกับความพอใจและความ ตองการของสมาชิกแตละคน โดยมีจํานวนหุนทั้งหมด 39 หุน เปนเงินจํานวน 1,560 บาท 2. การรับฝากเงินจากสมาชิก การรับฝากเงินนี้เปนการฝากเงินออมทรัพย ซึ่งจะมีการออมทรัพย ในทุกๆ เดือน โดยมีการกําหนดใหออมเดือนละ 40 บาท หรือจะออมเปนรายป ปละ 480 บาท เงินออม ทรัพยนี้ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมตกลงกันวา จะมีการปนผลกําไรในทุก ๆ สิ้นป เงินออม สวนนี้จะไมสามารถถอนไดเชนเดียวกับเงินหุน เวนแตจะลาออกจาการเปนสมาชิกกลุมหรือเสียชีวิต ซึ่งมี รายละเอียดเกี่ยวกับการออมทรัพยของสมาชิกกลุมทุกคน ดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 3 แสดงการรับฝากเงินของสมาชิก ชื่อสมาชิก

จํานวนเงินฝาก

รายเดือน

รายป

นายธีรพงศ ยางธิสาร

960

/

นายคําแพง ชาลีพร

960

/

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

960

/

นางศิรินาถ แสนธิจักร

960

/

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

960

/

นายหวล ยางธิสาร

960

/


นายนัด วงศอินพอ

520

นางนารีรัตน เทือกตาทอง

960

/

นางดอกรัก จองสระ

960

/

นายชิด ยางธิสาร

960

/

นายประมุข วงศอินพอ

960

/

นางอรัญญา ยางธิสาร

960

/

นางวิจิตร แสนธิจักร

520

นางทองศรี โตะชาลี

960

/

นายภูมี ยางธิสาร

960

/

นายมนูญ ยางธิสาร

960

/

นางประสบศิลป ทองสงา

960

/

นายเมษา ยางธิสาร

520

นางพจนีย ยางธิสาร

960

/

นายรัตนา แผนผา

960

/

นายสมทรง สรอยสงฆ

960

/

นายมนุรัตน ยางธิสาร

960

/

นายสมควร เทาบุรี

960

/

นางพรทิพย ยางธิสาร

520

นางจันที ยางธิสาร

960

/

/

/

/ /


นางบุญเพ็ง ยางธิสาร

520

นางแสงทวี ยางธิสาร

960

รวมทั้งหมด

/ /

23,720

5

22

จากตารางดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาสมาชิกกลุมมีการออมทรัพยทั้งในแบบราย เดือนและรายป มีสมาชิกที่ออมทรัพยแบบรายเดือนจํานวน 5 คน และสมาชิกที่ออมทรัพยแบบรายป จํานวน 22 คน โดยมีเงินจากการออมทรัพยทั้งหมด 23,720 บาท

3. การใหกูยืมเงินแกสมาชิก ในป 2553 ที่ผานมาทางธนาคารการเกษตรและสหกรณการเกษตรไดอนุมัติวงเงินกูจํานวน 500,000 บาท แตทางกลุมไดทําเรื่องขอกูเพียง 300,000 บาท เหตุผลที่ขอกูเพียง 300,000 บาทนั้น เพราะเกรง วาทางกลุมจะไมสามารถบริหารจัดการเงินในจํานวนมากได และกลัววาจะไมสามารถนําเงินตน และเงิน ดอกมาคืนทางธนาคารการเกษตรและสหกรณการเกษตรได ตามระยะเวลาที่กําหนด และในป 2554 นี้ทาง กลุมไดทําเรื่องขอกูยืมเงินจํานวน 500,000 บาทโดยอัตราดอกเบี้ยที่ทางธนาคารการเกษตรและสหกรณ การเกษตร คือ 4.75 บาท ตารางที่ 4 แสดงการกูยืมเงินของสมาชิก จํานวนเงินกู ชื่อสมาชิก

ป 2553

ป 2554


นายธีรพงศ ยางธิสาร

30,000

45,000

นายคําแพง ชาลีพร

20,000

20,000

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

20,000

30,000

นางศิรินาถ แสนธิจักร

20,000

30,000

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

30,000

30,000

นายหวล ยางธิสาร

15,000

20,000

นายนัด วงศอินพอ

-

-

นางนารีรัตน เทือกตาทอง

15,000

20,000

นางดอกรัก จองสระ

15,000

20,000

นายชิด ยางธิสาร

15,000

20,000

นายประมุข วงศอินพอ

10,000

10,000

นางอรัญญา ยางธิสาร

15,000

20,000

นางวิจิตร แสนธิจักร

10,000

10,000

นางทองศรี โตะชาลี

10,000

20,000

นายภูมี ยางธิสาร

15,000

20,000

นายมนูญ ยางธิสาร

15,000

20,000

นางประสบศิลป ทองสงา

15,000

20,000

นายเมษา ยางธิสาร

15,000

25,000

นางพจนีย ยางธิสาร

-

10,000


นายรัตนา แผนผา

-

10,000

นายสมทรง สรอยสงฆ

-

10,000

นายมนุรัตน ยางธิสาร

-

10,000

นายสมควร เทาบุรี

-

10,000

นางพรทิพย ยางธิสาร

-

10,000

นางจันที ยางธิสาร

-

10,000

นางบุญเพ็ง ยางธิสาร

-

10,000

นางแสงทวี ยางธิสาร

-

10,000

รวมทั้งหมด

300,000

500,000

จากตารางดังกลาวจะเห็นไดวาการกูยืมเงินของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางนั้น มีจํานวนเงินกูที่ไมเทากัน สมาชิกบางรายกูไดนอย สมาชิกบางรายกูไดมาก ซึ่งก็จะขึ้นอยู กับการพิจารณาจากทุกคนในกลุมวาบุคคลดังกลาวสามารถกูไดในวงเงินเทาไหร ซึ่งจะพิจารณาจาก ศักยภาพ รวมถึงกําลัง ความสามารถในการนําเงินมาสงคืนได และตองเกิดจากมติที่ประชุมเห็นพรอง ตรงกัน และมีความยุติธรรมมากที่สุด สมาชิกกลุมเองก็ตองมีความพึงพอใจอีกดวย

4. การประชุมประจําเดือน กลุมมีการประชุมในทุกๆ เดือน เพื่อชี้แจงขาวสารตาง ๆ และนําปญหามาหาขอแกไขรวมกัน ซึ่ง แสดงใหเห็นถึงความรวมมือในการมีสวนรวมในการบริหารจัดการกลุม


ภาพประกอบ 5 การประชุมประจําเดือนของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง

5.การผลิตกลาไม สมาชิกกลุมทุกคนมีการเพาะพันธุกลาไมที่บานของตนเอง โดยมีการเพาะพันธุกลาไม ทั้งหมด จํานวน 62 ชนิด สวนใหญเปนไมผล ไมปา และพืชผัก สมุนไพรตางๆ(ดูรายละเอียดในตารางที่ 5) ตารางที่ 5 แสดงชนิดของพันธุพืชที่สามชิกกลุมสามารถผลิตได ลําดับ

ชื่อพันธุพืช

ลําดับ

ชื่อพันธุพืช

1

มะกรูด

16

สมโมง

2

มะนาว

17

ตะขบ

3

มะตูมซาอุ

18

หมากเมา

4

ผักหวานปา

19

ผักหวานบาน

5

มะละกอแขกดํา

20

มะพราวน้ําหอม


6

มะละกอแขกนวล

21

ทับทิม

7

ฟาทะลายโจร

22

มะยม

8

ไมแดง

23

มะเฟอง

9

ไมประดู

24

พริก

10

ไมยางนา

25

มะเขือ

11

ไมพยูง

26

ตอติ้วแดง

12

ไมสักทอง

27

ตอติ้วขาว

13

ใบยานาง

28

ชะอม

14

เครือหมอนอย

29

มะเวอ

15

ตนคูณ

30

ดาวเรือง

31

จําป

47

เพลี้ยบาง

32

จําปา

48

มะเขือพวง

33

สมอไทย

49

ขนุน

34

วานสิบทิศ

50

ชมพู

35

ชวนชม

51

ลําไย

36

หวาย

52

กระทอน


37

ผักเม็ก

53

มะปราง

38

แคบาน

54

หมากเหลือง

39

แคปา/แคนา

55

หมากเตี้ย

40

มะขามปอม

56

จันผา

41

สมปอย

57

มะกอกปา

42

ตนวาสนา

58

มะขวิด/มะสัง

43

กฤษณา

59

มะรํา

44

ไมมะคา

60

มะรุม

45

มะมวง

61

มะแซว

46

ดีปลาชอน

62

ผักขม

ขั้นตอนการผลิตกลาไม ก็จะมีอยูหลายขั้นตอนตั้งแตการกรอกถุงดํา การเตรียมเมล็ดพันธุ การการหยอดเมล็ดพันธุพืชลงในถุง การดูแลรักษาจนกวากลาไมจะเจริญเติบโต และสามารถขายได กรอกถุงนี้จะเปนการกรอกแกลบดําลงในในถุงดํา ตั้งแตขนาด 2 × 7 ขึ้นไปสําหรับแกลบ ดําที่นํามากรอกลงถุงจะตองผสมกับดิน และปุยกอน ในอัตราดิน 1 สวน แกลบดํา 1 สวน ในปริมาณที่ พอเหมาะพอควร ซึ่งสมาชิกแตละคนก็จะมีสูตรในการเตรียมดินปลูกที่แตกตางกันไป และหลังจากนั้นก็จะ เปนการเตรียมเมล็ดพันธุพืชที่จะเพาะลงในถุงดํา พืชบางชนิดจะตองเพาะในแปลงเพาะเสียกอนเพื่อใหพืช นั้นงอก แลวคอยนํามาลงถุง เชน ผักหวาน สวนพืชอื่นๆ ไมวาจะเปน มะกรูด มะนาว ฯลฯ ก็สามารถหยอด เมล็ดพันุลงในถุงไดเลย


ภาพประกอบ 6 การกรอกถุงแกลบดํา

ภาพประกอบ 7 เมล็ดผักหวานที่เตรียมเพาะลงถุง

หลังจากที่มีการเตรียมเมล็ดพันธุพืชไวแลว ก็นําเมล็ดพันธุพืชที่เตรียมไวหยอดใสถุงดํา แลว ตั้งไวในที่แดดร่ําไร รดน้ําและดูแลรักษาอยางสม่ําเสมอรอใหกลาไมมีการงอก ซึ่งตองมีการใหปุยเมื่อกลาไม เริ่มแข็งแรง และหมั่นดูแลเอาใจใสจนกวากลาไมจะเจริญเติบโตเต็มที่ โดยใชระยะเวลาเพาะประมาณ 3 - 4 เดือน จึงจะสามารถนําไปขายได

ภาพประกอบ 8 การหยอดเมล็ดลงในถุงดํา

ภาพประกอบ 9 กลาไมที่แข็งแรงและสามารถขายได


6. การสงเสริมการตลาด 6.1 การขายดวยตนเอง มีอยู 2 รูปแบบ คือ 1.พอคามารับซื้อที่สวน จะเปนการผลิตกลาไมโดยมีการขายผานพอคาคนกลาง การขายนั้นก็มี หลายราคาตั้งแต 1.50 บาท 2 บาท และ 2.50 บาท ซึ่งพอคาที่มาซื้อกลาไมนั้นก็จะใหราคาในการซื้อตาม คุณภาพของกลาไม การขายเชนนี้จะมีกําไรนอย 2. นําไปเรขายเอง สําหรับสมาชิกกลุมบางรายที่มีรถยนตสวนตัว ก็จะมีโอกาสหรือชองทางใน การขายกลาไมมากวาสมาชิกที่ไมมีรถยนตสวนตัว เพราะจะสามารถนํากลาไมที่ผลิตไดไปเรขายตามอําเภอ หรือจังหวัดใกลเคียง ไมวาจะเปน จังหวัดอุดรธานี จังหวัดขอนแกน จังหวัดกาฬสินธุ จังหวัดนครพนม และ จังหวัดอื่นๆ กลาไมก็จะสามารถขายในราคาที่สูงมากกวา การที่รอใหพอคามารับซื้อถึงสวนราคาขายจะมี ตั้งแต 10 – 20 บาท เนื่องจากมีคาใชจาย ในการเติมน้ํามันและราคาของกลาไมก็จะขายสูงขึ้นตามระยะ ทางการนํากลาไมไปขาย แตถึงอยางไรก็พบวาการนํากลาไมไปเรขายเองไดกําไรดีกวาการรอพอคามาซื้อถึง สวน

6.2 การสงเสริมการขายโดยกลุม วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางมีการทําการขายรวมกัน โดยเรียกวา “ การออกบูท ” จะมีการจัดแสดงสินคาอยูเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่มีเชื้อพระวงศ คือ พระเจาหลาน เธอพระองคเจาภัทรกิตติยาภา เสด็จมายังบานหวยยาง หรืออาจเปนในชวงที่มีงานตางๆ ไมวาจะเปนงาน ประจําป งานกาชาด งานเกษตรแฟร ทางกลุมก็จะนํากลาไมไปวางขายรวมกันอีกดวยดวย


7. การพัฒนาบุคคลากร ทางวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ไดมีการสงตัวแทนกลุมเขา รวมการอบรม ไมวาจะเปนการอบรมการทําบัญชีรายรับ-รายจายของกลุม การทําบัญชีสิ้นปงบประมาณ การ อบรมการทําสัญญาเงินกู การอบรมการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเขารวมโครงการพัฒนา ศักยภาพกลุมตางๆ ซึ่งตัวแทนของกลุมที่เขารวมการอบรมก็จะมีรายชื่อ ดังตอไปนี้ 1.

นายธีรพงศ ยางธิสาร

2.

นายคําแพง ชาลีพร

3.

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

4.

นางศิรินาถ แสนธิจักร

5.

นายคมศักดิ์ โตะชาลี

6.

นายหวล ยางธิสาร

7. นายนัด วงศอินพอ 8. บทบาทของหนวยงานตางๆในการพัฒนากลุม การพัฒนากลุมของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางหมูที่ 6 นั้น มี หนวยงานที่เขามามีบทบาทในการสนับสนุนทางกลุมใหสามารถดําเนินกลุมเพื่อใหเกิดความเขมแขงอยู 2 หนวยงานหลัก ๆ ดังนี้ 1.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) เปนหนวยงานแรกที่เขามาให คําแนะนําในการจัดตั้งกลุม อีกทั้งยังสนับสนุนดานเงินทุนใหกูยืม เพื่อใหสมาชิกกลุมนํามาลงทุนในการทํา การเพาะพันธุกลาไม และยังมีการจัดอบรมดานการทําบัญชี การดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน


2. สํานักงานเกษตรอําเภอโคกศรีสุพรรณ ไมวาจะเปน ทานถวัลย ธนะคําดี ตําแหนงเกษตร ตําบลเหลาโพนคอ ที่ไดมีการใหคําปรึกษา คําแนะนําตาง ๆ ในการดูแลรักษาโรคตางๆ ที่เกิดขึ้นกับกลาไม รวมถึงทําหนาที่ในการจดทะเบียนการเปนวิสาหกิจชุมชนอีกดวย 3. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ ยังไมคอยมีบทบาทในการพัฒนาวิสาหกิจ ชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมเทาที่ควร 4. องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เคยใหการสนับสนุนเงินอุดหนุนเฉพาะกลุม เพาะพันธุกลาไม หมูที่ 9 เทานั้นสวนของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางหมูที่ 6 นี้ ยังไมไดรับเงินอุดหนุนจาก อบต. เหลาโพนคอเลย


บทที่ 4 การวิเคราะหสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง

จากผลการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ในบทที่3ที่ กลาวมาแลวนั้น ในบทที่ 4 นี้ ผูวิจัยไดใชเทคนิคหรือวิธีการ SWOT Analysis เพื่อวิเคราะหสถานการณ ภายในของกลุม ซึ่งพบวาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง มีการดําเนินงานที่เปนจุดออน และจุดแข็ง ซึ่งผูศึกษาจะวิเคราะหใหเห็นในแตละดาน ดังตอไปนี้ สถานการณดานการบริหารจัดการ การบริหารจัดการนั้น จะมีการวิเคราะหใหเห็นถึง จุดออนและจุดแข็ง ของคณะกรรมการกลุม สมาชิกกลุม รวมถึงกฏ ระเบียบ ขอบังคับของกลุม มีรายละเอียดดังนี้ คณะ กรรมการกลุม จุดแข็ง เรื่องการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมที่ชัดเจน วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง มีการจัดตั้งกรรมการในการบริหารงานกลุมที่ ชัดเจน ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการ 7 คน ดังนี้ ประธานกลุม 1 คน รองประธานกลุม 1 คน เหรัญญิก 1 คน เลขานุการ 1 คน ประชาสัมพันธ 1 คน และที่ปรึกษา 2 คน และมีสมาชิกอีก 20 คน รวมเปน 27 คน ซึ่งถือวามีการแตงตัง้ ไวอยางชัดเจน ในแตละตําแหนงก็จะมีการแบงบทบาทหนาที่ในการบริหารงานกลุมไว อยางชัดเจน วาแตละคนจะตองหนาที่ดําเนินงานของกลุม ตามหนาที่รับผิดชอบของตนเอง อาทิเชน ประธานกลุม ทําหนาที่เปนตัวหลักในการบริหารงาน การประสานงาน และดําเนินงานของกลุม เหรัญญิก ทําหนาที่ ดูแลการเงิน เก็บเงิน- จายเงิน ควบคุมเงินและบันทึกบัญชีการเงินตางๆ สวนเลขานุการจะทํา หนาที่จดบันทึก เชน บันทึกวาระการประชุมทุกครั้งที่มีการประชุมกลุม ดูแลเอกสารสําคัญตางๆ ของกลุม ประชาสัมพันธ ทําหนาที่ประกาศขาวสารตางๆ ใหกับสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยางไดรับรูขาวสาร ไมวาจะเปนการนัดประชุม การเรียกเก็บเงิน หรือการประชาสัมพันธใหเขารวมกิจกรรม ตางๆ ที่ปรึกษากลุม จะใหคําปรึกษาเมื่อถึงเวลาที่ตองตัดสินใจในการดําเนินงานของกลุม


จุดแข็งดานความสามารถในการจัดการปญหาของกลุม วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง เริ่มมีการกอตั้งในป พ.ศ. 2553 ที่ผานมาทําใหคณะกรรมการขาดประสบการณในการบริหารจัดการกลุม การบริหารจัดการกลุมจึงยังไมดี เทาที่ควร แตก็พบวาหากทางกลุมเกิดปญหาขึ้น จะใชวิธีการแกไขปญหานั้น โดยจะเนนการประชุม เพื่อหา ขอแกไขรวมกัน จะมีการยึดมติที่ประชุม เสียงขางมากเปนหลัก การตัดสินใจของผูนํากลุมจึงถือเปนเรื่อง สําคัญ เพราะปญหาบางปญหาก็จะตองมีการแกไขเฉพาะหนากอน ซึ่งจะขอยกตัวอยาง ปญหาที่เกิดขึ้นใน กลุม เปนปญหาดานการเงิน เมื่อวันที่ 15 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ทางวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลา ไมบานหวยยางไดไปทําเรื่องขอกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) และทาง ธนาคารไดทําเรื่องอนุมัติเงินกู จากการไปยื่นโครงการขอกู โดยมีกรรมการทั้ง 4 คน ดังนี้ 1.

นายธีรพงศ ยางธิสาร

2.

นายคําแพง ชาลีพร

3.

นางศิรินาถ แสนธิจักร

4.

นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน

ทางธนาคารไดนัดใหกรรมการทั้ง 4 คนดังกลาวมารับเงินในวันที่ 18 เดือนสิงหาคม 2554 เมื่อถึงวันดังกลาว กรรมการทั้ง 4 คน จึงเดินทางไปรับเงินจากธนาคาร แตกลับพบวาเกิดขอผิดพลาดในการยื่นคําขอกู จึงทําให ไมสามารถรับเงินไดในวันดังกลาว สมาชิกที่มารอรับเงินจากกรรมการเมื่อทราบวาไมไดเงินในวันดังกลาว จึงมีการกลาวอางวา กรรมการทั้ง 4 คนทุจริตเงินของกลุม หลังจากนั้นจึงมีการเรียกประชุม ในวันที่ 19 เดือน สิงหาคม 2554 เวลา 20.00 น. และทางกรรมการกลุมจึงไดชี้แจงใหสมาชิกเกิดความเขาใจ พรอมทั้งแสดง หลักฐานการเงินของกลุมใหสมาชิกไดเห็นรวมกัน เมื่อสมาชิกไดฟงคําชี้แจงและเห็นหลักฐานตางๆ จึงมี ความเขาใจในประเด็นปญหาดังกลาวขางตน จุดออน เรื่องการขาดประสบการณในการบริหารงาน ดวยที่วาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมเพิ่งเริ่มมีการกอตั้งในปที่ผานมา ทําให คณะกรรมการกลุมยังขาดประสบการณในการบริหารจัดการกลุมอยูมาก การบริหารงานของกลุมจึงยังไม


คอยเปนระบบเทาที่ควร ตองไดรับการพัฒนาและสะสมประสบการณตอไปเรื่อยๆ เพื่อใหสามารถบริหาร จัดการกลุมใหดีขึ้นได สมาชิก จุดออน เรื่องที่สมาชิกไมสามารถ ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของกลุมได วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง เริ่มกอตั้งในป พ.ศ. 2553 ที่ผานมาจึงทํา ใหคณะกรรมการของกลุมยังขาดประสบการณในการบริหารจัดการกลุมอยู การบริหารจัดการกลุมยังคงไม เปนระบบ สมาชิกในวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ไมสามารถปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอตกลงของกลุมได อาทิเชน การตกลงวาจะขายกลาไมในราคาเดียวกัน ซึ่งมีการกําหนดราคาในการขาย กลาไมรวมกันวาจะขายในราคาถุงละ 2 บาท ยกเวนผักหวานถุงเล็ก ราคาถุงละ 5 บาท ผักหวานถุงกลาง ราคาถุงละ 50 บาท ผักหวานถุงใหญ ราคาถุงละ 300 บาท ตอติ้ว ราคาถุงละ 15 บาท ยางนา ราคาถุงละ 10 – 15 บาท และไมหอม ราคาถุงละ 5 บาท แตเมื่อถึงเวลาขายกลาไมใหกับพอคาที่มารับซื้อถึงสวน สมาชิกแตละรายก็จะมีการขายกลาไมตัดราคากันเอง โดยมีราคาขายกลาไมตั้งแตถุงละ 1.50 บาท , 1.80 บาท จนถึงราคาขายถุงละ 2 บาท แมจะเปนกลาไมชนิดเดียวกัน นอกจากนี้แลวสมาชิกแตละรายยังมีการ หยอดจํานวนเมล็ดกลาไมไมเทากัน โดยมีการใชจํานวนเมล็ดตั้งแต 1 เมล็ด จนถึง 5 เมล็ด เพื่อแขงขัน กันขายกลาไม เนื่องจากถามีตนกลาไมในถุงเดียวกันหลายตนจะขายไดดีกวาถุงที่มีจํานวนตนนอยกวา จาก การแขงขันกันลดราคากลาไมเพื่อแยงลูกคาและแขงขันกันเพิ่มจํานวนตนกลาไมในถุงเพาะชําของสมาชิก กลุมฯ โดยไมกําหนดเปนมาตรฐานเดียวกัน ไดสงผลใหสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบาน หวยยาง ไดกําไรจากการขายกลาไมลดลงเนื่องจากตนทุนโดยเฉลี่ยในการเพาะชํากลาไมเฉลี่ยถุงละ 0.90 บาท ถาขายถุงละ 1.50 บาท ก็จะไดกําไรเพียงถุงละ 0.60 บาทเทานั้น แตถาขายกลาไมราคาถุงละ 2 บาท ก็ จะทําใหสมาชิกมีกําไรถึงถุงละ l.10 บาท จากการสัมภาษณ (ธีรพงศ ยางธิสาร:26 มิถุนายน 2554 )ไดใหเหตุผลวาการที่ทางกลุมไม สามารถขายกลาไมในราคาเดียวกันไดเปนเพราะสาเหตุหลายอยาง ไมวาจะเปน คุณภาพของกลาไมไม เหมือนกัน สมาชิกบางรายสามารถผลิตกลาไมและไดกลาไมที่สวย มีความสมบูรณ แข็งแรง พอคาที่มารับ ซื้อก็จะเลือกซื้อเฉพาะกลาไมที่ไดคุณภาพ สมาชิกบางรายที่ไมสามารถผลิตกลาไมใหมีคุณภาพได จึงมี ความจําเปนที่จะตองขายกลาไมในราคาที่ถูกลง จากที่ขายในราคา 2 บาท อาจขายเพียง 1.50 บาท หรืออาจมี สาเหตุจากความจําเปนในการใชเงินตางกัน ดวยภาระ คาใชจายตางๆ ในครอบครัว ไมวาจะเปนคาเลาเรียน


ของบุตร คาลงทุนในการผลิต คาใชจายอื่นๆ ที่ตางกันของแตละครัวเรือน สมาชิกบางรายอาจมีความจําเปน ในการใชเงิน จึงตองขายกลาไมในราคาที่ต่ํากวาที่ไดตกลงกันไว เพื่อใหไดเงินมาหมุนเวียนในครอบครัว นอกจากนี้แลวอาจเปนไปไดวาสมาชิกในวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางไมไดมีการจด บันทึก หรืทําบัญชีรายรับ- รายจายในการลงทุนผลิตกลาไม จึงทําใหไมสามารถทราบคาใชจายที่แทจริงได

กฎระเบียบ จุดแข็งเรื่องการตั้งกฎขอบังคับกลุมที่ชัดเจน ตั้งแตที่กลุมมีการกอตั้ง ก็ไดมีการตั้งกฎ ระเบียบ ขอบังคับกลุมที่ชัดเจนเพื่อเปนแนวทางการ ปฏิบัติรวมกัน ไมวาจะเปน กฎระเบียบการใหกูยืมเงิน การฝากเงิน การเขาเปนสมาชิกกลุม การเลือกตัง้ กรรมการบริหารงานกลุม และกฎระเบียบอื่นๆ และยังมีการกําหนดวัตถุประสงคของการจัดตั้งกลุมไวอยาง ชัดเจน วาวัตถุประสงคหลักของการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 นั้น เพื่อ หาแหลงเงินทุนสําหรับกูยืมเพื่อมาลงทุนในการทําการเพาะพันธุกลาไม หรือหาหนวยงานที่ใหการ สนับสนุนดานเงินทุน เงินอุดหนุน รวมถึงชวยเหลือในดานอื่น ๆ อีกดวย

สถานการณดานเงินทุน จากการวิเคราะหทําใหเห็นวาสถานการณดานเงินทุนของกลุมนั้นยังเปนไปในดานบวกอยู ยัง ถือวามีสถานการณดานเงินทุนที่คอนขางดี โดยมีจุดแข็งตาง ๆ ดังตอไปนี้

จุดแข็งดานแหลงเงินทุนสนับสนุน วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น ตั้งแตเริ่มกอตั้งกลุมก็มีการไปทําเรื่อง ขอกูยืมเงิน ซึ่งก็ไดรับการสนับสนุนเงินทุน จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร แตเปนรูป ของการใหกูยืมเงิน นั้นคือ ธนาคารการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ในป 2553 ที่ผานมาทาง ธนาคารการเกษตรและสหกรณการเกษตรไดอนุมัติวงเงินกูจํานวน 500,000 บาท แตทางกลุมไดทําเรื่องขอกู เพียง 300,000 บาท เหตุผลที่ขอกูเพียง 300,000 บาทนั้น เพราะเกรงวาทางกลุมจะไมสามารถบริหารจัด


การเงินในจํานวนมากได และกลัววาจะไมสามารถนําเงินตน และเงินดอกมาคืนทางธนาคารการเกษตรและ สหกรณการเกษตรได ตามระยะเวลาที่กําหนด โดยอัตราดอกเบี้ยที่ทางธนาคารการเกษตรและสหกรณ การเกษตร คือ 4.75 บาท นอกจากนี้แลวทางกลุมเองยังมีการเก็บเงินออมจากสมาชิกเดือนละ 40 บาทหรือ เก็บเปนรายป ปละ 480 บาท เงินออมสวนนี้จะไมสามารถถอนได ยกเวนวาจะลาออกจาการเปนสมาชิกกลุม วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง โดยจะมีการแบงเงินปนผลจาการออมในทุกสิ้นป เงิน สวนนี้จึงถือเปนเงินสวนกลางของกลุม จุดแข็งของกลุมอีกอยางหนึ่ง จากการวิเคราะหจึงเห็นไดวากลุมมี จุดแข็งหรือศักยภาพดังที่กลาวมาขางตน จุดแข็งดานการจัดสรรผลประโยชนอยางเปนธรรม ผลประโยชนถือวาเปนเรื่องสําคัญ วัตถุประสงคอยางหนึ่งของการรวมกลุม ก็เพื่อ ผลประโยชนตางๆ การจัดสรรผลประโยชนจึงตองเปนไปอยางบริสุทธิ์ ยุติธรรม เชนเดียวกันกับวิสาหกิจ ชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางที่กรรมการกลุม และสมาชิก จะตองมีการแบงผลประโยชนอยาง เปนธรรม ซึ่งผลการศึกษาพบวาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น เมื่อมีการทําเรื่องขอ กูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรแลวนั้น เงินที่ทางธนาคารอนุมัติให จากปที่ผาน มาในจํานวนเงิน 300,000 บาท ทางกลุมเมื่อรับเงินมาก็จะมีการประชุมรวมกันเพื่อลงมติวาจะจัดสรร อยางไร โดยเงินจํานวนนี้ก็มีการแบงให คณะกรรมการบริหารจัดการกลุมสามารถกูไดคนละ 20,000 บาท สวนสมาชิกสามารถกูได คนละ 15,000 บาท สวนในป 2554 นี้ ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตรไดอนุมัติวงเงินกูจํานวน 500,000 บาท ทางกลุมก็ประชุมลงมติวาใหจัดสรรในรูปแบบที่ใหคณะ กรรรมการบริหารกลุมสามารถกูไดมากกวาสมาชิก คือ กรรมการสามารถกูไดตั้งแต 30,000 – 40,000 บาท และในปนี้มีการรับสมาชิกคนใหมเพิ่ม จึงมีการใหสมาชิกเกากูไดในวงเงิน 20,000 บาท สวนสมาชิกใหมอีก 9 คน สามารถกูไดในวงเงิน 10,000 บาท นอกจากนี้แลวยังมีการจัดสรรผลประโยชนในเรื่องของการแบง เงินปนผลหรือเงินฝากในทุกสิ้นป โดยจะแบงตามหุนที่สมาชิกแตละคนมีอยู ซึ่งจะเห็นวาทางกลุมจะ ดําเนินการหาขอสรุปเมื่อถึงเวลาจัดสรรผลประโยชน โดยมีการประชุม ยึดเสียงขางมากในการจัดสรร ประโยชนในแตละครั้ง และจะเปนไปดวยความโปรงใสอยูเสมอ


สถานการณดานการผลิต สถานการณดานการผลิตของกลุมนั้น จากผลการศึกษาและจากผลการวิเคราะหจะพบวาการ ผลิตของกลุมยังมีจุดออนอยูมาก ควรที่จะไดรับการพัฒนา เพื่อใหกลุมเกิดความเขมแข็ง ซึ่งจุดออนที่ได กลาวมามี ดังตอไปนี้ จุดออนดานรูปแบบการผลิต วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ยังคงมีรูปแบบการผลิตที่คงเปนรูป แบบเดิม คือ การเพาะพันธุกลาไมดวยวิธีการเพาะเมล็ดซึ่งวิธีการผลิตแบบนี้จะทําใหไดกลาไมที่มีความเสี่ยง ตอการเกิดโรคสูง และตองใชระยะเวลาในการเพาะพันธุกลาไมที่นาน ทั้งยังสามารถขายไดในราคาที่ต่ําอีก ดวย หากวาทางกลุมมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตหรืออาจเปนการเพิ่มชองทางในการผลิตใหมีมากขึ้น จากการเพาะเมล็ด อาจเพิ่มเปนการทาบกิ่ง ติดตา เสียบยอด หรือทําไมขุดลอม ที่ถือเปนเทคโนโลยีการผลิต ใหมๆ เพื่อยกระดับราคากลาไมใหขายไดในราคาที่สูงขึ้น และตรงตามความตองการของตลาด พรอมทั้งมี ความทนตอการเกิดโรคอีกดวย จึงจะเห็นไดวาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมเอง ดวยระยะเวลาการดําเนินเพียง 1 ป ทําใหการบริหารงานของกลุมยังไมคอยเปนระบบเทาที่ควร จาการวิเคราะหการดําเนินงานของกลุม จึง พบทั้งจุดออนและจุดแข็งของกลุม ซึ่งผูศึกษาเห็นวาควรมีหนวยงานที่มาใหความชวยเหลือและแกไขปญหา ของกลุมเพื่อพัฒนากลุมใหเกิดความเขมแข็งมากขึ้น และการดําเนินงานของกลุมจึงถือวายังไมเปนวิสาหกิจ ชุมชนอยางสมบูรณได จุดออนดานตนทุนการผลิต ปญหาและจุดออนอีกอยางหนึ่งของกลุมที่ไมสามารถแกไขได เพราะอยูภายใตกลไก ของตลาด และระบบเศรษฐกิจ ในเรื่องของตนทุนในการผลิตที่คอนขางสูง ไมวาจะเปน คาแกลบดํา คาถุงดํา คาเมล็ดพันธุพืช คาปุย คาจางแรงงาน ฯลฯ เมื่อเปรียบเทียบระหวางตนทุนการผลิตที่คอนขางสูง กับการ ขายที่สมาชิกสามารถขายไดในราคาที่คอนขางต่ํา จึงทําใหมีกําไรนอย


สถานการณดานการตลาด จุดออนดานการตลาดและการประชาสัมพันธ ทางวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางยังไมมีตลาดรองรับกลาไมที่แนนอน การตลาดของสมาชิกจะเปนในรูปแบบ การรอใหพอคาคนกลางมารับซื้อถึงสวนเพียงอยางเดียว แตสําหรับ สมาชิกบางรายที่มีรถยนตสวนตัวก็จะนํากลาไมไปเรขายตามที่ตางๆ ซึ่งเหตุผลที่ทําใหวสิ าหกิจชุมชน เพาะพันธุกลาไมยังไมมีตลาดหรือยังไมมีลูกคามากเทาที่ควรนั้นก็มีสาเหตุจากวา หมูบานหวยยางหางจาก ถนนสายหลักถึง 7 กิโลเมตร การเดินทางจึงไมคอยเอื้ออํานวยมากนัก และอาจเปนเพราะวาทางกลุมยังขาด การประชาสัมพันธใหหนวยงานหรือคนอื่นๆไดรับรู จึงทําใหยังไมสามารถตีตลาดได ยังไมมีการทําแผนพับ ประชาสัมพันธ ไมมีการทําเว็บไซต ไมมีการติดปายโฆษณา หรือประชาสัมพันธตามถนนสายหลัก หรือติด ปายตามสถานที่ตางๆ


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ในการศึกษาเรื่อง สถานการณการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เปนการศึกษาโดยใช ขอมูลเชิงคุณภาพ ( Qualitative Research) ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาบริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไมบา นหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร และเพื่อ วิเคราะหสถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลา ไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ใหเกิดความเขมแข็ง มากขึ้น โดยมีการเก็บขอมูลที่บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร มีกลุมเปาหมายในการศึกษา คือ วิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไม 27 คน ซึ่งทําการเก็บขอมูล ตั้งแตเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม 2554 โดยมีวิธีการเก็บขอมูล โดยวิธีการสัมภาษณแบบมีโครงสราง และการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง การสังเกตการณแบบมีสวนรวม พรอมทั้งการสนทนากลุม ( Procus Groups ) โดยมีการใชแนวคิดวิสาหกิจชุมชน ของวิชิต นันทสุวรรณ และแนวการพึ่งพาตนเอง ของเสรี พงศ พิศ พรอมทั้งใชแนวคิดอื่นๆ แลวนําขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมมา ทําการวิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis ) และปรากฏผลการศึกษาในบทที่ 4 และในบทที่ 5 นี้ ซึ่งผูศึกษาจะไดนํามาสรุป อภิปรายผล และมี ขอเสนอแนะตามลําดับ ดังตอไปนี้ สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตน พบผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ ประการแรก ผลการศึกษาพบวา บริบทของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครนั้น มีการกอตั้งกลุมในป 2553 ที่ ผานมา มีระยะเวลาดําเนินงาน 1 ป มีสมาชิกเริ่มตน 18 คน และในป 2554 นี้ มีการรับสมาชิกใหมเพิ่มอีก 9 คน รวมมีสมาชิกทั้งหมด 27 คน ซึ่งทางกลุมมีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการกลุมทัง้ หมด 7


คน ประกอบไปดวย ประธาน 1 คน รองประธาน 1 คน เหรัญญิก 1 คน เลขานุการ 1 คน ประชาสัมพันธ 1 คน และที่ปรึกษา 2 คน นอกจากนี้แลวยังมีการตั้งกฎ ระเบียบ ขอบังคับกลุม เพื่อเปน แนวในการปฏิบัติรวมกัน แตเนื่องจากกลุมเพิ่งเริ่มมีการกอตั้ง จึงทําใหการบริหารจัดการกลุมยังไมเปน ระบบเทาที่ควร คณะกรรมการบริหารงานของกลุมยังขาดประสบการณในการบริหารงาน อีกทั้งทาง สมาชิกในกลุมยังไมสามารถปฏิบัติตามกฎขอบังคับที่ตกลงรวมกันไวได อาทิเชน การตกลงขายกลาไมใน ราคาเดียวกัน แตถึงเวลาขายจริงกลับขายในราคาที่ต่ํากวาที่ตกลงกันไว จึงนําไปสูการเกิดการแขงขันดาน การตลาดภายในกลุมเอง และการดําเนินการผลิตกลาไมของกลุมยังคงเปนการผลิตในรูปแบบเดิม คือ การ ทําการเพาะพันธุกลาไมดวยวิธีการเพาะเมล็ด สมาชิกในกลุมยังไมมีความรูความสามารถในดานเทคโนโลยี การผลิตในรูปแบบใหมๆ เลย ประการที่สอง จากการวิเคราะหสถานการณภายใน พบวา วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุ กลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นั้นทางกลุมมีจุด แข็งอยูหลายดาน ไมวาจะเปนการที่วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุก ลาไมบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีการจัดตั้งกลุม แลวมีการกําหนดวัตถุประสงคการ รวมกลุมที่ชัดเจน มีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการกลุมไวอยางชัดเจน อีกทั้งมีการตั้งกฎ ระเบียบ ขอบังคับกลุมเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกัน กลุมมีการทํากิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปน กิจกรรมการประชุมกลุม ที่จะประชุมในทุกๆ เดือน เดือนละ 1-2 ครั้ง และทางกลุมมีการเก็บเงินออมจาก สมาชิกทุกเดือน เดือนละ 40 บาท หรืออาจเก็บเปนรายป ปละ 480 บาท วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลา ไมบานหวยยาง มีหนวยงานในการสนับสนุนดานเงินทุน คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร โดยปลอยเงินกูใหกับสมาชิก ไดกูมาลงทุนในการทําการเพาะพันธุกลาไม โดยคิดอัตราดอกเบี้ย 4.75 บาท สวนผลการวิเคราะหจุดออนของกลุม พบวา สมาชิกในวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลา ไมบานหวยยาง ไมสามารถปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอตกลงของกลุมได อาทิเชน การตกลงวาจะขายกลาไม ในราคาเดียวกัน ซึ่งมีการกําหนดราคาในการขายกลาไมรวมกันวาจะขายในราคาถุงละ 2 บาท แตพอถึง เวลาที่พอคามาซื้อก็จะมีการขายในราคาต่ํากวาที่ตกลงกันไว ซึ่งมีตั้งแต 1.50, 1.80 บาท จากการศึกษา พบวาเหตุที่สมาชิกบางรายตองขายกลาไมในราคาที่ต่ํากวาที่ตกลงกันไว มาจากเหตุผล 3 ประการดังนี้


1.สมาชิกบางรายมีความจําเปนในการใชเงินที่ตางกัน ดวยภาระ คาใชจายตางๆ ใน ครอบครัว ไมวาจะเปนคาเลาเรียนของบุตร คาลงทุนในการผลิต คาใชจายอื่นๆ ที่ตางกันของแตละครัวเรือน สมาชิกบางรายอาจมีความจําเปนในการใชเงิน จึงตองขายกลาไมในราคาที่ต่ํากวาที่ไดตกลงกันไว เพื่อใหได เงินมาหมุนเวียนในครอบครัว 2. คุณภาพของกลาไมไมเหมือนกัน สมาชิกบางรายสามารถผลิตกลาไมและไดกลาไมที่ สวย มีความสมบูรณ แข็งแรง พอคาที่มารับซื้อก็จะเลือกซื้อเฉพาะกลาไมที่ไดคุณภาพ สมาชิกบางรายที่ไม สามารถผลิตกลาไมใหมีคุณภาพได จึงมีความจําเปนที่จะตองขายกลาไมในราคาที่ถูกลง จากที่ขายในราคา 2 บาท อาจขายเพียง 1.50 บาท 3. สมาชิกในวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางไมไดมีการจดบันทึก หรือทําบัญชีรายรับ- รายจายในการลงทุนผลิตกลาไม จึงทําใหไมสามารถทราบคาใชจายที่แทจริงได ( ) นอกจากนี้แลวทางวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางยังไมมีตลาด รองรับกลาไมที่แนนอน การตลาดของสมาชิกจะเปนในรูปแบบ การรอใหพอคาคนกลางมารับซื้อถึงสวน เพียงอยางเดียว แตสําหรับสมาชิกบางรายที่มีรถยนตสวนตัวก็จะนํากลาไมไปเรขายตามที่ตางๆ ซึ่งเหตุผลที่ ทําใหวิสาหกิจชุมชนเพาะพันธุกลาไมยังไมมีตลาดหรือยังไมมีลูกคามากเทาที่ควรนั้นก็มีสาเหตุจากวา หมูบานหวยยางหางจากถนนสายหลักถึง 7 กิโลเมตร การเดินทางจึงไมคอยเอื้ออํานวยมากนัก และอาจเปน เพราะวาทางกลุมยังขาดการประชาสัมพันธใหหนวยงานหรือคนอื่นๆไดรับรู จึงทําใหยังไมสามารถตีตลาด ได ยังไมมีการทําแผนพับประชาสัมพันธ ไมมีการทําเว็บไซต ไมมีการติดปายโฆษณา หรือประชาสัมพันธ ตามถนนสายหลัก หรือติดปายตามสถานที่ตางๆ และทางกลุมเองยังคงมีรูปแบบการผลิตที่คงเปนรูป แบบเดิม คือ การเพาะพันธุกลาไมดวยวิธีการเพาะเมล็ดซึ่งวิธีการผลิตแบบนี้จะทําใหไดกลาไมที่มีความเสี่ยง ตอการเกิดโรคสูง และตองใชระยะเวลาในการเพาะพันธุกลาไมที่นาน ทั้งยังสามารถขายไดในราคาที่ต่ําอีก ดวย หากวาทางกลุมมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตหรืออาจเปนการเพิ่มชองทางในการผลิตใหมีมากขึ้น จากการเพาะเมล็ด อาจเพิ่มเปนการทาบกิ่ง ติดตา เสียบยอด หรือทําไมขุดลอม ที่ถือเปนเทคโนโลยีการผลิต ใหมๆ เพื่อยกระดับราคากลาไมใหขายไดในราคาที่สูงขึ้น และตรงตามความตองการของตลาด


อภิปรายผล งานวิจัยชิ้นนี้ไดนําเอาแนวคิดวิสาหกิจชุมชน ของวิชิต นันทสุวรรณ ซึ่งเกี่ยวกับการ ประกอบการ โดยชุมชนที่มีสมาชิกชุมชนเปนเจาของปจจัยการผลิต ทั้งดานการผลิต การคา การเงิน และ การใชปจจัยการผลิตใหเกิดดอกออกผลทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ที่กลาวมาเปนแนวคิดวิสาหกิจชุมชนที่ เกี่ยวของกับการรวมกลุมของประชาชนในการประกอบอาชีพ ดังนั้น การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห สถานการณภายในของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร จึงตองมีการศึกษาเรื่องนี้เพื่อใหองคความรูสมบูรณมากยิ่งขึ้น แนวคิดวิสาหกิจ ชุมชนเปนแนวคิดที่มุงแปรรูปผลผลิตตามธรรมชาติ หรือสรางผลิตภัณฑ โดยครอบครัวในชุมชน โดย องคกรชุมชน(กลุม)และเครือขายองคกรชุมชนเพื่อการบริโภค และสรางรายไดใหแกชุมชนโดยมีหลักคิด สําคัญ คือ 1) สรางความหลากหลายของผลผลิต และผลิต ภัณฑในชุมชน 2) ผลิตเพื่อการบริโภคแบบ พึ่งพาตนเองลดรายจายในครอบครัว 3) ผลิตและบริโภคเพื่อเสริมสรางสุขภาพอนามัยที่ดีใหตนเอง 4 ) มี คุณธรรมรับผิดชอบตอสมาชิกคนอื่นๆที่อยูรวมกัน ในชุมชนไมเห็นแกประโยชนดานกําไรสูงสุดและเอา เปรียบผูบริโภค จากที่กลาวมาขางตนผูศึกษาขอสรุปความไดวา วิสาหกิจชุมชน คือการประกอบโดยคนใน ชุมชน เพื่อจัดการทุนของชุมชนอยางสรางสรรค ไมวาจะเปนทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปญญาทองถิ่น และทุนทางสังคม เพื่อการพึ่งพาตนเองในระดับครัวเรือน ลดการพึ่งพาจากภายนอก และเพื่อตอบ สนอง ชุมชนเครือขายและตลาดภายนอก โดยมีองคประกอบที่สําคัญคือ ชุมชนเปนเจาของและผูดําเนินการ ผลผลิตมาจากกระบวนการในชุมชน ริเริ่มสรางสรรคเปนนวัตกรรมของชุมชน มีฐานภูมิปญญาทองถิ่น ผสมผสานกับภูมิปญญาสากล มีการดําเนินการแบบบูรณาการเชื่อมโยงกิจกรรมตางๆอยางเปนระบบ มี กระบวนการเรียนรูเปนหัวใจ เปนตน การกอตั้งวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น จึงมี ความสอดคลองกับแนวคิดวิสาหกิจชุมชน ที่คนในชุมชนเปนเจาของกิจการดวยตนเอง และกิจการที่ทํา สามารถสรางรายไดใหกับชุมชน แตการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมนั้น ยังไมถือวา เปนวิสาหกิจชุมชนอยางเต็มตัว เนื่องดวยยังมีจุดออนที่ตองแกไขอีกหลายอยาง


งานวิจัยชิ้นนี้ยังไดมีการนําแนวคิดการพึ่งพาตนเอง ของ เสรี พงศพิศ ที่ไดอธิบายวา การ พึ่งพาตนเองมีอยูหลายดาน ทั้งในดานเทคโนโลยี ดานความรู ดานทุน และดานอื่นๆ จากแนวคิดการพึ่งพา ตนเองดังกลาว จึงจะมีการอภิปรายใหเห็นถึงการพึ่งพาตนเองของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลไมในแต ละดาน ดังตอไปนี้ การพึ่งตนเองดานทุน วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น มีการพึ่งพาตนเองดานเงินทุน คอนขางนอย เนื่องจากสมาชิกแตละคนมีภาระคาใชจายที่คอนขางสูงทั้งคาใชจายในครัวเรือน คาเลาเรียน บุตรหลาน คาตนทุนในการผลิต และคาใชจายในดานอื่นๆ ดวนภาระคาใชจายที่มีอยูมาก การลงทุนในการ ทํากลาไมในแตละรอบจําเปนจะตองใชเงินลงทุนจํานวนมาก ไมวาจะเปนคาเมล็ดพันธุ คาปุย คาแกลบดํา คาถุงดํา คาแจงแรงงาน และคาอุปกรณอื่นๆ สมาชิกจึงมีความจําเปนที่ตองหาแหลงเงินทุนเพื่อกูยืมมาลงทุน ในการทําการเพาะพันธุกลาไม โดยวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น ก็ไดไปทําเรื่องขอ กูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรมาลงทุน ในรอบปที่ผานมานี้ทางธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตรไดอนุมัติใหกูไดในวงเงินจํานวน 500,000 บาท แตถาวิสาหกิจชุมชนไดมี การประชุมกันและไดมติที่ประชุมวาจะขอกูเปนเงินจํานวน 300,000 บาทเทานั้น เนื่องจากวาทางกลุมเองเพิ่ง เริ่มกอตั้งยังไมมีความสามารถในการบริหารเงินจํานวนมากได และทางกลุมยังกลัววาจะไมสามารถหาเงิน มาคืนได อีกทั้งทางวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมเองก็ยังไมไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ ในการรับเงินอุดหนุน การพึ่งตนเองดานความรู ชุมชนบานหวยยางมีการเรียนรูวิธีการทําเพาะพันธุกลาไมเปนเวลาหลาย 10 ปแลว จน มีการทําการเพาะพันธุกลาไมเปนอาชีพเสริม และไดมีการจัดตั้งกลุมขึ้น ดวยประสบการณที่ทําโดยมีการ มี การลองผิดลองถูกมามาก ทําใหสมาชิกกลุมไดเรียนรูวิธีการเพาะพันธุกลาไมอยูมาก จากการสัมภาษณ (นางศิรินาถ แสนธิจักร:9 ก.ค 2554) ไดกลาววาสมาชิกเองมีความรูในการเพาะพันธุอยูหลายดาน และบอก วาการทําเพาะพันธุกลาไม ตองมี “ สูตรการผสมแกลบดํากับดิน”โดยใชอัตราสวน โดยใชแกลบ 1 รถตอดิน 1 รถ เพราะถาหากใสดินในปริมาณเยอะเกินไปก็จะทําใหรากพืชไมสามารถดูดซึมอาหารได แตถาหากผสม แกลบดําเยอะเกินไป ก็จะทําใหดินไมสามารถอุมน้ําได และแกลบดําที่นํามาผสมตองไมใชแกลบใหม เนื่องจากมีความเค็มและอาจทําใหกลาไมตายได นอกจากนี้แลวยังเลาอีกวา การเลือกเมล็ดพันธุพืชสําหรับ นํามาเพาะก็เปนเรื่องสําคัญ ควรที่จะเลือกเมล็ดพันธุพืชที่เมล็ดมีความสมบูรณ เปนเมล็ดที่แก สําหรับ


สภาพแวดลอมที่ดีในขณะเพาะเมล็ดก็จะตองมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม โดยจะตองมีการรดน้ําใหอยูใน ปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อใหเมล็ดงอกและเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว อุณหภูมิก็ตองไมใหอยูในที่แดดจา เกินไป ควรใหกลาไมอยูในแดดร่ําไร โดยอาจนําสแลนมาบังแดดใหกลาไมได แตสําหรับพืชที่ไมตองการ แสงก็ควรใหรับแสงอยางเพียงพอ เพื่อที่จะทําใหตนกลาที่แข็งแรง การหยอดเมล็ดพันธุพืชลงในถุงดํา สมาชิกสวนใหญจะหยอดตั้งแต 1-5 เมล็ด เพื่อ ที่วาปองกันเมล็ดไมงอก แตสําหรับผักหวานนั้นจะตองมีการหวานเมล็ดลงในแปลงเพาะเมล็ดกอน เมื่อกลา ผักหวานเริ่มงอกจึงนําลงปลูกลงในถุงดําได สวนการดูแลรักษาก็จะตองมีการดูแลเปนอยางดี ตองรูจักวาพืช ชนิดไหนหรือไมชอบน้ํามาก เชน มะละกอไมควรที่จะรดน้ํามากเกินไปเพราะจะทําใหรากเนาเปอยได การ ใหปุยนั้นสมาชิกแตละคนมีสูตรปุยที่ไมเหมือนกัน หากสมาชิกคนไหนที่มีสูตรปุยที่ใชแลวพืชเจริญเติบโต ไดดี ก็จะไมมีการถายทอดความรูตอ “เปนการหวงสูตร” หรือเคล็ดลับที่ตนเองมี จึงถือไดวาสมาชิกสวน ใหญมีความรูเกี่ยวกับการทํากลาไมเปนอยางดีทุกคน แตจะเปนความรูดานการผลิตในรูปแบบเดิม คือ การ เพาะเมล็ดเทานั้น การพึ่งตนเองดานเทคโนโลยี การทําการเพาะพันธุกลาไมของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง นั้น ถือวายังเปนการผลิตที่ยังไมมีการผสมผสาน หรือใชเทคโนโลยีมาชวยเลย ในทุกกระบวนการผลิต สวนใหญจะใชแรงงานคนในการทําสิ่งตางๆ ทั้งการกรอกถุงดํา การหยอดเมล็ด การรดน้ํา มีเพียงอยาง เดียวที่เปนเทคโนโลยีที่คอนขางทันสมัยนั้น คือ เครื่องพนยาหรือเครื่องฉีดปุยตางๆ แตก็มีขอจํากัดในดาน ของราคา เพราะมีราคาคอนขางแพง จึงทําใหสมาชิกไมสามารถซื้อมาเปนของตนเองได จะมีก็เพียงสมาชิก บางรายเทานั้นที่สามารถซื้อมาไวเปนของตนเอง นอกจากนี้แลว สมาชิกก็ยังคงมีการผลิตในรูปแบบเดิม คือ การเพาะเมล็ด ยังไมมี เทคโนโลยีการผลิตที่ใหมๆ ไมวาจะเปน การทาบกิ่ง การติดตา การเสียบยอด หรือทําไมลอม ที่สามารถ ขายไดในราคาที่คอนขางสูงกวาการเพาะเมล็ด จาการสัมภาษณนางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน ( 10 ก.ค. 2554) กลาววาทางกลุมตองการใหมีผูมาสอนหรือถายทอดความรูดานเทคโนโลยีการผลิตที่ใหมเพื่อเปนการ เพิ่มชองทางในการผลิตมากขึ้น เชนเดียวกับ นายคมศักดิ์ โตะชาลี ก็กลาวตรงกันวาถามีผูมาสอน การทาบ กิ่ง ติดตา หรือทําไมขุดลอม จะเปนโอกาสดีที่จะไดเรียนรูที่ดีๆ เพื่อที่จะยกระดับกลาไมใหสามารถขายได ในราคาที่สูงขึ้น สามารถขายไดราคาดีขึ้น และกลาไมก็จะทนตอการเกิดโรคสูงอีกดวย


การพึ่งตนเองดานการตลาด การทําการเพาะพันธุกลาไมของวิสาหกิจชมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง นั้น เปนการผลิตที่ยงั ไมมีตลาดรองรับสินคาที่แนนอน สมาชิกผลิตแลวจะตองรอใหพอคาคนกลางมารับ ซื้อถึงสวน จึงทําใหกลาไมขายไดในราคาที่ต่ํา หากไมมีพอคามาซื้อก็จะไมไดขาย สวนสมาชิกบางรายที่มี รถยนตสวนตัวก็จะนํากลาไมไปเรขายตามจังหวัดใกลเคียงหรือขายตามงานตางๆ จากการสัมภาษณ นาย หวล ยางธิสาร ไดกลาววา นายธีรพงศ ยางธิสาร ประธานกลุมซึ่งมีรถยนตสวนตัว และมีเครือขายลูกคาอยู บาง เมื่อมีลูกคาสั่งกลาไม หากตนเองไมมีหรือมีไมเพียงพอก็จะเอาของสมาชิกไปขายให ซึ่งจะนําไปขาย ตามจังหวัดใกลคียง ไมวาจะเปนอุดรธานี กาฬสินธุ มหาสารคาม รอยเอ็ด นครราชสีมา ปราจีนบุรี สิ่ง เหลานี้ลวนแสดงใหเห็นถึงการพึ่งพากันเองภายในกลุม แตอยางไรก็ตามยังถือวาวิสาหกิจชุมชนกลุม เพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ยังไมเขาถึงตลาด เพราะยังขาดการประชาสัมพันธใหบุคคลภายนอกไดรูจัก ไมมกี ารติดปายประชาสัมพันธ ไมมีการประชาสัมพันธผานเว็บไซต (แตในขณะนี้องคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอกําลังดําเนินการนําขอมูลประชาสัมพันธผานเว็บไซตของ อบต.เหลาโพนคอ) และอีก อยางหนึ่งก็ดวยที่วามีขอจํากัดในการเดินทางเขามาซื้อกลาไม เนื่องจากบานหวยยางอยูไกลจากถนนสาย หลักถึง 7 กิโลเมตรจึงเปนอุปสรรคอยางหนึ่งในการทําการตลาด การพึ่งตนเองดานวัตถุดิบ วัตถุดิบในการทําการเพาะพันธุกลาไมอยูหลายอยาง เดิมวัตถุดิบในการผลิตจะหา ไดจากชุมชนเองไมวาจะเปนเมล็ดพันธุ หรือแกลบดํา แต ณ ปจจุบันวัตถุดิบการผลิตเกือบทุกอยาง ทางกลุม ตองหาเงินลงทุนซื้อเพียงอยางเดียว ไมวาจะเปนเมล็ดพันธุ ซึ่งมีราคาที่คอนขางสูงโดยเฉพาะเมล็ดพันธุ ผักหวาน ที่ขายถึงกิโลกรัมละ 100 บาทและเปนเมล็ดที่ยังไมรอนเปลือก สวนมะกรูด มะนาวนั้น ตองซื้อถึง ราคากิโลกรัมละ 500 บาท สมาชิกบางรายก็ซื้อผลมะกรูด มะนาว ในราคา 100 ลูกตอเงิน 60 บาท แลวนํามา ทิ้งไวใหเนาเพื่อนําเอาเมล็ด จะเห็นไดวา เมล็ดพันธุผักหวานจะหาซื้อไดยากมาก ตองสั่งซื้อจากประเทศ ลาวแลวนํามาขายใหกับสมาชิก เชนเดียวกันกับ เมล็ดพันธุของมะกรูด ในปนี้แทบจะหาไมไดเลย และไม เพียงพอตอความตองการของสมาชิกเลย สวนเรื่องของแกลบดํา จะตองมีการสั่งซื้อ โดยขายรถละ 4,000 5,000 บาท และปจจุบันก็คอนขางหายากเพราะตองคํานึงวาเปนแกลบเกาหรือแกลบใหม เพราะถาหากเปน แกลบใหมจะไมสามารถนํามาเพาะกลาไมได เพราะแกลบใหมจะมีความเค็มอาจทําใหกลาไมเหี่ยวตายได วัตถุดิบอีกอยางหนึ่งในการผลิตที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง นั้นคือ ถุงดํา สมาชิกก็ตองมีการสั่งซื้อเชนกัน โดยจะ


มีราคาตามขนาดของถุง เชน ถุงขนาด 2 × 7 จะขายในราคากระสอบละ 1,250 บาท แตถาถุงมีขนาดใหญกวา นี้จะมีราคาเพิ่มขึ้น สวนปุยคอก และปุยเคมี รวมถึงฮอรโมนพืชตางๆ สมาชิกจําเปนตองซื้อ เพื่อเปนการ บํารุงดิน บํารุงพืช จะเห็นไดวาวัตถุดิบในการผลิตเกือบทุกอยางลวนจะตองซื้อทั้งนั้น จึงเห็นไดวาการทํา การเพาะพันธุกลาไมมีการลงทุนที่คอนขางสูง วัตถุดิบที่ใชก็ไมสามารถหาไดในชุมชน นอกจากนี้แลววิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางยังไดมีการนําแนวคิด เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเพื่อเปนแนวทางในการประกอบอาชีพ ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ไดดําเนินงานกลุมภายใต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอยูเสมอ จาการสัมภาษณ ( นายภูมี ยางธิสาร : 26 มิถุนายน 2554 ) ไดกลาววากอนการตัดสินในการลงทุนทําการเพาะพันธุแตละครั้ง ตนจะคํานึงถึงความ พอประมาณอยูเสมอ จะคิดเสมอวาตนเองมีกําลังการผลิตเทาไหร มีเงินทุนแคไหน และสมารถทําได หรือไม นอกจากนี้แลวยังไดนําวิธีการของในหลวงในเรื่องของการบํารุงดินใหเกิดความอุดมสมบูรณ เพื่อ นํามาปรับใชกับการเพาะพันธุกลาไม เนื่องจากดินที่นํามาผสมกับแกลบสวนใหญจะขาดแรธาตุ จึงมีการ เพิ่มธาตุอาหารใหกับดินมากขึ้น เพื่อใหพืชเจริญเติบโตไดดีขึ้น ถาหากพูดถึงเงื่อนไข 2 ประการ คือความรู และคุณธรรมในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะประกอบไปดวยความรู 3 ดาน คือ รอบรูในวิชาการ ตางๆ รอบคอบในการเชื่อมโยง และระมัดระวังในการนําความรูไปใช สวนเงื่อนไขคุณธรรมที่ตองมี คุณธรรมในมิติของจิตใจ และการกระทําที่เนนความซื่อสัตย สุจริต อดทน และมีความเพียร ซึ่งเชนเดียว สมาชิกวิสาหกิจชุมชนเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางที่มีการผลิตกลาไมโดยจะไมเอาเปรียบผูซื้อ โดยจะ คํานึงวาจะตองผลิตกลาใหมีคุณภาพ ใหตนกลามีความแข็งแรง ทนตอโรค เพื่อใหตรงตามความตองการของ ลูกคา และการทําการเพาะพันธุกลาไมตองอาศัยระยะเวลาที่นาน เนื่องจากเปนการเพาะเมล็ด ผูที่ทําการ เพาะจึงตองมีความอดทน และตองมีความสม่ําเสมอในการดูแลรักษา เพือ่ ใหกลาไมเจริญงอกงามดี และ สามารถขายได จะเห็นไดวาการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางนั้น ยังมีสถานการณภายในกลุม ที่มีทั้งจุดออนและจุดแข็ง ซึ่งเพื่อใหเปนวิสาหกิจชุมชนอยางเต็มตัว วิสาหกิจ ชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไมจึงตองมีการพัฒนาในหลายๆดาน ทั้งการตลาด รูปแบบการผลิต การบริหาร จัดการที่เปนระบบมากขึ้น


ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ 1.

ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับรายไดที่เกิดจากการทําอาชีพเพาะพันธุกลาไม

2.

ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับชนิดพันธุไม ซึ่งเปนผลผลิตของกลุม วามีพันธุพืชชนิดใดที่

สามารถจําหนายไดมากที่สุด ขอเสนอแนะเชิงการพัฒนา 1.ทางกลุมควรมีการประชาสัมพันธใหบุคคลภายนอกไดรูจัก ไมวาจะเปนการทําแผน พับ ติดปายโฆษณาตามถนนสายหลัก ประชาสัมพันธผานเว็บไซต เพื่อเปนการเพิ่มชองทาง ทางการตลาด 2.หนวยงานที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนองคการบริหารตําบลเหลาโพนคอ หรือสํานักงาน พัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ มาใหการสนับสนุนดานเงินทุนใหกับกลุม 3. สมาชิกควรมีการจัดทําบัญชีคาใชจายเพื่อใหสมาชิกรูตนทุนในการผลิตที่แทจริง 4.ทางกลุมควรเพิ่มรูปแบบการผลิตใหมากขึ้น


บรรณานุกรม


บรรณานุกรม เกียรติศักดิ์ ขันทีทาว (2554). สภาพปญหาการบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร. มหาวิทยาลัยขอนแกน กองวิจัยและประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน (2550). ปญหาและอุปสรรคที่สงผลตอการ ดําเนินงานกลุมของเกษตรกร. กระทรวงมหาดไทย พงษพัฒน วันทองสุข (2547). ปจจัยที่สงผลตอการเสริมสรางความเขมแข็งของกลุม เกษตรกรนาทอง : กรณีศึกษาบานแบก ตําบลนาทอง อําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พนมพร ขันธวิไชย (2536). การศึกษาสภาพปญหาดานการผลิตของเกษตรกร : กรณีศึกษา หมูบานในจังหวัดสกลนคร. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ประภาส สุทธิอาคารและคณะ. (2550).วิสาหกิจชุมชน.กรุงเทพฯ:เจริญวิทยการพิมพ. วรรณภา สังเกตุ (2552). การบริหารจัดการกลุมอาชีพ ศึกษากรณีกลุมขนมหวานบานชะอม อําเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา.รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน. วีระวัฒน ยาทองไชย (2553) . การบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบาน ดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร.รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน. เสรี พงศพิศ (2548). ฐานคิดจากแผนแมบทสูวิสาหกิจชุมชน.กรุงเทพฯ:เจริญวิทย การพิมพ. เอกวิทย มณีธร (2552).ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการบริหาร/การจัดการ.พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ.หางหุนสวนจํากัด เอ็ม.ที.เพรส.


รายชื่อผูใหสัมภาษณ


รายชื่อผูใหสัมภาษณ

1. นายธีรพงศ ยางธิสาร บานเลขที่ 198 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 37 ป 2. นายคําแพง ชาลีพร บานเลขที่ 28 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 46 ป 3. นางสาวชมสวน หวัดสูงเนิน บานเลขที่ 149 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร อายุ 34 ป 4.นางศิรินาถ แสนธิจักร บานเลขที่ 185 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 37 ป 5.นายคมศักดิ์ โตะชาลี บานเลขที่ 208 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 32 ป 6.นายหวล ยางธิสาร บานเลขที่ 215 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 61 ป 7.นายนัด วงศอินพอ บานเลขที่ 88 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 66 ป 8. นางนารีรัตน เทือกตาทอง บานเลขที่ 70 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร อายุ 37 ป 9.นางดอกรัก จองสระ บานเลขที่ 261 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 42 ป 10.นายชิด ยางธิสาร บานเลขที่ 254 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 32 ป 11.นายประมุข วงศอินพอ บานเลขที่ 88 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด


สกลนคร อายุ 32 ป 12.นางอรัญญา ยางธิสาร บานเลขที่ 42 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 43 ป 13.นางวิจิตร แสนธิจักร บานเลขที่ 230 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 36 ป 14.นางทองศรี โตะชาลี บานเลขที่ 136 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 53 ป 15.นายภูมี ยางธิสาร บานเลขที่ 217 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 42 ป 16.นายมนูญ ยางธิสาร บานเลขที่ 219 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 42 ป 17.นางประสบศิลป ทองสงา บานเลขที่ 137 หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร อายุ 42 ป 18.นายเมษา ยางธิสาร บานเลขที่ 178 หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อายุ 32 ป


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แนวทางการสัมภาษณ


แนวการสัมภาษณผูนํากลุม (แบบสัมภาษณไมมีโครงสราง) สัมภาษณประธาน และรองประธานกลุม ขอบเขตเนื้อหา/ขอมูล 1.ประวัติการกอตั้งกลุม

คําถาม 1.1 กลุมกอตั้งเมื่อไหร 1.2 ใครเปนผูมีบทบาทในการกอตั้ง

2. วัตถุประสงคของกลุม

2.1 กลุมตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร 2.2 ใครมีบทบาทในการกําหนดวัตถุประสงค 2.3 กลุมเคยปรับแกวัตถุประสงคหรือไม เพราะอะไร

3. การบริหารจัดการของกลุม

3.1 ปจจุบันกลุมมีกรรมการกี่คน ตําแหนงอะไรบาง 3.2 ปจจุบันกลุมมีสมาชิกกี่คน สมาชิกเพิ่มหรือลด 3.3 กลุมมีวิธีการไดมาซึ่งกรรมการอยางไร 3.4 กลุมมีวิธีการไดมาซึ่งสมาชิกอยางไร 3.5 กลุมมีการประชุมบอยแคไหน 3.6 กลุมมีการประสานกันอยางไร

4. กฎระเบียบของกลุม

4.1 กฎระเบียบของกลุมมีอะไรบาง 4.2 ใครมีบทบาทในการตั้งกฎระเบียบ 4.3 กลุมเคยปรับแกกฎระเบียบหรือไม เพราะอะไร

5. การเงินของกลุม

5.1 ปจจุบันกลุมมีเงินทุนทั้งหมดเทาไหร 5.2 กลุมไดรับเงินทุนดังกลาวจากไหน


5.3 กลุมมีเงินทุนเพียงพอในการทํางานหรือไม 6. แผนกิจกรรมของกลุม

6.1 แผนการดําเนินงานของกลุมมีอะไรบาง อยางไร 6.2 กิจกรรมของกลุมมีตอเนื่องทั้งปหรือไม อยางไร

7.ผลการดําเนินงานของกลุมในรอบป

7.1 กลุมมีการทํางานอะไรบาง มากนอยแคไหน 7.2 ประสบผลสําเร็จหรือลมเหลว กําไรหรือขาดทุน 7.3 สมาชิกกลุมไดรับผลประโยชนหรือไม อยางไร

8. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน

8.1 ปญหาหรืออุปสรรคคืออะไร 8.2 กลุมไดเคยชวยกันแกไขหรือไม อยางไร

9. ความตองการในการพัฒนากลุม

9.1 กลุมมีจุดเดนหรือไม อยางไร 9.2 กลุมมีควรไดรับการปรับปรุงหรือไม เรื่องใดบาง 9.3 แนวทางการปรับปรุงการทํางานกลุมใหดีขึ้น ควรเปนอยางไร หรือควรทําอยางไร

แนวการสัมภาษณสมาชิกกลุม (แบบสัมภาษณมีโครงสราง)

ขอบเขตเนื้อหา/ขอมูล

คําถาม

1. ขอมูลสวนตัว

1.1 อายุ 1.2 เพศ 1.3 การศึกษา 1.4 สถานภาพสมรส

2. ประวัติการเปนสมาชิกกลุม

2.1 ทานเปนสมาชิกกลุมเมื่อไหร นานหรือยัง 2.2 ทําไมทานจึงสมัครเปนสมาชิกกลุม ใครชักชวน

3. ความเขาใจเกี่ยวกับกลุม

3.1 ทานทราบหรือไมวากลุมตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร อยางไร 3.2 ทานทราบหรือไมวาการทํางานกลุมดีอยางไร


4. บทบาทหนาที่ในกลุม

4.1 ทานทราบหรือไมวาสมาชิกตองมีบทบาทหนาที่อะไร 4.2 ปจจุบันทานมีบทบาทหนาที่อะไรในกลุม 4.3 ทานเคยเขารวมทํางานในเรื่องอะไรบาง 4.4 ทานเคยเขาประชุม อบรม หรือศึกษาดูงานหรือไม

5. ผลประโยชนที่ไดรับ

5.1 ทานไดรับประโยชนอะไรบางจากการเปนสมาชิกกลุม 5.2 ทานพึงพอใจหรือไมกับประโยชนที่ไดรับ เพราะอะไร

6. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน

6.1 ทานประสบปญหาหรือมีอุปสรรคในการทํางานกลุม หรือไม อยางไร 6.2 ปญหาหรืออุปสรรคดังกลาว กลุมไดเคยชวยกันแกไข หรือไม อยางไร

7. ความตองการในการพัฒนากลุม

7.1 ทานคิดวากลุมมีจุดเดนหรือไม อยางไร 7.2 ทานคิดวากลุมมีความตองการในการปรับปรุงใหดีขึ้น หรือไม ในเรื่องใดบาง 7.3 ทานคิดวาแนวทางในการปรับปรุงการทํางานกลุมใหดี ขึ้น ควรเปนอยางไร หรือควรทําอยางไร


ภาคผนวก จ

ตารางประวัติศาสตรชุมชน


ตารางประวัติศาสตรชุมชน ชวงเวลา (พ.ศ.) 2300 2301

2475 2480 ****2482 2499 2500 2508 2509 2514 – 2518 2519 2520 2521 2528 2531 2532 2540 2543 2545 2553

เหตุการณสําคัญ อพยพมาจากประเทศลาว มาที่กุดเชียงบาน โดยการนําของนายยาง กับนาย โตะ เกิดฝดาษ โรคระบาดอยางรุนแรง ทําใหชาวบานตองอพยพออกเปน 2 กลุม กลุมแรกอพยพไปบานโพนงาม อําเภอนาแก กลุมที่ 2 อพยพมาที่บานหวย ยางปจจุบันนี้ แตงตั้งผูใหญบานคนแรก นายชม บุญเรืองจักร แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 2 นายทอน ยางธิสาร นายเตียง ศิริขัน นําทหารมาฝกที่ถ้ําผานาง แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 3 นายไท ยางธิสาร สรางพระธาตุดอยอางกุง ตั้งโรงเรียนบานหวยยาง แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 4 นายพาดี ยางธิสาร คอมมิวนิสตเขามายึดพื้นที่บานหวยยาง คอมมิวนิสตดีแคมปบานหวยยางและเผาสถานีตํารวจบานเหลา บานหวยยางสงบ แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 5 นายเลา ยางธิสาร ประกาศเปนหมูบานขอทาน จากหนังสือพิมพไทยรัฐ แยกบานออกเปน 2 หมู สรางอางเก็บน้ําหวยโท หวยยาง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จวางศิลาฤกษอางเก็บน้ําหวยโท หวยยาง มีน้ําประปาใชในหมูบาน แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 6 นายหวง ยางธิสาร แตงตั้งผูใหญบานคนที่ 7 นายหวล ยางธิสาร สรางตลาดชุมชน มีตูโทรศัพทตูแรก คนพบซากฟอสซิสไดโนเสาร107,000,000 ป โดยนายอําเภอพิทักษ บริพิศ ทราบจากพระอาจารยกึ้ม


ภาคผนวก ฉ

เอกสารการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน


ภาคผนวก ช

รูปภาพกิจกรรม


ตลาดชุมชนบานหวยยาง

โรงเรียนบานหวยยาง


วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม

วัดโพธิ์ชัย


ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหวยยาง

ประปาหมูบาน


การเก็บขอมูล

การประชุมกลุมยอย


ขั้นตอนการผลิต


สวนเพาะพันธุกลาไม

พิธีบายศรีสูขวัญ


ประวัติยอของผูศึกษา

ชื่อ

นางสาวอนุชิดา แพงดวงแกว

วันเกิด

วันเสารที่ 24 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2532

ที่อยูปจจุบัน บานเลขที่ 217 หมูที่ 11 บานบดมาด ตําบลพอกนอย อําเภอพรรณนานิคม จังหวัด สกลนคร

สกลนคร 47220 โทร. 081-7992185

ประวัติการศึกษา ปจจุบันศึกษาระดับปริญญาตรี ศศบ. การพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชั้นปที่ 4

ชั้นปที่ 4 -

ชั้นประถมศึกษา จบจากโรงเรียนชุมชนบดมาดพอกนอย อําเภอพรรณนานิคม จังหวัด จังหวัดสกลนคร

-

ชั้นมัธยมศึกษา จบจากโรงเรียนธาตุนารายณวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.