Kaan vi

Page 1

Nuttachat Kumsiritrakul สาย VI (thaivi) by Ukcarajet seti ...การจะสร้างความเปลี่ยนแปลงได้อย่างถาวรนั้นมันต้องเกิดขึ้นในระดับที่ลึกซึ้งเครื อข่ายในสมองคุณต้องถูก สร้างขึ้นใหม่ นัน่ หมายความว่าคุณต้องนามันไปปฏิบตั ิจริ ง อย่าเพียงแต่อ่าน อย่าเพียงแต่พดู ถึงมัน และอย่าเอาแต่คิด จงลงมือทาจริ งๆ... บทเรียนแห่ งความมัง่ คัง่ จากหนังสื อ Secret of the Millionaire Mind ...ความสาเร็จ... "ทางโลก" วัดผลที่การจัดการทุกอย่างให้เป็ นไปอย่างที่ใจเราต้องการ "ทางธรรม" วัดผลที่การจัดการใจเมื่อทุกอย่างไม่เป็ นไปอย่างที่เราต้องการ


...ประสบการณ์ที่เจ็บปวดในตลาดหุน้ จะเกิดขึ้นเสมอ เมื่อเราไม่สามารถควบคุมความโลภในใจตนเอง เข้าไปเล่นในเกมส์ ที่ไม่สมควร เอาชนะใจตัวเองก่อนคิดเอาชนะตลาด...





..


\


"...เป็ นหุ้นปั่น ราคาต้องหวือหวา เพราะนี่คือเชื้อไฟอย่างดีเพื่อล่อ "แมงเม่า"ให้มาติดกับ ไฟหน้าจอหุน้ ปั่นจะกระพริ บตลอดเวลา เปรี ยบเสมือนไฟจากกองไฟที่ล่อแมงเม่า เม่าหลายคนแม้รู้ท้ งั รู ้วา่ เป็ นหุน้ ปั่น แต่ over confidence bias มักคิดว่าตัวเองเจ๋ งสามารถ "หนีทนั " ดันลืมไปว่า ถ้าจ้าวมือไม่เก่งจริ ง โดนเม่ากินตลอด จะเป็ น จ้าวมือได้อย่างไร้รรร ราคาหุน้ ที่ข้ ึนพร้อมบิดหนาๆ อย่าเพิ่งชะล่าใจว่ามีคนจะซื้อเยอะจริ ง เผลอเมื่อไหร่ บิดหาย ทันทีพร้อมๆกันห้าช่อง เหลือแต่บิดของรายย่อย แล้วถูกโยนโครมซ้าย ยัดหุ น้ ใส่ มือเม่าเรี ยบร้อย, offer ที่หนาๆ โดนเคาะ อย่าคิดว่ามีแรงซื้อจริ ง อาจเป็ นหุน้ ของจ้าวมือหรื อเครื อขายซื้อหุน้ ตัวเอง เพื่อทาเสมือนมีคนสนใจซื้อ หุน้ เยอะ ในโลกการหุน้ ปั่ น อย่าเชื่อในสิ่ งที่เห็น..."โดยพี่โจ ลูกอิสาน


40 อุปนิสัยสู่ ความมัง่ คัง่ ... 1. อย่าอายที่จะพูดเรื่ องเงิน 2. เลือกวิธีที่สนุกในการหารายได้ 3. มีเงินเข้ากระเป๋ าไม่ต่ากว่าสองทางขึ้นไป 4. ไม่มีขอ้ อ้างสาหรับการเรี ยนรู ้ 5. ไม่เคยพูดคาว่า มีเงินแต่ไม่มีความสุ ข จะมีไปทาไม 6. ลงทุนในสิ่ งที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคต 7. เป้ าหมายเรื่ องรายได้ ชัดเจน 8. คิดเรื่ องการเติบโตตลอดเวลา 9. ให้รางวัลตัวเองทุกครั้งที่ทาสาเร็จ 10. ไม่ได้ใช้เวลาทั้งหมดเพื่อการทางาน 11. ไม่ได้เป็ นคนที่เก่งหมดทุกอย่าง 12. ใช้คนเป็ น เลือกคนเก่งมาเคียงข้างโดยไม่สนเรื่ องค่าใช้จ่าย 13. กล้าทุ่มเทเงินให้กบั สิ่ งที่คุม้ ค่า 14. หาแนวคิดและเหตุผลที่สนับสนุนความเชื่อตัวเอง 15. รักครอบครัว 16. ทุ่มเทความสะดวกสบายให้พ่อแม่ 17. พ่อแม่อยากได้อะไรที่ไม่ผดิ หาให้หมด 18. เอาแต่ใจ ดื้อเงียบ 19. ฟังมากกว่าพูด 20. ชื่นชมคนที่รวยกว่าด้วยลาแข้งตัวเอง 21. อ่อนน้อมถ่อมตน 22. คิดใหญ่กว่าคนธรรมดา 23. วิง่ เข้าหาความเป็ นไปไม่ได้ 24. ค้นหาโอกาส แสดงตัวทุกครั้งที่โอกาสมาถึง 25. ไม่เคยรอคาว่าพร้อม 26. เลือกคบหาคนที่มองโลกในแง่ดี 27. เข้าใจความเสี่ ยง 28. กล้าพูดถึงความดีของตัวเอง 29. ทาบุญแบบถึงไหนถึงกัน


30. ลงเงิน ลงแรงช่วยเหลือคนอื่น 31. ชอบให้ความรู ้เด็กรุ่ นใหม่ 32. ไม่ข้ ีบ่น ไม่เคยโทษคนอื่น 33. เจอปัญหา เขากลับบอกว่านี่ไม่ใช่ปัญหา นี่คือโจทย์ 34. พัฒนาตัวเองตลอดเวลา 35. เป็ นนักอ่านชั้นยอด 36. เห็นคุณค่าของเวลา 37. มองเห็นอนาคตทางการงานของตัวเอง 38. บอกได้วา่ ตัวเองต้องการอะไร 39. แบ่งเวลาทางานหนัก และให้รางวัลตัวเองอย่างหนัก 40. ชอบพูดคาว่า "พี่ยงั มีอะไรต้องเรี ยนรู ้อีกเยอะ" เป็ นประจา

...วันแรกของการ #ShutdownBangkok... "...ประเด็นนึงที่ผมอยากจะเน้น: ผมคงไม่สามารถคาดการณ์การเคลื่อนไหวในระยะสั้นของหุน้ ในตลาดได้ ผม คงไม่สามารถจะรู ้ได้วา่ หุน้ จะขึ้นหรื อลงในระยะเวลา 1 เดือน หรื อ 1 ปี ต่อจากนี้ แต่ตลาดหุน้ มักจะขึ้นก่อนที่ ทุกคนจะรู ้วา่ เศรษฐกิจจะดีข้ ึน ถ้าคุณคิดจะรอเศรษฐกิจดีแล้วค่อยซื้อ คุณก็คงจะไม่ได้ราคาที่ดีแล้วละ..." Warren E. Buffett จากบทความ Buy American. I Am. By WARREN E. BUFFETT


"...ถ้ามีวนิ ยั มีความศรัทธา ลงทุนหุน้ ดี จะไปถึงจุดหมาย..." ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร วีไอสายดา ตอน "ก้าวเล็กๆในตลาดหุน้ ก้าวที่ยงิ่ ใหญ่ในชีวติ " โปรดติดตามโดยพลัน http://www.youtube.com/watch?v=fTtULJF_qIU ...การซื้อหุ้นของ VI นั้นเป็ นเรื่องทีส่ าคัญ มากกว่ าการขายหุ้น... "... สาหรับคนที่ลงทุนในกิจการที่ดีเลิศแบบ Super Company อย่าง วอร์เรน บัฟเฟตต์ นั้น เขาบอกว่าถ้าซื้อหุน้ ถูกตัวแล้ว ไม่จาเป็ นต้องขายหุน้ เลย เวลาที่ซ้ือหุน้ ของ VI ก็คือเมื่อเขาพบ หุน้ ที่มีมูลค่าที่แท้จริ งสู งกว่าราคาหุน้ ในตลาดมาก ตัวเลขชัดเจนนั้น ขึ้นอยูก่ บั แต่ละคน และแต่ละหุน้ แต่ โดยทัว่ ไปน่าจะไม่นอ้ ยกว่า 20-30% และความแตกต่างนี้เรี ยกว่า

Margin Of Safety ซึ่ง VIเชื่อว่าจะเป็ น ส่ วนที่“เผือ่ ”เอาไว้วา่ ถ้า เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดหรื อมีอะไรผิดพลาด หุน้ ที่ซ้ือโดยมี Margin Of Safety สู ง ก็ยงั คงรักษามูลค่าของมันไว้ได้ พูดง่ายๆ ถ้าหุน้ ตกลงไปจากราคาที่ซ้ือ เรา ก็สามารถถือยาวและในที่สุดมันก็จะฟื้ นตัวกลับมาได้..." จากบทความ : ทฤษฎี VI (2) โดย : ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร


...มุ่งมัน่ ลงทุน+ลดความคาดหวัง=ความสุ ขอย่างแท้จริ ง... ...การฝึ กสติให้มีความ "รู ้สึกตัว" อยูก่ บั ปัจจุบนั เป็ นหนึ่งในวิธีง่ายๆ ที่บุคคลผูป้ ระสบความสาเร็จ ใช้ในการ จัดการจิตใจให้มีประสิ ทธิ ภาพพร้อมใช้งาน... "...They Breathe The easiest way to make stress intermittent lies in something that you have to do everyday anyway: breathing. The practice of being in the moment with your breathing will begin to train your brain to focus solely on the task at hand ... ดูเพิม่ เติม


..."เจ้ าของ" กับ "ผู้ถือหุ้น"... จากสุ ภาษิตจีนที่วา่ รุ่ นหนึ่งสร้าง รุ่ นสองขยาย รุ่ นสามทาลาย เป็ นสิ่ งที่พบเห็นได้ทวั่ ไป ในสังคมธุรกิจ ตั้งแต่ใน อดีตจนถึงปั จจุบนั แต่กม็ ีบางองค์กรที่สามารถบริ หารจัดการได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย ยกตัวอย่าง กลุ่มเซ็นทรัล ที่มีหลักคิดในการลดการเป็ น "เจ้าของ"ที่ตอ้ งเข้ามาบริ หารจัดการทุกอย่างเอง เปลี่ยนเป็ นการรักษาความเป็ น "ผูถ้ ือหุน้ " และหาผูบ้ ริ หารที่เก่งและไว้ใจได้มาบริ หารจัดการแทน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดหลัก ของนักลงทุนแบบเน้นคุณค่า ที่วา่ "การลงทุนในหุน้ " เป็ น "การลงทุนในส่ วน หนึ่งของธุรกิจ" โดยที่ไม่ตอ้ งบริ หารงานเอง แต่สามารถเลือกลงทุนใน บริ ษทั ที่มีความสามารถในการแข่งขัน เติบโตไปได้ในระยะยาว และมีผบู ้ ริ หารที่ซื่อสัตย์ cr : แนวคิดจากการให้สัมภาษณ์ของคุณทศ จิราธิวฒั น์ ผูน้ ารุ่ นที่ 3 ของตระกูล


...สิ่ งทีก่ าหนดชะตากรรมทางการลงทุน... "จงระวังความคิดเพราะความคิดจะกลายเป็ นการกระทา จงระวังการกระทาเพราะการกระทาจะกลายเป็ นนิสัย จงระวังนิสัยเพราะนิสัยจะกลายเป็ นบุคลิก จงระวังบุคลิกเพราะบุคลิกจะกลายเป็ นชะตากรรม " จากข้อคิดดังกล่าว และจากการสังเกตนักลงทุนผูป้ ระสบความสาเร็จในการลงทุนหลายๆท่าน ผมพบว่าการ สร้างอุปนิสัยที่ถูกต้องในการลงทุน มีส่วนสาคัญอย่างมากต่อความสาเร็จในตลาดหุ้​ุน จึงได้นาข้อคิดดีๆที่พี่Pornchai Rattananontachaisook (นักแปลด้านการลงทุนชั้นนาของประเทศ)ได้share มา รวบรวมไว้ครับ

คาแนะนาของ Bernard Baruch 1. อย่าเล่นเก็งกาไร ถ้าคุณไม่สามารถเก็งกาไรแบบfull time ได้ 2. ให้ระวังช่างตัดผม ช่างเสริ มสวย บ๋ อย หรื อใครก็ตามที่คาบข่าวอินไซด์มาบอกคุณ 3. ก่อนจะซื้อหุน้ คุณควรหาข้อมูลทุกอย่างเกี่ยวกับบริ ษทั เท่าที่หาได้ ทั้งเรื่ องผูบ้ ริ หาร คู่แข่ง กาไร และศักยภาพ ในการเติบโต 4. อย่าพยายามซื้อที่จุดต่าสุ ด หรื อขายที่จุดสู งสุ ด มันมีแต่คนโกหกเท่านั้นแหละที่ทาได้ 5.จงเรี ยนรู ้วธิ ี การตัดขาดทุนแบบหมดจดและรวดเร็ว อย่าเพ้อฝันว่าตัวเองจะคิดถูกทุกครั้ง เมื่อไหร่ ที่คุณคิดผิด ให้ขายขาดทุนให้เร็วที่สุด 6. อย่าซื้อหุน้ หลายตัวเกินไป มีหุน้ แค่ไม่กี่ตวั ที่ทาให้คุณสามารถติดตามได้จะดีกว่า 7.ตรวจสอบหุน้ ที่คุณถืออยูเ่ ป็ นระยะๆ เพื่อดูวา่ มีขอ้ มูลอะไรใหม่ๆ มาทาให้ ปัจจัยพื้นฐานของบริ ษทั เปลี่ยนแปลงไปหรื อเปล่า 8. มีเงินสดเหลือไว้ตลอดเวลา อย่าถึงขนาดซื้อเต็มพอร์ต 9.อย่าพยายามทาตัวเป็ นคนรู ้ ไปหมดซะทุกเรื่ อง ให้ลงทุนในสิ่ งที่คุณรู ้ดีที่สุด


คาแนะนาของ Peter Wyckoff 1.การอยูใ่ นตลาดต้องอาศัย วิจารณญาณอันเยือกเย็น อิสะทางความคิด ความกล้า ความยืดหยุน่ และความ รอบคอบ 2. ทุกครั้งที่เข้าซื้อ ควรจะคิดถึงกลยุทธ์การขายเอาไว้ล่วงหน้าเสมอ 3.เมื่อไหร่ ที่สงสัยว่าควรทา อะไรดี ให้อยูเ่ ฉยๆ การซื้อขายมัว่ ๆ จะทาให้วจิ ารณญาณเสี ยศูนย์ 4. ถ้าคุณรี รอซื้อนานเกินไป อยากรอซื้อตอนทุกความไม่แน่นอนหมดไปตอนจุดต่าสุ ดของวัฏจักรตลาดแล้ว คุณอาจจะต้องรอ รอไปเรื่ อยๆ 5.การขาดทุนครั้งใหญ่ที่สุดในตลาดจะเกิดจากการเข้าซื้อหุน้ ที่มีราคาแพงมากๆแบบไม่รู้เรื่ อง 6.เมื่อไหร่ กต็ ามที่ความหวังกลายเป็ นเหตุผลหลักของการถือหุน้ ให้ขายหุน้ ทันที 7.อย่าเชื่อสิ่ งที่ผบู ้ ริ หารพูดเกี่ยวกับบริ ษทั ไปซะทุกอย่าง 8.อย่าเอาเงินที่คุณจาเป็ นต้องใช้ไปเก็งกาไร ถ้าคุณไม่สามารถยอมรับการขาดทุนได้ ให้อยูน่ อกตลาด 9.วิธีนึงที่จะทาให้เราชนะในตลาดได้กค็ ือ ไม่ทาสิ่ งที่คนส่ วนใหญ่กาลังทา 10.เมื่อไหร่ กต้ ามที่ความเห้นในตลาดเป้ นไปแบบเป็ นเอกฉันท์ จงระวัง ตลาดชอบทาในสิ่ งที่คนคาดไม่ถึง คาแนะนาของ Frank J. Williams 1.อย่าเอาเงินคนอื่นมาเก็งกาไร 2.ถ้าตลาดทาให้คุณนอนไม่หลับ คุณคงทาอะไรผิดแล้วล่ะ 3. หาข้อมูลที่เชื่อถือได้ หาข้อเท็จจริ ง ไม่ใช่ความคิดเห็น 4.อย่าเชื่อคาแนะนาของคนที่ไม่รู้เรื่ อง พวกเค้าไม่ได้รู้มากไปกว่าคุณหรอก 5. คาแนะนาประเภท "ผมคิดว่าหุน้ ตัวนี้ดี" ไม่ได้มีความหมายอะไรเลย 6. จาไว้วา่ หุน้ ดีจะกลับมาเสมอ แต่หุน้ ไม่ดีอาจจะหายจากตลาดไปเลย 7. เวลาตลาดขึ้น จะขึ้นบันไดเลื่อน แต่เวลาตลาดลง จะลงลิฟต์ 8.ตลาดจะอันตรายที่สุดในตอนที่มนั ดูดีที่สุด และมันจะน่าซื้อสุ ดๆ ตอนที่มนั ดูเลวร้ายมากที่สุด 9. อย่าเทรดบ่อยเกินไป ยิง่ เทรดเยอะ ยิง่ ขาดทุนเยอะ 10.จงระวังตอนโรคอยากซื้อหุน้ ระบาด มันเป็ นโรคร้ายแรง 11.อย่าเอากาไรทางบัญชีไปใช้จ่าย เพราะสุ ดท้าย มันอาจกลายเป็ นผลขาดทุนได้ 12.อย่าซื้อกระแสหรื อของแปลกใหม่ 13. ตอนได้กาไร อย่าประมาท เอากาไรไปฝากธนาคารไว้ซกั พัก 14. อย่าซื้อเฉลี่ย ยกเว้นว่าคุณมัน่ ใจว่ารู ้จกั หุน้ ตัวนี้จริ ง 15.จงระวังหุน้ ที่มีคนพูดถึงกันเยอะ


16. เวลาคุณทาผิดพลาด อย่าเอาแต่โทษตลาด 17.อย่าให้อารมณ์มาชี้นาการตัดสิ นใจ ให้ตดั สิ นใจบนข้อมูล 18.ให้ความผิดพลาดเป็ นบทเรี ยน คนที่ทาผิดแบบเดียวกันสองครั้งไม่ควรได้รับความเห็นใจ 19.เงินที่ได้มาจากตลาดแบบง่ายๆ ก็มกั จะไปแบบง่ายๆ 20.การรวยจากตลาดหุน้ ไม่ใช่เรื่ องง่าย หลายคนอยูก่ บั ตลาดทั้งชีวติ แต่กย็ งั ไม่รวย

...จินตนาการสาคัญกว่าความรู ้ แต่ตอ้ งอยูบ่ นพื้นฐานของเหตุผล และความจริ ง... #ไอสไตน์ไม่ได้กล่าวไว้ ...ความสุ ขทีค่ ุณเลือกได้ ... ความสุ ขเป็ นสิ่ งที่ทุกคนปรารถนา เพียงแต่วา่ แต่ละคนอาจมองความสุ ขต่างกัน และมีวธิ ีการแสวงหาความสุ ขที่ แตกต่างกันออกไป ถ้าทบทวนดูให้ดี สิ่ งต่าง ๆ ที่คนเราทากันอยูท่ ุกวันนี้กเ็ พื่อให้ชีวติ ของตนมีความสุ ข นโยบายต่าง ๆ ที่ชุมชน หรื อประเทศจัดทาขึ้น เพื่อให้คนมีความสุ ข ความสุ ขจึงเป็ นเรื่ องสาคัญ ทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และประเทศ


บัญญัติสุข 10 ประการนี้ พัฒนาขึน้ จากผลการวิจัยเรื่องความสุ ขคนไทย งานวิจยั ความสุ ขจากต่างประเทศ และ ข้อคิดของปราชญ์ชาวบ้าน แต่ละบัญญัติมีประโยชน์ในการเติมสุ ขในแง่มุมที่แตกต่างกัน ท่านจึงอาจเลือกปฏิบตั ิตามบัญญัติที่รู้สึกว่าเหมาะ กับตัวเอง หรื อเลือกบัญญัติที่ตนไม่คุน้ เคย เพื่อเรี ยนรู ้วธิ ีเติมสุ ขในรู ปแบบใหม่ ๆเติมสุ ขด้วยการเพิ่มความรู ้สึกที่ ดี 1. ออกกาลังกายเป็ นประจา อย่างน้อย 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ประโยชน์ของการออกกาลังกายมีมากมาย อาทิ เพิ่มความสามารถในการทางานของสมอง ร่ างกาย ระบบ ประสาทอัตโนมัติ ระบบภูมิคุม้ กัน การนอนหลับ สมรรถภาพทางเพศ ความทรงจา ความคิดสร้างสรรค์ สมาธิ การตัดสิ นใจ เพิ่มทักษะทางสังคม ลดความวิตกกังวลและซึมเศร้า เคล็ดลับสาคัญที่จะช่วยให้ออกกาลังกายเป็ นประจาได้ 1) อย่ารอจนกว่าจะพร้อม ทาได้แค่ไหน ให้ทาแค่น้ นั เริ่ มต้นด้วยการเดินเร็ว เพียงวันละไม่กี่นาที 2) เลือกกิจกรรมที่รู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน หลากหลาย 3)เข้าร่ วมกลุ่ม ชวนกันทาเป็ นประจา 4) เพิม่ การเคลื่อน ไหวทุกครั้งที่มีโอกาส 5) เลือกวิธีที่เหมาะกับสภาพร่ างกาย อย่าออกกาลังกายเกินตัว 2. ค้นหาจุดแข็ง ความถนัดและศักยภาพ พัฒนาจนเป็ นความสาเร็จ การค้นหาจุดแข็ง ความถนัด และศักยภาพ เป็ นภารกิจสาคัญของชีวติ ที่จะช่วยเรานาสิ่ งที่ดีที่สุดภายในตัวเรา ออกมาใช้ประโยชน์ พัฒนาเป็ นความสาเร็จที่ภาคภูมิใจ ไม่วา่ เราจะมีอายุเท่าใดก็ตาม การค้นหาตัวเอง ค้นหาจุดแข็ง ความถนัด และศักยภาพ ยังคงเป็ นภารกิจสาคัญที่ ควรจะกระทา เราทาได้โดย 1)หมัน่ สังเกตตัวเอง ทบทวนดูวา่ ตนทาอะไรได้ดี เรี ยนรู ้อะไรได้รวดเร็ว


2) สอบถามจากคนที่รู้จกั เราดี 3) ทาแบบทดสอบเพื่อประเมินตัวเองเติมสุ ขด้วยการลดความรู ้สึกไม่ดี 3. ฝึ กหายใจคลายเครี ยด และทักษะผ่อนคลายอื่น ๆ (เช่น โยคะ ไท้เก๊ก) 1) หายใจสบาย ๆ ไม่ตอ้ งตั้งใจมาก 2) หายใจออกให้ยาวกว่าหายใจเข้า อาจใช้การนับเลขช่วยกาหนดจังหวะ โดยหายใจเข้า นับในใจ 1-2-3-4 กลั้น หายใจไว้ นับ 1-2 หายใจออก นับ 1-2-3-4-5-6 3) ขณะหายใจออกยาว ให้วางความรู ้สึกไว้ที่ทอ้ งรับรู ้ความรู ้สึกเคลื่อนไหวของช่องท้อง (หายใจเข้า-ท้องพอง ออก หายใจออก-ท้องแฟบลง) อาจใช้ฝ่ามือวางบริ เวณเหนือสะดือ กดเบา ๆ ขณะหายใจออก ปล่อยมือออกเมื่อ เริ่ มหายใจเข้า ทาเช่นนี้สัก 5 นาที จะพบว่าร่ างกายผ่อนคลาย จิตใจสงบมากขึ้น 4. คิดทบทวนสิ่ งดี ๆ ในชีวติ และฝึ กมองโลกในแง่ดี การทบทวนสิ่ งดี ๆ ในชีวติ เป็ นการฝึ กฝนตนเอง ให้รู้จกั มองเห็นสิ่ งดี ๆ ที่มีอยูร่ อบตัว ช่วยให้มีความสุ ขและ กาลังใจมากขึ้น ทุกวันก่อนเข้านอน ให้ทบทวนว่า “วันนี้มีอะไรดี ๆ เกิดขึ้นบ้าง” คิดหาสิ่ งดี ๆ เป็ นประจา อย่างน้อยวันละ 5 เรื่ อง นอกจากนี้เรายังสามารถ ฝึ กมองโลกแง่ดี ในเวลาที่มีปัญหา ทุกครั้งที่พบปัญหา ให้ถามตัวเองว่า “ปัญหานี้ มีแง่ ดีอะไรบ้าง” จะพบว่า ทุกปัญหาอาจแปลงเป็ นบทเรี ยนชีวติ ที่ช่วยให้เราเติบโตและเข้าใจชีวติ มากยิง่ ขึ้น และทุก ปัญหาแฝงไว้ซ่ ึงโอกาส เริ่ มต้นตั้งแต่วนั นี้ ทุกคืนก่อนเข้านอน จัดเวลาคิดทบทวนสิ่ งดี ๆ วันละ 5 เรื่ อง และหากมีเหตุให้พบกับปัญหา อะไรก็ตาม ลองค้นหาแง่ดีของปัญหานั้นดูเติมสุ ขด้วยการเพิ่มสมรรถภาพจิตใจ 5. บริ หารเวลาให้สมดุลระหว่างการงาน สุ ขภาพ และครอบครัว ชีวติ คนเรามีหลายด้าน ลองถามตัวเองดูวา่ “อะไรคือสิ่ งสาคัญในชีวติ ” -การงาน เปิ ดโอกาสให้เราได้ใช้ศกั ยภาพ สร้างความสาเร็จที่ภาคภูมิใจ มีสังคมและเพื่อนฝูง มีรายได้ และความ


มัน่ คงในการดารงชีวติ - สุ ขภาพ ทั้งทางร่ างกายและจิตใจ เป็ นทุนสาคัญของชีวติ - ครอบครัว เป็ นแหล่งกาลังใจและความสุ ขที่สาคัญ ทุกด้านของชีวติ ต่างเป็ นแหล่งความสุ ขที่สาคัญ หากเราใส่ ใจด้านใดมากเกิน ละเลยด้านอื่น ความสุ ขในชีวติ ก็ จะลดน้อยลง เราจึงจาเป็ นต้องบริ หารเวลาให้สมดุล ระหว่างการงาน สุ ขภาพ และครอบครัว ลองทบทวนการใช้เวลาในสัปดาห์ที่ผา่ นมาของตัวเองดู คุณใช้เวลาทาอะไรบ้าง เมื่อทบทวนแล้ว คุณอยากทา อะไรให้มากขึ้น และอยากทาอะไรให้นอ้ ยลง 6. คิดและจัดการปัญหาเชิงรุ ก อย่าปล่อยให้สถานการณ์ชีวติ หรื อปัญหาต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามา กาหนดความเป็ นไปของชีวติ คุณ ควรจัดเวลาทา ความเข้าใจปัญหาคิดหาทางเลือกในการก้าวเดิน โดยการตั้งคาถามกับตัวเองว่า ปัญหาที่ประสบอยูน่ ้ นั “มันเป็ นปัญหาอย่างไร” เราห่วงอะไร กังวลใจในแง่ใด ในปัญหานั้น แต่ละเรื่ องที่เราห่วงหรื อกังวลใจ ทบทวนดูวา่ “เราทาอะไรได้บา้ ง” จากนั้น ให้ลงมือทา อย่ามัวแต่คิดกังวลใจ “คุณจะรู ้สึกเป็ นเจ้าของชีวติ ตนเองมากขึ้น พอใจในชีวติ มากขึ้น”เติมสุ ขด้วยการเพิม่ คุณภาพจิตใจ 7. มองหาโอกาสในการมอบสิ่ งดี ๆ ให้กบั ผูอ้ ื่น ความสุ ขในทางโลก อาจแบ่งออกได้เป็ นสามระดับ หนึ่ง ความสุ ขและความเพลิดเพลินทางร่ างกาย เช่น รับประทานอาหารอร่ อย สอง ความสุ ขจากชีวติ ที่ลงตัว มีงานที่ทา้ ทาย มีความรัก และงานอดิเรก สาม ความสุ ขจากชีวติ ที่มีความหมาย ได้ใช้ศกั ยภาพของตน เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทาสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ต่อ


ชุมชนและสังคม กิจกรรมสนุกสนานประเภทต่าง ๆ ไม่สามารถสร้างความสุ ขใจได้ลึกซึ้งเท่ากับการที่เราได้มอบสิ่ งดี ๆ ให้กบั ผูอ้ ื่น เมื่อเราช่วยเหลือผูอ้ ื่นให้เป็ นสุ ข ตัวเราเองก็มีความสุ ขมากขึ้นไปด้วย 8. ศึกษาและปฏิบตั ิตามหลักคาสอนทางศาสนา 1)ผูศ้ ึกษาและปฏิบตั ิตามหลักคาสอนทางศาสนา ได้รับประโยชน์จากศาสนาอย่างน้อย 4 ด้าน 2)มีสังคม เพื่อนฝูง ที่ศึกษาและปฏิบตั ิธรรมร่ วมกัน 3)มีจุดหมายในการทาสิ่ งต่าง ๆ มากขึ้น และในเวลาที่ตอ้ งตัดสิ นใจเรื่ องสาคัญ ก็มีแนวทางที่ชดั เจนจากหลักคา สอนทางศาสนา 4)หลีกเลี่ยงจากพฤติกรรมเสี่ ยงต่าง ๆ เช่น ดื่มสุ รา ใช้ยาเสพติด 5)เข้าใจชีวติ มากขึ้น มีความสุ ขได้ง่ายขึ้นเติมสุ ขด้วยการเพิ่มการสนับสนุนของครอบครัว 9. ให้เวลาและทากิจกรรมความสุ ขร่ วมกับสมาชิกในครอบครัวเป็ นประจา ฝึ กรับฟังอย่างใส่ ใจ ชื่นชมกันด้วยความจริ งใจ ลดเวลาการดูทีวลี ง จัดเวลาทากิจกรรมความสุ ขร่ วมกัน ช่วยกันทางานบ้าน อย่าให้ความสาคัญกับเรื่ องเงินทองและวัตถุมากเกิน ให้ความสาคัญกับการเพิม่ ทักษะทางอารมณ์และสังคม เติมความเข้มแข็งทางใจ และฝึ กนิสัยการเรี ยนรู ้ตลอด ชีวติ ให้กบั ลูก หากมีเหตุการณ์ลบ ให้มองแง่ดีไว้ก่อนเสมอ 10. ชื่นชมคนรอบข้างอย่างจริ งใจ คนเราทุกคนต้องการความรัก การยอมรับ และความชื่นชม คาชื่นชมจึงเป็ นสิ่ งเติมกาลังใจและความสุ ขให้แก่ กัน เราฝึ กชื่นชมคนรอบข้ างได้ ด้ วยวิธีต่อไปนี้


1)ปล่อยวางความคาดหวังลง เปิ ดใจรับและมองหาข้อดีที่น่าชื่นชมของคนรอบข้าง 2)กล่าวคาชื่นชมด้วยความจริ งใจทุกครั้งที่มีโอกาส 3)ควรฝึ กชื่นชมตนเองด้วยการมองเห็นข้อดีของผูอ้ ื่นเป็ นการฝึ กจิตใจของเราเอง และยังช่วยเติมความสุ ขให้กบั ชีวติ อ่านทบทวนดูแล้ว ผมคิดเองว่า ไม่มีโอกาสคิดถึงความโกรธ ความเกลียด ความเคียดแค้น ความทะยานอยาก ด้านรัก โลภ โกรธ หลงเลย จึงควรเป็ นบัญญัติสุขอย่างยิง่ สมควรเผยแพร่ ข้อมูลจาก นายแพทย์ประเวช ตันติพิวฒั นกุล นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข. นายแพทย์สุรพงศ์ อาพันวงษ์

…หลักการซื้อกิจการของ Warren Buffettt… 1.เป็ นการซื้ อมูลค่าสู ง (ต้องเป็ นกิจการที่มีกาไรก่อนภาษีอย่างน้อย 75 ล้านเหรี ยญ หรื อไม่กเ็ ป็ นกิจการที่เข้ากัน ได้กบั กิจการที่เรามีอยู)่ 2.เป็ นกิจการที่มีผลกาไรแล้วอย่างสม่าเสมอ (เราไม่สนใจการทาคาดการณ์อนาคต หรื อสถานการณ์ฟ้ื นตัว)


3.เป็ นกิจการที่มีอตั ราการทากาไรต่อส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สู ง โดยมีหนี้เงินกูเ้ พียงเล็กน้อยหรื อไม่มีเลย 4.มีผบู ้ ริ หารอยูใ่ นตาแหน่ง (เราไม่สามารถหาให้ได้) 5.เป็ นธุรกิจที่ธรรมดาเรี ยบง่าย (ถ้ามีอะไรที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีมาก เราจะไม่เข้าใจมัน) 6.เสนอราคามาพร้อม (เราไม่ตอ้ งการเสี ยเวลาที่จะคุย แม้ในเบื้องต้น เกี่ยวกับธุรกรรมที่ยงั ไม่ทราบราคา) ถ้าเราสนใจในกิจการ เราสามารถให้คาตอบ ที่ครบถ้วน เป็ นความลับ และรวดเร็ว โดยปกติคือ ภายใน 5 นาที !!! จากรายงานประจาปี 2013 ของ Berkshire Hathaway http://www.berkshirehathaway.com/2013ar/2013ar.pdf

...ข้ อคิดจากนักลงทุนที่ Warren Buffett ชื่นชม... "...นักลงทุนที่ประสบความสาเร็จจะมีความถ่อมตัว และไม่เชื่อมัน่ ในความคิดของตัวเองมากจนเกินไป เพราะ พวกเขารู ้วา่ ไม่วา่ จะทุ่มเทหรื อระมัดระวังแค่ไหนพวกเขาก็อาจคิดผิดได้..." Seth Klarman ผจก.กองทุน Baupost Group หนึ่งในนักลงทุนที่ Warren Buffett ชื่นชม และเป็ นผูเ้ ขียนหนังสื อ การลงทุนที่หายาก Margin of Safety: Risk-Averse Value Investing Strategies for the Thoughtful Investor.


ข้อคิดนี้แปลโดยคุณ Pornchai Rattananontachaisook

...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด (ตอนที่ 1)... “…เรารู ้จกั ผูค้ นมากมาย ที่ส่วนใหญ่เวลาทาเรื่ องต่างๆจะทาด้วยความรับผิดชอบ และระมัดระวัง แต่เวลาลงทุน เค้ากลับทาด้วยความบ้าคลัง่ พวกเขาเหล่านั้นอาจจะใช้เวลาหลายเดือนหลายปี ในการทางานหนัก และมีวนิ ยั ในการเก็บออม แต่ใช้เวลาเพียง เล็กน้อยกับการลงทุน พวกเขาเหล่านั้นใช้เวลาศึกษาข้อมูล และไปร้านค้าหลายครั้งก่อนที่จะตัดสิ นใจซื้อเครื่ องเสี ยง หรื อกล้องถ่ายรู ป ซักอัน แต่กลับใช้เวลาเพียงเล็กน้อย หรื อแทบไม่ได้ศึกษาหุน้ ที่พวกเขาพึ่งได้ยนิ มาจากเพื่อน เหตุผลที่ใช้ตอนเลือกซื้อเครื่ องใช้ไฟฟ้ า หรื อกล้องถ่ายรู ป หายไปเมื่อเข้ามาสู่ การลงทุน...” แปลจากหนังสื อ Margin of Safety: Risk-Averse Value Investing Strategies for the Thoughtful Investor. ซึ่ง เขียนโดย Seth Klarman ผจก.กองทุน Baupost Group หนึ่งในนักลงทุนที่ Warren Buffett ชื่นชม



...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด (ตอนที่ 2)... “… นักลงทุนที่ไม่ประสบความสาเร็จส่ วนมาก คิดว่าตลาดหุน้ เป็ นหนทางที่จะทาเงิน โดยที่ไม่ตอ้ งทางาน แทนที่จะคิดว่าเป็ นหนทางจะได้นาเงินไปลงทุนเพื่อรับผลตอบแทนที่เหมาะสม นักลงทุนเหล่านั้น มักจะมีความสุ ขที่ได้กาไรง่าย รวดเร็ว และมีความคาดหวังจะได้รับผลกาไรโดยที่ไม่ตอ้ งใช้ ความพยายาม ซึ่งเป็ นตัวเร่ งความโลภในใจนักลงทุนได้เป็ นอย่างดี ความโลภจะนานักลงทุนส่ วนมาก ไปแสวงหาทางลัดเพื่อความสาเร็จในการลงทุน แทนที่จะคาดหวัง ผลตอบแทนทบต้นที่เหมาะสมในระยะยาว สุ ดท้ายความโลภเป็ นสาเหตุที่ทาให้นกั ลงทุนเหล่านั้น หลุดออกจากเป้ าหมาย การประสบความสาเร็จในการ ลงทุนระยะยาว มาเป็ นความหลงใหลการเก็งกาไรระยะสั้น …” แปลจากหนังสื อ Margin of Safety: Risk-Averse Value Investing Strategies for the Thoughtful Investor. ซึ่ง เขียนโดย Seth Klarman ผจก.กองทุน Baupost Group หนึ่งในนักลงทุนที่ Warren Buffett ชื่นชม ติดตามเพิ่มเติมได้ทาง http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57244


...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด (ตอนที่ 3)... “…การลงทุนแบบเน้นคุณค่า เป็ นสิ่ งที่เข้าใจได้ง่าย แต่ทาตามได้ยาก ส่ วนที่ยากคือ วินยั ความอดทน และวิจารณญาณ นักลงทุนต้องมีวนิ ยั ที่จะหลีกเลี่ยงไม่ตีลูกที่ขว้างมาไม่เข้าทาง มีความอดทนที่จะรอลูกที่ขว้างมาเข้าทาง และมีวจิ ารณญาณว่าเมื่อไหร่ ควรจะหวดสุ ดแรง…” (ผูแ้ ปล : Seth Klarman เปรี ยบเทียบการลงทุนที่ถูกต้องเหมือนการเล่นเบสบอลที่จะรอตีเฉพาะลูกที่เข้าทางเพื่อ หวัง home run เท่านั้น) แปลจากหนังสื อ Margin of Safety: Risk-Averse Value Investing Strategies for the Thoughtful Investor. ซึ่ง เขียนโดย Seth Klarman ผจก.กองทุน Baupost Group หนึ่งในนักลงทุนที่ Warren Buffett ชื่นชม ติดตามเพิม่ เติมได้ทาง http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57244


...Hip Hop จิตวิทยาการลงทุน... "...เกิดมาก็มโน คิดเออเองว่า โอ้ เราเก่งเลิศเหนือใคร ไม่ยอมขายขาดทุน ไม่คายหุน้ ทนถือลุน้ จนชัว่ ฟ้ าดินสลาย เสพข้อมูลตามความเชื่อ ไม่เคยจะคิดเผือ่ นึกถึงทางเสี ยหาย นึกอยากทาสิ่ งไหน ก็หลอกตัวเองให้ได้ทา สิ่ งที่อยากทาตามสบาย อ้างอิงตัวเลขโน่นนี่นนั่ แม้ตวั เลขพวกนั้น มันไม่มีความหมาย เชื่อกูรูไลค์ผรู ้ ู ้ ทั้งที่ดูเค้าผิดบ่อย แต่กไ็ ม่วายงมงาย สาเร็จเพราะตัวเอง พอพลาดเซ็ง โทษผีห่าซาตานเรื่ อยเลยนาย แรกๆ ไม่กล้าลงทุน มาซื้อหุน้ ตอนสาย ซื้อตอนตลาดใกล้จะวาย เค้าเล่าอะไรมาก็เชื่อ ไม่ถามเหตุผลเพื่อ ให้ทุกอย่างมันคลี่คลาย หุน้ ขึ้นว่าไปต่อ หุน้ ลงท้อซะงั้น คิดแบบนั้นถึงซื้อแพงไง ฟาย ชอบลงทุนแห่ตามฝูง แม้มนั เป็ นดอยสู ง ซื้อแล้วติดจนวันตาย อยากลงทุนให้มงั่ คัง่ ใช้เหตุผลทุกครั้ง รวยแน่ไม่ตอ้ งทาย..."

...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด (ตอนที่ 4)... “... การลงทุนเป็ นการทาธุ รกิจที่จริ งจัง ไม่ใช่เรื่ องเพื่อความสนุกสนาน ถ้าคุณตัดสิ นใจจะเข้ามาเกี่ยวข้องตลาดหุน้ คุณควรที่จะเลือกเป็ นนักลงทุน ไม่ใช่นกั เก็งกาไร และแน่ใจว่าคุณ เข้าใจความแตกต่าง เมื่อคุณนาเงินที่อุตสาห์อดออม และความมัน่ คงทางการเงินในอนาคต มาฝากไว้ที่หุน้ การไม่สามารถแยกแยะว่า การลงทุน กับ การเก็งกาไร ต่างกันอย่างไร จะมีตน้ ทุนสู งจนคุณไม่อาจทาใจยอมรับ ได้…”


...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด (ตอนที่ 5)... “…ผมเชื่ออย่างมากว่า เป้ าหมายที่สาคัญอันดับแรกสาหรับนักลงทุนทุกคน คือ “การอย่าขาดทุน” ซึ่งไม่ได้ หมายความว่านักลงทุนไม่ควรจะรับความเสี่ ยงของการขาดทุนใดๆเลย แต่ “การอย่าขาดทุน” หมายถึง ในระยะยาวแล้ว พอร์ตการลงทุนไม่ควรเสี่ ยงจนได้รับผลการขาดทุนอย่าง รุ นแรง มันเป็ นความลาบากอย่างยิง่ ที่จะตระหนักถึงโอกาสที่จะขาดทุน ในขณะที่คนอื่นๆ กาลังโลภ ได้กาไรเป็ นกอบ เป็ นกา และโบรกเกอร์กาลังโทรมาเสนอหุน้ IPO สุ ดร้อนให้คุณ การหลีกเลี่ยงการขาดทุน เป็ นหนทางที่แน่นอนที่สุดที่จะทาให้คุณได้รับผลกาไร


...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด(ตอนที่ 6)... "...ข้อพิสูจน์ที่ช้ ีให้เห็นว่า การสร้างผลตอบแทนทบต้นมีความสาคัญ คือความยากลาบากที่จะฟื้ นตัวจาก การ ขาดทุนหนักๆ แม้เพียงครั้งเดียว สามารถทาลาย ความมัง่ คัง่ ที่สั่งสมมาเป็ น เวลายาวนานได้ ในอีกแง่หนึ่งก็คือ นักลงทุนควรพยายามที่จะสร้างผลตอบแทนที่สมเหตุสมผล สม่าเสมอ โดยมีความเสี่ ยงจากัด ดีกว่าที่จะ สร้างผลตอบแทนที่หวือหวา ได้กาไรมหาศาล แต่เต็มไปด้วยความเสี่ ยง นักลงทุนผูซ้ ่ ึงทาผลตอบแทนได้ 16 % ต่อปี ต่อเนื่อง 10 ปี จะมีความมัง่ คัง่ สู งกว่า นักลงทุนที่ทาผลตอบแทนได้ 20% ต่อปี ต่อเนื่อง 9 ปี แต่ขาดทุน 15 % ในปี ที่ 10 อย่างน่าประหลาดใจ..." ติดตามเพิ่มเติมได้ทาง http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57244


...ข้ อคิดจากหนังสือการลงทุนทีห่ ายากและราคาแพงทีส่ ุ ด(ตอนที่ 7)... “…การลงทุนแบบเน้นคุณค่า คือการเข้าซื้อหลักทรัพย์ในระดับราคาที่มีส่วนลดอย่างมีนยั สาคัญจากมูลค่า พื้นฐานด้วยความมีวนิ ยั และถือครองหลักทรัพย์เหล่านั้นจนสะท้อนมูลค่าพื้นฐาน ส่ วนลดที่วา่ เป็ น ส่ วนประกอบสาคัญของกระบวนการนี้ เพราะการลงทุน เป็ นศิลปะ มากกว่า วิทยาศาสตร์ นักลงทุนจึงจาเป็ นต้องมี ส่ วนเผือ่ ความปลอดภัย (Margin of Safety) เพราะ „ การประเมินมูลค่าเป็ นศิลปะจึงไม่สามารถวัดค่าที่แม่นยาได้ „ อนาคตเป็ นสิ่ งที่ไม่แน่นอน และ „ นักลงทุนเป็ นเพียงมนุษย์ สามารถทาผิดพลาดได้ เบนจามิน เกรแฮม กล่าวว่า “ส่ วนเผือ่ ความปลอดภัยขึ้นกับราคาที่จ่ายเสมอ สาหรับทุกหลักทรัพย์ มันจะมี ส่ วนเผือ่ มากที่ระดับราคาหนึ่ง มีส่วนเผือ่ น้อยลงเมื่อราคาสู งขึ้น และไม่เหลือส่ วนเผือ่ เลยเมื่อมีราคาสู งถึงจุด หนึ่ง…” ติดตามเพิ่มเติมได้ทาง http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57244


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.