รายงานฝึกงาน

Page 1

รายงานฝึ กงานกระบวนการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบบัญชีเจ้ าหนีเ้ งินกู้ยมื ธนาคาร กรณีศึกษา บริษัท เอ็กแซมเปิ ล จิวเวลรี่ จากัด

โดย นางสาวกวิสรา พร้ อมมูล

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2555


รายงานฝึ กงานกระบวนการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบบัญชีเจ้ าหนีเ้ งินกู้ยมื ธนาคาร กรณีศึกษา บริษัท เอ็กแซมเปิ ล จิวเวลรี่ จากัด

โดย นางสาวกวิสรา พร้อมมูล

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2555



บช.1

ชื่อ ....กวิสรา..........................นามสกุล........พร้อมมูล..............................ชื่อเล่น.......มุก......... E-mail …Choi_jinju@hotmail.com……....... โทรศัพท์.....087-7407703................................ สถานที่ประกอบการ.......บริษทั ทูที ออดิท จากัด................................................................... ตาแหน่งงาน 1......ตรวจสอบบัญชี.................................................................................................... 2..................................................................................................................................... ข้อคิดหรือข้อแนะนาสาหรับน้องๆ .......พี่ๆสอนงานเก่ง ใจดีและคอยช่วยเหลือดูแลตลอด ให้งานทาเยอะมากๆ เหนื่อยมากๆ แต่สนุกดี ได้ความรูเ้ ยอะ และได้ประสบการณ์ใหม่ๆมากมาย................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ  ไม่ เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ



-1-

กิตติกรรมประกาศ การเข้าฝึ กงานในสถานประกอบการจริ งของหลักสู ตรบัญชี บริ หาร เพื่อให้นิสิตได้รับ ความรู ้และประสบการณ์ก่อนที่จะเข้าทางานจริ ง และจากการศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงานในครั้งนี้ ยังเป็ น การเสริ มสร้างความรู ้ใหม่นอกเหนือจากตาราที่ได้เรี ยนรู ้ในห้องเรี ยน อีกทั้งยังช่วยฝึ กฝนให้ขา้ พเจ้า มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จึงถือได้ว่า การฝึ กงานในครั้งนี้ ได้ให้ประโยชน์แก่ ข้าพเจ้าเป็ นอย่างมาก จากการศึ ก ษาและการฝึ กปฏิ บ ัติ ง านจริ งท าให้ ท ราบถึ ง ขึ้ น ตอนการปฏิ บ ัติ ง านการ ตรวจสอบบัญชี ตั้งแต่การตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆจนถึงการจัดทางบการเงิน นอกจากนี้ยงั ได้เรี ยนรู ้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆในการทางานและหาวิธีการแก้ไขปั ญหา ทั้งนี้ เอกสารทางบัญชี เป็ นสิ่ งสาคัญอย่างมากในการตรวจสอบบัญชี ทาให้ผจู ้ ดั ทาเห็นถึงความสาคัญของการศึกษาบัญชี เจ้าหนี้ เงินกูย้ ืมธนาคาร ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลเว็บไซต์กรมพัฒนาธุ รกิจการค้า และบริ ษทั ทูที ออดิ ท จากัด ที่ทาให้ผูจ้ ดั ทาสามารถนาข้อมูลมาใช้ประกอบการจัดทารายงานจนสาเร็ จลุล่วงได้ ด้วยดี รายงานเล่มนี้สาเร็ จได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณครอบครัวที่ให้การสนับสนุนในเรื่ องของการศึกษา อาจารย์ทุกท่านที่ประสิ ทธิ ประสาทวิชา พี่ๆบริ ษทั ทูที ออดิท จากัด ที่ดูแลการฝึ กงาน ให้ความรู ้ และประสบการณ์ ใหม่ๆ และขอขอบคุ ณอาจารย์ประจาสาขาการบัญชี บริ หารทุกท่าน ที่ ได้ใ ห้ ความรู ้ คาแนะนาและการอบรมสั่งสอนในเรื่ องความซื่ อสัตย์สุจริ ตที่มีความสาคัญอย่างมากใน วิชาชีพบัญชี จนกระทัง่ รายงานเล่มนี้สาเร็ จ

ผูจ้ ดั ทา พฤษภาคม


-2-

คานา รายงานการฝึ กงานเล่มนี้ จัดทาขึ้นจากการศึกษาและรวบรวมประสบการณ์การเรี ยนรู ้จาก การฝึ ก ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ตลอดช่วงระยะเวลาวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยวัตถุประสงค์ในการจัดทารายงานเล่มนี้เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพใน การเรี ยนรู ้เพิ่มเติมที่นอกเหนื อจากการเรี ยนรู ้ในห้องเรี ยน และใช้เป็ นแนวทางสาหรั บผูท้ ี่สนใจ ต้องการศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ซึ่ งรายงานเล่มนี้ จดั ทาโดยการเรี ยบเรี ยงความรู ้ต่างๆที่ ได้รับจากการฝึ กปฏิ บตั ิงานจริ ง ทั้งนี้ ทางผูจ้ ดั ทาได้ต้ งั ชื่ อสมมุติของบริ ษทั ในกรณี ศึกษาขึ้นมา เนื่ องจากไม่สามารถเปิ ดเผยชื่ อบริ ษทั ที่ ได้ไปทาการศึกษาปฏิบตั ิงานจริ งได้ โดยในเนื้ อหาของ รายงานฝึ กงานเล่มนี้จะกล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน ความสาคัญของการฝึ กงาน ประโยชน์ ที่ได้รับจากการฝึ กงานประวัติการบริ หารและการดาเนิ นงานของหน่ วยงานบริ ษทั สอบบัญชี ที่ได้ ทาการศึกษา ทฤษฎีความรู ้เกี่ยวกับการกูย้ ืมเงินจากธนาคาร อีกทั้งกรณี ศึกษาการตรวจสอบบัญชี เจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร ทั้งนี้ ผจู ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า รายงานการฝึ กงานเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่ตอ้ งการ ศึ ก ษาและมี ค วามสนใจทางด้า นการตรวจสอบบัญ ชี และสามารถน าไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการ ปฏิบตั ิงานเพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพต่อไปได้ไม่มากก็นอ้ ย จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย ผูจ้ ดั ทา นางสาวกวิสรา พร้อมมูล พฤษภาคม 2555


-3-

สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ

(1)

คานา

(2)

สารบัญ

(3)

สารบัญตาราง

(7)

สารบัญแผนภูมิ

(8)

สารบัญภาพ

(9)

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาการฝึ กงาน

1 1 2

บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษทั ทูที ออดิท จากัด สถานที่ต้ งั ประวัติ บริ ษทั ทูที ออดิท จากัด ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ทูที ออดิท จากัด กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ฯ งานที่ได้รับมอบหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กงาน ข้อเสนอแนะ ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่รายงานการศึกษา

3 4 8 8 9 11 11 11


-4-

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 เจ้ าหนีเ้ งินกู้ยมื ธนาคารและสั ญญาเช่ า วัตถุประสงค์ของการศึกษา

11

เจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร

11

ข้อค้นพบจากการปฏิบตั ิการงานจริ งเกี่ยวกับ

14

วิธีการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคารและการ

14

แสดงข้อมูลในงบการเงิน ผลที่ได้รับจากการปฏิบตั ิจริ ง

28

สรุ ป

28

ข้อเสนอแนะ

29

บรรณานุกรม

30


-5-

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552)


-6-

สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 1

งานที่ได้รับมอบหมาย

10


-7-

สารบัญแผนภูมิ หน้ า แผนภูมิที่ 1

แผนผังองค์กร

6


-8-

สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

1

ป้ ายหน้าสานักงาน

3

2

ด้านหน้าของสานักงาน

4

3

ตัวอย่างใบสาคัญจ่ายที่เกี่ยวกับเงินกูย้ มื ธนาคาร

15

4

ตัวอย่างบัญชีแยกประเภทบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคาร

16

5

ตัวอย่างใบเสร็ จรับเงิน-ใบแจ้งหักบัญชีจากธนาคาร ณ เดือนธันวาคม

17

6

ตัวอย่างหนังสื อสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกัน

18

7

ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 1

19

8

ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 2

20

9

ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 3

21

10 ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 4

22

11 ตัวอย่างงบทดลองบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคารที่แสดงยอดยกไป

23

12 ตัวอย่างตารางคานวณหนี้สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี

24

13 ตัวอย่างการแสดงรายการบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคารในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

26

14 ตัวอย่างการแสดงรายการในงบการเงิน

27


บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของกำรฝึ กงำน การดาเนินธุรกิจในปั จจุบนั นี้ ไม่ว่าจะผูบ้ ริ หาร ผูล้ งทุน หรื อแม้แต่ผปู ้ ระกอบธุรกิจ ต่างก็มี ภาระหน้าที่ในการบริ หารจัดการองค์กรของตน เพื่อให้องค์กรได้ผลประกอบการที่น่าพอใจ และ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายขององค์กร ดังนั้นข้อมูลทางบัญชีจึงได้มีความสาคัญต่อธุ รกิจเป็ นอย่างมาก เพราะการจัดทาบัญชี จะเป็ นสิ่ งที่ช่วยชี้วดั ความสาเร็ จในการดาเนินธุรกิจ เพราะจะทาให้กิจการ ได้ ทราบถึงผลการดาเนินงาน ฐานะทางการเงิ น และความมัน่ คงของธุรกิจ ทั้งยังเป็ นประโยชน์ในการ วางแผนและการตัดสิ นใจให้กบั ผูบ้ ริ หาร ซึ่ งประเมินได้จากข้อมูลจากเหตุการณ์ในอดีต อาจจะอยู่ ในรู ปของรายงานวิเคราะห์ ผลการดาเนิ นงาน ช่วยให้ผบู ้ ริ หารงานสามารถดาเนิ นการตัดสิ นใจได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการพยากรณ์เหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตได้อย่างมีความ น่ าเชื่ อมัน่ สู ง และการที่องค์กรมีระบบการบัญชี ที่ดี จะช่วยให้กิจการมีระบบการควบคุมภายในดี สามารถป้ องกันการทุจริ ตที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ดังนั้นการจัดทาบัญชีอย่างถูกต้อง จึงถือได้ว่าเป็ นเรื่ อง สาคัญอย่างมากสาหรับธุรกิจในปั จจุบนั และการตรวจสอบบัญชีก็เป็ นอีกหนึ่งสิ่ งที่สาคัญที่ควรให้ ความสาคัญ การตรวจสอบบัญชีที่มีประสิ ทธิ ภาพ จะสามารถให้ความเชื่ อมัน่ แก่ผใู ้ ช้ขอ้ มูลในงบ การเงินได้อย่างดี วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาถึงโครงสร้างการบริ หารงานของบริ ษทั 2. เพื่อศึกษาถึงขั้นตอนและกระบวนการตรวจสอบบัญชี จนกระทัง่ การออกงบการเงิน 3. เพื่อศึกษาระบบการทางานของบริ ษทั 4. เพื่อศึกษาการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายตรวจสอบบัญชี


2

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจำกกำรศึกษำ 1. ทาให้ทราบถึงรายละเอียดโครงสร้างการบริ หารงานของบริ ษทั 2. ทาให้ทราบถึงขั้นตอนและกระบวนการตรวจสอบบัญชี และการออกงบการเงิน 3. ทาให้ทราบถึงระบบการทางานของบริ ษทั 4. ทาให้ทราบถึงกระบวนการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายตรวจสอบบัญชี


บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษทั ทูที ออดิท จากัด สถานที่ต้งั บริ ษทั ทูที ออดิท จำกัด ตั้งอยูท่ ี่ 503 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบำงอ้อ เขตบำงพลัด กรุ งเทพมหำนคร 10700

ภาพที่ 1 ป้ ำยหน้ำสำนักงำน


4

ภาพที่ 2 ด้ำนหน้ำของสำนักงำน

ประวัติ บริษัท ทูที ออดิท จากัด บริ ษทั ทูที ออดิ ท จำกัด เดิมมีชื่อว่ำ บริ ษทั เคพีเจ ออดิท จำกัด และมีกำรได้จดทะเบียน เปลี่ยนชื่ อเป็ น บริ ษทั ทูที ออดิท จำกัด เมื่อวันที่ 30 เมษำยน 2551 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บำท ประกอบกิจกำรให้บริ กำรตรวจสอบบัญชี ดูแลโดยผูเ้ ชี่ยวชำญทำงด้ำนกำรตรวจสอบบัญชีที่มี ประสบกำรณ์ และควำมรู ้อย่ำงแท้จริ ง ดำเนิ นงำนด้วยควำมรับผิดชอบเอำใจใส่ ในงำนของลูกค้ำ และถือจรรยำบรรณของวิชำชีพ โดยมีผสู ้ อบบัญชีดงั รำยนำมต่อไปนี้ 1. นำยไพโรจน์

คลังสิ น

เลขทะเบียน 1064

2. นำยวิฑูร

ภูมิเพ็ง

เลขทะเบียน 5186

3. นำยธนวัฒน์

เอกอรัญพงศ์

เลขทะเบียน 5465

4. นำยประเดิมศักดิ์ ใจเพ็ชร์

เลขทะเบียน 5496


5

5. นำยรัฐภูมิ

นันทปถวี

6. นำงสำวณัฐฐิณี รอดย้อย

เลขทะเบียน 5789 เลขทะเบียน 7197

เริ่มดาเนินการ : วันที่ 29 กรกฎำคม 2548 ทะเบียนเลขที่ : 0105548098224 วันทีจ่ ดทะเบียน : 29 กรกฎำคม 2548 ที่ต้งั : 503 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบำงอ้อ เขตบำงพลัด กรุ งเทพมหำนคร 10700 วันทาการ : วันจันทร์ – ศุกร์ เวลาทาการ : 8.30 -17.00 น. โทรศัพท์ : 0-2885-4454 โทรสาร : 0-2885-5996 E-Mail : ttaudit@yahoo.com


6

ผังการจัดองค์การและการบริหารจัดการ

คณะกรรมการ

กรรมการผู้จัดการ

การบัญชีและ

หัวหน้ าฝ่ าย

การเงิน

ตรวจสอบบัญชี

เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ าย

เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ าย

เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ าย

ตรวจสอบบัญชี 3

ตรวจสอบบัญชี 1

ตรวจสอบบัญชี 2

แผนภูมิที่ 1 แผนผังองค์กร

บริหารทั่วไป


7

คณะกรรมการ กำหนดนโยบำย กำรวำงแผน กำรจัดองค์กำร กำรควบคุม กำรทำกำรตัดสิ นใจ กำรทำ ควำมเข้ำใจกับเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กำร และกำรออกแบบองค์กำรให้เหมำะสมกับ กำรเปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อม กรรมการผู้จัดการ ดูแลควบคุมกำรบริ หำรงำนต่ำงๆภำยในองค์กำร ให้บรรลุตำมวัตถุประสงค์ของบริ ษทั ผู้จัดการฝ่ ายตรวจสอบบัญชี ทำกำรตรวจสอบบัญชีให้กบั ลูกค้ำ และเป็ นผูต้ ิดต่อประสำนงำนกับผูส้ อบบัญชีรับอนุญำต (Certified Public Accountant) บริหารทั่วไป ควบคุมกำรจัดสรรบุคลำกรที่มีประสิ ทธิภำพเข้ำมำ รวมถึงบริ กำรจัดส่ งเอกสำรให้กบั ลูกค้ำ การบัญชีและการเงิน ออกใบเสร็ จรับเงิน ติดตำมทวงชำระหนี้ นำเงินฝำกเข้ำธนำคำร เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายตรวจสอบบัญชี 1 , 2 , 3 ทำกำรตรวจสอบบัญชี


8

ผลิตภัณฑ์ ของบริษัท ทูที ออดิท จากัด บริ กำรหลักขององค์กร คือ ให้บริ กำรตรวจสอบบัญชี ให้กบั ธุ รกิ จต่ำงๆ

และมีกำร

ให้บริ กำรอื่นๆ โดยกำรจัดฝึ กอบรม Continuing Professional Development (CPD) หรื อกำรพัฒนำ วิชำชีพอย่ำงต่อเนื่อง

กลุ่มลูกค้ าของบริษัท ทูที ออดิท จากัด กลุ่มลูกค้ำของบริ ษทั นั้น บริ ษทั เปิ ดกว้ำงในด้ำนกำรรั บงำนจำกลูกค้ำทุกประเภท เช่ น กิ จกำรประเภทซื้ อมำขำยไป รับเหมำก่ อสร้ ำง รับจ้ำงทำของ ค้ำอสังหำริ มทรั พย์ นำเข้ำ-ส่ งออก สิ นค้ำ เป็ นต้น


9

งานที่ได้ รับมอบหมาย ลาดับ

การฝึ กปฏิบัติ

ที่ 1

คาอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน

หมายเหตุ คุณประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ หรือสิ่ ง ทีไ่ ด้ เรียนรู้เพิม่ เติมจากการศึกษาในชั้นเรียน

ตรวจสอบบัญชีจำกในกระดำษ

ตรวจสอบบัญชีในกระดำษทำกำรทุกรำยกำร โดยตรวจสอบรำยกำรแยกประเภท ได้เห็นเอกสำรจริ งและได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง

ทำกำร

กับเอกสำรทำงบัญชี รวมทั้งสุ่ มตรวจรำยได้และค่ำใช้จ่ำยบำงรำยกำรที่มี

ได้ควำมรู ้เกี่ยวกับสัญญำเช่ำซื้อรถยนต์มำก

สำระสำคัญ

ขึ้น

2

รำยกำรปรับปรุ ง

บันทึกรำยกำรปรับปรุ งเพิ่มเติม เมื่อมีกำรบันทึกบัญชีที่ผดิ พลำด

เข้ำใจกำรทำรำยกำรปรับปรุ งมำกขึ้น

3

คำนวณภำษีเงินได้นิติบุคคล

คำนวณภำษีเงินได้นิติบุคคลสิ้ นปี 2554

เข้ำใจเกี่ยวกับรำยกำรบวกกลับต่ำงๆ รวมถึง ค่ำรับรองมำกขึ้น

4

5

กำรจัดทำงบกำรเงินหลังกำร

จัดทำงบกำรเงิน หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน หน้ำรำยงำนผูต้ รวจสอบบัญชี เพื่อ ได้ลงมือปฏิบตั ิจริ งในกำรจัดทำงบกำรเงิน

ตรวจสอบบัญชี

ส่ งให้กรมสรรพำกร

แบบแจ้ง ภ.ง.ด. 50 , บอจ.5 และ กรอกข้อมูลลงในแบบแจ้ง ภ.ง.ด. 50 (หน้ำ 8) บอจ.5 และสบช.3 สบช.3

และทรำบถึงรู ปแบบงบกำรเงิน ได้ลงมือปฏิบตั ิจริ งในกำรกรอกข้อมูล


10

ลาดับ ที่

การฝึ กปฏิบัติ

คาอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน

หมายเหตุ คุณประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ หรือสิ่ ง ทีไ่ ด้ เรียนรู้เพิม่ เติมจากการศึกษาในชั้นเรียน

6

จัดทำใบรับรองผูส้ อบบัญชี

จัดทำใบรับรองงบกำรเงินให้กบั ผูส้ อบบัญชี

ทรำบถึงวิธีกำรจัดทำใบรับรองงบกำรเงิน

7

จัดทำใบแจ้งหนี้

จัดทำใบแจ้งหนี้ค่ำสอบบัญชี รวมถึงใบเสร็ จรับเงิน

ทรำบถึงวิธีกำรจัดทำใบแจ้งหนี้ค่ำสอบบัญชี และใบเสร็ จรับเงิน

8

กำรจัดเรี ยงเอกสำร

จัดเรี ยงเอกสำรต่ำงๆเข้ำแฟ้ มให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย

เรี ยนรู ้กระบวนกำรจัดเก็บและเรี ยบเรี ยง เอกสำรอย่ำงเป็ นระเบียบ

9

กระทบยอดเงินฝำกธนำคำร

ตรวจสอบหำรำยกำรเงินฝำกธนำคำรที่ยงั ไม่ได้บนั ทึกบัญชีและทำกำรกระทบ

ดูรำยกำรฝำก/ถอนใน Bank Statement และ

ยอด

ฝึ กกำรกระทบยอดเงินฝำกธนำคำร

ตารางที่ 1 งำนที่ได้รับมอบหมำย


11

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการฝึ กงาน 1.ได้รับควำมรู ้เพิ่มเติมจำกกำรฝึ กงำน ที่นอกเหนือจำกกำรศึกษำในชั้นเรี ยน 2.ได้เห็นเอกสำรทำงบัญชีที่ใช้จริ งในทำงธุรกิจ 3.ได้ลงมื อปฏิ บตั ิ จ ริ ง ในเรื่ องของกำรตรวจสอบบัญชี กำรจัดทำงบกำรเงิ น กำรกรอก ภ.ง.ด.50 และอื่นๆในกระบวนกำรตรวจสอบบัญชี 4.ทรำบถึงระบบกำรทำงำนของฝ่ ำยตรวจสอบบัญชี 5.ทรำบถึงวัฒนธรรมขององค์กรที่ได้เข้ำไปฝึ กงำน ควำมมีน้ ำใจและกำรช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน

ข้ อเสนอแนะ 1.ควรรับพนักงำนใหม่เพิ่ม เพรำะมีจำนวนคนในฝ่ ำยตรวจสอบบัญชีนอ้ ยเกินไป 2. ควรจับเก็บเอกสำรเพื่อง่ำยต่อกำรใช้สอยให้ยงิ่ มำกขึ้น 3.อุปกรณ์สำนักงำนมีประสิ ทธิภำพต่ำ ควรนำมำเปลี่ยนใหม่

ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา จำกกำรที่ได้รับมอบหมำยในกำรทำหน้ำที่ตรวจสอบบัญชี กำรกูย้ มื เงินธนำคำรเพื่อกำรนั้น มีควำมสำคัญอย่ำงมำก ซึ่งไม่เพียงแค่กลุ่มทำงธุรกิจ แต่ยงั รวมถึงบุคคลทัว่ ไปที่กยู้ มื เงินจำกธนำคำร เพื่อนำมำซื้ อทรัพย์สินต่ำงๆ และโดยเฉพำะกับโลกธุ รกิจนั้นยิ่งมีควำมจำเป็ นและแพร่ หลำยอย่ำง มำก ทำให้ฝ่ำยตรวจสอบต้องให้ควำมสำคัญกับเจ้ำหนี้ เงินกูย้ ืมธนำคำรอย่ำงมำก เพรำะต้องมีกำร คำนวณยอดชำระในแต่ละงวด ดังนั้นจึงมีควำมน่ำสนใจอย่ำงมำกที่จะทำกำรศึกษำ เพื่อให้ทรำบถึง วิธีกำรตรวจสอบในแต่ละขั้นตอน รวมถึงหลักฐำนที่ใช้ในกำรอ้ำงอิงกำรตรวจสอบต่ำงๆ


บทที่ 3 เจ้ าหนีเ้ งินกู้ยมื ธนาคารและสั ญญาเช่ า วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.เพื่อให้ทราบถึงความหมายของเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร 2.เพื่อให้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร 3.เพื่อให้ทราบถึงเอกสารประกอบการตรวจสอบเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร เจ้ าหนีเ้ งินกู้ยมื ธนาคาร เจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร ถือเป็ นหนี้สินของบริ ษทั เป็ นเงินจานวนหนึ่ งที่กยู้ มื มา อาจเพื่อซื้ อ สิ นทรัพย์ใดๆเข้ามา ซึ่งต้องทาการชาระในปี นั้นๆ การมีหนี้ สินในระยะที่ครบกาหนดเป็ นช่วงเวลา ยาวๆจะไม่ส่งผลดีต่อการดาเนิ นธุรกิจ เพราะจะมีรายจ่ายที่ตอ้ งชาระเป็ นจานวนมากในเร็ ววันและ อาจทาให้เกิดปัญหากระแสเงินสดได้ การกูย้ มื เงินจากธนาคารพาณิ ชย์จะแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1. การให้กดู้ ว้ ยวิธีการเบิกเกินบัญชี หรื อการเบิกเงินโอดี (Overdraft Overdaw O/D) เมื่อลูกค้าได้ทาการติดต่อธนาคารเพื่อเปิ ดวงเงินกูเ้ บิกเกินบัญชี ธนาคารจะพิจารณา ปั จ จัย หลายๆ ด้า น เช่ น คุ ณ สมบัติ ข องลู ก ค้า หลัก ทรั พ ย์ค้ า ประกัน ความจ าเป็ นและ วัตถุประสงค์ของการกูย้ มื และหลังจากนั้นจะเริ่ มทาข้อตกลงกาหนดจานวนเงินสู งสุ ดที่จะ กู้ หากเมื่อลูกค้าต้องการใช้เงินกูโ้ อดี ก็สามารถทาการเบิกเงินโดยใช้เช็คผ่านบัญชีกระแส รายวัน ซึ่งเบิกได้หลายๆครั้ง โดยต้องไม่เกินวงเงินที่กาหนดไว้ (Line of Credit) ธนาคาร จะท าการคิ ด ดอกเบี้ ย จากเงิ น ต้น นับแต่ ว นั ที่ ลู ก ค้าเบิ ก เกิ น บัญชี ไ ปเท่ า นั้น ซึ่ ง เงิ น กู้ยืม ประเภทนี้จะไม่มีกาหนดเวลาชาระคืนที่แน่นอน และจานวนเงินที่ลูกค้านาฝากกับธนาคาร อาจจะมากกว่า น้อยกว่า หรื อเท่ากับจานวนเงินที่เบิกใช้กไ็ ด้


12

2. การให้กยู้ มื แบบที่มีระยะเวลา (Loans) หมายถึง การที่ธนาคารให้ลูกค้าสามารถ กูย้ ืมเงินจานวนหนึ่ งซึ่ งมีกาหนดเวลาชาระคืนที่แน่ นอน โดยอาจจะชาระคืนแค่ครั้งเดียว เต็มจานวน หรื อจะผ่อนชาระเป็ นงวดๆ ทางธนาคารจะทาการคิดดอกเบี้ยตามอัตราที่ได้ตก ลงกันไว้ ซึ่งการกูย้ มื ในลักษณะนี้ จะมีท้ งั ชนิ ดที่ตอ้ งมีหลักทรัพย์ค้ าประกัน และชนิดที่ไม่ มีหลักทรั พย์ค้ าประกัน ซึ่ งหลักทรั พย์ที่นิยมนามาใช้ค้ าประกันเงิ นกู้ยืม ซึ่ งได้แก่ ที่ดิน อาคาร สิ่ งก่อสร้าง หรื ออาจใช้เงินฝากในบัญชี ทัว่ ไปธนาคารจะอนุมตั ิวงเงินกูไ้ ด้ไม่เกิน ร้อยละ 80 ของราคาประเมินทรัพย์สินนั้น 3. การซื้อลดเช็ค ตัว๋ เงิน และการซื้อลดเครื่ องมือทางเครดิต เป็ นการให้กยู้ มื ระยะ สั้นชนิดหนึ่ง โดยปกติตวั๋ หรื อเช็คที่ขายให้กบั ธนาคารพาณิ ชย์จะมีอายุไม่เกิน 90 วัน เมื่อผู ้ กูน้ าไปขายลดกับธนาคาร และธนาคารได้หักดอกเบี้ยที่เป็ นส่ วนลดออกแล้ว ผูข้ อกูจ้ ะ สามารถรับเงินสุ ทธิ ที่ได้หลังหักส่ วนลดไปทันที โดยในการคิดส่ วนลดจะขึ้นอยูก่ บั วงเงิน ที่ลูกค้ากูย้ ืมไป จานวนวันที่ ได้มีการกูย้ ืมเงิ น และอัตราส่ วนลด ซึ่ งจะสามารถกูภ้ ายใน วงเงินที่ธนาคารได้กาหนดไว้ตามความจาเป็ นของผูก้ ู้ และเมื่อเช็คหรื อตัว๋ ใบใดที่มีการครบ กาหนด ธนาคารจะเรี ยกเก็บเงินจากผูจ้ ่ายหรื อผูส้ ลักหลัง ซึ่งถ้าไม่สามารถเรี ยกเก็บเงินได้ ผูข้ อกูจ้ ะเป็ นผูร้ ับผิดชอบจานวนหนี้ดงั กล่าว สั ญญาเช่ าซื้อ สัญญาเช่ า คื อ สัญญาซึ่ ง เจ้าของทรั พ ย์สิน เรี ย กว่า "ผูใ้ ห้เ ช่ าซื้ อ " เอาทรั พ ย์สิน ออกให้ เช่า และให้คามัน่ ว่า จะขายทรัพย์สินนั้น ตกเป็ นสิ ทธิแก่ผเู ้ ช่าซื้อ โดยมีเงื่อนไขว่า เมื่อผูเ้ ช่าซื้อได้ ชาระราคาเป็ นจานวนเงินครบตามจานวนครั้งที่กาหนด ไว้ในสัญญา สรุ ป สัญญาเช่าซื้อมีลกั ษณะสาคัญดังนี้ 1. ผูใ้ ห้เช่าซื้อ เอาทรัพย์สินออกให้เช่า เพื่อให้บุคคลอื่นเช่าไปเพื่อใช้หรื อได้รับประโยชน์ จากทรัพย์สินที่เช่านั้น (สังเกต* มีสญ ั ญาเช่าทรัพย์ปนอยูด่ ว้ ย) 2. ผูใ้ ห้เช่าซื้อให้คามัน่ ว่า จะขายทรัพย์สินนั้นแก่ผเู ้ ช่าซื้อ ตกเป็ นสิ ทธิแก่ผเู ้ ช่าซื้อผูเ้ ช่าซื้อ ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญาครบถ้วน


13

เงื่อนไขของสั ญญาเช่ าซื้อ คือการชาระราคาเป็ นจานวนเงิน ตามจานวนครั้งที่กาหนดไว้ในสัญญา เช่นทาสัญญาซื้ อ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ครบชุดเป็ นเงิน 24,000บาท กาหนดชาระ 12 เดือน ชาระงวดละ 2,400 บาท หากผูเ้ ช่าซื้อชาระเงินทุกงวดจนครบ 12 เดือน ผูเ้ ช่าซื้อก็ได้กรรมสิ ทธิ์เช่าซื้อไป แบบของสั ญญาเช่ าซื้อ กฎหมายก าหนดแบบของสั ญ ญาเช่ า ซื้ อ ไว้ คื อ ต้อ งท าเป็ นหนั ง สื อ ทั้ง การเช่ า ซื้ อ อสังหาริ มทรัพย์ หรื อสังหาริ มทรัพย์ มิฉะนั้นตก เป็ นโมฆะ การระงับสั ญญาเช่ า 1. โดยการบอกเลิกสัญญาของผูเ้ ช่าซื้ อ สัญญาเช่ามีลกั ษณะพิเศษคือ ผูเ้ ช่าซื้ อมีสิทธิ บอก เลิกสัญญาเช่าซื้อในเวลาใดก็ได้ โดยการส่ งมอบทรัพย์สินคืนยังผูใ้ ห้เช่าซื้อ 2. โดยการบอกเลิกสัญญาของผูใ้ ห้เช่าซื้อ มีสาเหตุการบอกเลิก ดังนี้ 2.1 เมื่อผูเ้ ช่าซื้ อผิดนัด ไม่ใช้เงิน สองงวดติดต่อกัน และระยะการใช้เงินได้พน้ กาหนดไปอีกงวดหนึ่งแล้ว ผูใ้ ห้เช่าซื้อบอกเลิกสัญญาได้ 2.2 เมื่อผูเ้ ช่าซื้ อทาผิดสัญญาในประเด็นสาคัญ เช่าเช่าซื้ อรถยนต์ ผูใ้ ห้เช่าห้าม นารถยนต์ที่เช่าซื้ อไปให้ผทู ้ ี่ยงั ไม่มีใบขับขี่ขบั หรื อห้ามนารถไปขับขี่ต่างจังหวัด ให้ขบั ขี่ ได้เฉพาะในกรุ งเทพมหานครเท่านั้น ถ้าผูเ้ ช่าซื้ อทาผิดสัญญา ผูใ้ ห้เช่าซื้ อมีสิทธิ บอกเลิก สัญญาได้ ผลของการบอกเลิกสั ญญา 1. ผูเ้ ช่าซื้อต้องคืนทรัพย์สินแห่งสัญญาแก่ผใู ้ ห้เช่าซื้อในสภาพดี 2. ผูใ้ ห้เช่าซื้อริ บเงินที่ผเู ้ ช่าซื้อได้ชาระมาแล้วทั้งหมด


14

ข้ อค้ นพบจากการปฏิบัติการงานจริงเกีย่ วกับเจ้ าหนีเ้ งินกู้ธนาคารและสัญญาเช่ า สิ่ งที่คน้ พบเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานจริ งในการตรวจสอบการบัญชีเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคารซึ่ง ได้มาจากการสังเกต รวมถึ ง สอบถามจากหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบบัญชี สานักงานสอบบัญชี ทูที ออดิท จากัด มีดงั นี้ 1.การกูย้ ืมเงินจากธนาคารเพื่อซื้ อห้องชุดจะต้องมีหนังสื อสัญญาจานองห้องชุดเป็ น ประกัน รวมทั้งข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกัน โดยในสัญญามีขอ้ มูลเกี่ยวกับที่ต้ งั ห้องชุด วันที่ทาสัญญา ชื่อของบริ ษทั ซึ่ งเป็ นผูจ้ านองและชื่อธนาคารซึ่ งเป็ นผูร้ ับจานองรวมถึงเลข ประจาตัวประชาชนของทั้งสองฝ่ าย จานวนเงิน และข้อตกลงอื่นๆ 2.ในการตรวจสอบบัญชี เงิ นกูย้ ืมธนาคารต้องมีใบเสร็ จรับเงิน-ใบแจ้งหักบัญชี จาก ธนาคาร และหนังสื อสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันดังที่กล่าวไว้ขา้ งต้นแนบไว้เป็ นหลักฐานใน การตรวจสอบ 3.มี ก ารค านวณหนี้ สิ น ระยะยาวถึ ง ก าหนดช าระภายใน 1 ปี เพื่ อ แสดงให้เ ห็ น ถึ ง ยอดเงินชาระในแต่ละงวด จานวนดอกเบี้ยในแต่ละงวด และยอดคงเหลือ วิธีการปฏิบัตงิ านการตรวจสอบเจ้ าหนีเ้ งินกู้ธนาคารและการแสดงข้ อมูลในงบการเงิน วิธีการปฏิบตั ิงานในการตรวจสอบเงินกูย้ มื ธนาคารจนกระทั้งแสดงรายการในงบการเงิน มี ทั้งหมด 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1.รวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการตรวจสอบ โดยทาการสาเนาเอกสาร ได้แก่ บัญชีแยกประเภทบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคาร, ใบสาคัญ จ่าย, ใบเสร็ จรั บเงิน -ใบแจ้งหักบัญชี จากธนาคาร, หนังสื อสัญญาจานองห้องชุ ดเป็ นประกัน, ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกัน และสัญญากูเ้ งิน เพื่อนามาแนบเป็ นหลักฐาน ประกอบการตรวจสอบบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคาร และทาการตรวจสอบว่าถูกต้องตามหลักฐานหรื อไม่


15

ภาพที่ 3 ตัวอย่างใบสาคัญจ่ายที่เกี่ยวกับเงินกูย้ มื ธนาคาร


16

ภาพที่ 4 ตัวอย่างบัญชีแยกประเภทบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคาร


17

ภาพที่ 5 ตัวอย่างใบเสร็ จรับเงิน-ใบแจ้งหักบัญชีจากธนาคาร ณ เดือนธันวาคม


18

ภาพที่ 6 ตัวอย่างหนังสื อสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกัน


19

ภาพที่ 7 ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 1


20

ภาพที่ 8 ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 2


21

ภาพที่ 9 ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 3


22

ภาพที่ 10 ตัวอย่างข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกันหน้า 4


23

2.ทาการคานวณหนี้สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี เมื่อทาการตรวจสอบจากตัวเลขในงบทดลองกับเอกสารว่าถูกต้องมีความสัมพันธ์ กันจากนั้นฝ่ ายตรวจสอบบัญชีจะทา ตารางคานวณหนี้ สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี เพื่อทา การคานวณยอดคงเหลือในแต่ละงวด ในส่ วนของตารางคานวณหนี้สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี นี้ จะแสดงให้เห็นถึง อัตราดอกเบี้ย วันที่ทาการชาระ ยอดเงินที่ชาระ เงินต้น ดอกเบี้ยและยอด คงเหลือเมื่อชาระในแต่ละงวด ซึ่ งข้อมูลอัตราดอกเบี้ยและยอดเงินชาระที่นามาคานวณจะใช้อตั รา ดอกเบี้ยจากเอกสาร ใบเสร็ จรับเงิน-ใบแจ้งหักบัญชีจากธนาคารที่ได้กูย้ ืมไว้ และยอดคงเหลือจะ นามาจากยอดยกไปของบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคาร

ภาพที่ 11 ตัวอย่างงบทดลองบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคารที่แสดงยอดยกไป


24

EXAMPLE JEWELRY ตารางคานวณดอกเบี้ย 7.25 % (ธนาคารกรุ งเทพ) สาหรับงวด 1 ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดเงินชาระ (กู้ วันทีช่ าระ เพิม่ )

ดอกเบีย้

ชาระเงิน ต้ น

16 ธ.ค. 54

จานวน ยอดคงเหลือ วัน 2,721,903.71

16 ม.ค. 55

65,000.00

16,714.42

48,285.58

2,673,618.13

31

16 ก.พ. 55

65,000.00

16,417.91

48,582.09

2,625,036.05

31

16 มี.ค. 55

65,000.00

15,079.61

49,920.39

2,575,115.66

29

16 เม.ย. 55

65,000.00

15,813.04

49,186.96

2,525,928.70

31

16 พ.ค. 55

65,000.00

15,010.64

49,989.36

2,475,939.34

30

16 มิ.ย. 55

65,000.00

15,204.03

49,795.97

2,426,143.37

31

16 ก.ค. 55

65,000.00

14,417.66

50,582.34

2,375,561.02

30

16 ส.ค. 55

65,000.00

14,587.63

50,412.37

2,325,148.66

31

16 ก.ย. 55

65,000.00

14,278.06

50,721.94

2,274,426.72

31

16 ต.ค. 55

65,000.00

13,516.06

51,483.94

2,222,942.78

30

16 พ.ย. 55

65,000.00

13,650.45

51,349.55

2,171,593.23

31

16 ธ.ค. 55

65,000.00

12,904.96

52,095.04

2,119,498.19

30

รวม

780,000.00

177,594.48

602,405.52

366

ภาพที่ 12 ตัวอย่างตารางคานวณหนี้สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี

หมาย เหตุ


25

วิธีการคานวณ ดอกเบีย้

ชาระเงินต้ น

ยอดคงเหลือ

=

ยอดคงเหลือ x อัตราดอกเบีย้ x จานวนวัน/366

=

2,721,903.71 x 7.25 % x 31/366

=

16,714.42

=

ยอดเงินชาระ (กู้เพิม่ ) – ดอกเบีย้

=

65,000.00 - 16,714.42

=

48,285.58

=

ยอดคงเหลือจากงวดก่อนหน้ า – ชาระเงินต้ น

=

2,721,903.71 - 48,285.58

=

2,673,618.13

3.การแสดงรายการบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคารในงบการเงิน หลังจากที่ตรวจสอบเอกสารทั้งหมด รวมถึงคานวณหนี้ สินระยะยาวถึงกาหนด ภายใน 1 ปี ซึ่ งหากมีขอ้ สงสัยใดๆ ควรรี บทาการสอบถามจากลูกค้าทันที เพื่อไม่ให้เกิดความ ผิดพลาดในการตรวจสอบบัญชี เพราะจะส่ งผลกระทบต่อการจัดทางบการเงินของกิจการอีกด้วย เมื่อดาเนิ นการทั้ง 2 ขั้นตอนเสร็ จสิ้ นแล้ว จากนั้นขั้นตอนต่อไปคือ การจัดทางบการเงิน โดยการ แสดงข้อมูลลงไปในส่ วนของหนี้ สิน ในการแสดงรายการข้อมูลบัญชีเงินกูย้ ืมธนาคารนั้น สามารถ ทาได้โดยการแสดงรายการไว้ในเงินกูย้ ืมระยะยาว-สุ ทธิ และในหมายเหตุประกอบงบการเงิน จะมี การแสดงรายละเอียดของเงินกูย้ ืมระยะยาว-สุ ทธิ ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง ซึ่ งจะมีการแสดงการ คานวณออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน


26

ภาพที่ 13 ตัวอย่างการแสดงรายการบัญชีเงินกูย้ มื ธนาคารในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

จากภาพที่ 13 เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี จานวน 602,405.52 บาท นามาจาก การคานวณยอดชาระเงินต้นรวมทั้งปี และนามาแสดงในรายการเงินกูย้ มื ระยะยาวที่ ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี หมวดหนี้ สินหมุนเวียนอีกด้วย และการแสดงรายการในงบการเงิน ยอดเงินกูย้ ืมระยะยาว-สุ ทธิ จะนามาแสดงในรายการเงินกูย้ ืมระยะยาว-สุ ทธิ ในส่ วนของหนี้ สิน หมุนเวียน เพราะเป็ นดอกเบี้ยที่กูย้ ืมสาหรับงวด 1 ปี โดยในงบการเงิน จะทาการเปรี ยบเทียบงบ การเงินของปี ปั จจุบนั คือ ปี 2554 กับปี ก่อนหน้า คือปี 2553 เพื่อให้รู้ถึงผลการดาเนินงานที่แตกต่าง กันในแต่ละปี จากภาพที่ 14 จะเห็นได้วา่ บริ ษทั เอ็กแซมเปิ้ ล จิวเวลรี่ จากัด ไม่ได้มีการแสดงข้อมูล เงินกูย้ มื ระยะยาว-สุ ทธิ ของปี 2553 เนื่ องจากว่า ในปี นั้นๆไม่ได้มีการทาสัญญาเช่าซื้อใดๆ จึงไม่มี ตัวเลขมาแสดงในงบการเงิน


27

ภาพที่ 14 ตัวอย่างการแสดงรายการในงบการเงิน


28

ผลทีไ่ ด้ รับจากการปฏิบัติจริง 1.ทาให้ทราบถึงความหมายของเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร 2.ทาให้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบเจ้าหนี้ เงินกูย้ ืมธนาคาร จนกระทัง่ แสดงข้อมูลในงบ การเงิน 3.ทาให้ทราบได้พบเจอเอกสารจริ ง และทราบถึงข้อมูลในเอกสารประกอบการตรวจสอบ เจ้าหนี้เงินกูย้ มื ธนาคาร เช่น หนังสื อสัญญาจานองห้องชุดเป็ นประกัน เป็ นต้น 4.ได้ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ รวมถึงการแก้ปัญญาเฉพาะหน้าได้ 5.รู ้จกั สังเกตความผิดปกติของข้อมูล เพื่อลดการเกิดข้อผิดพลาด 6.เกิดความรอบครอบในการปฏิบตั ิงาน และมีความเป็ นระเบียบในการจัดการงานต่างๆ สรุป เจ้าหนี้เงินกูธ้ นาคาร อยูใ่ นหมวดหนี้สิน ถือเป็ นหนี้สินของบริ ษทั การกูย้ มื เงินธนาคารแบ่ง ออกเป็ นการให้กดู้ ว้ ยวิธีการเบิกเกินบัญชี หรื อการเบิกเงินโอดี (Overdraft Overdaw O/D) การให้ กูย้ มื แบบที่มีระยะเวลา และการซื้อลดเช็ค ตัว๋ เงิน และการซื้อลดเครื่ องมือทางเครดิต จากกรณี ศึก ษาการกู้ยืมเงิ นจากธนาคารเพื่อซื้ อห้องชุ ด เมื่ อปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบบัญชี เจ้าหนี้ เงินกูธ้ นาคารนั้น ฝ่ ายตรวจสอบต้องหาเอกสารประกอบเพื่อเป็ นหลักฐานในการตรวจสอบ บัญชีดงั กล่าว หากทางลูกค้าไม่ได้แนบเอกสารมาด้วย ทางฝ่ ายตรวจสอบต้องติดต่อสอบถามและ ขอเอกสารเหล่านั้นด้วยเพื่อเป็ นการยืนยันถึงความมีอยู่จริ ง และทาการตรวจสอบร่ วมกับเอกสาร ต่างๆ พร้อมทั้งทาการคานวณหนี้ สินระยะยาวถึงกาหนดภายใน 1 ปี ซึ่ งหากมีขอ้ สงสัยใดๆ หรื อ สังเกตได้ถึงความผิดปกติ ต้องติดต่อสอบถามกับทางลูกค้าในทันที ตลอดจนแสดงรายการในงบ การเงินให้ถูกต้อง


29

ข้ อเสนอแนะ วิธีการดังกล่าวทั้ง 3 ขั้นตอน จะทาให้มองเห็นภาพรวมของลักษณะการทางานในการ ตรวจสอบบัญชีเจ้าหนี้ เงินกูย้ ืมธนาคาร ได้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบขั้นแรกเริ่ มจนกระทั้งขั้นตอน สุ ดท้ายว่ามีการปฏิบตั ิอย่างไร หากเกิดปั ญหา หรื อพบข้อผิดพลาดควรปฏิบตั ิอย่างไร รวมถึงการ แสดงรายการในงบการเงิน ประจาปี เพื่อนามาเปิ ดเผยให้กบั นักลงทุนภายนอก และจะเห็นได้ว่า เอกสารประกอบการตรวจสอบทั้งหมดนั้นมีความสาคัญอย่างมาก ซึ่ งไม่สามารถขาดเอกสารได้ หากลูกค้าที่ไม่ได้ส่งเอกสารเหล่านั้นประกอบการตรวจสอบ ฝ่ ายตรวจสอบควรติดตามทวงถาม เอกสารเหล่านั้นด้วย เพื่อเป็ นการระวังการเกิดข้อผิดพลาดในการตรวจสอบ ที่อาจจะส่ งผลกระทบ ต่ อ การปฏิ บ ัติ ง านได้ ดัง นั้น ผูต้ รวจสอบบัญ ชี ค วรมี ค วามละเอี ย ดรอบคอบในการปฏิ บ ัติ ง าน ตรวจสอบให้มาก


28

บรรณานุกรม กูเ้ งินธนาคาร. http://guru.sanook.com/answer/read_question.php?q_id=4898[Online]. รายละเอียดนิติบุคคล. http://www.dbd.go.th/corpsearch/corpdetail.phtml?mfno1=a092003091017012029029090074084 109015069&mftype=a089[Online]. สัญญาเช่า. http://school.obec.go.th/danmakhamtia/Eln/Social/9_sanya_web/sanya/chowsouc8.htm


ภาคผนวก ก.


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา คําแถลงการณ มาตรฐานการบัญ ชีฉบับ นี้เ ปน ไปตามเกณฑ ที่กําหนดขึ้น โดยมาตรฐานการบัญชีร ะหวา งประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อ ง สัญ ญาเชา พ.ศ. 2552 ซึ่งเป นการแกไ ขของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญ ชีร ะหวา ง ประเทศที่สิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (IAS 17: Leases (Bound volume 2009)) การปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการรับรู รายไดดอกเบี้ยดวยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ยอดเงินตนคงคางคูณดวยอัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเชา) โดยใชวิธีปรับยอนหลัง อยางไรก็ตาม กิจการที่มีสัญญาเชาคงเหลืออยูกอนวันที่ 1 มกราคม 2551 กิจการ จะใชมูลคาตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับ ใชเปนยอดเริ่มตนในการตัดบัญชีตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ตามขอกํ าหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับนี้โ ดยไมใชวิธีปรับยอ นหลังก็ได อนึ่ ง สําหรับในกรณีที่กิจการ ซึ่งมีสัญญาเชาซื้อคงเหลืออยูกอนวันที่มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีผลบังคับ ใชและไดใชวิธีผลรวมตัวเลขใน การคํา นวณดอกเบี้ยรับ กิจการสามารถใชวิธีดังกลา วไดตอไปจนกวาสัญญาเชาซื้อ คงเหลื อที่ยกมานั้ น สิ้นสุด ลง ทั้งนี้ สัญญาเชาซื้อคงเหลือที่ยกมาตองเปนสัญญาเชาซื้อที่มีร ะยะเวลาสั้น (3-4 ป) และกิจการ ตองเปดเผยขอมูลของสัญญาเชาซื้อที่ยกมาแยกจากสัญญาเชาซื้อใหมใหชัดเจน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 1/24


สารบัญ ยอหนาที่

คํานํา วัตถุประสงค ขอบเขต คํานิยาม การจําแนกประเภทของสัญญาเชา สัญญาเชาในงบการเงินของผูเชา

1 2-3 4-6 7-19 20-35

สัญญาเชาการเงิน การรับรูเริ่มแรก การวัดมูลคาภายหลังการรับรูเริ่มแรก การเปดเผยขอมูล สัญญาเชาดําเนินงาน การเปดเผยขอมูล

20-32 20-24 25-30 31-32 33-35 35

สัญญาเชาในงบการเงินของผูใหเชา

36-57

สัญญาเชาการเงิน การรับรูเริ่มแรก การวัดมูลคาภายหลังการรับรูเริ่มแรก การเปดเผยขอมูล สัญญาเชาดําเนินงาน การเปดเผยขอมูล

36-48 36-38 39-46 47-48 49-57 56-57

การขายและเชากลับคืน การปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลง วันถือปฏิบัติ การยกเลิกมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม แนวทางปฏิบัติ

58-66 67-68 69 70

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 2/24


คํานํา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใชแทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2550) โดยมีเนื้อหาสาระไมแตกตาง จากมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญ ชี ฉบั บที่ 17 (ปรั บปรุง 2550) ใชแ ทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 7 เรื่อ ง การบัญชี เกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดานผูให เชาซื้อ และฉบับที่ 29 เรื่อง การบัญชีสําหรับสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุง 2550 ใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญจากมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม ดังนี้ 1.

สัญญาเชาตามมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม หมายถึง สัญญาหรือขอตกลงที่ผูใหเชาโอนสิทธิการใช สินทรัพยใหแกผูเชาโดยไดรับคาเชาเปนผลตอบแทนสําหรับชวงระยะเวลาหนึ่ง มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ดัดแปลงคํานิยามโดยใชคําวา “คาตอบแทนซึ่งอาจไดรับชําระในงวดเดียวหรือหลายงวด” แทนคํา วา “คาเชา”

2.

ในการจํ าแนกสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชี ฉบั บเดิม ไดใหตัวอยางของสถานการณ ซึ่งตามปกติ จะทําใหสัญญาเชาต องจัดประเภทเปนสัญญาเชาการเงินไวสี่ขอ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดเพิ่ ม สถานการณเพื่อชวยในการจําแนกสัญญาเชาอีกหนึ่งขอ และขอบงชี้อีกสามขอ

3.

มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมใชคําวา “อายุการใหประโยชนของสินทรัพย” ในตัวอยางของสถานการณ ที่ระบุในยอหนาที่ 10.3 เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับอายุสัญญาเชาในการจํา แนกประเภทสัญญาเชา มาตรฐานการบั ญ ชีฉบั บ นี้ ใชคํา วา “อายุ ก ารให ป ระโยชน เ ชิง เศรษฐกิ จ ” ซึ่งทํ า ใหกิ จ การตอ ง พิจารณาวาผูใชสินทรัพยอาจมีมากกวาหนึ่งราย

4.

มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมกําหนดใหเปดเผยขอมูลสําหรับคาเชาที่อาจเกิดขึ้น แตไมไดใหขอกําหนด ที่ชั ดเจนว ากิ จการต องรวมคาเชา ที่อ าจเกิดขึ้ นในการคํา นวณจํา นวนเงิ นขั้ นต่ํา ที่ต องจ ายหรือ ไม มาตรฐานการบัญ ชีฉบั บนี้ กําหนดใหกิ จการไมตองนํ าค าเช าที่อาจเกิ ดขึ้น มารวมในการคํ านวณ จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย

5.

ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกของผูเชาและผูใหเชา  

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดเพิ่มคํานิยามเกี่ยวกับตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกใหชัดเจนขึ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไมได ใหขอกําหนดที่ชัด เจนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางบัญชีสําหรับ ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดกับผูเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหรวมตนทุนทางตรง เมื่อ เริ่มแรกที่เกิ ดกั บ ผูเชา เป นสว นหนึ่ งของจํ า นวนที่รั บรู เ ป นสิน ทรั พยภายใตสัญญาเชา การเงินนั้น มาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ เดิม ไดใ หข อ กํ า หนดเกี่ ยวกั บ การปฏิ บั ติ ทางบั ญ ชี สํา หรั บ ต น ทุ น ทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดกับผูใหเชาโดยจะบันทึกเปนคาใชจายทันที หรือปนสวนไปหักจาก รายไดทางการเงินนั้นตลอดอายุสัญญาเชาการเงินก็ได แตมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหรวม ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกเปนสวนหนึ่งของลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 3/24


6.

มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมอนุญาตใหผูใหเชาใชวิธีปนสวนรายไดทางการเงิน โดยรับรูรายไดตาม อัตราคงที่ในแตละงวดซึ่งคํานวณตามจํานวนในขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ 6.1. เงินลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาการเงิน 6.2. เงินสดลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหผูใหเชารับรูรายไดทางการเงินที่สะทอนถึงอัตราผลตอบแทน คงที่ในแตละงวด ซึ่งคํานวณจากขอ 6.1 เทานั้น

7.

มาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้อางถึงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อง การด อยคา ของสินทรัพย เพื่อใหแนวทางปฏิบั ติเกี่ยวกับการประเมินการดอยคาของสินทรัพยเมื่อจําเปนซึ่งมาตรฐาน การบัญชีฉบับเดิมไมไดกลาวถึง

8.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้เนน ขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาการเงินและ สัญญาเชาดําเนินงานทั้งทางดานผูเชาและผูใหเชา และกําหนดใหเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังตอไปนี้ 8.1. ผูเช า ตอ งเป ดเผยการกระทบยอดระหว า งจํ า นวนเงิน ขั้น ต่ํ า ที่ ตอ งจ า ยทั้ง สิ้น กั บ มู ลค า ปจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช าสําหรับระยะเวลาสามชวง คือ ระยะเวลาที่ไมเกิน หนึ่งป ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลาที่เกินหาป 8.2. ผูให เช าต องเป ดเผยการกระทบยอดระหว างผลรวมของเงิ นลงทุ นขั้ นต นตามสัญญาเช า กับมู ลค าป จจุ บันของจํ านวนเงิ นขั้ นต่ํ าที่ ลูกหนี้ ตองจ ายตามสั ญญาเชาสํ าหรั บระยะเวลา สามชวง คือ ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลา ที่เกินหาป 8.3. จํานวนเงินขั้นต่ําที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจากการเชาชวงที่บอกเลิกไมได ณ วันที่ในงบดุล 8.4. คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สําหรับลูกหนี้จํานวนเงินขั้นต่ํา ที่ตองจา ยตามสัญญาเชาที่คาดวาจะ เก็บไมได 8.5. ผูใหเชาตองเปดเผยคาเชาที่อาจเกิดขึ้นที่รับรูในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด

9.

มาตรฐานการบัญ ชีฉบั บนี้ ไดใ หรายละเอียดเกี่ ยวกับการขายและเช ากลั บคื น โดยเฉพาะการเช า กลับคืน ที่เ ปนสัญญาเชา ดํา เนิน งานซึ่งประกอบดวยข อกํ าหนดสํา หรั บสถานการณต างๆ โดยให ขึ้น อยูกับ ราคาขาย มูลคายุติธรรมของสินทรัพ ย และมูลค าตามบัญ ชีของสิน ทรั พย และยังไดให ตัวอยางเพิ่มเติมในภาคผนวกเพื่อชวยในการตีความขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการบัญชี

10.

มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม (ฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดานผูใหเชาซื้อ) ไมได ใหข อกํ าหนดเกี่ ยวกับวิธีปฏิบั ติทางบัญชีทางดานผูเช าซื้อ มาตรฐานการบั ญชีฉบั บนี้ไดกํ าหนดให สัญญาเชาซื้อเปนสัญญาเชาการเงิน และใหแนวปฏิบัติทางบัญชีทั้งทางดานผูเชาและผูใหเชา

11.

มาตรฐานการบัญ ชีฉบับเดิมไดกําหนดใหการเช าที่ดิน และอาคารต องจัด ประเภทเปนสัญญาเชา ดํา เนิ น งานหรื อ สัญ ญาเชา การเงิน แล ว แตก รณี แต ไ ม ไ ด กํ า หนดการปฏิ บั ติเ กี่ ย วกั บ การแยก องคประกอบของที่ดิน และอาคาร รวมถึ งการวัดคาขององคประกอบนั้น แต มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับนี้ไดกํา หนดรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแยกองค ประกอบของที่ดิ นและอาคาร รวมทั้ง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 4/24


การวัดมูล คา ขององค ประกอบที่ดิ นและอาคารใหชัดเจนขึ้ นเพื่ อวัตถุประสงค ในการจั ดประเภท สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ประกอบดวยยอหนาที่ 1-70 และภาคผนวก ทุกยอหนามีความสําคัญเทากัน และมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ตองอ านโดยคํ านึงถึ งข อกําหนดของแมบ ทการบัญชี ในกรณีที่ไ มไ ดให แนวปฏิบัติในการเลื อกและการใชน โยบายการบัญ ชี ใหกิจการถื อปฏิบัติ ตามข อกํ าหนดของมาตรฐาน การบัญชี ฉบับ ที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา วัตถุประสงค 1.

มาตรฐานการบัญชีฉบั บนี้มี วัตถุ ประสงค เพื่อกํ าหนดนโยบายการบัญชีแ ละการเป ดเผยข อมูล ที่ เหมาะสมทั้งทางดา นผูเ ชา และผูใ หเ ช า เพื่ อ นํ า ไปปฏิ บั ติกั บ สัญ ญาเช า การเงิ น และสัญ ญาเช า ดําเนินงาน

ขอบเขต 2.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใหถือปฏิบัติกับการบัญชีสําหรับสัญญาเชาทุกรายการ ยกเวนรายการ ตอไปนี้ 2.1. สั ญ ญาเช า เพื่ อ การสํ า รวจหรื อ การใช ทรั พ ยากรแร น้ํ า มั น ก า ซธรรมชาติ และ ทรัพยากรอื่นที่คลายกัน ซึ่งไมสามารถสรางขึ้นใหมได 2.2. ขอตกลงในการใหใชสิทธิของรายการประเภทฟลมภาพยนตร การบันทึกวีดิทั ศน ละคร บทประพันธ สิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ อยางไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไมใชกับการวัดมูลคาของรายการตอไปนี้ 2.3. อสั งหาริ มทรั พย ที่ ผู เ ช าถื อ ครองอยู และบั นทึ กเป นอสั งหาริ มทรั พย เพื่ อ การลงทุ น (มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน) 2.4. อสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุนที่ผูให เชาบันทึกเปนสัญญาเช าดํา เนินงาน (มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน) 2.5. สินทรัพยชีวภาพที่ผูเชาถือครองภายใตสัญญาเชาการเงิน (มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช)) 2.6. สิ น ทรั พย ชี ว ภาพที่ ผู ใ หเ ช า บัน ทึ กเปน สั ญ ญาเช า ดํา เนิน งาน (มาตรฐานการบั ญ ชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช))

3.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใหถือปฏิบัติกับขอตกลงที่มีการโอนสิทธิการใชสินทรัพย แมวาผูใหเชายังคง ใหบริการสวนใหญในการดําเนินงานหรือซอมบํารุงสินทรัพยเหลานั้น ในทางกลับกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 5/24


ฉบับนี้ไมต องนํามาถือปฏิบัติกับ ขอตกลงในการใหบ ริการที่ไ มไดโอนสิท ธิการใชสิน ทรัพยจ าก คูสัญญาฝายหนึ่งไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง

คํานิยาม 4.

คําศัพทที่ใชในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะ ดังนี้ สัญญาเชา

หมายถึง

สัญญาหรือขอตกลงที่ผูใหเชาใหสิทธิแกผูเชาในการใช สินทรัพยสําหรับชวงเวลาที่ตกลงกันเพื่อแลกเปลี่ยนกับ คาตอบแทน ซึ่งไดรับชําระในงวดเดียวหรือหลายงวด

สัญญาเชาการเงิน

หมายถึง

สั ญ ญาเช า ที่ ทํ า ให เ กิ ด การโอนความเสี่ ย งและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกื อบทั้งหมดที่ผูเปนเจาของ พึงไดรับจากสินทรัพยใหแกผูเชา ไมวาในที่สุดการโอน กรรมสิทธิ์จะเกิดขึ้นหรือไม

สัญญาเชาดําเนินงาน

หมายถึง

สัญญาเชาที่มิใชสัญญาเชาการเงิน

สั ญ ญาเช า ที่ บ อกเลิ ก หมายถึง ไมได

สั ญ ญาเช า ที่ จ ะบอกเลิ ก ไม ไ ด เ ว น แต จ ะเป น ไปตาม เงื่อนไขขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ 1) เมื่ อเกิดเหตุ การณ บางอย างซึ่ งโอกาสที่ จะเกิ ดขึ้ น นอยมาก 2) เมื่อไดรับความยินยอมจากผูใหเชา 3) เมื่ อ ผู เ ช า ทํ า สั ญ ญาเช า ใหม กับ ผู ใ ห เ ช า รายเดิ ม เพื่ อ เช า สิ น ทรั พ ย เ ดิ ม หรื อ สิ น ทรั พ ย ที่ เ ที ย บเท า ของเดิม 4) เมื่ อ ผู เ ช า ต อ งจ า ยเงิ น เพิ่ ม โดยที่ ณ วั น เริ่ ม ต น สั ญ ญาเช า เป น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได อ ย า งสมเหตุ ผ ลว า สัญญาเชาจะดําเนินไปอยางตอเนื่อง

วันเริ่มตนของสัญญาเชา หมายถึง

วั น ที่ ทํ า สั ญ ญาเช า หรื อ วั น ที่ คู สั ญ ญาได ต กลงตาม เงื่อนไขหลักของสัญญาเช า แลวแตวันใดจะเกิดขึ้น กอน ซึ่ง ณ วันนี้ 1) สั ญ ญาเช า จะถู ก จั ด ประเภทเป น สั ญ ญาเช า ดําเนินงานหรือสัญญาเชาการเงิน 2) ในกรณีของสัญญาเชาการเงิน กิจการตองกําหนด จํานวนเงินที่จะตองรับรู ณ วันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล

วั น ที่ สั ญ ญ าเ ช าเ ริ่ ม หมายถึง

วันที่ ผูเชาสามารถใชสิ ทธิตามสัญญาเช าในสินทรัพยที่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 6/24


มีผล

อายุสัญญาเชา

เช า ซึ่ ง คื อ วั น รั บ รู ร ายการเริ่ ม แรกตามสั ญ ญาเช า (เชน การรับรูสินทรัพย หนี้สิน รายได หรือคาใชจาย อันเปนผลมาจากสัญญาเชา) หมายถึง

จํ า น ว น เ งิ น ขั้ น ต่ํ า ที่ หมายถึง ตองจาย

ระยะเวลาเช า สิ น ทรั พ ย ที่ ผู เ ช า ทํ า สั ญ ญาที่ บ อกเลิ ก ไมได ทั้ งนี้ใ หรวมถึงระยะเวลาที่ผูเชา มีสิทธิที่จ ะเลือ ก ตออายุสัญญาเชาสินทรัพยนั้นออกไปอีก ไมวาจะมีการ จา ยเงินเพิ่ม อี กหรื อไม หาก ณ วันเริ่มตน ของสัญ ญา เช า สามารถเชื่ อ ได อ ย า งสมเหตุ ส มผลว า ผู เ ช า จะ เลือกใชสิทธิเพื่อตออายุสัญญาเชา จํานวนเงินที่ผูเชาตอ งจา ยตลอดอายุสัญญาเชา รวม กับรายการดังตอไปนี้ 1) ทางด านผู เชา – จํานวนเงินที่ ผูเ ช า หรือ บุค คล ที ่เกี่ ยวข องกั บผู เช าประกันมู ลค าคงเหลื อให กั บ ผูใหเชา หรือ 2) ทางดานผูใหเชา – มูลคาคงเหลือที่ไดรั บประกัน จากผู เช าหรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข องกั บผู เ ช า หรื อ บุคคลที่สามที่ไมเกี่ยวของกับผูใหเชาและมีฐานะ การเงินที่สามารถใหการประกันแกผูใหเชาได จํ า นวนเงิ นขั้ นต่ํ า ที่ ต อ งจ า ยนี้ ไ ม รวมถึ งค า เช า ที่ อ าจ เกิ ดขึ้ น ตนทุ นการให บริการ และภาษีที่ ผูใ ห เ ช า จา ย และเรียกคืนไดจากผูเชา

มูลคายุติธรรม

หมายถึง

อย างไรก็ตาม ณ วัน เริ่ มต นของสัญ ญาเชา ถ าผูเ ชา มี สิทธิที่จะเลือกซื้อสินทรัพยดวยราคาที่คาดวาจะต่ํากวา มูลคา ยุติธ รรมอยา งเปนสาระสํ าคัญ ณ วั นที่สามารถ ใชสิท ธิเ ลือ กดังกลา วและเชื่อไดอ ยา งสมเหตุสมผลวา ผูเชาจะใชสิทธิเลือกนั้น ในกรณีนี้จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอง จายประกอบดวยจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตลอดอายุ ของสัญญาเชาจนถึงวันที่คาดวาจะใชสิทธิเลือกซื้อและ จํา นวนเงินที่ ตอ งจ า ยเมื่อ ใชสิ ท ธิ เลื อ กซื้อ สิ นทรัพย ที่ เชาดวย จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย หรือจายชําระหนี้กันในขณะที่ทั้งสองฝายมีค วามรอบรู และเต็ ม ใจในการแลกเปลี่ ย น และสามารถต อ รอง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 7/24


อายุ ก ารให ป ระโยชน หมายถึง เชิงเศรษฐกิจ

อายุการใหประโยชน

หมายถึง

มูลค าคงเหลือ ที่ ไ ดรับ หมายถึง การประกัน

มูลค าคงเหลือ ที่ ไ มไ ด หมายถึง รับการประกัน

ตนทุนทางตรงเริ่มแรก

หมายถึง

เงิ น ลงทุ น ขั้ น ต น ตาม หมายถึง สัญญาเชา เ งิ น ลง ทุ นสุ ท ธิ ต า ม หมายถึง สัญญาเชา รายได ท างการเงิ น รอ หมายถึง

ราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความ เกี่ยวของกัน ขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ 1) ระยะเวลาที่ ค าดว า สิ น ทรัพ ย จ ะให ป ระโยชน เ ชิ ง เศรษฐกิจกับผูใชรายเดียวหรือหลายราย 2) จํา นวนผลผลิ ตหรือ จํานวนหนว ยในลั กษณะอื่ นที่ คล ายคลึ งกั นซึ่ งผูใช รายเดี ยวหรือ หลายรายคาด วาจะไดรับจากการใชสินทรัพย ระยะเวลาที่ เหลือ อยูโดยประมาณนั บจากวันที่สั ญญา เช า เริ่มมีผ ล ซึ่งกิจการคาดวา จะไดรับประโยชนเ ชิ ง เศรษฐกิจจากสินทรัพย โดยไมคํานึงถึงอายุสัญญาเชา 1) ทางดานผู เชา-สวนของมูลคาคงเหลือที่ผูเชาหรือ บุคคลที่เกี่ยวของกับผูเชารับประกันที่จะจายใหแก ผูใหเชา (จํานวนที่รับประกันคือ จํานวนเงินสูงสุดที่ จะตองจายไมวาในกรณีใดก็ตาม) และ 2) ทางดา นผูใ ห เช า -ส ว นของมูล คา คงเหลือ ที่ ผูเ ช า หรือ บุคคลที่สามรับประกันที่จะจายใหแกผูใหเชา บุคคลที่สามที่รับประกันนี้ตองไมเกี่ยวขอ งกับผูให เช า และบุค คลดังกล า วตอ งมีค วามสามารถทาง การเงินที่จะรับผิดชอบตอภาระผูกพันที่รับประกันไว สวนของมูลคาคงเหลือของสินทรัพยที่ใหเชา ซี่งผูใหเชา อาจไม ไ ด รั บ คื น หรื อ ส ว นของมู ล ค า คงเหลื อ ของ สิ น ทรั พ ย ที่ ใ ห เ ช า ซึ่ ง ได รั บการประกั นจากบุ ค คลที่ เกี่ยวของกับผูใหเชาเทานั้น ตน ทุ นสว นเพิ่มที่ เกิด ขึ้นโดยตรงจากการตอ รองและ การทําสัญญาเชา ตนทุนดังกลาวนี้ไมรวมถึงตนทุนใน สวนของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย ผลรวมของจํ านวนเงิน ขั้นต่ํ าที่ตอ งจ ายให กับ ผูใ หเชา ตามสัญญาเชาการเงินกับมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการ ประกันใหกับผูใหเชา เงินลงทุนขั้นตนตามสัญญาเชาคิดลดดวยอัตราดอกเบี้ย ตามนัยของสัญญาเชา ผลตางระหวา งเงินลงทุน ขั้นตนตามสั ญญาเชา กับเงิ น ลงทุนสุทธิตามสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 8/24


การรับรู อั ต ราคิ ดลด ณ วั น เริ่ มต น สั ญ ญาเช า ที่ ทํ า ให ผ ลรวม ของมูลคาปจจุบันของ 1) จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายและ 2) มู ล ค า คงเหลื อ ที่ ไ ม ไ ด รั บ การประกั น มี จํ า นวน เทากับผลรวมของ 3) มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ใหเชาและ 4) ตนทุนทางตรงเริ่มแรกของผูใหเชา อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืม หมายถึง อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ผู เ ช า จะต อ งจ า ยตามสั ญ ญาเช า ที่ สวนเพิ่มของผูเชา คลายคลึงกัน หรือถาไมสามารถกําหนดอัตรานั้นไดจึง ให ใ ช อั ตราดอกเบี้ย ที่ ผูเ ช า จะตอ งจา ย ณ วั นเริ่มตน ของสัญญาเชาในการกูยืมเงินที่มีระยะเวลาและการค้ํา ประกั น คล า ยคลึ ง กั บ ที่ ร ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญาเช า เพื่ อ ซื้ อ สินทรัพยนั้น คาเชาที่อาจเกิดขึ้น หมายถึง สว นของจํา นวนเงินที่ตอ งจ ายตามสั ญญาเชา ซึ่ง ไมได กํ า หนดไว อ ย า งคงที่ ต ามระยะเวลาที่ ผ า นไปแต กํา หนดให ขึ้ นอยู กับปจ จัย อื่ น เช น อั ตรารอ ยละของ ยอดขาย ปริม าณการใช ดั ช นีร าคาในอนาคต หรื อ อัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ในชวงระยะเวลานับจากวันเริ่มตนทําสัญญาเชาถึงวันที่สัญญาเชาเริ่มมีผลบังคับใช สัญญาเชาหรือ ขอผูกพันนั้นอาจมีขอกําหนดใหมีการปรับปรุงจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาได เชน ในกรณี ของการเปลี่ยนแปลงตนทุนการกอสรางหรือตนทุนการไดมาของสินทรัพยที่เชา การปรับราคาตามระดับ ดัชนีราคาที่เปลี่ยนไป หรือตนทุนทางการเงินของผูใหเชาที่เปลี่ยนไป ในกรณีเชนนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับนี้กําหนดใหจํานวนเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้นถือวาเกิดขึ้น ณ วันเริ่มตนทําสัญญาเชา อัตราดอกเบี้ยตามนัย หมายถึง ของสัญญาเชา

5.

6.

สัญญาเชาตามคํานิยามรวมถึง สัญญาเชาสินทรัพยที่ผูเชามีสิทธิที่จะไดรับกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่ เชาเมื่อผูเชาปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน สัญญาเชาดังกลาวในบางครั้งเรียกวา สัญญาเชาซื้อ

การจําแนกประเภทของสัญญาเชา 7.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิ จการจั ดประเภทสั ญ ญาเชา โดยพิ จ ารณาถึ งขอบเขตของ ความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชาวาตกอยูกับผูเชาหรือผูใหเชา ความเสี่ยงดังกล าวรวมถึ ง โอกาสที่ จะเกิดความสู ญเสีย จากกําลัง การผลิต ที่ไ มไ ดใช หรือจาก วิทยาการ ที่ลาสมัย และจากความผันผวนของผลตอบแทนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสถานการณ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 9/24


ทางเศรษฐกิจ ผลตอบแทนดั งกลาวอาจรวมถึง การคาดการณว าการดํา เนิ นงานจะมีกํา ไรตลอด อายุก ารใหป ระโยชนเชิงเศรษฐกิจ ของสิ นทรัพ ย และการคาดการณวา จะมีผ ลกํ าไรจากราคาที่ เพิ่มขึ้นหรือจากมูลคาคงเหลือที่จะไดรับ 8.

กิจ การตอ งจั ดประเภทสัญญาเชาเปน สัญญาเชาการเงิน หากสัญญานั้น โอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดที่ผูเ ปน เจา ของพึง ไดรั บจากสินทรัพย ไปใหแก ผูเ ช า และตอ งจัดประเภทสัญ ญาเช าเปนสัญ ญาเช าดําเนินงานหากสัญญานั้นไม ไดโอนความเสี่ย ง หรือผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยไปใหแกผูเชา

9.

เนื่อ งจากรายการบัญชีระหวางผูเชาและผูใหเชาเปนไปตามขอตกลงรวมในสัญญาเช า จึ งเปนการ เหมาะสมที่จะยึดถือคํานิยามอยางเดียวกันมาใชอยางสม่ําเสมอ แตในบางครั้งการนําคํานิยามตางๆ มาใชกับ สถานการณ ของคูสัญญาทั้งสองฝายที่แตกตางกัน อาจทําใหผูเชาและผูใหเชาจัดประเภท สัญญาเช าแตกตางกันแมวาจะเปนสัญญาเดียวกั น ตัวอยางเชน กรณีที่ผูใหเช าไดรั บประโยชน จาก มูลคาคงเหลือที่ไดรับการค้ําประกันจากบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับผูเชา

10.

ในการจัดประเภทสัญญาเชาเปนสัญญาเชาการเงินหรือสัญญาเชาดําเนินงาน กิจการตองพิจารณา ถึงเนื้อหาของรายการมากกวารูปแบบตามสัญญา1 ตามปกติ กิจการตองจัดประเภทสัญญาเชาเปน สัญญาเชาการเงินหากสัญญานั้นทําใหเกิดสถานการณตอไปนี้อยางนอยหนึ่งสถานการณ 10.1. สัญญาเชาโอนความเปนเจาของในสินทรัพยใหแกผูเชาเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญาเชา 10.2. ผูเชามีสิทธิเลือกซื้อสินทรัพยดวยราคาที่ต่ํากวามูลคายุติธรรม ณ วันที่สิทธิเลือกเกิดขึ้น โดย ราคาตามสิทธิเลือกนั้นมีจํานวนต่ํากวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยมากเพียงพอที่จะทําใหเกิด ความแนใจอยางสมเหตุสมผล ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชาวาผูเชาจะใชสิทธิเลือกซื้อสินทรัพยนั้น 10.3. ระยะเวลาของสั ญ ญาเชา ครอบคลุ มอายุ ก ารให ป ระโยชน เ ชิง เศรษฐกิ จ ส ว นใหญ ข อง สินทรัพย แมวาจะไมมีการโอนกรรมสิทธิ์เกิดขึ้น 10.4. ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชา มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายมีจํานวนเทากับ หรือเกือบเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา 10.5. สิน ทรัพยที่ เชา มีลั ก ษณะเฉพาะจนกระทั่ง มีผู เ ชาเพียงผูเดียวที่สามารถใชสินทรั พยนั้ น โดยไมจําเปนตองนําสินทรัพยดังกลาวมาทําการดัดแปลงที่สําคัญ

11.

ขอบงชี้ถึงสถานการณใดสถานการณหนึ่งหรือหลายสถานการณรวมกั นที่ทําใหส ามารถจัดสัญ ญา เชาเปนสัญญาเชาการเงินได มีดังตอไปนี้ 11.1. หากผูเชาสามารถยกเลิกสัญญาเชาได และผูเชาเปนผูรับผิดชอบผลเสียหายที่เกิดกับผูใหเชา เนื่องจากการยกเลิกนั้น 11.2. ผูเ ชา เป นผู ที่ไ ดรับ ผลกํา ไรหรือ ผลขาดทุน จากการผั นผวนของมู ลค ายุติ ธรรมของมูล คา คงเหลือ (ตัวอยางเชน มูลคายุติธรรมของมูลคาคงเหลือที่อยูในรูปของคาเชาที่ผูใหเชาลดให

1

ดู การตีความมาตรฐานการบัญชี เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรู ปแบบของกฎหมาย (เมื่อมีการ ประกาศใช)1 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 10/24


ซึ่ ง รวมแล ว มี จํ า นวนเท า กั บ ส ว นใหญ ข องจํ า นวนที่ ไ ด รั บ จากการขายมู ล ค า คงเหลื อ ณ วันสิ้นสุดสัญญาเชา) 11.3. ผูเชา สามารถตอสัญญาเชาครั้งที่สองดวยการจา ยคาเชา ที่มีจํ านวนต่ํา กว าคาเชา ในตลาด อยางเปนนัยสําคัญ 12.

ตัวอยางและขอบงชี้ในยอหนา 10 และ 11 ไม ถือเปน ขอยุติในการจัดประเภทสัญญาเชา ใหเปน สัญญาเชาการเงิน ถาเปนที่แนชัดวายังมีลักษณะอื่นที่แสดงใหเห็นวามิไดมีการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชา สัญญาเชานั้นตองจัดประเภทเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน ตัวอยางเชน ณ วันสิ้นสุดสัญญาเชาไดมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่เชาโดยมีการจาย คาตอบแทนซึ่งมีจํานวนเทากับมูลคายุติ ธรรมของสินทรัพยที่ เชา หรืออีกตัวอยางหนึ่งคือ มีการจายคาเชา ที่ไมกํ าหนดแนนอน (คาเชาที่อาจเกิดขึ้น) อันเปนผลใหผู เชามิไดรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทน ที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชา

13.

การจัดประเภทสัญญาเชาตองทํา ณ วันเริ่มตนสัญญาเชา หาก ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ผูเชาและผูให เชา ตกลงที่จะเปลี่ยนเงื่อนไขในสัญญาเชา (ที่ไมใชการตออายุสัญญาเช า) ในลักษณะที่ทําใหการ จัดประเภทสัญญาเชาแตกต างไปจากเดิมตามเงื่อนไขที่ระบุ ไวในยอหน า 7 ถึง 12 และหากเงื่อนไข ที่เ ปลี่ย นแปลงไปนั้ นมีผ ลกระทบตั้งแตวันเริ่ มต นของสั ญ ญาเชา ข อตกลงที่มีก ารแกไขถือเป น ขอตกลงใหมตลอดอายุสัญญาเชา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี (ตัวอยางเชน การเปลี่ยนแปลงประมาณการของอายุก ารให ป ระโยชน เ ชิงเศรษฐกิ จ หรื อ มูล คา คงเหลื อ ของ สินทรัพยที่เชา) หรือการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ (ตัวอยางเชน ผูเชาผิดสัญญา) ไมทําใหตอง มีการจัดประเภทสัญญาเชาใหมตามวัตถุประสงคทางการบัญชี

14.

การเช า ที่ดิ น และอาคารตามสั ญ ญาเช า ตอ งจั ด ประเภทเป น สั ญ ญาเช า การเงิ น หรื อ สัญ ญาเช า ดําเนินงานในลักษณะเดียวกับการจัดประเภทสัญญาเชาสําหรับสินทรัพยอื่น อยางไรก็ตาม ที่ดินมี ลักษณะพิเศษคือ ตามปกติจะมีอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจไมจํากัดหากคาดวาจะไมตองโอนกรรมสิทธิ์ ในที่ ดิ น ไปให ผูเ ช า ณ วั น สิ้ น สุ ด สั ญ ญาเช า ผู เ ช า จะไม ได รั บ ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของ ความเปนเจาของทั้ งหมดหรือเกือบทั้ง หมด ในกรณีเชนนี้ สั ญญาเชาที่ดิ นจะถือเปนสัญ ญาเชา ดําเนินงาน ดัง นั้น จํานวนเงินที่จายเมื่อเขาทําสัญญาเชาหรือการไดสิทธิ การเชาซึ่งเปนสัญญาเช า ดําเนินงาน จึงถือเปนการจายคา เชาลวงหนาซึ่งต องตัดจําหนายตลอดอายุสัญญาเชาตามรูปแบบ ของประโยชนที่ไดรับ

15.

เพื่อวัตถุประสงคในการจัดประเภทสัญญาเชา องคประกอบของที่ดินและอาคารที่เกิดจากสัญญาเชา จะพิ จารณาแยกจากกัน ถ ากรรมสิทธิ์ขององคประกอบทั้งสองจะตองโอนไปใหผูเชาเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา สัญญาเชานั้ นตองจัดประเภทเป นสัญญาเชา การเงินไมวาจะไดมีการทําเปนสัญญาเดียวหรือแยก เปนสองสัญญา เวนแต จะมีลักษณะอื่นที่ แนชัดแสดงถึงการมิไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชา โดยปกติที่ดินมีลักษณะพิเศษคือจะมีอายุการใหประโยชน เชิงเศรษฐกิจไมจํากัดและหากคาดวาจะไมตองโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินไปใหผูเชา ณ วันสิ้นสุดสัญญาเชา

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 11/24


ที่ดินนั้นจะจั ดประเภทเปนสัญญาเชาดําเนินงานตามยอหนา 14 อาคารจะจัดประเภทเปนสัญญา เชาการเงินหรือสัญญาเชาดําเนินงานตามยอหนา 7 ถึง 13 16.

ในกรณีที่จําเปนตองจัดประเภทและพิจารณาการเชาที่ดิน และอาคาร จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอ งจา ย ตามสัญญาเชาที่ดินและอาคาร (รวมถึงเงินกอนที่จายให ณ วันเริ่มตน) จะปนสวนใหกับที่ดินและ อาคารตามสั ดสว นของมู ลค า ยุติ ธรรมในสว นของสิ ทธิ ในที่ดินและสิท ธิในอาคาร ณ วั น เริ่มต น สัญญาเชา ถาจํา นวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายไมสามารถนํา มาปนสวนตามวิธีสัดส วนดังกลาวไดอยาง นา เชื่อถื อ สัญญาเชา ทั้งหมดนั้ นตอ งถือเปน สัญญาเชา การเงิน เวน แต จะเป นที่ แน ชัดวา สวนของ ที่ดินและอาคารเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน ในกรณี เช นนี้ สัญ ญาเช าทั้งหมดใหถือเป นสัญญาเชา ดําเนินงาน

17.

เพื่อวัตถุประสงคในการจัดประเภทสัญญาเชา หากจํานวนเงินที่เปนสวนของที่ดินที่ตองรับรูตามยอหนา 20 มี จํานวนไมเปนสาระสําคัญ ที่ดินและอาคารตามสัญญาเชาอาจถือเปนสินทรัพยหนวยเดียวกันและจัด ประเภทเปนสัญญาเชาการเงิ นหรือสัญญาเชาดําเนินงานตามยอหน า 7 ถึง 13 ในกรณี เชน นี้ อายุ การใหประโยชนเ ชิงเศรษฐกิจ ของอาคารถือเปนอายุการใหประโยชนเชิ งเศรษฐกิจของสินทรั พย ทั้งหมดที่เชา

18.

กิจการไมตองวัดมูลคาที่ดินและอาคารแยกจากกัน ถาสวนไดเสียของผูเชาในที่ดินและอาคารไดมี การจัดประเภทอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนและบันทึกดวยวิธีมูลคายุติธรรมตามขอกําหนดของ มาตรฐานการบัญ ชี เรื่อง อสังหาริม ทรั พยเพื่อการลงทุ น (เมื่อมีการประกาศใช ) อยา งไรก็ต าม ผู เ ช า ต อ งแสดงรายละเอี ย ดการคํ า นวณมู ล ค า เมื่ อ การจั ด ประเภทสั ญ ญาเช า ที่ เ ป น ส ว นของ องคประกอบหนึ่งหรือทั้งสององคประกอบมีความไมแนนอน

19.

ตามขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อ อสังหาริมทรัพยเพื่อการ ลงทุน มี ความเปนไปไดที่ ผูเชา จะจัด ประเภทส วนไดเสี ยในอสัง หาริมทรัพยที่ เกิดจากสัญ ญาเชา ดําเนินงานเปนอสังหาริมทรัพ ยเพื่ อการลงทุน ในกรณีเชนนี้ สวนไดเสียในอสังหาริมทรัพยนั้นจะ บั น ทึก เสมือ นหนึ่ งเป น สั ญ ญาเชา การเงิ น และให ใช วิ ธี มูล ค า ยุ ติธ รรมในการรั บ รู ร ายการตาม ขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชีฉบับ นั้น ผูเชายังคงตองบันทึกสัญญาเชาดังกลาวเป นสัญญาเชา การเงิน ไดตอไปแมเ หตุ การณที่เ กิดขึ้นภายหลัง จะทํา ใหส วนไดเสี ยของผู เชาในอสัง หาริมทรัพย เปลี่ยนไป จนเป นเหตุใหไมสามารถจัดประเภทอสังหาริมทรัพ ยนั้นเปน อสังหาริมทรั พยเพื่ อการ ลงทุน ดังกรณีตัวอยางตอไปนี้ 19.1. ผูเชาครอบครองอสังหาริมทรัพยซึ่งไดมีการโอนกรรมสิทธิ์การครอบครองใหเจาของดวย จํานวนเงินเทากับมูลคายุติธรรม ณ วันที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช หรือ 19.2. ผูเชาทําสัญญาเชาชวงซึ่งไดมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจาก อสัง หาริมทรัพ ยใหแ กบุคคลที่สามที่ไมมี ความเกี่ ยวข องกั น สัญ ญาเชาช วงดั งกล าวผูเช าจะ บั นทึ กเป นสั ญญาเชาการเงิ นที่ มีตอบุ คคลที่ สาม แม สัญญานั้ นบุ คคลที่ สามอาจบั นทึ กเป น สัญญาเชาดําเนินงานก็ตาม

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 12/24


สัญญาเชาในงบการเงินของผูเชา สัญญาเชาการเงิน การรับรูเริ่มแรก 20.

ณ วันที่สั ญญาเชาเริ่มมีผ ล ผูเชา ตอ งรับรูสัญญาเชาการเงินเปนสิ นทรัพยและหนี้สินในงบ แสดงฐานะทางการเงินของผูเชาดวยจํานวนเงินเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือ มูลคา ปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ ตอ งจายแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา ซึ่ งพิจารณา ณ วัน เริ่มตนของสัญญาเชา อัตราคิดลดในการคํานวณมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย คือ อัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเชาหากสามารถกําหนดไดในทางปฏิบัติ หากในทางปฏิบัติไม สามารถกํา หนดอัต ราดอกเบี้ยตามนัยได ใหใชอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมสวนเพิ่มของผูเชาเปน อัตราคิดลด ตนทุนทางตรงเริ่มแรกของผูเชาตองรวมเปนสวนหนึ่งของตนทุนสินทรัพยที่รับรู

21.

รายการและเหตุ การณ ทางบัญชี ตอ งบันทึกและนํา เสนอตามเนื้อ หาเชิ งเศรษฐกิจ และสาระความ เปนจริงทางการเงินไมใชตามรูปแบบของกฎหมาย แมวา รูปแบบของกฎหมายของข อตกลงใน สัญญาเชาจะกําหนดใหผู เชาไมมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่เชาตามกฎหมาย แตในความเปนจริ งแลว เนื้ อ หาเชิงเศรษฐกิ จ และสาระความเป น จริงทางการเงิน ของสัญ ญาเชา การเงินคือ ผูเชา ไดรั บ ประโยชนเชิ งเศรษฐกิจในการใช สินทรัพย ที่เชาตลอดอายุก ารใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจสวนใหญ ของสิ น ทรั พ ย นั้ น โดยแลกเปลี่ ย นกั บ ภาระผู ก พั น ที่ ต อ งจ า ยสํ า หรั บ สิ ท ธิ ดั ง กล า วด ว ยจํ า นวน ที่ใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยรวมกับคาใชจายทางการเงินที่ เกี่ยวของ

22.

หากในงบแสดงฐานะทางการเงินของผูเชาไมไดสะทอนถึงรายการบัญชีเกี่ยวกับสัญญาเชาดังกลาว ทรัพยากรทางเศรษฐกิจและภาระผูกพันของกิจการจะต่ํากวาที่ควรเปน ซึ่งทําใหอัตราสวนทางการ เงินบิดเบือนไป ดังนั้น ณ วันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล จึงเปนการเหมาะสมที่ผูเชาจะรับรูรายการเกี่ยวกับ สัญญาเชาการเงินในงบแสดงฐานะทางการเงินเปนสินทรัพยและหนี้สินที่จะตองจายในอนาคตดวย จํานวนเดียวกัน และตนทุนทางตรงเริ่มแรกของผูเชาใหรับรูเปนตนทุนของสินทรัพยที่เชา

23.

เปนการไมสมควรที่ในงบการเงินจะแสดงสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงินหักดวยหนี้สินตามสัญญา เชาการเงิ น หากในงบแสดงฐานะทางการเงินของผูเช าต องแยกแสดงหนี้ สินเป นหนี้ สินหมุ นเวี ยน และไมหมุนเวียน ผูเชาตองแยกแสดงหนี้สินตามสัญญาเชาเปนหนี้สินหมุนเวียนและไมหมุนเวียน ในลักษณะเดียวกัน

24.

ตนทุนทางตรงเริ่มแรกมักเกิดขึ้นเนื่องจากกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจงกับการเชา เชน การตอรองและการทํา สัญญาเชา ตนทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นกับผูเชาเพื่อใหไดสัญญาเชาการเงินตอง รวมเปนสวนหนึ่งของจํานวนที่รับรูเปนสินทรัพยภายใตสัญญาเชานั้น

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 13/24


การวัดมูลคาภายหลังการรับรูเริ่มแรก 25.

จํา นวนเงินขั้นต่ําที่ ตองจา ยตอ งนํา มาแยกเปนค าใช จา ยทางการเงินและส ว นที่ จะนํ า ไปลด หนี้สิ นที่ยังไมได ชําระ คาใช จายทางการเงินตองป นสวนให กับงวดตางๆ ตลอดอายุสั ญญาเชา เพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สินที่เหลืออยูแตละงวด คาเชาที่อาจเกิดขึ้นบันทึกเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ

26.

ในทางปฏิบัติ กิจการอาจใชการประมาณการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งในการปน สวนคา ใชจา ย ทางการเงินใหกับงวดตางๆ ตลอดอายุสัญญาเชาเพื่อความสะดวกในการคํานวณ

27.

สัญญาเชาการเงินทําใหเกิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยเสื่อมสภาพและคาใชจายทางการเงิน สําหรับงวดบัญชีแตละงวด นโยบายการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยเสื่อมสภาพที่ เ ช า ตอ ง สอดคลอ งกับวิ ธีก ารคิดคา เสื่อมราคาของสิน ทรัพยเ สื่อมสภาพซึ่งกิจ การเปน เจา ของ และ คา เสื ่อ มราคาที ่ร ับ รูต อ งคํ า นวณตามเกณฑที ่ร ะบุไ วใ นมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที ่ 16 (ปรับ ปรุง 2552) เรื่อ ง ที่ดิน อาคารและอุ ปกรณ (เมื่อ มีก ารประกาศใช) และมาตรฐาน การบัญ ชี ฉบับ ที่ 38 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อง สินทรัพย ไมมี ตัว ตน หากไมมี ความแนน อน อยางสมเหตุสมผลที่ผูเชาจะเปนเจาของสินทรัพยเมื่ออายุสัญญาเชาสิ้นสุดลง ผูเชาตองตัดคา เสื่อมราคาของสินทรัพยใหหมดภายในอายุสัญญาเชาหรืออายุการใหประโยชนแลวแตอายุใด จะสั้นกวา

28.

ผูเชาตอ งปนสวนมูลคาเสื่อมสภาพของสินทรัพยที่เชาใหกับงวดบัญชีแตละงวดตลอดระยะเวลาที่ คาดวาจะใชสินทรัพยนั้น การปนสวนตองเปน ไปตามเกณฑที่เปนระบบและสอดคลองกับนโยบาย การคิ ด ค า เสื่ อ มราคาสํ า หรั บ สิ น ทรั พ ย เ สื่ อ มสภาพที่ ผู เ ช า เป น เจ า ของ หากมี ค วามแน น อน อยางสมเหตุสมผลที่สินทรัพยนั้นจะเปนของผูเชาเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ระยะเวลาที่คาดวาสินทรัพย จะใชงานไดจะเทากับ อายุการใหประโยชนของสิ นทรัพย หากสินทรัพ ยนั้นจะไมตกเปน ของผูเช า เมื่อสิ้นสุดสัญญาเช า ผูเชา ตองคิดคา เสื่อมราคาของสินทรัพยใหหมดภายในระยะเวลาของสัญญา เชาหรือภายในอายุการใหประโยชนของสินทรัพย แลวแตระยะเวลาใดจะสั้นกวา

29.

ในแตละงวดบัญชี ผลรวมของคาเสื่อมราคาสินทรัพยกับคาใชจายทางการเงินมักจะไมเทากับจํานวนเงิน ที่ไดจายตามสัญญาเชาการเงิน ดังนั้น จึงไมเปนการสมควรที่ผูเชาจะรับ รูจํา นวนเงินที่ตองจายตาม สัญญาเชาเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน ดัง นั้น สินทรัพยและหนี้สินที่เกี่ ยวของกั นมักมีจํานวน ไมเทากันภายหลังจากวันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล

30.

ในการกํ าหนดวาสินทรัพ ยที่เชาเกิ ดการดอ ยคาหรื อไม กิจ การตอ งถือปฏิบัติตามขอกํ าหนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 14/24


การเปดเผยขอมูล 31. นอกจากที่ผูเชาตองเปดเผยขอมูลตามขอกําหนดที่ ระบุไว ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อ ง การเปด เผยข อมูลสํา หรั บเครื่ องมือทางการเงิน (เมื่ อมีการประกาศใช ) ผูเชา ตองเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาการเงินเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 31.1 มูลคาตามบัญชีสุทธิ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงานสําหรับสินทรัพยแตละประเภท 31.2 การกระทบยอด ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงานระหวา งจํ านวนเงินขั้นต่ําที่ต อง จายทั้งสิ้นกับมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายทั้งสิ้น นอกจากนั้น ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลาการรายงาน กิจการตองเปดเผยจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายทั้งสิ้นและมูลคา ปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายทั้งสิ้นสําหรับระยะเวลาแตละชวงตอไปนี้ 31.2.1 ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป 31.2.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป 31.2.3 ระยะเวลาที่เกินหาป 31.3 คาเชาที่อาจเกิดขึ้นที่รับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด 31.4 จํานวนเงินขั้นต่ํา ทั้งสิ้นที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจากการใหเ ชาชว งที่บ อกเลิ กไมได ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน 31.5 คําอธิบายโดยทั่วไปของขอตกลงตามสัญญาเชาที่มีสาระสําคัญของผูเชา ซึ่งรวมถึงรายการ ตอไปนี้ 31.5.1 เกณฑในการกําหนดจํานวนที่ตองจายสําหรับคาเชาที่อาจเกิดขึ้น 31.5.2 เงื่ อ นไขของการตอ อายุ สั ญ ญาเช า หรือ เงื่ อ นไขของสิ ท ธิ เ ลื อ กซื้ อ และ ขอกําหนดใหปรับราคาหรือปรับอัตรา 31.5.3 ขอ จํากัดที่กําหนดไว ในสัญญาเช า เช น ขอ จํากัดเกี่ยวกั บเงินปนผล การ กอหนี้เพิ่มเติม และการทําสัญญาเชาอื่นเพิ่มเติม 32.

นอกจากนี้ ผูเชา ที่มีสิน ทรั พ ยภ ายใตสัญ ญาเชา การเงิน ตอ งเป ดเผยขอ มูลตามขอ กํ า หนดของ มาตรฐานการบัญชีฉบับอื่น เชน มาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิ น อาคารและอุปกรณ (เมื่อ มีก ารประกาศใช ) มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อ ง การดอยคาของสินทรัพ ย มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพ ย ไมมีตัวตน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 15/24


สัญญาเชาดําเนินงาน 33.

ผูเชาตองรับรูจํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนตาม วิธีเ สนตรงตลอดอายุ สัญญาเช า นอกจากวาจะมีเกณฑอื่นที่ เปนระบบซึ่งแสดงถึงประโยชนที่ ผูเชาไดรับในชวงเวลา2

34.

จํานวนเงินที่จายตามสัญ ญาเชาดําเนิน งาน (ซึ่งไมรวมต นทุนในการใหบริก าร เช น คาประกันภั ย และคาบํารุงรักษา) ตองรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเสนตรง นอกจากวาจะมีเกณฑอื่น ที่เปนระบบซึ่งสะทอนใหเ ห็นถึงประโยชนที่ผูเชาไดรับในชวงเวลา แมวา การจายเงิน จะไมเ ปนไป ตามเกณฑนั้น

การเปดเผยขอมูล 35.

2

นอกจากที่ผูเชาตองเปดเผยขอมูลตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ผู เชา ตองเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาดําเนินงานเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 35.1 จํา นวนเงิน ขั้นต่ํ าที่ตอ งจ ายในอนาคตทั้งสิ้น ภายใตสัญญาเชาดํา เนิน งานที่บอกเลิก ไมไดสําหรับระยะเวลาแตละชวงตอไปนี้ 35.1.1 ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป 35.1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป 35.1.3 ระยะเวลาที่เกินหาป 35.2 จํานวนเงินขั้นต่ําทั้งสิ้นที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจากการเชาชวงที่บอกเลิกไมได ณ วัน สิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน 35.3 จํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาและจํานวนเงินที่จะไดรับตามสัญญาใหเชาชวงที่รับรู ในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด ซึ่งแยกแสดงจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย คาเชาที่อาจเกิดขึ้น และจํานวนเงินที่จะไดรับจากสัญญาใหเชาชวง 35.4 คําอธิบายโดยทั่วไปของขอตกลงสําคัญ ที่ผูเช าตอ งปฏิบัติตามสัญญาเชา ซึ่ งรวมถึง รายการตอไปนี้ 35.4.1 เกณฑในการกําหนดจํานวนที่ตองจายสําหรับคาเชาที่อาจเกิดขึ้น 35.4.2 เงื่อ นไขของการตอ อายุ สัญญาหรือเงื่อนไขของสิทธิเลือกซื้ อและข อกํา หนด ใหปรับราคาหรือปรับอัตรา 35.4.3 ขอจํากัดที่กําหนดไวในสัญญาเชา เชน ขอจํากัดเกี่ยวกับเงินปนผลการกอหนี้ เพิ่มเติม และการทําสัญญาเชาอื่นเพิ่มเติม

ดูการตีความมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สิ่งจูงใจสําหรับสัญญาเชาดําเนินงาน (เมื่อมีการประกาศใช) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 16/24


สัญญาเชาในงบการเงินของผูใหเชา สัญญาเชาการเงิน การรับรูเริ่มแรก 36.

ผูใหเช าตองรั บรูสินทรัพ ยภายใตสั ญญาเช าการเงินเปน ลูกหนี้ใ นงบแสดงฐานะทางการเงิ น ดวยจํานวนที่เทากับเงินลงทุนสุทธิในสัญญาเชา

37.

ภายใตสัญญาเชา การเงิน ผูใหเชาโอนความเสี่ยงและประโยชนของความเปนเจ าของทั้งหมดหรือ เกือบทั้งหมดใหแกผูเชา ดังนั้น ผูใหเชาจึงถือวาลูกหนี้สัญญาเชา คือ สินทรัพยที่จะทําใหผูใหเชา ไดรับเงิน ตนพร อมกับรายได ทางการเงิน เพื่อชดเชยและตอบแทนผูใหเ ชาสําหรับการลงทุนและ บริการที่ให

38.

ผูใหเชา มัก มีตน ทุน ทางตรงเริ่ มแรก เชน คา นายหน า และคา ธรรมเนี ยมทางกฎหมาย ตน ทุ น ทางตรงสว นเพิ่มจากการตอ รองและจัดทําสัญญาเชา ตนทุนดังกลาวไมร วมถึงตน ทุนทั่ว ไป เชน ตนทุนที่เกิ ดขึ้นกับฝายขายและการตลาด สํ าหรับสัญญาเชาการเงิน นอกเหนือจากสัญญาเช าของ ผูให เชาที่เปนผู ผลิต หรือผูแทนจํ าหนา ย ตน ทุนทางตรงเริ่มแรกจะรวมคํานวณอยูใ นลูกหนี้ต าม สัญญาเชาการเงิน และจะเปนสวนหักจากกําไรในชวงอายุของสัญญาเชา อัตราดอกเบี้ยตามนัยของ สัญญาเชาเปนอัตราที่กําหนดขึ้นโดยไดคํานึงถึงตนทุนทางตรงเริ่มแรกซึ่งรวมอยูในยอดลูกหนี้ตาม สัญญาเชา ดังนั้น จึงไมมีความจํา เป นตองรวมยอดดังกลาวแยกตางหาก ตนทุนทางตรงเริ่ม แรก ของผูใหเชา ที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนา ย ไมร วมอยูในคํ านิยามของมาตรฐานการบัญชีฉบับ นี้ และไม รวมเปนส วนหนึ่ งของเงิน ลงทุน สุท ธิในสัญญาเชา จึง ตอ งรับ รูเ ปน คาใชจ ายเมื่อมีก ารรับ รู กําไรจากการขายในวันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล

การวัดมูลคาภายหลังการรับรูเริ่มแรก 39.

การรับรูรายไดทางการเงินตองขึ้นอยูกับรูปแบบที่ สะทอนถึง อัตราผลตอบแทนคงที่ใ นแตละ งวดของเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชา ซึ่งคงเหลือตามสัญญาเชาการเงินนั้น

40.

ผูใหเ ชา ตอ งป น สว นรายไดทางการเงิน ตลอดอายุสัญ ญาเชาดว ยเกณฑที่เป นระบบและสมเหตุ สมผลการป นสวนรายได ตองขึ้นอยู กับรู ปแบบที่ สะทอนใหเห็นถึงผลตอบแทนที่ คงที่ในแต ละงวด ของเงิน ลงทุนสุท ธิของผู ใหเ ชา ซึ่ง คงเหลือ ตามสั ญญาเชา การเงิน จํ านวนที่จ ายตามสั ญญาเชา ที่เกี่ยวของกับงวดบัญชี (ซึ่งไมรวมตนทุนในการใหบริการ) ตองนํามาหักกับเงินลงทุนขั้นตนทั้งสิ้น ในสัญญาเชาการเงินเพื่อลดเงินตนและรายไดทางการเงินรอการรับรู

41.

ผูใหเชาตองทบทวนประมาณการมูลค าคงเหลือที่ไมไ ดรับการประกันที่ใชในการคํานวณเงินลงทุน ขั้นตนตามสัญญาเชาอยางสม่ําเสมอ หากประมาณการมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการประกันมีจํานวน ลดลง ผูใหเชาตองทบทวนการปนสวนรายไดตลอดอายุสัญญาเชา และตองรับรูการลดลงของจํานวน ที่ตั้งคางรับไวในกําไรหรือขาดทุนทันที

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 17/24


41ก

สินทรัพยภายใตสั ญญาเชาการเงินซึ่งจั ดประเภทเปนสินทรัพยร อการขาย (หรือไดรวมอยูในกลุม ของสิ น ทรั พ ย ที่ เ ลิ ก ใช แ ละจั ด ประเภทเป น รอการขาย) ต อ งบั น ทึ ก บั ญ ชี ต ามข อ กํ า หนดของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไว เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก เมื่อสินทรัพยนั้นเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชี ดังกลาว

42.

ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายตองรับรูกําไรจากการขายหรือขาดทุนจากการขายใน งบกํา ไรขาดทุนสําหรับงวดตามนโยบายการบัญ ชีที่กิจ การใชสํ าหรับการขายเสร็จเด็ด ขาด หากอัตราดอกเบี้ยที่ใชเปนอัตราที่ต่ําเกินจริง กําไรจากการขายตองกําหนดขึ้นโดยสมมติใหใช อัต ราดอกเบี้ย เชิ งพาณิ ชย ต นทุ นทางตรงเริ่ม แรกต องรับ รูเ ปน คา ใช จา ยในงบกํ าไรขาดทุน เมื่อมีการรับรูกําไรจากการขาย

43.

ผูผลิตหรือผูแทนจําหนายมักใหทางเลือกแกลูกคาที่จะซื้อหรือเชาสินทรัพย สัญญาเชาการเงินของ สินทรัพยที่ทําโดยผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายทําใหเกิดรายไดสองประเภทดังตอไปนี้ 43.1 กํ า ไรหรื อ ขาดทุน ที่เ ทียบเท า กั บ กํ า ไรหรื อ ขาดทุน ที่เ กิ ดจากการขายเสร็ จ เด็ดขาดของ สินทรั พยที่ใ หเ ชา ดวยราคาขายปกติ ทั้ง นี้จ ะต องคํานึงถึงสวนลดปริ มาณหรือ สว นลด การคาดวย และ 43.2 รายไดทางการเงินตลอดอายุสัญญาเชา

44.

ณ วันที่สัญ ญาเชาเริ่ มมี ผล ผูใหเชาที่เปน ผูผลิตหรื อผูแ ทนจํา หนายจะบัน ทึก รายไดจากการขาย ดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ผูเชาตองจายใหผูใหเชา คิด ลดดว ยอั ตราดอกเบี้ ยในทอ งตลาดแลว แต จํานวนใดจะต่ํ ากวา และจะบัน ทึก ตนทุ นขายด วย ตนทุนของสินทรัพยที่ใหเชาหรือมูลคาตามบัญชี (หากมูลคาตามบัญชีแตกตางจากตนทุนของสินทรัพย ที่ใหเชา) หักดวยมูลคาปจจุบันของมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการประกัน ผลตางระหวางรายไดจากการขาย กับตนทุนขายถือเปนกําไรจากการขายซึ่งตองรับรูตามนโยบายการบัญชีที่กิจการใชสําหรับการขาย เสร็จเด็ดขาด

45.

เพื่อเปนการจูงใจลูกคา ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายบางครั้งจะเสนออัตราดอกเบี้ยที่ต่ํ ากว า ความเปนจริงมากซึ่งทํา ใหรายไดทั้งสิ้นที่รับรู ณ เวลาที่ขายมีจํ านวนสูงเกินไป หากผูใหเ ชาเสนอ อัต ราดอกเบี้ ยที่ ต่ําเกิ นจริง กําไรจากการขายตองเป นจํา นวนที่คํ านวณขึ้น จากอัต ราดอกเบี้ย ใน ทองตลาด

46.

ตนทุนที่เกิดขึ้นในการตอรองและทําสัญญาเชาการเงินของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย ตองรับรูเปน คา ใชจ าย ณ วันที่สัญ ญาเช าเริ่ม มีผ ล เนื่ องจากต นทุนดังกลาวมักเกี่ยวของกับ กํา ไร จากการขายของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 18/24


การเปดเผยขอมูล 47.

นอกจากที่ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ผูใหเชา ตองเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาการเงินเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 47.1 การกระทบยอด ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน ระหวางผลรวมของเงินลงทุนขั้นตน ทั้งสิ้นตามสัญญาเชากับมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญาเชา นอกจากนั้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน กิจการตองเปดเผยผลรวมของเงินลงทุน ขั้นตนตามสั ญญาเช าและมูล ค า ปจจุบันของจํา นวนเงินขั้ นต่ําที่ ลู กหนี้ตอ งจา ยตาม สัญญาเชาสําหรับระยะเวลาแตละชวงตอไปนี้ 47.1.1 ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป 47.1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป 47.1.3 ระยะเวลาที่เกินกวาหาป 47.2 รายไดทางการเงินรอการรับรู 47.3 มูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการประกันซึ่งรวมอยูในผลประโยชนของผูใหเชา 47.4 คา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญของจํา นวนเงินขั้นต่ําที่ลู กหนี้ตองจายตามสัญ ญาเช าที่ คาดว า จะเก็บไมได 47.5 คาเชาที่อาจเกิดขึ้นที่รับรูเปนรายไดในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด 47.6 คําอธิบายโดยทั่วไปของขอตกลงที่สําคัญตามสัญญาเชาของผูใหเชา

48.

การเปดเผยเงินลงทุน ขั้น ตนหักดว ยรายไดทางการเงินรอการรั บรูจ ากสัญ ญาเชาใหมที่ เ พิ่มขึ้ น ระหวางงวดบัญชีหลังจากหักดวยจํานวนเงินที่เกี่ยวของของสัญญาเชาที่ไดยกเลิกถือเปนเครื่องบงชี้ การเติบโตที่มักเปนประโยชนตอผูใชงบการเงิน

สัญญาเชาดําเนินงาน 49.

ผูใ หเชาตอ งแสดงสินทรัพย ที่อยูภายใตสัญญาเช าดํา เนิน งานในงบแสดงฐานะทางการเงิน ตามลักษณะของสินทรัพย

50.

ผูใหเชาตองรับรูรายไดคาเชาจากสัญญาเชาดําเนินงานในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑเสนตรง ตลอดอายุสัญญาเชา นอกจากวาจะมีเกณฑอื่นที่เปนระบบซึ่งแสดงถึงรูปแบบของการไดรับประโยชน ที่ลดลงจากสินทรัพยที่ใหเชา3

51.

ผูใหเชา ตองรั บรูตนทุน (ซึ่งรวมถึงคา เสื่อมราคา) ที่เกิ ดขึ้น เนื่ องจากการไดรั บรายไดคา เช าเปน คาใชจายสํา หรับงวด และรับรูรายได คาเชา (ไมรวมเงิ นรับ จากการใหบริ การ เชน การประกันภัย และการบํารุงรักษา) ในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชาแมวาการรับเงินจะ

3

ดูการตีความมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สิ่งจูงใจสําหรับสัญญาเชาดําเนินงาน (เมื่อมีการประกาศใช) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 19/24


ไมเปนไปตามเกณฑดังกลาว เวนแตจะมีเกณฑที่เปนระบบอยางอื่นที่ดีกวาซึ่งแสดงถึงรูปแบบของ การไดรับประโยชนที่ลดลงจากสินทรัพยที่ใหเชา 52.

ตนทุนทางตรงเริ่มแรกของผูใหเชาที่เกิดขึ้นในการตอรองหรือการทําสัญญาเชาดําเนินงานจะรวม เปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เชา และจะรับรูเปนคาใชจายตลอดอายุสัญญาเชา ตามเกณฑเชนเดียวกับการรับรูรายไดจากสัญญาเชา

53.

คาเสื่อมราคาของสินทรัพยที่ใหเชาตองบันทึกโดยใชเกณฑที่สอดคลองกับนโยบายการคิดคา เสื่อมราคาตามปกติของสินทรัพยที่คลายคลึงของผูใหเชา และคาเสื่อมราคาตองคํานวณตาม เกณฑที่ กําหนดไวในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิ น อาคารและอุปกรณ (เมื่อมีการประกาศใช) และฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน

54.

ในการพิจารณาวา สิน ทรัพ ยที่ เช าเกิด การดอยคา หรือ ไม กิจ การตอ งถื อปฏิบั ติตามขอกํา หนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย

55.

ผูใหเ ชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจํา หนายเมื่อไดมีการทําสัญญาเชาดําเนิ นงานตองไมรับ รูเปนกําไร จากการขาย เนื่องจากการทําสัญญาเชนนั้นไมถือวาเปนการขาย

การเปดเผยขอมูล 56.

นอกจากที่ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปดเผยขอมู ลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ผูใหเช า ตองเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาดําเนินงานเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 56.1 จํา นวนเงิน ขั้นต่ํ าที่ตอ งจ ายในอนาคตทั้งสิ้น ภายใตสัญญาเชาดํา เนิน งานที่บอกเลิก ไมไดโดยแสดงจํานวนรวมสําหรับระยะเวลาแตละชวงตอไปนี้ 56.1.1 ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป 56.1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป 56.1.3 ระยะเวลาที่เกินหาป 56.2 คาเชาที่อาจเกิดขึ้นที่รับรูเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน 56.3 คําอธิบายโดยทั่วไปของขอตกลงที่สําคัญตามสัญญาเชาสําหรับผูใหเชา

57.

นอกจากนี้ ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการบัญชีฉบับอื่น ในส วนที่ เกี่ ยวกั บจํ านวนของสิ นทรั พย ที่ ใหเช าตามสั ญญาเชาดํ าเนิ นงานซึ่ งผู ให เชาบั นทึกเป น สินทรัพย เชน ขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (เมื่อมีการประกาศใช) ฉบั บที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 20/24


การขายและเชากลับคืน 58.

การขายและเชา กลับ คืนคือการที่ที่ผู ขายขายสิ นทรั พยแ ลว และผูขายทํ าสัญ ญาเชาสิน ทรัพยนั้ น กลับคืนมา จํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาและราคาขายจึงมักมีความสัมพันธกันเนื่องจากไดมี การตอรองราคารวมกั น วิธีปฏิบัติทางบัญชีสําหรับการขายและเชากลับ คืนขึ้นอยูกั บประเภทของ สัญญาเชาที่เกี่ยวของ

59.

หากรายการขายและเชากลับคืนกอใหเกิดสัญญาเชาการเงิน สิ่งตอบแทนจากการขายที่สู งกวา มูลคาตามบัญชี ของสินทรั พยจะต องไมรั บรูเปนกําไรในงบกํ าไรขาดทุนของผูขายที่ เปนผูเช า โดยทันที แตตองบันทึกรับรูเปนรายการรอตัดบัญชี และตัดจําหนายไปตลอดอายุสัญญาเชา

60.

หากการเชากลับคืนถือเปนสัญญาเชาการเงิน รายการดังกลาวเปนวิธีที่ผูใหเชาจัดหาเงินทุนใหกับ ผูเชาโดยใชสินทรัพยเปนหลักประกัน ดวยเหตุนี้ จึงไมเหมาะสมที่จะถือวาสิ่งตอบแทนจากการขาย ที่สูงกวามูลคาตามบัญชีเปนรายได แตตองบันทึกสวนเกินดังกลาวเปนรายการรอการตัดบัญชีและ ตัดจําหนายไปตลอดอายุสัญญาเชา

61.

ในกรณีที่การขายและเชากลับคืนกอใหเกิดสัญญาเชาดําเนินงาน 61.1 หากราคาขายมีจํานวนเทียบเทากับมูลคายุติธรรมอย างเห็ นไดชั ด ผูขายตองรับรูผลกําไร หรือผลขาดทุนจากการขายในงบกําไรขาดทุนทันที 61.2 หากราคาขายมีจํานวนต่ํากวา มูล คา ยุติธรรม ผูขายตอ งรับรูผลกําไรหรื อผลขาดทุน จากการขายในงบกําไรขาดทุนทันที เวนแตผูขายจะไดรับชดเชยผลขาดทุนที่เกิดขึ้น โดยการจายคาเชาในอนาคตที่ต่ํากวาราคาตลาด ในกรณีนี้ผูขายตองบันทึกผลขาดทุน จากการขายเปนรายการรอการตัดบัญชีและตัดจําหนายตามสัดสวนของจํานวนคาเชา ที่ จ า ยในแต ล ะงวดตามระยะเวลาที่ ผู ข ายที่ เ ป น ผู เ ช า คาดว า จะใช ป ระโยชน จ าก สินทรัพยที่เชา 61.3 หากราคาขายมีจํานวนสูงกวามูลคายุติธรรม ผูขายตองรับรูจํานวนที่สูงกวามูลคายุติธรรม เป นรายการรอการตั ดบั ญชีและตั ดจํ าหน ายตามระยะเวลาที่ คาดวาจะใชป ระโยชน สินทรัพยที่เชา

62.

หากการเชากลับคืน ถือเป นสัญญาเชาดํา เนิ นงาน และจํา นวนที่ตอ งจา ยตามสัญญาเช า และราคา ขายกําหนดขึ้นตามมูลคายุติธรรม รายการดังกลาวเปนรายการขายตามปกติที่กิจการสามารถรับรู กําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุนทันที

63.

สํา หรับสัญญาเช าดํ าเนินงาน หากมูลคา ยุติ ธรรม ณ เวลาขายและเชา กลับคืน ต่ํากว ามูลค า ตามบัญชีของสินทรัพย กิจการตองรับรูผลตางระหวางมูลคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรมเปน ผลขาดทุนในงบกําไรขาดทุนทันที

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 21/24


64.

สําหรับสัญญาเชาการเงิน กิจการไมตองปรับปรุงผลตางดังกลาว เวนแตสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา ซึ่ง ในกรณีดังกลา วกิจการตองปรับลดมูล คาตามบัญชีของสิ นทรัพยใ หเ ทา กับมูล คาที่ค าดวาจะ ไดรับคืนตามขอกําหนดที่ระบุในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การดอยคา ของสินทรัพย

65.

ผูเชาและผูใหเชาตามสัญญาขายและเชากลับ คืนตองเปดเผยขอมูล เชนเดียวกับผูเชาและผูใหเชา ตามสัญญาเชาตามที่ระบุในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ รวมถึงการเปดเผยขอกําหนดที่มีสาระสําคัญ ในสัญญาเชาที่มีลักษณะเฉพาะ หรือที่ไมธรรมดา หรือเงื่อนไขของการขายและเชากลับคืน

66.

กิจการอาจตองเปด เผยรายการขายและเชา กลับ คืน แยกต างหากเนื่อ งจากเปน ไปตามขอกํ าหนด ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนําเสนองบการเงิน

การปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลง 67.

(ยอหนานี้ไมเกี่ยวของ)

68.

(ยอหนานี้ไมเกี่ยวของ)

วันถือปฏิบัติ 69. มาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 17 (ปรั บปรุง 2552) ใหถื อปฏิบัติ กับงบการเงิน สํา หรับ รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เปนตนไป ทั้งนี้สนับสนุนใหนําไปใชกอนวันถือ ปฏิบัติ หากกิจการนํามาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไปถือปฏิบัติสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มกอน วันที่ 1 มกราคม 2554 กิจการตองเปดเผยขอเท็จจริงดังกลาวดวย

การยกเลิกมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม 70. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใชแทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2550)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 22/24


แนวทางปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา แนวทางปฏิบัตินี้ใชประกอบกับมาตรฐานการบัญชี แตไมถือเปนสวนหนึ่งของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17

ตัวอยางรายการขายและเชากลับคืนที่กอใหเกิดสัญญาเชาดําเนินงาน การขายและเช ากลับคืนที่ เป นสัญญาเชา ดําเนิน งานจะทํา ให เกิ ดกํ าไรหรื อขาดทุนในงบกําไรขาดทุนทัน ที ซึ่งวิธีป ฏิบั ติท างการบั ญ ชี จ ะขึ้น อยูกั บ ราคาขาย มู ลคา ยุติธรรมของสิน ทรั พ ย และมูลคา ตามบั ญ ชีของ สินทรัพย ตารางตอไปนี้แสดงถึงวิธีปฏิบัติตามขอกําหนดในมาตรฐานการบัญชีในสถานการณตางๆ ราคาขายเทากับมูลคายุติธรรม (ยอหนา 61) (1) กําไร ขาดทุน ราคาขายต่ํากวามูลคายุติธรรม (ยอหนา 61) กําไร ขาดทุน (ซึ่งไมไดรับการชดเชย จากจํ า นวนเงิ น ที่ ต อ งจ า ยใน อนาคตตามสัญญาเชาที่ ต่ํา กว า ราคาตลาด) ขาดทุ น (ซึ่ ง ได รั บ การชดเชย จากจํ า นวนเงิ น ที่ ต อ งจ า ยใน อนาคตตามสัญญาเชาที่ ต่ํา กว า ราคาตลาด) ราคาขายสูงกวามูลคายุติธรรม (ยอหนา 61) กําไร

ขาดทุน

มู ล ค า ต า ม บั ญ ชี มูลคาตามบัญชีนอย มู ล ค า ตามบั ญ ชี สู ง กว า เทากับมูลคายุติธรรม กวามูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรม (2) (3) (4) ไมมีกําไร รับรูก ําไรทันที ไมมีขาดทุน รับรูข าดทุนทันที

ไมมีกําไร รับรูขาดทุนทันที

รับรูกําไรทันที รับรูขาดทุนทันที

ไมมีกําไร (ดูหมายเหตุ 1) (ดูหมายเหตุ 1)

รายการรอตั ด บั ญ ชี รายการรอตัดบั ญ ชี (ดูหมายเหตุ 1) แ ล ะ ตั ด จํ า ห น า ย แ ล ะ ตั ด จํ า ห น า ย ขาดทุน ขาดทุน

รายการรอตั ด บั ญ ชี รายการรอตั ด บั ญ ชี และตัดจําหนายกําไร แ ล ะ ตั ด จํ า ห น า ย กํ า ไ ร ส ว น เ กิ น (ดูหมายเหตุ 3) ไมมีขาดทุน ไมมีขาดทุน

รายการรอตัดบั ญชีและ ตัดจําหนายกําไร (ดูหมายเหตุ 2) (ดูหมายเหตุ 1)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 23/24


หมายเหตุ 1 สว นดังกลาวของตารางแสดงถึงสถานการณที่อ ยูภ ายใตขอกํ าหนดในยอหนา ที่ 63 ซึ่ง กํา หนดใหกิจ การต องบันทึ กลดมูลค าตามบั ญชี ของสิน ทรั พยใหเทา กับ มูลคายุติธ รรมใน กรณีของการขายและเชากลับคืน หมายเหตุ 2 ผลตางระหวางมูลคายุติธรรมและราคาขายถือเปนผลกําไร ซึ่งมูลคาตามบัญชีไดถูกปรับ ลด ใหเทากับมูลคายุติธรรมตามที่กําหนดไวในยอหนาที่ 63 หมายเหตุ 3 กํา ไรสวนเกิน (สวนของราคาขายเกิน กวา มูลคายุติธรรม) จะถื อเปน รายการรอตั ดบัญ ชี และตั ดจํ าหนา ยตลอดอายุก ารใช งานของสิน ทรัพ ย หากมูล คา ยุติ ธรรมมี สว นที่ เกิ นกวา มูลคาตามบัญชี จะรับรูสวนเกินนั้นทันที

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) หนา 24/24



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.