ติวเข้มเตรียมสอบ
ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง พุทธศักราช ๒๕๖๑
ข้าพเจ้า...............................นามสกุล............................... นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่...............สถานศึกษา.............................
ผู้เข้าสอบธรรมศึกษาชั้น........... ปีพุทธศักราช..................................
ในสังกัดวัด.......................................จังหวัด..................... ได้ครอบครองหนังสือเล่มนี้ไว้เป็นสมบัติส่วนตัว
เพื่อเป็นคู่มือศึกษาพระพุทธศาสนา และเป็นคู่มือปฏิบัติตัวตลอดไป
ข้าพเจ้าสัญญาว่า จักเก็บรักษาหนังสือเล่มนี้ไว้เป็นอย่างดี และจะประกอบกรรมดี ทั้งกาย วาจา ใจ เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา บุพการีบูชา อาจริยบูชา
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา. – กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง, ๒๕๖๒ ๖๔ หน้า ๑. ธรรมะ. – ข้อสอบและเฉลย I. ชื่อเรื่อง. ๒๙๔.๓๑๕๐๗๖ ISBN xxx-xxx-xxxx-xx-x คณะที่ปรึกษา วันนา มากมาย อรุณ อาจทวีกุล ไพยนต์ กาสี มนิจ ชูชัยมงคล
น.ธ.เอก, ป.ธ. ๙, อวท. (คอมพิวเตอร์) ศศ.ม. (การบริหารยุติธรรม) น.ธ.เอก, ป.ธ. ๘, คบ. (พุทธศาสนา) น.ธ.เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ. (รัฐศาสตร์) น.ธ.เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ. (เศรษฐศาสตร์)
คณะผู้จัดท�ำ ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัทธ์ ป.ธ. ๗, พธ.บ. (ภาษาไทย) อนุชิต ค�ำซองเมือง ป.ธ. ๙, คบ. (พุทธศาสนา) มรุต จินตนธรรม อรัญ มีพันธ์ อุธร นามวงศ์ หนูคล้าย กุกัญยา
: : : : : :
บรรณาธิการ/ต้นฉบับ ออกแบบปก รูปเล่ม พิสูจน์อักษร พิสูจน์อักษร พิสูจน์อักษร
สร้างสรรค์และลิขสิทธิ์ บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
105/95-96 ถนนประชาอุทศิ ซอย 45 แขวงบางมด เขตทุง่ ครุ กรุงเทพฯ 10140 โทร./แฟกซ์ : 02-872-7667 สาขาทุ่งครุ : โทร. 02-872-9191, 02-872-8181, 02-872-9898, 02-872-7227 : LC2YOU@GMAIL.COM, LC2YOU@HOTMAIL.COM : WWW.LC2U.COM, WWW.LIANGCHIANG.COM, WWW.DHAMMA2U.COM สาขาส�ำราญราษฎร์ : โทร. 02-221-1050, 02-221-4446 : WWW.RAKBOON.COM พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เลีย่ งเชียง 223 ถนนบ�ำรุงเมือง แขวงส�ำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 : โทร. 02-221-1050, 02-221-4446, 02-223-8979
วโรรส
นว รสิร วิ ฒ ั น์
งฆ
ชิ ราชเ ง ว ล จ้า กรมห
สั
รญ าณ
พระ
ิ วช า ย ะ กรมพร
สมเดจ็
หา ระม สมเดจ็ พ
สม ณเจ้า
ความเป็นมาของการศึกษา นักธรรมและธรรมศึกษา
การศึกษาพระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทย แต่เดิมนัน้ นิยมศึกษาเป็นภาษาบาลี เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้ยากมาก ส่งผลให้มีพระภิกษุสามเณรที่มีความรู้ ในพระธรรมวินยั อย่างทัว่ ถึงมีจำ� นวนน้อย สังฆมณฑลขาดแคลนพระภิกษุผมู้ คี วามรูค้ วามสามารถ ช่วยเหลือกิจการพระศาสนาในด้านการศึกษา การปกครอง และแนะน�ำสั่งสอนประชาชน สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรรส ทรงด� ำ ริ วิ ธี ก ารศึ ก ษา พระธรรมวินัยในรูปแบบของภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อพ.ศ. ๒๔๓๕ โดยก�ำหนดหลักสูตร ให้ผู้เรียนมีความรู้พระพุทธศาสนาทั้งด้านหลักธรรม พุทธประวัติ และวินัย ตลอดถึงการ แต่งกระทู้ธรรม เบื้องต้นใช้สอนพระภิกษุสามเณรในวัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งปรากฏว่าได้ผล เป็นอย่างดี จึงทรงขยายรูปแบบการศึกษานี้ไปยังพระภิกษุสามเณรที่บวชใหม่ทั่วไป โดยทรง ปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนมากขึน้ และจัดให้มกี ารสอบเป็นครัง้ แรกในปีพ.ศ. ๒๔๕๔ พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้ทรงปรับปรุงหลักสูตรอีกครัง้ ในครัง้ นีท้ รงแบ่งหลักสูตรออกเป็น ๒ อย่าง คือ อย่างสามัญ เรียนวิชาธรรมวิภาค พุทธประวัติ วินัยมุข และเรียงความแก้กระทู้ธรรม อย่าง วิสามัญ เพิ่มบาลีไวยากรณ์สัมพันธ์ และแปลอรรถกถาธรรมเข้าไปด้วย พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงปรับปรุงหลักสูตรนักธรรมอีกครัง้ หนึง่ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น ๓ ชัน้ คือ นักธรรมชัน้ ตรี ส�ำหรับผูบ้ วชใหม่มพี รรษาไม่ถงึ ๕, นักธรรมชัน้ โท ส�ำหรับพระภิกษุชนั้ มัชฌิมะ คือมีพรรษาเกิน ๕ แต่ไม่ถึง ๑๐, นักธรรมชั้นเอก ส�ำหรับพระภิกษุชั้นเถระ คือมีพรรษา ๑๐ ขึ้นไป ดังหลักสูตรการศึกษาที่ใช้มาจวบจนปัจจุบันนี้ ต่อมา สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ทรงเห็นว่าการศึกษานักธรรมมิได้เป็นประโยชน์แก่พระภิกษุสามเณรเท่านัน้ แต่ยงั เป็นประโยชน์ แก่พทุ ธศาสนิกชนทัว่ ไปอีกด้วย โดยเฉพาะเหล่าข้าราชการครู จึงทรงตัง้ หลักสูตรนักธรรมส�ำหรับ ฆราวาสขึน้ เรียกว่า “ธรรมศึกษา” ครบทัง้ ๓ ชัน้ คือ ชัน้ ตรี ชัน้ โท ชัน้ เอก โดยใช้หลักสูตรเดียวกับ นักธรรม เว้นแต่วชิ าวินยั ทีก่ ำ� หนดให้เรียนเบญจศีลเบญจธรรมและอุโบสถศีลแทน เปิดสอบครัง้ แรก เมื่อพ.ศ. ๒๔๗๒ มีพุทธศาสนิกชนชายหญิงเข้าสอบเป็นจ�ำนวนมาก นับเป็นการส่งเสริม การศึกษาพระพุทธศาสนาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
บอกเล่าเก้าสิบ หนังสือ ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นตรี ระดับประถมศึกษา เล่มนี้ ได้จัดท�ำขึ้น เพื่อเป็นคู่มือติวเข้มก่อนสอบส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่จะเข้าสอบธรรมศึกษา ชั้นตรี ประกอบด้วยเนื้อหา ๔ วิชาหลัก คือ วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม, วิชา ธรรมะ, วิชา พุทธประวัติ และวิชา วินัย (เบญจศีล เบญจธรรม) ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรม สนามหลวง ๒๕๖๑ ในการสอบทางแม่กองธรรมสนามหลวงได้ก�ำหนดรูปแบบของการสอบแต่ละวิชาไว้ ดังนี้ ๑. วิชา เรียงความแก้กระทูธ้ รรม ก�ำหนดให้ผสู้ อบเขียนเรียงความอธิบายพุทธศาสนสุภาษิตทีก่ ำ� หนดมาให้อย่างน้อย ๒ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึน้ ไป พร้อมจัดวรรคตอนย่อหน้า ให้ถูกต้องตามแบบฟอร์มที่วางไว้ ๑๐๐ คะแนน ๒. วิชา ธรรมะ ข้อสอบออกแบบปรนัย ๕๐ ข้อ ๑๐๐ คะแนน ๓. วิชา พุทธประวัติ ข้อสอบออกแบบปรนัย ๕๐ ข้อ ๑๐๐ คะแนน ๔. วิชา วินัย (เบญจศีล เบญจธรรม) ออกข้อสอบแบบปรนัย ๕๐ ข้อ ๑๐๐ คะแนน เพื่อให้ผู้สอบรู้แนวการออกข้อสอบและมีความมั่นใจในการสอบ ทางคณาจารย์ ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียงจึงได้จัดท�ำหนังสือ ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นตรี ระดับประถม ศึกษานี้ขึ้น ซึ่งประกอบด้วยหลักเกณฑ์และรูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้อย่างไร ให้สอบผ่าน ปัญหาและเฉลย วิชา ธรรมะ, วิชา พุทธประวัติ และวิชา วินัย (เบญจศีล เบญจธรรม) วิชาละ ๓๐๐ ข้อ ครอบคลุมเนือ้ หาทัง้ หมดของแต่ละวิชา เหมาะส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาที่จะเข้าสอบธรรมศึกษาชั้นตรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเอื้อประโยชน์แก่นักเรียน และครูอาจารย์ทุกท่าน ตามสมควร ฐาตุ จิรํ สตํ ธมฺโม ขอพระสัทธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้า จงด�ำรงอยู่สิ้นกาลนาน บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม ความหมาย ของค�ำว่าเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความแก้กระทู้ธรรม แยกออกเป็น ๓ ค�ำ คือ ค�ำว่า เรียงความ + แก้ + กระทู้ธรรม เรียงความ หมายถึงการน�ำค�ำต่างๆ มาเขียนเรียงเป็นประโยค อ่านแล้วได้ความหมายและเกิด ความเข้าใจในเรือ่ งนัน้ ๆ ค�ำว่า แก้ หมายถึงแก้ขอ้ สงสัย ท�ำให้กระจ่าง เข้าใจแจ่มแจ้ง กระทูธ้ รรม หมายถึงหัวข้อธรรมหรือพุทธศาสนสุภาษิต เรียงความแก้กระทูธ้ รรม จึงหมายถึงการเขียนอธิบายเนือ้ ความพุทธศาสนสุภาษิตทีย่ กมา ให้กระจ่างตามความรู้ความเข้าใจของแต่ละคน การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมนี้จะว่ายาก ก็ยากจะว่าง่ายก็ง่ายขึ้นอยู่กับการฝึกฝนของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
หลักเกณฑ์การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ในการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม มีหลักเกณฑ์ที่ต้องท�ำความเข้าใจ ๔ อย่าง ดังนี้ ๑. รูปแบบถูกต้องตามเกณฑ์ หมายถึงเขียนให้ถูกตามเกณฑ์ที่วางไว้ คือ ๑) เขียนด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒) เขียนให้ได้ ๒ หน้ากระดาษขึ้นไป โดยเว้นบรรทัด ๓) อ้างพุทธศาสนสุภาษิตอื่นมาประกอบ ๑ สุภาษิต ๔) จัดวรรคตอน ย่อหน้า ได้ถูกต้องตามรูปแบบที่ก�ำหนด ๒. โดดเด่นเนือ้ หาจับใจ หมายถึงเขียนอธิบายพุทธศาสนสุภาษิตได้สมเหตุสมผล มีลำ� ดับ ขั้นตอน อ่านเข้าใจง่าย และน้อมน�ำใจให้อยากปฏิบัติตาม ๓. ภาษาอ่านแล้วลื่นไหล หมายถึงภาษาที่ใช้ต้องมีถ้อยค�ำส�ำนวนที่อ่านง่ายเข้าใจง่าย หลีกเลี่ยงค�ำไม่สุภาพ เขียนค�ำให้ถูกต้องตามหลักภาษาและอย่าให้ตกหล่น ๔. สะอาดถูกใจ ไม่เปรอะเปื้อน คือ พยายามอย่าให้มีรอยลบ รอยขีดฆ่าจนดูสกปรก หากจ�ำเป็นต้องขีดฆ่าให้ใช้ปากกาขีดฆ่าข้อความเพียงเส้นเดียว อย่าขีดฆ่าจนเลอะเทอะ ถ้า เลอะมากให้เขียนใหม่ เช่น
กุลธรรม คือธรรมฝ่ายชั่ว ธรรมไม่ดี มีผลท�ำให้เป็นสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
5
ขั้นตอนการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ขั้นตอนก่อนลงมือเขียน ๑) ให้ท่องจ�ำพุทธศาสนสุภาษิตที่ชอบและคิดว่าตนเองจะอธิบายได้ดี อย่างน้อย ๒ สุภาษิต พร้อมชื่อคัมภีร์ที่มาของสุภาษิตบทนั้น ฝึกเขียนทั้งบาลีและค�ำแปลให้ถูกต้อง ๒) เมื่อท่องจ�ำสุภาษิตได้แล้ว ให้ฝึกเขียนอธิบายพุทธศาสนสุภาษิตนั้นสัก ๒-๓ ครั้ง ประมาณ ๗-๘ บรรทัด จนเกิดความช�ำนาญ เมื่อน�ำไปเชื่อมในสนามหลวงจะได้ง่ายขึ้น
ขั้นตอนลงมือเขียน
(ดูรูปแบบการเขียน หน้า ๘ ประกอบ) ๑) เขียนสุภาษิตสนามหลวง ต้องเขียนไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษสอบให้พอดี ทั้งค�ำบาลี และค�ำแปล อย่าให้ล้นไปข้างหน้าหรือเยื้องไปข้างหลังดูไม่งาม ๒) เขียนอารัมภบท คือ บัดนี้...ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ย่อหน้าประมาณ ๕-๖ ตัวอักษร ๓) อธิบายเนื้อความ ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ย่อหน้ากระดาษขึ้น ค�ำว่า... การย่อหน้าต้องให้ ตรงกับ บัดนี้... เมื่ออธิบายได้ ๔-๕ บรรทัดให้ท�ำการเชื่อมเนื้อความของสุภาษิตแรกกับสุภาษิต ที่สองให้ถึงกัน เช่น สุภาษิตแรกพูดถึงเรื่องกรรม เราจะยกสุภาษิตเรื่องศีลมาเชื่อม ก็ต้องพูด เรื่องกรรมกับศีลให้เกี่ยวข้องกัน ว่าศีลนั้นมีประโยชน์ให้คนท�ำกรรมอย่างไร หรือเพราะเหตุใด คนต้องอาศัยศีลในการสร้างกรรมเสร็จแล้วให้บอกทีม่ าของสุภาษิตทีย่ กมาอ้างว่า สมดังสุภาษิต ที่มาใน......ว่า ๔) เขียนสุภาษิตเชื่อม ให้เขียนไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ ๕) อธิบายสุภาษิตเชื่อม ให้ย่อหน้าขึ้นบรรทัดใหม่ ๖) สรุปความ ให้ย่อหน้าขึ้นบรรทัดใหม่ เขียนค�ำว่า สรุปความว่า..... การสรุปความนั้น ควรสรุป ๕-๖ บรรทัด แล้วให้น�ำสุภาษิตบทแรกมาเขียนปิดท้ายกึ่งกลางหน้ากระดาษ ๗) บรรทัดสุดท้าย นิยมลงท้ายว่า "มีนยั ดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ" หรือ "เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้ ฯ" โดยไม่ต้องย่อหน้า
รูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม
(๑)
_______________(สุภาษิตสนามหลวง)______________ ________________(ค�ำแปลสุภาษิต)________________
(๒) บัดนี้ จักได้อธิบายเนื้อความแห่งพุทธศาสนสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและน�ำไปปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๓) ค�ำว่า________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _________________________สมดังสุภาษิตที่มาใน___(ที่มาของสุภาษิตที่ยกมาเชื่อม) ว่า
(๔)
_______________ (สุภาษิตบทเชื่อม) _______________ ____________ (ค�ำแปลสุภาษิตบทเชื่อม) ____________
(๕) ค�ำว่า________________________________________________________ _____________________________________________________________________ (๖) สรุปความว่า___________________________________________________ _________________________________สมดังสุภาษิตทีย่ กขึน้ เป็นนิกเขปบทเบือ้ งต้นนัน้ ว่า ______________ (สุภาษิตสนามหลวง) ______________ ________________ (ค�ำแปลสุภาษิต) ________________ มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ (๗)
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
7
ตัวอย่างลายมือ
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
9
พุทธศาสนสุภาษิตที่ควรท่องจ�ำ ๑. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา. ขันติคือความอดทน เป็นตบะอย่างยิ่ง. ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
ขนฺติ หิตสุขาวหา. ความอดทน น�ำ มาซึ่งประโยชน์สุข ที่มา : สวดมนต์ฉบับหลวง
มนาโป โหติ ขนฺติโก. ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจ (ของคนอื่น) ที่มา : สวดมนต์ฉบับหลวง
๒. ทานวรรค คือหมวดทาน ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ. ผู้ให้ ย่อมผูกไมตรีไว้ได้. ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
มนาปทายี ลภเต มนาปํ. ผู้ให้สิ่งที่ชอบใจ ย่อมได้สิ่งที่ชอบใจ. ที่มา : อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต
ททโต ปุญฺํ ปวฑฺฒติ. เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น. ที่มา : ทีฆนิกาย มหาวรรค
๓. สติวรรค คือ หมวดสติ สติ โลกสฺมิ ชาคโร. สติเป็นธรรมเครื่องตื่นอยู่ในโลก. ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
สติมโต สทา ภทฺทํ. คนผู้มีสติ มีความเจริญทุกเมื่อ. ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
สติมา สุขเมธติ. คนมีสติ ย่อมได้รับความสุข.
ททมาโน ปิโย โหติ. ผู้ให้ ย่อมเป็นที่รัก. ที่มา : อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต
10
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
ติวเข้มข้อสอบ วิชา ธรรมะ จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ทุกะ หมวด ๒ ๑. ธรรมมีอุปการะมาก คือข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๒. คนท�ำงานผิดพลาดเพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๓. ข้อใดไม่จัดเข้าในลักษณะของคนขาดสติ ? ก. ขี้หลง ค. ขี้ลืม ข. ขี้เซา ง. ขี้เหร่ ๔. ขาดธรรมข้อใด แม้มชี วี ติ อยูก่ ช็ อื่ ว่าตายแล้ว ? ก. สติ ค. ขันติ ข. หิริ ง. สัจจะ ๕. เมื่อขาดสติจะส่งผลให้เกิดสิ่งใด ? ก. ความประมาท ค. ความรอบคอบ ข. ความยั้งคิด ง. ความสุขุม ๖. ความประมาทมักน�ำไปสู่สิ่งใด ? ก. ความตาย ค. ความสุข ข. ความสงบ ง. ความปลอดภัย ๗. ข้อใดเป็นผลของธรรมมีอุปการะมาก ? ก. ให้อดทน ค. ให้รอบคอบ ข. ให้ฉลาด ง. ให้รู้คุณคน ๘. ข้อใดเป็นเครื่องท�ำลายสติมากที่สุด ? ก. บุหรี่ ค. กาแฟ ข. สุรา ง. เครื่องดื่มชูก�ำลัง ๙. ข้อใดจับคู่ได้ถูกต้อง ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. ขันติ-โอตตัปปะ ข. หิริ-โสรัจจะ ง. สติ-ปัญญา
๑๐. ธรรมที่มาคู่กับสติคือข้อใด ? ก. สัมปชัญญะ ค. โอตตัปปะ ข. โสรัจจะ ง. ปัญญา ๑๑. ท�ำอะไรมักหลงลืม เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. ธรรมมีอปุ การะมาก ค. ธรรมอันท�ำให้งาม ข. ธรรมคุม้ ครองโลก ง. ธรรมหาได้ยาก ๑๒. อ่านหนังสือไม่จ�ำเพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. สติ ค. หิริ ข. สัมปชัญญะ ง. โอตตัปปะ ๑๓. นึกขึ้นได้ก่อนท�ำ พูด คิด ตรงกับข้อใด ? ก. สติ ค. ขันติ ข. สัมปชัญญะ ง. โอตตัปปะ ๑๔. รู้ตัวในขณะท�ำ พูด คิด หมายถึงข้อใด ? ก. สติ ค. ขันติ ข. สัมปชัญญะ ง. โอตตัปปะ ๑๕. สติ ควรใช้เมื่อใด ? ก. ก่อนท�ำ พูด คิด ค. หลังท�ำ พูด คิด ข. ขณะท�ำ พูด คิด ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. สัมปชัญญะ ควรใช้เมื่อใด ? ก. ก่อนท�ำ พูด คิด ค. หลังท�ำ พูด คิด ข. ขณะท�ำ พูด คิด ง. ถูกทุกข้อ ๑๗. สติ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ความระลึกได้ ค. ความไม่หลงลืม ข. ความรู้ตัว ง. ความรอบคอบ ๑๘. สัมปชัญญะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ความระลึกได้ ค. ความไม่หลงลืม ข. ความรู้ตัว ง. ความรอบคอบ
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
11
๑๙. คนท�ำชั่วได้ทุกอย่างเพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. ธรรมมีอุปาระมาก ค. ธรรมเป็นโลกบาล ข. ธรรมอันท�ำให้งาม ง. กตัญญูกตเวที ๒๐. โลกร่มเย็นเพราะมีธรรมข้อใดคุ้มครอง ? ก. ธรรมมีอุปการะมาก ค. ธรรมเป็นโลกบาล ข. ธรรมอันท�ำให้งาม ง. กฎหมาย ๒๑. ธรรมเป็นโลกบาล มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ธรรมคุ้มครองโลก ค. ธรรมท�ำลายโลก ข. ธรรมรักษาโรค ง. ธรรมดูแลโลก ๒๒. ธรรมเป็นโลกบาลตรงกับข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๒๓. ธรรมที่ท�ำให้คนละการท�ำชั่วคือข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๒๔. หิริ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ความละอายต่อบาป ค. ความกลัวต่อบาป ข. ความย�ำเกรงต่อบาป ง. ความวางเฉยต่อบาป ๒๕. ธรรมข้อใดมาคู่กับหิริ ? ก. สติ ค. ขันติ ข. โอตตัปปะ ง. โสรัจจะ ๒๖. ละอายอย่างไรจึงได้ชื่อว่ามีหิริ ? ก. ละอายท�ำชั่ว ค. ละอายท�ำดี ข. ละอายฐานะ ง. ละอายบอกรัก ๒๗. ละอายชั่ว กลัวบาป ตรงกับข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๒๘. ท�ำดีมกั กลัว ท�ำชัว่ มักกล้า เพราะขาดข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที
12
๒๙. โอตตัปปะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. กลัวตาย ค. กลัวผลบาป ข. กลัวตกนรก ง. กลัวคนเห็น ๓๐. ข้อใดชื่อว่ามีหิริ ? ก. ไม่ท�ำชั่วเพราะกลัวคนเห็น ข. ไม่ท�ำชั่วเพราะกลัวจับได้ ค. ไม่ท�ำชั่วเพราะอายต่อสังคม ง. ไม่ท�ำชั่วเพราะละอายแก่ใจ ๓๑. เทวธรรม ธรรมของเทวดา ได้แก่ข้อใด ? ก. หิริ โอตตัปปะ ค. สติ สัมปชัญญะ ข. ขันติ โสรัจจะ ง. ศีล สมาธิ ปัญญา ๓๒. พระพุทธศาสนายกย่องคนงามที่สิ่งใด ? ก. เสื้อผ้าอาภรณ์ ค. หน้าตา ข. มรรยาท ง. คุณธรรม ๓๓. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะธรรมข้อใด ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๓๔. ข้อใดท�ำให้สวยโดยไม่ต้องเติมแต่ง ? ก. สติ-สัมปชัญญะ ค. หิริ-โอตตัปปะ ข. ขันติ-โสรัจจะ ง. กตัญญู-กตเวที ๓๕. ทนต่อค�ำดูหมิน่ ของคนได้ เพราะมีธรรมข้อใด ? ก. สติ ค. หิริ ข. ขันติ ง. โอตตัปปะ ๓๖. โกรธแต่ข่มใจไม่แสดงออก ตรงกับข้อใด ? ก. ขันติ ค. สติ ข. โสรัจจะ ง. สัมปชัญญะ ๓๗. สวยแต่รูป จูบไม่หอม เพราะขาดสิ่งใด ? ก. ขันติ-โสรัจจะ ค. น�้ำหอม ข. ความสะอาด ง. มารยาท ๓๘. ขันติ ต้องใช้คู่กับข้อใดจึงจะเกิดผลสมบูรณ์ ? ก. โสรัจจะ ค. สัมปชัญญะ ข. โอตตัปปะ ง. สติ
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๓๙. ความงามในข้อใดส�ำคัญที่สุด ? ก. งามมารยาท ค. งามหน้าตา ข. งามผิวพรรณ ง. งามจิตใจ ๔๐. งามภายนอกด้วยแสงไฟงามภายในด้วยธรรม ข้อใด ? ก. หิริ โอตตัปปะ ค. สติ สัมปชัญญะ ข. ขันติ โสรัจจะ ง. เมตตา อภัย ๔๑. ขันติมีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ความอดทน ค. ความอดออม ข. ความอดกลั้น ง. ข้อ ก และ ข ถูก ๔๒. ความอดทน มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ขันติ ค. โอตตัปปะ ข. สัมปชัญญะ ง. หิริ ๔๓. ความเสงี่ยม คือลักษณะของธรรมข้อใด ? ก. ขันติ ค. โอตตัปปะ ข. โสรัจจะ ง. สัมปชัญญะ ๔๔. พระพุทธเจ้าตรัสคนเช่นไรว่าหาได้ยากในโลก ? ก. คนไม่มีโรค ค. คนไม่มีศัตรู ข. คนไม่มีหนี้ ง. คนกตัญญูกตเวที ๔๕. ผู้ที่ท�ำอุปการะแก่ผู้อื่นก่อน เรียกว่าอะไร ? ก. บุพการี ค. กตเวที ข. กตัญญู ง. กตัญญูกตเวที ๔๖. ผู้รู้อุปการะที่คนอื่นท�ำแก่ตนแล้วตอบแทน ตรงกับข้อใด ? ก. กตัญญู ค. กตัญญูกตเวที ข. กตเวที ง. บุพการี ๔๗. บุคคลในข้อใดได้ชื่อว่าเป็นบุพการี ? ก. พ่อแม่ ค. พระพุทธเจ้า ข. ครูอาจารย์ ง. ถูกทุกข้อ ๔๘. บุพการีต้องมีลักษณะตามข้อใด ? ก. ให้นอ้ ยหวังได้นอ้ ย ค. ให้มากหวังได้มาก ข. ให้นอ้ ยหวังได้มาก ง. ให้โดยไม่หวังตอบแทน
๔๙. ข้อใดได้ชื่อว่าเป็นบุพการีของชาวพุทธ ? ก. บิดามารดา ค. พระพุทธเจ้า ข. ครูอาจารย์ ง. นายกรัฐมนตรี ๕๐. ข้อใดได้ชื่อว่าเป็นบุพการีของนักเรียน ? ก. บิดามารดา ค. พระพุทธเจ้า ข. ครูอาจารย์ ง. สมเด็จพระสังฆราช ๕๑. ข้อใดคือการแสดงความกตัญญูตอ่ พระพุทธเจ้า ? ก. รักษาศีล ๕ ค. ตั้งใจเรียน ข. กตัญญูต่อพ่อแม่ ง. ถูกทุกข้อ ๕๒. กตัญญูกตเวทีตอ่ ครูอาจารย์เป็นหน้าทีข่ องใคร ? ก. บุตรธิดา ค. ประชาชน ข. ลูกศิษย์ ง. พุทธบริษัท ๕๓. คนดีมีธรรมข้อใดเป็นเครื่องหมาย ? ก. เมตตา ค. ขันติ ข. ศีล ๕ ง. กตัญญูกตเวที ๕๔. “พระในบ้าน” หมายถึงบุคคลในข้อใด ? ก. พระพุทธรูป ค. พ่อแม่ ข. พระสงฆ์ ง. ปู่ย่าตายาย ๕๕. ทรพี หมายถึงบุคคลเช่นใด ? ก. คนที่ไม่รู้คุณคน ค. คนอกตัญญู ข. คนที่ลืมคุณคน ง. ถูกทุกข้อ ๕๖. ลูกทรพี เกิดขึ้นเพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. กตัญญูกตเวที ค. สติ สัมปชัญญะ ข. ศีล ๕ ง. หิริ โอตตัปปะ ๕๗. ใครควรกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ของตน ? ก. บุตรธิดา ค. มหากษัตริย์ ข. ครูอาจารย์ ง. คนทุกคน ๕๘. การทดแทนคุณพ่อแม่ที่ดีที่สุดคือข้อใด ? ก. เชื่อฟัง ค. ส่งเงินให้ใช้ ข. ดูแลยามป่วยไข้ ง. ท�ำตัวเป็นคนดี
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
13
๕๙. ผู้ที่ได้ชื่อว่า เป็นพรหมของลูกคือใคร ? ก. บิดามารดา ค. พระพุทธเจ้า ข. ครูอาจารย์ ง. เทวดาบนสวรรค์
๖๐. ใครได้ชื่อว่า เป็นครูคนแรกของลูก ? ก. ปู่ย่าตายาย ค. ครูอนุบาล ข. บิดามารดา ง. ครูประถม
ติกะ หมวด ๓ ๖๑. ชาวพุทธควรยึดถือสิ่งใดเป็นที่พึ่ง ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระรัตนตรัย ๖๒. ข้อใด ไม่จัดเข้าในรัตนะ ๓ ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. อุบาสก อุบาสิกา ๖๓. ข้อใด แตกต่างจากข้ออื่น ? ก. พระไตรรัตน์ ค. พระรัตนตรัย ข. พระไตรสรณะ ง. พระไตรลักษณ์ ๖๔. ผู้ที่ตรัสรู้เองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตามคือข้อใด ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระสาวก ๖๕. สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้คือข้อใด ? ก. ทางดับทุกข์ ค. อริยสัจ ๔ ข. นิพพาน ง. มรรคมีองค์ ๘ ๖๖. ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นคุณสมบัติของผู้ใด ? ก. พระโพธิสัตว์ ค. พระสาวก ข. พระพุทธเจ้า ง. พระสงฆ์ ๖๗. ค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอะไร ? ก. พระธรรม ค. พระสูตร ข. พระวินัย ง. พระอภิธรรม ๖๘. ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าไม่มีในคัมภีร์ใด ? ก. พระวินัยปิฎก ค. พระอภิธรรมปิฎก ข. พระสุตตันตปิฎก ง. คัมภีร์มูลกัจจายน์
14
๖๙. รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปสู่ที่ชั่ว คือข้อใด ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระรัตนตรัย ๗๐. รัตนะ ๓ รวมลงเป็นหนึ่งคือข้อใด ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระนิพพาน ๗๑. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของพระสงฆ์ ? ก. ปฏิบัติดี ค. ตรัสรู้เอง ข. ปฏิบัติชอบ ง. ปฏิบัติสมควร ๗๒. ข้อใด ไม่ใช่หน้าที่พระสงฆ์ ? ก. ศึกษาพระธรรม ค. เผยแผ่พระธรรม ข. ปฏิบตั พิ ระธรรม ง. เปลีย่ นแปลงพระธรรม ๗๓. พระแก้วมรกต เป็นตัวแทนของรัตนะใด ? ก. พระพุทธ ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระไตรรัตน์ ๗๔. บท นะโม ตัสสะ สวดแสดงความเคารพสิ่งใด ? ก. พระพุทธ ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระไตรรัตน์ ๗๕. ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม กล่าวถึงรัตนะใด ? ก. พระพุทธ ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระไตรรัตน์ ๗๖. สุปฏิปันโน ผู้ปฏิบัติดีแล้ว เป็นคุณของใคร ? ก. พระพุทธ ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระไตรรัตน์
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๗๗. ข้อใดไม่ใช่คุณของพระพุทธเจ้า ? ก. อะระหัง ค. ภะคะวา ข. สัมมาสัมพุทโธ ง. สุปฏิปันโน ๗๘. พระไตรปิฎก ๓ จัดเข้าในรัตนะใด ? ก. พระพุทธรัตนะ ค. พระสังฆรัตนะ ข. พระธรรมรัตนะ ง. พระไตรรัตนะ ๗๙. สิง่ ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ดแี ล้ว หมายถึงข้อใด ? ก. พระพุทธ ค. พระสงฆ์ ข. พระธรรม ง. พระสาวก ๘๐. ผูท้ ฟี่ งั ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบตั ติ าม คือข้อใด ? ก. ภิกษุ ค. พระสงฆ์ ข. ภิกษุณี ง. พุทธบริษัท ๘๑. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสงฆ์ ? ก. ปลุกเสก ค. เผยแผ่ธรรม ข. ศึกษาธรรม ง. รักษาวินัย ๘๒. ละชั่ว ท�ำดี จิตใส ตรงกับข้อใด ? ก. โอวาท ๓ ค. ไตรสิกขา ๓ ข. รัตนะ ๓ ง. ไตรปิฎก ๓ ๘๓. ข้อใดคือค�ำสอนที่เป็นหัวใจของพุทธศาสนา ? ก. ละชั่วทั้งปวง ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดีให้ถึงพร้อม ง. ถูกทุกข้อ ๘๔. โอวาทของพระพุทธเจ้า เน้นการกระท�ำด้านใด ? ก. กาย ค. ใจ ข. วาจา ง. กาย วาจา ใจ ๘๕. ข้อใดตรงกับข้อโอวาทข้อ สพฺพปาปสฺส อกรณํ ? ก. ใจซื่อ ค. โปร่งใส ข. มือสะอาด ง. ไม่โกง ๘๖. สพฺพปาปสฺส อกรณํ ตรงกับข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ใจปล่อยวาง
๘๗. กุสลสฺสูปสมฺปทา ตรงกับข้อใด? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ใจปล่อยวาง ๘๘. สจิตฺตปริโยทปนํ ตรงกับข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ไปนิพพาน ๘๙. ไม่ทงิ้ ขยะลงบนพืน้ ชือ่ ว่าท�ำตามโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ซื่อสัตย์ ๙๐. พบขยะแล้วเก็บลงถังชือ่ ว่าท�ำตามโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ซื่อสัตย์ ๙๑. เห็นเขาได้ดดี ใี จกับเขา จัดเข้าในโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. จิตใส ข. ท�ำดี ง. ซื่อสัตย์ ๙๒. ข้อใดได้ชื่อว่า ท�ำจิตของตนให้ผ่องใส ? ก. ไม่อิจฉาคนอื่น ค. ไม่พยาบาทปองร้าย ข. คิดให้อภัยเขา ง. ถูกทุกข้อ ๙๓. คนทีร่ กั ษาศีล ๕ ชือ่ ว่าปฏิบตั ติ ามโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ ๙๔. กตัญญูตอ่ พ่อแม่ ชือ่ ว่าปฏิบตั ติ ามโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ ๙๕. ลด ละ เลิก ยาเสพติด จัดเข้าในโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ ๙๖. เมตตาอภัยไม่โกรธ จัดเข้าในโอวาทข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ง. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
15
๙๗. ข้อใดคือโอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อ ? ก. ศีล สมาธิ ปัญญา ค. ทาน ศีล ภาวนา ข. ละชั่ว ท�ำดี จิตใส ง. ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ๙๘. จิตผ่องใส เพราะไม่มีสิ่งใดติดอยู่ ? ก. ความโลภ ค. ความหลง ข. ความโกรธ ง. ถูกทุกข้อ ๙๙. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการละชั่ว ? ก. ละทิ้งความโกรธ ค. ละทิ้งอบายมุข ข. ละทิ้งความโลภ ง. ละทิ้งธรรม ๑๐๐. ข้อใดจัดว่าเป็นการท�ำความดีให้ถึงพร้อม ? ก. ตั้งใจเรียน ค. เคารพคุณครู ข. เชื่อฟังพ่อแม่ ง. ถูกทุกข้อ ๑๐๑. ข้อใดคือการช�ำระจิตของตนให้ผ่องใส ? ก. พอใจในสิง่ ทีม่ ี ค. คิดท�ำลายสิง่ ไม่ชอบ ข. ยินดีในสิง่ ทีไ่ ด้ ง. ประกอบจิตด้วยเมตตา ๑๐๒. วิธีเอาชนะความโกรธในใจ คือข้อใด ? ก. ให้ทาน ค. เจริญภาวนา ข. รักษาศีล ง. เจริญเมตตา ๑๐๓. วิธีเอาชนะความหลงในใจ คือข้อใด ? ก. ให้ทาน ค. เจริญภาวนา ข. รักษาศีล ง. เจริญเมตตา
๑๐๔. วิธีเอาชนะความโลภในใจคือข้อใด ? ก. ให้ทาน ค. เจริญภาวนา ข. รักษาศีล ง. เจริญเมตตา ๑๐๕. ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าย่อลงในข้อใด ? ก. โอวาทปาฏิโมกข์ ค. ไตรสิกขา ข. อริยสัจ ๔ ง. มรรคมีองค์ ๘ ๑๐๖. ข้อใดคือเป้าหมายสูงสุดของพุทธศาสนา ? ก. มีสขุ ในปัจจุบนั ค. แสวงหาทางพ้นทุกข์ ข. มีสวรรค์เบือ้ งหน้า ง. มีสขุ ในนิพพาน ๑๐๗. ท�ำตามข้อใดจึงจะเข้าถึงเป้าหมายสูงสุดนัน้ ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ ๑๐๘. ข้อใดเป็นผลจากการ ละชั่ว ? ก. ไม่เดือดร้อน ค. ไม่ตกนรก ข. ไม่ตกอับ ง. ถูกทุกข้อ ๑๐๙. กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ จัดว่าปฏิบัติตาม โอวาทของพระพุทธเจ้าข้อใด ? ก. ละชั่ว ค. ท�ำจิตให้ผ่องใส ข. ท�ำดี ง. ถูกทุกข้อ ๑๑๐. ข้อใดได้ชื่อว่าท�ำจิตให้ผ่องใส ? ก. ให้อภัย ค. ไม่ยึดมั่น ข. ไม่โกรธ ง. ถูกทุกข้อ
จตุกกะ หมวด ๔ ๑๑๑. ธรรมข้อใดน�ำไปสู่ความเจริญ ? ก. วุฑฒิ ๔ ค. อิทธิบาท ๔ ข. จักร ๔ ง. พรหมวิหาร ๔ ๑๑๒. อยากมีความเจริญต้องคบคนเช่นไร ? ก. คบคนพาล ค. คบคนมีเงิน ข. คบคนดี ง. คบคนมีอ�ำนาจ
16
๑๑๓. จุดเริ่มต้นของความเจริญคือข้อใด ? ก. คบสัตบุรุษ ค. ตรึกตรองใคร่ครวญ ข. ฟังค�ำของท่าน ง. ลงมือปฏิบัติตาม ๑๑๔. สัปปุริสสังเสวะ ตรงกับข้อใด ? ก. คบสัตบุรุษ ค. ตรึกตรองใคร่ครวญ ข. ฟังค�ำขอท่าน ง. ลงมือปฏิบัติ
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๑๑๕. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของสัตบุรุษ ? ก. รู้ดีรู้ชั่ว ค. รู้ควรไม่ควร ข. รู้ถูกรู้ผิด ง. รู้ดีแต่ไม่ปฏิบัติ ๑๑๖. ท�ำอย่างไรจึงชื่อว่า คบสัตบุรุษ ? ก. ฝากตัวเป็นศิษย์ ค. นิยมชื่นชอบ ข. ให้ความสนิทสนม ง. ถูกทุกข้อ ๑๑๗. ความเจริญจะเกิดผลส�ำเร็จเพราะข้อใด ? ก. คบคนดี ค. นอบนบพิจารณา ข. ฟังวจีโดยเคารพ ง. น�ำมาปฏิบัติ ๑๑๘. วุฑฒิ ๔ ข้อใดท�ำให้เป็นคนรอบคอบ ? ก. สัปปุริสสังเสวะ ค. โยนิโสมนสิการ ข. สัทธัมมัสสวนะ ง. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑๑๙. คนที่มักหลงงมงายเพราะขาดข้อใด ? ก. สัปปุริสสังเสวะ ค. โยนิโสมนสิการ ข. สัทธัมมัสสวนะ ง. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑๒๐. ท�ำน้อยได้นอ้ ย ท�ำมากได้มาก ตรงกับข้อใด ? ก. สัปปุริสสังเสวะ ค. โยนิโสมนสิการ ข. สัทธัมมัสสวนะ ง. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑๒๑. คบคนดีเป็นศรีแก่ตัว ตรงกับวุฑฒิข้อใด ? ก. สัปปุริสสังเสวะ ค. โยนิโสมนสิการ ข. สัทธัมมัสสวนะ ง. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑๒๒. ฟังไม่ได้ศพั ท์จบั มากระเดียด เพราะขาดข้อใด ? ก. สัปปุริสสังเสวะ ค. โยนิโสมนสิการ ข. สัทธัมมัสสวนะ ง. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑๒๓. สัทธัมมัสสวนะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. คบคนดี ค. หมั่นตรึกตรอง ข. ฟังวจีท่าน ง. ทดลองปฏิบัติ ๑๒๔. ข้อใดตรงกับค�ำว่า ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ? ก. คบคนดี ค. หมั่นตรึกตรอง ข. ฟังวจีท่าน ง. ทดลองปฏิบัติ
๑๒๕. อิทธิบาท ๔ เป็นธรรมน�ำไปสู่สิ่งใด ? ก. ความเจริญ ค. ความสมหวัง ข. ความส�ำเร็จ ง. ความมั่นคง ๑๒๖. คนทีท่ ำ� อะไรไม่สำ� เร็จเพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. อิทธิบาท ๔ ค. พรหมวิหาร ๔ ข. วุฑฒิ ๔ ง. จักร ๔ ๑๒๗. รักในสิ่งที่ท�ำ ท�ำในสิ่งที่รัก ตรงกับข้อใด ? ก. ฉันทะ ค. จิตตะ ข. วิริยะ ง. วิมังสา ๑๒๘. ท�ำอะไรมักเบือ่ หน่าย เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. ฉันทะ พอใจท�ำ ค. จิตตะ ใส่ใจท�ำ ข. วิริยะ ลงมือท�ำ ง. วิมังสา วางแผนท�ำ ๑๒๙. จะท�ำกิจอันใดให้ส�ำเร็จ ต้องมีข้อใดก่อน ? ก. ฉันทะ พอใจท�ำ ค. จิตตะ ใส่ใจท�ำ ข. วิริยะ ลงมือท�ำ ง. วิมังสา วางแผนท�ำ ๑๓๐. ข้อใด ไม่ต้องใช้วิริยะ ? ก. เข็นครกขึ้นภูเขา ค. งมเข็มในมหาสมุทร ข. ฝนทั่งให้เป็นเข็ม ง. น�้ำลงต่อผุด ๑๓๑. ดินพอกหางหมู เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. ฉันทะ ค. จิตตะ ข. วิริยะ ง. วิมังสา ๑๓๒. อยากเป็นนักกีฬาเหรียญทองต้องมีข้อใด ? ก. ฉันทะ ค. จิตตะ วิมังสา ข. วิริยะ ง. ทุกข้อ ๑๓๓. เมือ่ เกิดข้อผิดพลาด เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. ฉันทะ ค. จิตตะ ข. วิริยะ ง. วิมังสา ๑๓๔. ข้อใดคือลักษณะของคนที่มีวิมังสา ? ก. รักในสิ่งที่ท�ำ ค. ใส่ใจในสิ่งที่ท�ำ ข. ทุ่มเทในสิ่งที่ท�ำ ง. พัฒนาในสิ่งที่ท�ำ
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
17
๑๓๕. ทุกคนเป็นพรหมได้ถา้ ปฏิบตั ติ ามธรรมข้อใด ? ก. อิทธิบาท ๔ ค. วุฑฒิ ๔ ข. พรหมวิหาร ๔ ง. อริยสัจ ๔ ๑๓๖. เมตตา กรุณา มุทติ า อุเบกขา รวมเรียกว่า... ? ก. อิทธิบาท ๔ ค. วุฑฒิ ๔ ข. พรหมวิหาร ๔ ง. อริยสัจ ๔ ๑๓๗. คิดปรารถนาให้คนอื่นมีสุข ตรงกับข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๓๘. คิดอยากช่วยให้เขาพ้นทุกข์ ตรงกับข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๓๙. เห็นเขาได้ดีดีใจกับเข้าด้วย ตรงกับข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๔๐. ปล่อยวางเมือ่ หมดทางช่วยเหลือตรงกับข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๔๑. ไม่ซำ�้ เติมเมือ่ ผูอ้ นื่ ผิดพลาด จัดเข้าในข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๔๒. บริจาคเงินช่วยคนถูกน�ำ้ ท่วม จัดเข้าในข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๔๓. เวลาใดควรใช้อุเบกขา ? ก. เพื่อนตกน�้ำ ค. เพื่อนท�ำข้อสอบ ข. เพื่อนได้รางวัล ง. เพื่อนถูกรังแก ๑๔๔. เมตตา ควรเจริญเมื่อใด ? ก. เมื่อเขาปกติ ค. เมื่อเขาได้ดี ข. เมื่อเขามีทุกข์ ง. เมื่อเขารับกรรม
18
๑๔๕. กรุณา ควรเจริญเมื่อใด ? ก. เมื่อเขาปกติ ค. เมื่อเขาได้ดี ข. เมื่อเขามีทุกข์ ง. เมื่อเขารับกรรม ๑๔๖. มุทิตา ควรเจริญเมื่อใด ? ก. เมื่อเขาปกติ ค. เมื่อเขาได้ดี ข. เมื่อเขามีทุกข์ ง. เมื่อเขารับกรรม ๑๔๗. คนที่ไม่มีมุทิตาจะมีลักษณะอย่างไร ? ก. ยินดีเมือ่ เขาได้ดี ค. อิจฉาเมือ่ เขาได้ดี ข. อิจฉาเมือ่ เขาฉิบหาย ง. ดีใจเมือ่ เขาฉิบหาย ๑๔๘. อุเบกขา ควรเจริญเมื่อใด ? ก. เมื่อเขาปกติ ค. เมื่อเขาได้ดี ข. เมื่อเขามีทุกข์ ง. เมื่อเขารับกรรม ๑๔๙. ใครควรปฏิบัติพรหมวิหาร ๔ ? ก. พระราชา ค. พ่อแม่ ข. นายกรัฐมนตรี ง. ทุกคน ๑๕๐. ผู้พิพากษา ควรตั้งอยู่ในหลักธรรมข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๕๑. เมื่อมีอุเบกขาข้อใดจะไม่เกิด ? ก. อคติ ค. อกุศลกรรม ข. อบายมุข ง. อบายภูมิ ๑๕๒. บุคคลในข้อใดไม่ควรได้รับความเมตตา ? ก. นักโทษ ค. คนโกง ข. ศัตรู ง. ไม่มี ๑๕๓. ให้อภัยคนอื่นได้เพราะมีธรรมข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ๑๕๔. ขาดธรรมข้อใดท�ำให้เป็นคนอิจฉา ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๑๕๕. ความสมดุลจะเกิดขึ้นได้ เพราะธรรมข้อใด ? ๑๕๖. คนทีท่ ำ� อะไรเกินพอดี เพราะไม่มธี รรมข้อใด ? ก. เมตตา ค. มุทิตา ก. เมตตา ค. มุทิตา ข. กรุณา ง. อุเบกขา ข. กรุณา ง. อุเบกขา
ปัญจกะ หมวด ๕ ๑๕๗. ครุกรรม มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. กรรมหนัก ค. กรรมปานกลาง ข. กรรมเบา ง. กรรมของครู ๑๕๘. ข้อใดจัดเป็นครุกรรม ? ก. อนันตริยกรรม ค. ชนกกรรม ข. อาจิณณกรรม ง. พหุลกรรม ๑๕๙. กรรมในข้อใด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ? ก. ฆาตกรรม ค. โจรกรรม ข. อาชญากรรม ง. อนันตริยกรรม ๑๖๐. ท�ำทีหลังแต่ให้ผลก่อนกรรมอื่นคือข้อใด ? ก. อกุศลกรรม ค. สังฆกรรม ข. อาชญากรรม ง. อนันตริยกรรม ๑๖๑. ท�ำกรรมข้อใดมีโทษหนักที่สุด ? ก. ฆ่าพระ ค. ฆ่าคนบริสุทธิ์ ข. ฆ่าศัตรู ง. ฆ่าพ่อแม่ ๑๖๒. ข้อใดท�ำแล้วห้ามนิพพาน ? ก. ฆ่าบิดา ค. ฆ่ามารดา ข. ฆ่าพระอรหันต์ ง. ถูกทุกข้อ ๑๖๓. ข้อใด ท�ำแล้วไม่ห้ามนิพพาน ? ก. ท�ำสังฆเภท ค. ท�ำสังฆกรรม ข. ท�ำปิตุฆาต ง. ท�ำมาตุฆาต ๑๖๔. สังฆเภท หมายถึงข้อใด ? ก. ฆ่าพระสงฆ์ ค. ท�ำสงฆ์ให้แตกกัน ข. ท�ำสงฆ์ให้รักกัน ง. ท�ำสงฆ์ให้เกลียดกัน
๑๖๕. โลหิตุปบาท เกี่ยวข้องกับบุคคลในข้อใด ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระอรหันต์ ข. พระสงฆ์ ง. พระเถระ ๑๖๖. ท�ำร้ายพระพุทธเจ้าถึงโลหิตห้อ คือข้อใด ? ก. สังฆเภท ค. อรหันตฆาต ข. ปิตุฆาต ง. โลหิตุปบาท ๑๖๗. ข้อใด มีโทษเบากว่าทุกข้อ ? ก. ฆ่าพ่อบุญธรรม ค. ฆ่าพ่อบังเกิดเกล้า ข. ฆ่าพระอรหันต์ ง. ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน ๑๖๘. มาตุฆาต หมายถึงข้อใด ? ก. ฆ่ามารดา ค. ฆ่าบิดา ข. ฆ่าพระอรหันต์ ง. ฆ่าพระสงฆ์ ๑๖๙. ปิตุฆาต หมายถึงข้อใด ? ก. ฆ่ามารดา ค. ฆ่าบิดา ข. ฆ่าญาติพี่น้อง ง. ฆ่าบรรพบุรุษ ๑๗๐. กรรมในข้อใด ไม่จัดเข้าในอนันตริยกรรม ? ก. มาตุฆาต ค. ปิตุฆาต ข. อรหันตฆาต ง. ปุตตฆาต ๑๗๑. ตาลยอดด้วน หมายถึงบุคคลตามข้อใด ? ก. คนพิการ ค. คนท�ำดีไม่ขึ้น ข. คนไม่มีอนาคต ง. คนต้องโทษประหาร ๑๗๒. คนท�ำกรรมอะไรได้ชื่อว่า ตาลยอดด้วน ? ก. อนันตริยกรรม ค. อกุศลกรรม ข. อาชญากรรม ง. สังฆกรรม
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
19
๑๗๓. อนันตริยกรรม มีทั้งหมดกี่ข้อใด ? ก. ๔ ข้อ ค. ๖ ข้อ ข. ๕ ข้อ ง. ๘ ข้อ ๑๗๔. ข้อใด ไม่จัดเข้าในอนันตริยกรรม ? ก. ฆ่าบิดา ค. ฆ่าพระอรหันต์ ข. ฆ่ามารดา ง. ฆ่าครูอาจารย์ ๑๗๕. ข้อใดคือโทษของอนันตริยกรรมในชาตินี้ ? ก. ห้ามเข้าวัด ค. ห้ามบวช ข. ห้ามท�ำบุญ ง. ห้ามนิพพาน ๑๗๖. ผู้ท�ำอนันตริยกรรมชาติหน้าจะไปเกิดที่ใด ? ก. โลกมนุษย์ ค. สวรรค์ ข. นรก ง. อบายภูมิ ๑๗๗. ท�ำอนันตริยกรรมข้อใดชื่อว่าอกตัญญู ? ก. มาตุฆาต ค. อรหันตฆาต ข. โลหิตุปบาท ง. สังฆเภท ๑๗๘. ยุยงใครให้แตกกันบาปหนักที่สุด ? ก. ญาติพี่น้อง ค. คู่รัก ข. นักปกครอง ง. สงฆ์ ๑๗๙. ในพุทธประวัติใครเป็นผู้ท�ำโลหิตุปบาท ? ก. เทวทัต ค. โจรองคุลิมาล ข. พญามาร ง. อาฬวกยักษ์ ๑๘๐. ธัมมัสสวนานิสงส์ คือประโยชน์เกิดจากสิง่ ใด ? ก. แสดงธรรม ค. ฟังธรรม ข. สาธยายธรรม ง. ศึกษาธรรม ๑๘๑. สุตมยปัญญา คือปัญญาเกิดจากสิ่งใด ? ก. การฟัง ค. การพูด ข. การคิด ง. การเจริญภาวนา ๑๘๒. พระพุทธเจ้าตรัสอานิสงส์การฟังธรรมไว้กขี่ อ้ ? ก. ๔ ข้อ ค. ๖ ข้อ ข. ๕ ข้อ ง. ๘ ข้อ
20
๑๘๓. ข้อใดคือประโยชน์เกิดจากการฟัง ? ก. ได้ความรู้ใหม่ ค. บรรเทาความสงสัย ข. เข้าใจเรื่องเก่า ง. ทุกข้อ ๑๘๔. ข้อใด คือผลเกิดจากการฟังธรรมโดยตรง ? ก. ท�ำให้ได้บุญ ค. ท�ำให้ละกิเลส ข. ท�ำให้เกิดสมาธิ ง. ท�ำให้เกิดปัญญา ๑๘๕. ข้อใดชื่อว่าฟังธรรมโดยเคารพ ? ก. ประนมมือฟัง ค. ด�ำรงสติไม่หลับ ข. นั่งตัวตรง ง. จับเนื้อหาใคร่ครวญ ๑๘๖. การฟังสิง่ ทีเ่ คยฟังมาแล้ว ท�ำให้เกิดผลเช่นใด ? ก. เข้าใจแจ่มชัด ค. ท�ำให้น่าเบื่อ ข. ตัดความสงสัย ง. ก และ ข ถูก ๑๘๗. การศึกษาทีล่ งทุนน้อยได้กำ� ไรมาก คือข้อใด ? ก. การฟัง ค. การสอน ข. การอ่าน ง. การทดลอง ๑๘๘. สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺํ ฟังด้วยดีย่อมได้สิ่งใด ? ก. ได้บุญ ค. ได้เพลิดเพลิน ข. ได้ปัญญา ง. ได้ความสุข ๑๘๙. ฟังอย่างไรชื่อว่า ฟังด้วยดี ? ก. ฟังหูไว้หู ข. ฟังความข้างเดียว ค. ฟังไม่ได้ศัพท์จับมากระเดียด ง. ฟังหูซ้ายทะลุหูขวา ๑๙๐. ข้อใด ไม่ใช่จุดประสงค์ของการฟังธรรม ? ก. ได้ฟังสิ่งใหม่ ค. บรรเทาความสงสัย ข. เข้าใจเรื่องเก่า ง. จิตใจเป็นทุกข์ ๑๙๑. สิง่ แรกทีจ่ ะได้รบั จากการฟังธรรมคือข้อใด ? ก. ได้ฟังสิ่งใหม่ ค. บรรเทาความสงสัย ข. เข้าใจเรื่องเก่า ง. จิตใจเบิกบาน
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
คิหิปฏิบัติ ๑๙๒. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ก่อให้เกิดสุขเช่นไร ? ก. สุขในชาตินี้ ค. สุขในนิพพาน ข. สุขในชาติหน้า ง. ถูกทุกข้อ ๑๙๓. ผู้ปฏิบัติตามทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์จะเป็น คนเช่นไร ? ก. นักปราชญ์ ค. ยาจก ข. เศรษฐี ง. ผู้น�ำ ๑๙๔. อยากรวยต้องปฏิบัติตามธรรมในข้อใด ? ก. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ข. สัมปรายิกัตถประโยชน์ ค. อิทธิบาท ง. ฆราวาสธรรม ๑๙๕. ทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์เรียกอีกอย่างว่าอะไร ? ก. หัวใจยาจก ค. หัวใจเศรษฐี ข. หัวใจนักปราชญ์ ง. หัวใจนักบุญ ๑๙๖. คาถาหัวใจเศรษฐี คือข้อใด ? ก. อุ อา กะ สะ ค. ทุ สะ นิ มะ ข. ทุ สะ นะ โส ง. ฉะ วิ จิ วิ ๑๙๗. ใครปฏิบัติตามหัวใจเศรษฐีแล้วจะรวย ? ก. ชาวนา ค. พ่อค้า ข. นักธุรกิจ ง. ทุกคน ๑๙๘. คนที่ท�ำงานแล้วไม่รวยเพราะข้อใด ? ก. ขยันหา ค. ขยันประหยัด ข. ขยันดูแล ง. ขยันจ่าย ๑๙๙. ข้อใด ไม่จัดเข้าในหัวใจเศรษฐี ? ก. ขยันหา ค. มีกัลยาณมิตร ข. รักษาดี ง. ใช้ชีวิตเกินตัว ๒๐๐. อุฏฐานสัมปทา มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ขยันหา ค. มีกัลยาณมิตร ข. รักษาดี ง. ใช้ชีวิตแต่พอเพียง
๒๐๑. อารักขสัมปทา มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ขยันหา ค. มีกัลยาณมิตร ข. รักษาดี ง. ใช้ชีวิตแต่พอเพียง ๒๐๒. กัลยาณมิตตตา มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ขยันหา ค. มีกัลยาณมิตร ข. รักษาดี ง. ใช้ชีวิตแต่พอเพียง ๒๐๓. สมชีวิตา มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ขยันหา ค. มีกัลยาณมิตร ข. รักษาดี ง. ใช้ชีวิตแต่พอเพียง ๒๐๔. มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท ตรงกับข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๐๕. มีน้อยใช้น้อยค่อยบรรจง ตรงกับข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๐๖. ฝนทั่งให้เป็นเข็ม จัดเข้าในธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๐๗. คบคนดี เป็นศรีแก่ใคร ? ก. แก่ตัว ค. แก่ชาติ ข. แก่สังคม ง. แก่โลก ๒๐๘. คนเช่นไรชื่อว่าเป็นคนดีที่น่าคบ ? ก. เรียนเก่ง ค. เอาใจเก่ง ข. คุยเก่ง ง. ท�ำดีเก่ง ๒๐๙. ได้คู่ครองที่ดี ชื่อว่ามีหัวใจเศรษฐีข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๐. แบ่งทรัพย์ทหี่ ามาได้ไปท�ำบุญจัดเข้าในข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
21
๒๑๑. ธรรมข้อใดสนับสนุนเศรษฐกิจแบบพอเพียง ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๒. ตระหนีจ่ นตัวเองล�ำบาก เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๓. ข้อใดจัดเข้าใน อุฏฐานสัมปทา ? ก. ขยันตื่นแต่เช้า ค. ขยันออกก�ำลังกาย ข. ขยันท�ำงาน ง. ขยันออกสังคม ๒๑๔. คนไม่เป็นหนี้ เพราะมีธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๕. ปิดไฟดวงที่ไม่จ�ำเป็น จัดเข้าในธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๖. นกน้อยท�ำรังแต่พอตัว ตรงกับธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๗. เห็นช้างขี้ ขีต้ ามช้าง เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๘. เก็บเบีย้ ใต้ถนุ ร้าน ตรงกับหัวใจเศรษฐีขอ้ ใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๑๙. งบประมาณขาดทุน เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๒๐. ชักหน้าไม่ถึงหลัง เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา
22
๒๒๑. ไม่มีความจนในหมู่คนขยันตรงกับข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๒๒. รู้จักใช้รู้จักเก็บ คือข้อใด ? ก. อุฏฐานสัมปทา ค. กัลยาณมิตตตา ข. อารักขสัมปทา ง. สมชีวิตา ๒๒๓. มิตรเทียม คือมิตรเช่นไร ? ก. มิตรไม่ดี ค. มิตรชั่ว ข. มิตรไม่แท้ ง. ถูกทุกข้อ ๒๒๔. ข้อใดจัดเข้าในลักษณะของมิตรเทียม ? ก. คนปอกลอก ค. คนหัวประจบ ข. คนดีแต่พูด ง. ถูกทุกข้อ ๒๒๕. คนปอกลอกมีลักษณะอย่างไร ? ก. คิดเอาแต่ได้ ค. ช่วยเหลือเมือ่ ตัวมีภยั ข. เสียน้อยหวังได้มาก ง. ถูกทุกข้อ ๒๒๖. คิดเอาแต่ได้ฝา่ ยเดียวจัดเข้าในมิตรเทียมข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๒๗. มีเงินนับเป็นน้องมีทองนับเป็นพี่ คือข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๒๘. ออกปากพึง่ ไม่ได้ คือลักษณะมิตรเทียมข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๒๙. ดีตอ่ หน้า นินทาลับหลัง คือมิตรเทียมข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๐. ปากปราศรัยน�้ำใจเชือดคอ คือข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๒๓๑. เลียแข้งเลียขา คือลักษณะของคนในข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๒. มะกอก ๓ ตะกร้าปาไม่ถูก คือข้อใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๓. คนหัวประจบ มีลักษณะตรงตามข้อใด ? ก. นายว่าขีข้ า้ พลอย ค. ปากว่าตาขยิบ ข. ปากว่ามือถึง ง. ปากไม่สนิ้ กลิน่ น�ำ้ นม ๒๓๔. คบเพือ่ นติดพนัน ตนเองจะเป็นอย่างเช่นไร ? ก. ติดพนัน ค. ติดเที่ยว ข. ติดเหล้า ง. ติดเล่น ๒๓๕. ตัวเองติดยาเสพติดจึงชวนคนอื่นให้ติดด้วย จัดเป็นมิตรประเภทใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๖. มิตรเทียมข้อใด ควรหลีกเลี่ยงให้ไกลที่สุด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๗. ยามพีเนื้อหอม ยามผอมเนื้อเหม็น ตรงกับ มิตรเทียมประเภทใด ? ก. คนปอกลอก ค. คนดีแต่พูด ข. คนหัวประจบ ง. คนชวนให้ฉิบหาย ๒๓๘. พระพุทธเจ้าจ�ำแนกมิตรแท้ไว้กี่จ�ำพวก ? ก. ๔ ค. ๖ ข. ๕ ง. ๗ ๒๓๙. ข้อใดเป็นลักษณะของมิตรแท้ ? ก. มีอุปการะ ค. ร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. แนะน�ำประโยชน์ ง. ถูกทุกข้อ ๒๔๐. ห้ามท�ำชั่ว แนะให้ท�ำดี คือมิตรแท้ข้อใด ? ก. มิตรมีอปุ การะ ค. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. มิตรแนะประโยชน์ ง. มิตรมีความรักใคร่
๒๔๑. อยากเป็นคนดีของสังคม ควรคบมิตรเช่นไร ? ก. มิตรมีอปุ การะ ค. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. มิตรแนะประโยชน์ ง. มิตรมีความรักใคร่ ๒๔๒. มีสขุ ร่วมเสพมีทกุ ข์รว่ มต้าน คือมิตรแท้ขอ้ ใด ? ก. มิตรมีอปุ การะ ค. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. มิตรแนะประโยชน์ ง. มิตรมีความรักใคร่ ๒๔๓. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของมิตรแท้ ? ก. ชวนเล่นเกม ค. ชวนไปเล่นกีฬา ข.ชวนท�ำการบ้าน ง. ชวนท�ำบุญ ๒๔๔. ลูกผูช้ ายไม่ทงิ้ กันยามมีภยั ตรงกับมิตรข้อใด ? ก. มิตรมีอปุ การะ ค. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. มิตรแนะประโยชน์ ง. มิตรมีความรักใคร่ ๒๔๕. เพื่อนที่ดีไม่ควรปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างไร ? ก. ตายแทนได้ ค. ตามใจทุกอย่าง ข. คอยเตือนสติ ง. ไม่มคี วามลับต่อกัน ๒๔๖. คุณสมบัตขิ องมิตรทีด่ ที สี่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือข้อใด ? ก. ซื่อสัตย์ ค. ใฝ่ดี ข. จริงใจ ง. มีคุณธรรม ๒๔๗. สิ่งใดที่เพื่อนไม่ควรท�ำต่อเพื่อน ? ก. สรรเสริญต่อหน้า ค. ให้ฟงั สิง่ มีประโยชน์ ข. นินทาลับหลัง ง. ไม่โกรธเมื่อท�ำผิด ๒๔๘. ตายแทนได้ คือลักษณะของมิตรเช่นไร ? ก. มิตรมีอปุ การะ ค. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ข. มิตรแนะประโยชน์ ง. มิตรมีความรักใคร่ ๒๔๙. จะครองเรือนให้เป็นสุขควรปฏิบตั ติ ามข้อใด ? ก. ฆราวาสธรรม ค. พรหมวิหาร ข. อิทธิบาท ง. อริยสัจ ๒๕๐. ฆราวาสธรรม ไม่จ�ำเป็นส�ำหรับบุคคลใด ? ก. พ่อค้า ค. ชาวนา ข. นักธุรกิจ ง. นักบวช
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
23
๒๕๑. ผู้ที่ครองเรือนควรปฏิบัติตามธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ทมะ ค. ทาน ปิยวาจา ข. ขันติ จาคะ ง. ข้อ ก และ ข ถูก ๒๕๒. สัจจะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. จริงใจ ค. ทนได้ ข. ฝึกฝน ง. ให้ปัน ๒๕๓. ทมะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. จริงใจ ค. ทนได้ ข. ฝึกฝน ง. ให้ปัน ๒๕๔. ขันติ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. จริงใจ ค. ทนได้ ข. ฝึกฝน ง. ให้ปัน ๒๕๕. จาคะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. จริงใจ ค. ทนได้ ข. ฝึกฝน ง. ให้ปัน ๒๕๖. ฆราวาสธรรมข้อใดท�ำให้คนไม่หลอกลวงกัน ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๕๗. โตไปไม่โกง เพราะมีธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๕๘. เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ตรงกับธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๕๙. ถ้ามีสัจจะ ศีลข้อใดจะบริสุทธิ์? ก. ข้อ ๑ ค. ข้อ ๓ ข. ข้อ ๒ ง. ข้อ ๔ ๒๖๐. พูดแล้วท�ำได้อย่างที่พูด ตรงกับข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ
24
๒๖๑. อย่าชิงสุกก่อนหาม อย่าตามใจตัว ตรงกับ ฆราวาสธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๒. ธรรมข้อใดสอนให้รู้จักข่มใจเมื่อโกรธ ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๓. งานหนักไม่เอางานเบาไม่สู้ เพราะขาดข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๔. สละสุขส่วนตัวเพือ่ สุขส่วนร่วม จัดเข้าในข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๕. บริจาคสิง่ ของแก่ผปู้ ระสบภัย จัดเข้าในข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๖. เลิกเหล้าเข้าพรรษา ตรงกับธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๗. ข้าราชการไม่รับสินบน จัดว่ามีธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๘. โกรธแต่ขม่ ใจไม่ให้โกรธ ตรงกับธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๖๙. ยอมล�ำบากวันนี้ เพื่ออนาคตที่ดีในวันหน้า จัดว่ามีธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๗๐. หน้าไหว้หลังหลอก เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๒๗๑. ขาดธรรมข้อใดจึงท�ำให้มีนิสัยวู่วาม ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๗๒. ข้อใดคือลักษณะของคนขาดขันติ ? ก. เหยียบขีไ้ ก่ไม่ฝอ่ ค. จิง้ จกเปลีย่ นสี ข. ชักหน้าไม่ถงึ หลัง ง. กิง้ ก่าได้ทอง ๒๗๓. คนเห็นแก่ตัว เพราะขาดธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๗๔. เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ตรงกับธรรมข้อใด ? ก. สัจจะ ค. ขันติ ข. ทมะ ง. จาคะ ๒๗๕. ข้อใด ไม่ใช่คุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกา ? ก. มีศรัทธา ค. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว ข. มีศีล ง. มีฐานะ ๒๗๖. อุบาสกอุบาสิกาควรยึดถือสิ่งใดเป็นที่พึ่ง ? ก. หมอดู ค. พระรัตนตรัย ข. เทพเจ้า ง. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ๒๗๗. ข้อใดไม่ใช่ศรัทธาทางพระพุทธศาสนา ? ก. เชื่อกรรม ค. เชื่อพุทธเจ้า ข. เชื่อผลกรรม ง. เชื่อโชคลาง ๒๗๘. ข้อใดคือลักษณะของอุบาสก ? ก. เข้าวัดบ่อย ค. คุ้นเคยกับพระ ข. นุ่งขาวห่มขาว ง. รักษาศีล ๕ ๒๗๙. เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามีจริง ตรงกับสมบัติของ อุบาสกข้อใด ? ก. มีศรัทธา ค. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว ข. มีศีล ง. ท�ำบุญในศาสนา
๒๘๐. ข้อใด ไม่จัดเข้าในสมบัติของอุบาสก ? ก. ช่วยเหลือคนต่างศาสนา ข. ไปร่วมเวียนเทียนในวันมาฆบูชา ค. รักษาศีลให้บริสุทธิ์ ง. บนขอหวยกับพญานาค ๒๘๑. ข้อใดชื่อว่าท�ำบุญนอกเขตพุทธศาสนา ? ก. ท�ำบุญทอดผ้าป่าสร้างโบสถ์ ข. ท�ำบุญในงานสวดภาณยักษ์ ค. บริจาคช่วยเหลือคนติดเอดส์ ง. ช่วยคนต่างศาสนาที่บาดเจ็บ ๒๘๒. เชื่อใครจึงจะพ้นทุกข์ได้ ? ก. เชื่อตัวเอง ค. เชื่อต�ำรา ข. เชื่อเทวดา ง. เชื่อพุทธเจ้า ๒๘๓. เชือ่ ตามข้อใดจึงถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา ? ก. เชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล ข. เชื่อมงคล ไม่เชื่อกรรม ค. เชื่อกรรม เชื่อมงคล ง. ไม่เชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล ๒๘๔. ศรัทธามีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. เชื่อใจ ค. ชอบใจ ข. ถูกใจ ง. ชื่นใจ ๒๘๕. “ผูเ้ ข้าไปนัง่ ใกล้พระรัตนตรัย” ตรงกับข้อใด ? ก. ภิกษุ ค. อุบาสก ข. ฆราวาส ง. คฤหัสถ์ ๒๘๖. “ถือมงคลตืน่ ข่าว” มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. แตกตื่นไปกับข่าวที่เป็นจริง ข. แตกตื่นไปกับข่าวลือ ค. แตกตื่นไปกับข่าวเหลือเชื่อ ง. ถูกทุกข้อ ๒๘๗. ข้อใดจัดเข้าใน “ถือมงคลตื่นข่าว” ? ก. แห่นาค ค. แห่เทียนพรรษา ข. แห่ขอหวย ง. แห่กฐิน
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
25
๒๘๘. เขตบุญนอกพุทธศาสนาคือข้อใด ? ก. ถวายผ้าป่า ค. ถวายสังฆทาน ข. ถวายกฐิน ง. ถือศีลอด ๒๘๙. ข้อใดไม่ใช่ บ�ำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา ? ก. ให้ทาน ค. สวดมนต์ ข. รักษาศีล ง. บูชาพญานาค ๒๙๐. ท�ำตามข้อใดได้ชอื่ ว่ามีคณ ุ สมบัตขิ องอุบาสก ? ก. ฆ่าสัตว์ ค. มีกิ๊ก ข. ไม่โกง ง. โกหก ๒๙๑. ชาวพุทธควรเชื่อตามข้อใด ? ก. เชื่อกรรม ค. เชื่อมงคล ข. เชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ง. เชื่อดวง ๒๙๒. อุบาสกควรถือตามข้อใด ? ก. ถือมงคล ค. ถือศีล ข. ถือตัว ง. ถือดี ๒๙๓. เชือ่ ว่าท�ำดีได้ดี ท�ำชัว่ ได้ชวั่ จัดว่ามีคณ ุ สมบัติ ของอุบาสกข้อใด ? ก. มีศรัทธา ค. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว ข. มีศีล ง. บ�ำเพ็ญในพุทธศาสนา ๒๙๔. ข้อใดตรงกับคุณสมบัติอุบาสกข้อ “มีศีล” ? ก. ไถ่ชีวิตโค ค. สวดมนต์ก่อนนอน ข. ตั้งโรงทาน ง. งดเหล้าเข้าพรรษา
๒๙๕. ศาสนทายาท มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ผู้สืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ข. ผู้รับมรดกของวัด ค. ผู้จัดการทรัพย์สินของวัด ง. ผู้รักษาผลประโยชน์ของวัด ๒๙๖. ข้อใดได้ชื่อว่าสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ? ก. ศึกษาธรรม ค. ปฏิบัติธรรม ข. เผยแผ่ธรรม ง. ถูกทุกข้อ ๒๙๗. บ�ำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา คือข้อใด ? ก. ให้ทาน ค. เจริญภาวนา ข. รักษาศีล ง. ถูกทุกข้อ ๒๙๘. ข้อใดชื่อว่ารักษาพระพุทธศาสนา ? ก. กินเหล้าในวัด ข. ขอหวยในวัด ค. สะเดาะเคราะห์ในวัด ง. ท�ำบุญในวัด ๒๙๙. ข้อใดคือค�ำสอนที่ชาวพุทธควรยึดถือ ? ก. ท�ำดีได้ดีมีที่ไหน ข. ท�ำชั่วได้ดีมีถมไป ค. ท�ำดีไร้ค่า ท�ำเอาหน้าดีกว่า ง. ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ชั่ว ๓๐๐. พระพุทธศาสนาจะยืนยาวต้องอาศัยผู้ใด ? ก. พระภิกษุ ค. อุบาสิกา ข. อุบาสก ง. ชาวพุทธทุกคน
จบวิชา ธรรมวิภาค แล้วจ้า
26
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
ติวเข้มเตรียมสอบ วิชา พุทธประวัติ+ศาสนพิธี จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. พุทธประวัติศึกษาเกี่ยวกับประวัติของใคร ? ก. พระพุทธเจ้า ค. พระสาวก ข. บริษัท ๔ ง. สหธรรมิก ๕ ๒. ตามประวัติพระพุทธเจ้าทรงอุบัติในทวีปใด ? ก. อุตตรกุรุทวีป ค. ชมพูทวีป ข. อมรโคยานทวีป ง. ทวีปเอเชีย ๓. ชมพูทวีป ในปัจจุบนั คือดินแดนของประเทศใด ? ก. เมียนมาร์ ค. จีน ข. อินเดีย ง. ไทย ๔. ชมพูทวีปตั้งอยู่ทางทิศใดของประเทศไทย ? ก. ปัจฉิม ค. พายัพ ข. อุดร ง. ทักษิณ ๕. อาณาจักรชมพูทวีปมีแคว้นใหญ่ๆ กี่แคว้น ? ก. ๑๕ แคว้น ค. ๑๖ แคว้น ข. ๑๗ แคว้น ง. ๑๘ แคว้น ๖. ชมพูทวีป ถูกปกครองด้วยชน ๒ กลุม่ ตามข้อใด ? ก. ผิวด�ำ-ผิวขาว ค. อริยะ-อนาริยะ ข. มิลักขะ-อริยกะ ง. วรรณะสูง-วรรณะต�่ำ ๗. มัชฌิมประเทศ หมายถึงส่วนใดของชมพูทวีป ? ก. ส่วนภายนอก ค. ส่วนภายใน ข. ส่วนชายแดน ง. ส่วนกลาง ๘. หัวเมืองชั้นนอก ตรงกับข้อใด ? ก. มัชฌิมชนบท ค. มัธยมชนบท ข. ปัจฉิมชนบท ง. ปัจจันตชนบท ๙. ชนชาติทอี่ าศัยอยูใ่ นชมพูทวีปมาก่อนคือข้อใด ? ก. มิลักขะ ค. กรีก ข. อริยกะ ง. พราหมณ์
๑๐. ชนชาติใดเข้ามารุกไล่เจ้าของถิ่นเดิม ? ก. อริยกะ ค. กรีก ข. มักขลิกะ ง. พราหมณ์ ๑๑. ชนชาติอริยกะ มีลักษณะอย่างไร ? ก. ด้อยพัฒนา ค. เร่งพัฒนา ข. ก�ำลังพัฒนา ง. พัฒนาแล้ว ๑๒. คนในชมพูทวีปแบ่งเป็นกี่ชนชั้น ? ก. ๒ ชนชั้น ค. ๔ ชนชั้น ข. ๓ ชนชั้น ง. ๕ ชนชั้น ๑๓. ข้อใด ไม่จัดเข้าในกลุ่มวรรณะ ๔ ? ก. พราหมณ์ ค. แพศย์ ข. ศูทร ง. จัณฑาล ๑๔. ในวรรณะ ๔ วรรณะใดเป็นวรรณะชั้นต�่ำสุด ? ก. กษัตริย์ ค. แพศย์ ข. พราหมณ์ ง. ศูทร ๑๕. ในวรรณะ ๔ วรรณะใดเป็นวรรณะชั้นสูงสุด ? ก. กษัตริย์ ค. แพศย์ ข. พราหมณ์ ง. ข้อ ก และ ข ๑๖. ชนชั้นปกครอง หมายถึงวรรณะใด ? ก. กษัตริย์ ค. พราหมณ์ ข. แพศย์ ง. ศูทร ๑๗. ผู้น�ำทางวิญญาณ หมายถึงวรรณะใด ? ก. กษัตริย์ ค. พราหมณ์ ข. แพศย์ ง. ศูทร ๑๘. วรรณะใดได้ชื่อว่าเป็นชนชั้นกลาง ? ก. กษัตริย์ ค. พราหมณ์ ข. แพศย์ ง. ศูทร
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
27
๑๙. ชนชั้นแรงงาน ได้แก่วรรณะใด ? ก. กษัตริย์ ค. พราหมณ์ ข. แพศย์ ง. ศูทร ๒๐. ลูกทีเ่ กิดจากพ่อแม่ตา่ งวรรณะมีชอื่ เรียกว่าอะไร ? ก. จัณฑาล ค. นอกคอก ข. จัญไร ง. ข้าวนอกนา ๒๑. ชนในชมพูทวีปนับถือศาสนาใด ? ก. พุทธ ค. พราหมณ์ ข. เชน ง. ซิกซ์ ๒๒. ศาสนาพราหมณ์สอนให้เชื่อสิ่งใด ? ก. กรรม ค. ตัวเอง ข. เทพเจ้า ง. ผี ๒๓. พระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นในวงศ์กษัตริย์ใด ? ก. ศากยวงศ์ ค. โกลิยวงศ์ ข. จักรีวงศ์ ง. สุริยวงศ์ ๒๔. กษัตริย์ศากยวงศ์ครองเมืองชื่อว่าอะไร ? ก. กรุงเทวทหะ ค. กรุงสาวัตถี ข. กรุงกบิลพัสดุ์ ง. กรุงราชคฤห์ ๒๕. กษัตริย์ศากยวงศ์มีความสัมพันธ์กับกษัตริย์ วงศ์ใดมากที่สุด ? ก. ศากยวงศ์ ค. โกลิยวงศ์ ข. จักรีวงศ์ ง. สุริยวงศ์ ๒๖. กษัตริย์ผู้เป็นต้นตระกูลศากยวงศ์คือข้อใด ? ก. พระเจ้าชัยเสนะ ค.พระเจ้าสีหหนุ ข. พระเจ้าอัญชนะ ง. พระเจ้าโอกกากราช ๒๗. ใครเป็นผูค้ รองเมืองกบิลพัสดุก์ อ่ นพระเจ้าสีหหนุ ? ก. พระเจ้าชัยเสน ค. พระเจ้าสีหหนุ ข. พระเจ้าอัญชนะ ง. พระเจ้าสุปปพุทธะ ๒๘. พระเจ้าสีหหนุเป็นอะไรกับเจ้าชายสิทธัตถะ ? ก. พระเจ้าปู่ ค. พระเจ้าตา ข. พระบิดา ง. พระเจ้าอา
28
๒๙. ใครเป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ ? ก. พระเจ้าสีหหนุ ค. พระเจ้าสุกโกทนะ ข. พระเจ้าสุทโธทนะ ง. พระเจ้าสุปปพุทธะ ๓๐. ใครเป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ ? ก. พระนางพิมพา ค. พระนางปมิตา ข. พระนางสิริมหามายา ง. พระนางอมิตา ๓๑. ก่อนพระโพธิสัตว์จุติลงสู่พระครรภ์ ทรง ประทับอยู่ในสวรรค์ชั้นใด ? ก. จาตุมมหาราช ค. ยามา ข. ดาวดึงส์ ง. ดุสิต ๓๒. พระโพธิสัตว์ทรงอยู่ในพระครรภ์กี่เดือน จึงประสูติ ? ก. ๘ เดือน ค. ๑๐ เดือน ข. ๙ เดือน ง. ๑๒ เดือน ๓๓. พระโพธิสัตว์ทรงประสูติ ณ สถานที่ใด ? ก. สวนลุมพินีวัน ค. สวนลัฏฐิวัน ข. สวนเวฬุวัน ง. สวนสาลวโนทยาน ๓๔. พระโพธิสัตว์ทรงประสูติใต้ต้นไม้ใด ? ก. ต้นโพธิ์ ค. ต้นไทร ข. ต้นสาละ ง. ต้นหว้า ๓๕. พระโพธิสัตว์ประสูติตรงกับวันใด ? ก. วันเพ็ญ เดือน ๓ ค. วันเพ็ญ เดือน ๖ ข. วันเพ็ญ เดือน ๘ ง. วันเพ็ญ เดือน ๑๐ ๓๖. พระโพธิสัตว์ประสูติก่อนพุทธศกกี่ปี ? ก. ๑ ปี ค. ๘๐ ปี ข. ๙๐ ปี ง. ๑๐๐ ปี ๓๗. สถานที่ประสูติปัจจุบันตั้งอยู่ ณ ประเทศใด ? ก. อินเดีย ค. ศรีลังกา ข. ปากีสถาน ง. เนปาล ๓๘. การเปล่ง อาสภิวาจา เกิดขึ้นในวันใด ? ก. วันประสูต ิ ค. วันปรินพิ พาน ข. วันแสดงธรรมครัง้ แรก ง. วันปลงอายุสงั ขาร
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด
๓๙. เมื่อประสูติแล้ว พระโพธิสัตว์เสด็จด�ำเนิน ได้กี่ก้าว ? ก. ๓ ก้าว ค. ๕ ก้าว ข. ๗ ก้าว ง. ๙ ก้าว ๔๐. หลังประสูติได้ ๓ วัน ใครเข้าท�ำนายมหาปุริส ลักษณะเป็นคนแรก ? ก. อุททกดาบส ค. อาฬารดาบส ข. โกณฑัญญพราหมณ์ ง. อสิตดาบส ๔๑. พิธีขนานพระนามมีขึ้นหลังพระโพธิสัตว์ ประสูติกี่วัน ? ก. ๓ วัน ค. ๕ วัน ข. ๗ วัน ง. ๙ วัน ๔๒. พราหมณ์ ๑๐๘ ขนานพระนามพระโพธิสัตว์ ว่าอย่างไร ? ก. สิทธัตถะ ค. พุทธะ ข. โคตมะ ง. ศากยบุตร ๔๓. สิทธัตถะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ผู้มีบุญบารมี ค. ผู้รู้ ตื่น เบิกบาน ข. ผู้ส�ำเร็จดังปรารถนา ง. ผู้ชนะมาร ๔๔. หลังประสูติได้ ๗ วันมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ? ก. จัดพิธสี ขู่ วัญ ค. แผ่นดินไหว ข. พระมารดาสวรรคต ง. เกิดฝนโปกขรพรรษ ๔๕. ผู้ที่เลี้ยงดูเจ้าชายสิทธัตถะต่อจากพระมารดา คือใคร ? ก. พระนางปมิตา ค. พระนางอมิตา ข. พระนางกัญจนา ง. พระนางปชาบดี ๔๖. เจ้าชายสิทธัตถะเริม่ ศึกษาศิลปวิทยาเมือ่ อายุ เท่าไร ? ก. ๕ ปี ค. ๖ ปี ข. ๗ ปี ง. ๘ ปี
๔๗. ใครคือครูคนแรกของเจ้าชายสิทธัตถะ ? ก. วิศวามิตร ค. อุททกดาบส ข. อสิตดาบส ง. อาฬารดาบส ๔๘. เจ้าชายสิทธัตถะจบการศึกษาทัง้ หมดกีศ่ าสตร์ ? ก. ๑๐ ศาสตร์ ค. ๑๖ ศาสตร์ ข. ๑๒ ศาสตร์ ง. ๑๘ ศาสตร์ ๔๙. เหตุการณ์ใดไม่ได้เกิดขึ้นในพิธีแรกนาขวัญ ? ก. นั่งสมาธิใต้ต้นหว้า ค. เงาไม้ไม่คล้อยไปตามแสงอาทิตย์ ข. ได้ปฐมฌาน ง. พญามารมาผจญ ๕๐. เจ้าชายสิทธัตถะอภิเษกสมรส เมือ่ อายุเท่าไร ? ก. ๑๕ ปี ค. ๑๖ ปี ข. ๑๗ ปี ง. ๑๘ ปี ๕๑. ใครคือคู่อภิเษกสมรสของเจ้าชายสิทธัตถะ ? ก. นางปชาบดี ค. นางวิสาขา ข. พระนางยโสธรา ง. นางสุชาดา ๕๒. เจ้าชายสิทธัตถะสิง่ ใดจึงตัดสินพระทัยออกบวช ? ก. เทวทูต ๔ ค. ราชทูต ๔ ข. ธรรมทูต ๔ ง. พรหมทูต ๔ ๕๓. ข้อใด ไม่จัดเข้าในเทวทูต ๔ ? ก. คนเกิด ค. คนแก่ ข. คนเจ็บ ง. คนตาย ๕๔. ทรงสลดสังเวชพระทัยเพราะเห็นเทวทูตใด ? ก. คนแก่ ค. คนตาย ข. คนเจ็บ ง. ทุกข้อ ๕๕. เทวทูตใดท�ำให้เจ้าชายสิทธัตถะยินดีในการ ออกบวช ? ก. คนแก่ ค. คนตาย ข. คนเจ็บ ง. สมณะ
ติวเข้มเตรียมสอบ ธรรมศึกษา ชั้นตรี ระดับประถมศึกษา
29
๕๖. ข้อใดไม่ได้เกิดขึ้นตอนเจ้าชายสิทธัตถะอายุ ๒๙ ปี ? ก. ราหุลเกิด ค. ออกบวช ข. เห็นเทวทูต ๔ ง. ตรัสรู้ ๕๗. เจ้าชายสิทธัตถะทรงออกบวชอย่างไร ? ก. ขี่ช้าง ค. นั่งราชรถ ข. ขี่ม้า ง. เดิน ๕๘. เจ้าชายสิทธัตถะออกบวชในเวลาใด ? ก. ใกล้สว่าง ค. สายใกล้เที่ยง ข. กลางดึก ง. เย็นพลบค�่ำ ๕๙. เจ้าชายสิทธัตถะออกบวชมีใครเป็นผู้ติดตาม ? ก. นายจุนทะ ค. พระอานนท์ ข. พระอัสสชิ ง. นายฉันนะ ๖๐. เจ้าชายสิทธัตถะทรงอธิษฐานเพศบรรพชิต ณ ที่ใด ? ก. ริมฝัง่ แม่นำ�้ อโนมา ค. ริมฝัง่ แม่นำ�้ เนรัญชรา ข. ริมฝัง่ แม่นำ�้ คงคา ง. ริมฝัง่ แม่นำ�้ สินธุ ๖๑. เจ้าชายสิทธัตถะใช้สิ่งใดตัดพระเมาลี ? ก. ดาบ ค. พระขรรค์ ข. มีโกน ง. กรรไกร ๖๒. พระมหาบุรุษหลังบรรพชาแล้วประทับเสวย บรรพชาสุข ณ ที่ใด ? ก. ลุมพินีวัน ค. ลัฏฐิวัน ข. อนุปิยอัมพวัน ง. เวฬุวัน ๖๓. หลังจากบวชแล้วทรงเสด็จไปที่แคว้นใด อันดับแรก ? ก. แคว้นสักกะ ค. แคว้นมัลละ ข. แคว้นมคธ ง. แคว้นโกศล ๖๔. แคว้นดังกล่าวมีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร ? ก. ราชคฤห์ ค. พาราณสี ข. สาวัตถี ง. โกสัมพี
30
๖๕. กษัตริยท์ ชี่ วนให้สกึ มาครองราชย์ดว้ ยกันคือใคร ? ก. พระเจ้าอุเทน ค. พระเจ้าพิมพิสาร ข. พระเจ้ามัลละ ง. พระเจ้าปเสนทิโกศล ๖๖. อาจารย์ที่สอนให้ส�ำเร็จสมาบัติ ๗ คือใคร ? ก. กาฬเทวิลดาบส ค. อุททกดาบส ข. อาฬารดาบส ง. อสิตดาบส ๖๗. ทรงส�ำเร็จสมาบัติ ๘ ในส�ำนักของใคร ? ก. กาฬเทวิลดาบส ค. อุททกดาบส ข. อาฬารดาบส ง. อสิตดาบส ๖๘. ทุกรกิริยา คือการทรมานสิ่งใด ? ก. ทรมานร่างกาย ค. ทรมานผู้อื่น ข. ทรมานจิตใจ ง. ทรมานสัตว์ ๖๙. พระมหาบุรุษบ�ำเพ็ญทุกรกิริยาด้วยวิธีใด ? ก. กลั้นลมหายใจ ค. กัดฟัน เอาลิน้ ดันเพดาน ข. อดอาหาร ง. ถูกทุกข้อ ๗๐. พระมหาบุรุษบ�ำเพ็ญทุกรกิริยานานเท่าไร ? ก. ๓ เดือน ค. ๖ เดือน ข. ๓ ปี ง. ๖ ปี ๗๑. ขณะบ�ำเพ็ญทุกรกิริยาทรงประทับ ณ ที่ใด ? ก. ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ค. สวนลุมพินีวัน ข. อุรุเวลาเสนานิคม ง. เขาคิชฌกูฏ ๗๒. ปัญจวัคคีย์มีทั้งหมดกี่คน ? ก. ๔ คน ค. ๖ คน ข. ๕ คน ง. ๗ คน ๗๓. ในปัญจวัคคีย์ ใครเคยเป็นหมอดูมาก่อน ? ก. อัสสชิ ค. มหานามะ ข. ภัททิยะ ง. โกณฑัญญะ ๗๔. ปัญจวัคคียห์ วังสิง่ ใดจึงคอยอุปฏั ฐากพระมหาบุรษุ ? ก. สมบัติ ค. ค�ำยกย่อง ข. มนต์วิเศษ ง. บรรลุธรรม
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ำกัด