รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

Page 1

รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ

พัฒนานิพนธเลมนีเ้ ปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการฝกงานพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 22555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ

พัฒนานิพนธเลมนีเ้ ปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการฝกงานพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 22555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จได โดยไดรับความอนุเคราะหและความกรุณาจากผูมีพระคุณหลายทาน ที่ไดใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรองของการทํางาน จนทําใหพัฒนานิพนธเลมนี้ไดเสร็จสมบูรณขึ้น ขอขอบพระคุณ ทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร อาจารยที่ปรึกษาพัฒนานิพนธ ที่ไดเ สียสละ เวลาอันมีคา เพื่อใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทําพัฒนานิพนธ ทุก ขั้นตอนในการศึกษาคนควาตลอดเวลาที่ ผ า นมา รวมถึ ง ได ต รวจสอบแก ไ ขข อ บกพร อ งต า งๆด ว ยความเอาใจใส อ ย า งดี ยิ่ ง ผู ศึ ก ษาขอกราบ ขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอขอบพระคุณ คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร สังกัดองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ซึ่ งทําหน าที่เ ปน อาจารยภ าคสนามของขา พเจาเปน อยา งสูง ในการใหคํ าแนะนําและช วยเหลื อ เกี่ยวกับการฝกงานภาคสนามที่ตําบลเหลาโพนคอ และชุมชนหวยยาง ขอกราบขอบพระคุณ คุณอนุสรณ พลราชม นายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณมีชัย อุนวิเศษ ปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณรัตนะ คํา โสมศรี หัวหนาสํานักปลัดองคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณอนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน คุณดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษา และเจาหนาที่องคก ารบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ทุกทาน ที่คอยใหคําแนะนํา อํานวยความสะดวก รวมถึงใหการตอนรับขาพเจาดวยดีเสมอมา ทําใหไดรับประสบการณที่ดีและมีคุณคาในการฝกงานครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ คุณ ทวีชัย ยางธิสาร ผูใหญบานบานหวยยางเหนือ หมู 9 คุ ณพายัพ โตะชาลี ผูใหญบานบานหวยยางหมู 6 คุณพอหวล ยางธิสาร อดีตผูใหญบานบานหวยยางหมู 6 คุณพอ วิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบาน บานหวยยางเหนือหมู 9 คุณพอ เลา ยางธิสาร คุณแมวิชิน ยางธิสาร ตลอดจน ชาวบานหวยยางทุกคนที่ใหการตอ นรับ ชวยเหลือ สนับสนุนขาพเจ าในดานขอ มูลและประสบการณใน ชุมชน ตลอดระยะเวลาของการทํางานในชุมชนหวยยาง ขอขอบพระคุณ ผูอํานวยการโรงเรียนบานหวยยาง และคณะครู ที่ไดชวยเอื้อเฟอ และอํานวยความ สะดวกดานสถานที่และวัสดุอุปกรณ ในการจัดประชุมชาวบานหวยยาง จนทําใหไดรับขอมูลครบถวนใน การจัดทําพัฒนานิพนธ ขอขอบพระคุณ ทานอาจารย ดร.กนกพร รัตนสุธีระกุล และ อาจารยศศิประภา จันทะวงศ ที่ไดให คําแนะนําเชิงวิชาการ ดานแนวคิดและทฤษฎี จนทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้มีความนาเชื่อถือในเชิงวิช าการ มากยิ่งขึ้น


ขอขอบคุณ เพื่อนๆทีมงานการฝกงานพัฒนาชุมชน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ไดแก นางสาวศิริภรณ ไชยอุป นางสาวจตุพร อุภั ยศรี นางสาวจารุวรรณ โบขุนทด และนางสาวกัลยา โฮมหุมแกว ที่ไดชวยกันรวมแกไขปญหาตางๆ ใหคําปรึกษา เปนเพื่อ นที่รวม ทุกข รวมสุข ใหความชวยเหลือตลอดมา และยังเปนกําลังใจใหกันและกันตลอดระยะเวลาในการทําพัฒนา นิพนธ งานพัฒนานิพนธเ ลมนี้ จะสํ าเร็ จลุ ล วงไมได หากไม ไดรั บการสนับสนุนจากครอบครัวเบ็ญจรู ญ โดยเฉพาะอยางยิ่งคุณพอคุณแม ดังนั้น ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ขาพเจาจึงขอมอบ ใหแก นายวิเชียร และนางนิท เบ็ญจรูญ ผูเปนบิดาและมารดาของขาพเจา สมาชิกในครอบครัวเบ็ญจรูญ รวมถึงผูที่สนใจศึกษาพัฒนานิพนธฉบับนี้

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ


รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ

ชื่อเรื่อง

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษา

นางสาวดุจเดือน เบ็ญจรูญ

อาจารยที่ปรึกษา

อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร

ปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขา การพัฒนาชุมชน

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2555

บทคัดยอ พัฒนานิพนธเรื่องรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึก ษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวย ยาง และ 2) เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง โดยมีแ นวคิดและ ทฤษฎีในการศึกษา คือ ทุนชุมชน การจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน และนิเวศวิทยาวัฒนธรรม มีวิธีการศึกษา โดยการสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณระดับลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม และการสนทนา กลุม ซึ่งเก็บขอ มูลภาคสนามในชวงเดื อนมิถุน ายน ถึ ง เดื อนสิงหาคม พ.ศ. 2555 จากกลุมเปาหมาย จํานวน 28 คน ผลการศึกษามีดังนี้ ประการแรก พบวา ชุมชนหวยยางเปนชุมชนชาติพันธุภูไท ตั้งอยูติดเทือกเขาภูพาน ซึ่งชุมชนมี ศักยภาพในหลายดาน คือ ศักยภาพดานทุนทางธรรมชาติ ศักยภาพดานทุนทางสังคม ศักยภาพดานทุนทาง วัฒนธรรม และศักยภาพดานทุนทรัพยากรมนุษย ชุมชนยังมีขอจํากัดที่เปนปญหาในการพัฒนารูปแบบการ ทองเที่ยว คือ การคมนาคมไมสะดวก และชาวบานยังขาดความรูความเขาใจดานการจัดการทองเที่ยว ประการที่สอง พบวา รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง มี 3 รูปแบบ คือ การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการทองเที่ยวเชิงเกษตร โดยสรุป การศึกษาครั้งนี้ใหความสําคัญกับการกําหนดรูปแบบการทอ งเที่ยวที่มีความเหมาะสม กับศักยภาพและขอจํากัดของชุมชน ซึ่งเปนประโยชนในการสงเสริมใหชุมชนเปนหมูบานทองเที่ยว โดย ชุมชนมีความสามารถในการจัดการการทองเที่ยวไดอยางยั่งยืน


สารบัญ

บทที่

หนา

1 บทนํา ..................................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................................................. 1 คําถามในการศึกษา ............................................................................................................ วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................ ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................................ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ................................................................................................ พื้นที่เปาหมาย .................................................................................................................... ประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................................................ การทบทวนวรรณกรรม .....................................................................................................

4 4 4 5 5 5 5

แนวคิดในการศึกษา .......................................................................................................... 13 กรอบแนวคิดในการศึกษา ............................................................................................... 18 วิธีดําเนินการศึกษา ........................................................................................................... 19 นิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................................. 20 2 บริบททั่วไปของชุมชน ......................................................................................................... 21 บริบททางประวัตศิ าสตร .................................................................................................... 21 บริบททางภูมิศาสตร ........................................................................................................ 21 บริบททางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ..............................................................

32

บริบททางเศรษฐกิจ ......................................................................................................... 33 บริบทองคกรชุมชน .......................................................................................................... 35


บทที่

หนา

3 ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง .................................................................................

39

ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ...........................................................................

39

ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษย .................................................................................

52

ศักยภาพดานทุนทางสังคม .................................................................................................. 53 ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม ........................................................................................... 59 ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ................................................................................................. 64 ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรมนุษย ................................................................................. 65 ขอจํากัดดานทุนทางธรรมชาติ .............................................................................................. 65 ขอจํากัดดานทุนทางสังคม ................................................................................................... 65 ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม ............................................................................................ 65 4 รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน .............................................................................. 66 รูปแบบการทองเที่ยวในปจจุบัน .......................................................................................... 66 รูปแบบการทองเที่ยวที่พึ่งประสงคของชุมชน ..................................................................... 66 รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน ........................................................................... 67

5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................................... 75 วัตถุประสงคของการศึกษา .................................................................................................. 75 กลุมเปาหมายและกลุมตัวอยางในการศึกษา ........................................................................ 75 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ................................................................................................... 76 การเก็บรวบรวมขอมูล ......................................................................................................... 76 สรุปผล ................................................................................................................................ 76 อภิปรายผล .......................................................................................................................... 85 ขอเสนอแนะ ........................................................................................................................ 88


บทที่

หนา

บรรณานุกรม ...................................................................................................................................... 89 ภาคผนวก ........................................................................................................................................... 91 ภาคผนวก ก รายชื่อผูใหสัมภาษณ............................................................................................... 92 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ..................................................................................................... 95 ภาคผนวก ค ภาพประกอบ ...................................................................................................... 100 ภาคผนวก ง ปฏิทินแสดงฤดูกาลทองเที่ยว .............................................................................. 109 ภาคผนวก จ สถิตินักทองเที่ยวที่เขามาทองเที่ยวในสถานที่ทองเที่ยวของชุมชน ...................... 111 ประวัติยอของผูวิจัย ........................................................................................................................... 117


บัญชีตาราง

ตาราง

หนา

1 การประกอบอาชีพของชาวบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ .............................................. 34 2 กลุมโฮมสเตยบานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือหมูที่ 9 ...................................... 55 3 รายชื่ออาสาสมัครนําเที่ยวบานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมู 9 ......................... 57 4 ปฏิทินแสดงชวงฤดูกาลของสถานที่ทองเที่ยวในแตละรอบป ............................................... 110


บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ

หนา

1 กรอบแนวคิด ........................................................................................................................ 18 2 แผนที่กายภาพแสดงที่ตั้งของชุมชนหวยยาง .......................................................................... 22 3 สภาพทั่วไปของชุมชนหวยยาง ............................................................................................ 23 4 ชุดภูไท ชาย – หญิง ............................................................................................................ 28 5 ชุดภูไทที่ใชตอนรับแขก ...................................................................................................... 28 6 ปาชุมชน .............................................................................................................................. 33 7 โบสถดิน ............................................................................................................................. 36 8 โรงเรียนบานหวยยาง .......................................................................................................... 36 9 จุดชมวิวพัทยานอย (อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง) ............................................................... 37 10 ศาลาอนุสรณทรงงาน .......................................................................................................... 38 11 น้ําตกศรีตาดโตน ................................................................................................................. 39 12 พระพุทธสวางศากยมุนี พระนอนที่ ถ้ําผาเก ....................................................................... 41 13 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) ......................................................................................................... 42 14 พระธาตุดอยอางกุง .............................................................................................................. 43 15 พระพุทธศิริมงคล ................................................................................................................ 43 16 ภายนอกถ้ําอางกุง ................................................................................................................ 44 17 ภายในถ้ําอางกุง ................................................................................................................... 44 18 เสาเฉลียง .............................................................................................................................. 45 19 ลานหินกวางที่ชาวบานเรียกวา “ดานหมี” ........................................................................... 46 20 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ..................................................................................................... 47 21 พระนอนทีส่ ํานักสงฆภูนอยอางแกว ................................................................................... 48 22 ภูผานอย ............................................................................................................................... 48 23 ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร ................................................................................................ 49 24 อางขนาดใหญที่อางแกว ...................................................................................................... 50


ภาพประกอบ

หนา

25 จุดชุมวิวผาขาม ...................................................................................................................

51

26 การหาเห็ดของชาวบานที่ภูยางอึ่ง .......................................................................................

51

27 การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบานของกลุมผูสูงอายุ ............................................................ 52 28 บริเวณภายนอกบานพัก ....................................................................................................... 54 29 หองนอนสําหรับนักทองเที่ยว ............................................................................................. 54 30 อาสาสมัครนําเที่ยว .............................................................................................................. 56 31 การบรรยายใหความรู .......................................................................................................... 56 32 กลุมเพาะพันธุกลาไม ........................................................................................................... 58 33 โบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ..................................................................................... 59 34 การเลี้ยงผีปูตาที่ปาชุมชน .................................................................................................... 60 35 การฟอนภูไทเพื่อตอนรับแขกที่เขามาเยือนหมูบาน ............................................................ 61 36 เครือ่ งเซนในพิธีเลี้ยงผีของผีหมอ ........................................................................................ 62 37 การถวายเพลพระสงฆเนื่องในงานพิธีสรงน้ําพระภู ............................................................ 63 38 พิธีบายศรีสูขวัญตอนรับผูมาเยือนในหมูบาน ...................................................................... 64


บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบัน การทอ งเที่ยวเปน อุตสาหกรรมการบริการที่มีบทบาทตอ ระบบเศรษฐกิจและสั งคมของ ประเทศไทยเปนอยางมาก การทองเที่ยวในแงของงานพัฒนาชุมชนเปนการใหค วามสําคัญกับสิทธิชุมชน ในการเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดลอม โดยมุงพัฒนาให คนในชุมชน เปนหัวใจสําคัญในการจัดการการทองเที่ยว จึงเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชนและใหคน ในชุมชนไดเขามามีบทบาทในการจัดการการ เพื่อใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือนนําไปสูก ารดูแ ลรักษาและ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยใหมีความสมดุลกับภูมิปญญาทองถิ่นและอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมถึง การเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนในรูปแบบ “ การทองเที่ยวโดยชุมชน” ซึ่งจะตั้งอยูบนฐานคิดที่เนนให เห็ น ถึง ความสํ า คั ญ ของการผสมผสานจุด มุ ง หมายของการฟ น ฟู แ ละอนุ รัก ษ ส ภาพแวดล อ ม รวมทั้ ง อัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากนี้ยังมีจุดมุงหมายใหคนในชุมชนรูจักการ สร างสํ า นึ ก ท อ งถิ่ น เร ง เร า ความภาคภู มิ ใจในความเป น อั ตลั ก ษณ ข องวั ฒ นธรรมประเพณีข องชุ มชน ตลอดจนเป นส วนช วยให เกิ ดการส งเสริ มใหชุ มชนมีส วนรวมใหมี การสร างให เกิ ดกระบวนการเรีย นรู เกี่ยวกับการวางแผน การบริหารจัดการทรัพยากรและกระจายอํานาจการตัดสินใจโดยเนนความสําคัญของ การจัดการธรรมชาติแวดลอมและใชการทองเที่ยวเปนเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนไปพรอมกัน ชุมชนหวยยาง ตั้งอยูในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประกอบดวย สองหมูบาน คือ บานหวยยาง หมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 บรรพบุรุษของชาวบานหวยยาง เปน กลุมชาติพันธุภูไท ซึ่งอพยพมาจากประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อ 200 ปที่ผานมา ชุมชนหวยยางตั้งอยูติดเทือกเขาภูพานในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล สภาพทั่วไปของชุมชนลอ มรอบดวย ทุงนา และปาไม จึงทําใหชุมชนมีจุดเดนในเรื่องของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและมีค วาม เปนอัตลักษณของกลุมชาติพันธุ “ภูไท” โดยวิถีชีวิตของชาวบานหวยยางจะพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแ ละ ฤดูกาลในการประกอบอาชีพในภาคการเกษตรเปนหลัก


ในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปน หมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ยายไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัย ไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้ งที่ 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย ตอมาป พ.ศ. 2524 บานหวยยางและบานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลง ทําใหไมสามารถทํานา ไดเพราะขาดน้ําในการเพาะปลูกทําใหชาวบานบานหวยยางตอ งไปขอทานขาวตามจังหวัดใกลเ คียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ โดยจะนําเอาของที่หาไดจากปาไปแลกกับขาว เพื่อนํามากิน ตอมาไดมีผูสื่อขาวจากหนังสือ พิมพเดลินิวสมาทําขาววาบานหวยยางเปนหมูบานขอทาน และเปนหมูบานมีความยากจนมากที่สุดของจังหวัดสกลนคร ทําใหขาวถูกเผยแพรออกไปทั่วประเทศ เมื่อ พระบาทสมเด็ จพระเจ า อยู หัวทรงทราบจึ ง มี รับสั่ง ให ก รมชลประทานดํา เนิ น การก อ สร า งอ างเก็บน้ํา หวยโท – หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2529 แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอเปนที่ รูจักของผูคนทั่ วไป นอกจากนี้บานหวยยางยังถูก ผลัก ดัน ใหเปน หมูบานนํารองเศรษฐกิจพอเพียงดา น การเกษตรของอําเภอโคกศรีสุพรรณ ป พ.ศ. 2546 นายรุงฤทธิ์ มกรพงษ ผูวาราชการจังหวัดสกลนครไดมอบเงินจํานวน 125,000 บาท โดยเปนเงินใหเ ปลาเพื่อสนับสนุนกลุมเพาะพันธุกลาไม ในปพ .ศ. 2548 หมูบานไดรับการคัดเลือกจาก องค ก รพัฒนาประชาชน(คอป.) จํ านวน 200,000 บาท เป นหมูบานติ ดอั นดับ 1 ใน 8 ของหมู บา นทั่ ว ประเทศไทย และติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวย ยางเหนือ หมู 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีนายเริง ยางธิสาร เปน ประธานกลุมเพาะพันธุกลาไม และนายวิกรานต โตะชาลี เปนประธานที่ปรึกษา ทําใหชุมชนมีรายไดเพิ่ม มากขึ้น ชุมชนห วยยาง มี จุดเดน ในเรื่ อ งของความหลากหลายทางทรั พยากรธรรมชาติ เช น สถานที่ ทองเที่ยวทางธรรมชาติ ไดแก รอบดานเปนหุบเขาจะสามารถมองเห็นภูผาลม ภูผ าแดง ภูแ ผงมา จุดชมวิว เสาเสลี่ยง เปนโขดหินที่แปลกสามารถมองเห็นเทือกเขาจากประเทศลาว พระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ่ ง


เปนจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศนที่สวยงาม สามารถมองเห็นหนองหารเหมาะสําหรับผูที่ศรัทธาใน พระพุทธศาสนาที่มากราบไหว เริ่มจากหลวงปูภ าไดสรางเจดียองคเ ล็กไว ตอ มาป 2500 หลวงปูดวงก็ได บูรณะพระธาตุอางกุงโดยครอบเจดียองคเดิม และยังเปนจุดหนึ่งที่คนพบซากฟอสซิลไดโนเสารที่มีอายุกวา 107 ลานป ที่คาดวาเปนไดโนเสารในบริเวณเทือกเขาภูพาน อยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล โดยสภาพ ทัว่ ไปของพระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ่งไมวาจะเปนหินชั้นดินและสภาพปาที่มีอยูโดยทั่วไปเปนพันธุไม ดึกดําบรรพ จึงเชื่อวาบริเวณนี้เปนที่อยูอาศัยของไดโนเสารในสมัยโบราณ ซึ่งการเดินทางขึ้นไปชมซาก ฟอสซิลไดโนเสารไดนั้นจะตองขามอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง โดยเปนอางเก็บน้ําที่อยูใกลบานหวยยาง เหนือ นอกจากนี้ชุมชนหวยยางยังเปนหมูบานที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเพณีของกลุมชาติ พันธุ “ภูไท” มีภาษาถิ่นที่เปนเอกลักษณ วิถีชีวิตของชาวบานที่ยังคงมีการพึ่งพาอาศัยระบบความเชื่อแบบ ดั้งเดิมในการรักษาโรค ซึ่งนับวาเปนเอกลักษณอีกอยางหนึ่งของชุมชนบานหวยยางที่หาชมไดยาก องคก ารบริหารสวนตํา บลเหล าโพนค อไดมีน โยบายส งเสริม การทอ งเที่ยวเชิงอนุ รักษ ซึ่งมีการ สง เสริมให มีก ารปลู กป า การไมตัดไมทําลายปา โดยเป นโครงการความรวมมือ ระหวางอํา เภอโคกศรี สุพรรณ บานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมูที่ 9 มีการพัฒนาการทองเที่ยวในพื้นที่ใหเปนแหลง ทอ งเที่ ยวเชิ งนิ เ วศ จัด เป น แหล งท อ งเที่ย วทางธรรมชาติ ที่ใหบริ ก ารนั ก ท อ งเที่ ย วที่ ตอ งการความสงบ สะดวกสบาย คาใชจายปานกลาง โดยมีกิจกรรมในการพักผอน คือ ชมศิล ปวัฒนธรรมพื้นบาน การเรียนรู โลกดึกดําบรรพ ศึกษาเสนทางธรรมชาติแ ละการแลกเปลี่ยนรู วัฒนธรรมพื้นบาน จัดเปนกิจกรรมพิเศษ นอกจากนี้ ยั งมี ก ารจั ดการในรูปแบบธุรกิ จของชุ มชนแบบบ านพัก โฮมสเตย ซึ่ งอยู ในขั้ นตอนของการ ดําเนินการ อีกทั้งประชาชนในชุมชนหวยยางยังขาดความรูความเขาใจและประสบการณดานการทองเที่ยว ประกอบกับการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวภายในชุมชนไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควรทําใหเปนอุปสรรค และยากตอการจัดการ จากปจจัยตางๆทางดานทรัพยากร การบริหารจัดการ และการใหบริก ารดานการทองเที่ยว พบวา ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนอยู ในระดั บที่ จํา เป น ต อ งมี ก ารเพิ่ ม ระดั บ ขีด ความสามารถในการรองรั บ นักทองเที่ยว เพราะประชาชนในชุมชนยังขาดความรูและประสบการณดานการจัดการการทองเที่ยว ดังนั้น ผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงศักยภาพและขอจํากัด ดานการทองเที่ยวของชุมชนหวยยางและศึกษาวา รูปแบบของการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชนหวยยางควรเปนอยางไร เพื่อ ใหค นใน ชุมชนไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวและปรับตัวใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน ทั้งทางดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ตลอดจนเปนสวนชวยในการพัฒนารูปแบบการ ทองเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับชุมชน เพื่อใหเกิดความมั่นคงและยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติ


คําถามในการศึกษา ในพัฒนานิพนธนี้ผูศึกษามีคําถามในการศึกษาดังนี้ 1. ชุนชนหวยยางมีศักยภาพและขอจํากัดอยางไร 2. รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยางควรมีรูปแบบอยางไร วัตถุประสงคของการศึกษา พัฒนานิพนธนี้ผูศึกษามุงเนนที่จะศึกษาถึงรูปแบบการทองเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับ ชุมชนและ ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ 1. เพื่อศึกษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 2. เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง

ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตเชิงพื้นที่ ในพัฒนานิพนธนี้ผูศึกษาไดเลือกพื้นที่ บานหวยยางเหนือ หมู 9 และบานหวย ยางหมู 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เนื่องจากตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติ ภูผายล และเปนพื้นที่เปาหมายการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ขอบเขตเชิงเวลา ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาในชวงระหวาง เดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2555 รวมเปนเวลา 3 เดือน ขอบเขตเชิงเนื้อหา ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการทองเที่ยวทางธรรมชาติที่เหมาะสมกับชุมชน โดยศึกษาถึงศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนดานการทองเที่ยว ตลอดจนศึกษารูปแบบของการทองเที่ยวที่ ไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชน เพื่อนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทราบศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยางดานการทองเที่ยว 2. ทราบรูปแบบของการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชน 3. ทราบรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 4. ประโยชนตอชุมชนในการวางแผนการจัดการการทองเที่ยวในรูปแบบที่เหมาะสมกับชุมชน บานหวยยาง

พื้นที่เปาหมาย ชุมชนหวยยาง ไดแ ก บานหวยยาง หมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการศึกษา คื อ ชาวบานหวยยาง หมูที่ 6 จํา นวน 740 คน และชาวบ านหวยยาง เหนือ หมูท ี่ 9 จํานวน 858 คน โ กลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนําชุมชน จํานวน 8 คน อาสาสมัครนําเที่ยวจํานวน 12 คน และ ปราชญชาวบาน จํานวน 8 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 28 คน การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ทําใหผูศึกษาไดทราบแนวคิด ความหมาย หลักการ และรูปแบบของการทองเที่ยว ดังนี้


การทองเที่ยวอยางยั่งยืน การพัฒนาการทองเที่ยวที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งจะพิจารณาไดจากองคประกอบหลัก 4 ประการ คือ (พงศกร ชาวเชียงตุง 2552 : 12-13 ; อางอิงจากกรมสงเสริมสุขภาพสิ่งแวดลอม. 2544) 1. องคประกอบดานพื้นที่ เปนการทองเที่ย วในแหลงทอ งเที่ยวที่เกี่ ยวเนื่องกับธรรมชาติอัน มี เอกลัก ษณเฉพาะถิ่นเปนหลัก รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศ าสตรที่เ กี่ยวเนื่อ งกับระบบนิเ วศใน พื้นที่แหลงนั้นๆ 2. องคประกอบดานการจัดการ เปนแหลงทอ งเที่ยวที่มีค วามรับผิดชอบ ไมสงผลกระทบต อ สภาพแวดลอมและสังคม มีการจัดการที่ยั่งยืนคลอบคลุมถึงการอนุรักษทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดลอม การปองกันมลพิษ และการควบคุมการพัฒนาการทองเที่ยวอยางมีขอบเขต 3. องคประกอบดานกิจกรรม เปนการทองเที่ยวที่เอื้อตอการกระบวนการเรียนรูก ารให การศึกษา เกี่ยวกับสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงทองเที่ยวอันเปนการเพิ่มพูนความรูกับนักทองเที่ยวเพื่อ สร างความตระหนั กและปลู ก จิตสํ า นั ก ในการอนุรั กษ ให กั บนัก ท อ งเที่ ยว ประชาชนในทอ งถิ่ น และ ผูประกอบการที่เกี่ยวของ 4. องคประกอบดานองคกร เปนการทองเที่ยวที่คํานึงถึงการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชน ในทอ งถิ่น ให เ ขา มาส วนรวมในการบริ หารจัดการ เพื่อ กอ ใหเ กิดผลประโยชนรวมกั นซึ่ง หมายถึ งการ กระจายรายไดและยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อนําผลตอบแทนที่ไดมาพัฒนาแหลงทองเที่ยว การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมคําจัดกัดความของการทองเที่ยวเชิงนิเ วศจากบุค ลากรที่มีความเกี่ยวของกับ การทองเที่ยวไวหลายทานดังตอไปนี้ เสรี เวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเที่ยวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเที่ยวอยางมี ความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ สิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวน รวมของท อ งถิ่ น เพื่ อ มุ ง ให เ กิ ดจิ ตสํ า นึ ก ตอ การรั ก ษาระบบนิ เ วศอย างยั่ง ยื น การท อ งเที่ ยวเชิ ง นิ เ วศ มี องคประกอบสําคัญที่ควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงการกระจายรายได ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 : 10 ; อางอิงมาจาก การจัดสัมมนาระดับนานาชาติเ รื่อ ง “การทอ งเที่ ยวเชิ ง นิเ วศเพื่ อ การอนุ รั ก ษปาและการพัฒ นาชุ มชน” 2540 ) ไดนิย ามความหมายของการ


ทองเที่ยวเชิงนิเวศไววา การทองเที่ยวไปยังแหลงธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียนรูทําความเขาใจกับ การพัฒนาทางวัฒนธรรมและสภาพแวดลอ มดวยความระมัดระวังไมใหเ กิดความเสียหายตอ ระบบนิเวศ และในขณะเดียวกันก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนดวยตรงจาก การอนุรักษธรรมชาติแวดลอม พงศกร ชาวเชี ยงตุง (2552 : 9) การท องเที่ยงเชิงนิ เวศ หมายถึง การทอ งเที่ยวอย างมีค วาม รับผิดชอบในแหล งท องเที่ ยวทางธรรมชาติ รวมทั้ งทางวัฒ นธรรมที่ เกี่ ยวเนื่ องกับระบบนิเ วศและการ ทองเที่ยวโดยกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดอยางมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศทองถิ่น กลาวโดยสรุป การทองเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การทอ งเที่ยวในแหลงทอ งเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับ ธรรมชาติเปนหลัก มีธรรมชาติเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น ทั้งนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่ เกี่ ยวเนื่อ งกั บระบบนิ เ วศในพื้ นที่ อี กทั้งยั งสร า งโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่ อ ให ชาวบ า นในทอ งถิ่ น ได รับ ประโยชนโดยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม หลักการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จากการจัดสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง การทอ งเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อ การอนุ รัก ษปาและการพัฒนา ชุ มชน จั ดที่ เ ชี ย งใหม เ มื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2540 ในการสั มมานาครั้ งนี้ นั ก วิ จัย จากสมาคมการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศไดเสนอหลักการพื้นฐาน 7 ประการของการทองเที่ยวเชิงนิเวศไวดังนี้ (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546 : 10) ประการแรก การทองเที่ยวเชิงนิเวศตองหลีก เหลี่ยงการสรางผลกระทบทางดานลบที่กอ ใหเกิด ความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของพื้นที่ทองเที่ยว ประการที่ ส อง การท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศจะต อ งให ก ารศึ ก ษาแก นั ก ท อ งเที่ ย วให ต ระหนั ก ถึ ง ความสําคัญของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม ประการที่สาม รายไดจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและ การจัดการเขตอนุรักษ ประการที่สี่ ชุมชนทองถิ่นรวมถึงชุมชนใกลเคียงจะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ


ประการที่หา การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเที่ยวตองอยูภายในขอบเขตของ ศักยภาพการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถิ่น ประการที่หก รายไดสวนใหญจากการทองเทียวเชิงนิเวศจะตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของแหลง ทองเที่ยว ดวยเหตุนี้เองการทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิตภัณฑและการบริการทองถิ่นเปนสําคัญ ประการที่เจ็ด การทองเที่ยวเชิงนิเ วศจะตองใหความสําคัญกับการใชประโยชนจากโครงสรา ง พื้นฐานที่ไดการพัฒนาบนฐานคิดซึ่งเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน ลดละการใช น้ํามัน เชื้อเพลิง อนุรั กษพัน ธพืช พื้นบา นและจัดการทองเที่ยวที่สอดคลอ งกับธรรมชาติแวดลอมอยา ง แทจริง โดยสรุ ปจากหลั ก การทั้ง 7 ประการที่ กลาวมาข างตน กอ ให เกิ ดการตื่ นตั วในการพัฒ นาการ ทองเที่ยวทางเลือกใหม เพื่อทดแทนหรือแขงขันการทองเที่ยวแบบเดิม โดยมีก ารประยุกตรูปแบบการ ทองเที่ยวที่นําไปสูกระแสหลักของการทองเที่ยวที่ไดรับความนิยม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 :12) กลาววา การทองเที่ยวเชิงนิเวศจากมิติทางวัฒนธรรม เปนการทองเที่ยวที่ใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่ง มีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป มุมมองทางดานวัฒนธรรมเนนการใหความเคารพแกสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์และสิทธิความเปนมนุษยของกลุมชาติพันธุตางๆ มิใชการมองคนเปนสัตวประหลาดและเปด โอกาสให การทองเที่ยวสงผลใหเ กิดการละเมิดทางความเชื่อ วัฒ นธรรม ประเพณี และพิธี ก รรมของ ชุมชนทองถิ่น ในทางตรงกันขามการทองเที่ยวเชิงนิเวศมิติทางวัฒนธรรมมุงเนนใหชุมชนทองถิ่นมีสํานึก และความภาคภูมิใจในอัตลักษณทางชาติพันธุและวัฒนธรรมประเพณีของตน พรวิ ไ ล วงศ ไตรพิพัฒ น . (2552 :105) กลา วว า การท อ งเที่ ยวเชิ งวั ฒ นธรรม หมายถึ ง การ ทองเที่ยวที่มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่น ชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศ าสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น ความแตกตาง ทางดานวัฒนธรรมของชนตางสังคมไมวาจะเปนดาน ศิลปะ สถาปตยกรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ วิถีชีวิต ภาษา การแตงกาย การบริโภค ความเชื่อ ศาสนา และจารีตประเพณี ลวนแตเปนจุดดึงดูดความ สนใจเพื่อกระตุนใหเกิดการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมขึ้น


วุฒิศักดิ์ อุมา. (2552) การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนการศึกษาหาความรูในพื้นที่หรือบริเวณที่ มีคุณลักษณะที่สําคัญทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม มีการบอกเลาเรื่องราวในการพัฒนาทางสังคมและ มนุษยผานทางประวัติศาสตรอันเปนผลเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรม องคความรู และการใหคุณคาของสังคม โดยสถาปตยกรรมที่มีคุณ คาหรือสภาพแวดลอมอยางธรรมชาติ ที่สามารถแสดงออกให เห็นถึงความ สวยงามและประโยชนที่ไดรับจากธรรมชาติ สามารถสะทอนใหเห็นถึงสภาพชีวิตความเปนอยูของคนใน แตละยุคสมัยไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม หรือขนบธรรมเนียมประเพณี สรุ ป การท อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม หมายถึ ง การท อ งเที่ ย วที่ มี วัต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ แสวงหา ประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดยใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป หลักการการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม พรวิไล วงศไตรพิพัฒน. (2552 ; อางอิงจาก วรรณนา วงษวานิช . 2546) การทอ งเที่ยวทาง วัฒนธรรมมีการกําหนดกฎเกณฑและการทํากิจกรรมซึ่งแตละชุมชนจะมีค วามแตกตางกัน โดยสิ่งสําคัญ คือการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยว ซึ่งมีกฎเกณฑดังตอไปนี้ 1. เปนประเพณีหรือวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณโดเดนของแตละพื้นที่และสมควรที่จะไดรับ การดํารงรักษาไวสืบตอไป 2. เจาของพื้นที่รวมมือกับหนวยงานตางๆ ทั้งดานการวางแผน การจัดการ และการอนุรักษ 3. มีวิทยากรและมัคคุเทศกประจําทองถิ่น 4. มุ ง ให ผู ศึ ก ษาได รั บ ความรู ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ความประทั บ ใจและ ประสบการณในการดํารงชีวิตในสังคมและวัฒนธรรมที่แตกตางไปจากเดิม การทองเที่ยวเชิงเกษตร เทพกร ณ สงขลา. (2554) การทองเที่ยวชิงเกษตร หมายถึง กิจกรรมการทองเที่ยวที่เกี่ยวของกับ ทรัพยากรเกษตร โดยทรัพยากรเกษตรหมายถึง ทรัพยากรที่เ กี่ยวขอ งกับการทองเที่ยว ไดแ ก ปจจัยการ ผลิ ตทางการเกษตร เช น ดิ น น้ํ า ความหลากหลายทางชี วภาพ แรงงาน ความรู เครือ ขายเกษตรกร องคกรตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนที่เกี่ยวของกับการทําการเกษตร รวมถึงผลผลิตจากสอนคาตางๆของ


ชุมชนที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรเกษตร ซึ่งสํานักกรมพัฒนาเกษตร(2548) ไดจําแนกรูปจําแนกเปน กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรตามกิจกรรมของแหลงทองเที่ยวที่นําเสนอตอ นักทองเที่ยวไดแก รูปแบบใหนักทองเที่ยวรวมกิจกรรมระยะสั้น เชน การชมสวนเกษตรและการใหนัก ทองเที่ยวได เก็บผลผลิตในสวน เปนตน รูปแบบใหนักทองเที่ยวพักแรมในหมูบาน เพื่อศึกษาสัมผัสกับวิถีชีวิตของชาวชนบท รูปแบบใหความรูการเกษตรแผนใหมและใหความรูที่เปนภูปญญาพื้นบาน เชน การศึกษาแมลงที่ มีประโยชน และพืชผักพื้นเมืองที่กินได เปนตน รูปแบบจําหนายผลิตภัณฑการเกษตร เชน ดอกไมสด และเมล็ดพันธที่นักทองเที่ยวซื้อไปปลูก รูปแบบใหลูทางธุรกิจการเกษตร เชน ธุรกิจปลูกพืชใหผลตอบแทนเร็ว กรมสง เสริมการเกษตร (2548) จํา แนกกิ จกรรมการทอ งเที่ย วเชิง เกษตรที่ แตกต างกัน ออกไป ไดแก การนําเที่ยวชมสถานที่ของเกษตร บุคคลที่ประสบความสําเร็จในอาชีพเกษตร เชน สวนทุเรียน สวนมังคุด สวนดอกไมประดับ ซึ่งผูเยี่ยมชมจะไดรับความรูดานเทคโนโลยีการผลิต การจัดการ และการ ทองเที่ยวตามฤดูกาลหรือเทศกาล ซึ่งผูเยี่ยมชมจะไดพบเห็นผลผลิตดานการเกษตรดานการเกษตรและได เลือกซื้อผลิตดังกลาวตามชุมชนหรือหมูบานเกษตร ซึ่งเกษตรกรในชุมชนรวมกันจัดตั้ง โดยผูเยี่ยมชุมจะได สัมผัสกับวิถีชีวิตของเกษตรกร ไดรับความรูเรื่องการเกษตร ตลอดจนมีสวนรวมในกิจกรรมการเกตษรของ ชุมชน การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการทบทวนวรรณกรรมที่ ผ า นมาผู ศึ ก ษาพบว า มีก ารศึ ก ษาเกี่ย วกั บรู ปแบบการจั ด การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศดังนี้ พงศกร ชาวเชียงตุง (2550 : 78-80) ไดศึกษาถึงแนวทางพัฒนาแหลงทอ งเที่ยวเชิงนิเวศลําน้ํา ชี จังหวัดมหาสารคาม โดยมีการกําหนดสถานที่ทองเที่ยวเชิงนิเวศ 5 แหง คือ บานทาขอนยาง บานโขง กุดหวาย สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช วนอุทยานชีหลง และหาดใหญบานวังยาว เพื่อเปรียบเทียบศักยภาพใน การบริหารจัดการและความตองการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเ วศที่ มีแตกตางในแตสถานที่ พรอมทั้ง สํารวจความตองการของนักทองเที่ยว โดยมีการสุมกลุมตัวอยางที่เปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 400 คน ผลของการวิจัยพบวา (1) บานทาขอนยางศัก ยภาพแหลงทองเที่ยวที่อ ยูในระดับสูงกวาบานวังยาว และมีศัก ยภาพดา นการพั ฒนาดานของคุณค าของการทองเที่ยว มากกวา สถาบัน วิจัยวลั ย รุกขเวช วน


อุทยานชิหลง และหาดใหญ บานวังยาว (2) นิสิตมีความตอ งการพัฒนาแหลงทอ งเที่ยวดานการจัดการ พื้นที่โดยทั่วไปดานการจัดการการทองเที่ยว ดานการจัดกิจกรรมการทองเที่ยว และบทบาทขององคก รที่ เกี่ยวกับการทองเที่ยวในระดับปานกลาง ในสวนของรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวนิสิตมีค วามตองการ กิจกรรมลองแพร กิจกรรมพายเรือ และกิจกรรมชมวิวทิวทัศนในระดับมาก (3) นิสิตมีคุณลักษณะทาง ประชากรที่แตกตาง เชน เพศ ประสบการณการทองเที่ยวในลําน้ําชี สวนใหญมีความตองการการพัฒนา แหลงทองเที่ยวดานพื้นที่การทองเที่ยว และดานการจัดการแหลงทองเที่ยวที่แ ตกตางกัน ทําใหทราบถึง ความตองการที่มีความตองการแตกตางในแตละสถานที่และควรมีการจัดรูปแบบการทองเที่ยวในลักษณะที่ เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ซึ่งงานวิจัยนี้ชี้ใหเห็นวานักทองเที่ยวเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดรูปแบบ ของการทองเที่ยวอยางชัดเจน ดุษณีย ชาวนาและคณะ (2551 : 143-147) ไดศึก ษาเรื่อ ง รูปแบบการจัดการการทอ งเที่ยวโดย ชุมชนอยางยั่งยืน ชุมชนผาแตก หมูที่ 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เปนการพัฒนา คูมือวิจัย โดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการดําเนินการผานเวทีเสวนา ประชุมกลุมยอ ย การประชุมเชิงปฏิบัติการ การอบรมศึกษาดูงาน การเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางไมเปนทางการ การทดลองปฏิ บัติจริ งเพื่อ นํา ไปสูก ารแก ไข ปรั บปรุ ง เพื่ อพัฒนาการบริ หารจั ดการและหารูปแบบที่ เหมาะสมกับชุมชน ทั้งนี้เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาสถานการณการทองเที่ยวของหมูบานผาแตก และการ ทองเที่ยวโดยชุมชนของจังหวัดเชียงใหม 2) เพื่อรวบรวมองคค วามรูภูมิปญญาทองถิ่น และศักยภาพของ ชุมชนโดยกําหนดรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน 3) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการทองเที่ยว โดยชุมชนผาแตก ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึก ษาพบวา จากประสบการณ การทองเที่ยวที่ผานมาพบวาปญหามาจากการจัดการ เนื่องจากขาดความรูความเขาใจในดานการจัดการ ทองเที่ยวที่ถู กตอง ชุมชนมีทัศ นะคติเ ชิงลบทําใหข าดการมีสวนรวมในการจั ดการ เกิด ผลกระทบกั บ ชุมชน ทั้งจากคนในชุมชนและตัวนักทองเที่ยว ผลของการจัดโครงการพบวา การทองเที่ยวโดยชุมชนจะ ยั่งยืนได ตองเปดโอกาสใหชุมชนมีการจัดการทรัพยากรของตนที่มีอยูอ ยางจํากัดใหเ กิดประโยชนสูงสุด คํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับระบบนิเวศและความสัมพันธทางสังคมและวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซึ่ง เปนการเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการทุกขั้นตอน มีการแบงผลประโยชนอยางทั่วถึง และเปนธรรม แนวทางการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวตองสอดคลองกับศักยภาพของชุมชนทั้งทางพื้นที่และ ทางสังคมของชุมชน ธัญญลักษณ มีหมู (2552 : 114-116) ไดศึกษาเรื่อง ศักยภาพและแนวทางการจัดการทองเที่ยว เชิงนิเวศวัฒนธรรมในเขตตําบลทาหินโงม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พบวา การจัดการการทองเที่ยวใน


อดีตที่มีนักทองเที่ยวมีนอย เพราะขาดการประชาสัมพันธ และเสนทางคมนาคมในหมูบานเปนไปอยาง ลําบาก แตในปจจุบันพบวา ศัก ยภาพและแนวทางในการจัดการการทอ งเที่ยวมีศัก ยภาพนอ ย ทําใหไม เพี ยงพอตอ ความตอ งการของผูใชบริก าร อี ก ทั้ งสถาบัน ทางการเงิ นที่ จะให การสนั บสนุน ยั งไมเ ห็ น ความสําคัญของการใหการสนับสนุน การคมนาคมไมสะดวกยังลาหลัง แนวทางดังกลาวจึงควรไดรับการ แกไขจากหนวยงานที่ เกี่ยวขอ งทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ผูประกอบการตองสรางความเขมแข็งใหกั บ ชุมชน โดยการการศึกษาดูงานภาคสนาม และสอบถามความคิดเห็นของนักทองเที่ยวเพื่อเปนแนวทางใน การพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อใหเกิดความยั่งยืน พรวิไล วงศไตรพิพัฒน (2552 : 198-201) ไดศึกษาเรื่อง เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการ แหล งท อ งเที่ย วทางวัฒ นธรรมเพื่ อ ส ง เสริ มเศรษฐกิ จชุ มชน จั ง หวั ดนครราชสี มา ผลการวิ จัย พบว า เสนทางสายหินที่เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจในจังหวัดนครราชสีมาไดแก แหลงหินตัดในอําเภอสี่คิ้วและวัดหินตัด ซึ่งหินเหลานี้เปนจะนําไปใชสรางปราสาทในเขตอําเภอสูงเนิน ซึ่งเปนการสะทอนวิถีความเชื่อความศรัทธาทางศาสนาของมนุษยในยุคประวัติศาสตร ปจจุบันคนทองถิ่น ไดใชศาสนาสถานเปนศูนยรวมของคนในชุมชน จัดพิธีบวงสรวง เซนไหวเทพยดา จัดพิธีกินเขาค่ําและ ประเพณี ลอยกระทงพระราชทาน ซึ่งกลายเปน ประเพณีที่มีชื่ อเสียงเปน เอกลั กษณข องอํา เภอสู งเนิ น สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาสัมผัสบรรยากาศยอนยุคและเพิ่มรายไดใหกับในทอ งถิ่นเปนประจําทุกป ปญหาที่เกิดขึ้นกับการทองเที่ยวที่สําคัญคือ ขาดการประชาสัมพันธในการนําเสนอขอมูล ใหนัก ทองเที่ยว ทราบ การบริ หารจัด การนโยบาย การสารสนเทศเพื่ อ การวางแผนพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น มี ไ ม เ พี ย งพอ โครงสรางการจัดการยังไมเปนอันหนึ่งอันเดียว ศูนยก ลางของหมูบานยังไมไดใชประโยชนในดานการ ทอ งเที่ ย วรวมถึ ง การส งเสริมการค า การบริก ารชุมชน ปญ หานโยบายการทอ งเที่ ยวของจังหวัดเน น สงเสริมประเพณีมากกวาการทองเที่ยว ขาดการประสานงานกับหนวยงานที่เ กี่ยวข อ ง ความพรอ มของ บุคลากรเพื่อการทองเที่ยวมีความจํากัด จึงทําใหข าดการสื่อความหมายใหเ ห็นคุณคาของแหลงทองเที่ยว ทองถิ่น แนวทางการจัดการแหลงทองเที่ยวจึงตองมีการเพิ่มการประชาสัมพันธใหเห็นคุณคาของรองรอย ประวัติศาสตร ควบคูกับประเพณีทองถิ่น และนําธรรมชาติเขามาเปนบริบทการทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น โดย ความร ว มมื อ ของคนและหน วยงานในท อ งถิ่ น ควรให ก ารสนั บสนุ น และให คํ า ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บการ ทองเที่ยวอยางจริงจัง พัฒนาองคประกอบของแหลงเรียนรู เชน การทําปายบอกทาง สิ่งอํานวยความ สะดวก ประชาสัมพันธผานสื่ออิเล็กทรอนิกสเพิ่มมากขึ้น จัดอบรมมัคคุเทศก ใหความรูแกเยาวชนและ อาสาสมัครในหมูบาน และบุคลากรผูดําเนินการพัฒนาแหลงทอ งเที่ยวเพื่อใหมีศักยภาพในการบริหาร จัดการและนํานักทองเที่ยวเขาชมได


เทพกร ณ สงขลา. (2554 : 4-5 ) ไดศึก ษาเรื่อ ง ความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรมการ ทองเที่ยวเชิงเกษตรและการใชทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึกษาการทองเที่ยวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัด นครศรี ธรรมราช ผลการวิจัยพบว าแหล งทองเที่ยวเชิงเกษตรของอํ าเภอชางกลางจํ าแนกตามกิ จกรรม การเกษตรไดแก ฟรามเพาะเห็ด ฟรามเลี้ยงผึ้ง ฟรามเกษตรอินทรีย และแปรรูปอาหาร กิจกรรมการ ทองเที่ยวจําแนกออกเปน 4 รูปแบบ ไดแก 1)กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบสาธิต เปนแหลง ทองเที่ยวที่เนนกิจกรรมสาธิตเปนหลัก 2)กิจกรรมการทอ งเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบการใหค วามรู มีการ เตรียมวิทยากรใหความรูเรื่องการเกษตรในแตละสถานที่ทองเที่ยวทางการเกษตร 3)กิจกรรมการทองเที่ยว เชิงเกษตรรูปแบบจําหนายสินคาชุมชน เปนการจําหนายผลผลิตและผลิตภัณฑดานการเกษตร ซึ่งไมใช กิจกรรมหลักของชุมชน 4)กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบแนะนําธุรกิจการเกษตร จุดเดนของ การทอ งเที่ย วคือ ฟรา มเลี้ยงผึ้งและฟรามเห็ ด เกษตรกรจากพื้นที่ตางๆเดินทางมาศึ ก ษาดู งานเปนการ แนะนําสินคาของชุมชนใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยว ซึ่งในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศและรูปแบบ การทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม สะทอ นใหเห็นสภาพปญหาที่เกิดจากการทองเที่ยวนําไปสูการหาแนว ทางแกไขและการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน โดยการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่ง ผูศึกษาจะนํามาเปนแนวทางในการศึกษา แนวคิดที่ใชในการศึกษา แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) นิเวศวิทยา วัฒ นธรรม (cultural ecology) เป นแนวคิ ดทางมานุ ษยวิ ทยาแนวหนึ่ งที่ สนใจศึ ก ษาการ เปลี่ยนแปลงทางสั งคม วัฒนธรรม โดยเนน ถึง อิ ทธิพลของสิ่ งแวดล อ มวา เป นตั วกํา หนดกระบวนการ วิวัฒนาการทาง สัง คมวั ฒนธรรม จู เลี ยน สจ วด (Julian Steward) นัก มานุ ษ ยวิ ทยาอเมริ กั น ได อ ธิบาย แนวความคิดแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมวา เปนการศึกษากระบวนการปรับตัวของสังคมภายใตอิทธิพลของ สิ่งแวดลอม โดยเนนการศึกษาวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการปรับตัว (adaptation) ของ สังคม แนวความคิดนี้มองสังคมในลักษณะเปนพลวัตหรือเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเปน ผลมาจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม โดยมีพื้นฐานสําคัญคือ เทคโนโลยีการผลิตโครงสรางสังคม และลักษณะของสภาพแวดลอมธรรมชาติ เปนเงื่อนไข


สจวด มอง "วัฒนธรรม" วาเปนเครื่องมือชวยใหมนุษยปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม ประเด็นสําคัญ สําหรับการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาจึงมีอยูวา วัฒนธรรมมีการปรับตัวอยางไรใหเขากับสภาพแวดลอม และ มนุษยมีวิธีการอยางไรในการใชเทคโนโลยีแ ละระบบเศรษฐกิจในการปรับตัวเขา กับสภาพแวดลอมออก จากความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญอีกสวนหนึ่งในการอธิบายพฤติก รรมของ มนุษย ตัวอยางเชน ในสังคมดั้งเดิม (primitive societies) มนุษยมีวิถีการผลิตแบบลาสัตวและเก็บหาอาหาร โดยปกติแลวผูหญิงจะเปนผูเก็บหาอาหารและผูชายเปนออกลาสัตว การแบงแยกงานในลักษณะเชนนี้มิได เปนเพราะผูชายมีรางกายแข็งแรงกวา แตเปนเพราะผูหญิงตอ งใชเ วลาดูแลลูก ในขณะที่ผูชายสามารถเดิน ทางไกลและจากบานไปไดเปนระยะเวลานาน ตาม ทัศนะของสจวด มนุษยเปนสัตวมีเหตุผล และวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมวางอยูบนรากฐานของ เหตุผ ล แต เ ป น เพราะว า สภาพการณ แ ละสภาวะแวดล อ มมี ค วามแตกตา งกั น ออกไป วั ฒ นธรรมสอง วัฒนธรรมจึงมีพื้นฐานของการปรับตัว การแกปญหาและมีวิวัฒนาการแตกตางกัน เชน วัฒนธรรมของกลุม ที่ตั้งรกรากอยูใกลทะเล ยอมมีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือยังชีพประเภทเบ็ด แห อวน ฉมวก เรือ และมีการ พัฒนาสั่งสมความรูเกี่ยวกับการเดินทะเลและการจับปลา ในขณะเดียวกัน ชนกลุมอื่นที่ตั้งรกรากอยูในเขต ปาดงดิบ อาจมีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือเพื่อใชในการยังชีพแตกตางกันออกไป เชน หอก ธนู เพื่อใชใน การลาสัตวและหาอาหาร กลุมชนทั้งสองกลุมนี้ยอมตองมีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมแตกตางกัน สจ วดปฏิ เ สธแนวความคิ ดแบบวิ วั ฒ นาการเส น ตรงของนั ก ทฤษฎี วิวัฒ นาการรุน เก า ซึ่ งเสนอว า วัฒนธรรมของทุก เผ าพัน ธุจะมีวิวัฒนาการเปน เส นตรงผานขั้ นตอนตา งๆ เหมื อ นกันหมด สจวดแย งว า วิวัฒนาการทางวั ฒนธรรมอาจเกิดขึ้น ไดหลายสาย (multilinear evolution) และแตล ะแนวยอ มมี ค วาม แตกตางกัน ความแตกตางนี้เกิดจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม เทคโนโลยีแ ละโครงสรางสังคม เปนเหลัก อาจกลาวไดวาแนวความคิดแบบวิวัฒนาการหลายสายนี้ เปนแนวความคิดใหมซึ่งพัฒนามาจาก ทฤษฎีวิวัฒนาการรุนเกา แนวความคิดนี้เนนความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมกับสภาพแวดลอมวามีความแนบแนนใกลชิดและ สงผลกระทบซึ่งกันและกันอยางแยกไมออก ในยุคสมัยที่พัฒนาการดานเทคโนโลยียังอยูในระดับต่ํา มนุษย จําต อ งปรั บตัวเขา กั บสภาพแวดลอ ม และทํ าให ส ภาพแวดล อ มมี ศัก ยภาพในการเปลี่ ย นหรื อ ดั ดแปลง สภาพแวดลอ มไดมากขึ้ น อิทธิพลของสภาพแวดลอมก็เ ริ่ม ลดถอยลง หากแต รูปแบบและลั กษณะทาง วัฒนธรรม ประสบการณและความเคยชินในอดีต ตลอดจนวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีบางอยางจะ ยังคงอยู และไดรับการสืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง


กลาวโดยสรุปแลว นิเวศวิทยาวัฒนธรรมตามทัศนะของสจวด เปนความพยายามศึกษาวิเคราะหถึง 1. ความสั ม พั น ธ ร ะหว างสภาพแวดล อ มกั บ เทคโนโลยี ท างการผลิ ต ซึ่ งเป น ตั วกํ า หนดสํ าคั ญ ตอ การ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 2. ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับพฤติกรรมของมนุษย และ 3. ความสําคัญของสภาพแวดลอมและอิทธิพลของสภาพแวดลอมตอพัฒนาการทางวัฒนธรรม

แนวคิดทุนชุมชน (Community Capital) “ทุนชุมชน” (Community Capital) คือ สิ่งที่เปนมูลคาหรือมีคุณคาที่มิใชเงินตราเพียงอยางเดียว แต หมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของคน เชน ทุนทรัพยากรที่กอใหเกิดผลผลิต รวมถึง เงินและสินทรัพยอื่น ๆ ที่เปนความรู ภูมิปญญา ประสบการณข องคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปจจัยบริการทางโครงสรางพื้นฐาน ซึ่ง ดร.สุวิทย เมษินทรีย กลาววา ชุมชนแตละชุมชนจะประกอบดวย ทุนตางๆมากมายและทุนของชุมชนที่สําคัญๆ สามารถจําแนกได 5 ประเภท ไดแก 1. ทุนทรัพยากรมนุษย (Human Capital)หมายถึง คุณสมบัติของคนในชุมชนกลุมตางๆ ทุกเพศ ทุก วัย ทั้งในดานสุขภาพอนามัย อายุขัย คุณภาพของการดูแลสุขภาพใหกับกลุมคนกลุมตางๆ ระดับการศึก ษา จํานวนปที่เด็กไดเรียน การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ การแบงปนความรู 2. ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมที่ประชาชนใชเพื่อ การดํารงชีพ รวมทั้ง ความไวเนื้อเชื่อใจ การยอมรับซึ่งกันและกันและกันในชุมชน กลุมองคกร เครือขายภาคประชาชน ประชา สังคม ความเชื่อถือศรัทธา ตลอดจนวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน 3. ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึงสิ่งที่มนุษยไดสรางขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกตอการ ดํารงชีวิต หรือเปนปจจัยพื้นฐานในการผลิตที่สนับสนุนการดํารงชีวิตของประชาชน ไดแก การคมนาคม ขนสง ระบบไฟฟา ประปา ระบบพลังงาน การสื่อสาร โทรคมนาคม โบราณวัตถุ โบราณสถาน หรือสิ่งปลูก สรางตาง ๆ 4. ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่เปนตัวกําหนด ศักยภาพในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชนในชุมชนไดแก แหลงน้ําธรรมชาติ ปาไม ดิน น้ํา ภูเขา ทะเล เกาะ สัตวปา แรธาตุ พลังงาน น้ําพุ พืชพันธุธัญญาหารธรรมชาติ เปนตน 5. ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เปนตัวเงินตรารวมถึงโอกาสทางการเงินที่ ประชาชนใชเพื่อดํารงชีพ ไดแก ทุนทางการเงินที่มาจากการออม (Available Stocks) ที่เปน เงิน สด/เงินฝาก สัตวเลี้ยง อัญมณี และทุนที่มาจากรายไดอื่นไดแก เงินบํานาญ/คาตอบแทนที่ไดจากรัฐและเงินกองทุนตาง ๆ


ดังนั้ น“ทุน ชุมชน”ทั้ง 5 ประเภทนี้ จะตอ งใชเ ปน ปจจั ยนําเขา (Input) ในกระบวนการสรา ง ความเขมแข็งของชุมชน โดยการแปลงคาทุนตาง ๆ ใหออกมาเปนผลผลิต/ผลลัพธ (Output/Outcome) ใหได ทั้งนี้ เราจะตองคํานึงถึงทุนประเภทที่จะตองสงวนรักษาหรือพัฒนายกระดับไปพรอม ๆ กันอยางสมดุล โดย ไมทําลายซึ่งกันและกัน สําหรับการศึก ษาในครั้งนี้ เกี่ยวขอ งกับทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท ไมวาจะเปน ทุน มนุษย ทุนทางสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนทางการเงิน ที่มีบทบาท เชื่อมโยง และเอื้อประโยชน ใหกับคนในชุมชน ความสําเร็จของการแกไขปญหาตาง ๆ เกิดจากทุนที่มีอยูในชุมชนแทบทั้งสิ้น

แนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism : CBT) พจนา สวนศรี (2546) “การทองเที่ยวโดยชุมชน (community base tourism) คือ การทองเที่ยวที่ คํานึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพื่อ ชุมชน และชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพื่อใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือน” โดยมอง วาการทองเที่ยวตองทํ างานครอบคลุม 5 ดาน พรอมกัน ทั้ งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒ นธรรม และ สิ่งแวดลอม โดยมีชุมชนเปนเจาของและมีสวนในการจัดการ กระบบวนการเรียนรูของการทองเที่ยวโดยชุมชน ศักยภาพของคน ตองเริ่มที่คนในชุมชนที่จะตองรูจักรากเหงาของตนเองใหดีเสียกอน เพื่อความ พรอมในการบอกเลาขอมูลและคนในชุมชนตองมีความพรอมที่จะเรียนรู มีความสามัคคี ทํางานรวมกันได ศักยภาพของพื้นที่ หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปญญาทองถิ่นที่ สืบสานตอกั นมา คนในชุมชนตอ งรูจัก ตอ งรักและหวงแหนเห็นคุณค าของทรัพยากรในชุ มชนของตน สามารถที่จะนํามาจัดการไดอยางคุมคาและยั่งยืน ทั้งนี้แลวชุมชนตองมีความพรอมในการเรียนรู ตลอดจนมี ความรู ความเขาใจ ในเรื่องแนวคิด พื้นฐานทางดานการทองเที่ยวโดยชุมชน และการจัดการในพื้นที่ไดดวย การจัดการ เปนเรื่องที่ไมงายนักที่จะทําอะไร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด เกิดความยั่งยืน สมดุลใน กลุ มคนหมูม าก ดั งนั้ นชุ มชนที่ จะสามารถบริ หารจัดการ การท องเที่ ยวโดยชุ มชน : "Community-based Tourism : CBT" ไดตองเปนชุมชนที่มี ผูนําที่เปนที่ย อมรับ มีความคิด มีวิสัยทัศ น ความเข าใจเรื่องการ ทองเที่ยวโดยชุมชน ทั้งยังตองไดรับความรวมมือจากหน วยงานทั้งภาครัฐที่เ กี่ยวขอ ง ตอ งมีก ารพูดคุ ย กําหนดแนวทางในการเตรียมความพรอมชุมชนรูวาพื้นที่ข องตนจะมีรูปแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืนได


อยางไร ควรมีกิจกรรมอะไรบาง และจะมีการกระจาย จัดสรรรายไดอ ยางไร ทั้งหลายทั้งปวงที่กลาวมานั้น สิ่งสําคัญที่สุดของชุมชนก็คือการมีสวนรวม อันหมายรวมถึง รวมในทุกๆสิ่ง ทุกอยางเพื่อสวนรวม หลักการทํางานการทองเที่ยวโดยชุมชน จากแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน ที่มองชุมชนเปนศูนยกลางหรือฐานเพื่อกําหนดทิศทาง แผนงาน แผนปฏิ บัติก ารของตนเองโดยดํ า เนิ น การพร อ มกั น ทั้งด านการเมือ ง เศรษฐกิจ สั ง คม วั ฒ นธรรม และ สิ่ง แวดล อ มนั้ น จึงทํา ใหกิ จกรรมการท องเที่ ย วเปน สวนหนึ่ งของกระบวนการพั ฒนาแบบองค รวมและ เกี่ยวกับกลุมคนตางๆ มากมาย เมื่อมองในบริบทของการพัฒนาการทองเที่ยวที่ตองการใหชุมชนมีสวนรวม และไดประโยชนจากการทองเที่ยวจึงควรตองมีหลักการรวมกัน ดังนี้ 1. การทองเที่ยวโดยชุมชนตองมาจากความตองการของชุมชนอยางแทจริง ชุมชนไดมีการพินิจ พิเคราะหสภาพปญหา ผลกระทบการทองเที่ยวอยางรอบดานแลว ชุมชนรวมตัดสินใจลงมติที่จะดําเนินการ ตามแนวทางที่ชุมชนเห็นสมควร 2. สมาชิกในชุมชนตองมีสวนรวมทั้งการคิดรวม วางแผนรวม ทํากิจกรรมรวม ติดตามประเมินผล รวมกัน เรียนรูรวมกันและรับประโยชนรวมกัน 3. ชุมชนตองการรวมตัวกันเปนกลุม เปนชมรม เปนองคกร หรือจะเปนองคกรชุมชนเดิมที่มีอยูแลว เชนกัน องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ก็ได เพื่อกลไกที่ทําหนาที่แทนสมาชิกทั้งหมดในระดับหนึ่ง และ ดําเนินการดานการกําหนดทิศทาง นโยบายการบริหาร การจัดการ การประสานงาน เพื่อใหการทองเที่ยวโดย ชุมชนเปนไปตามเจตนารมณของสมาชิกในชุมชนที่เห็นรวมกัน 4. รูปแบบ เนื้อหา กิจกรรม ของการทองเที่ยวโดยชุมชน ตองคํานึงการอยูรวมกันอยางมีศักดิ์ศ รี มี ความเทาเทียมกัน มีค วามเปน ธรรม และใหสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ การเมือ ง สังคม และ วัฒนธรรมในเชิงสรางสรรคและลดผลกระทบในเชิงลบ 5. มีกฎ กติกาที่เห็นรวมจากชุมชน สําหรับการจัดการทองเที่ยวที่ชัดเจน และสามารถกํากับดูแลให เปนไปตามกติกาที่วางไว 6. ชุมชนที่จัดการทองเที่ยว สมาชิกในชุมชน ชาวบานทั่วไปและนัก ทองเที่ยว ควรมีก ระบวนการ เรียนรูระหวางกันและกันอยางตอเนื่อง เพื่อกอใหเกิดการพัฒนากระบวนการทํางานการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหถูกตองเหมาะสม และมีความชัดเจน 7. การทองเที่ยวโดยชุมชน จะตองมีมาตรฐานที่มาจากขอตกลงรวมภายในชุมชนดวย เชน ความ สะอาด ความปลอดภั ย การกระจายรายได ที่เ ป น ธรรมของผู ที่ เ กี่ ย วข อ ง และพิ จารณาร วมกั น ถึ ง ขี ด ความสามารถในการรองรับ


8. รายไดที่ไดรับจากการทองเที่ยว มีสวนไปสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและรักษาสิ่งแวดลอม 9. การทอ งเที่ยวจะไมใชอาชีพหลักของชุมชน และชุมชนตองดํารงอาชีพหลักของตนเองไวได ทั้งนี้หากอาชีพของชุมชนเปลี่ยนเปนการจัดการทองเที่ยว จะเปนการทําลายชีวิตและจิตวิญญาณดั้งเดิมของ ชุมชนอยางชัดเจน 10. องคกรชุมชนมีความเขมแข็งพอที่จะจัดการกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได และพรอมจะหยุดเมื่อ เกินความสามารถในการจัดการ ซึ่งสิ่งเหลานี้หากมองในแงความพรอมของชุมชนและประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการทองเที่ยวในมิติของชุมชนแลว การทองเที่ยวโดยชุมชนจะเปนไปไดดวยดีนั้นยังตองพิจารณา จากมิตินอกชุมชนที่เขามาเกี่ยวของดวยไดแก การตลาด นโยบายรัฐที่เ ขามาสนับสนุน และพฤติกรรมของ นักทองเที่ยว เปนตน กรอบแนวคิดในการศึกษา ทุนชุมชน

- ทุนทรัพยากรธรรมชาติ - ทุนทรัพยากรมนุษย - ทุนทางสังคม - ทุนทางวัฒนธรรม

ศักยภาพ

ขอจํากัด

รูปแบบการทองเที่ยว ที่เหมาะสมกับชุมชน

การจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน

ทฤษฏีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ประการแรก ผูศึกษาจะใชแนวคิดทุนชุมชนอธิบายถึง ทุนธรรมชาติ ทุนทรัพยากรมนุษย ทุนสังคม และ ทุนทางวัฒนธรรมวาศักยภาพและขอจํากัดในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวของชุมชนอยางไร ประการที่สอง ผูศึกษาใชแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน อธิบายศักยภาพของชุมชนในการจัดการทองเที่ยว และเสนอรูปแบบการทองเที่ยวที่สอดคลองกับศักยภาพชุมชน ประการที่สาม ผูศึกษาใชแนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรมอธิบายถึงรูปแบบการทองเที่ยวที่สอดคลองวิถีการ ดํารงชีวิตของชุมชนที่สัมพันธกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติจนกลายเปนวัฒนธรรมชุมชน


วิธีดําเนินการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูศึกษาไดเขาไปใชชีวิตอยูในพื้นที่เพื่อ สังเกตแบบมีสวนรวม โดยใชวิธีการดังตอไปนี้ 1. การทบทวนเอกสาร โดยศึกษาขอมูลการศึกษาที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ พรอมทั้ง ศึก ษาขอมูลเอกสารที่ศึกษาเกี่ยวกั บรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศและนโยบายที่เกี่ยวกับการทอ งเที่ย ว รวมถึงศึกษาบริบททั่วของชุมชนจากขอมูลมือสองขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ในดานการ บริหารจัดการการทองเที่ยว 2. สํารวจพื้นที่เปาหมาย โดยศึกษาบริบททั่วไปของชุมชนบานหวยยางหมู 6 และหมู 9 ทั้งสอง หมูบาน เพื่อศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยวของชุมชน 3. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง โดยผูศึกษาใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางในการสัมภาษณ ซึ่งจะสัมภาษณกลุมเปาหมายที่เปนชาวบานในชุมชนหวยยางทั้ง 2 หมูบาน และกลุมผูนําชุมชน ตลอดจน ปราชญช าวบ า น โดยแบ งออกเปน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข อ มู ล ทั่ วไปของผู ให สั มภาษณ ตอนที่ 2 ผลกระทบของการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นตอชุมชนหวยยางและตอนที่ 3 รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับ ชุมชนหวยยาง 4. การสัมภาษณเชิงลึก ผูศึกษาใชสัมภาษณผูรูเกี่ยวขอมูลดานทรัพยากรที่มีในชุมชน ความเชื่อ พิธีกรรม วัฒนธรรม ประเพณีที่สําคัญของชุมชน 5. การสั ง เกตแบบมี ส วนร วม โดยผู ศึ ก ษาเข า ไปใช ชี วิตอยู ในชุ มชนเพื่ อ ศึ ก ษาข อ มู ล ต า งๆ โดยเฉพาะขอ มูล ที่เ กี่ ยวข อ งกั บรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเ วศที่ เ หมาะสมกับชุมชน รวมถึงระบบการ บริหารจัดการการทองเที่ยวของคนในชุมชน 6. การสนทนากลุมยอย ใชเพื่อเปนเวทีในการระดมความคิดเห็นของชาวบานเกี่ยวกับพัฒนาการ ของการท อ งเที่ ยวและสถานการณ ข องการท อ งเที่ ยวในป จจุบั น เพื่ อ นํา ไปสู ก ารพั ฒ นารู ปแบบการ ทองเที่ยวที่เหมาะสมตอชุมชน ประกอบกับการจัดโครงการพัฒนาชุมน 7. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาวิเคราะหและอภิปรายผลอยางเปนระบบตามระเบียบวิธีวิจัยทาง สังคมศาสตร เพื่อนําขอมูลที่ไดมาจัดทําเปนรูปเลม รวมถึงนําขอมูล ที่ไดจากการศึกษาเสนอตอองคก ร ปกครองสวนทองถิ่นเพื่อนําไปพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวใหเหมาะสมกับชุมชน


นิยามศัพทเฉพาะ รูปแบบการทองเที่ยว หมายถึง กิจกรรมการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นจากการคิด วิเคราะหแ ละตัดสินใจ รวมกันของชุมชน รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน หมายถึง รูปแบบการทองเที่ยวที่ไมสงผลกระทบดาน ลบตอชุมชนทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม และสอดคลองกับศักยภาพและขอ จํากัด ของชุมชน ขอจํากัด หมายถึง ปญหาและอุปสรรคของชุมชนที่อาจจะมีผลตอการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถหรือความพรอมของชุมชนที่อาจจะมีผลตอการพัฒนารูปแบบ การทองเที่ยว ทุน ชุ มชน หมายถึ ง ทุ น ทางธรรมชาติ ทุ น ทางสัง คม ทุ น ทางทรั พยากรมนุ ษย และทุ น ทาง วัฒนธรรม


บทที่ 2 บริบททั่วไปของชุมชน

บริบททางประวัติศาสตร จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานไดเลาวา ชาวบานหวยยางนั้นไดอพยพมาจาก บานมั่น เมือง เซะ สาละวัน คําทอง เมืองวัง ของประเทศลาว โดยการนําของนายยาง ( ทาวโพธิสาร) และนายโตะ โดย เดินทางขามแมน้ํ าโขง เขาสูจังหวัดนครพนม แลวเดินทางตอจนมาถึงภูพาน ซึ่งปจจุ บันคือบา นหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร และไดเลือกพื้นที่นี้เปนที่ตั้งหมูบาน เพราะเห็น วาที่แหงนี้มีดิน มีน้ํา ที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูก อย างยิ่ง จึงเปนที่มาของชื่อ หมูบานห วยยาง เนื่องจากนําชื่อของผูตั้งหมูบานมาเปนชื่อของหมูบาน ตอมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุล จึงตั้งนามสกุล วา “ ยางธิสาร” โดยนําเอาชื่อผูตั้งหมูบานผสมกับชื่อหมูบานหวยยาง ชุมชนหวยยางมีประวัติค วามเปนหมูบานขาดแคลนเนื่องจากประสบภัยแลง โดยในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้ง ที่ 1 ยายไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัยไป 20 ครัวเรือ น กลุมที่ 2 ยาย ไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งที่ 2 หนีภัยไปจํานวน 12 ครัวเรือน โดยยายตาม ญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย บริบททางภูมิศาสตร ที่ตั้ง ชุมชนหวยยาง หมูที่ 6 และหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู ทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอฯประมาณ 12 กิโลเมตร และหางจาก จังหวัดสกลนครประมาณ 36 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอดังนี้


ทิศเหนือ

จรดกับบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทศใต

จรดกับเทือกเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก จรดกับบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันตก จรดกับเทือกเขาภูพาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบที่ 2: แผนที่กายภาพแสดงที่ตั้งของชุมชนหวยยาง ลักษณะภูมิประเทศ ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่ตั้งอยูบนเนินเขาที่เตี้ย ๆ ลอมลอบดวยทุงนาและภูเขาสลับซับซอน ใกลกับอุทยานแหงชาติภูผายล เดิมบริเวณนี้จะเต็มไปดวยปาไม พืชพันธุธรรมชาติ และสัตวปานานาชนิด ซึ่งในปจจุบันไดลดนอยลง เนื่องจากการขยายตัวของประชากรในชุมชน ทําใหความตองการที่จะทํามาหา กินเพิ่มมากขึ้น ระหวางหมูบานกับภูเขาเปนที่ราบลุมเชิงเขา สภาพพื้นที่ในหมูบานหวยยางนั้นถือวาเหมาะ แกการเพาะปลูก ทําไร ทํานา ทําสวน เพราะมีแหลงน้ําเพียงพอในการทําการเกษตร (พาดี ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)


ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของชุมชนหวยยาง มีทั้งหมด 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูรอน เริ่มประมาณเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะบานหวย ยางติดกับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะเปนชวง ที่ชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็นจัด ประมาณ 13 Cº เพราะบานหวยยางติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลที่ชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิต ทางการเกษตรโดยเฉพาะผลผลิตจากการทํานา

ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะภูมิประเทศของชุมชนหวยยาง บริบททางสังคม ครัวเรือนและประชากร ชุมชนหวยยาง ประกอบดวย บานหวยยาง หมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ซึ่งแยกออกจาก บานหวยยาง หมูที่ 6 เมื่อป พ.ศ.2538 บานหวยยาง หมูที่ 6 มีจํานวน ครัวเรือน 249 ครัวเรือน มีประชากร ทั้งสิ้น 925 คน เปนชาย 472 คน หญิง 453 คน สวนบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 มีจํานวน ครัวเรือน 248 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 829 คน เปนชาย 427 คน หญิง 402 คน


กลุมชาติพันธุ ชาวบ า นห ว ยยางเป น กลุ ม ชาติ พั น ธุ ภู ไ ท ซึ่ ง บรรพบุ รุ ษ อพยพมาจากประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยการนําของทาวโพธิสาร ชาวภูไทถือวาเปนชนเผาไทหรือไตอีกสาแหรก หนึ่งซึ่งจัดวาเปนผูที่พูดภาษาตระกูลไทกะได (Tai -Kadai) หรือไท-ลาวชนชาติไทเหลานี้กระจัดกระจายอยู ทั่วไปในเขตปาฝนเมืองรอนโดยเฉพาะในดินแดนลุมแมน้ําโขงลุมแมน้ําสาละวินลุมแมน้ําดําลุมแมน้ําแดงที่ อยูในบริเวณรัฐชาติไทยพมาลาวเวียดนามและจีนเปนตนรวมทั้งบริเวณทางเหนือของอินเดีย (ธันวาใจเที่ยง, 2545:12) ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปลงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรม ราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และ พระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เมื่อโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบทรัพย สมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีก ครั้งหนึ่งมี เนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน 1. ภูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีดําและสีคราม 2. ภูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีขาว ระบบความสัมพันธของชุมชน ความสัมพันธของชุมชนหวยยาง เปนชุมชนที่มีความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยกัน แบบพี่แ บบนอ ง ทั้งเปนญาติพี่นองกันตามสายเลือดและเครือญาติที่ไมใชญาติพี่นองกันตามสายเลือด มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรักใครสามัคคีก ลมเกลียวกัน เพราะสวนใหญจะอยูกันแบบเครือ ญาติละแวกบานเดียวกัน มีทั้งครอบครัวขยาย และครอบครัวเดี่ยว มีวิถีชีวิตที่มีความผูกพันกับศาสนาผูเฒาผู แกจะชอบไปทําบุญที่วัดซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจที่สําคัญของชาวบานหวยยางและยังพบวาภายในชุมชนยังมี ความสัมพันธในดานอื่นๆ เชน กลุมเพาะพันธุกลาไม กลุมทอผา กลุมเลี้ยงไหม กลุมชีวภาพ และกลุม ออมทรัพย ชุมชนหวยยางมีตระกูลใหญ และสําคัญ อยู 3 ตระกูล ซึ่งเปนตระกูลของผูที่เกี่ยวของกับการกอตั้ง ชุมชนหวยยางในอดีต ไดแก ตระกูลยางธิสาร ตระกูลโตะชาลี และตระกูลแสนธิจักร (หวล ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)


บริบททางการเมืองการปกครอง ชุมชนหวยยาง มีการแบงการปกครองออกเปนคุม มีหัวหนาคุมทําหนาที่ประสานดูแ ล โดยแตล ะ หมูบาน มีการแบงคุม ดังนี้ บานหวยยาง หมูที่ 6 1. ชื่อคุม คุมวัดโพธิ์ชัย

หัวหนาคุม ชื่อ นายสาคร ยางธิสาร

2. ชื่อคุม คุมแสงสวาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายลิขิต ยางธิสาร

3. ชื่อคุม คุมโรงเรียน

หัวหนาคุม ชื่อ นายหวล ยางธิสาร

4. ชื่อคุม คุมบานนอย

หัวหนาคุม ชื่อ นายเรง ยางธิสาร

บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1. ชื่อคุม คุมกลางใหญ

หัวหนาคุม ชื่อ นายจบ ยางธิสาร

2. ชื่อคุม คุมกลางตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายไมตรี ศูนยราช

3. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนบน

หัวหนาคุม ชื่อ นายสนธีร ยางธิสาร

4. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนลาง

หัวหนาคุม ชื่อ นายคําตา นาริเพ็ง

ผูนําที่เปนทางการของชุมชน ผูนําที่เปนทางการของชุมชนหวยยาง ประกอบดวยผูนําทางการปกครอง และผูนําทางการเมือ ง ได แก ผู ใหญบาน ผู ชวยผู ใหญบาน สมาชิ ก องคก ารบริ หารสวนตํ าบล ผูทรงคุณ วุฒิ ในแตล ะคุ มและ กรรมการหมูบาน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของชาวบานในหมูบาน ดังตอไปนี้ บานหวยยางหมูที่ 6 1. ผูใหญบาน ชื่อ นายพายัพ โตะชาลี 2. ผูชวยผูใหญบาน

1. นายสมทรง สรอยสรง 2. นายพรเพชร เถือกตาถา 3. นายอภินันท เถือกตาถา

3. สมาชิก อบต.

1. นายสุรัน โตะชาลี 2. นายสาคร ยางธิสาร


บานหวยยางเหนือหมู 9 1 ผูใหญบาน ชื่อ นายทวีชัย ยางธิสาร 2 ผูชวยผูใหญบาน

1. นายมนูญ ยางธิสาร 2. นายมีชัย ยางธิสาร 3. นายวิตตะ ยางธิสาร

3. สมาชิก อบต.

1. นายจบ ยางธิสาร 2. นางวงคจันทร ยางธิสาร

โดยผูนําทางการมีบทบาทหนาที่เปนผูประสานงานระหวางหนวยงานราชการกับชาวบานในพื้นที่ เกี่ยวกับงานพัฒนาในดานตางๆของชุมชน และดําเนินกิจกรรมตางๆในหมูบาน รวมถึงการเปนผูไกลเกลี่ย ปญหา ขอขัดแยงที่เกิดขึ้นกับชาวบาน ผูนําที่ไมเปนทางการของชุมชน ชาวบานหวยยางยังมีความเชื่อวัฒนธรรมประเพณีและใหความเคารพผูอาวุโสมีความเหนียวแนนใน กลุมเครือญาติ แมวาจะมีผูใหญบานที่เปนผูนําทางการแตการทํางานจะตอ งปรึก ษาหารือกับผูอาวุโส เชน กิจกรรมวั นสํ าคั ญทางศาสนา ผูนําในพิ ธีก รรมต างๆดา นความเชื่อ การหาฤกษ ย ามในพิธี สํา คัญ ฯลฯ นอกจากนี้ ยั งมีผู รูเ กี่ ยวกั บวั ฒ นธรรมและภู มิปญ ญาพื้ น บา นที่ เ ป น อั ตลั ก ษณ ข องชุ มชน โดยมี ค วามรู ความสามารถดานตางๆดังตอไปนี้ บานหวยยาง หมูท ี่ 6 1.นายพาดี ยางธิสาร มีความรูค วามสามารถดานการจักสาน ตะกรา กระติ๊บขาว นอกจากนี้ยัง สามารถเปนผูนําในพิธีบายศรีสูขวัญในการตอนรับแขกบานแขกเมือง 2.นางผองคํา โตะชาลี มีความรูความสมารถเกี่ยวกับการรักษาโรคดวยการเปา 3.นายหวล ยางธิสาร นอกจากเปนอดีตผูใหญบานแลวยังมีความรูความสามารถเกี่ยวการใชเครื่อ ง ดนตรีพื้นบานการขับรองหมอลํา และเปนครูสอนเกี่ยวกับกาพยกลอน ทํานองหมอลํา 4. นางแต คําเครือ มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชสมุนไพรพื้นบาน 5. นายเกียน โตะชาลี เปนหมอสูตร มีความรูความสามารถในดานการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ดูฤ กษ มงคลในงานพิธีตางๆ


บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1. พระราชรัตนมงคล เลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ทานเปนชาวบานหวยยาง มีบทบาทเปนผูนํา ทางจิตวิญญาณของชาวบานหวยยาง รวมถึงมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนหวยยาง ดวยการฟนฟูวัฒนธรรม ประเพณีภูไทชาวหวยยาง และสงเสริมดานการทองเที่ยว จากการดําเนินโครงการสรางอุโบสถดิน ถวายเปน พระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสเจริญพระ ชนมพรรษา 84 พรรษา 2.นายเลา ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหวยยาง 3.นายวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบาน 4.นายเซง คําเพชรดี มีความรูความสามารถดานมนตคาถา เปารักษาพิษงู ไลปอบ 5.นายขันคํา ยางธิสาร มีความรูความสามารถดานการเปาฝหัวดํา 6. นางจอม จองสระ มีความรูความสามารถดานยาสมุนไพร 7. นายชุย แสนธิจักร มีความรูความสามารถดานไลปอบ

บริบททางวัฒนธรรม การแตงกาย การแตงตัวของชาวภูไท ผูชายจะนุงผาดําหรือขาว ใสเสื้อทอเองสีดําไมใชเครื่องประดับ ผูหญิงนุง ซิ่นสีดําและใสเสื้อดําสะพายแลง โดยเอาแขนเสื้อสองแขนผูกติดเขาหากันพอปดบังหนาอก เครื่องประดับ ผูหญิงสวมกําไรขอมือสีเงิน ตางหูเงิน เกลาผมสูงจัดเปนกีบสวยงาม รัดดวยผาผืนเล็กๆในงานบุญตางๆ จะ แตงตัวสวยเปนพิเศษ ผูชายจะนุงผาไหมสวมเสื้อชั้นในสะพายผาทอลายตางๆผูหญิงนุงซิ่นมัดหมี่สวมเสื้ อ ดําแขนยาวผาอกติดกระดมดาย 30 - 40 เม็ด สลับดวยลายสตางค มีลูก ปดแกวคล องคอ ขอ มือ และ ประดับผม บางคนมีสรอยหอยเงินเหรียญตางๆ การแตงกายของชาวภูไทไมวาจะอยูในพื้นที่ใดก็มีลัก ษณะ การแตงกายเหมือนกัน


ภาพประกอบที่ 4 ชุดภูไท ชาย – หญิง

ภาพประกอบที่ 5 ชุดภูไทที่ใชตอนรับแขก

ภาษา บานหวยยางจะมีภาษาพูดและเสียงวรรณยุกตใกลเคียงกับภาษาอีสานบางคํา ตางแตสําเนียงพูดที่ ภูไทออกเสียงสระอัว เอีย เอือ ไมได จะออกเสียงอัวเปนโอ และเอียเปนเอ เอือเปนเออ น้ําเสียงมักจะสั้น หวน และตวัดเสียงสูงขึ้นในพยางคทาย เชนคําวา “ไม” จะออกเสียงวา “มิ, มิได” คําวา “อะไร” จะออก เสียงวา “พิสัง” “หองครัว” จะออกเสียงวา “หอ งโค” “พอ,แม” เรียกวา “ผอ ,แหม,โพะ,เบะ” เปนตน จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานบอกวาในอดีตบานหวยยางพูดภาษา “ภูไทเซะ” ซึ่งเปนภาษาที่ ไพเราะและฟงงาย แตปจจุบันภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปเหลือเพียงไมกี่คนที่สามารถพูดภาษาภูไทเซะได ศาสนา ชาวบานหวยยางนับถือศาสนาพุทธทุกหลังคาเรือน จึงถือไดวาวัดเปนจุดศูนยกลางทางพุทธศาสนา ความศรัทธาในการทําบุญประเพณี การทําบุญในวันพระหรือวันธรรมสวนะ และวันสําคัญทางศาสนา เชน วันเขาพรรษา วันออกพรรษา งานบุญผเวส งานบุญสงกรานต เปนตน วัดในชุมชนหวยยาง มี ทั้งหมด 2 วัด คือ วัดโพธิ์ชัย และวัดพุทธนิมิตสถิตสีมาราม นอกจากนั้นยังมีสํานักสงฆที่ตั้งอยูในเขต อุทยานแหงชาติภูผายล จํานวน 2 แหง คือ วัดถ้ําผาแก และวัดภูนอย พิธีกรรม ชาวบานหวยยาง มีความเชื่อเรื่องผี ไดแก ผีแถน ผีฟา ผีปูตา ผีนา ผีบรรพบุรุษ และผีบานผีเรือน รวมถึงมีความเชื่อทางพุทธศาสนา จึงมีการประกอบพิธีกรรมที่สําคัญเพื่อเปนการแสดงใหเห็นถึงการเคารพ นับถือควบคูไปกับการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ซึ่งมีพิธีกรรมสําคัญ เชน พิธีเลี้ยงผีปูตา พิธีเหยา และพิธีสรงน้ําพระภู โดยมีรายละเอียดดังนี้


พิธเี ลี้ยงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เพราะมีความเชื่อวา ผีปูตาเปนผูดูแลคุมครองปกปก รัก ษาลูกหลาน ซึ่งจะมีการจัดพิธีบวงสรวงผีปูตาทุกๆปในวันขึ้น 3 ค่ํา เดือน 3 กอนลงทําไรไถนาก็จะมีการบอกกลาวผีปูตากอนจงจะทําได เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็นําไปถวายผีปูตา กอนจึงจะนําไปรับประทานได ถาไมปฏิบัติเชนนั้นผีปูตาก็จะแสดงสัญลักษณเพื่อเปนการเตือนวาลูกหลาน ไมไดถวายสิ่งของที่ตนเองปลูกฝงลงไปในที่ดินของปูตา ดวยเหตุนี้ผีปูตาจึงเปนที่เคารพนับถือชาวบาน โดยพิธีการจะทําการบวงสรวงที่ปาชุมชนซึ่งเปนที่ที่ศาลปูตาตั้งอยู เครื่องบูชาประกอบดวย เหลา ขาว 1 ไห ไก 1ตัว ดอกไม ธูป เทียน ตามจํานวนคนที่อาศัยอยูในครอบครัว แลวก็จะมีการบอกกลาวผีปูตา โดยใหเจาจ้ําเปนผูสื่อสารหรือบอกกลาว พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเป นการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผี” วาผูเ จ็บปวยนี้ ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฏิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผี หมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอ เหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวย ที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)


4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน พิธีสรงน้ําพระภู พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงปลายเดือน 5 หรือตนเดือนหกของทุกป ซึ่งกําหนดการ สรงน้ําพระภูชาวบานจะเปนกําหนดเพื่อหาฤกษที่เปนมงคลและมีความเหมาะสม โดยชาวบานในชุมชนหวย ยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอาง กุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิ ริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมี ความเชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล ประเพณี 12 เดือน ชาวบานหวยยาง ยังมีการปฎิบัติ ฮีต 12 เปนประเพณีในแตละเดือนดังตอไปนี้ บุญเดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานรื่นเริงกัน บุญเดือนยี่ เปนประเพณีที่เกี่ยวของกับการเก็บขาวและการนวดขาว ทําในชวงที่ขาวออกรวงแกจัด และรอการเก็บเกี่ยว โดยมีพิธีการสูขวัญขาวเปนการเซนไหวผีปาปูตา เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะมี การเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทน เรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เดือนสี่ “บุญมหาชาติ” หรือ เรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญที่ยิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสองผูที่มี ศรัทธาทั้งหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานทั้งฝายฆราวาสและฝายสงฆจะชวยกันตกแตง ประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดรฝายฆราวาสหญิงตอ งเตรียม อาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ํา เตรียมไวใหแขกใชแขกตางหมูบาน นอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยังตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแห ขาวพันกอนไปถวายพระ ที่ตองทําใหไดถึงพันกอนนั้นเนื่องจากถือ วาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศน มหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตนดอกเงิน และการแหกัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลว นําเขามาถวายที่วัดก็เปนเสร็จพิธี เดือนหา บุญสงน้ําพระ หรือที่เรียกวา บุญสงกรานต ชาวบานจะหยุดการทํางาน 3 วัน ระหวาง ในชวงเชาของวันที่ 13 เมษายน ชาวบานจะมีรวมตัวกันที่วัดเพื่อทําบุญใสบาตรที่วัดเพราะถือวาเปนวันขึ้น


ปใหมของไทย มีการสรงน้ําพระพุทธรูปซึ่งเปนพระพุทธรูปประจําหมูบาน คือ หลวงพอองคแ สน และ หลวงพอที่ปนดวยกลีบดอกบัวทั้งองค จากนั้นก็สรงน้ําพระสงฆที่วัดโดยจะมีผูนําทางพิธีก รรมทําการขอ ขมาพระสงฆเพื่อจะทําพิธีสรงน้ําเพื่อขอพร เมื่อสรงน้ําพระเสร็จชาวบานก็จะเชิญผูสูงอายุในหมูบานมานั่ง เรียงแถวใหลูกหลานไดรดน้ําดําหัวเพื่อขอพร ชวงบายก็มีการแหหลวงพอองคแ สนพระและพระสงฆรอบ หมูบานหรือที่ชาวบาน เรียกวาพิธีแหหลวงพอองคแ สนซึ่งจะทําเปนประจําทุกปจนเปน ประเพณีคูกับวัน สงกรานต นอกจากนี้ยังมีก ารเลนสาดน้ํากันเพื่อความสนุกสนานแลวก็มีก ารเก็บดอกไมตามไรนาปาเขา ใกลๆเพื่อนําไปบูชาพระ ตอมาก็จะมีการ “จุดบั้งไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนพิธีก ารขอฝน และเสี่ยงทายฝนฟาตามความเชื่อดั้งเดิม โดยชาวบานทั้งตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพื่อ นําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยังพระธาตุดอยอางกุง เมื่อพระสงฆฉันเพลเสร็จ ก็จะทําพิธีที่บริเวณพระธาตุ และใหชาวบานสรงน้ําพระธาตุเพื่อใหเปนสิริมงคล เดือนหก “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของชาว ไทยอีสานทั่วไป เพื่อเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลามสอบถาม วิญญาณของบรรพบุรุษ เดือนเจ็ด ทําบุญติดปติดเดือน เรียกวาทําบุญดวยเบิกบาน ทําพิธีเลี้ยงมเหศักดิ์หลักเมือ ง เลี้ยงผี บานซึ่งเรียกวาผีปูตา หรือตาปู ซึ่งเปนผีประจําหมูบานและเรียกผีประจําที่น าวา “ผีตาแฮก” คือกอนจะลง ทํานาตองมีการสรวงบูชาเจาผีนากอนเปนการแสดงความนับถือรูบุญคุณ เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญที่ชาวบานไมเคยละเลยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวาย ภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือที่เรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญที่แสดงความกตัญูกตเวที ตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีที่ไดกระทําตอตนเองเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยูความผูกพันกันเชนนี้ ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนําขาวพรอมอาหารคาว หวานที่ทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพื้นดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลว กรวดน้ํา อุทิศสวนกุศลใหญาติพี่นอง บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาในวันแรม 14 ค่ําเดือ นเกา บรรดาผู ลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลานนั่นเอง เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติที่ลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล


เดือนสิบเอ็ด เมื่อพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตที่ 8 และออกพรรษาตามฮีตที่เดือ นสิบเอ็ดแลว แสดงวา จํ า พรรษาครบสามเดื อ นทํ าพิ ธี ปวารณา ตามวัด ต า งๆจุ ดประที ปโคมไฟสวางไสว เริ่ม ตั้ ง แต กลางเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน เดือนสิบสอง “ทําบุญกฐิน” (กฐินเริ่มแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ถึงกลางเดือน 12) เปนงานบุญแบบ เดียวภาคกลาง คือมีการจองกฐินแหกฐิน และสมโภชกฐินเปนอันดับสุดทาย โดยปกติในสมัยกอนนิยม ทอกผากฐินกันเอง จะเปนผาฝาย ผาไหม เพราะถือวาไดผลานิสงค

บริบททางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่ดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปาชุมชน ซึ่งประชาชนใชประโยชนรวมกัน 2 แหง แหงแรกตั้งอยูทางทิศเหนือของโรงเรียนบานหวยยางมีเนื้อที่ 3 งาน ซึ่งเป นพื้น ที่ที่ชาวบานใชประโยชน เชน หาเถาวัล ย เห็ด และสัตวปาขนาดเล็ก แตปาชุมชนได ประสบปญหาเถาวัลยปกคลุมตนไมทําลายความหลากหลายทางธรรมชาติ องคก รปกครองสวนทองถิ่นจึง ไดมีโครงการพัฒนาปาชุมชนและปลูกไผเถิดพระเกียรติ 84 พรรษา เพื่อฟนฟูปาชุมชน แหงที่สองเปนปา ชุมชนที่ใชประโยชนเปนปาชาชาวบานในชุมชนจะประกอบพิธีกรรมที่สําคัญคือ พิธีฝงศพ นอกจากนี้บาน หวยยางยังมีหนองน้ําสาธารณะ 1 แหง คือหนองไผ มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร เปนที่ตั้งของศาลปูตาซึ่งมีมา นานพรอมกับหมูบานในชาวบานไดใชประโยชนจากไผที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติไดตลอดทั้งป ในอดีตสภาพ ของหนองไผมีลักษณะเปนปาไผทึบประกอบกับเปนที่ตั้งของศาลปูตาทําใหผูเ ขา ไปใชประโยชนในพื้นที่ หนองไผ มี ค วามเกรงกลั วและถู ก เรี ย กว า เปรี ยบเสมื อ นตู เ ย็ น ของชุ ม ชนเพราะเต็ มไปด วยอาหารและ ประโยชนใชสอยมากมาย


ภาพประกอบที่ 3 ปาชุมชน บริบททางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพหลัก ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพทํานาเปนหลัก โดยมีทั้งการทํานาปแ ละนาปรัง ซึ่งการทํานา ปรังสวนใหญจะอาศัยน้ําจากอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง การประกอบอาชีพรอง ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพรองหลายอยางดวยกัน ไดแก การทําสวน การเพาะกลาไม การ รับจาง สวนใหญจะเปนอาชีพเสริมตามฤดูก าลไดแก การรับจา งดํานา เกี่ยวขาว รับจางลงกลาผัก หวาน การคาขาย ไดแก ขายกลาไม การคาขายภายในชุมชน ขายของที่ไดจากการหาของปาและสัตวน้ําที่หาได จากอางเก็บน้ําหวยโท สวนการเลี้ยงสัตวมีทั้งการเลี้ยงไวขาย เพื่อใชแรงงาน และเพื่อบริโภค เชน ปลา ไก เปด โคขุน กระบือ เปนตน นอกจากนั้นชาวบานที่เปนผูหญิงยังมีรายไดเสริมจากการทอผาอีกดวย


ตารางที่ 1: ปฏิทินทางเศรษฐกิจของชุมชนหวยยาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค

การทํานาป การทํานาปรัง การปลูกยาสูบ การปลูกถั่วลิสง การปลูกผัก การเพาะพันธุกลาไม การหาของปา การจับปลา การเลี้ยงโคขุน การเลี้ยงไก เปด ปลา การทอผา การรับจางทั่วไป การคาขายในตลาดชุมชน

บริบทองคกรชุมชน ชุมชนหวยยาง ทั้งหมูบานหวยยางและหวยยางเหนือ มีกลุมองคกรตางๆดังตอไปนี้ 1. วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธกลาไม จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2553 โดย มี วั ต ถุ ป ระ สงค เ พื่ อ รวมกลุมหาเงินมาลงทุนในการเพาะพันธุกลาไม ซึ่งมีแหลงเงินทุนที่สําคัญไดแ ก ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร ซึ่งสมาชิกภายในกลุมไดมีการสรางขอตกลงในการปฏิบัติรวมกัน คือ สมาชิกใน กกลุมจะตองมีการเก็บเงินออมของแตละเดือนเดือนละ 40 บาท ขายตนกลาไมในราคาเดียวกัน และมีการ ประชุมกันเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีการเพาะพันธกลาไมหลายชนิด เชน กลาผักหวาน มะกรูด มะนาว ฯลฯ 2. กลุมเยาวชน จั ดตั้ง ขึ้นเพื่อส งเสริ มให เยาวชนในหมูบา นมีกิ จกรรมและใชเวลาว างใหเ กิ ด ประโยชน ปจจุบันมีการรวมกลุมกับทั้งสองหมูบานคือบานหวยยางและบานหวยยางเหนือ


3. กลุมสตรีแมบานออมทรัพย จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสตรีตอองคกรสตรี ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีในหมูบานใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น ตามเกณฑความจําเปนพื้นฐานรวมทั้ง ครอบครัวและชุมชน 4. กลุมทอผาไหม จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2531 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาความยากจน โดย พระราชินีทานไดมีการสงเสริมใหชาวบานไดทอผาเปนอาชีพเสริม โดยสมาชิกกลุมทอผาไหมไดไป ทําการศึกษาดูงานที่จังหวัดรอยเอ็ดเพื่อพัฒนาพันธไหมเพื่อใหไดไหมที่มีคุณภาพ ประเภทของสินคาไดแก ผาพื้น ผาไหมมัดหมี่ หมี่ขอ ผาลายสะโลง ผาขาวกระรอก ผาลายสกอต ซึ่งจะมีผูเขามารับซื้อสินคาทําให สมาชิกภายกลุมมีวัตถุดิบและตลาดรองรับ แตในปจจุบันสมาชิกในกลุมมีจํานวนลดนอยลงเนื่องจาก สมาชิกภายกลุมไมมีเวลาและขาดสถานที่ทําการกลุมทําใหการประกอบกิจกรรมตางๆจึงคอนขางลําบาก 5. กลุมผลิตปุยชีวภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงคเพื่อตองการปรับเปลี่ยนวิถีการ ผลิตใหหันมาผลิตปุยชีวภาพเองและไมสิ้นเปลืองมีการนําเอาวัตถุดิบที่หาไดในชุมชนมาใช เชน กากน้ําตาล เศษอาหาร ผัก ผลไม ศัตรูพืช เชน หอยเชอรรี่ สถานบริการและสถานที่สําคัญของชุมชน รานคาขายของชํา จําหนายขาวของเครื่องใชที่จําเปนในครัวเรือนทั้งใชในการประกอบอาหาร การ ประกอบอาชีพ ซึ่งมีความจําเปนตอชุมชน มีจํานวน 8 ราน ที่อานหนังสือพิมพ เปนสถานที่ที่ชาวบานใชหาขอมูลขาวสารและความเคลื่อนไหวตางๆที่เกิดขึ้น ในสังคม มีจํานวน 1 แหง หอกระจายขาว เพื่อใหผูนําชุมชนหรือกรรมการหมูบานใชประชาสัมพันธขาวสารตางๆจากทาง ราชการ นอกจากนี้ยังใชประชาสัมพันธเพื่อเรียกประชุมชาวบานในกาลจัดงานสําคัญตางๆ ตูโ ทรศัพทสาธารณะ เพื่อใชติดตอสื่อสารไปยังชุมชนภายนอกหรือใชติดตอญาติพี่นองที่ไปทํางาน ในต า งจั ง หวั ด แต ในป จ จุ บั น โทรศั พ ท ส าธารณะไม ไ ด รั บ ความนิ ย มเนื่ อ งจากแต ล ะครั ว เรื อ นมี โทรศัพทเคลื่อนที่เพราะใชบริการงายกวาโทรศัพทสาธารณะ มีจํานวน 1 ตู ศูนยสาธารณสุขมูลฐาน จัดตั้ งขึ้ นเพื่อ เป นศู นย การนั ดหมายและที่ทํางานหรื อศู นย รวมข อ มู ล ขาวสารทางดานสาธารณสุขของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน รานซอมรถ บริการซอมรถใหกับชาวบานในหมูบานโดยอัตราคาบริการคิดราคาแบบเปนกันเอง มี จํานวน 2 ราน รานตัดผม ใหบริการกับชาวบานภายในชุมชนและชาวบานในชุมชนรอบนอก มีจํานวน 1 ราน


อุโบสถดิน

ภาพประกอบที่ 6 อุโบสถดิน เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ตั้งอยูที่บานหวยยางหมูที่ 6 จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิต สถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กอตั้งวัดในป พ.ศ. 2470 สังกัดคณะสงฆธรรมยุต โรงเรียนบานหวยยาง

ภาพประกอบที่ 7 โรงเรียนบานหวยยาง


โรงเรียนบานหวยยาง จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2475 เดิมชื่อวาโรงเรียนวัดบานหวยยาง “วัดโพธิ์ชัย” ตอ มาได ย า ยมาตั้ ง เปน โรงเรีย นบ า นห วยยาง ให บริก ารด านการศึ ก ษาเริ่ มจากชั้ น อนุ บาลไปจนถึ ง ชั้ น มัธยมศึกษาที่ 3 ซึ่งเปนโรงเรียนขยายโอกาส ปจจุบันมีนักเรียนทั้งหมด 238 คน ในจํานวนนี้มีนัก เรียน จากอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม เขามาศึกษารวมดวย เนื่องจากหมูบานตั้งอยูใกลกับโรงเรียนจึงมีค วาม สะดวกในการเดินทางมาศึกษาที่โรงเรียนบานหวยยาง อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและศาลาอนุสรณทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสราง อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอาง เก็บน้ําดวยพระองคเอง เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 เพื่อใหชาวบานไดใชน้ําในการทําการเกษตรใน ชวงเวลาที่ขาดแคลนน้ํา

ภาพประกอบที่ 8 จุดชมวิวอางเก็ยน้ําหวยโท-หวยยาง


ภาพประกอบที่ 9 ศาลาอนุสรณทรงงาน


บทที่ 3 ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง

ศักยภาพของชุมชนหวยยาง ศักยภาพดานทุนทางธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ชุมชนหวยยางเปนหมูบานที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบรูณทั้งดานทรัพยากรทางธรรมชาติ เนื่องจากตั้งอยูในบริเวณอุทยานแหงชาติภูผายลจึงมีลักษณะภูมิศาสตรเปนพื้นที่ราบและภูเขาที่เ ปนแหลง ตนน้ําลําธารกอใหเกิดน้ําตกและอางเก็บน้ํา การเรียงตัวของกอ นหินที่มีความสวยงาม ถ้ําที่มีค วามสํา คัญ ทางดานประวัติศาสตร ซึ่งกอใหเกิดแหลงทอ งเที่ยวทางธรรมชาติที่มีความงามตามธรรมชาติที่สามารถ ดึงดูดใหคนมาเที่ยวและยังมีแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สําคัญหลายแหงดังตอไปนี้ น้ําตกศรีตาดโตน

ภาพประกอบที่ 10 น้ําตกศรีตาดโตน


น้ําตกศรีตาดโตน อัญมณีเม็ดงามแหงผืนปาภูยางอึ่ง มีความสูงประมาณ 10 เมตร กวางประมาณ 12 เมตร ตั้งอยูในอุทยานแหงชาติภูผายลที่ครอบคลุมมีพื้นที่ถึง 3 จังหวัด ไดแ ก นครพนม สกลนคร เปนน้ําตกหินปูน ที่มีความทามกลางความสวยงามเขียวขจีของผืนปา โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนจะมีค วาม งดงามยิ่งนัก เกิดจากไหลมารวมตัวกันของสายน้ําเล็ก ๆหลายสายเพื่อ ไหลลงสูรอ งน้ําใหญของลําหวยโท เปนรองหวยระหวางภูผาแดง ซึ่งมีพื้นที่อยูในเขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม และภูยาง อึ่งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร น้ําตกศรีตาดโตน มีลักษณะเปนลานหินกวางลาดเอียง เรียกวา ตาด ที่สามารถมองเห็นสายน้ําสี ขาวแผออกกวางไหลตัดกับหินสีดําลงสูเบื้องลาง นับวาเปนความงามที่เกิดจากธรรมชาติสรางสรรค 1. น้ําตกศรีตาดโตนมีความสูงประมาณ 10 เมตร กวางประมาณ 12 เมตร 2. แอ งน้ํ า ขนาดใหญ ที่เ กิ ดจากการกั ดเซาะของน้ํา ที่ไ หลกระทบกั บพื้ น หิน เปน สีเ ขีย ว มีค วามลึ ก ประมาณ 5 เมตร น้ําตกศรีตาดโตน เดิมชื่อน้ําตกตาดโตน เนื่องจากบริเวณชั้นบนของน้ําตกมีน้ําไหลผานลานกวาง เปนชวงๆหลายจุด ซึ่งชาวบานในตําบลเหลาโพนคอมักจะเรียกบริเวณที่เปนลานกวางวา ตาด กอนที่จะ ไหลไปตามความลาดเอียงของชั้นหิน และไหลตกลงสูเบื้องลาง และชาวบานเรียกการไหลของน้ําตกจาก ที่สูงลงสูที่ต่ําวา โตน จึงเปนที่มาของชื่อ น้ําตก ตาดโตน และเมื่อ ป พ.ศ. 2553 ไดมีก ารสํารวจซึ่งนํา โดยนายพิทักษ บริพิศ นายอําเภอโคกศรีสุพรรณในขณะนั้น เพื่อเปดเปนแหลงทองเที่ยวของตําบลเหลา โพนคอ และไดทําพิธีเปดอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 พรอมกับไดเพิ่มคําวา ศรี ซึ่งเปน คํานําหนาชื่อของอําเภอ เขาไปอีกหนึ่งคํา จึงไดชื่อวา น้ําตกศรีตาดโตน ตั้งแตนั้นเปนตนมา น้ําตกศรีตาดโตน เกิดจากรองหินหวยโทที่ไหลมาจากผืนปาอันอุดมสมบูรณ สายน้ําใสไหลผาน ลานหินเปนชวงๆ กอนที่จะไหลผานชองแคบๆเขาไปในแองน้ําซึ่งมีลัก ษณะเปนเหมือ นสระขนาดเล็ก แลวลนไหลลงสูลานหินกวางที่มีความลาดเอียง จะเปนสายน้ําสีข าวตัดกับพื้นหินสีดําสนิท ซึ่งเปนลีลา อันงดงามของธรรมชาติที่ไดวางตําแหนงของสายน้ําใหไหลผานชั้นหินตางๆถึง 3 ชั้น กอนจะทิ้งตัวลงสู พื้นลางที่มี ความสูงเกือบ 10 เมตร ซึ่งเกิดจากการกัดกรอนของน้ํามานานหลายปทํา ใหเกิ ดเปนแอง ขนาดใหญที่มีความลึกเกือบ 3 เมตร กอใหเกิดสายน้ําที่เย็นเฉียบไหลลงสูเบื้องลางตอไป แมวาน้ําตก แหงนี้จะอยูไกลพอควร แตก็ไดรับการมาเยือนของนักทองเที่ยวทุกยุคทุกสมัยเปนเพราะความงามของสาย


น้ําตกประกอบกับความอุดมสมบรูณของผืนปาที่เปนสิ่งสําคัญที่ทําใหคนรักธรรมชาติเ ขามาพักผอนและ ชื่น ชมความงามของน้ําตก สําหรับการมาเยือนน้ําตกศรีตาดโตน ตองเดินทางโดยเรือ เพื่ อขามอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ระยะทางประมาณ 1.32 กิโ ลเมตร ใช เวลาประมาณ 30 นาที จากจุ ดชมวิ วพัทยานอ ยไปยัง ทา มวง จากนั้น ใช การเดิน ปา ไปตามทางเดิ นของชาวบ านที่ใช ในการเดิน หาของป า ระยะทางประมาณ 1.86 กิโลเมตร ซึ่งระยะระหวางทางเดินที่ลัดเลาะไปตามรองหวยมีค วามงดงามของพรรณไมตางๆใหไดชม ตลอดทางและไดยินเสียงน้ําเซาะแกงหินตลอดการเดินทางใชเ วลาประมาณ 1 ชั่วโมง ก็เ ดินทางไปถึง น้ําตกศรีตาดโตน กิจกรรมดานการทองเที่ยวไดแก การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติผานจุดทองเที่ยวที่สําคัญหลาย จุด เชน จุดคนพบฟอสซิส การตกปลา จับปูคาย หาของปา เชน เห็ด หนอไม และเลนน้ําตก ถ้ําผาเก

ภาพประกอบที่ 11 พระพุทธสวางศากยมุนี พระนอนที่ ถ้ําผาเก ชื่อของถ้ําสันนิษฐานวามาจากชื่อของคางคาว ชาวบานมักจะเรียกคางคาวที่มาอาศัยอยูในถ้ําวา อี เกีย และลักษณะของถ้ําเปนหนาผาตัด เวาเขาไปขางในเปนถ้ําอยูในบริเวณภูยางอึ่งในอุทยานแหงชาติภูผา ยล นอกจากคูหาขนาดใหญแลวดานในยังมีอุโมงคถ้ําที่เปนชองแคบๆที่สามารถคานเขาไปไดเทานั้น และมี น้ํา ไหลอออกมาจากอุโมงคดั งกลา วตลอดป ไม เ คยหยุดไหลแมจะเปน ฤดู แล ง ภายในถ้ํา มีพระพุทธรู ป ประดิษฐานมากมายทั้งเกาและใหม และมีพระนอนองคใหญชื่อ พระพุทธสวางศากยมุนี ซึ่งกอ สรางโดย


หลวงปูพา โดยใชดินเหนียวปนกับโครงไม ตอมาไดมีการบูรณะใหมเมื่อป พ.ศ. 2536 โดยพระราชรัตนมง คล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เดิ มถ้ํ า นี้เ ปน ที่บําเพ็ ญเพี ยร ศี ล ภาวนาของพระเกจิ อ าจารย ตั้ง แต ส มัยหลวงปู พาเรื่อ ยว า จนถึ ง ปจจุบัน และมักจะพาพระมาจําพรรษาตลอดมิไดขาดอยางนอย 1 รูป การลงไปสูถ้ําเบื้องลางตองไตบันได ลงไป การเดินทางไปยังถ้ําสามารถไปไดทั้งสองทางคือ 1.โดยการนั่งเรือจากจุดชมวิวพัทยานอยไปยังดาน หมี ระยะทางประมาณ 490 เมตร แลวเดินไตเขาขึ้นไปตามระยะทางประมาณ 1. 78 กิโลเมตร ระหวางก็ จะไดสัมผัสกับลานหินแปลกตาและตนไมแปลกๆที่ขึ้นบนลานหิน 2. โดยการเดินดวยเทาตลอดระยะทาง ประมาณ 1.81 กิโลเมตร โดยเริ่มจากสํานักสงฆภูนอยอางแกว ซึ่งตั้งอยูในบริเวณภูนอย โดยลัดเลาะเรียบ ตีนภูนอยและขามรองน้ําหวยยาง ซึ่งเปนรองน้ําขนาดใหญที่ไหลลงสูอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง เพื่อไต ขึ้นไปยังถ้ําผาเก ระหวางทางจะไดสัมผัสกับปาไมเขียวขจี ที่แสดงถึงความอุดมสมบรูณของผืนปา กิจกรรมดานการทองเที่ยว คือ กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเกเหมาะสําหรับ นักแสวงบุญที่จะมานั่งวิปสสนากรรมฐานเพราะสถานที่มีความเงียบสงบ ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)

ภาพประกอบที่ 12 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)


เปนที่ขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนที่ฝกอาวุธ เปน ถ้ําที่มีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวา ที่หนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการปนหนาผาดู ถ้ําผานางเปนถ้ําที่มีประวัติศาสตรเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยในอดีตที่มีสวนชวยใหประเทศไทย ไมไดเปนประเทศไทยแพสงคราม เมื่อกองทัพญี่ปุนบุกประเทศไทยในเดือน ธัน วาคม 2484 ซึ่งเปน การ นําประเทศไทยเขาสูสงครามเอเชียบรูพา เตียง สิริขันธ ไดรวมกับ จํากัด พลางกรู กอตั้ งคณะกูช าติเพื่อ ตอตานญี่ปุน เพื่อรักษาเอกราชอธิปไตยแหงชาติและคัดครานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่รวมมือ กับญี่ปุน ตอ มานายเตีย ง รวมมือ กับกลุม ส.ส. ฝา ยก า วหนา โดยรวมกลุมกับนายปรีดี พนมยงค ตั้ง ขบวนการเสรีไทยใตดิน ภาคอีสานรหัส พูลโต เพื่อฝกกองกําลังตอตานญี่ปุนโดยใชถ้ําผานางเทือกเขาภู พาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กลายเปนกองกําลังที่สําคัญที่สุดของฝาย เสรีไทย แตยังไมทันที่จะไดสูรบกับญี่ปุนอยางจริงจังสงครามก็ยุติลง นายเตียงไดฉายาวาเปนขุนพลแหงภู พาน คือ การเปนแมทัพใหญในการฝกหัดเสรีไทยนับพันคนหลายรุน มีอัธยาศัยไมตรีเปนที่ไววางใจของ ชาวสกลนคร ความเด็ดเดี่ยวและอุดมคติที่ตอสูกบนักการเมืองที่มีอิทธิพล ทําใหเขาถูกยัดเหยีย ดขอหา ฉกรรจในสมัยนั้นจนถูกฆาตายในที่สุด สมควรที่จะเปนวีระบุรุษคนสําคัญของชาวสกลนคร การเดิ นทางไปถ้ําผานางจะอยู ถั ดขึ้น ไปทางทิ ศเหนื อ ของสํา นั กสงฆภู น อยอ างแกวมี ระยะทาง ประมาณ 3.17 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัส กับธรรมชาติของพันธไมนาๆพรรณที่เรียงรายกันอยู สองฝงขางทางเดินไปยังถ้ําผานาง พระธาตุดอยอางกุง

ภาพประกอบที่ 13 พระธาตุอางกุง

ภาพประกอบที่ 14 พระพุทธศิริมงคล


พระพุทธศิริมงคลเปนพระพุทธรูปที่สรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซึ่งสรางขึ้นในป พ.ศ. 2499 เปนพระพุทธรูปองคใหญ กอนทําการกอสรางพระครูดวงไดใหชาวบานกอกองไฟ จํานวน 7 กอง และให ชาวบานอีกสวนหนึ่งดูวากองไหนที่สามารถมองเห็นไดชันเจนที่สุดก็จะทําการกองสรางพระธาตุและพระ พุทธศิริมงคลที่นั้น ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระธาตุดอย อางกุง หรือที่ชาวเรียกวา “พิธีสรงน้ําพระภู” เพื่อเปนการขอฝน ทําใหฝนตกตามฤดูกาล ซึ่งเปนความเชื่อ ของชาวบานหวยยางและหมูบานใกลเคียง การเดินทางไปนมัสการพระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคล ชวงที่น้ําเต็มอางตั้งเดินทางดวย เรือโดยเริ่มตนที่จุดชมวิวพัทยานอย (อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง) เดินทางผานดานหมีไปทางทิศ เหนือ ประมาณ 1.78 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติที่สวยงามของภูยางอึ่ง กิจกรรมดานการทองเที่ยวในชวงฤดูฝนระหวางทางเดินขึ้นเขาก็จะไดมีกิจกรรมนันทนาการดาน การทองเที่ยวที่หลากหลาย คือ การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติของแหลงทองเที่ยว หาของปา เชน เห็ด หนอไมปา ฯลฯ เปนการเพิ่มประสบการณใหกับนักทองเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่ง ถ้ําอางกุง

ภาพประกอบที่ 15 ภายนอกถ้ําอางกุง

ภาพประกอบที่ 16 ภายในถ้ําอางกุง

เปนถ้ําที่อยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ซึ่งเกิดจากน้ําที่ไหลลงมาจากแองน้ําที่ชาวบานเรียกวา อางกุง เนื่องจากในอดีตบริเวณแองน้ํานี้จะมีกุงฝอยอยูมาก น้ําที่ไหลออกจากอางกุงจะไหลลงไปที่ปากถ้ํา แลวไหลยอนเขาไปในถ้ํา บริเวณปากถ้ําจะแคบตองกมตัวลอดเขาไป แตเมื่อ เขาไปดานในแลวจะมีค วาม กวางมาก บางชวงจะมีลักษณะเปนอุโมงคกวางมีหลังโคงเหมือนโดมสันนิฐานวานาจะเกิดจากการกัดเซาะ ของน้ํา ภายในถ้ําบางชวงมีความกวางประมาณ 10 เมตร บางชวงมีความกวางประมาณ 5 เมตร และมี ความลาดต่ําลงไปเรื่อยนาจะเปนสายน้ําอีกสายหนึ่งที่ไหลมาจากอางกุงแลวไหลลงสูอางเก็บน้ําหวยโท -


หวยยาง แตแทนที่จะไหลตามพื้นดิน หรือหินกับไหลลอดพื้นดิน แลวกัดเซาะดินและหินจนเปนอุโมงคน้ํา ขนาดใหญมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ภายในถ้ํายังเคยเปนที่วิปสสนากรรมฐานของหลวงปูพา พระเกจิอาจารยอันเปนที่เ คารพของชาว ตําบลเหลาโพนคอ และยังเห็นรองรอยของหลวงปูพาเคยใชเปนที่นั่งวิปสสนากรรมฐานปรากฏอยูจนถึง ปจจุบัน จุดชมวิวเสาเฉลียง

ภาพประกอบที่ 17 เสาเฉลียง เปนกอนหิน ใหญที่ตั้งซอ นกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนที่สวยงามอีกจุด หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระ อาทิตยขึ้นที่สวยงาม และสามารถมองเห็นจุดที่พบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด การเดิน ทาง จุดชมวิวเสาเฉลียงตั้งอยูหางจากพระธาตุดอยอางกุงไปทางทิศเหนือ ประมาณ 340 เมตร ระหวางทางไปจุดชมวิวเสาเฉลียงก็จะผานสถานที่ทองเที่ยวหลายแหง เชน ถ้ําอางกุง กิจกรรมดานการทองเที่ยวไดแก วิวทิวทัศนที่สวยงามของภูผาแดง ภูแ ผงมาและเทือ กเขาประเทศ ลาว กางเต็นทคางคืนเพื่อชมบรรยากาศยามเชาของทะเลหมอกและพระอาทิตยขึ้น


ดานหมี

ภาพประกอบที่ 18 ลานหินกวางที่ชาวบานเรียกวา “ดานหมี” ดานหมีมีลัก ษณะเปนลานหินกวางมีกอนหินขนาดใหตั้งสลับซับซอนกันเปนจุดเริ่มตนของการ เดินทางไปยังสถานที่ตางๆในภูยางอึ่ง ในอดีตชาวบานเลาวาจะมีหมีมาหากินในบริเวณนี้เปนจํานวนมากจึง เปนที่มาของการตั้งชื่อวา “ดานหมี” นอกจากนี้บริเวณดานหมียังไปจุดชมวิวที่สามรถมองเห็นอางเก็บน้ํา ในระยะใกลและมีความสวยงามที่สุด การเดินทางไปเยือน ดานหมีนับวาเปนจุดเริ่มตนของสถานที่ทองเที่ยวซึ่งอยูติดกับอางเก็บน้ําหวย โท - หวยยาง ในชวงที่อางเก็บน้ํามีน้ําเต็มอางตองเดินทางดวยเรือมีระยะทางประมาณ 490 เมตร ในชวงที่ น้ําลดสามารถเดินทางดวยรถได โดยใชเวลาประมาณ 10 นาที กิจกรรมดานการทองเที่ยว ถายภาพและชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุม ขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุประมาณ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้น หิน ซึ่งซากฟอสซิลไดโนเสารที่ขุดพบในบริเวณพื้นที่บานหวยยางมีสองสายพันธุ ชนิดแรกสายพันธสยาม โมซอรัส นักธรณีวิทยาสันนิฐ านวามี ลักษณะใกลเคียงกับไดโนเสารซอโรพอดจากอเมริก าเหนื อ เป น ไดโนเสารขนาดใหญ มีความยาวถึง 15 เมตร มีคอยาว ขายาว เดินดวยขา 4 ขา กินพืชเปนอาหาร ซึ่ง


สันนิฐานจากกระดูกที่ขุดพบวามีความคลายไดโนเสารชนิดมากที่สุด สายพันธที่สอง คือสไปโนซอริดส เปนไดโนเสารที่มีลักษณะปากแคบยาวและเปนพวกกินปลาเปนอาหารคลายกับจระเข โดยชิ้นสวนของ กระดูกที่ขุดพบมีลักษณะคลายรูปกรวยปลายแหลม มีสันเล็กๆยาวตลอด สันนิฐานวานาจะเปนชิ้นสวนของ ฟน

ภาพประกอบที่ 19 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร การเดินทางไปดูซากฟอสซิลไดโนเสารตองเดินทางโดยเรือเพื่อขามอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ระยะทาง ประมาณ 1.32 กิโ ลเมตร ใช เ วลาประมาณ 30 นาที จากจุ ดชมวิ วพั ทยาน อ ยไปยั ง ทา ม วง จากนั้นใชการเดินปาไปตามทางเดินของชาวบานที่ใชในการเดินหาของปา กอนจะถึงน้ําตกศรีตาดโตนไป ทางทิศเหนือมีระยะทางประมาณ 1.23 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัส กับธรรมชาติข องภูยางอึ่งที่มี ความสวยงาม กิจกรมดานการทองเที่ยวไดแก ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ปาโลกลานป สํานักสงฆภูนอยอางแกว เปนสํานักสงฆที่มีความเงียบสงบมีองคพระนอนองคใหญและจุดชมวิวที่สวยงามมากสามารถ มองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ระหวางการเดินทางผูมาเยือนก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติอันเงียบ สงบ พรรณไมทองถิ่นหายากสองฝงทาง


ภาพประกอบที่ 20 พระนอนทีส่ ํานักสงฆภูนอยอางแกว การเดินทางไปเยือนสํานักสงฆภูนอยอางแกว เริ่มตนเดินทางโดยเรือกอ นจะถึงสํานักสงฆภูนอ ย อางแกวจะผานสถานที่ทองเที่ยวหลายจุด เชน ถ้ําผาเกโดยสํานักสงฆจะอยูหางจากถ้ําผาเกประมาณ 1.81 กิโลเมตร อีกชองทางหนึ่งคือการเดินทางโดนรถยนตซึ่งจุดเริ่มตนจะเริ่มที่ศาลาทรงงานอางเก็บน้ําหวยโท หวยยางเปนระยะทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร กิจกรรมดานกาทองเที่ยวไดแก เสี่ยงเซียมซีดูคําทํานายโชคชะตาพรอมกราบนมัสการขอพรองค พระนอนสํานักสงฆภูนอยอางแกว ภูผานอย

ภาพประกอบที่ 21 ภูผานอย


มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนตั้งซอนกันอยูสวยงามมาก ซึ่งผูกอการรายคอมมิวนิสตใน อดีตใชเปนหอคอยระวังภัย เปนสานที่ลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ การเดินทางไปเยือนภูผานอย จะอยูหางจากภูผาสํานักสงฆภูนอยภูนอยอางแกวประมาณ 300 เมตร กิจกรรมดานกาทองเที่ยว ไดแก ชมทัศนียภาพภูผานอยแหลงปาไมที่มีความอุดสมบูรณ กิจกรรม การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติของภูเขากอนถึงสํานักสงฆภูผานอย 300 เมตร ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร

ภาพประกอบที่ 22 ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร เปนภาพเขียนโบราณที่เขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนที่ ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย ซึ่งเปนตํานานเลาขานกันวาเปนเสนทางที่ คอมมิวนิสตใชขนถายสมบัติและนําไปฝงไวไวตามที่ตางๆและไดเขียนลายแทงเอาไวเพื่อบอกตําแหงที่ฝง เอาไวตามที่ตางๆบนภูเขา หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของเขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทํา จุดที่สําคัญๆไว การเดินทางไปชมภาพเขียนทางประวัติศาสตร เดินทางไปเยือดวยการเดินเทาผานสถานที่ตางๆของ สถานทองเที่ยวที่สําคัญของภูยางอึ่ง ซึ่งจะอยูถัดจากอางโกบ – อางแกว โดยภาพเขียนทางประวัติจะตั้งหาง จากถ้ําคอมมิวนิสตประมาณ 200 เมตร กิจกรรมดานการทองเที่ยวไดแก ศึกษาลายแทงโบราณจากภาพเขียนประวัติศาสตร ชมทัศนียภาพ ที่สวยงามของพรรณไมและหินที่ตั้งสลับซับซอนระหวางสองฝงทางที่ไปเยือนแหลงทองเที่ยวภาพเขียนทาง ประวัติศาสตร


อางแกว

ภาพประกอบที่ 23 อางขนาดใหญที่อางแกว เปนปฎิมากรรมทางธรรมชาติที่สวยงาม เปนอางขนาดใหญมีน้ําใสตลอดทั้งป สามารถใชน้ําในการ ทําการเกษตรไดเชนกับอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง การเดินทางไปชมอางแกวสามารถไปไดหลายเสนทางเสนทางแรกดวยการเดินปาไปยังพระธาตุ ดอยอางกุงซึ่งจะอยูถัดไปจากพระธาตุดอยอางกุง เสนทางที่สองจุดเริ่มตนที่สํานักสงฆภูนอยอางแกวมี ระยะทางประมาณ 1.27 กิโลเมตร กิจกรรมดานการทองเที่ยว การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ สนุกสนานกับการเลนน้ําที่อางแกว อันลือชื่อ และกิจกรรมนันทนาการ เชน การตกปลา จับปูคาย หาของปา เชน เห็ด หนอไม ตามฤดูกาล ศึกษาลายแทงโบราณ ผาขาม เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนที่นั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็น ภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดทั้งป การเดินทางไปชมวิวที่ผาขามจะอยูถัดจากสํานักสงฆภูนอยอางกุงมีระยะทางประมาณ 3.17 กิโลเมตร กิจกรรมดานการทองเที่ยวเปนที่นั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็นภูมิประเทศของภูยาง อึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดทั้งป


ภาพประกอบที่ 24 จุดชุมวิวผาขาม นอกจากชุมชนหวยยางมีแหลงเที่ยวที่สามารถดึงดูนักทองเที่ยวมาเที่ยวชม ชุมชนหวยยางยังมีทุน ทางธรรมชาติที่ มีค วามอุ ดมสมบรูณ อีก มากมาย เชน มี แ หลง น้ํ าที่มีค วามอุ ดมสมบรูณ ทํา ใหเ กิดความ หลากหลายทางอาชีพ อาทิ อาชีพประมงจับสัตวน้ํา การทําการเกษตรนอกฤดูกาล และการเพาะพันธกลา ไมจนทําใหชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น นอกจากนนี้รอบๆชุมชนยังมีทรัพยากรปาไมซึ่งเปนผื่นปาที่มีค วามอุดม สมบรูณของระบบนิเวศเพราะตั้งอยูบนที่ราบเชิงเขาทําใหชาวบานมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับระบบนิเวศแบบคนภู ซึ่งอาศั ยทรัพยากรธรรมชาติในการประกอบอาชีพ เชน การทํา ไร การเลี้ยงสัตว การหาเห็ด การหา หนอไมไรจากภูเขา และการจับแมลงในชวงฤดูตางๆ

ภาพประกอบที่ 25 การหาเห็ดของชาวบานที่ภูยางอึ่ง


จากปจจัยดังกลาวพบวาชุมชนหวยยางยังมีการพึ่งพาอาศัยใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติมา ผลักดันใหเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของชุมชน อีกทั้งยังมีระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบรูณจึงเหมาะที่จะ ใหนักทองเที่ยวไดเขามาแลกเปลี่ยนรูวิถีชีวิตการพึ่งพาธรรมชาติ เรียนรูการหาของปาดวยการใชกรรมวิธี แบบพื้น บ า นของชาวภู ไท เรี ย นรู ก ารปรุ ง อาหารที่ ต นเองหาได ประกอบกั บ การสรา งจิ ตสํ านึ ก ให นักทองเที่ยวไดอนุรักษและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติควบคูกันไป ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษย ผูศึก ษาจะอธิ บายถึงศั ก ยภาพดานทุนทางทรั พยก รมนุษ ยที่มีในชุมชน ชุมชนหวยยางมีปราชญ ชาวบานซึ่งเปนที่เคารพนับถือของชาวบานทั้งดานการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พิธีกรรมดานความเชื่อ ดานการใชภูมิปญญาพื้นบาน เชน การจักสาน การรักษาโรคดวยสมุนไพร การแสดงศิลปวัฒนธรรมของ กลุมผูสูงอายุ และการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ซึ่งชุมชนไดมีการนําภูมิปญญาพื้นที่ที่กลาวมาขางตนมาเปนสวน ผลักดันใหเกิดการทองเที่ยวผานการนําเสนอโดยปราชญชุมชนผูมีค วามรูความสามารถในดานตางๆ มา แสดงใหนักทองเที่ยวไดศึกษาเรียนรูถึงภูมิปญญาพื้นบานของชุมชน อีกทั้งยังเปนสวนชวยใหเกิดกิจกรรม สําหรับผูสูงวัยในชุมชนอีกดวย

ภาพประกอบที่ 26 การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบานของกลุมผูสูงอายุ ดานผูนําชุมชนและชาวบานผลการศึกษาพบวาผูนํา มีศักยภาพในการประชุมและสั่งการลูกบานได เปนเอยางดี ใหความรวมมือในการประชาสัมพัน ธและประสานงานกับหนวยงานที่เ กี่ยวขอ งในสวนของ นโยบายการทอ งเที่ ยว เพื่อ พั ฒนาศัก ยภาพของประชาชนในการบริ หารจัดการการทองเที่ ยวใหมีค วาม


ชัดเจนมากขึ้น ในสวนของชาวบานพบวา ชาวบานใหความรวมมือกับผูนําชุมชนเปนอยางดีพฤติกรรมของ ชาวบานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เคยดื่มแอลกอฮอลแ ละเลนการพนันก็มีจํานวนลดลง และหันมา ทําบุญที่วัดแทนเพื่อเปนการรักษาภาพพจนที่ดีใหกับชุมชน ชาวบานสวนใหญมีการตื่นตัวและเตรียมความ พร อ มในการตอ นรั บนั ก ท อ งเที่ ยว เช น มี ก ารพั ฒ นาหมู บา น มี ก ารทํ าความสะอาดและจั ดระเบี ย บ บานเรือน ซึ่งชาวบานมีการประชุมพูดคุยเรื่อ งการทอ งเที่ยวเพิ่มมากขึ้นเพราะผูนําชุมชนตองการทําความ เขาใจกับชาวบานและสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการทองเที่ยว เจาหนาที่หนวยงาน ราชการหรือองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้น ชาวบานก็ให ความรวมมือเปนอยางดีทําใหการขับเคลื่อนกิจกรรมดานการทองเที่ยวใหประสบผลสําเร็จ

ศักยภาพดานทุนทางสังคม ผูศึกษาจะอธิบายถึงศักยภาพดานทุนทางสังคมที่ชุมชนไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆที่ เกี่ยวของในการสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ดังตอไปนี้ ดานหนวยงานที่เกี่ยวของ จากการศึกษาพบวา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอมีนโยบายพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชน หวยยางที่มีลักษณะพัฒนาการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ จัดเปนแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ ทางวัฒนธรรม โดยมุงเนนเรื่องการอนุรักษ การพักผอนหยอนใจ การศึกษาธรรมชาติ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยมี เปาหมายการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศคือ 1. มี ข อ ตกลงร วมกั น ในการใช ทรั พยากรการท อ งเที่ ย วระหว า งชุ มชนและหน วยงานที่ เกี่ยวของ 2. รักษาสภาพของทรัพยากรการทองเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศ าสตร วัฒนธรรม ประเพณีและ วิถีชีวิตของชุมชนอยางยั่งยืน 3. กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูจากสิ่งที่ใหทําในแตล ะกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก ชุมชน 4. มีการบริหารจัดการในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนการใหทุก คนในชุมชนมีสวนรวมเพื่อกอ ใหเ กิด อาชีพละกระจายรายไดที่เปนธรรมและทั่วถึง ตลอดจนมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน นอกจากชุมชนหวยยางจะมีศักยภาพของสถานที่ทองเที่ยวที่เอื้ออํานวยตอการเปนหมูบานทองเที่ยว เศรษฐกิจพอเพียงแลว ชุมชนยังไดมีการรวมตัวของชาวบานเพื่อจัดทํากิจกรรมตางๆภายในชุมชน ซึ่งเปน


การแสดงให เ ห็น ถึง ศั ก ยภาพของชุมชน โดยไดรับการคํ า แนะนําจากพระราชรั ตนมงคลให จัด ตั้ งกลุ ม บานพั กโฮมสเตยขึ้ นเพื่อ รองรับนั กทอ งเที่ ยวที่ เขา มาในชุมชน นอกจากนนี้ยัง ไดรับการสนั บสนุน การ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอใหมีการจัดตั้งและอบรมใหความรูแกช าวบานในดานการทองเที่ยว ซึ่งทําใหเกิดองคกรชุมชนขึ้นดังนี้ กลุมโฮมสเตย จากการสัม ภาษณ นายปรารถนา แสนธิ จักร ประธานกลุมโฮมสเตยชุมชนหวยยาง พบว า การ รวมกลุมของสมาชิกบานพัก โฮมเสตยยังไมมีก ารบริหารจัดการที่ชัดเจน เนื่องจากสมาชิกยังขาดความรู ความเขาใจในการจัดการบานพัก อีกทั้งการดําเนินการยังอยูในขั้นของการเริ่มตนทําใหใหกลุมยังไมคอ ยมี ความพรอมเทาที่ควร ในสวนของบานพักพบวา บานพักมีลัก ษณะของตัวบานที่มั่นคงแข็งแรง มีอากาศ ถายเทสะดวก แสงสวางเขาถึง หองน้ําสะอาด และมีการเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับนัก ทองเที่ยว โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดที่พักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ

ภาพประกอบที่ 27 บริเวณภายนอกบานพัก

ภาพประกอบที่ 28 หองนอนสําหรับนักทองเที่ยว


ตารางที่ 2 รายชื่อกลุมโฮมสเตยบานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือหมูที่ 9 ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9. 10. 11.

ชื่อ-สกุล นายปรารถนา แสนธิจักร นางไหมคํา ฮมปา นางธิดารัตน ยางธิสาร นางบัวลอย โตะชาลี นายมีพิมพ ยางธิสาร นายไมตรี สูญราช นายแกง แพงดี นายหนูเตรียม พลราชม นายสรสินธ โตะชาลี นายชัยพิทักษ ยางธิสาร

ตําแหนง ประธานกลุม รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นางอรุณรัตน ยางธิสาร

กรรมการ

ที่มา การอบรมสมาชิกบานโฮมสเตยที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

กลุมอาสาสมัครนําเที่ยว อาสาสมั ค รนํ า เที่ย วเป น กลุ มที่ จั ดตั้ ง ขึ้ น โดยการสนั บ สนุ น จากองคก ารบริ หารส วนตํ า บล เหลาโพนคอ ซึ่งไดทําการจัดอบรมขึ้นในวันที่ 25 - 26 พฤศจิกายน 2554 ณ. หอประชมองคก ารบริหาร สวนตําบลเหลาโพนคอ โดยมีวัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักทองเที่ยวเกิดความประทับใจตอ การบริการของ ประชาชนเกี่ยวกับอาสาสมัค รในชุมชน 2. เพื่อ ใหประชาชนมีทัก ษะและประสบการณในการใหบริก าร นักทองเที่ยว และ 3. เพื่อสรางรายไดเสริมแกประชาชนในการบริการดานการทองเที่ยว


ภาพประกอบที่ 29 อาสาสมัครนําเที่ยว

ภาพประกอบที่ 30 การบรรยายใหความรู

จากการสัมภาษณนายลิขิต ยางธิสาร อาสาสมัครนําเที่ยวพบวา ในชวงที่ผานมาอาสาสมัค รนํา เที่ยวบางคนยังไมเคยนํานักทองเที่ยวไปยังสถานที่ทองเที่ยวในชุมชน มีเพียงกลุมผูนําชุมชนที่ทําหนาที่เปน อาสมั ค รนํ า เที่ ย วพานั ก ท อ งเที่ ย วไปยั ง สถานที่ ท อ งเที่ ย ว ในส ว นของอาสาสมั ค รนํ า เที่ ย วที่ เ คยรั บ นักทองเที่ยวพบวามีความพรอมคอนขางสูง สามารถแนะนําและอํานวยความสะดวกใหแกนัก ทองเที่ยวได ทั้งในดานการพักแรม อาหาร การเดินทาง ตลอดจนชี้แนะและอธิบายถึงประวัติความเปนมาของสถานที่ ท อ งเที่ ย วในแต ล ะสถานที่ไ ด นายลิ ขิ ต ยางธิส าร กล าววา การเปน อาสาสมั ค รนํ า เที่ ย วนอกต อ งมี คุณสมบัติที่ดีแลว อาสาสมัครนําเที่ยวตองมีความรูความสมารถในดานอื่นๆที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวดวย อันไดแก ความสามารถดานภาษา ตองมีค วามคลองแคลวแกไขสถานการณเฉพาะหนาได ความสมารถ ดานวิชาการ เชน ประวัติความเปนมาของสถานที่ทอ งเที่ ยว ฯลฯ ความสมารถดานการนําเที่ยว ตองมี ความแมนยําในเสนทาง มีค วามสมารถในการคํานวณเวลา เราความสนใจนักทอ งเที่ยว เพื่อสรางความ ประทับใจใหกับนักทองเที่ยวที่มาเยือน


ตารางที่ 3 รายชื่ออาสาสมัครนําเที่ยวบานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมู 9 ลําดับที่ ชื่อ – สกุล 1. นายยศตระพล สุขสบาย 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

ที่อยู บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายคง ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายสงกรานต ทรายทอง บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายคําตา นาริเพ็ง บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายมานะชัย แสนธิจักร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายจบ ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายเชิดชัย โตะชาลี บานหวยยาง หมูที่ 6 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายอวน ยางธิสาร บานหวยยาง หมูที่ 6 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายสรสินธ โตะชาลี บานหวยยาง หมูที่ 6 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายวิตตะ ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายลิขิต ยางธิสาร บานหวยยาง หมูที่ 6 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร นายทวีชัย ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ต.เหลาโพนคอ สุพรรณ จ.สกลนคร

ที่มา โครงการอบรมอาสาสมัครนําเที่ยวเชิงนิเวศตําบลเหลาโพนคอ

หมายเหตุ อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี อ.โคกศรี


กลุมเพาะพันธุกลาไม

ภาพประกอบที่ 31 กลุมเพาะพันธุกลาไม ชาวบานหวยยางสวนใหญจะประกอบอาชีพทํานาเปนหลักและมีอาชีพเสริมเปนการเพาะพันธุกลา ไม เดิมชาวบานหวยยางไมมีความรูเ รื่องการเพาะพันธุกลาไม จึงไดไปรับพันธุกลาไมมาเรขายจากกลุม เพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอโคกศรีสุพรรณจังหวัดสกลนคร ผลปรากฏวาได กําไรนอย นายเริง ยางธิสาร ประธานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางเหนือ จึงมีความคิดวานาไปเรียนรู วิธีการเพาะพันธุกลาไมจากกลุมเพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา เพื่อใหชาวบานไดทําการพันธุกลาไมเอง เริ่มแรกมีชาวบานที่สนใจเพาะพันธุกลาไมเพียงไมกี่คนแตเมื่อเห็นนายเริง ยางธิสาร ทําแลวมีกําไรและมี รายได เ พิ่ มมากขึ้น จึง มีช าวบ า นสนใจและหั น มาเพาะพั น ธุ ก ล า ไม เ พิ่ มมากขึ้น โดยชาวบ านจะมี ก าร ถายทอดองคความรูเ รื่องการเพาะพัน ธุกลาใหกัน ไปเรื่อยๆ จนมาถึงป พ.ศ. 2542 ไดมีการจัดตั้งกลุ ม เพาะพันธุกลาขึ้นมีสมาชิกทั้งหมด 27 คน จนในปจจุบันมีสมาชิก เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก นอกยังมีที่ไม เปนสมาชิกกลุมเพาะกลาไมแตเพาะขายสงใหกับพอคาคนกลางที่เขามารับกลาไมกับชาวบานอีก ดวย การ เพาะพั นธุ กลาไม จึงมีค วามสําคัญกับชาวบา นห วยยางทั้ง 2 หมู บา นเป นอยา งมากเพราะทําใหเ กิด การ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญทางเศรษฐกิจ จากอดีตที่เคยเปนหมูบานยากจนที่ตองไปขอทานจากหมูบานอื่นสูการ เปนหมูบานที่มีเศรษฐกิจดีเปนอับตนๆของจังหวัดสกนคร


ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม ชุมชนหวยยางเปนหมูบานที่มีวัฒนธรรมและความเชื่อ ดานพิธีก รรมที่สําคัญคือ การนับถือ ผี เชน การเลี้ยงผีปูตา ฟอนภูไท พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู การบายศรีสูข วัญ ชุมชนหวยยางนับถือศาสนาพุทธ เปนศาสนาหลักทําใหการประกอบพิธีกรรมสวนใหญตองพึ่งพาอาศัยวัดเปนหลัก เชน การทําบุญ ตักบาตรที่ วัด การนมั ส การโบสถ ดิน ซึ่ง เป น เปน ความเชื่ อ ที่ช าวบานห วยยางให ความเคารพนับถื อ ควบคู กั บการ ประกอบการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ นอกจากประเพณีและวัฒนธรรมซึ่งประเพณีและวัฒนธรรม ความเชื่อที่กลาวมาขางตนมีสวนสําคัญที่ชวยใหหมูบานนําเอกลักษณที่มีในชุมชนมาผลักดันเกิดการทองเที่ยว โดยมีวิธีการปฏิบัติดังตอไปนี้ อุโบสถดิน

ภาพประกอบที่ 32 โบสถดินแหงแรกของประเทศไทย เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ตั้งอยูที่บานหวยยางหมูที่ 6 จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิต สถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กอตั้งวัดในป พ.ศ. 2470 สังกัดคณะสงฆธรรมยุต เนื่องจากเปนวัดที่สรางมา นาน อุโบสถหลังเดิมสรางดวยไมไดพุพังตามกาลเวลาทําใหพระสงฆไมสามารถประกอบสังฆกรรมได ดังนั้นทางวัดพรอมพทุธศาสนิกชนบานหวยยางจึงขอพึ่งพระบารมีพระคุณเจาสมเด็จพระสังฆราช สกล มหาสังฆปริณายก ผานสํานักเลขานุก ารสมเด็จพระสังฆราช เพื่อสรางอุโบสถหลังใหม เมื่อเจาพระคุณ สมเด็จฯทรงรับโครงการสรางอุโบสถไวในพระราชอุปถัมภ และพระราชทานแนวทางการดําเนินงานวา


ควรดําเนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนอมเกลานอมกระหมอมถวายเปนพระราชกุศ ลเนื่อ งในมหา มงคลวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา โดยมีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเริ่มในการสรางโบสถดิน ในการนี้พระเจาหลาน เธอพัชรกิติยาภาไดเสด็จมาวางศิลาฤกษดวยพระองคเองและไดรับการอนุเคราะหจากกรมราชทันธที่นํา นักโทษที่มีความประพฤติดีมาชวยสรางโบสถดินจนแลวเสร็จและไดมีการฉลองโบสถดินเปนเวลา 7 คืน 7 วัน ในการนี้พระเจาหลานเธอพัชรกิติยาภาทรงเสด็จมาตัดหวายลูกนิมิตดวยพระองคเองในวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 การเดินทางไปเยือนยังโบสถดิน สามารถเดินทางไดโดยรถยนตตั้งอยูบานหวยยางหมูที่ 6 วัดปา พุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กิจกรรมดานการทองเที่ยว นมัส การโบสถดินและเจดียพอเพียงที่ประดิษ ฐานภายในวัดวัด เพื่ อ เสริมสรางริมงคลใหกับชีวิต พิธกี ารเลี้ยงผีปูตา

ภาพประกอบที่ 33 การเลี้ยงผีปูตาที่ปาชุมชน ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เพราะมีความเชื่อวา ผีปูตาเปนผูดูแลคุมครองปกปก รัก ษาลูกหลาน ซึ่งจะมีการจัดพิธีบวงสรวงผีปูตาทุกๆปในวันขึ้น 3 ค่ํา เดือน 3 กอนลงทําไรไถนาก็จะมีการบอกกลาวผีปูตากอนจงจะทําได เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็นําไปถวายผีปูตา


กอนจึงจะนําไปรับประทานได ถาไมปฏิบัติเชนนั้นผีปูตาก็จะแสดงสัญลักษณเพื่อเปนการเตือนวาลูกหลาน ไมไดถวายสิ่งของที่ตนเองปลูกฝงลงไปในที่ดินของปูตา ดวยเหตุนี้ผีปูตาจึงเปนที่เคารพนับถือชาวบาน โดยพิธีการจะทําการบวงสรวงที่ปาชุมชนซึ่งเปนที่ที่ศาลปูตาตั้งอยู เครื่องบูชาประกอบดวย เหลา ไห ไกตัว ดอกไม ธูป เทียน ตามจํานวนคนที่อาศัยอยูในครอบครัว แลวก็จะมีการบอกกลาวผีปูตาโดยให เจาจ้ําเปนผูสื่อสารหรือบอกกลาว คุณคา/แนวคิด/สาระ ความเชื่อและวัฒนธรรมเรื่องการเลี้ยงผีปูตาเปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษ และถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท การฟอนภูไท

ภาพประกอบที่ 34 การฟอนภูไทเพื่อตอนรับแขกที่เขามาเยือนหมูบาน ฟอนผูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิล ปะดั้งเดิมของชาวผู ไทที่ไดอนุรักษศิลปะการรํานี้ไว ปจจุบันการรําผูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพื่อพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามศิลปะดั้งเดิม อยางหนึ่งหรือเปนการรําเพื่อความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปที่ขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะที่พระธาตุเชิงชุม แลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอน ในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6


อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทา รํา 16 ทา เวลาฟอนทั้งชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ที่สําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตอ งตัว ฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มา แสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหคนทั่วไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและ ถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท พิธีเหยา

ภาพประกอบที่ 35 เครื่องเซนในพิธีเลี้ยงผีของผีหมอ การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเป นการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผี” วาผูเ จ็บปวยนี้ ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฏิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผี หมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้


1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอ เหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวย ที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป) 4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน คุณคา/แนวคิด/สาระ ความเชื่อและวัฒนธรรมเรื่องพิธีเหยาเปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและถือ วาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท พิธีสรงน้ําพระภู

ภาพประกอบที่ 36 การถวายเพลพระสงฆเนื่องในงานพิธีสรงน้ําพระภู พิธีส รงน้ํ าพระภู นี้ ชาวบานจะทํา ในช วงเดื อ น 6 ของทุก ป โดยชาวบ านในชุมชนหวยยางและ หมูบานใกลเ คีย งจะทํา อาหารขึ้ นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานร วมกัน บนพระธาตุด อยอา งกุง


ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีค วาม เชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล พิธีบายศรีสูขวัญ

ภาพประกอบที่ 37 พิธีบายศรีสูขวัญตอนรับผูมาเยือนในหมูบาน พิธีสูขวัญ หรือทีเ่ รียกวา "พิธีบายศรี" หรือ "บายศรีสูขวัญ" เปนประเพณีสําคัญอยางหนึ่งของชาว อีสาน ประเพณีสูขวัญทํากันแทบทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแหงความดีและไมดี ชาวอีสานถือวาเปนประเพณี เรียกขวัญ ใหมาอยูกับตัว พิธีสูขวัญนี้เปนไดทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเปนการปลอบใจใหเจา ของขวัญจากคณะ ญาติมิตรและบุคคลทั่วไป สําหรับบานหวยยางเมื่อมีผูหลักผูใหญจากหนวยงานตางๆเปน ทีเ่ คารพนับถือหรือมีนักทองเที่ยวมาเยือนหมูบานชาวบานก็มีความยินดีจัดพิธีสูขวัญเพื่อเปนการตอนรับดุจ ญาติพี่นอง

ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง จากการสัมภาษณผูนําชุมชนและชาวบานชุมชนหวยยาง พบวาผลกระทบของการทองเที่ยวมีตอ ชุมชนในชวงที่ ผานมามีผลทําใหช าวบานภายในชุมชนหวยยางมีพฤติกรรมในการตอ นรั บนัก ทอ งเที่ย ว แปลงเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งทําใหชุมชนเกิดตระหนักและเห็นคุณคาของธรรมชาติที่อยูรอบๆหมูบาน เมื่อมีบุค คลภายนอกมาเยี่ยมเยือน ผูศึก ษายังไดศึก ษาถึงขอจํากัดของชุมชนในกาจัดการทอ งเที่ยวพบวา ชุมชนมีขอจํากัดหลายดานดังตอไปนี้


ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ สถานที่ทองเที่ยวพบวายัง ไมมีปายชื่อ ของสถานที่ท องเที่ ยวแตล ะแหง ไม มีถังขยะตามสถานที่ ทองเที่ยว นอกจากนี้ยังพบปญหาการคมนาคมไมสะดวก เชน ทางรถไปถึงสถานที่ทองเที่ยว และถนนไม ดีทําการสัญจรไปมาลําบากในชวงฤดูฝน ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรมนุษย การทํากิจกรรมดานการทองเที่ยวเยาวชนภายในหมูบานมีสวนรวมในการทํากิจกรรมนอ ยทําใหมี ปญหาเรื่องการสืบทอดทางดานภูมิปญญา ทําใหประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนเริ่มหลายไป เชน การ ลําภูไท การประกอบอาหารพื้นบาน นอกจากนี้ชุมชนยังไมมีรายไดจากการทองเที่ยว โดยเฉพาะชาวบานที่ ไม ได อ ยูก ลุ มอาชีพหรื อ กลุ มองค กรภายในชุ มชน มีเ พี ยงชาวบ า นบางส วนมีร ายไดเ กิ ด ขึ้ น จากการมี นักทองเที่ยวเขามาในชุมชน ปญหาที่พบคือ นักทองเที่ยวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของชาวบานที่ไมไดอ ยู ในกลุม อีกทั้งยังไมมีสถานที่ในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเที่ยว ขอจํากัดดานทุนทางสังคม ชาวบานขาดประสบการณและไมมีความเขาใจในการตอนรับนัก ทองเที่ยว ทําใหการทองเที่ยวยัง ไมเปนรูปรางและไมมีการกําหนดรูปแบบที่ชัดเจน ปญหาเรื่องระบบการจัดการขยะในหมูบาน นอกจากยัง ชาวบานบางสวนมองวาการทองเที่ยวเปนเรื่องของการทําลายสิ่งแวดลอมเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจทํา ใหเกิดความสูญเสียทางระบบนิเวศได ขาดงบประมาณในการสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยว ชุมชนมีสวน รวมในการจัดการการทอ งเที่ย วนอ ย มี เพีย งผูนํา ชุมชนและกรรมการหมูบา นบางคนที่ มีบทบาทในการ จัดการท องเที่ยว ชาวบานไมไดมีสวนรวมในการวางแผนและกําหนดกิจกรรมตางๆด านการท องเที่ย ว เพราะการบริหารจัดการการทองเที่ยวอยูในความดูแลขององคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ แตชุมชนมี เพียงหนาที่ในการตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาในชุมชนเทานั้น ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมภูไทมีก ารประยุก ต พิธีก รรมบางอยา งใหเ ขา กับยุค สมัยจนทํ าให ประเพณีดั้ งเดิมของ ชุมชนในอดีตเริ่มหายไปเนื่องจากมีการรับวัฒนธรรมมาจากภายนอก เชน ภาษา อาหารพื้นบาน และการ แตงกาย เปนตน


บทที่ 4 รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน

รูปแบบการทองเที่ยวในปจจุบัน จากการสั มภาษณ ก ลุ มเป า หมายพบว า การจั ดการการท อ งเที่ย วยั ง ไม มีรู ปแบบที่ ชั ดเจน ซึ่ง ชาวบานสวนใหญมีความตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเที่ยวเพราะตองการใหชุมชนมีรายได เพิ่มขึ้นและตองการนําเสนอหมูบานใหคนภายนอกไดรับรูถึงประวัติศาสตรความเปนมาของชุมชนหวยยาง แตยัง ขาดความรูค วามเขา ใจในเรื่ องของการจั ดการการทอ งเที่ ยวมี ช าวบานบางสวนไดรับการอบรมให ความรูเรื่องการทองเที่ยวจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คือ การอบรมสมาชิกบานพัก โฮมส เตยและอาสาสมัครนําเที่ยว จากประสบการณดานการทองเที่ยวที่ผานมาพบวาชุมชนยังไมมีรายไดเกิดขึ้น จากการทองเที่ยว โดยเฉพาะชาวบานที่ไมไดอยูกลุมอาชีพหรือ กลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบาน บางสวนทีม่ ีรายไดเ กิดขึ้นจากการมีนัก ทองเที่ยวเขามาในชุมชน ปญหาที่พบคือ นักทอ งเที่ยวไมไดแ วะดู กิจกรรมตางๆของสมาชิก ที่ไมไดอยูในกลุม อีกทั้งยังไมมีสถานที่ในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึง ไมไดผลประโยชนจากการทองเที่ยวเทาที่ควร รูปแบบการทองเที่ยวที่พึ่งประสงคของชุมชน จากการสัมภาษณกลุมเปาหมาย ไดแก ผูนําชุมชน อาสาสมัค รนําเที่ยว และประธานกลุมอาชีพ ภายในชุมชน พบวามีการเสนอทางเลือกในการจัดรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนดังตอไปนี้ 1. รูปแบบการทอ งเที่ยวที่ไมทําลายสภาพแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติ กลาวคือ กิจกรรมทุก กิจกรรมที่ เกิดขึ้นภายใตบริบทของการทอ งเที่ยวจะต องไมสงผลกระทบตอสิ่ง แวดลอมทั้งทางตรงและ ทางออม 2. รูปแบบการทองเที่ยวที่สงเสริมประเพณีชาวภูไทชาวอีสาน กลาวคือ กิจกรรมการทอ งเที่ยวตอ ง เปน เอกลักษณเฉพาะทอ งถิ่น เชน ด านวั ฒนธรรมประเพณี ดานทรั พยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดลอ ม ประวัติศาสตรชุมชน อีกทั้งยังเปนการสรางโอกาสใหชุมชนไดนําเสนอภูมิปญญาดานตางๆเพื่อเปน การ แลกเปลี่ยนเรียนรูใหกับนักทองเที่ยว


3. รูปแบบการทองเที่ยวที่มุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากที่สุด กลาวคือ มีสวนรวมในการ วางแผน รวนกําหนดรูปกิจกรรม รวมทํากิจกรรม เพื่อเปนการเสริมสรางกิจกรรมที่หลากหลายใหกับทุก ภาคสวนของชุมชนมีสวนรวมและไดรับผลประโยชนจากการทองเที่ยวรวมกัน 4. รู ป แบบการท อ งเที่ ย วที่ เ น น ความสนุ ก สนานและเพลิ ดเพลิ น ควบคู กั บ การเรี ย นรู กล า วคื อ นักทองเที่ยวตองไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากกิจกรรมที่เ กิดขึ้นจากการทอ งเที่ยวควบคูกับการ เรียนรูไปดวย 5. รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก กลาวคือ ชาวบานตองไดรับผลประโยชน และเปนรายไดหลักใหกับชุมชน 6. รูปแบบการทองเที่ยวที่คํานึงถึงความพอใจของนักทองเที่ยวเปนอันดับแรก กลาวคือ กิจกรรมดาน การทองเที่ยวตองเนนความพึ่งพอใจของนักทองเที่ยวเปนอันดับแรก แตมีขอ เสนอจากชาวบานบางสวน วา กิจกรรมบางกิจกรรมที่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ แตไมสามารถปฏิเสธนักทองเที่ยวไดก็ขอใหมีการ ลดจํานวนของการทํากิจกรรมนั้นลง 7. รูปแบบการทอ งเที่ยวที่เนนความสะดวกสบายและความทันสมัยควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญา ดั้งเดิ มของชุมชน กล า วคื อ การจั ดการด า นการท อ งเที่ ยวของชุมต อ งมี ก ารผสมผสานระหวา งความ ทันสมัยเพื่อใหเกิดความสะดวกสบายใหกับนักทองเที่ยวควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญาดั้งเดิมของชุมชน เพื่อไมเกิดการกลื้นกินทางวัฒนธรรม

รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน จากสภาพปญหาที่กลาวมาขางตนผูศึกษาจึงไดจัดเวทีเพื่อคนหารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับ ชุมชนภายใตโครงการ การจัดกระบวนการเรียนรูเ พื่อนําไปสูการเปนหมูบานทอ งเที่ยวเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการนี้เปนเวทีแลกเปลี่ยนถึงแนวทางเพื่อพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่ใหชุมชนมีสวนรวมในการ จัดการทองเที่ยว โดยนิสิตไดนําเสนอผลการศึกษาใหกับชาวบานเพื่อใหชาวบานไดสังเคราะหขอมูลและทํา ความเขาใจรวมกัน ซึ่งมีกลุมเปาหมายเปน กลุมผูรูในชุมชน/ชาวบานที่เคยเปนขอทานขาว อาสาสมัค รนํา เที่ยว กลุมบานพักโฮมสเตย และเจาหนาที่จากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โดยมีก ารแบงกลุม ยอยออกเปน 3 กลุม เพื่อรวมระดมความคิดเห็นและนําเสนอรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน ตามหัวขอที่กําหนดดังตอไปนี้


1. เมื่อมีนักทองเที่ยวขาจรเขามาในชุมชน ชาวบานมีการเตรียมตอนรับนักทองเที่ยวอยางไร ผลการระดมความคิดเห็นพบวา ชาวบานจะมีแบงนักทองเที่ยวออกเปน 2 กลุม กลุมแรก เมื่อมีนั กทองเที่ยวจํ านวน 1-10 คน ในอัน ดับแรก มีก ารจั ดเตรีย มการตอนรั บ ไม จําเปนตองเปนการตอนรับแบบเปนทางการ อาจมาตอนรับประมาณ 3-4 คน ประกอบดวย ผูนําชุมชนทั้ง สองหมูบาน อาสาสมัคนําเที่ยว สถานที่ แ รกที่ จ ะพานั ก ท อ งเที่ ย วไป คื อ โบสถ ดิน โดยมี เ จ าหน า ที่ ค อยอํ า นวยความสะดวก นักทองเที่ยวไดก ราบไหวสักการบูชา มีวิทยากรแนะนํ ารายละเอียดต างๆเกี่ย วกับโบสถดิน และแหลง ทองเที่ยวสําคัญๆของหมูบานวามีที่ไหนบาง เชน กลุมเพาะพันธุกลาไม พระหลักบานหลักเมืองคือ หลวง พอองคแสน(อยูที่วัดโพธิ์ชัย) นัก ทองเที่ยวมี ความสนใจจุดไหนก็พาไปตรงนั้น แลวแตค วามสนใจของ นักทองเที่ยวเราก็คอยอํานวยความสะดวก บางครั้งอาจจะไปสํานักสงคภูนอยอางแกว ศาลาทรงงานที่อาง เก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนการเขามาทองเที่ยวในระยะเวลา 1 วัน กลุมสอง เมื่อมีนักทองเที่ยว 10 – 50 คน มีก ารเตรียมการตอนโดยผูนําชุมชน อาสาสมัค นําเที่ยว สวนรายละเอียดตางๆของการทองเที่ยวก็เปนเหมือนรูปแบบของกลุมยอย มีการบริการอยางสะดวกสบาย มี ปายสถานที่จอดรถ มีการแนะนําหองสุขา และสถานที่สําคัญๆของหมูบาน เพราะนัก ทองเที่ยวกลุมนี้จะ สามารถทําเงินใหกับชุมชนเปนอยางมาก รายไดหลักมาจากนักแสวงบุญ สิ่งที่ข าดไมได คือของที่ระลึกใน แตละพื้นที่ เชน ที่โบสถดิน มีเหรียญคุมภัยแจกใหกับผูที่เขามาสักการะ 2. เมื่อมีนักทองเที่ยวเขามาชาวบา นมีการตอนรับนักทองเที่ยวอยางไร( การจัด การเกี่ยวกั บ บานพักโฮมเสตยควรเปนอยางไร มีบริการอะไรบาง และคาใชจายเทาไหร) ผลการระดมความคิ ดเห็น พบว าในส วนที่ พักควรจัดเตรียมที่น อนใหเปน แบบพื้นบา นแบบภูไท บรรยากาศแบบเรียบงาย ในขณะเดียวกันเมื่อนักทองเที่ยวเขามาเยือนผูที่ไดรับมอบหมายใหเ ปนบานพัก โฮมเสตย สิ่งที่จะตองจัดเตรียมคือ 1.ความสะอาดของบาน หองน้ํา ที่นอน ความสะอาดในบาน อาหารเราก็นําเสนออาหารในทองถิ่น เชน แกงหนอไมไร แกงผักหวาน 2.การแตงกาย ชาวบานจะตองแตงการดวยชุดภูไทมาตอนรับนักทอ งเที่ยวเพื่อแสดงใหเห็นถึงความพรอม เพียงและความเปนเอกลักษณการแตกายของชนเผาภูไท


3.ตอนเย็ น จั ด พาแลงให โดยนั ก ทอ งเที่ย วจะได รั บประทานอาหารพื้ น เมื อ งของชาวภู ไ ท ระหว างที่ รับประทานอาหารก็จะไดชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน เชน การฟอนภูไท การเลนดนตรีพื้นเมือ ง การรองหมอลําที่เปนเอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูข วัญ ผูขอตอแขน เพื่อเปน การ รับขวัญสําหรับผูมาเยือน 4.มีข องฝากจากบานพัก เชน หมอนขิด ผาไหม กลาไม เปนตน ภาพที่อยากใหนัก ทองเที่ ยวไดเห็น คื อ ความเปนภูไท (อาหาร วัฒนธรรม ประเพณี) 3. เมื่อมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชนเปนกลุมนักศึกษา มาพักคางคืน (ชาวบานมีการเตรียมการ ตอนรับอยางไร ใหเรียนรูอะไรบาง คาใชจายเทาไหร) เมื่อมีรถพานักศึกษาเขามาใหมารวมตัวกันที่วัดโพธิ์ชัย จะมีผูนําชุมชน ผูสูงอายุ สมาชิกกลุมบานพัก โฮมเสตยที่ไดรับการอบรมมามาคอยตอนรับนัก ทองเที่ยว มีการแนะนําผูนําชุมชน ลําดับตอไปใหแยก นักทองเที่ยวออกเปนกลุมเขาพักที่บานพักโฮมเสตยที่ไดเตรียมไว มีสมาชิกโฮมเสตย 15 ทาน นักทองเที่ยว สามารถเขาพักไดบานละ 4-5 คน เมื่อไดที่พักแลว ตอนกลางคืนหลังจากรับประทานอาหารเสร็จใหนัก ทองเที่ยวเขามารวมตัวกันที่วัด โพธิ์ชัย เพื่อใหผูเฒาผูแกในชุมชนเลาถึงประวัติความเปนมาของหมูบาน (เรื่องประวัติศาสตรชุมชน) คาที่ พัก 250 บาท /คน/วัน/คืน วัน รุง ขึ้ นพานัก ท อ งเที่ยวไปเรียนรู ส ถานที่ทอ งเที่ ยวต างๆของชุมชน เช น วัด โบสถ ดิน กลุ ม เพาะพันธุกลาไม กลุมทอผาไหม ศาลาทรงงาน วัดภูนอยอางแกว และรวมกิจกรรมปลูกปาบริเวณดอนปู ตาหรือปาชุมชน ในกลุมของนักศึกษาจะไมไดพาไปที่น้ําตก ไมไดพาขึ้นภูเขาเพราะวาอันตราย ระยะ ทางไกลเกินไป ในคื นที่ 2 ใหนัก ทองเที่ ยวมารวมตั วกั นที่วัดตามเคย ชาวบานจะจัดพาแลงเพื่อ รับประทานอาหาร รวมกันและชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน เชน การฟอนภูไท การเลนดนตรีพื้นเมือง การรองหมอ ลําที่เปนเอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูขวัญ ผูขอตอแขน เพื่อเปนการรับขวัญสําหรับผู มาเยือน


เชา ของวั นที่ 3 นัก ทอ งเที่ยวประกอบอาหารในบา นพั กในการทํ าบุ ญตัก บาตรที่วัด หลังจากนั้น ก็ นมัสการพระองคแสนที่เปนพระคูบานคูเมือง หลังจากนั้นผูกขอไมขอมือจากผูอาวุโสในหมูบา นเสร็จแลวก็ เดินทางกลับ จากการเปดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของชุมชนผานการระดมความคิดเห็น โดยการแบงเปน 3 กลุมยอย ซึ่งชาวบานไดเสนอกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นภายใตการทองเที่ยวทําใหเกิดรูปแบบที่ชัดเจนขึ้น โดย แบงเปน 3 รูปแบบดังนี้ 1. รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (รูปแบบการทองเที่ยวแบบพักแรม 2 วัน 1 คืน) เปนลั กษณะการทอ งเที่ยวในแหลงท องเที่ยวที่เ กี่ยวเนื่ องกับธรรมชาติเ ปนหลัก มี ธรรมชาติเป น เอกลักษณเฉพาะถิ่น ทั้งนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศในพื้นที่ (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546) โดยไดมีการจัดกลุมนักทองเที่ยวออกเปน 3 กลุมคือ ประชาชน ทั่วไป นักเรียนนักศึกษา และผูที่มาศึกษาดูงาน ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ รูปแบบการตอนรับ เมื่อนักทองเที่ยวลงจากรถคณะกรรมการและชาวบานจะมารอตอ นรับ ผูนํา ชุมชนการต อ นรับ เลา ประวั ติค วามเปน มาของหมู บา นจากอดี ตผูนํ า ชุมชน พานั กทอ งเที่ ยวเขา ที่ พัก (สมาชิกบานพักโฮมสเตยมารอรับ) รับประทานอาหารกลางวันที่วัดโพธิ์ชัย ทําภารกิจสวนตัวเตรียมตัว เดินทาง นักทองเที่ยวขึ้น รถไปยังสถานที่ทองเที่ยว โดยจะมีอาสาสมัค รนําเที่ยวเปนผูนําทาง ซึ่ง แบง ออกเปน 2 เสนทาง คือ วันแรก (ชวงบาย) เสนทางที่จะไปเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร โดยจุดเริ่มตนอยู ที่อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ไปที่ดานหมีเดินเทาตามทางหาของปาของชาวบานไปนมัสการพระธาตุ ดอยอางกุง ลอดถ้ําอางกุง นมัสการหลวงปูภาที่ถ้ําผาเก ชมวิวที่ผ าขาม ชมภาพเขียนกอนประวัติศ าสตร ศึกษาประวัติคอมมิวนิสตที่ถ้ําเสรีไทยหรือถ้ําผานาง และกราบนมัสการพระนอนที่สํานักสงฆภูนอยอางกุง รูปแบบกิจกรรม -

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติผานดานหมี

- กราบนมัสการพระอรหันตธาตุ 24 พระองค ที่พระธาตุดอยอางกุง - ลอดถ้ําใตบาดาลที่ถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก - กราบนมัสการขอพรองคพระนอนสํานักสงฆภูนอยอางแกว


นักทองเที่ยวเดินทางกลับหมูบาน รับประทานอาหารเย็นรวมกันที่วัดเขาบานพัก วันที่สอง (ชวงเชา – บาย) นักทองเที่ยวรวมตัวกันที่วัดเพื่อขึ้นรถไปยังอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง เสนทางสําหรับวันที่สอง เป น แหล ง ท องเที่ ยวทางธรรมชาติ โดยจุ ด เริ่ มต น จะอยูที่ อา งเก็ บน้ํ าห วยโท - ห วยยาง นั่ ง เรื อ ชม ทัศ นียภาพระหวางสองฝ งของอางถึ งท าม วง จากนั้ น ก็เ ดิน เทา ไปตามเส น ทางหาของป า ของชาวบา น นักทองเที่ยวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติที่อุดมสมบรูณของภูยางอึ่ง สถานที่ทองเที่ยวจุดแรกที่จะพบคือ จุด ที่พบซากฟอสซิสไดโนเสาร จุดที่สองคือน้ําตกศรีตาดโตน ซึ่งอยูหางกันประมาณ 1.23 กิโลเมตร ซึ่ง เปนจุดสูงสุดของหัวภู รูปแบบกิจกรรม - ลองเรือชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง - เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ - ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสารปาโลกลานป - สนุกสนานกับการเลนน้ําตกศรีตาดโตน นอกจากนักทองเที่ยวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติที่สวยงามแลว ยังไดเรียนรูวิธีการหาของปา เชน การเก็บ เห็ด การหาหนอไม ฯลฯ ซึ่งนับเปนประสบการณที่แ ปลกใหม หลังจากนั้นนัก ท องเที่ยวเดินทางกลั บ บานพัก พักผอนตามอัธยาศัยเก็บของเพื่อเดินทางกลับ 2. รูปแบบการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (รูปแบบการทองเที่ยวแบบพักแรม 2 วัน 1 คืน) การทองเที่ยวที่มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การ สัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดย ใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่ งมีวิถีชีวิตและจารีต ประเพณีแตกตางกันออกไป (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546) ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ รูปแบบการตอนรับ เมื่อนักทองเที่ยวเดินทางมาถึงกรรมการและชาวบานในหมูบานรวมตอนรับ นักทองเที่ยวที่วัดโพธิ์ชัย ผูนําชุมชนกลาวตอนรับแนะนํากรรมการทองเที่ยวในแตละฝาย ลําดับตอไปให แยกนั ก ท อ งเที่ ยวออกเปน กลุ มเข า พั ก ที่ บานพัก โฮมเสตย ที่ได เ ตรีย มไว มี ส มาชิ ก โฮมเสตย 15 ท า น นักทองเที่ยวสามารถเขาพักไดบานละ 4-5 คน นักทองเที่ยวเขาที่พักและพักผอนตาอัธยาศัย


วันแรก (ชวงบาย) เมื่อไดที่พักแลว ตอนกลางคืนหลังจากรับประทานอาหารเสร็จใหนัก ทองเที่ยวเขามารวมตัวกันที่วัด โพธิ์ชัย เพื่อใหผูเฒาผูแก ในชุมชนเลาถึงประวัติความเปนมาของหมูบาน (เรื่องประวัติศาสตรชุมชน) รูปแบบกิจกรรม - นมัสการหลวงพอพอองคแสนพระคูบานคูเมือง - เรียนรูป ระวัติศาสตรชุมชน “การเปนหมูบานขอทาน” จากผูอาวุโสขอชุมชน - เรียนรูว ิถีชีวิตของชาวบานในรูปแบบบานพักโฮมสเตย วันแรก (ชวงเย็น) ใหนักทองเที่ยวมารวมตัวกันที่วัดเชนเดิมชาวบานจะมีจัดพาแลงเพื่อรับประทานอาหารรวมกันและ ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน เชน การฟอ นภูไท การเลน ดนตรีพื้นเมือ ง การรอ งหมอลําที่เปน เอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูขวัญ ผูขอตอแขน เพื่อเปนการรับขวัญสําหรับผูมาเยือน รูปแบบกิจกรรม งานพาแลงภูไทหวยยาง - พิธีบายศรีสูขวัญเพื่อตอนรับผูมาเยือน มีการผูกขอมือใหนักทองเที่ยว - ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน เชน ฟอนภูไท ลําภูไท และดนตรีพื้นเมือง - รับประทานอาหารพื้นเมืองชาวภูไท เชน แกงหวาย แกงซั่วไก แกงหนอไมใสผั ก ซะแงะ แกงเห็ด ฯลฯ ซึ่งอาหารสวนใหญชาวบานจะไดมาจากภูยางอึ่งและ อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง เมื่อจบการแสดงชาวบานก็พานักทองเที่ยวเขาบานพัก วันที่สอง (ชวงเชา – บาย) นักทองเที่ยวประกอบอาหารในบานพักในการทําบุญตัก บาตรที่วัด ซึ่งเจาของบานจะทําหนาที่พา นักทองเที่ยวลงมาที่วัด หลังจากใสบาตรเสร็จนักทองเที่ยวรับประทานอาหารรวมกับชาวบาน หลัก จากนั้น พานักทองเที่ยวไปเรียนรูสถานที่ทองเที่ยวตางๆของชุมชน เชน วัดโบสถดิน กลุมเพาะพัน ธุกลาไม กลุม ทอผาไหม ศาลาทรงงาน วัดภูนอยอางแกว และรวมกิจกรรมปลูกปาบริเวณดอนปูตาหรือปาชุมชน ซึ่งใน แตละฐานการเรียนรูแตละที่ก็จะมีวิทยากร/ปราชญชาวบาน บรรยายเลาประวัติความเปนมาและใหความรูแก นักทองเที่ยว เมื่อ ครบทุกฐานการเรียนรูแลวรับประทานอาหารกลางวันที่วัดโพธิ์ชัย ใหนักทอ งเที่ยวได แสดงความรูสึกที่ไดเรียนรูวัฒนธรรมชาวภูไท หลังจากนั้นนักทองเที่ยวเดินทางกลับ


3. รูปแบบการทองเที่ยวเชิงเกษตร (รูปแบบการเรียนรูแบบเชามาเย็นกลับ) กิจกรรมการทอ งเที่ยวที่เกี่ยวของกับทรัพยากรเกษตรซึ่งทรัพยากรเกษตร หมายถึง ทรัพยากร เกษตรที่เกี่ยวของกับกาทองเที่ยว ไดแก ปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน ดิน น้ํา ความหลากหลายทาง ชีวภาพ แรงงาน ความรู เครือขายเกษตรกร องคกรชุมชน ตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนที่เกี่ยวของกับ การทําการเกษตรของชุมชน รวมไปถึงผลผลิตและสิน คาตางๆของชุมชนที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากร เกษตร (เทพกร ณ สงขลา. 2554.) ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ รูปแบบการตอนรับ เมื่อ นัก ทองเที่ยวเดินทางมาถึง กรรมการและชาวบานในหมูบานรวมตอ นรั บนัก ท องเที่ ยวที่วัด โพธิ์ ชั ย ผูนํา ชุม ชนกลา วต อ นรั บแนะนํ ากรรมการทอ งเที่ ยวในแตล ะฝ า ย หลัง จากนั้น กรรมการการ ทองเที่ยวพานักทองเที่ยวไปศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมในสวนที่เตรียมไวสําหรับตอนรับนักทองเที่ยว รูปแบบกิจกรรมการศึกษาดูงานและเรียนรูกลุมเพาะพันธกลาไมบานหวยยาง - รับฟงประวัติความเปนมาของกลุมเพาะพันธก ลาไมบานหวยยาง โดยประธานกลุมเพาะพันธ กลาไม - ศึกษาขอมูลการดําเนินการของกลุม การตลาด องคกรและเครือขายที่ใหการสนับสนุนกลุม เพาะพันธกลาไม ตลอดจนเรียนรูขั้นตอนการเพาะพันธกลาไม เชน วิธีการปลูก อุปกรณ และ ขอมูลชนิดของพันธุไม - เยี่ยมชมสวนผักหวานบานของนายเริง ยางธิสาร ซึ่งนักทองเที่ยวจะไดศึกษาถึงประวัติความเปนมาของกลุม กระบวนการทํางาน การตลาด องคกร และเครือขายทางสังคมของกลุม อีกทั้งยังไดเพิ่มประสบการณดวยการการเขาชมสวนกลาไม นักทองเที่ยว อาจทดลองปลูก พันธุไมในสวนหรือซื้อ พัน ธุไมก ลับบานในราคาที่เปน กัน เอง ซึ่งเปน การทํา กิจกรรม รวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น


การจัดการทองเที่ยวโดยองคกรชุมชน เมื่อระดมความคิดเห็นและกําหนดรูปแบบการทองเที่ยวแลว กระบวนการตอไปคือ การจัดตั้งกลุม องคกรชุมชนเพื่อเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและบริหารจัดการทอ งเที่ยวของชุมชน ซึ่งมติที่ประชุมได ให “กลุมทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง” เปนชื่อกลุมที่ชาวบานรวมกันตั้งขึ้นและมีก ารจัดระบบโครงสราง ในการบริหารจัดการ ประกอบดวยคณะบุคคลและตําแหนงตางๆดังนี้ นายทวีชัย ยางธิการ ผูใหญบานหมู 9 นายพายัพ โตะชาลี ผูใหญบานหมู 6

ประธาน รองประธาน

ทานพระราชรัตนมงคล นายอนุสรณ พลราชม นายกอบต.เหลาโพนคอ ผอ.โรงเรียนบานหวยยาง ผูใหญเลา ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหมู 6 ผูใหญหวล ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหมู 6 ผูใหญวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบานหมู 9 นายเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร

กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา เลขานุการ

นายปรารถนา แสนธิจักร นายสงกรานต ทรายทอง นางวงศจันทร ยางธิสาร นายจบ ยางธิสาร นายสาคร ยางธิสาร นายสุรัน ยางธิสาร น.ส.อรุนรัตน ยางธิสาร นางปราณี ยางธิสาร นางธิดารัตน ยางธิสาร

ประธานกลุมบานพักโฮมสเตย ประธานอาสานําเที่ยว ประธานฝายอาหาร ประธานฝายการแสดงศิลปวัฒนธรรม ประธานฝายประชาสัมพันธการตลาด ประธานฝายแหลงเรียนรูชุมชน ประธานฝายตอนรับ ประธานฝายฟอนภูไท ประธานฝายการเงินและบัญชี

ซึ่งลักษณะการดําเนินงานงานสมาชิก ของกลุม ทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง มีการแบงบทบาท หนาที่ความรับผิดชอบเปนฝายตางๆ โดยมีการประชุมหารือ กับสมาชิกภายในกลุมเกี่ยวกับการดําเนิน การ และการกําหนดรูปแบบกิจกรรมการดําเนินงานของแตละฝาย เพื่อนําไปสูรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสม กับชุมชน


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขอมูลที่หมูบานหวยยางหมูที่ 6 และหมูบานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลา โพนคอ อํา เภอโคกศรี สุพรรณ จั งหวัดสกลนคร ระยะเวลาในการศึ ก ษาระหวา งเดือ นมิถุน ายนถึงเดือ น สิงหาคม 2555 วิธีการเก็บขอมูล คือ การสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณระดับลึก การสังเกต แบบมีสวนรวม และการสนทนากลุม แนวคิดที่ใชในการศึกษาคือ ทฤษฏี นิเวศวิทยาวัฒนธรรม(Cultural Ecology)ของ จูเลียน สจวด แนวคิดทุนชุมชน(Community Capital) ของสุวิทย เมษินทรีย และแนวคิด การทองเที่ยวโดยชุมชน(Community Base Sustainable Tourism)ของพจนา สวนศรี ซึ่งผูผูศึกษาไดสรุปผล การศึกษาตามลําดับดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

วัตถุประสงคของการศึกษา ประชากรและกลุมตัวอยาง เครื่องมือและวิธีเก็บขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล สรุปผล อภิปรายผล ขอเสนอแนะ

1. วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 2. เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง


2. ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยางหมู 6 จํานวน 740 คน และประชากรบานหวยยางเหนือหมู 9 จํานวน 858 คน โดยใชกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนําชุมชน ทั้งสองหมูบาน จํานวน 8 คน อาสาสมัครนําเที่ยวจํานวน 12 คน และปราชญช าวบานทั้ง 2 หมูบาน จํานวน 8 คน รวมทั้งสิ้น 28 คน 3. เครื่องมือและวิธีเก็บขอมูล ผูศึกษาไดใชเครื่องมือและวิธีการในการเก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาภาคสนาม ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณระดับลึก การสังเกตการณแบบมีสวนรวม การสนทนากลุม แบบประเมินผลของการจัดโครงการ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลมาใชในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือที่เกี่ยวของจากหองสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา ครั้งนี้ 2. ศึกษาเอกสารมือสองที่ไดจากหมูบานและองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 3. ขอหนังสือจากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อขออนุญาต เขาไปศึกษาและหนังสือสงตัวนิสิตในการฝกงาน 4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสังเกตการณแบบมีสวนรวมและสัมภาษณประชากร ตามที่กําหนดไวโดยผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในพื้นเปนระยะเวลา 2 เดือน 5. สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังที่กลาวมาขางตนทําใหผูศึกษาสรุปผลการศึกษาไดดังตอไปนี้ ประการแรก ประเด็นศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง พบขอมูลที่สําคัญ คือ


1. ศักยภาพของชุมชนหวยยาง 1.1. ดานตนทุนทางธรรมชาติและแหลงทองเที่ยวในชุมชน ผลการศึกษาพบวา บานหวยยางเปนหมูบานที่มีความอุดมสมบรูณทางดานทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากมีอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ซึ่งเปนแหลงน้ําที่มีความสําคัญตอ คนในชุมชนเพราะใชในการ อุปโภคบริโภคและยังใชประโยชนในดานการเกษตรนับวามีความสําคัญตอ การประกอบอาชีพของคนใน ชุ มชน นอกจากนี้ แ ล วบ า นห วยยางยั ง มี ส ถานที่ ทอ งเที่ย วที่มี ค วามสวยงามทั้ ง ทางธรรมชาติ แ ละทาง วัฒนธรรม ระหว างสองข างทางก อ นถึ ง สถานที่ ทอ งเที่ยวทางธรรมชาติ ยังมี ร ะบบนิ เ วศที่มี ค วามอุ ดม สมบรูณ ในชวงฤดูฝ นก็จะเห็นตนไมน าๆพรรณเขีย วขจีปะปนกับนาขาวในทุง นาของชาวบาน ในชวง หนาแลงก็จะเห็ นความหลากหลายทางอาชีพของชุมชน เชน การเลี้ยงสั ตว การปลูกพื ชเศรษฐกิจตาม ฤดูกาล โดยชุมชนมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญดังนี้ น้ําตกศรีตาดโตน เปนน้ําตกที่สวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลาน หินกวาง สามารถเปนที่พักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง ถ้ําผาเก เปนถ้ําที่หลวงปูภาพระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐานภายในถ้ํามีพระนอนองค ใหญมีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัยเหมาะสําหรับนักทองเที่ยวที่ชอบนั่งจําศีล ภาวนา มีน้ําไหลออกจาก ถ้ําตลอดทั้งปชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และชาวบานเชื่อวาสามารถรักษาโรคตางๆได ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) เปนที่ขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนที่ฝกอาวุธ เปน ถ้ําที่มีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวา ที่หนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาดู พระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคล พระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคลสรางเเมื่อป พ.ศ. 2499 เปนพระธาตุที่กอ สรางครอบ พระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ในอดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุ ทั้ง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค ถ้ําอางกุง


เปนถ้ําที่ลึก ใหญ กวางขวางมาก ตามประวัติเปนถ้ําที่ในอดีตเคยใชเปนสถานที่วิปสสนากรรมฐาน ปจจุบัน สภาพของถ้ํายังมีสภาพคงเดิมไมเปลี่ยนแปลง แทนที่ทานที่ใชนั่งวิปสสนากรรมฐานยังคงสภาพเดิม จุดชมวิวเสาเฉลียง เปนกอนหิน ใหญที่ตั้งซอ นกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนที่สวยงามอีกจุด หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระ อาทิตยขึ้นที่สวยงาม และสามารถมองเห็นจุดที่พบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด ดานหมี เปนลานหินกวางมีกอนหินขนาดใหตั้งสลับซับซอนกันเปนจุดเริ่มตนของการเดินทางไปยังสถานที่ ตางๆในภูยางอึ่ง ในอดีตชาวบานเลาวาจะมีหมีมาหากินในบริเวณนี้เปนจํานวนมากจึงเปนที่มาของการตั้งชื่อ วา “ดานหมี” นอกจากนี้บริเวณดานหมียังไปจุดชมวิวที่สามรถมองเห็นอางเก็บน้ําในระยะใกลและมีความ สวยงามที่สุด จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุม ขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้นหิน สํานักสงฆภูนอยอางแกว เปนสํานักสงฆที่เครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวที่เปนวัด ที่พึ่งทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ภูผานอย มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนตั้งซอนกันอยูสวยงามมาก ซึ่งผูกอ การรายคอมมิวนิสตใน อดีตใชเปนหอคอยระวังภัย เปนสานที่ลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร เปนภาพเขียนโบราณที่เขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนที่ ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของ เขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทําจุดที่สําคัญๆไว


อางแกว เปนปฎิมากรรมทางธรรมชาติที่สวยงาม เปนอางขนาดใหญมีน้ําใสตลอดทั้งป สามารถใชน้ําในการ ทําการเกษตรไดเชนกับอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ผาขาม เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนที่นั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็น ภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดทั้งป

1.2. ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษย ศักยภาพดานทุนทางทรัพยกรที่มีในชุมชนพบวา ชุมชนหวยยางมีปราชญชาวบานซึ่งเปนที่เคารพนับ ถือ ของชาวบานทั้งดา นการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พิธีก รรมดานความเชื่อ ดานการใชภูมิปญญา พื้นบาน เชน การจักสาน การรักษาโรคดวยสมุนไพร การแสดงศิลปวัฒนธรรมของกลุมผูสูงอายุ และการ ทําพิธีบายศรีสูขวัญ ซึ่งชุมชนไดมีการนําภูมิปญญาพื้นที่ที่กลาวมาขางตนมาเปนสวนผลักดันใหเกิดการ ทองเที่ยวผานการนําเสนอโดยปราชญชุมชนผูมีความรูความสามารถในดานตางๆ มาแสดงใหนักทองเที่ยว ไดศึก ษาเรียนรูถึงภูมิปญญาพื้นบานของชุมชน อีกทั้งยังเปนสวนชวยใหเกิดกิจ กรรมสําหรับผูสูงวัยใน ชุมชนอีกดวย ดานผูนําชุมชนและชาวบาน พบวา ผูนํามีศักยภาพในการประชุมและสั่งการลูกบานไดเปนเอยางดี ให ค วามร วมมื อ ในการประชาสัมพั น ธแ ละประสานงานกับหน วยงานที่เ กี่ ย วขอ งเกี่ยวกั บนโยบายการ ทองเที่ยวเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการบริหารจัดการการทองเที่ยวใหมีความชัดเจนมากขึ้น ใน สวนของชาวบานพบวา ชาวบานมีก ารตื่นมีการเตรียมความพรอมและใหค วามรวมมือกับผูนําชุมชนเปน อยางดีพฤติกรรม ซึ่งชาวบานมีการประชุมพูดคุยเรื่องการทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้นเพราะผูนําชุมชนตองการทํา ความเขาใจกับชาวบานและสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการทองเที่ยว 5.3. ศักยภาพดานทุนทางสังคม ผลการศึกษาพบวาดานทุนทางสังคมที่ชุมชนไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของใน การสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ดานหนวยงานที่เกี่ยวของพบวาองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอมีนโยบายพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชนหวยยางมีลักษณะเปนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ นอกจาก


ชุมชนหวยยางจะมีศักยภาพของสถานที่ทองเที่ยวที่เอื้ออํานวยตอการเปนหมูบานทองเที่ยวเศรษฐกิจพอเพียง แลว ชุมชนยังไดมีการรวมตัวของชาวบานเพื่อจัดทํากิจกรรมตางๆภายในชุมชน ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึง ศัก ยภาพของชุม โดยไดรับการคําแนะนําจากพระราชรัตนมงคลใหจัดตั้ งกลุมบานพัก โฮมสเตยขึ้นเพื่ อ รองรับนักทองเที่ยวที่เขามาในชุมชน นอกจากนนี้ยังไดรับการสนับสนุนการองคการบริ หารสวนตําบล เหลาโพนคอใหมีการจัดตั้งและอบรมใหความรูแกชาวบานในดานการทองเที่ยว ซึ่งทําใหเกิดองคกรชุมชน ขึ้นดังนี้ กลุมโฮมสเตย พบวา การรวมกลุมของสมาชิกบานพักโฮมเสตยยังไมมีการบริหารจัดการที่ชัดเจน เนื่องจากสมาชิกยังขาดความรูความเขาใจในการจัดการบานพัก อีกทั้งการดําเนินการยังอยูในขั้นของการ เริ่มตนทําใหใหกลุมยังไมคอยมีความพรอมเทาที่ควร ในสวนของบานพักพบวา บานพัก มีลัก ษณะของตัว บานที่มั่นคงแข็งแรง อากาศถายเทสะดวก แสงสวางเขาถึง หองน้ําสะอาด และมีการเตรียมสิ่งอํานวยความ สะดวกใหกับนักทองเที่ยว โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดที่พักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ กลุ ม อาสาสมั ค รนํ า เที่ ย ว พบว า ในช วงที่ ผ า นมาอาสาสมั ค รนํ า เที่ ย วบางคนยั ง ไม เ คยนํ า นักทองเที่ยวไปยังสถานที่ทองเที่ยวในชุมชน มีเพียงกลุมผูนําชุมชนที่ทําหนาที่เปนอาสมัครนําเที่ ยวพา นักทองเที่ยวไปยังสถานที่ทอ งเที่ยว ในสวนของอาสาสมัค รนําเที่ ยวที่เคยรับนัก ทองเที่ยวพบว ามีค วาม พรอมคอนข างสูง สามารถแนะนํ าและอํานวยความสะดวกใหแกนัก ทองเที่ยวไดทั้งในดานการพักแรม อาหาร การเดิ นทาง ตลอดจนชี้ แนะและอธิ บายถึง ประวั ติค วามเปน มาของสถานที่ทองเที่ ยวในแตล ะ สถานที่ได กลุมเพาะพันธุกลาไม พบวา เปนวิสาหกิจชุมชนที่มีความเขมแข็งมากของชุมชนมีความสําคัญกับ ชาวบานหวยยางทั้ง 2 หมูบานเปนอยางมากเพราะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทางเศรษฐกิจ จาก อดีตที่เคยเปนหมูบานยากจนที่ตองไปขอทานจากหมูบานอื่นสูการเปนหมูบานที่มีเศรษฐกิจดีเปนอับตนๆ ของ จังหวัดสกนคร ศาลาอนุสรณและจุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง พบวา ศาลาอนุส รณตั้งอยูบริเวณเดียวกัน กับอ างเก็ บน้ํ าหวยโท - ห วยยาง อดี ตเคยเป น ที่ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ า อยูหัวฯ เนื่อ งจาก พระองคไดมอบหมายงานใหก รมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพื่อ แกไขปญหาภัยแลงของหมูบานหวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนี้พะองคเสด็จมาเปดอางดวย พระองคเ องในป พ.ศ.2532 ปจจุ บัน บ านหวยยาง-บา นหวยยางเหนือ มี แหลงน้ํ า ที่อุ ดมสมบรู ณมาใชใน


การเกษตร จากที่เคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานที่จังหวัดใกลเคียงมาเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดทั้งป 1.4. ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบวา ชุมชนหวยยางเปนหมูบานที่มีวัฒนธรรมและความเชื่อดานพิธีกรรมที่สําคัญคือ การนับถือ ผี เชน การเลี้ยงผีปูตา ฟอ นภูไท พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู การบายศรีสูข วัญ และการ นมัสการโบสถดิน ซึ่งเปนเปนความเชื่อที่ชาวบานหวยยางใหความเคารพนับถือควบคูกับการประกอบการ ดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ นอกจากประเพณีและวัฒนธรรมซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมความเชื่อที่ กลาวมาขางตนมีสวนสําคัญที่ชวยใหหมูบานนําเอกลักษณที่มีในชุมชนมาผลักดันเกิดการทองเที่ยว 2. ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ผูศึกษาไดศึกษาถึงขอจํากัดของชุมชนในกาจัดการทองเที่ยวพบวาชุมชนมีขอจํากัดหลายดาน ดังตอไปนี้ 1.3. ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ สถานที่ทองเที่ยวพบวายังไมมีปายบอกชื่อ ไมมีถังขยะตามสถานที่ทองเที่ยว นอกจากนี้ยังพบการ คมนาคมไมสะดวก เชน ทางรถไปถึงสถานที่ทองเที่ยว และถนนไมดีทําการสัญจรไปมาลําบากในชวงฤดู ฝน 1.4. ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรมนุษย ชาวบานขาดประสบการณและไมมีความเขาใจในการตอนรับนัก ทองเที่ยว ทําใหการทองเที่ยวยัง ไมเปนรูปรางและไมมีการกําหนดรูปแบบที่ชัดเจน ปญหาเรื่องระบบการจัดการขยะในหมูบาน นอกจาก ยังมองวาการทองเที่ยวเปนเรื่องของการทําลายสิ่งแวดลอ มเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจทําใหเ กิดความ สูญเสียทางระบบนิเวศได ขาดงบประมาณในการสงเสริมใหเกิดการทอ งเที่ยว ยังไมมีความชัดเจนเรื่อ ง การจัดการและรูปแบบของการทองเที่ยว ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการการทอ งเที่ยวนอย มีเ พียงผูนํา ชุมชนและกรรมการหมูบานบางคนที่มีบทบาทในการจัดการทองเที่ยว ชาวบานไมไดมีสวนรวมในการ วางแผนและกําหนดกิจกรรมตางๆดานการทองเที่ยว เพราะการบริหารจัดการการทองเที่ยวอยูในความดูแล ขององคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ แตชุมชนมีเพียงหนาที่ในการตอนรับนักทอ งเที่ยวที่เขามาใน ชุมชนเทานั้น


1.5. ขอจํากัดดานทุนทางสังคม การทํากิจกรรมดานการทองเที่ยวเยาวชนภายในหมูบานมีสวนรวมในการทํากิจกรรมนอ ยทําใหมี ปญ หาเรื่ อ งการสื บทอดทํ าให ประเพณี แ ละวั ฒนธรรมของชุ มชนเริ่ มหลายไป เชน การลํ าภู ไท การ ประกอบอาหารพื้นบาน นอกจากนี้ชุมชนยังไมมีรายไดจากการทองเที่ยว โดยเฉพาะชาวบานที่ไมไดอ ยู กลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทอ งเที่ยวเขา มาในชุมชน ปญหาที่พบคือ นักทองเที่ยวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของชาวบานที่ไมไดอยูในกลุม อีกทั้งยัง ไมมีสถานที่ในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเที่ยว 1.6. ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมภูไทโดยมีการประยุกตพิธีกรรมบางอยางใหเขากับยุคสมัย จนทําใหประเพณีดั้งเดิมของ ชุมชนที่มีในอดีตเริ่มหายไปเนื่องมีการวัฒนธรรมมาจากภายนอก เชน ภาษา การแตงกาย ประการที่สอง ประเด็นรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง พบขอมูลที่สําคัญ คือ 1. รูปแบบการทองเที่ยวในปจจุบัน จากการศึกษาพบวา การจัดการการทองเที่ยวยังไมมีรูปแบบที่ชัดเจน ซึ่งชาวบานสวนใหญมีความ ตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเที่ยวเพราะตองการใหชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้นและตองการนําเสนอ หมูบานใหคนภายนอกไดรับรูถึงประวัติศาสตรความเปนมาของชุมชนหวยยาง แตยังขาดความรูความเขาใจ ในเรื่องของการจัดการการทองเที่ยวมีชาวบานบางสวนไดรับการอบรมใหความรูเ รื่อ งการทองเที่ยวจาก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คือ การอบรมสมาชิก บานพัก โฮมสเตยแ ละอาสาสมัครนําเที่ยว จากประสบการณดานการทองเที่ยวที่ผานมาพบวาชุมชนยังไมมีรายไดเกิดขึ้นจากการทองเที่ยว โดยเฉพาะ ชาวบานที่ไมไดอยูกลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนมีรายไดเกิดขึ้นจากการ มีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน ปญหาที่พบคือ นักทองเที่ยวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของกลุมอีกทั้งยังไมมี สถานที่ในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเที่ยวเทาที่ควร 2. รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน


จากการศึกษาพบวาชุมชนมีการเสนอทางเลือกในการจัดรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน ดังตอไปนี้ รูปแบบการทองเที่ยวที่ไมทําลายสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ รูปแบบการทองเที่ยว ที่สงเสริมประเพณีชาวภูไทชาวอีสาน รูปแบบการทองเที่ยวที่มุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากที่สุด รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินควบคูกับการเรียนรู รูปแบบการทองเที่ยวที่ เนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก รูปแบบการทอ งเที่ยวที่คํานึงถึงความพอใจของนักทอ งเที่ยวเปนอันดับ แรก และรูปแบบการทองเที่ยวที่เนนความสะดวกสบายและความทันสมัยควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญา ดั้งเดิมของชุมชน 3. รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน ผลการศึกษาพบวาจากการเปดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของชุมชนผานการระดมความคิดเห็น โดยการแบงเป น 3 กลุมย อ ย ชาวบา นได เสนอกิจกรรมต างๆที่ เ กิดขึ้น ภายใต ก ารท องเที่ ย ว ทํ าใหเ กิ ด รูปแบบที่ชัดเจนขึ้น โดยแบงเปน 3 รูปแบบดังนี้ 3.1. รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนลักษณะการทอ งเที่ยวในแหลงทอ งเที่ยวที่เ กี่ยวเนื่องกับธรรมชาติเ ปนหลัก มีธรรมชาติเป น เอกลักษณเฉพาะถิ่น ทั้งนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่เ กี่ยวเนื่อ งกับระบบนิเวศในพื้นที่ โดยแบงออกเปน 2 เสนทาง คือ เสนทางแรกเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ โดยจุดเริ่มตนจะอยูที่อาง เก็บน้ําหวยโท - หวยยาง นั่งเรือชมทัศนียภาพระหวางสองฝงของอางถึงทามวง จากนั้นก็เ ดินเทาไปตาม เสนทางหาของปาของชาวบานนักทองเที่ยวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติที่อุดมสมบรูณของภูยางอึ่ง สถานที่ ทองเที่ยวจุดแรกที่จะพบคือ จุดที่พบซากฟอสซิสไดโนเสาร จุดที่สองคือน้ําตกศรีตาดโตน ซึ่งอยูหางกัน ประมาณ 1.23 กิโลเมตร ซึ่งเปนจุดสูงสุดของหัวภู เสนทางที่สองเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร โดยจุดเริ่มตนอยู ที่อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ไปที่ดานหมีเดินเทาตามทางหาของปาของชาวบานไปนมัสการพระธาตุ ดอยอางกุง ลอดถ้ําอางกุง นมัสการหลวงปูภาที่ถ้ําผาเก ชมวิวที่ผาขาม ชมภาพเขียนกอนประวัติศ าสตร ศึกษาประวัติคอมมิวนิสตที่ถ้ําเสรีไทยหรือถ้ําผานาง และกราบนมัสการพระนอนที่สํานักสงฆภูนอยอางกุง

3.2. การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม


การทองเที่ยวที่มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การ สัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดยใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่ งมีวิถีชีวิตและ จารีตประเพณีแตกตางกันออกไป ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ ชุมชนมีวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณของ ชุมชนสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวในดานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน เชน วัฒนธรรมการแตงกาย การ ประกอบอาหาร การตอ นรับ การเลี้ยงผีปูตา พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู และประเพณีการรดน้ําขอพร ผูใหญเนื่องในวันสงกรานตตามฮีตสิบสองคองสิบสี่ ซึ่งชุมชนไดมีการจัดรูปแบบการทองเที่ยวที่มีการ ผสมผสานระหวางการอนุรักษวัฒนธรรมภูไทและมีการฟนฟูประเพณีพื้นบานดั้งเดิมของชุมชนใหเขากับ ยุคสมัยในปจจุบัน 3.3. รูปแบบการทองเที่ยวเชิงเกษตร กิจกรรมการทอ งเที่ยวที่เกี่ยวของกับทรัพยากรเกษตรซึ่งทรัพยากรเกษตร หมายถึง ทรัพยากร เกษตรที่เกี่ยวของกับกาทองเที่ยว ไดแก ปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน ดิน น้ํา ความหลากหลายทาง ชีวภาพ แรงงาน ความรู เครือขายเกษตรกร องคกรชุมชน ตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนที่เกี่ยวของกับ การทําการเกษตรของชุมชน รวมไปถึงผลผลิตและสินคาตางๆของชุมชนที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากร เกษตร ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ นักทองเที่ยวจะไดศึกษาถึงประวัติความเปนมาของกลุม กระบวนการ ทํางาน การตลาด องคกรและเครือขายทางสังคมของกลุม อีกทั้งยังไดเพิ่มประสบการณดวยการการเขาชม สวนกลาไม นักทองเที่ยวอาจทดลองปลูกพันธุไมในสวนหรือซื้อพันธุไมกลับบานในราคาที่เปนกันเอง ซึ่ง เปนการทํากิจกรรมรวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น

4. การจัดการทองเที่ยวโดยองคกรชุมชน ผลการศึกษาพบวา ชุมชนการจัดตั้งกลุมองคก รชุมชนเพื่อ เปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและ บริหารจัดการทอเที่ยวของชุมชน ซึ่งมติที่ประชุมไดให “กลุมทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง” เปนชื่อกลุม ที่ชาวบานรวมกันตั้งขึ้นและมีก ารจัดระบบโครงสรางหนาที่ของกลุมโดยประกอบดวยคณะบุคคลและ ตําแหนงตางๆไดแก ประธาน รองประธาน กรรมการที่ปรึกษา เลขานุการ ประธานอาสานําเที่ยว


ประธานกลุมบานพักโฮมสเตย ประธานฝายอาหาร ประธานฝายการแสดงศิลปวัฒนธรรม ประธานฝาย ประชาสัมพันธการตลาด ประธานฝายแหลงเรียนรูชุมชน ประธานฝายตอ นรับ ประธานฝายฟอ นภูไท ประธานฝายการเงินและบัญชี ซึ่งลักษณะการดําเนินงานงานสมาชิกของกลุม ทอ งเที่ยวชุมชนภูไทหวย ยาง มีการแบงบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบเปนฝายตางๆ โดยมีการประชุมหารือกับสมาชิกภายในกลุม เกี่ยวกับการดําเนินการและการกําหนดรูปแบบกิจกรรมการดําเนินงานของแตละฝาย เพื่อ นําไปสูรูปแบบ การทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชน

6. อภิปรายผล จากการศึกษาเรื่อง รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ไดพบประเด็นที่นํามาอภิปรายผลใหสอดคลองกับวัตถุประสงคข องการ วิจัยในครั้งนี้ ไดแก ประเด็นแรก คือ ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง และประเด็นที่สอง คือ รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ซึ่งผูศึกษาจะอภิปรายผลดังนี้ ประเด็นแรก ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ผลการศึกษาพบวาศักยภาพของชุมชนมีความพรอม เพราะทุนดานทรัพยากรธรรมชาติมีค วาม อุดมสมบรูณทั้งแหลงทองเที่ยวภายในชุมชนและแหลงทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติภูผายล ไดแก น้ําตกศรี ตาดโตน ถ้ําผาเก ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) พระธาตุดอยอางกุง ถ้ําอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียง ดานหมี จุด พบฟอสซิลไดโนเสาร สํานักสงฆภูนอยอางแกว ภูผานอย ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร อางแกว และผา ขาม ชุมชนหวยยางยังมีทุนทางสังคมที่เปนเอกลักษณทั้งดาน การแตงกาย ภาษา การตนรับ การประกอบ อาหาร การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน ประเพณีและวัฒนธรรม ไดแก การเลี้ยงผีปูตา ฟอนผูไท พิธี เหยา พิธีสรงน้ําพระภู และการบายศรีสูขวัญ ตอลดจนวีถีการดําเนินชีวิตและความเชื่อที่ยังคงพึ่งพาอาศัย ทรัพยากรธรรมชาติรอบๆหมูบาน นับเปนพื้นที่ที่เอื้อตอการจัดการใหเปน แหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษซึ่งมี ความสอดคลองกับแนวคิด การทองเที่ยวเชิงนิเวศของ ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 : 10) ซึ่งให คําจํากัดความไววา เปนการทองเที่ยวไปยังแหลงธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียนรูทําความเขาใจกับ การพัฒนาทางวัฒนธรรมและสภาพแวดลอ มดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอ ระบบนิเวศ และในขณะเดียวกันก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนดวยตรงจาก การอนุรัก ษธรรมชาติแ วดลอม

นอกจากนนี้ชุมชนหวยยางยังมีศัก ยภาพดานทุน ทางทรัพยากรมนุษ ย

เนื่องจากชุมชนหวยยางมีปราชญชาวบานซึ่งเปนที่เคารพนับถือของชาวบานทั้งดานการประกอบพิธีกรรม ประกอบกับผูนํามีศักยภาพในการประสานกับหนวยงานราชการ ชาวบานมีก ารเตรียมความพรอมและให


ความรวมมือในการบริหารจัดการ ศักยภาพดานทุนทางสังคม ชุมชนหวยยางไดรับการสนับสนุนสงเสริม ดานการทอ งเที่ย วจากองคก ารบริ หารส วนตํา บลเหลาโพนคอใหมีการจัดตั้ งองค กรชุมชนขึ้น คือ กลุ ม บานพักโฮมสเตย อาสาสมัครนําเที่ยวขึ้น กลุมเพาะพันธุกลาไม และศาลาอนุสรณทรงงาน ซึ่งสอดคลอ ง กับแนวทุนชุมชนของสุวิทย เมษินทรีย (มปป.)ที่ไดอธิบายวาทุนชุมชนคือสิ่งที่เปนมูลคาหรือมีคุณคาที่มิใช เงินตราเพียงอยางเดียว แตหมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของคน เชน ทุนทรัพยากรที่ กอใหเกิดผลผลิต รวมถึงเงินและสินทรัพยอื่น ๆ ที่เปนความรู ภูมิปญญา ประสบการณของคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปจจัยบริการทางโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งทุนทางชุมชนเปน ปจจัยสําคัญที่ทําใหชุมชน หวยยางคนพบศักยภาพของชุมชนในดานตางๆ จากศัก ยภาพที่ก ลาวมาขา งต นทํ าใหผู วิจัยพบว าชุมชนหวยยางยัง มีขอ จํา กัด ที่เ ปน ปญ หาในการ พัฒนารูปแบบการทองเที่ยว คือ ปญหาสิ่งอํานวยความสะดวกของสถานที่ทองเที่ยว ปญหาการคมนาคม ไมสะดวก ความรูความเขาใจของชาวบาน พฤติกรรมและวัฒนธรรมบางอยางของชุมชนมีการเปลี่ยนแปลง ไปจากเดิมสาเหตุการจากการรับวัฒนธรรมจากภายนอก การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและอาชีพชีพของคน ในชุมชนหลังจากการสรางอางเก็บน้ํา ทําใหพฤติกรรมของคนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสอดคลองกับ งานแนวคิ ดนิเวศวิทยาวัฒ นธรรมตามทัศ นะของสจ วด วาเปนความสั มพันธระหวางสภาพแวดล อ มกั บ เทคโนโลยีทางการผลิต ซึ่งเปนตัวกําหนดสําคัญตอ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม โดยมีค วามสัมพันธ ระหว า งเทคโนโลยี กั บ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย และความสํ า คั ญ ของสภาพแวดล อ มและอิ ทธิ พ ลของ สภาพแวดลอมตอพัฒนาการทางวัฒนธรรม ประเด็ นที่ สอง รู ปแบบการท อ งเที่ยวที่ เหมาะสมกั บชุมชนห วยยาง พบวาเรื่อ ง รู ปแบบการ ทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ชุมชน เสนอทางเลือกในลักษณะรูปแบบการทองเที่ยวแบบผสมผสาน คือ เปนการทองเที่ยวเพื่อชมและเก็บเกี่ยว ประสบการณจากสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและภูมิปญหา พื้น บา นของชุม ชน และการเรียนรูระบบการผลิ ตในภาคเกษตรของชุม ชน ซึ่ง มี 3 รูปแบบหลั ก ๆ คื อ รูปแบบที่หนึ่ง รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนลักษณะการทอ งเที่ยวในแหลงทอ งเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับ ธรรมชาติ ซึ่งรูปแบบกิจกรรมจะเปนการเดิน ทางศึกษาเสนทางธรรมชาติ เที่ยวชมสถานที่ ทองเที่ยวทาง ธรรมชาติ ซึ่งมีความสอดคลองกับงานของ พงศกร ชาวเชียงตุง (2550 : 78-80) ไดศึก ษาถึงแนวทาง พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศลําน้ําชี จังหวัดมหาสารคาม โดยมีการกําหนดสถานที่ทองเที่ยวเชิงนิเวศ 5 แหง คือ บานทาขอนยาง บานโขงกุดหวาย สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช วนอุทยานชีหลง และหาดใหญบาน


วังยาว เพื่อเปรียบเทียบศักยภาพในการบริหารจัดการและความตองการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มี แตกตางในแตสถานที่ เพื่อเปนการกําหนดรูปแบบกิจกรรมดานการทองเที่ยวในแตสถานที่เ พื่อสรางความ ประทับใจใหกับนักทองเที่ยว รูปแบบที่สองการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชน เปนการชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรมโดย ชุมชนไดนําวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณของชุมชนสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวในดานวัฒนธรรมประเพณีที่ มีอยูในชุมชนมาใหนักทองเที่ยวไดแลกเปลี่ยนเรียนรู ซึ่งสอดคลองกับงานของ พรวิไล วงศไตรพิพัฒน (2552 : 198-201) ไดศึกษาเรื่อง เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมเพื่อ สงเสริมเศรษฐกิ จชุมชน จัง หวัด นครราชสีมา ผลการวิ จัยพบวา มี การนําวั ฒนธรรมดั้งเดิมของชุ มชน ทองถิ่นที่เปนศาสนาสถานเปนศูนยรวมของคนในชุมชน จัดพิธีบวงสรวง เซนไหวเ ทพยดา จัดพิธีกินเขา ค่ําและประเพณีลอยกระทงพระราชทาน ซึ่งกลายเปนประเพณีที่มีชื่อเสียงเปนเอกลักษณของอําเภอสูงเนิน สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาสัมผัสบรรยากาศยอนยุคและเพิ่มรายไดใหกับในทองถิ่น ทําใหชุมชนมี เศรษฐกิจที่ดีขึ้น รูปแบบที่สาม การทองเที่ยวเชิงเกษตร เปนการศึกษาเรียนรูถึงประวัติความเปนมาของกลุมเพาะพันธุ กล า ไม กระบวนการทํ า งาน การตลาด องค ก รและเครื อ ข า ยทางสั ง คมของกลุ ม อี ก ทั้ ง ยั ง ได เ พิ่ ม ประสบการณดวยการการเขาชมสวนกลาไม นักทองเที่ยวอาจทดลองปลูกพันธุไมในสวนหรือ ซื้อพันธุไม กลับบานในราคาที่เปนกันเอง ซึ่งเปนการทํากิจกรรมรวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น สอดคลองกับงานของเทพกร ณ สงขลา (2554.) ที่ไดศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงเกษตรและการใชทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึก ษาการทองเที่ยวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวามีชุมชนมีการจําแนกรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตร ไดแก สาธิต ขั้นตอนการผลิต จําหนายสินคาทางการเกษตรของชุมชม เพื่อสรางรายไดใหกับชุมชนที่มากกวาการเปน อาชีพเกษตรกร สวนการจัดการทองเที่ยวโดยองคกรชุมชน การจัดการการทองเที่ยวของชุมชนกําลังอยูในขั้น ของการดําเนินการชุมชนจึงมีความจําเปนจัดตั้งกลุมองคกรชุมชนเพื่อเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและ บริหารจัดการทองเที่ยวของชุมชน ชื่อกลุม “ทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง” ซึ่งชาวบานมีสวนรวมในการ เสนอรูปแบบและแนวทางการจัดการการทองเที่ยว ซึ่งสอดคลอ งกับ แนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนของ พจนา สวนศรี (2546) การทองเที่ยวโดยชุมชน (community base sustainable tourism) คือ การทองเที่ยวที่


คํานึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพื่อ ชุมชน และชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพื่อใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเปนการกําหนดรูปแบบการทองเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับชุมชน ซึ่งมาจากการ มีส วนรวมของชุม ชนในการเสนอรู ปแบบการท อ งเที่ย วที่มี ค วามเหมาะสมกับ ชุ มชนที่ มีแ นวความคิ ด สอดคลองกับแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่ยั่งยืนของชุมชน

7. ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน 1. ควรมีหนวยงานที่ทําหนาเป นผูประสานงานกลางและเขามาใหการสนับสนุนชุมชนอยา ง จริงจัง แผนงานหรือนโยบายดานการทอ งเที่ยวควรมีสวนรวมระหวางชุมชนและองคก รปกครองสวน ทองถิ่น 2. การตั้งเป าในการพั ฒนาการท อ งเที่ ยว ควรคํ านึ ง ถึ งเรื่ อ งความสมารถในการรองรับของ สถานที่ทองเที่ยวกับจํานวนนักทองเที่ยว เพื่อไมใหเกิดการทําลายระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ 3. ควรพัฒนาเยาวชนภายในหมูบานใหมีความรูความสามารถเปนมัคคุเทศก เพื่อแนะนําสถานที่ ทองเที่ยวตางๆภายในชุมชน 4. ควรมีก ารจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรูใหกั บชุมชนอยางตอ เนื่อ ง เพื่อเพิ่มความรูความเขาใจ ใหกับชาวบานในการจัดการการทองเที่ยว ทั้งดานวิชาการ และดานการปฏิบัติ ขอเสนอแนะดานการวิจัย 1. ควรมีก ารวิจัยที่ ศึก ษาถึงผลกระทบแบบเชิ งลึ ก ที่ เกิ ดขึ้น จากการทอ งเที่ย ว ทั้งทางตรงและ ทางออม 2. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงองคความรูที่เ ปนเอกลักษณชุมชนที่สงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวอยาง จริงจัง 3. ควรมีก ารศึก ษาวิ จัยถึ งพัฒ นาการของชุ มชนในการบริหารจัดการการทอ งเที่ยวเพื่ อเกิ ดการ เปรียบเทียบผลของการพัฒนาศักยภาพชุมชน


บรรณานุกรม ดุษณี ชาวนาและคณะ. (2551). โครงการ รูปแบบการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนอยางยั่งยืน ชุมชน ผาแตก หมูที่ 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม. รายงานการวิจัยโครงการฉบับ สมบรูณ : โครงการ รูปแบบการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนอยางยั่งยืน ชุมชนผาแตก หมูที่ 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม. ธัญญลักษณ มีหมู. (2552). ศักยภาพและแนวทางการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมในเขตตําบลทา หินโงม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูม.ิ วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พจนา สวนศรี. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชา หนวยที่ 8-15 การจัดการนันทนาการและการทองเที่ยว ทางธรรมชาติ. นนทบุรี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พงศกร ชาวเชียงตุง. (2550). แนวทางพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศลําน้ําชี จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ วท.ม มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พรวิไล วงศไตรพิพัฒน. (2552). เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ยศ สันตสมบัติและคณะผูวิจัย. (2544). การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการ จัดการทรัพยากร. พิมพครั้งที่ 1. นพบุรีการพิมพ. เชียงใหม. วาทินี หมอไทย. (2552). แนวทางการพัฒนาการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมโดยองคการ บริหารสวนตําบล ลุมน้ํามูลตอนบน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิภา ศรีระทุ. (2551). ศักยภาพแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศในอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ. สารนิพนธ วท.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : กรุงเทพฯ. วีระพล ทองมา. (2546). “การทองเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism :CBT)” < www.dnp.go.th/fca16/file/i49xy4ghqzsh3j1.doc> 22 กุมภาพันธ 2555. วุฒิศักดิ์ อุมา. (2552). “การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม”. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยศูนย อุบลราชธานี. < http://www.thaicivilization.com> 18 กุมภาพันธ 2555.


พระราชรัตนมงคล. (2546). ตํานานผูไท. พิมพครั้งที่ 1. ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ : กรุงเทพฯ. เทพกร ณ สงขลา. (25554.) “ความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรและการใช ทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึกษาการทองเที่ยวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช”. มหาวิทยาลัยนเรศวร . < http://gsbooks.gs.kku.ac.th/54/grc12/files/hdo4.pdf > 20 กันยายน 2555 สุวิทย เมษินทรีย. (มปป.) “การพัฒนาทุนชุมชน” สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลําปาง. <http://www.cddlampang.net>


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก รายชื่อผูใหสัมภาษณ


รายชื่อผูใหสัมภาษณ 1 นายทวีชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 234 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 30 มิถุนายน 2555 2 นางเรณู ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 206 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 30 มิถุนายน 2555 กรกฎาคม 2555 3 นายหวล ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 215 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 2 กรกฎาคม 2555 4 นางไหมคํา ฮมปา เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 197 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 11 กรกฎาคม 2555 5 นางญาณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 1 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 12 กรกฎาคม 2555 6 นายเกร็ดแกว ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 27 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 12 กรกฎาคม 2555 7 นายสุรัน โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 113 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 12 กรกฎาคม 2555 8 นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 133 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 13 กรกฎาคม 2555 9 นายสดใส ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 207 หมูที่ 6 ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 13 กรกฎาคม 2555 10 นายสมทรง สรอยสงค เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 246 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 13 กรกฎาคม 2555 11 นางวงจันทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 245 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 13 กรกฎาคม 2555 12 นายยศตะพล สุขสบาย เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 239 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 14 กรกฎาคม 2555 13 มายมนูญ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 219 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 14 กรกฎาคม 2555


14 นายปารถนา แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 109 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 14 กรกฎาคม 2555 15 นายสงกรานต ทรายทอง เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 146 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 16 นายสรสินธ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 208 หมูที่ 6 บานหวยยา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 17 นายลิขิต ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 11 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 18 นายคําตา นาริเพ็ง เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 110 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 19 นายคง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 155 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 17 กรกฎาคม 2555 20 นายวิตตะ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 22 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 17 กรกฎาคม 2555 21 นางวิชิน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 215 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 20 กรกฎาคม 2555 22 นายมานะชัย แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 182 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 20 กรกฎาคม 2555 23 นายธีระพงษ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 198 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 21 กรกฎาคม 2555 24 นายจบ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 5 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 22 กรกฎาคม 2555 25 นายเริง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 59 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 22 กรกฎาคม 2555 26 นายมีชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 28 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 22 กรกฎาคม 2555 27 นายสาคร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 146 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 23 กรกฎาคม 2555


28 นายวิกรานต โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 13 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 29 นายเชิดชัย โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 149 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 30 นายอวน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที2่ 50 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 31 นายพายัพ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 53 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 11 สิงหาคม 2555


ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ


แบบสัมภาษณมีโครงสราง พัฒนานิพนธเรื่อง : รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ ชื่อ-สกุล............................................................................................................................................... 1. บานเลขที.่ ........................................................................................................................................ 2. อายุ.........ป 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด

( ) สมรส

( ) หยาราง

( ) มาย

( ) อิสลาม

( ) อื่น ๆโปรดระบุ................

4. ศาสนา ( ) พุทธ 5. การศึกษา ( ) ประถมศึกษา

( ) มัธยมศึกษาตอนตน

( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย

( ) ปวช. ปวส.

( ) ปริญญาตรี

( ) อื่น ๆ โปรดระบุ....................

6. ทานประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก ( ) เกษตรกรรม

( ) คาขาย

( ) ประมง

( ) ขาราชการ

( ) รับจางทั่วไป

( ) อื่น ๆโปรด ระบุ...................

7. อาชีพรองของทาน (อาชีพที่ใชเวลาในการประกอบอาชีพนอยกวาอาชีพหลัก) (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) ทําไร/ทําสวน

( ) หาของปา

( ) คาขาย

( ) รับจาง

( ) ไมมี

( ) อื่น ๆ โปรดระบุ..............................

8. รายไดเฉลี่ยของทาน......................................... บาท / เดือน 9. ทานไดอาศัยอยูในชุมชนนี้มาเปนระยะเวลา ................... ป 10. ทานมีตําแหนงทางสังคมในชุมชนหรือไม ( ) กรรมการหมูบาน

( ) กรรมการกลุมอาชีพ ระบุ.......................................................

( ) อื่นๆ ระบุ...................................................

( ) ไมไดเปน


ตอนที่ 2 : ผลกระทบของการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นตอชุมชนหวยยาง ขอที่ ขอความ 11

ทานตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเที่ยวหรือไม

12

ทานเคยเขารับการอบรมหรือประชุมเกี่ยวกับการทองเที่ยวหรือไม

13

ปจจุบันทานเปนกรรมการหรือมีบทบาทเกี่ยวกับการทองเที่ยวหรือไม

14

ทานเคยเขารวมการตอนรับนักทองเที่ยวที่เขามาเที่ยวในชุมชนหรือไม

15

ทานสามารถแนะนําหรือใหความรูกับนักทองเที่ยวได

16

ทานมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

17

วัฒนธรรมภูไทไดรับการอนุรักษและฟนฟูจากการทองเที่ยวในชุมชน

18

สมาชิกกลุมเพาะกลาไมมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการทองเที่ยว

19

สมาชิกกลุมทอผาไหมมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการทองเที่ยว

20

รานอาหาร หรือรานขายของชําในชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการทองเที่ยว

21

เยาวชนมีการใชเวลาวางใหเปนประโยชนจากการตอนรับนักทองเที่ยว

22

ชุมชนมีขยะเพิ่มขึ้นจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

23

ทานมีเวลาทํางานสวนตัวนอยลงจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

24

ชาวบานมีการดื่มแอลกอฮอลเพิ่มขึ้นจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

25

ชาวบานมีการไปทําบุญที่วัดมากขึ้นจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

26

ชาวบานมีการเลนการพนันนอยลงจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน

27

ชาวบานสวนใหญมีการทําความสะอาดหรือจัดระเบียบบานเรือนมากขึ้น

28

เจาหนาที่หนวยงานราชการเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้นหรือบอยขึ้น

29

อบต.เหลาโพนคอเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้นหรือบอยขึ้น

30

ชาวบานหวยยางมีการประชุมหรือพุดคุยเรื่องสวนรวมมากขึ้นหรือบอยขึ้น

ใช

ไมใช


ตอนที่ 3 : รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ขอที่

ขอความ

ใช

31

รูปแบบการทองเที่ยวที่ไมทําลายสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

32

รูปแบบการทองเที่ยวที่สงเสริมประเพณีชาวภูไท

33

รูปแบบการทองเที่ยวที่สงเสริมประเพณีชาวอีสาน

34

รูปแบบการทองเที่ยวที่มุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากที่สุด

35

รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินเปนหลัก

36

รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนใหนักทองเที่ยวมีการเรียนรูเปนหลัก

37

รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินควบคูกับการเรียนรู

38

รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก

39

รูปแบบการทองเที่ยวที่คํานึงถึงความพอใจของนักทองเที่ยวเปนอันดับแรก

40

รูปแบบการทองเที่ยวที่เนนความสะดวกสบายและความทันสมัย

ไมใช

41. ทานคิดวาชุมชนหวยยางมีความพรอมในการพัฒนาเปนหมูบานทองเที่ยวหรือไม อยางไรบาง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 42. ทานคิดวาชาวบานหวยยางมีปญหาอุปสรรคในการเขามารวมพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวหรือไม อยางไรบาง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

สัมภาษณวันที่.........................................


ภาคผนวก ค ภาพประกอบ


ปายแสดงเสนทางบนถนนสายหลัก สกลนคร - นาแก

ปายแสดงเสนทางของสถานที่ทองเที่ยวแตละจุด


ปายบอกเสนทางไปน้ําตกศรีตาดโตน

ภูมิประเทศและพื้นที่ทํากิน


ถนนสายหลักที่ใชในการเดินทางไปยังสถานที่ทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล

เรือขามฝากที่ไดรับการสนับสนุนจากองคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ


ความสัมพันธของชุมชนกับทรัพยากรธรรมชาติ การหาของปา

เห็ดที่ชาวบานหามาจากปาที่ภูยางอึ่ง

หนอไมไรจากภูยางอึ่ง


วิถีชีวิตของคนในชุมชน

ประเพณีสรงน้ําพระเนื่องในวันสงกรานต

การทําบุญใสบาตรของชาวบาน


การมีสวนรวมของชุมชนการจัดการทองเที่ยว

ชาวบานรวมกันทําบายศรีเพื่อตอนรับนักทองเที่ยว

การแตงกายชุดภูไทในการตอนรับผูมาเยือน


ชาวบานประชุมวางแผนการทํางานเพื่อตอนรับนักทองเที่ยวหลังจากจัดโครงการแบงหนาที่แตละฝาย

การบรรยายใหความรูนักทองเที่ยวของอาสาสมัครนําเที่ยว


การสัมภาษณกลุมเปาหมาย

กิจกรรมที่เขารวมกับชุมชน


ภาคผนวก ง ปฏิทินแสดงฤดูกาลทองเที่ยว


ปฏิทินแสดงชวงฤดูกาลของสถานที่ทองเที่ยวในแตละรอบป

เดือน สถานที่ทองเที่ยว ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1.จุดชมวิวพัทยา นอย 2.พระพุทธศิริมงคล 3.น้ําตกศรีตาดโตน 4. ถ้ําผาเก 5.ถ้ําอางกุง 6.จุดชมวิวเสาเฉลียง 7.ดานหมี 8.ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรี ไทย) 9.จุดพบฟอสซิล ไดโนเสาร 10.สํานักสงฆภูนอ ย อางแกว 11. ภูผานอย 12.ภาพเขียนทาง ประวัติศาสตร 13.อางแกว 14.ผาขาม 15.โบสถดิน อื่นๆ....................... หมายเหตุ : ***สถานที่ทองเที่ยวบางสถานที่สามารถเที่ยวไดตลอดทั้งป***


ภาคผนวก จ สถิตินักทองเที่ยวที่เขามาเที่ยวในสถานที่ทองเที่ยวของชุมชน


สถิตนิ ักทองเที่ยวที่เขามาเที่ยวที่ในบานหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ชุดที่ 1 นักทองเที่ยวจากฝายขาวชอง 3 (มามอบที่ดินเพื่อสรางศูนยพัฒนาเด็กเล็ก) ชวงเดือน กรกฎาคม 2554 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  นมัสการพระธาตุดอยอางกุง  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ ชุดที่ 2 นักทองเที่ยวจากกรุงเทพฯ จํานวน 6 คน (รูจักจากการประสัมพันธสถานที่ทองเที่ยวทาง อินเตอรเน็ต) ชวงเดือน กรกฎาคม 2554 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เที่ยวน้ําตกศรีตาดโตน เลนน้ํา  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  หาของปา เชน เห็ด หนอไม ชุดที่ 3 คณะนักทองเที่ยวจาก กศน. โคกศรีสุพรรณ (สํารวจและพัฒนาสถานที่ทองเที่ยว) ชวงเดือน มิถุนายน 2554 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เที่ยวน้ําตกศรีตาดโตน  การเต็นทคางคืนที่พระธาตุดอยอางกุง  พัฒนาสถานที่ทองเที่ยว ชุดที่ 4 คณะนักทองเที่ยวจากองคการบริหารสวนจังหวัดสกลนคร จํานวน 20 คน สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  ชมทัศนียภาพเมืองสกลนครบนนอตาออ บริเวณหนาผานาง  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติและประวัติศาสตรความเปนมาของถ้ํา


ชุดที่ 5 คณะศึกษานิเทศกครูจากโรงเรียนในพื้นที่และนายอําเภอโคกศรีสุพรรณ (ศึกษาดูงานและสํารวจ สถานที่ทองเที่ยว) สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  เลนน้ําที่น้ําตกศรีตาดโตน  ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไมปา  รับประทานอาหารรวมกัน ณ. น้ําตกศรีตาดโตน ชุดที่ 6 คณะนักศึกษาจากวิทยาลัยพยาบาลจังหวัดนครพนม จํานวน 20 คน สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  เลนน้ําที่น้ําตกศรีตาดโตน  ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไมปา ชุดที่ 7 คณะนักทองเที่ยวจากประเทศเดนมารกและอาสาสมัครฝนหยาดเดียว สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  เลนน้ําที่น้ําตกศรีตาดโตน  ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไม ชุดที่ 8 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคามจํานวน 5 คน (เก็บขอมูลและสํารวจพื้นที่ทําวิจัย) สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  นมัสการพระธาตุดอยอางกุง  ลอดถ้ําใตบาดาล ที่ถ้ําอางกุง  กราบนมัสการหลวงปูพ า พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก


ชุดที่ 9 สมาพันธออฟโรดจังหวัดสกลนคร (ปลูกปา) สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  บุกเบิกเสนทางออฟโรดสําหรับนักผจญภัย  ปลูกปา  นมัสการพระธาตุดอยอางกุง  ลอดถ้ําใตบาดาล ที่ถ้ําอางกุง ชุดที่ 10 คณะศึกษาดูงานจากเทศบาลตําบลพันนา อําเภอสวางแดนดิน จังหวัดสกลนคร (เนื่องใน โอกาสศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง) วันที่ 31 พฤษภาคม 2555 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  ศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง  เยี่ยมชมอุโบสถดินแหงแรกในประเทศไทย ณ วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนค ชุดที่ 11 สมาพันธอฟโรดภาคอีสานตอนลาง จํานวน 23 คันรถ (มอบถังน้ํา ณ. พระธาตุดอยอางกุง) วันที่ 27 - 28 มิถุนายน 2555 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  กางเต็นทคางคืนที่อุทยานแหงชาติภูผายล  บุกเบิกเสนทางออฟโรดสําหรับนักผจญภัย  มอบถังน้ํา ณ. พระธาตุดอยอางกุง  นมัสการพระธาตุดอยอางกุง  ลอดถ้ําใตบาดาล ที่ถ้ําอางกุง  กราบนมัสการหลวงปูพ า ณ. ถ้ําผาเก


ชุดที่ 12 คณะนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคามและเจาหนาที่อนุรักษปาไมอุทยานแหงชาติภูผายล จํานวน 12 คน (เก็บขอมูลสถานที่ทองเที่ยวและสํารวจระยะทางของแหลองทองเที่ยวแตละสถานที)่ วันที่ 3 สิงหาคม 2555 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ  เก็บขอมูลสถานทองเที่ยวและสํารวจระยะทางของแหลองทองเที่ยวแตละสถานที่  เก็บขอมูลจุดที่ขุดพบซากฟอสซิส  เลนน้ําที่น้ําตกศรีตาดโตน  ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไม  รวมรับประทานอาหาร ณ. น้ําตกศรีตาดโตน ชุดที่ 13 คณะแสวงบุญจากกรุงเทพฯสายธรรมยุต จํานวน 23 คันรถ วันที่ 10 สิงหาคม 2555 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  วัดปาพุทธนิมิต  นมัสการพระธาตุที่โบสถดิน ชุดที่ 14 คณะอาจารยและนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จํานวน 20 คน (การทดลองจัดทองเที่ยว โดยองคกรชุมชนหวยยาง) วันที่ 25 – 26 สิงหาคม 2555 สถานที่ทองเที่ยว/รูปแบบกิจกรรม  เรียนรูวิถีชีวิตของชุมชนหวยยางในรูปแบบการทองเที่ยวแบบบานพักโฮมสเตย  แนะนําชุมชนหวยยางและเรียนรูประวัติศาสตรหมูบาน  เยี่ยมชมอุโบสถดิน  เรียนรูกลุมเพาะพันธุกลาไม


 งานพาแลงภูไทหวยยาง - บายศรีสูขวัญ - ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม(ฟอนภูไทและดนตรีพื้นเมือง - รับประทานอาหารพื้นบานภูไทหวยยาง  นักทองเที่ยวทําบุญตักบาตรรวมกับชาวบานบานหวยยาง  เรียนรูแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล - เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติเรียนรูวิถีชีวิตของชาวบานในการหาของปา - อาสาสมัครนําเที่ยวแนะนําสถานที่ทองเที่ยว - เยี่ยมชมพระธาตุดอยอางกุง - นมัสการหลวงปูภาที่ถ้ําผาเก - ลอดถ้ําผาเก  นักทองเที่ยวรับประทานอาหารที่ถ้ําผาเก


ประวัติของผูศึกษา

ชื่อ สกุล

นางสาวดุจเดือน เบ็ญจรูญ

วันเดือนปที่เกิด

17 มีนาคม พ.ศ. 2534

สถานที่เกิด

136 หมูที่ 1 ตําบลเชียงใหม อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดรอยเอ็ด

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544

มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนเชียงใหมประชานุสรณ

พ.ศ. 2546

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเชียงใหมประชานุสรณ

ปจจุบัน

ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขา การพัฒนาชุมชน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.