ขุมทรัพย์โบราณที่หมู่บ้านห้วยยาง

Page 1

ขุมทรัพยโบราณทีห่ มูบ านหวยยาง โดย: พระราชรัตนมงคล (มนตรี อภิมนฺติโก) บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยูใกลเชิงเขาภูพานทางดานจังหวัด สกลนคร มีลําน้ําหวยยางเปนเสนแบงเขตแดนจังหวัดระหวางสกลนครกับนครพนม ซึ่งเทือกเขาภูพาน ณ จุดนี้เปนรอยตอ ของสามจังหวัด ไดแกจังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม และจังหวัดกาฬสินธุ สภาพภูมิประเทศเปนเทือกเขายาว ลักษณะ ภูเขาประกอบไปดวยเทือกเขาที่เปนลานหินทรายที่มีขนาดกวางอยูเปนจํานวนมากมาย ใตลานหินเหลานั้นมีถ้ํา สลับ ซับ ซอน บางแหงมีลําธารลอดภายในถ้ํา น้ําไหลไปไกลหลายกิโลเมตร ดังนั้นจึงเปนที่เก็บซอนสมบัติของคนยุค โบราณตางยุคตางสมัยกันหลายยุค ไดแกยุคกอนประวัติศาสตร ยุคศรีโคตบูร ยุคขอม ยุคลานชาง และยุครัตนโกสินทร ขุมทรัพยที่บ านหวยยางนี้ มีเรื่องเลาตอกันมาวามีอยูหลายแหง ในที่นี้จะขอเลาเฉพาะที่ผูเขียนไดรับฟงและไดไป ดูมาแลว แหงแรกอยูใกลผานอย ภูเขาทางทิศตะวันตกเฉียงใตของหมูบาน ที่เขาลูกนั้นเปนภูเขาหินทราย มีลานหิน และ กอนหินขนาดใหญคลายดอกเห็ดอยูมากมายหลายแหง หนทางที่จะขึ้นไปสูผานอย ที่ใตกอนหินมีเงื้อมหินซึ่งกันฝนไดอยู หลายแหง ที่เงื้อมหินนั้นมีลายเขียนสี สีแดง เขาใจวาเปนลายเขียนสีกอนประวัติศาสตร ที่คนโบราณเมื่อหลายพันปกอน เขียนไว ใตเงื้อมหินเหลานั้น บางแหงผูอาวุโสของหมูบานเลาวา มีลายแทงขุมทรัพย และมีอักษรขอมเขียนกํากับ ไว บอก ถึงหนทางและจุดที่ซอนขุมทรัพย โดยทําเปนเครื่องหมาย เชนทําเปนกองหินเปนเครื่องหมายบอกทิศทางและตําแหนงที่ ซอนทรัพยสมบัติไวอยางชัดเจน เกี่ยวกับการคนหาขุมทรัพย ไดมีนักแสวงหาสมบัติไดพาหมอธรรมมานั่งธรรมสองหาแลว หลายครั้งหลายคราว ไดมีการคนพบบาง ไมพบบาง ที่คนพบ สมบัติทพี่ บมักจะเปนเงินประเภทเงินพดดวง เงินฮาง และ พระพุทธรูปโบราณ การคนสมบัตินั้นใชวาทุกคนจะประสบความสําเร็จในการคนหา เพราะสมบัติเหลานั้นมีอารักขเทวดา รักษา ดังนั้นการคนหาขุมทรัพยจึงตองมีหมอธรรม คือผูที่มีวิชาอาคมจึงจะขุดคนได หมอธรรมบางรายที่มีคาถาอาคมไม แกกลาถูกอารักขเทวดา หรืออารักษผูรักษาทรัพยสมบัติ แสดงอิทธิฤทธิ์ บันดาลใหเห็นเปนเหมือนกับฝนตกฟารอง หรือ เกิดน้ําทวมขนาดใหญ ทําใหหมอธรรมรูสึกเหมือนกับ วาตนเองกําลังจะจมน้ํา จึงตองวายน้ําเหมือนกับ วายน้ําในแมน้ําลํา คลอง แตแทจริงแลวกําลังวายอยูบ นแผนดิน อกและลําตัวถลอกปอกเปกเลือดไหลโดยไมรูตัว ไดมีหมอธรรมหลายรายที่มี อาการเชนนี้ เพราะพายแพตออิทธิฤทธิ์ของอารักขเทวดาผูรักษาขุมทรัพยเหลานั้น นั่นเปนเรื่องที่ผูอาวุโสเลาเกี่ยวกับ ขุมทรัพยทฝี่ งไวใกลทางขึ้นผานอย ที่เชิงเขาภูพาน ในที่ไมไกลจากผานอยมากนัก มีถ้ําที่แมน้ําไหลลอดอยูแหงหนึ่ง ชาวบานทั่วไปเรียกถ้ําแหงนี้วา ถ้ําแซง ที่ถ้ําแซงนี้มีพระพุทธรูปโบราณอยูเปนจํานวนมาก พระพุทธรูปมีหลายขนาด ทําจากโลหะเงินบาง ทําจากครั่งบาง นอกจากนั้นยังมีมโหระทึกที่หลอจากสัมฤทธิ์ กลองมโหระทึกบางแหงก็เรียกวาฆองกบ เพราะมีรูป กบเปนสัญลักษณ มโหระทึกใบนี้ผูเขียนเคยเห็น ที่วัดโพธิ์ชัยบานหวยยางเพราะมีผูนํามาไวที่วัด แตปจจุบันนี้ไมทราบวาจะยังอยูหรือไม ที่ถ้ํา แหงนี้ ปจจุบัน พระพุทธรูปโบราณที่อยูภายในถ้ํา ไดมีนักลาสมบัติขนไปหมดแลว ซึ่งผูทนี่ ําพระพุทธรูปไปก็ไดเสียชีวิต ในทันที จึงมีความเชื่อกันวานักลาสมบัติผูนั้นถูกอารักขเทวดา หรืออาจจะเปนปูโสมเฝาทรัพยบันดาลใหเขาถึงแกความ


ตาย เปนการลงโทษใหถึงกับสิ้นชีพ สวนพระพุทธรูป เหลานั้น บางองคผูเขียนเคยเห็น เปนพระพุทธรูปขนาดหนาพระเพลา กวางประมาณ ๒ นิ้ว ซึ่งเมื่อดูศิลปะแลว พบวาเปนพระพุทธรูปศิลปะแบบลานชาง ทีม่ อี ายุป ระมาณ ๘๐๐ รอยป ลําหวย ที่น้ําไหลลอดถ้ําแซงออกมานั้น น้ําไหลผานมาถึงสถานที่มีดินแดง ที่ตรงนั้นชาวบานจึงเรียกวาหวยฝงแดง ที่บริเวณหวย ฝงแดงเคยมีผูพบพระพุทธรูปทองคํา แลวนําเขามาในหมูบ าน ปรากฏวาผูที่นําพระพุทธรูปนั้นมา ไดลมลงถูกตอไมแทง เลือดไหลไมหยุด ในที่สุดตองนําพระพุทธรูปทองคํานั้นไปคืนไวในสถานที่คนพบนั้นดังเดิม เลือดที่ไหลออกจากถูกตอไม แทงนั้นจึงหยุดไหล ทิศตะวันตกเฉียงใตของหมูบานหวยยาง หางจากหมูบ านไปประมาณ ๒ กิโลเมตรเศษ ถึงเชิงเขาภูพาน ที่ตรงนั้น มีลานหินขนาดใหญกวางหลายสิบ ไร เปนตนน้ําหวยโทหวยยางที่ไหลลงมาจากเทือกเขาภูพาน ลานหินนั้นเรียกวาดานหมี ถัดดานหมีลงมาเปนปาไม มีที่พื้นที่ราบพอปลูกพืชไรได ที่ตรงนี้เรียกวาเหลาหมอทองที่เรียกวาเหลาหมอทองนั้น เพราะมี หมอทองสัมฤทธิ์ขนาดใหญตั้งอยู ซึ่งหมอทองนีอ้ ยูในพื้นที่แหงนี้มาแตดึกดําบรรพ และก็ไมมีใครกลาขโมยหรือเคลื่อนยาย หมอทองสัมฤทธิ์ใบนี้ เพราะกลัววาจะถูกอารักขเทวดาหรือปูโสมเฝาทรัพยสมบัติ ตามไปบันดาลใหผทู ี่ลักสมบัติไปนั้นถึง แกความตาย ดังที่เคยมีตัวอยางใหเห็นมาแลวหลายครั้ง ที่เหลาหมอทองนี้ เปนไรของนายเห็บ ยางธิสาร ซึ่งเปนโยมปู ของผูเขียน พื้นที่ถัดไปนั้นเปนที่ดินของนายสังข พลราชม ซึ่งเปนพี่ชายของนางสูน ยางธิสาร ซึ่งเปนโยมยาของผูเขียน ที่ดินไรนาผืนนี้จึงกวางกวา ๑๐๐ ไร พื้นที่บริเวณนี้เรียกโดยรวมวานาดานหมี ใตพื้นดานหมีลึกลงไปจะเปนถ้ํา เพราะเมื่อ เดินผานดานหมีก็จะไดยินเสียงดัง ที่ใตพื้นดานตรงนั้น ทําใหทราบวาพื้นหินตรงนั้นกลวง หรือเปนโพรง ถัดจากนั้นไมไกล เรียกวาถ้ําแกลบ ทางเขาถ้ําแกลบมีกอนหินปดอยู แตหินนี้มาลักษณะคลายกระเดื่อง คือเมื่อจะเขาไปในถ้ําก็กดหินกอนที่ ปดปากถ้ําใหเปดขึ้น เมื่อเขาไปในถ้ําแลวหินก็จะปดลง ปดปากทางเขาถ้ําไวตามเดิม ที่เรียกถ้ําแกลบเพราะภายในถ้ํามี แกลบอยูเปนจํานวนมาก มีอยูทุกฤดูกาล คลายกับวามีคนตําขาว หรือสีขาวภายในถ้ําแหงนี้ แตแทจริงแลว ถ้ําแหงนี้อยู บนภูเขาไกลกวา ๓ กิโลเมตร และไมมีผูคนอยูอาศัย ชาวบานจึงเชื่อกันวาพวกอารักขเทวดา หรือพวกบังบด อาศัยอยูใน พื้นที่ถ้ําแกลบนี้ และถ้ําแกลบนี้เชื่อวาเปนที่ซุกซอนขุมทรัพยของคนในยุคโบราณ ตอมา เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๗ โยมปูไดบอกกับ ผูเ ขียนวา ไดมีเจาหนาที่จากจังหวัดสกลนครมาบอกวา พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริจะสรางอางเก็บน้ําหวยโทหวยยาง คือตรงพื้นที่ไรนาของโยมปูและของพี่ชายโยมยานี้ พื้นที่แหงนี้จะถูกน้ําทวมทั้งหมด ประมาณ ๑๐๐ ไรเศษ โยมปูขอความเห็นจากผูเขียนวา ควรจะทําอยางไร ควรจะเซ็น ยินยอมใหมีการสรางอางเก็บน้ําหรือไม ผูเขียนจึงใหความเห็นไปวา ควรเซ็นอนุญาต เพราะจะทําใหพื้นที่ไรนาของหมูบาน หวยยางโดยรวมไดมีน้ําสําหรับอุปโภคบริโภค มีน้ําเพื่อการเกษตรไดตลอดทั้งป จากที่ผูเขียนไดใหความเห็นเชนนั้น โยมปู จึงไดเซ็นยินยอมใหมีการสรางอางเก็บน้ําหวยโทหวยยาง เรื่องเหลาหมอทองดังที่ไดเลามานี้ บริเวณเหลาหมอทองนั้นใน ปจจุบัน ไดแกภายในอางเก็บน้ําหวยโทหวยยางนั่นเอง ซึ่งชาวบานหวยยางทราบกันดีวา ที่แหงนี้เข็ด หมายถึงเปนสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ หรือมีผีดุ เพราะมีทรัพยสมบัติของคนโบราณซุกซอนไวเปนจํานวนมาก สวนหมอทองสัมฤทธิ์ใบนั้น ในครั้งนั้น ทานอาจารยกงมา จิรปุฺโญ ศิษยหลวงปูมั่น ซึ่งจําพรรษาอยูวัดดอยธรรมเจดียขณะนั้น วัดดอยธรรมเจดียนั้นอยูไมหาง จากหมูบานหวยยาง คืออยูไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตป ระมาณ ๗ กิโลเมตรเศษ โยมปูจึงไดไปอาราธนาใหทานอาจารยกง


มา จิรปุฺโญ มานําหมอทองใบนั้นไปจากเหลาหมอทอง เพื่อสะดวกในการทําไร หรืออาจเปนเพราะโยมปู ไมยากแตะตอง ของเกี่ยวกับ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มองไมเห็นตัวเหลานั้น ซึ่งอาจดลบันดาลใหผูที่ลวงเกินประสบเภทภัยไปตางๆ นานา จนที่สุดแก สิ้นชีพไปก็มีหลายรายดังไดกลาวแลวนั้น พื้นที่ภูเขาที่อยูดานบนดานหมีขึ้นไปอีกประมาณ ๒ กิโลเมตร มีเงื้อมผาขนาดใหญอยูแหงหนึ่ง เรียกวาถ้ําผาเก ภายในถ้ํามีน้ําไหลอยูตลอดทั้งปไมเหือดแหง ถ้ําเงื้อมผาเกนี้มีพื้นที่กวางขวางประมาณ ๒,๐๐๐ ตารางเมตร ถูกตบแตง เปนที่ปฏิบัติธรรมมาแตครั้งโบราณ มีพระพุทธรูป โบราณประดิษฐานที่ถ้ําแหงนี้เปนจํานวนมากมายหลายรอยองค พระพุทธรูปมีทั้งขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก และพระเครื่อง พระพุทธรูปสวนใหญแกะสลักจากหินทรายบาง แกะ จากไมจันทนหอมบาง ไมเนื้อแข็งอื่นๆ บาง หลอจากทองสัมฤทธิ์บาง จากโลหะเงินบาง จากครั่งบาง ที่สําคัญที่สุดไดแก พระพุทธรูปปางไสยาสนขาดความยาว ๑๓ เมตร มีศิลาจารึกที่ถ้ําแหงนี้ ซึ่งกรมศิลปากรไดสํารวจและขึ้นทะเบียนไวแลว และไดมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรไดทําวิทยานิพนธเกี่ยวกับศิลาจารึกถ้ําผาเกนี้ หลักศิลาจารึกนี้ทราบกันใน นามวา “ศิลาจารึกพระอาจารยพา ถ้ําผาเก” ศิลาจารึกเนื้อความโดยยอกลาวถึงการสรางพระพุทธรูป ที่มีอาญาครูสมเด็จ พา หรืออาจารยพาพรอมดวยชาวบานหวยยางเปนผูริเริ่มในการสรางพระพุทธรูป พระพุทธรูปปรากฏนามในจารึกนั้นวา พระพุทธรูปนี้ไดแบบมาแตบ ัสรสธะภู เมื่อสรางเสร็จแลวไดถวายนามวา “พระพุทธสวางศายมุนีสิริปญญา” พระพุทธรูปที่ ถ้ําผาเกนี้ องคใดที่มีความงามและมีคุณคาไดถูกโจรกรรมไปหมด เหลือบางสวนที่แกะสลักจากหินทราบที่โจรนําไปไมได เพราะมีน้ําหนักมาก สวนพระพุทธรูปปางไสยาสนองคใหญนั้นก็ถูกทุบทําลาย พวกโจรกรรมไดทุบหาสิ่งของมีคา จนทําให พระพุทธรูปชํารุดมาก ที่เปนเหตุใหมีการโจรกรรมและมีการทุบทําลายพระพุทธรูปปางไสยาสน เพราะมีเรื่องเลาสืบๆ กัน มาวา เมื่อครั้งสรางพระพุทธรูปปางไสยาสน ไดมีผูศรัทธาในพระทุทธศาสนา ทั้งจากประเทศลาว และหลายเมืองใน ประเทศไทย ไดบรรจุสิ่งของมีคา เชน ทองคําและเงิน เปนตน ในองคพระพุทธรูป เพื่อเปนพุทธบูชา ผูเขียนขณะดํารงสมณ ศักดิ์ที่พระครูพิศาลวินัยวาทไดเห็นสภาพพระพุทธรูปปางไสยาสนองคนี้แลว เกิดความหดหูใจในสภาพที่เห็นการทําลาย พระพุทธรูปปางไสยาสนนั้น จึงไดเชิญชวนญาติโยมผูมีจิตศรัทธาจากกรุงเทพมหานคร บริจาคเงินเพื่อบูรณะพระพุทธรูป ปางไสยาสน ซึ่งใชเวลาในการบูรณะหลายเดือน เพราะตองขนทราย ขนปูนซีเมนต ขึ้นเขาภูพานเปนระยะทางไกล ซึ่งตอง เดินเทาขึ้นเขาเปนระยะทางมากกวา ๓ กิโลเมตร ในการขนสงวัสดุกอสรางดังกลาวนั้น การบูรณะแลวเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ สิ้นเงินคาบูรณะ ๑๐๐,๐๐๐ แสนบาท ถ้ําผาเกเปนสถานที่ที่เหมาะแกการอยูพัก เพื่อการปฏิบัติธรรมของพระธุดงคกรรมฐาน เพราะเปนทีส่ งบสงัด มีน้ํา ใชอุป โภคบริโภค อยางเพียงพอตลอดทุกฤดูกาล แตครั้งโบราณจึงมีการสรางพระพุทธรูปตางๆ ไวมากมายดังกลาวแลว แตในยุคปจจุบันนี้ พระธุดงคกรรมฐานที่เดินทางมาพักที่ถ้ําผาเกแหงนี้ มักจะอยูไมไดนาน บางรูปหนีลงจากถ้ําผาเก นับ แตการเขาพักอาศัย ก็พักอยูไดไมขามคืน กลาวคือหนีลงจากถ้ําผาเกทั้งกลางคืน เมื่อชาวบานหวยยางสอบถามพระธุดงค เหลานั้น จึงไดทราบวา ทานเหลานั้น บางรูปไดเห็นงูขนาดใหญลําตัวเทาตนมะพราว บางครั้งเห็นตะขาบตัวใหญเทาฝามือ ซึ่งเชื่อวาอารักขเทวดาดลบันดาลใหเห็นสิ่งที่นากลัวตางๆ เหลานั้น หรืออาจเปนสัตวที่มีอยูจริงในที่แหงนั้นก็เปนไป ได


เพราะในพื้นที่ใกลเคียงนั้นมีถ้ําอยูมากมายหลายถ้ํา ที่มีความลึกและยังไมไดมีการสํารวจ ซึ่งชาวบานก็มักจะพบเห็นงูที่มี ขนาดใหญดังกลาวนั้นอยูบ อยครั้ง ทางดานทิศใตของถ้ําผาเก หางจากถ้ําประมาณ ๓๐๐ เมตร ใตเงือ้ มหินแหงหนึ่งมีพระสังกัจจายนปนจากปูน ขาว หรืออาจจะเปนดินผสมกับยางไม อยูองคหนึ่ง เปนองคดั้งเดิม ซึ่งสรางมาตั้งแตครั้งอาญาครูสมเด็จพา ไดมาอยูจํา พรรษาที่ถ้ําผาเกแหงนี้ หางจากจุดนี้ไปอีกประมาร ๕๐๐ เมตร ถึงถ้ําอางกุง ซึ่งเปนถ้ําลึก เปนถ้ํามีธารน้ําไหล เหนือถ้ําเปน ลําธารที่ไหลลงมาจากเทือกเขาภูพาน ซึ่งถ้ําแหงนี้อาญาครูสมเด็จพา ใชเปนที่บ ําเพ็ญเพียรนั่งกรรมฐาน เนื่องจากเห็นแทน หินที่ทานนําหินมากอไวเปนที่นั่งกรรมฐาน และยังปรากฏใหเห็นอยูจนถึงทุกวันนี้ ลําธารน้ําจากถ้ําผาเกนี้ บางคนเลาไววา ไหลไปผุดขึ้นที่วัดพระธาตุเชิงชุม เมืองสกลนคร เหนือถ้ําอางกุงขึ้นไปบนยอดเขา มีพระพุทธรูปสรางจากปูนซีเมนตขนาด ใหญอยูองคหนึ่ง ซึ่งถาอากาศแจมใส เมื่อมองมาจากหมูบานหวยยางก็จะเห็นพระพุทธรูปองคนี้ไดชัดเจน เมื่อมองจาก ทางหลวงเสนทางสกลนครไปนครพนมก็สามารถมองเห็นไดชัดเจนเชนกัน พระพุทธรูปองคนี้มีขนาดหนาพระเพลากวาง ๓ เมตร ปางมารวิชัย ศิลปะแบบลานชาง สรางเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๙ สูง ๖ เมตร ๗๐ เซ็นติเมตร พระพุทธรูปองคนี้ชาวบาน โดยทั่วไปเรียกวา “พระพุทธศิริมงคล” ดานหลังขององคพระมีพระธาตุเจดียสรางในยุคของอาญาครูสมเด็จพา เรียกพระ ธาตุองคนี้วาอรหันตธาตุ ตอมาเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๙ ไดมีการบูรณะใหสมบูรณ พระธาตุองคนี้มีลักษณะ ๔ เหลี่ยม เปนศิลปะ แบบทองถิ่น มีความสูงประมาณ ๗ เมตร สถานที่แหงนี้เปนสถานที่ศักดิ์และมีความสําคัญมากแหงหนึ่งของจังหวัด สกลนคร ทางดานทิศใตของหมูบานหวยยาง มีขอบลานหินดาน เปนหินทรายยาวประมาณ ๕๐๐ เมตร ขอบลานหินนี้มี ลักษณะเปนแนวยาวเหมือนคันนา ชาวบานจึงเรียกวาหินคัน หมายถึงแนวขอบลานหินคันนา บนลานหินคันเปนลานหิน กวางใหญ อันเปนที่ตั้งหมูบ านหวยยางนั่นเอง ใตลานหินนี้เปนถ้ําขนาดใหญ มีผูที่เคยเขาไปในถ้ําแหงนี้เลาวา ถ้ํานี้ สามารถจุคนไดทั้งตําบล และมีเรื่องเลาสืบ ๆ กันมาวา ถ้ําหินคันนี้เปนที่เก็บทรัพยสมบัติ เพราะสมัยกอน กอนที่จะอพยพ มาตั้งหมูบานหวยยางนี้ ชาวหมูบานนี้ อพยพมาจากเมืองวัง เมืองเซโปน เมืองมหาชัย โดยเฉพาะที่เมืองเซโปนนั้นมีเหมือง ทองคําขนาดใหญ ดังนั้น จึงเชื่อกันวา ที่ถ้ําแหงนี้จะเปนที่เก็บทรัพยสมบัติอันมหาศาลนั่นเอง ครั้งหนึ่งมีพอคาชาวบานหวยยาง เดินทางรวมคาราวานพอคา ไปคาขายแถบภาคกลาง ไปถึงเมืองพนัสนิคม เมืองพนมสารคาม ชาวเมืองนั้น จึงถามเหลาพอคาวา พวกพอคาเดินทางมาจากหมูบานและเมืองใด เหลาพอคาจึงบอก แกชาวเมืองนั้นวา พวกพอคาเดินทางมาจากหมูบานหวยยาง เมืองสกลนคร เมื่อไดยินดังนั้น ชาวเมืองพนัสนิคมเมืองพนม สารคาม จึงกลาววา พวกเขา แตกอนก็อยูที่เมืองสกลนคร ไดอพยพยายถิ่นฐานมาตั้งเมืองที่เมืองพนัสนิคมเมืองพนมสาร คามนี้ เมื่อทั้งสองกลุมไดถามสารทุกขสุกดิบกันแลว ชาวเมืองพนัสนิคมเมืองพนมสารคาม จึงกลาวกับ พอคาชาวบานหวย ยางวา ชาวบานหวยยางไมเห็นจะตองเดินทางมาคาขายยังแดนไกลใหลําบาก เพราะที่ถ้ําใตหินคันนั้นมีทรัพยสมบัติ มากมายมหาศาล ใครเขาไปไดก็จะร่ํารวยเปนเศรษฐี ที่กลาวมานี้เปนเรื่องเลาของผูเฒาผูแกของหมูบา นหวยยาง และยังมี เรื่องเลาตอไปอีกวา ถ้ําหินคันนี้ ประตูทางเขาถ้ําไดป ดและลงถาอาคมไวเมื่อครั้งอาญาครูสมเด็จพาเขาไปพรอมกับลูก ศิษยคนหนึ่ง อาญาครูกลาววาถ้ําแหงนี้เปนขุมสมบัติ เกรงวาตองไปภายหนาจะมีคนมาขุดคนรบกวน ดังนั้นจึงเห็นควรที่


จะปดไว ทานอาญาครูสมเด็จพาจึงปดทางเขาถ้ําแหงนี้ไวตั้งแตนั้นเปนตนมา และไมมีใครสามารถเขาไปในถ้ําหินคันนี้ได อีกเลย เรื่องเลาเกี่ยวกับ ขุมทรัพยของหมูบานหวยยางอีกแหงไดแกขุมทรัพยที่กุดเชียงบาน คําวา “กุด” มีความหมายวา หนองน้ํา ที่ใกลหนองน้ํานั้นเปนที่ตั้งหมูบานกุดเชียงบาน ซึ่งปจจุบันนี้เปนหมูบ านราง ที่กุดเชียงบานเปนที่ซอนกังสดาล ทองคําใบหนึ่ง ซึ่งยังไมมีผูใดคนพบ และที่ใกลกุดเชียงบานนี้ เมื่อชาวบานทําไรทํานาขุดดิน ไถนา ทําไร ก็จะพบไหโบราณ เปนจํานวนมาก และพบเครื่องใชสอยของคนโบราณ เชน ดาบ กลองยาสูบ กําไลแขน เงินพดดวง เงินฮาง เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ไกลกับวัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม อันเปนที่สรางอุโบสถดิน กุฏิดิน และพระเจดียแบบพอเพียง จะพบไหโบราณฝงไวเปนจํานวนมาก กลาวโดยสรุปที่หมูบานหวยยางนี้มีขุมทรัพยโบราณซุกซอนไวมากมายหลายแหง ทั้งที่ผานอย ถ้ําแซง เหลาหมอ ทอง ถ้ําผาเก ดอยอางกุง ถ้ําแกลบ ถ้ําหินคัน และที่กุดเชียงบาน ซึ่งมีนักลาสมบัติไดขุดพบแลวสวนหนึ่ง และยังมีสมบัติ อีกเปนจํานวนมากที่ยังไมคนพบ เพราะมีเหลาเทพยดาอารักษคอยปกปกรักษาคุมครอง หรือมีปูโสมเฝาอยูนั่นเอง แมใน หมูบานก็เคยมีผูขุดพบไหเงินไหสมบัติที่คนโบราณฝงไว ดังนั้น ขุมทรัพยที่หมูบ านหวยยางจึงยังคงมีความลึกลับ ที่ผูคน จํานวนมากตองการคนหา.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.