รายงานสัมมนาเครือข่ายความรู้ด้านภาษี

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาสั มมนา รายงานการสั มมนาเครือข่ ายองค์ ความรู้ ด้านภาษี The seminar report on knowledge of tax.

รายงานผลการศึกษานีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


สัมมนา

เรื่ อง

รายงานการสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ดา้ นภาษี The seminar report on knowledge of tax.

ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งชองการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556

อาจารย์ที่ปรึ กษาสัมมนา

อาจารย์ผปู ้ ระสานงานรายวิชา

(อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์, บธ.ม.)

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.)


รายชื่อสมาชิกสั มมนา กลุ่มอาจารย์ ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์ นางสาวเกศรา นางสาวพรรณนภา นางสาวนพชนก นางสาวอิงอร

สง่ากอง ตาลกุล อนิลบล5 สําอางค์

5230160063 5230160497 5230161191 5230161591

นางสาวคันธวรรณ นางสาวจิตธิกานต์ นางสาวนิรมล นางสาวศราวดี

อัศวสุ รฤกษ์ เรื องปราชญ์ มิตรเรื องศิลป์ ณ พัทลุง

5230110121 5230110147 5230110431 5230110813

นายกิตตินนั ท์ นางสาวชนิกา นางสาวชีวารัช นางสาวอุดมพร

ปั ญจลักษณ์ กลีบสุ วรรณ์ จิรสรวงเกษม อุดมพันธุ์

5230110091 5230110210 5230110252 5230111089

นางสาวมุทิตา นางสาวนุจรี ย ์ นายอนุสรณ์ นางสาวอัมพวัน

คามาชิ อุ่นเรื อน โชควนิช ศรี ชาติ

5230110686 5230110449 5230111011 5230111054

นางสาวกวิสรา นางสาวทัศน์ศริ น นางสาวนงเยาว์ นางสาวศิริพนั ธ์

พร้อมมูล ลัคนาศิโรรัตน์ ละมุล อมรทรัพย์ทวี

5230110066 5230110317 5230110376 5230110848

นายเฉลิมชัย นายชยันธร นายพีรเดช นายศศิวงศ์

แสงสว่าง อภิชยั ปกรณ์ จรู งจิตรอารี เตชะอินทร์

5230110180 5230110228 5230110635 5230110821


(1)

คํานํา สัมมนาฉบับนี้จดั ทําขึ้นเพื่ออธิบายแผนการดําเนินงานในการจัดงานสัมมนา เชิงวิชาการ และ รวบรวมเนื้อหาของหัวข้อในการสัมมนา นอกจากนี้ยงั มี การประเมินผลการสัมมนา ซึ่งหัวข้อในการ สัมมนาเชิงวิชาการครั้งนี้จะประกอบด้วย ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน กลุ่มประเทศ EU, การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจ ข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี , มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความ ยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย ,ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย , ผลของการลดภาษีเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีผลต่อการส่ งอ อกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย , การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะ บัญญัติข้ ึนในอนาคต ข้าพเจ้าหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า สัมมนาฉบับนี้จะช่วยสร้างความรู ้ความเข้าใจให้แก่ นิสิต นักศึกษา และผูท้ ี่สนใจตามสมควร หากเกิ ดข้อบกพร่ องและข้อผิดพลาดในปัญหาพิเศษฉบับนี้คณะผู ้ สัมมนา ขอน้อมรับผิดไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว และยินดีรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อปรับปรุ งแก้ไขใน โอกาสต่อไป

คณะผูส้ มั มนา


(2)

สารบัญ คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ

หน้า (1) (2) (6) (7)

ส่ วนที่ 1 โครงการสั มมนาเชิงวิชาการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย งบประมาณ แนวทางการดําเนินงาน กําหนดการสัมมนาเชิงวิชาการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การประเมินผลการดําเนินงาน ผูร้ ับผิดชอบโครงการ

1 2 3 14 15 16 17 18 18

ส่ วนที่ 2 เนือ้ หาการสั มมนา ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ วิธีการศึกษา เนื้อหาการสัมมนา บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ

20 22 22 22 22 23 31


(3)

สารบัญ (ต่ อ) ส่ วนที่ 2 เนือ้ หาการสั มมนา (ต่ อ) การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจ ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา เนื้อหาการสัมมนา บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ

หน้า ข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัด 34 35 36 36 36 37 44

มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย ที่มาและความสําคัญ 46 วัตถุประสงค์ 47 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 47 ขอบเขตของการศึกษา 47 วิธีการศึกษา 48 เนื้อหาการสัมมนา 48 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 56 ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย ที่มาและความสําคัญ 59 วัตถุประสงค์ 61 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 61 ขอบเขตของการศึกษา 61 วิธีการศึกษา 62


(4)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า

ส่ วนที่ 2 เนือ้ หาการสั มมนา (ต่ อ) ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย เนื้อหาการสัมมนา 62 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 71 ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีผลต่อการส่ งออกใน อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย ที่มาและความสําคัญ 75 วัตถุประสงค์ 76 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 77 ขอบเขตของการศึกษา 77 วิธีการศึกษา 77 เนื้อหาการสัมมนา 78 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 84 การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต ที่มาและความสําคัญ 88 วัตถุประสงค์ 89 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 90 ขอบเขตของการศึกษา 90 วิธีการศึกษา 90 เนื้อหาการสัมมนา 91 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 93


(5)

สารบัญ (ต่ อ)

ส่ วนที่ 3 สรุ ปผลการประเมินตามหัวข้ อในแบบประเมิน ความน่าสนใจของหัวข้อในการสัมมนา ความรู ้ของวิทยากร เอกสารสื่ อประกอบการบรรยาย ผูจ้ ดั การสัมมนา ประโยชน์และการนําไปใช้ สรุ ปผลการประเมิน ภาคผนวก

ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก

ก ภาพบัตรเชิญเข้าร่ วมฟังการสัมมนา ข การประชาสัมพันธ์การสัมมนา ค เอกสารประกอบการสัมมนา ง ใบลงทะเบียนการเข้าร่ วมฟังสัมมนา จ ประมวลภาพบรรยากาศการสัมมนา ฉ แบบประเมินผลการสัมมนาเชิงวิชาการ

หน้า 97 99 101 101 102 103

69 71 77 92 97 103


(6)

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1-1 ประมาณการค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานการสัมมนาเชิงวิชาการ 14 1-2 แผนการดําเนินงานในโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ ประจําเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม 15 1-3 แผนการดําเนินงานในโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ ประจําเดือนมกราคม และกุมภาพันธ์ 15 2-1 แสดงสถิติการส่ งออกและนําเข้านํ้ามันปาล์มของไทย (รวม) ปี 2551-2555 68 2-2 เปรี ยบเทียบราคานํ้ามันปาล์มดิบและนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ของประเทศไทย กับมาเลเซีย 69 2-3 การผลิตของอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญของปี 2554 เทียบกับปี 2555 79 2-4 ปริ มาณการจําหน่ายอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 80 2-5 มูลค่าการส่ งออกอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 81 2-6 มูลค่าการนําเข้าอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 81 3-1 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามความน่าสนใจของหัวข้อ ในการสัมมนา 97 3-2 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู ้ความสามารถ ของวิทยากร 99 3-3 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับเอกสารและสื่ อประกอบ การบรรยาย 101 3-4 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับผูจ้ ดั การสัมมนา 102 3-5 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับประโยชน์และการนําไปใช้ 103


(7)

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12

อัตราส่ วนวัดความสามารถในการทํากําไร อัตราส่ วนวัดภาระหนี้สิน เนื้อที่ให้ผลกาแฟของไทย ผลผลิตกาแฟของไทย ต้นทุนการผลิตเมล็ดกาแฟของไทย ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงาน ปริ มาณการส่ งออกเมล็ดกาแฟ มูลค่าการส่ งออกเมล็ดกาแฟ ปริ มาณการนําเข้าเมล็ดกาแฟ มูลค่าการนําเข้าเมล็ดกาแฟ มาตรการโควตาภาษีปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม สัดส่ วนการใช้น้ าํ มันปาล์มในประเทศ

หน้า 38 38 49 49 50 51 51 52 52 53 65


ส่ วนที่ 1 โครงการสั มมนาทางวิชาการ หลักการและเหตุผล โลกในปั จจุบนั ประสบปั ญหาต่างๆมากมาย ไม่วา่ จะเป็ นปัญหาที่เกิดจากธรรมชาติแปรปรวน การเกิดพายุ หรื ออุทกภัย หรื อปั ญหาที่เกิดจากมนุษย์เองก็ตาม นับจะทวีความรุ นแรงมากขึ้น ซึ่งเป็ น ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตในหลายๆมิติ และจากปัญหานี่เอง ก็ยงั ส่ งผลกระทบต่อ วิกฤตการณ์อาหารในปั จจุบนั จากการที่ราคาอาหารของโลกเกิดความผันผวน ราคาอาหารที่สูงขึ้นและคาดว่าจะยังคงอยูใ่ น เกณฑ์น้ ีอย่างต่อเนื่อง เกิดจากปั จจัยการผลิตที่ลดลง สวนทางกับความต้องการบริ โภคที่เพิ่มสูงขึ้น และเกิดจากปั จจัยแทรกซ้อนอีกหลายประการ เช่น จากราคานํ้ามันที่เพิ่มขึ้น จากต้นทุนการผลิ ตที่เพิ่ม สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพดานภาษีที่ลอยตัวสูงขึ้น ทําให้บางประเทศเกิดการขาดแคลนอาหาร ต้องมีการ นําเข้าอาหารเพื่อการบริ โภคเพิม่ มากขึ้น และในหลายๆประเทศมีการวางมาตรการเพื่อป้ องกันการ ส่ งออก และมีการเรี ยกเก็บภาษีในราคาที่สูงขึ้นเพื่อรองรับกับวิกฤตการณ์น้ ี วิกฤตการณ์อาหารโลก เป็ นปั ญหาระยะยาวที่ส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องกับในหลายๆภาคส่ วน ทางสังคม และ การเมืองไป ทัว่ จนเป็ นเหตุให้ผนู ้ าํ ของโลกถกเถียงกันในเวทีการประชุมสุ ดยอด “เรื่ องความปลอดภัยด้านอาหาร ของโลก ” ที่สาํ นักงานใหญ่ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ณ ก รุ งโรม ประเทศ อิตาลี ถึงวิธีจดั การกับเรื่ องที่ราคาอาหารแพงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อหาวิธีปรับปรุ งด้านการจัดหา อาหารให้ประชากรโลกผูอ้ ดอยากและหิ วโหย ในส่ วนของประเทศไทยเอง ก็ได้รับผลกระทบนั้นเช่นกัน เกิดภาวะราคาอาหารเฟ้ อ คือการที่ ราคาอาหารสู งขึ้นอย่างต่อ เนื่องนัน่ เอง ดังนั้น ทางคณะผูจ้ ดั ทําจึงได้จดั งานสัมมนาเชิงวิชาการใน หัวข้อต่าง ดังนี้


2  ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU  การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี  มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย  ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย  ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย

นที่มีผลต่อการส่ งออกใน

 การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต เพื่อเป็ นประโยชน์สาํ หรับผูป้ ระกอบวิชาชีพที่จะสามารถนําไปใช้ในการปฏิบตั ิงานให้ และ นําไปประยุกต์ใช้ นอกจากนี้ยงั หวังว่าจะเป็ นประโยชน์สาํ หรับผูท้ ี่มีความสนใจในเรื่ องดังกล่าว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนามีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากจากระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป วิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตจังหวัดชลบุรี และสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟ ของไทยในมาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์ เพื่อศึกษาผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามัน ปาล์มของประเทศไทย และผลของการลดภาษีที่ มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ป ของไทยเมื่อเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และการศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมี จากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต


3 2. เพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาเพิ่มพูนทักษะ ประสบการณ์และส ามารถนํามาประยุกต์เป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิงานในวิชาชีพ 3. เพื่อให้นิสิตระดับปริ ญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ ได้เสริ มสร้างงานบริ การวิชาการแก่ สังคมให้แก่บุคคลากรทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ผูบ้ ริ หาร บุคคลากรทางการศึกษา นิสิต และคณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา และประชาชนทัว่ ไปที่สนใจในหัวข้อการสัมมนาเชิง วิชาการ จํานวนประมาณ 150 คน รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมฟังการสัมมนา อาจารย์ประไพพิศ อาจารย์พีรญา นางสาวรัตติรส นางสาวสิ ริขวัญ นางสาวกัญญารัตน์ นางสาวพรพรรณ นางสาววิเรขภัทร นางสาววีรยา นางสาวศิญาดา นางสาวกรรณิ การ์ นายเขมินท์ นายชลธิต นางสาวทัตพิชา นางสาวนพวรรณ

สวัสดิ์รัมย์ พงษ์ปรสุ วรรณ ยิม้ ชื่น แก้วปทุม ภักดิ์สอน แตงอ่อน ใจดี ผลเรื องวิไลแสง บุญจันทร์ เหิ บขุนทด ฤทธินาคา สุ ขเกษม ลาภเลิศสกุล ศรี สตั ยา


4 นางสาวนริ ศรา นายบัณฑิต นางสาวภัคจิรา นายวงศธร นายวรวุฒิ นางสาววรางคนา นางสาววัชราภรณ์ นางสาวอโรชา นายสรศักดิ์ นางสาวนพรัตน์ นางสาวกชกร นางสาวกนกพรรณ นางสาวกวิสรา นางสาวกัลยา นางสาวจริ นญา นายจักรพันธ์ นางสาวจิดาภา นางสาวจิรนุช นางสาวจิรัญญา นางสาวจุฑาดา นางสาวจุฑามาศ นางสาวจุฑามาส นางสาวจุฑาลักษณ์ นางสาวชนิการต์ นางสาวชลพะลา นายชวนากร นายฐาปกรณ์ นางสาวณัฏฐาเนตร นางสาวณัฏฐิกา นางสาวณัฐธิยา

ไกวัลศิลป์ โอภาสนําพาวงศ์ โสภณรติวณิ ช แก้วมณี บุญราช หวลบุดตา ทิพย์ราพันธุ์ ปลุกใจ กันทิยะวงษ์ วงศ์สุวภัทร สมบุญ สุ ประวัติตระกูล กิ่งทอง วิจิตร์กลุ ระงับภัย บุตรไชยเจริ ญ โกมารชุน พลับพลา สิ งหธรรม โปรยโคกสูง ศรี สะอาด สํารวยแสง ทองประทุน จันทลักขณา อุณหะชาติ ศรี หานาม วิรุณกาญจน์ สุ ขจุฑามาศ อ่อนประชา พลมัน่


5 นางสาวณิ ชกุล นางสาวณี รนุช นางสาวดุษณี นายธนกฤต นายธนัช นายธนัตถ์ นางสาวธัญญวรรณ นางสาวธัญรัตน์ นางสาวธาริ น นางสาวนฤมล นางสาวนอร นายปรัชญา นายปริ ญญา นางสาวปาริ ฉตั ร นายปุณณวิช นางสาวพัชริ นทร์ นายพิชานนท์ นายภัทรพล นางสาวภัทราพร นายมงคล นายรพีศกั ย์ นางสาวลภาวรรณ นางสาววนิชชา นางสาววรรณสมร นายวรวุฒิ นางสาววิภาวรรณ นางสาวศศิธร นางสาวศิริพร นางสาวศุทธหทัย นายศุภวัฒน์

วิวฒั น์ แซ่ซิง แจ้งพงษ์ สุ ขประเสริ ฐ สังขพันธ์ สุ วรรณรักษ์ แช่มช้อย อรรถพิจารณ์ เรื อนงาม อินทปัญญา ศรศรี เอี่ยมยิง่ พานิช ทิพย์ทอง ไทรงาม ชูรตนะภาสุ พึ่งมี สุ นทรวร เพรชเลิศอนันต์ พรมอ่อน วุฒิวฒั นะไพศาล หนชัย บุญบุตร เจริ ญผล สิ งห์ขนั ธ์ โพธิไพรศิริ ดาวเศรษฐ เลิศวิจิตรศิลป์ การะเกษ เนียมใบ แก้วขาว


6 นางสาวสกุลทิพย์ นายสิ ริภูมิ นางสาวสุ ธิสา นางสาวสุ ภทั รา นางสาวสุ ภทั รา นางสาวสุ รัมภา นายอภิเศรษฐ์ นางสาวอารดา นางสาวอาริ ยา นายเอกศิษฐ์ นางสาวกานติมา นายจามิกร นางสาวทิพย์วรรณ นายนิพิฐพนธ์ นางสาวนิรชา นางสาวเนตรทราย นางสาวปริ ฉตั ร นางสาวปาริ ชาต นายพีรณัฐ นางสาววิภาดา นางสาวศิวพร นางสาวอรปวีณา นางสาวกรรณิ การ์ นางสาวกฤษณษ นางสาวกินรี นางสาวชลธิชา นางสาวชุติมา นางสาวฐานิยา นายทศพล นายทักษิไณย์

อินทร์พิทกั ษ์ นกหงส์ นาคสมบูรณ์ เกียรติเสริ มสุ ข นํ้าใจดี แย้มพงษ์ เชาวกุล สาลี่กงใช้ หมื่นรัตน์ สกุลชัยวรนันท์ สิ ทธาทิพย์ เผือกโสภา พันธุ์เดช ลิมณั ตชัย เกิดแก้ว เหว่าขจร เขียวรอด บุญเฉิด รัตติกาลสุ ขะ สุ ภาวิมล อุณยเกียรติ แช่มสา คชารักษ์ โภคา แก้วเขียว ศรสถิต จิรัตน์ฐิกลุ ผึ้งไผ่งาม การเขตร์ น่วมสวัสดิ์


7 นายธนวัฒน์ นางสาวธิดารัตน์ นางสาวนวรัตน์ นางสาวนุชนารถ นางสาวพัชรี ยญ์ า นางสาวรัตนา นางสาวลลิตา นางสาวศศิพร นางสาวศาตนันท์ นางสาวอมรรัตน์ นายอัครวัฒน์ นายวุฒิชยั นายกริ นทร์ นางสาวกังสดาล นางสาวกันทิมา นางสาวกุลปริ ยา นางสาวณัชชา นางสาวณัฐณิ ชา นางสาวธัชภาวี นายปรี ดาพล นางสาวพงษ์สุดา นางสาวศุทธิกานต์ นางสาวรัศมี นางสาววิภาวิน นายสารัช นางสาวแสงอรุ ณ นางสาวอรวรรณ นายฐิติพงศ์ นางสาวสุ ธาสิ นี คุณพงค์คณิ ต

พูนวิเชียร รัตนวาณิ ชกุล แซ่โค้ว มลิวลั ย์ แสงศรี ศาสตร์วฒั นโรจน์ ประเสริ ฐธรรม ยีภ่ ู่ สุ ขประเสริ ฐ ไทยเจริ ญ สิ ทธิคุณ ถนอมเงิน อาสาฬห์ประกิต วังศรี สมบัติ ลัว่ สกุล มานะธัญญา ทําดี ว่องวรรธนะกุล ฉลาดธัญกิจ ใยสวัสดิ์ สิ ทธิศร สนขุนทด พุกบุญมี กาลอินทร์ นุชปาน เสื อสละ ไก่แก้ว สุ ทธิโสม ปิ่ นประดับ หิ รัญไกรโรจน์


8 คุณอธิฏฐาน คุณอร คุณจุรีรัตน์ คุณชัยสิ ทธิ์ นายสุ พตั ร์ นายโสภณ นายสุ เมธ นายวัชระ นางสุ กานดา นางกาญจนา นางสุ ดสวาท คุณชาญชัย คุณสุ วรรณี คุณรุ่ งเรื อง คุณสุ ชานาถ คุณวัชริ นทร์ คุณธีมา คุณสมพร คุณวัฒนา คุณณัฏฐากร คุณพัชรี คุณจิตรา คุณธัญริ ดา นางสาวฐิติกานต์ นางสาวโสภามาศ นางสาวญาณิ สา นายปฐมพงษ์ นางสาวพิมพ์ชนก นายรณกฤต นายรังสิ มนั ตุ์

รอดอุปการ สุ ทธารัตน์ สุ ลงั วัฒนะ วุฒิเจริ ญ ตัวฮัง่ ชัยรัตน์ สิ นธุยนต์ เพชรอนันต์ นาคศิลป์ ชวเลทณิ ชย์ ชนะรัตน์ จันทร์สุข บํารุ งสุ ทธิวงศ์ เอี่ยมเมตตา โตจิรจรุ ง ซุลศักดิ์สกุล ถิระจิตมัน่ รัตนวัน ถัมรักษา ประดิษฐวงศ์ ประดิษฐวงศ์ หอมอนัน สุ ทธิโอภาส คูหิรัญญรัตน์ เกาะแก้ว เป็ นสุ ข สุ วรรณภิรัฐกุล เศรษฐี เสลี สว่างดี


9 นายอิทธิพล นางสาวไอสุ รีย ์ นางสาวเจนติการ นางสาวนภัสกร นางสาวสันศนีย ์ นางสาวอรุ ณวรรณ นางสาวฉัตรลดา นายชยากร นายณฐพล นายณัฐพงศ์ นายบวรวงศ์ นางสาวปั ญญารัตน์ นายปุณณเมธ นางสาวพิชชณี ยา นางสาวภาวิณี นายวรต นายวิทิต นางสาวศิรดา นายศราวุฒิ นายณัฐวุฒิ นายวัชรพงศ์ นางสาวกชกร นางสาวกนกพร นางสาวกรกนก นางสาวกรองทอง นางสาวกัญชุกร นางสาวกัญญรัตน์ นายกัมปนาท นางสาวกิตติมา นางสาวคําลักษณ์

จัน่ เพชร ตรี ฉลอง รื่ นรวย พัฒนาพร ธนวณิ ชย์วรชัย สมยาทวี พูลศรี เลิศกิจชุติมา พงษ์วาปี กันยาปรี ดากุล บุญยุบล ใจซื่อ จันทรบัญชร ฉัตรทอง วิจิตรพรกุล ดวงอุดม วิทยาพิพฒั น์ ทองสุ ข จงเจริ ญพิศาล เบญจภัทรพงศ์ รจนากุล อยูภ่ กั ดี กลับสมบูรณ์ เกสรสวัสดิ์ ทองมาก อักษรถึง ทานาม จันทวรรณ วชิรานันตวัฒน์ ปั กษีเลิศ


10 นางสาวเจนจิรา นางสาวเจนจิรา นางสาวฉัตรธิดา นางสาวชนกนันท์ นางสาวชลธิชา นางสาวชาติรัตน์ นายชาลี นายชินวัตร นางสาวญาดา นายฐิติวฒั น์ นางสาวณัชญา นายณัฏฐกานต์ นางสาวณัฐชยา นางสาวทิพย์เกษร นางสาวณัชชา นายธนพล นางสาวธนภรณ์ นางสาวธนวรรณ นางสาวธนัชพร นายธนา นางสาวธัญชนก นายนคริ นทร์ นางสาวนัฐจิรา นางสาวนิภาพร นางสาวเนตรยา นายปฐมพร นางสาวปดิษฐา นางสาวปารมี นางสาวปิ ยะรัตน์ นางสาวเปรมวดี

ปราณี เล็กรัตน์ การนัง แสนระแหง จันทร์มงคลทิพ บุญอําไพ พ่วงเจริ ญ เลาหะกุลธรรม บุญญพันธ์โสภณ ไวยาวัจมัย วงศ์ศรี รักการดี แย้มยลศรี วงศ์กาศ ลุมพิกานนท์ แก้วโชติ จันทร์เพ็ญ โทรสัมพันธ์ วิรุฬห์พงศ์ พงษ์วิรัช ชลวานิช ภูมุตตะ ณ นคร จินดาวัฒน์ ทองจันทร์ คฤหบดี นาคเหล็ก จิตพึงธรรม คัชมาตย์ สวัสดี


11 นางสาวพชรพร นางสาวพนิตนันท์ นางสาวพัชราภรณ์ นางสาวภัทราภรณ์ นางสาวภานุกา นางสาวมนทิรา นางสาวรมัยพร นายรัฐพนธ์ นางสาววราภรณ์ นางสาววริ ษฐา นางสาววาสนา นายศรราม นางสาวศิวพร นายศุภกร นางสาวศุภนิดา นางสาวสวรรยา นางสาวสิ นีนาฏ นางสาวสิ ริกิติยา นางสาวสิ ริญญา นางสาวสิ ริวรรณ นางสาวสุ ธาสิ นี นางสาวสุ นิชา นางสาวสุ ภาพรรณ์ นางสาวสุ ภาวดี นางสาวสุ มินตรา นางสาวสุ วิมล นายอนุชา นางสาวอัฐพร นางสาวอาภาพร นายจักรทิพย์

วิบูลย์กาญจน์ ชีวะวิบูลย์พนั ธุ์ ว่องกิตติกลู เกิดกาญจน์ หลีประเสริ ฐ แสงสิ นทรัพย์ สารกาล คอนวิมาน มาปันเครื อ บุญชม พันนาม ภู่สมใจ ทองคัณฑา ผลเจริ ญงาม แซ่หวัง่ มหาขันธ์ ศรี เหรา วรเดชจําเริ ญ มงคลธนวัฒน์ นิกรวัฒน์ ชีวะพงษ์ ฤกษ์สงั เกต นากา ทองก้อน บัวลอย สุ นทรปิ ยะพันธ์ ชูวนุ่ เทียมเมือง ภู่หลํา ตั้งกิตติรุ่งเรื อง


12 นางสาวจิตสุ ภา นางสาวจิระภิญญา นางสาวชลทิชา นางสาวธนิตา นางสาวนงลักษณ์ นางสาวพิมลพรรณ นางสาวสาลินี นางสาวกนกวรรณ นางสาวกรองทอง นางสาวกรองทอง นายกฤษณะ นายกษิด์ ิเดช นางสาวจุฑามาศ นางสาวณัฏฐิรา นางสาวณัฐกานต์ นายทวิภทั ร นางสาวนภาพร นางสาวพันธิตรา นางสาวศุภชั ชา นางสาวสกุณา นางสาวสุ กลุ วรรณ นายอิศรา นางสาวเอื้อมพร นางสาวกชกร นางสาวกมลรัตน์ นางสาวกรรภิรมณ์ นายกิตติกาญจน์ นางสาวเฉลิมพร นายธนวันต์ นายธนวันต์

รุ่ งเรื อง ผลศิลป์ จิราพงษ์ ขาวเรื อง วรพันธ์ สุ ขเกษม นิลแร่ เดี่ยววนิช เกตุแก้ว เกตุแก้ว ศักดิ์สยามกุล ดีรื่น ศรทองคํา จิวรกุล นํ้าจันทร์ ประทุมโฉม กองคํา อร่ ามเรื อง จักรวาลพิทกั ษ์ ชื่นชม วันจันทร์ รักษาพล พุทธรักษา ทวีสารบุรุษ สุ ขงาม น้อยวิจิตต์ พรวิไลกุล เหลืองสุ วรรณ สุ ระศันสนีย ์ สุ ระศันสนีย ์


13 นายธวัชพงศ์ นางสาวธวัลพร นางสาวธัญจิรา นางสาวนรี วรรณ นายเธียรศรณ์ นางสาวบราลี นางสาวเบญญาภา นายปริ ญญา นางสาวปาณิ สรา นางสาวปาริ ษา นางสาวพรพัชณ์ นายพาสุ ข นายภัทรกฤษณ์ นางสาวรัชนี นางสาวรัตติยา นางสาววันทกานต์ นายศิริสิทธิ์ นางสาวสิ ริพร นางสาวสิ ริลกั ษณ์ นางสาวสุ นิสา นายสุ รสี ห์ นายเสฏฐวุฒิ นางสาวอาทิตา

พรหมศักดิ์ กุลศิริ หว่องเจริ ญ ประจิตร เชื้อวงหิ รัญ คุณทัง่ ทอง พุม่ เทียน สี ดา ปุจฉาการ อ่อนไหว เยาวยอด กิมปี ศรี วชั ริ นทร์ ม่วงโพธิ์เงิน บุญรัตน์ สมบัติหลาย ทสามนต์ เรื องเดช เตโชพันธ์ พ่วงสกุล หล่อนาค ชัยฤกษ์ ตันติบุญทวีวฒั น์

เป้าหมายเชิงคุณภาพ ผูบ้ ริ หาร บุคคลากรทางการศึกษา นิ สิ ตและคณาจารย์ คณะวิทยาการจัดก าร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชาและประชาชนทัว่ ไป มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบนั ของการส่ งออกกุง้ , ธุรกิจข้าว , กาแฟ, นํ้ามันปาล์ม , อาหารแปรรู ป และร่ าง พระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม เพื่อกระตุน้ การเห็นความสําคัญของ ปัญหาการขาด


14 แคลนอาหาร พร้อมทั้งเตรี ยมตัวและปรับตัวตามสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถนําไปเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิงาน และนําข้อมูลไปเผยแพร่ แนะแนวแก่ผอู ้ ื่นต่อไปได้ งบประมาณ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานการสัมมนาเชิงวิชาการมีรายละเอียด ดังนี้ ตารางที่ 1-1 ประมาณการค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานการสัมมนาเชิงวิชาการ ค่ าใช้ จ่ายในการจัดทําเอกสารประกอบการสั มมนา - ค่าซอง - ค่ากระดาษ (บัตรเชิญ) - ค่าถ่ายเอกสารประกอบการสัมมนา ค่ าใช้ จ่ายในการประชาสั มพันธ์ - ค่ากระดาษ - ค่าพิมพ์เอกสารประชาสัมพันธ์ ค่ าใช้ จ่ายในการให้ บริการผู้เข้ าร่ วม - ของที่ระลึก (ปากกา) ค่ าใช้ จ่ายพิธีกรและวิทยากร - ค่าผ้าผูกคอ - ค่าเสื้ อสัมมนา ค่ าใช้ จ่ายในการจัดสถานที่ -ค่ากระดาษสี - วัสดุตกแต่งบอร์ด - ค่าต้นไม้ - ค่าผ้าตกแต่งโต๊ะ ค่ าใช้ จ่ายในการจัดทํารู ปเล่ ม - ค่าพิมพ์ - ค่าเข้ารู ปเล่ม รวม

75 150 800 300 400 100 350 3,360 299 1,500 200 400 300 70 8.304


15 แนวทางการดําเนินงาน ในโครงการสัมมนาเชิงวิชาการครั้งนี้มีข้นั ตอนการดําเนินงาน ดังนี้ โครงการสั มมนาเชิงวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เริ่ม : พฤศจิกายน 2555 สิ้นสุ ด : กุมภาพันธ์ 2556 ตารางที่ 1-2 แผนการดําเนินงานในโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ ประจําเดือนพฤศจิกายนและ ธันวาคม การดําเนินงาน

พฤศจิกายน ธันวาคม 1 2 3 4 1 2 3 4

1. นัดหมายประชุมเพื่อเลือกหัวข้อสัมมนา 2. เข้าพบอาจารย์ที่ปรึ กษากลุ่มเพื่อขอคําแนะนําในการ เลือกหัวข้อที่เหมาะสม 3. วางแผนการดําเนินงาน 4. เขียนโครงร่ างในการสัมมนา 5. มอบหมายงานให้กบั สมาชิกกลุ่ม ตารางที่ 1-3 แผนการดําเนินงานในโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ ประจําเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ การดําเนินงาน 6. ประชุมความคืบหน้าของงาน 7. จัดเตรี ยมข้อมูลที่ใช้ในการสัมมนา 8. จัดเตรี ยมวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการสัมมนา 9. จัดทําเอกสารประกอบการสัมมนา 10. ดําเนินการจัดการสัมมนา 11. ประเมินผลการดําเนินงานและจัดทํารู ปเล่มสัมมนา

มกราคม กุมภาพันธ์ 1 2 3 4 1 2 3 4


16 แผนกําหนดการ Focus group อาจารย์ ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์ วันอาทิตย์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ 25556 ณ อาคาร 17 ศูนย์ เรียนรวม 3 เวลา 19.30 - 22.30 น. กําหนดการ 19.30 -20.00 น. 20.00 -20.15 น. 20.15 -20.35 น. 20.35 -20.55 น. 20.55 -21.15 น. 21.15 -21.30 น. 21.30 -21.50 น. 21.50 -22.10 น. 22.10 -22.30 น. 22.30 -22.40 น.

ลงทะเบียน เริ่ มเปิ ดการสัมมนา โดยการพูดเรื่ องทฤษฎีกลาง Focus Group หัวข้อ ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU หัวข้อ การวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตจังหวัดชลบุรี หัวข้อ มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เ พื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจ กาแฟของไทย พักเบรก เปิ ดคลิปวีดีโอและมีการแสดงเพื่อผ่อนคลาย หัวข้อ ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย หัวข้อ การลดภาษีส่งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทยเพื่อรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) หัวข้อ การศึกษาผ ลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการ การคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต สรุ ปและปิ ดการสัมมนา


17

กําหนดการ

แผนการกิจกรรม วันจันทร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 ณ อาคาร 17 ศูนย์ เรียนรวม 3

12.00 – 13.00 น. การแสดงบนเวที “การสาธิตการล้างผักด้วยด่างทับทิมและทํานํ้าสลัดเพื่อ สุ ขภาพ” รายละเอียด : จะเป็ นการล้างผักด้วยด่างทับทิมและใช้วิทยาศาสตร์ ทดลองให้ดูวา่ การใช้ ด่างทับทิมล้างผักทําให้สารเคมีหลุดออกมามาก และนําผัก ที่ลา้ งมาประกอบอาหารคือ ทําสลัด โดยการสาธิตการทํานํ้าสลัดเพื่อสุ ขภาพด้วย 15.00 – 19.00 น. กิจกรรมถามตอบคําถามกับผูเ้ ข้าร่ วมงาน และมีของรางวัลให้กบั ผูท้ ี่ตอบถูก พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ถึงเรื่ องที่จะสัมมนาในวันนี้และเรื่ องที่จะสัมมนาใน วันถัดไป เพื่อเป็ นการเชิญชวนให้ผทู ้ ี่สนใจมาร่ วมฟัง ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบนั ของการส่ งออกกุง้ , ธุรกิจข้าว, กาแฟ, นํ้ามันปาล์ม , อาหารแปรรู ป และหลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีสารเคมี รวมถึงการเปลี่ยนแปลงใน ปัจจุบนั ที่กาํ ลังจะเกิดขึ้นและส่ งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต 2. ทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาทราบความรู ้ทางด้านหลักเกณฑ์ที่ใช้ในระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป มาตรการทางภาษีเกี่ยวกับ นํ้ามันปาล์ม สารเคมี 3. ทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาทราบผลกระทบทางด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านสถานการณ์กาแฟ อุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ อาหารแปรรู ปกับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลกระทบจากการ ลดภาษีน้ าํ มันปาล์ม ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งทราบถึงแนวทางในการป้ องกัน และแก้ไขปัญหา


18 การประเมินผลการดําเนินงาน ประเมินโด ยใช้แบบสอบถาม โดยให้ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาเป็ นผูก้ รอกรายละเอียด ซึ่งใน แบบสอบถามมีรายละเอียดที่สาํ คัญดังนี้     

หัวข้อในการสัมมนามีความน่าสนใจมากน้อยเพียงใด วิทยากรมีความรู ้ความสามารถในการถ่ายทอดมากน้อยเพียงใด เอกสารและสื่ อประกอบการบรรยาย ผูจ้ ดั การสัมมนา ประโยชน์และการนําไปใช้

ผู้รับผิดชอบโครงการ พิธีกรดําเนินงาน

นายศศิวงศ์ นางสาวทัศน์ศริ น

เตชะอินทร์ ลัคนาศิโรรัตน์

ลงทะเบียน

นางสาวธนพร นางสาวจิตธิกานต์

สอนเสนาะ เรื องปราชญ์

แผนกต้อนรับ

นางสาวกวิสรา นางสาวศิริพนั ธ์

พร้อมมูล อมรทรัพย์ทวี

สวัสดิการ

นางสาวอุดมพร

อุดมพันธุ์

ถ่ายภาพ

นางสาวชนิกา นายชยันธร

กลีบสุ วรรณ์ อภิชยั ปกรณ์


19 ลงชื่อ……….…………………............................ผูเ้ สนอโครงการ (นางสาวทัศน์ศริ น ลัคนาศิโรรัตน์) ประธานดําเนินการจัดการสัมมนาเชิงวิชาการ กลุ่ม อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์

ลงชื่อ…………………………..........................ผูอ้ นุมตั ิโครงการ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์) อาจารย์ผสู ้ อนวิชาสัมมนา


ส่ วนที่ 2 เนือ้ หาการสั มมนา เรื่อง ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุ้งแปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU ทีม่ าและความสํ าคัญ ประเทศไทยถือเป็ นผูน้ าํ ทางด้านการผลิตกุง้ แปรรู ป และเป็ นผูส้ ่ งออกกุง้ แปรรู ปที่สาํ คัญของ โลก กุง้ แปรรู ปเป็ น สิ นค้าที่ได้รับความนิยมอย่างสูง และยังเป็ นสิ นค้าที่มีความต้องการเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง การส่ งออกกุง้ ไทยมีความได้เปรี ยบจากการที่ประเทศผูผ้ ลิตกุง้ สําคัญของโลก เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม และจีน ซึ่งประสบกับ ปัญหาที่ส่ง ผลกระทบทําให้การผลิตและส่ งออกกุง้ แปรรู ปหยุดชะงักไม่วา่ จะเป็ นจากภัยธรรมชาติ สภาพอากาศแปรปรวน โรคระบาด เหตุการณ์น้ าํ มัน รั่วไหล และอีกมากมาย ทําให้อุปทานของกุง้ แปรรู ปของโลกลดน้อยลง ส่ งผลเชิงบวกต่อการส่ งออก กุง้ ของไทยให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ราคาส่ งออกกุง้ ของไทยในตลาดหลักสามารถปรับราคาสูงขึ้น ในขณะเดียวกันต้นทุนในการผลิตกุง้ แปรรู ปของไทยมีตน้ ทุนที่ต่าํ กว่า จึงทําให้มีการเพิ่มขึ้นของ อุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ เพิ่มมากขึ้น แต่ในช่วงระยะหนึ่งปี ที่ผา่ นมา การส่ งออกกุง้ แปรรู ปของไทยได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน ในช่ วงต้นปี อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปได้รับผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยในจังหวัดภาคใต้ซ่ ึงเป็ น แหล่งเพาะเลี้ยงกุง้ ที่ใหญ่ที่สุด ร้อยละ 60 ของอุตสาหกรรม ( วารสารสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย : 2555 ) ทําให้ไม่สามารถเพาะพันธุ์กงุ้ ได้ในประมาณที่ตอ้ งการ หลังจากนั้นในปลายปี 2554 เกิดมหา อุทกภัยครั้งยิง่ ใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิ บปี ในจังหวัดภาคกลางส่ งผลกระทบต่อการขนส่ งวัตถุดิบทํา ให้การแปรรู ปกุง้ ของประเทศไทยหยุดชะงักไปชัว่ คราว แต่ถึงอย่างไรก็ตามในอุตสาหกรรมก็ยงั คง การผลิตไว้ในประมาณเท่าเดิม เพื่อตอบสนองต่ออุปสงค์ของตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ส่ งผล ให้คุณภาพของการผลิตของไทยในภาพรวมลดตํ่าลงเช่นเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็ นด้านความปลอดภัยของ อาหาร ที่มีการใช้สารเคมีในการเลี้ยงเพื่อเร่ งการโตของกุง้ หรื อ การรักษาความสดของกุง้ หรื อด้าน ราคาของกุง้ ที่มีราคาเพิ่มสู งขึ้น ซึ่งการที่คุณภาพของสิ นค้าตํ่าล งนั้นส่ งผลกระทบต่อการส่ งออกด้วย เช่นกัน


21 ในประเทศผูน้ าํ เข้ากุง้ ที่สาํ คัญของไทย เช่น สหภาพยุโรป (EU), สมาคมการค้าเสรี แห่งยุโรป (EFTA), สหรัฐอเมริ กา เป็ นต้น ได้ต้ งั ระเบียบการนําเข้าอาหารเช่น การให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP), สิ่ งแวดล้อม , มาตรฐานด้านอนามัยและความปล อดภัย ซึ่งมาตรฐานต่างๆที่กล่าวมานั้นจะ พิจารณาทั้งกระบวนการผลิต การแปรรู ปผลิตภัณฑ์ การคัดสรรวัตถุดิบที่มีความปลอดภัย ที่จะนําไปสู่ ผลิตภัณฑ์สตั ว์น้ าํ ที่มีคุณภาพและปลอดภัยสําหรับผูบ้ ริ โภค ซึ่งในส่ วนนี้เป็ นส่ วนหนึ่งที่ในหลายๆ ประเทศมักจะนํามาใช้เป็ นเครื่ องมือเพื่อการกีดกันทางการค้ามากขึ้นในเวทีการค้าโลก ในปี นี้ พ.ศ. 2555 ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาทางการค้า เนื่องจากสหภาพยุโรปประกาศ ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) ระบบใหม่ ซึ่งกระทบต่อการส่ งออกของไทย ปี 2555/2556 ที่สินค้าไทยประมาณ 57 รายการจะไม่ได้ รับสิ ทธิ์ GSP อีกต่อไป (อียตู ดั สิ ทธิ GSPไทย กระทบ57สิ นค้า , 2555) ตามเงื่อนไขรายได้ต่อหัวของประชากรไทยที่สูงขึ้น และไทยส่ งออกสิ นค้า เกินเพดานกําหนด ซึ่งสิ นค้ากุง้ ติดหนึ่งใน 57 รายการ ที่จะถูกตัดสิ ทธิ์ GSP ทั้งหมด ด้วยเหตุผลที่วา่ การที่ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยมี ระดับเกินกว่ากลุ่มของประเทศที่กาํ ลังพัฒนาไปแล้ว ทําให้ เกิดผลกระทบต่อการส่ งออกของประเทศไทยอย่างรุ นแรงและต่อเนื่อง ส่ งผลให้ความสามารถในการ ส่ งออกกุง้ แปรรู ปของไทยลดลง ตลอดจนความมัน่ ใจในการบริ โภคสิ นค้าของผูบ้ ริ โภคทั้งในประเทศ และทัว่ โลก ซึ่งนี่เป็ นอีกหนึ่งผลกระทบที่สาํ คัญของการส่ งออกกุง้ แปรรู ปของประเทศไทย และเนื่องจากการที่สหภาพยุโรปมีมาตรการตรวจสอบคุณภาพสิ นค้ากุง้ แปรรู ป และการ ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) จึงเป็ นที่มาของการศึกษาเปรี ยบเทียบ และการ วิเคราะห์ขอ้ ได้เปรี ยบและเสี ยเปรี ยบในอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปและการส่ งออกกุง้ แปรรู ป และเพื่อ ศึกษาผลกระทบของการปรับเปลี่ยนเกณฑ์การให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) ที่มีต่อประเทศไทย อีกด้วย ด้วยเหตุน้ ีเองจึงทําให้ราคาของสิ นค้ามีการปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากผลกระทบ จากการตัดสิ ทธิ พิเศษศุลกากร ส่ งผลกระทบต่อการค้าทั้งของไทย และต่างประเทศ ส่ งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และสังคม รวมถึงวิกฤตการณ์อาหารอีกด้วย


22 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) 2. เพื่อศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาถึงหลักเกณฑ์ การเปรี ยบเทียบ ของระบบสิ ทธิพิเศษ ทางการภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป รวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นภายในอุตสาหกร รมการ ส่ งออกกุง้ ไทยในปั จจุบนั ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป 2. ทําให้ทราบถึงข้อแตกต่างของระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของสมาคม การค้าแห่ งยุโรป

ไทย

3. ทําให้ทราบถึงผลกระทบที่ใช้เป็ นข้อมูลในการป้ องกันของอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้

วิธีการศึกษา ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ซึ่งได้จากการรวบรวมข้อมูลสถิติที่ พิมพ์เผยแพร่ ของหน่วยงานที่เ กี่ยวข้อง เช่น ตีพิมพ์ในนิตยสาร วารสาร หรื อ ข้อมูลจากทาง อินเตอร์เน็ต เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการแก้ไขในปัญหาที่ เกิดขึ้นจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป


23 เนือ้ หาการสั มมนา โดยทัว่ ไปไทยมีผลผลิตกุง้ เป็ นอันดับ 2 ของโลก และมีการส่ งออกกุง้ เป็ นอันดับ 1 ของโลก ส่ วนใหญ่ ตลาดส่ งออกสําคัญ ประเทศที่นาํ เข้ากุง้ ของไทยมากเป็ นอันดับ 1 คือ สหรัฐอเมริ กา (46.4%) รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น (21.9%) สหภาพยุโรป (14.6%) และแคนาดา (6.0%) สหภาพยุโรป ยัง มีมาตรการเฉพาะกับประเทศไทย โดยมีการกําหนดเงื่อน ไขพิเศษเกี่ยวกับการนําเข้าจากประเทศไทย คือหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) และสหภาพยุโรป ให้ GSP กับ ลาวและกัมพูชามากกว่าไทย (ภายใต้ EBA: Everything But Arms) โดยยกเว้นภาษีนาํ เข้าและไม่มี ข้อจํากัดด้านปริ มาณ ขณะที่อตั ราภาษีภายใต้ GSPใหม่ที่ไทยโดนตัดสิ ทธิน้ นั เพิ่มสู งขึ้น ซึ่งได้มีการ แบ่งการศึกษาออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ส่ วนที่ 2 ศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป ส่ วนที่ 1 ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิ เศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences หรื อGSP) คือ ประเทศพัฒนาแล้วให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่สินค้าที่มีแหล่งกําเนิด ในประเทศที่กาํ ลังพัฒนาโดยลดหย่อนหรื อยกเว้นอากรขาเข้าแก่สินค้าที่อยูใ่ นข่ายได้รับสิ ทธิพิเศษ ทางการค้า ทั้งนี้ประเทศผูใ้ ห้สิทธิพิเศษฯ จะเป็ นผูใ้ ห้แต่เพียงฝ่ ายเดียว ไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้ น โดยแบ่งรู ปแบบระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปได้เป็ น 3 รู ปแบบ คือ แบบที่ 1: สิ ทธิพเิ ศษทัว่ ไป (General Arrangement) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ ประเทศกําลังพัฒนากว่า 40 ประเทศ โดยการยกเว้นหรื อการลดอัตราภาษีศุลกากรลงจากอัตราปกติ (MFN Duty Rate) ซึ่งครอบคลุมสิ นค้ากว่า 6,200 รายการ โดยพิจารณาให้สิทธิ GSP ตามความ อ่อนไหว (sensitivity) ของสิ นค้า ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ


24 1. กลุ่มสิ นค้าอ่อนไหว (Sensitive product) รวม 3,800 รายการ มีการลดภาษีดงั นี้ 1.1 สิ นค้าที่จดั เก็บภาษีตามมูลค่า (Ad valorem rate) ลดภาษีลง 3.5 หน่วยเปอร์เซ็นต์ จาก อัตราภาษีปกติ (MFN) ยกเว้นสิ นค้าในกลุ่มสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่มในตอนที่ 50-63 ลดภาษีลงร้อยละ 20 ของอัตราภาษีปกติ 1.2 สิ นค้าที่จดั เก็บตามสภาพ (specific rate) เช่น ตามขนาดนํ้า หนัก ลดภาษีลงร้อยละ 30 ของอัตราภาษีปกติ 2. กลุ่มสิ นค้าไม่อ่อนไหว (Non-sensitive product) รวม 2,400 รายการ ได้รับการยกเว้นภาษี แบบที่ 2: สิ ทธิพเิ ศษสํ าหรับประเทศพัฒนาน้ อยทีส่ ุ ด (Special Arrangements for Least Developed Countries: LDCs) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดตาม คํา จํากัดความขององค์การสหประชาชาติซ่ ึงมี 49 ประเทศ โดยประเทศเหล่านี้จะได้รับยกเว้นภาษีนาํ เข้า สําหรับสิ นค้าทุกชนิดที่มีก ารผลิตเป็ นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกํา เนิดสิ นค้าของสหภาพยุโรป ยกเว้น Chapter 93 อาวุธและ กระสุ นรวมทั้งส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของดังกล่าวภายใต้โครงการ (Everything But Arms: EBA) แบบที่ 3: สิ ทธิพเิ ศษทางภาษีฯ เพือ่ ส่ งเสริมการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและหลักการธรรมาภิบาลทีด่ ี (Special Intensive Arrangements: GSP+) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้กบั ประเทศที่มี ความ จําเป็ นในการพัฒนาเป็ นพิเศษ (Vulnerable Countries) โดยยกเว้นภาษีนาํ เข้าแก่สินค้าที่มีแหล่งกําเนิด ในประเทศที่ได้ให้สตั ยาบันและมีการปฏิบตั ิอย่างมีประสิ ทธิภาพตามอนุสญ ั ญาที่ก่อให้เกิดการพัฒนา ที่ยงั่ ยืนทั้งในด้านของการจัดการสิ่ งแวดล้อม สิ ทธิแรงงานและการจัดการยาเสพติด โดยประเทศที่จะ ได้รับสิ ทธิพิเศษประเภทนี้จะต้อ งเป็ นประเทศที่มีความจําเป็ นในการพัฒนาเป็ นพิเศษเนื่องจากการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยังพึ่งพิงกับการผลิต และการส่ งออกสิ นค้าเพียงน้อยรายการ ขณะนี้ สหภาพยุโรปอยูร่ ะหว่างการพิจารณาโดยเปิ ดโอกาสให้ประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP ทุกประเทศสามารถ ยืน่ คําร้องขอรับสิ ทธิพิเศษดังกล่ าวได้ ยกเว้น จีน อินเดีย โคลัมเบีย อินเดีย อินโดนีเซีย ไทย และ เวียดนาม เนื่องจากประเทศเหล่านี้ไม่ถือว่าเป็ นประเทศที่มีความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ (Vulnerable Countries) เช่นเดียวกับประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ อื่นๆ


25 หลักเกณฑ์การให้สิทธิ GSP: ประเทศที่รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีจะต้องไม่มีคุณสมบัติตอ้ งห้าม นัน่ คือ ประเทศที่ถูกจัดลําดับโดยธนาคารโลกให้เป็ นประเทศที่มีรายได้สูง หรื อประเ ทศที่มีรายได้ ปานกลางค่อนข้างสู ง เป็ นเวลาต่อเนื่องกัน 3 ปี ก่อนการพิจารณาจัดทําบัญชีประเทศที่รับสิ ทธิพิเศษ ทางภาษี ทั้งนี้ ประเทศที่จะผ่านเกณฑ์ดงั กล่าว จะต้ องมี รายได้ประชาชาติต่อจํานวนประชากร ไม่ เกินไปกว่า 3,975 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อประเทศที่ได้รับประโยชน์จากความตกลงว่ าด้วยการเข้าสู่ ตลาดที่เป็ นพิเศษกับ EU เช่น ประเทศที่มี FTA กับ EU เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยปั จจุบนั ถูก จัดอยูใ่ นประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้ างสูงเป็ นเวลา 2 ปี ประเทศบรู ไน ถูกตัดสิ ทธิรายประเทศ เนื่องจากเป็ นประเทศที่มีรายได้สูงอยูใ่ นระดับ High Income ติดต่อกันเกิน 3 ปี และประเทศมาเลเซีย ถูกตัดสิ ทธิรายประเทศ เนื่องจากเป็ นประเทศที่มีรายได้สูงอยูใ่ นระดับปานกลางค่อนข้างสูงติดต่อกัน เกิน 3 ปี และยังมีหลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิ์GSP คือ 1. เมื่อส่ วนแบ่งตลาดสิ นค้าของประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP เกิน 17.5% ของมูลค่าการนําเข้ารวม จากประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP ทัว่ โลก 2. สิ นค้ากลุ่มสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่มในหมวด 11 (เอ) และ 11 (บี) จะตัดสิ ทธิสินค้าที่มีส่วน แบ่งตลาดเกิน 14.5% 3. การทบทวนการตัดสิ ทธิมีข้ ึนทุก 3 ปี โดยคํานวณจากสถิติการนําเข้า 3 ปี ต่อเนื่องที่ผา่ นมา ซึ่งเป็ นข้อมูลนําเข้าตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน และคํานวณจากมูลค่าการนําเข้าสุ ทธิของสิ นค้าแต่ละ รายการ (line-by-line) แม้จะเป็ นการนําเข้าที่ไม่ใช้สิทธิ GSP (รวม MFN imports) ก็ตาม


26 ส่ วนที่ 2 ศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป ผลกระทบทางบวกของการได้รับระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ใน อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป ด้ านการตลาด โอกาสกุง้ ไทยในตลาดสหภาพยุโรป กุง้ ไทยถือเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่มีศกั ยภาพเป็ นลําดับต้นๆ ประเทศไทยผลิตกุง้ เพื่อการส่ งออก มากกว่าการบริ โภคภายในประเทศ ในปี 2554 โดยตลาดสหภาพยุโรปเป็ นหนึ่งในตลาดหลักสําหรับ กุง้ ไทย (ควบคู่กบั การส่ งออกไปยังสหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่น ) ตลาดสหภาพยุโรปจึงเป็ นตลาดที่ยงั มี โอกาสที่ดีสาํ หรับการส่ งออกกุง้ ของไทยอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อไทยได้รับสิ ทธิ GSP ส่ งผลให้ การส่ งออกกุง้ ไทยในตลาดยุโรปดูมีแนวโน้มสดใสยิง่ ขึ้น หลังจากที่ตอ้ งประสบปัญหาภาวะซบเซา และยอดการส่ งออกลดลงในช่วงหลายปี ก่อนหน้านั้น สหภาพยุโรปตลาดใหญ่ กําลังซื้อสูง สหภาพยุ โรปเป็ นภูมิภาคที่มีปริ มาณการบริ โภคกุง้ มากที่สุดในโลก ผูส้ ่ งออกกุง้ ไทยจึงไม่ ควรละเลยศักยภาพของตลาดยุโรป นอกจากนี้ ตลาดยุโรปยังมีลกั ษณะเป็ นตลาดร่ วมของประเทศ สมาชิกรวมแล้วถึง 27 ประเทศ และมีประชากรกว่า 450 ล้านคนโดยล่าสุ ดตลาดยุโรปได้ขยายตัว ออกไปในประเทศยุโรปตะวันออก ซึ่งยังมีโอกาสทางการตลาดอีกมาก ดังนั้นหากผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออก สามารถเข้าถึงตลาดสหภาพยุโรปได้นน่ั หมายถึงการเข้าถึงกําลังซื้อกุง้ ทัว่ ทั้งภูมิภาคยุโรป ตลาด สหภาพยุโรปจึงเป็ นโอกาสที่เปิ ดกว้างสําหรับกุง้ ไทย ด้ านการค้ าระหว่ างประเทศ นับว่าเป็ นเรื่ องที่ดีที่ทาํ ให้ภาษีนาํ เข้าผลิตภัณฑ์กงุ้ ของไทยเท่าเทียมกับประเทศคู่แข่งอื่นๆ เมื่อ ไทยได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทําให้ไทยได้รับ อัตราภาษีนาํ เข้าอยูท่ ี่ร้อย


27 ละ 4.2 สําหรับกุง้ แช่แข็ง และร้อยละ 7 สําหรับกุง้ ปรุ งแต่ง โดยไม่มีการจํากัดโควตาการนําเข้า เท่ากับ ว่าผลิตภัณฑ์กงุ้ จากไทยจะสามารถแข่งขันทางด้านราคาได้อย่างเป็ นธรรมขึ้นในตลาดสหภาพยุโรป ด้ านอัตราภาษี เมื่อได้รับสิ ทธิ์โครงการสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences:GSP) โดยการให้การลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษีนาํ เข้า ซึ่งสิ นค้ากุง้ อัน ได้แก่ กุง้ แช่เย็น กุง้ แช่แข็ง กุง้ ปรุ งแต่งที่ไทยส่ งไปยังสหภาพยุโรป ก็เป็ นสิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิ GSP จากสหภาพยุโรปด้วย โดยกุง้ แช่เย็นและกุง้ แช่แข็งได้รับการลดหย่อนเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 4.2 จากอัตราปกติที่ตอ้ งเสี ย ร้อยละ 12 และกุง้ ปรุ งแต่งได้รับการลดหย่อนเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 7 จากอัตราปกติร้อยละ 10 ด้ านการผลิต ผลิตภัณฑ์กงุ้ เป็ นสิ นค้าเกษตรที่มีการบริ โภคมากที่สุดในตลาดสหภาพยุโรป เมื่อได้รับ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) จะทําให้ลดหย่อนภาษีได้มากขึ้น และมีการขยายการ ส่ งออก เมื่อคาดว่าการผลิตของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นผลมาจากราคากุ้งที่อยูใ่ นเกณฑ์ดีทาํ ให้มีปริ มาณ การเลี้ยงเพิ่มขึ้น ด้ านผู้ประกอบการ กุง้ สดแช่เย็นแช่แข็งและแปรรู ป นับว่าเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่สาํ คัญในกลุ่มสิ นค้าประมง สามารถสร้างรายได้ในการส่ งออกปี ละไม่ต่าํ กว่า 3 พันล้านเหรี ยญสหรัฐฯ จากการที่ได้รับโครงการ สิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทําให้ผปู ้ ระกอบการเสี ยภาษีนอ้ ยลง จึงทําให้ลด ต้นทุนในการส่ งออกด้วย อีกทั้งมีการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น จึงทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยลดลง เป็ นผ ลดีต่อ ผูป้ ระกอบการที่จะหันมาสนใจอุตสาหกรรมนี้เพิ่มขึ้น การส่ งออก แนวโน้มการส่ งออกกุง้ สดแช่แข็งและแปรรู ปของไทยในปี 2556 น่าจะขยายตัวร้อยละ 3-7 โดยปรับตัวในทิศทางที่ดีข้ ึน จากที่คาดว่าการส่ งออกกุง้ ในปี 2555 หดตัวลงถึงร้อยละ 14 เริ่ มมีทิศทาง


28 ที่ฟ้ื นตัวอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะช่วยกระตุน้ ให้กาํ ลังซื้อของตลาดหลักกลับคืนมา ประกอบกับปัญหา ต่างๆ ที่กระทบต่ออุตสาหกรรมกุง้ ตั้งแต่ปี 2555 ที่หากคลี่คลายได้ อาจส่ งผลให้การส่ งออกค่อยๆ กลับมาเพิม่ ขึ้นภายในช่วงครึ่ งปี หลัง ผลกระทบทางลบเมื่อได้รับระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุ อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป

ลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ใน

คู่แข่ ง สถานะสิ ทธิ GSP ของไทย เทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มสถาน การณ์ได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) จากสหภาพยุโรป(EU) ภายใต้ระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP)ใหม่ของประเทศใน อาเซียน ไทยอาจจะไม่ได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ภายใต้หลักเกณฑ์ใหม่ ประเทศที่ยงั คงได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (General Arrangement) คือ อินโดนีเซียและเวียดนาม ประเทศที่อาจได้รับสิ ทธิพิเศษเพิ่มเติมภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ ยัง่ ยืนและธรรมาภิบาล (Special Incentive Arrangement for Sustainable Development & Good Governance) หรื อ GSP Plus คือ ฟิ ลิปปิ นส์ โดยจะให้สิทธิพิเศษมากกว่าระบบพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป (GSP ทัว่ ไป) ประเทศที่ได้รับสิ ทธิพิเศษ สําหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries: LDCs) ได้แก่ ลาวและกัมพูชา ซึ่งประเทศกลุ่มนี้จะได้รับยกเว้นภาษีศุลกากร ในทุกรายการสิ นค้า ยกเว้นอาวุธ (Everything but Arms: EBA) แต่สาํ หรับพม่านั้น ปั จจุบนั ยังไม่ได้ รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) จาก สหภาพยุโรป (EU) คู่แข่งในช่วงระยะเพียงไม่กี่ปี ได้แก่ เวียดนามซึ่งก้าวขึ้นมาเป็ นผูส้ ่ งออกสิ นค้าสัตว์น้ าํ สู่ตลาด สหภาพยุโรปในอันดับต้นๆ เวียดนามจึงเป็ นคู่แข่งของสิ นค้าประมงและกุง้ ของไทยที่น่ากลัวไม่นอ้ ย ทั้งนี้ และเวียดนามประเทศที่ยงั คงได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ต้องยอมรับ ว่าภายใต้ระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ใหม่ สิ นค้าไทยส่ วนใหญ่จะมีราคาใน ตลาดสหภาพยุโรป (EU) สู งขึ้นจากเดิมไม่เกินร้อยละ 5 อย่างไรก็ตาม สิ นค้าหลายรายการในจํานวน นั้นเป็ นสิ นค้าที่ไทยประสบปั ญหาการแข่งขันด้านราคาอยูก่ ่อน ขณะที่เวียดนามคู่แข่งของไทยยังคง ได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ในตลาดสหภาพยุโรป (EU) ดังนั้น ส่ วนต่าง


29 ราคากับประเทศคู่แข่งที่จะยิง่ กว้างขึ้นนี้จึงมีนยั ไม่ อุตสาหกรรมกุง้

น้อย ต่อความสามารถในการแข่งขันขอ

ข้อจํากัดที่ยงั คงเกิดขึ้นแม้ไทยจะได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) การปรับค่ าจ้ างแรงงานขั้นตํ่า 300 บาท การปรับค่าจ้างแรงงานขั้นตํ่า 300 บาท ทัว่ ประเทศ เป็ นปัจจัยเสี่ ยงที่อาจกระทบต่อต้นทุน ของผูป้ ระกอบการ เนื่องจากอุตสาหกรรมกุง้ จําเป็ นต้องใช้แรงงานภายในอุตสาหกรรมจํานวนมาก และประกอบกับต้องเสี ยภาษีส่งออกกุง้ ไปยังยุโรปยิง่ ทําให้ตน้ ทุนของราคากุง้ เพิ่มมากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม การปรับขึ้นค่าแรงอาจมี ผลกระทบเฉพาะผูป้ ระกอบการในพื้นที่ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ ที่ในช่วงที่ผา่ นมาอาจยังมีการจ่ายค่าจ้างแรงงานโดยเฉลี่ยไม่ถึง 300 บาทต่อวัน การควบคุมต้ นทุนการผลิต ต้นทุนค่าแรงเพาะเลี้ยงกุง้ อยูใ่ นระดับสูง เมื่อเทียบกับจีนและเวียดนาม ถึงแม้ไทยจะได้รับ สิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) เพราะต้นทุนการผลิตเป็ นตัวกําหนดราคาขั้นตํ่าใน การส่ งออก และเป็ นตัวกําหนดการแข่งขันกับประเทศผูส้ ่ งออกผลิตภัณฑ์กงุ้ รายอื่นๆ ราคากุง้ ดิบคิด เป็ นสัดส่ วนถึงร้อยละ 80 ของต้นทุนรวมเมื่อออกจากโรงงาน โดยอาหารสัตว์เป็ นต้นทุนสําคัญของ เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงกุง้ ซึ่งควรพิจารณาภาพรวม แทนที่จะดูแต่ราคาอาหารเบื้องต้นเพียงอย่างเดียว อาหาร สัตว์คุณภาพดี กุง้ โตเร็ วได้น้ าํ หนักมากกว่า ไม่เป็ นโรค ย่อมดีกว่าอาหารราคาถูก แต่กงุ้ กินแล้วไม่โต ป่ วยเป็ นโรคง่าย ดังนั้น การควบคุมต้นทุนการผลิตนับว่าเป็ นประเด็นสําคัญในการเพิ่ มความสามารถ ในการแข่งขันในตลาดโลก ความไม่ แน่ นอนของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ความไม่แน่นอนจากการได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ที่เป็ นการให้ฝ่ายเดียวของ สหภาพยุโรป คือ เมื่อทางสหภาพยุโ รปมีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ต่างๆ เราไม่สามารถคาดการได้ ว่าเราจะโดนตัดสิ ทธิเมื่อไหร่ จากข้อกําหนดในระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP)


30 ความไม่ แน่ นอนของเศรษฐกิจในสหภาพยุโรป เมื่อเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปซึ่งเป็ นตลาดส่ งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็งอันดับสามของไทยมี แนวโน้มไม่สดใส ประกอบกับเงิ นยูโรเริ่ มอ่อนค่าลง จะทําให้กาํ ลังซื้อของผูบ้ ริ โภคในสหภาพยุโรป ลดลง ส่ งผลให้การส่ งออกกุง้ ไทยไปในตลาดสหภาพยุโรปลดลงด้วย และถ้าการนําเข้าสหภาพยุโรป ในอัตราที่ ราคาของสิ นค้าไทยในตลาดสหภาพยุโรปจะสูงขึ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศคู่แข่งขัน อื่นๆที่ยงั คงได้รับสิ ทธิ ดั งนั้น ราคาจึงถือเป็ นปัจจัยสําคัญในการตัดสิ นใจซื้อของผูบ้ ริ โภค หาก ต้นทุนการนําเข้าต้องสู งขึ้น ก็จะทําให้ราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ส่ งผลกระทบต่อเกษตรกรซึ่งเป็ น ประชากรส่ วนใหญ่ของประเทศ เมื่อประเทศไทยโดนตัดสิ ทธิจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) เมื่อสหภาพยุโรป หรื อ EU (European Union) ได้ประกาศปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การให้สิทธิ พิเศษทางการค้าภายใต้ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences: GSP) สิ นค้าที่ได้รับผลกระทบมาก เป็ นสิ นค้าที่มีส่วนต่างระหว่างอัตราภาษีปกติกบั อัตราภาษีสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) อุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ เป็ นหนึ่งในสิ นค้าที่ได้รับ ผลกระทบมาก โดยระบบ GSP ใหม่น้ ี คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2557 นั้น และ ประเทศไทยเข้าข่ายประเทศที่จะถูกยกเลิ กสิ ทธิ GSP และเมื่อไทยได้รับการจัดกลุ่มโดยธนาคารโลก ให้อยูใ่ นกลุ่มประเทศที่มีระดับรายได้ปานกลางค่อนข้างสูงเมื่อเดือนกรกฎาคม 2554 ที่ผา่ นมา (จาก เดิมอยูใ่ นกลุ่ม Lower-Middle Income) ซึ่งจะมีผลให้ไทยจะต้องกลับมาเสี ยภาษีในอัตราปกติ (MostFavored Nation: MFN) ภายใต้ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ใหม่ ทั้งนี้ จะทําให้ประเทศ ไทยเกิดภาวะราคากุง้ ที่แพงสู งขึ้น หรื อที่เรี ยกว่า “ภาวะราคาอาหารเฟ้ อ” (Food Inflation) พุง่ ขึ้นเป็ น ประวัติการณ์ ซึ่งกุง้ ดิบจะต้องเสี ยภาษีในอัตราเต็มที่ร้อยละ 12 จากที่ปัจจุบนั เสี ยภาษีในอัตราร้ อยละ 4.2 สําหรับสิ นค้ากุง้ สุ ก และกุง้ ปรุ งแต่ง จะต้องเสี ยภาษีในอัตราเต็ม ที่ร้อยละ 20 จากปั จจุบนั เสี ยภาษี ที่ร้อยละ 7 ซึ่งจากอัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้ จะส่ งผลกระทบต่อภาคการส่ งออกอย่าง แน่นอนกันราคากุง้ ที่แพงสู งขึ้นและคาดว่าจะยังคงอยูใ่ นเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง สําหรับประเทศไทย ซึ่งเป็ นที่รับรู ้ของประชาคมโลกว่า อุดมสมบูรณ์ดว้ ยพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร เพราะเราเป็ นผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนีไม่พน้ กับผลกระทบด้าน ราคาอาหารแพง โดยเฉพาะกลุ่มที่โดนตัดสิ ทธิสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP)จากสหภาพยุโรป


31 โดยเฉพาะกุง้ ไทยที่ส่งผลกระทบมากที่สุด และผูท้ ี่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคงไม่พน้ ประชาชนผู ้ ยากจน รวมไปถึงชนชั้นกลาง ซึ่งถือว่าเป็ นความจําเป็ นอย่างยิง่ ที่รัฐบาลต้องกําหนดมาตรการเพื่อวาง นโยบายและดําเนินการอย่างถูกต้อง เพื่อป้ องกันความเดือดร้อนจากราคากุง้ และอาหารบางประเภทที่ แพงสู งขึ้น แต่ไม่สอดรับกับรายได้ของประชาชน โดยเฉพาะนโยบายเศรษฐกิจในระดับรากหญ้า ขณะนี้คงต้องเน้นที่ความสําคัญของการบริ หารจัดการ เพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพและรักษาไว้ซ่ ึง ความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่อส่ งเสริ มผูท้ ี่เป็ นเก ษตรกรและผูผ้ ลิต ให้คง ได้รับผลประโยชน์จากภาคการตลาด ส่ วนประชาชน ผูบ้ ริ โภคทั้งหลาย ก็ตอ้ งเข้าถึงอาหารทั้งโอกาส และการกระจายรายได้ที่เพิม่ ขึ้น เช่นกัน บทสรุปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป จากการศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) และศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป และแนวทางการแก้ไข ได้บทสรุ ปดังนี้ สําหรับผลกระทบที่เกิดขึ้นต่ออุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปจากการได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทั่วไป (GSP) นั้น เกิดผลกระทบทั้งทางด้านบวกและในด้านลบแก่อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปของไทย ในส่ วนของด้านบวกนั้น คือการก่อให้เกิดอัตราภาษีศุลกาการขาเข้าที่ลดลงจากเดิม กล่าวคือการได้รับสิ ทธิพิเศษทางศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปนั้น คือการลดหย่อนภาษีการนําเข้าสิ นค้า อุปโภคบริ โภค ซึ่งถือว่าเป็ นเรื่ องที่ดี เนื่องจากทําให้อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปของประเทศไทยมีสิทธิ ทางด้านภาษีที่ทดั เทียมกับประเทศคู่คา้ อื่นๆ และส่ งผลต่อเนื่องถึงการผลิตสิ นค้าที่มีแนวโน้มว่าจะ สูงขึ้น รวมถึงการที่ผผู ้ ลิ ตสามารถส่ งออกกุง้ ได้ราคาที่ต่าํ เนื่องจากเสี ยภาษีศุลกากรน้ อยลง ทําให้ ต้นทุนลดลง มีผลตอบแทนที่มากขึ้น และในด้านลบนั้น จะกล่าวถึงการที่ประเทศที่ยงั คงได้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) เมื่อเทียบกับ ประเทศที่ได้รับสิ ทธิพิเศษเพิ่มเติมภายใต้ มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืนและธรรมาภิบาล (GSP+) กล่าวคือการที่ประเทศใดได้รับสิ ทธิ พิเศษเพิ่มเติมภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืนและธรรมาภิบาล (GSP+) นั้น จะได้รับการ ลดหย่อนภาษีที่ต่าํ ว่าสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ซึ่งทําให้ประเทศไทย เสี ยเปรี ยบคู่แข่งที่สาํ คัญๆ ที่ได้รับสิ ทธิพิเศษ เพิ่มเติมภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและ


32 ธรรมาภิบาล (GSP+) และด้วยอุตสาหกรรมต่างๆยังได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ค่าแรงที่เพิ่ม สูงขึ้น ยิง่ ส่ งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ทําให้ราคาของสิ นค้าที่ผลิตในประเทศไทยมีราคา สูงขึ้นตามไปด้วย และเมื่อประเทศไทยถูกตัดสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) เนื่องจากการที่ ประเทศไทยได้เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจที่มีรายรับจากระดับรายได้ปานกลางค่อนข้างตํ่า เป็ นระดับ รายได้ปานกลางค่อนข้างสู งติดต่อกันเป็ นเวลา 3 ปี ซึ่งผิดจากคุณลักษณะที่ได้มีการกําหนดขึ้น ทําให้ ประเทศไทยถูกตัดสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2557 จะเกิดผลกระทบที่ตามมากอย่างมากมาย กล่าวคือ การที่ถูกตัดสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไปนั้น จะส่ งผลกระทบที่สาํ คัญประการแรกคือการที่ภาษีศุลกากรขาเข้าในระดับอัตราปก ติ ส่ งผลให้ผผู ้ ลิตต้องมีค่าใช่จ่ายในส่ วนที่เป็ นภาษีเพิ่มขึ้นจากเดิม ส่ งผลให้ราคาของสิ นค้าเพิ่มสูงขึ้น และต่อเนื่องถึงการลดการส่ งออกเนื่องจากรับภาระของการเสี ยภาษีในอัตราปกติไม่ได้ และด้วย สภาพแวดล้อมภายนอกต่างๆที่เพิม่ ขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นภัยธรรมชาติต่างๆ อุทกภัย หรื อนํ้าแล้ง หรื อแม้แต่ การใช้สารเคมี รวมถึงนโยบายของรัฐบาลในเรื่ องของค่าแรง เงินเดือนที่เพิ่มขึ้น เป็ นตัวเร่ งที่ก่อให้เกิด ต้นทุนที่สูงขึ้นตาม ทําให้อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปอยูใ่ นขึ้นวิกฤต และยังส่ งผลกระทบต่อการส่ งออก ของประเทศไทยถึงในระยะยาว โดยมีแนวโน้มที่จะส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ยัง ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการแข่งขันในตลาดสหภาพยุโรป รวมทั้งอาจมีผลกระทบต่อการ ตัดสิ นใจของนักลงทุนหรื อผูป้ ระกอบการทั้งของไทยและต่างชาติในอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ที่จะ ส่ งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป ไม่ใช่เพียงแต่เศรษฐกิจเท่านั้ นที่ได้ผลกระทบ ยังส่ งผลกระทบต่อ ความมัน่ คงทางอาหารอีกด้วย ทําให้เกิดภาวะราคากุง้ ที่แพงสูงขึ้น หรื อที่เรี ยกว่า “ภาวะราคาอาหาร เฟ้ อ” (Food Inflation) พุง่ สู งขึ้นเป็ นอย่างมาก ราคากุง้ ที่แพงสูงขึ้นและคาดว่าจะยังคงอยูใ่ นเกณฑ์สูง อย่างต่อเนื่อง ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง สวนทางกับความต้องการบริ โภคที่มีแนวโน้มสูงขึ้น เป็ นหนึ่ง ในอีกหลายสาเหตุที่อาจส่ งผลให้เกิดวิกฤตความไม่มน่ั คงทางอาหาร ข้อเสนอแนะ หากต้องการแก้ไขในระยะยาวนั้นคือ ควรทําการเปิ ดการเจรจา เขตการค้าเสรี (FTA) กับ สหภาพยุโรปโดยเร็ ว และพยายามให้ความตกลงนั้นมีผลบังคับใช้ให้ได้ก่อนปี 2558 โดยหากสามารถ เจรจาให้ได้ภาษีสินค้าให้ต่าํ กว่าอัตราภาษีของสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปได้น้ นั ยิง่ เป็ น การดี และเป็ นการแก้ปัญหาความไม่มนั่ คงของสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP)ได้


33 อย่างถา วร หรื อทางแก้ปัญหาอีกทางคือ การเพิ่มการลงทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศ อาเซียนที่ยงั ได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หรื อ EBA แต่ทางเลือกนี้อาจ ปฏิบตั ิได้ง่ายเฉพาะกับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เท่านั้น แต่ปฏิบตั ิได้ยากสําหรับธุรกิจขนาดเล็ก หรื อ SMEs เว้นแต่จะได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ดังนั้นรัฐบาลจึงควรมีนโยบาย และดําเนินการหาทางแก้ไข ออกกลยุทธ์การค้าเพื่อรองรับกับ เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างระมัดระวังและรอบคอบ เพื่อเป็ นการสร้างโอกาสให้แก่กลุ่มอุตสาหกรรม กุง้ แปรรู ป และกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆที่มีความต้ องการส่ งออก และเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน กับคู่แข่งขันที่สาํ คัญ ที่นบั วันมีแต่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกด้วย


34 เรื่อง การวิเคราะห์ งบการเงินทีม่ ีผลต่ อความมั่นคงของกลุ่มธุรกิจ ข้ าว ในเขตพืน้ ทีจ่ ังหวัดปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และสุ พรรณบุรี ทีม่ าและความสํ าคัญ ข้าวเป็ นอาหารหลักและเป็ นปัจจัยที่สาํ คัญสําหรับมนุษย์ในการดํารงชีวิตอยู่ เป็ นพลังงานให้ มนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมเพื่อดําเนินชีวิตประจําวันต่างๆ ทั้งยังมีส่วนช่วยสร้างความคิดพัฒนา สติปัญญาของมนุษย์เพื่อสนองความต้องการความเจริ ญก้าวหน้าอื่นๆ ใ นอดีตวิถีชีวิตของคนไทยทั้ง ในเมื องและชนบทมีชีวิตอยูบ่ นผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ มีการหาอาหารและนํ้าจากธรรมชาติ มีพ้ืนที่ เพื่อการเพาะปลูกพืชผักสวนครัวไว้เพื่ออยูเ่ พื่อกิน แต่การพัฒนาประเทศที่เน้นการเติบโตทาง เศรษฐกิจได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆด้านอย่างรวดเร็ ว มีการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ อย่างฟุ่ มเฟื อยเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตสังคมไทยจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการดําเนินชีวิตจากการ พึ่งพาตนเอง มาเป็ นการผลิตเพื่อการค้า ธุรกิจโรงสี ขา้ วทําหน้าที่รวบรวมข้าวเปลือกและแปรรู ปให้เป็ นข้าวสาร ปัจจุบนั โรงสี ขา้ วใน ประเทศไทยประมาณร้อยละ 70 เป็ นโรงสี ขนาดเล็ก โรง สี เหล่านี้ต้ งั กระจายทัว่ ไปในท้องที่ที่มีการ ปลูกข้าว เพื่อทําหน้าที่บริ การชาวนาที่ทาํ นาข้าวเปลือกมาสี ให้เป็ นข้าวสารสําหรับการบริ โภคใน ครัวเรื อน ส่ วนโรงสี ขนาดกลางและขนาดใหญ่มกั ตั้งอยูใ่ นแหล่งเพาะปลูกที่สาํ คัญ เช่น ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ และจังหวัดที่เป็ นศู นย์กลางการค้า เพื่อแปรรู ปข้าวเปลือกสําหรับการ บริ โภคหรื อส่ งออกไปจําหน่ายต่างประเทศ อุตสาหกรรมสี ขา้ วของประเทศไทยหากพิจารณาเชิงพื้นที่กจ็ ะพบว่าอุตสาหกรรมสี ขา้ วใน ภาคกลางมีอุตสาหกรรมสี ขา้ วอยูร่ วมตัวกันมาก จากจํานวน 26จังหวัดในภาคกลาง จังหวัด สุ พรรณบุรีเป็ นจังหวั ดหนึ่งที่ต้ งั อยูใ่ นภาคกลางและเป็ นจังหวัดที่มีจาํ นวนอุตสาหกรรมสี ขา้ วมาก จํานวน 166 โรงงาน และส่ วนใหญ่เป็ นโรงสี ขา้ วขนาดใหญ่ มีกาํ ลังการผลิตได้ประมาณ 6 ล้านตัน การจ้างแรงงาน จํานวน 1,907 คน การลงทุนจํานวน 4,932.94 ล้านบาท (สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดสุ พรรณบุรี, 2554) ซึ่งเป็ นจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมสี ขา้ วมากที่สุดในอันดับต้นในเขตภาคกลาง


35 จังหวัดปทุมธานี เป็ นจังหวัดในภาคกลางของประเทศอยูใ่ นเขตปริ มณฑลติดกับ กรุ งเทพมหานคร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่มริ มสองฝั่งแม่น้ าํ จังหวัดปทุมธานี เป็ นศูนย์กลาง กระจายผลผลิตทางการเกษตร มีตลาดกลางสิ นค้าเกษตรขนาดใหญ่ที่เป็ นแหล่งรวมและกระจาย สิ นค้าเกษตร มีโรงสี ขา้ วจํานวน 36 โรงงาน เงินทุน 1,487 ล้านบาท คนงาน 639 คน มีโรงงานขนาด เล็ก 2,106 โรงงาน เงินทุน 26,492 ล้านบาท คนงาน 76,091 คน, มีโรงงานขนาดกลาง 345 โรงงาน เงินทุน 32,007 ล้านบาท คนงาน 50,327 คน, มี โรงงานขนาดใหญ่ 210 โรงงาน เงินทุน237,346 ล้าน บาท คนงาน 153,676 คน(รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานีปี 2550, 2555) มีพ้ืนที่ การเกษตรอยูใ่ นเขตชลประทาน ซึ่งรับนํ้าจากโครงการส่ งนํ้าต่างๆ ของจังหวัด ทําให้มีน้ าํ ทํานาได้ ตลอดปี พื้นที่การทํานามีประมาณร้อยละ 50 ของพื้นที่การเกษตรของจังหวัด จังหวัดพระนครศรี อยุธยา มีพ้ืนที่ทาํ การเกษตรกรรมประมาณ 955,013.75 ไร่ หรื อคิดเป็ น ร้อย 59.77 ของพื้นที่ท้ งั หมด โดยแยกเป็ นพื้นที่ปลูกข้าว จํานวน 920,637.25 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 96.40 มีครัวเรื อนที่ทาํ การเกษตรทั้งสิ้ น 61,042 ครัวเรื อน ข้าวเป็ นสิ นค้าเกษตรหลักของจังหวัด พระนครศรี อยุธยา เพื่อให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ใน เขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี จึงได้ทาํ การศึกษาวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของ กลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี เพื่อ วิเคราะห์ สถานการณ์ของกลุ่มธุรกิจข้าว ความสามารถในการทํากําไรความมั่ นคงทางการเงิน และทําการศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ของกลุ่มธุรกิจข้าว 2. เพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการทํากําไรและความมัน่ คงทางการเงินของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี 3. เพื่อศึกษาปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว


36 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มธุรกิจข้าว 2. ทําให้ทราบผลของการวิเคราะห์ความสามารถในการทํากําไรและความมัน่ คงทางการเงิน ของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี 3. ทําให้ทราบปั จจัยที่ส่งผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาเกี่ยวกับ การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของ กลุ่มธุรกิจ ข้าว ซึ่งมีกรอบประชากร (Population Frame) คือ กลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี โดยข้อมูลทุติยภูมิที่นาํ มาใช้ในการศึกษานั้นจะเป็ น ข้อมูลทางการเงิน ที่อยูใ่ นช่วงระหว่างปี 2552 – 2554 ของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี วิธีการศึกษา ในการศึกษาการวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุ รกิจข้าวในเขตพื้นที่ จังหวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี ในครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงวิเคราะห์จากข้อมูล ทางด้านการเงินของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี โดยการศึกษาเน้น วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มธุรกิจข้ าว การวิเคราะห์ความสามารถในการ ทํากําไรและความมัน่ คงทางการเงินของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ซึ่งจะ ทําการวิเคราะห์งบการเงินที่อยูใ่ นช่วงระหว่างปี 2552 – 2554


37 เนือ้ หาการสั มมนา วิกฤตการณ์อาหาร ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ดว้ ยพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร เพราะประเทศไทยเป็ นผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออก สิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนีไม่พน้ กับผลกระทบด้านราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้นและคาด ว่าจะยังคงอยูใ่ นเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง ผูท้ ี่ได้รับผลก ระทบมากที่สุดคงไม่พน้ ประชาชนผูย้ ากจน รวมถึง ชนชั้นกลาง ซึ่ง เกิดจากปั จจัยสํา คัญที่ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง สวนทางกับความต้องการ บริ โภคที่มีแนวโน้มสู งขึ้น อีกทั้งการพัฒนาด้านการเกษตรถูกละเลย ประชาชนมีการพึ่งทางการค้า มากกว่าการพึ่งพาตนเอง จึงทําให้เกิดวิกฤตการณ์อาหาร โดยเฉพาะข้าวซึ่งเป็ นฐานความมัน่ คงทาง อาหารและเป็ นฐานเศรษฐกิจที่สาํ คัญของคนไทย พื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวเป็ นอีกสาเหตุหนึ่งที่บ่งบอกถึง วิกฤตการณ์อา หารโดยมีจาํ นวน พื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวประมาณร้อยละ 59.5 ของพื้นที่การเกษตรทัว่ ประเทศไทย หรื อเกินครึ่ งหนึ่ง ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด เมื่อเทียบกับอดีตในช่วง 30 ปี ที่ผา่ นมา พบว่าพื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวอยูใ่ น สภาวะที่ลดลงและยังถือว่าน้อยมาก แต่ถึงอย่างไรก็ตามน่ าจะเป็ นโอกาสที่ดีของประเทศไทยมากกว่าที่ได้เกิด “วิกฤตการณ์ อาหารโลก” ขึ้นเนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศผูผ้ ลิตอาหารส่ งออกที่สาํ คัญของโลก มีปริ มาณ อาหารเพียงพอทั้งการบริ โภคภายในประเทศ และส่ งออกได้ พร้อมๆ กัน อีกทั้งประเทศไทยยังมีพ้ืนที่ นิเวศอันอุดมสมบูรณ์ “ข้าว” ซึ่งนับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้และแปรวิกฤติให้เป็ น โอกาสได้ภายใต้แผนพัฒนาด้านศักยภาพของความเป็ นแหล่งอาหารโลกเพื่อรองรับแนวโน้มทางการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต เพราะอาหารก็คือทรัพยากรที่มีความสําคัญมากที่สุด


38 การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว 25.00% อัตราส่วนผลตอบแทน จากสินทรัพย์รวม

20.00% 15.00%

อัตราส่วนผลตอบแทน จากกําไรสุทธิ

10.00% 5.00%

อัตราส่วนผลตอบแทน จากการดําเนินงาน

0.00%

อัตรากําไรขั ้นต้ น ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

ภาพที่ 2-1 อัตราส่ วนวัดความสามารถในการทํากําไร ทีม่ า: จัดทําโดยคณะผูจ้ ดั ทํา, 2555 จากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรของกลุ่มธุรกิจข้าวพบว่า ในปี 2553 มีอตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรลดลง เนื่องจากในช่วงปลายปี 2553 ผลผลิตข้าวเปลือกที่ เกษตรกรเก็บเกี่ยวออกสู่ ตลาดลดลงเพราะผลผลิตบางส่ วนได้รับความเสี ยหายจากสภาพอากาศที่ แปรปรวน ประกอบกับคุณภาพข้าวเปลือกลดลงเพราะได้รับความเสี ยหายจากฝนที่ตกหนัก จึงส่ งผล ให้ราคาข้า วเปลือกอ่อนตัวลง และในปี 2554 มีอตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรเพิม่ ขึ้น เนื่องจากราคาข้าวมีแนวโน้มสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงทําให้กาํ ไรโดยรวมมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจากแหตุ การณ์น้ าํ ท่วมในช่วงปลายปี 2554 รวมถึงโครงการรับจํานําข้าวของรัฐบาลที่เปิ ดรับจํานําข้าวเปลือก ในราคาที่สูง เพื่อช่วยเกษตรกรที่รับผลกระทบจากอุทกภัย 18 16 14 12

อัตราส่วนหนี ้สินต่อ สินทรัพย์รวม

10 8 6

อัตราส่วนหนี ้สินต่อทุน

4 2 0

ปี 2552

ปี 2553

ภาพที่ 2-2 อัตราส่ วนวัดภาระหนี้สิน ทีม่ า: จัดทําโดยคณะผูจ้ ดั ทํา, 2555

ปี 2554


39 จากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนวัดภาระหนี้สินของกลุ่มธุรกิจข้าวพบว่า ในปี 2553 มีอตั ราส่ วน วัดภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น ซึ่งจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรในปี 2553 กลุ่ม ธุรกิจข้าวมีผลกําไรลดลง ส่ งผลให้กลุ่มธุรกิจข้าวมีการก่อหนี้มากขึ้นเพื่อชดเชยกําไรที่ลดลงดังกล่าว และจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรในปี 2554 พบว่ากลุ่มธุรกิจข้าวมีผลกําไร เพิ่มขึ้น ซึ่งส่ งผลให้กลุ่มธุรกิจข้าวมีความสามารถในการชําระหนี้มากขึ้น จึงทําให้อตั ราส่ วนวัดภาระ หนี้สินลดลงจากปี 2553 สถานการณ์ของกลุ่มธุรกิจข้าว 1. การผลิตข้ าวลดลง นายกสมาคมโรงสี ขา้ วไทยได้คาดการณ์วา่ ในปัจจุบนั ประเทศไทยมี แนวโน้มใน การผลิตข้าวลดลงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากภายหลังจากเหตุการณ์น้ าํ ท่วมในปี 2554 เกษตรกรหันไปปลูกพืชอย่างอื่นแทน เช่น อ้อยและยางพารา เพราะเมื่อเปรี ยบเทียบต้นทุนการ เพาะปลูกที่มีตน้ ทุนที่ต่าํ กว่า และสามารถขายได้ในราคาที่ใกล้เคียงกัน จึงทําให้เกษตรกรส่ วนใหญ่ นิยมปลูกพืชอย่างอื่นแทนการปลูกข้าว จึงควรมีการส่ งเสริ มการปลูกข้าวและสนับสนุนอาชีพชาวนา เพราะในอนาคตอาจจะขาดคนรุ่ นใหม่เข้ามาทําอาชีพนี้ ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหาร ในอนาคต ในขณะที่กลุ่มผูส้ ่ งออกควรปรับกลยุทธ์ส่งออกโดยเน้นการส่ งออกข้าวหอมมะลิเป็ นหลัก เนื่องจากประเทศไทยเป็ นผูผ้ ลิตข้าวหอมมะลิรายเดียวของโลก 2. ต้ นทุนในการผลิตข้ าว สําหรับต้นทุนในการผลิตข้าวของไทย โดยเฉพาะต้นทุนผันแปร เพราะเกษตรกรไทยมีการใช้ปุ๋ยและสารกําจัดศัตรู พืชอย่างสิ้ นเปลือง เป็ นสัดส่ วนต้นทุนที่สูงที่สุด หากมีการปลูกข้าวด้วยวิธีธรรมชาติและใช้สารเคมีเกษตร สามารถลดปริ มาณการใช้ปุ๋ยและสารกําจัด ศัตรู พืชลงได้มาก รวมถึงนโยบายรัฐบาลที่มีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าทัว่ ประเทศเป็ นวันละ 300 บาท ส่ งผลให้ตน้ ทุนค่าแรงการทํานาของชาวนาทัว่ ประเทศปรับเพิ่มขึ้นเช่นกัน 3. ราคาข้ าว สถานการณ์ดา้ นราคาข้าวในตลาดส่ งออกของไทย แม้วา่ ประเทศไทยเป็ นผู ้ ส่ งออกรายใหญ่ต่อเนื่องมานับทศวรรษที่ผา่ นมา แต่ราคาข้าวส่ งออกของไทยกําลังจะแข่งขันไม่ได้กบั ประเทศคู่แข่งขันรายอื่นๆในตลาดส่ งออกดังจะเห็นได้วา่ ราคาข้าว 5% ส่ งออกของไทยมีระดับราคาที่ สูงกว่าข้าวขาว 4% ของประเทศสหรัฐอเมริ กา และมีระดับที่สูงกว่าราคาข้าว 5% ส่ งออกของประเทศ เวียดนาม นอกจากนี้การยกระดับราคาข้าวเปลือกภายในประเทศของรัฐตามนโยบายรับจํานํา


40 ข้าวเปลือกยังจะมีผลทําให้ตน้ ทุนการส่ งออกข้าวไทยปรับตัวสูงขึ้นนับตั้งแต่ช่วงไตรมาศที่ 4 ของปี 2554 เป็ นต้นมา 4. การส่ งออกข้ าว ในประเทศไทยมีการส่ งออกข้าวในกลุ่มอาเซียนเพียงร้อยละ 16 และ นอกกลุ่มอาเซียนถึงร้อยละ 84 ในขณะที่ประเทศเวียดนามส่ งออกข้าวไปยังกลุ่มอาเซียนมากที่สุด ทํา ให้กรมการข้าวรวมทั้งหน่วยงานวิจยั และมหาวิทยาลัยต่างๆ ต้องเร่ งยกระดับพัฒนาข้าวไทยโดยเน้น เรื่ องคุณภาพมาตรฐานที่ตอ้ งมีหลายระดับ เพื่อรักษาระดับข้าวไทยในระดับบนไว้ และวิจยั ข้าวพันธ์ ใหม่เพื่อลดต้นทุนในการผลิต 5. การสต็อกข้ าว ประเทศไทยมีการส่ งออกในปริ มาณลดลงร้อยละ 35 ซึ่งสาเหตุการ ส่ งออกน้อยลงเพราะราคาข้าวในประเทศไทย สูงกว่าราคาตลาดเป็ นจานวนมาก ทําให้มีปัญหาในการ ขาย ส่ งผลให้ประเทศไทยมีการสต๊อกข้าวสูงถึง 14 ล้านตัน หรื อเท่ากับประเทศเวียดนามส่ งออกข้าว 2 ปี อีกทั้งรัฐบาลต้องใช้งบประมาณมากขึ้นในการระบายข้าวและปัญหาในการขาดแคลนโกดัง จัดเก็บข้าว 6. เหตุการณ์ นํา้ ท่ วมในปี 2554 ผลกระทบนํ้าท่วมในภาคกลางเมื่อปี 2554 ผลผลิตจากการ ปลูกข้าวสู ญเสี ยเป็ นจํานวนมาก ทําให้ชาวนาได้รับผลกระทบอย่างหนัก อีกทั้งกลุ่มเกษตรกรในภาค กลางส่ วนใหญ่มีภาระหนี้สินจากการลงทุน เช่น ค่าปุ๋ ยและค่ายา ทําให้นายทุนถือโอกาสเข้า ครอบครองพื้นที่ปลูกข้าว ส่ งผลให้ราคาข้าวสูงขึ้น และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง 7. ประเทศไทยเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี 2558 อาจทําให้ประเทศไทยเกิดข้อเสี ยเปรี ยบในได้การส่ งออกข้าว เนื่องจาก ประเทศ คู่แข่งทางการค้าข้าวในตลาดอาเซียนของไทยคือประเทศเวียดนามที่ครองส่ วนแบ่งตลาดข้าวในกลุ่ม อาเซียนไว้ถึงร้อยละ 70 มากกว่าประเทศไทย 1 เท่าตัว ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ประเทศเวียดนามมี จุดแข็งในด้านการผลิตและการตลาด ประเทศเวียดนามมีผลผลิตที่สูงกว่าประเทศไทย อีกทั้งต้นทุน การผลิตข้าวของประเทศเวียดนามตํ่ากว่าประเทศไทย ทําให้ประเทศเวียดนามมีความได้เปรี ยบใน การทําการตลาด เนื่องจากประเทศเวียดนามใช้กลไกในการแทรกแซงตลาดโดยภาคเอกชนไม่ใช่ ภาครัฐเหมือนประเทศไทย จากผลกระทบดังกล่าวภาครัฐบาล ภาคเอกชน และชาวนาจําเป็ นต้อง ร่ วมมื อกันปรับตัวรองรับการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยการหาแนวทางในการลด ต้นทุนการผลิต การปรับปรุ งคุณภาพของข้าวและกระบวนการผลิตให้ได้เป็ นที่ยอมรับ และยัง จําเป็ นต้องสร้างภาพลักษณ์ของข้าวไทยให้เป็ นที่รู้จกั แก่ทุกคนในระดับอาเซียน


41 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว 1. ปัจจัยด้ านบวก 1.1 นโยบายประกันรายได้ เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวจากรัฐบาล เป็ นนโยบายที่เอื้อและ สนับสนุนต่อกลไกตลาด เกษตรกรสามารถทราบล่วงหน้าก่อนการเพาะปลูกว่าจะขายผลผลิตได้ใน ราคาใดซึ่งจะช่วยในการตัดสิ นใจ สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรในการเรี ยนรู ้ระบบตลาดและ ตัดสิ นใจจําหน่ายข้าวเป็ นการช่วยเหลือรายได้ข้นั ตํ่าให้กบั เกษตรกรทุกรายที่มาลงทะเบียนโดยถ้วน หน้า 1.2 ภูมิประเทศและอุณหภูมิของประเทศไทยเอือ้ ต่ อการปลูกข้ าว เนื่องจากประเทศไทย เป็ นผูผ้ ลิตข้าวหอมมะลิรายเดียวของโลก แล ะมีภูมิประเทศและอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว เช่น ถ้าต้องการปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตดีตอ้ งปลูกในดินเหนียว และดินเหนียวปนร่ วน และมีอุณหภูมิที่ เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของข้าวและการให้ผลผลิตดีจะอยูใ่ นระหว่าง 25-33 องศาเซลเซียส โดย พบว่าประเทศไทยมีพ้ืนที่ทาํ นาประมาณมากถึง 60 ล้านไร่ 1.3 การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ขยายช่องทางและโอกาสของสิ นค้าไทยในการ เข้าถึงตลาด อาเซียนซึ่งประกอบด้วยประชากรกว่า 590 ล้านคน โอกาสในการเพิม่ พูนการค้าระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียน เนื่องจากประเทศสมาชิกต้องยกเลิกมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ ภาษี (NTMs) ลดต้นทุนการผลิตจากการนําเข้าวัตถุดิบและสิ นค้าขั้นกลางที่ใช้ในการผลิตได้ในราคา ตํ่าลง และเพิ่มทางเลือกให้ผผู ้ ลิต สามารถนําเข้าได้จากหลายแหล่งมากขึ้น ผูบ้ ริ โภคได้รับประโยชน์ จากการลดภาษีสิน ค้านําเข้าซึ่งทําให้ราคาสิ นค้านําเข้าถูกลง เป็ นการเพิ่มกําลังซื้อของประชาชนและ ช่วยกดดันให้ราคาสิ นค้าชนิดเดียวกันหรื อสิ นค้าทดแทนที่ผลิตในประเทศลดราคาอันเป็ นผลมาจาก การแข่งขันที่สูงขึ้น 2. ปัจจัยด้ านลบ 2.1 ด้ านคุณภาพการผลิต ผลผลิตข้าวมีคุณภาพตํ่า เนื่องจากเกษตรกรนําพั นธุ์ขา้ วอายุ สั้น (75 วัน) มาปลูก ซึ่งเมื่อสี แปรสภาพข้าวแล้วไม่ได้ตามมาตรฐานข้าว 5 % อีกทั้งเกษตรกรต้องการ


42 ผลผลิตข้าวในปริ มาณมากในเวลาที่จาํ กัด เพื่อที่จะนําผลผลิตข้าวไปจํานํากับรัฐบาล จึงส่ งผลให้ขา้ ว ไทยมีคุณภาพที่ลดลงตาม 2.2 การปรับขึน้ ของค่ าแรงขั้นตํ่า จากนโยบายรัฐบาลที่มีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าทัว่ ประเทศเป็ นวันละ 300 บาทตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555 ส่ งผลให้ตน้ ทุนค่าแรงการทํานาของกลุ่ม ธุรกิจข้าวทัว่ ประเทศปรับเพิ่มขึ้น ทําให้รายได้จากการขายข้าวของกลุ่มธุรกิจข้าวลดลง แม้วา่ นโยบาย รับจํานําข้าวสู งขึ้น แต่กลุ่มธุรกิจข้าวก็มีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นตาม 2.3 การปรับขึน้ ของค่ าเช่ าทีน่ า สาเหตุมาจาก เจ้าของพื้นที่หรื อนายทุนได้มีการฉวย โอกาสในการปรับค่าเช่าพื้นที่นาตามราคาจํานําข้าวที่เพิ่มขึ้น ซึ่งส่ งผลกระทบต่อชาวนาอย่างมาก เพราะชาวนาไทยเกินกว่า 50% ต้องเช่าที่ในการทํานา ในขณะที่เจ้าของพื้นที่นาส่ วนใหญ่เป็ นนายทุน 2.4 อาชีพชาวนาลดลง วัยรุ่ นหนุ่มสาวยุคใหม่ ไม่นิยมการทํานา หรื อการเป็ นเกษตรกร จึงทําให้การขยายตัวของภาคการเกษตรลดลง เนื่องจากคนรุ่ นหลังคิดว่าอาจได้รับความเสี่ ยงจากการ ทําอาชีพชาวนา ส่ งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร 2.5 นโยบายรับจํานําข้ าวของรัฐบาล พบว่าผูท้ ี่ได้รับประโยชน์โดยตรงจากโครงการรับ จํานําข้าวเปลือกของรัฐบาลคือชาวนารายใหญ่ที่มีที่ดินทํากินเป็ นของตัวเอง ชาวนาฐานะปานกลาง และฐานะดี โรงสี และกลุ่มธุรกิจต่างๆ หรื อผูร้ ับซื้อข้าวจากชาวนารายย่อยมาจํานํา ซึ่งอาจมีการทุจริ ต ที่อาจเกิดขึ้นได้ ถ้าโรงสี บางแห่งลักลอบนําข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาสวมสิ ทธิเป็ นข้าวไทย และนโยบายนี้ซ้ือข้าวทุกเมล็ดโดยไม่คาํ นึงถึงคุณภาพ ซึ่งจะส่ งผลกระทบให้ชาวนาเร่ งเพิม่ ปริ มาณ ของข้าวเปลือก โดยไม่คาํ นึงถึงคุณภาพของข้าวเป็ นหลัก จึงทําให้ขา้ วไทยกลายเป็ นข้าวคุณ ภาพตํ่าไม่ สามารถแข่งขันกับข้าวคุณภาพสู งจากประเทศคู่แข่งอื่น 2.6 นโยบายเรื่องการส่ งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ซึ่งทุกครั้งที่มี วิกฤติราคาพลังงานเกิดขึ้น วิกฤติดา้ นราคาอาหารก็จะเกิดตามมาเป็ นวัฏจักร เนื่องจากการเคลื่อนย้าย ของธุรกิจพลังงานเข้ามาแย่งวัตถุดิบไปจากพืชอาหาร ผลกระทบจากการใช้พลังงานทดแทน เช่น ประชาชนใช้พ้ืนที่เพื่อปลูกพลังงานทดแทนมากกว่าการทํานาปลูกข้าวเพื่ อเป็ นอาหารคน ย่อมส่ งผล กระทบกับแหล่งผลิตอาหารและราคาอาหารเพิ่มสูงขึ้น


43 2.7 การบริโภคธัญพืชชนิดอืน่ ทดแทนข้ าว ความต้องการบริ โภคข้าวภายในประเทศ ลดลง เนื่องจากผูบ้ ริ โภคหันมาบริ โภคธัญพืชชนิดอื่นๆ แทนการบริ โภคข้าว จากสถิติการบริ โภคข้าว ของคนไทยกลับน้อยลงอย่างน่าใจหาย เพราะโดยเฉลี่ยแล้ว กินข้าวอยูท่ ี่ 100-110 กิโลกรัมต่อปี เท่านั้น ทั้งๆ ที่ค่าเฉลี่ยการบริ โภคข้าวของคนในภูมิภาคอาเซียนนั้น อยูท่ ี่ 200 กิโลกรัมต่อปี นับได้วา่ คนไทยที่อยูใ่ นประเทศที่ปลูก ข้าวมากที่สุ ดในโลกกินข้าวน้อยกว่าชาติอื่นๆ ในแถบเดียวกันถึง กว่าครึ่ ง 2.8 ภัยธรรมชาติ จากเหตุการณ์น้ าํ ท่วมเมื่อปี 2554 ได้มีการประเมินความเสี ยหายและ ผลกระทบจากนํ้าท่วมต่อการปลูกข้าว โดยพื้นที่เพาะปลูกเสี ยหายกว่า 10 ล้านไร่ หรื อคิดเป็ นปริ มาณ 8-9 ล้านตันข้าวเปลือก หรื อ 5-6 ล้านตันข้าวสาร ขณะที่คลังสิ นค้าและโรงสี ที่ได้รับค วามเสี ยหายมี ประมาณ 35 โรง ทําให้ผลผลิตข้าวของไทยลดลง และมีปัญหาผลผลิตข้าวขาดช่วง 2.9 การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี 2558 ส่ งผลกระทบต่อชาวนาไทยอย่างแน่นอน โดยเฉพาะการยกเว้นภาษี และข้าวถือ เป็ นสิ นค้าที่มีความอ่อนไหวมาก การแข่งขันขายข้าวจึงจะเกิดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ขณะที่ตน้ ทุนการ ปลูกและผลผลิตต่อไร่ ของข้าวไทยยังสูงมาก ชาวนาไทยจึงต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ให้ ได้ดว้ ยเช่นกัน แนวโน้มสถานการณ์ขา้ วปี 2556 สําหรับแนวโน้มสถา นการณ์ขา้ วไทยปี 2556 ยังเต็มไปด้วยปัจจัยเสี่ ยง เนื่องจากยังคงต้อง เผชิญกับความไม่แน่นอนในการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลก ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้ม เพิ่มสู งขึ้น หากพิจารณารายกลุ่มพบว่า ดัชนีความเชื่อมัน่ ในกลุ่มข้าวมีความเชื่อมัน่ ทางธุรกิจลดลง เนื่องจากต้นทุ นข้าวที่เพิ่มขึ้ น และขาดแคลนแรงงาน ค่าจ้างแรงงานซึ่งนับเป็ นข้อจํากัดอันดับ 1 ใน การดําเนินธุรกิจ ทั้งนี้จึงควรมีมาตรการแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานอย่างจริ งจัง รวมทั้งเพิ่มผลิตภาพ แรงงานให้สอดรับกับค่าจ้างที่มีแนวโน้มเพิม่ สูงขึ้น ขณะเดียวกันควรให้ความรู ้รวมทั้งช่องทางการ ปรับตัวรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไปพร้อมกันด้วย


44 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป จากสถานการณ์ของกลุ่มธุรกิจข้าว ประเทศไทยมีแนวโน้มในการผลิตข้าวลดลงอย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากภายหลังจากเหตุการณ์น้ าํ ท่วมในปี 2554 เกษตรกรหันไปปลูกพืชอย่างอื่นแทน สําหรับต้นทุนในการผลิตข้าวของไทย เป็ นสัดส่ วนต้นทุนที่สูงที่สุด สถานการณ์ดา้ นราคาข้าวใน ตลาดส่ งออกของไทยมีการยกระดับราคาข้าวเปลือกภายในประเทศของรัฐตามนโยบายรับจํานํา ข้าวเปลือก ซึ่งส่ งผลให้ตน้ ทุนการส่ งออกข้าวไทยปรับตัวสูงขึ้น ด้านการส่ งออกข้าวของประเทศไทย มีการส่ งออกข้าวในกลุ่มอาเซียนเพียงร้อยละ 16 และนอกกลุ่มอาเซียนถึงร้อยละ 84 จึงควรเร่ ง ยกระดับพัฒนาข้าวไทยโดยเน้นเรื่ องคุณภาพมาตรฐานและวิจยั ข้าวพันธ์ใหม่ การ สต็อกข้าวสูงถึง 14 ล้านตันเนื่องจากมีการส่ งออกในปริ มาณลดลง จากเหตุการณ์น้ าํ ท่ วมในปี 2554 ส่ งผลให้ผลผลิตจาก การปลูกข้าวสู ญเสี ยเป็ นจํานวนมาก ทําให้กลุ่มเกษตรกรในภาคกลางส่ วนใหญ่มีภาระหนี้สินจากการ ลงทุน และผลจากการที่ ประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งอาจทําให้ประเทศไทยเกิด ข้อเสี ยเปรี ยบในได้การส่ งออกข้าว เนื่องจากประเทศคู่แข่งทางการค้าข้าวในตลาดอาเซียนของไทยคือ ประเทศเวียดนามมีจุดแข็งในด้านการผลิตและการตลาด จากการวิเคราะห์ความสามารถในการทํากําไรและความมัน่ คงทางการเงินของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี พบว่าจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วน ความสามารถในการทํากําไรของกลุ่มธุรกิจข้าวพบว่า ในปี 2553 มีอตั ราส่ วนความสามารถในการทํา กําไรลดลง เนื่องจากในช่วงปลายปี 2553ผลผลิตข้าวเปลือกที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวออกสู่ตลาดลดลง เพราะผลผลิตบางส่ วนได้รับความเสี ยหายจากสภาพอากาศที่แปรปรวน ประกอบกับคุณภาพ ข้าวเปลือกลดลงเพราะได้รั บความเสี ยหายจากฝนที่ตกหนัก จึงส่ งผลให้ราคาข้าวเปลือกอ่อนตัวลง และในปี 2554 มีอตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรเพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาข้าวมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง จึงทําให้กาํ ไรโดยรวมมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจากแหตุการณ์น้ าํ ท่วมในช่วงปลายปี 2554 รวมถึงโครงการรับจํานําข้าวของรัฐบาลที่เปิ ดรับจํานําข้าวเปลือกในราคาที่สูง เพื่อช่วยเกษตรกรที่รับ ผลกระทบจากอุทกภัย และจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนวัดภาระหนี้สินของกลุ่มธุรกิจข้าวพบว่า ในปี 2553 มีอตั ราส่ วนวัดภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น ซึ่งจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนขความสามารถในการทํากําไร ในปี 2553 กลุ่มธุรกิจข้าวมีผลกําไรลดลง ส่ งผลให้กลุ่มธุรกิจข้าวมีการก่อหนี้มากขึ้นเพื่อชดเชยกําไร ที่ลดลงดังกล่าว และจากการวิเคราะห์อตั ราส่ วนความสามารถในการทํากําไรในปี 2554 พบว่ากลุ่ม


45 ธุรกิจข้าวมีผลกําไรเพิ่มขึ้น ซึ่งส่ งผลให้กลุ่มธุรกิจข้าวมีความสามารถในการชําระหนี้มากขึ้น จึงทําให้ อัตราส่ วนวัดภาระหนี้สินลดลงจากปี 2553 จากการศึกษาปั จจัยบวกที่ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าวได้แก่ ด้าน นโยบาย ประกันรายได้เกษตรกรผูป้ ลูกข้าวจากรัฐบาล ช่วยยกระดับราคาขายข้าวให้ ด้าน ภูมิประเทศและ อุณหภูมิของประเทศไทย ที่เอื้อต่อการปลูกข้าว ซึ่งส่ งผลให้ประเทศไทยสามารถผลิตข้าวได้ใน ปริ มาณมาก และการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็ นการขยายช่องทางและโอกาสของสิ นค้าไทย ในการเข้าถึงตลาดได้มากขึ้น สําหรับการศึกษาปัจจัยลบที่ส่งผล กระทบต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจ ข้าวได้แก่ ด้านคุณภาพ การผลิตที่ลดลงของข้าวไทย การปรับขึ้นของค่าแรงขั้นตํ่าส่ งผลให้ตน้ ทุน ค่าแรงของกลุ่มธุรกิจข้าวทัว่ ประเทศปรับเพิ่มขึ้น การปรับขึ้นของค่าเช่าที่นา ทําให้ชาวนาที่เช่าพื้นที่ นาเพาะปลูกข้าวมีค่าใช้จ่ายสู งขึ้น อาชีพชาวนาลดลง ส่ งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงานภาค การเกษตร นโยบายรับจํานําข้าวของรัฐบาลซึ่งอาจมีการทุจริ ตที่อาจเกิดขึ้นได้ ถ้าโรงสี บางแห่ ง ลักลอบนําข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาสวมสิ ทธิเป็ นข้าวไทย นโยบายเรื่ องการส่ งเสริ มพลังงาน ทดแทน ส่ งผลให้ปริ มาณการขายข้าวภายในประเทศลดลง ภัยธรรมชาติจากเหตุการณ์น้ าํ ท่วมเมื่อปี 2554 ส่ งผลให้ผลผลิตข้าวของไทยลดลงอาจเกิดปัญหาผลผลิตข้าวขาดช่วง และการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน จะส่ งผลให้การแข่งขันขายข้าวรุ นแรงมากขึ้น ขณะที่ตน้ ทุนการปลูกและผลผลิตต่อ ไร่ ของข้าวไทยยังสู งมาก ข้อเสนอแนะ “ข้าว” ซึ่งนับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศไทย ดังนั้นจาก วิกฤตการณ์อาหารน่าจะเป็ นโอกาสที่ดีของประเทศไทยมากกว่าที่ได้เกิด “วิกฤตการณ์อาหารโลก ” ขึ้นเนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศผูผ้ ลิตอาหารส่ งออกที่สาํ คัญของโลก อีกทั้งประเทศไทยยังมี พื้นที่นิเวศอันอุดมสมบูรณ์ อีกทั้งรัฐบาลควรกําหนดมาตรการเพื่อวางนโยบายและดําเนินการอย่างถูกต้อง เพื่อป้ องกัน ความเดือดร้อนจากราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้นและไม่สอดคล้องกับรายได้ของประชาชน เพื่อปรับปรุ ง ประสิ ทธิภาพและรักษาไว้ซ่ ึงความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่อส่ งเสริ มผูท้ ี่ เป็ นเกษตรกรและผูผ้ ลิตให้คงได้รับผลประโยชน์จากภาคการตลาด ส่ วนประชาชนผูบ้ ริ โภคทั้งหลาย ก็ตอ้ งเข้าถึงอาหารทั้งโอกาสและการกระจายรายได้ที่เพิม่ ขึ้นเช่นกัน


46 เรื่อง มาตรการส่ งเสริมทางภาษีและสหกรณ์ เพือ่ สร้ างความยัง่ ยืนให้ กบั ผลผลิตกาแฟไทย ทีม่ าและความสํ าคัญ กาแฟเป็ นหนึ่งในอาหารว่างยามเช้าที่ได้รับความยอดนิยมจากคนทัว่ โลกมาเป็ นเวลานานและ เป็ นเครื่ องดื่มที่นิยมแพร่ หลายไปทัว่ โลก ซึ่งนอกจากรสชาติที่ละมุนลึกลํ้าแล้ว ยังมีสรรพคุณมากมาย เช่น ช่วยกระตุน้ ให้สมองตื่นตัว ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพของงานที่ตอ้ ง การสมาธิ การใช้เหตุผลและ ความจํา ลดความหงุดหงิด อารมณ์ซึมเศร้าและความเครี ยดได้ กระตุน้ การใช้พลังงานของร่ างกาย ทํา ให้ไขมันสลายตัวเพิ่มขึ้น กระตุน้ การหลัง่ กรดและนํ้าย่อย กาแฟจึงเป็ นเครื่ องดื่มที่คนจํานวนมากนิยม ดื่มหลังอาหารแต่ละมื้อ เนื่องด้วยข้อมูลที่มาจากนิตยส าร Good Magazine ได้รายงานว่า กาแฟ มีโอกาสที่จะขาด แคลนในอนาคต อันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศวงจรฝนที่เปลี่ยนไป ส่ งผลกระทบต่อภูมิภาคต่างๆที่ ปลูกกาแฟ ดังเช่นที่ประเทศบราซิล เวียดนาม แอฟริ กา เป็ นต้น ทําให้ผลผลิตกาแฟไม่เพียงพอต่อ ความต้องการเห็นได้จากราคากาแฟที่สูงขึ้นอย่างมากเนื่องจากผลผลิตกาแฟที่ลดลง ปั ญหาวิกฤตอาหารที่โลกเผชิญอยูใ่ นปั จจุบนั ส่ งผลให้องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ หรื อเอฟเอโอ กําหนดให้วนั ที่ 16 ตุลาคม ของทุกปี เป็ น "วันอาหารโลก" คําขวัญในวัน อาหารโลกประจําปี 2555 ว่า “สหกรณ์การเกษตร เป็ นกุญแจหล่อเลี้ยงชาวโลก ” ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปยังองค์การอาหารและ การเกษตรแห่ งสหประชาชาติ ถนนพระอาทิตย์ ทรงเปิ ดงานวันอาหารโลกปี 2555 สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระราชดํารัสว่า “กิจการสหกรณ์เป็ นทางแก้ไขปั ญหา ภาวะขาดแคลนอาหารของโลก สื บเนื่องจากความต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ทางด้านการผลิต อาหารมีขอ้ จํากัดเกิดขึ้นหลายอย่าง ซึ่งกิจการสหกรณ์สามารถเพิม่ ประสิ ทธิภาพทางการผลิต ซึ่งเท่ากับเป็ นการเพิ่มปริ มาณอาหารโลกให้เพิ่มมากขึ้น โดยประเทศไทยได้ส่งเสริ มกิจการสหกรณ์ เพื่อการเกษตรมาตลอดผ่านทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น มีการจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์ ส่ งผลให้เกษตรกรไทยมีความสําคัญในฐานะผูผ้ ลิตอาหารป้ อนโลก และจะยังส่ งเสริ ม ให้มีการรวมตัวก่อตั้งกลุ่มสหกรณ์เพิ่มขึ้นด้วย”


47 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ศกั ยภาพการผลิตเมล็ดกาแฟของไทยในปัจจุบนั 2. เพื่อศึกษาข้อตกลงและมาตรการการส่ งเสริ มทางภาษีของกาแฟที่มีผลตามข้อผูกพันกับ ทางองค์การการค้าโลกและเขตการค้าเสรี อาเซียน 3. เพื่อศึกษาวิธีการการแก้ไขปั ญหาความขาดแคลนของกาแฟไทยที่อาจเกิดขึ้นด้วยการ จัดตั้งสหกรณ์ ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. สามารถนําข้อมูลไปใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนและปรับปรุ งเกี่ยวกับการดําเนินงานที่ เกี่ยวข้องในธุรกิจกาแฟไทย 2. บุคคลทัว่ ไปสามารถนําข้อเท็จจริ งที่ได้จากการทําปัญหาพิเศษนี้เพื่อให้ทราบถึงการ เปลี่ยนแปลงในปั จจุบนั ที่กาํ ลังจะเกิดขึ้นและส่ งผลกระทบกับการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะกลุ่มผูป้ ลูก และกลุ่มผูบ้ ริ โภคกาแฟจะเป็ นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด 3. นักวิชาการหรื อผูท้ ี่สนใจที่เกี่ยวกับเมล็ดกาแฟนําผลสรุ ปและผลการวิเคราะห์ของการทํา ปัญหาพิเศษนี้ไปใช้เพื่อเป็ นแนวทางสําหรับการแก้ปัญหาต่อไป 4. ใช้เป็ นข้อมูลสําหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นาํ ไปวางแผนเพื่อรับมือกับปัญหาที่ เกิดขึ้น และปรับปรุ งให้ผลผลิตเมล็ดกาแฟมีคุณภาพและเพียงพอต่อความต้องการในประเทศก่อนที่จะทําการ ส่ งออก ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษา เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหาความขาดแคลนเมล็ดกาแฟ ศักยภาพการผลิตเมล็ดกาแฟของไทยในปัจจุบนั ข้อตกลง มาตรการการส่ งเสริ มทางภาษีของกาแฟ


48 โดยจะทําการศึกษา 2 พันธกรณี คือ องค์การการค้าโลกและเขตการค้าเสรี อาเซียน และศึกษาวิธีการ แก้ไขปั ญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับธุรกิจกาแฟของไทยด้วยการจัดตั้งสหกรณ์ วิธีการศึกษา 1. ระดับปฐมภูมิ (Primary Level) เก็บรวบรวมข้อมูลจากการเรี ยนรู ้ การสอบถามจาก บุคคลากรในสหกรณ์ปลูกกาแฟชุมพร อีกทั้งการสังเกตกระบวนการ และขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน พร้อมทั้งเยีย่ มชมไร่ กาแฟ เพื่อศึกษาข้อมูลในเบื้องต้น 2. ระดับทุติยภูมิ (Secondary Level) ทําการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากหนังสื อ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ของสหกรณ์ผปู ้ ลูกกาแฟชุมพร และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกาแฟ เนือ้ หาการสั มมนา ศักยภาพของไทยกับการแข่งขันในระดับภูมิภาคของสิ นค้ากาแฟ ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพการผลิตเ มล็ดกาแฟของไทยในปี 2555 แบ่งเป็ นผลการวิเคราะห์ใน แต่ละด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ด้านการผลิต สถานการณ์การผลิตกาแฟของประเทศไทย แหล่งผลิตกาแฟที่สาํ คัญทางภาคกลางและ ภาคใต้มีเนื้อที่การปลูกกาแฟลดลง เนื่องจากมีการโค่นต้นกาแฟบางส่ วนทิ้ง รวมถึงสภาพแวดล้อมที่ ไม่เอื้ออํานวย ราคากาแฟที่ตกตํ่า ต้นทุนในการปลูกกาแฟที่สูง แต่แหล่งผลิตกาแฟทางภาคเหนือของ ประเทศไทยมีเนื้อที่การปลูกกาแฟเพิ่มขึ้น โดยในแหล่งผลิตที่สาํ คัญในจังหวัดเชียงราย และเชียงใหม่ มีการส่ งเสริ มจากภาครัฐและเอกชนให้เกษตรกรปลูกเพิ่มขึ้นทุก ปี ประกอบกับสภาพภูมิอากาศที่ เอื้ออํานวย แต่ผลผลิตในภาพรวมทั้งประเทศลดลงตามการลดลงของเนื้อที่ให้ผล โดยมีขอ้ มูลดัง แผนภูมิต่อไปนี้


49 เนือ้ ทีใ่ ห้ ผลกาแฟของไทย(ไร่ ) 400,000

388,662

365,337 359,489 322,896

350,000

306,112

300,000 250,000 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ภาพที่ 2-3 เนื้อที่ให้ผลกาแฟของไทย ทีม่ า: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556 ผลผลิตกาแฟของไทย(ตัน) 65,000 55,000 45,000

50,442

56,315 48,955

42,394 41,461

35,000 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ภาพที่ 2-4 ผลผลิตกาแฟของไทย ทีม่ า: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556 ผลผลิตเมล็ดกาแฟในประเทศไทยร้อยละ 85 เป็ นพันธุ์โรบัสตาปลูกในภาคใต้ และอีกร้อย ละ 15 ของผลผลิตทั้งหมดเป็ นพันธุ์อาราบิกาจะปลูกในภาคเหนือ การเปรี ยบเทียบศักยภาพการผลิตกาแฟไทยกับประเทศเวียดนามซึ่งเป็ นผูผ้ ลิตกาแฟ อันดับ 1 ของโลก (เมื่อเดือนตุลาคม 2555) พบว่า ด้านการผลิต เวียดนามมีศกั ยภาพสูงกว่าไทยมาก โดยมีพ้ืนที่มากกว่าไทย 9 เท่า มีผลผลิตมากกว่า 21 เท่า และมีผลผลิตต่อไร่ มากกว่า 3 เท่า


50 2. ด้านต้นทุนและผลตอบแทน ต้นทุนการผลิตกาแฟในช่วงปี 2551-2555 เพิม่ ขึ้นจาก 5,078.25 บาทต่อไร่ ในปี 2551 เป็ น 6,238.02 บาทต่อไร่ ในปี 2555 หรื อเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.86 และต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมเพิ่มขึ้นจาก 39.06 บาทต่อกิโลกรัมในปี 2551 เป็ น 46.17 บาทต่อกิโลกรั มในปี 2555 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ ย และค่ายาปราบศัตรู พืช ต้ นทุนการผลิตเมล็ดกาแฟของไทย 8,000

บาท/ไร่

6,000 4,000 2,000

5,078 3,887

6,161

5,962

6,238

4,296

4,581

4,755

5,639

4,867

1,191

1,294

1,343

1,382

1,484

ปี 2551

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

ต้นทุน ทั้งหมด ต้นทุนผัน แปร

0

ภาพที่ 2-5 ต้นทุนการผลิตเมล็ดกาแฟของไทย ทีม่ า: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556 เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเวียดนามที่ภาครัฐให้การสนับสนุนการปลูกกาแฟเป็ นอย่าง มากโดยการที่ภาครัฐมีการแจกปุ๋ ยชีวภาพแก่เกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟ จึงทําให้ตน้ ทุนในการปลูกกาแฟ ของประเทศเวียดนามน้อยกว่าไทย ถึงกิโลกรัมละ 12 บาท 3. ด้านความต้องการใช้เมล็ดกาแฟ ปี 2551-2555 ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรู ปเพิ่มขึ้นจาก 57,500 ตัน ในปี 2551เป็ น 67,628 ตัน ปี ในปี 2555 หรื อเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.69 ต่อปี ทั้งนี้เนื่องจากกระแสความนิยมดื่ม กาแฟคัว่ บด และกาแฟสําเร็ จรู ปเพิ่มขึ้น คาดว่าในปี 2556 ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโร งงาน แปรรู ป 70,000 ตัน เพิม่ ขึ้นจากปี ที่แล้วร้อยละ 3.51 เกิดจากการขยายตัวของโรงงานแปรรู ปเนื่องจาก การบริ โภคที่เพิ่มขึ้น


51 ความต้ องการใช้ เมล็ดกาแฟของโรงงาน ปริมาณ (ตัน)

70,000 57,500

60,000

53,803

58,000

67,628

61,480

50,000 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ภาพที่ 2-6 ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงาน ทีม่ า: กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิ ชย์, 2556 4. ด้านการส่ งออกและนําเข้า ปี 2551-2555 การส่ งออกเมล็ดกาแฟของไทยเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากปริ มาณ 1,662 ตัน มูลค่า 151 ล้านบาท ในปี 2551 เป็ น 2,690 ตัน มูลค่า 237 ล้านบาทในปี 2555 หรื อเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.39 และ 17.56 ต่อปี ตามลําดับ คาดว่าการส่ งออกเมล็ดกาแฟปี 2556 จะลดลงจากปี ที่แล้ว เนื่องจาก ความต้องการเมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรู ปในประเทศเพิ่มขึ้น ประกอบกับผลผลิตในประเทศลดลง ทําให้เมล็ดกาแฟในประเทศมีไม่เพียงพอ ปริมาณการส่ งออกเมล็ดกาแฟ (ตัน) 2,690

3,000 2,500 2,000

1,662

1,500 1,000

535

381

500

856

2550-2551

2551-2552

2552-2553

ภาพที่ 2-7 ปริ มาณการส่ งออกเมล็ดกาแฟ หมายเหตุ * ประมาณการ ทีม่ า: กรมศุลกากร, 2556

2553-2554

2554-2555*


52 มูลค่ าการส่ งออกเมล็ดกาแฟ (ล้ านบาท) 250 200

151

131

150 100

237

77

64

50 2550-2551

2551-2552

2552-2553

2553-2554

2554-2555*

ภาพที่ 2-8 มูลค่าการส่ งออกเมล็ดกาแฟ หมายเหตุ * ประมาณการ ทีม่ า: กรมศุลกากร, 2556 ปี 2551-2555 การนําเข้าเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้นจากปริ มาณ 14,815 ตัน มูลค่า 1,184 ล้านบาท ใน ปี 2551 เป็ นปริ มาณ 32,629 ตัน และมูลค่า 2,409 ล้านบาท ในปี 2555 หรื อเพิม่ ขึ้นร้อยละ 38.51 และ 39.87 ตามลําดับ เนื่องจากผลผลิตในประเทศไม่เพียงพอ คาดว่าจะมีการนําเข้าเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้น เกิดจากผลผลิตในประเทศลดลงแต่ความต้องการของโรงงานเพิ่มขึ้น ทําให้ผลผลิตในประเทศไม่ เพียงพอ ปริมาณการนําเข้ าเมล็ดกาแฟ(ตัน) 40,000

34,851

35,000

32,629

30,000 25,000 20,000 15,000

14,815

14,621 6,503

10,000 5,000 2550-2551

2551-2552

ภาพที่ 2-9 ปริ มาณการนําเข้าเมล็ดกาแฟ หมายเหตุ * ประมาณการ ทีม่ า: กรมศุลกากร, 2556

2552-2553

2553-2554

2554-2555*


53 มูลค่ าการนําเข้ าเมล็ดกาแฟ(ล้ านบาท) 2,734

3,000 2,500

2,409

2,000 1,500

1,184

1,000

862 395

500 2550-2551

2551-2552

2552-2553

2553-2554

2554-2555*

ภาพที่ 2-10 มูลค่าการนําเข้าเมล็ดกาแฟ หมายเหตุ * ประมาณการ ทีม่ า: กรมศุลกากร, 2556 ศักยภาพในการแข่งขันสิ นค้ากาแฟพบว่า เมล็ดกาแฟของไทยอยูใ่ นกลุ่มสิ นค้าที่มีปัญหาและ เป็ นกลุ่มที่ตอ้ งปรับตัวให้อยูร่ อด เนื่องจากปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตเมล็ดกาแฟ ได้แก่ ศักยภาพการผลิต ราคาที่เกษตรกรได้รับ ราคาขายส่ งปุ๋ ย เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามประเทศ ไทยมีศกั ยภาพการผลิตที่ต่าํ กว่า ทั้งในด้านสภาพแวดล้อมการปลูกกาแฟประเทศไทยมีพ้ืนที่ที่ เหมาะสมกับการปลูกกาแฟเพียงภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย จึงทําให้ประเทศไทยมีพ้ืนที่ ในการปลูกกาแฟน้อย และประเทศไทยยังขาดการสนับสนุนจากภาครัฐทั้งในด้านราคาที่เกษตรกร ได้รับและด้านราคาปุ๋ ย ทั้งนี้ราคาที่เกษตรกรได้รับยังมีราคาที่ต่าํ เพราะเกษตรกรมีตน้ ทุนในการปลูก กาแฟที่สูง อันเนื่องมาจากราคาปุ๋ ยที่แพงถ้าเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดน ามแล้ว ประเทศเวียดนามภาครัฐได้ให้การสนับสนุนการปลูกกาแฟเป็ นอย่างมากโดยการที่ภาครัฐมีการแจก ปุ๋ ยชีวภาพแก่เกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟ จึงทําให้ตน้ ทุนในการปลูกกาแฟตํ่า ดังนั้น ราคาของกาแฟใน ประเทศเวียดนามจึงตํ่ากว่าของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก ส่ งผลให้ประเทศไทย มีความสามารถใ น การแข่งขันอยูใ่ นระดับตํ่า อีกทั้งการส่ งออกเมล็ดกาแฟของไทยมีอตั ราเติบโตที่ต่าํ กว่าการนําเข้าเมล็ด กาแฟ เนื่องจากการบริ โภคและความต้องการของโรงงานภายในประเทศมีเพิ่มขึ้น รวมทั้งการผลิต เมล็ดกาแฟของไทยมีตน้ ทุนที่ 46 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งสูงกว่าของเวียดนามที่มีตน้ ทุนเพียงแค่ 35 บาท


54 ปัจจัยด้านข้อตกลงและทางภาษีมีผลกระทบต่อสิ นค้ากาแฟอย่างไร ผลกระทบจากข้อตกลงการเปิ ดการตลาดสิ นค้ากาแฟ ภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียน ซึ่งมีผล บังคับใช้ต้ งั แต่ปี 2553 ทําให้ภาษีนาํ เข้าของประเทศไทยสําหรับเมล็ดกาแฟจะเหลือเพียง 5 เปอร์เซ็นต์ จึงทําให้เกษตรกรและผูส้ ่ งออกมีโอกาสในการขายที่ตลาดใหญ่ข้ ึน ในราคาที่สูงขึ้น เพื่อให้ผลผลิตมี ขีดความสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ ในขณะเดียวกันต้องเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ให้สูงขึ้น ผลกระทบ ต่อเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟ จากปั ญหาพื้นที่ปลูกกาแฟโรบัสต้าที่ลดลงในทุกปี อันเนื่อ งจากราคากาแฟ ในตลาดโลกระยะ 4-5 ปี ที่ผา่ นมาตกตํ่ามาก ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น เกษตรกรบางส่ วนจึง ได้ปรับเปลี่ยนไปสู่ การปลูกพืชชนิดอื่น ทําให้กาแฟไม่เพียงพอต่อความต้องการ ผลการวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากข้อตกลงและมาตรการการส่ งเสริ มทางภาษีของกาแฟ ที่มีผลตามข้อผูกพันกับทางองค์การการค้าโลกและเขตการค้าเสรี อาเซียน ซึ่งแบ่งเป็ นด้านที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านเกษตรกร ในส่ วนของเกษตรกรไทยที่ผลิตเมล็ดกาแฟ การลดอัตราภาษีนาํ เข้าเมล็ดกาแฟจะส่ งผล กระทบต่อเกษตรกรไทยทําให้เผชิญกับการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงมากขึ้ น โดยเฉพาะอย่างยิง่ เวียดนามซึ่งถือเป็ นผูค้ า้ รายใหญ่ที่มีตน้ ทุนในการผลิตตํ่ากว่าไทยมาก แต่ท้ งั นี้ไทยยังมีขอ้ ได้เปรี ยบ จากเวียดนามในเรื่ องของเมล็ดกาแฟที่มีคุณภาพ และมาตรฐานที่แตกต่างจากเมล็ดกาแฟของประเทศ เพื่อนบ้าน ซึ่งตรงกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคในประเทศและต่ างประเทศ ส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการ แปรรู ปในประเทศยังคงต้องการเมล็ดกาแฟของไทย ดังนั้น เกษตรกรไทยควรที่จะรักษาข้อได้เปรี ยบ ในส่ วนนี้ไว้ โดยต้องตระหนักอยูเ่ สมอว่าคู่แข่งก็มีการพัฒนาคุณภาพของเมล็ดกาแฟด้วยเช่นกัน 2. ด้านผูป้ ระกอบการโรงงานแปรรู ปผลิตภัณฑ์กาแฟ ผูป้ ระกอบการแปรรู ปจะได้รับผลกระทบไม่มากนัก และมีแนวโน้มว่าหากมีการเปิ ด นําเข้าเสรี ภายใต้กรอบ เขตการค้าเสรี อาเซียน ผูป้ ระกอบการบางรายจะหันไปนําเข้าเมล็ดกาแฟจาก ประเทศเพื่อนบ้านเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีราคาถูกกว่า ซึ่งส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิตกาแฟสําเร็ จรู ปและ ผลิตภัณฑ์ของผูป้ ระกอบการในประเทศถูกลง อย่างไรก็ตามการแข่งขันในส่ วนนี้จะเน้นในเรื่ องของ


55 รสชาติและรสนิยมของผูบ้ ริ โภคมากกว่า และกาแฟสําเร็ จรู ปของไทยยังมีความได้เปรี ยบในเรื่ องของ รสชาติ และคุณภาพที่ดีกว่าประเทศอื่นๆในอาเซียน การแปรรู ปผลิตภัณฑ์ที่ทาํ จากเมล็ดกาแฟที่ปลูก โดยเก ษตรกรของไทยนั้น ย่อมให้รสชาติและความหอมที่เป็ นเอกลักษณ์กว่า ดังนั้นก็ยงั มี ผูป้ ระกอบการแปรรู ปบางรายที่ยงั ให้การสนับสนุนและต้องการเมล็ดกาแฟของไทยที่ปลูกโดยเกษตร ไทยเช่นกัน 3. ด้านผูบ้ ริ โภค ปั จจุบนั พฤติกรรมการดื่มกาแฟของคนไทยมีอตั ราเพิ่มขึ้นเป็ นประมาณ 233 แก้วต่อ ปี จาก 50 แก้วต่อปี เมื่อ 10 ปี ที่ผา่ นมา จึงคาดว่า จากการเปิ ดเสรี การนําเข้ากาแฟสําเร็ จรู ปตามกรอบ ข้อตกลง เขตการค้าเสรี อาเซียน ทําให้ผบู ้ ริ โภคในประเทศมีทางเลือกในการเลือกซื้อกาแฟสําเร็ จรู ป มาบริ โภคมากขึ้นไม่วา่ จะเป็ นกาแฟสําเร็ จรู ปที่ผลิตในประเทศ หรื อกาแ ฟสําเร็ จรู ปที่นาํ เข้ามาจาก ต่างประเทศ โดยเฉพาะผูบ้ ริ โภคที่เน้นปัจจัยทางด้านราคาเป็ นสําคัญจะมีทางเลือกที่หลากหลายจาก กาแฟนําเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีราคาถูกกว่า อย่างไรก็ตาม ยังคงมีผบู ้ ริ โภคบางรายที่นิยม บริ โภคกาแฟสําเร็ จรู ปของไทยซึ่งมีคุณภาพ และรสชาติที่เป็ นที่นิยม ปั จจุบนั ผลผลิตกาแฟที่ผลิตได้ในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ในประเทศ เนื่องจากปริ มาณการผลิตลดลง สวนทางกับปริ มาณความต้องการเพิ่มขึ้น เพราะกระแสความนิยมดื่ม กาแฟในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยที่มีส่วนสนับสนุนและผลักดันเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟก็คือ “สหกรณ์” นัน่ เอง เนื่องจากราคากาแฟในตลาดโลกระยะ 4-5 ปี ที่ผา่ นมาตกตํ่ามาก ประกอบกับต้นทุนการ ผลิตที่สูงขึ้น เกษตรกรบางส่ วนจึงได้ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น เช่น ยางพารา ปาล์มนํ้ามัน ที่ให้ ผลตอบแทนสู งกว่า ทําให้ผลผลิตกาแฟไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดด้วยเหตุน้ ี 2 ปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยจึงได้มีการนําเข้ากาแฟปี ละกว่าหมื่นตัน มูลค่ากว่าพันล้านบาทจึงจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ ง พัฒนาการผลิตกาแฟไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ ด้วยเหตุน้ ีกรมส่ งเสริ มสหกรณ์จึงได้ส่งเสริ ม ให้มีการจัดตั้งสหกรณ์กาแฟ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจและ สังคม โดยการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยตํ่าในการจัดซื้อเมล็ดกาแฟ สหกรณ์ยงั มี บทบาทในการช่วยลดต้นทุนของเกษตรกรและการจัดซื้อเมล็ดกาแฟจากสมาชิกสหกรณ์ผปู ้ ลูกกาแฟ


56 ทําให้ผปู ้ ลูกกาแฟได้รับราคาที่เป็ นธรรมและเป็ นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบั นเกษตรกร รวมทั้ง สามารถลดผลกระทบจากการเปิ ดตลาดภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียนได้ระดับหนึ่ง พร้อมทั้งเป็ นการ ส่ งเสริ มและพัฒนาธุรกิจกาแฟของสถาบันเกษตรกร บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ศักยภาพในการแข่งขันสิ นค้ากาแฟพบว่า เมล็ดกาแฟของไทยอยูใ่ นกลุ่มสิ นค้าที่มีปัญหาและ เป็ นกลุ่มที่ตอ้ งปรับตัวให้อยูร่ อด เนื่องจากปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตเมล็ดกาแฟ ได้แก่ ศักยภาพภาพ การผลิต ราคาที่เกษตรกรได้รับ ราคาขายส่ งปุ๋ ย เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่ างเวียดนาม ประเทศไทยมีศกั ยภาพการผลิตที่ต่าํ กว่า ทั้งในด้านสภาพแวดล้อมการปลูกกาแฟประเทศไทยมีพ้ืนที่ ที่เหมาะสมกับการปลูกกาแฟเพียงภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย จึงทําให้ประเทศไทยมีพ้ืนที่ ในการปลูกกาแฟน้อย อีกทั้งคุณภาพของเมล็ดกาแฟไทยยังด้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศ ไทยยังขาดการสนับสนุนจากภาครัฐทั้งในด้านราคาที่เกษตรกรได้รับและด้านราคาปุ๋ ย ทั้งนี้ราคา ที่เกษตรกรได้รับยังมีราคาที่ต่าํ เพราะเกษตรกรมีตน้ ทุนในการปลูกกาแฟที่สูง อันเนื่องมาจากราคาปุ๋ ย ที่แพงถ้าเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามแล้ว ประ เทศเวียดนามภาครัฐให้ การสนับสนุนการปลูกกาแฟเป็ นอย่างมากโดยการที่ภาครัฐมีการแจกปุ๋ ยชีวภาพแก่เกษตรกรผูป้ ลูก กาแฟ จึงทําให้ตน้ ทุนในการปลูกกาแฟตํ่าและทําให้กาแฟของเวียดนามมีคุณภาพดี ดังนั้นราคาของ กาแฟในประเทศเวียดนามจึงตํ่ากว่าของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก ส่ งผลให้ประเทศไทย มีความสามารถในการแข่งขันอยูใ่ นระดับตํ่า อีกทั้งการส่ งออกเมล็ดกาแฟของไทยมีอตั ราเติบโตที่ต่าํ กว่าการนําเข้าเมล็ดกาแฟ เนื่องจากการบริ โภคของโรงงานภายในประเทศมีเพิ่มขึ้น รวมทั้งการผลิต เมล็ดกาแฟของไทยมีตน้ ทุนที่ 46 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งสูงกว่าของเวียดนามที่มีตน้ ทุนเพียงแค่ 35 บาท นอกจากนี้ยงั มีปัจจัยด้านผลผลิตต่อไร่ ที่ยงั คงตํ่า จึงทําให้ส่วนแบ่งการตลาดของไทยสู ้ เวียดนามไม่ได้ และยังมีปัจจัยทางด้านข้อตกลงและมาตรการส่ งเสริ มทางภาษีขององค์การค้าโลกและ เขตการค้าเสรี อาเซียน ผลกระทบจากข้อตกลงการเปิ ดตลาดสิ นค้ากาแฟภายใต้ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน ซึ่งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่ ปี 2553 พบว่าประเทศไทยมีการนําเข้าเมล็ดกาแฟมากกว่าปี ที่ยงั ไม่มี ผลบังคับใช้ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรี ซึ่งภายใต้ขอ้ ตกลงมีมาตรการภาษีนาํ เข้าส่ วนเมล็ดกาแฟจะเหลือ เพียง 5% โดยในปี พ.ศ. 2552 มีการนําเข้าเมล็ดกาแฟจํานวน 233,924 ตัน เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี


57 พ.ศ. 2555 มีการนําเข้าเมล็ดกาแฟจํานวน 1,933,529 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 12.10 ของปี พ.ศ. 2552 แต่ใน ด้านของการส่ งออกไม่ได้รับผลกระทบจากข้อตกลงและมาตรการส่ งเสริ มทางภาษีขององค์การค้า โลกและเขตการค้าเสรี อาเซียน ผลกระทบต่อเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟและจากปัญหาพื้นที่ปลูกกาแฟ โรบัสต้าที่ลดลงในทุกปี เนื่องจากราคากาแฟในตลาดโลกระยะ 4-5 ปี ที่ผา่ นมาตกตํ่ามาก ปร ะกอบกับต้นทุนการ ผลิตที่สูงขึ้น เกษตรกรบางส่ วนจึงได้ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น เช่น ยางพารา ปาล์มนํ้ามัน ที่ให้ ผลตอบแทนสู งกว่า ทําให้ผลผลิตกาแฟไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดด้วยเหตุน้ ี 2 ปี ที่ผา่ นมา ประเทศไทยจึงได้มีการนําเข้ากาแฟปี ละกว่าหมื่นตัน มูลค่ากว่ าพันล้านบาทจึงจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ ง พัฒนาการผลิตกาแฟไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ ด้วยเหตุน้ ีกรมส่ งเสริ มสหกรณ์จึงได้ส่งเสริ ม ให้มีการจัดตั้งสหกรณ์กาแฟ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนทั้งทางด้านเศรษฐกิจและ สังคม โดยการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนอัตราด อกเบี้ยตํ่าในการจัดซื้อเมล็ดกาแฟ สมาชิกสหกรณ์ กาแฟในภาคใต้และภาคเหนือยังต้องการได้รับการสนับสนุนทางด้านเงินทุนเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการ ดําเนินธุรกิจให้มีความเข้มแข็งยิง่ ขึ้น ดังนั้นภาครัฐควรมีนโยบายที่สนับสนุนในการจัดตั้งสหกรณ์ และเรื่ องเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ ยตํ่า สหกรณ์ยงั มีบทบาทในการช่วยลดต้นทุนของเกษตรกร และการจัดซื้อเมล็ดกาแฟจากสมาชิกสหกรณ์ผปู ้ ลูกกาแฟ ทําให้ผปู ้ ลูกกาแฟได้รับราคาที่เป็ นธรรม และเป็ นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร รวมทั้งสามารถลดผลกระทบจากการเปิ ดตลาด ภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียนได้ระดับหนึ่ง พร้อมทั้งเป็ นการส่ งเสริ มและพัฒนาธุรกิจกาแฟของ สถาบันเกษตรกร ข้อเสนอแนะ ด้านภาครัฐ ควรมีนโยบายการควบคุมการผลิตกาแฟที่ชดั เจนและแน่นอน เช่น การระบุพ้นื ที่ การผลิตกาแฟที่มีคุณภาพ การจัดระบบการตลาดให้ชดั เจนและยุติธรรม รวมทั้งสนับสนุนข้อมูล ข่าวสารทางการผลิ ตและการตลาดที่เหมาะสมให้แก่เกษตรกรและผูร้ ับซื้อ ส่ งเสริ มให้มีการใช้กาแฟ ในอุตสาหกรรมผลิตและการปลูกกาแฟ เพื่อการบริ โภคภายในประเทศให้เพียงพอก่อนที่จะทํา การส่ งออกและเมื่อมีผลผลิตมากเพียงพออาจนําไปสู่ การส่ งออกต่อไปรวมถึงการสนับสนุนสหกรณ์ กาแฟอย่างจริ งจัง


58 ด้านเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟควรรวมกลุ่มกันจัดตั้งสหกรณ์กาแฟเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการปลูกต้นกาแฟให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปรับปรุ งคุณภาพของกาแฟให้สอดคล้องกับ ความต้องการของบริ ษทั ผูแ้ ปรรู ป ศึกษา การใช้สายพันธุ์ที่เหมาะสมกับการผลิตในพื้นที่ที่มีศกั ยภาพ ต่อการผลิตกาแฟและเมื่อจัดตั้งสหกรณ์กาแฟก็จะสามารถจําหน่ายผลิตผลได้ในราคาที่เป็ นธรรมและ สหกรณ์น้ นั ยังเป็ นแหล่งเงินทุนที่สาํ คัญ รวมถึงทําให้มีอาํ นาจการต่อรองกับผูร้ ับซื้อยิง่ ขึ้นและจะทํา ให้มีการควบคุมคุณภาพของกาแฟที่จาํ หน่ายในกลุ่มเดียวกันให้มากขึ้นกระตุน้ ให้เกิ ดการพัฒนาและ การแข่งขัน รวมถึงการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟ


59 เรื่อง ผลกระทบของการลดภาษีนําเข้ านํา้ มันปาล์ มจากการเปิ ดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทีม่ ีต่อปาล์ มนํา้ มันในประเทศไทย ทีม่ าและความสํ าคัญ ปาล์มนํ้ามัน ถือเป็ นพืชเศรษฐกิจอย่างหนึ่งที่มีความสําคัญต่อประเทศไทยทั้งในแง่เศรษฐกิจ รวมถึงการช่วยสร้างความมัน่ คงทางด้านอาหารและด้านพลังงานของประเทศ โดยนํ้ามันปาล์ม บริ สุทธิ์ของไทยถือได้วา่ มีมาตรฐานการผลิตที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศผูผ้ ลิตปาล์มนํ้ามันและนํ้ามัน ปาล์มรายใหญ่ขอ งโลก ปั จจุบนั แม้วา่ ประเทศไทยจะสามารถผลิตนํ้ามันปาล์มได้เพียงพอต่อความ ต้องการใช้ภายในประเทศในด้านต่างๆแต่จากโครงสร้างการผลิตที่ส่วนใหญ่จะเป็ นเกษตรกรและ ผูป้ ระกอบการรายย่อยทําให้การผลิตนํ้ามันปาล์มของไทยมีตน้ ทุนที่สูงกว่าประเทศผูผ้ ลิตรายใหญ่ อย่างมาเลเซียและอินโดนีเซียซึ่งนับว่าเป็ นจุดอ่อนสําคัญที่จะมีผลกระทบต่อขีดความสามารถในการ แข่งขันของอุตสาหกรรมนํ้ามันปาล์มไทย สําหรับพันธกรณี การเปิ ดตลาดสิ นค้านํ้ามันปาล์มตามข้อตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA) ส่ งผลให้ประเทศไทยต้องปรับลดอัตราภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มดิบและนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์เหลือเพียง ร้อยละ 5 ในปี 2556 จากอัตราภาษีภายใต้ขอ้ ผูกพันสิ นค้าเกษตรขององค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่ง เดิมภาษีนาํ เข้าในโควตากําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 20 หากเป็ นภาษีนอกโควตากําหนดอัตราไว้ที่ร้อยละ 143 อย่างไรก็ตาม ในปี 2548 ได้มีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษี แต่หนั มาใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี หรื อ NTBs แทนด้วยการกําหนดให้องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) ในฐานะหน่วยงานของรัฐเป็ นผูน้ าํ เข้านํ้ามัน ปาล์มในอัตราภาษีร้อยละ 0 ได้เพีย งหน่วยงานเดียว ส่ วนการปรับลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มภายใต้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ที่ตอ้ งปรับลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0 ประเทศไทยยังคง สงวนการนําเข้าภายใต้องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) เหมือนกับการนําเข้าภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA) ในทางปฏิบตั ิเพื่อแก้ไขปั ญหาการขาดแคลนนํ้ามันปาล์มดิบ ในช่วง 1-2 ปี ที่ผา่ นมา รัฐบาล โดยองค์การคลังสิ นค้า ได้มีการนําเข้านํ้ามันปาล์มจากประเทศมาเลเซียเข้ามาเป็ นระยะๆส่ งผลกระทบ ต่อเกษตรกรชาวสวนปาล์มอย่างชัดเจน เนื่องจากนํ้ามันปาล์มดิบจากประเทศเพื่อนบ้านมีราคาถูกกว่า นํ้ามันปาล์มดิบไทย อาจจะมีเหตุผลส่ วนหนึ่งมาจากนโยบายของรัฐบาลที่กาํ หนดราคาประกันผล ปาล์มทะลายให้กบั เกษตรกรภายในประเทศ ส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิตนํ้ามันปาล์มดิบของโรงงานสกัด นํ้ามันปาล์มดิบไทยสู งกว่านํ้ามันปาล์มดิบจากมาเลเซียประกอบกับการทําสวนปาล์มในประเทศไทย


60 เป็ นระบบสวนขนาดเล็ก พันธุ์ปา ล์มนํ้ามันมีการพัฒนาน้อยกว่าพันธุ์ปาล์มของมาเลเซีย ต้นทุนการ ผลิตของประเทศไทยจึงสู งกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้นการปรับลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจึงส่ งผลกระทบต่อการผลิตปาล์มนํ้ามันและนํ้ามัน ปาล์มทั้งระบบอุตสาหกรรมต้นนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดย เฉพาะอย่างยิง่ เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์ม โรงสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ โรงกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ และผูบ้ ริ โภคในประเทศ ในแง่ที่วา่ จะต้องเผชิญกับสถานการณ์การขาดแคลนนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ มีราคาแพงเป็ นระยะๆ เนื่องจากกระทรวงพาณิ ชย์มีนโยบายไม่ยอมให้น้ าํ มันปาล์มบริ สุทธิ์ปรับขึ้นราคาตามต้นทุนการผลิตที่ เพิ่มขึ้นได้นอกจากนี้โอกาสที่ประเทศไทยจะพัฒนาพันธุ์ปาล์มนํ้ามันให้แข่งขันกับมาเลเซียและ อินโดนีเซียคงทําได้ยากขึ้น เนื่องจากเกษตรกรของไทยเป็ นเกษตรกรรายย่อย ขาดการบริ หารจัดการ และนโยบายที่มีประสิ ทธิภาพ ขณะที่ท้ งั สองประเทศดังกล่าวมีการทําสวนปาล์มแปลงขนาดใหญ่ผา่ น การบริ หารจัดการสวนที่ดี และอุตสาหกรรมการผลิตนํ้ามันปาล์มยังไม่ได้รับการปกป้ องจากรัฐบาล ด้วย จึงกล่าวได้วา่ นํ้ามันปาล์มของไทยเป็ นสิ นค้าที่อยูใ่ นภาวะเสี่ ยงเป็ นอย่างยิง่ หากมีการปรับลดภาษี เป็ นร้อยละ 0 และเปิ ดให้มีการนําเข้าได้โดยเสรี อย่างไ รก็ตาม แม้วา่ อัตราภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มของ ไทยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะลดลงเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบนั ไทย ยังคงมีมาตรการควบคุมการนําเข้านํามันปาล์มโดยกําหนดให้น้ าํ มันปาล์มเป็ นสิ นค้าที่ตอ้ งขออนุญาต นําเข้าเพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมปา ล์มนํ้ามันในประเทศซึ่งจะช่วยชะลอผลกระทบและ ยังคงมีระยะเวลาให้ผปู ้ ระกอบการไทยปรับตัวเพื่อลดต้นทุนเพิม่ ศักยภาพในการผลิตนํ้ามันปาล์มให้ สามารถแข่งขันกับผูผ้ ลิตรายใหญ่ในอาเซียนได้ภายหลังจากที่กา้ วเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 จากข้อมูลดังกล่าวข้าง ต้น ผูศ้ ึกษามีความเห็นว่าการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีความสําคัญและส่ งผลกระทบต่อประเทศไทยในด้านต่างๆ ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ เนื่องจากการเปิ ดการค้าเสรี น้ นั ทําให้มีจาํ นวนประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้ ทัดเทียมกับประเทศต่างๆ ในอาเซีย น ทําให้เกิดการแข่งขันด้านต่างๆ ในแต่ละประเทศเพิ่มมากขึ้น ด้วย เกิดการใช้ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม รวมถึงความต้องการด้านพืชผลทางการเกษตรและพืชพลังงาน ที่มากขึ้น เนื่องจากไม่มีการเรี ยกเก็บอัตราภาษีการนําเข้า โดยเฉพาะกรณี ของปาล์มนํ้ามันและนํ้ามัน ปาล์มบริ สุทธิ์ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เนื่องจากการลด ภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์ม ทําให้เกษตรกรและอุตสาหกรรมปาล์มในประเทศประสบปัญหา คือเกษตรกร ภายในประเทศเองไม่สามารถแข่งขันได้กบั ผูผ้ ลิตรายใหญ่อย่างประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย และ


61 ในที่สุดต้องเลิกกิจการไป ส่ งผลให้ในอนาคตนํ้ามันปาล์มในประเทศมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ส่ งผลให้ราคานํ้ามันปาล์มจะปรับตัวสูงขึ้น เกิดความไม่มน่ั คงทางอาหารจากทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจที่ แต่เดิมมีเพียงพอต่อการบริ โภคภายในประเทศ ตลอดจนสามารถส่ งออกปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม ไปต่างประเทศได้ แต่กลายมาเป็ นการพึ่งพาการนําเข้าแทนการผลิตในประเทศ เป็ นผลจากต้นทุนการ ผลิตปาล์มนํ้ามันของไทยอยูใ่ นระดับที่สูง ส่ งผลกระทบต่อธุรกิจ อุตสาหกรรม ผูบ้ ริ โภคและผูท้ ี่มี ส่ วนเกี่ยวข้องที่ใช้น้ าํ มันปาล์มทั้งสิ้ น ดังนั้นจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลกระทบของการลดภาษี นําเข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษานโยบายมาตรการทางการค้า และมาตรการทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับปาล์มนํ้ามัน และนํ้ามันปาล์มในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มของไทยในปัจจุบนั 3. เพื่อศึกษาผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาสภาพทัว่ ไปของระบบการผลิต และกระบวนการแปรรู ป ปาล์มนํ้ามัน รวมทั้งนโยบาย มาตรการทางการค้า และมาตรการทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับปาล์มนํ้ามัน และนํ้ามันปาล์มในประเทศไทย และผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับจากการศึกษา 1. ทําให้ทราบถึงนโยบาย มาตรการทางการค้า และมาตรการทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับปาล์ม นํ้ามันและนํ้ามันปาล์มในประเทศไทย


62 2. ทําให้ทราบถึงสถานการณ์ปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มของไทยในปัจจุบนั 3. ทําให้ทราบถึงผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย 4. ใช้เป็ นฐานข้อมูลในการนําไปศึกษาต่อเรื่ องที่เกี่ยวข้อง วิธีการศึกษา ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ศึกษาค้นคว้าจากข้อมูลทุติยภูมิ ได้ แก่ สํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศงานวิจยั วิทยานิพนธ์ งานนิพนธ์ ค้นคว้า อิสระ วารสาร บทความ ตลอดจนเอกสารต่างๆ ที่มีผศู ้ ึกษาไว้แล้ว เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป และข้อเสนอแนะ เนือ้ หาการสั มมนา นโยบายของรัฐ มาตรการทางการค้า และภาษีที่เกี่ยวข้องกับปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม นโยบายและมาตรการของรัฐ มีดงั นี้ 1. นโยบายด้านการผลิต ส่ งเสริ มและพัฒนาปาล์มนํ้ามันผ่านแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์ม นํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม ปี 2551-2555 โดยมี 5 ยุทธศาสตร์รองรับ ดังนี้ 1.1 ยุทธศาสตร์เพิม่ ผลิตภาพและคุณค่าผลปาล์มนํ้ามันและผลิตภัณฑ์ โดยการเพิม่ พื้นที่ ปลูกปาล์มนํ้ามันในเขตเหมาะสม ปรับปรุ งสวนปาล์มเก่าโดยการปลูกทดแทนด้วยพันธุ์ดีและการ จัดการผลิตที่ถูกต้องสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิตอุตสาหกรรมปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม สู่ภาคการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพ และสนับสนุนการบูรณาการผลิต การตลาด บนพื้นฐานศักยภาพและ ความเข้มแข็งของเกษตรกร


63 1.2 ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิ ทธิภาพการตลาด จะใช้นโยบายพลังงานเป็ นกลไกหลักใน การรักษาความมัน่ คงด้านการตลาด ราคา และการปรับโครงสร้างการผลิต รวมทั้งการเสริ มสร้าง นโยบายการตล าดนํ้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรมและกระจาย ผลประโยชน์สู่ ทุกภาคส่ วนอย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรม 1.3 ยุทธศาสตร์การใช้พลังงานทดแทน คือ การสนับสนุนการผลิตและการใช้ไบโอดีเซล อย่างต่อเนื่องชัดเจน และสอดคล้องกับศักยภาพการผลิตวัตถุดิบเพื่อใช้ผลิตไบโอดีเซลของประเทศ มี การกํากับควบคุมและลงโทษการทํานํ้ามันที่ใช้แล้วกลับมาบริ โภคใหม่ 1.4 ยุทธศาสตร์การวิจยั และพัฒนาบุคลากร โดยทําการวิจยั และพัฒนาปาล์มนํ้ามัน คุณภาพสู ง และตรงตามความต้องการของตลาด เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง เพื่อเสริ มสร้าง และสนับสนุนการพัฒน าบุคลากรด้านการวิจยั และพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีปาล์มนํ้ามันอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู ้ของเกษตรกรด้วยกันเอง 1.5 ยุทธศาสตร์การบริ หารและการจัดการ โดยการปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่ เกี่ยวข้องกับปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มให้มีความเป็ นเอกภาพ และสอดคล้องกัน มีการจัดตั้งองค์กร มหาชน และกองทุนพัฒนาปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม 2. นโยบายด้านการแปรรู ปปาล์มนํ้ามัน ให้ความช่วยเหลือแก่โรงงานสกัดขนาดเล็กที่สกัด นํ้ามันแบบรวมเมล็ด และช่วยเหลือด้านเงินทุนและสิ ทธิประโยชน์ดา้ นการลงทุน สนับสนุนให้มีการ จัดตั้งสหกรณ์ข นาดใหญ่ที่รวมทั้งเกษตรกรรายย่อยและเกษตรกรรายใหญ่ เพื่อดําเนินการผลิตแบบ ครบวงจร โดยรัฐสนับสนุนเงินกูร้ ะยะยาวดอกเบี้ยตํ่าในการสร้างโรงงานสกัดและกลัน่ นํ้ามันปาล์ม รวมถึงการจัดตั้งโรงงานสกัดหรื อกลัน่ นํ้ามันปาล์มขึ้นใหม่ โดยจะต้องมีแหล่งวัตถุดิบเพื่อป้ อน โรงงานของตนเอง 3. นโยบายด้านการตลาด แบ่งเป็ น 3.1 การตลาดในประเทศ จะกําหนดราคาสิ นค้าและป้ องกันการผูกขาด มีมาตรการกําหนด ราคารับซื้อนํ้ามันปาล์มดิบและผลปาล์มสด และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งสหกรณ์ขนาดใหญ่ที่รวมทั้ง


64 เกษตรกรรายย่อยและรายใหญ่ เพื่อดําเนินการผลิตที่ครบวงจร และการทําสัญญ าซื้อขายล่วงหน้าใน ราคาที่ตกลงกัน 3.2 การค้าระหว่างประเทศ ก่อนการเปิ ด AEC มีการประกาศให้น้ าํ มันปาล์มเป็ นสิ นค้า ควบคุม ต้องขออนุญาตนําเข้าตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2528 เป็ นต้นมา มีการจํากัดปริ มาณการนําเข้าโดย จัดเก็บภาษีศุลกากรในอัตราที่สูงหากเป็ นการนําเข้านอกโควตา และเพื่อป้ องกันปัญหาปาล์มใน ประเทศมีราคาสู ง ได้มีมติให้น้ าํ มันปาล์มดิบเป็ นสิ นค้าที่ตอ้ งเสี ยค่าธรรมเนียมพิเศษในการส่ งออก เป็ นการชัว่ คราว เพื่อชะลอการส่ งออกนํ้ามันปาล์มดิบ มาตรการทางการค้าและภาษี จากอัตราภาษีภายใต้ขอ้ ผูกพันสิ นค้าเกษตรขององค์การการค้าโลก (WTO) จะเก็บภาษีนาํ เข้า ในโควตา ซึ่งกําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 20 หากเป็ นภาษีนอกโควตาจะกําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 143 แต่อย่างไรก็ ตามในปี 2548 ได้มีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษีน้ ี แต่หนั มาใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี หรื อ NTBs แทนด้วยการกําหนดให้องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) ในฐานะหน่วยงานของรัฐเป็ นผูน้ าํ เข้านํ้ามันปาล์ม ในอัตราภาษีร้อยละ 0 ได้เพียงหน่วยงานเดียว มาตรการโควตาภาษีปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม (Tariff Rate Quota : TRQ) 1. มีการกําหนดขอบเขตสิ นค้านํ้ามันปาล์มและนํ้ามันเนื้อในเมล็ดปาล์มที่อยูใ่ นข่ายต้องขอ หนังสื อรับรองใช้สิทธิการนําเข้า 2. การอนุญาตนําเข้าตามพันธกรณี ความตกลงระหว่างประเทศ ปัจจุบนั ผูน้ าํ เข้าสามารถใช้ สิ ทธิเพื่อลดภาษีนาํ เข้าตามความตกลงระหว่างประเทศที่ไทยได้ทาํ ความตกลงไว้ ดังนี้


65

ภาพที่ 2-11 มาตรการโควตาภาษีปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์ม ทีม่ า: กรมการค้าต่างประเทศ, 2554 การบริ หารปริ มาณโควตานําเข้าตามความตกลงองค์การการค้าโลก (WTO) การนําเข้าในโควตากรมการค้าต่างประเทศจะออกหนังสื อรับรองให้แก่องค์การคลังสิ นค้าตาม ปริ มาณในโควตา 4,860 ตัน แต่เพียงผูเ้ ดียว การนําเข้าตามความตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA) นําเข้าโดยองค์การคลังสิ นค้าแต่เพียงผูเ้ ดียว เป็ นสิ นค้าที่ไม่ตอ้ งขออนุญาตในการนําเข้า การนําเข้าตามการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยกเลิกมาตรการการนําเข้าทั้งแบบโควตาภาษีและมาตรการที่มิใช่ภาษี และเปิ ดให้มีการนําเข้า อย่างเสรี สถานการณ์ภาพรวมปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มในปัจจุบนั ปาล์มนํ้ามัน นับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาํ คัญของประเทศ ปัจจุบนั ไทยมีจาํ นวนเกษตรกรผู ้ ปลูกปาล์มนํ้ามันมากกว่า 1.28 แสนครัวเรื อน มีพ้ืนที่เพาะปลูก และพื้นที่ให้ผลผลิตประมาณ 4.28 ล้านไร่ สามารถผลิตนํ้ามันปาล์มดิบได้ปีละ 1.9 ล้านตัน ซึ่งช่วยสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรประมาณ 6 หมื่นล้านบาทต่อปี ทั้งนี้การผลิตนํ้ามันปาล์มดิบของไทยในปี 2555 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 5-7 จากปี ก่อนหน้า ส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากที่ภาครัฐได้มีการดําเนินยุทธศาสตร์ปาล์มนํ้ามันในช่ วงปี 2551-2555 เพื่อเร่ งผลักดันให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกปาล์มนํ้ามัน เพิ่มผลผลิต และผลิตภาพการ


66 ผลิตนํ้ามันปาล์มดิบเพื่อรองรับกับยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน และลดความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้นต่อความ มัน่ คงทางด้านอาหารของประเทศ ประกอบกับราคาผลปาล์มดิบในช่วง 4 ปี ที่ผา่ นมาปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องจากเดิมที่มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 4 บาทในปี 2552 ปรับขึ้นเป็ นกิโลกรัมละ 6 บาทในปี 2555 จึงเป็ นแรงจูงใจที่ทาํ ให้เกษตรกรขยายพื้นที่การเพาะปลูกเพิ่มขึ้น คาดการณ์การกระจายผลผลิตปาล์มนํ้ามันในรอบปี 2555 ของประเทศไทยพบว่าผลผลิต ปาล์มนํ้ามันจะออกมากในช่วงเดือนมีนาคม -พฤษภาคมแล้วค่อยๆลดลงและตํ่าสุ ดในเดือนธันวาคม ส่ วนเนื้อที่ให้ผลปี 2555 นั้นเพิม่ ขึ้นเนื่องจากมีเนื้อที่เริ่ มให้ผลปี นี้เพิม่ ขึ้นจากปี ที่แล้วโดยภาครัฐและ เอกชนสนับสนุนให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่ นาร้างหรื อที่นาลุ่มและปลูกทดแทนสวน ยางพาราและไม้ผลเช่นทุเรี ยนเงาะส้มส่ วนผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาผลปาล์มนํ้ามันที่ เกษตรกรขายได้อยูใ่ นเกณฑ์ดีราคาผลปาล์มนํ้ามันทั้งทะลายนํ้าหนักมากกว่า 15 กิโลกรัมที่เกษตรกร ขายได้ที่ไร่ นาเฉลี่ยทั้งประเทศตั้งแต่เดือนมกรา คมถึงพฤศจิกายน 2554 กิโลกรัมละ 5.37 บาท เกษตรกรจึงให้การดูแลดีและในปี 2554 ฝนมาเร็ วและตกสมํ่าเสมอต้นปาล์มออกจัน่ สมบูรณ์ส่งผลให้ ผลผลิตในภาพรวมปี 2555 เพิ่มขึ้น ด้านปริ มาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มในประเทศ ส่ วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 ผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ภายในประเทศ โดยการใช้น้ าํ มันปาล์มสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนหลักๆ คือ

ภาพที่ 2-12 สัดส่ วนการใช้น้ าํ มันปาล์มในประเทศ ทีม่ า: ศูนย์วิจยั กสิ กรไทย รวบรวมจากสํานักส่ งเสริ มการค้าสิ นค้าเกษตร, 2555 1. ใช้เพื่อการบริ โภค ร้อยละ 59 ทั้งในรู ปแบบของนํ้ามันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร และ ใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป นมข้นหวาน ครี ม


67 และเนยเทียม โดยนํ้ามันปาล์มที่มีไว้ใช้เพื่อบริ โภคมีมากที่สุดในประเทศ คิดเป็ นร้อยละ 65 ของมูลค่า ตลาดนํ้ามันพืชทั้งหมด 2. ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ที่เรี ยกว่า ไบโอดีเซล ร้อยละ 28เพื่อช่วยลดการ ใช้น้ าํ มันดีเซล เพิ่มความมัน่ คงทางด้านพลังงานให้กบั ประเทศ และสําหรับในปี 2555 คาดว่าการใช้ นํ้ามันปาล์มในภาคพลังงานจะยังคงมีสดั ส่ วนสูงถึงร้อยละ 35-40 ของการใช้น้ าํ มันปาล์มทั้งหมด 3. ใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆร้อยละ 13เช่น สบู่ ผงซักฟอก เครื่ องสําอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภณ ั ฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้านการส่ งออกและนําเข้า มูลค่าการส่ งออกนํ้ามันปาล์ม ปี 2555 มีมูลค่า 13,042,758,429 บาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 22.61 ซึ่งมีจาํ นวนลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือ 16,257,729,215 บาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 28.19 เนื่องจาก ประเทศรายใหญ่อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซียมีพ้ืนที่การเพาะปลูกปาล์มขนาดใหญ่ มีการปลูกแบบ ครบวงจร ทําให้สามารถวางแผนการผลิตและควบคุมต้นทุนการผลิตอย่างมีประสิ ทธิภาพ ส่ วนด้านการนําเข้าในปี 2555 มูลค่าการนําเข้านํ้ามันปาล์ม มีมูลค่า 4,239,008,750 บาท หรื อ คิดเป็ นร้อยละ 25.77 ซึ่งมีจาํ นวนลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือ 6,066,807,520 บาท หรื อคิดเป็ นร้อย ละ 36.88 จะเห็นได้วา่ ทั้งการส่ งออกและนําเข้าของไทยในปี 2555 มีจาํ นวนที่ลดลง เนื่องจากนําไป ผลิตไบโอดีเซลรวมถึงเหตุการณ์น้ าํ ท่วม ในปี 2554 ทําให้ปริ มาณผลผลิตลดลง จึงต้องมีการนําเข้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.88 ส่ งผลให้มีสต๊อกนํ้ามันปาล์มคงเหลือถึงปี 2555


68 ตารางที่ 2-1 แสดงสถิติการส่ งออกและนําเข้านํ้ามันปาล์มของไทย (รวม) ปี 2551-2555 ปริ มาณ:กก. มูลค่า: บาท การนําเข้า การส่งออก % ปี % ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 2551 506,905,295.0 16,794,108,028.0 29.12% 71,926,182.0 2,976,866,525.0 18.10% 2552 199,140,755.0 4,871,633,795.0 8.45% 57,064,024.0 1,497,764,691.0 9.10% 2553 226,006,310.0 6,707,477,078.0 11.63% 44,421,440.0 1,670,197,492.0 10.15% 2554 487,568,716.0 16,257,729,215.0 28.19% 131,175,954.0 6,066,807,520.0 36.88% 2555 376,843,178.0 13,042,758,429.0 22.61% 114,270,833.0 4,239,008,750.0 25.77% Total 1,796,464,254.0 57,673,706,545.0 100% 418,858,433.0 16,450,644,978.0 100% ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่ วมมือของกรมศุลกากร, 2555 สําหรับสถานการณ์ของอุตสาหกรรมปาล์มนํ้ามันในปี 2555 แม้สาํ นักงานเศรษฐกิจ การเกษตรจะมีการคาดการณ์วา่ นํ้ามันปาล์มดิบที่ผลิตได้จะมีปริ มาณมากกว่า 1.9 ล้านตัน หรื อเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5-7 แต่ในช่วง 8 เดือนแรกที่ผา่ นมา ตลาดสิ นค้าอุปโภคบริ โภคยังคงเผชิญปัญหานํ้ามันพืช บรรจุขวดที่วางจําหน่ายไม่เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภคในบางช่วง มีสาเหตุหลักมาจาก ความต้องการใช้น้ าํ มันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉ พาะการใช้ผลิตพลังงานทดแทน ประกอบกับปริ มาณผลผลิตปาล์มในช่วงที่ผา่ นมาออกสู่ ตลาดน้อยลงกว่าช่วงปกติ เพราะเป็ นช่วงนอก ฤดูกาลผลิตและประสบปั ญหาสภาพอากาศร้อนแล้งเมื่อช่วงต้นปี นอกจากนี้ ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้น ในทวีปอเมริ กา เช่น สหรัฐฯ บราซิล อาร์เจนตินา กดดันให้ราค านํ้ามันพืช เช่น นํ้ามันถัว่ เหลืองและ นํ้ามันปาล์มในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอีกด้วย ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ด AEC ที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย 1. ด้านเกษตรกร ผลกระทบเชิงลบ: เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มนํ้ามันของไทยจะได้รับผลกระทบจากการที่ราคาผล ปาล์มสดในประเทศมีแนวโน้มลดลง ทําให้เกษตรกรมีรายได้ต่าํ ลง จนอาจไม่คุม้ กับต้นทุนการผลิต นอกจากนี้การแข่งขันจากนํ้ามันปาล์มดิบนําเข้าที่มีราคาถูกกว่าที่ผลิตได้ในประเทศจะส่ งผลกระทบ


69 ต่ออุตสาหกรรมสกัดนํ้ามัน ปาล์มดิบซึ่งย่อมมีผลทําให้ความต้องการใช้ผลปาล์มสดในประเทศลด น้อยลงไปด้วย สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากนโยบายของรัฐบาลที่กาํ หนดราคาประกันผลปาล์มทะลาย ให้กบั เกษตรกรภายในประเทศ ส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิตนํ้ามันปาล์มดิบไทยสูงกว่ามาเลเซีย รวมถึง การที่ เกษตรกรรายย่อยยังขาดความรู ้คว ามความเข้าใจในการผลิต การดูแลรักษาที่ถูกต้องและ เหมาะสม 2. ด้านผูป้ ระกอบการโรงงาน ผลกระทบเชิงบวก: โรงงานกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ส่ วนของผูป้ ระกอบการรายใหญ่จะได้รับ ประโยชน์ในเรื่ องของวัตถุดิบนําเข้าที่ถูกลงภายหลังการเปิ ดเสรี น้ าํ มันปาล์ม และจะได้รับประโยชน์ จากการที่น้ าํ มันปาล์มดิบนําเข้ามีราคาที่ต่าํ กว่านํ้ามันปาล์มดิบในประเทศ ส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิต นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ของโรงงานในประเทศลดลง รวมถึงนํ้ามันปาล์มดิบที่ใช้เป็ นวัตถุดิบจะมีเพียงพอ ตามความต้องการ เนื่องจากสามารถนําเข้าได้อย่างเสรี จากข้อมูลในปี 2554 พบว่าราคานํ้ามันปาล์ม บริ สุทธิ์ของไทยจะสู งกว่ามาเลเซียเฉลี่ย 7.93 บาทต่อกิโลกรัม (ตารางที่ 5-11) ซึ่งมีความจูงใจให้เกิด การนําเข้ามากกว่านํ้ามันปาล์มดิบไม่วา่ จะอยูใ่ นรู ปของนํ้ามันปาล์มดิบ หรื อนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ เพื่อ ใช้ผลิตนํ้ามันปาล์มสําหรับการบริ โภค และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ทําให้อาํ นาจในการต่อรองเพิ่มมาก ขึ้น ตารางที่ 2-2 เปรี ยบเทียบราคานํ้ามันปาล์มดิบและนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ของประเทศไทยกับมาเลเซีย ราคานํ้ามันปาล์มดิบ (บาท/กก.) ไทย มาเลเซีย ความแตกต่าง 2550 24.45 24.81 -0.36 2551 28.96 28.56 0.40 2552 24.33 21.96 2.37 2553 29.10 27.02 2.08 2554 36.59 32.63 3.96 ทีม่ า: กรมการค้าภายใน, 2555 ปี พ.ศ.

ราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ� ไทย มาเลเซีย ความแตกต่าง 29.25 26.43 2.82 38.06 32.65 5.41 30.19 24.08 6.11 33.05 28.31 4.74 43.03 35.10 7.93

อุตสาหกรรมต่อเนื่อง : ที่ใช้น้ าํ มันปาล์มหรื อผลพลอยได้จากการกลัน่ นํ้ามันปาล์ม เป็ น วัตถุดิบ เช่น อุตสาหกรรมสบู่ ผงซักฟอกเครื่ องสําอาง นมข้นหวาน ครี มเทียม เนยเทียม ของขบเคี้ยว


70 บะหมี่สาํ เร็ จรู ป จะได้รับประโยชน์จากการที่วตั ถุดิบมีราคาตํ่าลงและมีปริ มาณเพียงพอสามารถผลิต ได้เต็มกําลังการผลิต ผลกระทบเชิงลบ: โรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ อาจเผชิญการแข่งขันที่รุนแรงจากนํ้ามันปาล์ม ดิบที่นาํ เข้าจากประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย ทั้งนี้โรงงานสกัดที่ได้รับผลกระทบอย่างมากได้แก่ โรงงานสกัดที่ไม่ได้เข้าร่ วมเป็ นบริ ษทั เครื อข่ายกับทั้ง 2 ประเทศดังกล่าว หรื อไม่ได้เป็ นพันธมิตรกับ โรงงานกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ซึ่งโรงงานสกัดในประเทศไทยส่ วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก มีกาํ ลังการ ผลิตไม่มากนัก มีตน้ ทุนในการสกัดนํ้ามันปาล์มสูง ไม่มีอาํ นาจในการต่อรอง จึงไม่สามารถที่จะเข้า ร่ วมลงทุนกับประเทศผูส้ ่ งออกรายใหญ่ท้ งั สองประเทศดังกล่าวได้ 3. ด้านผูบ้ ริ โภค ผลกระทบเชิงบวก: ผูบ้ ริ โภคจะมีทางเลือกมากขึ้น มีสินค้าที่มีคุณภาพและราคาถูกให้เลือกซื้อ เพราะได้รับประโยชน์จากแนวโน้มราคานํ้ามันปาล์มในประเทศที่ปรับตัวลดลงจากการเปิ ดการค้าเสรี โดยสิ นค้าที่มีราคาถูกจากต่างประเทศ จะเข้ามาแข่งขันกับผูป้ ระกอบ การในประเทศไทย ซึ่งจะส่ งผล ให้น้ าํ มันปาล์มบรรจุขวด สิ นค้าที่ใช้น้ าํ มันปาล์ม รวมถึงไบโอดีเซลจะมีราคาลดลง และกรณี ที่ ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ในประเทศ การนําเข้าจะเป็ นทางหนึ่งที่ช่วยลดปัญหานํ้ามัน ปาล์มขาดแคลนภายในประเทศได้ ผลกระทบเชิงลบ: ในระยะแรกผูบ้ ริ โภคอาจจะมีทางเลือกมากขึ้นเนื่องจากราคา สิ นค้าถูกลง แต่ในระยะยาวเมื่อเกษตรกรรายย่อยไม่สามารถแข่งขันกับประเทศในกลุ่มอาเซียนได้กจ็ ะต้องปิ ดตัว ลงไป ทําให้เกิดการผูกขาดสิ นค้า ส่ งผลให้สินค้ามีราคาสูงขึ้นและสุ ดท้ายผูบ้ ริ โภคก็จะต้องซื้อสิ นค้า ในราคาที่สูงตามไปด้วย โดยสรุ ปการลดภาษีนาํ เข้าและยกเลิกมาตรการกีดกันที่ไม่ใช่ภาษี เมื่อมีการเปิ ด AEC ขึ้นในปี 2558 จะส่ งผลกระทบต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวข้องกับความมัน่ คงทางอาหาร เนื่องจาก ปาล์มนํ้ามันเป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีบทบาทสําคัญในการสร้างความมัน่ คงด้านอาหารและพลังงานให้ แก่ ประเทศ ผลจากการลดภาษีนาํ เข้าปาล์มนํ้ามัน จะทําให้เกิดการไหลเข้ามาของปาล์มนํ้ามันราคาถูกจาก อินโดนีเซียและมาเลเซีย เป็ นผลจากต้นทุนการผลิตปาล์มนํ้ามันของไทยอยูใ่ นระดับที่สูงมาก ไม่ สามารถแข่งขันได้ ทําให้เกษตรกรและอุตสาหกรรมปาล์มในประเทศประสบปัญหา โดยเฉพาะ เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์ม เพราะถ้าหากประเทศไทยไม่เร่ งปรับคุณภาพพันธุ์ปาล์มนํ้ามัน เพิ่มผลผลิต และ


71 ลดต้นทุนการผลิตให้ต่าํ ลง เกษตรกรในประเทศก็จะไม่สามารถอยูร่ อดได้อาจต้องหันไปประกอบ อาชีพอื่นแทน จํานวนพืชพลังงานในประเทศก็จะลดลงส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงด้านอาหารและ พลังงานของไทย เพราะไม่มีวตั ถุดิบที่จะใช้ผลิตสิ นค้าเพื่อใช้ในการบริ โภคภายในประเทศได้ ส่ งผล ต่อเนื่องไปถึงอุตสาหกรรมปาล์มนํ้ามัน กลายเป็ นการพึ่งพาการนําเข้าแทนการผลิตในประเทศเพียง อย่างเดียว ซึ่งผลกระทบนั้นจะเป็ นจริ งหรื อไม่ในอนาคต ก็ข้ ึนอยูก่ บั หลายปั จจัยทั้งภาครัฐและ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องว่านโยบายและมาตรการต่างๆ ที่ทาํ ขึ้นมาเพื่อปกป้ องเกษตรกรผูป้ ลูก ปาล์มนั้น จะทําให้ประเทศไทยสามารถรับมือและแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้หรื อไม่ บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป นโยบายและมาตรการที่รัฐบาลได้กาํ หนดและดําเนินการเพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกษตรกรผู ้ ปลูกปาล์มนํ้ามันและผูผ้ ลิตนํ้ามันปาล์ม ประกอบด้วย 3 นโยบายคือ นโยบายด้านการผลิต นโยบาย ด้านการแปรรู ปปาล์มนํ้ามัน และนโยบายด้านการตลาด ส่ วนมาตรการทางการค้าและภาษี ก่อนการ เปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) นั้น หากเป็ นการเปิ ดตลาดสิ นค้านํ้ามันปาล์มตามข้อตกลง เขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA) ประเทศไทยต้องปรับลดอัตราภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มดิบและนํ้ามัน ปาล์มบริ สุทธิ์เหลือเพียงร้อยละ 5 ในปี 2556 ส่ วนอัตราภาษีภายใต้ขอ้ ผูกพันสิ นค้าเกษตรขององค์การ การค้าโลก (WTO) จะเก็บภาษีนาํ เข้าในโควตา กําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 20 หากเป็ นภาษีนอกโควตา กําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 143 แต่ได้มีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษี ไปในปี 2548 โดยหันมาใช้มาตรการ ที่มิใช่ภาษี (NTBs) แทนด้วยการกําหนดให้องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) เป็ นผูน้ าํ เข้านํ้ามันปาล์มใน อัตราภาษีร้อยละ 0 ได้เพียงหน่วยงานเดียว จากการตระหนักถึงปั ญหาการยกเลิกโควตาและลดภาษี นําเข้าเหลือร้อยละ 0 หากมีการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ จึงได้จดั ตั้งกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ หรื อกองทุน FTA ขึ้น เพื่อเป็ นแหล่งเงินทุนสําหรับช่วยเหลือเกษตรกรผู ้ ได้รับผลกระทบจากการเปิ ดเสรี ทางการค้าในการปรับโครงสร้างการผลิต ปฏิรูปผลิตผลทาง การเกษตร เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิต พัฒนาคุณภาพและแปรรู ปสิ นค้าเกษตร ตลอดจนการ ปรับเปลี่ยนการผลิตจากสิ นค้าที่ไม่มีศกั ยภาพสู่ สินค้าที่มีศกั ยภาพ เพื่อให้ทดั เทียมกับประเทศคู่แข่งได้


72 สถานการณ์ภาพรวมปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มของไทยในปี 2555 การผลิตนํ้ามันปาล์ม ดิบของไทยมีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 5-7 จากปี ก่อนหน้า ส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากที่ภาครัฐได้มีการ ดําเนินยุทธศาสตร์ปาล์มนํ้ามันในช่วงปี 2551-2555 เพื่อเร่ งผลักดันให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูก ปาล์มนํ้ามัน เพิ่มผลผลิต และผลิตภาพการผลิตนํ้ามันปาล์มดิบเพื่อรองรับกับยุทธศาสตร์พลังงาน ทดแทน และลดความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้นต่อความมัน่ คงทางด้านอาหารของประเทศ ประกอบกับราคา ผลปาล์มดิบปรับขึ้นเป็ นกิโลกรัมละ 6 บาทในปี 2555 จึงเป็ นแรงจูงใจที่ทาํ ให้เกษตรกรขยายพื้นที่การ เพาะปลูก ส่ วนเนื้อที่ให้ผล ปี 2555 นั้นเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีเนื้อที่เริ่ มให้ผลปี นี้เพิ่มขึ้นจากปี ที่แล้วโดย ภาครัฐและเอกชนสนับสนุนให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาร้าง หรื อที่นาลุ่ม และปลูก ทดแทนสวนยางพาราและไม้ผล ส่ วนผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาผลปาล์มนํ้ามันที่เกษตรกร ขายได้อยูใ่ นเกณฑ์ดี สัดส่ วนปริ มาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มในประเทศ ส่ วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 ผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการใช้ภายในประเทศ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนหลักๆ คือ ใช้เพื่อการบริ โภค ร้อยละ 60 ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ร้อยละ 28 และใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ต่อเนื่องต่างๆ ร้อยละ 13 ด้านมูลค่าการส่ งออกนํ้ามันปาล์ม ปี 2555 คิดเป็ นร้อยละ 22.61 ซึ่งมีจาํ นวน ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือร้อยละ 28.19 เนื่องจากประเทศรายใหญ่อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซียมี พื้นที่การเพาะปลูกปาล์มขนาดใหญ่ มีการปลูกแบบครบวงจร ทําให้สามารถวางแผนการผลิตและ ควบคุมต้น ทุนการผลิตได้อย่างมีประสิ ทธิภาพเมื่อเทียบกับประเทศไทย ส่ วนด้านการนําเข้าในปี 2555 มูลค่าการนําเข้านํ้ามันปาล์ม คิดเป็ นร้อยละ 25.77 ซึ่งมีจาํ นวนลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือร้อย ละ 36.88 เนื่องจากในปี 2554 เกิดเหตุการณ์น้ าํ ท่วม ทําให้ผลผลิตในประเทศลดลงไม่เพียงพอต่อ ความต้องการ จึงต้องมีการนําเข้านํ้ามันปาล์มมาเป็ นจํานวนมาก ส่ งผลให้มีสต๊อกนํ้ามันปาล์มคงเหลือ มาถึงปี 2555 การนําเข้าในปี นี้จึงลดลง จากผลการศึกษาผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย คือ เมื่อมีการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในปี 2558 จะต้องทยอยลดหรื อเลิกมาตรการกีดกันที่ไม่ใช่ภาษีให้หมดไป ซึ่งอาจ ส่ งผลกระทบกับปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย เพราะปาล์มนํ้ามันนับเป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีบทบาท สําคัญในการสร้างความมัน่ คงด้านอาหารและพลังงานให้แก่ประเทศไทย อีกทั้งยังสร้างอาชีพให้แก่ เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มของไทย หากไม่มีกาํ แพงภาษีในการนําเข้านํ้ามันปาล์มแล้ว จะส่ งผลให้น้ าํ มัน ปาล์มจากต่างประเทศสามารถเข้ามาแข่งขันกับสิ นค้าในประเทศได้มากขึ้น โดยเฉพาะนํ้ามันปาล์ม จากประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย เนื่องจากเป็ นผูผ้ ลิตรายใหญ่อนั ดับต้นๆ ของโลก เพราะมีตน้ ทุน การผลิตที่ต่าํ กว่าทําให้น้ าํ มันปาล์มมีราคาถูกกว่าในประเทศไทย และหากผูป้ ระกอบการในประเทศ


73 หันไปนําเข้านํ้ามันปาล์มดิบจากต่างประเทศ เนื่องจากมีราคาถูกกว่าที่ผลิตได้ในประเทศ จะส่ งผล กระทบต่ออุตสาหกรรม สกัดนํ้ามันปาล์มดิบ และมีผลให้ราคาผลปาล์มสดในประเทศมีแนวโน้ม ลดลงด้วย ส่ วนทางด้านเกษตรกรนั้นจะมีรายได้ที่ลดลงและ ไม่คุม้ ค่ากับต้นทุนในการปลูก เนื่องจาก ไม่สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ ทําให้ เกษตรกร เองหันไปปลูกพืชชนิดอื่นทดแทนหรื อเปลี่ยนไป ประกอบอาชีพอื่นแทน หรื อมี การเคลื่อนย้ายแรงงานไปประเทศอื่นที่ได้ผลตอบแทนที่สูงกว่า ส่ วน ด้านผูบ้ ริ โภคนั้นในระยะแรกผูบ้ ริ โภคอาจมีทางเลือกเพิ่มขึ้น เพราะมีสินค้าที่มีคุณภาพหลากหลายให้ เลือกและราคาถูกลง แต่เมื่อมองในระยะยาว เมื่อ เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มในประเทศ ปิ ดตัวลง จํานวน พืชพลังงานในประเทศก็จะลดลงส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงด้านอาหารและพลังงานของไทย เพราะ ไม่มีวตั ถุดิบที่จะใช้ผลิตสิ นค้าเพื่อใช้ในการบริ โภคภายในประเทศได้ กลายเป็ นการต้องพึ่งพาการ นําเข้าจากต่างประเทศแทนการผลิตในประเทศเพียงอย่างเดียว ข้อเสนอแนะ 1. เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์ม ควรให้ความสําคัญกับการปรับปรุ งการเพาะปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิต ต่อไร่ ในปริ มาณที่สูงขึ้น เช่น การเลือกพื้นที่เพาะปลูกที่เหมาะสมทั้งทางด้านภูมิประเทศ และสภาพ ภูมิอากาศ รวมถึงการคัดเลือกพันธุ์ในการเพาะปลูกที่มีอตั ราการให้น้ าํ มันสูง การศึกษาระยะเวลาใน การใส่ ปุ๋ยและปร ะเภทของปุ๋ ยที่ใส่ ในแต่ละช่วงอายุของต้นปาล์ม การตัดแต่งทางใบ ตลอดจนการ วางแผนเพาะปลูกปาล์มนํ้ามันทดแทนต้นเก่าที่มีอายุมากซึ่งจะให้ปริ มาณผลผลิตลดลง 2. โรงสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ ควรเร่ งปรับปรุ งประสิ ทธิภาพในการรวบรวมวัตถุดิบ (ผลปาล์ม นํ้ามัน) และการสกัดนํ้ามันปาล์มเพื่อให้อตั ราการให้น้ าํ มันเพิ่มขึ้น โดยอาจพัฒนาการสกัดนํ้ามันแยก ระหว่างเนื้อในปาล์มและเนื้อปาล์ม สําหรับโรงสกัดที่มีขนาดใหญ่อาจหาแนวทางในการลดต้นทุน การผลิต โดยการนําเศษปาล์มที่เหลือจากกระบวนการสกัดไปผลิตกระแสไฟฟ้ าเพื่อใช้ในโรงงาน อีก ทั้งยังเป็ นการลดต้นทุนในการกําจัดเศษวัสดุเหลือใช้ของปาล์มอีกด้วย 3. โรงกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ นอกจากที่ผปู ้ ระกอบการควรจะเพิ่มประสิ ทธิภาพในการ กลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์แล้ว ควรเน้นการบริ หารจัดด้านการขนส่ งสิ นค้านํ้ามันปาล์ม ไปยังคลังสิ นค้า ของผูค้ า้ ปลีกรายใหญ่และโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้น้ าํ มันปาล์มในการผลิต


74 นอกจากนี้ กลุ่มผูป้ ระกอบการที่เกี่ยวข้องทั้งโรงกลัน่ โรงสกัด รวมถึงสมาคมและสหกรณ์ การเกษตรในระดับท้องถิ่นต่างๆ ควรติดตามสถานการณ์การผลิต การจําหน่ายและราคา และความ ต้องการนํ้ามันปาล์มในตลาดโลกอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็ น ข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการผลิต การ ตั้งราคา และการกระจายสิ นค้าไปสู่ ตลาด รวมถึงการศึกษา และทําความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการที่ สามารถช่วยบรรเทาหรื อลดผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าสิ นค้าเกษตร คือ มาตรการป้ องกันการ นําเข้าสิ นค้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure: SG) ตามข้อผูกพันไว้กบั องค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่ง เปิ ดโอกาสให้ประเทศผูน้ าํ เข้า สามารถใช้มาตรการดังกล่าวเพื่อคุม้ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ ที่ได้รับความเสี ยหาย หรื อมีแนวโน้มที่จะได้รับความเสี ยหายจากการนําเข้าที่เพิม่ มากขึ้นมากกว่าปกติ


75 เรื่อง ผลของการลดภาษีเพือ่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีม่ ีผลต่ อการส่ งออกในอุตสาหกรรม อาหารแปรรู ปของไทย ทีม่ าและความสํ าคัญ ปั จจุบนั การค้าระหว่างประเทศมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจไทยเป็ นอย่างมาก โดย มีการส่ งออกเป็ นกลไกผลักดัน ทําให้เศรษฐกิจของประเทศมีการพัฒนาและเจริ ญเติบโตมาเป็ นลําดับ จากการคาดหมายของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ อัตราการ เจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจไทยมีบทบาทสําคัญในตลาดการค้าโลกมากขึ้น ปัจจัยสําคัญที่ช่วยส่ งเสริ ม ให้มีการค้าการลงทุนระหว่างประเทศมากขึ้น คือ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน เนื่องจากทิศ ทางการค้าระหว่างประเทศของไทยในระยะที่ผา่ นมามีการเปลี่ยนแปลงกระจายการส่ งออกจากใน อดีตตลาดหลัก คือ สหรัฐอเมริ กา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ไปยังกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ ว เศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนเป็ นเศรษฐกิจที่มีความได้เปรี ยบในด้านทรัพยากร ที่อุดมสมบูรณ์ กําลังการผลิตได้หนั ทิศทางไปสนองต่อตลาดต่างประเทศ และได้รับประโยชน์อย่าง มากจากการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมการส่ งออก โดยเฉพาะหลังจากการจัดตั้งเป็ นเขตการค้าเสรี อาเซียน แล้ว ประเทศสมาชิกได้มีการเปลี่ยน แปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของภาคอุสาหกรรมการผลิต โดย ให้ทรัพยากรของภูมิภาคได้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น และเป็ นการผลิตสิ นค้าเป็ นไปตาม ความถนัดและความชํานาญ จากการประชุมอาเซียนครั้งที่ 4 ว่าด้วยการจัดตั้ง “เขตการค้าเสรี อาเซียน ” โดยมีเป้ าหมาย หลักคือ การใช้อตั ราภาษีที่เท่ากันโดยให้ปรับลดภาษีศุลกากรภายในกลุ่มให้เหลือร้อยละ 0 – 5 โดย การลดภาษีแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบปกติ (Normal Track) และแบบเร่ งลดภาษี (Fast Track) โดย สิ นค้าที่เร่ งลดภาษีมีท้ งั หมด 15 กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งสิ นค้าส่ วนใหญ่เป็ นสิ นค้าที่สาํ คัญของการ ส่ งออกไทยไปอาเซียน การลดภาษีแบบเร่ งส่ งผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้านลบต่อการส่ งออก สิ นค้าอุตสาหกรรมของไทย ดังนั้นจึงควรศึกษาสภาพทัว่ ไปของการส่ งออก นโยบายและมาตรการ ของประเทศต่างๆในกลุ่มอาเซียน ปั จจัยที่มีผลต่อปริ มาณการส่ งออกสิ นค้า และผลที่มีต่อการส่ งออก สิ นค้าอุตสาหกรรมของไทยไปอาเซียน โดยเฉพาะสิ นค้าอุตสาหกรรมกลุ่มเป้ าหมายที่ตอ้ งดําเนินการ


76 ลดอัตราภาษีศุลกากรระหว่างกันเป็ นการเร่ งด่วน เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อรัฐบาลและผูส้ ่ งออกในการ กําหนดนโยบายพัฒนาสิ นค้าอุตสาหกรรมดังกล่าว นโยบายด้านการปรับลดภาษีเขตการค้าเสรี อาเซียน ช่วยผลักดั นให้ไทยสามารถส่ งออก อาหารแปรรู ปได้มากขึ้น นอกจากนี้วตั ถุดิบที่ใช้ในการแปรรู ปอาหารส่ วนใหญ่มาจากวัตถุดิบใน ประเทศที่มีราคาถูก ปริ มาณผลผลิตมีมาก ซึ่งจัดว่าเป็ นข้อได้เปรี ยบด้านทรัพยากรที่เพียงพอสําหรับ อุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ผูป้ ระกอบการอาหารแปรรู ปไทยยังต้องเผชิ ญกับการแข่งขันจากประเทศ เกิดใหม่ที่มีความได้เปรี ยบทางด้านต้นทุนแรงงานตํ่า แนวโน้มการแข่งขันการค้าที่จะรุ นแรงขึ้น ผนวกกับปั จจัยความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนความไม่แน่นอนทางการเมือง ความเปลี่ยนแปลง ของตลาดการบริ โภค และการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ผูป้ ระกอบการจําเป็ นต้อง ติดตามอย่างใกล้ชิด และมีการปรับกลยุทธ์รองรับสภาวะเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง มองหาโอกาสการ ลงทุนในตลาดเกิดใหม่ พร้อมยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมอาหารทั้งด้านการควบคุมคุณภาพและ ความปลอดภัยของอาหารทั้งขั้นตอนการผลิตและมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรม ตามเกณฑ์ มาตรฐานสากล เมื่อพิจารณาจากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น คณะผูจ้ ดั ทําจึงสนใจที่จะศึกษาการลดภาษี ส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเพิม่ พูนวิสยั ทัศน์ของผูป้ ระกอบการอาหารแปรรู ปไทยให้มองเห็นโอ กาส ทาง ธุรกิจ และการใช้ตลาดทุนเป็ นแหล่งระดมทุนเพื่อสร้างความแข็งแกร่ งทางการเงิน เป็ นการต่อยอดใน การดําเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยการลดอัตราภาษีส่งออก ซึ่งจะส่ งผลต่อความมัน่ คงทางอาหารของประเทศ วัตถุประสงค์ การศึกษาถึงผลกระทบที่มีต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย เนื่องจากมี การลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีวตั ถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาข้อตกลงและการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีส่งออกสิ นค้าในการเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย


77 2. เพื่อศึกษาสถานการณ์ของอาหารแปรรู ปของไทย 3. เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากการลดภาษีที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหาร แปรรู ปของไทยในอนาคต ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ การศึกษาปั ญหาพิเศษ เรื่ อง การลดภาษีส่งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทยเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 1. ทําให้ทราบถึงข้อตกลงและการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีส่งออกสิ นค้าในการเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย 2. ทําให้ทราบถึงผลกระทบที่เกิดจากการลดภาษีที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหาร แปรรู ปของไทย ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาปั ญหาพิเศษ เรื่ อง การลดภาษีส่งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทยเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) คณะผูจ้ ดั ทําจะทําการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับข้อตกลงแล ะ การค้าระหว่างประเทศรวมถึงผลกระทบที่เกิดจากการลดภาษีที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรม อาหารแปรรู ปของไทยเพื่อรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิธีการศึกษา การศึกษาค้นคว้าทําปั ญหาพิเศษนี้ เป็ นการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงและ การค้าระหว่างประเทศรวมถึงผลกระทบที่เกิดจากการลดภาษีที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรม อาหารแปรรู ปของไทยเพื่อรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็ น ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยการเก็บรวมรวมข้อมูลจากหนังสื อ บทความ วารสาร ข่าวสาร


78 ต่างๆ เอกสารทางวิชาการ เช่น พระราชบัญญัติศุลกากร พระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากรและ เอกสารทางราชการอื่นๆ รวมถึงเอกสารต่างที่เผยแพร่ ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต เนือ้ หาการสั มมนา ข้อตกลงเกี่ยวกับภาษีส่งออกในการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย ประเทศสมาชิกในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีขอ้ ตกลงในการลดและยกเลิกมาตรการทาง ภาษี เพื่อส่ งเสริ มให้อาเซียนเป็ นตลาดที่มีขนาดใหญ่ เป็ นการเพิ่มโอกาสในการส่ งออกของไทย รู ปแบบและการลดภาษี แบ่งเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ คือ 1. สิ นค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List: IL) 2. สิ นค้าบัญชียกเว้นลดภาษีชวั่ คราว (Temporary Exclusion List: TEL) 3. สิ นค้าบัญชีอ่อนไหว (Sensitive List: SL) 4. สิ นค้ายกเว้นทัว่ ไป (General Exception List: GE) การค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีส่งออกสิ นค้าในการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนคือ การส่ งเสริ มให้เกิดการค้าขายสิ นค้าระหว่างประเทศสมาชิก ในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้นกว่าในอดีตที่แม้ประเทศจะอยูใ่ กล้ชิดกันแต่ปริ มาณการค้าระหว่างกันอยูใ่ น ระดับตํ่าและเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันในตลาดโลกได้มากขึ้น ส่ วนมาตรการทางภาษีที่ เกี่ยวกับการส่ งออกระหว่างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีบทบาทที่สาํ คัญสําหรับการค้าระหว่าง ประเทศโดยการลดภาษีจะช่วยส่ งเสริ มการค้าให้กบั แต่ละประเทศสมาชิก ลดอุปสรรคทางการค้าลง และยังช่วยเพิ่มโอกาสในการส่ งออกของประเทศสมาชิก


79 สถานการณ์อาหารแปรรู ปของไทย ด้ านการผลิต ภาพรวมด้านการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารในปี 2555 พบว่าภาวะการผลิตของ อุตสาหกรรมอาหาร ลดลงร้อยละ 1.87 จากปี ก่อนเนื่องจากการผลิตในกลุ่มสิ นค้าสําคัญ เช่น นํ้าตาล ผักผลไม้ และนํ้ามันพืช ปรับตัวลดลง เป็ นผลจากปริ มาณวัตถุดิบ ได้แก่ อ้อยและพืชผักผลไม้อื่นๆมี ผลผลิตลดลงจากเหตุอุทกภัยเมื่อปลายปี 2554 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 2-3 การผลิตของอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญของปี 2554 เทียบกับปี 2555 อุตสาหกรรม

หน่ วย: ตัน

2554 ปศุสตั ว์ 1,481,308.52 ประมง 754,954.32 ผักผลไม้ 996,645.14 นํ้ามันพืช 1,452,814.99 ผลิตภัณฑ์นม 1,226,738.28 ธัญพืชและแป้ ง 1,854,365.79 อาหารสัตว์ 5,893,820.75 นํ้าตาล 15,309,908.07 บะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป 174,381.48 รวม 29,144,937.35 ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2556

2555 1,581,936.32 782,828.06 924,826.27 1,324,930.05 1,475,295.29 2,279,373.85 6,592,076.40 12,919,096.13 189,305.95 28,074,652.32

Year of Year (%) 3.44 1.81 (3.74) (4.60) 9.20 10.28 5.59 (8.47) 4.10 (1.87)

ด้ านการตลาดและการจําหน่ าย สรุ ปด้านการตลาดและจัดจําหน่ายในปี 2555 ปริ มาณการจําหน่ายสิ นค้าอาหาร ภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 จากปี 2554 ส่ วนหนึ่งเป็ นผลจากการขยายตัวของการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ประเภทปศุสตั ว์ ประมง ผักผลไม้ ผลิตภัณฑ์นม อาหารสัตว์ นํ้าตาล และผลิตภัณฑ์บะหมี่


80 กึ่งสําเร็ จรู ปลง เนื่องจากได้มีการปรับเพิ่มขึ้นของค่าจ้างขั้นตํ่าและเงินเดือนของข้าราชการ ทําให้มีการ ปรับระดับราคาสิ นค้าประเภทอาหา รเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยกลุ่มแปรรู ปที่ส่งผลให้มีสดั ส่ วนเพิ่มขึ้น ส่ วนใหญ่มาจากผักผลไม้ และผลิตภัณฑ์นม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 2-4 ปริ มาณการจําหน่ายอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 อุตสาหกรรม

หน่ วย: ตัน

2554 ปศุสตั ว์ 1,070,183.87 ประมง 113,617.12 ผักผลไม้ 192,569.09 นํ้ามันพืช 985,149.22 ผลิตภัณฑ์นม 1,137,865.69 ธัญพืชและแป้ ง 1,110,462.73 อาหารสัตว์ 5,459,950.73 นํ้าตาล 5,760,296.43 บะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป 148,880.33 รวม 15978975.20 ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2556

2555 1,165,741.23 119,387.92 220,206.28 895,397.40 1,262,466.94 1,210,308.24 5,836,130.27 5,834,974.91 154,174.57 16698787.76

Year of Year (%) 4.27 2.48 6.70 (4.77) 5.19 4.30 3.33 0.64 1.75 2.20

การค้ าระหว่ างประเทศ การส่ งออก สรุ ปในภาพรวมการส่ งออกอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.72 เมื่อเทียบกับปี 2554 ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการส่ งออกผลิตภัณฑ์ปศุสตั ว์และผลิตภัณฑ์น้ าํ ตาลทราย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้


81 ตารางที่ 2-5 มูลค่าการส่ งออกอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 อุตสาหกรรม

หน่ วย: ล้ านบาท

2554 ปศุสตั ว์ 49,609.77 ประมง 189,929.33 ผักผลไม้ 74,452.50 ข้าวและธัญพืช 224,404.93 นํ้าตาลทราย 94,617.98 อาหารอื่น 45,522.68 รวม 678,537.19 ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2556

2555 57,675.77 183,026.43 79,790.49 194,134.13 113,093.28 46,379.83 674,099.93

Year of Year (%) 7.52 (1.85) 3.46 (7.23) 8.89 0.93 11.72

การนําเข้ า ภาพรวมในปี 2555 การนําเข้าผลิตภัณฑ์อาหารของไทยมีมูลค่ารวม 326,714.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.17 จากปี ก่อน การนําเข้าสิ นค้าประมงจากกลุ่มอาเซียน มากเป็ นอันดับที่ 1 ของการ นําเข้าสิ นค้าประมงทั้งหมดของไทยโดยสิ นค้าส่ วนใหญ่ นําเข้าส่ วนใหญ่จะนําเข้าจากอินโดนีเซีย , พม่า , เวียดนาม และมาเลเซีย โดยเป็ นการนําเข้าปลาทูน่าแช่เย็นแช่แข็ง และกากพืชนํ้ามัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.95 และ 8.10 ตามลําดับ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 2-6 มูลค่าการนําเข้าอุตสาหกรรมอาหารที่สาํ คัญปี 2554 เทียบกับปี 2555 อุตสาหกรรม

หน่ วย: ล้ านบาท

2554 ปลาทูน่าสดแช่เย็นแช่แข็ง 34,415.27 เมล็ดพืชนํ้ามัน 27,591.67 กากพืชนํ้ามัน 25,989.37 นมและผลิตภัณฑ์นม 12,881.00 รวม 221,620.38 ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2556

2555 43,754.23 27,867.42 30,567.87 14,005.44 326,714.54

Year of Year (%) 11.95 0.50 8.10 4.18 19.17


82 ผลกระทบที่เกิดจากการลดภาษีในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ผลกระทบที่เกิดจากการ ลดภาษีเนื่องจากมีการ เปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอ าเซียน โดยใน อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปสามารถแบ่งเป็ นอุตสาหกรรมหลักๆ ได้ ดังนี้ อุตสาหกรรมนํา้ ตาล หากมีการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะส่ งผลให้อุตสาหกรรมนํ้าตาลของไทยได้เปรี ยบ ในการแข่งขันทางด้านการส่ งออกนํ้าตาลของไทยไปยังตลาดอาเซียนเป็ นอย่างมาก ส่ วนประเทศไทย นั้นนอกจากจะสามารถ ผลิตนํ้าตาลเพื่อบริ โภคในประเทศอย่างเพียงพอต่อความต้องการ แล้วยังมี นํ้าตาลเหลือเพื่อการส่ งออก ส่ วนปั จจัยด้านลบที่อาจจะกระทบต่อการส่ งออกนํ้าตาลของประเทศไทย ได้แก่การลงทุนจากประเทศนอกกลุ่มอาเซียนเพื่อเข้ามาแย่งตลาดและการนําเข้านํ้าตา ลทรายดิบจาก ประเทศนอกกลุ่มเข้ามาแปรรู ป อุตสาหกรรมนํา้ นมโคสด หากมีการเปิ ด AEC จะทําให้อุตสาหกรรมนํ้านมโคสดของประเทศไทยลําบากยิง่ ขึ้น เพราะ แค่อุตสาหกรรมนํ้านมโคสดจากประเทศจีนที่เข้ามาทําตลาดในอาเซียนด้วยก็ลาํ บากแล้ว และเมื่อไป เจอเจ้าตลาดด้านนํ้านมโคสดระดับโลก เช่น ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์อาจทําให้ประเทศไทย ประสบปั ญหากับการที่ประเทศต่างๆ สามารถนําเข้าผลิตภัณฑ์ประเภทนมได้มากขึ้นโดยไม่ตอ้ งเผชิญ กับปัญหาภาษีนาํ เข้าเพราะกําแพงภาษีต่างๆ จะหมดไป อุตสาหกรรมอาหารสั ตว์ หากมีการเปิ ด AEC ขึ้นจะทําให้ประเทศไทยเสี ยเปรี ยบเพราะจะมีสินค้ าจากประเทศอื่นเข้า มาทําตลาดในไทยเนื่องจากปริ มาณการผลิตอาหารสัตว์ของประเทศไทยเพียงพอต่อความต้องการ ภายในประเทศเท่านั้นโดย ไทยยังคงต้องพึ่งพาการนําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์บางประเภท เนื่องจาก ประเทศไทยผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถัว่ เหลือง


83 อุตสาหกรรมข้ าว ในปั จจุบนั รัฐบาลมีนโยบายการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชาวนา เช่น การนําความรู ้เรื่ อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถ่ายทอดแก่ชาวนาโดยมีเป้ าหมายหลักเพื่อการเพิ่มมูลค่ายกระดับราคาและ อุตสาหกรรมข้าวไทย รวมถึงขยายตลาดข้าวไทยให้เป็ นศูนย์กลางการค้าข้าวของอาเซียนเพื่อแสดงให้ เห็น ว่าประเทศไทยยังครองความเป็ นผูน้ าํ ในการส่ งออกข้าวคุณภาพดีที่สุดในโลกมาจนถึงปัจจุบนั ประเทศไทยมีความเสี่ ยงในอนาคตด้านการส่ งออกข้าวไทย เช่น ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีนโยบาย การรับจํานําข้าวของรัฐบาลส่ งผลให้ปริ มาณการส่ งออกข้าวไปต่างประเทศลดลงและหากในอนาคต เวียดนามสามารถ ผลิตข้าวหอมคุณภาพดีและข้าวนึ่งได้ เวียดนามก็จะเป็ นคู่แข่งที่สาํ คัญของไทย ใน กรณี ขา้ วเปลือกและข้าวสารของประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศกัมพูชาซึ่งผลิตได้มากเกินความ ต้องการจากการบริ โภคในประเทศ หากมีการเปิ ด AEC ประเทศไทยสามารถส่ งเสริ มและเปิ ดจุดรับ ซื้อข้าวอย่างเป็ นท างการ วัตถุดิบข้าวเปลือกและข้าวสารเหล่านี้สามารถหล่อเลี้ยงชาวนา การผลิต โรงสี และอุตสาหกรรมแปรรู ปข้าวได้ ซึ่งเป็ นการส่ งเสริ มประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการค้าข้าว อย่างแท้จริ ง อุตสาหกรรมปศุสัตว์ ประเทศไทยค่อนข้างจะมีความได้เปรี ยบทางสาขาปศุสตั ว์เมื่อเทียบกับป ระเทศเพื่อนบ้าน อาจดูได้จากการส่ งออกเนื้อสุ กรส่ งออกเป็ นอันดับ 2 ของสิ นค้าปศุสตั ว์ จากการเปิ ดเสรี ทางการค้า หรื อตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในปี 2558 นับเป็ น การตอกยํ้าศักยภาพความเป็ นผูน้ าํ ด้านมาตรฐานในตลาด AEC อีกด้วย โดยตลาดในปร ะเทศและ ตลาดต่างประเทศยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ราคาปศุสตั ว์โดยเฉลี่ยในปี 2556 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งไก่เนื้อและสุ กร การลดภาษีจาก AEC จะยิง่ ทําให้ผลักดันให้สินค้าจากด้าน ปศุสตั ว์ของไทยมีความได้เปรี ยบในการส่ งออกมากยิง่ ขึ้น อุตสาหกรรมประมง การลดภาษีใน AEC จะช่วยผลักดันการส่ งออกสิ นค้าประมงให้สามารถมีการขยายตัวมากขึ้น เรื่ อยๆในอนาคต เนื่องจากประเทศไทยมีขอ้ ได้เปรี ยบกับในอาเซียน ได้แก่ พ่อแม่พนั ธุ์กงุ้ เทคโนโลยี


84 ซึ่งไทยมีการจัดสัมมนาเผยแพร่ ขอ้ มูลเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับกุง้ อยูเ่ สมอ ไทยมี พื้นฐาน ห้องเย็น และการขนส่ ง มีความพร้อมมากกว่าประเทศอื่น

ทําเลดี โครงสร้าง

อุตสาหกรรมผักผลไม้ เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเช่นนี้ เราก็คงได้เห็นการบริ โภคสิ นค้าแปลกๆเกิดขึ้น ทํา ให้เกิดกระแสการบริ โภคสิ นค้าใหม่จากต่างชาติเกินความจําเป็ นและพอเพียงแก่ สังคมไทย แต่ละเลย สิ นค้าที่ผลิตภายในประเทศ และจะมีผลทําให้เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา เดือดร้อนตามๆกันหากไม่มี การควบคุมดูแลกันให้ดีจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิ ชย์ และกระทรวงเกษตรของ ไทย บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ปั จจุบนั การค้าระหว่างประเทศมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจไทยเป็ นอย่างมาก โดย มีการส่ งออกเป็ นกลไกผลักดัน ทําให้เศรษฐกิจของประเทศมีการพัฒนาและเจริ ญเติบโตมาเป็ นลําดับ จากการคาดหมายของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ อัตราการ เจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจไทยมีบทบาทสําคัญในตลาดการค้าโลกมากขึ้น ปัจจัยสําคัญที่ช่วยส่ งเสริ ม ให้มีการค้าการลงทุนระหว่างประเทศมากขึ้น คือ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน นโยบายด้านการ ปรับลดภาษีเขตการค้าเสรี อาเซียน ช่วยผลักดันให้ประเทศไทยสามารถส่ งออกอาหารแปรรู ปได้มาก ขึ้น เป็ นการเปิ ดโอกาสทางธุรกิจในตลาดใหม่ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนและเป็ นการใช้ตลาดทุน เป็ นแหล่งระดมทุนเพื่อสร้างความแข็งแกร่ งท างการเงิน เป็ นการต่อยอดในการดําเนินธุรกิจอย่าง ยัง่ ยืนอันเป็ นผลมาจากการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภาพรวมในด้านสถานการณ์อาหารแปรรู ปของประเทศไทยแบ่งเป็ นด้านการผลิต ด้าน การตลาดและการจัดจําหน่าย ด้านการค้าระหว่างประเทศโดยในด้านการค้าระหว่างประเทศแบ่งเป็ น เป็ นด้านการนําเข้าและส่ งออก ซึ่งในด้านการผลิตมีปริ มาณการผลิตลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 1.87 ส่ วน หนึ่งเป็ นผลจากปริ มาณวัตถุดิบลดลง ประกอบกับต้นทุนสิ นค้าอาหารโดยรวม ได้รับผลกระทบจาก ราคาวัตถุดิบนําเข้าจากตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นตามราคานํ้ามัน ซึ่งเป็ นไปในทิศทางเดียวกับการจัด


85 จําหน่ายที่มีปริ มาณการจัดจําหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 รวมถึงการส่ งออกที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นคิดเป็ นร้อย ละ 11.72 ซึ่งในด้านการนําเข้ามีมูลค่าการนําเข้าสูงขึ้นเนื่องจากราคานํ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นใน ตลาดโลกและค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลง ผลกระทบที่เกิดจากการ ลดภาษีเนื่ องจากมีการเปิ ดประชาค มเศรษฐกิจอาเซียน โดย ใน อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปสามารถแบ่งเป็ นอุตสา หกรรมหลักๆ คือ อุตสาหกรรมนํ้าตาล อุตสาหกรรมนํ้านมโคสด อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อุตสาหกรรมข้าว อุตสาหกรรมปศุสตั ว์ อุตสาหกรรมประมงและอุตสาหกรรมผักผลไม้ โดยในอุตสาหกรรมนํ้าตาลผลดีที่เ กิดจากการลดภาษี คือเพิ่มโอกาสการแข่งขันทางด้านการส่ งออกนํ้าตาลของไทยไปยังตลาดอาเซียนเพราะทําให้ตน้ ทุน ทางด้านภาษีนาํ เข้านํ้าตาลของไทยที่ส่งออกไปยังประเทศอาเซียนปรับลดลงส่ วนปัจจัยด้านลบที่ อาจจะกระทบต่อการส่ งออกนํ้าตาลของประเทศไทยได้แก่การลงทุนจากประเทศนอกกลุ่มอาเซี ยน เพื่อเข้ามาแย่งตลาดและการนําเข้านํ้าตาลทรายดิบจากประเทศนอกกลุ่มเข้ามาแปรรู ป ในส่ วนของ อุตสาหกรรมนํ้านมโคสดการลดภาษีลงส่ งผลให้อุตสาหกรรมนํ้านมโคสดของประเทศไทยลําบาก ยิง่ ขึ้นเนื่องจากคุณภาพนํ้านมโคสดของประเทศไทยยังไม่ดีเท่าที่ควร ส่ วนในด้านของอุตสาหกรรม อาหารสัตว์ น้ นั พบว่าหากมีการเปิ ด AEC ขึ้นจะทําให้ประเทศไทยเสี ยเปรี ยบเพราะจะมีสินค้าจาก ประเทศอื่นเข้ามาทําตลาดในไทยเนื่องจากปริ มาณการผลิตอาหารสัตว์ของประเทศไทยเพียงพอต่อ ความต้องการภายในประเทศเท่านั้นโดยไทยยังคงต้องพึ่งพาการนําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์บางประเภท เนื่องจากประเ ทศไทยผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ อุตสาหกรรมข้าว หากมีการเปิ ด AEC ประเทศไทยจะสามารถส่ งเสริ มและเปิ ดจุดรับซื้อข้าวอย่างเป็ นทางการ วัตถุดข้าวเปลือกและข้าวสาร เหล่านี้สามารถหล่อเลี้ยงชาวนา การผลิต โรงสี และอุตสาหกรรมแปรรู ปข้าวได้ ซึ่งเป็ นการส่ งเสริ ม ประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการค้าข้าวอย่างแท้จริ ง ในด้านอุตสาหกรรมปศุสั ตว์หากมีการเปิ ด AEC ประเทศไทยจะได้เปรี ยบ เนื่องจาก เกษตรกรมีการขยายการผลิต มีการปรับปรุ งมาตรฐานฟาร์ม กระบวนการควบคุม กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน บรรจุหีบห่ อที่รักษาอุณหภูมิ ตลอดเวลา ด้วย คุณภาพสด สะอาด ปลอดสาร ปลอดภัย และสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ เป็ นที่ได้รับการยอมรับ ในระดับสากล นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีความก้าวหน้าด้านการเลี้ยงสัตว์เชิงการค้ามากกว่าประเทศ อื่นๆในกลุ่มประเทศ AEC ทั้งยังมีนกั วิชาการที่ชาํ นาญการเลี้ยงสัตว์ที่มีประสิ ทธิภาพสูงมากกว่า ประเทศอื่นๆในกลุ่มประเทศ AEC ส่ งผลให้มีส่วนช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ของไทย ประกอบกับอุตสาหกรรมสุ กรและสุ กรแปรรู ปยังมีแนวโน้มเติบโตมากขึ้น ในด้านของ อุตสาหกรรมประมงนั้นหากมีการเปิ ด AEC ไทยมีขอ้ ได้เปรี ยบกับในอาเซียนเพราะประเทศไทยมี องค์ประกอบที่สาํ คัญในการเพาะเลี้ยงกุง้ ได้แก่พอ่ แม่พนั ธุ์กงุ้ ที่ดี เทคโนโลยี ซึ่งไทยมีการจัดสัมมนา


86 เผยแพร่ ขอ้ มูลเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับกุง้ อยูเ่ สมอ ไทยมีภูมิประเทศที่เอื้ออํานวย ในขณะที่ประเทศอื่น จะเจอพายุจาํ นวนมากและโครงสร้างพื้นฐาน ห้องเย็น และการขนส่ ง มีความ พร้อมมากกว่าประเทศ อื่น ในด้านสุ ดท้ายได้แก่อุ ตสาหกรรมผักและผลไม้ห ากมีการเปิ ด AEC ประเทศไทยจะต้องรับมื อกับ สิ นค้าของต่างชาติที่ จะเข้ามาในประเทศไทยซึ่ งอาจส่ งผลให้ผบู ้ ริ โภ คหันไปบริ โภคสิ นค้าที่ นําเข้ามา มากกว่าของประเทศดังนั้ นประเทศไทยจึงต้องควบ คุมคุณภาพในการเพาะป ลูกและการผลิตเพื่อ ป้ องกันปั ญหาดังกล่าว สาเหตุที่สาํ คัญอีกข้อหนึ่งในการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ เรื่ องของความมัน่ คง ทางอาหารเนื่องจากทุกประเทศต้องการแสวงหาความหลากหลายและความปลอดภัยทางอาหาร ซึ่ง ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูก การทํา เกษตรกรรม ประมง และ รวมถึงการทําปศุสตั ว์ ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีศกั ยภาพที่จะส่ งออกอาหารที่นาํ มาแปรรู ปเพื่อสร้าง โอกาสและรายได้ให้แก่ประเทศ ความมัน่ คงทางอาหารยังหมายรวมถึงการไม่มีสารเคมีปนเปื้ อนอยู่ ในอาหาร ซึ่งจากการเปิ ด AEC ในหลายๆ ประเทศก็มีนโยบายให้ตรวจสอบสิ น ค้าที่จะนําเข้ามาใน ประเทศเพื่อป้ องกันไม่ให้อาหารที่ปนเปื้ อนสารพิษเหล่านั้นเข้ามาภายในประเทศได้ ซึ่งในส่ วนในนี้ ทําให้ประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนได้รับความไว้วางใจจากนานาประเทศในเรื่ องความปลอดภัย ของอาหาร ข้อเสนอแนะ จากการเปิ ด AEC ส่ งผลกระทบต่อประเทศไทยในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการค้า ระหว่างประเทศเนื่องจากมีการลดภาษีในการนําเข้าสิ นค้าหลายประเภทจากประเทศสมาชิก จาก ปัจจัยที่เกิดขึ้นสามารถเสนอแนะได้ ดังนี้ 1. รัฐบาลควรให้ความสนใจกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) เนื่องจากประเทศ ไทยมีธุร กิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็ นจํานวนมาก รัฐบาลจึงควรออกนโยบายเกี่ยวกับการลงทุน ในธุรกิจ SME เช่น ให้เงินลงทุนในการพัฒนาระบบของกิจการให้มีความทันสมัย จัดให้มีการสัมมนา แลกเปลี่ยนความรู ้ระหว่างรัฐบาลและผูป้ ระกอบการเพื่อให้ผปู ้ ระกอบการทราบถึงสถานการณ์ของ การค้าในปั จจุบนั รวมถึงมีการให้ความรู ้เกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจ SME เป็ นต้น


87 2. รัฐบาลควรดูแลในเรื่ องของสิ นค้าในท้องตลาดที่คุณภาพตํ่ากว่ามาตรฐานโดยมีการตั้ง คณะกรรมการขึ้นมาดูแลโดยเฉพาะควบคุมคุณภาพของสิ นค้าที่จะส่ งออกไปต่างประเทศ เพื่อป้ องกัน ไม่ให้สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานอ อกไปยังต่างประเทศ เพราะในปัจจุบนั ยังมีการส่ งสิ นค้าที่ไม่ได้ มาตรฐานออกไปยังต่างประเทศซึ่งส่ งผลเสี ยต่อชื่อเสี ยงของประเทศไทย 3. รัฐบาลควรประชาสัมพันธ์ในเรื่ องของการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้ประชาชน ได้รับทราบถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากมีการเปิ ด AEC รวมถึงวิ ธีการปรับตัว เพราะในปัจจุบนั ประชาชนที่ยงั ไม่มีการศึกษาแต่เป็ นผูป้ ระกอบการยังไม่เข้าใจในผลที่จะเกิดขึ้นหากมีการเปิ ด AEC ในอนาคต 4. ผูป้ ระกอบการควรเน้นการสร้างความแปลกใหม่ในตัวสิ นค้าหรื อตัวผลิตภัณฑ์เพื่อสร้าง ความแตกต่างระหว่างสิ นค้าของเรากับสิ นค้าที่จะนําเ ข้ามาจากต่างประเทศ โดยรวมถึงการพัฒนา กระบวนการตั้งแต่เริ่ มผลิตจนถึงกระบวนการส่ งมอบสิ นค้าให้แก่ผบู ้ ริ โภค


88 เรื่อง การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพือ่ สิ่ งแวดล้อม ทีจ่ ะบัญญัติขนึ้ ในอนาคต ทีม่ าและความสํ าคัญ ด้วยสภาวะสังคมในปั จจุบนั ที่เน้นการเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ทําให้การผลิตสิ นค้า เพื่ออุปโภคบริ โภคขึ้นอย่างมากมาย ซึ่งการผลิตสิ นค้าเป็ นจํานวนมากนั้นสามารถตอบสนองความ ต้องการของผูบ้ ริ โภคได้ตามความต้องการก็จริ ง แต่ในทางตรงกันข้ามการที่ผลิตสิ นค้ามากนั้นก็ทาํ ให้ เกิดมลพิษมากขึ้นตามไปด้วย ทางด้านเกษตรกรรมก็เช่นเดียวกันเมื่อเกษตรกรต้องการผลิตผลที่ดีมี คุณภาพและดูดีในสายตาของผูบ้ ริ โภคจึงมากการใช้สารเคมีเป็ นจํานวนมาก ไม่วา่ จะเป็ นสารเคมี ประเภทกําจัดศัตรู พืช หรื อสารเคมีที่ทาํ ให้ผลผลิตเจริ ญเติบโตอย่างสวยงามไม่มีรอยแมลงกัดกินก็ ดี จึงทําให้มีสารเคมีตกค้างอยูใ่ นผลผลิตทางการเกษตรเหล่านั้น ประกอบการผลจากการนําเข้าสารเคมี ทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้น ส่ งผลให้กรมวิชาการเกษตร คงต้องเฝ้ าติดตามอัตราการ เพิ่มเติมของสารเคมีอนั ตรายอย่างต่อเนื่อง หากพบว่ามีวตั ถุอนั ตรายที่มีผลกระทบต่ อมนุษย์ พืช และ สภาพแวดล้อม ก็จะเสนอคณะกรรมการวัตถุอนั ตรายประกาศห้ามใช้ ห้ามซื้อห้ามขายและห้ามนําเข้า ทันที ผลกระทบดังกล่าว ได้นาํ มาสู่แนวทางแก้ไขเพื่อกระตุน้ ให้เกิดแนวคิดและกระบวนการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีอย่างกว้างขวาง แนวทางหนึ่งที่มีการเสนอกันก็คือ การออ กกฎหมายใหม่ที่มี เนื้อหาครอบคลุมและบูรณาการในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมีทางการเกษตร และการ ส่ งเสริ มการเกษตรธรรมชาติหรื อเกษตรยัง่ ยืน จึงเกิดมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม โดย กระทรวงการคลัง ได้จดั ทําร่ างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)มาตรการการคลังเพื่อสิ่ ง แวดล้อม ซึ่งร่ าง กฎหมายขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และเบื้องต้นได้มีการหารื อไปยัง ส่ วนราชการต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นกระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และกระทรวงสาธารณสุ ข ซึ่งสาระสําคัญของร่ างฉบับนี้ จะมี กําหนดมาตรการเรื่ องภาษีสิ่งแวดล้อม กําหนดวงเงินประกันความเสี่ ยงความเสี ยหายต่อสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งภาษีศุลกากร และภาษีสรรพสามิต ทั้งนี้เชื่อว่าหาก พ .ร.บ.ฉบับนี้ผา่ นออกมาได้จะเกิด ประโยชน์ต่อตัวผูบ้ ริ โภคมากยิง่ ขึ้น ปั จจุบนั นี้โลกของเราเปลี่ยนแปลงไปมากกิจวัตรการใช้ ชีวิตของผูค้ นเร่ งรี บมากยิง่ ขึ้นค่า ครองชีพสู งขึ้นทุกวัน รวมทั้งปั ญหาทางเศรษฐกิจอัตราเงินเฟ้ อต่างๆ ทําให้ผคู ้ นจําเป็ นต้องหารายได้ มาเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง จําเป็ นต้องมีการผลิตอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ แต่เราจะ


89 ทราบได้อย่างไรว่าอาหารที่บริ โภคจะสะอาดปลอดภัยต่อสุ ขภาพร่ างกาย ร่ างกายของมนุษย์จะสุ ขภาพ ดีหรื อแย่ข้ ึนอยูก่ บั อาหารเป็ นปั จจัยสําคัญ ไม่วา่ จะเป็ นอาหารแช่แข็ง อาหารจานด่วน พืชผักที่ใช้ สารเคมีเร่ งการเจริ ญโตหรื อป้ องกันแมลง ฯลฯ เราไม่ทราบได้เลยว่าอาหารจําพวกนั้นมีหรื อไม่มี ประโยชน์มากน้อยเพียงใด อีกทั้งอาจจะมี โทษต่อร่ างกายด้วย เรื่ องของอาหารในปัจจุบนั จึงปัญหา สําคัญต่อมนุษย์เป็ นอย่างมาก ร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมจึงเป็ นทางออกที่ดี ผลกระทบที่เกิดจากการจัดทําร่ างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)มาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมนั้นจะ ส่ งผลส่ วนต่อผูบ้ ริ โภคในทางที่ ดี แต่ในทางกลับสําหรับเกษตรกรและผูป้ ระกอบการนั้นอาจจะไม่ได้ ส่ งผลดีไปทั้งหมด อาจทําให้ตน้ ทุนของสิ นค้าเพิม่ มากขึ้นจนต้องเพิม่ ราคา อาจมีการนําเข้าสิ นค้า กักตุนล่วงหน้า รวมถึงราคาผลผลิตทางการเกษตรสูงขึ้นเช่นกัน จึงมีการศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ในอนาคตว่าแท้ที่จริ งนั้น พระราชบัญญัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ส่ งผลดีคุม้ ค่าต่อผลเสี ยที่จะเกิดขึ้นได้ ร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ผูท้ ี่มีส่วน เกี่ยวข้องโดยตรงไม่วา่ จะเป็ นผูป้ ระกอบการและเกษตรกรอาจจะยังไม่ทราบกันอย่างทัว่ ถึง จึง อยากจะศึกษาว่าถ้าหากทราบแล้วผูป้ ระกอบการและเกษตรกรจะมีการเตรี ยมตัวอย่างไรในการรับมือ กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งเห็นด้วยกับร่ างพระราชบัญญัติหรื อไม่ พร้อมทั้งเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น จริ งจะเกิดผลกระทบ หรื อส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมในทางที่ดีข้ ึนอย่างไร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาถึงการใช้สารเคมีและแนวทางในการจัดเก็บภาษีจากสารเคมีดา้ นเกษตรกรรม 2. เพื่อศึกษาร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม 3. เพื่อศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม ที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต


90 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บภาษีจากการใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม 2. ทําให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และประโยชน์ของร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อม 3. ทําให้ทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติมาตรการ สิ่ งแวดล้อม ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

การคลังเพื่อ

ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาถึงการจัดเก็บภาษีจากการใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายของประเทศไทย รวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นต่อ ผูบ้ ริ โภค เกษตรกร รวมทั้งผูป้ ระ กอบการ จากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม พื้นที่เขตจังหวัดชลบุรี วิธีการศึกษา ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมายไทยจากประมวลรัษฎากร วิทยานิพนธ์ งานวิจยั วารสารและหนังสื ออื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการศึกษาโดยสัมภาษณ์จากผูป้ ระกอบการหรื อ เกษตรกรที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ จังหวัดชลบุรี เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการแก้ไขในผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากการร่ างพระราชบัญญัติมาตรการ การ คลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะมีข้ ึนในอนาคต


91 เนือ้ หาการสั มมนา การใช้สารเคมี และแนวทางในการจัดเก็บภาษีจากสารเคมีดา้ นเกษตรกรรม การใช้สารเคมีเกิดขึ้นในประเทศเริ่ มแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเน้นการ เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็ นสําคัญการเพิ่มผลผลิตและรายได้เป็ นเป้ าหมายหลักสั้น ประกอบกับการ มีหนี้สิน ขาดเงินทุน และภาระการเงินของครอบครัว ปั จจัยต่างๆเหล่านี้สร้างแรงกดดันให้ตอ้ งการ รายได้มาก และรวดเร็ ว ดังนั้นการใช้สารเคมีช่วยทําให้สบายขึ้น ใช้เวลาและแรงงงานน้อยลง ได้ ผลผลิตจํานวนมาก นอกจากนี้ยงั กําจัดวัชพืช และแมลงได้อย่างรวดเร็ ว ผลผลิตที่ ได้ไม่เสี ยหายมาก นัก เกษตรกรจึงไม่ได้คาํ นึงถึงผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ประเทศไทยมีการนําเข้าสารเคมีประเภทต่าง ๆ อย่างกว้างขวางเพื่อรองรับการใช้งานโดยตรงในครัวเรื อน ในภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร และ อื่นๆอีกมากมายโดยในปี พ .ศ.2555นั้นประเทศไทยได้มีปริ มาณการนําเข้าสาร เคมีทางอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการผลิตเป็ นจํานวนถึง 114,209,018.22 กิโลกรัม การจัดเก็บภาษีสารเคมีดา้ นการเกษตรเพราะจากอดีตที่ผา่ นมาจนถึงปัจจุบนั สารเคมีทาง การเกษตรมีอตั ราภาษีนาํ เข้า และภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นศูนย์ ร่ างพระราชบัญญัติมาตรการ การคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม ในปั จจุบนั ประเทศต่างๆ ได้นาํ มาตรการการคลังมาใช้เป็ นมาตรการเสริ มในการจัดการ สิ่ งแวดล้อม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผกู ้ ่อมลพิษลดการก่อมลพิษ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการผลิต และบริ โภคไปในทางที่ก่อมลพิษน้อยลง มาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม หมายถึง มาตรการทาง ภาษี ค่าธรรมเนียม และมาตรการอื่นๆ ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผกู ้ ่อมลพิษช่วยรักษา สิ่ งแวดล้อม ดําเนินมาตรการป้ องกันและลดมลพิษจากกิจกรรมที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของตน บําบัด และกําจัดของเสี ย และแก้ไขความเสี ยหายด้านสิ่ งแวดล้อม และเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุ คคล ให้ลดการก่อมลพิษ โดย พ.ร.บ.มาตรการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมมีการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ ดังนี้


92 พ.ร.ฎ.ภาษีมลพิษทางนํ้า พ.ร.ฎ.ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์

พ.ร.ฎ.ภาษีมลพิษทางอากาศ พ.ร.ฎ.ฯลฯ

กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร และกรมสรรพากร มีอาํ นาจหน้าที่จดั เก็บภาษีการปล่อยมลพิษ และผลิตภัณฑ์และค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์จากผูผ้ ลิต ผูน้ าํ เข้า หรื อผูบ้ ริ โภคตามลําดับ การจัดการเงินรายได้ กองทุนภาษีและค่าธรรมเนียมสิ่ งแวดล้อม ให้แยกเงินในกองทุน ออกเป็ นบัญชีตามที่มาของเงินได้จากภาษีและค่าธรรมเนียม เงินกองทุน มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ใน กิจการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสิ่ งแวดล้อม ระบบการเก็บภาษีสารเคมีฐานภาษีในกรณี เป็ นภาษีสารเคมีในภาคการเกษตรอย่างเดียว ฐาน ภาษีสารเคมีคือ เกษตรกรที่ใช้สารเคมี ซึ่งอาจจะเท่ากับจํานวนครัวเรื อนเกษตร แต่เป็ นการเก็บภาษี การใช้เคมีในทุกภาคการผลิต อัตราภาษีเป็ นอัตราก้าวหน้าอย่างไรก็ตาม ถ้าต้องการให้ไม่ยงุ่ ยากเกินไป อาจคิดแบบอัตรา เดียวก่อนในระยะแรก แล้วจึงปรับในภายหลังจากที่มีการทดลองระบบข้อมูลไประยะหนึ่ง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การเก็บภาษีปัจจัยการผลิตย่อมมีผลกระทบต่อต้นทุนในการผลิตและราคาสิ นค้าซึ่งจะส่ งผล ถึงความสามารถในการแข่งขันนอกจากนี้ผบู ้ ริ โภคในประเทศไทยจะไม่พอใจ เพราะราคาสิ นค้า สูงขึ้น เพราะผูผ้ ลิตสามารถย้ายภาระไปให้ผบู ้ ริ โภครับผิดชอบ ในด้านการบริ หารเศรษฐกิจโดยรวม อาจจะมีผลต่ ออัตราเงินเฟ้ อและการขยายตัวในการลงทุนและการผลิต ซึ่งจะเป็ นปั ญหาที่เสี่ ยงต่อ เสถียรภาพทางการเมือง และความเชื่อมัน่ ทางเศรษฐกิจต่อไปด้วย


93 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ปั จจุบนั มีกิจการมากมายที่ใช้เคมีภณ ั ฑ์ในการประกอบธุรกิจเป็ นจํานวนมากซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่ง ของการส่ งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมจึงทําให้ทางรัฐบาลได้จดั ร่ างพระราชบัญญัติฯเพื่อลดการใช้ เคมีภณ ั ฑ์และสิ่ งที่ก่อให้เกิดมลพิษเพื่อที่จะทําให้สินค้าอุปโภคบริ โภคมีคุณภาพปลอดสารเคมี จาก การศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากการร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะ บัญญัติ ขึ้นในอนาคต ได้แนวทางในการจัดเก็บภาษี และค่าธรรมเนียม รวมทั้งวิธีแก้ไขป้ องกันเพื่อรองรับ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการร่ างพระราชบัญญัติมาตรการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต จึงได้บทสรุ ปดังนี้ แนวทางในการจัดเก็บภาษีสารเคมี มีเป้ าหมายเพื่อนําไปสู่ การลด ละ เลิกการใช้สารเคมีใน การเกษตร และปรับต้นทุน ราคาผลผลิตเกษตรให้ใกล้เคียงกับระดับราคาที่แท้จริ งมากขึ้น เพื่อกระตุน้ ให้เกษตรกร และผูป้ ระกอบการมีความรับผิดชอบต่อสังคม เพราะปัจจุบนั ผูบ้ ริ โภคต้องพบกับ วิกฤตการณ์อาหารราคาแพง โดยมาจากปัญหาภาคการเกษตรที่ถูกปรับเปลี่ยนจากการเพาะปลูกเพื่อ การส่ งออก มาแทนการเพาะปลูกเพื่อการบริ โภคภายในประเทศ การเปลี่ยนมาเป็ นอุตสาหกรรม การเกษตรขนาดใหญ่ที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ต้องสิ้ นเปลืองปุ๋ ย ยาฆ่าแมลง และแหล่งนํ้า เบียดเบียนวิถี เกษตรเพื่อชุมชน สู่ภาค “ธุรกิจการเกษตร” อย่างไร้เหตุผล นอกจากจะไม่บรรเทาความอดอยากแล้ว ยังทําให้ประชาชนหลายล้านคนในประเทศที่ส่งออกอาหาร เช่น ประเทศอินเดีย ประชากร 1 ใน 5 ต้องอดมื้อกินมื้อ แม้แต่เด็กอายุต่าํ กว่า 5 ปี อีก 48% ยังต้องประสบภาวะที่ได้รับสารอาหารมากหรื อ น้อยเกินไป และในประเทศโคลัมเบีย ประชากรถึง 13% ก็ประสบภาวะนี้ เช่นกันโดยไม่คาํ นึงถึง ผูบ้ ริ โภคและสภาพแวดล้อม ดังนั้นทางคณะอาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ให้ความสําคัญต่อภาค เกษตรกรรมและสภาพแวดล้อมเป็ นอย่างมาก จึงได้เสนอแนะแนวทาง และประมาณฐานภาษี อัตรา ภาษี ผูเ้ ก็บภาษีสารเคมี ผูท้ ี่ตอ้ งเสี ยภาษี ดังนี้ ฐานภาษี : กรณี เป็ นภาษีสารเคมีในภาคเกษตรอย่างเดียว ฐานภาษีสารเคมีคือ เกษตรกรที่ใช้ สารเคมี ซึ่งอาจจะเท่ากับจํานวนครัวเรื อนเกือบทั้งหมด ประมาณการฐานภาษีอาจจะเท่ากับจํานวน ครัวเรื อนเกษตร แต่เป็ นการเก็บภาษีการใช้เคมีในทุกภาคผลิต


94 อัตราภาษี: สามารถคิดจากปริ มาณการใช้ และมูลค่า อาจใช้เป็ นอัตราก้าวหน้าตามขนาดหรื อ ปริ มาณ และมูลค่าการใช้ ซึ่งจะมีประสิ ทธิผล และความเป็ นธรรมมากขึ้นแต่การเก็บภาษีน้ ีตอ้ งมี ข้อมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ นอกจากนี้สารเคมีอาจมีระดับความอันตรายแต กต่างกัน อัตราภาษีน่าจะแตกต่างกันด้วย เช่น เป็ นอัตราก้าวหน้า คืออัตราสูงขึ้นตามระดับอันตรายของสารเคมี แต่ตอ้ งมีความสามารถในการตรวจวัดระดับความอันตรายหรื อประเภทความเสี่ ยงต่างๆของสารเคมี แต่ถา้ มีขอ้ มูลวิชาการเพียงพอ อาจใช้เป็ นพื้นฐานในการตั้งอัตราภาษีแตกต่าง กันได้ อย่างไรก็ตาม ถ้า ต้องการให้ไม่ยงุ่ ยากเกินไป อาจคิดแบบอัตราเดียวก่อนในระยะแรก แล้วจึงปรับในภายหลังจากที่มี การทดลองระบบข้อมูลไประยะหนึ่ง เพราะจะต้องมีขอ้ มูลผูใ้ ช้สารเคมี ปริ มาณการซื้ อ โดยผูจ้ าํ หน่าย ต้องเพิ่มค่าธรรมเนียมจากราคาขายด้วย ผู้เก็บภาษีสารเคมี : ถ้าเป็ นไปตามกฎหมาย กระทรวงการคลัง หรื อกรมเศรษฐกิจการพาณิ ชย์ หรื อกระทรวงเกษตร หรื อหน่วยงานอื่นควรรับผิดชอบเก็บค่าธรรมเนียมนี้ จะต้องมีกฎหมายรองรับ นอกจากนี้อาจจะต้องพิจารณาว่า หน่วยงานท้องถิ่นจะมีบทบาทได้อย่างไรในการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจจะเป็ นไปได้วา่ ถ้าการเก็บโดยท้องถิ่น จะสามารถเก็บไว้เป็ นกองทุนในระดับท้องถิ่นได้หรื อไม่ ผู้ทตี่ ้ องเสี ยภาษี: เก็บจากธุรกิจที่จาํ หน่ายสารเคมี ซึ่งธุรกิจเป็ นเสมือนตัวแทนของผูใ้ ช้ สารเคมี ดังนั้นในขณะที่ขอ้ มูลเกี่ยวกับผูใ้ ช้สารเคมียงั ไม่มีวิธีการจัดเก็บง่ายที่ สุ ด คือ การเก็บจากผู ้ จําหน่าย นอกเหนือจากมูลค่าเพิ่มแล้ว ต้องรวมค่าธรรมเนียมการจําหน่ายและการใช้สารเคมีไปด้วย พร้อมกัน หรื อถ้าคิดค่าธรรมเนียมการจําหน่ายเป็ นเสมือนตัวแทนของการใช้ ดังนั้นอาจเป็ น ค่าธรรมเนียมที่รวมทั้งการจําหน่าย และการใช้ดว้ ย อย่างไรก็ตามในระยะยาวถ้าพัฒนาฐานข้อมูลให้มี ศักยภาพในการจัดเก็บจากผูใ้ ช้ได้ ก็สามารถจัดเก็บโดยตรงเป็ นค่าธรรมเนียมจากผูจ้ าํ หน่ายส่ วนหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็ นการเก็บที่เป็ นลักษณะการเก็บจากปั จจัยคงที่ อาจจะเรี ยกว่าเป็ นค่าธรรมเนียมในการ จําหน่ายสารเคมี และอีกส่ วนหนึ่งเป็ นค่าธรรมเนียมจากก ารใช้สารเคมี คือมีลกั ษณะการจัดเก็บจาก ปัจจัยที่แปรผันตามการผลิต ร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม เป็ นมาตรการทางภาษี ค่าธรรมเนียม และมาตรการอื่นๆ ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผกู ้ ่อมลพิษช่วยรับผิดชอบสิ่ งแวดล้อม ดําเนินมาตรการป้ องกันแ ละลดมลพิษจากกิจกรรมที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของตน บําบัดและกําจัด ของเสี ย แก้ไขความเสี ยหายด้านสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลให้ลดการ ก่อมลพิษ เพราะปั จจุบนั หากจะมองในระยะยาวแล้วจะพบว่า ความมัน่ คงทางอาหารและพลังงานของ


95 โลก จะมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปั ญ หาสําคัญ ทั้งนี้ ความต้องการพืชพลังงาน สิ นค้าเกษตรและอาหารมี แนวโน้มจะเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก ทําให้เกษตรกรนําเคมีภณ ั ฑ์มาใช้ในการ เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์เพื่อที่จะเร่ งผลผลิตให้ทนั ต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภคโดยไม่เห็นความสําคัญต่อ สภาพแวดล้อมและสุ ขภาพของผูบ้ ริ โภค ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีสารเคมีที่เกิดจากการร่ างพระราชบัญญัติที่ได้ ทําการศึกษาพบว่ามีท้ งั ผลกระทบเชิงบวก และเชิงลบ โดยได้ทาํ การศึกษาถึงผูป้ ระกอบการจํานวน ทั้งหมด 11 ราย พบว่าส่ วนใหญ่ไม่ทราบในร่ างพระราชบัญญัติฯว่าจํานวน 7 ราย และทราบถึงร่ าง พระราชบัญญัติ 4 ราย ซึ่งคณะผูจ้ ดั ทําจึงทําการอธิบายถึงร่ างพระราชบัญญัติฯให้กบั ผูป้ ระกอบการ และมีผปู ้ ระกอบการเห็นด้วย 3 ราย เพราะเข้าใจว่าตัวร่ างพระราชบัญญัติมีผลประโยชน์ในระยะยาว ต่อการพัฒนาสิ่ งแวดล้อมของประเทศ ซึ่งมีจาํ นวน 8 ราย แสดงความคิด เห็นไม่เห็นด้วย 8 ราย เพราะว่าพระราชบัญญัติฯส่ งผลกระทบเชิงลบซึ่งจะทําให้เกิดการเพิ่มต้นทุนมากขึ้นจนทําให้สินค้า อุปโภคบริ โภคมีราคาสู งขึ้นจึงอาจทําให้เกิดวิกฤติราคาสิ นค้าอุปโภคบริ โภคสูงขึ้น สุ ดท้าย ผูป้ ระกอบการแต่ละกิจการได้แสดงความคิดเห็นว่าควรให้ทางรัฐบาลประกาศ แน่ชดั และเสนอแนะ วิธีทางต่างๆ ให้แก่ผปู ้ ระกอบการอย่างเป็ นธรรมโดยกระจายภาษีให้ครอบคลุมทั้งหมด ทั้งผูผ้ ลิต สารเคมี ผูป้ ระกอบการ และผูบ้ ริ โภค อย่างยุติธรรมในตามสัดส่ วนที่ควรจะเป็ น อย่างที่ทราบดีอยูแ่ ล้วว่าการใช้สารเคมี มีผลเสี ยที่กระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และผูบ้ ริ โ ภค เพราะ ในปัจจุบนั การดําเนินชีวิตเป็ นไปอย่างเร่ งรี บ ทุกอย่างเป็ นธุรกิจ ทําให้เกิดการแข็งขันกันอย่างมากมาย รวมทั้งอัตราเงินเฟ้ อ ค่าครองชีพก็สูงขึ้นทุกวัน ทําให้คนมองข้ามสิ่ งแวดล้อมไม่ดูแลรักษา จึงส่ งผล กระทบมากมาย ในมุมมองของเกษตรกรการใช้สารเคมีจึงเป็ นทางออกที่ ง่ายและให้ผลดีที่สุดสําหรับ สถานการณ์ปัจจุบนั เพราะหากต้องเช่าพื้นที่ในเวลาและเงินทุนที่จาํ กัด จึงต้องใช้เวลาในการเพาะปลูก ที่รวดเร็ ว เกษตรกรจึงมีการใช้สารเคมีที่มากขึ้นเรื่ อยๆ ผูป้ ระกอบการจึงเล็งเห็นถึงประโยชน์ขอ้ นี้ มาก ยิง่ ขึ้น มีการนําเข้าสารเคมีมากขึ้นเพื่อต อบสนองความต้องการของเกษตรกร ผลเสี ยจึงตกไปอยูก่ บั ผูบ้ ริ โภค สารพิษตกค้างอยูใ่ นอาหาร พืชผักต่างๆที่ผบู ้ ริ โภคได้รับประทานอยูท่ ุกวัน อาจทําให้เกิดผล เสี ยต่อสุ ขภาพตาม ทางรัฐบาลจึงเห็นถึงปัญหาข้อนี้ได้มีร่างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อม ให้มีการจัดเก็ บภาษี และค่าธรรมเนียม กับผูใ้ ช้สารเคมีรวมทั้งผูป้ ระกอบการจัดจําหน่าย สารเคมี เพื่อให้ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี การจําหน่ายสารเคมีกจ็ ะลดลงตามไปด้วย ผูบ้ ริ โภคก็จะมี สุ ขภาพที่ดี และสิ่ งแวดล้อมไม่วา่ จะเป็ นดิน นํ้า อากาศก็จะดีข้ ึนไปด้วยเช่นกัน


96 ข้อเสนอแนะ 1. กระจายข่าวสารให้ประชาชนทราบเกี่ยวกับร่ างพระราชบัญญัติให้เป็ นที่รู้จกั มากขึ้น ปั จจุบนั จากการสํารวจพบว่ามีผปู ้ ระกอบการส่ วนใหญ่ยงั ไม่ทราบเกี่ยวกับร่ าง พระราชบัญญัติฯฉบับนี้ดงั นั้นทางรัฐบาลควรมีการจัดอบรม และกระจายข่าวสารให้ทว่ั ถึงกับผูท้ ี่ เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นข้อมูลในการเตรี ยมตัวกับการที่จะมีพระราชบัญญัติฉบับนี้ 2. ปลูกฝังแนวความคิดกับการบริ โภคสิ นค้าทางการเกษตรที่ปลอดสารเคมี และปลูก จิตสํานึกรักสิ่ งแวดล้อมให้แก่เยาวชนรุ่ นใหม่ พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อโรงเรี ยน ควรมีการปลูกฝังความคิดในการบริ โภคอาหารที่ ปลอดภัยจากสารเคมี รวมปลูกฝังจิตสํานึกเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม เพราะปัจจุบนั เป็ นสังคมเร่ งรี บ ประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ ว จึงหันมาบริ โภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ รวมทั้งกิจกรรมใน การดําเนินชีวิตต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ดังนั้นจึงควรมีการแนะนําให้หนั มารับประทาน อาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี และปลูกฝังจิตสํานึกที่ดี ให้ดูแลสิ่ งแวดล้อมกันมากขึ้น 3. ปลูกฝังแนวความคิดกับการเกษตรแบบยัง่ ยืน ปั จจุบนั เกษตรกรได้ทาํ การเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์แบบเร่ งผลผลิต เพราะเกษตรกรมีเงิน ค่อนข้างน้อย จําเป็ นที่จะต้องเช่าพื้นที่ หรื อที่ทาํ กิน เพื่อเพาะปลูกพืชผล แต่จาํ เป็ นต้องการผลิตผลที่ รวดเร็ วเพราะค่าเช่าที่ทาํ กินแพง หากเช่าเป็ นเวลานานจะทําให้ตน้ ทุนสู งขึ้น กําไรตํ่าลงเกษตรกรจึง มองข้ามการเกษตรที่ยงั่ ยืน มาใช้สารเคมีเพื่อเร่ งการเจริ ญเติบโตของผลิตผล แต่การใช้สารเคมีส่ง ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และผูบ้ ริ โภค ทางรัฐบาลจึงควรใ ห้ความรู ้เกี่ยวกับการเกษตรแบบยัง่ ยืน ให้แก่เกษตรกร


ส่ วนที่ 3 สรุ ปผลการประเมินตามหัวข้ อในแบบประเมิน ความน่ าสนใจของหัวข้ อในการสั มมนา ผูต้ อบแบบสอบถามในครั้งนี้มีจาํ นวน 112 คน ผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่า หัวข้อเรื่ อง ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU มีความน่าสนใจในระดับดี คิด เป็ นร้อยละ 77.70 เนื่องจากหัวข้อเรื่ อง ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่ม ประเทศ EU มีความน่าสนใจมากในปัจจุบนั รองลงมาคือหัวข้อเรื่ อง มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและ สหกรณ์เพื่อสร้างความยั่ งยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทยคิดเป็ นร้อยละ 64.30 ลําดับต่อมาคือหัวข้อ เรื่ อง การวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และ สุ พรรณบุรี คิดเป็ นร้อยละ 59.80 ลําดับถัดมาคือหัวข้อเรื่ อง ผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ าง พระราชบัญ ญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต คิดเป็ นร้อยละ 58.90 หัวข้อเรื่ อง ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ผลต่อการส่ งออกใน อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย คิดเป็ นร้อยละ 57.10 และ ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้า นํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย คิดเป็ น ร้อยละ 55.40 ตารางที่ 3-1 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามความน่าสนใจของหัวข้อในการสัมมนา ระดับการประเมิน ตํ่ากว่ า ปาน แก้ไข หัวข้ อในการสั มมนา รวม ดีมาก ดี มาตรฐา กลาง ปรับปรุง น (5) (4) (3) (2) (1) 1. ผลกระทบจาก GSP ของ 8 87 17 0 0 112 อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน (7.10) (77.70) (15.2) (0.00) (0.00) (100.00) กลุ่มประเทศ EU


98 ตารางที่ 3-1 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามความน่าสนใจของหัวข้อในการสัมมนา (ต่อ) ระดับการประเมิน ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข ดีมาก ดี หัวข้ อในการสั มมนา รวม กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง (5) (4) (3) (2) (1) 27 67 17 1 0 112 2. การวิเคราะห์ความมัน่ คง (24.10) (59.80) (15.20) (0.90) (0.00) ของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขต พื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และ สุ พรรณบุรี 18 72 21 1 0 112 3. มาตรการส่ งเสริ มทางภาษี (16.10) (64.30) (18.80) (0.90) (0.00) (100.00) และสหกรณ์เพื่อสร้างความ ยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของ ไทย 33 62 17 0 0 112 4. ผลกระทบของการลดภาษี (0.00) (100.00) นําเข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ด (29.50) (55.40) (15.20) (0.00) เสรี ประชาคมอาเซียน(AEC)ที่ มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันใน ประเทศไทย 35 64 13 0 0 112 5. ผลของการลดภาษีเพื่อ (31.30) (57.10) (11.60) (0.00) (0.00) (100.00) รองรับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนที่ผลต่อการส่ งออกใน อุตสาหกรรมอาหารแปรรู ป ของไทย 66 21 0 0 112 6. ผลกระทบทางภาษีสารเคมี 25 (22.30) (58.90) (18.80) (0.00) (0.00) (100.00) จากร่ างพระราชบัญญัติ มาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนใน อนาคต


99 ความรู้ความสามารถของวิทยากร ผูต้ อบแบบสอบถามในครั้งนี้มีจาํ นวน 112 คน ผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่า หัวข้อเรื่ อง ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU วิทยากรมีความรู ้ความสามารถ ในระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 63.40 เนื่องจากหัวข้อเรื่ องผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป ในกลุ่มประเทศ EU มีความน่าสนใจมากในปัจจุบนั รองลงมาคือหัวข้อเรื่ อง ผลขอ งการลดภาษีเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย คิด เป็ นร้อยละ 60.70 ลําดับต่อมาคือหัวข้อเรื่ องการวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่ จังหวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรีและมาตรการส่ งเสริ มทางภ าษีและสหกรณ์เพื่อ สร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย คิดเป็ นร้อยละ 56.30 ลําดับถัดมาคือหัวข้อเรื่ อง ผลกระทบ ของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจ ปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย คิดเป็ นร้อยละ 54.50 ส่ วนหัวข้อเรื่ อง ผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ าง พระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต คิดเป็ นร้อยละ 52.70 ตารางที่ 3-2 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู ้ความสามารถของวิทยากร ระดับการประเมิน ความรู้ความสามารถของ ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข ดีมาก ดี รวม วิทยากร กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง (5) (4) (3) (2) (1) 1. ผลกระทบจาก GSP ของ 22 71 18 1 0 112 อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน (19.60) (63.40) (16.10) (0.90) (0.00) (100.00) กลุ่มประเทศ EU 27 63 21 1 0 112 2. การวิเคราะห์ความมัน่ คง (24.10) (56.30) (18.80) (0.90) (0.00) (100.00) ของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขต พื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และ สุ พรรณบุรี


100 ตารางที่ 3-2 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู ้ความสามารถของวิทยากร (ต่อ) ระดับการประเมิน ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข ความรู้ความสามารถของ ดีมาก ดี รวม กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง วิทยากร (5) (4) (3) (2) (1) 22 63 26 1 0 112 3. มาตรการส่ งเสริ มทางภาษี (19.60) (56.30) (23.20) (0.90) (0.00) (100.00) และสหกรณ์เพื่อสร้างความ ยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของ ไทย 29 61 21 1 0 112 4. ผลกระทบของการลดภาษี (0.00) (100.00) นําเข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ด (25.90) (54.50) (18.80) (0.90) เสรี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจ ปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย 25 68 19 0 0 112 5. ผลของการลดภาษีเพื่อ (22.30) (60.70) (17.00) (0.00) (0.00) (100.00) รองรับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนที่มีผลต่อการส่ งออก ในอุตสาหกรรมอาหารแปร รู ปของไทย 59 28 1 0 112 6. ผลกระทบทางภาษีสารเคมี 24 (21.40) (52.70) (25.00) (0.90) (0.00) (100.00) จากร่ างพระราชบัญญัติ มาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนใน อนาคต หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็ นค่าร้อยละ


101 เอกสารและสื่ อประกอบการบรรยาย ผูต้ อบแบบสอบถามในครั้งนี้มีจาํ นวน 112 คน ผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่า เนื้อหาสาระของ เอกสารประกอบการสัมมนามีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 47.60และคุณภาพและ ความพร้อมของสื่ อที่ใช้ในการสัมมนา เช่น LCD คอมพิวเตอร์อยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 35.90 ตารางที่ 3-3 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับเอกสารและสื่ อประกอบการบรรยาย ระดับการประเมิน ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข เอกสารและสื่ อประกอบการ ดีมาก ดี รวม กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง บรรยาย (5) (4) (3) (2) (1) 26 69 17 0 0 112 1. เนื้อหาสาระของเอกสาร ประกอบการสัมมนามีความ (17.90) (47.60) (11.70) (0.00) (0.00) (100.00) เหมาะสม 2. คุณภาพและความพร้อมของ 27 52 29 4 0 112 สื่ อที่ใช้ในการสัมมนา เช่น (18.60) (35.90) (20.00) (2.80) (0.00) (100.00) LCD คอมพิวเตอร์ หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็ นค่าร้อยละ ผู้จัดการสั มมนา ผูต้ อบแบบสอบถามในครั้งนี้มีจาํ นวน 112 คนผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่าเรื่ องวิธีการและ ระยะเวลาในการประชาสัมพันธ์ของผูจ้ ดั การสัมมนาอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 39.30 ส่ วนเรื่ องการ จัดเตรี ยมสถานที่บรรยายและจุดลงทะเบียนของผูจ้ ดั การสัมมนาอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 50.30 และ การให้การต้อนรับและการบริ การของผูด้ าํ เนินการสัมมนาผูจ้ ดั การสัมมนาอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ น ร้อยละ 44.80


102 ตารางที่ 3-4 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับผูจ้ ดั การสัมมนา ระดับการประเมิน ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข ดีมาก ดี ผู้จัดการสั มมนา รวม กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง (5) (4) (3) (2) (1) 21 57 31 2 1 112 1. วิธีการและระยะเวลาใน การประชาสัมพันธ์มีความ (14.50) (39.30) (21.40) (1.40) (0.70) (100.00) เหมาะสม 16 73 22 0 1 112 2. การจัดเตรี ยมสถานที่ (0.70) (100.00) บรรยายและจุดลงทะเบียนมี (11.00) (50.30) (15.20) (0.00) ความเหมาะสม 3. การให้การต้อนรับและการ 26 65 19 2 0 112 บริ การของผูด้ าํ เนินการ (17.90) (44.80) (13.10) (1.40) (0.00) (100.00) สัมมนา หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็ นค่าร้อยละ ประโยชน์ และการนําไปใช้ ผูต้ อบแบบสอบถามในครั้งนี้มีจาํ นวน 112 คนผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่าเนื้อหาสาระ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของข้อสัมมนาอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 46.90 ส่ วนผูต้ อบ แบบสอบถามมีความรู ้ความเข้าใจก่อนเข้าฟังสัมมนาอยูใ่ นระดับปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 32.40 และ ผูต้ อบแบบสอบถามหลังจากเข้าฟังสัมมนาได้รับความรู ้ความเข้าใจอยูใ่ นระดับดี คิดเป็ นร้อยละ 50.30


103 ตารางที่ 3-5 จํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกับประโยชน์และการนําไปใช้ ระดับการประเมิน ปาน ตํ่ากว่ า แก้ไข ดีมาก ดี ประโยชน์ และการนําไปใช้ รวม กลาง มาตรฐาน ปรับปรุง (5) (4) (3) (2) (1) 35 68 8 1 0 112 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหัวข้อ (24.10) (46.90) (5.50) (0.70) (0.00) (100.00) สัมมนา 2. ท่านมีความรู ้ความเข้าใจ 19 32 47 13 1 112 ก่อนเข้าฟังสัมมนาเพียงใด (13.10) (22.10) (32.40) (9.00) (0.70) (100.00) 3. หลังจากเข้าฟังสัมมนาท่าน 25 73 13 0 1 112 ได้รับความรู ้ความเข้าใจ (17.20) (50.30) (9.00) (0.00) (0.70) (100.00) เพียงใด สรุ ปผลการประเมิน ผลการประเมินการสัมมนาทางวิชาการในหัวข้อเรื่ อง ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรม กุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU, การวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าวในเขตพื้นที่จงั หวัด ปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี , มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความ ยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย , ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย , ผลของการลดภาษีเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย , ผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึน ในอนาคต แบ่งออกเป็ น 5 ด้าน คือ ความน่ าสนใจในหัวข้อการสัมมนา ความรู ้ความสามารถของ วิทยากร เอกสารและสื่ อประกอบการบรรยาย ผูจ้ ดั สัมมนา และประโยชน์และการนําไปใช้ สามารถ สรุ ปได้วา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีความเห็นอยูใ่ นระดับดี ในทุกด้าน ยกเว้นในส่ วนของความรู ้ความ เข้าใจก่อนเข้าฟังสัมมนามีความเห็นอยูใ่ นระดับปานกลางที่ได้ทาํ การประเมินผล


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก ภาพบัตรเชิญเข้ าร่ วมฟังการสั มมนา


ภาพที่ 1 บัตรเชิญเข้าร่ วมฟังการสัมมนาเชิงวิชาการ


ภาคผนวก ข การประชาสั มพันธ์ การสั มมนา


ภาพที่ 2 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “ศึกษาผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU”


ภาพที่ 3 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “การวิเคราะห์งบการเงินที่มีผลต่อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตพื้นที่จงั หวัดปทุมธานี พระนครศรี อยุธยา และสุ พรรณบุรี”


ภาพที่ 4 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจกาแฟของไทย”


ภาพที่ 5 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย”


ภาพที่ 6 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีผลต่อการส่ งออกในอุตสาหกรรม อาหารแปรรู ปของไทย”


ภาพที่ 7 เอกสารประชาสัมพันธ์การสัมมนา เรื่ อง “การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อม ที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต”


ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการสั มมนา


หลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

ผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุ้งไทยต่ อระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป

(Generalized System of Preferences หรื อ GSP) คือ การให้ สิ ทธิพิเศษทางภาษีแก่สินค้าที่เกิดจากประเทศที่กาํ ลังพัฒนา โดย การ ลดหย่อน , ยกเว้นภาษีแก่สินค้ าที่อยูใ่ นข่ายได้รับสิ ทธิพิเศษทางการค้ า แบ่ง ออกเป็ น 1 หลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปใหม่ มี 3 รูปแบบ คือ สิ ทธิ พิเศษภายใต้มาตรการปกติ(GSP), สิ ทธิพิเศษภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนา ที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล(GSP+) และ สิ ทธิพิเศษสาหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด 2 หลักเกณฑ์ การให้ สิทธิ GSP: ประเทศทีร่ ับสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีจะต้ องไม่ มคี ุณสมบัติ ต้ องห้ าม ดังนี้ ประเทศที่ถกู จัดลําดับโดยธนาคาร โลกให้เป็ นประเทศที่มีรายได้สูง หรื อประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสูง เป็ นเวลาต่อเนื่องกัน 3 ปี 3 หลักเกณฑ์ การตัดสิ ทธิ GSP จะมีขนึ้ เมื่อส่ วนแบ่งตลาดสิ นค้าของประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP เกิน 17.5% ของมูลค่าการนําเข้ารวมจากประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP ทัว่ โลก 4 หลักเกณฑ์ การตัดสิ ทธิชั่วคราวสํ า หรับ GSP ทั้ง 3 ประเภท ในกรณีดงั นี้ การละเมิด พันธกรณี ในอนุสัญญาที่ EU กําหนดอย่างรุ นแรง การส่ งออกสิ นค้า ที่ผลิตจากแรงงาน นักโทษ

การบกพร่ องในการควบคุมการผ่าน

แดน สิ่ งผิดกฏหมาย

การมีผลบังคับใช้ ของระบบ GSP ฉบับใหม่ จะมีผลบังคับใช้ใน 20 วันหลังจากวันที่ ติดประกาศใน ระบบและทั้ง 3 ประเภท จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2557

เมื่อสหภาพยุโรป ได้ประกาศปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การให้สิทธิพิเศษทางการค้า ภายใต้ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สิ นค้าที่ได้รับผลกระทบมาก คือ สิ นค้าที่มีส่วนต่าง อัตราภาษี เช่นในอุตสาหกรรมกุง้ สด และแปรรู ป จึงส่ งผลกระทบ ภาคการส่ งออก ของไทยอย่างเห็นได้ชดั ด้วยภาษีที่เ พิ่มขึ้น ทําให้ การส่ งออกกุง้ ของไทย ชะงัก และมีแนวโน้ม ที่จะลดลงอย่างต่อเนื่อง ทางแก้สาํ หรับปัญหานี้ คือการเจรจาขอทํา FTA กับสหภาพยุโรปเพื่อลดกําแพงของภาษีลง ให้เทียบเท่ากับ คู่แข่งที่สาํ คัญ ของประเทศ ไทย เช่น มาเลเซี ย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่ งออกกุง้ ไทย ด้วยเหตุน้ ี เราย่อมหนีไม่พน้ กับผลกระทบด้านราคาอาหาร โดยเฉพาะกลุ่มที่โดน ตัดสิ ทธิ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) จากสหภาพยุโรป ก่อให้เกิด วิกฤตการณ์อาหาร ส่ งผลกระทบต่อประชาช นในประเทศ รวมถึง ส่ งผลกระทบทัว่ ทั้งโลก เนื่องด้วยประเทศ ไทยเป็ นผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก อัตราภาษีที่เพิ่มขึ้น ส่ งผล ให้ ราคาอาหาร เพิ่มขึ้น ส่ งผลกระทบต่อชนชั้นกลาง ค่าแรงที่เพิ่มขึ้

น ถึงแม้จะทิศทาง

เดียวกัน แต่ก็ ยังไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายเพื่ อการอุปโภคบริ โภค ที่รัฐบาลต้องกําหนด มาตรการเพื่อว างนโยบายและดําเนินการ เพื่ อ รองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นในอนาคต อันใกล้น้ ี


การวิเคราะห์ งบการเงินทีม่ ผี ลต่ อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจ ข้ าว ส่ วนที่ 1 วิกฤตการณ์ อาหาร แม้ประเทศไทยเป็ นผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนีไม่พน้ กับผลกระทบด้านราคาอาหารที่ เพิ่มสูงขึ้นและคาดว่าจะยังคงอยู่ ในเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเกิด จากปั จจัยสําคัญที่ ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง สวนทางกับความต้องการบริ โภค ที่มีแนวโน้มสูงขึ้ น อย่างเห็นได้ชดั ส่ วนที่ 2 สถานการณ์ ของกลุ่มธุรกิจข้ าว 1. การผลิตข้ าวลดลง เนื่องจากเกษตรกรหันไปปลูกพืชอย่างอื่นแทน เพราะ มีตน้ ทุนการ เพาะปลูกที่ต่าํ กว่า 2. ต้ นทุนในการผลิตข้ า ว ต้นทุนในการผลิตข้าวของไทย พบว่าสูง เพราะมีการใช้ปุ๋ยและ สารกําจัดศัตรู พืชอย่างสิ้ นเปลือง 3. ราคาข้ าว การยกระดับราคาข้าวเปลือกภายในประเทศของรัฐตามนโยบายรับจํานํา ข้าวเปลือกยังจะมีผลทําให้ตน้ ทุนการส่ งออกข้าวไทยปรับตัวสูงขึ้น 4. การส่ งออกข้ าว ประเทศเวียดนามมีส่งออกข้าวไปยังกลุ่มอ าเซี ยนมากที่สุด ประเทศ ไทยจึงต้องยกระดับพัฒนาข้าวไทยโดยเน้นเรื่ องคุณภาพมาตรฐาน 5. การสต็อกข้ าว การส่ งออก มีปริ มาณลดลงร้อยละ 35 ซึ่ งสาเหตุเพราะราคาข้าวใน ประเทศไทยสู งกว่าราคาตลาดเป็ นจํา นวนมาก ทําให้มีปัญหาในการขาย ส่ งผลให้ประเทศไทยมี การสต๊อกข้าวสู งถึง 14 ล้านตัน 6. เหตุการณ์ นํา้ ท่ วมในปี 2554 ส่ งผลให้ผลผลิตจากการปลูกข้าวสูญเสี ยเป็ นจํานวนมาก ทําให้ชาวนาได้รับผลกระทบอย่างหนัก 7. ประเทศไทยเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส่ งผลให้ ประเทศไทยเกิดข้อเสี ยเปรี ยบ ในได้การส่ งออกข้าว ส่ วนที่ 3 ปัจจัยทีส่ ่ งผลกระทบต่ อความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้ าว 1. ปัจจัยด้ านบวก 1.1 นโยบายประกันรายได้ เกษตรกรผู้ปลูกข้ าว จากรัฐบาล เป็ นนโยบายที่เอื้อ ต่อกลไก ตลาด เกษตรกรสามารถทราบล่วงหน้าก่อนการเพาะปลูกว่าจะขายผลผลิตได้ในราคาใดซึ่ งจะช่วย ในการตัดสิ นใจ

1.2 ภูมปิ ระเทศและอุณหภูมขิ องประเทศไทยเอือ้ ต่ อการปลูกข้ าว ปัจจัยที่เหมาะสมต่อ การปลูกข้าวเช่น การปลูกข้าวต้องปลูกในดินเหนียว และดินเหนียวปนร่ วน และอุณหภูมิที่ เหมาะสมต่อกาเจริ ญเติบโตของข้าวอยูร่ ะหว่าง 25-33 องศาเซลเซี ยส 1.3 การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ขยายช่องทางและโอกาสของสิ นค้าไทยใน การเข้าถึงตลาด โอกาสในการเพิ่มพูนการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซี ยน 2. ปัจจัยด้ านลบ 2.1 การผลิต ผลผลิตข้าวมีคุณภาพตํ่า เนื่องจากเกษตรกรต้องการผลผลิตข้าวใน ปริ มาณมากในเวลาที่จาํ กัด เพื่อที่จะนําผลผลิตข้าวไปจํานํากับรัฐบาล จึงส่ งผลให้ขา้ วไทยมีคุณภาพ ที่ลดลงตาม 2.2 การปรับขึน้ ของค่ าแรงขั้นตํา่ จากนโยบายรัฐ บาลที่มีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าทัว่ ประเทศเป็ นวันละ 300 บาท ส่ งผลให้ตน้ ทุนค่าแรงการทํานาของชาวนาทัว่ ประเทศปรับเพิ่มขึ้น 2.3 การปรับขึน้ ของค่ าเช่ าทีน่ า ส าเหตุมาจาก เจ้าของพื้นที่หรื อนายทุนได้มีการฉวย โอกาสในการปรับค่าเช่าพื้นที่นาตามราคาจํานําข้าวที่เพิ่มขึ้น ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อชาวนาอย่างมาก 2.4 อาชีพชาวนาลดลง วัยรุ่ นหนุ่มสาวยุคใหม่ ไม่นิยมการทํานา หรื อการเป็ น เกษตรกร 2.5 นโยบายรับจํานําข้ าวของรัฐบาล พบว่าผูท้ ี่ได้รับประโยชน์โดยตรง จากโครงการ รับจํานําข้าวเปลือกของรัฐบาลคือชาวนารายใหญ่ที่มีที่ดินทํากินเป็ นของตัวเอง ชาวนาฐานะปาน กลางและฐานะดี โรงสี และกลุ่มธุรกิจต่างๆ 2.6 นโยบายเรื่ องการส่ งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ซึ่ งทุกครั้ งที่ มี วิกฤติ ราคาพลังงานเกิดขึ้ น วิกฤติ ด้านราคาอาหารก็จะเกิดตามมาเป็ นวัฏจักร เนื่ องจากการ เคลื่อนย้ายของธุรกิจพลังงานเข้ามาแย่งวัตถุดิบไปจากพืชอาหาร 2.7 การบริโภคธัญพืชชนิดอืน่ ทดแทนข้ าว ความต้องการบริ โภคข้าวภายในประเทศ ลดลง เนื่องจากผูบ้ ริ โภคหันมาบริ โภคธัญพืชชนิดอื่นๆ แทนการบริ โภคข้าว 2.8 ภัยธรรมชาติ จากเหตุการณ์น้ าํ ท่วมเมื่อปี 2554 ได้มีการประเมินความเสี ยหายและ ผลกระทบจากนํ้าท่วมต่อการปลูกข้าว โดยพื้นที่เพาะปลูกเสี ยหายกว่า 10 ล้านไร่ 2.9 การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การแข่งขันขายข้าวจึงจะเกิดอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ขณะที่ตน้ ทุนการปลูกและผลผลิตต่อไร่ ของข้าวไทยยังสูงมาก


มาตรการส่ งเสริมทางภาษีและสหกรณ์ เพือ่ สร้ างความยัง่ ยืนให้ กบั ธุรกิจกาแฟของไทย  กาแฟจะขาดแคลนจริงหรือ??? เนื่องด้วยข้อมูลที่มาจากนิตยสาร Good Magazine ได้รายงานว่ากาแฟมีโอกาสที่จะขาดแคลนใน อนาคต อันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศวงจรฝนที่เปลี่ยนไปส่ งผลกระทบต่อภูมิภาคต่างๆที่ปลูก กาแฟ ดังเช่นที่ประเทศบราซิ ล เวียดนาม แอฟริ กา เป็ นต้น ทําให้ผลผ ลิตกาแฟไม่เพียงพอต่อ ความต้องการเห็นได้จากราคากาแฟที่สูงขึ้นอย่างมากเนื่องจากผลผลิตกาแฟที่ลดลง  ความสํ าคัญของสหกรณ์ ในยุควิกฤติการณ์ อาหาร ปั ญหาวิกฤตอาหารที่โลกเผชิญอยูใ่ นปัจจุบนั ส่ งผลให้ องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ กําหนดให้วนั ที่ 16 ตุลาคม ของทุกปี เป็ น "วันอาหารโลก" โดยปี นี้ได้เล็งเห็น ความสําคัญของสหกรณ์การเกษตร จึงมีคาํ ขวัญในวันอาหารโลกประจําปี 2555 ว่า “สหกรณ์ การเกษตร เป็ นกุญแจหล่อเลี้ยงชาวโลก” ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปยังองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ สํานักงานประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิ ฟิก ถนนพระอาทิตย์ ทรงเปิ ดงานวันอาหารโลกปี 2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระราชดํารัสว่า “กิจการสหกรณ์เป็ น ทางแก้ไขปั ญหาภาวะ ขาดแคลนอาหารของโลก สื บเนื่องจากความต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ทางด้านการผลิตอาหารมีขอ้ จํากัดเกิดขึ้นหลายอย่าง ซึ่ งกิจการสหกรณ์สามารถเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพทางการผลิต ซึ่ งเท่ากับเป็ นการเพิ่มปริ มาณอาหารโลกให้เพิ่มมากขึ้น โดยประเทศ ไทยได้ส่งเสริ มกิจการสหกรณ์เพื่อก ารเกษตรมาตลอดผ่านทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น มีการจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ส่ งผลให้เกษตรกรไทยมีความสําคัญใน ฐานะผูผ้ ลิตอาหารป้ อนโลก และจะยังส่ งเสริ มให้มีการรวมตัวก่อตั้งกลุ่มสหกรณ์เพิ่มขึ้นด้วย”  ศักยภาพของไทยกับการแข่ งขันในระดับภูมภิ าคของสิ นค้ ากาแฟ พบว่าประเทศไทยมีพ้ืนที่ในการปลูกกาแฟน้อย อีกทั้งคุณภาพของเมล็ดกาแฟไทยยังด้อยกว่า ประเทศเพื่อนบ้านขาดการสนับสนุนจากภาครัฐทั้งในด้านราคาที่เกษตรกรได้รับและด้านราคา

ปุ๋ ย ส่ งผลให้ประเทศไทย มีความสามารถในการแข่งขันอยูใ่ นระดับตํ่าการผลิตเมล็ดกาแฟของ ไทยมีตน้ ทุนที่ 46 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่ งสู งกว่าของเวียดนามที่มีตน้ ทุนเพียงแค่ 35 บาทเท่านั้น  ปัจจัยด้ านข้ อตกลงและทางภาษีมผี ลกระทบต่ อสิ นค้ ากาแฟอย่ างไร??? ปัจจัยทางด้านข้อตกลงและมาตรการส่ งเสริ มทางภาษีของอ งค์การค้าโลกและเขตการค้าเสรี อาเซี ยน ผลกระทบจากข้อตกลงการเปิ ดตลาดสิ นค้ากาแฟ ภายใต้ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรี อาเซี ยน ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่ ปี 2553 พบว่าประเทศไทยมีการนําเข้าเมล็ดกาแฟมากกว่าปี ที่ยงั ไม่มีผล บังคับใช้ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรี ซึ่ งภายใต้ขอ้ ตกลงมีมาตรการภาษีนาํ เข้า ในส่ วนของเมล็ดกาแฟ จะเหลือเพียง 5% มีผลกระทบต่อการนําเข้าและการส่ งออกกาแฟของประเทศไทย ทําให้การ นําเข้าและการส่ งออกกาแฟของประเทศไทยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ปัจจัยทีม่ สี ่ วนสนับสนุนและผลักดันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟก็คอื “สหกรณ์ ” นั่นเอง สหกรณ์จดั ตั้งขึ้นเพื่อช่ว ยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟ ทั้งในด้านต้นทุน ด้านสิ นเชื่อ ด้านการรับ ซื้ อสิ นค้าจากเกษตรกรในราคาที่ยตุ ิธรรม ทําให้เกษตรกรมีศกั ยภาพในการปลูกกาแฟดีข้ ึน จาก การที่ ราคากาแฟในตลาดโลกระยะ 4-5 ปี ที่ผา่ นมาตกตํ่ามาก ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่ สูงขึ้น เกษตรกรบางส่ วนจึงได้ป รับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น เช่น ยางพารา ปาล์มนํ้ามัน ที่ให้ ผลตอบแทนสูงกว่า ทําให้ผลผลิตกาแฟไม่เพียงพอ กับ ความต้องการของตลาด ด้วยเหตุน้ ี ประเทศไทยจึงได้มีการนําเข้ากาแฟปี ละกว่าหมื่นตัน มูลค่ากว่าพันล้านบาท จึงจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ ต้องพัฒนาการผลิตกาแฟไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ กรมส่ งเสริ มสหกรณ์จึงได้ส่งเสริ ม ให้มีการจัดตั้งสหกรณ์กาแฟ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม โดยการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยตํ่าในการจัดซื้ อเมล็ดกาแฟ อีกทั้ง สหกรณ์ยงั มีบทบาทในการช่วยลดต้นทุนของ เกษตรกรและการจัดซื้ อเมล็ดกาแฟจากสมาชิก สหกรณ์ผปู้ ลูกกาแฟ ทําให้ผปู้ ลูกกาแฟได้รับราคาที่เป็ นธรรมและเป็ นการสร้างความเข้มแข็ง ของสถาบันเกษตรกร สามารถลดผลกระทบจากการเปิ ดตลาดภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซี ยนได้ ระดับหนึ่ง รวมทั้งเป็ นการส่ งเสริ มและพัฒนาธุรกิจกาแฟของสถาบันเกษตรกรได้เป็ นอย่างดี


ปาล์ มนํา้ มันไทย....หลังเปิ ด AEC วิกฤตหรือโอกาส?? AEC คือ อะไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน หรื อ AEC มีลกั ษณะสํา คัญเพิ่มเติมจากเขตการค้าเสรี คือ “อาเซี ยนจะรวมตัวกันเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว ” เพื่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต ต่างๆ ได้อย่างเสรี เสมือนอยูใ่ นประเทศเดียวกัน กระบวนการผลิตสามารถเกิดขึ้นที่ไหนก็ได้ใน อาเซี ยน โดยสามารถใช้ทรัพยากรทั้งวัตถุดิบและแรงงานจากหลายประเทศสมาชิก เพื่อนํามาใช้ ในการผลิต โดยปราศจากอุปสรรคในด้านภาษีและการกีดกันที่มิใช่ภาษี มีการสร้างมาตรฐาน ของสิ นค้า และกฎเกณฑ์หรื อกฎระเบียบต่างๆ ร่ วมกัน นโยบายของรัฐ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับปาล์มนํา้ มันและนํา้ มันปาล์ม นโยบายของรัฐ มีดงั นี้ 1. นโยบายด้านการผลิต 2. นโยบายด้านการแปรรู ปปาล์มนํ้ามัน 3. นโยบายด้านการตลาด มาตรการทางการค้ าและภาษีนํา้ มันปาล์มตามข้ อตกลงเขตการค้ าเสรีอาเซียน จากอัตราภาษีภายใต้ขอ้ ผูกพันสิ นค้าเกษตรขององค์การการค้าโลก (WTO) จะเก็บ ภาษี นําเข้าในโควตากําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 20 หากเป็ นภาษีนอกโควตากําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 143 แต่ อย่างไรก็ตามในปี 2548 ได้มีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษี นี้ แต่หนั มาใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี หรื อ NTBs แทนด้วยการกําหนดให้องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) ในฐานะหน่วยงานของรัฐเป็ นผู้ นําเข้านํ้ามันปาล์มในอัตราภาษีร้อยละ 0 ได้เพียงหน่วยงานเดียว แต่หากมีการเปิ ด AEC ในปี 2558 นอกจากจะลดภาษีนาํ เข้าเหลือร้อยละ 0 แล้วจะต้องยกเลิกโควตาและมาตรการที่มิใช่ภาษี ออกทั้งหมด สถานการณ์ ปาล์มนํา้ มันและนํา้ มันปาล์มของไทย ภาพรวมปาล์มนํ้ามันและนํ้ามันปาล์มของไทยในปี 2555 ผลผลิตนํ้ามันปาล์มดิบที่ผลิตได้ มี ประมาณ 1.9 ล้านตัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 3.3 ของปริ มาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มดิบทั้งหมด มี แนวโน้มขยายตัวร้อยละ 5-7 จากปี 2554 ส่ วนหนึ่งมาจากภาครัฐมีการดําเนินยุทธศาสตร์ปาล์ม นํ้ามันในช่วงปี 2551-2555 เพื่อเร่ งผลักดันให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกปาล์มนํ้ามัน เพิ่ม ผลผลิต และผลิตภาพการผลิตนํ้ามันปาล์มดิบ ประกอบกับราคาผลปาล์มดิบในช่วง 4 ปี ที่ผา่ นมา ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากเดิมที่มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 4 บาทในปี 2552 ปรับขึ้นเป็ น

กิโลกรัมละ 6 บาทในปี 2555 ดังนั้น ผลผลิตในภาพรวมปี 2555 มีจาํ นวนเพิ่มขึ้น สัดส่ วน ปริ มาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มในประเทศ ส่ วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 ผลิตเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้ภายในประเทศ แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนหลักๆ คือ ใช้เพื่อการบริ โภค ร้อยละ 60 ใช้เป็ น วัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ร้อยละ 28 และวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ร้อยละ 13 ส่ วนมูลค่าการส่ งออกนํ้ามันปาล์ม ปี 2555 คิดเป็ น 22.61% ซึ่ งมีจาํ นวนลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือ 28.19% และการนําเข้าในปี 2555 มูลค่าการนําเข้านํ้ามันปาล์ม คิดเป็ น 25.77% ซึ่ งมีจาํ นวน ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 คือ 36.88% จะเห็นได้วา่ ทั้งการส่ งออกและนําเข้าของไทยในปี 2555 นั้นมีจาํ นวนที่ลดลง ผลกระทบของการลดภาษีนําเข้ านํา้ มันปาล์ มจากการเปิ ด (AEC) 1. ด้ านเกษตรกร: เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มนํ้ามันของไทยจะได้รับผลกระทบ ทางลบจาก การที่ราคาผลปาล์มสดในประเทศมีแนวโน้มลดลง ทําให้เกษตรกรมีรายได้ต่าํ ลง จนอาจไม่คุม้ กับต้นทุนการผลิต 2. ด้ านผู้ประกอบการโรงงาน : ผลกระทบทางบวก คือโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์มดิบอาจ เผชิญการแข่งขันที่รุนแรงจากนํ้ามันปาล์มดิบที่นาํ เข้าจากประเทศอินโดนีเซี ยและมาเลเซี ย เพราะ มีตน้ ทุนในการสกัดนํ้ามันปาล์มสู งและไม่มีอาํ นาจในการต่อรอง ในเรื่ องของคุณภาพนํ้ามัน ปาล์มที่ผลิตได้กต็ ่าํ กว่าของคู่แข่ง ส่ วน โรงงานกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ได้รับผลกระทบในเรื่ อง ของนํ้ามันปาล์มสําเร็ จรู ปจากต่างประเทศเข้ามาแข่งขันกับสิ นค้าในประเทศได้มากขึ้น ส่ วน ผลกระทบทางลบ คือ โรงงานกลัน่ นํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ที่เป็ นผูป้ ระกอบการรายใหญ่จะได้รับ ประโยชน์ดา้ นวัตถุดิบนําเข้าถูกลงภายหลังการเปิ ด AEC ส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิตของโรงงานใน ประเทศลดลง และนํ้ามันปาล์มดิบมีเพียงพอตามความต้องการอยูเ่ สมอ เนื่องจากสามารถนําเข้า ได้อย่างเสรี 3. ด้ านผู้บริโภค: ผลกระทบทางบวก คือ ผูบ้ ริ โภคจะมีทางเลือกมากขึ้น มีสินค้าที่มี คุณภาพและราคาถูกให้เลือกซื้ อ เพราะได้รับประโยชน์จากแนวโน้มราคานํ้ามันปาล์มในประเทศ ที่ปรับตัวลดลงจากการ เปิ ด AEC ส่ วนข้อเสี ย คือ ในระยะยาวเมื่ อเกษตรกรรายย่อยไม่สามารถ แข่งขันกับประเทศในอาเซี ยนได้กจ็ ะปิ ดตัวลง ทําให้เกิดการผูกขาดสิ นค้า ส่ งผลให้สินค้ามีราคา สูงขึ้นและสุ ดท้ายผูบ้ ริ โภคก็จะต้องซื้ อสิ นค้าในราคาที่สูงตามไปด้วย


การลดภาษีส่งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย เพือ่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

ส่ วนที่ 1 ข้ อตกลงเกีย่ วกับภาษีส่งออกในการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย ประเทศสมาชิกในประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนมีขอ้ ตกลงใน การลดและยกเลิก มาตรการทางภาษี เพื่อส่ งเสริ มให้อาเซี ยนเป็ นตลาดที่มีขนาดใหญ่ เป็ นการเพิ่มโอกาสใน การส่ งออกของไทย การลดภาษีในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยน จะช่วยเอื้ออํานวยให้ ประเทศที่สามเข้ามาลงทุนในอาเซี ยนมากขึ้น เพราะเมื่อมาลงทุนผลิตสิ นค้าในประเทศ อาเซี ยนหนึ่งแล้วจะสามารถส่ งไปขายในประเทศอาเซี ยนๆ อื่นได้โดยไม่เสี ยภาษีหรื อเสี ย ภาษีในอัตราที่ต่าํ มาก รวมทั้งสามารถส่ งไปขายกับประเทศคู่สัญญาข้อตกลงเปิ ดการค้าเสรี กับอาเซี ยนได้อีกด้วย การลดภาษีสินค้าภายใต้ความตกลงว่าด้วยอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน สําหรับเขตการค้าเสรี อาเซี ยนหรื อเรี ยกสั้นๆ ว่าความตกลง CEPT (Common Effective Preferential Tariff) แบ่งเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ คือ สิ นค้าในบัญชีลดภาษี สิ นค้าบัญชียกเว้นลด ภาษีชวั่ คราว สิ นค้าบัญชีอ่อนไหว และสิ นค้ายกเว้นทัว่ ไป ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนคือ การส่ งเสริ มให้เกิดการค้าขายสิ นค้าระหว่างประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซี ยนมากขึ้นกว่า ในอดีตที่แม้ประเทศจะอยูใ่ กล้ชิดกันแต่ปริ มาณการค้าระหว่างกันอยูใ่ นระดับตํ่าและเพิม่ ขีดความสามารถทางการแข่งขันในตลาดโลกได้มากขึ้น ส่ วนที่ 2 สถานการณ์ อาหารแปรรูปของไทย ภาพรวมด้านการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารในปี 2555 มีปริ มาณการผลิต ลดลงจากไตรปี ก่อนร้อยละ 1.87 ส่ วนหนึ่งเป็ นผลจากปริ มาณวัตถุดิบลดลง ประกอบกับ ต้นทุนสิ นค้าอาหารโดยรวม ได้รับผลกระทบจากราคาวัตถุดิบนําเข้าจากตลาดโลกที่ ปรับตัวสูงขึ้นตามราคานํ้ามัน ซึ่ งเป็ นไปในทิศทาง เดียวกับการจัดจําหน่ายที่มีปริ มาณการ

จัดจําหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 รวมถึงการส่ งออกที่มีมูลค่า เพิ่มขึ้นคิดเป็ นร้อยละ 11.72 ซึ่ งในด้านการนําเข้ามีมูลค่าการนําเข้าสูงขึ้นเนื่องจากราคา นํ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นในตลาดโลกและค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลง ส่ วนที่ 3 ผลกระทบของ AEC ต่ ออุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ผลกระทบที่เกิดจากการ เกิดประชาคมเศรษฐกิจอ าเซี ยนในอุตสาหกรรมอา หาร แปรรู ป สามารถแบ่งได้เป็ นผลกระทบด้านผูป้ ระกอบการ ด้านการผลิต ด้านการตลาด และ ด้านคู่แข่งขัน สาเหตุที่สาํ คัญอีกข้อหนึ่งในการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน คือ เรื่ องของ ความมัน่ คงทางอาหารเนื่องจากทุกประเทศต้องการแสวงหาความหลากหลายและความ ปลอดภัยทางอาหาร ซึ่ งประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูก การทําเกษตรกรรม ประมง และรวมถึงการทําปศุสัตว์ ดั งนั้น ประเทศไทยจึงมีศกั ยภาพที่ จะส่ งออกอาหารที่นาํ มาแปรรู ปเพื่อสร้างโอกาสและรายได้ให้แก่ประเทศ ความมัน่ คงทาง อาหารยังหมายรวมถึงการไม่มีสารเคมีปนเปื้ อนอยูใ่ นอาหาร ซึ่ งจากการเปิ ด AEC ใน หลายๆ ประเทศก็มีนโยบายให้ตรวจสอบสิ นค้าที่จะนําเข้ามาในประเทศเพื่อป้ องกันไม่ให้ อาหารที่ปนเปื้ อนสารพิษเหล่านั้นเข้ามาภายในประเทศได้ ซึ่ งในส่ วนในนี้ทาํ ให้ประเทศ สมาชิกในกลุ่มอาเซี ยนได้รับความไว้วางใจจากนานา ประเทศในเรื่ องความปลอดภัยของอาหาร


การศึกษาผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัตมิ าตรการการคลังเพือ่ สิ่ งแวดล้อมทีจ่ ะบัญญัตขิ นึ้ ในอนาคต ส่ วนที่ 1 การใช้ สารเคมี และแนวทางในการจัดเก็บภาษีจากสารเคมีด้านเกษตรกรรม การใช้สารเคมี เกิดขึ้นในประเทศ เริ่ มแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ งเน้น การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็ นสําคัญการเพิ่มผลผลิตและรายได้เป็ นเป้ าหมายหลัก สั้น ประกอบกับการมีหนี้สิน ขาดเงินทุน และภาระการเงินของครอบครัว ปัจจัยต่างๆเหล่านี้ สร้างแรงกดดันให้ตอ้ งการรายได้มาก และรวดเร็ ว ดังนั้นการใช้สารเคมีช่วยทําให้สบายขึ้น ใช้เวลาและแรงงงานน้อยลง ได้ผลผลิตจํานวนมาก นอกจากนี้ ยงั กําจัดวัชพืช และแมลงได้ อย่างรวดเร็ ว ผลผลิตที่ได้ไม่เสี ยหายมากนัก เกษตรกรจึงไม่ได้คาํ นึงถึงผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้อม ประเทศไทยมีการนําเข้าสารเคมีประเภทต่าง ๆ อย่างกว้างขวางเพื่อรองรับการ ใช้งานโดยตรงในครัวเรื อน ในภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร และอื่นๆอีกมากมาย การจัดเก็บภาษีสารเคมีดา้ นการเกษตรเพราะจากอดีตที่ผา่ นมาจนถึงปัจจุบนั สารเคมีทางการเกษตรมีอตั ราภาษีนาํ เข้า และภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นศูนย์ ส่ วนที่ 2 ร่ างพระราชบัญญัตมิ าตรการ การคลังเพือ่ สิ่ งแวดล้อม ในปั จจุบนั ประเทศต่างๆ ได้นาํ มาตรการการคลังมาใช้เป็ นมาตรการเสริ มในการ จัดการสิ่ งแวดล้อม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผกู้ ่อมลพิษลดการก่อมลพิษ และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการผลิตและบริ โภคไปในทางที่ก่อมลพิษน้อยลง มาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อม หมายถึง มาตรการทางภาษี ค่าธรรมเนียม และมาตรการอื่นๆ ซึ่ งมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผกู้ ่อมลพิษช่วยรักษาสิ่ งแวดล้อม ดําเนินมาตรการ ป้ องกันและลดมลพิษจากกิจกรรมที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของตน บําบัดและกําจัดของเสี ย และแก้ไขความเสี ยหายด้านสิ่ งแวดล้อม และเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุ คคลให้ลด

การก่อมลพิษ โดย พ.ร.บ.มาตรการคลังเพื่อสิ่ งแวดล้อมมีการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ดังนี้ • พ.ร.ฎ.ภาษีมลพิษทางนํ้า พ.ร.ฎ.ภาษีมลพิษทางอากาศ • พ.ร.ฎ.ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ พ.ร.ฎ.ฯลฯ การจัดการเงินรายได้ กองทุนภาษีและค่าธรรมเนียมสิ่ งแวดล้อม ให้แยกเงินใน กองทุนออกเป็ นบัญชีตามที่มาของเงินได้จากภาษีและค่าธรรมเนียม เงินกองทุนมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในกิจการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสิ่ งแวดล้อม ระบบการเก็บภาษีสารเคมีฐานภาษีในกรณี เป็ นภาษีสารเคมีในภาคการเกษตร อย่างเดียว ฐานภาษีสารเคมีคือ เกษตรกรที่ ใช้สารเคมี ซึ่ งอาจจะเท่ากับจํานวนครัวเรื อน เกษตร แต่เป็ นการเก็บภาษีการใช้เคมีในทุกภาคการผลิต อัตราภาษีเป็ นอัตราก้าวหน้าอย่างไรก็ตาม ถ้าต้องการให้ไม่ยงุ่ ยากเกินไป อาจคิด แบบอัตราเดียวก่อนในระยะแรก แล้วจึงปรับในภายหลังจากที่มีการทดลองระบบข้อมูลไป ระยะหนึ่ง ส่ วนที่ 3 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากพระราชบัญญัตมิ าตรการการคลังเพือ่ สิ่ งแวดล้ อมที่ จะเกิดขึน้ ในอนาคต การเก็บภาษีปัจจัยการผลิตย่อมมีผลกระทบต่อต้นทุนในการผลิตและราคาสิ นค้า ซึ่ งจะส่ งผลถึงความสามารถในการแข่งขันนอกจากนี้ผบู้ ริ โภคในประเทศไทยจะไม่พอใจ เพราะราคาสิ นค้าสูงขึ้น เพราะผูผ้ ลิตสามารถย้ายภาระไปให้ผบู้ ริ โภครับผิดชอบ ในด้าน การบริ หารเศรษฐกิจโดยรวม อาจจะมีผลต่ ออัตราเงินเฟ้ อและการขยายตัวในการลงทุน และการผลิต ซึ่ งจะเป็ นปัญหาที่เสี่ ยงต่อเสถียรภาพทางการเมือง และความเชื่อมัน่ ทาง เศรษฐกิจต่อไปด้วย


ภาคผนวก ง ใบลงทะเบียนการเข้ าร่ วมฟังสั มมนา










ภาคผนวก จ ประมวลภาพบรรยากาศการสั มมนา


จุดลงทะเบียน


บรรยากาศการสั มมนา


บรรยากาศการสั มมนา


บรรยากาศการสั มมนา


บรรยากาศการสั มมนา


ภาคผนวก ฉ แบบประเมินผลการสั มมนาเชิงวิชาการ


แบบประเมินผลการสั มมนาเชิงวิชาการ วันอังคาร ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 20.00 - 23.00 น. ณ อาคาร 17 ศูนย์ เรียนรวม 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ส่ วนที่ 1: ข้อมูลทัว่ ไปของผูเ้ ข้าร่ วมฟังสัมมนา คําชี้แจง: โปรดทําเครื่ องหมาย / ลงในช่อง ที่ตรงกับ ความจริ งเกี่ยวกับท่าน 1. เพศ ชาย หญิง 2. สถานะ นิสิต อาจารย์ บุคลากร ประชาชนทัว่ ไป ส่ วนที่ 2: ความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา คําชี้แจง: โปรดทําเครื่ องหมาย / ลงในช่อง ที่ตรงกับความเห็นของท่าน ความหมายการประเมิน: 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = ตํ่ากว่ามาตรฐาน, 1 = แก้ไขปรับปรุ ง ระดับความพึงพอใจ ด้ าน 5 4 3 2 1. หัวข้ อในการสั มมนามีความน่ าสนใจมากน้ อยเพียงใด - ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU - การวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตจังหวัดชลบุรี - มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจ กาแฟของไทย - ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคม เศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย - ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนที่มีผลต่อการ ส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย - ผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต 2. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ ายทอดมากน้ อยเพียงใด - ผลกระทบจาก GSP ของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศ EU - การวิเคราะห์ความมัน่ คงของกลุ่มธุรกิจข้าว ในเขตจังหวัดชลบุรี - มาตรการส่ งเสริ มทางภาษีและสหกรณ์เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจ กาแฟของไทย - ผลกระทบของการลดภาษีนาํ เข้านํ้ามันปาล์มจากการเปิ ดเสรี ประชาคม เศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) ที่มีต่อธุรกิจปาล์มนํ้ามันในประเทศไทย

1


เรื่องทีท่ าํ การประเมิน

5

ระดับการประเมิน 4 3 2

1

- ผลของการลดภาษีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนที่มีผลต่อการ ส่ งออกในอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปของไทย - ผลกระทบทางภาษีสารเคมีจากร่ างพระราชบัญญัติมาตรการการคลังเพื่อ สิ่ งแวดล้อมที่จะบัญญัติข้ ึนในอนาคต 3. เอกสารและสื่ อประกอบการบรรยาย - เนื้อหาสาระของเอกสารประกอบการสัมมนามีความเหมาะสม - คุณภาพและความพร้องของสื่ อที่ใช้ในการสัมมนา เช่น LCD คอมพิวเตอร์ 4. ผู้จัดการสั มมนา - วิธีการและระยะเวลาในการประชาสัมพันธ์มีความเหมาะสม - การจัดเตรี ยมสถานที่บรรยายและจุดลงทะเบียนมีความเหมาะสม - การให้การต้อนรับและการบริ การของผูด้ าํ เนินการสัมมนา 5. ประโยชน์ และการนําไปใช้ - เนื้อหาสาระสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหัวข้อสัมมนา - ท่านมีความรู้ความเข้าใจก่อนเข้าฟังสัมมนาเพียงใด - หลังจากเข้าฟังสัมมนาท่านได้รับความรู้ความเข้าใจเพียงใด ข้ อเสนอแนะ ............................................................................................................................. .......................................................... ......................................................................... .............................................................................................................. ............................................................................................................................. .......................................................... ............................................................................................................................. .......................................................... ขอขอบคุณผูเ้ ข้าร่ วมฟังสัมมนาทุกท่าน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.