การตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน
จัดทาโดย น.ส. ขวัญชนก ฮะหวัง
รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชีบริ หาร) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา พ.ศ. 2555
วันที่ 27 กรกฎาคม 2555 เรื่ อง
ขอส่งรายงานการฝึ กงาน
เรี ยน อาจารย์ที่ปรึ กษา สาขาการบัญชีบริ หาร อาจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ ตามที่ขา้ พเจ้า นางสาวขวัญชนก ฮะหวัง นิสิตสาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ได้เข้ารับการฝึ กงานระหว่างวันที่ 19 มีนาคม 2555 ถึงวันที่
1 มิถุนายน 2555 ในตาแหน่ง ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี ณ บริ ษทั สานักงานสอบ
บัญชีก่อเกียรติ และธุรกิจบัญชี จากัด ชลบุรี และได้รับมอบหมายให้ศึกษาและทารายงานเรื่ อง การ ตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงินนั้น บัดนี้ การฝึ กงานดังกล่าวได้สิ้นสุดลง ข้าพเจ้าขอส่งรายงานดังกล่าวมาพร้อมกันนี้ จานวน 1 เล่ม เพื่อขอรับคาปรึ กษาต่อไป จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ
( นางสาวขวัญชนก ฮะหวัง )
(1)
กิตติประกาศ รายงานเล่มนี้จดั ทาขึ้นเนื่องจากการได้ไปปฏิบตั ิงานฝึ กงานช่วงปิ ดภาคเรี ยน ความรู้ที่ได้ จากการเรี ยนในห้องเรี ยนรวมถึงการได้รับมอบหมายงานเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีทาให้ขา้ พเจ้า มีความรู้มากพอที่จะเผยแพร่ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเล่าเรี ยนและได้รับจากการฝึ กงานให้กบั ผูท้ ี่ สนใจได้ศึกษาเพิม่ เติม จากการศึกษาในห้องเรี ยนและได้ไปปฏิบตั ิงานจริ ง
ทาให้ขา้ พเจ้าเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการและวิธีการสอบบัญชีของผูต้ รวจสอบบัญชีมากขึ้นรวมถึงได้ปฏิบตั ิงานจริ งทาให้ ข้าพเจ้าพบปัญหาและข้อบกพร่ องที่นอกเหนือจากการศึกษาในห้องเรี ยน เหตุการณ์ต่างๆเป็ น ประสบการณ์ที่สอนให้เราเป็ นผูใ้ หญ่มากขึ้น ประโยชน์ของรายงานเล่มนี้อา จช่วยให้เราเห็นภาพรวมของการสอบบัญชี กระบวนการ สอบบัญชีของผูต้ รวจสอบบัญชีซ่ ึงทาให้เรานาความรู้และเทคนิคต่างๆที่ได้จากการฝึ กงานไป ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมต่อไป รายงานเล่มนี้สาเร็ จขึ้นได้ก็เกิดจากปัจจัยหลายประการ ขอบคุณบิดา มารดาที่สนับสนุนให้ ข้าพเจ้าได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขอบคุณครู บาอาจารย์ พี่ๆฝึ กงาน คุณเกียรติ เจ้าของสานักงาน สอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี ขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ทาให้ขา้ พเจ้ามีความรู้เพียงพอใน การจัดทารายงานนี้ได้โดยเสร็ จสมบูรณ์
(2)
คานา รายงานเล่มนี้จดั ทาขึ้นเพื่อให้ผทู้ ี่สนใจทางด้านทา บัญชีหรื อสอบบัญชีได้ศึกษาเพิ่มเติม เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีในการตรวจสอบบัญชีต้งั แต่ข้นั ตอนแรกจนถึง ขั้นตอนสุดท้ายของการตรวจสอบบัญชี สถานการณ์ และการปฏิบตั ิงานที่เกิดขึ้นจริ งนอกเหนือจาก ที่ได้ศึกษามาในห้องเรี ยน รวมถึงเอกสารต่างๆที่จาเป็ นต่อการใช้เพื่อตรวจสอบบัญชีว่าจาเป็ นต้องมี เอกสารอะไรบ้างจึงจะครบถ้วนและพอควรต่อการตรวจสอบบัญชีของบริ ษทั หนึ่งๆได้ ผูจ้ ดั ทารายงานเล่มนี้หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้จะช่วยให้ผทู้ ี่สนใจทางด้านบัญชีและ ตรวจสอบบัญชีจะได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่ องที่ได้อธิบายไปไม่มากก็นอ้ ย หากมีขอ้ ผิดพลาดประการ ใดที่เกิดจากการทารายงานนี้ขา้ พเจ้าขอรับผิดเพียงผูเ้ ดียว
ผูจ้ ดั ทา ขวัญชนก ฮะหวัง มิถุนายน 2555
(3)
สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ
(1)
คานา
(2)
สารบัญ
(3)
สารบัญแผนภูมิ
(5)
สารบัญภาพ
(6)
บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน
1 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2
บทที่ 2 การบริ หารและการดาเนินงานของหน่วยงาน สถานที่ต้งั
3
ประวัติสานักงาน
5
แผนผังองค์กร
7
กฎระเบียบของบริ ษทั บริ การของบริ ษทั
8 8
กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั
14
งานที่ได้รับมอบหมาย
14
ประโยชน์ที่ได้จากการฝึ กงาน
16
ข้อเสนอแนะ
17
ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่รายงานการศึกษา
18
(4)
สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 3 การตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน ความหมายของการตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน
19
เป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์หลักในการตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน
19
ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่ตอ้ งปรับปรุ งรายการ
21
ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่ไม่ตอ้ งปรับปรุ งรายการ
21
การตรวจสอบการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด
22
เอกสารเบื้องต้นในการตรวจสอบ
26
ข้อค้นพบจากการปฏิบตั ิการงานจริ ง
32
ผลที่ได้รับจากการปฏิบตั ิงานจริ ง
33
สรุ ป
34
ข้อเสนอแนะ
35
บรรณานุกรม
(5)
สารบัญแผนภูมิ หน้ า แผนภูมทิ ี่ 1. แผนผังองค์กร
7
(6)
สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 1. แผนที่ บริ ษทั
3
2. ภาพบริ ษทั
4
3. ใบส่งสินค้า
26
4. หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
27
5. ใบกากับภาษี
27
6. ใบเสร็ จรับเงิน
28
7. ตัวอย่างกระดาษทาการหลักของบัญชีลกู หนี้การค้า
30
8. ตัวอย่างกระดาษทาการหลักของบัญชีเจ้าหนี้การค้า
30
9. ตัวอย่างแบบสรุ ปรายละเอียดลูกหนี้การค้า
31
1
บทที่ 1 บทนา การผลิตนักบัญชีที่ดีและมีคุณภาพ จะศึกษาหาความรู้แต่เพียงอย่างเดียวคงจะไม่ได้ จาเป็ นต้องมีการฝึ กภาคปฏิบตั ิให้มีความรู้และประสบการณ์มากเพียงพอที่จะสามารถปฏิบตั ิงานที่ ได้รับมอบหมายได้อย่างดี มีความมัน่ ใจ เชื่อมัน่ และที่สาคัญนักบัญชีจะต้องมีจรรยาบรรณรวมถึง ความซื่อสัตย์ดว้ ยถึงจะได้ชื่อว่าเป็ นนักบัญชีที่ดี การฝึ กงานเป็ นกระบวนการภาคปฏิบั ติ เปรี ยบเสมือนหัวใจของการที่จะผลิตนักบัญชีที่มีคุณภาพ เพราะการฝึ กงานเป็ นประสบการณ์ที่ สาคัญอย่างยิง่ เพราะเป็ นช่วงสาคัญที่นิสิตทุกคนจะได้นาทฤษฎีที่ได้จากการศึกษามาในวิชาต่างๆไป ประยุกต์ใช้สู่ภาคปฏิบตั ิซ่ ึงเป็ นโอกาสสาคัญที่นิสิตทุกคนจะได้ฝึกงานภายใต้การแนะนา ของ ผูบ้ งั คับบัญชา อาจารย์ที่ปรึ กษา รุ่ นพี่ที่ดูแลฝึ กงาน รวมถึงเพื่อนร่ วมงานทุกคน ได้ฝึกงานทั้งที่อยู่ กับสานักงานและออกไปฝึ กปฏิบตั ินอกสถานที่ตามระยะเวลาที่หลักสูตรได้กาหนดไว้
ความสาคัญของการฝึ กงาน 1. 2. 3. 4.
ช่วยให้ตระหนักถึงภาระความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อภาระงานที่ ได้รับมอบหมาย เพิ่มทักษะความรู้และประสบการณ์ก่อนออกไปปฏิบตั ิงานจริ ง ฝึ กระเบียบ วินยั ความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนปฏิบตั ิในการฝึ กงานสอบบัญชี ฝึ กการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ในสังคมการทางาน
วัตถุประสงค์ในการฝึ กงาน 1. เพื่อให้นิสิตทุกคนได้ฝึกประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานในด้านวิชาชีพการบัญชีของตน 2. เพือ่ ให้นิสิตทุกคนได้ฝึกประสบการณ์ทางด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อรับประสบการณ์ใหม่ๆ จากสถานที่ฝึกงาน และสามารถนาความรู้ที่ได้น้ ีไปประยุกต์ใช้ ในการศึกษาหรื อทางานในอนาคต 4. เพื่อนาความรู้จากการศึกษาในห้องเรี ยนไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
2
5. เพื่อให้นิสิตทุกคนได้ฝึกบุคลิกภาพในการไปพบลูกค้าหรื อผูท้ ี่อาวุโสกว่ารวมถึงฝึ กให้เรามี บุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือด้วย 6. เพื่อให้นิสิตทุกคน รู้จกั วิเคราะห์ปัญหา แสวงหาแนวทางแก้ไขให้สาเร็ จลุล่วงได้ 7. ฝึ กให้นิสิตทุกคนรู้จกั การทางานเป็ นทีมมากยิง่ ขึ้น 8. เพื่อให้นิสิตทุกคนฝึ กการมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และทางานที่ได้รับ จนเสร็ จสิ้นตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ 9. เพื่อเป็ นการฝึ กในการเตรี ยมความพร้อมสู่การไปปฏิบตั ิงานจริ งในอนาคต 10. เพื่อให้เข้าใจกระบวนการทางานของผูส้ อบบัญชีมากขึ้น 11. เพื่อเป็ นการฝึ กให้นิสิตทุกคนมีความกระตือรื อร้นต่อการปฏิบตั ิงาน 12. เพื่อจะได้ทราบความต้องการและเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกอาชีพของตนเองในอนาคต 13. เพื่อฝึ กการสร้างสัมพันธไมตรี กบั ผูอ้ ื่น
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับจากการฝึ กงาน 1. ทาให้รู้และเข้าใจถึงกระบวนการและวิธีการปฏิบตั ิงานทางด้านการสอบบัญชีมาก ยิง่ ขึ้น 2. ทาให้ทราบถึงการทางานใต้การบังคับบัญชา 3. ได้เรี ยนรู้การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น และวัฒนธรรมของบริ ษทั 4. ทาให้นิสิตทุกคนได้ฝึกความเป็ นระเบียบวินยั และมีความรับผิดชอบมากขึ้น 5. ได้เรี ยนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆจากการฝึ กงาน 6. ได้มิตรภาพและสัมพันธภาพที่ดีจากเพื่อนร่ วมงาน 7. มีความตรงต่อเวลามากขึ้น 8. ประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ กงานจะเป็ นแนวทางในการพัฒนานิสิตทุกคนให้ ความรู้ที่เพียงพอต่อการออกไปปฏิบตั ิงานจริ ง
3
บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษัท สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด สถานที่ต้งั ชื่อ (Contact Name): บริ ษทั สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด ชื่อบริษัท (Company name): บริ ษทั สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด ทีอยู่ (Address): 200/13 ถนนเจิมจอมพล รหัสไปรษณีย์ (Postal): 20110 จังหวัด: ชลบุรี เขต: ศรี ราชา ประเทศ (Country): ไทย
ภาพที่ 1 แผนที่ บริ ษทั สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด
4
ประวัติ บริษัท สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด บริ ษทั สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด จดทะเบียนห้างหุน้ ส่วนบริ ษทั เป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2543 โทรศัพท์ (Phone):08-1841-7119 เลขทะเบียนพาณิ ชย์ : 0205543006142 ทุนจดทะเบียน : 1,000,000 ฿
ภาพที่ 2 ภาพถ่ ายหน้ า บริษัท สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด
5
ประวัตแิ ละประสบการณ์ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ วุฒิการศึกษา
กิจกรรมระหว่างเรียน ปี 4
นาย เกียรติ ก่อเกียรติ 75 ปี ชั้นมัธยมศึกษา : ร.ร. อัสสัมชัญ บางรัก กรุ งเทพฯ อุดมศึกษา : บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กรรมการสโมสรนิสิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปี และ กรรมการคณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาฯ ปี 2
ถึง ปี 4 ประสบการณ์ทางาน
ด้ านสังคม
ปัจจุบัน
-บริ ษทั สเวอร์ดรัป แอนซ์พาเซอร์ อิงก์ (Sverdrup & Parcel Inc.) -บริ ษทั โรงกลัน่ น้ ามัน ไทยออยล์ จากัด (30 ปี ) -ผูจ้ ดั การสหกรณ์ออมทรัพย์ไทยออยล์ และผู้ ประสานงานโครงการเงินกูเ้ พื่อการเคหะสงเคราะห์ บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (5ปี ) -ผูส้ อบบัญชีของกลุ่มบริ ษทั แพน ที่ศรี ราชา และที่ จังหวัด กบินทร์บุรี และเป็ นที่ปรึ กษาทางด้านบัญชี และ ภาษีอากร -อดีตประธานสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับ อนุญาตแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออก (ครอบคลุม 7 จังหวัด) -กรรมการสมาคมนิสิตเก่า จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สาขาจังหวัด ชลบุรี -ประธานชมรมนิสิตเก่าบัญชีจุฬา จังหวัด ชลบุรี -กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั สานักงานสอบบัญชี ก่อเกียรติ และธุรกิจบัญชี จากัด
6
(ต่อ)
ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 1959 -ที่ปรึ กษาสมาคมนิสิตเก่า จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สาขาจังหวัด ชลบุรี -ที่ปรึ กษาสภาวิชาชีพ บัญชีฯ สาขาจังหวัด ชลบุรี -กรรมการสมาคมนักภาษีอากร กรุ งเทพฯ -ที่ปรึ กษา บริ ษทั ชาวต่างประเทศทางด้านบัญชีและภาษี ในนิคมอุสาหกรรมต่างๆในจังหวัด ชลบุรี และ กรุ งเทพฯ บางส่วน
7
ผังการจัดองค์กรและการบริหารจัดการ
กรรมการผู้จดั การ
พนักงานตรวจสอบบัญชี
แผนภูมทิ ี่ 1 แผนผังการจัดองค์กร
พนักงานตรวจสอบบัญชี
8
กฎระเบียบของบริษัท 1. 2. 3. 4. 5. 6.
แต่งกายสุภาพเรี ยบร้อย มีความตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีความเคารพและอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผูบ้ งั คับบัญชา ไม่ทะเลาะวิวาทกันในสถานที่ทางาน ช่วยกันรักษาความสะอาดในบริ เวณบริ ษทั
บริการของบริษัทฯ บริการทาบัญชี (Bookeeping) 1. ให้คาแนะนาปรึ กษาด้านบัญชี-ภาษีและการจัดเก็บเอกสารขั้นพื้นฐานในการบันทึกบัญชี 2. วิเคราะห์รายการเอกสารเพื่อประกอบการบันทึกบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่าย การปรับปรุ งบัญชี และรายงานทางบัญชีต่างๆ ครบถ้วนตามกฎหมายบัญชีและกรมสรรพากรกาหนด 3. บันทึกรายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ด้วยระบบโปรแกรมบัญชีที่ได้มาตรฐานของ กรมสรรพากร 4. คานวณและจัดเตรี ยมแบบภาษีที่ตอ้ งยืน่ นาส่งสรรพากรในแต่ละเดือน พร้อมบริ การยืน่ ชาระภาษี ได้แก่ ภ.ง.ด.1 , ภ.ง.ด.3 , ภ.ง.ด.53 , ภพ.30 , รายงานภาษีซ้ือ , รายงานภาษีขาย 5. จัดเตรี ยมแบบนาส่งเงินสมทบประกันสังคม พร้อมนาส่งสานักงานประกันสังคม 6. การจัดเตรี ยมและยืน่ แบบภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่ งปี (ภ.ง.ด.51) และประจาปี (ภ.ง.ด.50) ตามประมวลรัษฎากร 7. จัดทางบการเงิน รายเดือน รายไตรมาส รายครึ่ งปี และประจาปี
9
บริการตรวจสอบบัญชี (Audit) 1. ตรวจสอบบัญชี-งบการเงิน ด้วยทีมงานที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย 2. รายงานข้อสังเกตสู่ผบู้ ริ หาร เพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่ องของระบบภายในทางบัญชี ที่ สาคัญ ซึ่งมักตรวจพบในระหว่างปฎิบตั ิงานตรวจสอบบัญชี 3. บริ การจัดเตรี ยมรายละเอียด ประกอบการยืน่ งบการเงิน และจัดทางบการเงิน 4. ยืน่ งบส่งกระทรวงพาณิ ชย์ ได้แก่ สปช.3 สาเนารายชื่อผูถ้ ือหุน้ (บอจ.5) 5. บริ การจดทะเบียน (Registration) 1. จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั , ห้างหุน้ ส่วนจากัด , ร้านค้า 2. จดทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น ย้ายสถานประกอบการ , เพิม่ ลด สาขา , เพิม่ ทุน/ลดทุน ฯลฯ 3. จดทะเบียนปิ ดกิจการ บริ ษทั , ห้างหุน้ ส่วน และร้านค้า 4. จดทะเบียนขอบัตรประจาตัวผูเ้ สียภาษี อากร และจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่ม 5. ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นายจ้าง, ลูกจ้าง 6. ขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงานฯ และต่อใบอนุญาต 7. ขอใบอนุญาตทางานคนต่างด้าว 8. ติดต่อการค้าระหว่างประเทศ(เอกสาร)
บริการ แนะนาให้ธุรกิจมีรูปแบบกิจการที่เหมาะสม โดยพิจารณาองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น ลักษณะการประกอบกิจการ ความคล่องตัวในการบริ หารงาน ความเชื่อถือ เป็ นต้น เพื่อให้ธุรกิจ ได้รับประโยชน์ทางด้านภาษีสูงสุด สานักงานฯให้บริ การครบวงจร ตั้งแต่จดั ตั้งธุรกิจ จนกระทัง่ ถึง จดเลิกและเสร็ จชาระบัญชี ให้การจดทะเบียนเป็ นไปอย่างรวดเร็ วถูกต้อง ครบถ้วนตามกฎหมาย โดยผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
10
ขอบเขตงาน -จดทะเบียนพาณิ ชย์ ร้านค้า -จดทะเบียนบริ ษทั ห้างหุน้ ส่วนสามัญ ห้างหุน้ ส่วนจากัด -จดทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น 1. แก้ไขกรรมการ อานาจกรรมการ 2. เพิ่มทุน ลดทุน 3. แก้ไขเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ 4. ย้ายที่ต้งั สานักงาน 5. เพิ่ม ลด สาขา 6. เปลี่ยนแปลงรายชื่อผูถ้ ือหุน้ -จดทะเบียนเลิก และชาระบัญชี -ขอมีเลขประจาตัวผูเ้ สียภาษีของคณะบุคคล ,นิติบุคคล -จดทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบการในระบบภาษีมลู ค่าเพิ่ม , ภาษีธุรกิจเฉพาะ -จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ต่อกรมสรรพากร -ขึ้นทะเบียนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน และแจ้งการเปลี่ยนแปลงต่างๆ -จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า, ลิขสิทธิ์ , สิทธิบตั ร -ขอใบอนุญาตกับส่วนราชการอื่นๆ เช่น ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ -ขอชาระภาษีโรงเรื อน ,ภาษีป้าย -ต่ออายุใบอนุญาตทางาน Visa และ Work permit -ต่อใบอนุญาตโรงงาน ฯลฯ ขั้นตอนการให้ บริการ -ให้คาแนะนารู ปแบบการจดทะเบียนที่เหมาะสม เพื่อประโยชน์ทางด้านภาษีอากร และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง -สานักงานฯ แจ้งขอข้อมูล และเอกสารที่ตอ้ งใช้ในการจดทะเบียนจากท่าน -สานักงานฯ จัดทาแบบฟอร์มจดทะเบียน และส่งให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องของกิจการลงนาม
11
-สานักงานฯ จัดส่งเอกสารที่นาไปยืน่ จดทะเบียนต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเรี ยบร้อยแล้วให้ ท่าน อัตราค่าบริการ ค่าบริ การขึ้นกับประเภทและความซับซ้อนของการจดทะเบียน
สอบบัญชี ตรวจสอบบัญชี นิติบุคคลทุกประเภทมีหน้าที่ตอ้ งจัดทาบัญชีและจัดให้มีการตรวจสอบบัญชี โดยผูต้ รวจสอบ บัญชีรับอนุญาตหรื อผูต้ รวจสอบบัญชีภาษีอากร
บริการ ตรวจสอบบัญชีโดยผูต้ รวจสอบบัญชีรับอนุญาต และผูต้ รวจสอบบัญชีภาษีอากรที่มีความ เชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ตรวจสอบบัญชีจากบริ ษทั ตรวจสอบบัญชีช้นั นา (Big Four) ขอบเขตงาน ตรวจสอบบัญชี เพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินว่าถูกต้องตามหลักการบัญชี ที่รับรอง ทัว่ ไปหรื อไม่ เสนอรายการปรับปรุ งทางบัญชี และภาษีอากร เสนอข้อสังเกตต่อผูบ้ ริ หาร เพื่อให้ทราบถึงความบกพร่ องของการควบคุมภายในที่สาคัญ ซึ่งอาจ
12
นาไปสู่การทุจริ ตหรื อความผิดพลาด ในการดาเนินงานภายในองค์กร, เสนอแนะการจัดทาและ จัดเก็บเอกสารที่เป็ นระบบ ฯลฯ อัตราค่าบริการ ค่าบริ การขึ้นกับความซับซ้อนและปริ มาณของรายการบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ที่ตรวจสอบบัญชี ทาบัญชี บริ การจัดทาบัญชี บริ การงานบัญชีและภาษีอากรครบวงจรด้วยงานที่มีคุณภาพโดยทีมงานมืออาชีพที่มีความรู้ และประสบการณ์กว่า 10 ปี ในหลากหลายประเภทธุรกิจทั้งกิจการซื้อมา-ขายไป, บริ การ, บันเทิง, โรงแรม, โรงงานพลาสติก, สิ่งทอ, สิ่งพิมพ์, นาเข้า-ส่งออก, อสังหาริ มทรัพย์, รับเหมาก่อสร้าง, ขนส่ง ฯลฯ ให้บริ การด้านบัญชีและภาษีอากร ทั้งสาหรับบุคคลธรรมดา ด้านภาษีส่วนบุคคล และ นิติบุคคลทั้งที่พ่งึ จัดตั้งใหม่ และกาลังดาเนินการ
ตัวอย่างงานของเรา บุคคลธรรมดา
จัดทาบัญชี วางแผนภาษีและวิเคราะห์ขอ้ มูลทางการเงิน จัดทาและยืน่ แบบภาษีทุกประเภท เช่น - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม (ภพ.30) - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด. 90, ภ.ง.ด. 91, ภ.ง.ด. 94)
สอบทานรายงานภาษีซ้ือและภาษีขาย จัดทาบัญชีคุมสินค้า ให้คาแนะนาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบัญชีและภาษีอากร
13
ให้คาปรึ กษา และให้การแนะนาเกี่ยวกับการจัดระบบเอกสารทางการค้าต่าง ๆ เพื่อการ ควบคุมภายในที่ดี แก้ปัญหาประเด็นภาษีอากรเมื่อถูกตรวจสอบจากกรมสรรพากร ฯลฯ
นิตบิ ุคคล
จัดทาบัญชี วางแผนภาษีและวิเคราะห์งบการเงิน จัดทาและยืน่ แบบภาษีทุกประเภท เช่น - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด. 3,ภ.ง.ด. 53) - ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด. 50, ภ.ง.ด. 51)
สอบทานรายงานภาษีซ้ือและภาษีขาย จัดทางบการเงินนาส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดทาบัญชีคุมสินค้า ให้คาแนะนาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบัญชีและภาษีอากร ให้คาปรึ กษา และให้การแนะนาเกี่ยวกับการจัดระบบเอกสารทางการค้าต่าง ๆ เพื่อการ ควบคุมภายในที่ดี แก้ปัญหาประเด็นภาษีอากรเมื่อถูกตรวจสอบจากกรมสรรพากร ฯลฯ
ขั้นตอนการให้ บริการ
ให้คาแนะนาและปรึ กษา เกี่ยวกับบัญชีและภาษีอากร บันทึกบัญชีและสรุ ปผลดาเนินงานของกิจการจากเอกสารที่ท่านจัดทา เพื่อให้สามารถจัดทาบัญชีได้อย่างเป็ นปัจจุบนั เสมอ จัดทาแบบนาส่งภาษี และนาส่งภาษีต่อกรมสรรพากร จัดทางบการเงินประจาปี และจัดหาผูต้ รวจสอบบัญชีอิสระเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ งบการเงินดังกล่าว (สาหรับนิติบุคคล) จัดทาแบบนาส่งงบการเงิน แบบนาส่งภาษีเงินได้ประจาปี และนาส่งต่อหน่วยงานราชการ (สาหรับนิติบุคคล)
14
อัตราค่าบริการ ค่าบริ การขึ้นกับประเภทการค้าของธุรกิจ, ความซับซ้อนของรายการบัญชี , ปริ มาณรายการ และเอกสารที่เกิดขึ้นในระหว่างปี
กลุ่มลูกค้าของบริษัทฯ 1. 2. 3. 4.
กลุ่มบริ ษทั ที่ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริ ษทั จากัด ห้างหุน้ ส่วนจากัด กลุ่มสหกรณ์ มูลนิธิและสมาคม
งานที่ได้ รับมอบหมาย 1. เขียนแบบ ภ.ง.ด. 53 , 3 , 1 , 2 และ ภพ. 30 , 36 2. การตรวจสอบรายการหลังวันสิ้นงวด เป็ นการตรวจสอบการบันทึกรายการบัญชีช่วงต้นงวดของรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ที่ ต่อเนื่องกับรอบบัญชีที่ทาการตรวจ เพื่อดูรายการเปลี่ยนแปลงของยอดที่ปรากฏในงบ การเงิน ณ วันสิ้นงวด ว่าเป็ นอย่างไร เช่น การรับชาระหนี้ตอนต้นงวดบัญชีใหม่จากลูกหนี้ มี ยอดปรากฏ ณ วันสิ้นงวดที่ทาการตรวจสอบ หากมีการรับชาระเข้ามาก็แสดงว่าลูกหนี้ รายนั้นเป็ นลูกหนี้ของกิจการ ณ วันสิ้นงวดอยูจ่ ริ ง 3. ถ่ายเอกสาร 4. การตรวจสอบเอกสาร (VOUCHING) เป็ นการตรวจเพื่อดูว่ารายการตามที่กิจการได้บนั ทึกบัญชีไว้โดยมีเอกสารประกอบการ บันทึกบัญชีที่เชื่อถือได้ที่แสดงให้เห็นว่ารายการที่บนั ทึกบัญชี เป็ นรายการที่เกิดขึ้นจริ ง มิใช่รายการที่กิจการสร้างขึ้นเอง เป็ นรายการที่เกี่ยวข้องกับกิจการจริ ง กรณี ที่เป็ นรายการที่มี การรับหรื อจ่ายเงิน มีหลักฐานประกอบการรับเงินหรื อ จ่ายเงินถูกต้อง สอดคล้องกับรายการที่เกิดขึ้น ยอดจานวนเงินที่บนั ทึกรายการบัญชีเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่เกี่ยวข้อง
15
การบันทึกรายการบัญชีเป็ นไปเนื้อหาสาระของรายการที่เกิดขึ้นและสอดคล้องกับ หลักฐานที่ปรากฏเพื่อให้การแสดงรายการในงบการเงินมีความเหมาะสม 5. การตรวจสอบทะเบียนทรัพย์สิน 6. ออกงบการเงิน 7. ตรวจสอบการขอคายืนยันยอด 8. กรอกแบบเงินประกันสังคม 9. จัดทากระดาษทาการหลัก 10. ตรวจนับ Stock สินค้า เป็ นการสุ่มตรวจสอบสินค้าของกิจการว่ามียอดสินค้าคงเหลือจริ งตามจานวนที่ปรากฏใน รายงานสินค้าหรื อไม่ 11. ทา Working Paper 12. การตรวจตัดยอด เป็ นการดูว่าการบันทึกบัญชีในเรื่ องต่างๆ ครบถ้วน ตรงกับบัญชีที่มีการเพิ่มลดระหว่างงวด หรื อไม่ 13. ทาการกระทบยอดรายได้และค่าใช้จ่าย 14. การเปรี ยบเทียบยอดคงเหลือตามบัญชีคุมกับรายละเอียดประกอบ เป็ นการพิสูจน์ข้นั ต้นของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดของบัญชีแยกประเภทว่าน่าเชื่อถือ เพียงใดก่อนที่จะตรวจสอบความถูกต้องของรายละเอียดประกอบโดยการขอรายละเอียด ประกอบแยกประเภทนั้น ดูว่ายอดรวมของรายละเอียดตรงกับยอดคงเหลือหรื อไม่หากไม่ ตรงต้องติดตามหาสาเหตุเพื่อให้ได้รายละเอียดประกอบบัญชีที่ครบถ้วน 15. การตรวจสอบรายการยอดยกมา ตรวจสอบยอดยกมาของบัญชี ทรัพย์สิน หนี้สิน ทุน ว่าตรงกับงบการเงินงวดก่อนหรื อไม่ เนื่องจากในบางครั้งยอดยกมาจากปี ก่อนในบัญชีแยกประเภทอาจไม่ตรงกับยอดตามงบ การเงินงวดก่อน
16
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการฝึ กงาน 1. 2. 3. 4.
การฝึ กงานครั้งนี้ทาให้เป็ นคนที่มีความตรงต่อเวลามากขึ้น เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ทาให้เป็ นคนที่มีความละเอียดรอบคอบมากยิง่ ขึ้น ทาให้รู้จกั การวางตัวกับผูใ้ หญ่ และ การวางตัวเวลาออกไปตรวจสอบในบริ ษทั ลูกค้า 5. ทาให้เป็ นคนรู้จกั แก้วิเคราะห์ และ คิดหาทางแก้ปัญหาด้วยตัวเองมากขึ้น 6. สอนให้เรารู้จกั มีความอดทนอดกลั้นต่อสถานการณ์ที่เราไม่ชอบ 7. สอนให้เรารู้จกั ปรับตัวเข้ากับคนอื่น 8. ได้มิตรภาพที่ดีจากการฝึ กงานทั้งรุ่ นพี่ที่ดูแลในการฝึ กงาน และ เพื่อนๆต่าง สถาบัน 9. ทาให้เข้าใจกระบวนการของการตรวจสอบบัญชีมากขึ้น 10. เป็ นการเตรี ยมตัวก่อนออกไปปฏิบตั ิงานจริ ง 11. ได้ความรู้ และ เทคนิคอื่นๆที่นอกเหนือจากการศึกษาในห้องเรี ยน 12. ทาให้รู้จกั การทางานเป็ นทีมมากขึ้น
17
ข้ อเสนอแนะ การจะทางานทางด้านบัญชีหรื อการทางานด้านตรวจสอบบัญชีจะต้องทางานด้วยความ รอบคอบอย่างสูงเพราะบางอย่างเราอาจคิดว่าเราทางานถูกต้องแล้วแต่บางครั้งมันอาจจะยังไม่ ถูกต้องเหมือนอย่างที่เราคิดการฝึ กงานทางด้านสอบบัญชีในครั้งนี้ทาให้ขา้ พเจ้าเข้าใจตัวเองมากขึ้น ว่ายังมีความละเอียดรอบคอบไม่เพียงพอมีความสงสัยและการสังเกตการณ์เกี่ยวกับเทคนิคต่างๆของ การสอบบัญชีนอ้ ยจึงทาให้มีขอ้ ผิดพลาดบ่อยแต่เมื่อได้ทางานนั้นบ่อยยิง่ ขึ้นทาให้ขา้ พเจ้ารู้จกั สังเกตและมีความละเอียดมากขึ้นทาให้เกิดข้อผิดพลาดน้อยลง
18
ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา การตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงินเป็ นสิ่งที่สาคัญมากเพราะเป็ นอีกวิธีที่ทาให้ ทราบยอดเจ้ าหนี ้การค้ า และหรือ ยอดลูกหนี ้การค้ าวว่ามีอยู่จริงตามยอดคงเหลือตามงบการเงิน หรือไม่ซึ่งเป็ นการพิสจู น์ความมีอยู่จริงของบัญชีเจ้ าหนี ้การค้ า และหรือ ลูกหนี ้การค้ า
19
บทที่ 3 การตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน ความหมายของการตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ในงบดุล กับ วันที่งบการเงินได้รับการอนุมตั ิให้เผยแพร่ เหตุการณ์ที่ว่านี้อาจเป็ นไปในทางที่ดีหรื อไม่ดี ซึ่งมี ผลกระทบต่อฐานะการเงิน และการดาเนินงานของกิจการทั้งต่อจานวนเงินในงบการเงิน และที่เป็ น เพียงข้อมูลเพิ่มเติม เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักในการตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน 2.1 ความมีอยู่จริงหรือเกิดขึ้นจริง ผูส้ อบบัญชี จะทดสอบรายการที่ปรากฏอยูใ่ นงบการเงิน ไม่ว่าจะสินทรัพย์ หนีสิ้ น ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย ว่าจะต้องเป็ นรายการที่มีอยูจ่ ริ งหรื อเกิดขึ้นจริ งในกิจการทีร่ ับตรวจสอบ 2.2 ความถูกต้ องและครบถ้วนของรายการ โดยทัว่ ไปรายการประเภทสินทรัพย์ และรายได้มกั จะมีแนวโน้มที่จะแสดงไว้สูงกว่าที่มี อยูจ่ ริ ง ในขณะที่รายการประเภทหนี้สิน และค่าใช้จ่ายมักจะมีแนวโน้มที่จะแสดงไว้ต่ากว่าที่มีอยู่ จริ ง ดังนั้น ผูส้ อบบัญชีจึงต้องพิสูจน์ว่ารายการเหล่านี้ได้ถกู บันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน(ไม่ สูงหรื อต่ากว่าความเป็ นจริ ง) ในส่วนที่มสี าระสาคัญ 2.3 กรรมสิทธิ์และภาระหนี้สิน รายการที่จะบันทึกเป็ นสินทรัพย์ของกิจการ จะต้องเป็ นสิ่งที่กิจการมีกรรมสิทธิ์ และ รายการที่จะบันทึกเป็ นหนี้สินได้จะต้องเป็ นสิ่งที่กิจการมีภาระในการจ่ายชาระ ผูส้ อบบัญชีจึงต้อง หาหลักฐานเพื่อดูว่า สินทรัพย์และหนี้สินที่บนั ทึกในงบการเงินมีกรรมสิทธิ์และภาระหนี้ สิน
20
2.4 การตีราคาหรือการกระจายราคา รายการที่แสดงในงบการเงิน จะต้องเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป เช่น รายการ ที่เกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศจะต้องมีการแปลงค่าเป็ นเงินบาทตามอัตราที่หลักการบัญชีได้ระบุไว้ การตีราคาสินค้าคงเหลือต้องตีตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที่ได้รับ เป็ นต้นดังนั้น ผูส้ อบบัญชีจะต้อง ตรวจสอบว่ารายการเหล่านี้มีการแสดงมูลค่าถูกต้อง 2.5 การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้ อมูลในงบการเงิน นอกจากรายการที่ปรากฏอยูใ่ นงบการเงินแล้ว ผูส้ อบบัญชีจะต้องคานึงถึงรายละเอียดที่ ปรากฏอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงิน เช่น เรื่ องการนาสินทรัพย์ไปค้ าประกันเงินกูย้ มื ผูส้ อบ บัญชีตอ้ งพิจารณาว่าได้มีการเปิ ดเผยข้อมูลไว้หรื อไม่ การมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (สหกรณ์ ถูกฟ้ องร้องและอยูร่ ะหว่างการดาเนินคดี) เป็ นต้น เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผูใ้ ช้งบการเงิน วันที่ในงบดุล ได้แก่ วันที่สิ้นงวด เช่น งบการเงินที่ปิดรอบตามปี ปฏิทินจะมีวนั ที่ในงบดุลคือวันที่ 31 ธันวาคม เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน จึงหมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่งบการเงินนั้นได้รับการอนุมตั ิให้เผยแพร่ ออกไป เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินนั้น มีอยู่ 2 ประเภท คือ (1) ประเภทที่เหตุการณ์ เกิดขึ้นแล้วจาเป็ นต้องปรับปรุ งตัวเลขในงบการเงิน และ (2) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วไม่ตอ้ งปรับปรุ ง ตัวเลขในงบการเงิน แต่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูลและผลกระทบดังกล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินทั้งสองประเภท กิจการควรต้องเปิ ดเผยข้อมูล และผลกระทบที่ มีต่อกิจการในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
21
ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่ต้องปรับปรุงรายการ ได้ แก่ - คาพิพากษาของศาลภายหลังวันที่ในงบดุลซึ่งยืนยันว่า บริ ษทั มีภาระผูกพันเกิดขึ้นแล้ว - ข้อมูลที่ได้รับภายหลังวันที่ในงบดุลที่ช้ ีให้เห็นว่าสินทรัพย์ของกิจการเกิดการด้อยค่าขึ้น หรื อ จานวนของรายการขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ไว้เดิมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม - การที่ลกู หนี้ของกิจการเกิดล้มละลายภายหลังวันที่ในงบดุล เท่ากับเป็ นการยืนยันการขาดทุนจาก ลูกหนี้การค้าว่าได้เกิดขึ้นแล้ว - การขายสินค้าภายหลังวันที่ในงบดุลที่สามารถถือเป็ นหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามูลค่าสุทธิ ที่จะ ได้รับของสินค้าคงเหลือนั้นที่อาจจะต่ากว่าราคาตามบัญชี - ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนของสินทรัพย์ที่ซ้ือมาก่อนวันที่ในงบดุล - ข้อมูลเกี่ยวกับค่าตอบแทนที่กิจการจะได้รับจากสินทรัพย์ที่ขายไปก่อนวันที่ในงบดุล - การกาหนดส่วนแบ่งกาไร หรื อ การจ่ายโบนัสภายหลังวันที่ในงบดุล - การพบข้อผิดพลาดที่แสดงให้เห็นว่างบดุลไม่ถกู ต้อง ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่ไม่ต้องปรับปรุงรายการ ได้ แก่ - ราคาตลาดของเงินลงทุนที่ลดลง โดยการลดลงนั้นไม่มีความสัมพันธ์กบั สถานการณ์ของเงิน ลงทุน ณ วันที่ในงบดุล แต่จะสัมพันธ์กบั สถานการณ์ในงวดถัดไป - การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการซื้อหรื อขายบริ ษทั ย่อย หรื อ การรวมธุรกิจที่สาคัญภายหลังวันที่ใน งบดุล - การประกาศยกเลิกการดาเนินงานบางส่วน การจาหน่ายสินทรัพย์หรื อชาระหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับ การยกเลิกการดาเนินงานนั้น การทาสัญญาผูกมัดที่จะขายสินทรัพย์หรื อชาระหนี้สิน - การซื้อหรื อขายสินทรัพย์ที่สาคัญ การถูกเวนคืนหรื อยึดคืนสินทรัพย์ที่สาคัญของกิจการ - การเกิดอัคคีภยั ในโรงงานผลิตภายหลังวันที่ในงบดุล - การประกาศหรื อเริ่ มต้นปฏิบตั ิเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างที่สาคัญ - รายการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับหุน้ สามัญและหุน้ สามัญเทียบเท่าภายหลังวันที่ในงบดุล - การเปลี่ยนแปลงราคาสินทรัพย์ หรื อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ไม่เป็ นปกติภายหลัง วันที่ในงบดุล
22
- การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีที่มีผลกระทบต่อภาษีที่มีผลบังคับใช้ภายหลังวันที่ในงบดุล - ภาระผูกพันหรื อหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่เป็ นสาระสาคัญ เช่น การค้ าประกันที่เป็ นสาระสาคัญ - การเริ่ มต้นของคดีความที่สาคัญซึ่งเกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบดุล
มีเหตุการณ์อีกชนิดหนึ่งซึ่งมีผลกระทบต่อการจัดทางบการเงิน และเป็ นเหตุการณ์ภายหลัง วันที่ในงบการเงิน นัน่ คือ การจะเลิกกิจการ หรื อ หยุดการดาเนินงาน เหตุการณ์ดงั กล่าวมีผลต่อ เกณฑ์การจัดทางบการเงิน ซึ่งในสถานการณ์ปกติ จะถือเกณฑ์การดาเนินงานต่อเนื่อง ดังนั้น หาก กิจการมีความจาเป็ นต้องเลิกกิจการแล้ว อาจต้องทบทวนข้อสมมติฐานในการจัดทางบการเงิน โดย ปรับมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินให้เป็ นมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน (Net Realizable Value) เหตุการณ์ลกั ษณะนี้เรี ยกว่า เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุลที่กระทบต่อ“การดาเนินงานต่อเนื่อง” (Subsequent events affecting the going concern concept) การตรวจสอบการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด ลูกหนีก้ ารค้า วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ 1 เพื่อให้ทราบว่ายอดที่แสดงไว้น้ นั เป็ นจานวนลูกหนี้ที่ถกู ต้อง และแสดงในงบการเงิน ตามเกณฑ์ที่ได้ถือปฏิบตั ิในงวดก่อน 2 เพื่อให้ทราบถึงลูกหนี้ที่มีความสัมพันธ์กบั บริ ษทั เช่น กรรมการ พนักงาน บริ ษทั ร่ วมเครื อ 3 เพื่อให้ทราบว่าได้ต้งั สารองไว้อย่างเพียงพอหรื อไม่ สาหรับหนี้ที่จะเก็บไม่ได้ หนี้ที่สงสัยจะ สูญ และส่วนลดต่าง ๆ 4 เพื่อให้ทราบว่าได้มีการนาลูกหนี้ไปจานาเป็ นประกันเงินกู้ หรื อขายลด หรื อโอนให้ผอู้ ื่นไป หรื อไม่
23
วิธีการตรวจสอบ 1 ขอรายการลูกหนี้ท้งั หมดของบริ ษทั ตรวจยอดคงเหลือกับยอดคงเหลือในบัญชีรายตัวลูกหนี้ ตรวจยอดรวมกับยอดคงเหลือในบัญชีคุมยอดในสมุดบัญชี 2 ขอรายการแยกอายุลกู หนี้ (กรณี มีลกู หนี้เกิน Credit Term) และทดสอบการแยกอายุว่าถูกต้อง หรื อไม่ ทดสอบรายการรับชาระหนี้หลังวันสิ้นงวดว่าได้ชาระไปมากน้อยเท่าใด1 3 ตรวจสอบบัญชีคุมยอดและสอบสวนรายการที่ไม่ปกติ 4 ขอคายืนยันยอดโดยตรงจากลูกหนี้ โดยเฉพาะลูกหนี้ที่เป็ นกรรมการ พนักงาน และบริ ษทั ร่ วม เครื อให้ใช้ใบยืนยันยอดตามแบบของสานักงาน 5 ติดตามและบันทึกรายการที่ลกู หนี้ทกั ท้วงหรื อส่งไม่ถึงมือลูกหนี้ ให้ตรวจสอบใบส่งของหรื อ การชาระเงินภายหลัง สาหรับรายที่ลกู หนี้ทกั ท้วงหรื อส่งไม่ถึงมือลูกหนี้ 6 พิจารณาส่งคายืนยันยอดเป็ นครั้งที่สอง หากจาเป็ น 7 จัดทาสรุ ปผลการขอคายืนยันยอด 8 ตรวจสอบหลักทรัพย์ที่ลกู หนี้นามาเป็ นประกัน และดูการตีราคาว่าเหมาะสมหรื อไม่ 9 ดูว่าสินค้าที่ส่งไปฝากขายและสินค้าซึ่งลูกค้าสัง่ ซื้อ แต่ยงั มิได้รับของไปนั้นได้แสดงไว้อย่าง ถูกต้อง คือมิได้นามาลงบัญชีเป็ นลูกหนี้ 10 ดูความเหมาะสมของการคิดกาไรและดอกเบี้ยจากสัญญาขายผ่อนส่ง 11 ดูว่าลูกหนี้บริ ษทั ในเครื อเดียวกันจะเก็บเงินได้เมื่อไร และทดสอบรายการรับชาระหนี้หลังวัน สิ้นงวดว่าได้ชาระไปมากน้อยเท่าใด 12 ตรวจสอบรายการลูกหนี้ที่เป็ นผูถ้ ือหุน้ กรรมการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างของบริ ษทั และ บริ ษทั ในเครื อ ซึ่งชาระหนี้แล้วก่อนวันงบบัญชีแล้วกลับมาเป็ นหนี้ภายหลังอีก 13 ตรวจรายละเอียดหนี้สูญที่จาหน่ายจากบัญชี โดยตรวจว่าได้มีการอนุมตั ิอย่างถูกต้อง และ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด
1
การทดสอบการชาระเงินและการตรวจสอบเอกสารทีเ่ กี่ยวข้ อง ดูตัวอย่างและคาอธิบายเพิ่มเติม หน้ า 26-28
24
14 ตรวจดูความเหมาะสมและเพียงพอของสารองหนี้สูญ โดยเปรี ยบเทียบกับรายการแยกอายุ ลูกหนี้และประวัติหนี้สูญ 15 ตรวจดูว่าลูกหนี้ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศได้แสดงไว้ถกู ต้อง พิจารณาอัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ โดยใช้อตั ราซื้อถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบการเงินที่ประกาศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย 16 ให้แยกแสดงรายการ 17 จัดทา MEMO เกี่ยวกับการตรวจสอบรายการลูกหนี้
เจ้าหนีก้ ารค้า วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ 1 เพื่อให้ทราบว่าได้นาหนี้สินที่มีอยูแ่ ล้วทั้งสิ้นรวมทั้งที่เกิดขึ้น ณ วันที่ในงบการเงินมาลงบัญชี ไว้ถกู ต้อง 2 เพื่อให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแสดงรายการหนี้สิ้น และให้ดูว่าได้แสดงในงบการเงิน ตามเกณฑ์ได้ถือปฏิบตั ิในงวดก่อน
25
วิธีการตรวจสอบ 1 ตรวจสอบรายการเจ้าหน้าที่กบั ยอดคงเหลือในบัญชีรายตัวเจ้าหนี้ ตรวจยอดรวมกับยอดคงเหลือ ในบัญชีคุมยอดตามสมุดบัญชี 2 ทดสอบการจ่ายชาระหนี้หลังวันสิ้นงวด2 หรื อขอคาอธิบาย และตรวจสอบหลักฐานการตั้ง หนี้สินสาหรับรายที่ยงั ไม่ได้ชาระ 3 ดูว่าเจ้าหนี้เป็ นประเภทใดบ้าง ให้ขอคารับรองยอดจากเจ้าหนี้ในบริ ษทั ร่ วมเครื อราย ใหญ่ 4 เปรี ยบเทียบยอดคงเหลือกับ Statement ที่บริ ษทั ได้รับจากเจ้าหนี้ 5 ตรวจสอบรายการเจ้าหนี้ที่มียอดคงเหลือเป็ นเดบิต 6 พิจารณารายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศได้แสดงไว้ถกู ต้อง 7 ตรวจดูว่าหนี้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศได้แสดงไว้ถกู ต้องพิจารณาอัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ โดย ใช้อตั ราขายถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบการเงินที่ประกาศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย 8 ค้นหาว่ายังมีหนี้สินซึ่งยังไม่ได้ลงบัญชีหรื อไม่โดยพิจารณาประกอบกับ Subsequent event reviews 9 ให้แยกแสดงรายการ - บริ ษทั ร่ วมเครื อ - ยอดคงเหลือที่เป็ นเดบิตหากเป็ นสาระสาคัญ - บัญชีที่ไม่ใช่เจ้าหนี้การค้าหรื อหนี้สินระยะสั้น 10 จัดทา MEMO เกี่ยวกับการตรวจสอบรายการเจ้าหนี้การค้า
2
การทดสอบการชาระเงินและการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดูตวั อย่างและคาอธิบายเพิ่มเติม หน้า 26-28
26
เอกสารเบือ้ งต้นในการตรวจสอบ ลูกหนี้การค้า - รายละเอียดลูกหนี้ ณ วันสิ้นปี - เอกสารการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด ของ ลูกหนี้รายใหญ่ (ใบเสร็ จรับเงินหลังวันสิ้นปี หรื อ Bank Statement หลังวันสิ้นงวด) - ถ้าไม่มีการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด ขอเอกสาร Invoice ต้นเรื่ อง ของลูกหนี้รายใหญ่ที่เลือก - หนังสือยืนยันยอดลูกหนี้รายใหญ่ เจ้าหนี้การค้า - รายละเอียดเจ้าหนี้ ณ วันสิ้นปี - เอกสารการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด ของ เจ้าหนี้รายใหญ่ (ใบเสร็ จรับเงินหลังวันสิ้นปี หรื อ Bank Statement หลังวันสิ้นงวด)
ใบส่งของ แทนด้วยสัญลักษณ์ V
ภาพที่ 3 ใบส่งสินค้า
27
หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย แทนด้วยสัญลักษณ์ Z ภาพที่ 4 หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
ใบกากับภาษี แทนด้วยสัญลักษณ์
ภาพที่ 5 ใบกากับภาษี
28
ภาพที่ 6
ใบเสร็ จรับเงิน
ใบเสร็ จรับเงิน แทนด้วยสัญลักษณ์ R
การตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงินเมื่อมีการชาระเงินจาเป็ นที่จะต้องดูเอกสาร ประกอบ เช่น ใบส่งสินค้า ใบเสร็ จรับเงิน ใบกากับภาษี หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งการ ตรวจสอบนั้นจะต้องกาหนดสัญลักษณ์ของเอกสารต่างขึ้นเอง ตัวอย่างการกาหนดเอกสารโดยใช้สญ ั ลักษณ์ SQ
ย่อมาจากคาว่า Subsequent events คือ การตรวจสอบรายการหลังวันที่ใน งบการเงิน3
3
วันที่
หมายถึง วันที่มีการชาระเงินในรอบบัญชีใหม่
R
แทน ใบเสร็ จรับเงิน
ตัวอย่างประกอบ หน้ า 31
29
Z
แทน หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย แทน ใบกากับภาษี4
V
แทน ใบส่งสินค้า
ซึ่งการกาหนดสัญลักษณ์ต่างๆจะขึ้นอยูก่ บั บริ ษทั นั้นๆว่าจะกาหนดเอกสารเป็ นสัญลักษ ณ์ ใด และเมื่อทาการตรวจ การชาระเงินหลังวันที่ในงบการเงินแล้วให้ แทนสัญลักษณ์น้ นั เข้าไปใน รายละเอียดลูกหนี้ และหรื อ เจ้าหนี้ แล้ว ต้องเขียนอธิบายกากับไว้ดว้ ยว่ าสัญลักษณ์น้ นั แทนด้วย เอกสารใดเพื่อให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบที่มาของรายการนั้นได้ - ถ้าไม่มีการชาระเงินหลังวันสิ้นงวด ขอเอกสาร Invoice ต้นเรื่ อง ของเจ้าหนี้รายใหญ่ที่ เลือกเงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื - วันที่ได้ให้กยู้ มื หรื อรับคืนเงินกู้ - การคานวณดอกเบี้ยรับหรื อดอกเบี้ยจ่าย - อัตราดอกเบี้ย - หนังสือยืนยันยอดเงินกูย้ มื
4
ตัวอย่างประกอบอยู่หน้ า 31
30
ตัวอย่างกระดาษทาการหลักของบัญชีลูกหนีก้ ารค้า KK AUDITING OFFICE & ACCOUNTS BUSINESS CO.,LTD.
W/P - C
บริษท ั ต ัวอย่าง จาก ัด ณ 31 ธนั วาคม 54 ้ ารค้าและเช็ คร ับล่วงหน้า ลูกหนีก CODE
Prepared by SOMAO 07-11/05/54
ACCOUNT NAME
AS AT 01/01/54
1130-01
ลูกหนีก้ ารค ้า
1130-02
เช็ครั บลงวันทีล่ ว่ งหนา้
ADJUSTMENT 31/12/54
4,164,599.00 4,164,599.00
Reviewed by
Dr.
AFTER Cr.
ADJUSTMENT
5,490,000.00
5,490,000.00
14,000.00
14,000.00
5,504,000.00
-
REF.
-
C-1
5,504,000.00
ภาพที่ 7 ตัวอย่างกระดาษทาการหลักของบัญชีลกู หนี้การค้า
ตัวอย่ างกระดาษทาการหลักของบัญชีเจ้าหนีก้ ารค้า KK AUDITING OFFICE & ACCOUNTS BUSINESS CO.,LTD.
W/P - M
บริษท ั ต ัวอย่าง จาก ัด ณ 31 ธนั วาคม 54 เจ้าหนีก้ ารค้าและเช็ คจ่ายล่วงหน้า CODE
Prepared by SOMAO 07-11/05/54
ACCOUNT NAME
AS AT 01/01/54
Reviewed by
ADJUSTMENT 31/12/54
Dr.
AFTER Cr.
ADJUSTMENT
2120-01
เจ ้าหนีก้ ารค ้า
1,178,909.00
4,556,673.00
4,556,673.00
2120-02
เช็คจ่ายล่วงหนา้
6,778,909.00
7,689,909.00
7,689,909.00
7,957,818.00
12,246,582.00
ภาพที่ 8
ตัวอย่างกระดาษทาการหลักของบัญชีเจ้าหนี้การค้า
-
-
12,246,582.00
REF.
31
ตัวอย่างการตรวจสอบการชาระเงินหลังวันที่ในงบการเงิน
การเขียนรหัสอ้างอิงกับกระดาษทาการหลัก
C-1 แบบสรุป รายละเอียดลูกหนีก้ ารค้า
SQ 20/02/55,R
ภาพที่ 9
ตัวอย่างแบบสรุ ปรายละเอียดลูกหนี้การค้า
32
ข้ อค้นพบจากการปฏิบัตงิ านจริง จากการปฏิบตั ิงานพบว่าบางทีทฤษฎีที่เราเคยได้ศึกษามาอาจใช้ไม่ได้ทุกเรื่ อง บางครั้งต้องมีการผ่อนปรนหรื อปรับเปลี่ยนเล็กน้อยเพื่อให้เข้ากับเหตุการณ์น้ นั ๆ เพราะถ้าบางทีเราตึงเกินไปยึดถือตามหลักทฤษฎีอาจจะไม่เกิดผลดีกบั ตัวเรา และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง มีการปรับแต่งตัวเลขในงบการเงินให้ดูว่าขาดทุนตลอดเวลาทั้งๆที่บริ ษทั นั้นมี กาไรเพื่อที่จะไม่ตอ้ งเสียภาษี มีการปรับแต่งตัวเลขของสินค้าคงเหลือ พบว่าการผูส้ อบที่มีประสบการณ์และมีความสามารถหลายด้านรวมถึงอยูใ่ น ตาแหน่งผูส้ อบมาเป็ นเวลานานสามารถมีอานาจในการไกล่เกลี่ยเจรจาเรื่ องต่างๆ ง่ายขึ้น พบว่าการเป็ นผูท้ ี่มีความซื่อสัตย์จะทาให้เราประสบความสาเร็ จในทุกเรื่ อง พบว่าการจัดเก็บเอกสารและระบบทางานของแต่บริษทั เป็ นอย่างไรเมื่อเราเข้าไป ตรวจสอบซึ่งอาจจะทาให้เราพบข้อผิดพลาดของบริ ษทั นั้นๆ พบว่าการสอบบัญชีเป็ นอาชีพที่ลาบากบางทีเราต้องเสนอราคาตรวจสอบบัญชีให้ ต่าเพื่อจะให้บริ ษทั ของลูกค้าเลือกบริ ษทั เราดังนั้นการตรวจสอบจึงมีการแข่งขัน สูง
33
ผลที่ได้ รับจากการปฏิบัตงิ านจริง 1. เข้าใจการจัดทางบการเงินมากขึ้นว่ามีกระบวนการอย่างไรซึ่งซับซ้อนกว่าที่ได้ศึกษามา 2. รู้จกั การเก็บเอกสาร Working Paper 3. รู้จกั การทากระดาษทาการหลัก 4. เข้าใจกระบวนการทางานของผูต้ รวจสอบบัญชีมากขึ้น 5. ฝึ กความอดทนอย่างสูง 6. ฝึ กการหาข้อผิดพลาดในงบการเงิน 7. รู้จกั การเย็บเล่มเอกสาร 8. เข้าใจทฤษฎีที่เรี ยนในห้องเรี ยนมากขึ้น
34
สรุป สรุ ปแนวการตรวจสอบรายการหลังวันที่ในงบการเงิน ลูกหนีก้ ารค้า ในการตรวจสอบยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ผูส้ อบบัญชีควรได้มาซึ่งหลักฐานที่ แสดงถึงความมีอยูจ่ ริ งของยอดลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวดทาได้ดงั นี้ 1. การตรวจสอบโดยการขอคายืนยันยอดจากลูกหนี้ซ่ึงเป็ นวิธีการตรวจสอบตาม มาตรฐานการสอบบัญชีเพื่อให้ได้หลักฐานที่สาคัญ 2. กรณี ที่ไม่สามารถขอคายืนยันได้หรื อไม่ได้รับการคาตอบจากลูกหนี้ผสู้ อบอาจ จาเป็ นต้องใช้วิธีอื่นทดแทน ได้แก่ ตรวจสอบหลักฐานการบันทึกบัญชี เช่น ใบส่งสินค้าหรื อใบรับสินค้า การตรวจสอบรายละเอียดของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด การตรวจสอบการรับชาระเงินจากลูกหนี้ภายหลังวันสิ้นงวด เจ้าหนีก้ ารค้า ในการตรวจสอบยอดเจ้าหนี้ ณ วันสิ้นงวด ผูส้ อบบัญชีควรได้มาซึ่งหลักฐานที่แสดงถึง ความมีอยูจ่ ริ งของยอดเจ้าหนี้หนี้ ณ วันสิ้นงวด 1. การขอคายืนยันยอดจากเจ้าหนี้ เป็ นวิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานที่ แสดงถึงความมีอยูจ่ ริ ง 2. การตรวจสอบโดยวิธีการตรวจสอบอื่น การตรวจสอบหลักฐานเอกสารสาคัญที่เกี่ยวข้อง เช่น ตรวจใบรับของ ใบกากับภาษี เป็ นต้น การตรวจสอบการชาระเงินแก่เจ้าหนี้หลังวันสิ้นงวดบัญชีโดยตรวจดู หลักฐานใบเสร็ จรับเงินจากเจ้าหนี้ หลักฐานการจ่ายเงินผ่านธนาคาร การตรวจสอบรายละเอียดยอดคงเหลือของเจ้าหนี้แต่ละราย
35
ข้ อเสนอแนะ การตรวจสอบรายการรับชาระเงินหลังวันที่ในงบการเงินเป็ นเพียงอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ ผูส้ อบบัญชีได้หลักฐานที่แสดงถึงความมีอยูจ่ ริ งของยอดลูกหนี้ และหรื อ เจ้าหนี้ แต่ก่อนจะใช้ วิธีการตรวจสอบรายการรับชาระเงินหลังวันที่ในงบการเงิน ผูต้ รวจสอบบัญชีควรพิจารณาวิธีอื่นที่ เหมาะสมและได้หลักฐานที่น่าเชื่อถือกว่าวิธีน้ ีหรื ออาจจะใช้วิธีน้ ีตรวจสอบร่ วมกับวิธีอื่นก็ได้
บรรณานุกรม บริ ษทั สานักงานสอบบัญชีก่อเกียรติและธุรกิจบัญชี จากัด, http://kkaudit.blogspot.com สุชาย ยังประสิทธิ์กุล.หนังสือการสอบบัญชี.พิมพ์ครั้งที่ 7 พิมพ์ที่ ห้างหุน้ ส่วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส ๒๐๑๔/๑๑ พหลโยธิน ๓๔ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กทม.๑๐๙๐๐ http://www.avaccount.com/accountcontent/index.php?topic=12718.0 http://www.avaccount.com/accountcontent/index.php?topic=4541.0 www.google.com http://www.pattanakit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=534549120&Ntype=121 http://glitter.dek-d.com/board/view.php?id=1440294 http://accsol.co.th/test.html http://www.tice.ac.th/division/account1/HTML%201/E8.htm http://teacher.aru.ac.th/tiwawan/images/lesson/lesson%201.pdf