แหล่งเรียนรู้ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์เหล่าโพนค้อ

Page 1

การสํารวจไดโนเสารในประเทศไทย การสารวจไดโนเสารในปร เทศไทย ซากดึกดําบรรพของไดโนเสารในเมืองไทยไดมีการคนพบกันมาเปนเวลานานแลว กระดูกไดโนเสารชิ้นแรกพบที่ อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน ในป พ.ศ. 2519 โดยนายสุธรรม แยมนิยม นักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ขณะสํารวจ แรยูเรเนียมในหมวดหินเสาขัว (Sao Khua Formation) กระดูกดังกลาวไดรับการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญชาวฝรั่งเศสวา เปนสวนปลายลางสุดของกระดูกตนขาของไดโนเสารกินพืช ทําใหทราบวามีไดโนเสารในประเทศไทยดวย ดังนั้น ตั้งแต ปพ.ศ. 2523 เปน ตนมา จึงมีงานสํารวจซากดึกดําบรรพสัตวมีกระดูกสันหลังในประเทศไทยรวมกันระหวางนักธรณีวิทยา จากฝายโบราณชีววิทยา กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กับผูเ ชี่ยวชาญชาวฝรั่งเศส ผลจากการสํารวจแหลงไดโนเสาร ตั้งแต พ.ศ.2523 จนถึงปจจุบันพบซากดึกดําบรรพกระดูกไดโนเสาร และ รอยเทาของไดโนเสารกระจัดกระจายอยูทั่วไปในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศหลายจังหวัด ไดแก จังหวัด ขอนแกน อุดรธานี สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ มุกดาหาร ชัยภูมิ เลย นครราชสีมา หนองบัวลําภู อุบลราชธานี ยโสธร สระแกว ปราจีนบุรี เพชรบูรณ พะเยา และกระบี่ ในจํานวนแหลงทั้งหมดมีแหลงรอยเทา 11 แหลงคือที่ อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน อุทยานแหงชาติภูเกา จังหวัดหนองบัวลําภู อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดปราจีนบุรี อําเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร อําเภอนาคู อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ อําเภอดานซาย อําเภอภูหลวง อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย อําแภอทาอุเทน จังหวัดนครพนม อําเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ

กระดูกชิ้นแรกที่ขุดพบที่อุทยานแหงชาติ ภูเวียง จังหวัดขอนแกน

กระดูกคอไดโนเสารซอโรพอดที่หลุมขุดคนที่ 2 อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน

กระดูกไดโนเสารที่หลุมขุดคนที่ 9 อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน

การสํารวจหาซากกระดูกไดโนเสาร ที่อําเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ

ขุดซากกระดูกไดโนเสารที่ภูกุมขาว อําเภอสหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงที่พบฟอสซิลไดโนเสารในประเทศไทย

กระดกไดโนเสาร ที่หลมขดค นที่ 1 อ.ภู อ ภเวี ยง จ.ขอนแกน จ ขอนแกน กระดู กไดโนเสารทหลุ มขุดคนท เวยง เปนกระดูก ของไดโนเสารกินพืช ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

กระดูกไดโนเสารภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ที่สมบูรณที่สุด ยุคครีเทเชียส อายุ 130 ลานป ที่ภูกุมขาว จ.กาฬสินธุ

ตัวอยางไขสตั วเลื้อยคลาน จากหินทรายหมวดหินเสาขัว ยุคครีเทเชียสตอนตน (130 ลานป) อ.เตางอย จ.สกลนคร

กร ดกไดโนเสาร ซอโรพอด หมวดหิ นน้ําพอง กระดู กไดโนเสารซอโรพอด หมวดหนนาพอง ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย(210 ลานป) ภูกระดึง จ.เลย

ไ โ หลุมขุดคน ไดโนเสาร เ ชียี งมว น จังั หวัดั พะเยา แหลงไดโนเสารแหงแรกของภาคเหนือ

แหลงรอยตีนไดโนเสารที่เกาแกที่สุด ในหมวดหินน้ําพอง ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย(210 ลานป) อ.หนองบัวแดง จ.เลย

แหลงขุดคนไดโนเสาร อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชชิ ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย(210 ลานป) อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ

แหลงไดโนเสารโคกผาสวม อ.ศรีเมืองใหม จ.อุบลราชธานี หมวดหินโคกกรวด อายุ 100 ลานป

แหลงขุดคนไดโนเสาร ในหมวดหินภูกระดึง อ.คํามวง จ.กาฬสินธุ ยุคจูแรสสิกตอนปลายถึงครีเทเชียสตอนตน (150 ลานป)

แหลงรอยตีนไดโนเสาร อุทยานแหงชาติเขาใหญ แหลงรอยตีนไดโนเสาร ทาอุเทน จ.นครพนม แหลงไดโนเสารซอโรพอด จ.กระบี่ แหงแรกในภาคใต หมวดหินคลองมีน ยุคจูแรสสิกตอนปลาย (150 ลานป) หมวดหินพระวิหาร ยุคครีเทเชียสตอนตน (140 ลานป) หมวดหินโคกกรวด อายุ 100 ลานป

แหลงรอยตีนไดโนเสาร อ.นาคู จ.กาฬสินธุ หมวดหินพระวิหาร ยุคครีเทเชียสตอนตน (140 ลานป)

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ไดโนเสารชนิดตางๆ ที่พบในประเทศไทย DINOSAURS OF THAILAND จากการสําํ รวจฟอสซิ ฟ ิลไไดโนเสาร โ ในประเทศไทย ป ไ พบกระดูกไไดโนเสาร โ เปนจํ​ํานวนมากในชั ใ น้ั หินิ ทรายทีส่ี ะสมตัวั บนแผนดินมหายุคมีโซโซอิก ชิ้นสวนกระดูกที่พบ เปนของไดโนเสารชนิดตาง ๆ คือ 1. ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน Phuwiangosaurus sirindhornae 2. สยามโมซอรัส สุธีธรนี Siamosaurus suteethorni 3. สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส Siamotyrannus isanensis 4. คอมพซอกนาธัส Compsognathus 5. กินรีมิมัส ขอนแกนเอนซิส Kinnareemimus khonkaenensis 6. ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษกิ Psittacosaurus sattayaraki 7. อีสานโนซอรัส อรรถวิภัชนชี Isanosaurus attavipachi 8. สยามโมดอน นิ่มงามมิ Siamodon nimngami 9. ราชสีมาซอรัส สุรนารีอิ Ratchasimasaurus suranareae นอกจากนั้นยังพบฟอสซิลของสัตวรวมสมัยไดโนเสารไดแก หอยน้ําจืดสองฝา (Bivalve) ปลาเลปโดเทส (Lepidotes) จระเขโกนิโอโฟลิส (Goniopholis) เตา (Turtle) และปลาฉลามน้ํา้ จืดไฮโบดอนท (Hybodont shark)

3 1

5 2 4

6 กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


อีสานดึกดําบรรพ ยุคครีเทเชียสตอนตน (Early Cretaceous) เมื่อ 130 ลานปกอน ผืนแผนดินอีสานมีลักษณะภูมิประเทศเปน ที่ราบลุมน้ําใหญ เปนแหลงอาศัยของไดโนเสารและสัตวดึกดําบรรพ ซึ่งเมื่อตายลงไปก็ถูกตะกอนจากแมน้ํากลบฝง เก็บรักษาเอาไวกลายเปนซากดึกดําบรรพ ทําใหเราคนพบและจินตนาการถึงเหลาฝูงไดโนเสารกินพืช ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae) หากินอยูใกลชายน้ําอันอุดมสมบูรณดวยพืชพันธุไม ไดโนเสารนกกระจอกเทศ กินรีมิมัส ขอนแกนเอนซิส (Kinnareemimus khonkaenensis) กลุมหนึ่งซึ่งอยูไมไกลนักตกใจวิ่งหนีพวกลาเหยื่อ สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส (Siamotyrannus isanensis) ซึ่งปรากฏตัวอยูดานหนาของภาพ ฝูงคอมพซอกนาธัส (Compsognathus) ไดโนเสาร ขนาดจิ๋ วหากิ น อยู ตามชายฝ ง อี ก ด านหนึ่ ง สยามโมซอรั ส สุ ธี ธ รนี (Siamosaurus suteethorni) กําลังจับปลาเลปโดเทส (Lepidotes) เปนอาหารอยูริมฝงทางซายของภาพ ในแมน้ํามีจระเข โกนิโอโฟลิส (Goniopholis) และมุมดานขวาของภาพเปนเตาโบราณ สาเหตุที่ไดโนเสารมาตายรวมกันอยูที่นี่มีหลายสาเหตุดวยกัน สาเหตุหนึ่งสันนิษฐานวาสภาพแวดลอม โบราณในยุ​ุคครีเทเชียสตอนตน (Earlyy Cretaceous) บริเวณนี้เปนที่ราบลุ​ุมน้ําใหญ ญ มีแมน้ําไหลคดเคี้ยวตวัดไปมา (meandering rivers) สภาพภูมิอากาศเปนแบบกึ่งแหงแลง(semi-aridenvironment) ในฤดูแลงกระแสน้ําจะไหลเอื่อย ๆ แตในฤดูฝนมีน้ําปาไหลหลากมาอยางแรง ทําใหแมน้ํามีกระแสน้ําไหลเชี่ยวและมีน้ําเออลนทวมตลิ่งเปนบริเวณกวาง ฝูงไดโนเสารที่อาศัยหากินที่บริเวณริมน้ําใชเสนทางเดินขามแมน้ําเปนประจํา ไดพยายามเดินขามแมน้ําตามปกติ แตกระแสน้ําไหลแรงมากไดโนเสารฝูงใหญมีจํานวนมากจึงเกิดการเบียดชนและเหยียบกัน พวกที่ออนแอก็จมน้ําตาย ซากถูกน้ําพัดพามาเกยตื้นอยูที่บริเวณสันดอนหรือริมตลิ่ง ตอมาถูกฝงกลบดวยตะกอนดินทรายเปนระยะเวลานาน นับหลายหมื่นหลายลานป จนกลายเปนฟอสซิลหรือซากดึกดําบรรพเก็บรักษาไวในชั้นหิน ใหนักโบราณชีววิทยา ทําการขุดคน อนุรักษและศึกษาวิจัยแลวจินตนาการถึงสภาพแวดลอมโบราณและความเปนอยูของสิ่งมีชีวิตในอดีต ใหเราไดรับรูในปจจุบัน

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ไ โ ไดโนเสาร  เปนสัตวเลื้อยคลานโบราณชนิดหนึ่ง มีขนาดและรูปรางแตกตางกันมากมาย บางชนิดมีขนาดเล็กเทาไก บางพวกเดิน 4 ขา บางพวกก็เดินและวิ่งบนขาหลัง 2 ขาง บางพวกกินแตพืชเปนอาหาร ในขณะที่อีกพวกหนึ่งกินเนื้อ ไดโนเสารพวกแรกปรากฏขึ้นมาในโลกในชวงตอนปลายของยคไทรแอสสิ ไดโนเสารพวกแรกปรากฏขนมาในโลกในชวงตอนปลายของยุ คไทรแอสสกก (Late Triassic) เมอกวา เมื่อกวา 225 ลานป ลานป มาแลว เปนเวลาที่ทวีปทั้งหลายยังตอเปนผืนเดียวกัน มีชีวิตอยูและมีวิวัฒนาการตลอดระยะเวลาอันยาวนานถึง 160 ลานป กระจัดกระจายแพรหลายอยูทั่วผืนแผนดินในโลก และสูญพันธุไปหมดเมื่อ 65 ลานปที่ลวงมา ในขณะที่ตนตระกูล ของมนุษยเพิ่งจะปรากฏในโลกเมื่อ 5 ลานปที่ผานมา หลังจากไดโนเสารสูญพันธุไปแลวถึง 60 ลานป

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ไดโนเสารมอยู ไดโนเสาร มีอยจริรงทตาบลเหลาโพนคอ งที่ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ บริเวณภูยางอึ่ง อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งอยูในเขต  ิ ผายล เรมขนเมอเดอนสงหาคม อุทยานแหงชาตภู ิ่ ึ้ ื่ ื สิ พ.ศ.2553 ศ 2553 โดย โ ชาวบานเปนผูพบวัตถุลักษณะคลายฟอสซิล และนายพิทักษ บริพิศ นายอํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ ได ส ง ไปให พิ พิ ธ ภั ณ ฑ สิ ริ น ธร ภู กุ ม ข า ว กรมทรั พ ยากรธรณี ทํ า การตรวจสอบเบื้ อ งต น พบว า เป น ฟอสซิ ล ไดโนเสารจริง แตยังไมทราบวาเปนชนิดใด ในเบื้องตนองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดมีหนังสือ แจงไปยังกรมทรัพยการธรณี เพอใหมาตรวจสอบสถานททคนพบ แจงไปยงกรมทรพยการธรณ เพื่อใหมาตรวจสอบสถานที่ที่คนพบ โดย นายอัศนี มีสุข ผูอํานวยการสํานักคุมครองซากดึกดําบรรพ และคณะ ไดเขามาตรวจสอบในเดือนกันยายน 2553 และใหทําแนวเขตปองกัน การขุดคนและเคลื่อนยายฟอสซิล ในป พ.ศ. 2555 ไดมีเจาหนาที่ของกรมทรัพยากรธรณีมา สํารวจพื้นที่รวมกับทางองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอและ อุ​ุทยานแหงชาติภูผายล จากการตรวจสอบซากฟอสซิลที่เก็บรักษาไว ที่สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ระบุในเบื้องตนไดวา เปนไดโนเสารกินเนื้อ 2 ประเภท จากลักษณะของฟนที่แตกตางกัน คือ กลุ ม ไดโนเสาร สยามโมไทรั น นั ส อิ ส านเอนซิ ส และกลุ ม ไดโนเสาร สยามโมซอรัส สุธี ธรนี ในสว นของกระดู กซึ่ งมีขนาดใหญน าจะเป น พวกซอโรพอด คื อ กลุ มไดโนเสาร กิ นพื ช ภู เวี ยงโกซอรั ส สิ ริ นธรเน นอกจากนี้ยังพบเศษฟนจระเขและกระดองเตาดวย

พืน้ ที่บริเวณภูยางอึ่งที่มีการคนพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ไดมีการทายแนวเขตปองกันการขุดคนและเคลื่อนยายฟอสซิล

ซากฟอสซิลทีพ ่ บบริเวณภูยางอึ่ง ซึง่ เก็บรักษาไว ที่สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

ลักษณะของไดโนเสารที่พบซากฟอสซิลบริเวณภูยางอึ่ง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส

สยามโมซอรัส สุธีธรนี

ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

การสํารวจพืน้ ทีภ่ ูยางอึ่ง ที่มีการคนพบฟอสซิลไดโนเสาร ของเจาหนาที่กรมทรัพยากรธรณี รวมกับ อบต.เหลาโพนคอ และอุทยานแหงชาติภูผายล กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส Siamotyrannus isanensis

Buffetaut, Suteethorn and Tong, 1996

เปนไดโนเสารเทอโรพอดขนาดใหญพวกคารโนซอร กินเนื้อ เปนอาหาร เดินดวย 2 เทาหลังที่ทรงพลัง คอสั้น หัวกะโหลกใหญ มี ฟ น คมเหมื อ นใบมี ด ขาหน า เล็ ก สั้ น พบซากกระดู ก หลายชิ้ น ประกอบดวยกระดกสั ประกอบดวยกระดู กสนหลง นหลัง กระดู กระดกสะโพก กสะโพก และกระดกหาง และกระดูกหาง เป เปนน ซากดึกดําบรรพที่สมบูรณ ฝงตัวแนนอยูในชั้นหินทรายยุคครีเทเชียส ตอนต น ประมาณ 130 ล า นป ที่ ภู เ วี ย ง จั ง หวั ด ขอนแก น ผล การศึกษาวิจัยพบวาเปนไดโนเสารสกุลใหม และชนิดใหมจึงตั้งชื่อวา สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส Siamotyrannus isanensis ลักษณะของ กระดูกที่พบบงวาเปนบรรพบุรษของที-เร็กซ (Tyrannosaurus rex) ซึ่ง เปนไดโนเสารกินเนื้อที่มีขนาดใหญ ญมากในยุ​ุคครีเทเชียสตอนปลาย สยามโมไทรันนัส มีขนาดยาวประมาณ 6.5 เมตร ซึ่งยาวครึ่งหนึ่ง ของ ไทรันโนซอรัส เร็กซ

ลักษณะฟนไดโนเสารสยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส ทีพ ่ บในบริเวณตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ

ลักษณะไดโนเสารกลุมสยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


สยามโมซอรัส สุธีธรนี Si Siamosaurus suteethorni t th i

Buffetaut and Ingavat, 1986 ไดโนเสารกินเนื้อขนาดใหญชนิดแรกที่พบในประเทศไทย พบฟนที่มีลักษณะเปนรูปทรงกรวย มีแนวรองและสัน เรียงสลับกันตลอดรอบฟน คลายฟนจระเข ในชั้นหินหมวดเสาขัวหลายแหง ยุ​ุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 120 - 130 ลานป เปนฟนของเทอโรพอดขนาดใหญ สยามโมซอรัส สุธีธรนี Siamosaurus suteethorni โดยชื่อตั้งใหเปนเกียรติแกนายวราวุธ สุธีธร ซึ่งมีสวนสําคัญในการคนพบฟอสซิลสัตวมีกระดูกสันหลังในประเทศไทย ลักษณะของฟนซึ่งผิดแปลกไปจากเทอโรพอดทั่วๆไป ชี้ใหเห็นวา สยามโมซอรัส นาจะกินพวกปลาเปนอาหาร คลายกับพวกจระเข

ลักั ษณะฟ ฟนไไดโนเสาร โ สยามโมซอรั โ ัส สุธีธรนี​ี ทีพ ี่ บ ในบริเวณตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ มีลักษณะเปนรูปทรงกรวย ปลายแหลม มีแนวรอง

ลักษณะไดโนเสารกลุมสยามโมซอรัส สุธีธรนี

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน Phuwiangosaurus sirindhornae Martin, Buffetaut and Suteethorn, 1994 ไดโนเสารซอโรพอดชนิดแรกที่พบในประเทศไทย เปนไดโนเสารกินพืชขนาดใหญ ยาวประมาณ 15-20 เมตร เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว พบในชั้นหินหมวดเสาขัว ยุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 130 ลานป ที่ภูเวียง จังหวัดขอนแกน ภูกุมขาว จังหวัด กาฬสินธุ ชัยภูมิ สกลนคร หนองบัวลําภู และอุดรธานี การวิจัยฟอสซิลที่พบชี้ใหเห็นวาตางไปจากพวกซอโรพอดทั้งหลายที่พบใน ประเทศจีน ทวีปอเมริกา อัฟริกาและอื่น ๆ เปนไดโนเสารสกุลใหมและชนิดใหมของโลก โดยชื่อสกุลตั้งตามสถานที่พบครั้งแรก คือภูเวียง สวนชื่อชนิดเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผูทรงสนพระทัยและติดตามงาน สํารวจวิจัยไดโนเสารมาโดยตลอด โดยไดรับพระมหากรุณาธิคุณใหใชพระนามาภิไธย “สิรินธร” เปนชื่อชนิดไดโนเสาร

ลักั ษณะกระดูกสวนไหปลาร ไ ป า ของไดโนเสาร ไ โ  ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ที่พบในบริเวณ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ

ลักษณะไดโนเสารภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.