กลุ่มทอผ้าไหม

Page 1

สภาพปญหากลุมทอผาไหม บานหวยยาง หมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ผกาสินี มาธุระ


พัฒนานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน (0109411) Practicum in Community Development ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จดวยดีเพราะไดรับความชวยเหลือ คําแนะนําจากผูมีพระคุณ หลาย ๆ ฝาย ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร อาจารยที่ปรึกษา และ คุณภักดี พรมเมือง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ อาจารยภาคสนาม ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนใหความ ชวยเหลือในการตรวจและแกไขขอบกพรองตาง ๆ รวมทั้งใหความรู เพิ่มเติมขอมูลในหลายๆเรื่อง จน สามารถทําใหพัฒนานิพนธเลมนี้สําเร็จไดดวยดี ขอกราบขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทาน ที่ไดกรุณาให ชี้แนะขอบกพรองตาง ๆ คอยอบรมสั่งสอน คอยชี้แนะมาตลอด ทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้สมบูรณยิ่งขึ้น ขอกราบขอบพระคุณสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ ที่ไดกรุณาใหนิสิตรวมเรียนรู และฝกประสบการณการพัฒนาชุมชน รวมไปถึงใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการอยูในพื้นที่ ขอขอบพระคุณพอหวล ยางธิสาร ผูใหญบาน ตลอดจนชาวบานบานหวยยาง สมาชิกกลุมทอผา ไหมที่ใหขอมูล และชวยเหลือในการประสานงานใหขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการทําพัฒนานิพนธ อีกทั้งยังใหที่อยูอาศัยแกนิสิตที่ฝกงาน เหมือนลูกหลาน ขอขอบคุณเพื่อนนิสิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชนที่ไดแนะนํา ชวยเหลือเพิ่มเติมขอมูลใหพัฒนา นิพนธนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ขอบคุณครอบครัวที่ใหการสนับสนุนและใหกําลังใจแกผูวิจัยดวยดีตลอดมา จนทําใหผูศึกษา สามารถทําพัฒนานิพนธนี้จนสําเร็จ ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบใหแกผูที่มีพระคุณทุกทาน รวมถึงผูที่ สนใจพัฒนานิพนธฉบับนี้

ผกาสินี มาธุระ


สภาพปญหากลุมทอผาไหม บานหวยยาง หมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ

ชื่อเรื่อง

อําเภอโคกศรีสุพรรณจังหวัดสกลนคร ผูศึกษา อาจารยที่ปรึกษา ปริญญา มหาวิทยาลัย

นางสาวผกาสินี มาธุระ อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2554

บทคัดยอ

งานวิจัยเรื่องสภาพปญหากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณจังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม 2.เพื่อศึกษา สภาพปญหาของกลุมทอผาไหม 3.เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตของการศึกษา คือ บานหวยยาง หมูที่ 6 โดย มีกลุมเปาหมาย คือ สมาชิกกลุมทอผาไหมจํานวน 24 คน คณะกรรมการหมูบาน จํานวน 10 คน ผูรู จํานวน 6 คน โดยผูวิจัยไดเขาไปสังเกตการณและมีสวนรวมภายในชุมชนในระยะเวลา 2 เดือน ระหวาง 3 มิถุนายน – 20 สิงหาคม เพื่อสังเกตพฤติกรรมตาง ๆ ภายในชุมชน หลังจากนั้นไดใชวิธีการสัมภาษณผูรูใน ชุมชน สมาชิกกลุมทอผาไหม โดยใชแบบสัมภาษณมีโครงสราง และแบบสัมภาษณไมมีโครงสราง รวมไป ถึงการศึกษาเอกสารมือสอง นอกจากนั้นยังไดจัดประชุมกลุมเพื่อสะทอนปญหารวมกัน ในพัฒนานิพนธ เลมนี้ผูวิจัยใช ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดการรวมกลุมและอิทธิพลที่มีผลตอประสิทธิภาพของ กลุม แลวนําขอมูลทีไ่ ดจากการศึกษามารวมสรุป ผลการศึกษาปรากฏดังนี้


ประการแรก พบวากลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีการรวมกลุมในโครงการศูนยศิลปาชีพ และไดรับการสนับสนุนไหมหลวง และเปนตลาดรองรับผาไหมของสมาชิกกลุม โดยมีสมาชิกที่ไดขึ้น ทะเบียนในโครงการศูนยศิลปาชีพ 24 คน ประการที่สองพบวา กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีสภาพปญหาการดําเนินกลุม ที่สําคัญๆ คือ ดานการผลิตพบวา ทุนในการผลิต เนื่องจากสมาชิกตองไปซื้ออุปกรณทุกอยางเอง มีทั้งคาใชจายใน การเดินทาง จึงจําเปนตองเพิ่มราคาผาไหมจึงจะคุมทุน แตก็ขายไดยาก เพราะปจจุบันผาไหมมีทุกพื้นที่ ทํา ใหขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน ดานการตลาดพบวา ถึงแมวากลุมจะมีตลาดมารองรับแลว แตสมาชิกกลุม ตองเจอกับปญหาราคา ที่เจาของผาไหมไมสามารถตั้งราคาขายไดเอง และดานการบริหารจัดการพบวา กลุม ไมมีคณะกรรมการที่ชัดเจน และกลุมไมมีการประชุมในแตละเดือน โดยสรุปแลวการศึกษานี้ใหความสําคัญกับสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม เพื่อตองการทราบถึง ปญหาในการดําเนินกลุม ทําใหเห็นวาผูศึกษามีความสนใจในปญหานี้เปนอยางดี


สารบัญ บทที่ 1 บทนํา ................................................................................................................................ ภูมิหลัง ......................................................................................................................... วัตถุประสงคของการศึกษา .................................................................................... ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ ..........................................................................................

หนา 1 1 4 4

ขอบเขตของการศึกษา .................................................................................................. 4 แนวคิดที่ใชในการศึกษา ............................................................................................... 6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................................. 21 วิธีดําเนินการศึกษา ................................................................................................ 25 นิยามศัพทเฉพาะ .......................................................................................................... 26 2 บริบทชุมชน ..................................................................................................................... ประวัติศาสตรหมูบาน ................................................................................................. สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง .................................................................................... โครงสรางอํานาจทางการเมือง การปกครอง ............................................................... การประกอบอาชีพ ...................................................................................................... ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และพิธีกรรม ............................................................... ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ........................................................................… สถานบริการของรัฐ ..................................................................................................... องคกรชุมชน ...............................................................................................................

27 27 31 32 33 33 36 36 37

3 บริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม ...................................................................................... ประวัติการกอตั้งกลุม .................................................................................................. พัฒนาการการเรียนรูของกลุม ..................................................................................... อุดมการณของกลุม ......................................................................................................

38 38 40 41

ทุนในการดําเนินงานของกลุม ..................................................................................... 42 กิจกรรมของกลุม ......................................................................................................... 42 การสนับสนุนของหนวยงานภายนอก .......................................................................... 42


บทที่ หนา 4 สภาพปญหาของกลุมทอผาไหม ....................................................................................... 43 กระบวนการผลิตผาไหม ............................................................................................. สภาพปญหาดานการผลิต ............................................................................................ สภาพปญหาดานการตลาด …...................................................................................... สภาพปญหาดานการบริหารการจัดการ …………………...........................................

43 54 54 55

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ............................................................................. สรุปผล ........................................................................................................................ อภิปรายผล .................................................................................................................. ขอเสนอแนะ ...............................................................................................................

56 56 59 61

บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 62 ภาคผนวก ............................................................................................................................ ภาคผนวก ก รายนามผูใหสัมภาษณ .................................................................................... ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ................................................................................................ ภาคผนวก ค แผนผังเครือญาติตระกูลโตะชาลี........................................................................ ภาคผนวก ง แผนที่หมูบานหวยยางหมูท6ี่ ........................................................................... ภาคผนวก ง ปฏิทินวัฒนธรรม ............................................................................................ ภาคผนวก จ ภาพประกอบพัฒนานิพนธ .............................................................................. ประวัติยอของผูศึกษา ..........................................................................................................

65 66 70 79 81 83 85 95


บัญชีภาพประกอบ ภาพ หนา ภาพประกอบ 1 สบู ............................................................................................................. 43 ภาพประกอบ 2 อางยอม ..................................................................................................... 44 ภาพประกอบ 3 น้ําซาวขาว ................................................................................................. 44 ภาพประกอบ 4 สีเคมี ..........................................................................................................

44

ภาพประกอบ 5 การฟอกไหม ............................................................................................. 45 ภาพประกอบ 6 การเตรียมน้ําสี ........................................................................................... 46 ภาพประกอบ 7 การยอมสีไหม ...........................................................................................

46

ภาพประกอบ 8 การลางไหม ...............................................................................................

47

ภาพประกอบ 9 การแชเสนไหม .........................................................................................

47

ภาพประกอบ 10 การตากไหม ............................................................................................

48

ภาพประกอบ 11 การปนไหม .............................................................................................

48

ภาพประกอบ 12 การคนเสนยืน ..........................................................................................

49

ภาพประกอบ 13 การมัดหมี่ ................................................................................................

49

ภาพประกอบ 14 การทอผาไหม …………………….........................................................

50

ภาพประกอบ 15 ผาไหมสีธรรมชาติจากไมดู ..................................................................... ภาพประกอบ 16 ผาไหมสีธรรมชาติจากไมแสดหุง ........................................................... ภาพประกอบ 17 ลายมัดหมี่ของสมาชิกกลุมทอผาไหม ....................................................

50 51 51


บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง

บานหวยยางหมูท6ี่ ตั้งอยูที่ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จากคํา บอกเลาตอๆกันมา เดิมบานหวยยาง ไดมีนายยาง กับนายโตะไดอพยพมาจากเมืองวัง ประเทศลาว เพื่อหา ทําเลที่ตั้งสรางหมูบาน ผานมาเห็น ปา ลําหวย จึงมาบุกเบิกเพื่อสรางบานเรือน และตั้งชื่อวา บานหวยยาง ตามชื่อของตนเอง อีกทั้งอยูใกลบริเวณหวย นอกจากนั้นชาวบานยังไดนําชื่อของทั้ง 2 มาตั้งเปนนามสกุล คือ ยางธิสาร และโตะชาลี บานหวยยาง ทิศใต ติดเขตกับอําเภอนาแก ทิศตะวันออก ติดเขตบานเหลา ทิศเหนือ ติดเขตโพนคอ และทิศตะวันตก ติดเขตบานหวยยางเหนือหมูท9ี่ โดยป พ.ศ.2538 บานหวยยางไดออกแบงออกเปน 2 หมูคือ บานหวยยางเหนือหมูท9ี่ และบาน หวยยางหมูท6ี่ บานหวยยางหมูท6ี่ มีผูใหญบานชื่อ นายหวล ยางธิสาร มีจํานวนประชากรทั้งหมด 923 คน จํานวนประชากรชาย 453 คน หญิง 470 คน จํานวนครัวเรือน 194 ครัวเรือน เนือ่ งดวยในปงบประมาณ 2554 สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีนโยบายที่จะ ดําเนินงานสงเสริมหมูบานที่ดูแล อยางนอยตําบลละ 1 หมูบาน ซึ่งมีตําบลเหลาโพนคอเปนตําบล เปาหมาย มีบานหวยยางหมูท6ี่ และบานหวยยางเหนือหมูท9ี่ เปนหมูบานนํารอง เพือ่ ทําใหเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการที่จะประเมินวาหมูบานใดเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงจะมีกรอบในการชี้วัด เศรษฐกิจพอเพียง 6×2 ประกอบดวย ดานการเพิ่มรายได ดานการลดรายจาย ดานการประหยัด ดานการ เรียนรู ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และดานการเอื้ออารีตอกัน บานหวยยางเคยไดชื่อวาเปนหมูบานขอทาน เนื่องจากชาวบานไมมีงานทํา แตตองพยายามหา รายไดโดยอพยพไปขอทานในจังหวัดใกลเคียง คือ จังหวัดนครพนม จังหวัดกาฬสินธุ และจังหวัด มุกดาหาร มากถึง 90% ของครัวเรือนทั้งหมด บานหวยยางตองประสบกับปญหาภัยแลงถึง 2 ครั้งคือ


พ.ศ.2510 ไดอพยพเปน 2 กลุมประมาณ 20 ครัวเรือน กลุมแรกยายถิ่นฐานไปยัง บานทามวง ตําบลน้ํากลั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่สองยายไปบานโคกสําราญ ตําบลชมพูพร อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย พ.ศ.2524 ประสบภัยแลงไดอพยพเปน 3 กลุม 12 ครัวเรือน กลุมแรกยายไปบานทามวง ตําบลชมพูพร อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย กลุมที่สองยายไปบานคําบอน ตําบลน้ํากลั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่สามยายไปยังบานหวยลึก และบานบงคา จังหวัดหนองคาย จนกระทั่งมีการลงขาวหนังสือพิมพวาพบหมูบานขอทานแหงแรกในจังหวัดสกลนคร เมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบขาวไดรับสั่งใหกรมชลประทาน สรางอางเก็บน้ํา หวยโท – หวยยาง ในปพ.ศ. 2528 แลวเสร็จในปพ.ศ.2530 พ.ศ.2532 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชดําเนินมาเปดอางเก็บน้ํา หวยโท – หวยยาง ดวย พระองคเอง หลังจากนั้นทําใหชาวบานบานหวยยางและชาวบานบานใกลเคียงมีน้ําใชในการทําเกษตร อีก ทั้งมีการสงเสริมอาชีพทําใหชาวบานมีรายได การทอผาของผูหญิงในหมูบาน ซึ่งอาชีพสวนใหญทํา เกษตรกรรมในยามวางผูหญิงก็จะทอผา ผูชายก็จะจัดหาและเตรียมเครื่องมือใชทั้งในการทอผาและในการ ทําเกษตรกรรม ผาที่ทอไดก็จะนํามาใชในครอบครัว ใชในชีวิตประจําวันตามโอกาสตางๆ หรือใชในการ แลกเปลี่ยนกับผลผลิตอื่นๆ การทอผาจึงเปนการผลิตเพื่อใชเองในครอบครัว ชุมชน ไมใชผลิตเพื่อการคา การทอผาจึงถือเปนงานศิลปะที่แสดงฝมือ ความอดทน และภูมิปญญาของผูหญิงที่ไดรับการถายทอดใน ครัวเรือน เปนเสมือนมรดกทางวัฒนธรรม กลุมทอผาไหมบานหวยยาง เดิมรวมทั้ง 2 หมูเขาดวยกัน เริ่มกอตั้งปพ.ศ.2532 มีสมาชิก 31 ครอบครัวที่ประสบภัยน้ําทวมแลวไดรับการชวยเหลือ ปพ.ศ.2553 ไดแบงกลุมออกจากกันอยางชัดเจน ซึ่งกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมู6 มีนางเรณู ยางธิสาร เปนประธานกลุม ไดรับการสนับสนุนไหมหลวง มีสิบเอกนาวี หันโยธา เปนผูกอตั้งและผูประสานงาน เพื่อนําไปขายยังสวนจิตรลดา การตั้งกลุมทอผา ไหมเปนเสมือนผลพลอยไดจากที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชดําเนินมาเปดอางเก็บน้ํา หวยโท –


หวยยาง เปนการสงเสริมใหชาวบานมีอาชีพและทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น มีการสงครู 2 คน จากศูนย ศิลปาชีพกุดนาขาม มาสอน 15 วัน พรอมทั้งมอบอุปกรณทุกอยางใหแกสมาชิก 31 ครอบครัว ในการทอ ผาสมาชิกจะไดรับไหมหลวงครั้งละ 2 กิโลกรัมไดรับปละ 2 – 3 ครั้ง แตละครั้งทอได 8 – 10 เมตร ลักษณะของไหมหลวงจะดึงดวยมือ เสนไมเสมอ ถาสมาชิกคนใดมีทุนในการซื้อไหมอุตสาหกรรมมาทอ ก็สามารถทอแลวขายพรอมกับไหมหลวงไดเลย โดยจะมีสิบเอกนาวี หันโยธาเปนผูประสานงานกับกลุม ทอผาไหมในการใหตัวแทนกลุมไปรับไหมหลวงที่ภูพาน และเขามารับผาไหมที่กลุมเพื่อนําไปขาย แตใน การดําเนินกลุมทอผาไหมนั้น ลักษณะกลุมยังเปนแบบหลวมๆ ไมมีกฎกติกา เมื่อสมาชิกคนใดนําผาไหมมาขายไดเงินก็จะเก็บเปนของตนเอง ใครทอไดผาไหมมากก็ไดเงินมาก ไมมีการออมทรัพยเงินไวใชในกิจกรรมกลุม เหมือนเปนการรวมกลุมเพื่อเขารับไหมหลวงเทานั้น อีกทั้ง ราคาผาไหมที่ใชไหมหลวงทํา ลายพื้น 10 เมตร ราคา 1,700 บาท ลายหมี่ 10 เมตรราคา 2,500 – 2,700 บาท แตไหมอุตสาหกรรม ลายพื้น 10 เมตร ราคา 1,800 บาท แตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวสงเสริม ใหชาวบานใชไหมหลวงมากกวาเพราะเปนการใชเสนไหมจากกลุมปลูกหมอนเลี้ยงไหม เหมือนเปนการ รองรับกลุมปลูกหมอนเลี้ยงไหมดวย นอกจากนั้นผูเปนเจาของผาไหมไมสามารถกําหนดราคาผาไหมเองได เหมือนกับเปนการทอผา ไหมใหเจานาย แลวแตเจานายจะใหราคาเทาใด ขณะนี้กลุมทอผาไหม ประสบปญหาราคาของผาไหม ไมไดเปนคนกําหนดเอง ซึ่งสงไปทีภ่ ูพาน จะเปนคนกําหนดราคาให อีกทั้งผาไหมที่สงไปไมไดรับเงิน ทันทีตองรอ เชน สมาชิกกลุมสงผาไหมไป เดือนสิงหาคม 2553 ขณะนี้เดือนกุมภาพันธ 2554 ยังไมได รับเงินเลย นอกจากนั้นยังตองการพัฒนาฝมือของตนเองเพื่อใหตรงตามความตองการของตลาด และการ ยอมสีของสมาชิกกลุมตองการใหมีการยอมสีธรรมชาติแตเนื่องจากความไมสะดวกในการไปเก็บเปลือกไม สีธรรมชาติที่กลุมทอผาไหมนิยมใชยอมคือ ไมแสดหุง ใบเตย ไมกระเดา สมาชิกจึงไมคอยนิยมใช สี ธรรมชาติ และการยอมสีไหมที่มัดหมี่นั้นสมาชิกแตละคนยังมีปญหาในการยอม เพราะตองการใหไดมัดหมี่ ทีกินสีละเอียด เพราะเมื่อยอมเสนไหมแลวตรงที่มัดเปนลวดลายจะไมคอยกินสีดีนัก ไมเสมอ และเปนดาง ดวย รวมถึงการมัดหมี่สมาชิกแตละคนนั้นมีการมัดหมี่แบบเดิมทําใหไดผาไหมลายแบบเดิม จากการมีทอ ผาไหม ทําใหสมาชิกมีเงินใชจายเล็กๆ นอยๆ เปนการใชเวลาวางจากการทําเกษตรกรรมใหเกิดประโยชน ปรากฏการณดังกลาวขางตนทําใหผูศึกษาสนใจที่จะศึกษาสภาพปญหากลุมทอผาไหม ในดาน ตางๆคือดานการตลาด ดานการผลิต และดานการบริหารจัดการ เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนากลุมทอผา ไหม โดยนํากรอบตัวชี้วัดเศรษฐกิจเพียง 6×2 ดานการเพิ่มรายไดมาเปนตัวกําหนด ซึ่งบานใดที่จะเปน


หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตองมีตัวชี้วัดครบทุกตัว แตผูศึกษาไดเลือกศึกษาตัวชี้วัดเศรษฐกิจเพียง 6×2 ดานการเพิ่มรายได โดยมีอาชีพเสริมคือการทอผาไหม ของกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูที่6 ที่มีการทอ ผาไหม หลังจากการวางเวนทํานา และการเกษตรกรรมอื่นๆ ซึ่งรายไดจากการทอผาไหมก็เพียงเล็กๆ นอยๆ เมื่อเทียบกับการใชความอดทน และฝมือ อีกทั้งยังสอดคลองกับความตองการของกลุมที่จะตองการ แกไขปญหาของตนเอง วัตถุประสงคของการศึกษา ในงานวิจัยนี้ ผูศึกษาจะศึกษาสภาพปญหากลุมทอผาไหม โดยมีความมุงหมายในการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม 2. เพื่อศึกษาสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหทราบถึงบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม 2. ทําใหทราบถึงสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม 3. ทําใหทราบถึงแนวทางการพัฒนากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตเชิงพื้นที่ พื้นที่ในการทําการวิจัย - ชุมชนบานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร - กลุมทอผาไหมหมูท6ี่


พื้นที่ในการศึกษา บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เหตุผลที่เลือกพื้นที่บานหวยยางหมูท6ี่ เพราะบานหวยยางหมูท6ี่ เปนหมูบานนํารองที่จะทําใหเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีตัวชี้วัด 6×2 เปนเกณฑ ทําใหสนใจที่จะศึกษากลุมทอผาไหม ซึ่งกลุมทอผาไหม มีศักยภาพในการทอผาไหมแตตองเจอกับปญหาไมวาจะเปน ดานการตลาดที่ไมสามารถกําหนดราคาได เรื่องลายผา เรื่องการยอมสี และการบริหารจัดการกลุม จึงมีความสนใจที่จะศึกษาพื้นที่นี้

ขอบเขตเชิงเวลา ผูศึกษาจะเริ่มทําเก็บขอมูลตั้งแตเดือนมิถุนายน-เดือนกรกฎาคม พ.ศ 2554 เปนระยะเวลาทั้งหมด 2 เดือน ขอบเขตเชิงเนื้อหา งานวิจัยชิ้นนี้ผูศึกษาจะทําการศึกษาเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับกลุมทอผาไหม ดังตอไปนี้ - ขอมูลพื้นฐานของกลุม - ผลการดําเนินงานของกลุม - การแลกเปลี่ยน เรียนรูและการชวยเหลือกันของกลุม - สภาพปญหาของกลุมในดานการตลาด ดานการผลิต และดานการบริหารจัดการ - แนวทางการพัฒนากลุม/การเสริมสรางความเขมแข็งของกลุม ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรบานหวยยาง จํานวน 923 คน กลุมตัวอยาง สมาชิกกลุมทอผาไหม จํานวน 24 คน


คณะกรรมการหมูบาน จํานวน 10 คน ผูรู จํานวน 6 คน แนวคิดที่ใชในการศึกษา

ในพัฒนานิพนธเรื่อง สภาพปญหากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาไดศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการศึกษาในการทํา พัฒนานิพนธ โดยมีแนวคิดทฤษฏีดังนี้ 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. แนวคิดการรวมกลุมและอิทธิพลที่มีผลตอประสิทธิภาพของกลุม

1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรีชญาที่ถือวาเปนนวัตกรรมที่มีคุณคายิ่ง และยังมีความลึกซึ้ง กาวหนาและเหมาะสมสําหรับสังคมหลักการสําคัญ 5 ประการ ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ 1. ความพอประมาณ คือ ความพอดีๆ ไมนอยเกินไป ไมมากเกินไป ไมเติบโตเกินไป ไมชา เกินไปและไมโดดเดนเกินไป 2. ความมีเหตุผล คือ ทุกอยางตองมีที่มาที่ไปอธิบายได การสงเสริมกันในทางที่ดีสองคลองกับ หลักพุทธธรรม คือ ความเปนเหตุเปนผลเพราะสิ่งนี้ ทําใหเกิดทุกสิ่ง ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นตามเหตุผลปจจัย 3. ความมีภูมิคุมกันที่ดี จะตองปกปองคุมครองไมใหเกิดความเสี่ยงที่ไมควรจะเปน เชน เกิดความ เสี่ยงเพราะมีความโลภมากเกินไป 4. ความรอบรู ตองมีความรอบคอบ มีการใชความรูใชวิทยาการ ดวยความระมัดระวัง มีการจัด องคความรูที่ดี ดําเนินการอยางรอบคอบ ครบถวนรอบดาน ครบทุกมติ 5. คุณธรรมความดี เปนพื้นฐานของความมั่นคงซึ่งประกอบดวย ความซื่อสัตย สุจริต มานะ และ พากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต


ความหมาย เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระ ราชดํารัชและแนวทางดําเนินชีวิตแก พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดยาวนานกวา 30 ป เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดําเนินชีวิต และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ครอบครัวชุมชน จนกระทั่งถึงระดับชาติ ทั้งในการพัฒนาการบริหารประเทศใหดําเนินตอไป ในทางสายกลางความพอเพียง หมายถึง ความประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่ตองมี ระบบภูมิคุมกันในตัวที่มีพอควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงและภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง เปนอยางยิ่งนําวิชาการตางๆ มาใชในการ วางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะ เจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฏี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย สุจริต และ ใหมีความรอบรูที่เหมาะสมตลอดจนดําเนินชีวิตในความอดทน มีความพากเพียร มีสติ และมีความ รอบคอบ เพือ่ ใหสมดุลและพรอมตอการรองรับความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวาง ทั้งดาน วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี “บางคนพูดบอกวา เศรษฐกิจ พอเพียงนี้ไมถูกทําไมดี ไมดี ไดยินเคาวาสวนใหญบอกวาดี แตพวกสวนใหญที่บอกวาดีนี้เขาใจแคไหนก็ ไมทราบแตยังไงก็ตามเศรษฐกิจ หรือความประพฤติที่ทําอะไรเพื่อใหเกิดผล โดยมีเหตุผล คือ เกิดผลมักมา จากเหตุ ถาทําเหตุที่ดีถาคิดดีใหผลที่ออกมาคือ สิ่งที่ติดตามเหตุการณ กระทําก็จะเปนการกระทําที่ดี และผล ของการกระทํานั้นก็จะเปนการกระทําที่ดี ดีแปลวามีประโยชน ดีแปลวาทําใหมีความสุข” กรอบความคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง เปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของ แผนดินเปรียบเสมือนเสาเข็มที่ตอกรองรับปายเรือนตัวอาคาร ไวนั่นเองสิ่งกอสรางที่จะมั่นคงไดก็อยูที่ เสาเข็มนั่นเองแตคนสวนมาก มองไมเห็นเสาเข็ม และถือเสาเข็มเสียดวยซ้ํา” (พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว )


หลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ

เงื่อนไขความรู

มีเหตุผล

(รอบคอบ รอบรู ระมัดระวัง)

เงื่อนไขคุณธรรม

มีภูมิคุมกันใน

(ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบงปน)

ชีวิต เศรษฐกิ ่งแวดล่งยือนม สมดุจ ลสังมัคม ่นคงสิและยั

หลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 1. การพึ่งตนเองเปนหลัก 2. การพิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร สมเหตุสมผล 3. การสรางความสามัคคีใหเกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุล 4. ความครอบคลุมทั้งทางดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนา ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความ ไมประมาท โดยคํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทํา ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีหลักพิจารณาอยู 5 สวน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน โดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับโดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน 3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ พรอม ๆ กันดังนี้


1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไปโดยไม เบียดเบียนตนเอง และผูอื่น เชนการผลติ และการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไป อยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น จากการกระทํา นั้น ๆ อยางรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลง ดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณ ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้ง ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบ ดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรู และเทคโนโลยี ตัวชี้วัด 6×2 1. ดานการลดรายจาย 2. ดานการเพิ่มรายได 3. ดานการประหยัด 4. ดานการเรียนรู

5. ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม และใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน

1.1 ครัวเรือนทําสวนครัว 1.2 ครัวเรือนปลอดอบายมุข 2.1 ครัวเรือนมีอาชีพเสริม 2.2 ครัวเรือนใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3.1 ครัวเรือนมีการออมทรัพย 3.2 ชุมชนมีกลุมออมทรัพย ฯ 4.1 ชุมชนมีการสืบทอดและใชภูมิปญญาทองถิ่น 4.2 ครัวเรือนมีการเรียนรูป รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน ชีวิตประจําวัน 5.1 ชุมชนใชวัตถุดิบอยางยั่งยืนในการประกอบอาชีพ 5.2 ชุมชนปลูกตนไมใหรมรื่นเปนหมูบานนาอยู


6. ดานการเอื้ออารีตอกัน

6.1 ชุมชนมีการดูแลชวยเหลือ คนจน คนดอยโอกาส และ คน

ประสบปญหา

6.2 ชุมชน “รูรักสามัคคี”

ประการที่สําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1.พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไวกินเองบาง ปลูกไมผลไวหลังบาน 2-3 ตน พอที่จะมีไวกินเองใน ครัวเรือน เหลือจึงขายไป 2.พออยูพอใช ทําใหบานนาอยู ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใชแตของที่เปนธรรมชาติ (ใช จุลินทรีย ผสมน้ําถูพื้นบาน จะสะอาดกวาใชน้ํายาเคมี) รายจายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดคา รักษาพยาบาล) 3.พออกพอใจ เราตองรูจักพอ รูจักประมาณตน ไมใครอยากใครมีเชนผูอื่น เพราะเราจะหลงติดกับ วัตถุ ปญญาจะไมเกิด

2. แนวคิดการรวมกลุมและอิทธิพลที่มีผลตอประสิทธิภาพของกลุม ความหมายของกลุม ดวยเหตุที่มนุษยไมสามารถอยูคนเดียวโดยไมติดตอกับใครเลยใครเลยไมได เพราะมนุษยจะตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันจึงจะมีชีวิตอยูรอดได  ดังนั้นมนุษยจึงจําเปนตองรวมกันเปน กลุมในสังคมเพื่อชวยเหลือเหลือซึ่งกันและกันในการแลกเปลี่ยนสิ่งของเพื่อการดํารงชีวิต ซึ่งในลักษณะ ของการรวมกลุมนั้น พึงพิศ (2539, หนา 348) กลาววา กลุม ประกอบดวยสมาชิกตั้งแต 2 คนขึ้นไป มารวมกัน มีการแสดงพฤติกรรมโตตอบกัน มีความสัมพันธเกี่ยวของกันและยอมรับระเบียบแบบแผน รวมกัน มนุษยเมื่อมาอยูรวมกันในสังคมยอมตองพึ่งพาอาศัย มีการแลกเปลี่ยนปจจัยตางๆเพื่อให ไดในสิ่ง ที่ตนเองตองการและความตองการของแตละคนก็ยอมจะไมเหมือนกัน คนที่มีความตองการการที่เหมือน หรือคลายคลึงกันก็จะอยูในกลุมเดียวกัน เพื่อใหไดในสิ่งที่ตนเองตองการโดยอาศัยพลังกลุมในการทํางาน ความหมายของคําวากลุม นั้น พรรณทิพย (2541,หนา 50)และศักดิ์ไทย (2542,หนา 39)ไดให ความหมายของคําวากลุมที่คลายกันวา หมายถึง บุคคลซึ่งประกอบดวยบุคคลตั้งแต 2 คนขันไปมา ปฏิสัมพันธกัน (Interaction) เพื่อปฏิบัตกิ ารอยางใดอยางหนึ่ง โดยใหการปฏิบัตินั้นๆของแตละบุคคลและ กลุมบรรลุผลตามเปาหมายของตนเองและกลุมนั้นมีขนาดและลักษณะที่แตกตางกันขึ้นอยูกับวัตถุประสงค ของกลุมโดยที่แตละกลุมที่มีการรวมตัวกันนั้นจะตองมีลักษณะพื้นฐาน ดังนี้


1. ประกอบดวยสมาชิกตั้งแต 2 คนขึ้นไป 2. มีจุดมุงหมายเฉพาะเพื่อเปนแนวทางสําหรับพฤติกรรมของแตละบุคคลและกลุมที่ดีตอง ตอบสนองความตองการของกลุมและสมาชิกแตละคนในเวลาเดียวกันได หรืออยางนอยความตองการของ ทั้งสองอยางจะตองไมขัดกันจนยากแกการรวมกลุม 3. มีโครงสรางซึ่งเกิดจากแบบแผนความสัมพันธระหวางสวนประกอบยอยๆ ซึ่งแตละสวนก็จะ แสดงบทบาทที่เหมาะสมของตน ทุกคนในกลุมยอมรับการรวมกลุม มีการปฏิสัมพันธกันรูวาใครเปนคน ในกลุมใครเปนคนนอกกลุมการคงอยูของกลุมจะชวยตอบสนองความตองการหรือใหความพึงพอใจแก สมาชิก 4. มีกลไกสําหรับการควบคุมสมาชิก นั่นคือ มีกฎระเบียบขอบังคับหรือปทัสถาน (Norms) สําหรับกําหนดบทบาทและหนาที่ของบุคคลในกลุม การรวมตัวของกลุม การรวมตัวของกลุมจะเกิดขึ้นไดนั้น อิทธิพลที่สําคัญคือ ความตองการของสมาชิกกลุมเมื่อสมาชิก มีความตองการที่ตรงกันยอมทําใหเกิดการรวมตัวกันและกอใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางสมาชิกใน กลุม นอกจากนี้กลุมจะรวมตัวกันและทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพยอมขึ้นอยูกับลักษณะของกลุม ดังพรรณทิพย (2541,หนา 54) ไดกลาวไว ดังนี้ 1. การรวมกลุมถาวร ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชุมชนธุรกิจซึ่งการรวมกันเปนกลุมยังตองคํานึงถึง คานิยมที่ใกลเคียงกัน ทัศนคติที่คลายคลึงกันและความเชื่อที่คลายกัน 2. การรวมกลุมยอยชั่วคราว ไดแก การเดินขบวน การจัดนิทรรศการ ซึ่งเกิดไดจากสาเหตุตางๆ เชน เมื่อมีจุดมุงหมายรวมกันเฉพาะครั้ง เชน โฆษณาชวนเชื่อทางการเมืองและการประทวง การรวมตัว กันของกลุมจะเกิดขึ้นไดยอมขึ้นอยูกับทัศนคติ คานิยมที่คลายคลึงกันซึ่งการรวมกลุมแตละกลุมยอมมีความ แตกตางกันไปแลวแตวัตถุประสงคและพื้นฐานทางความคิดของแตละบุคคล ซึ่งพรรณทิพย (2541,หนา 55)ไดกลาวถึงองคประกอบของการสรางมนุษยสัมพันธระหวางกลุมไว ดังนี้ 1. ตองเชื่อความสามารถและมีความไววางใจซึ่งกันและกัน ในการทํางานรวมกันสมาชิกตองมี ความไววางใจ เชื่อถือกันและใหเกียรติกันเชื่อวาสมาชิกแตละคนมีความสามารถที่จะทํางานของตนเองได ดวยตนเอง โดยไมกาวกายสิทธิหนาที่ของผูอื่น ถาสมาชิกแตละคนไมตองการความชวยเหลือ 2. สมาชิกพรอมที่จะชวยเหลือกันเสมอ เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ไมเกี่ยง งาน มีน้ําใจตอเพื่อนรวมงาน


3. มีการติดตอสื่อสารที่ดี การรวมกลุมผูนําและสมาชิกพยายามทุกวิถีทางที่จะใหทุกคนมีโอกาสได แสดงความคิดเห็นในปญหาและงานของกลุม การติดตอสื่อสารควรเปนไปในลักษณะสองทางหรือหลาย ทางสมาชิกควรรูจักการพูดในทางสรางสรรคมากกวาการทําลาย 4. รูจักการทํางานรวมกันอยางมีระบบ ความสัมพันธในกลุมจะเกิดขึ้น ถาการทํางานเปนไปอยางมี ขั้นตอน และเปนระบบที่คลองตัว หัวหนากลุมและผูปฏิบัติงานในกลุมรูจักวิธีการทํางานของตน 5. รูจักกระบวนการกลุมในการทํางาน การรวมกลุมจะตองใหสมาชิกทุกคนมีสวนรวมในการ ทํางานมีการจัดกระบวนการในการทํางานกลุมซึ่งจะทําใหงานลุลวงไปอยางรวดเร็ว นอกจากนั้น พึงพิศ (2539 : 350) ยังไดกลาวถึงลักษณะของการกลุมจะแตกตางกันไปขึน้ อยูกับผล ประโยชนที่จะไดรับจากกลุม ทําใหมีกลุมเกิดขึ้นมากมายในสังคมการแบงกลุมโดยทั่วๆ ไปวามี 2 แบบดังนี้ 1. กลุมที่เปนทางการ หมายถึง กลุมที่มีโครงสรางถาวรมีการตั้งระเบียบกฎเกณฑไวเปนลายลักษณ อักษรอยางแจมชัด เพื่อใหกลุมดําเนินไปอยางมีหลักการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะกลุมประเภทนี้มีจํานวนสมาชิก มาก ไมสามารถพูดคุยหรือเจรจากันดวยปากเปลาไดอยางทั่วถึง การปฏิบัติตนในการเขากลุมของสมาชิก เปนไปตามระเบียบขอตกลงที่วางไว เชน กลุมขาราชการหนวยงานกลุมสัมมนา สมาคม สโมสร เปนตน 2. กลุมที่ไมเปนทางการ หมายถึง กลุมที่ไมมีกฎเกณฑอันใดวางไวตายตัว อาจเปลีย่ นแปลงไปตาม สถานการณ เชน กลุมเพื่อน กลุมครอบครัว กลุมกีฬา เปนตน กลุมพวกนี้จะนัดพบกันตามเวลาที่สะดวกของ สมาชิก หรืออาจจะแยกยายจากกันไดตามความตองการ หรือตลอดเวลา ตองการการยอมรับจากกลุม หรือ ตองการความเปนเพื่อน ซึ่งมีการศึกษาและวิจัยเรื่องกลไกวิธีการในบางครั้งมนุษยเราอาศัยการเขากลุมหรือ องคกร เพราะหวังผลวาตนเองจะไดรับผลประโยชนอยางใดอยางหนึ่งจากกลุมหรือองคกรนั้น เชน ตองการ ความมีชื่อเสียง ตองการเงินทอง ตองการการยอมรับจากกลุม หรือตองการความเปนเพือ่ น การเกิดกลุมควรจะมีการจัดวางระบบและกระบวนการในการทํางานของกลุมที่ชัดเจนเพื่อใหการ ดําเนินงานของกลุมเปนไปในทิศทางเดียวกัน กิติ (2543 : 169) กลาววา กลุมที่ดีจึงควรมีลักษณะของกลุม ดังนี้ 1. วัตถุประสงคของกลุมเปนสิ่งที่สมาชิกไดรวมกันทํากําหนดขึ้น ทําใหเปนที่พอใจและยอมรับของ กลุม นั้น ก็หมายความวา วัตถุประสงคของกลุม ก็คือวัตถุประสงคของทุก ๆ คนในกลุมนัน้ เอง 2. กลุมตองแสดงใหประจักษวาคานิยมของกลุมมีความสําคัญซึ่งสมาชิกทุกคนยอมรับความสําคัญ ของคานิยมนั้น 3. บรรยากาศของกลุมตองมีลักษณะที่สนับสนุน หรือสรางความรวมมือของมวลสมาชิก เชน ยอมรับขอติชม คําวิจารณ ขอมูลตางๆ และขอเสนอแนะ แลวรวมกันพิจารณาตัดสินใจใหเกิดประโยชนแก กลุมมากที่สุด 4. กลุมตองพยายามใหสมาชิกทุกคนไดพัฒนาตนเอง มีความคิดสรางสรรค และการมีความคิดเห็น สอดคลองกันอยางสรางสรรคและถูกกาลเทศะ


5. กลุมตองใชการติดตอสื่อสารอยางถูกตองทุกวิถีทาง ทั้งภายในและภายนอกกลุมเพื่อใหเกิดประ โยชนมากที่สุด สมาชิกภายในกลุมจะตองหลีกเลี่ยงการพูดจาที่ไรสาระ และการซุบซิบนินทาหรือขาวลือ ตาง ๆ 6. กลุมตองใชกระบวนการกลุมเพื่อใหทุกคนเขาใจกันดี โดยเปดโอกาสใหสมาชิกมีโอกาส ผลัดเปลี่ยนกันแสดงความคิดเห็น การทํางานรวมกันเปนกลุมนั้น สมาชิกภายในกลุมตองมีการรวมแรงรวมใจกันและมีความตองการ ที่เปนไปในทิศทางเดียวกัน งานของกลุมจึงจะประสบผลสําเร็จและสิ่งที่สําคัญในการทํางานรวมกันเปน กลุมอีกอยางหนึ่งคือ ศักยภาพของสมาชิกในกลุมและผูนํากลุมที่ควรจะมีความรูและความสามารถในการ ชวยกันแกไขปญหาตาง ๆ รวมทั้งการวางแผนงานเพือ่ ใหมีความเขาใจตรงกันทุกคน อิทธิพลที่มีผลตอประสิทธิภาพของกลุม การทํางานรวมกันเปนกลุมนั้น กลุมจําเปนตองมีวัตถุประสงคที่แนนอนและเปนไปไดในทิศทาง เดียวกันเพื่อใหสมาชิกกลุมมีความเขาใจตรงกันและมีการทํางานที่สอดคลองกันเพื่อใหไดผลตามที่กลุมตั้ง ไวในการทํางานใหมีประสิทธิภาพของสมาชิกกลุมจะประสบผลสําเร็จไดนั้น ศักดิ์ไทย (2542, หนา 45) กลาววา ประสิทธิภาพในการทํางานกลุมจะมากขึ้นหรือลดลงนั้นยอมขึ้นอยูกับการทํางานรวมกับสมาชิก ลุมทั้งนี้เนื่องจากวากระบวนการที่สมาชิกกลุมกระบวนการที่สมาชิกกลุมทํางานรวมกันจะทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง (Dynamic) ขึ้นภายในกลุม ดังที่วากลุมมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของคนที่อยูในกลุม และการ เคลื่อนไหวตางๆภายในกลุมยอมสงผลทําใหการเปลี่ยนแปลงตางๆเกิดขึ้นภายในกลุม เพรามนุษยเราสวน ใหญยอมคลอยตามปทัสถานของกลุม เมื่อพฤติกรรมของสมาชิกกลุมเปลี่ยนแปลงไป แสดงวาผลของการ แสดงพฤติกรรมยอมจะเปลี่ยนแปลงไปดวย ซึ่งหมายความวาประสิทธิภาพในกลุมยอมถูกผลกระทบดวย เชนกัน นอกจากนั้น ศักดิ์ไทย (2542,หนา 46) ยังไดกลาวถึงอิทธิพลที่สําคัญที่มีผลตอประสิทธิภาพของ กลุมวามี 6 ประการ คือ 1. ตัวบุคคล ซึ่งหมายถึง สมาชิกทุกคนในกลุมซึ่งจะเปนตัวจักรสําคัญในการดําเนินงานทุกอยาง ของกลุมเพราะสิ่งตางๆ ที่จะทําใหกลุมเกิดความเจริญกาวหนาและคงความเปนกลุมอยูตลอดไป สมาชิก ทุกคนในกลุมจะตองรวมมือกัน รวมพลังทั้งทางกายและสมอง โดยการปฏิบัติตามบทบาทและหนาที่ที่ตน รับผิดชอบจนเต็มความสามารถใหมากที่สุดซึ่งบุคคลกลุมนั้นอาจแยกได 2 ประเภทดวยกัน คือ ผูนําหรือ หัวหนา และผูตามหรือสมาชิก 2. จุดหมายของกลุมซึ่งอาจกลาวไดวาเปนหัวใจของกลุม โดยกลุมจะตองพยายามทําทุกสิ่งทุกอยาง เพื่อใหกลุมไปสูเปาหมายที่ตองการใหได ทุกคนในกลุมตองรวมมือกันเปนอยางดีและสมาชิกทุกคนจะ ทํางานรวมมือกันเปนอยางดีก็ตอเมื่อจุดมุงหมายของกลุมสามารถสนองตอบความตองการของสมาชิกทุก คนไดมากที่สุด


3. ขนาดของกลุม กลุมเล็กหรือกลุมใหญจะทํางานไดมีประสิทธิภาพดีกวากันยอมขึ้นอยูกับ ประเภทของงาน งานบางอยางตองทําในกลุมเล็กจึงจะไดผลดี งานบางอยางตองทําในกลุมใหญจึงจะ ไดผลดี 4. คานิยมเปนองคประกอบอันหนึ่งที่จะชวยกําหนดทิศทางของกลุมเพราะกลุม จะมีคุณคามากนอย เพียงใด ขึ้นอยูกับกลุมนั้นทําถูกตองตามคานิยมของสมาชิกในกลุมหรือไม ถากลุมใดสมาชิกของกลุมมี คานิยมที่คลายคลึงกันกันมากก็ยอมจะทําใหกลุมมีประสิทธิภาพดีกวากลุมที่สมาชิกมีคานิยมแตกตางกัน 5. ปทัสถานของกลุม หมายถึง ระเบียบขอบังคับ หรือกฎเกณฑที่ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติที่ กลุมกําหนดใหสมาชิกทุกคนในกลุมไดยึดถือและยอมรับเปนแนวทางในการปฏิบัติปทัสถานนั้นมีอิทธิพล ตอการกระทําของมนุษยเปนอันมาก ทั้งนี้เพราะปทัสถานตางๆในกลุมจะไดรับอิทธิพลมาจากทัศนคติ ความเชื่อละคานิยมของกลุม หรือสังคม ซึ่งปทัสถาน แบงออกไดดังนี้ 5.1 วิถีประชา เปนแบบแผนที่เรายึดปฏิบัติกันจนเปนประเพณี 5.2 กฎ ศีลธรรม เปนแบบแผนความประพฤติที่ยึดถือกันในสังคมมีความสําคัญสูงกวาวิถี ประชา 5.3 กฎหมาย เปนระเบียบขอบังคับที่กําหนดขึ้นในสังคม เพื่อควบคุมใหสังคมอยูในความ เรียบรอย 6. การสื่อสารภายในกลุม เปนองคประกอบหนึ่งที่จะทําใหกลุมเกิดความมั่นคง การสื่อสาร โดยทั่วไปมักเปนการสื่อสารทางเดียว อันเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดความขัดแยงภายในกลุมอยูเสมอ การสงเสริมการรวมกลุมใหมีประสิทธิภาพนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีระเบียบ ขอบังคับของ กลุมรวมทั้งสมาชิกของกลุมตองมีความเขาใจในบทบาทและปฏิบัติหนาที่ตามบทบาท ลักษณะของกลุมที่มีประสิทธิภาพหรือเขมแข็ง การที่กลุมจะอยูไดนานนั้นกลุมจะตองมีความเหนียวแนนพอที่จะรักษาใหกลุมคงอยูตอไปได โดย ที่จะตองมีการบริหารกลุมที่ประสิทธิภาพที่เขมแข็ง สมาชิกมีความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน มีความรูสกึ เปน สวนหนึ่งของกลุมตลอดจนคิดที่จะพัฒนากลุมใหอยูตลอดเวลา ลักษณะของกลุมที่มีประสิทธิภาพหรือเขมแข็ง จีรพรรณ (2523, หนา 263) ไดกลาวไวดังนี้ 1. กลุมสามารถชวยตอบสนองความตองการของสมาชิกใหบรรลุวัตถุประสงค 2. สมาชิกมีทัศนคติที่ดีในการทํางานกลุม 3. สมาชิกในกลุมมีความสามารถในการทํางานรวมกัน 4. สมาชิกในกลุม มีความพึงพอใจในการทํางานรวมกัน 5. สมาชิกมีความรวมมือกันในการทํางาน 6. สมาชิกมีโอกาสพบปะสังสรรคกันเสมอ 7. สมาชิกเขาใจบทบาทและหนาที่ของแตละคนในกลุม


8. กลุมขนาดเล็กจะมีความเหนียวแนนกวากลุมขนาดใหญ 9. ความคลายคลึงกันบางประการของสมาชิกชวยใหกลุมมีการมีกลุมที่มีความเหนียวแนน 10. ถากลุมไดรับการยกยองจากสังคมจะทําใหกลุมมีความเหนียวแนนยิ่งขึ้น ความเขมแข็งของชุมชนนั้น ธีระพงษ (2546, หนา 44-55) ไดกลาวไววา กลุมองคกรนั้นมีสวน รวมในโครงการสาธารณชุมชน ตั้งแตการตัดสินใจ การวางแผน การดําเนินการระดมทรัพยากร และการ ประเมินผล ภายใตสวนรวม ทําใหทุกกลุมหรือทุกองคกรในชุมชนมีบทบาทสําคัญ เราอาจพิจารณาความ เขมแข็งจากองคประกอบเกี่ยวกับชุมชนเขมแข็งได ดังนี้ 1. มีอุดมการณของกลุมชัดเจน 2. มีการบริหารจัดการที่ดีเปนระบบ 3. มีการทํากิจกรรมที่ตอเนื่อง 4. มีทุนในสัดสวนที่พอเพียง 5. มีเครือขาย ความรวมมือทั้งภายในและภายนอกกลุม 6. มีอํานาจตอรองกับหนวยงานภาครัฐที่จะตองใหการสนับสนุน 7. กลุมไดรับการยอมรับจากสังคมภายในและภายนอก สรุปไดวา กลุมที่มีประสิทธิภาพอยางเต็มทีห่ รือเขมแข็งนั้น มาจากการมีผูนํากลุมที่มีความสามารถ และสมาชิกมีสวนรวมในการทํางาน มีวัตถุประสงคในการทํางานที่ชัดเจน การพัฒนาของกลุม มนุษยถึงแมวาจะอยูคนเดียวก็จะตองเผชิญปญหาอยูตลอดเวลาเปนปญหาเฉพาะตัว เชนความหิว โหย การเจ็บปวย เปนตน (กิต,ิ 2543 : 164) แตถามนุษยตั้งแต 2 คนขึ้นไปมาอยูรวมกันเปนกลุมจะทําใหเกิด ปญหา หรือขอขัดแยงเพิ่มขึ้น จากปญหาเฉพาะตัวเปน ปญหาระหวางบุคคลกับบุคคล ระหวางบุคคลกับ กลุม หรือระหวางกลุมกับกลุม คนยิ่งมากขึ้น ปญหาหรือขอขัดแยงยิ่งมากขึ้นหรือใหญโตขึ้นเปนเงาตามตัว ขอขัดแยงหรือปญหาตาง ๆ จะเกิดขึ้นไดตลอดเวลาหรือทุกระยะของการรวมตัวเปนกลุมของมนุษย ปญหา ตาง ๆ เหลานั้นจะตองไดรับการแกไขที่ถูกตองและเหมาะสมใหเรียบรอยโดยเร็วที่สุด พรอมกันนั้นกิจกรรม ตาง ๆ ของกลุมจะตองไดรับการปรับปรุงแกไขอยูตลอดเวลา สภาพของกลุมซึ่งอาจจะเสื่อมโทรมลงไปในขณะทีเกิดปญหาก็จะฟนฟูกลุมใหพนสภาพเสื่อม โทรมกับคืนสูสภาพปกติภายหลังจากที่ไดแกไขปญหาตาง ๆ ไดสําเร็จ หรืออาจจะตองมีการปฏิรูปกลุมเสีย ใหมใหเปนกลุมทีดีมีสภาพเปนปกติเชนเดิม กลุมจึงจะมีอายุยืนยาวตอไปได แตถาปญหาของกลุมเหลานั้น ไมไดรับการแกไขใหกลุมกลับคืนสูสภาพปกติ สภาพของกลุมก็จะยิ่งเสื่อมหรือทรุดโทรมลงไปเรื่อย ๆ นาน ไปความรวมมือระหวางมวลสมาชิกจะลดลงจนไมมีเหลือ สมาชิกกลุมจะเกิดความรูสึกวากลุมจะไปไมรอด


ทุกคนตางก็จะพยายามหาทางเอาตัวเองรอด ชวยตัวเองใหพนภัยในทุกวิถีทาง เมื่อเปนเชนนี้ผลผลิตหรือการ ดําเนินงานของกลุมก็ยอมจะลดลงเรื่อย ๆจนกระทั่งถึงศูนย และในที่สุดกลุมก็จะตองแตกสลาย จากที่กลาวมาแลวจะเห็นไดวา เมื่อมนุษยมารวมตัวกันจนเกิดเปนกลุมไมวากลุมนั้นจะเปนกลุม ใหญ ไมวากลุมนั้นจะอยูที่ไหนหรือประกอบกิจกรรมอะไร กลุมจะมีวัฎจักร (life cycle)ประกอบดวย 4 ระยะดังนี้ (กิต,ิ 2543 : 165-175) 1. ระยะการพัฒนากลุม 2. ระยะการประสบปญหา 3. ระยะการแกปญหา 4. ระยะการฟนฟูสภาพและการปฏิรูป ระยะการพัฒนากลุม เมื่อมีการรวมตัวกันของมนุษย พัฒนาเปนกลุมหรือองคการขึ้นแลว จําเปนที่จะตองมีผูนําของกลุม ทั้งผูนําและสมาชิกของกลุมจะตองมีความจริงใจอยางแนวแนที่จะรวมมือรวมใจกันเอาชนะปญหา อุปสรรค รวมทั้งขอขัดของและสิ่งขัดขวางการพัฒนาตาง ๆ ซึ่งจะตองเกิดขึ้นมาอยางแนนอนใหไดมากที่สุดทีจ่ ะมาก ได หรือใหหมดไปใหได ในระยะเริ่มตนของการพัฒนากลุมหรือองคการจะไมสามารถประสบความสําเร็จ ไดถาสมาชิกมีความระแวงกันสงสัย หรือกลัวสมาชิกจะไมยอมรับกันและกัน สมาชิกจะมีความรูสึกไม ตองการและไมมีประโยชนที่จะเขารวมกับกลุมฉะนั้นการพัฒนากลุมระยะแรกจะเปนระยะของการสรา งบรรยากาศใหมวลสมาชิกมีความเชื่อใจไวใจ และยอมรับตัวผูนํารวมทั้งเพื่อนสมาชิกของกลุมดวยกันลด ความกลัวกับความไมเชื่อมันของตัวสมาชิกเอง และใหมีการสนับสนุนเกื้อกูลกันและกันเนื่องจากผูทีเริ่มเขา มาเปนสมาชิกของกลุมใหม ๆ จะมีความคิดหรือความรูสึกทีคอนขางจะสับสนกระวนกระวายอยูในใจวา ตนเองจะตกอยูฐานะอยางไร คนอื่น ๆ เขาจะยอมรับเราไหมจะมีความมั่นคงปลอดภัยแคไหนในการที่อยู รวมกับกลุมนี้ ถาสิ่งเหลานั้นไดรับการพิสูจนวาไมมีปญหา สมาชิกของกลุมทุกคนจะพอใจ ก็จะทําใหมีการ พัฒนากลุมทีดีตอไป กลุมที่ดี จะตองมีการพัฒนากลุมใหมีประสิทธิภาพซึ่งการพัฒนากลุมนั้น ตองอาศัยเวลาและความ อดทนของสมาชิกกลุม ผูนําของกลุมตองเปนผูที่มีลักษณะความเปนผูนําที่ดีจนเปนที่ยอมรับนับถือและ ไดรับการไววางใจจากกลุม ผูนําของกลุมที่ดีตองใหโอกาสแกสมาชิกไดรว มงานและแสดงออกทุกวิถีทาง เพื่อที่จะพัฒนาตนเองไปเปนผูนําทีดีในอนาคต รวมทั้งสมาชิกของกลุมทีดีควรจะมีลักษณะดังนี้ 1. ยึดมั่นในอุดมการณของกลุมพยายามปฏิบัติหนาที่ของตนใหสมบูรณเพื่อใหบรรลุ อุดมการณของกลุม 2. มีความภักดีตอกลุม สมาชิกแสดงออกโดยมีความซือ่ ตรงตอกัน 3. ยอมรับวัตถุประสงคของกลุมที่รวมกันกําหนดขึ้น ทําใหกลุมสามารถดําเนินงานไดจน บรรลุวัตถุประสงค


4. ปรับคานิยมของตน ใหเขากันไดกลมกลืนกับคานิยมและวัตถุประสงคของกลุม 5. ไววางใจซึ่งกันและกันในมวลหมูสมาชิก 6. ทุกคนรูจักและเขาใจบทบาท หนาที และสิทธิของตนเปนอยางดี และเขาใจที่จะแยกระหวางสิทธิ และหนาที่ออกจากกันไดอยางกระจางชัดเจน จึงทําใหสามารถทํางานเปนกลุมไดอยางดีเต็มประสิทธิภาพ 7. ทุกคนเชื่อในความสามารถของเพื่อนสมาชิกคนอื่น ทําใหเปนแรงกระตุนใหทุกคนไดพัฒนา ตนเอง อยางเต็มที่ 8. สมาชิกทุกคนพรอมทีจะชวยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อจําเปน กลุมที่มีการพัฒนาแลว จะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งกลุมที่ผาน การพัฒนาแลวจะมีลักษณะดังตอไปนี้ 1. มีการกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายของกลุมอยางชัดเจน 2. มีการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลในกลุมเปนอยางดี 3. มีวิธีการขจัดปญหาและขอขัดแยงอยางเหมาะสม 4. มีการรวมมือประสานงานระหวางสมาชิก 5. มีความเชื่อถือไววางใจ จริงใจ เปดเผย เห็นอกเห็นใจกันในหมูสมาชิก 6. มีการกระตุนใหสมาชิกมีความคิดสรางสรรคและระดมสมองหรือความคิดอานความสามารถ ประสบการณ ของสมาชิกแตละคนมาใชประโยชนไดอยางเต็มที่ โดยเปดโอกาสใหสมาชิกทุกคนอยางเทา เทียมกัน 7. มีมาตรการในการควบคุมกลุมอยางไดผล 8. มีหัวหนากลุมที่มีความเปนผูนําอยางมีประสิทธิภาพ 9. เปนกลุมที่ไมมีสภาพหรือบรรยากาศของการเอาแพ เอาชนะระหวางสมาชิกในกลุม 10. สมาชิกแตละคนมีความเลื่อมใสศรัทธา หรือเห็นคุณคาของการทํางานโดยกระบวนการของ กลุมที่เปนระบบ ระยะการประสบปญหา เมื่อมนุษยมารวมตัวกันเปนกลุมและสามารถดําเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ กําหนดขึ้นไดแลวสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาอยางหลีกเลียงไมไดดังที่กลาวมาแลวในตอนตนคือปญหาคนยิ่งมาก หรือกลุมยิ่ง ใหญปญหาก็จะมากหรือใหญดวยเปนเงาตามตัวและก็พบอยูบอย ๆวามีปญหาเกิดขึ้นมาโดยไม คาดฝน ปญหาของกลุมเปรียบเสมือนโรคภัยของมนุษย คนไขที่ปวยหนักจําเปนตองไดรับการเยียวยารักษา ที่ดีและถูกตอง มิฉะนั้นผูปวยนั้นก็จะตองถึงแกความตายฉันใดกลุมที่ประสบปญหาหนักหรือปญหายากก็ จําเปนที่ตองไดรับการแกปญหาที่ดีและถูกตองใหหมดปญหาใหไดโดยเร็วทีสุด มิฉะนั้นกลุมก็จะตองแตก สลายเชนเดียวกัน


ปญหาที่เกิดขึ้นกับกลุมมักมีสาเหตุมาจากสมาชิกของกลุมรวมทั้งผูนําและจากการงานกลุมเอง โดย มีสาเหตุทีสําคัญดังนี้ 1. สมาชิกของกลุมถูกบอกใหหยุดงานหรือเปลี่ยนงาน ทําใหผูนั้นรูสึกตัววาหมดอํานาจ หรือ ไมมีคุณคา 2. เกิดมีขอมูลใหม ๆ ขึ้นมาโดยไมมีการอธิบายใหกระจางชัด ทําใหสมาชิกของกลุมที่เกี่ยวของ ตองการคําตอบหรือคําอธิบาย อาจทําใหเกิดความรูสึกตองาน ตอกลุม ตอสมาชิก ตอผูอื่นหรือตอผูนําผิด แผกไปจากเดิม 3. ผลการตัดสินใจของผูนําบางประการที่ไมมีการอธิบายใหกระจางชัดเจนทําใหเกิดความกังวลขึ้น ในหมูสมาชิกของกลุมได 4. ความแตกตางขั้นพื้นฐานของสมาชิกที่เกี่ยวกับงานที่เกิดขึ้นอยางชัดเจนจะทําใหเกิดการแบงกลุม สมาชิกออกเปน 2 พวก เชน พวกพื้นฐานต่ํากับพวกพื้นฐานสูง 5. เกิดมีการขัดแยงระหวางบุคคลหรือระหวางพวกอยางชัดเจน ระยะการแกปญหา ปญหาหรือขอขัดแยงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นไมใชเรื่องยากเกินฝมือมนุษยถาตองการจะแกไข เพราะฉะนั้นในการแกปญหาจึงจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองไดรับความรวมมือรวมใจกันในระหวางหมูมวล สมาชิกทุกคนของ กลุมดวยความจริงในและความรัก เมตตากรุณาของสมาชิกทุกคน โดยผูนําจะตองแสดง ฝมือหรือความสามารถในการสรางความรวมมือรวมใจใหเกิดขึ้นใหได และตองขอใหทุกคนชวยกันตอสู เอาชนะปญหาและขอขัดของตาง ๆ ใหสําเร็จเปนระยะ ๆ ไป การทิ้งปญหาเอาไวหรือการหลีกเลี่ยงปญหาจะ เปนการสะสมปญหาใหมากขึ้น และ ใหญโตขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดจะหมดหนทางแกไข วิธีการแกปญหา เมื่อเกิดปญหาและขอขัดของแลว จะตองแกไขใหไดทุกเรื่องโดยเรียงตามลําดับความสําคัญ กอนหลังที่ไดจัดไวแลว โดยจะตองแกไปตามสาเหตุทุกขอของใจแตละปญหา สาเหตุของปญหา สามารถ แบงได 2 ดาน 1. ดานการทํางาน จะตองมีการรวบรวมผลงานอยางละเอียดของแตละบุคคลไวเปนหลักฐานเพื่อใช ในการประเมินผลงาน ตั้งแตปริมาณและคุณภาพของผลงาน รวมทั้งประเมินผลของการตัดสินใจและผลที่ เกิดจากการแกปญหาขั้นสุดทายก็จะทําใหทราบถึงผลงานของแตละบุคคลวาบรรลุเปาหมายหรือมีความ บกพรองแคไหน ทั้งนี้กระทําไดโดยการตั้งคณะกรรมการประเมินผลขึ้นมาคณะหนึ่งเพื่อทําหนาที่ ประเมินผลงานของแตละคนโดยอาศัยสถิติและขอมูลที่บันทึกไวอยางละเอียดและถูกตองตามความเปนจริง แลวแกปญหาเปนเรื่อง ๆ ตามลําดับดวยความยุติธรรมไมมีการเลือกที่รักมักที่ชัง เรื่องนีเ้ ปนเรื่องสําคัญที่


จะตองระมัดระวังเปนพิเศษมิฉะนั้นคณะกรรมการ ชุดนี้อาจจะกลายเปนผูนําใหเกิดปญหามากขึ้น ทําใหมี การแตกแยกระหวางหมูสมาชิกของกลุมมากขึ้น แทนที่จะมาชวยแกปญหาการแตกแยกภายในกลุม 2. ดานความรูสึกและสังคมภายในกลุม ทุกคนที่เกี่ยวของภายในกลุมมีความเขาใจและขอใหความ รวมมือรวมใจกันแกไขปญหาตอไปเรื่อย ๆ กลุมตองมีการตรวจสอบโครงสรางของกลุมทุกดาน ทั้งดานการ บริหารและการดําเนินงาน พรอมทั้งแนะนําใหสมาชิกของกลุมหันกลับไปมองอดีตตั้งแตเริ่มพัฒนากลุม ขึ้นมา สมาชิกกลุมตองมีความระลึกถึงและทบทวนผลงานทั้งหลายที่ผานมาและยอมรับความผิดพลาดและ ขอบกพรองตาง ๆ ของกลุม เพื่อนํามาชวยกันแกไขปรับปรุงโครงสรางของกลุมเสียใหมใหเหมาะสม ถามี ความจําเปน ซึ่งรวมทั้งวิธีการทํางานและกฎระเบียบตาง ๆ ของกลุม ผูนํากลุมและสมาชิกกลุมตองมีการ วิเคราะหความรุนแรงของความแตกแยกภายในกลุม พรอมทั้งคนหาสาเหตุของความแตกแยก เพื่อที่กลุมจะ ไดรวมมือกันแกไขตามสาเหตุนั้น ๆ การทําใหเกิดความรวมมือกันทั้งผูนําและมวลสมาชิกทุกคนในการแกปญหาทุกเรื่องและทุกจุดมี ความสําคัญมาก เพราะจะทําใหสมาชิกแตละคนเกิดความรูสึกภูมิใจทีเ่ ปนผูหนึ่งที่มีสวนในการแกปญหา ของ กลุมหรือองคการ ซึ่งจะมีผลในเรื่องของความรวมมือในการทํางานและการพัฒนากลุมเปนอันดับตอไป ระยะการฟนฟูและการปฏิรูปกลุม ความรวมมือของกลุมในการแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในกลุม เมื่อปญหาภายในกลุมถูกขจัด ไดสําเร็จแลว กลุมจําเปนที่จะตองรีบปรับปรุงสภาพของกลุมใหกลับคืนสูสภาพเดิมหรืออาจจําเปนที่จะตอง ทําการปฏิรูปกลุมใหดีขึ้นกวาเดิมอีก ทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับการทํางานและเรื่องความรูสึกและสังคมภายในของ กลุมโดยมีกิจกรรมดังตอไปนี้ 1. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทํางาน การอธิบายใหสมาชิกทุกคนเขาใจอยางกระจางชัดและถูกตองถึง ปญหารวมทั้งขอมูลและประเด็นตาง ๆ ที่นํามาใชในการรวมกันแกปญหา ทั้งนี้เพื่อใหทุกคนทราบและเขาใจ ไปแนวทางเดียวกัน ขอมูลตาง ๆ ที่ประเมินไดจากการประเมินผลในระยะแกปญ  หานั้น จะตองเชื่อถือได เหมาะสมและสามารถที่จะนํามาปฏิบัติไดจริง สมาชิกกลุม ตองยอมรับการมีสวนรวมของทุก ๆ คน เพื่อเปน การสงเสริมและกระตุนใหเกิดความรวมมืออยางเต็มที่ของมวลสมาชิกทุกคน รวมถึงการสรางกฎระเบียบ ของกลุมขึ้นมาใหม กฎระเบียบเหลานั้นควรกระตุนใหทุกคนเกิดแนวความคิดใหม ๆ 2. กิจกรรมที่เกี่ยวกับความรูสึกและสังคมภายในกลุม กลุมตองพยายามคนหาวิธีแกไขปญหาแทนที่ จะพยายามหาความขัดแยงของมวลสมาชิก ตองมีการปรับปรุงหรือปฏิรูปโครงสรางของกลุมขึ้นใหม การ ปรับปรุงนั้นตองทําใหสมาชิกมีความพอใจในการใชทรัพยากรตางๆ ของกลุมที่มีอยูแลวเพื่อนํามาใชใหเกิด ประโยชนกับกลุมใหมากที่สุด การพัฒนากลุมทั้ง 4 ระยะนั้น ดําเนินไปเปนวงจรของการดําเนินการและความเจริญของกลุมตราบ ใดที่กลุมยังสามารถแกไขปญหาได แตถาเกิดกลุมปลอยปละละเลยไมแกไขปญหาปลอยใหปญหาสะสม จนถึงขั้นที่ไมสามารถแกไขได วงจรของความเจริญหรือการพัฒนากลุมก็จะแตกออกมาจนกระทั่ง ถึงขั้น


สุดทายที่หมดหนทางแกไข คือ กลุมแตกสลาย การทําใหกลุมดํารงอยูและพัฒนาตอไปมีปจจัยที่สําคัญหลาย ประการดังที่ อักษร (2543 : 21) กลาววา กลุมที่เกิดขึ้นอาจมีการพัฒนา หรือเจริญเติบโตขั้นตอไปหรืออาจ สลายไปหลังจากบรรลุกิจกรรมหรือเปาหมายที่สมาชิกกลุมตองการแลวก็ได การพัฒนาของกลุมอาจสูงขึ้น หรือสลายไปยอมแลวแตปจจัย 4ประการดังตอไปนี้ 1. คนเกิดแรงจูงใจที่จะเขารวมกลุมเพราะแรงกระตุนจากเจาหนาที่ของรัฐ การชักชวนของผูนํา หรือ ความตองการของตนเอง แตยังขาดความรู ความเขาใจ และประสบการณในการทํางานเปนกลุม ลักษณะนี้ กลุมจะพัฒนาตอไปอีกโดยจะมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น 2. แรงจูงใจในการรวมกลุมลดลง เนื่องจากความผิดหวังหรือมีปญหาอุปสรรคในการปรับตัวทําให คนในกลุมเกิดความทอแท และถาหากไมมีการแกไขจํานวนสมาชิกในกลุมอาจจะลดลงจนถึงกลุมสลายไป ในที่สุด 3. สมาชิกมีการปรับตัว โดยไดรับความรูใหม ๆ และพยายามเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้นซึ่งจะทําใหกลุม ดํารงอยูไดและพัฒนาตอไปไดอีก 4. กลุมมีความสัมพันธที่ดี ทั้งผูน ําและสมาชิกไดรับการสนับสนุน จะทําใหกลุมดํารงอยูตอไปได เพราะไดรับความรวมมืออันดีจากสมาชิกไมวากลุมจะพัฒนาตอไป หรือกลุมจะลมสลาย การทํางานในกลุม จะตองอาศัยความรวมมือของสมาชิกกลุม หากสมาชิกไมรวมมือ รวมพลังทํางานกลุม งานทุกอยางก็ไม สามารถประสบผลสําเร็จได ทั้งนี้เพราะการรวมกันทํางานตองอาศัยการประสานงานหลังจากสมาชิกกลุม เพื่อใหงานดําเนินไปดวยดี หากขาดความรวมมือกลุม ยอมไมสามารถทํางานที่ตั้งหวังไวไดสําเร็จ (พีระพงษ, 2546 : 9) กลาววา ขั้นตอนการพัฒนากลุมในแงของการปฏิบัตินั้นควรมีหลักในการปฏิบัติดังนี้ การจัดตั้งกลุมตองคํานึงถึงความเหนียวแนนและประสิทธิภาพขององคกรเปนหลัก เชน 1. กลุมจะตองเกิดจากความตองการของชุมชนและความสมัครใจ 2. กลุมตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนรวมกันของสมาชิก 3. กลุมจะตองมีความสัมพันธและบรรยากาศแหงความรวมมือของสมาชิก 4. กลุมจะตองกําหนดหนาที่ใหสมาชิกรูจักบทบาทหนาที่ของตน เห็นแกประโยชน ของกลุมมากกวาประโยชนสวนตน 5. กลุมตองกําหนดหนาที่สมาชิกใหชัดเจน นอกเหนือจากการประชุม 6. กลุมจะตองมีระเบียบวินยั อยูรวมกันอยางมีกฎเกณฑ 7. กลุมจะตองสามารถดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง ยั่ว ยุสมาชิกใหมาพบปะกันบอยครั้ง มีแผนงาน มีกิจกรรมสนองตอบความตองการของสมาชิกกลุม จะตองมีเปาหมายการเพิ่มสมาชิก หรือประเมินผลกลุมเอง


งานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการวิจัยนี้ เพื่อใหทราบวาในวงวิชาการที่ผานมามี การศึกษาเกี่ยวกับประเด็นสภาพปญหาของกลุม ซึ่งมีการศึกษาในประเด็นที่แตกตางกัน การทบทวน วรรณกรรมนี้จะชวยใหผูศึกษาทราบถึงแนวทางในการศึกษา ทางผูศึกษาจึงไดมีการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวของกับการวิจัย ทั้งหมด 4 เลม ดังนี้ บุญรอด คําทะริ (2549) ไดศึกษา สภาพการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนทอผาในจังหวัด อุดรธานี ไดมุงศึกษากลุมวิสาหกิจชุมชนทอผาในจังหวัดทั้งหมด 112 วิสาหกิจชุมชน การกอตั้งวิสาหกิจ ชุมชนทอผาเกิดจากการแกไขปญหารวมกันของกลุม มีเงินทุนในการดําเนินกิจกรรมจากการระดมทุนจาก สมาชิก การบริหารกลุมมีการบันทึกที่ชัดเจน ไดกําหนดเปาหมายและทิศทางการดําเนินงานของวิสาหกิจ ชุมชน อีกทั้งวิสาหกิจชุมชนทอผามีโครงสรางหนาที่ แบงหนาที่กัน มีกฎระเบียบ ขอบังคับ จดบัญชี การเงิน/บัญชี และเปดเผยขอมูลดานการเงินใหแกสมาชิกทุกคนทราบ นอกจากนั้น บุญรอด คําทะริ ยังพบวา วิสาหกิจชุมชนกลุมทอผา มีความตองการการสนับสนุน ทั้งดานการบริหารองคกร ความตองการการสนับสนุนมากที่สุดในเรื่องการบริหารจัดการเงินทุน เรื่องการ วางแผนดําเนินงาน เรื่องความรูเรื่องการตลาด เรื่องการถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูภูมิปญญาทองถิ่นกับ วิสาหกิจชุมชนทอผาในจังหวัดอื่น เรื่องความรูการออกแบบบรรจุภัณฑ เรื่องการพัฒนาผูน ําและสมาชิก จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวา วิสาหกิจชุมชนทอผาในจังหวัด อุดรธานี ตางๆ ผูศึกษาจึงเห็นดวยกับงานชิ้นนี้ เพราะงานวิจัยชิ้นนี้นั้นมีการอธิบายใหเห็นถึงสภาพปญหา และยังศึกษาเกี่ยวกับความตองการของวิสาหกิจชุมชนทอผา รวมไปถึงขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนิน วิสาหกิจชุมชนทอผาดังนี้ ควรใหความรูเพิ่มเติมในเรื่องเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี เพื่อแกไขในการบริหาร จัดการเกี่ยวกับการใชจายเงินใหเปนไปอยางมีระบบ ควรใหการสนับสนุนการวางแผนดําเนินงานในทุก ดานของวิสาหกิจชุมชนแกสมาชิกโดยเปนเวทีที่เปดโอกาสใหสมาชิกมีสวนรวมมากขึ้น


นอกจากงานชิ้นนี้แลวยังมีงานที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งเปนงานวิจัยของ ทอนจันทร วงศพรหม (2540) ไดศึกษา ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินงานของกลุมแมบานเกษตรกรบานสวาง ตําบล ศรีสวาง อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ไดมุงศึกษากลุมแมบานเกษตรกรบานสวาง ตําบลศรีสวาง อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด เปนการรวมกันในหมูบานเพื่อจะกระจายความรูไปสูครอบครัวเกษตรกร อีกทาง ซึ่งสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก จึงรวมตัวเปนกลุมแมบานเกษตรกร ขึ้นบัญชี เปนสมาชิกตอสํานักงานเกษตรอําเภอโพนทราย โดยมีหนาที่ตามกระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด 3 ดาน ดานแรก การพัฒนาครอบครัว เชน การดูแลความเปนอยูของสมาชิก การจัดหาทรัพยากรเพื่อ ประโยชนของครอบครัว และการหาอาชีพเสริมรายไดใหแกครอบครัว ดานที่สอง การพัฒนาอาชีพ การเกษตร เชน เปนแรงงานสําคัญในการผลิตทางการเกษตร การคัดเลือกพันธุ และการจําหนาย ดานที่ สาม ดานสังคม เชน การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตางๆเพื่อประโยชนในการพัฒนาทองถิ่นของตน นอกจากนั้น ทอนจันทร วงศพรหม ยังพบวาการดําเนินงานของกลุมทั้ง 5 กิจกรรม คือ การปลูกหมอนเลี้ยงไหม การทอผาพื้นเมือง การแปรรูปอาหารตามฤดูกาล รานคากองทุนหมูบาน และ ธนาคารขาว ถือวาประสบความสําเร็จในการดําเนินงาน สามารถที่จะสรางงาน รายได และความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคม เกิดขึ้นภายในบานสวาง เนื่องจากการดําเนินงานของกลุมที่มีประสิทธิภาพ การทํางานมีระบบ อาจจะเกิดมาจากการดําเนินงานถึง 13 ป มีความชัดเจน และกาวหนาในเปาหมายใน การดําเนินงานแตละกิจกรรม แตละกิจกรรมมีขั้นตอนการผลิตที่ไมซับซอน มีการวางแผนกอนดําเนินงาน แตละครั้ง การประสานงานภายในกลุมดี กลุมสามารถแกไขปญหาอยางมีเหตุผล มีประสิทธิภาพ และให ความสําคัญการทําหนาที่ของสมาชิกในแตละกิจกรรม จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวา การดําเนินงานของกลุมเกษตรกร เกิดจากปจจัยดานตางๆ ผูศึกษาจึงเห็นดวยกับงานชิ้นนี้ เพราะงานวิจัยชิ้นนี้นั้นมีการอธิบายใหเห็นถึง ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินงานของกลุม มี 3 ปจจัย คือ สวนบุคคล ไดแก ความสามารถ ของสมาชิก ระดับอายุกลุม ที่มีมากทําใหมีประสบการณและมีฐานมัน่ คง การไมมีตําแหนงอื่นในหมูบาน มีทักษะความชํานาญเฉพาะ ระยะเวลาในการเปนสมาชิกกลุมตั้งแต 3 ปขึ้นไป และมีทัศนะที่ดีตอกลุม ปจจัยทางเศรษฐกิจ และสังคม ไดแก ระดับเศรษฐกิจของกลุมมีรายไดที่ดี พึ่งตนเองได หรือมีเงินทุน หมุนเวียน มีสภาพการจําหนายผลิตภัณฑของกลุมที่มีลูกคามารับทั้งในหมูบานและฝากขายรานคาใน ตัวเมือง รายไดสมาชิกที่สามารถจุนเจือครอบครัว และกูยืมเงินไปลงทุนในกิจกรรมของตนได การมีผูนํา


กลุม ที่มีความรู ความสามารถ ใจกวาง และเสียสละ มีการทํางานรวมกันแบบรวมมือรวมใจของสมาชิก ปจจัยทางดานระบบงาน ไดแก มีการฝกอบรมความรูจากเจาหนาที่ การสนับสนุนการปฏิบัติงานจาก เจาหนาที่กอนเปนสมาชิก การพัฒนางานอาชีพกลุม และการสนับสนุนอาชีพเพื่อเสริมรายไดและ ครอบครัวดีขึ้น ซึ่งถือไดวาในงานวิจัยชิ้นนี้มีการศึกษาอยางละเอียดครบถวน นอกจากงานชิ้นนี้แลวยังมีงานที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งเปนงานวิจัยของ สุภาพร พรหมนิยม (2542) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีและผลกระทบ ตอชุมชนชนบท กรณีศึกษาบานนาโพธิ์ อําเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย ไดมุงศึกษาปจจัยที่นําไปสู ความสําเร็จ 2 ปจจัยคือ ปจจัยภายในที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ ไดแก 1. แรงบันดาลใจ จากการไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ ความสนใจใฝรู ความคิดที่อยากจะ ทอผาเปน ความมีใจรักและชอบในการทอผา ลวดลายและสีในตัวผืนผาไหม 2. เจตคติ มีความรูสึกชอบและรักในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ 3. การเรียนรู มีการเรียนรูที่เปนระบบและมีขั้นตอน คือ การเรียนรูขั้นพื้นฐาน การเรียนรูขั้น ชํานาญการ และการเรียนรูขั้นประกอบอาชีพได 4. ความคาดหวังตออาชีพ ผูประกอบธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ตองการที่จะสรางรายไดใหกับ ครอบครัว การสรางงานในทองถิ่น การอนุรักษศิลปะพื้นบาน การหาอาชีพที่แนนอนใหกับตนเอง และ การลดแรงงานการยายถิ่น สวนปจจัยภายนอกที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ ไดแก 1. ดานการผลิต มีการรักษามาตรฐานคุณภาพการผลิต 2. ดานการตลาด การสรางเครือขายการตลาด 3. ดานแรงงาน สวนใหญใชแรงงานในครอบครัว 4. ดานการเงิน มีเงินหมุนเวียนอยางเพียงพอ 5. การมีสวนรวมของสมาชิก มีการกระจายหนาที่กันทํา แบงหนาที่กันทํา 6. ความเปนผูนํา


นอกจากนั้นแลว สุภาพร พรหมนิยม ยังพบวา ปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหม มัดหมี่ของกลุมสตรี ยังมีการสงผลกระทบทั้งดานบวก และดานลบ โดยผลกระทบทางดานบวกจากการ ประกอบธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีในชนบทที่มีตอชุมชน พบวา ประชาชนมีรายไดเพิ่มขึ้น การอยูรวมกันเปนครอบครัว ประชาชนมีสวนรวมในการผลิต ลดปญหาการวางงาน และลดการยายถิ่น ของแรงงาน ผลกระทบทางดานลบ พบวาปญหาดานสิ่งแวดลอมทางดานน้ํา ปญหาสารเคมีจากการยอมสี ที่สงกลิ่นเหม็นรบกวน และควันไฟจากการตมไหลลอกกาวออก ฟอกไหม และยอมสี จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวาปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจ การทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรี ซึ่งผูศึกษาเห็นดวยกับงานชิ้นนี้ เพราะในงานชิ้นนี้มีการศึกษาถึงปจจัยที่ นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรี อีกทั้งยังอธิบายถึงผลกระทบทางดานบวก จากการประกอบธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีในชนบทที่มีตอชุมชน และผลกระทบทางดานลบ จากการประกอบธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีในชนบทที่มีตอชุมชน ซึ่งถือวางานชิ้นนี้มี การศึกษาอยางละเอียดครบถวน นอกจากงานชิ้นนี้แลวยังมีงานที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งเปนงานวิจัยของ สุนันทา ตั้งสถิต (2546) ไดศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดของหมูบานขา อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งมุงศึกษา แนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดหมูบานนาขาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิด มีดังนี้ 1. ดานผลิตภัณฑ พบวา ผูจําหนายผาหมี่ขิด และผูซื้อผาหมี่ขิดตางใหความสนใจมากกับลวดลาย เพื่อนําไปตัดเย็บเปนเสื้อผาสําเร็จรูป หรือนําไปประดับเสื้อผา ตกแตงบาน และเปนของที่ระลึก 2. ดานราคา ผูจําหนายผาหมี่ขิดจะตั้งราคาขายโดยตั้งจากตนทุน บวกกําไรที่ตองการ และราคา ขายของหมี่ขิดแตละลายจะมีราคาไมเทากัน 3. ดานชองทางการจัดจําหนายผาหมี่ขิด ผูจําหนายผาหมี่ขิดทุกรานในหมูบานนาขา จะนํามาจําหนายตลอดทั้งป และมีสินคาไดเลือกตลอดเวลา โดยเฉพาะชวงเทศกาล งานประจําป 4. ดานการสงเสริมการขาย ผูจําหนายผาหมี่ขิด จะใหสวนลดหรือใหเครดิตทางการคาแกลูกคาที่ ซื้อเปนประจํา เมื่อมีการซื้อสินคาในปริมาณมาก สวนผูซื้อชอบที่จะซื้อผาหมี่ขิดในชวงเทศกาล หรือการ จัดกิจกรรมจัดงานผาหมี่ขิดประจําป ทั้งนี้เพราะหาเลือกซื้อไดงาย มีหลากหลายรูปแบบ


นอกจากนั้นแลว สุนันทา ตั้งสถิต ยังไดหาแนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดของหมูบานนาขา เพื่อเปนสารสนเทศในการนําผลิตภัณฑออกสูตลาดใหสามารถขยายตลาดไดกวางขวางมากขึ้น ประกอบดวย 1. กลยุทธดานผลิตภัณฑ ที่ตองมีการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ อีกทั้งควรแบงระดับคุณภาพ ผลิตภัณฑ และการบรรจุภัณฑก็มีสวนในการดึงดูดใหลูกคาสนใจ 2. กลยุทธดานราคา พยายามลดตนทุน แตคุณภาพยังคงเดิม โดยการผลิตผาหมี่ขิดจํานวนมากขึ้น ในแตละครั้ง จะทําใหสามารถลดตนทุนการผลิตได 3. กลยุทธดานชองทางการจัดจําหนาย ควรหาชองทาการสงสินคาไปจําหนายตางประเทศใหมาก ขึ้น เพราะสินคาประเภทนี้ เปนที่นิยมในตลาดตางประเทศมาก 4. กลยุทธการสงเสริมการตลาด มีการจัดตั้งหนวยสงเสริมการตลาดในระดับจังหวัด รวมถึงพัฒนา หนวยงาน รานคาปลีก รานคาสงในเมืองในมากขึ้น จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวาแนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดของ หมูบานขา ซึ่งศึกษาเห็นดวยกับงานชิ้นนี้ เพราะในงานชิ้นนี้มีการศึกษาการตลาดผาหมี่ขิด และไดเสนอ แนวทางในการพัฒนาตลาด พรอมทั้งขอความรวมมือจากทุกฝายเกี่ยวของทั้งกลุมทอผา ผูประกอบการ ภาครัฐและเอกชน รวมกันกําหนดกลยุทธทางการตลาดเพื่อแกปญหา จึงจะประสบความสําเร็จได ซึ่งถือวา งานชิ้นนี้มีการศึกษาอยางละเอียดครบถวน และสามารถดึงผูที่มีสวนเกี่ยวของมารวมกันแกไขปญหาได จาการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยโดยการศึกษามีประเด็นในการศึกษาที่แตกตางกัน จะเห็นไดจาก ในงานชิ้นที่หนึ่งจะมีการศึกษาถึง ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินงานของกลุม แมบานเกษตรกรบานสวาง สวนในงานวิจัยชิ้นที่สอง นอกจากจะมีการศึกษาถึงปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จ ในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีและผลกระทบตอชุมชนชนบท ยังมีการศึกษาถึงประเด็น ผลกระทบทางดานบวก และดานลบ จากการประกอบธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุมสตรีในชนบทที่ มีตอชุมชน นอกจากนี้ในงานวิจัยชิ้นสุดทาย ยังมีประเด็นการศึกษาที่แตกตางจากงานวิจัยชิ้นอื่นๆ เพราะมี การศึกษาแนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดของหมูบานขา จึงทําใหเห็นวางานทั้ง 4 เลมนี้ มีประโยชนตอ ผูศึกษาอยางมาก เพราะในงานวิจัยแตละเลมมีการศึกษาในประเด็นที่แตกตางกัน ทางผูศึกษามีความคิดวา ควรที่จะพิจารณาประเด็นตางๆ ที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องการดําเนินงานกลุมใหมี


ความครอบคลุมตามประเด็นเหลานี้ ประการที่หนึ่ง จะศึกษาบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม ประการที่สอง จะศึกษาสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม ประการที่สาม จะศึกษาแนวทางการพัฒนากลุมทอผาไหมใหเขมแข็ง วิธีดําเนินการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูศึกษาไดใชวิธีในการศึกษาและเก็บ รวบรวมขอมูลดวยวิธีการ ดังนี้ 1.การศึกษาเอกสารมือสอง 2.แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางและสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง 3.การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 4.แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 5.เปดเวที 6.ศึกษาขอมูลจากเอกสารมือสอง 7.เก็บขอมูลโดยทําเปนเครื่องมือ ดังนี้ - ปฎิทินประเพณี วัฒนธรรม - แผนที่เดินดิน - ผังเครือญาติ อีกทั้งผูศึกษายังมีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับสภาพปญหาของกลุมตางๆ เพื่อนําขอมูลมา วิเคราะหและอธิบายอยางเปนระบบ


นิยามศัพทเฉพาะ

สภาพปญหา หมายถึง ความบกพรองที่เกิดจากปจจัยภายใน และปจจัยภายนอกกลุมที่สงผลให ขาดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ซึ่งแบงเปน 2 ปจจัย - ปจจัยภายนอกไดแก คูแขงในปจจุบัน คูแขงที่เกิดขึ้นใหม อํานาจตอรองจากผูขาย ปจจัยการผลิต อํานาจตอรองลูกคา - ปจจัยภายในไดแก คน ทุน การจัดการ วัสดุและอุปกรณ แนวทางการพัฒนากลุม หมายถึง แนวทางการพัฒนากลุม เพื่อกอใหเกิดรายได หรือผลกําไรอยาง ตอเนื่อง การดําเนินงานกลุม หมายถึง กิจกรรมหรือองคกรในชุมชนที่มีสวนเปนเจาของ ชวยกันดําเนินงาน โดยประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ มีการเรียนรูรวมกัน และดําเนินการในกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การคา และเนนพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ไดอยางสอดคลองกับสังคมวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน อันจะนําไปสูชีวิตความเปนอยูที่ดี และพัฒนาอยางยั่งยืน ของชุมชน


บทที่ 2

บริบทชุมชน

ประวัติศาสตรหมูบาน

ชาวผูไท ถือวาเปนชนเผาไทหรือไต อีกสาแหรกหนึ่ง ซึ่งจัดวาเปนผูที่พูดภาษาตระกูลไทกะได (Tai -Kadai) หรือไท-ลาว ชนชาติไทเหลานี้ กระจัดกระจายอยูทั่วไปในเขตปาฝนเมืองรอน โดยเฉพาะใน ดินแดนลุมแมน้ําโขง ลุมแมน้ําสาละวิน ลุมแมน้ําดํา ลุมแมน้ําแดง ที่อยูในบริเวณรัฐชาติไทย พมา ลาว เวียดนาม และจีน เปนตน รวมทั้งบริเวณทางเหนือของอินเดีย (ธันวา ใจเที่ยง,2545:12) งานเอกสารทางวิชาการหลายชิ้น เชนงานของ อาจารยภัททิยา ยิมเรวัต มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) เห็นวาชาวผูไท มีอยู 2 กลุมใหญ คือ ชาวผูไ ทขาวและชาวผูไทดํา ในเอกสารเกี่ยวกับประวัติผู ไทยเรณูนคร ฉบับวัดพระธาตุเรณูนคร ไดกลาววา ถิ่นฐานดั้งเดิมของชนชาติผูไทอยูในแควนสิบสองจุไท (พระมหาปญญา เขมปญโญ,2542:73) อยูทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในปจจุบัน ในพงศาวดารเมืองไล (อางในภัททิยา ยิมเรวัต,2544:7) กลาววา เมืองที่ผูไทดําอยู คือ เมือง แถน เมืองควาย เมืองตุง เมืองมวย เมืองลา เมืองโมะ เมืองหวัด และเมืองซาง รวมเปน 8 เมือง สวน เมืองผูไทขาว มี 4 เมือง เมืองไล เมืองเจียน เมืองมุน เมืองบาง รวมเปน 12 เมือง คําวาจุ นักวิชาการ บางทานเห็นวา เปนคําภาษาเวียดนาม ที่นาจะมาจากคําวา “เจิว” ที่หมายถึง เขต แดน เพราะฉะนั้นจุไท จึงนาจะหมายถึง ดินแดน อันเปนที่อยูของชนเผาไท ในงานของสมเด็จพระมหาวีรวงศ (ติสโส อวน) (อางใน พิณรัตน อัครวัฒนากุล,2541) ไดกลาว วาชาวผูไทในภาคอีสาน แตเดิมตั้งถิ่นฐานอยูในเมืองแถงหรือแถน (เดียนเบียนฟู) ในแควนสิบสองจุไท สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในปจจุบัน กอนที่จะอพยพยายเมืองมาอยูที่เมืองวังในอาณาเขตของ เวียงจันทน และบางสวนอพยพเขาไทยในที่สุด


บุญชวย ศรีสวัสดิ(์ 2547) ยังกลาวถึงกรณี ผูไทกับไทดํา ไทขาว และไทแดง วามีคนมองวาเปน คนละพวก แตทานเห็นวา ตามคําใหการของเจาเมืองตางๆของสิบสองจุไท เมืองหัวพันหาทั้งหก อันเปน เขตใหญของชนชาติไททางเหนือของลาวและเวียดนาม เรียกตนเองเปนผูไทดํา ผูไทขาว และอางถึงเจา ศักดิ์ประเสริฐ ณ จําปาศักดิ์ อภิรัฐมนตรีแหงสภาที่ปรึกษาของพระมหากษัตริยลาวแจงวา “ไทดําไทขาว” นั้นเรียกตามเครื่องแตงตัวดําและขาว ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปลงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานี มีขุนบรมราชาธิราชเปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 พระองคคือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มี โอรส 4 องคและพระนางยมพารามีโอรส 3 องค รวมเปน 7 องค เมืองโอรสเติบโตขึ้น จึงไดใหไปสราง เมืองตางๆ พรอมมอบทรัพยสมบัติให อาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น จากตํานานบานหวยยางอพยพมาจาก HUNHUN PSAN เนื่องจากในยุคสมัยนั้นมีโจรจีนฮอ เขามา ปลนบานเมือง ชิงทรัพยและเผาบาน เผาเมืองเปนจํานวนมาก จนไดรับความเดือดรอน ตองหนีโจรเขาปา เพราะความดุรายของจีนฮอ โดยมีผูนํากลุมคือ “ยางธิสาร” ทานมีความเกงกลาและมีวิชาอาคม ยางธิสาร ไดชนเผาภูไท ในความปกครองของตนมาจากบานมั่น เมืองแซะ ขามแมน้ําโขงมาสูนครพนม แลว เดินทางตอมาจนถึงภูพาน ซึ่งปจจุบันคือบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพราะทานเห็นวาที่แหงนี้มีดิน มีน้ํา ที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูกอยางยิ่ง ในปพ.ศ.2510 บานหวยยางไดถูกประกาศเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆ ของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้งดวยกัน จนตองอพยพไปอยูห มูบานอื่น ในครั้งที่ 1 ซึ่งแบง ออกเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 ยายไปอยูบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูที่บานโคกสําราญ ตําบลชมพูพร จังหวัดบึงกาฬ สวนครั้งที่ 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายไปตามญาติพี่นอง 3 กลุมคือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบงคลา จังหวัดหนองคาย


ตอมาในปพ.ศ.2524 บานหวยยางพบกับปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ.ศ.2510 ชาวบานหวยยางจึง พากันไปขอทานตามจังหวัดใกลเคียง เชน นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือน ทั้งหมดจนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวส พาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัด สกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2527 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเสด็จพระราชดําเนินทรง เยี่ยมราษฎรบานโพนงาม และหมูบานตางๆ ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม และ ทอดพระเนตรบริเวณที่จะกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท ในเขตบานโพนงาม ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม และบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ กิ่งอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนนคร ได พระราชทานพระราชดําริเกี่ยวกับงานชลประทาน ดังตอไปนี้ ควรพิจารณาสรางอางเก็บน้ําหวยโท โดยเรงดวน และสรางอางเก็บน้ําที่บริเวณลําหวยขางเคียง ตอไปตามความเหมาะสม เพื่อจัดหาน้ําชวยเหลือพื้นที่เพาะปลูกของหมูบานตางๆ ทั้งในเขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม และในเขต ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ให สามารถทําการเพาะปลูกไดทั้งในระยะฤดูฝน-ฤดูแลง และน้ําเพื่อชวยเหลือราษฎรหมูบานตางๆ ดังกลาว สําหรับอุปโภค-บริโภค ไดตลอดทั้งปอีกดวยสําหรับอางเก็บน้ําที่จะกอสรางนั้น ควรพิจารณาสราง ใหมี ขนาดใหญตามที่สภาพภูมิประเทศและสภาพสงน้ําจะอํานวยใหมากที่สุด เนื่องจากมีพื้นที่เพาะปลูกจํานวน มากตองการน้ําชวยเหลือ อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง แลวเสร็จในปพ.ศ.2530 ในปพ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชดําเนินมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ดวยพระองคเอง ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาทําใหชาวบานบานหวยยางและหมูบานใกลเคียงเขต ตําบลเหลาโพนคอ มีน้ําสําหรับการทําเกษตร และเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จากหมูบานขอทานกลาย มาเปนหมูบานเศรษฐกิจนํารองดานเกษตรอันดับ 1 ของอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะการเพาะพันธุกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ในปพ.ศ.2548 หมูบานหวยยางไดรับคัดเลือกองคกรพัฒนาประชาชน (คอป) ไดรับงบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ และติดอันดับ 1 ใน 2 หมูบานใน ภาคอีสานในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม จากคําบอกเลาตอๆ กันมา มีอยู 2 แนวทางที่เกี่ยวกับการตั้งชื่อบานหวยยางคือ บานหวยยางเปนชนกลุมภูไท โดยคนกลุมหนึ่งอพยพมาจากบานมั่น เมืองแซะ สาละวันคําทอง เมืองวัง ประเทศลาว จากคําบอกเลาของนายจารยทัน ยางธิสาร วาผูนําการอพยพทานชื่อวาทาวโพธิสาร


ตอมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุล จึงตั้งชื่อนามสุกลวา “ยางธิสาร” โดยเอาชื่อหมูบานผสมกับชื่อผูตั้ง บาน คือหมูบานหวยยาง ผูกอตั้งหมูบานคือ ทาวโพธิสาร และใชชื่อวาหมูบานหวยยาง และเปน บานหวยยางจนถึงปจจุบัน จากคําบอกเลาตอๆ กันมา เดิมบานหวยยาง ไดมีนายยาง กับนายโตะไดอพยพมาจากเมืองวัง ประเทศลาว เพื่อหาทําเลที่ตั้งสรางหมูบาน ผานมาเห็น ปา ลําหวย จึงมาบุกเบิกเพื่อสรางบานเรือน และ ตั้งชื่อวา บานหวยยาง ตามชื่อของตนเอง อีกทั้งอยูใกลบริเวณหวย นอกจากนั้นชาวบานยังไดนําชื่อของทั้ง 2 มาตั้งเปนนามสกุล คือ ยางธิสาร และ โตะชาลี เหตุการณที่สําคัญของชุมชน ตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบันที่สงผลตอการดําเนินชีวิตของชุมชน ไดแก พ.ศ.2353 มีการสรางวัดโพธิ์ชัยขึ้น เพื่อใหเปนที่ศูนยรวมจิตใจ พ.ศ.2500 สรางพระธาตุดอยอางกุง พ.ศ.2508 ตั้งโรงเรียนบานหวยยาง พ.ศ.2514 - พ.ศ. 2518 คอมมิวนิสตเขามายึดพื้นที่บานหวยยาง พ.ศ.2519 คอมมิวนิสตตีแคมปบานหวยยางและเผาสถานีตํารวจบานเหลา พ.ศ.2524 ประกาศทางหนังสือเดลินิวสวาพบหมูบานขอทานแหงแรกในจังหวัดสกลนคร พ.ศ.2528 แยกบานออกเปน 2 หมู คือ บานหวยยางหมูท6ี่ และบานหวยยางเหนือหมูท9ี่ สรางอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง พ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จวางศิลาฤกษอา งเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง พ.ศ.2543 สรางตลาดชุมชน พ.ศ.2553 คนพบซากฟอสซิสไดโนเสาร 1,000,007 ป โดยนายอําเภอพิทักษ บริพิศ ทราบจาก พระอาจารยกึ๋น พ.ศ.2554 บานหวยยางเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ


ประชากรและครัวเรือน บานหวยยางหมูท6ี่ มีประชากรทั้งสิ้น 1,010 คน แยกเปน ชาย

255 คน

หญิง 485 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 199 ครัวเรือน ครอบครัวและเครือญาติ บานหวยยางเปนบานที่มีความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยกัน แบบพี่แบบนอง มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ใหแกกัน ใหความชวยเหลือกัน เพราะสวนมากเปนเครือญาติเดียวกัน สวนใหญจะอยูกันแบบเครือญาติ ละแวกบานเดียวกัน และมีทั้งครอบครัวขยาย และครอบครัวเดี่ยว ซึ่งนานๆทีลูกหลานจะมาเยี่ยม พบวา บานหวยยางมีตระกูลที่ใหญๆอยู 2 ตระกูล โดยมาจาก ผูที่มากอตั้งบานหวยยาง คือ ยางธิสาร และ โตะชาลี ยกตัวอยางแผนผังเครือญาติ ตระกูลโตะชาลี สภาพภูมิศาสตรและทําเลที่ตั้ง ที่ตั้งของหมูบาน บานหวยยางหมูท6ี่ ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศเหนือ

ติดเขตโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทิศใต

ติดกับเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก ติดเขตบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันตก

ติดเขตบานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศของหมูบานหวยยางเปนที่ราบลุมเหมาะสําหรับทํานาขาวตลอดทั้งป เพราะมีการ นําน้ําจากอางหวยโท – หวยยาง มาใชทําใหมีผลผลิตทางการเกษตรแตละปมาก การสัญจรตามถนนเชื่อม ระหวางถนนสกล – นาแก เลี้ยวขวาเขาบานเหลา ประมาณ 5 กิโลเมตรถึงบานหวยยาง การคมนาคม สามารถสัญจรไดอยางสะดวกทุกฤดูกาล ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะบานหวย ยางติดกับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะเปนชวง ที่ชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็นจัด ประมาณ 13Cº เพราะบานหวยยางติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลที่ชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิต ทางการเกษตรโดยเฉพาะผลิตจากการทํานา โครงสรางอํานาจทางการเมือง การปกครอง

บานหวยยางไดมีการคัดเลือก และเลือกตั้งผูใหญบานขึ้นปกครองหมูบานตั้งแตคนแรก จนถึงคนปจจุบัน ตามลําดับดังนี้ 1. นายชม บุญเรืองจักร รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2475 - 2480 2. นายนายทอน ยางธิสาร รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2480 - 2499 3. นายไท ยางธิสาร รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2499 – 2509 4. นายนายพาดี ยางธิสาร รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2509 – 2521 5. นายนายเลา ยางธิสาร รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2521 – 2532 6. นายหวง

ยางธิสาร

7. นายหวล ยางธิสาร

รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2532 – 2540

รับการคัดเลือกตั้งแตมีพุทธศักราช 2540 – ปจจุบัน

ปจจุบันมีนายหวล ยางธิสาร เปนผูใหญบานมี


1. นายเมคินธ ยางธิสาร

ผูชวยผูใหญ

2. นางญาณี

ผูชวยผูใหญ

ยางธิสาร

3. นายวีระชัย แสนธิจักร

ผูชวยผูใหญ

มีสมาชิก อบต. 1. นายสาคร

ยางธิสาร

2. นายสุรัน

โตะชาลี

บานหวยยางแบงเปนคุม 4 คุมดังนี้ 1. คุมวัดโพธิ์ชัย 76 ครัวเรือน 2. คุมแสงสวาง 44 ครัวเรือน 3. คุมโรงเรียน 57 ครัวเรือน 4. คุมบานนอย 17 ครัวเรือน การประกอบอาชีพ ประชากรประกอบอาชีพ ทํานา ทําไร ทําสวน รับจาง คาขาย ทอผาไหม และเพาะพันธุกลาไม แตอาชีพหลักคือ การทํานา สวนอาชีพเสริมที่ทํากันแพรหลายคือการเพาะพันธุกลาไมขาย ประชากรมี อาชีพทํานา 199 ครอบครัว ทําสวน 32 ครอบครัว อาชีพรับจาง 28 ครอบครัว อาชีพคาขาย 8 ครอบครัว อาชีพเลี้ยงสัตว 85 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 10 คน ประกอบอาชีพอยางเดียว 24 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 12 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบานจํานวน 32 คน

ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และพิธีกรรม ประเพณีอันเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาในบรรดาประเพณีตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาดู เหมือนวา “ฮีตสิบสอง” จะเปนประเพณีที่ชาวภูไทรูจักกันดีและปฏิบัติสืบตอกันมาอยางไมขาดสาย ถึงแม บางฮีตจะถูกลบเลือนและปฏิบัติกันนอยลง หรือไมปฏิบัติเลยก็ตาม แตบางฮีตก็ไดรับการยอมรับและ ปฏิบัติการอยางเครงครัดมาถึงปจจุบัน ฮีต ประเพณีที่ปฏิบัติกันมีดังนี้


1. เดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานรื่นเริงกัน 2. บุญเดือนยี่ 3. เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะมี การเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทน เรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา 4. เดือนสี่ “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของชาว ไทยอีสานทั่วไป เพื่อเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลามสอบถาม วิญญาณของบรรพบุรุษ 5. เดือนหา “บุญบั้งไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนการขอฝนตามความเชื่อดั้งเดิม โดย ชาวบานทั้งตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพื่อนําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยังพระธาตุดอย อางกุง เมื่อพระสงฆฉันเพลเสร็จ ก็จะทําพิธีที่บริเวณพระธาตุ และก็ใหชาวบานสรงน้ําพระธาตุเพื่อใหเปน สิริมงคล 6. เดือนหก “บุญมหาชาติ” หรือเรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญที่ยิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสอง ผูที่มีศรัทธาทั้งหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานทั้งฝายฆราวาสและฝายสงฆ จะชวยกันตกแตงประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดร ฝายฆราวาสหญิงตองเตรียมอาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ําเตรียมไวใหแขกใช แขกตางหมูบานนอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยัง ตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแหขาวพันกอนไปถวายพระ ที่ตองทําใหไดถึงพันกอนนั้นเนื่องจากถือ วาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศนมหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตนดอกเงิน และการแห กัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลวนําเขามาถวายที่วัดก็เปนเสร็จพิธี 7.เดือนเจ็ด 8. เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญที่ชาวบานไมเคยละเลยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวาย ภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา 9. เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือที่เรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญที่แสดงความกตัญู กตเวทีตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีที่ไดกระทําตอตนเองเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยูความผูกพันกันเชนนี้ ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนําขาวพรอมอาหาร


คาวหวานที่ทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพื้นดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลว กรวดน้ําอุทิศสวนกุศลใหญาติพี่นอง บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกา บรรดาผูลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลานนั่นเอง 10. เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติที่ลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล 11. เดือนสิบเอ็ด “ทําบุญกฐิน” เมื่อพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตที่ 8 และออกพรรษาตามฮีตที่ 11 แลวแสดงวาจําพรรษาครบสามเดือน ก็จะไดรับอานิสงสพรรษาในฮีตที่ 12 นี้ พระพุทธเจาทรง อนุญาตใหพระภิกษุแสวงหาไตรจีวรไดในทายฤดูฝน 1 เดือนเริ่มตั้งแตกลางเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบ สองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน 12. เดือนสิบสอง “ทําบุญกฐิน” การแตงงาน กอนแตงงาน สวนมากหนุมสาวจะตองชอบพอและรูจักกันมากอน เพราะประเพณีผูไท พอแม ของฝายหญิง จะเปดโอกาสใหชายหนุมหญิงสาวไดคุยกันอยางเสรี หนุมสาวจะมีโอกาสพบในโอกาสตางๆ เชน ในงานประเพณีตางๆ นอกจากนี้หนุมๆยังไปคุยกับหญิงสาวที่ตนพึงพอใจไดที่บานของหญิงสาวตั้งแต หัวค่ําจนดึก เชนเดียวกับประเพณีของชุมชนในภาคอีสานเกือบทั่วๆไป โดยฝายหญิงจะนั่งปนดีดฝายอิ้ว ฝาย (หีบฝาย) หรือทํางานเล็กๆนอยๆอยูบนบานเรียกวา “อยูค่ํา” ถาหญิงสาวนั้นลงมาทํางานอยูใกลๆบาน เชน ตําขาวหรือชุมนุมการกอกองไฟ หรือจุดตะเกียงทํางานอยูลานบานเรียกวาการ “ลงขวง” ในเวลานี้ หนุมๆก็จะพากันไปแอวสาว (เกี้ยวสาว) บางทีก็มาเปนกลุมและแยกยายไปตามบานสาวที่ตนหมายปอง โดยบางคนจะเปาแคนดวยเปนสัญลักษณใหสาวอยูคอยหนุมๆ ทํานองวาอายมาแลว พอถึงบันไดบานสาว ผูบาวจะหยุดเปาแคนทันที แลวจึงขึ้นไปบนบันไดบาน ในสมัยโบราณกอน หนุมจะขึ้นบานไปคุยสาวได พอไปถึงบานหญิงสาวตองเรียกใหสาวหยอนบันไดลงมาใหการคุยกันใน สมัยกอน มักจะคุยดวยผญา ถาหากพอแมฝายหญิงยังไมเขานอนก็จะพากันหลีกเขาไปในบานเสีย ปลอย ใหหนุมสาวไดคุยกันอยางเสรี โดยที่หนุมๆจะลวงเกินหญิงสาวไมไดถาเกิดไปลวงเกินเขาจะ “ ผิดผี” ซึ่ง ถือวาเปนเครื่องขัดเกลาทางสังคมชาวผูไทหรือชาวอีสานอยางหนึ่ง ตองเสียผีโดยอาจตกลงยินยอมแตงงาน ดวยหรือหาเครื่องเซน มีหัวหมูหรือเปดหรือไก พรอมดวยอุ 1 ไหและเงิน 12 บาทไปเซนผีเรือนฝายหญิง เปนการไถโทษ เมื่อหนุมสาวตกลงชอบพอใจกันแลวตอไปฝายตองไปสูขอ โดยจัดขันหมาก พลู อุ 1 ไห และเงิน 3 บาท ใหพอลาม (เฒาแกหรือคนที่คนในชุมชนเคารพนับถือที่ถือวาจะเปนตัวแบบที่ดีในการ


ครองคู) นําไปมอบใหญาติผูใหญฝายหญิง เมื่อรับของไวแลวหมากพลูก็จะแจกกินทันทีสวนอุจะตองแจก ดื่มกอน การตกลงคาสินสอดและคาใชจายในพิธีตอจากนั้นพิธีการอีกหลายขั้นตอนจนถึงฤกษที่ตกลงกันไว ก็ทําพิธีแตงงาน โดยพอลามเปนคนทําพิธีโดยกลาวสั่งสอนและอวยพรบาวสาวเปนภาษาพื้นเมืองยืดยาวจึง ผูกแขนใหคูบาวสาว จากนั้นก็จะนําของไหวซึ่งอาจเปนหมอน ที่นอนผาหมหรือผาขาวมาผูกติดกับใบดอก รักและเทียนขอขมาพอลามและญาติผูใหญของทั้งสองฝายจนครบทุกคนเสร็จพิธี หลังจากพิธีแตงงานแลว ชาวผูไทยยังมีพิธีไหวผีและพิธีอื่นๆอีกหลายขั้นตอนจนมีลูกครบ 4 คนจึงเปนอันเสร็จพิธีแตงงานของชาวผู ไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทรัพยากรปาไม บานหวยยางมีปาที่เปนปาสาธารณะประโยชน 2 แหง ใชในการเปนปาชาในการเผาศพ และเขต อุทยานแหงชาติภูผายล ที่ชาวบานบานหวยยางทั้ง 2 หมูไปใชประโยชนรวมกัน ทรัพยากรแหลงน้ํา แหลงน้ําที่ชาวบานหวยยางนํามาใชประโยชน ที่สําคัญคือ อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง และที่ใช ประโยชนรวมกันทั้ง 2 หมูคือ หนองไผ สถานบริการของรัฐ 1. การบริการดานความจําเปนขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ 1.1 การบริการดานสุขภาพ ในการใหการบริการดานสุขภาพของรัฐ หนวยงานที่ใหการ บริการ คือ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ และอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมูบานและการชวยเหลือจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอซึ่งมีรถบริการ ฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง 1.2 การใหบริการเบี้ยยังชีพ แกผูพิการและคนชรา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ จะเปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการใหบริการเบี้ยยังชีพแกชุมชน ในรอบ 1 ป จะใหบริการทุกเดือนครั้ง ละ 62 คน 2. การบริการดานการศึกษา บานหวยยางไดรับการบริการจากรัฐในการบริการเกี่ยวกับการศึกษามีดังนี้ 2.1 โรงเรียนบานหวยยาง ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนถึงระดับ มัธยมศึกษาปที่ 3


2.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เปนการใหบริการการศึกษาเด็กกอนวัยเรียน ตั้งแตอายุ 2 ป ถึง 4 ป 3. การบริการดานโครงสรางพื้นฐาน การใหบริการดานโครงสรางพื้นฐานของรัฐแกชุมชนบานหวยยางมีดังนี้ 3.1 ถนนภายในหมูบาน มีถนนคอนกรีตและถนนลูกรังเปนบางสวน 3.2 การบริการไฟฟา บานหวยยางมีไฟฟาใชทุกครัวเรือน โดยงบประมาณสนับสนุนจาก รัฐจากการไฟฟาสวนภูมิภาค จึงทําใหชาวบานมีความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตประจําวัน 3.3 ประปา มีน้ําประปาใชในหมูบาน จํานวน 1 แหง สําหรับอุปโภคและบริโภค เพียงพอตลอดป 3.4 โทรศัพท มีตูโทรศัพทสาธารณะในหมูบาน จํานวน 1 แหง ในบริเวณหนาบาน ผูใหญบาน แตปจจุบันนิยมใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ในการติดตอสือ่ สารเปนสวนใหญ องคกรชุมชน บานหวยยางไดรวมกลุมทางสังคมเพื่อที่จะไดทํางานรวมกัน กลุมทางสังคมมีดังนี้ 1. กลุมวิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธุกลาไม

ประธานนายธีรพงศ ยางธิสาร

กอตั้งเมื่อป พ.ศ.2553 มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด 26 คน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวมกลุมเพื่อหาเงิน มาลงทุนในการเพาะพันธุกลาไม โดยมีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) เปน หนวยงานสนับสนุนเงินทุนใหกลุม โดยภายในกลุมไดมีการกําหนดขอตกลงเพื่อเปนแนวทางการปฎิบัติ ของสมาชิกกลุมวา จะตองมีการเก็บเงินออมเดือนละ 40 บาททุกเดือน มีการประชุมกลุมเดือนละหนึ่งครั้ง และขายกลาไมในราคาเดียวกัน ปจจุบันนี้กลุมเพาะพันธุกลาไม มีการเพาะพันธุกลาไมมากกวา 60 ชนิด อาทิเชน ผักหวาน หวาย มะกรูด มะนาว หวาย ไมแดง ไมยางนา ฯลฯ 2. กลุมทอผาไหม ประธานนางเรณู ยางธิสาร กอตั้งเมื่อป พ.ศ.2531 มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด 24 คน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาความ ยากจน โดยพระราชินีทรงสงเสริมใหมีการทอผาไหมเปนอาชีพเสริม โดยทรงสนับสนุนไหมหลวง เพื่อ นํามาทอผาไหม และรับซื้อไวทําใหสมาชิกมีวัตถุดิบ และตลาดรองรับ 3. กลุมผลิตปุยชีวภาพ ประธานนายหวล ยางธิสาร กอตั้งเมื่อป พ.ศ.2541 มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด 42 คน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตองการเปลี่ยนการ ใชปุยเคมีที่มีอันตราย หันมาใชปุยชีวภาพที่สามารถทําไดเองในครัวเรือน และไมสิ้นเปลืองโดยการนํา กากน้ําตาล และเศษอาหาร เปลือกผลไม หอยเชอรรี่หมักรวมกัน ก็สามารถใชได


4. กลุมเยาวชน จํานวนสมาชิก 45 คน ประธาน นายชัชวาล ยางธิสาร 5. กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวนสมาชิก 65 คน ประธานนางจิตนา พลราชม 6.กลุมเลี้ยงโคพันธุพื้นเมือง จํานวนสมาชิก 84 คน

ประธานนายมวลชัย ยางธิสาร


บทที่ 3

บริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม

ในการศึกษาบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม ผูศึกษาจะอธิบายถึง ประวัติการกอตั้งกลุม พัฒนาการการเรียนรูของกลุม อุดมการณของกลุม ทุนในการดําเนินงานของกลุม กิจกรรมของกลุม การ สนับสนุนของหนวยงานภายนอก ดังนี้

ประวัติการกอตั้งกลุม

ในปพ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชดําเนินมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ดวยพระองคเอง และพบวาประชาชนบานหวยยางประสบปญหากับภัยธรรมชาติ คือ น้ําทวมมากถึง 31 ครอบครัว จึงมีพระราชดําริใหอาชีพแกชาวบานที่ประสบภัย โดยสงเสริมใหมีการทอผาไหมเปนอาชีพ เสริมเพื่อทําใหประชาชนมีอาชีพติดตัว กลุมทอผาไหมบานหวยยาง หมูท6ี่ เดิมรวมทั้ง 2 หมูเขาดวยกัน เริ่มกอตั้งปพ.ศ.2531 มีสมาชิก 31 ครอบครัว ปพ.ศ.2553 ไดแบงกลุมออกจากกันอยางชัดเจน ซึ่งกลุมทอ ผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีนางเรณู ยางธิสาร เปนประธานกลุม และนางธิรัก ยางธิสารเปนรองประธาน ไดรับการสนับสนุนไหมหลวง มีสิบเอกนาวี หันโยธา เปนผูประสานงาน เพื่อนําไปขายยังสวนจิตรลดา เมื่อเริ่มกอตั้งในตอนแรกไดมีครู 2 คน จากศูนยศิลปาชีพกุดนาขามมาสอน 15 วัน พรอมทั้ง มอบอุปกรณทุกอยางใหแกสมาชิก 31 ครอบครัว ในตอน 3 ปแรกที่เริ่มทอผาไหมนั้น มีการสนับสนุน ใหทางกลุมมีการปลูกหมอนเลี้ยงไหมเอง แตเมื่อเขาไปสงผาไหมที่พระตําหนักภูพาน ก็ไดมกี ารสะทอน ปญหาวาไมมีพื้นที่ในการปลูกตนหมอน ทําใหปรับเปลี่ยนโดยมอบไหมหลวงใหแทน ในตอนแรกใหไหม หลวงสมาชิกคนละ 1 กิโลกรัมปละ 3 ครั้ง เมื่อปพ.ศ.2549 สมาชิกไดรับไหมหลวงเพิ่มเปนครั้งละ 2 กิโลกรัมไดรับปละ 2 – 3 ครั้ง ลักษณะ


ของไหมหลวงเสนบาง ดึงดวยมือ เสนไมเสมอ เมื่อจะทอผาไหม ไหมหลวงจะใชทอในทางต่ํา และ สมาชิกสวนใหญตองลงทุนซื้อไหมโรงงาน เพื่อนํามาทอผาไหมทางไส แตเมื่อนําไหมหลวงมาใชทั้งทาง ต่ําและทางไส พบวาไหมจะพันกันทําใหเสียเวลาในการทอ จึงไมนิยมใชไหมหลวงในทางไส แตละครั้ง ทอได 8 – 10 เมตร แตเมื่อสมาชิกอยากจะนําไหมโรงงานที่ทอเปนผาไหมแลวนําไปขายพรอมกับผาไหม จากไหมหลวงก็ได ซึ่งราคาไหมของตนเองซื้อนั้นจะมีราคาที่แพงกวา โดยจะมีสิบเอกนาวี หันโยธาเปนผู ประสานงานกับกลุมทอผาไหมในการใหตัวแทนกลุมไปรับไหมหลวงที่ภูพาน และเขามารับผาไหมที่กลุม เพื่อนําไปขายที่สวนจิตรลดา แตเดิมการขายผาไหมนั้น สมาชิกทุกคนที่รับไหมหลวงตองนําผาไหมไปขายเองที่พระตําหนักภู พาน ชวงเวลาปลายป เนื่องจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประทับยังพระตําหนัก ทําใหมีการจัด จําหนาย แสดงผาไหม จากทั่วภาคอีสาน สมาชิกตองไปขายโดยผูซื้อนั้นจะเปนคนใหราคาเอง ใช ระยะเวลาขายประมาณ 3-4 วัน โดยสวนมากคนที่ซื้อจะเปนผูติดตามเสด็จ แตถาบุคคลอื่นตองการซื้อก็ สามารถขายได แตเมื่อสมเด็จพระพี่นางฯ เสด็จสวรรคต อีกทั้งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูทรงพระประชวร ทําใหสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ไมไดเสด็จมาประทับพระตําหนักภูพานฯ สมาชิกที่ทอผาไหมขายนั้นเมื่อ สิบเอกนาวี หันโยธาติดตอมาจะตองนําผาไหมไปรวมกันที่ศูนยหวยหีบ โดยผาไหมแตละผืนจะมีการจด รายละเอียดไวติดที่ผาไหมไว ผาไหมก็จะนําไปยังสวนจิตรลดา สวนราคาผาไหมที่ใชไหมหลวงทอ ลายพื้นเมตรละ 150 บาท ลายหมี่เมตรละ 300 บาท แตไหมอุตสาหกรรมลายพื้น 10 เมตร ราคา 1800 บาท ปพ.ศ.2551 ไดมีการใหสมาชิกกลุมทอผาไหมในบานหวยยางหมูท6ี่ สมัครเปนสมาชิกใน โครงการสงเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ปจจุบันสมาชิกที่ขึ้นทะเบียนมี 24 คน ซึ่งเมื่อเสียชีวิต จะไดรับคาฌาปนกิจศพๆละ 5,000 บาท และกําลังจะมีการออมทรัพยเกิดขึ้นใน โครงการสงเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจาสิริกติ ิ์พระบรมราชินีนาถ


พัฒนาการการเรียนรูของกลุม จากการสัมภาษณสมาชิกกลุม ผูรู และผูนําชุมชน ผูศึกษาพบวา ตั้งแตกลุมทอผาไหมเริ่มกอตั้งมา จนถึงปจจุบันเปนเวลา 23 ป เกิดการเรียนรูของกลุมคือการใชทักษะฝมือของตนเองที่จะทอผาไหมโดย ไดรับการถายทอดจาก แม รุนสูรุน และเกิดการเปลี่ยนแปลงคือสมาชิก เริ่มแรกทั้ง 2 หมูรวมเขาดวยกัน เนื่องจากประสบกับน้ําทวมจึงเกิดเปนกลุมทอผาไหมขึ้นมี 31 ครอบครัวมีดังนี้ 1.นางเรณู

ยางธิสาร

2.นางนวม

ยางธิสาร

3.นางเลาคํา

ยางธิสาร

4.นางคําพิษ

วงศอินพอ

5.นางถอนไร ยางธิสาร

6.นางเตา

ยางธิสาร

7.นางอุดม

ยางธิสาร

8.นางเสวย

ยางธิสาร

9.นางทอน

ยางธิสาร

10.นางผองคํา โตะชาลี

11.นางเรียน

ยางธิสาร

12.นางจันดี

13.นางคือ

เกษมสาน

14.นางเครื่อง ยางธิสาร

15.นางเตย

ยางธิสาร

16.นางบัวลา

ยางธิสาร

17.นางลําไย

วงศศรียา

18.นางเนิ้ม

ยางธิสาร

19.นางเกร็ง

ยางธิสาร

20.นางกรวย

ยางธิสาร

21.นางวารี

ยางธิสาร

22.นางหลวย

ยางธิสาร

23.นางกวม

ยางธิสาร

24.นางอุน

ยางธิสาร

25.นางโดงดัง ยางธิสาร

26.นางตน

ยางธิสาร

27.นางแตร

ยางธิสาร

28.นางกอง

ยางธิสาร

29.นางกง

ยางธิสาร

30.นางคูณ

ยางธิสาร

31.นางเพลิน

วงคอินพอ

วงศตาแพง


พ.ศ.2531 จัดตั้งกลุมทอผาไหม และไดเรียนวิธีการทอผาไหม จากครูศูนยศิลปาชีพกุดนาขาม พ.ศ.2531 - พ.ศ.2534 ศูนยศิลปาชีพสนับสนุนใหปลูกหมอนเลี้ยงไหม แตเนื่องจากไมมีสถานที่ เลี้ยงหมอนจึงไมไดทํา และศูนยศิลปาชีพใหไหมหลวงสมาชิกคนละ 1 กิโลกรัมปละ 3 ครั้ง พ.ศ.2549 สมาชิกไดรับไหมหลวงเพิ่มเปนครั้งละ 2 กิโลกรัมปละ 3 ครั้ง

เดิมการขายผาไหม สมาชิกทุกคนที่รับไหมหลวงตองนําผาไหมไปขายเองที่พระตําหนักภูพานฯ ในชวงสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จ แตหลังจากสมเด็จพระพี่นางฯ เสด็จสวรรคต อีกทั้งพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูทรงพระประชวร สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ก็ไมไดเสด็จยังพระตําหนักภูพานฯ สมาชิกก็จะสง ผาไหมมารวมกันที่ศูนยหวยหีบ เมื่อสิบเอกนาวี หันโยธาติดตอมา และมารับเงินที่ศูนยหวยหีบ พ.ศ.2551 ใหสมาชิกกลุมทอผาไหมในบานหวยยางหมูท6ี่ สมัครเปนสมาชิกในโครงการสงเสริม ศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ขึ้นทะเบียน 24 คนปจจุบัน เฉพาะสมาชิกกลุมทอ ผาไหมบานหวยยางหมูที่ขึ้นทะเบียนในโครงการศูนยศิลปาชีพมี 24 คนคือ 1.นางเรณู

ยางธิสาร

2.นางธิรัก

ยางธิสาร

3.นางมั่นใจ

ยางธิสาร

4.นางนวม

ยางธิสาร

5.นางบุญโฮม

ยางธิสาร

6.นางอุไร

ยางธิสาร

7.นางเลาคํา

ยางธิสาร

8.นางคําพิษ

ยางธิสาร

9.นางสาวสมุทร

ยางธิสาร

10.นางกองคํา

ยางธิสาร

11.นางเสนอ

พลราชม

12.นางเพลิน

วงศอินพอ

13.นางอุดม

ยางธิสาร

14.นางกาวิน

โตะชาลี

15.นางเสวย

ยางธิสาร

16.นางทอน

ยางธิสาร

17.นางสํารวย

คําพา

18.นางทองหนุน

เกี๊ยวเกา


19.นางผองคํา

โตะชาลี

20.นางรวม

ยางธิสาร

21.นางเรียน

ยางธิสาร

22.นางบริวรรณ

โตะชาลี

23.นางจินตนา

พลราชม

24.นางหนูพลอย

ยางธิสาร

ซึ่งทั้ง 24 คนนี้จะไดรับเงินชวยฌาปนกิจ ศพละ 5,000 บาท และไดรับไหมหลวงครั้งละ 2 กิโลกรัม และทางศูนยก็จะรับซื้อผาไหมที่ทอเสร็จ

อุดมการณของกลุม

เนื่องดวยการทอผาไหมเปนอาชีพที่ถายทอดกันจากแมสูลูก และการทอก็ทําเฉพาะกลุมผูหญิง สูงอายุอีกทั้งกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ และมีความภูมิใจที่ไดรับการสงเสริมใหมีการทอผาไหมเปน อาชีพเสริม และยังเปนการทอผาไหมถวายเจานายชั้นสูงจึงเห็นวาเปนอาชีพที่มีเกียรติ และพบวาถึงแมการ ทอผาไหมจะใชระยะเวลานาน แตยังตองการที่จะทําเพื่ออนุรักษภูมิปญญาเหลานี้ไวใหคงอยู ทุนในการดําเนินงานของกลุม

กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมู 6 ไมไดมีการดําเนินกลุมเพื่อออมทรัพยทําใหไมสามารถนําเงินมา ทุนได ทําใหสมาชิกแตละคนตองใชทุนทรัพยของตนเองนํามาใชจายในการทอผาไหม กิจกรรมของกลุม กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมคือ 1. การทอผาไหมที่ยอมสีธรรมชาติ เชน ไมแสดหุง ใบเตย ไมกระเดา 2. การทอผาไหมที่ยอมสีเคมี 3. การรับไหมหลวง และการรับเงินผาไหมสมาชิกแตละคนจะไปรวมตัวกันที่ศูนยหวยหีบ เพื่อเขารับไหม หลวง และเงินตอบแทนจากการขายผาไหม


การสนับสนุนของหนวยงานภายนอก กลุมทอผาไหมหมูท6ี่ ทอผาไหมเสร็จจะมีตลาดรองรับ คือ ขายใหกับทางศูนยศิลปาชีพแตไม สามารถกําหนดราคาเองได เนื่องจากเปนการทอสงใหกับเจานาย เปนเหมือนเรารับไหมหลวงมา แลวแต ทางเจานายจะใหราคา และบางสวนก็ขายตามบานจะไดราคาดีกวาขายใหทางศูนย จากการศึกษา พบวา กลุมไดรับการสนับสนุนจากหนวยงาน 1. ศูนยศิลปาชีพ ไดสนับสนุนไหมหลวงใหสมาชิกทุกคนที่ลงชื่อขอรับไหมหลวง ทุกคนจะได ไหมหลวงคนละ 2 กิโลกรัมปละ 3 ครั้ง และเมื่อสมาชิกทอผาไหมเสร็จเมื่อไมมีที่จําหนาย สมาชิก สามารถสงใหกับทางศูนยศิลปาชีพซึ่งเปนตลาดทางหนึ่งใหกับสมาชิก 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ รับผลิตภัณฑที่สมาชิกกลุมทอผาไหม ไปขายใหที่ สํานักงาน แตเปนลักษณะไปวางขายเมื่อคนมาซื้อคอยนําเงินมาใหทางสมาชิก


บทที่ 4

สภาพปญหาของกลุมทอผาไหม

ในการศึกษาสภาพปญหาของกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ผูศึกษาสรุปไดดังนี้ 4.1 สภาพปญหาดานการผลิต 4.2 สภาพปญหาดานการตลาด 4.3 สภาพปญหาดานการบริหารจัดการ

กระบวนการผลิตผาไหม วัสดุอุปกรณในการผลิตผาไหม อุปกรณที่ใชในการฟอกไหมและยอมสี มีดังนี้ อางยอม น้ําซาวขาว น้ํามันมะกอก สีเคมี

ภาพประกอบ 1 สบู


ภาพประกอบ 2 อางยอม

ภาพประกอบ 3 น้ําซาวขาว

ภาพประกอบ 4 สีเคมี


ขั้นตอนการผลิต กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ไมมีการปลูกหมอนเลี้ยงไหมเอง แตที่มาของไหมนั้นคือไดรับ ไหมหลวงจากศูนยศิลปาชีพ และซื้อไหมอุตสาหกรรมจากทางตลาด สมาชิกแตละคนก็นําไหมหลวง ผสม กับไหมอุสาหกรรม มาทอดวยกัน เพราะถาใชเฉพาะไหมหลวงเวลาทอไหมจะพันกัน ขั้นตอนดังนี้

ภาพประกอบ 5

วิธีฟอกไหมนั้น ชาวบานใชของอยูใกลตัว เชน กาบกลวย และนําสบูมาฝานใหบาง แลวนําไป ละลายน้ําตมประมาณ 45 – 60 นาที ระหวางนี้ก็เอาไหมที่เตรียมฟอกลงใสอาง เพื่อใหเอากาวไหมคือ สี เหลืองออก จะไดเสนไหม มีลักษณะออนนุม


ภาพประกอบ 6 เตรียมน้ําสีเพื่อยอมสีไหม การยอมสีธรรมชาติจะประหยัดเงิน ไมตองเสียเงินซื้อ คนสวมใสไมระคาย

เคืองผิว สวมใสสบาย แตก็มขี อเสีย คือ สีไมสด สวนการยอมดวยสารเคมี ขอดี ก็คือ ยอมงายสีสด หางาย ขอเสีย คือ คนสวมใสจะแพงาย เสียเงินซื้อ มีปญหากับสิ่งแวดลอม

ภาพประกอบ 7 นําไหมที่เตรียมไวลงในอางที่ผสมสีไวเรียบรอยแลว และควบคุมไฟไมใหแรงเกินไปเพราะเสนไหมจะแตก ทําให ไหมพันกัน


ภาพประกอบ 8

พอยอมเสร็จ เอามาลางน้ํา ลางจนสีไมออก จะสังเกตไดวา น้ําเปนสีขาว ไมมีสี

ภาพประกอบ 9

นําไหมที่จะฟอกลงแชในน้ําซาวขาวที่ผสมกับน้ํามันมะกอก โดยทุบเสนไหมใหออนตัวเพื่อน้ําซาว ขาวที่ผสมกับน้ํามันมะกอก จะไดซึมเขาไดงาย แชจนไหม นิ่มและขาว จึงนําไปตากแดดใหแหง


ภาพประกอบ 10

เอาเสนไหมไปผึ่งในที่รม เพื่อกันการตก

ภาพประกอบ 11


นําเสนไหม ไปใสอุปกรณที่เรียกวา “กงไหม” มีลักษณะคลายเหลง แลวหมุนกงไหม เพื่อใหเสน ไหมไปมวนอยูในอุปกรณที่เรียกวา “อัก” โดยมวนอยางเปนระเบียบ ไมพันกัน

ภาพประกอบ 12

การเตรียมเสนยืน หลังจากการเตรียมเสนไหม จนถึงขั้นการเอาใสอักแลวจะเริ่มจากการ “ขึ้นเครือ” กอน หรือที่ชาวบานเรียกวา “การคนทางยาว” เพือ่ เปนเสนยืนในการทอ โดยการคนทางยาว จะคนใส อุปกรณที่เรียกวา “โฮง” เพื่อจัดเสนไหมใหเปนเสนยืน


ภาพประกอบ 13

นําเสนไหมที่ฟอกขาวและนุมดีแลวนั้นมาพันกับหลักหมี่ ซึ่งมีลักษณะเปนไมกลม 2 ทอน ตั้งตรง ขามหางกันเทากับหนาผาของผานุงที่จะทอ พันไหมไปรองหลักตามจํานวนรองที่ตองการ แลวจึงนําเชือก มามัดเสนไหมเปนตอนๆ ตามลวดลายที่จะประดิษฐ จะใชเชือกกลวยหรือเชือกฟางมัดก็ได ทั้งนี้เพื่อกัน ไมใหน้ํา สีเขาซึมในเสนไหมเวลายอม

ภาพประกอบ 14

การทอผาไหม การทอผาไหมมีขั้นตอนการผลิตที่คอนขางซับซอน

ผลิตภัณฑของกลุม ผลิตภัณฑของกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีดังนี้ ผาไหมลายพื้นที่ยอมสีจากธรรมชาติ


ภาพประกอบ 15 ผาไหมสีธรรมชาติจากไมดู

ภาพประกอบ 16 ผาไหมสีธรรมชาติจากไมแสดหุง

ผาไหมมัดหมี่ยอมสีเคมี ลายมัดหมี่

ลายหมี่เปนวัฒนธรรมดานสิ่งทอของภูมิภาคอีสาน ทั้งผาฝายและผาไหม ความสวยงามของลายหมี่เปน สัญลักษณแสดงความเจริญทางปญญาของชุมชน โดยสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยาง นิยมมัดหมี่เปน ลายตางๆ ดังนี้


ลายตนสน ผูทอ นางมั่นใจ ยางธิสาร

ลายนาคเกี้ยวเครือ ผูทอ นาง เรณู ยางธิสาร

ลายขอดอกฝาย ผูทอ นาง สํารวย คําภา

ลายหมากตุมหมู ผูทอ นางเสวย ยางธิสาร


ลายกาบ

ลายขาเข

ผูทอ นางเสวย ยางธิสาร

ผูทอ นางมั่นใจ ยางธิสาร ภาพประกอบ 17 ลายมัดหมี่ของสมาชิกกลุมทอผาไหม

ที่มาของลวดลาย ที่มาของลวดลายบนฝนผาในทุกทองถิ่น มักจะมาจากสาเหตุดังตอไปนี้ 1. เกิดจากอิทธิพลความเชื่อในพุทธศาสนา เนื่องจากศาสนามีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของชาวอีสาน ชางทอจึงไดแรงบันดาลใจจากงานศิลปกรรมของโบสถ วิหาร มาดัดแปลงเปนลวดลายบนผืนผา เชนหนา บันโบสถ ชอฟา ใบระกา คันทวย ธรรมาสน ตลอดจนความเชื่อเรื่องพญานาคในตํานานพุทธศาสนา ก็คือ ที่มาของลวดลายนาคนั่นเอง 2. เกิดจากอิทธิพลของสภาพแวดลอม 2.1 ลายที่เกี่ยวกับสัตวมักจะถอดแบบมาจากสัตวที่รูจักกันดี ทั้งสัตวปา สัตวเลี้ยง สัตวที่มีพิษ สัตวที่ สวยงาม สัตวที่เปนอาหาร สัตวที่เปนพาหนะเชน ลายเสือ ลายชาง ลายสิ่งโต ลายมอม ลายนกยูง ลายไก ลาย เปด ลายแมงงอด(แมงปอง) ลายแมงมุม ลายงูเหลือม ลายเขี้ยวปลา ลายปกไก ฯลฯ 2.2 ลายที่เกี่ยวของกับพืช พืช เปนสิ่งที่มีความสําคัญมากอยางยิ่งในชีวิตประจําวันของคนเราตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบัน แตจะแตกตางกันที่คนในสมัยกอนตองดิ้นรนเพื่อใหอยูรอดไดดวยตนเองจึงจะมี ความคุนเคยกับพืชพันธุตางๆ เปนอยางดี อันเปนที่มาของลวดลายพันธุไมบนเนื้อผา เชน ลายหมากบก (กระบก) ดอกพุดซอน ลายงา ลายเนื้อไม ลายเม็ดแตง ลายดอกแกว ลายพิกุล ลายดอกจัน ลายดอกตาง (ดอกไมเถาวชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม) ลายดอกหนามแทง (คลายดอกพิกุล) ลายดอกสรอย และลายดอกผักแวน 2.3 ลายที่เกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใชและเครื่องประดับ เชน ลายขอ ลายขันหมาก ลายบั้งหลาม


ลายขนมเปยกปูน ลายกรรไกร ลายขาเปย ลายคันไถ ลายกระจอน (ตุมหู) ลายจี้เพชร ฯลฯ 2.4 ลายที่เกี่ยวกับสภาพธรรมชาติ เชน ลายภูเขา ลายแมน้ํา ลายคลื่นน้ํา เปนตน สภาพปญหาดานการผลิต ปญหาในการผลิต

1. ทุนในการผลิต เนื่องจากสมาชิกตองไปซื้ออุปกรณทุกอยางเอง มีทั้งคาใชจายในการเดินทาง จึง จําเปนตองเพิ่มราคาผาไหมจึงจะคุมทุน แตก็ขายไดยาก เพราะปจจุบันผาไหมมีทุกพื้นที่ ทําใหขาดแคลน เงินทุนหมุนเวียน 2. ขาดความรูความสามารถในเทคนิคในการออกแบบลวดลาย ปญหาในการมัดหมี่ 3. สีของผายอมสีธรรมชาติ ยอมสีเคมี ที่ไดหลังจากการยอมไมคงที่ 4. ราคาวัตถุดิบสูง 5. อุปกรณชํารุด และขาดแคลนอุปกรณที่ทันสมัย ไมเพียงพอกับความตองการของสมาชิก 6. การผลิตเปนแบบพื้นบาน และไมสามารถทําตอเนื่องตลอดทั้งปได 7. สมาชิกในกลุมสวนมากเปนผูสูงอายุ

สภาพปญหาดานการตลาด ชองทางการจําหนายผลิตภัณฑ กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีชองทางการจําหนายผาไหมอยู 3 ทางดวยกันคือ 1. ศูนยศิลปาชีพ สมาชิกสามารถสงใหกับทางศูนยศิลปาชีพ ซึ่งเปนตลาดทางหนึ่งใหกับสมาชิก 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ รับผลิตภัณฑที่สมาชิกกลุม ทอผาไหม ไปขายใหที่ สํานักงาน แตเปนลักษณะไปวางขายเมื่อคนมาซื้อคอยนําเงินมาใหทางสมาชิก


3. ขายดวยตนเอง เมื่อสมาชิกทอผาไหมเสร็จ คนทั่วไปที่มาเยี่ยมยาติหรือคนตางหมูบาน ก็จะแวะ เวียนมาซื้อผาไหมบางตามโอกาส

ปญหาการตลาด เมื่อมีตลาดมารองรับแลว แตสมาชิกกลุมตองเจอกับปญหาราคา ที่เจาของผาไหมไมสามารถตั้ง ราคาขายไดเอง เมื่อสงไปยังศูนยศิลปาชีพ ก็เสมือนขายใหกับเจานายแลวแตเจานายจะกําหนดราคาให อีกทั้ง ยังไดรับเงินชาดวย นอกจากนั้นเมื่อนําไปวางขายที่สํานักงานพัฒนาชุมชนก็เปนการไปวางขายเฉยๆ เมื่อขาย ผาไหมชิ้นนั้นๆไดคอยจะไดเงิน และการขายดวยตัวเองถึงแมจะสามารถกําหนดราคาขายไดเองแตก็แลวแต โอกาสเพราะนานๆทีถึงจะมีผูซื้อ และผูซื้อนั้นก็ยังตองเลือกฝมือที่มีคุณภาพดีดี สภาพปญหาดานการบริหารจัดการ

ปญหาดานกรรมการ กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ แมจะมีการจัดตั้งตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว แตกลุมมีปญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการอยู ทั้งในเรื่องการไมมีคณะกรรมการที่ชัดเจน จาก การศึกษาพบวากลุมทอผาไหม มีประธานกลุม คือ นางเรณู ยางธิสาร รองประธานคือ นางธิรัก ยางธิสาร แตไมมีการเรียกประชุมกลุม เรียกประชุมเฉพาะตอนไปรับไหมหลวง และสงผาไหมเทานั้น ทําใหกลุม ไมไดรับการสนับสนุนจากองคกรพัฒนาเพราะกลุมไมไดมีโครงสรางที่ชัดเจน และไมมีการบริหารงานดวย รวมไปถึงการใชเงินสวนตัวในการลงทุนดําเนินทอผาไหม

ระบบบริหารจัดการของกลุม กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ นั้นมีการรวมกลุมลักษณะหลวมๆ คือ ไมมีการประชุมกันใน แตละเดือน จะรวมตัวเพื่อเขารับไหมหลวง และการสงผาไหมเทานั้น ไมมีการแบงบทบาทหนาที่กัน ชัดเจน หนาที่หลักตกอยูที่ประธาน ทําใหการบริหารจัดการกลุมทอผาไหมของหมูท6ี่ นั้นเปนแบบการ พึ่งพาตนเองเปนสวนใหญ


บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ในการศึกษาเรื่อง สภาพปญหากลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท6ี่ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบริบท ทั่วไปของกลุมทอผาไหม เพื่อศึกษาสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนากลุมทอ ผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยผูศึกษาไดเขา ไปสังเกตการณและมีสวนรวมภายในชุมชนในระยะเวลา 2 เดือน ระหวาง 3 มิถุนายน – 20 สิงหาคม เพื่อสังเกตพฤติกรรมตางๆ ภายในชุมชน หลังจากนั้นไดใชวิธีการสัมภาษณผูรูในชุมชน สมาชิกกลุมทอผา ไหม โดยใชแบบสัมภาษณมีโครงสราง และแบบสัมภาษณไมมีโครงสราง รวมไปถึงการศึกษาเอกสารมือ สอง นอกจากนั้นยังไดจัดประชุมกลุมเพื่อสะทอนปญหารวมกัน ในพัฒนานิพนธเลมนี้ผูศึกษาใช ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดการรวมกลุมและอิทธิพลที่มีผลตอประสิทธิภาพของกลุม ผูศึกษาสรุปผลได ดังนี้ 1. สรุปผล 2. อภิปรายผล 3. ขอเสนอแนะ สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตนพบผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ ประการแรก ในประเด็นของบริบททั่วไปของกลุมทอผาไหม พบขอมูลสําคัญคือ กลุมทอผาไหม หวยยางหมูท6ี่ บริบททั่วไปดังนี้ กลุมทอผาไหมของสมาชิกบานหวยยางหมูท6ี่ พบวา สาเหตุการเขารวมกลุมทอผาไหม เนื่องจาก ไดรับการสงเสริมจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ครั้งในการเสด็จเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง โดย ตองการใหประชาชนมีรายไดเพิ่ม หลังจากที่ตองประสบกับปญหาทางการเกษตรจึงตองการที่จะใหผูหญิง ที่มีความสามารถอยูแลวในการทอผา จึงสงเสริมใหมีการทอผาไหมขึ้น โดยมีทหารเปนผูติดตอ ประสานงาน คือสิบเอกนาวี หันโยธา และมีการตั้งประธานกลุม คือนางเรณู ยางธิสาร โดยกลุมทอผา


ไหมนี้ยังเปนการตั้งขึ้นมาเพื่อตองการเพิ่มรายไดเล็กนอยๆ จึงไมมีกฎ กติกาไวชัดเจน แตสมาชิกทุกคนที่ ขึ้นทะเบียนจะไดอยูในโครงการสงเสริมศิลปาชีพ โดยจะมีเงินใหในการฌาปนกิจศพละ 5,000 บาท ประการที่สอง ในประเด็นของสภาพปญหาของกลุมทอผาไหม พบขอมูลสําคัญคือ สภาพปญหาดานการผลิต พบวา 1. ทุนในการผลิต เนื่องจากสมาชิกตองไปซื้ออุปกรณทุกอยางเอง มีทั้งคาใชจายในการเดินทาง จึง จําเปนตองเพิ่มราคาผาไหมจึงจะคุมทุน แตก็ขายไดยาก เพราะปจจุบันผาไหมมีทุกพื้นที่ ทําใหขาดแคลน เงินทุนหมุนเวียน 2. ขาดความรูความสามารถในเทคนิคในการออกแบบลวดลาย ปญหาในการมัดหมี่ 3. สีของผายอมสีธรรมชาติ ยอมสีเคมี ที่ไดหลังจากการยอมไมคงที่ 4. ราคาวัตถุดิบสูง 5. อุปกรณชํารุด และขาดแคลนอุปกรณที่ทันสมัย ไมเพียงพอกับความตองการของสมาชิก 6. การผลิตเปนแบบพื้นบาน และไมสามารถทําตอเนื่องตลอดทั้งปได 7. สมาชิกในกลุมสวนมากเปนผูสูงอายุ สภาพปญหาดานการตลาด ชองทางจําหนายผลิตภัณฑ กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีชองทางการจําหนายผาไหมอยู 3 ทางดวยกันคือ 1. ศูนยศิลปาชีพ สมาชิกสามารถสงใหกับทางศูนยศิลปาชีพ ซึ่งเปนตลาดทางหนึ่งใหกับสมาชิก 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ รับผลิตภัณฑที่สมาชิกกลุมทอผาไหม ไปขายใหที่ สํานักงาน แตเปนลักษณะไปวางขายเมื่อคนมาซื้อคอยนําเงินมาใหทางสมาชิก 3. ขายดวยตนเอง เมื่อสมาชิกทอผาไหมเสร็จ คนทั่วไปที่มาเยี่ยมยาติหรือคนตางหมูบาน ก็จะแวะ เวียนมาซื้อผาไหมบางตามโอกาส


แตในทางตรงกันขาม เมื่อมีตลาดมารองรับแลว แตสมาชิกกลุมตองเจอกับปญหาราคา ที่เจาของผา ไหมไมสามารถตั้งราคาขายไดเอง เมื่อสงไปยังศูนยศิลปาชีพ ก็เสมือนขายใหกับเจานายแลวแตเจานายจะ กําหนดราคาให อีกทั้งยังไดรับเงินชาดวย นอกจากนั้นเมื่อนําไปวางขายที่สํานักงานพัฒนาชุมชนก็เปนการ ไปวางขายเฉยๆ เมื่อขายผาไหมชิ้นนั้นๆไดคอยจะไดเงิน และการขายดวยตัวเองถึงแมจะสามารถกําหนด ราคาขายไดเองแตก็แลวแตโอกาสเพราะนานๆทีถึงจะมีผูซื้อ และผูซื้อนั้นก็ยงั ตองเลือกฝมือที่มีคุณภาพดีดี สภาพปญหาดานการบริหารการจัดการ กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ แมจะมีการจัดตั้งตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว แตกลุมมีปญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการอ ทั้งในเรื่องการไมมีคณะกรรมการที่ชัดเจน จาก การศึกษาพบวากลุมทอผาไหม มีประธานกลุม คือ นางเรณู ยางธิสาร รองประธานคือ นางธิรัก ยางธิสาร แตไมมีการเรียกประชุมกลุม เรียกประชุมเฉพาะตอนไปรับไหมหลวง และสงผาไหมเทานั้น ทําใหกลุม ไมไดรับการสนับสนุนจากองคกรพัฒนาเพราะกลุมไมไดมีโครงสรางที่ชัดเจน และไมมีการบริหารงานดวย รวมไปถึงการใชเงินสวนตัวในการลงทุนดําเนินทอผาไหม

ประการที่สาม ในประเด็นแนวทางการพัฒนากลุมทอผาไหม พบขอมูลสําคัญคือ สมาชิกกลุมทอ ผาไหมตองการแกไขปญหาของกลุมดวยกันอยู 3 เรื่องคือ ทุนในการผลิต ตองอุปกรณในการทอผาไหม และพัฒนาฝมือของตนเอง และไดดําเนินโครงการเติมเต็มความรูการมัดหมี่ ยอมสีไหม กลุมทอผาไหม บานหวยยางหมูท 6ี่ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2554 ณ ตลาดชุมชนบานหวยยางหมูท6ี่ โดยมีวัตถุประสงค 1. เพื่อใหสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการมัดหมี่ ยอมสี ไหม และออกแบบลายผาไหมมัดหมี่ไดมากขึ้น 2. กระตุนใหสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ของตนใหดีขึ้น จนนําไปสูการสามารถหาตลาดและหาชองทางการจัดจําหนายไดเพิ่มขึ้น ผลการประเมินโครงการ


พบวาสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ มีความสนใจและเขารวมโครงการดังกลาวจํานวน 15 คน และผูเ ขารับการอบรมมีความพึงพอใจการจัดฝกอบรมในระดับมากถึงมากที่สุด วิทยากรที่มาอบรม รูจักและสนิทสนมกับสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ บางคนเปนอยางดี เนื่องจากเคยเขามา อบรมดวยกันมาแลวเมื่อหลายปกอน ดังนั้นโครงการเติมเต็มความรูการมัดหมี่ ยอมสีไหม จึงเปนการทบทวน เพิ่มเทคนิค และเปน เรียนรูแลกเปลี่ยนระหวาสมาชิกกับวิทยากร และสมาชิกกับสมาชิกดวยกันเอง ที่สําคัญคือ การทอผาไหมนับวาเปนอาชีพหลักของกลุมสมาชิก เพื่อสรางรายไดใหแกครัวเรือน การทอผาไหมในยุคปจจุบัน ถึงแมจะมีการแขงขันกันมาก แตสมาชิกกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ยังตองการที่จะยังคงทอผาไหมตอไป เพื่อเปนการสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น และยังคงคิดวาจะทําตาม พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตอไป

อภิปรายผล

ประเด็นที่แรก กลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ไดมีการเรียนรูในการทอผาไหมสอดคลองกับ แนวคิด เอนก (2523 : คํานํา) ไดเสนอแนวคิดเรื่องการเรียนรูของชาวบานสรุปไดวา การที่ชาวบาน สามารถพึ่งตนเองได ทั้งๆที่ไมไดมีการชวยเหลือจากภายนอกมากนัก ก็เพราะชาวบานมีกระบวนการศึกษา และการแสวงหาทางออก เพื่อตอบสนองตอปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น และมีการปรับตัวใหเขากับกระแสการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และวัฒนธรรมที่เปนไปอยางรวดเร็วและซับซอนได ประเด็นที่สอง สภาพการดําเนินงานกลุมยังไมสามารถเรียกไดวาเปนกลุมอยางเปนทางการที่มีการ จัดการที่ดี มีผูนําที่มีศักยภาพการแบงผลประโยชนที่เหมาะสม เนื่องจากภายในกลุมจะแยกการดําเนินงาน ออกเปน 2 ลักษณะ คือ กลุมยอยที่ดําเนินการทอผาแบบเชิงธุรกิจ และกลุมยอยที่ดําเนินการทอผาแบบ ธรรมชาติ ดังนั้นผลการศึกษายังไมสอดคลองกับแนวคิดดานการพัฒนากลุมของเพ็ชรี รูปะวิเชตร(2546) ที่ เสนอวา การพัฒนากลุมอาชีพตองมีการจัดการที่ดี มีผูนําที่มีศักยภาพ กลาคิด กลาทํา เสียสละ และการแบง ผลประโยชนที่เหมาะสมใหแกกัน


ประเด็นที่สาม ความเขมแข็งของชุมชนนั้น ธีระพงษ (2546, หนา 44-55) ไดกลาวไววา กลุม องคกรนั้นมีสวนรวมในโครงการสาธารณชุมชน ตั้งแตการตัดสินใจ การวางแผน การดําเนินการระดม ทรัพยากร และการประเมินผล ภายใตสวนรวม ทําใหทุกกลุมหรือทุกองคกรในชุมชนมีบทบาทสําคัญ เรา อาจพิจารณาความเขมแข็งจากองคประกอบเกี่ยวกับชุมชนเขมแข็งได ดังนี้ 1. มีอุดมการณของกลุมชัดเจน 2. มีการบริหารจัดการที่ดีเปนระบบ 3. มีการทํากิจกรรมที่ตอเนื่อง 4. มีทุนในสัดสวนที่พอเพียง 5. มีเครือขาย ความรวมมือทั้งภายในและภายนอกกลุม 6. มีอํานาจตอรองกับหนวยงานภาครัฐที่จะตองใหการสนับสนุน 7. กลุมไดรับการยอมรับจากสังคมภายในและภายนอก แตกลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ นั้นเปนกลุมที่ไมสอดคลองกับขางตนคือ ไมมีกฎกติกา ไม มีทุนที่เปนกองกลาง แตสมาชิกตองใชเงินสวนตัวในการดําเนินกิจกรรม และขาดการบริหารจัดการที่ดี เนื่องจากกลุมไมมีคณะกรรมการ แมกระทั่งการดําเนินกิจกรรมก็ไมไดดําเนินกิจกรรมตลอดทั้งปเพราะวา กลุมทอผาไหม ทอผาไหมเปนอาชีพเสริม หรือทําในชวงเวลาวาง แตอาชีพหลักคือการทําเกษตรกรรม ทํา ใหการดําเนินกลุมทอผาไหมสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด 6×2 โดยตัวชี้วัดตัวที่ 2 คือดาน เพิ่มรายได โดยการคนในชุมชน หรือคนในครอบครัวมีการทําอาชีพเสริมหลังจากการวางเวนจากการทําเกษตรกรรม เพื่อใหมีรายไดเพิ่มขึ้น

ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้ชี้ใหเห็นวากลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ถึงจะไมดําเนินกลุมอยาง ตอเนื่อง แมจะมีปญหาอุปสรรคดังกลาวขางตน แตสมาชิกทุกคนยังคงสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น และทํา ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จากแนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามที่ไดกลาวมาขางตน จะเห็นวาคนในชุมชนมี กระบวนการเรียนรูที่เปนลักษณะเฉพาะของตนเองที่เชื่อมโยงกับประสบการณพื้นฐานทางดานวัฒนธรรม ที่มีอยูในชุมชน


ดังนั้นสภาพปญหากลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ จะมีปจจัยอะไรบางที่เปนปญหาในการ ประกอบอาชีพทอผาไหม ทั้งนี้เพื่อนําผลที่ไดไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาและสงเสริมการกลุมทอผา ไหมบานหวยยางหมูท6ี่ และกลุมทอผาไหมในชุมชนอืน่ ๆ ตอไป ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะดานงานวิจัย 1. ผูมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนากลุมทอผาไหมบานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ควรนําผลการศึกษาครั้งนี้ไปศึกษาอยางลึกซึ้ง เพื่อการดําเนินที่ เหมาะสมกับธรรมชาติของกลุมใหมากที่สุด อยางคอยเปนคอยไป 2. ควรมีกองทุนชวยเหลือรับซื้อเปนเงินสด หรือประกันราคา เพื่อใหกลุมทอผาไหมไดมีเงิน หมุนเวียนไปใชในการผลิตไดอยางตอเนื่อง หรืออาจจะรับซื้องานที่คุณภาพดี หรืองานที่ตรงความตองการ ลูกคา เพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการผลิตงานคุณภาพ

ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน 1. ควรใหความสําคัญกับบทบาทของเยาวชนในพื้นที่ โดยขอความรวมมือจากสถานศึกษาและ ผูปกครองเขามามีสวนรวมในการจัดงานอนุรักษและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อใหเยาวชนมีบทบาทและ เล็งเห็นถึงความสําคัญของภูมิปญญาทองถิ่น 2. ควรจัดสรรงบประมาณเปนงบประมาณประจําในการสงเสริมฝกอบรมดานการออกแบบและ ทักษะฝมือ เพือ่ สรางอัตลักษณของผาไหมที่เปนของตนเอง และสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทองถิ่นเพื่อบูรณาการทั้งการทองเที่ยวและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น


บรรณานุกรม


บรรณานุกรม

ทอนจันทร วงศพรหม. (2540). ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินงานของกลุมแมบาน เกษตรกรบานสวาง ตําบลศรีสวาง อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. สุนันทา ตั้งสถิต. (2546). แนวทางการพัฒนาตลาดผาหมี่ขิดของหมูบานขา อําเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี.มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุภาพร พรหมนิยม. (2542). ปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จในธุรกิจการทอผาไหมมัดหมี่ของกลุม สตรีและผลกระทบตอชุมชนชนบท กรณีศึกษาบานนาโพธิ์ อําเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย.มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จิตร ภูมิศักดิ์.(2540).ความเปนมาของคําสยามไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชน ชาติ.พิมพครั้งที่ 4.บริษัทเคล็ดไทย จํากัด.กรุงเทพฯ. ทวีทอง หงสวิวัฒน.(2527).การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. ศักดิโ์ สภาการพิมพ. กรุงเทพฯ. บรรชร กลาหาญ. (2543). การเปลี่ยนแปลงกระบวนการถายทอดความรูดานการผลิตของ หัตถกรรมพื้นบาน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ทีมขาวสตรีไทยรัฐ.สายพระเนตรอันยาวไกลชุบชีวิตไทยยั่งยืน. หนังสือพิมพไทยรัฐ วันศุกรที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554 บัณฑิตา ศรีชัยมูล. (2549) การพัฒนาแบบมีสวนรวมสงเสริมการดําเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุมทอ ผา หมูที่ 4 ตําบลโคกเจริญ อําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุร.ี วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ละออ ทรงฤกษณ. (2548) การพัฒนาความรูดานการตลาด ของกลุมอาชีพทอผา บานมวงหอม หมูที่ 5 ตําบลแกงโสภา อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อคิน รพีพัฒน, ม.ร.ว. (2546). คูมืองานวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ใน อุทัย ดุลยเกษม (บรรณาธิการ). ขอนแกน : สถาบันวิจัยละพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน.


กาญจนา แกวเทพ และกนกศักดิ์ แกวเทพ. การพึ่งตนเอง: ศักยภาพในการพัฒนาของชนบท. กรุงเทพฯ : สภาคาทอลิกแหงประเทศไทยเพื่อการพัฒนา, 2530. ผูชวยศาสตราจารยสมบัติ สิงฆราช. การพัฒนากระบวนการผลิตของกลุมผูผลิตผาฝายทอมือ กรณีศึกษา : กลุมทอฝายบานดอนหลวง ตาบลแมแรง อาเภอปาซาง จังหวัดลาพูน. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ. การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2550 ทรงจิตร พูนลาภ และคณะ. การวิจัยและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในกระบวนการเสนทางสายฝาย. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, 2547. ปรเมษฐ กาญจนาวรางกูร. การพัฒนาและสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเองสําหรับสตรี. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2541.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก รายนามผูใหสัมภาษณ


รายนามผูใหสัมภาษณ

1.นางเรณู ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 207 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.นางธิรัก ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 230 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3.นางมั่นใจ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 12 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.นางนวม ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 198 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 5.นางบุญโฮม ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 265 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 6.นางอุไร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 21 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 7.นางเลาคํา ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 99 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 8.นางคําพิษ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 95 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 9.นางสาวสมุทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 99 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 10.นางกองคํา ยางธิสาร เปนผูใหสมั ภาษณ ที่บานเลขที่ 233 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


11.นางเสนอ พลราชม เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 73 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 12.นางเพลิน วงศอินพอ เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 79 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 13.นางอุดม ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 97 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 14.นางกาวิน โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 91 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 15.นางเสวย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 222 บานหวยยางหมูท 6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 16.นางทอน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 52 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 17.นางสํารวย คําพา เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 109 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 18.นางทองหนุน เกี๊ยวเกา เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 109 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 19.นางผองคํา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 76 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 20.นางรวม ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 11 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 21.นางเรียน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 78 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


22.นางบริวรรณ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 190 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 23.นางจินตนา พลราชม เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 178 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 24.นายหวล ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 215 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 25.นางวิชิน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 215 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 26.นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 133 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 27.นางมุง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 133 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 28.นายวีระชัย แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 26 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 29.นายพาดี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 11 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 30.นายวันดี โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 75 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 31.นายเกล็ดแกว โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 114 บานหวยยางหมูท6ี่ ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ


แนวการสัมภาษณ

พัฒนานิพนธเรื่อง การพัฒนาความเขมแข็งกลุมทอผาไหม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร (แบบสัมภาษณประธาน และรองประธานกลุม) (แบบสัมภาษณไมมีโครงสราง) 1.ประวัติการกอตั้งกลุม 1.1 กลุมกอตั้งเมื่อไหร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 1.2 ใครเปนผูมีบทบาทในการกอตั้ง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 2. วัตถุประสงคของกลุม 2.1 กลุมตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2.2 ใครมีบทบาทในการกําหนดวัตถุประสงค


............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2.3 กลุมเคยปรับแกวัตถุประสงคหรือไม เพราะอะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

3. การบริหารจัดการของกลุม 3.1 ปจจุบันกลุมมีกรรมการกี่คน ตําแหนงอะไรบาง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 3.2 ปจจุบันกลุมมีสมาชิกกี่คน สมาชิกเพิ่มหรือลด ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 3.3 กลุมมีวิธีการไดมาซึ่งกรรมการอยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3.4 กลุมมีวิธีการไดมาซึ่งสมาชิกอยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


3.5 กลุมมีการประชุมบอยแคไหน ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3.6 กลุมมีการประสานกันอยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

4. กฎระเบียบของกลุม 4.1 กฎระเบียบของกลุมมีอะไรบาง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4.2 ใครมีบทบาทในการตั้งกฎระเบียบ ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4.3 กลุมเคยปรับแกกฎระเบียบหรือไม เพราะอะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


5. การเงินของกลุม 5.1 ปจจุบันกลุมมีเงินทุนทั้งหมดเทาไหร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5.2 กลุมไดรับเงินทุนดังกลาวจากไหน ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5.3 กลุมมีเงินทุนเพียงพอในการทํางานหรือไม ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

6. แผนกิจกรรมของกลุม 6.1 แผนการดําเนินงานของกลุมมีอะไรบาง อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6.2 กิจกรรมของกลุมมีตอเนื่องทั้งปหรือไม อยางไร


............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7.ผลการดําเนินงานของกลุมในรอบป 7.1 กลุมมีการทํางานอะไรบาง มากนอยแคไหน ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7.2 ประสบผลสําเร็จหรือลมเหลว กําไรหรือขาดทุน ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7.3 สมาชิกกลุมไดรับผลประโยชนหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


8. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน 8.1 ปญหาหรืออุปสรรคคืออะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 8.2 กลุมไดเคยชวยกันแกไขหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 9. ความตองการในการพัฒนากลุม 9.1 กลุมมีจุดเดนหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 9.2 กลุมมีควรไดรับการปรับปรุงหรือไม เรื่องใดบาง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 9.3 แนวทางการปรับปรุงการทํางานกลุมใหดีขึ้น ควรเปนอยางไร หรือควรทําอยางไร ............................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................


.......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

แบบสัมภาษณ

พัฒนานิพนธเรื่อง การพัฒนาความเขมแข็งกลุมทอผาไหม บานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร (แบบสัมภาษณสมาชิกกลุม) (แบบสัมภาษณมีโครงสราง) 1. ขอมูลสวนตัว ชื่อ...........................................................สกุล................................................... เพศ............................อายุ...............ป การศึกษา................... สถานภาพสมรส........................... บานเลขที.่ ................. 2. ประวัติการเปนสมาชิกกลุม 2.1 ทานเปนสมาชิกกลุมเมื่อไหร นานหรือยัง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 2.2 ทําไมทานจึงสมัครเปนสมาชิกกลุม ใครชักชวน


............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ความเขาใจเกี่ยวกับกลุม 3.1 ทานทราบหรือไมวากลุมตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3.2 ทานทราบหรือไมวาการทํางานกลุมดีอยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

4. บทบาทหนาที่ในกลุม 4.1 ทานทราบหรือไมวาสมาชิกตองมีบทบาทหนาที่อะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4.2 ปจจุบันทานมีบทบาทหนาที่อะไรในกลุม ............................................................................................................................................................ 4.3 ทานเคยเขารวมทํางานในเรื่องอะไรบาง


............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4.4 ทานเคยเขาประชุม อบรม หรือศึกษาดูงานหรือไม ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. ผลประโยชนที่ไดรับ 5.1 ทานไดรับประโยชนอะไรบางจากการเปนสมาชิกกลุม ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5.2 ทานพึงพอใจหรือไมกับประโยชนที่ไดรับ เพราะอะไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

6. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน 6.1 ทานประสบปญหาหรือมีอุปสรรคในการทํางานกลุมหรือไม อยางไร


............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6.2 ปญหาหรืออุปสรรคดังกลาว กลุมไดเคยชวยกันแกไขหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7. ความตองการในการพัฒนากลุม 7.1 ทานคิดวากลุมมีจุดเดนหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7.2 ทานคิดวากลุมมีความตองการในการปรับปรุงใหดีขึ้นหรือไม ในเรื่องใดบาง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7.3 ทานคิดวาแนวทางในการปรับปรุงการทํางานกลุมใหดีขึ้น ควรเปนอยางไร หรือควรทําอยางไร ............................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................


.......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

ภาคผนวก ค แผนผังเครือญาติตระกูลโตะชาลี


แผนผังเครือญาติตระกูลโตะชาลี


ภาคผนวก ง แผนที่หมูบานหวยยางหมูท6ี่


คลองชลประทาน 23 104

91 208

90

แผนที่หมูบานหวยยางหมูท6ี่ 263

35

89

98 207 100 103

86

94 95

187

17

97

222

75

61

265

วัดโพธิ์ชัย 46 47

217

248

58

200อุดมการคา 242

145

158

11

43

41

14 54

229 20

199

53

133 40

179 230

243

52

42

96

รานซอมรถ 117 78

โรงเรียนบานหวยยาง

27 114

201 115

68

รานอาหารในสวน

สวนผักหวานนายเลง 247

216 198 150

106

121

37

80 26 189 209 79 190 112 174

63

139

รานกวยเตี๋ยว

233 227 82

6

62

36

195

240 60

71

99

76

123

146

แทน สมาชิกกลุมทอผาไหไมบานหวยยางหมูที่6

83

21

1

109

196 84

85

142

N

127 172 16 12 120 139วีรศักดิ์การคา

215

28

205 223 159

24

193

5

252 197 182

3

69

โรงสีนายเลง วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม


ภาคผนวก จ ปฏิทินวัฒนธรรม


บุญกฐิน

บุญปใหม

บุญกฐิน เดือนสิบสอง

เดือนอาย

เดือนสิบเอ็ด บุญขาวสาก

เดือนยี่ ประทายขาวเปลือก (บุญกองขาว)

เดือนสิบ

ปฏิทินประเพณี วัฒนธรรม

บุญขาวประดับดิน

เดือนเกา

เดือนสาม

เลี้ยงเจาปูตา

เดือนสี่

บุญบั้งไฟ หมอเหยา

เดือนแปด เขาพรรษา

เดือนหา เดือนเจ็ด

เดือนหก

บุญบั้งไฟ สรงพระภู

บุญมหาชาติ

ปฏิทินประเพณี วัฒนธรรม


ภาคผนวก ฉ ภาพประกอบพัฒนานิพนธ


วัดปาพุทธนิมิตสถิตสีมาราม


โรงเรียนบานหวยยาง

วัดโพธิ์ชัย


ศาลปูตา


หนองไผ

อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง


ตลาดชุมชน

ประปาประจําหมูบาน



สภาพทั่วไปของชุมชน


วิถีชีวิตชาวบานบานหวยยาง

พิธีสรงน้ําพระภู


ทําบุญวันเขาพรรษา

การยอมสีไหม


การปนไหม


เปดเวทีประชุม กลุมทอผาไหม

เก็บขอมูลกับสมาชิกกลุม


ประวัติยอของผูศึกษา


ประวัติยอของผูศึกษา

ชื่อ วันเกิด ที่อยูปจจุบัน ประวัติการศึกษา

นางสาวผกาสินี มาธุระ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2532 บานเลขที่ 127/1 หมูที่ 20 ตําบลศิลา อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน พ.ศ. 2547 มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนขามแกนนคร ตําบลศิลา อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน พ.ศ. 2550 มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนขามแกนนคร ตําบลศิลา อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.