ecotourism management

Page 1

ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา : ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

สุนารี หมื่นหาวงศ

พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม



ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความอนุเคราะหอยางสูงจากทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษา ที่คอยใหคําชี้แนะในสิ่งที่เปนประโยชนตองานวิจัย และ ขอขอบพระคุณ คุณภักดี พรมเมือง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาจารยภาคสนามเปนอยางสูงที่คอยใหคําแนะนําและชวยเหลือในการฝกงาน ภาคสนาม ซึ่งทานไดคอยแนะนําในเรื่องตางๆใหกับผูศึกษาตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ดวย ขอขอบพระคุณสํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่ใหนิสิตฝกงานไดรับ ประสบการณที่ดีในการฝกงานครั้งนี้ ใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดี ขอขอบพระคุณคุณสิทธิชัย ธนะคําดี นายกอบต.เหลาโพนคอ สิบเอกมีชัย อุนวิเศษ ปลัดอบต. เหลาโพนคอ คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร คุณรัตนะ คําโสมศรี หัวหนาสํานักปลัด คุณ อนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน คุณดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษาและเจาหนาที่องคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอทุกทานที่คอยใหขอมูล คําแนะนํา รวมถึงใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดี ขอขอบพระคุณพอวิกรานต โตะชาลี ที่คอยใหขอมูล คําแนะนํา ที่พักกับผูศึกษา ซึ่งชาวบานบาน หวยยางเหนือ หมูที่ 9 บานหวยยาง หมูที่ 6 นั้นการตอนรับแกผูศึกษาดวยดีเสมอมา ขอขอบพระคุณ ชาวบานทุกๆคน ขอขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทานที่คอยอบรมสั่งสอน คอยชี้แนะมาตลอด ขอกราบขอบพระคุณคุณพอผัน หมื่หาวงศ บิดา คุณแมหนูจิตร หมื่นหาวงศ มารดาของผูศึกษา สมาชิกในครอบครัว ที่คอยเปนกําลังใจใหแกผูศึกษาทําใหการศึกษาครั้งนี้สําเร็จไปดวยดี ขอบคุณเพื่อนๆ นิสิตสาขาการพัฒนาชุมชน ชั้นปที่ 4 ทุกคนที่ชวยเหลือสนับสนุนทั้งแรงกายแรงใจและกําลังสติปญญา ตลอดมา ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูศึกษาขอมอบใหแกคุณพอผัน หมื่หาวงศ บิดาของ ผูศึกษา คุณแมหนูจิตร หมื่นหาวงศ มารดาผูใหกําเนิด สมาชิกในครอบครัวหมื่นหาวงศทุกคน รวมถึงผูที่ สนใจพัฒนานิพนธฉบับนี้ สุนารี หมื่นหาวงศ


ชื่อเรื่อง ผูศึกษา อาจารยที่ปรึกษา ปริญญา มหาวิทยาลัย

ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นางสาวสุนารี หมื่นหาวงศ อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสาคาม ปที่พิมพ 2554

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวย ยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาศักยภาพ ชุมชนดานแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2)เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3)เพื่อเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตของการศึกษา คือ พื้นที่ชุมชนหวยยาง บานหวยยาง หมูที่ 6 และ บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 โดยมีกลุมเปาหมาย คือ หัวหนาครัวเรือน จํานวน 10 คน คณะกรรมการ หมูบานและผูนําชุมชน จํานวน 20 คน ตัวแทน ตัวแทนกลุมแมบาน จํานวน 10 คน ระยะเวลาในการศึกษา ระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2554 วิธีการดําเนินการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาขอมูลเอกสารที่เกี่ยวกับ ทั่วไปของชุมชนและการศึกษาภาคสนามจากการเก็บขอมูล เครื่องมือที่ใชในการศึกษา การสังเกตการณ แบบมีสวนรวม การสัมภาษณจากกลุมเปาหมาย การบันทึกภาคสนาม แผนชุมชน กลองถายรูป แลวนํา ขอมูลที่ไดจากการศึกษามารวมสรุปและวิเคราะหเขียนรายงานเปนผลการศึกษา ผลการศึกษามีดังนี้ ประการแรก พบวา ชุมชนหวยยาง อยูติดกับเทือกเขาภูพาน อาศัยน้ําฝนในการทํานา ทํา การเกษตร ตอมาเมื่อปพ.ศ. 2524 บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ.ศ. 2510 ชาวบานหวยยางจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด จนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวสฟาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทานจึงไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอาง เก็บน้ําหวยโท - หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จเมื่อปพ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปน ตนมาจนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ


เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงนํารองดาน การเกษตรอันดับหนึ่งของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลา ไม ชุมชนหวยยางเปนชุมชนที่ตั้งอยูใกลเขตอุทยานแหงชาติภูผายลจึงทําใหแหลงทองเที่ยวของชุมชน หวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพื้นที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ มีวิถี ชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มีแหลงประวัติศาสตร มีสถานที่สําคัญ เขาถึงสะดวกรวดเร็ว ประการที่สอง พบวา ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ชุมชนหวยยางยังไมมี ระบบการบริหารจัดการที่เปนแนวทางชัดเจน ไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยว บุคลากรในชุมชนหวยยาง มีความพยายามที่จะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยูบาง สวนเอกสารความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว ในการฝกงานครั้งนี้ไดจัดโครงการพัฒนาความรู ความสามารถดานการบริหารจัดการการทองเที่ยว ใหกับชุมชน ณ ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพือ่ เปนการ สงเสริมความรูดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวใหกับชุมชน โดยสรุปแลวการศึกษาครั้งนี้ใหความสําคัญกับการสงเสริมชุมชนในการจัดการการทองเที่ยว รวมกับหนวยงานที่สงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่น


สารบัญ บทที่

หนา

1 บทนํา ......................................................................................................................................... 1 ภูมิหลัง .................................................................................................................................. 1 วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................... 6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ................................................................................................... 6 ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................................... 7 ประชากรและกลุม ตัวอยาง .................................................................................................... 7 แนวคิดที่ใชในการศึกษา ....................................................................................................... 8 งานวิจัยที่เกี่ยวของ .............................................................................................................. 20 วิธีดําเนินการศึกษา .............................................................................................................. 21 นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................................................. 22 2 บริบททั่วไปของชุมชน ................................................................................................................ 23 ประวัติความเปนมาของชุมชนหวยยาง ............................................................................... 23 บริบททั่วไปของชุมชนหวยยาง ........................................................................................... 24 3 ศักยภาพแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง ................................................................................... 30 ศักยภาพแหลงทองเที่ยวในชุมชน ....................................................................................... 30 4 ศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ........................................................... ศักยภาพชุมชนดานประเพณีและวัฒนธรรม ........................................................................ ศักยภาพชุมชนดานสิ่งอํานวยความสะดวก ......................................................................... ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง .................................................................. บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยว .............. ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ..........................................

38 38 40 41 42 43


5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ .......................................................................................... วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................. ประชากรและกลุมตัวอยาง .................................................................................................. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ................................................................................................... การเก็บรวบรวมขอมูล ......................................................................................................... สรุปผล ................................................................................................................................ อภิปรายผล .......................................................................................................................... ขอเสนอแนะ .......................................................................................................................

46 46 47 47 47 48 54 55

บรรณานุกรม .................................................................................................................................... 57 ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก

ก แบบสัมภาษณ .............................................................................................. ข แผนผังหมูบาน ............................................................................................. ค ปฏิทินวัฒนธรรม .......................................................................................... ง เสนทางการทองเที่ยว ................................................................................... จ รูปกิจกรรม ................................................................................................... ฉ แผนพับแนะนําแหลงทองเที่ยว ....................................................................

61 64 67 69 72 79

ประวัติยอของผูศึกษา ........................................................................................................................ 81


สารบัญตาราง ตาราง 1 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ที่ชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 .......................................................... 2 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ที่ชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยาง หมูที่ 6 .................................................................. 3 สถานที่ตั้งของแหลงทองเที่ยวตางๆ .............................................................................................. 4 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง .................................................................................

หนา

17 22 37 44


บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ

หนา

1 อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและบริเวณสรางศาลาทรงงาน ......................................................... 30 2 ถ้ําผาเก .......................................................................................................................................... 31 3 พระธาตุดอยอางกุง ....................................................................................................................... 31 4 พระพุทธศิริมงคล ......................................................................................................................... 32 5 จุดชมวิวเสาเฉลียง ......................................................................................................................... 32 6 น้ําตกศรีตาดโตน .......................................................................................................................... 33 7 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร .............................................................................................................. 33 8 สํานักสงฆภูนอยอางกุง ................................................................................................................. 34 9 ภูผานอย ........................................................................................................................................ 34 10 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร ....................................................................................................... 35 11 ผาขาม ......................................................................................................................................... 35 12 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) ................................................................................................................. 36 13 โบสถดิน ..................................................................................................................................... 36 14 บานพักโฮมเสตยของนางบัวลอย โตะชาลี ................................................................................. 40 15 เสนทางการคมนาคมในชุมชน .................................................................................................... 41


บทที่ 1 บทนํา

ภูมิหลัง ชุมชนหวยยาง ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร บานหวย ยางเหนือ หมูที่ 9 มีประชากรทั้งหมด 858 คน แยกเปนเพศชายจํานวน 420 คน เพศหญิงจํานวน 438 คน มีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 168 ครัวเรือนและบานหวยยาง หมูที่ 6 มีประชากรทั้งหมด 923 คน แยก เปน ชาย 255 คน หญิง 485 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 199 ครัวเรือน ในปงบประมาณ 2554 นี้ตําบลเหลาโพนคอไดถูกเลือกใหเปนตําบลเปาหมายในการพัฒนาใหเปน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีชุมชนเปาหมายในตําบลคือบานหวยยาง หมูที่ 6 นอกจากนี้บานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 เปนพื้นที่เปาหมายขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ที่สงเสริมใหเปนหมูบาน ทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยใหชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีอยูใ น ชุมชน เพื่อเปนอาชีพเสริมใหกับชุมชน ใหชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้นนอกจากรายไดจากภาคการเกษตร และ ยังเปนหมูบานเปาหมายของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณในการพัฒนาใหเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แบงแยก ออกจากบานหวยยาง หมูที่ 6 เมื่อปพ.ศ. 2538 ผูใหญบานชื่อ นายวิกรานต โตะชาลี อายุ 48 ป การศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพการบัญชีจากโรงเรียนพณิชยการสกลนคร เมื่อปพ.ศ.2524 เปนผูใหญบาน คนที่ 2 ตอจากนายสนิท ยางธิสาร เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2540 สมัยนี้เปนสมัยที่ 3 บานหวยยางเหนือ เปน หมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เคยเปนหมูบานประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2510 หนีภัยแลงไป 20 ครัวเรือน ยายไปที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไป อยูบานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งที่ 2 หนีภัยแลงไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย ตามประวัติเดิมแลวบานหวยยางเหนือ อยูติดกับเทือกเขาภูพาน อาศัยน้ําฝนในการทํานา ทํา การเกษตร ตอมาเมื่อปพ.ศ. 2524 บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ.ศ.


2510 ชาวบานบานหวยยางจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัด มุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด จนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวสฟาด หัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาว ไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทานจึงไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการ กอสรางอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จเมื่อปพ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้น เปนตนมาจนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพน คอ เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงนํารองดาน การเกษตรอันดับหนึ่งของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลา ไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ในแตละปมีผูมาศึกษาดูงานไมต่ํากวา 1,000 – 2,000 คน ผูวาราชการจังหวัดสกลนครที่ใหการสนับสนุนและเขามาเยี่ยมเยือน อาทิเชน 1.นายถนอม ชานุวงศ 2.นายรุงฤทธิ์ มกรพงษ 3.นายพีระพล ไตรธสาวิท 4.นายปรีชา กมลบุตร เมื่อป พ.ศ. 2546 นายรุงฤทธิ์ มกรพงษ ผูวาราชการจังหวัดสกลนครไดมอบเงินจํานวน 125,000 บาท โดยใหเปลาเปนการสนับสนุนกลุมเพาะพันธุกลาไม ในปพ.ศ. 2548 หมูบานไดรับการคัดเลือกจาก องคกรพัฒนาประชาชน(คอป.) จํานวน 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ ไทย และติดติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีนายเริง ยางธิสารเปนประธานกลุม เพาะพันธุกลาไม และนายวิกรานต โตะชาลี เปนประธานที่ปรึกษา นอกจากนี้บานหวยยางเหนือยังเปนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม เพราะอยูใกลกับอุทยาน แหงชาติภูผายล จึงมีสถานที่ที่สวยงามมาก เชน น้ําตกศรีตาดโตน เปนน้ําตกที่ใสสะอาด มองเห็น ปู ปลา มี ดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา จุดหัวภูสุดอางกุง เปนจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นไดรอบทิศทาง เหมาะสําหรับดู พระอาทิตยขึ้นในตอนเชาและทะเลหมอกที่สวยงาม รอบดานเปนหุบเขาจะสามารถมองเห็นภูผาลม ภูผา แดง ภูแผงมา จุดชมวิวเสาเสลี่ยง เปนโขดหินที่แปลกสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาจาก ประเทศลาว พระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ้ง เปนจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศนที่สวยงาม สามารถ มองเห็นหนองหาร เหมาะสําหรับผูที่ศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่มากราบไหว เริ่มจากหลวงปูภาไดสราง เจดียองคเล็กไว ตอมาป 2500 หลวงปูดวงก็ไดบูรณะพระธาตุอางกุงโดยครอบเจดียองคเดิม และยังเปนจุด หนึ่งที่คนพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ที่คาดวาเปนไดโนเสารในบริเวณเทือกเขาภูพาน อยูในเขตอุทยาน แหงชาติภูผายล โดยสภาพทั่วไปของพระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ้งไมวาจะเปนหินชั้นดิน และสภาพปาที่ มีอยูโดยทั่วไปเปนพันธุไมดึกดําบรรพ จึงเชื่อวาบริเวณนี้เปนที่อยูอาศัยของไดโนเสารในสมัยโบราณ ซึ่ง การเดินทางขึ้นไปชมซากฟอสซิลไดโนเสารไดนั้นจะตองขามอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ซึ่งเปนอางเก็บ น้ําที่อยูใกลบานหวยยางเหนือ เปนตน


องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอจะสงเสริมและใหการสนับสนุนชุมชนในเรื่องการเรือขาม ฟาก เพราะการจะขึ้นไปทองเที่ยวในที่ตางๆจะตองนั่งเรือผานอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง และเดินขึ้นเขา ตอเพื่อไปเที่ยวยังจุดตางๆตามแผนผังเสนทางการทองเที่ยวของตําบลเหลาโพนคอ โดยองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอจะพัฒนาสถานที่ทองเที่ยวในแตละแหงใหมีจุดเดนมากขึ้น เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว เริม่ พัฒนาจากอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางในการสรางศาลาทรงงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูห ัวฯที่พระองคเคยเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางดวยพระองคเองเมื่อป พ.ศ. 2531 และจะ เนนพัฒนาในจุดที่คนพบซากฟอสซิลไดโนเสารในเขตบานหวยยาง-หวยยางเหนือ ใหชัดเจนและพัฒนา เสนทางใหสามารถเดินทางไดสะดวกมากขึ้น เพราะเสนทางในการเขาไปยังจุดที่คนพบซากฟอสซิล ไดโนเสารจะคอนขางลําบาก เนื่องจากเปนภูเขาซึ่งเต็มไปดวยหนาผาและโขดหิน บางแหงมีน้ําตกเล็กๆและ มีปาไมขึ้นประปราย จึงจะพบซากฟอสซิลไดโนเสารแหลงที่ 1 และ 2 อยูที่บริเวณผาแดง อยูหางจากอางเก็บ น้ําหวยโท – หวยยาง 1.5 กม. โดยซากที่พบมีจํานวนมาก จะไหลเปนทางยาวตามลําธารซึ่งจุดนี้เปนจุดใหญ และเดินอีกเล็กนอยก็ถึงสถานที่พบซากฟอสซิล แหงที่ 3 เมื่อดูจากสภาพชั้นหินชั้นดิน ดูจากสภาพปาแลว และดูจากขอมูลของนักธรณีวิทยาแลวเชื่อวา บริเวณนี้จะเปนแหลงที่อยูอาศัยของไดโนเสารสมัยในสมัย โบราณ กอนหนานี้องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดเชิญเจาหนาที่จากพิพิธภัณฑสิรินธรภูอุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ มาตรวจสอบแลวและยืนยันวาเปนฟอสซิลไดโนเสารจริง และสมควรจะไดรับการคุมครอง การคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารแหงนี้ จะทําใหสามารถรับรูเรื่องราวของชีวิตในอดีตยอนหลัง อันจะเปน ประโยชนในการบริหารจัดการแหลงซากดึกดําบรรพที่พบ และสงเสริมใหเปนแหลงทองเที่ยวเพื่อการ เรียนรูของเยาวชนตอไป ในรอบทศวรรษที่ผานมา การทองเที่ยวเชิงนิเวศไดกลายมาเปนธุรกิจที่เจริญเติบโตรวดเร็วที่สุดใน แวดวงของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว แตในขณะเดียว กัน การทองเที่ยวเชิงนิเวศก็เปนแนวคิดใหมที่ยังมี ความสับสน มีการถกเถียงและการนําเสนอมุมมองที่แตกตางกันในหลายดานดวยกัน ในการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง "การทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการอนุรักษปาและการพัฒนา ชุมชน" ที่จัดขึ้น ณจังหวัดเชียงใหม เมื่อเดือนมกราคม 2540 การทองเที่ยวเชิงนิเวศไดรับการนิยาม ความหมายวาเปน "การทองเที่ยวไปยังแหลงธรรมชาติโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียนรูทําความเขาใจกับ พัฒนาการทางวัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกัน ก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนโดยตรงจาก การอนุรักษธรรมชาติแวดลอม" ในการจัดสัมมนาครั้งนั้น Gail Nash นักวิจัยจากสมาคมการทองเที่ยวเชิง นิเวศ (The Ecotourism Society) ไดนําเสนอหลักการพื้นฐาน 7 ประการของการทองเที่ยวเชิงนิเวศไวดังนี้


ประการแรก การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองหลีกเลี่ยงการสรางผลกระทบทางดานลบที่จะกอใหเกิด ความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของพื้นที่ทองเที่ยว ประการที่สอง การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองใหการศึกษาแกนักทองเที่ยว ใหตระหนักถึง ความสําคัญของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม ประการที่สาม รายไดจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและ การจัดการเขตอนุรักษ ประการที่สี่ ชุมชนทองถิ่น รวมทั้งชุมชนที่อยูใกลเคียง จะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจาก การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ประการที่หา การทองเที่ยวนิเวศจะตองเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเที่ยวจะตองอยูภายในขอบเขตของ ศักยภาพในการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถิ่น ประการที่หก รายไดสวนใหญจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของ แหลงทองเที่ยว ดวยเหตุนี้เอง การทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิต-ภัณฑและบริการของทองถิ่นเปน สําคัญ และ ประการที่เจ็ด การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองใหความสําคัญกับการใชจากโครงสรางพื้นฐานที่ไดรับ การพัฒนาขึ้นบนฐานคิด ซึ่งเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน ลดละการใชน้ํามัน เชื้อเพลิง อนุรักษพันธุพืชพื้นบาน และจัดการทองเที่ยวใหสอดคลองกับธรรมชาติแวดลอมอยางแทจริง หลักการพื้นฐานทั้ง 7 ประการของการทองเที่ยวเชิงนิเวศดังกลาวขางตน แมจะครอบคลุมประเด็น สําคัญตางๆ หลายดานดวยกัน แตก็ยังขาดมุมมองสําคัญเกี่ยวกับบทบาท และการมีสวนรวมของชุมชน ทองถิ่น โดยเนื้อแทความจริงแลว การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะประสบความสําเร็จไดก็ตอเมือ่ วางอยูบนแนวคิด ที่เนนความสําคัญของการผสมผสานจุดมุงหมายของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและการพัฒนาชุมชนไว เปนเรื่องเดียวกัน อีกทั้งใหความสําคัญกับมิติของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม การทองเที่ยวเชิงนิเวศไมควรมีสูตรสําเร็จรูปแบบที่ตายตัวหรือนโยบายที่มีมาตรฐานเดียว หากแตการทองเที่ยวเชิงนิเวศควรเปนสวนหนึ่งของทางเลือกในการพัฒนา และกอใหเกิดกระบวนการ เรียนรูอยางแทจริง ในสภาวะที่ชุมชนชนบทมากมายหลายแหงทั่วประเทศ กําลังเผชิญหนากับปญหาวิกฤติในดานของ ความยากจนและปญหาความเสือ่ มโทรมของธรรมชาติแวดลอม การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จึงนาจะเปนสวน หนึ่งของคําตอบในการแกปญหาอันพึงไดรับการสงเสริมสนับสนุนเปนอยางยิ่ง การมองการทองเที่ยวเชิง นิเวศในบริบทของการพัฒนาอยางยั่งยืนยังเปนแนวคิดที่ใหความสําคัญกับการนําเอารายไดจากการ ทองเที่ยวมาใชในโครงการพัฒนาชุมชนดวยตัวเองในรูปแบบตางๆ ทั้งในดานของการสรางกองทุนชุมชน


การพัฒนาอาชีพและฝมือแรงงานในการประดิษฐหัตถกรรมพื้นบาน และการพลิกฟนกระบวนการเรียนรู ของชุมชนในดานของการจัดการทรัพยากรพันธุกรรม การอนุรักษและพัฒนาสายพันธุพืชพื้นบาน และการ เชื่อมตอภูมิปญญาทองถิ่นกับวิทยาศาสตรสมัยใหม เปนตน การทองเที่ยวในงานพัฒนาชุมชน เปนการใหความสําคัญกับสิทธิชุมชนในการเขามามีสวนรวมใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมุงพัฒนาให “ คนในชุมชน ” เปนหัวใจสําคัญในการ จัดการการทองเที่ยว จึงเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชนและใหคนในชุมชนไดเขามามี บทบาทในการจัดการการทองเที่ยว เพื่อนําไปสูการดูแลรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติโดยใหมีความ สมดุลกับภูมิปญญาทองถิ่นและอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมถึงการเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนใน รูปแบบ “ การทองเที่ยวโดยชุมชน ” ซึ่งจะตั้งอยูบนฐานคิดที่เนนใหเห็นถึงความสําคัญของการผสมผสาน จุดมุงหมายของการฟนฟูและอนุรักษสภาพแวดลอม รวมทั้งอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของชุมชน นอกจากนี้ยังมีจุดมุงหมายใหคนในชุมชนรูจักการสรางสํานึกทองถิ่น เรงเราความภาคภูมิใจใน ความเปนอัตลักษณของวัฒนธรรมประเพณีของตน สามารถใหคําอธิบายกับคนนอกหรือนักทองเที่ยวได รับรู และเขาใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทองถิ่น วามีความสวยงามและมีคุณคาอยางไร ตลอดจนการสื่อให เห็นพัฒนาการของวัฒนธรรม จารีตประเพณี เพื่อใหคนในทองถิน่ และนักทองเที่ยวมีสวนรวมใน กระบวนการเรียนรูซึ่งกันและกัน การเคารพตอความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมของชุมชน ทั้งนี้ การทองเที่ยวโดยชุมชนอาจนําไปสูการสรางกระบวนการทางสังคมที่ชุมชนทองถิ่นมีความพยายามในการ ปรับตัว ภายใตบริบทของสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงไปอยางตอเนื่อง รวมทั้งสรางดุลยภาพระหวางการผลิต ในภาคการเกษตรกรรมกับการประกอบอาชีพเสริมของชาวบานที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรของชุมชน เพื่อ เปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนใหดีขึ้น มีรายไดเพิ่มขึ้นนอกเหนือจากภาคการเกษตร ชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีตัวชี้วัดวาชุมชนนั้นๆจะเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงหรือไม ตองขึ้นอยูกับตัวชี้วัด 6 x 2 ของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากสถานการณ ความสําคัญของการทองเที่ยวเชิงนิเวศและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังกลาว ขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่องศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร โดยมีความตองการจะคนหาคําตอบวา แหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชนมีอะไรบาง มีจุดเดนอยางไร ชุมชนหวยยางไดรับการ สนับสนุนสงเสริมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศจากหนวยงานใด อยางไร ทั้งนี้ผูวิจัยจะไดคนหาคําตอบ ดังกลาวเพื่อเสนอเปนแนวทางในการสงเสริมใหเกิดการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตอหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป


วัตถุประสงคของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2.เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3.เพื่อเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เพื่อทราบถึงแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศของชุมชนหวยยาง 2. เพื่อทราบถึงศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3 .งานวิจัยชิ้นนี้นาจะเปนประโยชนตอชุมชนในการวางแผนการสงเสริมชุมชนในเรื่องการจัดการ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตเชิงพื้นที่ 1. ศึกษาชุมชนหวยยาง คือ บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 และบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ศึกษาแหลงทองเที่ยวหวยโท-หวยยางและแหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสพุ รรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตเชิงเวลา ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาในชวงระหวางเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2554 รวมเปนเวลา 3 เดือน ขอบเขตเชิงเนื้อหา 1. ศึกษาขอมูลบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนหวยยาง บานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 และบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ศึกษาขอมูลแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยางและในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


3. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ในประเด็น ศักยภาพ ดานประเพณีวัฒนธรรม ศักยภาพดานสิ่งอํานวยความสะดวก และศักยภาพดานการคมนาคมความรู ความ เขาใจดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศและจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศของชาวบานและผูนําชุมชนหวยยาง 4. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการจัดกิจกรรม สงเสริมการทองเที่ยวในชุมชน 5. ศึกษาปญหาดานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศและจัดการการทองเที่ยวเชิง นิเวศของชาวบานและผูนําชุมชนหวยยาง ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา ดังนี้คือ ประชากรในการศึกษา ไดแก ชาวบาน บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 จํานวน 923 คน ชาวบาน บาน หวยยาง หมูที่ 6 จํานวน 858 คน กลุมตัวอยางในการศึกษา จากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง ทําใหไดกลุมตัวอยาง จํานวน 40 คน คือ 1. หัวหนาครัวเรือนที่เขารวมประชุมกิจกรรมโฮมเสตย จํานวน 10 คน 2. คณะกรรมการหมูบาน จํานวน 20 คน 3. คณะกรรมการกลุมแมบาน จํานวน 10 คน แนวคิดที่ใชในการศึกษา แนวคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ความหมายและความสําคัญของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการทองเที่ยว ในแตละพื้นที่นั้น มักประสบปญหาความขัดแยงระหวางอนุรักษกับการพัฒนา ความหมาย ทางออก และทางเลือกของการทองเที่ยว ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบ ตอสภาพสิ่งแวดลอม และ วัฒนธรรมของชุมชน เสรี เวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเที่ยวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเที่ยวอยางมี ความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ สิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวน รวมของทองถิ่นเพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน การทองเที่ยวเชิงนิเวศ มี


องคประกอบสําคัญที่ควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงการกระจายรายได ในการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง "การทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการอนุรักษปาและการพัฒนา ชุมชน" ที่จัดขึ้น ณจังหวัดเชียงใหม เมื่อเดือนมกราคม 2540 การทองเที่ยวเชิงนิเวศไดรับการนิยาม ความหมายวาเปน "การทองเที่ยวไปยังแหลงธรรมชาติโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียนรูท ําความเขาใจกับ พัฒนาการทางวัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกัน ก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนโดยตรงจาก การอนุรักษธรรมชาติแวดลอม" ในการจัดสัมมนาครั้งนั้น Gail Nash นักวิจัยจากสมาคมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (The Ecotourism Society) ไดนําเสนอหลักการพื้นฐาน 7 ประการของการทองเที่ยวเชิงนิเวศไวดังนี้ ประการแรก การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองหลีกเลี่ยงการสรางผลกระทบทางดานลบที่จะกอใหเกิด ความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของพื้นที่ทองเที่ยว ประการที่สอง การทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองใหการศึกษาแกนักทองเที่ยว ใหตระหนักถึง ความสําคัญของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม ประการที่สาม รายไดจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและ การจัดการเขตอนุรักษ ประการที่สี่ ชุมชนทองถิ่น รวมทั้งชุมชนที่อยูใกลเคียง จะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจาก การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ประการที่หา การทองเที่ยวนิเวศจะตองเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเที่ยวจะตองอยูภายในขอบเขตของ ศักยภาพในการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถิ่น ประการที่หก รายไดสวนใหญจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของ แหลงทองเที่ยว ดวยเหตุนี้เอง การทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิต-ภัณฑและบริการของทองถิ่นเปน สําคัญ และ ประการที่เจ็ด การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองใหความสําคัญกับการใชจากโครงสรางพื้นฐานที่ไดรับ การพัฒนาขึ้นบนฐานคิด ซึ่งเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน ลดละการใชน้ํามัน เชื้อเพลิง อนุรักษพันธุพืชพื้นบาน และจัดการทองเที่ยวใหสอดคลองกับธรรมชาติแวดลอมอยางแทจริง นอกจากนั้น ยศ สันตสมบัติ ไดเสนอวาการทองเที่ยวเชิงนิเวศควรไดรับการพัฒนาขึ้นบนพื้นฐาน ของแนวคิดหลัก 5 ประการดังตอไปนี้


แนวคิด ประการแรก คือ การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศในบริบทของการเปลี่ยนแปลงโครงสราง ทางเศรษฐกิจ การเมืองและสภาพแวดลอมธรรมชาติ ในลักษณะเชนนี้ การทองเที่ยวเชิงนิเวศมิไดเปนปรากฏการณที่หยุดนิ่งไรความเคลื่อนไหว หากแต เปนการปรับตัวของชุมชนโดยสัมพันธกับเงื่อนไขภายนอกในระดับมหภาค การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจการเมืองและธรรมชาติแวดลอม เปนแนวคิดที่ชวยให เราสามารถเชื่อมโยงปรากฏการณในทองถิ่นกับเงื่อนไขภายนอก และชวยชี้ใหเห็นทิศทางของการพัฒนา ประเทศที่มีผลตอวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่นอยางชัดเจน การที่ภาคเอกชนเขามาผูกขาดธุรกิจทองเที่ยว ซึ่งเนนการสรางรายไดและความเจริญเติบโตของ ธุรกิจทองเที่ยวแตเพียงอยางเดียว อาจทําใหภาคธุรกิจอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดประโยชน แตใน ขณะเดียวกัน ก็มีผลในดานของการทําลายวัฒนธรรมทองถิ่น กอใหเกิดความเสื่อม โทรมของสภาพแวดลอม ธรรมชาติและความยากจน เพราะชุมชนทองถิ่นขาดอํานาจในการจัดการการทองเที่ยว และไมสามารถ พัฒนาศักยภาพของการพึ่งตนเองไดอยางตอเนือ่ ง การพิจารณาการทองเที่ยวในบริบทของการพัฒนาที่เนน ทิศทางเดียว คือ การเจริญเติบโตขยายตัวทางเศรษฐกิจเทานั้น ชวยใหเราทําความเขาใจกับปญหา ความสัมพันธระหวางชุมชนทองถิ่นกับสังคมภายนอกไดอยางชัดเจน แนวคิดประการที่สอง คือ การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศจากมิติของความสัมพันธระหวางมนุษย กับธรรมชาติในฐานะเปนวิถีชีวิตในระบบนิเวศเดียวกัน โดยไมอาจแบงแยกออกจากกันไดโดยเด็ดขาด ในลักษณะเชนนี้ การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนรูปแบบหนึ่งของการสรางแรงจูงใจ เพื่อใหชุมชน ทองถิ่นทําการใช ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และเปนธรรม ภายใตหลักการที่วาคนที่ดูแล รักษาทรัพยากรยอมสมควรไดรับประโยชนจากการดูแลรักษานั้น การทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเปนการ ปรับเปลี่ยนความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติใหมีลักษณะเปนการอนุรักษและพัฒนาอยางเขมขม ยิ่งขึ้น โดยเนนการรักษาสภาพความอุดมสมบูรณของผืนปา สายน้ํา ฝูงปลา นก และสัตวปาไวให นักทองเที่ยวไดชื่นชม และชุมชนไดประโยชนจากกิจกรรมการทองเที่ยว ในขณะเดียวกัน มีการกระจาย ผลประโยชนจากการทองเที่ยวออกไปในวงกวาง เพื่อใหสมาชิกของชุมชนทั้งหมด ไดรับอานิสงสจากการ ทองเที่ยวโดยตรง การพิจารณาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในบริบทของความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติชวยให เรามองเห็นวา ความเปนธรรมทางสังคม เปนเงื่อนไขสําคัญของความเปนธรรมของระบบนิเวศ การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศจะประสบความสําเร็จได มิใชบนพื้นฐานของสํานึกในคุณคาของการอนุรักษธรรมชาติ แวดลอมเทานั้นแตยังขึ้นอยูกับหลักการสําคัญของการสรางแรงจูงใจใหผูที่ทําการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม ไดรับประโยชนโดยตรงจากการกระทําของตน แนวคิดประการที่สาม คือ การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศจากมิติทางวัฒนธรรม ในลักษณะเชนนี้ การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการใหความเคารพแกอัตลักษณ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติ พันธุตางๆ ซึ่งมีวิถีชีวิต และจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป มุมมองทางดานวัฒนธรรมเนนการใหความ


เคารพแกศักดิ์ศรี และสิทธิในทางเปนมนุษยของกลุมชาติพันธุตางๆ มิใชมองคนเปนสัตวประหลาด และเปด โอกาสใหการทองเที่ยวสงผลใหเกิดการละเมิดจาบจวงความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณีและพิธีกรรมของ ชุมชนทองถิ่น ในทางตรงกันขาม การทองเที่ยวเชิงนิเวศมุงเนนใหชุมชนทองถิ่นมีสํานึกและความภาคภูมิใจในอัต ลักษณทางชาติพันธุและวัฒนธรรมประเพณีของตน สามารถอธิบายใหคนนอกหรือนักทองเที่ยวไดรับรูและ เขาใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทองถิ่น วามีความสวยงามและมีคุณคาอยางไร เพื่อใหทั้งชุมชนทองถิ่นและ นักทองเที่ยวมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูซึ่งกันและกัน อันเปนบอเกิดแหงความเขาใจ และเอกภาพใน ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของมนุษย แนวคิดประการที่สี่ คือ การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศในฐานะเปนขบวนการทางสังคม หรือความ พยายามของชุมชนในการปรับตัวภายในบริบท และสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไปอยางตอเนื่อง เพื่อสราง ดุลยภาพระหวางการผลิตในภาคเกษตรและการประกอบอาชีพของชาวบานกับระบบนิเวศ ตลอดจน การ สรางสรรคความเปนธรรมภายในสังคมและการรวมตัวกันเพื่อตอสูกับการเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทนํา เที่ยวจากภายนอก บอยครั้งที่การทองเที่ยวเชิงนิเวศมิไดจํากัดตัวเองอยูแตเพียงชุมชนหมูบานแหงใดแหงหนึ่งอยาง โดดๆ หากแตมีการรวมตัวกันของชุมชนหลายแหงเปนเครือขาย เพื่อทําการจัดการทรัพยากรรวมกัน หรือจัด โปรแกรมการทองเที่ยวรวมกัน เปนตน ในแงนี้ การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเปนขบวนการปรับตัวทาง สังคมที่เกิดขึ้นทั้งในระดับชุมชนและระดับเครือขายภายในบริบทของระบบนิเวศชุดหนึ่ง เพื่อทําการปกปอง ผลประโยชนและทําการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและเปนธรรม การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศจากแงมุมของขบวนการทางสังคม ทําใหเราจําตองใหความสําคัญกับ การจัดองคกรสังคมทั้งในระดับชุมชนและระดับเครือขาย เพื่อทําการบริหารจัดการโปรแกรม การทองเที่ยว เพือ่ สรางกระบวนการเรียนรูทางสังคม เพื่อจัดการทรัพยากร และสรางอํานาจตอรองกับภายนอกอยางเปน ระบบ แนวคิดประการที่หา คือ การมองการทองเที่ยวเชิงนิเวศในบริบทของการพัฒนาชนบทและการ อนุรักษฟนฟูธรรมชาติแวดลอมอยางยั่งยืน โดยนัยนี้ การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนกระบวนการแสวงหา ทางเลือก เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาของตนเอง บนพื้นฐานของวัฒนธรรมและจารีตประเพณีอัน หลากหลายของชุมชนและกลุมชาติพันธุตางๆ และยังเปนความพยายามในการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติ แวดลอมไปพรอมกัน ในสภาวะที่ชุมชนชนบทมากมายหลายแหงทั่วประเทศ กําลังเผชิญหนากับปญหาวิกฤติในดานของ ความยากจนและปญหาความเสื่อมโทรมของธรรมชาติแวดลอม การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จึงนาจะเปนสวน


หนึ่งของคําตอบในการแกปญหาอันพึงไดรับการสงเสริมสนับสนุนเปนอยางยิ่ง การมองการทองเที่ยวเชิง นิเวศในบริบทของการพัฒนาอยางยั่งยืนยังเปนแนวคิดที่ใหความสําคัญกับการนําเอารายไดจากการ ทองเที่ยวมาใชในโครงการพัฒนาชุมชนดวยตัวเองในรูปแบบตางๆ ทั้งในดานของการสรางกองทุนชุมชน การพัฒนาอาชีพและฝมือแรงงานในการประดิษฐหัตถกรรมพื้นบาน และการพลิกฟนกระบวนการเรียนรู ของชุมชนในดานของการจัดการทรัพยากรพันธุกรรม การอนุรักษและพัฒนาสายพันธุพืชพื้นบาน และการ เชื่อมตอภูมิปญญาทองถิ่นกับวิทยาศาสตรสมัยใหม เปนตน ภายใตกรอบความคิดดังกลาวขางตน ยศ สันตสมบัติ ไดนิยามความหมายของ "การทองเที่ยวเชิง นิเวศ" วาเปนการรวมตัวกันขององคกรประชาชนในระดับชุมชน และ/หรือ ในระดับเครือขายภายในระบบ นิเวศชุดหนึ่ง เพื่อแสวงหาทางเลือกในการพัฒนาตนเอง รวมทั้งการจัดการและใชประโยชนจากธรรมชาติ แวดลอมสําหรับการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและเปนธรรม บนฐานของภูมิปญญาทองถิ่น ซึ่งเนนหลักการทาง ศีลธรรมและความมั่นคงในการยังชีพของชุมชน และความสมดุลของสภาพแวดลอมธรรมชาติเปนสําคัญ การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองพิจารณาถึง สาระสําคัญดังนี้ 1. การจัดการทรัพยากร จําเปนตองมีการจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพ 2. ความตองการทางดานเศรษฐกิจ โดยคํานึงวาการทองเที่ยวเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ที่ จําเปนตองมีความสามารถในการสรางกําไรเพื่อความอยูรอดและผลประโยชนของชุมชน 3. การตอบสนองความตองการหรือพันธะทางสังคม หมายถึง การใหความเคารพตอชีวิตและ วัฒนธรรมของชุมชนตาง ๆ รวมตลอดจนความหลากหลายและมรดกเชิงวัฒนธรรม 4. สุนทรียภาพ เปนองคประกอบที่สําคัญของสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตาง ๆ ไมวาสถานที่นั้นจะ มีความยิ่งใหญเพียงใด หรือมีชื่อเสียงมากนอยเพียงไร การธํารงรักษาไวซึ่งสุนทรีภาพของสภาพของสถานที่ เหลานั้น คือภารกิจสําคัญของการพัฒนาการทองเที่ยว 5. การคํานึงถึงกระบวนการและขอบเขตทางเชิงนิเวศวิทยา เพื่อใหการพัฒนาสามารถดํารง สภาพแวดลอมตาง ๆ ทั้งทางกายภาพและทางชีวภาพที่เปราะบางเอาไว 6. การรักษาไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity) ของพืชพรรณและสัตวตาง ๆ เพราะสิ่งเหลานี้คือทรัพยากรที่สําคัญของการทองเที่ยว 7. การดํารงไวซึ่งระบบสนับสนุนชีวิต (Life-supporting Systems) ซึ่งจะชวยใหมนุษยและสิ่งมีชีวิต ทั้งหมดในโลก มีชีวิตรอดอยูไดตอไป กลาวโดยสรุป คือ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนการทองเที่ยวที่สามารถ


ตอบสนองความตองการทางเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียภาพ ที่สามารถรักษาความสมบูรณทางวัฒนธรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบสนับสนุนชีวิตไวไดอยางยั่งยืน การทองเที่ยวเชิงนิเวศกับการมีสวนรวมของชุมชน มีการศึกษาวิจัยโดยชุมชนเปนฐานในเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศ แตยังขาดการศึกษาประเมินความ ยั่งยืนของการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ อยางไรก็ตามไดมีสิ่งบงชี้วาการ มีสวนรวมของชุมชนจะยั่งยืนได ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ซึ่งสรุปไดดังนี้ 1. ความตองการของชุมชน โครงการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศสําหรับชุมชนใดก็ตามจะตองเกิด จากความสนใจและความตองการของสมาชิกชุมชนเองเปนหลัก มิใชหนวยงานของทางราชการหรือ องคการภาคเอกชนหรือใครก็ตามไปยัดเยียดใหโดยที่ชุมชนไมเต็มใจที่รับโครงการไวและมีสวนรวม อาจ เพราะความเกรงใจเกรงบารมีหรืออํานาจตามวิสัยธรรมชาติของชุมชนในชนบท 2. ความรูและความตระหนักของชุมชน เปนปจจัยสําคัญอีกตัวหนึ่งที่จะชี้วาการมีสวนรวมของ ชุมชนจะยั่งยืนหรือไม ความรูและความตระหนักนี้ รวมไปถึงแนวคิดและองคประกอบของการทองเที่ยวเชิง นิเวศ ทรัพยากรทองเที่ยวของชุมชนและศักยภาพ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตอวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ ชุมชน (ตนทุนทางสังคม) และสภาพแวดลอมธรรมชาติ (ตนทุนทางธรรมชาติแวดลอม) หากดําเนินงานดาน การทองเที่ยวเชิงนิเวศและความรูอื่นๆ ที่จําเปนตองใชในการพัฒนาและการบริหารจัดการ 3. การไดรับการสนับสนุนจากภายนอก ชุมชนทองถิ่นในชนบทสวนใหญมักอยูในภาวะดอยโอกาส ในหลายเรื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องความรูและทักษะในการพัฒนาและการจัดการ ยิ่งเรื่องการทองเที่ยวเชิง นิเวศ ซึ่งเปนงานบริการที่ตองมีมาตรฐานขั้นต่ํา เพราะมีการแขงขันทางการตลาดแลว เปนสิ่งที่ชุมชน ทองถิ่นไมคุนเคย ก็เปนสาเหตุทําใหเกิดความทอแทและไมสามารถดําเนินการตางๆ ตามความตั้งใจได ตรง จุดนี้หนวยงานภาคราชการ หรือภาคเอกชนรวมทั้ง NGOs หรือผูรูตางๆ จะตองเขามาสนับสนุนหรือ ชวยเหลือ สรางความ เขมแข็งใหแกชุมชนดังกลาวในขอ 2 อยางจริงจังและตอเนื่อง พรอมสรางภูมิตานทาน ตออิทธิพลตางๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลมาจากการทองเที่ยวดวย 4. การตัดสินใจและการแบงปนประโยชน การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นจะตองพัฒนาใหรวม ไปถึงการมีสวนรวมในการคิด การปฏิบัติ การแกไขปญหา และการติดตามประเมินผลแบบครบวงจร ไมใช ผูนําหรือกลุมผูนําทองถิ่นดําเนินการเองทั้งหมด และที่สําคัญจะตองมีกลไกและระบบการแบงปนรายได หรือประโยชนอื่นๆ อันเกิดจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศที่เปนธรรมและความโปรงใส โดยเฉพาะประเด็นหลัง นี้มักจะพบวาเปนสาเหตุของความไมยั่งยืนในการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นคอนขางสูง


การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน การพัฒนาการทองเที่ยวที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งจะพิจารณาไดจากองคประกอบหลัก 4 ประการ คือ 1. การดําเนินกิจกรรมการทองเที่ยวในขอบเขตความสามารถของธรรมชาติ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนตอกิจกรรมการทองเที่ยว 2. การตระหนักในกิจกรรมการทองเที่ยวที่มีผลกระทบตอ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชน 3. การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการทองเที่ยว ที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีตอการทองเที่ยว 4. การประสานความตองการทางเศรษฐกิจ การคงอยูของสังคม และการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยาง ยั่งยืน แนวคิดการบริหารจัดการ อรุกุล รมกลาง. 2547 : 39-40 ; อางอิงมาจาก Gulick. 1963 โดย Gulick และ Urwick เปนเจาของ สํานักบริหารที่เนนเรื่องระบบและรูปแบบ โดยเสนอทฤษฎีการบริหารที่โดงดังมาก คือ “ POSDCORB ” เปนทฤษฎีที่ใชกันมากเพราะเปนกระบวนการทํางานที่มี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. Planning หมายถึง การวางแผนการทํางาน 2. Organizing หมายถึง การจัดองคการหรือการจัดโครงสรางขององคการ 3. Staffing หมายถึง การจัดคนเขาทํางาน โดยจัดคนที่มีความสามารถเหมาะสมกับงาน 4. Directing หมายถึง การอํานวยการใหลุลวงตามแผนงานที่กําหนดไว 5. Co-iodinating หมายถึง การประสานงานเพื่อใหการดําเนินงานราบรื่น สามารถแกปญหาไดอยาง รวดเร็ว 6. Reporting หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงานใหผูเกี่ยวของหรือผูสนใจรับทราบ 7.Budgeting หมายถึง การงบประมาณ โดยศึกษาวิธีการในการบริหารงบประมาณและการเงิน สรุปแนวคิดหลักในการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยว บริเวณแหลงทองเที่ยวไวเปน 2 ประเภท (วรรณา วงษวานิช. 2539 : 76-77) คือ 1.การใหบริการและใหความสะดวก ตลอดจนใหความรูแกนักทองเที่ยว 2.การรักษาไวซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงอยูตลอดไป นอกจากนั้นการจัดการเพื่อการทองเที่ยวตองคํานึงถึงความสามารถที่จะไดรับของพื้นที่ (Carrying Capacity) 3 ประการ คือ


1.ความสามารถที่จะไดรับในเชิงกายภาพ (Physical Carrying) หมายถึง สภาพหรือลักษณะของ พื้นที่จะเอื้ออํานวยใหเปนสถานที่ทองเที่ยว 2.ความสะดวกที่จะไดรับทางสังคม (Social Carrying Capacity) ความสามารถที่จะอํานวยความ สะดวกตางๆของพื้นที่แหลงทองเที่ยวเพื่อนักทองเที่ยว หรือความสามารถของสถานที่ทองเที่ยวที่สามารถ ใหบริการแกผูมาเที่ยวไดสูงสุด โดยปกติสถานที่ทองเที่ยวประเภทชายหาดจะมีความสามารถที่รับ นักทองเที่ยวไดสูงกวาสถานที่ทองเที่ยวประเภทอุทยานแหงชาติ 3.ความสามารถที่จะรับไดเชิงนิเวศวิทยา (Ecological Carrying Capacity) หมายถึง ความสามารถ ของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติในสถานที่นั้นและบริเวณใกลเคียงกับสถานที่ทองเที่ยวนั้นการรองรับธุรกิจ การทองเที่ยว ทั้งนี้ในพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติแหลงทองเที่ยวแตละแหงจะมีวิธีการและเทคนิคของการ จัดการตางกัน โดยตองคํานึงถึงความสามารถที่จะรองรับไดของพื้นที่ โดยวิธีการ ดังนี้ 3.1การกระจายจํานวนนักทองเที่ยว เพื่อไมใหนักทองเที่ยวไปรวมตัวกันที่ใดที่หนึ่งของพื้นที่จะลด ผลกระทบตอการใชทรัพยากรในพื้นที่นั้น ซึ่งตางกระทําไดโดย 3.1.1 การแบงเขตแหลงทองเที่ยวเปนเขตยอยๆ เชน บริเวณชมทิวทัศน เปนตน 3.1.2 การเก็บคาธรรมเนียมเขาชมสถานที่ 3.2 การพัฒนาพื้นที่แหลงทองเที่ยวใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมนอย ที่สุด เชน การสรางถนนเพื่อเชื่อมโยงจุดสําคัญในพื้นที่โดยไมใหภูมิทัศนบริเวณนั้นๆเสียไป 3.3 การจัดกิจกรรมเสริมในรูปแบบตางๆ เพื่อใหนักทองเที่ยวเกิดความเพลิดเพลินและพึงพอใจและ ใหความรูความเขาใจในทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนําไปสูความหวงแหนในทรัพยากรในพื้นที่นั้นๆ กิจกรรมตางๆ มีดังนี้ การออกไปบรรยายนอกสถานที่ การมีศูนยบริการนักทองเที่ยว การจัดนิทรรศการประเภทตางๆ การนํานักทอเที่ยวไปตามจุดตางๆพรอมทั้งบรรยายประกอบ การจัดทําทางเทา พรอมทั้งแผนปายบรรยายหรือเอกสารแนะนํา ใชภาพไสลดและคําบรรยาย การจัดทําเครื่องหมายและคําเตือนตางๆ นอกจากนี้อาจกําหนดแนวทางการใชประโยชน กฎขอบังคับ ตลอดจนการตรวจตราพื้นที่ทองเที่ยว และออกกฎหมายลงโทษผูละเมิดกฎขอบังคับตางๆ เพื่อปองกันการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อีก ดวย


แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะ แนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤติการณทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ํา แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยาง มั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลง มีหลักพิจารณา ดังนี้ กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปนโดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกิดไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน ตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้ง ใกลและไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้ง ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความ รอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อ สัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต


แนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: แนวคิดใหมในการพัฒนาเศรษฐกิจ 1.1 เปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจโดยทั่วไป ผูบริหารเศรษฐกิจมีเปาหมายที่สําคัญสามประการคือ ก) ดานประสิทธิภาพคือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมักจะพิจารณาจากการขยายตัว ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestio Product) ซึ่งแสดงวาในระยะเวลา 1 ป ประเทศผลิต สินคาและบริการรวมแลวเปนมูลคาเทาใด ดังนั้น การที่ประเทศมี GDP ขยายตัว จึงหมายถึงวาสังคมมีการ ผลิตสินคาและบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางตอเนื่อง มีทรัพยากรมากขึ้น ประชาชนโดยรวมมีความมั่งคั่งมาก ขึ้น ซึ่งการขยายตัวไดดีแสดงวาระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรที่ดี ข) ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ การที่ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สําคัญไมเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว การไมมี shock ในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ประชาชนโดยทั่วไปยอมไมชอบการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว ทําใหปรับตัวไดยาก ในดานเสถียรภาพนี้มักจะมองไดหลายมิติคือ การมีเสถียรภาพในระดับราคา ของสินคา หมายถึง การที่ระดับราคาของสินคาไมเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ประชาชนสามารถคาดการณ ราคาสินคาและบริการได การมีเสถียรภาพของการมีงานทํา หมายถึง การที่ตําแหนงงานมีความเพียงพอตอ ความตองการของตลาดแรงงาน การมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ หมายถึง การที่ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศไมมีการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ซึ่งจะมีผลตอเสถียรภาพของราคา ในประเทศ และทําใหวางแผนการทําธุรกรรมระหวางประเทศมีความยุงยากมากขึ้น ค) ดานความเทาเทียมกัน โดยทั่วไปหมายถึง ความเทาเทียมกันทางรายได เมื่อเศรษฐกิจมี การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา รายไดของคนในประเทศมีความแตกตางกันมากขึ้นเรื่อยๆ แสดงใหเห็นวามีคนเพียงกลุมนอยไดประโยชนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ สถานการณจะเลวรายไปกวา นี้อีก หากเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แตปรากฏวา มีคนจนมากขึ้นเรื่อยๆ

1.2 โครงสรางและเนื้อหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแสพระราชดํารัสใหผูบริหารประเทศและประชาชน เห็น ถึงความสําคัญของการพัฒนาที่สมดุล มีการพัฒนาเปนลําดับขั้น ไมเนนเพียงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยาง รวดเร็วมาเปนเวลานานแลว เชนพระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517 ที่วา "ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้น เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใชของ


ประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควร แลว การชวยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวใหมีความพอกินพอใชกอนอื่นเปน พื้นฐานนั้น เปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งยวด เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอ ที่จะพึ่งตนเองยอมสามารถสราง ความเจริญกาวหนาระดับที่สูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน สวนการถือหลักที่จะสงเสริมความเจริญ ใหคอ ยเปน คอยไปตามลําดับดวยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อปองกันการผิดพลาด ลมเหลว" และ พระราชดํารัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517 " ใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวด " ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒนความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นัก ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความซือ่ สัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการ รองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดมีการศึกษาโครงสรางและเนื้อหา โดยกลุมพัฒนากรอบแนวคิด ทางเศรษฐศาสตรของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจําแนกองคประกอบของปรัชญาเปนกรอบความคิด คุณลักษณะ คํานิยาม เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดวาจะไดรับ สรุปวา กรอบความคิด ของปรัชญานี้ เปนการชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนทั้งแนวทางปฏิบัติและตัวอยางการประยุกตที่เกิดขึ้น โดย ปรัชญาใชไดทั้งระดับปจเจกชนครอบครัว ชุมชน ประเทศ ในที่นี้มองในแงการบริหารเศรษฐกิจ (ระดับประเทศ) เปนการมองโลกในลักษณะที่เปนพลวัต มีการเปลี่ยนแปลง มีความไมแนน และมีความ เชื่อมโยงกับกระแสโลก คือไมใชปดประเทศ แตในขณะเดียวกันก็ไมเปนเสรีเต็มที่อยางไมมีการควบคุมดูแล ไมใชอยูอยางโดดเดี่ยวหรืออยูโดยพึ่งพิงภายนอกทั้งหมด คุณลักษณะเนนการกระทําที่พอประมาณบน พื้นฐานของความมีเหตุมีผลและการสรางภูมิคุมกัน ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีระบบภูมิคุมกันที่ดีตอผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลง หากขาดองคประกอบใดก็ไมเปนความพอเพียงที่สมบูรณ


ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลาวอยางงายๆวาเปนการยืนไดโดยลําแขงของตนเอง โดยมีการ กระทําไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค การผลิตอยูในระดับสมดุล การใชจาย การ ออมอยูในระดับที่ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ความมีเหตุมีผล หมายความวา การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอประมาณ ในมิติตางๆ จะตอง เปนไปอยางมีเหตุมีผล ตองเปนการมองระยะยาว คํานึงถึงความเสี่ยง มีการพิจารณาจากเหตุปจจัยและขอมูล ที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดการมีภูมิคุมกันการมีภูมิคุมกันในตัวดีพอสมควร พลวัตในมิติ ตาง ๆ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงในสภาวะตางๆ อยางรวดเร็วขึ้น จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบที่ คาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ การกระทําที่เรียกไดวาพอเพียงไมคํานึงถึงเหตุการณและผล ในปจจุบัน แตจําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ภายใต ขอจํากัดของขอมูลที่มีอยู และสามารถสรางภูมิคุมกันพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เงื่อนไขการปฏิบตั ิ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การมีความรอบรู รอบคอบระมัดระวัง มีคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต ความรอบรู คือ มีความรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆอยางรอบดาน ในเรื่องตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปน ประโยชนพื้นฐานเพื่อนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมีการตัดสินใจที่ ถูกตอง ความรอบคอบ คือ มีการวางแผน โดยสามารถที่จะนําความรูและหลักวิชาตางๆมาพิจารณา เชื่อมโยงสัมพันธกัน ความระมัดระวัง คือ ความมีสติ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได ในการนําแผนปฏิบัติที่ ตั้งอยูบนหลักวิชาตางๆเหลานั้นไปใชในทางปฏิบัติ โดยเปนการระมัดระวังใหรูเทาทันเหตุการณที่ เปลี่ยนแปลงไปดวย ในสวนของคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งคลุมคนทั้งชาติ รวมทั้งเจาหนาที่ นักวิชาการ นักธุรกิจ มีสองดานคือ ดานจิตใจ/ปญญาและดานกระทํา ในดานแรกเปนการเนนความรูคู คุณธรรมตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความรอบรูที่เหมาะสม สวนดานการกระทําหรือ แนวทางดําเนินชีวิต เนนความอดทน ความเพียร สติ ปญญา และความรอบคอบ เงื่อนไขนี้จะทําใหการ ปฏิบัติตามเนื้อหาของความพอเพียงเปนไปได ปรัชญากลาวถึงแนวทางปฏิบัติและผลที่คาดวาจะไดรับดวย โดยความพอเพียงเปนทั้งวิธีการและผล (End and mean) จากการกระทํา โดยจะทําใหเกิดวิถีการพัฒนาและ ผลของการพัฒนาที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ความสมดุลและความพรอมรับการเปลี่ยนแปลง หมายถึง ความสมดุลในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน ความ สมดุลของการกระทําทั้งเหตุและผลจะนําไปสู ความยั่งยืนของการพัฒนา ภายใตพลวัตทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ จากคุณลักษณะ ของปรัชญานี้ชี้ใหเห็นวา การบริหารเศรษฐกิจจะตองเปนทางสายกลาง รูเทาทัน เพื่อการใชประโยชนจากกระแสโลกาวิวัฒน ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจจะไมใชการปดประเทศ ตองสงเสริม การคาและความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ณัฏฐพงศ ทองภักดีและคณะ(2542) ชี้วาการใช ประโยชนจากกระแสโลกาภิวัฒนตามแนวนี้ จะสอดคลองกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตรเรื่องการผลิตและ


การคาทําตามความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศเปนหลักการสําคัญ นั่นคือการสรางความ ไดเปรียบอยางแทจริงของประเทศ นโยบายเศรษฐกิจจะตองสนับสนุนการแขงขันทางการผลิตและการคา เพื่อใหสังคมมีประสิทธิภาพ และผูบริโภคไดประโยชน ไมปกปองอุตสาหกรรมขนาดใหญ ไมมีความ ไดเปรียบในการผลิตโดยตั้งภาษีนําเขาสูง ซึ่งจะทําใหไมไดประโยชนจากการคาระหวางประเทศ เพราะ สินคานําเขาจะมีราคาแพง ตนทุนการผลิตในประเทศสูงขึ้น การสงออกทําไดยากขึ้นในขณะเดียวกันตองมี นโยบายสําหรับผูเดือดรอนจากการกระแสโลกาภิวัฒนใหปรับตัวได งานวิจัยที่เกี่ยวของ กรวรรณ สังขกร (2552 : 146-147) ไดศึกษาเรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการทองเที่ยว ชุมชน พบวา การประยุกตใชแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตอการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชนอยางยั่งยืนตาม นิยามตางๆ วาเปนการพัฒนาบนทางสายกลางและความไมประมาท ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ 2 เงื่อนไข ดังนี้ (1) 3 คุณลักษณะ ประกอบดวย ความพอประมาณ คือ ความพอดี พองาม ความสัมพันธอันดีระหวาง คนในชุมชนและระหวางคนกับธรรมชาติมีการวางแผนใชทรัพยากรและทุนทางสังคมที่มีอยูอยางเหมาะสม และเกิดประโยชนตอชุมชน และจัดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่ไมเบียดเบียนสิ่งแวดลอม รวมถึงการการ ฟนฟูวัฒนธรรมที่ดีในวิถีชุมชน และมีการสืบทอดภูมปิ ญญาทองถิ่นจากผูสูงอายุสูคนรุนใหม ความมีเหตุผล มีการกําหนดกฎกติกาตางๆที่นํามาใชจัดการการทองเที่ยวรวมกันในชุมชน การมีภูมิคุมกัน ตองมีระบบการ บริหารจัดการที่ดี มีผูนําดี มีคุณธรรม มีลูกบานเปนผูตามที่ดี มีการบริหารจัดการทรัพยากรสวนรวมอยางมี คุณคา (2) ในสวนประกอบ 2 เงื่อนไข คือ ความรู นอกจากตนเองตองสนใจการเรียนรูแลว ชุมชนควรมีการ สงเสริมการเรียนรู พัฒนาบุคลากรของชุมชนโดยการอบรม นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น ประยุกตกับวิทยาการสมัยใหมในรูปแบบตางๆ และคุณธรรม ผูนําดีมีคุณธรรม ซื่อสัตยสุจริต กระจาย รายไดจากการทองเที่ยวอยางเปนธรรมและทั่วถึง มุงประโยชนโดยรวมของชุมชนเปนที่ตั้ง ซึ่งจะทําใหเกิด ความสามัคคีในชุมชน ธัญญลักษณ มีหมู (2552 : 114-116) ไดศึกษาเรื่องศักยภาพและแนวทางการจัดการการทองเที่ยว เชิงนิเวศวัฒนธรรม ในเขตตําบลทาหินงาม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สรุปผลการวิจัยดังนี้ ศักยภาพการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม ความสามารถ ความพรอม คุณคาและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆของแหลง ทองเที่ยว สรุปเปน (1) ดานความสะดวก (2) ดานการบริการ (3) ดานผลิตภัณฑชุมชน (4) การสงเสริม การตลาด ดานแนวทางการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม มาตรการ วิธีการ การบริหารจัดการ แหลงทองเที่ยว สรุปไดดังนี้ (1) แนวทางการจัดการเกี่ยวกับที่พัก (2) แนวทางการจัดการดานความปลอดภัย (3) แนวทางการจัดการเกี่ยวกับผลิตภัณฑสินคาชุมชน (4) แนวทางการจัดการเกี่ยวกับสภาพแวดลอม (5) แนวทางการจัดการดานตลาด


บังอร ทาประเสริฐ (2552 : 180-183) ไดศึกษาเรื่อง ตลาดน้ําวัดลําพญา : การจัดการเพื่อ พัฒนาการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมโดยการมีสวนรวมของชุมชน พบวา ศักยภาพทางดานการทองเที่ยวทาง วัฒนธรรมชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญา ตําบลลําพญา อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม สรุปไดดังนี้ (1) วิถีชีวิต ความเปนอยูของชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญา สวนใหญดําเนินชีวิตในรูปสังคมเกษตรกรรม พึ่งพาธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (2) ประเพณีวัฒนธรรม ชาวชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญาศรัทธาถือปฏิบัติกิจสําคัญทาง พระพุทธศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมประจําจังหวัดนครปฐม เชน งานนมัสการองคพระปฐมเจดีย งาน นมัสการปดทองหลวงพอวัดไรขิง ฯลฯ (3) ศักยภาพแหลงทองเที่ยวของตลาดน้ําวัดลําพญา มีพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ คือ หลวงพอมงคลมาลานิมิต เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย สรางดวยศิลาแลงพอกปูนและปดทอง ทับไว (4) ปญหาการทองเที่ยว โดยเฉพาะเรื่องขยะ และสิ่งปฏิกูล และปญหามลภาวะทางน้ําเปนอันดับรอง (5) ความตองการของชุมชนในการพัฒนาการทองเที่ยว การมีสวนรวมของชุมชนในการวางแผนการ พัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน การจัดการตลาดน้ําวัดลําพญา เพื่อพัฒนาการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม โดย การมีสวนรวมของชุมชน (1) แนวทางการจัดการทั่วไป ชุมชนควรมีจิตสํานึกในการรักษาสิ่งแวดลอม รวมกัน ควรเนนการประชาสัมพันธตลาดใหเปนที่รูจักมากขึ้น (2) การจัดการ (3) แผนการพัฒนาการ ทองเที่ยว (4) แบบการทองเที่ยว (5) การมีสวนรวม (6) แผนการทองเทีย่ วคัดสรร วิธีดําเนินการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยที่ผูศึกษาจะใชชีวิตอยูในชุมชนเพื่อ สังเกตการณแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล มีดังนี้ สมุดจดบันทึก 2. กลองถายรูป 3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 1.

อีกทั้งผูศึกษายังมีการศึกษาขอมูลมือสองและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหและอธิบายอยางเปนระบบ


นิยามศัพทเฉพาะ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การเดินทางทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่ มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ สิ่งแวดลอม และการทองเที่ยวโดยมี ระบบการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถิ่น เพื่อมุงใหเกิด จิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถหรือความพรอมของชุมชนในการบริหารจัดการการทองเที่ยว เชิงนิเวศ ชุมชนหวยยาง คือ บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 และบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


บทที่ 2 บริบททั่วไปของชุมชน

ประวัติความเปนมาของชุมชนหวยยาง ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรม ราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และ พระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เมื่อโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบทรัพย สมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีกครั้งหนึ่งมี เนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน 1. ภูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีดําและสีคราม 2. ภูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีขาว บานหวยยางอพยพมาจาก Hun Phan เนื่องจากในยุคสมัยนั้นมีโจรจีนฮอเขามาปลนบานเมือง ฆา คน ชิงทรัพยและเผาบานเผาเมืองเปนจํานวนมากจึงไดรับความเดือนรอนตองหนีโจรเขาปาเปนจํานวนมาก เพราะความดุรายของจีนฮอ โดยมีผูนํากลุมคือ “ยางธิสาร” ทานมีความเกงกลาและวิชาอาคม ยางธิสารไดนํา ชนเผาภูไทในความปกครองของตนมาจากบานมั่น เมืองเซะ สาระวัน คําทอง ขามแมน้ําโขงมาสูนครพนม แลวเดินทางตอมาจนถึงภูพาน ซึ่งปจจุบัน คือ บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร เพราะทานเห็นวาที่แหงนี้มีดินดีมีน้ําอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก ในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ ประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ยายไปอยูที่บานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัย ไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูที่ บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครัง้ ที่ 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพี่นอง 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมที่ 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย ตอมาในป พ.ศ. 2524 บานหวยยาง-เหนือพบกับปญหาภัยแลงเชนเดียวกับป พ.ศ. 2510 ชาวบาน หวยยาง-เหนือจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชนนครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด จนกระทั่งหนังสือพิมพเดลินิวสพาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของ สกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานได


มอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเมื่อ ป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปน ตนมาจนถึงปจจุบันทําใหบานหวยยาง-เหนือและหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ เปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงจากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจนํารองดานการเกษตรอันดับ 1 ของ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ป พ.ศ. 2548 ไดรับการคัดเลือกจากองคกรพัฒนาประชาชน (คอป.) ไดรับงบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานทั่วประเทศ และติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคอีสานในนามกลุม เพาะพันธุกลาไม บริบททั่วไปของชุมชนหวยยาง ขอมูลประชากร บานหวยยางเหนือเ หมูที่ 9 มีประชากรทั้งสิ้น 858 คน แยกเปน ชาย 420 คน หญิง 438 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 163 ครัวเรือน บานหวยยาง หมูที่ 6 มีประชากรทั้งสิ้น 1,010 คน แยกเปน ชาย 255 คน หญิง 485 คน มี ครัวเรือนทั้งสิ้น 199 ครัวเรือน ที่ตั้งชุมชนหวยยาง บานชุมชนหวยยาง บานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 และบานหวยยาง หมูที่ 6 ตั้งอยูในเขตตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาณาเขตบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดเขตบานโพนสูง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ติดเขตบานโพนงาม ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ติดเขตบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ติดเขตเทือกเขาภูพาน อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


อาณาเขตบานหวยยาง หมูที่ 6 ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดเขตบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ติดกับเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ติดเขตบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ติดเขตบานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ขอมูลดานการเมือง การปกครองบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1 ผูใหญบาน ชื่อ นายวิกรานต โตะชาลี 2 ผูชวยผูใหญบาน 1. นายมานะชัย แสนธิจักร 2. นายวิวร โตะชาลี 3. นายวิตตะ ยางธิสาร (ผรส.) 3. สมาชิก อบต. 1. นายจบ ยางธิสาร 2. นางวงคจันทร ยางธิสาร 4. จํานวนคุม ในหมูบาน มี 4 คุม ดังนี้ 1. ชื่อคุม คุมกลางใหญ หัวหนาคุม ชื่อ นายจบ ยางธิสาร 2. ชื่อคุม คุมกลางตอนบน หัวหนาคุม ชื่อ นายไมตรี ศูนยราช 3. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนบน หัวหนาคุม ชื่อ นายสนธีร ยางธิสาร 4. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนลาง หัวหนาคุม ชื่อ นายคําตา นาริเพ็ง 5. ประธานประชาคม นายเจริญ โตะชาลี ขอมูลดานการเมือง การปกครองบานหวยยาง หมูที่ 6 1. ผูใหญบาน ชื่อ นายหวล ยางธิสาร 2. ผูชวยผูใหญบาน 1. นายเมคินธ ยางธิสาร 2. นางญาณี ยางธิสาร 3. นายวีระชัย แสนธิจักร (ผรส.) 3. สมาชิก อบต. 1. นายสุรัน โตะชาลี


2. นายสาคร ยางธิสาร 4. จํานวนคุม ในหมูบาน มี 4 คุม ดังนี้ 1. ชื่อคุม คุมวัดโพธิ์ชัย 2. ชื่อคุม คุมแสงสวาง 3. ชื่อคุม คุมโรงเรียน 4. ชื่อคุม คุมบานนอย

หัวหนาคุม ชื่อ นายสาคร ยางธิสาร หัวหนาคุม ชื่อ นายลิขิต ยางธิสาร หัวหนาคุม ชื่อ นายหวล ยางธิสาร หัวหนาคุม ชื่อ นายเรง ยางธิสาร

ขอมูลดานอาชีพ และการมีงานทําในชุมชนบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 ประชากร มีอาชีพทํานา 163 ครอบครัว ทําสวน - ครอบครัว อาชีพรับจาง 100 ครอบครัว อาชีพคาขาย 6 ครอบครัว อาชีพเลี้ยงสัตว 120 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 13 คน ประกอบอาชีพ อยางเดียว 163 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 163 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบาน จํานวน คน ขอมูลดานอาชีพ และการมีงานทําในชุมชนบานหวยยาง หมูที่ 6 ประชากร มีอาชีพทํานา 199 ครอบครัว ทําสวน 32 ครอบครัว อาชีพรับจาง 28 ครอบครัว อาชีพคาขาย 8 ครอบครัว อาชีพเลี้ยงสัตว 85 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 10 คน ประกอบอาชีพอยาง เดียว 24 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 12 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบาน จํานวน 32 คน ขอมูลดานสังคม ประเพณี และวัฒนธรรมทองถิ่นชุมชนหวยยาง ชุมชนหวยยาง ไดดําเนินชีวิตประจําวันตามหลักของ ฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณีที่นับถือมาแต โบราณกาล มีวัฒนธรรมเรื่องการนับถือผี การเลี้ยงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา

การฟอนภูไท


ฟอนภูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิลปดั้งเดิมของชาวภูไท ที่ไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการฟอนภูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพื่อพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามศิลป ดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพื่อความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปที่ขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะที่พระธาตุเชิงชุม แลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอน ในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6 อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทา รํา 16 ทา เวลาฟอนทั้งชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ที่สําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัว ฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มา แสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหคนทั่วไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและ ถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผ”ี วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหาย หมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและ ผูปวยที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ํา เหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)


4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน พิธีสรงน้ําพระภู พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและ หมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความ เชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล ขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชุมชนหวยยาง มีสภาพแวดลอมที่ดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปา ชุมชน ซึ่งประชาชนใชประโยชนรวมกัน 2 แหง และหนองน้ําสาธารณะ 7 แหง ขอมูลสถานบริการของรัฐและสถานที่สําคัญในชุมชน ชุมชนหวยยางมีสถานบริการของรัฐและสถานที่สําคัญในชุมชน ดังนี้ ชุมชนหวยยางมีรานคาขายของชํา 20 แหง วัด 2 แหง สํานักสงฆ 1 แหง ที่อานหนังสือพิมพ 2 แหง หอกระจายขาว 2 แหง ศูนยสาธารณะสุขมูลฐาน 2 แหง รานซอมรถ 3 แหง แหลงทองเที่ยวใน ชุมชน 15 แหงรานตัดผม 1 แหง ขอมูลกลุมองคกรชุมชน/ปราชญชาวบานบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 1. กลุมเพาะพันธุกลาไม จํานวน 53 คน ชื่อประธาน นายเริง ยางธิสาร 2. กลุมเยาวชน จํานวน 65 คน ชื่อประธาน นายแสงเพชร ยางธิสาร 3. กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวน 76 คน ชื่อประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร 4. กลุมเลี้ยง โคพันธุพื้นเมือง จํานวน 84 คน ชื่อประธาน นายวิวร โตะชาลี 5. กลุมทอผาไหม จํานวน 63 คน ชื่อประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร ขอมูลกลุมองคกรชุมชน/ปราชญชาวบาน บานหวยยาง หมูที่ 6 1. กลุมเพาะพันธกลาไม 2. กลุม เยาวชน

จํานวน 23 คน ชื่อประธาน นายเรง ยางธิสาร จํานวน 45 คน ชื่อประธาน นายชัชวาล ยางธิสาร


3. กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย 4. กลุมเลี้ยง โคพันธุพื้นเมือง 5. กลุมทอผาไหม 6. กลุมผลิตปุยชีวภาพ

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

65 คน ชื่อประธาน นางจิตนา พลราชม 84 คน ชื่อประธาน นายมวลชัย ยางธิสาร 72 คน ชื่อประธาน นางเรณู ยางธิสาร 42 คน ชื่อ ประธาน นายหวล ยางธิสาร

ตารางที่ 1 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ที่ชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 ชื่อ – สกุล บานเลขที่ ความรู/ความสามารถ/ภูมิปญญาเดน 1. นายเซง คําเพชรดี 124 เวทมนต เปางู ไลปอบ 2. นายชุย แสนธิจักร 154 ไลปอบ 3. นายขันคํา ยางธิสาร 88 เปาฝหัวดํา 4. นางจอม จองสระ 30 หมอสมุนไพร 5. นายบุญมา โตะชาลี 134 สานกระติบขาว ตารางที่ 2 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ที่ชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยาง หมูที่ 6 ชื่อ - สกุล บานเลขที่ ความรู/ความสามารถ/ภูมิปญญา เดน 1. นายพาดี ยางธิสาร 11 จักสาน 2. นางผองคํา โตะชาลี 76 หมอเปา 3. นายหวล ยางธิสาร 215 ดนตรีพื้นบาน 4. นางแต คําเครือ หมอสมุนไพร 5. นายเกียรติ โตะชาลี 73 เปา


บทที่ 3 ศักยภาพแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง ในการศึกษาศักยภาพแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง ผูศึกษาจะอธิบายถึงสถานที่สําคัญ แหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติ รวมถึงประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน ดังนี้ ศักยภาพดานแหลงทองเที่ยว 1.จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง อดีตเคยเปนที่ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องจากพระองคไดมอบหมายงานให กรมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพื่อแกไขปญหาภัยแลงของหมูบาน หวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนี้พระองคเสด็จมาเปดอางดวยพระองคเองในป พ.ศ.2532 ปจจุบันบานหวยยาง-บานหวยยางเหนือ จากที่เคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานที่ จังหวัดใกลเคียงเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดทั้งป โดยอางเก็บน้ําหวย โท-หวยยาง โดยไดตั้งชื่อสมมุติวา “ พัทยานอย” ในขณะนี้ไดมีการจัดสรางศาลาทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่บริเวณอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 1 อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและบริเวณสรางศาลาทรงงาน


2. ถ้ําผาเก ถ้ําผาเกเปนถ้ําที่หลวงปูภา พระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐาน กอนถึงตัวถ้ําตอง ไตบันไดลงไปประมาณ 200 เมตร ภายในถ้ํามีพระนอนองคใหญ มีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัย เหมาะ สําหรับนักทองเที่ยวที่ชอบนั่งจําศีลภาวนา มีน้ําไหลออกจากถ้ําตลอดทั้งป ชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และ ชาวบานเชื่อวาถาไดดื่มกินก็จะสามารถรักษาโรคตางๆได

ภาพประกอบ 2 ถ้ําผาเก 3.พระธาตุดอยอางกุง เปนพระธาตุที่กอสรางครอบพระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ใน อดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุทั้ง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค ชาวบานไดเชิญไปไวที่วัด แตตอนกลางคืนมีดวงไฟลอยกลับมาที่เดิม ตอมาปพ.ศ. 2499 พระครูดวง (อาจารยครูดวง) เปนผูพาชาวบานมาสรางพระธาตุครอบพระพุทธรูปไว

ภาพประกอบ 3 พระธาตุดอยอางกุง


4. พระพุทธศิริมงคล เปนพระพุทธรูปที่สรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซึ่งสรางในบริเวณเดียวกัน พระพุทธศิริมงคล เปนพระพุทธรูปองคใหญ ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพนคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระ ธาตุดอยอางกุง เพื่อเปนการขอฝน เพื่อทําใหฝนตกตามฤดูกาล

ภาพประกอบ 4 พระพุทธศิริมงคล 5. จุดชมวิวเสาเฉลียง เปนกอนหินใหญที่ตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนที่สวยงามอีกจุด หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระ อาทิตยขึ้นที่สวยงาม และสามารถมองเห็นจุดที่พบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด

ภาพประกอบ 5 จุดชมวิวเสาเฉลียง


6. น้ําตกศรีตาดโตน เปนน้ําตกที่สวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลาน หินกวาง สามารถเปนที่พักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 6 น้ําตกศรีตาดโตน 7. จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม ซึ่งไดมาจําพรรษาที่สํานักสงฆภูนอยอางกุง เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอได ทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุมขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้นหิน


ภาพประกอบ 7 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร 8. สํานักสงฆภูนอยอางกุง เปนสํานักสงฆที่เครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวที่เปนวัด ที่พึ่งทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 8 สํานักสงฆภูนอยอางกุง 9. ภูผานอย มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนกันอยู สวยงามมาก ซึ่งผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปน หอคอยระวังภัย เปนสถานที่ลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

ภาพประกอบ 9 ภูผานอย


10. ภาพเขียนทางประวัติศาสตร เปนภาพเขียนโบราณที่เขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนที่ ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของ เขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทําจุดที่สําคัญๆไว

ภาพประกอบ 10 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร 11. ผาขาม เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนที่นั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็น ภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดทั้งป

ภาพประกอบ 11 ผาขาม


12. ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) เปนที่ขนุ พลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนที่ฝกอาวุธ เปน ถ้ําที่มีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวา ที่หนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาดู

ภาพประกอบ 12 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) 13. โบสถดิน เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) โดย มีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเริ่มในการสรางโบสถดิน เพื่อถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภาพประกอบ 13 โบสถดิน


จากการศึกษาศักยภาพดานแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง พบวา แหลงทองเที่ยวมีสถานที่ตั้ง ทั้งที่อยูในชุมชนหวยยางและแหลงทองเที่ยวที่ตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล (ดังตารางที่ 3 สถาน ที่ตั้งของแหลงทองเที่ยวตางๆ) ตารางที่ 3 สถานที่ตั้งของแหลงทองเที่ยวตางๆ แหลงทองเที่ยวในชุมชน 1.โบสถดิน 2. จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง 3.สํานักสงฆภูนอยอางกุง

แหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล 1.ถ้ําผาเก 2.พระธาตุดอยอางกุง 3.พระพุทธศิริมงคล 4.จุดชมวิวเสาเฉลียง 5.น้ําตกศรีตาดโตน 6.จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร 7.ภูผานอย 8.ภาพเขียนทางประวัติศาสตร 9.ผาขาม 10.ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)


บทที่ 4 ศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ในการศึกษาศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ผูศึกษาจะอธิบายถึงศักยภาพ ดานประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน ศักยภาพชุมชนดานสิ่งอํานวยความสะดวก ศักยภาพชุมชนดานการ คมนาคมหรือการเขาถึง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิง นิเวศ และปญหาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศของชุมชน ศักยภาพชุมชนดานประเพณีและวัฒนธรรม การเลี้ยงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา การฟอนภูไท ฟอนภูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิลปดั้งเดิมของชาวภูไท ที่ไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการฟอนภูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพื่อพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามศิลป ดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพื่อความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปที่ขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะที่พระธาตุเชิงชุม แลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอน ในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6 อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทา รํา 16 ทา เวลาฟอนทั้งชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ที่สําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัว ฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มา แสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหคนทั่วไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและ ถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท


พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผ”ี วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชื่อวาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ” 2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหาย หมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและ ผูปวยที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ํา เหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป) 4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแต ละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน พิธีสรงน้ําพระภู พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและ หมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความ เชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล ศักยภาพชุมชนดานสิ่งอํานวยความสะดวก 1) ที่พัก มีบานของชาวบานหวยยาง ที่สามารถจัดทําเปนที่พักแบบ Home Stay ไวรองรับ นักทองเที่ยวไดประมาณ จํานวน 10 หลัง เชน บานของนางบัวลอย โตะชาลี (ภาพประกอบ 14 บานพักโฮม เสตยของนางบัวลอย โตะชาลี) เปนบานพักที่มีลักษณะของตัวบานที่มั่นคง แข็งแรง ไมเสี่ยงอันตรายตอ การใชสอย วัสดุที่ใชสรางบานมีความแข็งแรง มีอากาศถายเทสะดวก มีแสงสวางเขาถึง มีหองน้ําและหอง สวมสะอาด โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดที่พักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ ดานความ


ปลอดภัยของที่พัก ซึ่งความปลอดภัยถือวาเปนสิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่นักทองเที่ยวใชเปน องคประกอบในการตัดสินใจเดินทางเขารวมกิจกรรมที่พักเชิงนิเวศ

ภาพประกอบ 14 บานพักโฮมเสตยของนางบัวลอย โตะชาลี 2) รานอาหารและเครื่องดื่ม ภายในชุมชนหวยยางจะมีรานอาหารและเครื่องดื่ม จํานวน 4 ราน ไดแก รานกวยเตี๋ยวน้ําตก สูตรโบราณ รานกวยเตี๋ยวนางไหมคํา รานอาหารตามสั่งนายจิมมี่และรานอาหาร ในสวน ไวคอยบริการคนในชุมชนและนักทองเที่ยว 3) การตอนรับ ชาวบานในชุมชนหวยยางเปนผูมีจิตใจโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผ ดังสํานวน สุภาษิตไทยที่วา “เปนธรรรมเนียมไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ” (ธัญญลักษณ มีหมู. 2552.) การตอนรับนักทองเที่ยวดุจญาติมิตรจะทําใหนักทองเที่ยวเกิดความรูสึกอบอุน มีการจัดเตรียมพื้นที่ ตอนรับในลักษณะศูนยกลางของชุมชน คือ ที่วัดโพธิ์ชัยและตลาดชุมชนบานหวยยาง 4) ดานอาหารพื้นเมือง ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติหาอยูหากินกันตามไรตามนา ตาม ปาตามเขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารที่หามาไดตามธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตามทองทุง นา เชน หอยเชอรี่ เขียด ปลา ปู อาหารจากปา เชน หอยหอม นก หนอไม เห็ด เปนตน อาจมี บางอยางที่ชุมชนตองพึ่งจากตลาด เชน เนื้อสัตว ผักบางชนิด ซึ่งในแตละวันชาวบานจะขึ้นไปหาอาหาร ปาที่ภูเขาที่อยูใกลเขตชุมชน บางสวนจะไปหาปลาที่อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง การปรุงอาหารหรือการ ประกอบอาหารจะเปนอาหารที่เปนเอกลักษณพื้นบาน สามารถทีจ่ ะหาไดในชุมชนมาปรุงเปนอาหารได เชน น้ําพริก ผักนึ่ง แกงหวายใสไก แกงหนอไม เปนตน ซึ่งรสชาติของอาหารจะไมจัดจนเกินไป ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง


การคมนาคมของชุมชนหวยยาง เปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดย ชุมชนอยูหางจากตัวจังหวัดสกลนครเพียง 37 กิโลเมตรตามถนนสกล-นาแก มีรถประจําทางจากจังหวัด สกลนครผานปากทางเขาหมูบานทุกวัน ตั้งแตเวลา 06.30 – 17.30 น.อัตราคาโดยสาร 20 บาท มีรถ มอเตอรไซครับจางเขาหมูบาน อัตราคาโดยสาร 20 บาท

ภาพประกอบ 15 เสนทางการคมนาคมในชุมชน

บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยว 1. บทบาทการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศในตําบลเหลาโพนคอ พันธกิจการพัฒนาการทองเที่ยวตําบลเหลาโพนคอ 1. กําหนดใหพื้นที่เปนแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ ทางวัฒนธรรม และประเพณีที่มีการ กําหนดขอบเขตการใชทรัพยากรการทองเที่ยวรวมกันระหวางชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ 2. มีการพัฒนาการทองเที่ยวในรูปเชิงนิเวศมุงเนนการอนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยว ทั้งทาง ธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตชุมชน 3. มีการพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว มุงเนนการแลกเปลี่ยนทั้งภายในและภายนอกชุมชน โดยรักษาไวซึ่งเอกลักษณที่ดีของชุมชน 4. มีการบริหารจัดการการทองเที่ยวในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนความมีสวนรวมของคนใน ชุมชนและองคกรประสานงานหลักดานการบริหารจัดการ


5.

มุงสูการเปนศูนยกลางการเรียนรูโลกดึกดําบรรพเสนทางไดโนเสาร

เปาหมายการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ 1. มีขอตกลงรวมกันในการใชทรัพยากรการทองเที่ยวระหวางชุมชนและหนวยงานที่ เกี่ยวของ 2. รักษาสภาพของทรัพยากรการทองเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของชุมชนอยางยั่งยืน 3. กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูจากสิ่งที่ใหทําในแตละกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก ชุมชน 4. มีการบริหารจัดการในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนการใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวมเพื่อ กอใหเกิดอาชีพและกระจายรายไดที่เปนธรรมและทั่วถึง ตลอดจนมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน แผนการพัฒนาการทองเที่ยเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ เนนในดานการควบคุมและการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนโครงการที่ควรดําเนินงานใน ระยะ 5 ปเปนสวนใหญ ประกอบดวยแผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ แผนการพัฒนาแหลง ทองเที่ยว/กิจกรรมทองเที่ยวและโครงสรางพื้นฐาน แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเที่ยวและ แผนการพัฒนาดานการตลาด สวนใหญเปนชุดโครงการที่ตองประสานความรวมกันในหลายหนวยงานและ องคกรที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. แผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ มี 5 โครงการ ประกอบดวย 1.1 โครงการจัดทําแผนการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 1.2 โครงการพัฒนาความรู ความสามารถดานการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศแกองคการ ธุรกิจชุมชน 1.3 โครงการจัดตั้งองคการธุรกิจชุมชนดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 1.4 โครงการจัดทําระเบียบชุมชนในการใชประโยนชทรัพยากรทองเที่ยวเชิงนิเวศ 1.5 โครงการจัดตั้งองคกรประสานงานหลักดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2. แผนการพัฒนาแหลงทองเที่ยว/กิจกรรมทองเที่ยวและโครงสรางมี 7 โครงการ ประกอบดวย 2.1 โครงการปรับปรุง/พัฒนาจุดชมวิวบนยอดเขาเสาเสลียง 2.2 โครงการปรับปรุง/พัฒนาเสนทางศึกษาธรรมชาติ 2.3 โครงการฟนฟูการทองเที่ยวดานประเพณี วัฒนธรรมและเทศกาลสําคัญของตําบล เหลาโพนคอ 2.4 โครงการพัฒนาระบบโทรศัพท


โครงการพัฒนาถนนและระบบการขนสงทางบกในพื้นที่ 2.6 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยในแหลงทองเที่ยว 2.7 โครงการปรับปรุงพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางโบราณวัตถุและซากฟอสซิลไดโนเสาร ของตําบลเหลาโพนคอ 3. แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเที่ยวมี 3 โครงการ ประกอบดวย 3.1 โครงการพัฒนาทักษะการใหบริการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนทองถิ่น 3.2 โครงการสงเสริมการประสานการรวมมือระหวางผูประกอบการทองเที่ยวในพื้นที่ 3.3 โครงการจัดตั้งรานคาและรานอาหารโดยองคกรธุรกิจชุมชน 4. แผนการพัฒนาดานการตลาดมี 3 โครงการ ประกอบดวย 4.1 โครงการพัฒนาความรูดานการตลาด 4.2 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนเอกลักษณของชุมชนทองถิ่น 4.3 โครงการเผยแพรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.5

งบประมาณ จากการสํารวจไดจัดทํางบประมาณโครงการขึ้นมาระยะ 1 ป มีทั้งสิ้น 500,000 บาทและ งบประมาณที่ยังไมรวมโครงการบางโครงการ ซึ่งยังไมไดกําหนดงบประมาณไว เพราะ เปนภารกิจของ หนวยงานที่รับผิดชอบ มีหนวยงานหลักที่รับผิดชอบในพื้นที่ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพน คอ โดยมีหนวยงานภาครัฐโดยเฉพาะอําเภอโคกศรีสุพรรณที่ใหคําปรึกษาและใหการสนับสนุน 2. ขอรับงบประมาณดานการสงเสริมการทองเที่ยวจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) 3. จัดงบประมาณในขอบัญญัติงบประมาณรายจายขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอประจํา ทุกป 1.

นอกจากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอยังชวยประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวผานทาง อินเตอรเน็ต http://laophonkhor.go.th/index.php เพื่อใหเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย 2. บทบาทการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนหวยยาง


เนื่องจากชุมชนหวยยาง หมูที่ 6 และหวยยางเหนือ หมูที่ 9 เปนชุมชนที่ตั้งอยูใกลแหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ดังนั้นในปพ.ศ. 2551 องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดมีการจัดตั้งกลุมบานพักโฮมสเตยและกลุมอาสาสมัครทองเที่ยว ใหแกผูนําและชาวบานหวยยางไว รองรับการทองเที่ยวและนักทองเที่ยวที่จะเขามาทองเที่ยวในอนาคต (ตารางที่ 4 รายชื่อกลุมบานพักโฮม สเตยชมุ ชนหวยยาง) ตารางที่ 4 รายชื่อกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ลําดับ ชื่อ-สกุล 1 นายปรารถนา แสนธิจักร 2 นางไหมคํา ฮมปา 3 นางธิดารัตน ยางธิสาร 4 นางบัวลอย โตะชาลี 5 นายมีพิมพ ยางธิสาร 6 นางสมบูรณ ยางธิสาร 7 นายไมตรี ยางธิสาร 8 นายแกง แพงดี ลําดับ ชื่อ – สกุล 9 นายหนูเตรียม พลราชม 10 นายอรุณรัตน ยางธิสาร 11 นายทอน ยางธิสาร 12 นางอรัญญา ยางธิสาร 13 นายชัยพิทักษ ยางธิสาร 14 นายสรสินธ โตะชาลี

ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ตําแหนง ประธานกลุม รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ตําแหนง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


จากการสัมภาษณ สอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและ ประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเที่ยวนั้นชุมชนยังไมมีรูปแบบใน กิจกรรมการทองเที่ยว เนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้ง ในการ จัดตั้งกลุมโฮมสเตย ชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้น ดังนั้นควรมีการจัดอบรมในเรื่อง มัคคุเทศนใหกับชุมชนและพาผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการ บริหารจัดการการทองเที่ยวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเที่ยวของชุมชนที่ประสบผลสาเร็จในการ บริหารจัดการการทองเที่ยวแลว เพื่อนําความรูที่ไดรับและประโยชนที่จะนํามาใชในการพัฒนาการบริหาร จัดการดานการทองเที่ยวในชุมชนของตนเอง นอกจากนี้ชุมชนควรมีการแบงบทบาทหนาที่ของคนใน ชุมชน ไมวาจะเปนผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและประชาชนในชุมชนใหชัดเจน รวมกันวางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวใหชัดเจนมากขึ้น


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ในการศึกษาเรื่อง ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชน หวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพ ชุมชนดานแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อ เสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขอมูลที่ชุมชนหวยยาง บานหวยยางหมูที่ 6 และหมูบานหวยยาง เหนือ หมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ระยะเวลาในการศึกษาระหวาง เดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม 2554 วิธีการเก็บขอมูล คือ การสังเกตการณแบบมีสวนและการสัมภาษณ ผูใหขอมูลหลัก การศึกษาขอมูลมือสองและเอกสารที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ใชแนวคิดการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ ( Ecotourism ) แนวคิดการบริหารจัดการของอรุกุล รมกลาง และแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผูศึกษาสรุปผลได ดังนี้ 1. วัตถุประสงคของการศึกษา 2. ประชากรและกลุมตัวอยาง 3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. สรุปผล 6. อภิปรายผล 7. ขอเสนอแนะ 1.

วัตถุประสงคของการศึกษา

1.เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2.เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3.เพื่อเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


2.ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายที่ใชในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยางเหนือ จํานวน 923 คน ประชากรบาน หวยยาง จํานวน 858 คน และมีกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ หัวหนาครัวเรือน จํานวน 10 คน คณะกรรมการ หมูบานและผูนําชุมชน จํานวน 20 คน ตัวแทน ตัวแทนกลุมแมบาน จํานวน 10 คน และผูรู จํานวน 6 คน 3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับ ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาไดใช เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาภาคสนาม ดังนี้ 6. สมุดจดบันทึก 7. กลองถายรูป 8. แบบสัมภาษณ 9. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 10. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 4.การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลมาใชในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือที่เกี่ยวของจากหองสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อประกอบในการศึกษาครั้งนี้ 2. ศึกษาเอกสารมือสองที่ไดจากหมูบานและองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 3. ขอหนังสือจากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อขออนุญาต เขาไปศึกษาและหนังสือสงตัวนิสิตในการฝกงาน 4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสังเกตการณแบบมีสวนรวมและสัมภาษณประชากร ตามที่กําหนดไวโดยผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง เนื่องจากการศึกษาคนควาครั้งนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ

5.สรุปผล จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตนพบผลการศึกษา สรุปไดดังนี้


ประการแรก ในประเด็นของศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ แหลงทองเที่ยว ของชุมชนหวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพื้นที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ มีวิถีชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มีแหลงประวัติศาสตร เขาถึงสะดวกรวดเร็ว มีสถานที่ สําคัญ ดังนี้ 1.

ศักยภาพของแหลงทองเที่ยวในชุมชน

1.1 จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง อดีตเคยเปนที่ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องจากพระองคไดมอบหมายงานให กรมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพื่อแกไขปญหาภัยแลงของหมูบาน หวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนีพ้ ระองคเสด็จมาเปดอางดวยพระองคเองในป พ.ศ.2532 ปจจุบันบานหวยยาง-บานหวยยางเหนือ จากที่เคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานที่ จังหวัดใกลเคียงเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดทั้งป โดยอางเก็บน้ําหวย โท-หวยยาง โดยไดตงั้ ชื่อสมมุติวา “พัทยานอย” 1.2 ถ้ําผาเก ถ้ําผาเกเปนถ้ําที่หลวงปูภา พระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐาน กอนถึงตัวถ้ําตอง ไตบันไดลงไปประมาณ 200 เมตร ภายในถ้ํามีพระนอนองคใหญ มีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัย เหมาะ สําหรับนักทองเที่ยวที่ชอบนั่งจําศีลภาวนา มีน้ําไหลออกจากถ้ําตลอดทั้งป ชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และ ชาวบานเชื่อวาถาไดดื่มกินก็จะสามารถรักษาโรคตางๆได 1.3 ถ้ําอางกุง เปนถ้ําที่ลึก ใหญ กวางขวางมาก ตามประวัติเปนถ้ําที่ในอดีตเคยใชเปนสถานที่วิปสสนากรรมฐาน ปจจุบัน สภาพของถ้ํายังมีสภาพคงเดิมไมเปลี่ยนแปลง แทนที่ทานที่ใชนั่งวิปสสนากรรมฐานยังคงสภาพเดิม 1.4 พระธาตุดอยอางกุง เปนพระธาตุที่กอสรางครอบพระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ใน อดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุทั้ง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค ชาวบานไดเชิญไปไวที่วัด แตตอนกลางคืนมีดวงไฟลอยกลับมาที่เดิม ตอมาปพ.ศ. 2499 พระครูดวง (อาจารยครูดวง) เปนผูพาชาวบานมาสรางพระธาตุครอบพระพุทธรูปไว 1.5 พระพุทธศิริมงคล


เปนพระพุทธรูปที่สรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซึง่ สรางในบริเวณเดียวกัน พระพุทธศิริมงคล เปนพระพุทธรูปองคใหญ ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพนคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระ ธาตุดอยอางกุง เพื่อเปนการขอฝน เพื่อทําใหฝนตกตามฤดูกาล 1.6 จุดชมวิวเสาเฉลียง เปนกอนหินใหญที่ตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนที่สวยงามอีกจุด หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระ อาทิตยขึ้นที่สวยงาม และสามารถมองเห็นจุดที่พบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด 1.7 น้ําตกศรีตาดโตน เปนน้ําตกที่สวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลาน หินกวาง สามารถเปนที่พักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง 1.8 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุม ขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้นหิน 1.9 สํานักสงฆภูนอยอางกุง เปนสํานักสงฆที่เครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวที่เปนวัด ที่พึ่งทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง 1.10 ภูผานอย มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนกันอยู สวยงามมาก ซึง่ ผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปน หอคอยระวังภัย เปนสถานที่ลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

1.11 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร เปนภาพเขียนโบราณที่เขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนที่ ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของ เขตอุทยานแหงชาติภูผายล เพราะมีการทําจุดที่สําคัญๆไว


1.12 ผาขาม เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนที่นั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็น ภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดทั้งป 1.13 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) เปนที่ขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนที่ฝกอาวุธ เปน ถ้ําที่มีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวา ที่หนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาดู 1.14 โบสถดิน เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) โดย มีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเริ่มในการสรางโบสถดิน จากการศึกษาศักยภาพดานแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง พบวา แหลงทองเที่ยวมีสถานที่ตั้งทั้ง ที่อยูในชุมชนหวยยางและแหลงทองเที่ยวที่ตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ดังนี้ แหลงทองเที่ยวที่ตั้งอยูในชุมชน ไดแก โบสถดิน จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง และ สํานักสงฆภูนอยอางแกว แหลงทองเที่ยวที่ตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ไดแก ถ้ําผาเก ถ้ําอางกุง พระธาตุดอยอางกุง พระพุทธศิริมงคล จุดชมวิวเสาเฉลียง น้ําตกศรีตาดโตน จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ภูผานอย ภาพเขียนทาง ประวัติศาสตร ผาขามและถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) ประการที่สอง ในประเด็นของศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ บุคลากร ในชุมชนหวยยางมีความพยายามที่จะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวดวยตนเอง แตคนใน ชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยูบาง สวนเอกสารความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวองคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว ศักยภาพประเพณีและวัฒนธรรม ชุมชนหวยยาง ไดดําเนินชีวิตประจําวันตามหลักฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณีที่นับถือกันมาแต โบราณกาล มีวัฒนธรรมเรื่องการนับถือผี เชน ผีปูตา


การเลี้ยงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามสรัทธาของ ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา การฟอนผูไท ฟอนผูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิลปดั้งเดิมของชาวผูไท ที่ไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการรําผูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพื่อพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามศิลปดั้งเดิม อยางหนึ่งหรือเปนการรําเพื่อความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปที่ขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะที่พระธาตุเชิงชุม แลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอน ในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6 อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทา รํา 16 ทา เวลาฟอนทั้งชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ที่สําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัว ฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มา แสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหคนทั่วไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีที่มีมาแตบรรพบุรุษและ ถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บปวยใน ครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพื่อ “แกผ”ี วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผี ตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธี เหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้น เชือ่ วาเปนคําบอกของผีที่จะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผี หมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้ 1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยา หรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพื่อเลี้ยงมิ้งเลี้ยงหอ”


2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เมื่อมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอ เหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปว ยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวย ที่หายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ 3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพื่อขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆ ป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธฟี ายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป) 4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและ จะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูที่ทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน พิธีสรงน้ําพระภู พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและ หมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความ เชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล ศักยภาพชุมชนดานสิ่งอํานวยความสะดวก 1) ที่พัก มีบานของชาวบานหวยยาง ที่สามารถจัดทําเปนที่พักแบบ Home Stay ไวรองรับ นักทองเที่ยวไดประมาณ จํานวน 10 หลัง เชน บานของนางบัวลอย โตะชาลี เปนบานพักที่มีลักษณะของตัว บานที่มั่นคง แข็งแรง มีอากาศถายเทสะดวก มีแสงสวางเขาถึง มีหองน้ําและหองสวมสะอาด 2) รานอาหารและเครื่องดื่ม ภายในชุมชนหวยยางจะมีรานอาหารและเครื่องดื่ม จํานวน 4 ราน ไดแก รานกวยเตี๋ยวน้ําตก สูตรโบราณ รานกวยเตี๋ยวนางไหมคํา รานอาหารตามสั่งนายจิมมี่และรานอาหาร ในสวน ไวคอยบริการคนในชุมชนและนักทองเที่ยว 3) การตอนรับ ชาวบานในชุมชนหวยยางเปนผูมีจิตใจโอบออมอารี ตอนรับนักทองเที่ยวดุจญาติ มิตรจะทําใหนักทองเที่ยวเกิดความรูสึกอบอุน 4) ดานอาหาร ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติหาอยูหากินกันตามไรตามนา ตามปาตาม เขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารที่หามาไดตามธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตามทองทุงนา เชน หอยเชอรี่ เขียด ปลา ปู อาหารจากปา เชน หอยหอม นก หนอไม เห็ด เปนตน อาจมีบางอยางที่ ชุมชนตองพึ่งจากตลาด เชน เนื้อสัตว ผักบางชนิด การปรุงอาหารหรือการประกอบอาหารจะเปนอาหารที่ เปนเอกลักษณพื้นบาน สามารถที่จะหาไดในชุมชนมาปรุงเปนอาหารได เชน น้ําพริก ผักนึ่ง แกงหวายใส ไก แกงหนอไม เปนตน ซึ่งรสชาติของอาหารจะไมจัดจนเกินไป


ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง การคมนาคมของชุมชนหวยยาง เปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดย ชุมชนอยูหางจากตัวจังหวัดสกลนครเพียง 37 กิโลเมตรตามถนนสกล-นาแก มีรถประจําทางจากจังหวัด สกลนครผานปากทางเขาหมูบานทุกวัน ตั้งแตเวลา 06.30 – 17.30 น.อัตราคาโดยสาร 20 บาท มีรถ มอเตอรไซครับจางเขาหมูบาน อัตราคาโดยสาร 20 บาท บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยว ชุมชนหวยยาง หมูที่ 6 และหวยยางเหนือ หมูที่ 9 มีลักษณะการพัฒนาการทองเที่ยวในพื้นที่ให เปนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จัดเปนแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ วัฒนธรรม โดยมุงเนนการอนุรักษ การ พักผอนหยอนใจ การศึกษาธรรมชาติ และการแลกเปลี่ยนความรูซึ่งจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานเทาที่จําเปน และมีการจัดการในรูปของธุรกิจชุมชนโฮมสเตย ที่อยูในขั้นของการเริ่มตนดําเนินการเพื่อใหทุกคนใน ชุมชนมีสวนรวมตามศักยภาพทุกระดับ แผนการพัฒนาการทองเที่ยเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ เนนในดานการควบคุมและการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนโครงการที่ควรดําเนินงานใน ระยะ 5 ปเปนสวนใหญ ประกอบดวยแผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ แผนการพัฒนาแหลง ทองเที่ยว/กิจกรรมทองเที่ยวและโครงสรางพื้นฐาน แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเที่ยวและ แผนการพัฒนาดานการตลาด สวนใหญเปนชุดโครงการที่ตองประสานความรวมกันในหลายหนวยงานและ องคกรที่เกี่ยวของ นอกจากนี้องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอชวยประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวผาน ทางอินเตอรเน็ตเพื่อใหแหลงทองเที่ยวเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จากการสัมภาษณ สอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและ ประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเที่ยวนั้นชุมชนยังไมมีรูปแบบใน กิจกรรมการทองเที่ยว เนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้ง ในการ จัดตั้งกลุมโฮมสเตย ชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้น ดังนั้นควรมีการจัดอบรมในเรื่อง มัคคุเทศนใหกับชุมชนและพาผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการ บริหารจัดการการทองเที่ยวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเที่ยวของชุมชนที่ประสบผลสาเร็จในการ บริหารจัดการการทองเที่ยวแลว เพื่อนําความรูที่ไดรับและประโยชนที่จะนํามาใชในการพัฒนาการจัดการ


ดานการทองเที่ยวในชุมชนของตนเอง นอกจากนี้ชุมชนควรมีการแบงบทบาทหนาที่ของคนในชุมชน ไม วาจะเปนผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและประชาชนในชุมชนใหชัดเจน รวมกัน วางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวใหชัดเจนมากขึ้น 6.อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษาวิจัยเรื่องศักยภาพในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพดานแหลง ทองเที่ยวเชิงนิเวศ พบวา ชุมชนหวยยางแหลงทองเที่ยวของชุมชนหวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพื้นที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ มีวิถีชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มี แหลงประวัติศาสตร เขาถึงสะดวกรวดเร็ว มีสถานที่สําคัญ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เสรี เวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเที่ยวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเที่ยว อยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ ระบบนิเวศสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการ อยางมีสวนรวมของทองถิ่นเพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน การทองเที่ยวเชิง นิเวศ มีองคประกอบสําคัญที่ควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงการกระจายรายได ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ในเรื่องของการจัดการ การทองเที่ยว ชุมชนหวยยางยังไมมีระบบการบริหารจัดการที่เปนแนวทางชัดเจน ไมมีรูปแบบกิจกรรมการ ทองเที่ยว บุคลากรในชุมชนหวยยางมีความพยายามที่จะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการการ ทองเที่ยวดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยูบาง สวนเอกสารความรู เกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการ บริหาร แนวคิดหลักในการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยว บริเวณแหลงทองเที่ยวไวเปน 2 ประเภท (วรรณา วงษวานิช. 2539 : 76-77) คือ 1.การใหบริการและใหความสะดวก ตลอดจนใหความรูแกนักทองเที่ยว 2.การรักษาไวซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงอยูตลอดไป ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงชี้ใหเห็นถึงการมีสวนรวมของชุมชนหวยยางในการจัดการการทองเที่ยว เชิงนิเวศและยังเปนการสรางจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอมใหกับคนในชุมชนและนักทองเที่ยวดวย นอกจากนี้การศึกษาศักยภาพในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาใชกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการอธิบาย เนื่องจากในอดีตชุมชนหวยยางเคยเปนหมูบานขอทาน จนเปนขาวหนา 1 ของ


หนังสือพิมพเดลินิวส กระทั่งขาวทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทรงมอบหมายงานให กรมชลประทานดําเนินการสรางอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ในป 2528 แลวเสร็จในป 2530 โดยพระองค เสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางดวยพระองคเองในป 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนชุมชนหวยยาง เปลี่ยนจากหมูบานขอทานมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนหวยยางไดนอมนําปรัญชาเศรษฐกิจ พอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิตภายใตกรอบ 3 หวง 2 เงื่อนไข ตามหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง 7.ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะดานงานวิจัย 1. ควรมีการศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหลังการสงเสริมการทองเที่ยวที่จะเกิดขึ้นในชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ควรมีการศึกษาการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนหวยยาง ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน หนวยงานที่เกี่ยวของควรสนับสนุน สงเสริมและใหความรูแกชุมชนเพิ่มมากขึ้นในการพัฒนา รูปแบบการทองเที่ยว 2. ภายในชุมชนควรปรับปรุงภูมิทัศน เพื่อเปนแรงดึงดูดใหนักทองเที่ยวเขามาเที่ยว 3. ภายในชุมชนนาจะมีผลิตภัณฑของชุมชนและมีตลาดเพื่อรองรับการทองเที่ยว 1.


บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

กรวรรณ สังขกร. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการทองเที่ยวชุมชน. สถาบันวิจัยสังคม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2552.


ทัศนีย บัวระภา. การพัฒนาตลาดการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมแบบยั่งยืนของกลุมจังหวัดรอยแกน สาร. สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549. ธัญญลักษณ มีหมู. ศักยภาพและแนวทางการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม ในเขตตําบล ทาหินงาม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูม.ิ วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. บังอร ทาประเสริฐ. ตลาดน้ําวัดลําพญา : การจัดการเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมโดยการมีสวน รวมของชุมชน. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. พจนา สวนศรี. คูมือการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพ : โครงการทองเที่ยวเพื่อชีวิตและ ธรรมชาติ, 2547. ยศ สันตสมบัติและคณะ. การทองเที่ยวเชิงนิเวศ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการจัดการ ทรัพยากร. โครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศ ไทย(โครงการ BRT), 2544. สิรินทิพย พันธมัฆวาฬ. การพัฒนาและการจัดการการทองเทีย่ วเชิงนิเวศวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. เสรี พงศพิศ. เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนายั่งยืน. กรุงเทพฯ : พลังปญญา, 2549. https://sites.google.com/site/laophonkhortv/natural

รายนามผูใหสัมภาษณ

1.นายวิกรานต โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 13 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถนุ ายน 2554


2. นางกวาย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 115 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 3. นายสาคร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 146 บานหวยยางหมูที่ 6 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 4. นายทวีศักดิ์ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 124 บานหวยยางหมูที่ 6 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 5. นางสายมะณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 175 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 6. นางวงคจันทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 245 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 7. นายไพบูลย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 235 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 8. นางบัวลอย โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 184 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 9. นายมานะชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 182 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554 10. นางรักคํา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 203 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 11. นางลําใย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 114 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 12. นางสมบูรณ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 176 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 13. นายจบ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 5 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 14. นางญาณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บา นเลขที่ 1 บานหวยยางหมูที่ 6 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 15. นายปรีดา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 13 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 16. นางอรัญญา ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 42 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 17. นายวิวร โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 185 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554


18. นายวิตตะ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 22 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 19. นางรุงตะวัน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 113 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 20. นางทองคํา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 245 บานหวยยางหมูที่ 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 21. นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 133 บานหวยยางหมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 22. นางรุงฤดี นิลชั้น เปนผูใหสัมภาษณ ที่บานเลขที่ 180 บานหวยยางหมูที่ 6 ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 23. นายเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูใหสัมภาษณ ที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554 24. นายรัตนะ คําโสมศรี หัวหนาสํานักปลัด องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปน ผูใหสัมภาษณ ที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554 25. นายอนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูให สัมภาษณ ที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554 26. นางสาวดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปน ผูใหสัมภาษณ ที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ

แบบสัมภาษณ ใชสัมภาษณกลุมผูรูหรือผูใหขอมูลหลักและผูใหขอมูลทั่วไป


เรื่อง : การสงเสริมชุมชนในการบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา แหลงทองเที่ยวหวยโทหวยยาง เขตอุทยานแหงชาติภูผายล ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอมูลเกี่ยวกับผูใหสัมภาษณ ชื่อ-สกุล................................................................................... อายุ.................. ป ที่อยูปจจุบัน................................................................................................................................................. การศึกษา..................................................... อาชีพ.................................................................................... 1.ขอมูลดานการทองเที่ยว ประวัติความเปนมาและจุดเดนของแหลงทองเที่ยว .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

วัฒนธรรมของชุมชน ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการการทองเทีย่ วเชิงนิเวศและวัฒนธรรมชุมชน บุคลากร……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… คมนาคม……………………………………………………………………………………………………… .......................................................................................................................................................................... บริการ………………………………………………………………………………………………………... .......................................................................................................................................................................... ความพรอมในการเขามามีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยว ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………. หนวยงานภาครัฐในทองถิ่น ( องคการบริหารสวนตําบล,กลุมชาวบาน) เขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการหรือไม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………..


ภาคผนวก ข แผนผังหมูบาน

N

8

16

9

1

18 6

15

โซนที่ 147

ศาลา ศูนยเด็กเล็ก 261

116


แผนที่สังเขปบานหวยยาง หมูที่ 6 ตําบลเหลาโพนคอ

53



ภาคผนวก ค ปฏิทินวัฒนธรรม

\

ปฏิทินวัฒนธรรม


บุญกฐิน

บุญปใหม

บุญกฐิน เดือนสิบสอง

เดือนอาย

เดือนสิบเอ็ด บุญขาวสาก

บุญขาวประดับดิน

เดือนยี่ ประทายขาวเปลือก (บุญกองขาว)

เดือนสิบ เดือนเกา

ปฏิทินประเพณี วัฒนธรรม

เดือนสาม

เลี้ยงเจาปูตา

เดือนสี่

บุญบั้งไฟ หมอเหยา

เดือนแปด เขาพรรษา

เดือนหา เดือนเจ็ด

เดือนหก

บุญบั้งไฟ สรงพระภู

บุญมหาชาติ


ภาคผนวก ง เสนทางการทองเที่ยว




ภาคผนวก จ รูปกิจกรรม


เสนทางการทองเที่ยว

บานพักโฮมสเตย


การคมนาคมในหมูบาน

สัมภาษณกลุมเปาหมาย


วิถีชุมชน

ทําบุญตักบาตร

สรงน้ําพระภูบนพระธาตุดอยอางกุง


กิจกรรมที่เขารวมกับองคกรพัฒนา

พิธีเปดการอบรมเพาะพันธุกลาไมและลงนามขอตกลง (MOU) โครงการปลูกไมดอกเพื่อปรับปรุง ภูมิทัศนโคงปงงู ระหวางบริษัทอภิชญาฟลอรา จํากัด กับกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง

กิจกรรมยุวเกษตรกรดีเดน กิจกรรมที่ปรึกษายุวเกษตรกรดีเดน กิจกรรมสมาชิกยุวเกษตรกรดีเดน


โครงการ ศอช.จังหวัดสกลนครสูเสนทางการเมืองใสสะอาด

กิจกรรมบูรณาการแผนระดับตําบล


กิจกรรมประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

รวมปลอยปลากับอบต.เหลาโพนคอเนื่องในวันแม


ภาคผนวก ฉ แผนพับแนะนําแหลงทองเที่ยว



ประวัติยอของผูศึกษา


ประวัติยอของผูศึกษา ชื่อ นางสาวสุนารี หมื่นหาวงศ วันเกิด 19 กรกฎาคม 2532 ที่อยูปจจุบัน 153 หมูที่ 5 บานจอกอ ตําบลน้ําคํา อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 45130 ประวัติการศึกษา 2547 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนสุวรรณภูมิพิทยไพศาล 2550 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสุวรรณภูมิพิทยไพศาล 2554 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.