ผลการปฎิบัติงานเพื่อเสนอแต่งตั้งเป็นนักบริหารอบต.ระดับ 8

Page 1

ขอเสนอวิสัยทัศนในการปฏิบัติราชการ แบบแสดงสมรรถนะหลัก ทางการบริหารและผลงานที่ประสบความสําเร็จในอดีต

ตําแหนงนักบริหารงาน อบต. ระดับ ๘ (ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ๘) องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

เสนอโดย นายมีชัย อุนวิเศษ ตําแหนง นักบริหารงาน อบต. ระดับ ๗ (ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ๗) องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


คํานํา ปลัดองคการบริหารสวนตําบล เปนผูบริหารสูงสุดฝายขาราชการประจํา ในองคการบริหาร สวนตําบล จึงจําเปนตองมีแนวคิดและหลักปฏิบัติราชการที่ถกู ตองเหมาะสม สามารถเปนตัวกลางเชื่อมตอ นโยบายของรัฐและนโยบายผูแทนทองถิ่น หรือฝายการเมืองไปสูการปฏิบัติที่ชอบดวยวิธีปฏิบัติราชการ ปกครองและเกิดประโยชนสูงสุดในการบริหารราชการและการบริการสาธารณะใหกับประชาชน ขาพเจาขอนําเสนอวิสัยทัศนและผลงานเพื่อคัดเลือก ใหดํารงตําแหนง นักบริหารงานอบต. ระดับ ๘(ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ๘) องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขาพเจาขอขอบคุณคําแนะนําและตัวอยางผลงานทั้งหลาย ที่ขาพเจาไดใชเปนแนวทางใน การจัดทําเอกสารนี้ และขอขอบคุณพนักงานสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคก ศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่สนับสนุนและใหความชวยเหลือ ในการจัดทําเอกสารนี้ ใหสําเร็จลุลวงไป ดวยดี

(นายมีชัย อุนวิเศษ) ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงาน อบต. ระดับ ๗) ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕


สารบัญ เรื่อง ตอนที่ ๑ ขอมูลสวนบุคคล ตอนที่ ๒ ขอเสนอเกี่ยวกับวิสัยทัศน ๑. แนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนงปลัดเทศบาล ๒. แนวทางในการพัฒนางานในหนาที่ ๓. แนวทางพัฒนาเทศบาลหากไดรับการคัดเลือก ๔. บทสรุปและขอเสนอแนะ เอกสารอางอิง ตอนที่ ๓ ผลงานดานสมรรถนะหลักทางการบริหาร และผลงานที่ประสบผลสําเร็จในอดีต ตอนที่ ๔ ภาคผนวก -เอกสารประกอบผลงาน

หนา ๑ ๕ ๑๐ ๑๑ ๑๕ ๑๗ ๑๘

๔๑


ตอนที่ ๑ ขอมูลสวนบุคล ๑. ชื่อ นายมีชัย อุนวิเศษ ๒. ปจจุบันดํารงตําแหนง นักบริหารงาน อบต.ระดับ ๗ (ปลัดองคการบริหารสวนตําบล) เลขที่ตําแหนง ๐๐๐๑๐๑๐๐๑ ดํารงตําแหนงในสายงานบริหาร เมื่อ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ ดํารงตําแหนงในสายงานปจจุบัน เมื่อ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๐ เงินเดือน ๒๖,๙๘๐ บาท ๓. ประวัติสวนตัว วัน/เดือน/ป เกิดวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๐๒ อายุ ๕๓ ป ที่อยูที่สามารถติดตอได บานเลขที่ ๔๒๔/๒ หมูที่ ๑ ถนนเลี่ยงเมือง ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง สกลนคร จังหวัดสกลนคร ๔๗๐๐๐ โทรศัพท ๐๘ ๔๗๙๙ ๖๒๒๗ ชื่อคูสมรส นางละอองศรี อุนวิเศษ อาชีพ รับราชการ ขอมูลเกี่ยวกับบุตร/ธิดา มีบุตร/ธิดา จํานวน ๒ คน (ชาย ๒ คน หญิง - คน) ๔. ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

วิชาเอก/สาขา

ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)

ทฤษฎีและเทคนิค ทางรัฐศาสตร ยุทธศาสตรการ พัฒนา

วัน เดือน ป ที่สําเร็จการศึกษา ๓ สิงหาคม ๒๕๓๕ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐

ชื่อสถานศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


-๒๕. ประวัติการรับราชการ วัน เดือน ป ๓๐ เมษายน ๒๕๒๖ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๒ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๔ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ ปจจุบัน

ตําแหนง รอง ผบ.หมูเปล ร.๓ พัน ๔ ปลัด อบต.หนองกวั่ง (เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๓) ปลัด อบต.นาตงวัฒนา(เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๔) ปลัด อบต.ดงมะไฟ (เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๕) ปลัด อบต.บึงทวาย (เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๕) ปลัด อบต.โนนหอม (นักบริหารงาน อบต. ๖,๗) ปลัด อบต.เหลาโพนคอ(นักบริหารงาน อบต. ๗) ปลัด อบต.เหลาโพนคอ(นักบริหารงาน อบต. ๗)

อัตราเงินเดือน(บาท) ๑,๖๒๐ ๗,๗๒๐ ๘,๔๑๐ ๘,๘๒๐ ๑๐,๓๔๐ ๑๕,๔๙๐ ๒๓,๗๘๐ ๒๖,๙๘๐

๖.การดํารงตําแหนงในสายงานบริหาร ชื่อตําแหนง

ประเภท

ปลัดองคการบริหารสวนตําบล

บริหาร

ชวงเวลาที่ดํารงตําแหนง ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ - ปจจุบัน

ระยะเวลาดํารง ตําแหนง ๑๕ ป ๙ เดือน


-๓๗.ประวัติการลงโทษทางวินัย -ไมม-ี ๘.ประวัติการฝกอบรม/ประชุมสัมมนา

เรื่องที่เขารวมประชุม/อบรม/สัมมนา - ปลัด อบต. รุนที่ ๒๑ - นักบริหารงาน อปท. รุนที่ ๑๖

ระหวางวันที่ หนวยงานผูจัด ๑๙ กรกฎาคม– ๔ สิงหาคม วิทยาลัยการปกครอง ๒๕๔๓ ๖ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ สถาบันพัฒนาบุคลากร ทองถิ่น

๙.เครื่องราชอิสริยาภรณ ประกาศเกียรติคุณ และเหรียญเชิดชูเกียรติที่ไดรับ ๙.๑ เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) ๕ ธ.ค. ๒๕๔๐ ๙.๒ เครื่องราชอิสริยาภรณจัตุรถาภรณชางเผือก (จ.ช.) ๕ ธ.ค. ๒๕๔๒ ๙.๓ เครื่องราชอิสริยาภรณตริตาภรณมงกุฎไทย (ต.ม.) ๕ ธ.ค. ๒๕๔๔ ๙.๔ เครื่องราชอิสริยาภรณตริตาภรณชางเผือก (ต.ช.) ๕ ธ.ค. ๒๕๔๘ ๙.๕ เครื่องราชอิสริยาภรณทวิติยาภรณมงกุฎไทย (ท.ม.) ๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ๑๐.ความสามารถพิเศษอื่นๆ ๑๐.๑ ความสามารถดานการใชภาษา ภาษาอังกฤษ สามารถอานออก เขียนได ๑๐.๒ ความสามารถดานเทคโนโลยี โปรแกรมประยุกต Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Power point


-๔๑๑.คุณสมบัติบุคคลอื่นๆของผูขอรับการประเมินที่เห็นวาเดนและเกี่ยวของกับงาน ๑๑.๑ ทําหนาที่ของตนอยางเต็มที่และถูกตอง เพื่อใหการปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบลบรรลุ เปาหมายได ๑๑.๒ การศึกษาหาความรูอยูเสมอ เพื่อให มีความรูเฉพาะหนาที่อยางถูกตองแทจริง ครบถวนและ เที่ยงตรง โดยการศึกษาหาความรูใหมๆ อยูเสมอ ๑๑.๓ สรางความคุนเคยกับผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา ๑๑.๔ การมีทัศนคติเชิงบวกตอการปฏิบัติงานและตอองคกร ๑๑.๕ แสวงหาความรวมมือจากทุกภาคสวนองคกรในการปฏิบัติงานใหสัมฤทธิ์ผล ๑๑.๖ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงพรอมที่จะปรับตัว ๑๑.๗ ซื่อสัตยมีคุณธรรม ยึดมั่นในจรรยาวิชาชีพ ๑๑.๘ ศึกษาองคกรตางพื้นที่หลายองคกรที่ตั้ง ๑๑.๙ มีประสบการณในการพัฒนาบุคคลากรในทํางานใหสัมฤทธิ์ผล ๑๒.ผลงานดีเดนในการรับราชการ เปนอนุกรรมการพิจารณาดําเนินการทางวินัยและการใหออกจากราชการของพนักงานองคการ บริหารสวนตําบล ป พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปจจุบัน

ขาพเจาขอรับรองวาขอความขางตนเปนจริงทุกประการ

(ลงชื่อ)

ผูสมัครรับการคัดเลือก (นายมีชัย อุนวิเศษ) ปลัดองคการบริหารสวนตําบล วันที่ ๒๑ พ.ย. ๒๕๕๕


ตอนที่ ๒ ขอเสนอวิสัยทัศน การบริหารงานในหนาที่ ตําแหนงปลัดอบต. ระดับ ๘ (นักบริหารงาน อบต. ระดับ ๘)


-๕ตอนที่ ๒ ขอเสนอเกี่ยวกับวิสัยทัศน ของนายมีชัย อุนวิเศษ ตําแหนงปลัดอบต. ระดับ ๗ (นักบริหารงาน อบต. ๗) องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อประกอบการคัดเลือกในตําแหนง ปลัดอบต . ระดับ ๘ (นักบริหารงานอบต. ๘) ๑.แนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนงปลัดองคการบริหารสวนตําบล การปกครองทองถิ่น เปน การปกครองที่รัฐบาลสวนกลางใหอํานาจหรือกระจายอํานาจไปใหหนวย การปกครองทองถิ่นโดยเปดโอกาสใหประชาชนในทองถิ่นไดมีอํานาจการปกครองรวมกันในการบริหาร ทองถิ่น ตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย หนวยการปกครองทองถิ่น โดยแบงออกเปน ๕ รูป แบบ ๒ สวน สวนที่ ๑ รูปแบบการปกครองพื้นที่ทั่วไป คือ องคการบริหารสวนจังหวัด ,เทศบาล,องคการ บริหารสวนตําบลและสภาตําบล สวนที่ ๒ รูปแบบการปกครองพิเศษ คือกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา การปกครองทองถิ่นนั้น มีการบริหารงานที่ประชาชนในพื้นที่สามารถเขาถึงและมีสวนรวมในการบริหาร งาน โดยวิธีการเลือกตั้งผูแทนของตนเขาไปเปนฝายบริหารงานและเปนฝายการตรวจสอบการทํางานใน องคกรสวนทองถิ่น โดยมีพนัก งานและขาราชการสวนทองถิ่น ใหก ารชวยเหลือผูบริหารทองถิ่น ในการ ปฏิบัติงานและการพัฒนาและแกไขปญหาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหตรงตามความตองการของ ประชาชน อยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนองคการบริหารสวนตําบลขนาดกลาง สํานักงานตั้งอยู บานเลขที่ ๘๓ บานดง หมูที่ ๓ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ ๓๖ ตารางกิโลเมตร จํานวน ๑๑ หมูบาน มีประชากร ๕,๗๐๑ คน เปนองคกรปกครองสวนถิ่นที่มีหนาที่ใน การพัฒนา ปองกันและแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนที่อยูในเขตพื้นที่โดยเปนไปเพื่อประโยชน สูงสุดของประชาชน โดยเปนไปตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.๒๕๓๗ (แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๔๖)พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนกระจายอํานาจใหแ ก องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒(แกไขเพิ่มเติมฉบับปจจุบัน)และตามนโยบายรัฐบาล โดยมีนายก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนเปนผูบริหารงานใน


-๖องคกรและมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปนหัวหนาขาราชการสวนทองถิ่น ในการใหความชวยเหลือ การปฏิบัตริ าชการ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล(นักบริหารงาน อบต. ระดับ ๘) มีหนาที่ความรับผิดชอบงานที่มี ความยากและคุณภาพของงานสูงมาก ซึ่งเปนตําแหนงที่มีหนาที่ ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน เทียบเทาไดระดับเดียว กัน รับผิดชอบการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบล โดยควบคุมหนวยงานหลาย หนว ยงานและปกครองผู อยูใ ตบั ง คับ บัญชาจํ านวนมากพอสมควร และปฏิบัติ ห นา ที่อื่ น ตามที่ไ ดรั บ มอบหมาย ปลัดองคการบริหารสวนตําบลทําหนาที่ที่ตองใชความรูความสามารถในดานการบริหารและดาน กฎหมาย พิจารณา ศึกษา วิเคราะห ทําความเห็นเสนอแนะและบังคับบัญชาสั่งการ โดยความเห็นชอบของ ผูบริหารองคการบริหารสวนตําบล ควบคุมการปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางซึ่งเปนอํานาจ หนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล เชน งานบริหารงานบุคคล งานธุรการ งานการเงินและบัญชี งานนิติ การ งานประชาสัมพันธ งานทะเบียน งานนโยบายและแผน งานรักษาความสงบเรียบรอย งานพัสดุ งาน ระเบียบ และสัญญา งานรักษาความสะอาดและจัดระเบียบชุมชน งานจัดประชุมทํารายงานและบันทึกเรื่อง เสนอที่ประชุมงานติดตอกับบุคคลและหนวยงานตาง ๆ งานขอมูลสถิติ เปนตน รวมทั้งปฏิบัติหนาที่อื่นที่ กฎหมาย ระเบียบขอบังคับ คําสั่ง หนังสือสั่งการกําหนด เชน เปนพนักงานเจาหนาที่ประเมินภาษีโรงเรือน ตาม พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เปนพนักเจาหนาที่ผูประเมินภาษีปายและเจาหนาที่ผูรับอุทธรณภาษีปาย ตามพระราชบัญญัติภาษีปาย และเปนเจาพนักงานประเมินและเจาพนักงานสํารวจ ตามพระราชบัญญัติ ภาษีบํารุงทองที่ เปนตน ตลอดจนใหคําแนะนําปรึกษาในการปฏิบัติ งานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมา ตอบ ปญหาชี้แจงตาง ๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ เขารวมประชุมคณะกรรม การตาง ๆ ตามที่ไดรับแตงตั้งเขารวม ประชุมในการกําหนดนโยบาย และหนวยงานของสวนราชการที่สังกัดและปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ ในฐานะหัวหนาหนวยงาน นอกจากปฏิบัติงานดังกลาวขางตนแลว ยังทําหนาที่กําหนดนโยบายการ ปฏิบัติงาน พิจารณาวางแผนอัตรากําลังเจาหนาที่และงบประมาณของหนวยงานที่รับผิดชอบติดตอประสาน งาน วางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนําปรับปรุงแกไขติดตาม ประเมินผล และแกไขปญหาขอเท็จจริงในการปฏิบัติงานในหนวยงานที่รับผิดชอบ ด ว ยบทบาทหน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง ของปลั ด องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล(นั ก บริหารงาน อบต. ระดับ๘) ที่มีตอองคกรปกครองสวนทองถิ่น จึงตองมีความรูความสามารถ วิสัยทัศนและ แนวคิดในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับตําแหนง ขาพเจาฯจึงขอนําเสนอแนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนง ปลัดองคการบริหารสวนตําบล พอสรุปได ดังนี้


-๗วิสัยทัศน (Vision) “ยึดมั่นในอุดมคติ และหนาที่ แสวงหาความรู มุงสูเปาหมาย” พันธกิจ (Misson) ๑. ดําเนินชีวิตทั้งการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานในหนาที่เพื่อใหไดความสําเร็จที่ดีงามสําหรับชีวิต และสวนรวมโดยมีหลักธรรมกํากับ ๒. สงเสริมใหบุคลากรในหนวยงาน รูจักหนาที่ และทําหนาที่ของตนอยางเต็มที่และถูกตอง เพื่อให การปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบลบรรลุเปาหมายได ๓. สงเสริมใหบุคลากรในหนวยงาน ศึกษาหาความรูอยูเสมอ เพื่อใหทุกคนในองคการบริหารสวน ตําบล มีความรูเฉพาะหนาที่อยางถูกตองแทจริง ครบถวนและเที่ยงตรง มีความรู ความสามารถในการใหบริการ ประชาชน ๔. มุงปฏิบัติหนาที่ของตนใหบรรลุตามเปาหมาย โดยปฏิบัติตามหลักวิชาการ ใชความรู ความสามารถ ประสบการณ มีความรับผิดชอบและตั้งใจจริง การปฏิบัติหนาที่ของปลัดองคการบริหารสวนตําบล ที่ตองรับผิดชอบการบริหารงานองคการบริหาร สวนตําบล โดยควบคุมหนวยงานภายในหลายหนวยงาน และปกครองผูใตบังคับบัญชาจํานวนมาก และ ปฏิบัติหนาที่อื่นที่ไดรับมอบหมาย จึงตองมีความรูความสามารถในการใหคําปรึกษา แนะนําในดานการ บริหารงานองคการบริหารสวนตําบล ดังนั้นจึงจะตองอาศัยหลักปฏิบัติที่ดี มาใชเปนแนวทางการปฏิบัติงาน ในองคการบริหารสวนตําบล ขาพเจาไดยึดหลักการดังนี้ ๑. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่พระราชทานแกขาราชการพลเรือนเนื่อง ในวันขาราชการพลเรือน เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2536 ซึ่งไดมีพระราชดํารัสวา

“ขาราชการมีหนาที่

สําคัญสวนหนึ่งที่จะตองประพฤติปฏิบัติตอบุคคลทั่งปวงดวยความสุจริต จริงใจ วางตัวใหพอเหมาะพอสม กับฐานะตําแหนง พรอมกับรักษาความสุภาพออนโยนไวใหเหนียวแนนสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังจะตองมี ความเสียสละ อดทน รูจักเกรงใจใหอภัย ทั้งโอนออนผอนตามกันและกันดวยเหตุผลและสําคัญที่สุด จะตอง หัดทําใจใหกวางขวางหนักแนน รูจักฟงความคิดเห็นแมกระทั่งคําวิจารณจากผูอื่นอยางฉลาด เพราะการ รูจักรับฟงอยางฉลาดนั้นแทจริงคือการระดมสติปญญา และประสบการณอันหลายหลากมาอํานวย ประโยชนในการปฏิบัตบิ ริหารงานใหประสบความสําเร็จที่สมบูรณนั้นเอง


-๘๒. พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2546 มาตรา 60/1 บัญญัติใหมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลคนหนึ่งเปนผูบังคับบัญชาพนักงานสวน ตําบลและลูกจางองคการบริหารสวนตําบลใหเปนไปตามนโยบาย และมีอํานาจหนาที่ตามที่กฎหมาย กําหนด หรือตามที่นายกองคการบริหารสวนตําบลมอบหมาย ๓. ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล เรื่อง กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตรา ตําแหนงและมาตรฐานของตําแหนง สายงานนักบริหารงานองคการบริหารสวนตําบล ตําแหนงประเภท ทั่วไป กําหนดหนาที่และความรับผิดชอบปฏิบัติงานในฐานะปลัดองคการบริหารสวนตําบล หรือรองปลัด องคการบริหารสวนตําบล ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบ ความยาก และคุณภาพของงานสูงมาก รับผิดชอบงาน บริหารทั่วไป การบริหารงานองคการบริหารสวนตําบล โดยควบคุมหนวยงานหลายหนวย และปกครอง ผูใตบังคับบัญชาจํานวนมาก ๔.หลักธรรมตามแนวทางศาสนา หลักธรรม สามารถนําไปประยุกตใชเปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปน อยางดี ที่เปนเชนนี้ก็เพราะหลักธรรมดังกลาวเปนความจริงที่ สามารถพิสูจนไดที่เรียกวา “สัจธรรม” ปฏิบัติ ไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนําหลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับขาพเจาฯ มีหลักธรรมสําหรับยึดถือและปฏิบัติ ในการดํารงตําแหนงหนาที่คือ ๔.๑ พรหมวิหาร ๔ เปนหลักธรรมของผูใหญ(ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย มี ๔ ประการ คือ ๑. เมตตา ความรักใคร ปรารถนาจะใหผูอื่นมีความสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข ๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข ๔. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัติ มีทุกข ๔.๒ อิทธิบาท ๔ เปนหลักธรรมถือใหเกิดความสําเร็จ ๑.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน ๒.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร ๓.จิตตะ ความมีใจฝกใฝเอาใจใสในงาน ๔.วิมังสา ไตรตรองหาเหตุผล


-๙๕. ยึดหลักในการปฎิบัติตนดังนี้ ๕.๑ รูหนาที่ หมายถึงการที่ทุกคนรูจ ักหนาที่ และทําหนาที่ของตนอยางเต็มที่และถูกตอง เพื่อใหการปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบลบรรลุเปาหมายได ประกอบดวย ๕.๑.๑ การที่ทุกคนตองมีหนาที่ ๕.๑.๒ ทุกหนาที่มีความสําคัญ ๕.๑.๓ แตละหนาที่มีลักษณะของงานตางกัน ๕.๑.๔ ผลจากการปฏิบัติหนาที่จะเกิดแกตนเองและสวนรวม ๕.๒ มีความรู หมายถึงการศึกษาหาความรูอยูเสมอ เพื่อใหทุกคนในองคการบริหารสวน ตําบล มีความรูเฉพาะหนาที่อยางถูกตองแทจริง ครบถวนและเที่ยงตรง โดยการศึกษาหาความรูใหมๆ อยู เสมอ เมื่อมีความรูแลวจะกอใหเกิดตอการปฏิบัติหนาที่ดังนี้ ๕.๒.๑ ทุกหนาที่ตองใชความรูในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา ๕.๒.๒ ทุกคนตองมีความรูเฉพาะตําแหนงหนาที่ ๕.๒.๓ ทุกคนตองมีความรูในตําแหนงที่เกี่ยวของและสัมพันธกัน ๕.๒.๔ ทุกคนตองมีความรูในสภาพแวดลอมที่ตนปฏิบัติงาน ๕.๒.๕ ทุกคนตองมีความรูจากประสบการณจริงดวยความคิดที่เปนเหตุผล ๕.๓ มุงสูเปาหมาย หมายถึงการปฏิบัติหนาที่ของตนใหบรรลุตามเปาหมาย และการ ปฏิบัติงานจะบรรลุผลตามเปาหมายไดจะตองปฏิบัติตามหลักการดังตอไปนี้ ๕.๓.๑ ปฏิบัติตามหลักวิชาอยางถูกตอง ครบถวน ๕.๓.๒ ปฏิบัติโดยพิจารณาตามสภาพที่เปนจริง ๕.๓.๓ ปฏิบัติโดยใชความรูและประสบการณที่เพิ่มขึ้น ๕.๓.๔ ปฏิบัติดวยความรับผิดชอบและตั้งใจจริง ๕.๓.๕ ปฏิบัติงานอยางสอดคลองและประสานงานกันทั้งภายในหนวยงาน และกับหนวยงานอื่น


-๑๐๕.๔ มีอุดมคติ หมายถึงหลักในการดําเนินชีวิตทั้งการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานในหนาที่ เพื่อใหไดความสําเร็จที่ดีงามสําหรับชีวิตและสวนรวม โดยมีหลักธรรมกํากับตนอันไดแก ๕.๔.๑ ตองมีความขยันหมั่นเพียร ๕.๔.๒ ตองมีความเขมแข็ง อดทน ๕.๔.๓ ตองมีความซื่อสัตย สุจริต ๕.๔.๔ ตองมีความบริสุทธิ์ใจ ๕.๔.๕ ตองยึดมั่นในเหตุผล ๕.๔.๖ ตองมีความสมัครสมานสามัคคี ๕.๔.๗ ตองใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ๕.๔.๘ ตองมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ และความมีเมตตา ๕.๔.๙ ตองมีความพอเหมาะ พอดี พอควร ๕.๔.๑๐ ตองพิจารณาตนเอง และฝกฝนตนเองทั้งกายและใจอยูเสมอ จากที่กลาวมาขางตนถือเปนสิ่งที่ขาพเจาฯไดยึดถือและเปนแนวปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความสัมฤทธิ์ผล ในการปฏิบัติหนาทีแ่ ละพิจารณาไตรตรองอยางถี่ถวน โดยประชาชนสวนมากเปนผูไดรับประโยชนสูงสุด ให สมกับการเปนขาราชการ ตําแหนงปลัดองคการบริหารสวนตําบล ๒. แนวทางการพัฒนางานในหนาที่ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ในหนาที่ในฐานะที่ขาพเจาฯดํารงตําแหนง ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ขาพเจาฯมีแนวทางการ พัฒนางานโดยการบริหารราชการขององคการบริหารสวนตําบลตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพความคุมคาในเชิง ภารกิจแหง รัฐ การลดขั้น ตอนการ ปฏิบัติงานการลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไมจําเปน การกระจายอํานาจการตัดสินใจ การอํานวย ความสะดวกและตอบสนองความตองการของประชาชน โดยมีแนวทางดังนี้ ๑. การบริหารราชการที่มุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนโดยยึดประชาชนเปนศูนยกลางเพื่อ ตอบสนองความตองการของประชาชน และกอใหเกิดผลกระทบในทางที่ดีตอการพัฒนาชีวิตของประชาชน การปฏิบัติราชการที่มุงเนนถึงความตองการและความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการเปนหลัก จึงตองมี การสํารวจความตองการของประชาชน และความพึงพอใจของผูรับบริการในหลากหลายวิธีและเปนไปอยาง สม่ําเสมอ เพื่อนํามาปรับปรุงการปฏิบัติราชการ


-๑๑๒. ใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารราชการทุกขั้นตอน เปนการสรางความโปรงใสในการ บริหารราชการ รวมทั้งลดขอขัดแยงของฝายการเมืองหรือฝายขาราชการประจําหรือระหวางฝายการเมือง กับฝายขาราชการประจํา อีกทั้งสามารถตอบสนองความตองการและความพึงพอใจใหกับประชาชนดวย ๓. ตองเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ โดยยึดการบริการแบบบูรณาการซึ่งมุงเนนผลลัพธที่ เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานที่สอดคลองเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ ไวลวงหนา ที่สามารถแสดงผลและวัดผลงานไดอยางชัดเจน ๔. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ โดยการดําเนินภารกิจของรัฐจะตอง มีการเปรียบเทียบตนทุนคาใชจาย ที่ใชในการดําเนินงานทั้งภายในองคการบริหารสวนตําบลและระหวาง หนวยงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่เปนการดําเนินภารกิจในลักษณะเดียวกั น เพื่อดูผลลัพธที่เกิดวามี ความคุมคากับเงินลงทุนที่เกิดจากการนําภาษีของประชาชนไปใชหรือไมอยางไร ๕. ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน โดยลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ลงจากที่เปน อยูเดิม มอบอํานาจการตัด สินใจใหกับผูที่อยูใกลชิด กับประชาชนจัด บริการใหประชาชน สามารถรับบริการใหแลวเสร็จในที่เดียวกัน ( ONE STOP SERVICE ) เพื่อใหประชาชนไดรับการบริการที่ สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น การมอบหมายงานและการมอบอํานาจตัดสินใจ เปนการลดความซ้ําซอนในการ ปฏิบัติหนาที่ทําใหสามารถติดตามงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูปฏิบัติหรือผูรับมอบอํานาจก็จะมีความ ชัดเจนในงานที่ปฏิบัติรวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะและประสิทธิภาพการปฏิบัติง านอยางตอเนื่อง และ สามารถวัดประเมินผลการปฏิบัติงาน แตละคนไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น ๖. การกําหนดระยะเวลาในการบริการประชาชนและประกาศใหประชาชนทราบ จะชวยให ประชาชนผูมาขอรับบริการสาธารณะสามารถวางแผนหรือบริหารเวลาของตนเองได ๗. ปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอเหตุการณ โดยจะตองมีการทบทวนและปรับปรุง กระบวนการขั้นตอนการทํางานอยูเสมอ จัดลําดับความสําคัญและจําเปนของงานหรือโครงสรางที่จะทําให สอดคลองกับแผนงาน งบประมาณและการปรับปรุงกฎหมาย หรือขอบัญญัตติ ําบลหรือระเบียบของ องคการบริหารสวนตําบลใหเหมาะสม ๘. มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหหนวยงานภายใน สํานัก สวน ไดมีการสอบทาน การปฏิบัติงานอยูเสมอ เปนการลดความเสี่ยงและขอผิดพลาดในการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน ๙. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ โดยจะตองสรางระบบการควบคุมภายใน


-๑๒ดังที่นําเสนอมาและมีการตรวจสอบ ติดตาม วัดผลการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอในหลากหลายมิติ ซึ่งจะทํา ใหสามารถผลักดันการปฏิบัติงานของหนวยงานใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งยังชวยใหการ พิจารณาบําเหน็จ ความชอบและรางวัลเปนไปตามผลการปฏิบัติงานอยางจริงจัง ๓. แนวทางการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหากไดรับการคัดเลือก หากขาพเจาฯไดรับคัดเลือกเขาสูตําแหนงนักบริหารงาน อบต. ระดับ ๘(ปลัดองคการบริหารสวน ตําบล ๘) ขาพเจาฯขอเสนอแนวทางในการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งเปน องคกรที่อยูใกลชิด ประชาชนมากที่สุด ในการดูแลและชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ใหมีความสุข นําพาชุมชนสูความเขมแข็ง มี การพัฒนาอยางยั่งยืน โดยการดําเนินการบริหารงานและการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งสอดคลองเปน ไป ตามวิสัยทัศน ขององคก ารบริห ารสวนตําบลเหลาโพนคอ ที่วา “ภายในป ๒๕๕๖ ประชาชนจะไดรับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ดว ยการนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ภายใตการบริหารจัดการที่ดี” โดยไดกําหนดแนวทางการดําเนินงานออกเปน ๙ ยุทธศาสตร ที่คาดวา สามารถสรางความแข็งแกรงและแกไขปญหาใหแกชุมชนสําคัญ ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพ แนวทางการพัฒนา - จัดตั้งศูนยพัฒนาผูประกอบการ - สงเสริมและเผยแพรภูมิปญญาทองถิ่น - การศึกษาในการใหบริการทางวิชาการ - พัฒนาขยายผลหมูบาน/ชุมชนเข็มแข็ง ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางรายได แนวทางการพัฒนา - สงเสริมใหประชาชนประกอบอาชีพเสริมหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว - ขออนุญาตปรับปรุงไหลถนนสายหลักมุงตลาดอินโดจีนเพื่อจําหนายสินคาและ ผลิตภัณฑชุมชน - ติดตอประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของดานอาชีพตางๆ ใหความรูเพื่อเปน ทางเลือกในการประกอบอาชีพ - สนับสนุนเงินทุนในการประกอบอาชีพแกประชาชนในพื้นที่


-๑๓ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาการทองเที่ยว แนวทางการพัฒนา - พัฒนาแหลงทองเที่ยวที่มีอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอใหดีขึ้น - ประชาสัมพันธ และจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว - สรางเครือขายรวมกับหนวยงานในพื้นที่และนอกพื้นที่เพื่อจัดการดานการ ทองเที่ยว - พัฒนาคุณภาพการใหบริการและอํานวยความสะดวกดานการทองเที่ยว ยุทธศาสตรที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางการพัฒนา - เสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาและฟนฟูปาชุมชน - สงเสริมใหประชาชนรวมอนุรักษฟนฟูปาตนน้ํา - สงเสริมใหประชาชนกอสรางฝายชะลอน้ํา(ฝายแมว) - สงเสริมการปลูกสมุนไพรทองถิ่นแซมปา - สรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารการจัดการที่ดี แนวทางการพัฒนา - เสริมสรางการพัฒนาการเมืองในทองถิ่นใหมีความโปรงใส สุจริตและเทีย่ ง ธรรม - สงเสริมภาวะความเปนผูนํา ของผูบริหาร และผูนําในทองถิ่น ใหมีคุณธรรม จริยธรรม - สงเสริมและสนับสนุนใหบคุ ลากรในหนวยงานเขารับการอบรมในหลักสูตรที่ เกี่ยวของกับการทํางาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ในหนวยงานใหทันสมัยสามารถเขาถึงขอมูล ไดอยางรวดเร็ว - สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารงานขององคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ


-๑๔ยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาตําบลนาอยู แนวทางการพัฒนา - พัฒนาถนนในเขตพื้นที่ตําบลใหมีความสะอาด มีรั้วรอบขอบชิด ปลอดภัยจาก อุบัติเหตุ - พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การคมนาคม แหลงน้ํา ประปาใหทั่วถึงและได มาตรฐาน - พัฒนาหนวยกูชีพ กูภัยและหนวยแพทยฉุกเฉินประจําตําบล เพื่อใหมี ประสิทธิภาพในการบริการประชาชน - พัฒนาถนนสายหลักใหมีความสวยงาม มีตนไมเขียวขจีสองขางถนน - สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาสภาพแวดลอมในตําบลใหปลอดภัย จากยาเสพติดและอบายมุข ยุทธศาสตรที่ 7 การพัฒนาดานการเกษตร แนวทางการพัฒนา - สงเสริมการผลิตปุยชีวภาพทดแทนการใชปุยเคมี - วิจัยและพัฒนาคุณภาพดิน - สงเสริมการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร - สงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชหมุนเวียน - พัฒนาแหลงน้ําทางการเกษตร - สงเสริมใหประชาชนดําเนินการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรที่ 8 การพัฒนาดานสุขภาพและอนามัยชุมชน แนวทางการพัฒนา - สงเสริมใหประชาชนออกกําลังกายทุกวัน - สงเสริมใหประชาชนรูหลักการบริโภคตามหลักโภชนาการ - สงเสริมใหประชาชนปลูกและทานสมุนไพรในชุมชนแทนการทานยาแผนปจจุบัน บางชนิด


-๑๕- สนับสนุนและสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําจัดพาหะนําโรคตางๆ ใน ทองถิ่น - สงเสริมใหชุมชนจัดตั้งกองทุนดานสุขภาพชุมชน ยุทธศาสตรที่ 9 การพัฒนาดานเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการพัฒนา - สงเสริมใหประชาชนไดเขาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - สงเสริมใหประชาชนปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินไดและสมุนไพรใกลตัวเพื่อสุขภาพ - สงเสริมใหประชาชนรูจักการพอประมาณ การบริหารองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอตามแนวทางยุทธศาสตรการพัฒนาที่กลาวมา ขางตน ทั้ง ๙ ยุทธศาสตรนั้น ถือเปนแนวทางที่องคก รปกครองสวนทองถิ่นทุก แหง ตองดําเนิน การให สัมฤทธิ์ผล โดยทุกภาคสวนภาคีในพื้น ตองบูรณารวมกันใหเปนไปตามแนวทางการพัฒนาตามบริบทของชุม ชม จึงถือเปนสิ่งสําคัญยิ่งในการทําเกิดผลประโยชนสูงสุดตอพี่นองประชาชน ที่ปลัดองคการบริหารสวน ตําบลตองดําเนินการใหเปนรูปธรรมและใหประสบผลสําเร็จ ๔. บทสรุปและขอเสนอแนะ การบริหารที่จะประสบความสําเร็จมีองคประกอบการทํางานในหลาย ๆ ดาน ซึ่งสิ่งสําคัญพอสรุป เปนแนวทางไดดังนี้ ๑. การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ที่แกไข เพิ่มเติมถึงฉบับปจจุบัน ๒. การปฏิบัติตาม พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่พระราชทานแกขาราชการ พลเรือนเนื่องในวันขาราชการพลเรือน เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2536 ซึ่งไดมีพระราชดํารัสวา “ขาราชการมี หนาที่สําคัญสวนหนึ่งที่จะตองประพฤติปฏิบัติตอบุคคลทั่งปวงดวยความสุจริต จริงใจ วางตัวใหพอเหมาะ พอสมกับฐานะตําแหนง พรอมกับรักษาความสุภาพออนโยนไวใหเหนียวแนนสม่ําเสมอ ๓. ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล เรื่อง กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตรา ตําแหนงและมาตรฐานของตําแหนง สายงานนักบริหารงานองคการบริหารสวนตําบล


-๑๖และสามารถแขงขันยืนหยัดในเวทีโลกได คือ การบริหารตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ ดี โดยยึดหลักนิติธรรม คุณธรรม ความโปรงใส ความมีสวนรวม ความรับผิดชอบ และความคุมคา ๓. การวางแนวทางการพัฒนาของ องคการบริหารสวนตําบลจะตองใหครอบคลุมทุกดาน เชน - ดานการพัฒนาบุคลากร การสรางคานิยมและมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม - ดานการพัฒนาองคกร เชน การจัดสํานักงานตามหลัก ๕ ส. เพื่อความพรอมในการ ใหบริการแกผูรับบริการและความสุขและความพรอมของผูใหบริการ - ดานเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานที่สะดวกรวดเร็ว ถูกตอง และ ประหยัดทรัพยากรในการทํางาน - ดานความรูความสามารถและขวัญกําลังใจของผูปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสรางงานที่มี ประสิทธิภาพ และความพึงพอใจแกผูปฏิบัติงานในองคกร - ดานการพัฒนาทองถิ่น เปนสิ่งสําคัญในการกระจายอํานาจในทองถิ่น ใหมีอํานาจ หนาที่ในการพัฒนาตนเองทั้งดานสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ถือเปนหนาที่หลักในการบริหารงาน เทศบาล ที่จะตองถือปฏิบัติเพื่อใหประชาชนไดอยูดีมีสุข - ดานการมีสวนรวมและการสรางเครือขายการทํางาน ถือเปนหัวใจสําคัญในการทํางาน ที่จะประสบความสําเร็จและเกิดความยั่งยืน การใหความสําคัญแกทุกภาคสวนที่เกิดจากแนวความคิด คือ รวมคิด รวมทํา รวมรับผลประโยชน เปนสิ่งที่ทุกทองถิ่นจะตองใหความสําคัญและการสรางเครือขายการ ทํางานก็เหมือนกับการสรางพลังเพิ่มขีดศักยภาพในการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ เร็วขึ้น ฉะนั้น การทํางานที่จะประสบความสําเร็จไดดีก็ยอมขึ้นอยูกับการปรับตัว การศึกษาหาความรู ใน การพัฒนาตนเอง หาประสบการณใหม และสรางหลักในการทํางาน รูองคประกอบของการทํางานและ สรางกระบวนการทํางานที่ดี ก็จะทําใหการทํางานเกิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชนตอประชาชนอยาง แทจริง


-๑๗เอกสารอางอิง ๑. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๒. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และแกไขเพิ่มเติม ๓. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม ๔. พระราชบัญญัตพิ ระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ที่แกไข เพิ่มเติมถึงฉบับที่ พ.ศ.2552 ๕. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖. พิมลจรรย นามวัฒน , เอกสารการสอนชุดวิชาองคการและการจัดการ , มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช :๒๕๔๔


ตอนที่ ๓ แบบแสดงผลงานดานสมรรถนะหลักทางการบริหาร ผลงาน เมื่อดํารงตําแหนง


-๑๘รายละเอียดแสดงผลงาน ชื่อเจาของผลงาน นายมีชัย อุนวิเศษ ตําแหนงปลัดองคการบริหารสวนตําบล ระดับ ๗ ๑.ชื่อผลงาน การบริหารแหลงซากฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ๒.ระยะเวลาดําเนินการ กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๙ ๓.ที่มาและขอบเขตของงาน ดวยในวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๓ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดรับแจงจากชาวบานหวย ยาง หมูที่ ๖, ๙ ตําบลเหลาโพนคอ วาไดมีการพบซากดึก ดําบรรพ (ฟอสซิล) ในบริเวณเทือกเขาภูพาน (อุทยานแหงชาติภูผายล) จํานวน ๓ แหง คือบริเวณผาเจื่อน โนนหนองสิม และ โนนดินแดง เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๖ คาดวานาจะเปนฟอสซิลไดโนเสาร นายสิทธิชัย ธนะคําดี นายกองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ พรอมดวยนายพิทักษ บริพิศ นายอําเภอโคกศรีสุพรรณในขณะนั้น และคณะ ไดไปตรวจ สอบและสอบถามบุคคลที่เกี่ยวของ ปรากฏวามีซากฟอสซิลที่ยังเหลืออยูในพื้นที่ จํานวน ๒ แทง โดยพระ อาจารยกึ้ม สํานักสงฆภูนอยอางแกว และพระอาจารยตี๋ สํานักสงฆถ้ําผาเก ที่อยูในบริเวณพื้นที่ ยืนยันวา ไดมาจากแหลงดังกลาว โดยเชื่อวาเปนฟอสซิลไดโนเสาร สามารถนําทางไปยังจุดที่พบซากดังกลาวไดนาย พิทักษ บริพิษ นายอําเภอโคกศรีสุพรรณ ไดขออนุญาตนําซากฟอสซิลจากพระอาจารยทั้ง ๒ แทงไปตรวจ ณ พิพิธภัณฑสิรินธรภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ ในวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ และเจาหนาที่ ณ พิพิธภัณฑสิริ ธรภู กุ ม ข า ว ได ยื น ยั น ว า ซากฟอสซิ ล ที่ นํ า มาตรวจทั้ ง ๒ แท ง เป น ซากฟอสซิ ล ไดโนเสาร จ ริ ง เพื่อใหมีก ารตรวจพิสูจ นบริเวณสถานที่พบซากฟอสซิล ไดโนเสาร ในวัน ที่ ๗ กัน ยายน ๒๕๕๓ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดทําหนังสือแจงไปยัง กรมทรัพยากรธรณี เพื่อสงเจาหนาที่มาตรวจ พิสูจนสถานที่พบซากฟอสซิลไดโนเสาร ตอมาในวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๓ ดร.อัสนี มีสุข ผูอํานวยการ คุมครองซากดึกดําบรรพ พรอมคณะไดมาตรวจสอบสถานที่ที่พบซากฟอสซิลไดโนเสาร บริเวณผาเจื่อ น , โนนดินแดง และ โนนหนองสิม ซึ่ง ดร. อัสนี มีสุข ไดยืนยันวาสถานที่ดังกลาวมีซากฟอสซิลไดโนเสารจริง และไดแนะนําให องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอจัดทําประกาศคุมครองซากดึกดําบรรพและจัดทํา เครื่องหมายแสดงการหามขุดคนเคลื่อนยายซากดึก ดําบรรพใ นบริเวณดังกล าว และในวันที่ ๑ ตุล าคม ๒๕๕๓ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ จึงไดจัดทําประกาศเขตคุมครองซากดึกดําบรรพและจัดทํา


-๑๙เครื่องหมายแสดงการหามขุดคนเคลื่อนยาย นําเอาไป ทําใหเสียหาย หรือทําลายแหลงซากดึกดําบรรพ เพื่อ คุ ม ครองและอนุ รั ก ษ ซ ากดึ ก ดํ า บรรพ อ าศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา ๓(๔)และมาตรา ๒๕ แห ง พระราชบัญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ.๒๕๕๑ โดยในการไปติดปายประกาศในครั้งนั้น ไดมีคณะของ อําเภอโคกศรีสุพรรณ อุทยานแหงชาติภูผายล และผูสื่อขาวจากทีวี ชอง ๓ รวมเดิน ทางไปกับคณะของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอดวย ตอมาในวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดรับแจงวามีผูพบซากดึก ดําบรรพ(ฟอสซิลไดโนเสาร) บริเวณใกลเคียงซึ่งพบแหลงใหมเปนจุดที่ ๔ (เดิมพบ ๓ จุด) จึงไดจัดทําเครือ่ ง หมายแสดงการหามขุดคนตามพระราชบัญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. ๒๕๕๑ และไดทําหนังสือแจง ไปยังกรมทรัพยากรธรณี จากการพบซากดึกดําบรรพ(ฟอสซิลไดโนเสาร)เพิ่มเติมในครั้งนี้ และตอมาในวัน ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําหนังสือแจงไปยัง ผูอํานวยการสํานัก ทรัพยากรธรณี เขต ๒ (ขอนแกน) เพื่อใหมาตรวจสอบ หรือขุดคนสถานที่พบซากฟอสซิลเพื่อใหการตรวจ สอบพิสูจนซากดึกดําบรรพ(ฟอสซิล) ชัดเจน ถูกตองเปนที่ยอมรับยิ่งขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง และจะสามารถทํา ใหไดรับรูเรื่องราวของสิ่งมีชีวิตในอดีตยอนหลังอันจะเปนประโยชนในการบริหารจัดการแหลงซากดึกดํา บรรพที่พบและสงเสริมการทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูแกเยาวชนอีกดวย และในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ คณะสํารวจจากกรมทรัพยากรธรณีไดเขามาทําการสํารวจและขุดคนซากฟอสซิลไดโนเสารในบริเวณที่องค การบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําหนังสือแจงไปยังกรมทรัพยากรธรณี จํานวน ๔ จุด ไดแก บริเวณ โนนหนองสิม ผาเจื่อน จายหนองสิม และโนนดินแดง ซึ่งมีการเก็บตัวอยางซากฟอสซิลไดหลายชิ้น ไมวาจะ เปนชิ้นสวนของฟน กระดูกสวนขา เบื้องตนสามารถระบุชนิดไดแลว ๒ ชนิด จากฟนที่ขุดพบคือ ภูเวียงโก ซอรัสสิรินธรเน(phuwiangosaurus sirindhornae) และสยามโมซอรัสสุธีธรนี(siamosaurus suteethorni) หลังจากที่คณะสํารวจจากกรมทรัพยากรธรณีไดเขามาสํารวจขุดคนแลว วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กรมทรัพยากรธรณี โดยสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี ไดเชิญองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอเขารวมประชุมการจําแนกเขตเพื่อการจัดการดานธรณีวิทยา ณ โรงแรมหนองหาร ดิ เอลลิ แกรนท โดยมีหลักการสําคัญคือ จําแนกเขตทรัพยากรธรณี ออกเปนเขตเพื่อการสงวน การอนุรักษ และ การพัฒนาใชประโยชน พรอมกับเสนอมาตราการหรือแนวทางการบริหารจัดการในพืน้ ที่ที่ไดมีการสํารวจ พบกระดูกไดโนเสารในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ เชน บริเวณโนนหนองสิมพบกระดูกไดโนเสารในหมวดหิน เสาขัว (พิกัดที่ ๐๔๒๕๖๑๔ ตะวันออก/๑๘๗๓๔๑๔เหนือ) และโนนดินแดง บริเวณภูไมเหี้ยในเขตอุทยาน แหงชาติภูผายล โดยเปนการประชุมรวมกันในระดับจังหวัด และตอมาในวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๕ ไดมีการ


-๒๐ประชุมรวมกันระหวางสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี และองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ขึ้นอีกครั้งหนึ่งเพื่อเสนอรายงานการสํารวจเบื้องตนแหลงซากดึกดําบรรพอุทยานแหงชาติภูผายล แนว ทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่ และ โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร เหลาโพนคอ ซึ่งในเบื้องตนองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดเห็นชอบ ในแนวทางที่สํานักนโยบาย และแผนทรัพยากรธรณีเสนอมา นอกจากซากฟอสซิลไดโนเสารที่พบแลว ในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ยังมีสถานที่ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เชิงวัฒนธรรม และเชิงเกษตร อีกหลายแหง เชน จุดชมวิวอาง เก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ถ้ําผาเก ถ้ําผานาง ถ้ําอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียง จุดชมวิวผาเจื่อน น้ําตกศรีตาด โตน พระธาตุดอยอางกุง ภูผานอย ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร ผาขาม อุโบสถดินแหงแรกในประเทศไทย ชุมชนภูไทหวยยาง และกลุมเพาะพันธกลาไมบานหวยยาง เปนตน ดวยความหลากหลายของแหลงทอง เที่ยว และสามารถเชื่อมโยงระหวางแหลงทองเที่ยวตางๆได จึงนับวาเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาให เปนแหลงทองเที่ยว และสนับสนุนการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนในทองถิ่น นอกจากนี้ยัง กอใหเกิดรายไดแกคนในชุมชนอีกดวย จึงสมควรพัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาของจังหวัด สกลนคร ควบคูไปกับการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงประวัติศาสตรซึ่งมีอยูหลายแหงในพื้นที่ตําบลเหลา โพนคอ เพื่อสงเสริมและประชาสัมพันธการทองเที่ยวของตําบลเหลาโพนคอใหเปนที่รูจักของชาวสกลนคร และเปนที่รูจักของประชาชนทั่วไป ซึ่งสอดคลองกับนโยบายตางๆดังนี้ ๑. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๘๕ กําหนดใหรัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบาย ดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดย (๑) กําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุมทั่ว ประเทศ โดยใหคํานึงความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุมชน ทองถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ(๒)กําหนดมาตรฐานการใชที่ดินอยาง ยั่งยืน โดยตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้น มีสวนรวมในการตัดสิน ใจดวย (๓) จัดใหมีการวางผังเมืองพัฒนาและดําเนินการตามผังเมืองอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และ (๔) จัดใหมีแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอยางเปนระบบและเกิดประโยชนตอสวนรวม ทั้งตองใหประชาชนมี สวนรวมในการสงวนบํารุงรักษาและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ อยางสมดุล


-๒๑๒. ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ คือ ประเด็นยุทธศาสตร ที่ ๒ การพัฒนาการทองเที่ยว โดยมีเปาประสงคที่เกี่ยวของ คือ การสงเสริมและพัฒนากิจกรรมแหลง เรียนรูสงเสริมการบริหารจัดการการทองเที่ยวให ๓. ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดสกลนคร ไดแกยุทธศาสตรที่ ๒ ยุทธศาสตรการคา การลงทุน และการทองเที่ยว และยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่สมดุล และยั่งยืน ๔. แผนพัฒนาสามป (ป พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ) ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ในประเด็นยุทธศาสตรที่ ๘ ยุทธศาสตรดานการศาสนา วัฒนธรรม นันทนาการและการทองเที่ยว แนวทางการพัฒนาที่ ๘.๓ แนวทางการพัฒนางานวิชาการ วางแผนเพื่อ สงเสริมการทองเที่ยวประชาสัมพันธการทองเที่ยว อนุรักษแหลงทองเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตรการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ ๑. การจัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ ๒. การจัดทําแผนการประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ ๓. การสรางกระบวนการมีสวนรวมและเครือขายอนุรักษซากดึกดําบรรพของภาคประชาชน ๔. การบริหารจัดการดานองคความรูองคความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และ ปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ ๕. การศึกษาวิจัยตอเนื่องในพื้นที่ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ : การจัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพ ไดโนเสารเหลาโพนคอ เปาประสงค - เพื่อใหการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เหมาะสม ตามสภาพพื้นที่ และยั่งยืน โดยคํานึงถึง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวน กลยุทธหลัก - จัดการประสานการจัดทําแผนดําเนินงานดานการใชประโยชนพื้นที่ โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน - ผลักดันการจัดกิจกรรมวิชาการ กิจกรรมการทองเที่ยว ที่กลมกลืนกับสภาพพื้นที่และสิ่งแวดลอม


-๒๒ตัวชี้วัด - จํานวนคณะทํางานจัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - จํานวนแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ กิจกรรม - กิจกรรมการจัดตั้งคณะทํางานแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - กิจกรรมการกําหนดรูปแบบการกอสรางอาคาร สาธารณูปโภค และออกแบบภูมิสถาปตยใหมีความ กลมกลืนกับสภาพพื้นที่ที่สวยงาม ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ : การสงเสริมใหมีแผนการประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพ ไดโนเสารเหลาโพนคอ เปาประสงค - เพื่อใหแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอเปนทีร่ ูจักในฐานะแหลงเรียนรูเกี่ยวกับซาก ดึกดําบรรพและแหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยาที่สําคัญของจังหวัดสกลนคร และมีผูสนใจเดินทางมา ศึกษาและทองเที่ยวในพื้นที่แหลง กลยุทธหลัก - จัดการประสานการจัดทําแผนประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - ประสานหนวยงานที่มีศักยภาพในการประชาสัมพันธรวมผลักดันแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ฯใหเปนที่รูจักของประชาชนจังหวัดสกลนคร - สรางเอกลักษณและสัญลักษณของแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - จัดทําของที่ระลึกที่มีความสัมพันธกับแหลงและวัฒนธรรมทองถิ่น - สรางความประทับใจใหนักทองเที่ยวที่เขามาทองเที่ยวในพื้นที่แหลง


-๒๓ตัวชี้วัด - จํานวนแผนประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ

- จํานวนสัญลักษณซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - จํานวนรูปแบบของที่ระลึกที่มีความสัมพันธกับแหลงและวัฒนธรรมทองถิ่น - ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่เขามาทองเที่ยวในพื้นที่แหลง กิจกรรม - กิจกรรมการจัดทําแผนการประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - กิจกรรม Road show ความสําคัญของแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - กิจกรรมการออกแบบสัญลักษณประจําแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - กิจกรรมศึกษาเอกลักษณผลิตภัณฑประจําถิ่นเปนใชรปู แบบของที่ระลึกที่มีความสัมพันธกับแหลง และวัฒนธรรมทองถิ่น ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ : การสรางกระบวนการมีสวนรวมและเครือขายอนุรักษซากดึกดําบรรพ ของภาคประชาชน เปาประสงค - เพื่อใหภาคประชาชนมีบทบาทในการอนุรักษ พัฒนา แหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารซึ่งเปน แหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาที่มีความสําคัญของจังหวัดสกลนคร กลยุทธหลัก - พัฒนาศักยภาพบุคลากรในทองถิ่นใหสามารถเปนแกนนําในการจัดทํากิจกรรมการอนุรักษในพื้นที่ แหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - สงเสริมเครือขายความรวมมือในการอนุรักษแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - สงเสริมใหเยาวชนในทองถิ่นทํากิจกรรมในการอนุรักษแหลงซากดึกดําบรรพรวมกัน


-๒๔-

ตัวชี้วัด - จํานวนเครือขายและจํานวนเยาวชนอนุรักษแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - จํานวนกิจกรรมการอนุรักษที่เครือขายดําเนินการ กิจกรรม - จัดตั้งแกนนําเครือขายและสรางเครือขายแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - จัดทํากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษและการบํารุงรักษาซากดึกดําบรรพ

ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ : การบริหารจัดการดานองคความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการ อนุรักษ และปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ เปาประสงค - เพื่อเสริมสรางองคความรูขอมูลความรูที่เกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และปลูกจิตสํานึกการ อนุรักษศูนยการเรียนรูซากดึกดําบรรพที่ถูกตองใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ เครือขายอนุรักษ และสู สาธารณะเพื่อใหเห็นความสําคัญของแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพฯ กลยุทธหลัก - อบรม ถายทอดความรูที่เกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ ดูแลรักษา และปลูกจิตสํานึกการ อนุรักษศูนยการเรียนรูซากดึกดําบรรพที่ถูกตองใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ และแกนนําเครือขายอนุรักษ - ถายทอดองคความรูใหกับบุคลากรการศึกษา นักเรียน นักศึกษา โดยแกนนําเครือขายอนุรักษรวมกับ เจาหนาที่กรมทรัพยากรธรณี - ขอการสนับสนุนบุคลากรที่มีความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพจากกรมทรัพยากรธรณีเปนวิทยากรให ความรู - จัดการเตรียมพื้นที่ อุปกรณสื่อความรู และรูปแบบพิพิธภัณฑ/ศูนยเผยแพรขอมูล


-๒๕ตัวชี้วัด - จํานวนกิจกรรมอบรมถายทอดความรู - จํานวนผูเขารวมการอบรมถายทอดความรูที่มีความเขาใจเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และ มีจิตสํานึกการอนุรักษซากดึกดําบรรพ - จํานวนสื่อเผยแพรความรู กิจกรรม - กิจกรรมจัดการฝกอบรมถายทอดความรูที่เกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ ดูแลรักษา และ ปลูกจิตสํานึกการอนุรักษแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพฯ ที่ถูกตองใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ และแกนนํา เครือขายอนุรักษ - กิจกรรมจัดทําคายถายทอดองคความรูใหกับบุคลากรการศึกษา นักเรียน นักศึกษา โดยแกนนํา เครือขายอนุรักษรวมกับเจาหนาที่กรมทรัพยากรธรณี - กิจกรรมจัดทํานิทรรศการ พิพิธภัณฑหรือศูนยกลางการเรียนรู/ เผยแพรขอมูลธรณีวิทยาและซาก ดึกดําบรรพ - กิจกรรมการจัดทําสื่อเผยแพร ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ : การศึกษาวิจัยตอเนื่องในพื้นที่ เปาประสงค - เพื่อเสริมสรางองคความรูขอมูลความรูที่เกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และปลูกจิตสํานึกการ อนุรักษศูนยการเรียนรูซากดึกดําบรรพที่ถูกตองใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ เครือขายอนุรักษ และสู สาธารณะเพื่อใหเห็นความสําคัญของแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพฯ กลยุทธหลัก - จัดใหมีโครงการวิจัยแหลงซากไดโนเสารเพิ่มเติมในพื้นที่แหลงโดยหนวยงานที่มคี วามเชี่ยวชาญดาน ซากดึกดําบรรพ - จัดการสํารวจเพิ่มเติมในพื้นที่ใกลเคียง


-๒๖-

ตัวชี้วัด - จํานวนโครงการศึกษาวิจัยที่ดําเนินการในพื้นที่ศูนยการเรียนรูซากดึกดําบรรพ - จํานวนซากดึกดําบรรพที่เพิ่มเติมขึ้น กิจกรรม - กิจกรรมศึกษาวิจัยขอมูลเกี่ยวกับแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพ เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการใหความรู กับประชาชนและเพิ่มความสําคัญทางวิชาการใหกับแหลง - กิจกรรมสํารวจแหลงเพิ่มเติมตามขอมูลธรณีวิทยา หนวยงานรับผิดชอบ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สํานักงานเขตการศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสกลนคร สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสกลนคร การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานสกลนคร กรมทรัพยากรธรณี หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ๔.แนวทางขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อใหแหลงที่สํารวจพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ไดมีการพัฒนาเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยา สําหรับเยาวชนและประชาชนที่สนใจ และเปนแหลงทองเที่ยวที่เปนเอกลักษณของจังหวัดสกลนคร รวมทั้ง สงเสริมและประชาสัมพันธใหเปนแหลงทองเที่ยวแหงใหมของจังหวัด และเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทาง ผานไปมาไดแวะชมในพื้นที่จังหวัดสกลนครมากขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และ ประชาชนในทองถิ่นไดความรูด านธรณีวิทยา ซากดึกดําบรรพ และสามารถนําความรูไปประยุกตใชใหเกิด ประโยชนได รวมทั้งสรางจิตสํานึกใหเยาวชน ประชาชนในทองถิ่น ตระหนัก หวงแหน ในการอนุรักษซากดึก ดําบรรพ และแหลงทองเที่ยวที่เปนเอกลักษณของทองถิ่น ชวยสงเสริมการประกอบอาชีพและพัฒนา เศรษฐกิจในชุมชนได จึงไดกําหนดวิธีการดําเนินงาน ออกเปน ๓ ขัน้ ตอน ดังตอไปนี้


-๒๗๔.๑ ขั้นตอนการเตรียมการ จากการที่ไดมีการสํารวจพบซากฟอสซิลไดโนเสารในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ องคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดมีการเตรียมการเพื่อพัฒนาแหลงที่สํารวจพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ให เปนแหลงเรียนรู ทางธรณีวิทยาสําหรับเยาวชนและประชาชน รวมทั้งเปนแหลงทองเที่ยวของตําบลและของ จังหวัด ไดดําเนินการเกี่ยวกับการเตรียมการในการดําเนินงานดังนี้ ๑. ติดตามตรวจสอบสถานที่พบซากฟอสซิล และประสานผูที่พบซากฟอสซิลเพื่อขอ นําไปตรวจสอบ ณ พิพิธภัณฑสิริธรภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ ๒. ประสานงานกรมทรัพยากรธรณีเพื่อขุดคนและตรวจสอบสถานที่พบซากฟอสซิล ไดโนเสาร ๓. ดําเนินการโครงการเสริมสรางศักยภาพชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. จัดทําโครงการฝกอบรมอาสาสมัครนําเที่ยวเชิงนิเวศตําบลเหลาโพนคอเพื่อเตรียม ความพรอมในการตอนรับนักทองเที่ยวในอนาคต ๕. จัดทําโครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย ๔.๒ ขั้นตอนการดําเนินการ ๑. จัดใหมีการตรวจสอบสถานที่ที่พบซากฟอสซิลไดโนเสาร ๒. จัดทําประกาศเขตคุมครองซากดึกดําบรรพและจัดทําเครื่องหมายแสดงการหามขุด คนเคลื่อนยาย ทําใหเสียหาย หรือทําลายแหลงซากดึกดําบรรพ ๓. สํารวจและขุดคนซากฟอสซิลไดโนเสารในบริเวณที่ประกาศเขตคุมครองซากดึกดํา บรรพและจัดทําเครื่องหมายแสดงการหามขุดคน ๔. รวมประชุมเพื่อการจําแนกเขตทรัพยากรธรณี พรอมกับเสนอมาตรการหรือแนว ทางการบริหารจัดการในพื้นที่ที่ไดมีการสํารวจพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ๕. ประชุมกําหนดแผนบริหารจัดการเชิงพื้นที่ พรอมสํารวจสถานที่ที่จะจัดแสดงแหลง เรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ ๖. ดําเนินการตามรายละเอียดแผนการดําเนินการดังนี้


-๒๘แผนการดําเนินงาน ปที่1 -

กิจกรรมจัดตั้งแกนนําเครือขายและสรางเครือขายแหลงซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ จัดทํากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษและการบํารุงรักษาซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ จัดตั้งคณะทํางานแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ จัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ จัดการเตรียมพื้นที่อุปกรณสื่อความรู กิจกรรมการกําหนดรูปแบบการกอสรางอาคารสาธารณูปโภคและออกแบบภูมิสถาปตยใหมีความ กลมกลืนกับสภาพพื้นที่ที่สวยงาม กิจกรรมจัดทํานิทรรศการพิพิธภัณฑหรือศูนยกลางการเรียนรู/ เผยแพรขอมูลธรณีวทิ ยาและซาก ดึก ดําบรรพ กิจกรรมการจัดทําสื่อเผยแพร กิจกรรมการจัดทําแผนการประชาสัมพันธศูนยแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ กิจกรรมการออกแบบสัญลักษณประจําแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ กิจกรรมศึกษาเอกลักษณผลิตภัณฑประจําถิ่นเปนใชรปู แบบของที่ระลึกที่มีความสัมพันธกับแหลง และ วัฒนธรรมทองถิ่น ปที่ ๒

- อบรมถายทอดความรูที่เกี่ยวกับซากดึกดําบรรพวีธกี ารอนุรักษดูแลรักษาและปลูกจิตสํานึกการ อนุรักษแหลงซากดึกดําบรรพที่ถูกตองใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบและแกนนําเครือขายอนุรักษ - ถายทอดองคความรูใหกับบุคลากรการศึกษานักเรียนนักศึกษาโดยแกนนําเครือขายอนุรักษรวมกับ เจาหนาที่กรมทรัพยากรธรณี - ขอการสนับสนุนบุคลากรที่มีความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพจากกรมทรัพยากรธรณีเปนวิทยากรให ความรู - กิจกรรมการจัดทําสื่อเผยแพร - กิจกรรมศึกษาวิจัยขอมูลเกี่ยวกับแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐาน ในการใหความรูกับประชาชนและเพิ่มความสําคัญทางวิชาการใหกับแหลงเรียนรู


-๒๙-

ปที่ ๒ - กิจกรรมสํารวจแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอเพิ่มเติมตามขอมูลธรณีวิทยา ปที่ ๓ - คายอาสากิจกรรมสงเสริมความรูในวันสําคัญตางๆณแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารฯ - สงเสริมสินคาชุมคาเปนจุดจําหนายสินคา ปที่ ๔ - พัฒนาเปนแหลงเรียนรูท างธรณวิทยาของจังหวัดสกลนคร - บริหารจัดการแหลงใหเปนไปตามแผนที่กําหนดไวในแผนการบริหารจัดการแหลงที่ไดรับความ เห็นชอบจากคณะทํางาน

๔.๓ ขั้นตอนการการติดตามและประเมิลผลโครงการ หลังจากที่ไดดําเนินกิจกรรมตางๆในขั้นตอนการเตรียมการและขั้นตอนการดําเนินงาน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โดยสํานักงานปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ได ดําเนินการ ประเมิลผลการปฏิบัติงานเพื่อเปนตัวชีว้ ัดความสําเร็จของกิจกรรม ดังนี้ ๑.โครงการเสริมสรางศักยภาพชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศภายใตหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง วิธีการประเมินผล ตามแบบทดสอบความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทองเที่ยว เชิงนิเวศ ๒. โครงการฝกอบรมอาสาสมัครนําเที่ยวเชิงนิเวศตําบลเหลาโพนคอเพื่อเตรียมความพรอม ในการตอนรับนักทองเที่ยวในอนาคตวิธีการประเมินผล ตามแบบทดสอบความรูและความเขาใจเกี่ยวกับ การเปนอาสาสมัครนําเที่ยว และประเมินผลจากฝกทดลองในการเปนอาสาสมัครนําเที่ยว


-๓๐๓.โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย วิธีการประเมินผล ตาม แบบทดสอบความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการใหบริการบานพักโฮมสเตยและประเมินผลจากฝกทดลองใน การใหบริการบานพักโฮมสเตย ๕.กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ ๑. พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 “ มาตรา 68 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลอาจจัดทํากิจการในเขตองคการ บริหารสวนตําบล ดังตอไปนี้ (12) การทองเที่ยว ๒. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 “ มาตรา 16 ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจและหนาที่ ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเองดังนี้ (14) การสงเสริมการทองเที่ยว ๓. พระราชบัญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๓(๔) และ มาตรา ๒๕ ๖.ความสําคัญและความยุงยากของผลงานการปฏิบัติ จากระเบียบกฎหมายนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดสกลนคร และแผนพัฒนาสามป (ป พ.ศ. 2556 – 2558 ) ของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นในฐานะทีเ่ ปนหนวยงาน ราชการในพื้นที่ มีหนาที่ในการขับเคลื่อนนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว การสงเสริมพัฒนากิจกรรมแหลง เรียนรู สงเสริมการบริหารจัดการทองเที่ยวใหมีประสิทธิภาพ การรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อ สงเสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพการทองเที่ยว รวมทั้งการพัฒนา งานวิชาการ วางแผนเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ประชาสัมพันธการทองเที่ยว อนุรักษแหลงทองเที่ยว โดย องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนศูนยกลางในการดําเนินการกับสวนราชการสวนกลางและสวน ภูมิภาค ในรูปแบบบูรณาการรวมกับสวนราชการอื่นในพื้นที่ โดยองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มี นายกองคการบริหารสวนตําบล เปนผูบ ริหารในการดําเนินงานโดยปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพน คอ เปนผูชวยในการปฏิบัติงาน ดังนั้นปลัดองคการบริหารสวนตําบล ในฐานะที่เปนหัวหนาพนักงานสวน ตําบลและเปนผูชวยผูบริหาร จะตองศึกษาบริบท พื้นที่ กลยุทธในการดําเนินงานใหสัมฤทธิ์ผล โดยตอง ศึกษารายละเอียด ดังนี้ คือ


-๓๑๑.วางแผนประชุมรวมกับกรมทรัพยากรธรณีและอุทยานแหงชาติภูผายล เพื่อเปนการเตรียมความ พรอม ๒. ประชาสัมพันธ สถานที่ทองเที่ยว รายงานการสํารวจซากฟอสซิลไดโนเสาร แนวทางการบริหาร จัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่ เพื่อเผยแพรองคความรูดานธรณีวิทยา และแหลงทองเที่ยวที่เปนเอกลักษณ ของตําบลเหลาโพนคอและจังหวัดสกลนคร ๓. ประสานงานกับหนวยงานภาคีเครือขายทั้งภายในและภายนอกองคกร ในการตอบรับการเขา รวมกิจกรรมและการใหการสนับสนุนกิจกรรม ซึ่งแตละภาคสวนมีความสําคัญเปนอยางยิ่งในการเปนสวน ชวยขับเคลื่อนใหกิจกรรมตาม โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค ซึ่งมีหนวยงานเครือขาย ดังนี้ ๑) พิพิธภัณฑสิรินธรภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ เพื่อใหตรวจพิสูจนซากฟอสซิลที่พบบริเวณภู ยางอึ่ง ๒) กรมทรัพยากรธรณี เพื่อใหมาตรวจสอบสถานที่พบซากฟอสซิลไดโนเสาร บริเวณโนน หนองสิม โนนดินแดง และผาเจื่อน ๓) สํานักทรัพยากรธรณี เขต ๒ (ขอนแกน) เพื่อใหมาตรวจสอบ หรือขุดคนสถานที่พบซาก ฟอสซิลเพื่อใหการตรวจ สอบพิสูจนซากดึกดําบรรพ(ฟอสซิล) ชัดเจน ถูกตองเปนที่ยอมรับยิ่งขึ้นไปอีก ระดับหนึ่ง ๔) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อชวยเหลือในการเก็บ รวบรวมขอมูลชุมชน ประวัติศาสตร แหลงทองเที่ยว รวมทั้งอบรมใหความรูในการบริหารจัดการหมูบาน ทองเที่ยวเชิงนิเวศภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร เพื่อขอรับการ สนับสนุนวิทยากร บรรยายแกอาสาสมัครนําเที่ยว และสมาชิกบานพักโฮมสเตย ๖) โรงเรียนบานหวยยาง เพื่อใหนํานักเรียนเขารวมรับการอบรมใหความรูในการเปน อาสาสมัครเยาวชนนําเที่ยว ๗) กํานัน , ผูใหญบานทุกหมูบานทั้ง ๑๑ หมูบาน เพื่อประชาสัมพันธใหกับสมาชิกบานพัก โฮมสเตย และผูที่สนใจจะเปนอาสาสมัครนําเที่ยวเขารับการฝกอบรม ๘) สํานักนโยบายและแผนกรมทรัพยากรธรณี เพื่อรวมกันกําหนดแนวทางและวางแผนการ บริหารจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่ (แหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อใหการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี แหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ ใหมี


-๓๒ประสิทธิภาพนั้น จึงจําเปนตองวิเคราะหศักยภาพ(Swot analysis )องคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ เพื่อการวิเคราะหปจจัยสภาพแวดลอมภายในการคนหาจุดแข็ง(Strength)จุดออน (Weakness)และ ปจจัยภายนอก เพื่อคนหาโอกาส(Opportunities) และอุปสรรค(Threats) ในการบริหารงานคือ ๑.การวิเคราะหปจจัยภายใน (Internal Analysis) การวิเคราะหปจจัยสภาพแวดลอมภายในเปนการประเมินผลการวิเคราะหพิจารณาจาก โครงสราง กลยุทธ ผูบริหาร บุคลากร ระบบ ทักษะ และคานิยมรวมตามทรัพยากรขององคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ มีผลการวิเคราะหมีดังนี้ จุดแข็ง(Strength) ๑. พื้นที่ตําบลเหลาโพนคอมีทุนทางธรรมชาติมากมายที่สามารถเชื่อมโยงใหเปนแหลง ทองเที่ยวได นอกจากแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ๒. หนวยงานราชการภายในและภายนอกตําบลเหลาโพนคอใหความรวมมือในการทํางาน เปนอยางดีมีการประสานงานที่ดี ๓. ผูบริหารขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอมีวิสัยทัศนกวางไกล ทํางานดวย ความมุงมั่น ๔. บุคลากรทํางานอยางประสานสัมพันธเปนทีมงานที่เข็มแข็ง ๕. บุคลกรผูปฏิบัติงานมีความเชี่ยวชาญในพื้นที่ ที่ปฏิบัติงาน ๖. หนวยงานภายในองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอมีการแบงงานและการ มอบหมายงานที่ชัดเจน จุดออน (Weakness) ๑.การจัดสรรงบประมาณไมคลอบคลุมภารกิจตามอํานาจหนาที่ที่ตองทํา ๒.หนวยงานภายในองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มีอัตรากําลังที่ไมสอดคลองกับ การปฏิบัติงาน ๓.ประชาชนตําบลเหลาโพนคอบางสวนยังไมเล็งเห็นถึงความสําคัญในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๒.การวิเคราะหปจจัยภายนอก (External Analysis) การวิเคราะหปจจัยภายนอก เปนการประเมินผลการวิเคราะหปจจัยดานการเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม อาชีพ ความเปนโลกาภิวตั น มีผลการวิเคราะหดังนี้


-๓๓โอกาส (Opportunities) ๑.ไดรับความรวมมือจากกรมทรัพยากรธรณีวิทยาซึ่งมีความรูความชํานาญเกี่ยวกับซากดึกดํา บรรพรวมใหความรูและรวมวางแผนการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว ๒. นโยบายในระดับกลุมจังหวัดและในระดับจังหวัดใหความสําคัญเรื่องการพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว ๓. นโยบายรัฐบาลที่จะเปดประตูการคาเสรีอาเชียนซึ่งจะเปนโอกาสในการสรางรายไดจากการ ทองเที่ยวได ๔. มีถนนสายหลักจากสกลนครตัดผานเพื่อมุงสูตลาดอินโดจีน ลาวและเวียตนาม ๕. องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเปนแหงแรกในจังหวัดสกลนครที่สามารถพิสูจนทราบ สายพันธุไดโนเสารกอนที่อื่นๆ อุปสรรค (Threats) ๑. งบประมาณที่ไดรับการจัดสรรจากรัฐบาลมีนอยไมเพียงพอในการบริหารงานเนื่องจากอํานาจ หนาที่องคการบริหารสวนตําบลมีมาก ๒. การประสานงานกับหนวยงานอื่นๆที่เกี่ยวของ ยังไมทั่วถึงและยังไมมีการตอบรับจากภาคี เครือขายเพื่อรวมพัฒนา ๓. ผูวาราชการจังหวัดเปลี่ยนแปลงบอยทําใหการประสานงานไมตอเนื่อง ๗. ความรูความสวามารถหรือความชํานาญพิเศษที่ตองใชในการปฏิบัติงาน ในฐานะที่เปนปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ที่จะตองดําเนินการดานการบริหารการ สํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร เพื่อเปนแหลงเรียนรูแกเด็ก นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปไดศึกษาและพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวเพื่อสรางรายไดใหกับ ประชาชนในพื้นที่ ทั้งการศึกษาในศูนยเรียนรูและสถานที่จริงที่พบซากฟอสซิล ซึ่งการทํางานใหประสบ ความสําเร็จนั้นจะตองใชหลักการ คือหลัก POSDCORB มาใชในการดําเนินการ ไดแก


-๓๔๑. การวางแผน (Planning) คือ การกําหนดเปาหมายของงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงคในการ ดําเนินการและจะมีวิธีการดําเนินงานที่ชัดเจนในการดําเนินการดานการบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสาร เพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ๒. การจัดองคการ (Organizing) คือการจัดตั้งโครงสรางอํานาจอยางเปนทางการภายในองคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เพื่อประสานงานกับหนวยงานภาคีเครือขายตางๆ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหสามารถบรรลุเปาหมายขององคการไดโดยมีสายงานและคําสั่งมอบหมายงานที่ชัดเจน ๓. การสั่งการ (Directing) คือ การที่ใหอํานาจปลัดองคการบริหารสวนตําบลใหมีหนาที่ในการ ตัดสินใจโดยใหเปนคําสั่งและคําแนะนํากับผูปฏิบัติการเพื่อใหงานสําเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค ๔. การสรรหาคน (Staffing) คือ การสรรหาคนผูมีความรูความชํานาญใหเหมาะสมกับภารกิจหรือ งานทั้งใน องคกรและนอกองคกรเพื่อการบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรู ซากดึกดําบรรพไดโนเสารใหประสบความสําเร็จ ๕. การประสานงาน (Co-ordinating) คือการประสานงานกับสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ราชการ สวนกลาง สวนภูมิภาค สวนราชการในพื้นที่ ในการรวมกันบูรณาการการบริหารการสํารวจฟอสซิล ไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ๖. การรายงาน (Reporting) คือการรายงานความเคลื่อนไหวตางๆ ที่ดําเนินการการบริหารการ สํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในองคกรและนอกองคกรโดยเฉพาะนายกองคการบริหารสวนตําบลทราบเพื่อการสั่งการในการ ดําเนินการขั้นตอไป ๗. การงบประมาณ (Budgeting) คือ การที่ปลัดองคการบริหารสวนตําบลในฐานะเจาหนาที่ งบประมาณมีหนาที่ในสวนที่เกี่ยวของในการจัดสรรงบประมาณใหเหมาะสมและเพียงพอพรอมทั้งการ วางแผนงานและการควบคุมการใชจายงบประมาณตามรายละเอียดของการดําเนินงานตามกิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับการบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร โดย การดําเนินการตางๆ ดังกลาวมานั้นถือวาเปนการดําเนินการตามสายการบังคับบัญชา การมีสวนรวมทุก


-๓๕สวนที่เกี่ยวของในการดําเนินงาน การทํางานเปนทีม การสรางแรงจูงใจในการทํางาน ถือวาเปนหลักในการ ดําเนินการใหประสบความสําเร็จ ๘.ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ปญหาภายในองคกร ๑. ปญหาดานงบประมาณ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มีงบประมาณในการใชพัฒนาอยางจํากัด โดยใน ปงบประมาณ ๒๕๕๕ มีงบประมาณทั้งสิ้นประมาณ ๑๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท (รวมเงินอุดหนุน) แตตาม แผนพัฒนาสามปไดกําหนดงบประมาณในการดําเนินการดานการพัฒนาแหลงธรณีวิทยาเพียง ๓๐,๐๐๐ บาท เทานั้น นอกจากนี้ในขอบัญญัติงบประมาณยังไดตั้งงบประมาณดานการพัฒนาสิ่งแวดลอมอีก ๑๐,๐๐๐ บาทซึ่งนอยมากเมื่อเทียบกับการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน ๒. ดานบุคลากร องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มีบุคลากรหลักที่ดําเนินการดานการบริหารการ สํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร อยูแค ๒ คน คือ หัวหนา สํานักงานปลัด และนักวิชาการเกษตร เจาหนาที่คนอื่นๆจะเปนเพียงผูชวยในการประสานงานเทานั้น โดย เจาหนาที่ที่ดําเนินการก็ยังขาดประสบการณ จึงทําใหการดําเนินการลาชา ปญหาภายนอกองคกร ๑. ปญหาดานพื้นที่ตั้ง องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเปนองคการบริหารสวนตําบลที่อยูติดเขตของ ๓ จังหวัดได สกลนคร มุกดาหาร นครพนม การแบงแยกแนวเขตบนภูเขาไมชัดเจนโดยเฉพาะพื้นที่ที่เปนภูเขา(เทือกเขา ภูพาน) การสํารวจซากฟอสซิลบางครั้งอาจรุกล้ําเขาไปในเขตของจังหวัดนครพนมหรือมุกดาหาร ตองใช แผนที่ทางอากาศหรือระบบ GPS เขาชวยแตเจาหนาที่ก็ยังขาดความชํานาญ


-๓๖นอกจากพื้นที่บนภูเขาแลวพื้นที่ในเขตชลประทาน ไดแกอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ซึ่งปจจุบันมี อนุสรณสถานศาลาทรงงานตั้งอยูดวยนั้น พื้นที่อางเก็บน้ําบางสวน (รองน้ําหวยโท) ยังเปนของ ตําบลหนอง บอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนมดวย ทําใหการพัฒนาเรื่องการทองเที่ยวบริเวณอางเก็บน้ําหวยโท – หวย ยางลาชา ๒.ปญหาเรื่องการขาดการบูรณาการรวมกัน การบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารและ เชื่อมโยงไปสูเรื่องการทองเที่ยวในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอใหประสบความสําเร็จนั้น การบูรณาการระหวาง หนวยงานราชการนอกพื้นที่และในพื้นที่ตองดําเนินอยางตอเนื่องและเชื่อมโยงการปฏิบัติงานรวมกัน หนวยงานนอกพื้นที่ที่เกี่ยวของที่สามารถชวยใหงานประสบผลสําเร็จไดแก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสกลนคร สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสกลนคร การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานสกลนคร กรมทรัพยากรธรณี หนวยงานในพื้นที่ไดแก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลโพนคอ สถานศึกษา จํานวน ๓ แหง ๑.โรงเรียนบานเหลาโพนคอเหลาราษฏรวิทยา ๒.โรงเรียนบานหวยยาง ๓.โรงเรียนบานดงหนองเหียน เนื่องจากการดําเนินการบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดํา บรรพไดโนเสารเปนเรื่องใหมการประสานงานยังไมทั่วถึงและมีบางหนวยงานยังไมรูดวยซ้ําวาในพื้นจังหวัด สกลนครพบซากฟอสซิลไดโนเสารและสามารถพิสูจนสายพันธไดแลว


-๓๗๙.แนวทางการแกไขปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน แนวทางการแกไขปญหาระยะสั้น ๑. เบื้องตนกรณีมีงบประมาณไมเพียงพอแกไขปญหาดวยการประสานหนวยงานและบุคคลที่ เกี่ยวของโดยวิธีการรวมกันทํางานโดยใชงบประมาณสวนตัว หรือไมใชงบประมาณ ๒.ประสานความรวมมือในการขอความอนุเคราะหบุคลากรหนวยงานอื่นที่มีความรูความสามารถใน การสํารวจฟอสซิลไดโนเสารและการวางแผนการดําเนินการใหเปนศูนยเรียนรูโลกดึกดําบรรพไดโนเสาร และหนวยงานที่มีความรูความชํานาญดานการจัดการการทองเที่ยว เปนตน ๓.เพิ่มการประสานความรวมมือระหวางหนวยงานในพื้นที่และนอกพื้นที่ในการรวมกันดําเนินงาน และเชิญหนวยงานในพื้นที่เขารวมกิจกรรมตางๆที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอจัดขึ้น แนวทางการแกไขปญหาระยะยาว ๑.ดําเนินการประสานขอรับการสนับสนุนงบประมาณกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการดําเนินการ จากศูนยเรียนรูใหเปนพิพิธภัณฑขนาดใหญระดับจังหวัด ๒.สํารวจพื้นที่เพื่อขุดคนเพื่อเพิ่มจํานวนชนิดและสายพันธุไดโนเสารในพื้นที่ ๓.ประชาสัมพันธตามสื่อตางๆ เพื่อเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวใหมากขึ้น ๑๐.ประโยชนของผลงาน (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ประโยชนตอองคกร ๑. องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มีรายไดจากการจัดเก็บภาษีมากขึ้น ๒.เพิ่มภาคีเครือขายในการประสานระหวางบุคลากรแตละหนวยงานราชการในพื้นที่ ประโยชนตอหนวยงานในพื้นที่ โรงเรียนสามารถใชเปนแหลงเรียนรูนอกสถานที่ใหกับเด็กนักเรียนไดศึกษา คนควาได โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลโพนคอ ซึ่งเปนหนวยงานที่สงเสริมดานสุขภาพอาจผลิตสินคา ดานสุขภาพออกจําหนายใหกับ นักเรียน นักศึกษาและนักทองเที่ยวและจัดบริการนวดแผนไทยเพื่อสราง รายไดใหกับสมาชิกได


-๓๘ประโยชนตอประชาชน ๑. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพและรายไดจากการจาการทองเที่ยวมากขึ้น ๒. เยาวชน ประชาชนตําบลเหลาโพนคอมีความรู ดานธรณีวิทยาและซากดึกดําบรรพในทองถิ่น ๓. ประชาชนในทองถิ่นตระหนักและหวงแหน รูวิธีการอนุรักษซากดึกดําบรรพและแหลงทองเที่ยวที่ เปนเอกลักษณในทองถิ่นและสามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน ๑๑. ขอเสนอแนะการปฏิบัติงาน การบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสาร ใหประสบความสําเร็จนั้นจะตองดําเนินอยางเรงดวนดังตอไปนี้ ๑. ปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณโดยรอบจุดบริการนักทองเที่ยว เพื่อใหความรูและขอมูลกับ นักทองเที่ยว รวมถึงเพิ่มปายใหความรูเกี่ยวกับแหลงซากดึกดําบรรพและแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิง ประวัติศาสตรอื่นๆ ๒. ปรับปรุงทัศนียภาพรอบๆ พื้นที่ใหมีความกลมกลืนกับธรรมชาติ ไปในทิศทางเดียวกัน ทั้ง อาคารและจุดบริการตางๆ ๓. จัดอาคารแสดงพิพิธภัณฑที่ใหขอมูลวิชาการที่ทันสมัย นาสนใจ จัดแสดงโมเดลจําลองเพิ่ม สื่อวีดีทัศน จัดทําเปนหองแสดงธรณีวิทยาของจังหวัดสกลนคร หรือธรณีวิทยาของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน การกลาวถึงการเกิดที่ราบสูงโคราช โครงสรางทางธรณีวิทยา อายุทางธรณีกาล ลําดับชั้นหิน ขั้นตอนการเกิดที่ราบสูงโคราช ความสัมพันธกับชั้นหินในทองถิ่น ซากดึกดําบรรพที่พบในพืน้ ที่ และใกลเคียง โดยเนนใหเปนศูนยเรียนรูทางธรณีวิทยาของพื้นที่จังหวัดสกลนคร ๔. หองประชุมตองสามารถรองรับคณะนักเรียน นักศึกษา หรือกลุมนักทองเที่ยวที่เปนกลุม คณะ เปนจุดรวมพล เพิ่มกิจกรรมการจัดฉายวีดีทัศน เพื่อเสริมความรูกอนเดินขึ้นไปศึกษาธรณีวิทยา ๕. มีการนําตัว Mascot มาไวเปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยวในกลุมเด็กเล็ก หรือเยาวชนทั่วไป เพื่อ เพิ่มกลุมนักทองเที่ยวมีมากขึ้น ๖. มีการสงเสริมกิจกรรมรวมกับชุมชนในทองถิ่น เชน กิจกรรมวันวิทยาศาสตร กิจกรรมวันเด็ก หรือวันสําคัญตางๆ โดยมีการจัดแสดงเวทีประกวดของเยาวชน กิจกรรมวาดภาพ กิจกรรมแรลลี่ หรือคาย

-๓๙-


วิชาการ เพื่อเปนการสงเสริมใหเยาวชนในทองถิ่น และชุมชนใกลเคียงไดมีสวนรวมกับ อบต.และเกิดความ หวงแหน อนุรักษ ในทรัพยากรทองถิ่นของตนเอง ๗. กําหนดเสนทางการเดินชมทัศนียภาพและศึกษาแหลงซากดึกดําบรรพใหมีความชัดเจนขึ้น โดยอาจกําหนดใหนักทองเที่ยวเดินชมเสนทางธรรมชาติไปในทิศทางเดียวกัน ๘. เพิ่มเติมปายสื่อความหมายดานธรณีวิทยา ซากดึกดําบรรพและพืชพันธุ เปนตน เพื่อ อธิบายขอมูลและใหความรูเพื่อการเดินที่เพลิดเพลินขึ้น แตทั้งนี้ตองไมบดบังทัศนียภาพและมีความ กลมกลืนกับธรรมชาติมากที่สุด ขอรับรองวาผลงานดานการบริหารการสํารวจฟอสซิลไดโนเสารเพื่อพัฒนาเปนแหลงเรียนรู ซากดึกดําบรรพไดโนเสารขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงชื่อ...........................................ผูสมัครรับการคัดเลือก (นายมีชัย อุนวิเศษ) ตําแหนงปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ การรับรองผลงาน ๑.คํารับรองของผูขอรับการประเมิน ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ ลงชื่อ.......................................... (นายมีชัย อุนวิเศษ) ตําแหนงปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ


-๔๐๒.คํารับรองของผูบังคับบัญชา (ผูบังคับบัญชาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน) ไดรับการตรวจสอบผลงานของนายมีชัย อุนวิเศษ ที่เสนอใหประเมินแลวเห็นวาถูกตองตรง ตามความจริงทุกประการ ความเห็นอื่นๆ (ถามี)...........................................................................................................

ลงชื่อ.................................................. นายอนุสรณ พลราชม ตําแหนงนายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ


-เอกสารประกอบผลงาน






ภาพการจัดทําเครื่องหมายแสดงการคุมครองซากดึกดําบรรพ วันที่ 1 ตุลาคม 2553





ภาพถายสถานที่และซากฟอสซิลที่พบ ณ จุดที่ 4




รายงาน ฉบับที่........................................

รายงานการสํารวจเบื้องตน แหลงซากดึกดําบรรพอุทยานแหงชาติภูผายล ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร

ศูนยศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑไดโนเสาร (พิพิธภัณฑไดโนเสารภูเวียง)


รายงานเบื้องตนการสํารวจซากดึกดําบรรพ บริเวณแหลงตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พื้นทีส่ ํารวจ ลักษณะทางธรณีวิทยา: พื้นที่บริเวณแหลงสํารวจแสดงลักษณะการสลับชั้นของหินโคลนที่มี calcrete nodules หินทรายแปงสลับกับชั้น calcrete และหินทราย โดยสวนลางสุดเปนหินโคลน สีน้ําตาลแกมแดง เนื้อปนปูน มี calcrete nodules ปนอยูในเนื้อหินจํานวนมาก รองรับหินทรายแปง สีน้ําตาลแกมแดง สีมวงแกมแดง เนื้อปนปูน ดังรูปที่ 1 - 2 ซากดึกดําบรรพ ซากดึกดําบรรพที่พบ: ประกอบดวยเศษกระดูกของสัตวมีกระดูกสันหลัง ฟนไดโนเสารกินเนื้อ 2 ประเภท คือไดโนเสารกลุมไทรันโนซอริดส (รูปที่ 3 - 4) ไดโนเสารกลุมสไปโนซอริดส (รูปที่ 5 - 6) ฟนจระเข กระดองเตา นอกจากนี้ยังไดเขาตรวจสอบตัวอยางที่เก็บรักษาไวที่สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ พบกระดูก สวนระยางคของไดโนเสารกลุมซอโรพอด คลาดวาเปนไดโนเสารภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (รูปที่ 7 - 8) อายุทางธรณีวิทยา: หมวดหินเสาขัว กลุมหินโคราช ยุคครีเทเชียสตอนตน อายุประมาณ 130 ลานป ความสมบูร ณและการปรากฏของซากดึกดําบรรพ : ซากดึกดําบรรพที่พบเกือบทั้งหมดในพื้นที่สํารวจมี ลักษณะไมสมบูรณ การวางตัวของซากดึกดําบรรพทั้งหมดเปนไปอยางกระจัดกระจาย (ภาพที่ 9)

(นางสาวกมลลักษณ วงษโก) นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ


รูปที่ 1 ลักษณะของชั้นหินในแหลงสํารวจประกอบดวยหินโคลน หินทรายแปง สลับชั้น calcrete

รูปที่ 2 ลักษณะหินทรายแปง สีน้ําตาลแกมแดง ที่พบในแหลงสํารวจ


รูปที่ 3 ลักษณะตัวอยางฟนที่พบในแหลงสํารวจ คลาดเปนฟนของไดโนเสารสยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส

รูปที่ 4 ลักษณะของไดโนเสารกลุมไทรันโนซอริดส อาจอยูในกลุมสยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส


รูปที่ 5 ลักษณะฟนของไดโนเสารกลุมสไปโนซอริด คลาดวาเปนไดโนเสารสยามโมซอรัส สุธีธรนิ ที่มีลักษณะเปน รูปทรงกรวย ปลายแหลม มีแนวรอง

รูปที่ 6 ลักษณะของไดโนเสารกลุมสไปโนซอริดส อาจอยูในกลุมสยามโมซอรัส สุธีธรนิ


รูปที่ 7 ลักษณะกระดูกสวนกระดูกไหปลารา (scapula) ของไดโนเสารกลุมซอโรพอด คลาดวานาจะเปนไดโนเสารภู เวียงโกซอรัส สิรินธรเน เนื่องจากพบในชั้นหินหมวดหินเสาขัว

รูปที่ 8 ลักษณะของไดโนเสารกลุมซอโรพอด คลาดวาเปนไดโนเสารภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน


รูปที่ 9 ตัวอยางซากดึกดําบรรพในบริเวณดอยอางกุงและผาเจื่อน อุทยานแหงชาติภูผายล อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบการกระจายตัวตามพื้นผิวไมหนาแนน






ขอเสนอแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่


ขอเสนอแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่ (แหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร) หลักการและเหตุผล กระบวนการทางธรณีวิทยาไดสรางสรรธรรมชาติที่สวยงาม ทําใหมีลักษณะพื้นที่มีความหลากหลาย และมีภูมิประเทศที่สวยงามแปลกตา ซึ่งมีคุณคาตอการศึกษาวิจัยทางธรณีวิทยา ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร นอกจากนั้นบางพื้นที่ยังมีทัศนียภาพสวยงาม มีศักยภาพในการเปนแหลงธรรมชาติเพื่อการพักผอนหยอนใจ เปนแหลงตนแบบสําหรับการเรียนรู เชน น้ําตก ถ้ํา ภูเขาที่มีรูปทรงแปลกตา เปนตน นอกจากนี้กระบวนการ ทางธรณีวิทยายังทําใหเกิดการสะสมตัวของสิ่งมีชีวิตในอดีต กลายเปนซากดึกดําบรรพใหมนุษยไดศึกษาเรียนรู ถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตตัง้ แตอดีตมาจนถึงยุคปจจุบันพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร มีสถานที่ทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงประวัติศาสตรหลายแหง เชน จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ถ้ําผาเก ถ้ําอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียงจุดชมวิวผาเจื่อน น้ําตกศรีตาดโตน พระธาตุดอยอางกุง ภูผานอย ภาพเขียน กอนประวัติศาสตร อางแกว และผางาม เปนตน นอกจากนี้ยังพบซากฟอสซิลของไดโนเสาร ฟนจระเข และกระดอง เตาอีกดวย ดวยความหลากหลายของแหลงและสามารถเชื่อมโยงระหวางแหลงได จึงนับวาเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพใน การพัฒนาแหลงทองเทีย่ วและสนับสนุนการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนในทองถิ่นแหลงซากดึกดํา บรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ จึงสมควรพัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาของจังหวัดสกลนครควบคูไปกับการ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงประวัติศาสตรซึ่งมีอยูหลายแหงในพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ เพื่อสงเสริมและ ประชาสัมพันธการทองเที่ยวของตําบลเหลาโพนคอใหเปนที่รูจักของชาวสกลนครและเปนที่รูจักของประชาชนทั่วไป

วิสัยทัศน แหลงซากดึกดําบรรพไดรับการอนุรักษและถูกพัฒนาเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาของจังหวัด สกลนครและเปนที่รูจักของนักทองเที่ยว โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

พันธกิจ 1. จัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคออยางยั่งยืน โดย คํานึงถึงความสมดุลดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม 2. สรางเครือขายอนุรักษซากดึกดําบรรพจังหวัดสกลนคร เพื่อทําหนาที่ดําเนินการเปนผูเผยแพร องคความรูซากดึกดําบรรพ อนุรักษ ทํานุบํารุง และปลูกจิตสํานึกการอนุรักษแหลงซากดึกดําบรรพ 3. เสริมสรางองคความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบพื้นที่ เครือขายอนุรักษซากดึกดําบรรพจังหวัดสกลนคร และบุคลากรการศึกษา 4. ประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอใหเปนที่รูจักในฐานะแหลง เรียนรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพและแหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยาที่สําคัญของจังหวัดสกลนคร 5. สงเสริมใหมีการศึกษาวิจัยเพิม่ เติม เพื่อเพิ่มความองคความรูและจุดสนใจของแหลงเรียนรู ซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ


ความเชื่อมโยงกับนโยบายตาง ๆ 1. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 85 กําหนดใหรัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบาย ดานทีด่ ิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดย (1) กําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุม ทั่วประเทศ โดยใหคํานึงความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุมชน ทองถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและกําหนดมาตรฐานการใชที่ดินอยาง ยั่งยืน โดยตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้น มีสวนรวมในการตัดสินใจ ดวย (3) จัดใหมีการวางผังเมืองพัฒนาและดําเนินการตามผังเมืองอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อ ประโยชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และ (4) จัดใหมีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรธรรมชาติอื่นอยางเปนระบบและเกิดประโยชนตอสวนรวม ทั้งตองใหประชาชนมีสวนรวมใน การสงวนบํารุงรักษาและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรการพัฒนากลุม จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 คือ ประเด็นยุทธศาสตร ที่ 2 การพัฒนาการทองเที่ยว โดยมีเปาประสงคที่เกี่ยวของ คือ การสงเสริมและพัฒนากิจกรรมแหลงเรียนรู สงเสริมการบริหารจัดการการทองเที่ยวใหมีประสิทธิภาพ การรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อสงเสริมการ ทองเที่ยวธรรมชาติอยางยั่งยืน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการทองเที่ยว 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดสกลนคร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรการคา การลงทุน และการทองเที่ยว และยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่สมดุลและ ยั่งยืน 4. แผนพัฒนาสามป (ป พ.ศ. 2556-2558) ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ในประเด็นยุทธศาสตรที่ 8 ยุทธศาสตรดานการศาสนา วัฒนธรรม นันทนาการ และการทองเที่ยว แนวทางการพัฒนาที่ 8.3 แนวทางการพัฒนางานวิชาการ วางแผนเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ประชาสัมพันธการทองเที่ยว อนุรักษแหลงทองเที่ยว

ประเด็นยุทธศาสตรการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ 1. การจัดทําแผนการบริหารจัดการแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ 2. การจัดทําแผนการประชาสัมพันธแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ 3. การสรางกระบวนการมีสวนรวมและเครือขายอนุรักษซากดึกดําบรรพของภาคประชาชน 4. การบริหารจัดการดานองคความรูองคความรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ วิธีการอนุรักษ และ ปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ 5. การศึกษาวิจัยตอเนื่องในพื้นที่


นายพิทักษ บริพิศ นายอําเภอโคกศรีสุพรรณ นําซากฟอสซิลที่พบบริเวณภูยางอึ่งไปตรวจสอบ ณ พิพิธภัณฑสิรินธรภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓

ตัวอยางซากฟอสซิลที่คนพบและนําไปตรวจสอบ


ปายประกาศเขตคุมครองซากดึกดําบรรพหามขุดคน เคลื่อนยาย ทําลายซากดึกดําบรรพ โดยจัดทําตาม คําแนะนําของ ดร.อัสนี มีสุข ผูอํานวยการสํานักคุมครองซากดึกดําบรรพ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕

โนนหนองสิม สถานที่ที่พบซากฟอสซิลไดโนเสารมากที่สุดอยูในหมวดหินเสาขัว (พิกัดที่ ๐๔๒๕๖๑๔ ตะวันออก /๑๘๗๓๔๑๔ เหนือ)


นายมีชัย อุนวิเศษ ปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอนําคณะสํารวจจากกรมทรัพยากรธรณีและ เจาหนาที่จากอุทยานแหงชาติภูผายล รวมสํารวจและขุดคนสถานที่พบซากฟอสซิลไดโนเสารเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕

การสํารวจและขุดคนซากฟอสซิลไดโนเสารบริเวณโนนหนองสิมเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕


นายมีชัย อุนวิเศษ ปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ รวมกับเจาหนาที่ ไดนําซากฟอสซิล ไดโนเสารที่เก็บรักษาไวมาใหผูเชี่ยวชาญจากกรมทรัพยากรธรณีตรวจสอบ

การประชุมรวมกับสํานักนโยบายและแผนกรมทรัพยากรธรณี เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๕ ณ หอประชุม องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพื้นที่ และ โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูซากดึกดําบรรพไดโนเสารเหลาโพนคอ


โครงการเสริมสรางศักยภาพชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการฝกอบรมอาสาสมัครนําเที่ยวเชิงนิเวศตําบลเหลาโพนคอเพื่อเตรียมความพรอมในการตอนรับ ทองเที่ยวในอนาคต


โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการบานพักโฮมสเตย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.