ภาษีอากรธุรกิจส่งออก

Page 1

ภาษีอากรธุรกิจส่ งออก

โดย นางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา พ.ศ. 2555


ภาษีอากรธุรกิจส่ งออก

โดย นางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา พ.ศ. 2555



วันที่ 30 สิ งหาคม 2555 เรื่ อง ขอส่ งรายงานการฝึ กงาน เรี ยน อาจารย์ที่ปรึ กษา สาขาการบัญชีบริ หาร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ ตามที่ขา้ พเจ้านางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์ นิสิตสาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ได้เข้ารับการฝึ กงานระหว่างวันที่ 19 มีนาคม 2555 ถึง 1 มิถุนายน 2555 ในตาแหน่ง ผูช้ ่วยพนักงานทาบัญชี ณ บริ ษทั บัญชีไทย จากัด จังหวัดชลบุรี และได้รับมอบหมายให้ศึกษาและทารายงานเรื่ อง ภาษีอากรธุรกิจส่ งออก นั้น บัดนี้ การฝึ กงานดังกล่าวได้สิ้นสุ ดลง ข้าพเจ้าขอส่ งรายงานดังกล่าวมาพร้อมกันนี้จานวน 1 เล่ม เพื่อขอรับคาปรึ กษาต่อไป จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์)


บช.1

ชื่อ นางสาวอุดมพร

นามสกุล

อุดมพันธุ์

ชื่อเล่น หนู

E-mail Muscle_bulge@hotmail.com โทรศัพท์ 080-0960435 ชื่อสถานที่ประกอบการ บริษัท บัญชีไทย จากัด ทีอ่ ยู่ 137/60-61 ถ.สุ ขุมวิท ต.ศรีราชา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 เบอร์ โทรศัพท์ 038 -773466-9 ตาแหน่ งงานทีฝ่ ึ กงาน ผู้ช่วยพนักงานทาบัญชี รายละเอียดงานทีท่ า บันทึกบัญชีด้วยโปรแกรมสาเร็จรู ป จัดทาเอกสาร ข้ อคิดหรือข้ อแนะนาสาหรับน้ องๆ สถานทีท่ างานมีความกดดันสู งมาก เนื่องจากพีท่ ที่ างานไม่ ถูกกัน ทาให้ เค้ าไม่ ชอบเราไปด้ วย และยังมีการทะเลาะกันร้ องไห้ ประจาอีก ส่ วนงานทีไ่ ด้ ทาก็เยอะมาก ไม่ ค่อยได้ ความรู้แปลกใหม่ เท่ าทีค่ วร เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ

ไม่ เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ



กิตติกรรมประกาศ เนื่องจากการศึกษาหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชีบริ หาร) คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา มีการกาหนดให้นิสิตสาขาการบัญชีบริ หาร ได้รับการฝึ กงานไม่นอ้ ยกว่าจานวน 400 ชัว่ โมง เพือ่ ให้นิสิตได้รับความรู ้และประสบการณ์จากการ ทางานจริ งซึ่งไม่สามารถเรี ยนรู ้ได้ในมหาวิทยาลัย เป็ นการเตรี ยมความพร้อมสู่ การทางานหลังจบ การศึกษาเป็ นบัณฑิตที่มีความรู ้และความสามารถในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายงานฉบับนี้ถูกจัดทาขึ้นหลังจากได้รับการฝึ กงานที่บริ ษทั บัญชีไทย จากัด ระหว่างวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ซึ่ งช่วงที่ฝึกงานได้รับมอบหมายตาแหน่ ง และหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยทาบัญชี ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับความรู ้และประสบการณ์ต่างๆ ที่มีประโยชน์ มีค่ามากมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากรายงานฉบับนี้ อีกทั้งยังสามารถนาความรู ้ที่ได้รับจากการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานต่อไปในอนาคต รายงานฝึ กงานฉบับนี้สาเร็จ ลงได้ดว้ ยดีจากความร่ วมมือและได้รับการสนับสนุนจาก คุณกัญชริ ญา ฤทธิ์มหา ตาแหน่ งพนักงานบัญชี เป็ นพนักงานที่ปรึ ก ษาและคอยดูแลข้าพเจ้า อี ก ท่านหนึ่ งที่มีบทบาทสาคัญ ทาให้รายงานเล่มนี้ สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดีน้ ันคือผูช้ ่วยศาสตราจารย์ พัชนิ จ เนาวพันธ์ อาจารย์นิเทศและอาจารย์ที่ปรึ กษาในการจัดทารายงานฝึ กงาน และบุคคลท่าน อื่นๆที่ไม่ได้กล่าวนามถึงทุกท่าน ที่ได้ให้คาแนะนา ข้าพเจ้าใคร่ ขอขอบพระคุณผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล เป็ นที่ปรึ กษา ในการจัดทารายงานฉบับนี้ จนเสร็ จสมบูรณ์ ตลอดจนการดู แลและให้ความกระจ่างสามารถที่จะตระหนักได้ในการทางานจริ ง ข้าพเจ้าใคร ขอขอบพระคุณทุกท่านไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย

นางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์ ผูจ้ ดั ทารายงาน วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555


คานา จากการที่ขา้ พเจ้าได้ศึกษาวิชาการบัญชีภาษีอากร ในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2554 แล้วก่อนฝึ กงาน ซึ่งในการเรี ยนวิชานี้กาหนดให้นิสิตทุกคนต้องจาลองบริ ษทั ขึ้นมาหนึ่ งบริ ษทั ซึ่ ง ตอนนั้นข้าพเจ้ารู ้สึกสนใจธุรกิจนาเข้า-ส่ งออกเพราะเป็ นธุรกิจที่มีความแตกต่างจากธุรกิจทัว่ ไปที่ ได้เรี ยนมา เนื่ อ งจากข้าพเจ้าเรี ยนเอกบัญชี บริ หารทาให้กรณี ศึกษาส่ วนให้ที่ขา้ พเจ้าได้เรี ยนเป็ น กรณี ศึ ก ษาเกี่ ย วกับ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต และซื้ อ มาขายไปท าให้รู้สึ ก ท้า ทายที่จ ะได้เรี ย นรู ้ ใ น เรื่ องราวใหม่ๆ และเนื่องจากที่ขา้ พเจ้าได้เรี ยนวิชาภาษีอากร ซึ่ งได้กล่าวถึงการเสี ยภาษีของธุรกิจ ต่างๆ ซึ่งในตอนนั้นข้าพเจ้าได้ศึกษาภาษีธุรกิจส่งออกเพียงเบื้องต้นเท่านั้น และเมื่อข้าพเจ้าได้ม าฝึ กงานเป็ นผูช้ ่วยผูท้ าบัญชีทาให้ขา้ พเจ้าดีมีโอกาสได้ศึกษาเกี่ยวกับ ธุรกิจส่งออก จึงเป็ นโอกาสอันดีที่ขา้ พเจ้าจะได้ศึกษาเกี่ยวกับภาษีธุรกิจส่ งออกให้เข้าใจมากยิง่ ขึ้น ข้าพเจ้าจึงทารายงานเรื่ องภาษีธุรกิจส่งออก ข้าพเจ้าหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็ นประโยชน์สาหรับผูท้ ี่มีความสนใจในเรื่ องภาษีธุรกิ จ ส่ งออก หากเกิ ดข้อ ผิดพลาดและข้อ บกพร่ องประการใดขออภัยมา ณ ที่น้ ี ด้วย และยินดี รับฟั ง ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆเพือ่ นามาปรับปรุ งแก้ไขในโอกาสการทางานครั้งต่อไป

ผูจ้ ดั ทา

นางสาวอุดมพร อุดมพันธุ์


สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ

คานา

สารบัญ

สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1 1 2

บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษัท บัญชีไทย จากัด สถานที่ต้งั บริ ษทั ประวัติบริ ษทั บัญชีไทย จากัด บริ การของบริ ษทั บัญชีไทย จากัด งานที่ได้รับมอบหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กงาน ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่รายงานการศึกษา

3 4 5 6 7 7

บทที่ 3 ภาษีอากรธุรกิจส่ งออก ลักษณะของธุรกิจส่งออก ขั้นตอนการส่งออก การจดทะเบียนพาณิ ชย์

8 8 12


สารบัญ (ต่ อ) หน้ า การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ และการขอมีเลขและบัตรประจาตัว ผูเ้ สียภาษีอากร เสนอขายและรับการสัง่ ซื้อ การเตรี ยมสินค้าและติดต่อขนส่ง ติดต่อผ่านพิธีการศุลกากร การส่งมอบสินค้า การเรี ยกเก็บเงินค่าสินค้า ขอรับสิทธิประโยชน์ บทที่ 4 สรุป สรุ ปเนื้อหา บรรณานุกรม ภาคผนวก ก.

14 15 16 17 18 22 26 28

43


สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

1. แผนที่บริ ษทั บัญชีไทย จากัด

3

2. ผังการจัดการองค์การ

4

3. ใบขนส่งออก

33

4. ผังสรุ ปเนื้อหา

44


บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของกำรฝึ กงำน การฝึ กงาน คือ กระบวนการเพิ่มทักษะและประสบการณ์ที่เป็ นประโยชน์แกการประกอบ อาชีพ ช่วยให้นิสิตมีความรู ้ ความเข้าใจ ในการปฏิบตั ิงานจริ งเพื่อให้เกิดทักษะและความสามารถ ในการทางานที่ดี สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งในสถานประกอบการและการ ประกอบอาชีพอิสระ นิ สิตได้มีโอกาสได้ใช้เครื่ องมือใหม่ๆในวงการธุ รกิจ ตลอดจนถึงขั้นตอน การปฏิบตั ิงานและเทคนิ คการทางาน สามารถเห็นถึงวิธีการสร้างสรรค์ผลผลิตที่มีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนั้นยังสร้างความเชื่อมัน่ และทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ และให้นิสิตฝึ กงานทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ที่สาคัญเป็ นการเสริ มสร้างสมรรถภาพในการประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป

วัตถุประสงค์ หลักของกำรฝึ กงำน 1. เพื่อฝึ กให้นิสิตมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพระเบียบและการทางานร่ วมกันได้อย่าง มีประสิ ทธิภาพ 2. เพื่อให้นิสิตได้ทราบถึง ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในขณะการปฏิบตั ิงาน และสามารถใช้ สติปัญญาในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล 3. เพื่อให้นิสิตมีเจตคติที่ดีต่อการทางาน ภายหลังจากสาเร็ จการศึกษา

เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป

4. เพื่อให้นิสิตได้เพิม่ ทักษะ สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความ เป็ นจริ งใสสถานประกอบการ 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ


2

ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ ำจะได้ รับจำกกำรฝึ กงำน 1. ทาให้รู้และเข้าใจถึงกระบวนการและวิธีการปฏิบตั ิงานทางด้านการทาบัญชีมากยิง่ ขึ้น 2. ทาให้นิสิตมีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลามากขึ้น 3. ทาให้เราเข้าใจระบบขององค์กรทาบัญชีมากขึ้น 4. ทาให้นิสิตมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผูอ้ ื่น และสามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ 5. มีประสบการณ์และแนวทาง ในการแก้ไขปั ญหา จากการฝึ กงาน เพื่อนาไปใช้ในการ ทางานจริ ง


บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษทั บัญชีไทย จากัด สถานที่ต้งั บริ ษทั บัญชีไทย จำกัด เลขที่ 137/60-61 ถนนสุ ขมุ วิท ตำบลศรี รำชำ อำเภอศรี รำชำ จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 20110

ภำพที่ 1


4

ประวัติ บริษทั บัญชีไทย จากัด บริ ษทั บัญชีไทย จำกัดจักตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 เดือนตุลำคม พุทธศักรำช 2537 ทะเบียนนิติ บุคคลเลขที่ 0205537004745 รำยชื่อกรรมกำรของบริ ษทั มีดงั นี้ 1.นำยฉัตรมงคล เขมำภิรัตน์ 2.นำยวิสนั ติ์ เศรษฐกูลวิชยั ทุนจดทะเบียน 1,000,000.00 บำท ตั้งอยูเ่ ลขที่ 137/60-61 ถนนสุ ขมุ วิท ตำบลศรี รำชำ อำเภอศรี รำชำ จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 20110

ผังการจัดการองค์ การและการบริหารจัดการ ผู้จดั การใหญ่

ภำพที่ 2


5

บริการของบริษทั บัญชีไทย จากัด บริการทาบัญชี (Bookeeping) 1. ให้คำแนะนำปรึ กษำ ด้ำนบัญชี-ภำษี และกำรจัดเก็บเอกสำรขั้นพื้นฐำน ในกำร บันทึกบัญชี 2. วิเครำะห์รำยกำรเอกสำร เพื่อประกอบกำรบันทึกบัญชี รำยได้ ค่ำใช้จ่ำย กำร ปรับปรุ งบัญชี และรำยงำนทำงบัญชีต่ำงๆ ครบถ้วนตำมกฎหมำยบัญชีและกรมสรรพำกรกำหนด 3. บันทึ กรำยกำรบัญชี ตำมมำตรฐำนกำรบัญชี ด้วยระบบโปรแกรมบัญชี ที่ได้ มำตรฐำนของ กรมสรรพำกร 4. คำนวณและจัดเตรี ยม แบบภำษีที่ตอ้ งยื่นนำส่ งสรรพำกรในแต่ละเดือน พร้อม บริ กำรยืน่ ชำระภำษี ได้แก่ ภ.ง.ด.1 , ภ.ง.ด.3 , ภ.ง.ด.53 , ภพ.30 , รำยงำนภำษีซ้ือ , รำยงำนภำษีขำย 5. จัดเตรี ยมแบบนำส่ งเงินสมทบประกันสังคม 6. กำรจัดเตรี ยมและยืน่ แบบ ภำษีเงินได้นิติบุคคลครึ่ งปี (ภ.ง.ด.51) และประจำปี (ภ.ง.ด.50) ตำมประมวลรัษฎำกร 7. จัดทำงบกำรเงิน รำยเดือน รำยไตรมำส รำยครึ่ งปี และประจำปี บริการตรวจสอบบัญชี (Audit) 1. ตรวจสอบบัญชี-งบกำรเงิน ด้วยทีมงำนที่ได้รับอนุญำตตำมกฎหมำย 2. รำยงำนข้อสังเกตสู่ผบู ้ ริ หำร เพื่อให้ทรำบถึงข้อบกพร่ องของระบบภำยใน ทำง บัญชี ที่สำคัญ ซึ่งมักตรวจพบในระหว่ำงกำรปฏิบตั ิงำนตรวจสอบบัญชี


6 3. บริ กำรจัดเตรี ยมรำยละเอียด ประกอบกำรยืน่ งบกำรเงิน และจัดทำงบกำรเงิน 4. ยืน่ งบส่ งกระทรวงพำณิ ชย์ ได้แก่ สปช.3 สำเนำรำยชื่อผูถ้ ือหุน้ (บอจ.5) 5. บริ กำรจดทะเบียน (Registration) 5.1 จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั , ห้ำงหุน้ ส่วนจำกัด, ร้ำนค้ำ 5.2 จดทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงต่ำงๆ เช่น ย้ำยสถำนประกอบกำร , เพิ่ม ลด สำขำ, เพิ่มทุน/ลดทุน ฯลฯ 5.3 จดทะเบียนปิ ดกิจกำร บริ ษทั , ห้ำงหุน้ ส่ วน และร้ำนค้ำ 5.4 จดทะเบียนขอบัตรประจำตัวผูเ้ สี ยภำษีอำกรและภำษีมูลค่ำเพิ่ม 5.5 ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นำยจ้ำง, ลูกจ้ำง 5.6 ขอใบอนุญำตจัดตั้งโรงงำนฯ และต่อใบอนุญำต 5.7 ขอใบอนุญำตทำงำนคนต่ำงด้ำว 5.8 ติดต่อกำรค้ำระหว่ำงประเทศ (เอกสำร)

งานที่ได้ รับมอบหมาย งำนที่ขำ้ พเจ้ำได้ทำเป็ นงำนทำงด้ำนทำบัญชี ดังนั้นงำนที่ได้ทำจึงมีดงั นี้ 1. บันทึกเอกสำรค่ำใช้จ่ำยที่สำมำรถนำมำเป็ นภำษีซ้ือได้ 2. บันทึกภำษีซ้ือ-ภำษีขำยประจำเดือนและปรับปรุ ง


7 3. บันทึกภำษีหกั ณ ที่จ่ำยและปรับปรุ งเมื่อสิ้ นเดือน 4. กรอกแบบ ภ.ง.ด. 3, 53 และ ภ.พ. 30 5. บันทึกรำยกำรเคลื่อนไหวของสมุดบัญชีเงินฝำก 6. บันทึกกำรรับชำระหนี้และกำรจ่ำยชำระหนี้ 7. จัดเก็บเอกสำรเข้ำแฟ้ ม

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการฝึ กงาน 1.ทำให้รู้และเข้ำใจถึงกระบวนกำรและวิธีกำรปฏิบตั ิงำนทำงด้ำนกำรทำบัญชีมำก ยิง่ ขึ้น 2.ทำให้นิสิตมีควำมรับผิดชอบและตรงต่อเวลำมำกขึ้น 3.ทำให้เรำเข้ำใจระบบขององค์กรทำบัญชีมำกขึ้น 4.ทำให้นิสิตมีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีต่อผูอ้ ื่น และสำมำรถทำงำนร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ 5.มีประสบกำรณ์และแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำจำกกำรฝึ กงำนเพื่อนำไปใช้ใน กำรทำงำนจริ ง

ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา เมื่อข้ำพเจ้ำได้มำฝึ กงำนเป็ นผูช้ ่วยผูท้ ำบัญชีทำให้ขำ้ พเจ้ำดีมีโอกำสได้ศึกษำเกี่ยวกับธุรกิจ ส่ งออก จึงเป็ นโอกำสอันดีที่ขำ้ พเจ้ำจะได้ศึกษำเกี่ยวกับภำษีธุรกิจส่ งออกให้เข้ำใจมำกยิง่ ขึ้นข้ำพเจ้ำ จึงทำรำยงำนเรื่ องภำษีธุรกิจส่ งออก


บทที่ 3 ภาษีอากรธุรกิจส่ งออก ลักษณะของธุรกิจส่ งออก มีฐานการผลิตภายในประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่มีการส่งผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกจาหน่ายใน ต่างประเทศในปริ มาณที่มากพอสมควรเมื่อคิดเป็ นสัดส่วนกับการจาหน่ายในต่างประเทศ ใน ปริ มาณที่มากพอสมควรเมื่อคิดเป็ นสัดส่วนกับการจาหน่ายภายในประเทศ หรื ออาจมีปริ มาณที่ มากกว่าที่จาหน่ายภายในประเทศ และประเทศที่กิจการส่งสินค้าออกไปจาหน่ายนั้นอาจเป็ น ประเทศเพือ่ นบ้านที่อยูใ่ กล้กนั หรื อประเทศที่อยูห่ ่างไกลออกไปในทวีปอื่น การส่งสินค้าออกจาก ฐานการผลิตในประเทศไปจาหน่ายในต่างประเทศ เป็ นเพียงก้าวแรกของการค้าระหว่างประเทศ เท่านั้น ไม่ใช่กิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงความชานาญในการบริ หารงานด้านการตลาดระหว่าง ประเทศในระดับสูง แต่การตลาดส่งออกจะเป็ นจุดเริ่ มต้นแห่งการเรี ยนรู ้และขยายไปสู่การตลาด ระหว่างประเทศหรื อการตลาดในระดับสากลในที่สุด ในช่วงที่กิจการส่งสินค้าออกไปจาหน่ายใน ตลาดต่างประเทศในปริ มาณไม่มาก กิจการอาจไม่คานึงถึงการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับ ความต้องการของผูบ้ ริ โภคในตลาดต่างประเทศ แต่เมื่อปริ มาณการส่งออกมีสดั ส่วนที่มากขึ้นและ อาจกลายเป็ นกิจกรรมทางการตลาดที่สาคัญต่อผลการดาเนินงานของกิจการ ทาให้กิจการอาจต้องมี การปรับผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคในตลาดต่างประเทศแต่ละแห่ง เพือ่ ให้ สามารถขยายตลาดออกไปได้เพิม่ ขึ้น

ขั้นตอนการส่ งออก ธุรกิจการส่งออก นับว่าเป็ นธุรกิจอีกแขนงหนึ่งที่มีความสาคัญต่อผูป้ ระกอบการเองและ ประเทศชาติ เนื่องจากเป็ นธุรกิจที่สามารถนาเงินตราต่างประเทศเข้ามาสู่ประเทศไทยเราเป็ นจานวน มากในปี หนึ่งๆ และรายได้เหล่านี้ ก็เป็ นส่วนหนึ่งที่ถูกนามาใช้พฒั นาและแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจที่ เกิดขึ้น


9

ดังนั้น เพือ่ ให้ธุรกิจการส่งสินค้าออกของไทยประสบความสาเร็จ และมีมูลค่าการส่งออกเพิม่ มาก ขึ้น ผูป้ ระกอบการที่จะเข้ามาในธุรกิจนี้ จึงจาเป็ นที่จะต้องเรี ยนรู ้ข้นั ตอนและกระบวนการปฏิบตั ิ ต่างๆ ในการส่งออกสินค้าให้ดีเสียก่อน เนื่องจากขั้นตอนการส่งออกสินค้า เป็ นสิ่งสาคัญที่ผปู ้ ระกอบธุรกิจส่งออก จะต้องทาความ เข้าใจและศึกษาข้อปฏิบตั ิให้ถูกต้อง เพือ่ ให้การประกอบธุรกิจส่งออก เป็ นไปอย่างสะดวกและ ได้รับผลสาเร็จคุม้ ค่ากับความตั้งใจการลงทุน เมื่อท่านตั้งใจจะดาเนินธุรกิจการค้าแล้ว ไม่วา่ จะเป็ นภายในประเทศ หรื อส่งออกสู่ ต่างประเทศ จะต้องสร้างความมัน่ ใจแก่คู่คา้ ของท่าน โดยแสดงวัตถุประสงค์ชดั เจนว่าท่านจะทา การค้าสินค้าลักษณะใด โดยทาการจดทะเบียนธุรกิจ ซึ่งมีการจดได้หลายลักษณะ ได้แก่ 1.กิจการร้านค้าเจ้าของคนเดียว ห้างหุน้ ส่วนสามัญ 2.นิติบุคคล แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ 2.1 บริ ษทั จากัด 2.2 ห้างหุน้ ส่วน แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 2.2.1 ห้างหุน้ ส่วนจากัด 2.2.2 ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิติบุคคล เมื่อจดทะเบียนธุรกิจแล้ว ก็ตอ้ งติดต่อกรมสรรพากรเพือ่ ขอมีเลข และบัตรประจาตัวผูเ้ สีย ภาษีอากร หากมีรายรับจากการขายสินค้า หรื อให้บริ การเกินกว่า 1.2 ล้านบาทต่อปี ต้องยืน่ คาขอจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ แต่มีผปู ้ ระกอบการบางประเภท ที่ไม่ตอ้ งจดทะเบียน หรื อได้รับการยกเว้น ภาษีมูลค่ามูลค่าเพิม่ เช่น การส่งออกของผูป้ ระกอบการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกตามกฎหมายว่า ด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จะได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ ตามกฎหมาย แต่ก็ สามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ได้ เป็ นต้น


10

อันดับแรกของการประกอบธุรกิจส่งออก ผูป้ ระกอบการต้องเข้าใจถึงลักษณะการส่งออก ของประเทศไทยก่อน ซึ่งประเทศเราเป็ นประเทศกาลังพัฒนาและมีเสรี ทางการค้า ฉะนั้น ในสินค้า บางตัวก็เป็ นสินค้าที่มีความสาคัญและอาจส่งผลด้านเศรษฐกิจแก่ประชาชน ดังนั้น ผูท้ ี่จะประกอบ ธุรกิจส่งออก จึงจาเป็ นต้องศึกษากฎเกณฑ์ และระเบียบอันเกี่ยวข้องกับการส่งออก โดยเฉพาะ กฎหมายเกี่ยวกับศุลกากร กฎหมายพิกดั อัตราอากรขาเข้าขาออกของสินค้าที่ได้รับการยกเว้นอากร กฎหมายควบคุมสินค้าขาออก ทั้งนี้ เพือ่ ให้มีความเข้าใจอย่างถูกต้องตรงกัน ดังนั้น รัฐบาลจึงได้กาหนดการส่งออกสินค้าตามกลุ่มของสินค้าเป็ น 3 กลุ่ม คือ 1. สินค้ามาตรการ ที่กาหนดมี 12 ชนิด ได้แก่ ปอฟอก ข้าวโพด เมล็ดละหุ่ง ปุยนุ่น ไม้สกั แปรรู ป ข้าวฟ่ าง ผลิตภัณฑ์มนั สาปะหลัง ถัว่ เขียว ปลาป่ น ถัว่ เขียวผิวดา แป้ งมันสาปะหลัง ข้าวหอมมะลิ 2. สินค้าควบคุม เป็ นสินค้าที่มีมาตรการ การจัดระเบียบการส่งออก เป็ นสินค้า ที่ เกี่ยวข้องกับความมัน่ คง ความสงบและความเรียบร้อยภายในประเทศ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ 3. สินค้าเสรี (ทัว่ ไป) ไม่มีกฎเกณฑ์ใดเป็ นข้อห้าม จึงส่งออกได้ตามปกติ สินค้า กลุ่มนี้มีมากมาย ผูส้ ่งออกสามารถเลือกทาการค้าได้โดยเสรี เมื่อทราบประเภทของกลุ่มสินค้า และรู ้แล้วว่าเป็ นสินค้าประเภทใด ก็มาถึงขั้นต่อไปใน การขายสินค้าส่งออก คือ การหาลูกค้าซึ่งก็มีหลายวิธี เช่น ลงโฆษณาในสื่อต่างๆ ในประเทศของผู ้ ซื้อ หรื อสื่อทางการค้าของหน่วยงานด้านการค้าของไทย ได้แก่ Export Directory ซึ่งจะจัดพิมพ์ รายชื่อผูผ้ ลิต-ส่งออกสินค้าแยกเป็ นชนิดสินค้าการส่ง Direct Mail ไปยังผูน้ าเข้าในประเทศ เป้ าหมาย การเข้าร่ วมงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ เป็ นต้น เอกสารประกอบอื่นๆ ตามความต้องการของผูซ้ ้ือ เช่น เอกสารประกันภัย และเอกสาร รับรองต่างๆ ซึ่งผูส้ ่งออกส่วนใหญ่ มักใช้บริ การว่าจ้างผูแ้ ทนออกของ (Shipping) ให้ดาเนินการ


11

ดังนั้น จึงควรแจ้งให้เขาทราบว่าต้องการเอกสารประกอบชนิดใด เพือ่ เขาจะได้ปฏิบตั ิตามความ ต้องการได้อย่างถูกต้อง ข้อควรระวังในการส่งเอกสารให้แก่ผซู ้ ้ือเพือ่ เป็ นหลักฐานในการเตรี ยมตัวออกของ หรื อ ติดตามสินค้า ต้องเป็ นเอกสารที่ประทับตรา Copy Not Negotiate เพือ่ ผูซ้ ้ือจะได้นาไปออกของ ไม่ได้จนกว่าการชาระเงินตามตัว๋ แลกเงินจะสมบูรณ์ ธนาคาร ผูเ้ ป็ นตัวแทนจึงจะออกเอกสารในการ ออกของให้แก่ผซู ้ ้ือ นาไปออกของเพือ่ จาหน่ายต่อไปได้ ขั้นตอนการส่ งออกประกอบด้ วย 1.การจดทะเบียนพาณิ ชย์ 2.การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ และการขอมีเลขและบัตรประจาตัวผูเ้ สี ยภาษีอากร 3.เสนอขายและรับการสัง่ ซื้อ 4.การเตรี ยมสินค้าและติดต่อขนส่ง 5.จัดเตรี ยมเอกสารเพือ่ การส่งออก 6.ติดต่อผ่านพิธีการศุลกากร 7.การส่งมอบสินค้า 8.การเรี ยกเก็บเงินค่าสินค้า 9.ขอรับสิทธิประโยชน์


12

1. การจดทะเบียนธุรกิจ (บริษัท, ห้ างหุ้นส่ วนจากัด, นิติบุคคล) เจ้าของกิจการมีหน้าที่ตอ้ งยืน่ คาขอจดทะเบียนพาณิ ชย์ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ ได้ประกอบกิจการ เจ้าของกิจการใด ฝ่ าฝื นต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท และปรับ ต่อเนื่องวันละไม่เกิน 100 บาท จนกว่าจะได้จดทะเบียนพาณิ ชย์ ทั้งนี้การจดทะเบียนพาณิ ชย์ ต้อง เสียค่าธรรมเนียม 50 บาท ตามหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิ ชย์ และสานักงานบริ การจดทะเบียนต่าง ๆ หลักฐาน / เอกสารประกอบการจดทะเบียนพาณิ ชย์ 1.1 ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิติบุคคล คาขอ : แบบ หส.1 รายการ : แบบ หส.2 (ใช้เฉพาะหน้า 1 และ 3) เอกสารประกอบรายการ : แบบ ว. เอกสารประกอบ: 1.1.1 แบบจองชื่อนิติบุคคล 1.1.2 สาเนาบัตรประจาตัวของผูจ้ ดั การที่ลงชื่อ 1.1.3 สาเนาบัตรทนายความ 1.1.4 แบบ สสธ.1 จานวน 2 ฉบับ (ภูมิภาคใช้ 3 ฉบับ) 1.1.5 หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี)


13

1.2 ห้างหุน้ ส่วนจากัด คาขอ : แบบ หส.1 รายการ : แบบ หส.2 (ใช้ท้งั 3 หน้า) เอกสารประกอบรายการ : แบบ ว. เอกสารประกอบ : 1.2.1 แบบจองชื่อนิติบุคคล 1.2.2 สาเนาบัตรประจาตัวของผูจ้ ดั การที่ลงชื่อ 1.2.3 สาเนาบัตรทนายความ 1.2.4 แบบ สสธ.1 จานวน 2 ฉบับ (ภูมิภาคใช้ 3 ฉบับ) 1.2.5 หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี) 1.3 บริ ษทั จากัด คาขอ : แบบ บอจ.1 รายการ : แบบ บอจ.3 (ใช้ได้ 2 หน้า) เอกสารประกอบรายการ : แบบ ก. เอกสารประกอบ: 1.3.1 แบบ บอจ.5 1.3.2 สาเนาหนังสือนัดประชุมตั้งบริ ษทั 1.3.3 สาเนารายงานการประชุมตั้งบริ ษทั 1.3.4 สาเนาข้อบังคับ (ถ้ามี)


14

1.3.5 หนังสือบริ คณห์สนธิ ฉบับตีพมิ พ์ จานวน 2 ฉบับ 1.3.6 ข้อบังคับฉบับตีพมิ พ์ จานวน 2 ฉบับ (ภูมิภาคใช้ 3 ฉบับ) 1.3.7 สาเนาบัตรประจาตัวของกรรมการที่ลงชื่อ 1.3.8 สาเนาบัตรทนายความ 1.3.9 แบบ สสธ.1 จานวน 2 ฉบับ (ภูมิภาคใช้ 3 ฉบับ) 1.3.10 หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี) 2. การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขอมีเลขและบัตรประจาตัวผู้เสี ยภาษีอากร 2.1 แบบคาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แบบคาขอที่ใช้ในการขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ได้แก่ แบบ ภ.พ.01 ซึ่งในเขตกรุ งเทพมหานครขอรับได้ที่สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อาเภอ) หรื อสานักงาน สรรพากรพื้นที่ สาหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อาเภอ) ทุกแห่ง 2.2 เอกสารที่ต้องใช้ ในการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.2.1 คาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ตามแบบ ภ.พ.01 จานวน 3 ฉบับ 2.2.2 สาเนาทะเบียนบ้านหรื อหลักฐาน แสดงการอยูอ่ าศัยจริ ง

พร้อม

ภาพถ่ายสาเนาดังกล่าว 2.2.3 บัตรประจาตัวประชาชนและบัตรประจาตัวผูเ้ สี ยภาษีอากร พร้อม ภาพถ่ายบัตรดังกล่าว


15

2.2.4 สัญญาเช่าอาคารอันเป็ นที่ต้งั สถานประกอบการ (กรณี เช่า) หรื อ หนังสือยินยอมให้ใช้สถานประกอบการ และหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ เช่น เป็ นเจ้าบ้าน, สัญญาซื้อ ขาย, คาขอหมายเลขบ้าน, ใบโอนกรรมสิทธิ์, สัญญาเช่าช่วง พร้อมสาเนาทะเบียนบ้านอันเป็ นที่ต้งั สถานประกอบการและภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว 2.2.5 หนังสือจัดตั้งห้างหุน้ ส่วน พร้อมภาพถ่ายหนังสือดังกล่าว (กรณี เป็ นห้างหุน้ ส่วนสามัญหรื อคณะบุคคล) 2.2.6 หนังสือรับรอง ของนายทะเบียนห้างหุ ้นส่วนบริ ษทั พร้อม วัตถุประสงค์ หนังสือบริ คณห์สนธิและข้อบังคับ และใบทะเบียนพาณิ ชย์พร้อมภาพถ่ายหนังสือ ดังกล่าว (กรณี เป็ นนิติบุคคล) 2.2.7 บัตรประจาตัวประชาชน ของกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การ และสาเนาทะเบียนบ้าน พร้อมภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว

หรื อหุน้ ส่ วน

2.2.8 แผนที่ซ่ ึงแสดงที่ต้งั ของสถานประกอบการโดยสังเขป และภาพถ่าย สถานประกอบการจานวน 2 ชุด 2.2.9 กรณี มอบอานาจให้ผอู ้ ื่นทาการแทน ต้องมีหนังสือมอบอานาจปิ ด อากรแสตมป์ 10 บาท บัตรประจาตัวประชาชนของผูม้ อบอานาจและผูร้ ับมอบอานาจพร้อม ภาพถ่ายบัตรดังกล่าว โดยผูร้ ับมอบอานาจต้องมีอายุ 20 ปี ขึ้นไป

3. เสนอขายและรับการสั่ งซื้อ การเสนอขาย หรื อการหาลูกค้า ซึ่งก็มีหลายวิธี เช่น ลงโฆษณาในสื่อต่างๆ ใน ประเทศของผูซ้ ้ือ หรื อสื่อทางการค้าของหน่วยงานด้านการค้าของไทย ได้แก่ Export Directory ซึ่ง จะจัดพิมพ์รายชื่อผูผ้ ลิต-ส่งออกสินค้าแยกเป็ นชนิดสินค้าการส่ง Direct Mail ไปยังผูน้ าเข้าใน ประเทศเป้ าหมาย การเข้าร่ วมงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ เป็ นต้น


16

เมื่อผูซ้ ้ือในต่างประเทศได้รู้จกั สินค้าและให้ความสนใจก็จะมีการสอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติม ในเรื่ องราคา ปริ มาณ หรื อเงื่อนไขอื่นๆ ผูข้ ายสินค้าก็จะต้องยืน่ ข้อเสนอราคาที่เหมาะสม และกาหนดเวลาในการจัดส่ง หรื อรายละเอียดอื่นตามที่ผซู ้ ้ือต้องการทราบ หากผูซ้ ้ือพอใจในสินค้าและราคาแล้ว จึงจะเกิดการ สัง่ ซื้อ ด้วยการออกคาสัง่ ซื้อสินค้า (Purchase Order) มายังผูข้ าย เพือ่ ให้ผขู ้ ายออกเอกสาร Proforma Invoice เมื่อผูข้ ายจัดส่ง Pro-forma Invoice ไปให้แล้ว ผูซ้ ้ือก็จะนาไปใช้เป็ นหลักฐานใน การเปิ ด Letter of Credit (L/C) ต่อธนาคารของผูซ้ ้ือ และเมื่อธนาคารของผูซ้ ้ือรับการสัง่ ซื้อแล้วก็ทา การจัดส่ง Letter of Credit (L/C) มายังธนาคารในประเทศของผูข้ าย หลังจากนั้นธนาคารในประเทศผูข้ ายก็จะแจ้งมายังผูข้ ายว่าลูกค้าในต่างประเทศได้ เปิ ด L/C มาแล้ว โดยให้ผขู ้ ายติดต่อกลับ เพือ่ นาหลักฐานตามที่ตกลงใน L/C ไปเตรี ยมการจัดส่ง สินค้าตามข้อตกลงที่ผซู ้ ้ือกาหนดมาใน L/C หากมีขอ้ ความใน L/C ไม่ชดั เจน ควรปรึ กษากับ ธนาคารผูร้ ับใบสัง่ ซื้อ L/C ให้ชดั เจนเสี ยก่อนที่จะนาไปดาเนินการในขั้นตอนต่อไป 4. การเตรียมสิ นค้าและติดต่ อขนส่ ง ในกรณี ที่ผขู ้ ายเป็ นผูผ้ ลิตสินค้าเอง ต้องเตรี ยมการผลิตสินค้าให้พร้อมเสร็จสิ้น ก่อนกาหนดส่งสินค้า หากผูข้ ายไม่ได้ผลิตเอง ก็จะต้องทาสัญญากับผูผ้ ลิตให้กาหนดการส่งมอบ สินค้า ตามเวลาที่กาหนดก่อนการจัดส่งให้ผซู ้ ้ือ จากนั้นทาการทดสอบคุณภาพสินค้าให้เป็ นไปตาม ข้อตกลงทีไ่ ด้ให้กบั ผูซ้ ้ือไว้ และตรวจสอบกาหนดการในการขนส่งสินค้าว่า ตารางการเดินเรื อ หรื อ เที่ยวบินในช่วงที่ตอ้ งการส่งสินค้ามีตามต้องการหรื อไม่ ควรจองระวางบรรทุกสินค้าไว้ล่วงหน้า เพือ่ ความสะดวกแก่ผทู ้ าการขนส่ง ซึ่งจะได้จดั เตรี ยมระวางบรรทุกในเที่ยว ที่ตอ้ งการได้ถูกต้อง ครบถ้วน


17

5. การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการส่ งออก การจัดเตรี ยมเอกสารเพือ่ การส่งออก ประกอบด้วยการจัดทาใบกากับสินค้า หรื อ บัญชีราคาสินค้า (Invoice) เพราะต้องนาไปใช้ท้งั ก่อนการส่งออก และหลังการส่งออก เช่น ขอ อนุญาตสินค้าทีค่ วบคุมต้องปฏิบตั ิล่วงหน้าเพือ่ ความถูกต้อง การจัดทาใบรายการบรรจุหีบห่อ (Packing List) จะต้องจัดทาเมื่อทราบขนาดของหีบห่อที่ใช้บรรจุสินค้า หรื ออาจจัดทาก่อนยืน่ เอกสารผ่านพิธีการศุลกากร การขออนุญาตสินค้าควบคุม สินค้ามาตรฐานและการรับสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีอากร ซึ่งได้กล่าวแล้วข้างต้น นอกจากนี้ อาจต้องขอหนังสือรับรองแหล่งกาเนิดสินค้า (C/O หรื อ Certificate of Origin) ตามข้อกาหนดของประเทศผูซ้ ้ือ หนังสือรับรองนี้ มี 2 แบบ แบบที่ 1 เป็ นหนังสือรับรอง แหล่งกาเนิดทัว่ ไปที่ออกให้กบั ประเทศผู ้ ซื้อ เพือ่ ยืนยันว่าสินค้านั้น ผลิตขึ้นในประเทศที่ส่งออกจริ งผูอ้ อก ให้มีกองสิทธิประโยชน์ ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แบบที่ 2 เป็ นหนังสือรับรอง แหล่งกาเนิดสินค้า ที่ออกให้กบั ประเทศผู ้ ซื้อตามข้อตกลงว่าด้วยการใช้สิทธิพิเศษต่างๆ สิทธิพเิ ศษทางด้านภาษีศุลกากร GSP เรี ยกว่า หนังสือรับรองแหล่งกาเนิดสินค้า Form A สิทธิประโยชน์ทางการค้าภายใต้ AFTA/CEPT เรี ยกว่า หนังสือรับรองแหล่งกาเนิดสินค้า FORM D สิทธิประโยชน์ทางการค้า GSTP เรี ยกว่า หนังสือ รับรองแหล่งกาเนิดสินค้า FORM GSTPแบบที่ 2 นี้ จะออกโดย กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง พาณิ ชย์ เท่านั้น เอกสารประกอบอื่นๆ ตามความต้องการของผูซ้ ้ือ เช่น เอกสารประกันภัย และ เอกสารรับรองต่างๆ ซึ่งผูส้ ่งออกส่วนใหญ่ มักใช้บริ การว่าจ้างผูแ้ ทนออกของ (Shipping) ให้ ดาเนินการ ดังนั้น จึงควรแจ้งให้เขาทราบว่าต้องการเอกสารประกอบชนิดใด เพือ่ เขาจะได้ปฏิบตั ิ ตามความต้องการได้อย่างถูกต้อง


18

ทั้งนี้ สามารถจะหาข้อมูลได้จาก L/C ที่ได้รับมา ถ้ามีเงื่อนไข อย่าละเลย ที่จะระบุ เงื่อนไขลงไปในเอกสารนั้นๆ ให้ครบ เอกสารใดที่ผซู ้ ้ือระบุมา แต่ไม่สามารถหาหน่วยงานใดออก ให้ได้ ก็ให้ทาการตกลงกับผูซ้ ้ือเสียแต่เนิ่นๆ ก่อนที่จะปฏิบตั ิการส่งมอบสินค้า บัตรลายมือชื่อ บัตร ลายมือชื่อมีไว้เพือ่ ประกอบการติดต่อกับกรมศุลกากรว่าด้วยการนาเข้าและส่งออกทุกเรื่ อง เป็ นบัตร ลายมือชื่อเจ้าของ หรื อผูจ้ ดั การและผูร้ ับมอบอานาจ เพือ่ ประกอบการยืน่ เอกสารในการผ่านพิธี การของ กรมศุลกากร โดยยืน่ คาร้องต่อฝ่ ายทะเบียนผูส้ ่งออกและนาเข้า สานักเลขานุการ กรม ศุลกากร หรื อที่ด่านศุลกากรทัว่ ราชอาณาจักร 6. ติดต่ อผ่ านพิธีการศุลกากร 6.1 บัตรผ่านพิธีการศุลกากร (CUSTOMS CLEARANCE CARD) เป็ นบัตรที่ กรมศุลกากรออกให้กบั บุคคลที่มีคุณสมบัติตามที่กรมศุลกากรกาหนด เพือ่ ทาหน้าที่ผา่ นพิธีการ ศุลกากร ผูท้ ี่จะขอทาบัตรจะต้องยืน่ คาร้องตามแบบ กศก.1 จ. พร้อม ต้นฉบับและสาเนาเอกสารดังนี้ 6.1.1 บัตรประจาตัวประชาชน หรื อบัตรอื่น ๆ ซึ่งทางราชการออกให้

6.1.2 บัตรประจาตัวผูเ้ สียภาษีอากร (ถ้ามี) 6.1.3 ทะเบียนบ้าน 6.1.4 หนังสือแสดงวุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตรผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตรตัวแทนออกของ จากสถาบันศุลกากร สานักบริ หารและพัฒนาบุคคล กรมศุลกากร หรื อประกาศนียบัตรผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตร ตัวแทนออกของหรื อเทียบเท่าจากสมาคมชิปปิ้ งแห่งประเทศไทย หรื อ จากสถาบันที่เปิ ดสอน หลักสูตรตัวแทนออกของที่กรมศุลกากรรับรอง ทั้งนี้ จะต้องผ่านการทดสอบข้อสอบมาตรฐาน จาก กรมศุลกากร เว้นแต่ ผูท้ ี่กรมศุลกากรได้รับแจ้งชื่อพร้อมหลักฐานครบถ้วน จากสมาคมชิปปิ้ งแห่ง ประเทศไทย หรื อสถาบันการศึกษาที่เปิ ดสอนวิชาตัวแทนออกของทีก่ รมศุลกากรรับรอง ก่อนวันที่


19

17 ตุลาคม พ.ศ. 2540 หรื อ ผูท้ ี่ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสูตรตัวแทนออกของจากกรมศุลกากรซึ่งได้ แจ้งชื่อให้ฝ่ายทะเบียนผูส้ ่งออกและนาเข้าทราบ ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ไม่ตอ้ งขอทาการ ทดสอบข้อสอบมาตรฐาน ผูท้ ี่เคยมีบตั รผ่านพิธีการศุลกากรทุกประเภท หรื อผูท้ ี่ผา่ นการทดสอบคุณสมบัติ ในการทาบัตรผ่านพิธีการศุลกากร (เป็ นเฉพาะกรณี ) ตามประกาศกรมศุลกากรที่ 81/2546 สามารถ ยืน่ คาร้องขอทาบัตรได้ โดยไม่ตอ้ งแสดงวุฒิการศึกษาตามข้อ 4 รู ปถ่ายสีหน้าตรงขนาด 1 นิ้ว 2 รู ป ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน กรณี ประสงค์จะใช้รูปถ่ายแทนการถ่ายภาพ ณ ฝ่ ายทะเบียนผูส้ ่งออกและ นาเข้า 6.2 บัตรผูช้ านาญการศุลกากร(CUSTOMS FORMALITY SPECIALIST CARD) เป็ นบัตรที่กรมศุลกากรออกให้กบั บุคคลที่มีความรู ้ความชานาญด้านศุลกากร ที่ผา่ นการทดสอบจาก กรมศุลกากร ให้เป็ นผูช้ านาญการศุลกากรและสามารถใช้แทนบัตรผ่านพิธีการศุลกากรได้ดว้ ย ผูท้ ี่ จะขอทาบัตร จะต้องยืน่ คาร้องตามแบบ กศก. 1 ฉ. พร้อม ต้นฉบับและสาเนาเอกสารดังนี้ 6.2.1 บัตรประจาตัวประชาชน หรื อบัตรอื่น ๆ ซึ่ งทางราชการออกให้ 6.2.2 บัตรประจาตัวผูเ้ สียภาษีอากร (ถ้ามี) 6.2.3 ทะเบียนบ้าน 6.2.4 เอกสารการรับรองการเป็ นผูช้ านาญการศุลกากร 6.2.5 บัตรตัวแทน ออกของรับอนุญาตที่สงั กัด หรื อ หนังสือรับรองการ เป็ นหุน้ ส่วน จากสานักงานทะเบียนหุน้ ส่วน ของบริ ษทั ที่สงั กัด 6.2.6 รู ปถ่ายสีหน้าตรงขนาด 1 นิ้ว 2 รู ป ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน กรณี ประสงค์จะใช้รูปถ่ายแทนการถ่ายภาพ ณ ฝ่ ายทะเบียนผูส้ ่งออกและนาเข้า


20

6.3 บัตรผูช้ ่วยปฏิบตั ิพธิ ีการศุลกากร (CUSTOMS CLEARANCE ASSISTANT CARD) เป็ นบัตรที่กรมศุลกากรออกให้กบั บุคคล ผูเ้ ป็ นผูช้ ่วยปฏิบตั ิพกี ารศุลกากรของผูท้ ี่ทาบัตร เจ้าของ หรื อผูจ้ ดั การระดับบัตรทอง, บัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การ, บัตรผูร้ ับมอบอานาจ, บัตรตัวแทน ออกของรับอนุญาต, บัตรผ่านพิธีการศุลกากร หรื อ บัตรผูช้ านาญการศุลกากร เพือ่ ทาหน้าที่ปฏิบตั ิ พิธีการศุลกากรอื่น ๆ ซึ่งมิใช่การจัดทา และการยืน่ ใบขนสินค้าต่อหน่วยพีการนาเข้าหรื อส่งออก อาทิเช่น การชาระภาษีอากร การตรวจปล่อยสินค้า เป็ นต้น ผูท้ ี่จะขอทาบัตรจะต้องยืน่ คาร้องตาม แบบ กศก. 1 ช. พร้อมต้นฉบับและสาเนาเอกสารดังนี้ 6.3.1 บัตรประจาตัวประชาชน หรื อบัตรอื่น ๆ ซึ่ งทางราชการออกให้ 6.3.2 บัตรประจาตัวผูเ้ สียภาษีอากร (ถ้ามี) 6.3.3 ทะเบียนบ้าน 6.3.4 หนังสือรับรอง การว่าจ้าง หรื อ ทางานจากผูถ้ ือบัตรเจ้าของหรื อ ผูจ้ ดั การระดับบัตรทอง, บัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การ, บัตรผูร้ ับมอบอานาจ, บัตรตัวแทนออกของรับ อนุญาต, บัตรผ่านพีการศุลกากร หรื อบัตรผูช้ านาญการศุลกากร บัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การระดับบัตร ทอง บัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การ บัตรผูร้ ับมอบอานาจ บัตรผ่านพิธีการศุลกากรของผูร้ ับรองหรื อบัตร ผูช้ านาญการศุลกากร 6.4 สถานที่ทาบัตร ให้ผขู ้ อทาบัตรยืน่ คาร้องขอทาบัตรพร้อมเอกสารประกอบต่อบริ ษทั อินเตอร์ลิ้ง คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (มหาชน) ณ ฝ่ ายทะเบียนผูส้ ่งออกและนาเข้า บริ เวณชั้นล่าง อาคาร 120 ปี กรมศุลกากร เว้นแต่การทาบัตรทางไปรณี ย ์ ให้ยนื่ คาร้องขอทาบัตรพร้อมเอกสาร ประกอบ ผ่านสานักงานศุลกากรภูมิภาค หรื อด่านศุลกากร


21

6.5 ค่าบริ การทาบัตร ค่าบริ การทาบัตรทุกประเภท ในราคาบัตรละ 180 บาท (หนี่งร้อยแปดสิบ บาทถ้วน) ไม่รวมค่าภาษีมูลค่าเพิม่ อีก 7% 6.6 การลงลายมือชื่อและ/หรื อตราประทับ 6.6.1 กรณี ยนื่ คาร้องขอทาบัตรด้วยตนเอง ให้ผขู ้ อทาบัตรลงลายมือชื่อ และ/หรื อตราประทับของบริ ษท ห้างฯ ร้านฯ ที่จะ SCAN ลงในบัตรต่อหน้าเจ้าหน้าที่ บริ ษทั อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั้น จากัด (มหาชน) 6.6.2 กรณี ผทู ้ าบัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การระดับบัตรทอง, บัตรเจ้าของหรื อ ผูจ้ ดั การ หรื อ บัตรตัวแทนออกของรับอนุญาต มอบอานาจให้บุคคลอื่นยืน่ คาร้องของทาบัตรแทน ตน ให้ผขู ้ อทาบัตรทาหนังสือมอบอานาจและลงลายมือชื่อต่อหน้าพยาน 2 คน พร้อมประทับตรา สาคัญ (ถ้ามี) ตามแบบที่กรมศุลกากรกาหนด โดยแนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของพยานผู ้ รับรองลายมือชื่อพร้อมรับรองความถูกต้อง 6.7 การยืน่ คาร้องขอทาบัตรที่สานักงานศุลกากรภาค หรื อด่านศุลกากร ผูข้ อทาบัตรที่ประสงค์จะยืน่ คาร้องขอทาบัตรที่สานักงานศุลกากรภาค หรื อ ด่านศุลกากรทุกแห่ง ให้ยนื่ คาร้องขอมีบตั ร พร้อมเอกสารตามประกาศฯ นี้ ต่อสานักงาน ศุลกากรภาค หรื อ ด่านศุลกากร โดยชาระค่าทาบัตร พร้อมค่าบริ การทาบัตรทางไปรษณี ยอ์ ีกจานวน 50 บาท (ห้าสิบบาทถ้วน) ไม่รวมค่าภาษีมุลค่าเพิม่ อีก 7% 6.8 อายุการใช้งานของบัตร บัตรต่าง ๆ ทุกประเภท มีอายุการใช้งานไม่เกิน 3 ปี นับแต่วนั ออกบัตร เว้นแต่บตั รผูร้ ับมอบอานาจให้มีอายุการใช้งานไม่เกินวันหมดอายุของบัตรเจ้าของหือผูจ้ ดั การระดับ บัตรทอง หรื อ บัตรเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การ


22

7.การส่ งมอบสิ นค้า Inco Term (International Commercial Terms) เป็ นข้อกาหนดการส่งมอบสินค้า (Term Of Shipment) ระหว่างผูซ้ ้ือกับผูข้ ายที่เป็ นสากล ซึ่งกาหนดขึ้นโดยสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce) Inco Term 1990 เป็ นฉบับที่ประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1990 ส่ วน Inco Term 2000 เป็ นฉบับที่แก้ไขเพิม่ เติมในบางส่วนที่เป็ นปั ญหาอยูข่ อง Inco Term 1990 และ ประกาศใช้ในปี ค.ศ.2000 เพือ่ ให้คู่คา้ แต่ละฝ่ ายทราบถึงขอบเขตความรับผิดชอบ ภาระหน้าที่ ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า และความเสี่ยงต่ออุบตั ิภยั ในการขนส่งสินค้าจากผูข้ ายไปยังผูซ้ ้ือ ข้อกาหนดอันเป็ นสากลนี้ช่วยให้ ผูซ้ ้ือและผูข้ ายที่อยูใ่ นประเทศที่ต่างกัน มีภาษาและวัฒนธรรมทาง การค้าที่ต่างกัน สามารถเข้าใจตรงกันในเงื่อนไขการส่งมอบสินค้าได้ ข้อกาหนด INCO TERM 1990 ที่สภาหอการค้านานาชาติกาหนดขึ้นมี 13 รู ปแบบ ส่วน ข้อกาหนดที่เปลี่ยนแปลงใหม่ตาม Inco Term 2000 ได้ระบุไว้ในหมายเหตุเฉพาะส่วนที่มีการ เปลี่ยนแปลง รายละเอียดโดยย่อของข้อกาหนดต่าง ๆ มีดงั นี้ 7.1 EXW (…….name Point within the place of Seller) ย่อจากคาว่า “Ex Works” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุดภาระการ ส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมสาหรับการส่งมอบ ณ สถานทีข่ อง ผูข้ ายเอง โดยผูข้ ายมิตอ้ งรับผิดชอบในการขนสินค้าขึ้นยานพาหนะ ไม่ตอ้ งทาพิธีการส่งออก ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการขนสินค้าจากสถานที่ของผูข้ ายไปยังจุดหมายปลายทาง และความเสี่ยงภัย ต่าง ๆ เป็ นของผูซ้ ้ือ 7.2 FCA (……..name Point within the Place of Shipment) ย่อจากคาว่า “Free Carrier” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุดภาระ การส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าให้กบั ผูร้ ับขนส่งที่ระบุโดยผูซ้ ้ือ ณ สถานที่ของผูร้ ับขนส่งที่เมืองท่าต้นทาง ผูข้ ายจะต้องทาพิธีการส่งออก รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งสินค้าและความเสี่ยงภัยระหว่างการขนส่งจากสถานที่ของผูข้ ายจนกระทัง่ ถึงสถานที่ของผูร้ ับ


23

ขนส่ง ฯ ส่วนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการขนสินค้าและความเสี่ยงภัยต่าง ๆ จากสถานที่ขนส่งสินค้าที่ ประเทศต้นทาง ไปยังจุดหมายปลายทาง เป็ นของผูซ้ ้ือ 7.3 FAS (…….name Port of Shipment) ย่อจากคาว่า “Free Alongside Ship” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้นาสินค้าไปยังกาบเรื อ ณ ท่าเรื อต้นทางที่ระบุไว้ ส่วนค่าใช้จ่ายในการนาของขึ้นเรื อ ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าความเสี่ยงภัยในการนาของขึ้นเรื อ และระหว่างการขนส่ง เป็ นภาระของผูซ้ ้ือในทันทีที่สินค้าถูกส่งมอบไปยังกาบเรื อ และผูซ้ ้ือต้อง รับผิดชอบการทาพิธีการส่งออกด้วย หมายเหตุ : Inco Term 2000 กาหนดให้ผขู ้ ายเป็ นผูท้ าพิธีการส่งออกและ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทาพิธีการส่งออก รวมทั้งการขอใบอนุญาตส่งออกตลอดจนค่าภาษีอากร ส่งออก (ถ้ามี) 7.4 F.O.B. (…….name Port of Shipment) ย่อมาจากคาว่า “Free on Board” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรื อขึ้นไปบนเรื อสินค้า ณ ท่าเรื อต้นทางที่ระบุไว้ ผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบการทาพิธีการส่งออกด้วย ส่วนค่าใช้จ่ายในการขนส่ง สินค้า และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงภัยในการขนส่งสินค้าเป็ นภาระของผูซ้ ้ือในทันทีที่ของ ผ่านกาบระวางเรื อไปแล้ว 7.5 CFR (……name Port of Destination) ย่อมาจากคาว่า “Cost and Freight” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรื อขึ้นไปบนเรื อสินค้า ผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการทาพิธีการส่งออก และจ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ส่วนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงภัยในการขนส่งสินค้าเป็ นภาระของผูซ้ ้ือในทันทีที่ของผ่านกาบระวางเรื อไปแล้ว


24

7.6 CIF (…….name Port of Destination) ย่อมาจากคาว่า “Cost, Insurance and Freight” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ าย จะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรื อขึ้นไปบน เรื อสินค้า ผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการทาพิธีการส่งออก จ่ายค่าระวางเรื อ และค่าประกันภัยขนส่ง สินค้า เพือ่ คุม้ ครองความเสี่ยงภัยในการขนส่งสิ นค้าจนถึงมือผูซ้ ้ือให้แก่ผซู ้ ้ือด้วย 7.7 CPT (………name Point within the Place of Destination) ย่อจากคาว่า “Carriage Paid To” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าให้ผรู ้ ับขนส่งที่ระบุโดยผูซ้ ้ือ ณ สถานที่ของผูร้ ับขนส่งสินค้าที่เมืองท่าต้นทาง ผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการทาพิธีการส่งออกและ จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ส่วนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงภัยในการขนส่งเป็ นภาระของผูซ้ ้ือ ในทันทีที่สินค้าถูกส่งมอบให้แก่ผรู ้ ับขนส่งสินค้าที่เมืองท่าต้นทาง 7.8 CIP (………name Point within the Place of Destination) ย่อจากคาว่า “Carriage and Insurance Paid To” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อ ผูข้ ายได้ส่งมอบสินค้าให้ผรู ้ ับขนส่งที่ ระบุโดยผูซ้ ้ือ ณ สถานที่ของผูร้ ับขนส่งสินค้าที่เมืองท่าต้นทาง ผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการทาพิธี การส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า และค่าประกันภัยขนส่งสินค้า เพือ่ คุม้ ครองความเสี่ยงภัยใน การขนส่งสินค้าจนถึงมือผูซ้ ้ือให้แก่ผซู ้ ้ือด้วย 7.9 DAF (………name Point within the Place of Frontier) ย่อจากคาว่า “Delivered At Frontier” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะ สิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมสาหรับการส่งมอบ และได้ทาพิธีการส่งออก ณ พรมแดนที่ระบุโดยผูซ้ ้ือ


25

7.10 DES (……….name Port of Destination) ย่อจากคาว่า “Delivered Ex Ship” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบบนเรื อ ณ ท่าเรื อ ปลายทาง ดังนั้นผูข้ ายจึงเป็ นผูร้ ับผิดชอบการทาพิธีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่า ประกันภัยขนส่งสินค้า และเป็ นผูร้ ับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบบนเรื อที่ เมืองท่าปลายทาง โดยผูซ้ ้ือจะต้องดาเนินพิธีการนาเข้าสินค้าเอง 7.11 DEQ (……….name Port of Destination) ย่อจากคาว่า “Delivered Ex Quay” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายพร้อมส่งมอบสินค้า ณ ท่าเรื อปลายทาง ดังนั้น ผูข้ ายจึงเป็ นผูร้ ับผิดชอบการทาพิธีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่าประกันภัยขนส่งสินค้า และเป็ นผูร้ ับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จนกระทัง่ สิ นค้าพร้อมส่งมอบ ณ ท่าเรื อปลายทาง ผูข้ ายจะต้อง เป็ นผูด้ าเนินพิธีการนาเข้าสิ นค้าให้แก่ผซู ้ ้ือด้วย เงื่อนไขการส่งมอบนี้ผซู ้ ้ือจะระบุให้ผขู ้ ายเป็ นผูจ้ ่าย ภาษีนาเข้าแทนผูซ้ ้ือด้วยหรื อไม่ก็ได้ โดยการระบุต่อท้ายว่า Duty Paid หรื อ Duty Unpaid ส่วน ค่าใช้จ่ายในการขนสินค้าจากท่าเรื อไปยังสถานทีข่ องผูซ้ ้ือเป็ นภาระของผูซ้ ้ือ หมายเหตุ : Inco Term 2000 กาหนดให้ผซู ้ ้ือเป็ นผูท้ าพิธีการนาเข้าและ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทาพิธีการนาเข้า รวมทั้งการขอใบอนุญาตนาเข้าตลอดจนค่าภาษีอากร นาเข้า 7.12 DDU (……….name Point within the Place of Destination) ย่อจากคาว่า “Delivered Duty Unpaid” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะ สิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานที่ ปลายทางของผูซ้ ้ือ ผูข้ ายจึงเป็ นผูร้ ับผิดชอบการทาพิธีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่า ประกันภัยขนส่งสินค้า และเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการนาของลงจาก เรื อและค่าขนส่งสินค้าไปยังสถานที่ที่ผซู ้ ้ือระบุไว้ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานที่


26

ปลายทางของผูซ้ ้ือ ผูข้ ายต้องเป็ นผูด้ าเนินพิธีการนาเข้าสินค้าให้แก่ผซู ้ ้ือด้วย แต่ผซู ้ ้ือต้องจ่ายค่าภาษี นาเข้าเอง 7.13 DDP (………name Point within the Place of Destination) ย่อจากคาว่า “Delivered Duty Paid” เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผูข้ ายจะสิ้นสุด ภาระการส่งมอบสินค้าตามสัญญาก็ตอ่ เมื่อ ผูข้ ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานที่ปลายทาง ของผูซ้ ้ือ ซึ่งผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบการทาพิธีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่าประกันภัย ขนส่งสินค้า และเป็ นผูร้ ับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการนาของลงจากเรื อและค่า ขนส่งสินค้าไปยังสถานที่ที่ผซู ้ ้ือระบุไว้ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานที่ปลายทาง ผูข้ าย ต้องเป็ นผูด้ าเนินพิธีการนาเข้าสินค้าให้แก่ผซู ้ ้ือและเป็ นผูจ้ ่ายค่าภาษีนาเข้าแทนผูซ้ ้ือด้วย 8. การเรียกเก็บเงินค่าสินค้า เมื่อผูซ้ ้ือและผูข้ ายได้มีการตกลงเกี่ยวกับข้อสัญญาซื้อขายกันแล้ว กล่าวคือ ได้มีการตกลง เรื่ องคุณภาพและปริ มาณสินค้า ราคา กาหนดเวลาและสถานที่ส่งมอบสินค้าและเงื่อนไขการชาระ เงิน ฯลฯ ผูข้ ายก็มีหน้าที่ตอ้ งส่งสินค้าตามที่ตกลง ส่วนผูซ้ ้ือนั้นก็มีหน้าที่จะต้องชาระเงินค่าสินค้าที่ ซื้อตามสัญญา วิธีการชาระเงินค่าสินค้าที่พบเห็นกันบ่อยในการค้าระหว่างประเทศมี 4 วิธีคือ 1. การชาระด้วยเงินสด หรื อชาระล่วงหน้า (Cash or Advance payment) 2. ชาระโดยการเปิ ดบัญชีขายเชื่อ (Open account) 3. การชาระเงินโดยการเรี ยกเก็บผ่านธนาคาร (Bills for Collection) 4. การชาระเงินโดยเล็ตเตอร์ออฟเครดิต (Documentary Letter of Credit)


27

7.1 การชาระเงินด้วยเงินสด หรื อ ชาระล่วงหน้า (Cash or Advance payment) คือ การซื้อขายสินค้า ซึ่งผูซ้ ้ือต้องจ่ายด้วยเงินสดหรื อชาระเงินล่วงหน้าให้แก่ผขู ้ ายก่อนที่ผขู ้ ายจะทาการ มอบสินค้า การชาระเงินด้วยวิธีน้ ีผซู ้ ้ือเป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบ เพราะต้องเสี่ยงกับการที่ผขู ้ ายซึ่งรับเงินไป แล้วอาจจะไม่ส่งสินค้ามาให้ หรื ออาจจะส่งสินค้าที่คุณภาพไม่เป็ นไปตามที่ตกลงไว้กไ็ ด้ การซื้อขายด้วยวิธีน้ ีจึงมักจะกระทากันในกรณี ที่ผขู ้ ายเป็ นผูม้ ีชื่อเสียง เป็ นที่เชื่อถือ ได้ ตลาดเป็ นของผูข้ าย หรื อไม่ก็เป็ นการซื้อขายกันสาหรับสินค้าที่มีค่างวดไม่สูงนัก เช่น การสัง่ ซื้อ ตาราหรื อหนังสือจากต่างประเทศ เป็ นต้น 7.2 การชาระโดยการเปิ ดบัญชีขายเชื่อ (Open Account) คือ การซื้อขายสินค้าใน ลักษณะทีม่ ีการส่งมอบสินค้าก่อนและจ่ายเงินทีหลัง ซึ่งผูซ้ ้ือและผูข้ ายตกลงกันว่า เมื่อผูข้ ายส่งมอบ สินค้าให้แก่ผซู ้ ้ือแล้ว ผูซ้ ้ือจะทาการชาระเงินให้ผขู ้ าย ตามกาหนดเวลาในอนาคต เช่น หนึ่งเดือน หลังจากรับสินค้า เป็ นต้น การซื้อขายกันในลักษณะนี้ คือการให้เครดิตทางการค้าของผูข้ ายแก่ผซู ้ ้ือ ผูซ้ ้ือมัก เป็ นผูท้ ี่ผขู ้ ายไว้ใจ โดยทัว่ ไปแล้วผูข้ ายจะต้องตั้งวงเงินไว้สาหรับผูซ้ ้ือแต่ละราย เพือ่ เป็ นการจากัด ความเสี่ยงของผูข้ ายไม่ให้สูงจนเกินไป เมื่อถึงกาหนดชาระเงิน ผูซ้ ้ืออาจจะส่ง เช็ค ดราฟต์ โดยตรง หรื อออกคาสัง่ โอน เงินให้แก่ผขู ้ ายผ่านทางบัญชีของธนาคารก็ได้ท้งั นี้แล้วแต่ความสะดวกและข้อตกลงของทั้งสองฝ่ าย 7.3 การชาระเงินโดยการเรี ยกเก็บผ่านธนาคาร (Bills for collection) คือการซื้อ ขายสินค้า ซึ่งผูซ้ ้ือและผูข้ ายสินค้าตกลงกันว่า เมื่อผูข้ ายส่งสินค้าแล้วผูข้ ายจะส่งเอกสารเรี ยกเก็บ เงินผ่านธนาคารของผูข้ ายไปยังธนาคารผูซ้ ้ือ หรื อธนาคารที่ธนาคารของผูข้ ายเป็ นผูเ้ ลือกให้ ทา หน้าที่ส่งมอบเอกสารและเรี ยกเก็บเงินจากผูซ้ ้ือ การซื้อขายสินค้าในลักษณะนี้ผขู ้ ายจะได้รับความคุม้ ครองพอสมควร เนื่องจากมี ธนาคารเข้าไปดูแล การส่งมอบเอกสารกรรมสิทธิ์ของสินค้า และดูแลการเรี ยกเก็บเงิน นอกจากนั้น ผูข้ ายยังมีบุริมสิทธิ์เหนือสินค้าของตน ตราบใดที่ผซู ้ ้ือยังไม่รับรองตัว๋ หรื อยังไม่ชาระเงินค่าสินค้า


28

7.4 การชาระเงินโดยเล็ตเตอร์ออฟเครดิต(Documentary Letter of Credit) คือ การ ตกลงซื้อขายสินค้าโดยใช้เล็ตเตอร์ออฟเครดิตเป็ นเครื่ องมือการชาระเงิน เล็ตเตอร์ออฟเครดิตเป็ น ตราสารหรื อหนังสือรับรองการชาระเงินที่ออกโดยธนาคารของผูซ้ ้ือออกให้แก่ผรู ้ ับประโยชน์ (ผูข้ าย) เพือ่ รับรองว่าเมื่อผูร้ ับประโยชน์ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขของเครดิตทุกประการแล้ว ธนาคารผู ้ เปิ ดเครดิตจะชาระเงินให้แก่ผรู ้ ับประโยชน์โดยไม่มีขอ้ บิดพริ้ ว การค้ าประกันหรื อการรับรองดังกล่าวจะเพิกถอนไม่ได้ในกรณี ของ Irrevocable Letter of credit ถ้าหากไม่ได้รับคายินยอมจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องเล็ตเตอร์ออฟเครดิต จึงเป็ น เครื่ องมือการชาระเงินที่ได้รับความนิยมแพร่ หลายที่สุดในการค้าขายระหว่างประเทศ เพราะ นอกจากจะให้ความคุม้ ครองแก่ผขู ้ ายแล้วยังให้ความคุม้ ครองแก่ผซู ้ ้ือด้วย ในกรณี ที่ผซู ้ ้ือต้องการ ให้ผขู ้ ายปฏิบตั ิตามข้อตกลงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก็สามารถระบุลงไปเป็ นเงื่อนไขในเล็ตเตอร์ออฟ เครดิต โดยมีธนาคาร (Negotiation Bank) ทาหน้าที่เป็ นผูต้ รวจสอบความถูกต้องของเอกสารและ เงื่อนไขต่างๆ ตามเล็ตเตอร์ออฟเครดิต เมื่อผูร้ ับประโยชน์นาตัว๋ มายืน่ ต่อธนาคาร สิ่งที่ควรระลึกในที่น้ ีก็คือ ถึงแม้เล็ตเตอร์ออฟเครดิตจะช่วยให้เกิดความมัน่ ใจกัน ทั้งผูซ้ ้ือและผูข้ าย และอานวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศ แต่เล็ตเตอร์ออฟเครดิตก็ ไม่ใช่สญ ั ญาซื้อขาย และไม่สามารถป้ องกันความเสียหายที่อาจเกิดจากความไม่ซื่อสัตย์ของฝ่ าย หนึ่งฝ่ ายใดได้ ฉะนั้นการตกลงซื้อขายใดๆ ก็ยงั ต้องอาศัยความรอบคอบในการพิจารณาถึงความ เชื่อถือและความซื่อสัตย์ของคู่สญ ั ญาเป็ นสิ่งสาคัญ 9. ขอรับสิ ทธิประโยชน์ เพือ่ เป็ นการส่งเสริ มการส่งออกอีกทางหนึ่ง กรมศุลกากรได้จดั ให้มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพือ่ ส่งเสริ มการส่งออก โดยดาเนินการมาตรการหลักๆ ดังนี้ 1.การคืนอากรวัตถุดิบที่นาเข้ามาผลิตเพือ่ ส่งออกตามมาตรา 19 ทวิ 2.การงดเว้นการเก็บอากรสาหรับของที่นาเข้าในคลังสินค้าทัณฑ์บน 3.การชดเชยค่าภาษีอากร


29

4.การยกเว้น ภาษีนาเข้าสาหรับเขตอุตสาหกรรมส่งออก 9.1 การคืนอากรวัตถุดิบที่นาเข้ ามาผลิตเพื่อการส่ งออกตามมาตรา 19 ทวิ การคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร ( ฉบับที่ 9 ) พ.ศ. 2482 เป็ นการคืนค่าภาระภาษีอากร สาหรับวัตถุดิบที่นาเข้า ได้แก่ อากรขาเข้า ค่าธรรมเนียมภาษีอื่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีมหาดไทย ที่ผนู ้ าของเข้าได้เสียหรื อวางประกันไว้ขณะนาเข้าเมื่อสามารถ พิสูจน์ได้วา่ ได้นาวัตถุดิบนั้นไปผลิตผสม ประกอบหรื อบรรจุเป็ นสินค้าส่งออก แล้วก็จะได้รับการ คืนอากรโดยจะคานวณค่าภาษีอากรที่คืนให้ตามสูตรการผลิต ทั้งนี้โดยมีเงื่อนไข ว่าจะต้องผลิต ส่งออกภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ได้นาเข้า และต้องขอคืนเงินอากรภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ที่ส่ง ของนั้นออกไป หลักเกณฑ์และเงื่อนไข 9.1.1 ของที่นาเข้ามา ต้องนามาผลิต หรื อผสม หรื อประกอบ หรื อบรรจุ แล้วส่งออกไปต่างประเทศ หรื อส่งไปเป็ นของใช้ สิ้นเปลืองในเรื อเดินทาง ไปต่างประเทศ 9.1.2 ของที่นาเข้ามาต้องมิใช่ของที่กฎกระทรวงระบุหา้ มคืนเงินอากร 9.1.3 ปริ มาณของที่นาเข้า ซึ่งใช้ในการผลิต หรื อผสม หรื อประกอบ หรื อ บรรจุเป็ นของที่ส่งออก ให้ถือตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมศุลกากรเห็นชอบหรื อประกาศกาหนดไว้ 9.1.4 ของนั้นต้องส่งออกไปทางท่า หรื อที่สาหรับการส่งออก ซึ่งของที่ขอ คืนอากรขาเข้า 9.1.5 ของนั้นได้ส่งออกไป ภายใน 1 ปี นับแต่วนั ที่นาของซึ่งใช้ในการ ผลิต ผสมหรื อประกอบเป็ นของที่ส่งออก หรื อใช้บรรจุ ของที่ส่งออกเข้ามาในราชอาณาจักร เว้นแต่ ในกรณี มีเหตุสุดวิสัยทาให้ไม่อาจส่งออกภายในกาหนดเวลาดังกล่าวได้ อธิบดีกรมศุลกากรอาจ ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกิน6เดือน


30

9.1.6 ผูน้ าของเข้าต้องขอคืนอากรภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ที่ส่งของนั้น ออกไปแต่อธิบดีกรมศุลกากรจะขยายเวลาออกไปตามที่เห็นสมควรได้ 9.2 การชดเชยค่าภาษีอากรสิ นค้าส่ งออกที่ผลิตในราชอาณาจักร การชดเชยค่าภาษีอากร เป็ นมาตราการช่วยเหลือทางภาษีอากรของรัฐ เพือ่ ลด ต้นทุนการผลิตทาให้สามารถส่งสินค้าไปขายแข่งขันกับสินค้าของต่างประเทศ ทั้งในตลาดโลก และตลาดในประเทศได้ในกรณี ที่การขายนั้นถือเป็ นการส่งออกตามกฎหมาย ทั้งนี้ การจ่ายเงิน ดังกล่าวต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติชดเชยค่าภาษีอากร สินค้าส่งออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ.2524 การชดเชยค่าภาษีอากร หมายถึง การที่รัฐจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผสู ้ ่งของออกในรู ป ของบัตรภาษี สาหรับสินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักร ซึ่งครอบคลุมถึงการขายสินค้าภายในประเทศ ให้แก่ส่วนราชการ หรื อรัฐวิสาหกิจตามโครงการเงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศและ ครอบคลุมถึงการขายสินค้าให้แก่องค์การระหว่างประเทศ หรื อหน่วยงานที่มีสิทธิ์นาสินค้าเข้ามา โดยได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร เป็ นการทดแทนค่าภาษีอากร ที่ ผูผ้ ลิตได้เสียไปในทุกขั้นตอนของการผลิตอันได้แก่ บรรดาภาษีอากรที่มีอยูใ่ นมูลค่าของวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ เครื่ องจักร เชื้อเพลิง พลังงานอย่างอื่นที่ใช้ในการผลิตสินค้า แต่ไม่รวมถึงภาษี เงินได้ ค่าภาคหลวง ภาษีอากรที่อาจขอคืนได้ตามกฎหมายอื่นแล้ว ภาษีอากรส่วนท้องถิ่นและภาษี อากรตามที่คณะกรรมการพิจารณาชดเชยค่าภาษีอากรสินค้าส่งออกที่ผลิตในราชอาณาจักรกาหนด การจ่ายเงินชดเชยค่าภาษีอากร ให้พจิ ารณาจ่ายตามอัตราเงินชดเชยที่กาหนด ตาม ประกาศคณะกรรมการพิจารณาชดเชยค่าภาษีอากรสินค้าส่งออกที่ผลิตในราชอาณาจักร ขั้นตอนการขอชดเชยอากร 9.2.1 การขออนุมตั ิหลักการ ผูข้ อรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร ต้องยืน่ หนังสือแสดงความจานง เพือ่ ขอ อนุมตั ิหลักการ ในการขอชดเชยค่าภาษีอากร (แบบ กศก. 169) ยืน่ ที่ฝ่ายชดเชยอากร สานักงาน


31

ศุลกากรท่าเรื อกรุ งเทพ พร้อมแนบเอกสารประกอบ ถูกต้องจานวน 2 ชุด ดังนี้

คาขออนุมตั ิหลักการ ซึ่งรับรองสาเนา

9.2.1.1 ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ (ภ.พ. 20) หรื อบัตรประจาตัว ผูเ้ สียภาษี ในกรณี เป็ นกิจการที่ไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ 9.2.1.2 ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียนนิติบุคคล หรื อใบทะเบียน พาณิ ชย์ 9.2.1.3 หนังสือรับรองของกระทรวงพาณิ ชย์ ไม่เกิน 6 เดือน แสดงวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลและผูม้ ีอานาจทาการแทน 9.2.1.4 บัตรตัวอย่างลายมือชื่อเจ้าของ หรื อผูจ้ ดั การที่ออกโดย กรมศุลกากร 9.2.1.5 ใบอนุญาตประกอบการโรงงาน (รง.4) ถ้าเป็ นผูผ้ ลิต สินค้า 9.2.1.6 แผนที่ เส้นทางที่จะไปที่ต้งั สถานประกอบการ ของผู ้ ขอรับเงินชดเชยภาษีอากร 9.2.1.7 ทะเบียนบ้านของเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การ 9.2.1.8 หนังสือบริ คณฑ์สนธิ 9.2.1.9 ภาพถ่าย Work Permit และ Passport จานวน 2 ฉบับ ถ้า เจ้าของหรื อผูจ้ ดั การเป็ นชาวต่างประเทศ เอกสารดังกล่าวข้างต้นให้นาต้นฉบับเอกสารมาเพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบกับสาเนา เอกสารในการยืน่ คาขออนุมตั ิหลักการ


32

9.2.2 ฝ่ ายชดเชยอากร จะพิจารณาอนุมตั ิหลักการภายใน 3 วันทาการ (กรณี เอกสารครบถ้วน) พร้อมออกเลขรหัสผูข้ อชดเชยให้ ซึ่ งผูข้ อชดเชยต้องสาแดงเลขรหัส ดังกล่าวไว้ในชุดคาขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร (แบบ กศก. 20 , แบบ กศก. 20ก) ทุกครั้ง 9.2.3 คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิได้รับเงินชดเชย 9.2.3.1 ผูส้ ่งออกที่ไม่ได้รับ หรื อไม่ได้ใช้สิทธิคืน หรื อยกเว้น หรื อลดหย่อนภาษีอากรขาเข้าตามกฎหมายอื่น 9.2.3.2 ผูส้ ่งออกได้ปฏิบตั ิครบถ้วนตามมาตรา 45 และ 48 แห่ง พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 9.2.3.3 ผูข้ ายสินค้าให้แก่ส่วนราชการ หรื อรัฐวิสาหกิจตาม โครงการเงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ทั้งนี้ค่าของสินค้าดังกล่าวหรื อทั้งหมดหรื อ บางส่วนจะต้องชาระจากเงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 9.2.3.4 ผูข้ ายสินค้าที่จาแนกประเภทไว้ในภาค ที่วา่ ด้วยของที่ ได้รับยกเว้นอากร ตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากรให้แก่องค์การระหว่างประเทศหรื อ หน่วยงานใดที่มีสิทธินาสินค้านั้นเข้ามาในราชอาณาจักรได้ 9.2.4 หลักเกณฑ์ของสินค้าที่มีสิทธิได้รับเงินชดเชยค่าภาษีอากร 9.2.4.1 จะต้องเป็ นสินค้าที่ผลิตในประเทศ คาว่า “ผลิต” หมายถึง ประกอบ แปรรู ป แปรสภาพ หรื อการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งให้มีข้ นึ ซึ่งสินค้าไม่วา่ ด้วยวิธีใดๆ 9.2.4.2 ต้องมีการส่งออกตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 9.2.4.3 ต้องเป็ นการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ และได้รับ ค่าสินค้าเข้ามาในประเทศ เว้นแต่ถา้ เป็ นการส่งออกเพือ่ เป็ นตัวอย่าง เพือ่ วิเคราะห์ หรื อเพือ่ การอื่น ที่มิได้จาหน่ายจะขอชดเชยค่าภาษีอากรไม่ได้


33

9.2.4.4 สินค้าที่ขายให้แก่ส่วนราชการ หรื อรัฐวิสาหกิจ ตาม โครงการเงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ซึ่งค่าสินค้าทั้งหมดหรื อบางส่วนจะต้องชาระจาก เงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และจะต้องมีการประกวดราคา หรื อการสอบราคานานาชาติ 9.2.5 สินค้าที่ไม่มีสิทธิขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร 9.2.5.1 แร่ ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ 9.2.5.2 สินค้าที่ตอ้ งเสียค่าภาษีอากร และ/หรื อค่าธรรมเนียมเพือ่ ส่งออก 9.2.5.3 สินค้าที่คณะกรรมการฯ กาหนดให้ไม่ได้รับเงินชดเชย 9.3 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรในการส่ งสิ นค้าออก 9.3.1 ผูส้ ่ งสินค้าออกที่ประสงค์ขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร ต้องยืน่ ใบ ขนสินค้าขาออก (กศก.101/1) พร้อมสาเนา ใบขนสินค้าขาออกมุมสีน้ าเงิน ต้องมี “เลขรหัสผูข้ อ ชดเชย” ในช่องผูส้ ่งของออก และระบุในช่องใช้สิทธิพเิ ศษ “ขอเงินชดเชย” ทุกรายการที่ขอใช้สิทธิ ชดเชยค่าภาษีอากร และต้องประทับตราในช่องสาหรับผูส้ ่งออกด้านหลังต้นฉบับ ใบขนสินค้าขา ออก และสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงิน พร้อมลงนาม วัน เดือน ปี กากับ ดังนี้

ข้าพเจ้าขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร โดยข้าพเจ้าหรื อผูผ้ ลิต สินค้าไม่ได้รับหรื อไม่ได้ใช้สิทธิคืน หรื อยกเว้นหรื อลดหย่อน ภาษีอากรตามกฎหมายอื่น…………………………………… ………………………………………………………………… (ลงชื่อ)……………………………………. ………/………/……… ภาพที่ 3


34

9.3.2 กรณี ผสู ้ ่งสินค้าออกร้องขอส่งสินค้าออกไปก่อนมาตรา 45 วรรค 2 แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ.2469 เมื่อได้ปฏิบตั ิพธิ ีการยืน่ ใบขนสินค้าขาออกโดยมีสาเนาใบขน สินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินสมบูรณ์ดว้ ยแล้ว จึงจะขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรได้ 9.3.3 ผูส้ ่งสินค้าออกต้องสาแดงรายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของและลักษณะ ของสินค้าในต้นฉบับใบขนสินค้าขาออก และสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินแยกตาม ประเภทพิกดั อัตราเงินชดเชยค่าภาษีอากรให้ชดั เจนถูกต้องตรงกันทุกรายการ 9.3.4 สาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินที่เพิม่ ขึ้นตามข้อ 1 เมื่อ ปฏิบตั ิพธิ ีการตรวจสอบตามปกติแล้วจะต้องแนบไปพร้อมกับต้นฉบับใบขนสินค้าขาออก เพือ่ ให้ เจ้าหน้าที่ศุลกากรสลักรายการตรวจปล่อย และรับรองการบรรทุกสินค้าลงเรื อเช่นเดียวกับต้นฉบับ ใบสินค้าขาออก และให้ผสู ้ ่งสินค้าออกขอรับสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินได้ที่กอง คืนอากร 9.3.5 การขอจาลองใบขนสินค้าขาออก เพือ่ ขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรผู ้ ส่งสินค้าออก จะกระทาได้เฉพาะกรณี สาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินสูญหาย โดยมี หลักฐานการรับแจ้งความของเจ้าหน้าที่ตารวจมาแสดง และจะต้องปฏิบตั ิตามระเบียบว่าด้วยการ จาลองเอกสารของกรมศุลกากร 9.3.6 ผูส้ ่งออก จะต้องสาแดงเลขที่บญั ชี ราคาสินค้าในต้นฉบับใบขน สินค้าขาออกและสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงินและเพิม่ บัญชีราคาสินค้าอีก 1 ฉบับที่ ผ่านการปฏิบตั ิพธิ ีการเช่นเดียวกับต้นฉบับบัญชีราคาสินค้า เพือ่ แนบสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับ มุมสีน้ าเงิน 9.3.7 สาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงิน และ/หรื อฉบับจาลอง จานวนรวมไม่เกิน 10 ฉบับต่อคาขอ 1 ชุด เว้นแต่กรณี ที่มูลค่าสินค้ารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท (คิดราคา F.O.B) จะรวมสาเนาใบขนสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงิน และ/หรื อฉบับจาลองเกินกว่า 10 ฉบับก็ได้ และต้องยืน่ ขอชดเชยภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ส่งออก


35

9.3.8 กรณี ผขู ้ อรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร มีโรงงานหรื อสถานประกอบ อุตสาหกรรมผลิตสินค้าส่งออกทีข่ อรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรให้ยนื่ ใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงาน (ร.ง.4) หรื อภาพถ่ายหลักฐานอื่นที่แสดงว่าได้รับอนุญาตให้ประกอบอุตสาหกรรมเกี่ยวกับ สินค้าที่ขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรที่รับรองถูกต้องแล้วโดยมีผมู ้ ีอานาจลงนามพร้อมประทับตรา สถานประกอบกิจการนั้น 9.3.9 กรณี ผขู ้ อรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร ไม่ได้เป็ นผูผ้ ลิตสินค้าที่ส่งออก เอง ประสงค์จะโอนสิทธิตามบัตรภาษีให้บุคคลอื่น และสินค้าที่ขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรมี อัตราเงินชดเชยค่าภาษีอากรตั้งแต่ร้อยละ 1.5 ของราคาส่งออกขึ้นไปให้ยนื่ หลักฐานการได้มาของ สินค้าส่งออกที่ขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร เช่น ใบกากับภาษี หรื อใบเสร็จรับเงินค่าซื้อสินค้าที่ ส่งออก หรื อหลักฐานการซื้อขายอื่นที่ระบุชื่อผูข้ ายพร้อมสถานประกอบการของผูข้ าย โดย เอกสารที่นามายืน่ ทุกฉบับต้องลงนามรับรองโดยผูม้ ีอานาจยืน่ ขอชดเชยพร้อมประทับตราบริ ษทั ห้าง ร้าน ด้วย 9.3.10 สาเนาใบขนสินค้าขาออกมุมน้ าเงิน และบัญชีราคาสินค้าซึ่งผ่าน การปฏิบตั ิพธิ ีการส่งออกครบถ้วนแล้ว 9.3.11 การจ่ายเงินชดเชย กรมศุลกากรจะจ่ายเงินชดเชยภาษีอากรให้แก่ผู ้ ส่งออกในรู ปของ “บัตรภาษี” โดยมีราคาบัตร 4 ชนิด อายุของบัตรภาษีมีระยะเวลา 3 ปี และอาจต่อ อายุได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละ 3 ปี และต้องยืน่ ขอต่ออายุก่อนหมดอายุ ผูร้ ับโอนสิทธิตามบัตรภาษี (ผูร้ ับโอนสิทธิตามบัตรภาษีครั้งแรก นับแต่วนั ที่ 30 กันยายน 2541) ผูร้ ับโอนสิทธิตามบัตรภาษีเป็ นครั้งแรก ต้องยืน่ บัตรประจาตัวผูเ้ สียภาษี เพือ่ บันทึกข้อมูล โดยยืน่ ที่งานธุรการ ฝ่ ายชดเชยอากร สานักงานศุลกากรท่าเรื อกรุ งเทพ ผูร้ ับมอบอานาจสามารถกระทาการแทนผูม้ อบอานาจใน กรณี ต่อไปนี้ เช่น ยืน่ ชุดคาขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร ลงนามและลงนามแก้ไขในแบบ กศก.20 และแบบ กศก.20 ก. รับใบสินค้าขาออกฉบับมุมสีน้ าเงิน รับบัตรภาษี เป็ นต้น


36

ผูม้ อบอานาจสามารถมอบอานาจให้ทาการแทนได้คราวละไม่เกิน 1 ปี โดยให้นบั ระยะเวลาตั้งแต่วนั อนุมตั ิ ให้ทาหนังสือมอบอานาจ เช่น 20 ม.ค.35-19 ม.ค.36 เว้นแต่ บัตรตัวอย่างลายมือชื่อเจ้าของหรื อผูจ้ ดั การหมดอายุก่อนครบ 1 ปี ให้มอบอานาจได้ถึงวันที่บตั ร หมดอายุเท่านั้น 9.4 การขอคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม กรมสรรพากรมีนโยบายที่จะคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูป้ ระกอบการให้ถูกต้อง และรวดเร็ ว กล่าวคือ ระบบการคืนเงินภาษีมูลค่าเพิม่ ซึ่งจะต้องดาเนินการให้เป็ นประโยชน์ท้งั ต่อผูเ้ สี ยภาษีในแง่ ของการได้รับคืนภาษีที่รวดเร็วทันใจ และต่อกรมสรรพากรคือรวดเร็วและถูกต้อง การตรวจก่อน คืนภาษีมูลค่าเพิม่ นั้นเป็ นการตรวจ เพือ่ ให้การคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ถูกต้อง มิใช่เป็ นการตรวจเพือ่ ที่จะ ไม่คืนภาษีมูลค่าเพิม่ เนื่องจากกรมสรรพากรได้ตรวจพบว่า ผูป้ ระกอบการมีการทุจริ ตในการขอคืนภาษีโดยการ แจ้งแสดงรายการเท็จหลายกรณี ทาให้กรมสรรพากรมีความจาเป็ น ต้องตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ต่าง ๆ โดยละเอียดและต้องใช้เวลาพอสมควร จึงอาจก่อให้เกิดความล่าช้าแต่ในขณะนี้เพือ่ ความ สะดวกคล่องตัวและรวดเร็ว เราได้มีการแบ่งผูป้ ระกอบการออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผูส้ ่งออกกับ ผูป้ ระกอบการในประเทศประเภทซื้อมาขายไป กลุ่มผูส้ ่งออก โดยเราเน้นที่การอานวยความสะดวกต่อผูส้ ่งออก เป็ นการส่งเสริ มธุรกิจ ส่งออกคือ พิจารณาการขอคืนให้เป็ นการเร่ งด่วนก่อน แต่หมายความว่าเอกสารต่าง ๆ ต้องถูกต้อง ครบถ้วน ผูป้ ระกอบการประเภทซื้อมาขายไป โดยปกติไม่น่าจะต้องขอคืนเพราะการทาธุรกิจย่อมมี มูลค่าเพิม่ ที่จะต้องชาระภาษี ผูป้ ระกอบการกลุ่มนี้จึงเป็ นที่เจ้าหน้าที่จะต้องตรวจสอบหลักฐานโดย ละเอียดก่อน และที่ผา่ นมากรมสรรพากรได้ร่วมประชุมกับสมาชิกหอการค้าไทยและสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย เพือ่ พิจารณาแนวทางแก้ไขปั ญหาและได้ขอ้ สรุ ปถึงแนวทางของการแก้ไขปั ญหา การคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ดังนี้ 9.4.1 กรมสรรพากร จะคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ให้แก่ ผูป้ ระกอบการที่ขอคืน ภายใน 90 วัน โดยที่ผขู ้ อคืนนั้นมีหลักฐานเอกสารที่ถูกต้อง


37

9.4.2 กรมสรรพากร ได้สงั่ การให้สรรพากรพื้นที่ และสรรพากรจังหวัด แยกรายชื่อผูป้ ระกอบการส่งออกที่ขอคืนภาษีเป็ นกรณี พเิ ศษ เพือ่ คืนภาษีให้โดยเร็ว 9.4.3 กรมสรรพากร จะตรวจสอบผูข้ อคืนภาษีที่มิได้ เป็ นผูส้ ่งออกอย่าง ละเอียดถี่ถว้ นก่อนคืน เนื่องจากโดยเหตุผลแล้ว การประกอบธุรกิจน่าจะมีมูลค่าเพิม่ (กาไร) คือ น่าจะมีภาษีมูลค่าเพิม่ นาส่งในแต่ละเดือนมิใช่ขอคืนภาษี 9.4.4 กรมสรรพากร จะทบทวนหลักเกณฑ์ผปู ้ ระกอบการที่ดี และดีพเิ ศษ โดยมิได้มุ่งเน้นในเรื่ องยอดส่งออก แต่จะพิจารณาจากประวัติการภาษีดงั นั้น ผูส้ ่งออกที่เป็ นรายเล็ก หรื อรายขนาดกลางที่มีประวัติการเสียภาษีดีก็จะเป็ นผูป้ ระกอบการที่ดีและดีพเิ ศษในการคืน ภาษีมูลค่าเพิม่ ได้ เมื่อมีการยืน่ แบบแสดงรายการเพือ่ ชาระภาษีและขอคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการควร จัดเตรี ยมหลักฐานเอกสารให้พร้อมทุกครั้ง เช่น รายงานภาษีซ้ือ รายงานภาษีขาย ใบกากับภาษีที่ ถูกต้อง (ไม่นบั รวมใบกากับภาษีปลอมเพราะกรมสรรพากรมีวธิ ีตรวจเช็คได้ ดังนั้นผูป้ ระกอบการ เองย่อมจะทราบดีวา่ ใบกากับภาษีปลอมหรื อไม่ปลอม มิเช่นนั้นแล้วปั ญหายุง่ ยากจะตามมาทีหลัง) เพราะหากหลักฐานไม่ครบ ไม่ถูกต้อง จะทาให้เจ้าหน้าที่สรรพากรต้องใช้เวลาในการตรวจสอบ ที่มากขึ้นกว่าเดิม ทาให้เกิดความล่าช้าได้ 9.4.5 ระบบการคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ของประเทศไทย การเครดิตภาษีและ การขอคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการจัดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ซึ่งคานวณจากภาษีขายหักด้วย ภาษีซ้ือ และมีเครดิตภาษีเหลืออยูใ่ นแต่ละเดือนภาษี เนื่องจากภาษีซ้ือมากกว่าภาษีขาย มีสิทธิขอคืน ภาษีมูลค่าเพิม่ ได้ 2 วิธีคือ 9.4.5.1 ขอคืนเครดิต ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนยืน่ แบบแสดงรายการ ฯ และมีเครดิต ภาษีเหลืออยูจ่ ากการคานวณภาษีในเดือนภาษีใด มีสิทธิขอนาเครดิตภาษีคงเหลือนั้นยกไปชาระ ภาษีมูลค่าเพิม่ ในเดือนถัดจากเดือนภาษีที่คานวณภาษีน้ นั และหากในเดือนภาษีที่นาเครดิตไปชาระ ยังมีเครดิตภาษีคงเหลืออยูอ่ ีกก็ให้นาไปชาระภาษีมูลค่าเพิม่ ในเดือนถัดไปได้เช่นนี้ถดั ไป จนกว่า


38

เครดิตที่เหลืออยูน่ ้ นั จะหมดไป การไม่ลงลายมือชื่อในช่อง “การขอคืนภาษี” ให้ถือว่าประสงค์จะ นาเครดิตภาษีไปชาระภาษีมูลค่าเพิม่ ในเดือนถัดไป ในกรณี ที่มิได้นาเครดิตภาษีที่เหลืออยูไ่ ปชาระภาษีมูลค่าเพิม่ ใน เดือนภาษีถดั ไปจะยกเครดิตภาษี ดังกล่าวข้ามไปชาระภาษีในเดือนอื่น ๆ ไม่ได้แต่ให้ขอคืนเป็ นเงิน สดโดยยืน่ คาร้องด้วยแบบ ค.10 9.4.5.2 ขอคืนเงินสด ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนยืน่ แบบแสดงรายการคานวณแล้วภาษี ซื้อมากกว่าภาษีขายและมีเครดิตภาษีเหลืออยูจ่ ะขอคืนเป็ นเงินสด หรื อขอโอนเข้าธนาคาร โดย จะต้องลงลายมือชื่อในช่องขอคืนภาษีเป็ นเงินสดหรื อโอนเข้าธนาคาร 9.4.6 ผูม้ ีสิทธิขอคืนภาษีมูลค่าเพิม่ คือ ผูท้ ไี่ ด้ชาระภาษีมูลค่าเพิม่ ไว้เกิน กว่าที่ตอ้ งเสีย หรื อที่ได้ชาระไว้ โดยไม่มีหน้าที่ตอ้ งเสีย ได้แก่ 9.4.6.1 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ในอัตรา ร้อยละ 10 ซึ่งคานวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือและมีเครดิตภาษีที่เหลืออยูใ่ นแต่ละเดือนภาษี เนื่องจากภาษีซ้ือมากกว่าภาษีขาย 9.4.6.2 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ไว้เกิน หรื อ ผิด หรื อซ้ า 9.4.6.3 ผูป้ ระกอบการที่มีหน้าที่เสียภาษีซ่ ึงได้นาชาระภาษีไว้เกิน หรื อผิด หรื อซ้ า 9.4.6.4 ผูม้ ีหน้าที่นาส่งภาษีซ่ ึงได้นาส่งภาษีไว้เกินหรื อผิด 9.4.6.5 ผูไ้ ม่มีหน้าที่ตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพิม่ แต่ได้ชาระภาษีไว้


39

9.4.6.6 ผูน้ าเข้าที่มีขอ้ โต้แย้ง ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรื อ เป็ นคดีในศาลต่อมามีคาวินิจฉัยข้อโต้แย้งอากรขาเข้าเป็ นหนังสือหรื อคาพิพากษาของศาลซึ่งคดีถึง ที่สุดว่ามีภาษีชาระไว้เกิน 9.4.6.7 ผูน้ าเข้าที่มิได้ เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ได้ชาระ ภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว และต่อมาได้ส่งสินค้ากลับออกไป มีสิทธิได้รับคืนอากรขาเข้าตามกฎหมายว่า ด้วยศุลกากรที่กาหนดไว้สาหรับขอคืนอากรขาเข้า 9.4.7 แบบคาร้องที่ใช้ในการขอคืนภาษีมูลค่าเพิม่ 9.4.7.1 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นยื่ น แบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิม่ ประจาเดือนภาษีโดยมีเครดิตภาษีเหลืออยู่ และขอยกยอดไปใช้ในเดือนภาษีถดั ไปแต่ มิได้นาเครดิตดังกล่าวไปใช้ 9.4.7.2 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นยื่ น แบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่มิได้ลงลายมือชื่อยืน่ แบบฯ และในช่องการขอคืนภาษี 9.4.7.3 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นยื่ น แบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิม่ ลงลายมือชื่อในช่องการขอคืนแต่มิได้ลงลายมือชื่อยืน่ แบบฯ 9.4.7.4 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนแสดงความประสงค์ขอคืนภาษี ไว้ในแบบแสดงรายการภาษีต่ากว่าจานวนภาษีที่เครื่ องคอมพิวเตอร์คานวณได้ และผูป้ ระกอบการมี สิทธิได้รับคืนภาษีจานวนนั้น 9.4.7.5 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นยื่ น แบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิม่ ประจาเดือนภาษี โดยแสดงภาษีขายไว้เกินและหรื อแสดงภาษีซ้ื อไว้ขาดโดยยอดขาย และยอดซื้อถูกต้อง 9.4.7.6 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นยื่ น แบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิม่ ประจาเดือนภาษีไว้ซ้ า


40

9.4.7.7 เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่เสี ยภาษีมู ลค่าเพิ่มจาก ยอดรายรับหรื อเป็ นผูน้ าส่งภาษีหรื อไม่มีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ได้ยนื่ แบบแสดงรายการ ภาษีไว้เกิน ผิด หรื อซ้ า 9.4.8 วิธีการรับคืนเงินภาษีมูลค่าเพิม่ 9.4.8.1 กรณี ขอรับเงินคืนเป็ นเงินสด ให้ผขู ้ อคืนนาหนังสือแจ้ง คืนเงินภาษีฉบับที่ 1 หรื อสาเนาหนังสือแจ้งภาษีพร้อมแบบ ค.35 (กรณี หนังสือแจ้งคืนเงิน ภาษีมูลค่าเพิม่ ชารุ ดหรื อสูญหาย) มาขอรับเงินคืน ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในหนังสือฉบับนั้น 9.4.8.1.1 กรณี เป็ นบุคคลธรรมดา ให้ผขู ้ อคืนแสดงบัตร ประจาตัวประชาชน หรื อบัตรประจาตัวข้าราชการ พนักงานองค์การของรัฐ องค์การบริ หารส่วน ท้องถิ่น ข้าราชการบาเหน็จบานาญ หรื อใบสาคัญคนต่างด้าว หรื อเว้นแต่ผขู ้ อคืนมีอายุเกิน 70 ปี และไม่มีบตั รฯ ดังกล่าวขอร้องให้ผทู ้ ี่เชื่อถือได้เป็ นผูร้ ับรอง ถ้ามอบฉันทะให้ผอู ้ ื่นไปรับแทนให้ แสดงบัตรประจาตัวทั้งของผูม้ อบฉันทะและผูร้ บั มอบฉันทะ การขอรับเงินภาษีอากรคืนตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไปต้อง แนบภาพถ่ายบัตรฯ ทั้งของผูม้ อบฉันทะและผูร้ ับมอบฉันทะซึ่งมีคารับรองว่า “สาเนาถูกต้อง” โดย ผูม้ อบฉันทะและผูร้ ับมอบฉันทะได้ลงลายมือชื่อในสาเนาบัตรฯ นั้นด้วย 9.4.8.1.2 กรณี เป็ นผูข้ อคืนเป็ นนิติบุคคล ให้ผขู ้ อคืน แสดงบัตรประจาตัวประชาชน หรื อใบสาคัญคนต่างด้าว หรื อของผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันนิติบคุ คล นั้น และหนังสือรับรองการจดทะเบียนขอนิติบุคคลฉบับปั จจุบนั ที่มีระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือนนับแต่ วันที่นายทะเบียนหุน้ ส่วนบริ ษทั ได้ลงลายมือชื่อรับรองถ้ามอบอานาจให้ผอู ้ ื่นไปรับแทนให้ทา หนังสือมอบอานาจ และแสดงบัตรทั้งของผูม้ อบอานาจ และผูร้ ับมอบอานาจ การขอรับเงินภาษีอากรคืนตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป ต้อง แนบภาพถ่ายบัตรฯ ทั้งของผูม้ อบฉันทะและผูร้ ับมอบ และแนบภาพถ่ายหนังสือรับรองการจด ทะเบียนของนิติบุคคล โดยผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลนั้นลงลายมือชื่อรับรองว่า “สาเนา ถูกต้อง” ในภาพถ่ายดังกล่าวด้วย


41

หากผูข้ อคืนได้รับหนังสือแจ้งการคืนเงินภาษีแล้วต่อมา หนังสือนั้นชารุ ดหรื อสูญหายผูข้ อคืนสามารถยืน่ คาร้องตามแบบ ค.33 ขอสาเนาหนังสือแจ้งการคืน เงินภาษีเงินได้ ณ สานักงานภาษีสรรพากรพื้นที่ หรื อสานักงานสรรพากรจังหวัดแล้วแต่กรณี 9.4.8.2 กรณี ขอนาภาษีที่ชาระเกินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู ้ ขอคืน ผูป้ ระสงค์จะขอคืนโดยให้นาภาษีที่ชาระเงินเกินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารจะต้องปฏิบตั ิตาม เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 9.4.8.2.1 ต้องเปิ ดบัญชีเงินฝากประเภทกระแสรายวัน โดยใช้ชื่อบัญชีวา่ “บัญชีเงินฝากเพือ่ รับคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ของ….(ชื่อผูข้ อคืน)” และผูเ้ ปิ ดบัญชีตอ้ งมี อานาจผูกพันนิติบุคคล หรื อเป็ นเจ้าของกิจการนั้น 9.4.8.2.2 บัญชีเงินฝากดังกล่าว ต้องให้ผจู ้ ดั การธนาคาร หรื อพนักงานผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันธนาคารเป็ นผูร้ ับรองว่าเป็ นของผูข้ อคืนโดยแท้จริ ง 9.4.8.2.3 ผูเ้ บิกถอนเงินจากบัญชีเงินฝากดังกล่าว ต้อง เป็ นผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลหรื อเจ้าของบัญชีที่แท้จริ งหรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย 9.4.8.2.4 การเบิกถอนเงินจากบัญชีตอ้ งเบิกถอนภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ธนาคารนาเงินเข้าบัญชีแล้ว 9.4.8.2.5 ผูข้ อคืนต้องยืน่ คาขอให้นาเงินภาษีมูลค่าเพิม่ ที่ ได้รับคืนเข้าบัญชีเงินฝากพร้อมคารับรองการเปิ ดบัญชีเงินฝากเพือ่ รับคืนภาษีมูลค่าเพิม่ จากธนาคาร ณ สานักงานสรรพากรอาเภอ / เขตท้องที่ที่สถานประกอบการของตนตั้งอยูเ่ ท่านั้น 9.4.8.2.6 ผูข้ อคืนต้องแสดงความประสงค์ในแบบแสดง รายการภาษีมูลค่าเพิม่ โดยลงลายมือชื่อกากับด้วย


42

9.4.8.3 กรณี ขอนาเงินภาษีที่ชาระเกินไปใช้ในเดือนถัดไป ให้ผคู ้ ืนนายอดภาษีที่ชาระเกินไปใช้เดือนถัดจากเดือนที่ขอนาภาษีที่ชาระเกินไปใช้เท่านั้น ห้ามนาไปใช้ในเดือนอื่น 9.4.9 มาตรการเร่ งรัดการคืนภาษีมูลค่าเพิม่ กรมสรรพากรได้เริ่ มจัดระดับผูป้ ระกอบการในสถานะต่าง ๆ มาตั้งแต่ ปลายปี 2539 แล้วการได้รับจัดระดับเป็ นผูป้ ระกอบการส่งออกที่ดีของกรมสรรพากร จะได้รับสิทธิ พิเศษไม่ตอ้ งถูกตรวจสอบก่อนให้คืนภาษีมูลค่าเพิม่ ได้รับคืนภาษีมูลค่าเพิม่ ภายในระยะเวลา 45-60 วัน โดยไม่ตอ้ งวางค้ าประกันตามประกาศ ที่ ท. 72/2541 ผูป้ ระกอบการส่งออกที่จะได้รับการจัด ระดับให้เป็ นผูป้ ระกอบการส่งออกที่ดี “ระดับดีพเิ ศษ” หรื อ “ระดับดี”


บทที่ 4 การให้บริ การที่กระทาในราชอาณาจักร และได้มีการใช้บริ การนั้นในต่างประเทศ ได้รับ สิทธิเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ในอัตราร้อยละ 0 (การส่งออกบริ การ) การส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ ไม่ ว่าจะดาเนินพิธีการศุลกากรเอง หรื อส่งของไปพร้อมกับบริ ษทั ผูส้ ่งออกรายอื่น หากบริ ษทั มี หลักฐานเอกสารประกอบการส่งออก (ตามทีก่ าหนดไว้ในข้อ 2 ของคาสัง่ กรมสรรพากรที่ ป. 97/2543 เรื่ องการส่งออกสินค้า) ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนได้รับสิทธิเสียภาษีมูลค่าเพิม่ ในอัตรา ร้อยละ 0 ราคาขายที่จะใช้เป็ นฐานในการคานวณภาษีมูลค่าเพิม่ ให้ใช้ราคา FOB ซึ่งเป็ นราคาสินค้า อย่างเดียวไม่รวมค่า Freight และ Insurance โดยให้คานวณราคาขายที่เป็ นเงินตราต่างประเทศเป็ น เงินตราไทยในรายงานภาษีขายดังต่อไปนี้ 4.1 ถ้าได้รับเงินตราต่างประเทศจากการส่งออกสินค้าใน ขณะทีอ่ อกใบกากับภาษี และได้มีการขายเงินตราต่างประเทศที่ได้รับชาระนั้น เป็ นเงินตราไทยในเดือนที่ความรับผิดในการ เสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึ้น ให้ถือเงินตราไทยจากการขายนั้นเป็ นมูลค่าของฐานภาษีทไี่ ด้รับหรื อพึง ได้รับจากการขายสินค้า เว้นแต่มิได้มีการขายเงินตราต่างประเทศในเดือนที่ความรับผิดในการเสีย ภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึ้น ให้ถือตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิ ชย์รับซื้อซึ่งธนาคารแห่ งประเทศไทย ได้คานวณไว้ในวันทาการสุดท้ายของเดือนที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึ้น ทั้งนี้ ตาม มาตรา 79/4(1) แห่งประมวลรัษฎากร 4.2 ถ้ายังไม่ได้รับเงินตราต่างประเทศจากการส่งออกสินค้าในขณะทีอ่ อกใบกากับ ภาษีให้คานวณเงินตราต่างประเทศเป็ นเงินตราไทยตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดตามมาตรา 9 แห่ง ประมวลรัษฎากร (ราคา FOB คูณด้วยอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิ ชย์รับซื้อ (จะเป็ น sight หรื อ TT ก็ได้) ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยได้คานวณไว้ตามวันที่ที่ได้มีการชาระอากรขาออกในใบขน สินค้า)


44

สรุป จดทะเบียนธุรกิจ ทะเบียนนิตบิ คุ คล (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า)

จดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ (กรมสรรพากร)

ยื่นขอทาบัตรลายเซ็นผู้สง่ ออก (กรมศุลกากร) สินค้ าทัว่ ไป

สินค้ าควบคุม ยื่นความประสงค์ขออนุญาตขอจดทะเบียนฯ หรื อขอโควตาตามประกาศของกรมการค้ า ต่างประเทศ

พิธีการศุลกากร - ระบบ Manual - ระบบ EDI (กรมศุลกากร)

ส่งออก

สินค้ ามาตรฐาน จดทะเบียนเป็ นผู้สง่ ออกสินค้ ามาตรฐาน 12 ชนิด (สานักงานมาตรฐานสินค้ า กรมการค้ าต่างประเทศ) สินค้ ามาตรฐาน 1. ปอฟอก 2. ข้ าวโพด 3. เมล็ดละหุ่ง 4. ผลิตภัณฑ์มนั ฯ 5. ปุยนุ่น 6. ไม้ สกั แปรรูป 7. ข้ าวฟ่ าง 8. ถัว่ เขียว 9. ถัว่ เขียวผิวดา 10. ปลาป่ น 11. ข้ าวหอมมะลิไทย 12.แป้งมันสาปะหลัง

ภาพที่ 4


บรรณานุกรม นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ,วาสนา ดวงดารา.หนังสือการบัญชีภาษีอากร กรุ งเทพ: หุน้ ส่วนจากัด ทีพเี อ็น เพรส 2554. เกษม มโนสันติ์ และเกล็ดนที สสิกาญจน์ การบัญชีภาษีอากร กรุ งเทพ: บริ ษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จากัด 2544. ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม กฎหมายภาษีอากร สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งชาติเนติบณั ฑิตยสภา 2547. วิทย์ ตันตยกุล และเจริ ญ ธฤติมานนท์ กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร มปพ. 2541. อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์ การบัญชีภาษีอากรขั้นสูง กรุ งเทพ: บริ ษทั ชวนพิมพ์ 50 จากัด 2553. กรมส่งเสริ มการส่งออก กระทรวงพาณิ ชย์, http://www.depthai.go.th กรมสรรพากร, http://www.rd.go.th บริ ษทั บัญชีไทย จากัด


ภาคผนวก ก.


เอกสารอื่น ๆ ที่ใชประกอบ 1. การขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก – นําเขาสินคาทั่วไป 1.1 บัตรประจําตัวผูสงออก – นําเขาสินคาทั่วไป เปนบัตรประจําตัวที่กรมการคาตางประเทศออกใหกับผูประกอบการขนสงออกและนําเขา สินคาทั่วไปในนามของนิติบุคคล เพื่อใหกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลดังกลาว ตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไวเปนผูถือและใชในการติดตอราฃการกับกรมการคา ตางประเทศ เชน การซื้อและรับแบบพิมพใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองฯ การสงออก-นําเขา สินคา การยื่นคํารองขอใบอนุญาตและหนังสือรับรองฯ และการรับใบอนุญาตฯ หรือหนังสือ รับรอง เปนตน ในกรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว ประสงคจะมอบอํานาจใหผูอื่นกระทําการแทนในการถือและใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวติดตอ ราชการกับกรมการตางประเทศ สามารถกระทําไดโดยการมอบอํานาจเปนหนังสือตามแบบที่ กรมการคาตางประเทศกําหนด พรอมกับการยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขา สินคาทั่วไป 1.2 ขั้นตอนในการทําบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาทั่วไป ยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาทั่วไป ที่สํานักบริการการคาตางประเทศ โดยใชแบบพิมพและแสดงเอกสารประกอบ ดังนี้ 1. คํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาทั่วไป 2. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลออกใหไมเกิน 6 เดือน 3. สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม (ภ.พ. 20 หรือ ภ.พ. 01 หรือ ภ.พ. 09) 4. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือใบสําคัญประจําตัวคนตางดาว หรือหนังสือ เดินทาง หรือหนังสืออนุญาตใหทํางานในประเทศไทยของกรรมการผูมีอํานาจกระทํา การแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว 5. หนังสือมอบอํานาจใหกระทําการแทนผูสงออก-นําเขาสินคาทั่วไป พรอมแนบสําเนา บัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาบัตรประจําตัวผูเสียภาษีอากรของผูรับมอบอํานาจ (ในกรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว ประสงคจะมอบอํานาจใหผูอื่นกระทําการแทนในการถือและใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาว ในการติดตอราชการกับกรมการคาตางประเทศ) ในกรณีที่กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบคุ คลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติ บุคคลไวไมสามารถไปดําเนินการยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัว ฯ ไดดวยตนเองจะตอง ดําเนินการดังนี้ 1. ใหทนายความลงชื่อรับรองลายมือชื่อกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลฯ ตามแบบ หนังสือรับรองลายมือชื่อผูมอบอํานาจ พรอมแนบสําเนาบัตรประจําตัว สมาชิกสภาทนายความหรือหนังสือรับรองการเปนสมาชิกสามัญ/วิสามัญแหงเนติ บัณฑิตยสภาซึ่งรับรองสําเนาถูกตองโดยเจาของหลักฐาน 2. ทําหนังสือมอบอํานาจตามแบบ หนังสือมอบอํานาจใหยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัว ฯ ตามที่กรมการคาตางประเทศกําหนด พรอมแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน ของผูมอบอํานาจ ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ สวนบริการขอมูล

ปรับปรุงขอมูล ธันวาคม 2547


2. การขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ 2.1 บัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสิ่งทอ เปนบัตรประจําตัวที่กรมการคาตางประเทศออกใหกับผูประกอบการสงออกและนําเขา สินคาสิ่งทอในนามของนิติบุคคล เพื่อใหกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจด ทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว เปนผูถือและใชในการติดตอราชการกับกรมการคาตางประเทศ เชน การยื่นคําขอรับใบสั่งซื้อแบบพิมพสิ่งทอ การซื้อและรับแบบพิมพคํารองและใบอนุญาตหรือ หนังสือรับรองการสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ การยื่นคํารองขอและการรับใบอนุญาตและหนังสือ รับรองการสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ และการตรวจสอบสถานะโควตา เปนตน ในกรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว ประ สงคจะมอบอํานาจใหผูอื่นกระทําการแทนในการถือและใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวติดตอราชการ กับกรมการคาตางประเทศ สามารถกระทําไดโดยการมอบอํานาจเปนหนังสือตามแบบที่กรมการคา ตางประเทศําหนด พรอมกับการยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสิ่งทอ 2.2 บัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ แบงเปน 2 ชนิด คือ 1. บัตรพิเศษ (บัตรสีทอง) สามารถใชในการตรวจสอบสถานะโควตาสินคาสิ่งทอไดใน ระบบ On-line 2. บัตรธรรมดา (บัตรสีเงิน) โดยนิติบุคคล 1 ราย สามารถขอมีบัตรพิเศษ (บัตรสีทอง) ได จํานวน 1 บัตร และบัตรธรรมดา (บัตรสีเงิน) ไดจํานวน 2 บัตร 2.3 ขั้นตอนในการทําบัตรประจําตัวฯ ยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ ที่สํานักบริการการคาตางประเทศ โดยใชแบบพิมพและแสดงเอกสารประกอบ ดังนี้ 1. คํารองขอมีบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ 2. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลออกใหไมเกิน 6 เดือน 3. สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม (ภ.พ.20 หรือ ภ.พ.01 หรือ ภ.พ.09) 4. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือใบสําคัญประจําตัวคนตางดาว หรือหนังสือ เดินทาง หรือหนังสืออนุญาตใหทํางานในประเทศไทยของกรรมการผูมีอํานาจกระทํา การแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว 5. หนังสือมอบอํานาจใหกระทําการแทนผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ พรอมแนบสําเนา บัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาบัตรประจําตัวผูเสียภาษีอากรของผูรับมอบอํานาจ (ในกรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลไว ประสงคจะมอบอํานาจใหผูอื่นกระทําการแทนในการถือและใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวในการติดตอราชการกับกรมการคาตางประเทศ)

ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ สวนบริการขอมูล

ปรับปรุงขอมูล ธันวาคม 2547


ในกรณีที่กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการ เปนนิติบุคคลไวไมสามารถไปดําเนินการยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัว ฯ ไดดวยตนเอง จะตองดําเนินการดังนี้ 1. ใหทนายความลงชื่อรับรองลายมือชื่อกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติ บุคคลฯ ตามแบบ หนังสือรับรองลายมือชื่อผูมอบอํานาจ พรอมแนบสําเนาบัตรประจําตัว สมาชิกสภาทนายความหรือหนังสือรับรองการเปนสมาชิกสามัญ/วิสามัญแหงเนติบัณฑิตย สภาซึ่งรับรองสําเนาถูกตองโดยเจาของหลักฐาน 2. ทําหนังสือมอบอํานาจตามแบบ หนังสือมอบอํานาจใหยื่นคํารองขอมีบัตร ประจําตัวฯ ตามที่กรมการคาตางประเทศกําหนด พรอมแนบสําเนาบัตรประจําตัว ประชาชนของผูมอบอํานาจ 3. การขอเปลี่ยนแปลงขอมูลรายละเอียดในบัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอและสินคา ทั่วไป 1. บัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอและสินคาทั่วไปเปนบัตรประจําตัวฯ ที่กรมการคา ตางประเทศออกใหในนามของบริษัท/หาง เพื่อใหกรรมการผูมอี ํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดจด ทะเบียนการเปนนิติบุคคลไวเปนผูถือ และใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวในการติดตอราชการกับกรมการคา ตางประเทศในเรื่องตาง ๆ เชน การซื้อแบบพิมพคํารอง และใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองฯ การยื่นคํารอง และรับใบอนุญาต หรือหนังสือรับรองฯ การลงชื่อในคํารองขอใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองฯ เปนตน โดย บริษัท/หางสามารถขอมีบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวไดไมเกิน 3 บัตร 2. ในกรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดมีการจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว ประสงคจะมอบอํานาจใหผูอื่นกระทําการแทนในการถือ และใชบัตรประจําตัวฯ ดังกลาวติดตอราชการกับ กรมการคาตางประเทศ จะตองมอบอํานาจเปนหนังสือตามแบบที่กรมการคาตางประเทศกําหนดพรอมกับการ ยื่นคํารองขอมีบัตรประจําตัว ฯ ตามขอ 1 โดยผูรับมอบอํานาจใหกระทําการแทนฯ รายหนึ่งจะสามารถรับ มอบอํานาจใหกระทําการแทนบริษัท/หางไดไมเกิน 5 ราย 3. กรณีที่บริษัท/หาง ไดมีการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลใน ภายหลังจากที่ไดรับบัตรประจําตัวฯ แลว เชน การแกไขหรือเพิ่มเติมจํานวนหรือรายชื่อกรรมการซึ่งลงชื่อ ผูกพันบริษัท/หางการเปลี่ยนแปลงสถานที่ตั้งสํานักงานการแกไขหรือเพิ่มเติมตราสําคัญของบริษัท/หาง เปน ตน กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัท/หาง ตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไวของบริษัท/หาง จะตองแจงการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลดังกลาวตอกรมการคาตางประเทศตามแบบ คํารองขอ เปลี่ยนแปลงขอมูลรายละเอียดในบัตร ประจําตัว พรอมเอกสารดังนี้ 1. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลของนายทะเบียนหุนสวนบริษัท ออก ใหไมเกิน 1 เดือน 2. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือใบสําคัญประจําตัวคนตางดาวหรือหนังสือเดินทาง หรือหนังสืออนุญาตใหทํางานในประเทศไทยของผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ไดมีการจด ทะเบียนการเปนนิติบุคคลไว

ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ สวนบริการขอมูล

ปรับปรุงขอมูล ธันวาคม 2547


4. ในกรณีที่บริษัท/หาง ประสงคจะขอยกเลิก และเปลี่ยนแปลงผูไดรับมอบอํานาจใหกระทําการแทน ฯ ตามขอ 2 กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัท/หาง ตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไวของ บริษัท/หาง จะตองแจงการยกเลิก และเปลี่ยนแปลงผูรับมอบอํานาจฯ ตอกรมการคาตางประเทศตามแบบ คํารองขอเปลี่ยนแปลงขอมูลรายละเอียดในบัตรประจําตัวฯ พรอมเอกสารตามขอ 3.1 และ 3.2 และแสดง เอกสารเพิ่มเติมอีก 2 รายการ ดังนี้ 1. หนังสือมอบอํานาจใหกระทําการแทนผูสงออก-นําเขาสินคาสิ่งทอ/สินคาทั่วไป ตามแบบ ที่กําหนด 2. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาบัตรประจําตัวผูเสียภาษีอากรของผูรับมอบ อํานาจคนใหม 5. ในกรณีที่บัตรประจําตัวผูสงออก-นําเขาสินคาตามขอ 1 สูญหายและบริษัท/หาง ประสงคจะขอทํา บัตรประจําตัวฯ ใหมใหยื่นคําขอตามแบบ คํารองขอเปลี่ยนแปลงขอมูลรายละเอียดในบัตรประจําตัวฯ พรอม เอกสารตามขอ 3.1 และ 3.2 และใบแจงความสิ่งของสูญหายของเจาพนักงานตํารวจ 6. กรณีที่ผูมีอํานาจกระทําการนิติบุคคลตามที่ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไมสามารถไป ดําเนินการยื่นคํารองขอเปลี่ยนแปลงขอมูลรายละเอียดในบัตรประจําตัวฯ ไดดวยตนเอง สามารถมอบอํานาจ ใหบุคคลอื่นดําเนินการแทนได ดังนี้ 1. จะตองใหทนายความลงชื่อรับรองลายมือชื่อผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลตามที่ ไดจดทะเบียนการเปนนิติบุคคลไวตามแบบ หนังสือรับรองลายมือชื่อผูมอบอํานาจ พรอมสําเนา บัตรประจําตัวสมาชิกสภาทนายความหรือหนังสือรับรองการเปนสมาชิกสามัญ/วิสามัญแหงเนติ บัณฑิตยสภาซึ่งรับรองสําเนาถูกตองโดยเจาของหลักฐาน 2. มอบอํานาจเปนหนังสือตามแบบ หนังสือมอบอํานาจใหยื่นคํารองขอเปลี่ยนแปลงขอมูล รายละเอียดในบัตรประจําตัวฯ พรอมเอกสารตามขอ 3.1 และ 3.2

ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ สวนบริการขอมูล

ปรับปรุงขอมูล ธันวาคม 2547


Clear Input

คำร้องขอคืนเงินภาษีอากร

ค.10

ยื่นต่อ

สรรพากรพืน้ ท.่ี ........................................................................... สรรพากรพืน้ ทีส่ าขา........................................................................... ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารภาษีธรุ กิจขนาดใหญ่ ..........

.......... .......... .......... ..........

..........

..........

เลขประจำตัวประชาชน

..........

เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

.......... .......... ..........

.......... .......... ..........

1. ชือ่ ผูข้ อคืน..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ประเภทภาษีอากร

..........

..........

..........

.......... ..........

.......... ..........

.......... ..........

..........

..........

..........

2. ทีอ่ ยู่ : อาคาร............................................................................. ห้องเลขที.่ .................................ชัน้ ที.่ ...........หมูบ่ า้ น............................................................................................................................ เลขที.่ ......................................หมูท่ .่ี .................ตรอก/ซอย...............................................................................ถนน.......................................................................................................................................... ตำบล/แขวง...................................................................อำเภอ/เขต.......................................................................... จังหวัด............................................................................................................................ รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์..................................................................................... 3. สถานทีท่ ำงาน ชือ่ .......................................................................................................................................................................... เลขที่รับ ตัง้ อยู่ : เลขที.่ ..........................................ตรอก/ซอย............................................................................................................... วันเดือนปีที่รับ หมูท่ .่ี .....................ถนน..............................................................ตำบล/แขวง............................................................................ อำเภอ/เขต....................................................................................จังหวัด..................................................................................... ลงชื่อผู้รับ รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์..................................................................................... 4. สถานประกอบการ/สำนักงานสาขาชือ่ ................................................................................................................................................................................................................................................... ตัง้ อยู่ : เลขที.่ ..................................ตรอก/ซอย......................................................................หมูท่ .่ี .......................................................ถนน............................................................................................... ตำบล/แขวง..........................................................................อำเภอ/เขต............................................................................จังหวัด...................................................................... รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์..์ .................................................................................... 5. ประเภทภาษีอากรทีข่ อคืน (ให้ยน่ื คำร้องแยกเป็นรายประเภทภาษีอากร/รายเดือนภาษี/ปีภาษี/รอบระยะเวลาบัญชี) เดือนภาษี/ปีภาษี/รอบระยะเวลาบัญชี

จำนวนเงิน

ชำระไว้เกิน ผิดหรือซ้ำ ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้เกินหรือมีภาษีเกินเนือ่ งจากได้รบั เครดิตภาษี ชำระหรือถูกหักภาษีอากรไว้โดยไม่มหี น้าทีต่ อ้ งเสีย ได้นำส่งภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย/นำส่งภาษีไว้ผดิ หรือซ้ำ อืน่ ๆ (ระบุ)...................................................................................................................................................................................................................................

6. มูลเหตุที่ขอคืน

7. รายละเอียดของมูลเหตุทข่ี อคืน................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................

8. เอกสารทีย่ น่ื ประกอบคำร้อง จำนวน......................ฉบับ (1)...................................................................................................................................... (2)...................................................................................................................................... (3)......................................................................................................................................

(4)...................................................................................................................................... (5)...................................................................................................................................... (6)......................................................................................................................................

ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายการทีแ่ สดงไว้ขา้ งต้นนีเ้ ป็นความจริง

..........

.......... ..........

..........

ลงชือ่ ........................................................................................................ผูข้ อคืน/หรือผูร้ บั มอบอำนาจ (.....................................................................................................) วันที.่ .................................................................................................... ทีอ่ ยู่ (ผูร้ บั มอบอำนาจ) เลขที.่ ...........................ตรอก/ซอย..............................................................หมูท่ .่ี ...............ถนน........................................................................... ตำบล/ แขวง..........................................................................อำเภอ/เขต............................................................................จังหวัด....................................................................................................................... รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์.....................................................................................




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.