ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร (พ ศ 2549)

Page 1


สารบัญ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บปรุงครั้งที่ 2) สรุปสาระสําคัญ หนา สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทํา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บปรุงครั้งที่ 2) 1.1 ความเปนมา 1.2 เหตุผลความจําเปนในการปรับปรุงผังเมื องรวม 1.3 ขั้นตอนการดําเนิ นการ 1.4 ขอบเขตการวางผังเมืองรวม

1 1 4 13

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพั ฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2.2 แผนพัฒนาภาคมหานคร 2.3 นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน 2.4 นโยบายของกรมโยธาธิการและผังเมื อง 2.5 นโยบายการพัฒ นาเมื องของกรุงเทพมหานคร

15 18 18 19 25

สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบายและมาตรการ ของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บปรุ งครั้งที่ 2) 3.1 วิสัยทัศนของผังเมืองรวม 3.2 วัตถุประสงคในการวางผัง 3.3 นโยบาย เปาหมาย และมาตรการ

29 29 30

สวนที่ 4 เปาหมายประชากร 4.1 รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของประชากร 4.2 การกํา หนดประชากรเปาหมาย 4.3 ประชากรกับความตองการพื้ นที่ เพื่อการพัฒนาในอนาคต 4.4 การกระจายประชากรในผังเมืองรวม 4.5 ความสามารถของผังเมื องรวมในการรองรับประชากร

35 41 42 43 46

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทํา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บปรุงครั้งที่ 2) 5.1 แนวทางการพัฒ นากรุงเทพมหานครในอนาคต 5.2 นโยบายอุตสาหกรรม

48 51


สารบัญ (ตอ) หนา 5.3 แนวความคิดในการวางผังใชประโยชนที่ดิ น 5.4 แนวความคิดในการวางผังที่โลงและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม 5.5 แนวความคิดในการวางผังโครงขายระบบคมนาคมและขนสง

52 57 60

สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตา งๆ 6.1 การประชุ มก อนจัดทํา รางผังเมืองรวม 6.2 การรวบรวมขอมูลจากหนว ยงานที่เกี่ยวของ 6.3 การประชุ มหลังจัดทํารางผังเมื องรวม

68 75 78

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บปรุงครั้งที่ 1) 7.1 การประเมิ นผลดานกายภาพของเมือง 7.2 การประเมิ นผลดานประชากร เศรษฐกิจ และสังคม 7.3 การประเมิ นผลแผนผัง 7.4 ปญหาในการใชบังคับกฎกระทรวง 7.5 คํารองขอแกไขเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิ น

82 88 89 92 93

สวนที่ 8 สาระสําคัญของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 8.1 แผนผังการใชประโยชนที่ดิ น 8.2 แผนผังแสดงที่โลง 8.3 แผนผังแสดงโครงการคมนาคมขนสง 8.4 รูปแบบของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 8.5 การเปรียบเทียบสาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบั บที่ 414 (พ.ศ. 2542) กับกฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

97 107 110 113 119

บรรณานุก รม ก กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร พ.ศ. .... ค บัญชีอุตสาหกรรมทา ยกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... บรรณานุก รม


สารบัญ (ตอ) ตารางที่ ตารางที่ 4–1 วิวัฒนาการจํานวนและอัต ราการขยายตัวประชากรของกรุงเทพมหานคร และจังหวัดปริมณฑล ทุกชวง 10 ป ระหวาง พ.ศ. 2503–2543 ตารางที่ 8–1 สรุปขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิ นผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) แผนที่/แผนผัง/แผนภูมิ/รูป แผนผังที่ 1–1 ขอบเขตการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้ง ที่ 2) แผนผังที่ 2–1 แผนพัฒนาภาคมหานครตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนผังที่ 2–2 ผังเมืองรวมในเขตกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล แผนที่ 4–1 รูปแบบความหนาแน นของประชากรในกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล ป พ.ศ. 2544 แผนที่ 4–2 อิทธิพลการตั้งถิ่ นฐานของกรุงเทพมหานครทีม่ ีต อปริมณฑล แผนภูมทิ ี่ 4–1 การคาดการณจํา นวนประชากรของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ป พ.ศ. 2545–2565 แผนผังที่ 5–1 ผังโครงสรางการพัฒนากรุงเทพมหานคร รูปที่ 5–1 ภาพตัดขวางของถนนประเภท ข. ความกวางของเขตทาง 20 เมตร รูปที่ 5–2 ภาพตัดขวางของถนนประเภท ค. ความกวางของเขตทาง 30 เมตร รูปที่ 5–3 ภาพตัดขวางของถนนประเภท จ. ความกวางของเขตทาง 40 เมตร รูปที่ 5–4 ภาพตัดขวางของถนนประเภท ฉ. ความกวางของเขตทาง 50 เมตร รูปที่ 5–5 ภาพตัดขวางของถนนประเภท ช. ความกวางของเขตทาง 60 เมตร แผนผังที่ 7–1 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิ นตามที่ไดจําแนกประเภท ทายกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) แผนที่ 7–1 การเติบโตของพื้นที่พัฒ นาเมืองกรุงเทพมหานคร แผนที่ 7–2 การใชประโยชน ที่ดินในกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2543 แผนผังที่ 8–1 แผนผังแสดงกําหนดการใชประโยชน ที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภท ทายกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 แผนผังที่ 8–2 แผนผังแสดงที่โลงทายกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 แผนผังที่ 8–3 แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หนา 37 106

14 17 22 36 39 40 49 66 66 66 67 67 83 86 87 105 109 114


สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทํา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) เป นผั ง เมื องรวมที่ ดํ า เนิ นการวางและจั ด ทํ า โดย หนวยงานทองถิ่นที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการผังเมือง ผังเมืองรวมฉบับนีม้ ีความสํา คั ญ เนื่ องจากเป นผั ง ที่ บังคับใชในเขตเมืองหลวงของประเทศไทยซึ่งเปนศูนยกลางความเจริ ญ ในหลายด า น แต ข ณะเดี ยวกั นก็ เป น พื้ นที่ ที่มีป ญ หาหลายด า นทาบซ อนกั นอยู ทั้ ง นี้ ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานครมี ค วามเป นมาและมี เหตุ ผ ล ความจําเปนในการปรับปรุงผังเมืองรวม ขั้นตอนการดําเนินการ และขอบเขตการวางผังเมืองรวม ดังนี้

1.1

ความเปนมา

กรุ ง เทพมหานครมี ผั ง เมื องรวมใช บั ง คั บ ครั้ ง แรก เมื่ อวั นที่ 6 กรกฎาคม 2535 โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 116 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 โดยเปนผังเมื องรวมที่ ว าง และจั ด ทํ า โดยกรมโยธาธิ การและผั ง เมื อง ซึ่ ง ในระหว า งการใช บั ง คั บ ผั ง เมื องรวมฉบั บ แรกได มีการออก กฎกระทรวง ฉบับที่ 181 (พ.ศ. 2537) แก ไ ขเพิ่ มเติ มรายละเอี ยดของกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 116 ในส ว นของ การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญดวย และเมื่ อใกล ค รบกํ า หนดการใช บั ง คั บ ผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานครฉบับแรก กรุงเทพมหานครในฐานะเจาพนักงานทองถิ่น ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการผังเมือง ใหดําเนินการวางและจั ด ทํ า ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 1) ซึ่ ง กรุ ง เทพมหานครในฐานะ เจ า พนั กงานท องถิ่ น ได รั บ ความเห็ นชอบจากคณะกรรมการผั ง เมื อ งให ดํ า เนิ นการวางและจั ด ทํ า และ ประกาศใชบังคับโดยกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 414 (พ.ศ.2542) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ การผั ง เมื อง พ.ศ. 2518 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2542 จึงนับเปนผังเมืองรวมฉบับแรกที่ดําเนินการโดยทองถิ่น ในระหว า งการประกาศใช บั ง คั บ กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 414 กรุ ง เทพมหานครได พิจ ารณาเห็ นว า สถานการณและสิ่งแวดลอมในการใชผัง เมื องรวมฉบั บ ป จ จุ บั นเปลี่ ยนแปลงในสาระสํ า คั ญ จึ ง ได เสนอขอ อนุมัติจากคณะกรรมการผังเมือง เพื่อดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุง ครั้ ง ที่ 2) ซึ่งคณะกรรมการผังเมืองไดพิจารณาอนุมัติเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2544

1.2

เหตุผลความจําเปนในการปรับปรุงผังเมืองรวม

กรุงเทพมหานครในฐานะเจาพนักงานทองถิ่นไดพิจารณาเห็นวา สภาวการณและสิ่ ง แวดล อมในการ ใชผังเมืองรวมฉบับปจจุบันเปลี่ยนแปลงในสาระสํา คั ญ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สถานการณ ทางด า นเศรษฐกิ จ และการลงทุนทั้งของภาครัฐและเอกชน ซึ่งสงผลใหรูปแบบแนวโนมและทิศทางการพัฒนาเมื องไม ส อดคล อง สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ปรับปรุงครั้งที่ 2)


2 กับกรอบการพัฒนาเมืองอันทําใหนโยบาย แผนงาน และโครงการตางๆ ตามที่กําหนดไวไมเปนไปผั ง เมื องรวม ฉบับดังกลาว ไดแก (1) นโยบายเรงดวนของรั ฐ บาล ป จ จุ บั นรั ฐ บาลได มีนโยบายที่ เกี่ ยวข องกั บ การจั ด ระเบี ยบเมื อง หลายเรื่อง และผังเมืองฉบับปจจุบันยังไมเอื้อตอการจัดระเบียบเมือง เชน นโยบายเรื่องการจัดโซนสถานบริการ นโยบายเรื่องกิจการคาปลีกขนาดใหญ นโยบายเรื่องการกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัย นโยบายการสร า งความสมดุ ล ระหวางพื้นที่ชนบทและเมือง หรือนโยบายเรื่องการพัฒนาเมืองอยางยั่ ง ยื น นโยบายดั ง กล า วสามารถจั ด การ ไดดวยผังเมืองที่มีความชัดเจน และมีประสิทธิภาพ (2) การประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) การวางและ จัดทําผังเมืองรวม (ปรับปรุงครั้งที่ 1) ดําเนินการภายใตกรอบการพัฒนาของแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540–2544) ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8 เปนแผนที่เนนใหคนเปนศูนยกลางการพัฒ นา และใชเศรษฐกิจเปนเพียงเครื่องมื อช ว ยพั ฒ นาให ค นมี ค วามสุ ข และมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น แต ใ นป แ รกของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8 ประเทศตองเผชิญกับวิกฤตการณทางเศรษฐกิจที่สงผลกระทบตอคนและสังคม โดยรอบ ทําใหตองมีการปรับแผนเพื่อแก ไ ขวิ กฤติ ข องประเทศ โดยเป นการรั กษาเสถี ยรภาพทางเศรษฐกิ จ ลดผลกระทบตอการพัฒนาคนและสังคม ปรับโครงสรางทางเศรษฐกิ จ ให เข มแข็ ง และกลั บ สู ส มดุ ล และปรั บ ระบบบริหารจัดการเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งในแผนพัฒนาฉบั บ ที่ 9 ได มีการปรั บ ตั ว และ ทบทวนกระบวนทั ศ น การพั ฒ นาประเทศใหม โดยกํ า หนดทิ ศ ทางและยุ ทธศาสตร การพั ฒ นาในอนาคตที่ คํานึงถึงการสรางความสมดุลและภูมิคุมกันใหระบบเศรษฐกิจของไทยสามารถเติ บ โตต อไปอย า งมี คุ ณ ภาพ และอยางยั่งยืน โดยมีการพึ่งพาตนเองไดมากขึ้น มีการเตรียมความพร อมที่ ดี รองรั บ กระแสการเปลี่ ยนแปลง ตางๆ ของโลก เพื่อรักษาสมรรถนะทางเศรษฐกิจของประเทศ และการพั ฒ นาสั ง คมเพื่ อความอยู ดี มีสุ ข ของ คนไทยในระยะยาว (3) แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545–2549) ถึงแม ว า วิ กฤตการณ เศรษฐกิ จ ไม ไ ด ส ง ผลกระทบต อการดํา เนิ นการตามแผนงานและโครงการตามแผนพั ฒ นากรุ ง เทพมหานคร ฉบั บ ที ่ 5 แตแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 ไดมีการปรับใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จ ของโลก และสอดคล องกั บ นโยบายกระจายอํ า นาจให แ ก องค กรปกครองส ว นท อ งถิ่ น ทํ า ให แ นวทางการพั ฒ นา กรุงเทพมหานคร ตามแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 6 เปลี่ ยนแปลงไป โดยวิ สั ยทั ศ น การพั ฒ นากรุ ง เทพมหานคร ตามแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 6 กํ า หนดให กรุ ง เทพมหานครเป นเมื องน า อยู ด ว ยการบริ หารจั ด การที่ ดี และมี ความร ว มมื อจากทุ กภาคส ว นของสั ง คม โดยชุ มชนมี ค วามเข มแข็ ง ครอบครั ว มี ค วามอบอุ นและสงบสุ ข และไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาเมือง โดยการสรางเมืองใหนาอยู โ ดยใช กระบวนการพั ฒ นาแบบองค รวม และจัดทํากระบวนการแกไขปญหาของเมืองอย า งเป นระบบ และให มีค วามสั มพั นธ ส อดคล องประสานกั น ทั้งทางดานการจัดทําผังเมืองรวมที่ทันสมัยและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม รวมทั้ ง การจั ด การ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการในทุกๆ ดานเพื่อใหบังเกิดการพัฒนาเมืองที่มีดุลยภาพและยั่งยืน

สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


3 (4) การปรับเปลี่ยนแผนแมบทระบบโครงขายรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนและระบบการคมนาคมขนส ง ระบบคมนาคมขนสงทั้งระบบโครงขายถนนและระบบเสนทางขนส ง มวลชนเป นป จ จั ยสํ า คั ญ ในการกํ า หนด โครงสรางการพัฒนาเมือง ในการศึกษาแผนแมบทระบบราง (URMAP) ไดมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอี ยดของ ระบบขนสงมวลชนระบบรางหลายประการ ไดแก 1) การปรับลดขนาดระบบรถไฟฟาชานเมื องสายสีแดง 2) การพัฒ นาเสนทางรถไฟสายแมกลอง 3) โครงการก อสร า งทางรถไฟรางคู ส ายใต ช ว งตลิ่ ง ชั น –นครปฐม สายตะวั น ออก ช ว ง หัวหมาก–ฉะเชิงเทรา 4) โครงการรถไฟฟา BTS สวนตอขยาย ชวงหมอชิต –รัชโยธิน ชวงออนนุช –สําโรง และชวง สะพานตากสิน–ถนนตากสิน 5) การชะลอการกอสรางระบบขนสงมวลชนสายสีสมและสายสีมวง และการตอขยายเสนทาง ระบบขนสงมวลชนสายสีน้ําเงิน (5) โครงการพัฒนาขนาดใหญของภาครัฐและเอกชน 1) โครงการพัฒนาศูนยคมนาคมกรุงเทพฯ ด า นใต ซึ่ ง กํ า หนดการพั ฒ นาพื้ นที่ เป นศู นย กลาง ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของกรุ ง เทพมหานครทางด า นฝ ง ธนบุ รีเพื่ อรองรั บ โครงการพั ฒ นา สถานีขนสงสายใต เสนทางระบบขนสงมวลชนสายสี น้ําเงิ น เส นทางรถไฟฟ า BTS และเส นทางรถไฟสายแม กลอง ที่จะพัฒนาเปนเสนทางรถไฟสายนานาชาติ 2) โครงการพัฒนายานพหลโยธิน พื้นที่ประมาณ 2,325 ไร มี เป า หมายเพื่ อให เป นศู นย กลาง ระบบคมนาคมขนสงของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงการขนสงมวลชนทุกระบบและเป นศู นย ธุรกิ จ สมบู รณ แบบ แผนการใชประโยชนที่ดินจะเนนประโยชนสู ง สุ ด ด า นการคมนาคมขนส ง ในรู ป แบบ Central Terminal หรือสถานีกรุงเทพ 2 ที่จะสงเสริ มบทบาทของศู นย กลางคมนาคมขนส ง แห ง ชาติ และการพั ฒ นาเชิ ง ธุ รกิ จ ซึ่งมีลักษณะการใชที่ดินหลากหลาย ทั้งสถานที่ราชการ พาณิชยกรรม และพื้นที่เปดโลงและสวนสาธารณะ 3) โครงการพัฒนายานมักกะสัน พื้นที่ยานโรงงานมักกะสันตั้งอยู บ ริ เวณรอยต อของย า นธุ รกิ จ ใจกลางเมือง (CBD) เชื่อมตอกับพื้นที่พัฒนาใหม เชน บริเวณริมถนนรัชดาภิเษก พระรามที่ 9 และพระรามที่ 3 ซึ่งกําลังพัฒนาเปนยานธุรกิจใจกลางเมืองแหงใหม เสนทางรถไฟสายตะวันออกจะสามารถเชื่ อมโยงกั บ พื้ นที่ ฝ ง ตะวั นออกของกรุ ง เทพมหานคร ภาคตะวั นออกของประเทศ ซึ่ ง มี โ ครงการพั ฒ นาพื้ นที่ ช ายฝ ง ทะเล ตะวันออก เปนโครงการนําการพัฒนา ซึ่งการพัฒนายานโรงงานมั กกะสั นเป นการพั ฒ นาเพื่ อรองรั บ การเป น จุดตอธุรกิจนานาชาติสูยานธุ รกิ จ ใจกลางเมื องกรุ ง เทพมหานคร เนื่ องจากมี ข อได เปรี ยบด า น Multi Modal Interchange ของเส นทางคมนาคมระบบต า งๆ ซึ่ ง ร า งแผนผั ง แม บ ทการพั ฒ นาพื้ นที่ ส ว นใหญ มีการใช ประโยชนที่ดินในเชิงพาณิชยกรรม เปนอาคารขนาดใหญและอาคารสูงเกือบเต็มพื้นที่โครงการ 4) โครงการพัฒนาพื้นที่เฉพาะโดยรอบโครงการถนนวงแหวนอุ ต สาหกรรม การพั ฒ นาเมื อง โดยรอบโครงการวงแหวนอุตสาหกรรม เป นโครงการสื บ เนื่ องจากโครงการพระราชดํ า ริ ใ นการแก ไ ขป ญ หา สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


4 การจราจรและปญหาการพัฒนาเมืองไปพรอมๆ กัน ขณะนี้อยูระหวางการดําเนินการศึ กษาเพื่ อวางผั ง เฉพาะ การพัฒนาพื้นที่ดังกลาว ซึ่งจะสงผลใหมีการเปลี่ ยนแปลงการใช ป ระโยชน ที่ดิ นตามแนวพื้ นที่ ศึ กษา ได แ ก พื้นที่บริเวณพระรามที่ 3 คลองเตย บางนา–บางจาก พื้ นที่ ต อเนื่ องปู เจ า –สมิ ง พราย พื้ นที่ พระประแดง และ เมืองใหมราษฎรบูรณะ และบางกระเจา

1.3

ขั้นตอนการดําเนินการ

การวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) จําเปนตองดําเนิ นการใหมีผลใช บังคับตอเนื่องจากกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ซึ่งหมดระยะเวลาบังคับใชในวันที่ 5 กรกฎาคม 2547 แตกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการผังเมื องไดขยายระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวง ดังกลาวไปอี กสองครั้ง ครั้งละไมเกิ นหนึ่งป ซึ่งครบกําหนดการใชบังคั บในวันที่ 4 กรกฎาคม 2549 ซึ่งการปรับปรุง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครนับเป นภารกิจสําคัญของกรุงเทพมหานคร ในฐานะที่ เปนหนวยงานทองถิ่นที่วาง และจัดทําผังเมืองรวมเอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2535 ดังนี้ (1) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร (นายสมัคร สุนทรเวช) ไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร เมื่อวั นที่ 10 เมษายน 2544 (2) แตงตั้งคณะทํางานดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) รวม 8 คณะ ไดแก ดานสารสนเทศภู มิศาสตร ดานประชากร เศรษฐกิจและสังคม ดานการใชประโยชน ที่ดิน และอาคาร ดานคมนาคมขนสง สาธารณู ปโภค และสาธารณูป การ ดานคุณ ภาพชีวิตและสิ่งแวดล อ ม ดานการจัดทําผังพัฒ นาพื้ นที่เฉพาะแหง ดานกฎหมายและการกําหนดมาตรการทางดานผังเมือง และดาน การประชาสัมพันธและการจัดประชุ มรับ ฟงความคิดเห็นประชาชน เมื่ อวันที่ 10 สิงหาคม 2544 (3) ประชุมคณะที่ปรึ กษาผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ครั้งที่ 1/2544 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2544 (4) การประชุ มหารือ เรื่อง ผังภาคมหานครและผังเมื องรวมกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรว มกับ กรมการผังเมือง และสํานักงานผังเมืองในจังหวัดปริ มณฑล และผูแทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ณ สํานักผังเมื อง กรุงเทพมหานคร 2 ครั้ง คื อ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2544 และ วันที่ 30 เมษายน 2545 (5) ที่ประชุ มคณะกรรมการผังเมือง ครั้งที่ 8/2544 มีมติ อนุ มัติให กรุงเทพมหานคร ในฐานะเจาพนั กงาน ทองถิ่น เป นผูวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2544 (6) ปดประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่ อง เชิญ ชวนประชาชนแสดงข อคิด เห็ นในการวางและจัดทํ า ผังเมื องรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรับ ปรุง ครั้ง ที่ 2) โดยป ดประกาศแผนที่แสดงเขตท องที่ที่จ ะวางและจั ด ทํ า ผังเมืองรวม พรอมปดประกาศแผนที่และกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ณ สถานที่ราชการ ที่ชุ มชน และสาธารณสถาน ระหวางวันที่ 11 กุมภาพั นธ 2545 – 27 กุมภาพั นธ 2545 (ไมนอยกวา 15 วัน) สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


5 (7) ลงโฆษณาประกาศกรุง เทพมหานคร เรื่ อง การวางและจั ดทําผัง เมื องรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในหนังสือพิ มพ มติชนและขาวสด ระหวางวันที่ 4–10 กุมภาพั นธ 2545 พร อมกับโฆษณา การวางและจั ด ทําผัง เมื องรวมใหป ระชาชนทราบทางวิ ทยุ กระจายเสี ยงกรมการรั กษาดิ นแดน สํา นั กข าว ไอเอ็นเอ็ น สถานีขาวรวมดวยชว ยกัน ทางคลื่น FM 96.0 เมกะเฮิรตซ (8) จัดประชุมรับ ฟงขอคิดเห็นประชาชน ครั้งที่ 1 เพื่ อการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ณ ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย–ญี่ปุน) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2545 มีประชาชนมารวมงาน ประมาณ 1,084 คน (9) ผูวาราชการกรุงเทพมหานครลงนามแตงตั้งคณะกรรมการกํากับโครงการวางและจัดทําผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2545 (10) กรุงเทพมหานครวาจางที่ปรึกษา บริษัทกรุงเทพธนาคม จํากัด เพื่อทํางานรวมกับคณะทํางาน ของสํานักผังเมือง ในการดําเนินโครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวันที่ 20 มิ ถุนายน 2545 (11) ประชุ มคณะกรรมการกํ ากับโครงการวางและจัดทํ าผังเมื องรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุ ง ครั้งที่ 2) รวม 11 ครั้ง คณะกรรมการประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนกรมโยธาธิการและผังเมือง สํานักงาน คณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนสง เปนตน ประชุ มครั้ง ที่ 1 เมื่อวั นที่ 17 กรกฎาคม 2545 และครั้งที่ 11 เมื่ อวันที่ 18 สิงหาคม 2546 (12) ประชุมคณะที่ปรึ กษาผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ครั้งที่ 1/2545 เมื่ อวันที่ 9 ธันวาคม 2545 (13) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร (นายสมัคร สุ นทรเวช) มีคําสั่งแตงตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมื องรวม กรุง เทพมหานคร แทนคําสั่งเดิ ม ภายหลังมี การเปลี่ยนแปลงชื่อหน วยงานตามพระราชบัญญัติการปรับปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 (14) ประชุมคณะที่ปรึ กษาผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ครั้งที่ 1/2546 เมื่ อวันที่ 9 เมษายน 2546 (15) ปดประกาศกรุง เทพมหานคร เรื่อง เชิญ ชวนประชาชนแสดงข อคิด เห็ นในการวางและจัด ทํ า ผังเมื องรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรับ ปรุง ครั้ง ที่ 2) พรอมป ดประกาศร างแผนผังและขอกํา หนดผัง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในเขตทองที่ที่จะวางและจัดทําผังเมืองรวม ณ สถานที่ ราชการ ที่ชุ มชน และสาธารณสถาน ระหวางวันที่ 12–31 พฤษภาคม 2546 (เปนเวลาไมนอยกวา 15 วัน) (16) ลงโฆษณาประกาศกรุง เทพมหานคร เรื่ อง การวางและจั ดทําผัง เมื องรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) พรอมเชิญชวนประชาชนแสดงขอคิ ดเห็ นตอรางผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในหนังสือพิมพเดลินิวส มติชน และขาวสด ระหวางวันที่ 10–16 พฤษภาคม 2546 (เปนเวลาไมนอยกวา 7 วัน) (17) โฆษณาวิทยุกระจายเสียง เรื่อง การวางและจัดทําผังเมืองรวมใหประชาชนทราบ พรอมเชิญชวน ประชาชนแสดงขอคิดเห็นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในรายการ “ผังเมื องสนทนา” สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


6 ทางสถานีวิทยุ ขส.ทบ. คลื่น FM 102.0 เมกะเฮิ รตซ และรายการ “มิติขาว 90.5 ชวงวันนี้ ที่กทม.” ทางสถานี วิทยุกรมการพลังงานทหาร คลื่น FM 190.5 เมกะเฮิ รตซ (18) ประชุมประชาชนสัญจร (Road Show) เพื่อรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอรางผังเมืองรวม กรุ งเทพมหานคร ครอบคลุ มพื้ นที่ 50 เขต ประกอบด ว ย กลุมเจา พระยา บู รพา และรัต นโกสินทร เมื่ อวั นที่ 17 พฤษภาคม 2546 มีประชาชนเขารว มประชุ มประมาณ 1,252 คน และกลุมกรุง ธนเหนือ กรุง ธนใต และ ศรีนคริ นทร เมื่อวั นที่ 24 พฤษภาคม 2546 มีประชาชนเขารวมประชุมประมาณ 1,261 คน (19) จัดประชุมรับ ฟงขอคิดเห็นประชาชน ครั้งที่ 2 เพื่อการวางและจัดทําผังเมืองกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ณ ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย–ญี่ปุน) เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2546 มีประชาชน เขารวมประชุ มประมาณ 2,578 คน (20) ประชุมคณะที่ปรึ กษาผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ครั้งที่ 2/2546 เมื่ อวันที่ 14 สิงหาคม 2546 ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบรางกฎกระทรวงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) โดยใหนําขอเสนอแนะ ของคณะที่ปรึกษาผังเมื องรวมไปแกไขเพิ่ มเติ มในรายละเอี ยด และใหนํารางกฎกระทรวงผังเมืองรวมดัง กลาว เสนอตอกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะกรรมการผังเมื อง พิจารณาดําเนิ นการต อไป (21) ประชุ มคณะกรรมการกํา กับโครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุ ง ครั้งที่ 2) ครั้งที่ 6/2546 เพื่อสรุป การปรับแกไขรางกฎกระทรวงผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ตามโครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่ อวันที่ 18 สิงหาคม 2546 (22) ประชุมหารือกับกรมโยธาธิการและผังเมือง เรื่อง แนวทาง ขั้นตอนปฏิทิน และระยะเวลาในการ ดําเนินการพิจารณาเรื่องผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ของกรมโยธาธิ การและผังเมือง คณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการผังเมื อง เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2546 (23) ประชุมคณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง ครั้งที่ 14/2546 วาระเพื่อพิจารณาผังเมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ที่ประชุมมีมติ เห็ นชอบรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) โดยมีเงื่อนไขใหสํานักผังเมื อง กรุงเทพมหานคร นําขอเสนอแนะของคณะกรรมการฯไปปรับปรุงแกไขรางผัง เมืองรวมฯ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2546 (24) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาดานผังเมือง วาระเพื่อพิจารณาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่ อวันที่ 15 ตุลาคม 2546 (25) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาดานผังเมือง วาระเพื่อพิจารณาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในประเด็ นผังภาคมหานคร และกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล เมื่อวันที่ 7 พฤศจิ กายน 2546 (26) ประชุมคณะอนุ กรรมการพิจารณาดา นผังเมือง เพื่อพิจารณาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในประเด็ นขอกําหนดในร างผังเมืองรวม เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 ที่ประชุ มมี มติ เห็นชอบรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) และใหปรับแกไขตามขอเสนอแนะของ คณะอนุกรรมการฯ และนําเสนอคณะกรรมการผังเมื องตอไป สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


7 (27) ประชุมคณะกรรมการผังเมือง ครั้งที่ 11/2546 วาระเพื่อพิจารณารางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่ อวันที่ 26 พฤศจิ กายน 2546 ที่ประชุ มมี มติเห็นชอบรางผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) และดําเนินการในขั้นตอนปดประกาศ 90 วันต อไป (28) ผูอํานวยการสํานักผังเมืองลงนามในคําสั่งสํานักผังเมือง ที่ 105/2546 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน ดําเนินการจัดประชุ มและพิจารณาคําร องของผูมีสวนไดเสียในการปดประกาศเชิญชวนใหผู มีสวนไดเสียไป ตรวจดูแผนผัง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวั นที่ 9 ธันวาคม 2546 (29) สํานักผังเมืองจัดประชุ มผูแทนสํานั กงานเขตทุ กเขต เพื่อซั กซอมความเขาใจในการปดประกาศ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปดประกาศ 90 วัน) ณ หองประชุมสํานักผังเมือง โดยมีนายสุทธิชัย ทรรศสฤษดิ์ (รองปลัดกรุงเทพมหานคร) เปนประธาน เมื่ อวันที่ 22 ธันวาคม 2546 (30) ปดประกาศเชิญชวนใหผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูแผนผังและขอกําหนดของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) โดยกําหนดการปดประกาศเป นเวลา 90 วัน ในระหวางวันที่ 24 ธันวาคม 2546 ถึงวันที่ 22 มีนาคม 2547 ณ สาธารณสถานในเขตผังเมืองรวม จํานวน 162 แหง โดยมีผูวาราชการกรุง เทพมหานคร ลงนามในประกาศ และแผนผัง เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2546 (31) ลงโฆษณาประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง การปดประกาศเชิญชวนผูมีสวนได เสียไปตรวจดู แผนผังและขอกําหนดของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) พรอมเชิญชวนประชาชนยื่ นคํารอง ขอแกไข เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิ กรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในหนังสือพิมพขาวสด โพสตทูเดย คมชัดลึก เดลิ นิวส และมติชน ระหวางวันที่ 24 – 31 ธันวาคม 2546 (32) โฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง เรื่ อง การปดประกาศผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุง ครั้งที่ 2) ใหผูมีสวนไดเสียและประชาชนทราบ พร อมเชิญชวนประชาชนยื่นคํา รองขอแกไข เปลี่ยนแปลง หรือ ยกเลิกรางผังเมืองรวมฯ ในรายการ “ผังเมืองสนทนา” ทางสถานีวิทยุ ขส.ทบ. คลื่น FM 102.0 เมกะเฮิรตซ และโฆษณาประชาสัมพันธทางโทรทัศน ทางชอง 5 ชอง 9 และไอทีวี รวมถึงปายโฆษณาตามสถานที่ สาธารณะและริมถนนสายตางๆ ตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2546 – 22 มีนาคม 2547 (33) ขยายระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 ออกไปอีก 1 ป นายประมวล รุจนเสรี รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีวา การฯ ลงนามประกาศกฎกระทรวง กําหนดการขยายระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2547 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2547 มีผลให กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร เปนการขยายระยะเวลาครั้งที่ 1 วันสิ้นสุด การใชบังคับคือวันที่ 4 กรกฎาคม 2548 (34) หารือแนวทางการรางกฎกระทรวงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา มีหนังสือที่ นร 0901/0781 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2547 แจงวาคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 7) ไดมี ความเห็นในเรื่ องการกําหนดอัตราสวนของพื้ นที่อาคารรวมต อพื้นที่ดิน (FAR) เพื่อควบคุ มความหนาแนนของ การใชประโยชนที่ดิน และอัตราสวนของพื้นที่วา งตอพื้นที่อาคารรวม (OSR) เพื่อกําหนดพื้นที่โลงวางใหสัมพันธ สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


8 กับจํานวนประชากรในอาคาร ผลการพิจารณาสรุปไดวา สามารถกําหนดไวในกฎกระทรวงผังเมืองรวมได เนื่องจากเป นเพียงการกําหนดวิธีดําเนิ นการเพื่ อปฏิบตั ิตามวัตถุป ระสงคของผังเมืองรวมตามมาตรา 17 (5) แหงพระราชบัญญัติ การผังเมื องฯ ซึ่งเปนบทบัญญัติที่ใหฝายบริหารมีอํา นาจกําหนดนโยบาย มาตรการและ วิธีดําเนินการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุป ระสงคของผังเมืองรวมและสอดคลองกับเจตนารมณของกฎหมายวาดว ย การผังเมือง (35) ประชุมคณะที่ปรึ กษาผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ครั้ง ที่ 1/2547 โดยมี นายสมั คร สุนทรเวช (ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร) เปนประธาน เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2547เพื่อพิจารณาคํารองของ ผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ภายหลังปดประกาศ 90 วัน ที่ประชุ มมีมติ 1.เห็นชอบใหป รับแก ขอกําหนดใหใชประโยชนที่ดิ น ยกเลิกแนวถนนโครงการ 5 สาย เปลี่ยนแปลงการใชป ระโยชนที่ดิ นบาง บริเวณ ตามขอเสนอของสํานักผังเมือง ยกเวนเรื่องความกวางของเขตทางสาธารณะใหลดขนาดเขตทาง สาธารณะจาก 10 16 และ 30 เมตร ตามขอเสนอของสํานั กผังเมือง เป น 10 12 และ 20 เมตร และ เปลี่ยนอัต ราสวนพื้นที่วางตอพื้นที่อาคารรวม (OSR) เป นระบบร อยละใหส อดคลองกับ กฎหมายวาดวยการ ควบคุมอาคาร 2.เห็ นชอบใหเสนอคํา รองของผูมีสวนไดเสีย พร อมขอคิด เห็ นของคณะที่ ปรึ กษาผังเมืองรวม กรุง เทพมหานคร เขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการผังเมื อง โดยใหสํานั กผังเมืองปรับแก รายละเอี ยดของ ขอความและแผนที่ใหถูกต องสมบู รณกอน (36) ประชุมคณะกรรมการดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง วาระเพื่อพิจารณาคําร องของ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่ อวันที่ 6 พฤษภาคม 2547 (37) ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ครั้งที่ 5/2547 วาระเรื่องคํารองผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวั นที่ 19 พฤษภาคม 2547 (38) ประชุ มคณะกรรมการผังเมื อง ครั้งที่ 6/2547 วาระเพื่ อพิจารณาคํารองผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับ ปรุง ครั้ง ที่ 2) โดยมีนายฐิระวัต ร กุล ละวณิ ชย (รองปลัด กระทรวงมหาดไทย) เป นประธานที่ ป ระชุ ม เมื่ อวันที่ 8 มิ ถุนายน 2547 (39) คณะกรรมการผังเมือง ไดมีมติในการประชุมครั้งที่ 6/2547 เมื่อวันที่ 8 มิ ถุนายน 2547 รับทราบ และเห็นชอบผลการประชุมของคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ กรณีการพิจารณาคํารองของผูมีสวนไดเสีย ที่รองขอใหแกไข เปลี่ยนแปลง หรื อยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิ นของผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับ ปรุง ครั้ง ที่ 2) โดยมี การแกไข เปลี่ ยนแปลงการใช ประโยชนที่ดิ น ขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิ น และ ยกเลิกแนวถนนโครงการจํานวน 1 สาย สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานครไดดําเนินการปรับแกไขรางกฎกระทรวง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ตามมติคณะกรรมการผังเมืองเรียบรอยแลว และไดสงราง กฎกระทรวงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับแกไข) พรอมขอมูลประกอบการชี้แจง เพื่อกรมโยธาธิการและ ผังเมืองดําเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายตอไป เมื่อเดือนมิถุนายน 2547 (40) ประชุมคณะกรรมการพิจารณารางกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย วาระเพื่อพิจารณารางกฎกระทรวง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2547 ที่ประชุมมีมติให กรมโยธาธิ การ สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


9 และผังเมือง และกรุงเทพมหานคร รับขอสังเกตของคณะกรรมการพิจารณารางกฎหมายฯ (1.ฐานอํานาจตาม กฎหมายในการกําหนดหามสรางบานแฝดในที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (ย.1) และ 2.การกําหนดให เจาของที่ดิ นที่ประสงคจะใชประโยชน ที่ดินในกิจการรองตองแจงต อเจาพนั กงานทองถิ่นกอน) ไปรวมกั นพิจารณา ดําเนินการ รวมทั้งใหต รวจสอบรางกฎกระทรวงดังกลาวใหถูกตองและสอดคลองกันทั้งฉบับอีกครั้ง หนึ่งแลว จึงเสนอรางกฎกระทรวงดังกลาวตอไป (41) สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ประสานกับกรมโยธาธิการและผังเมือง เพื่อจัด ทําความเห็น เกี่ยวกับประเด็นขอสังเกตของคณะกรรมการพิจารณารางกฎหมายฯ 2 ขอ คือ ขอ 1.ฐานอํานาจตาม กฎหมายในการกําหนดหามสรางบานแฝดในที่ดินประเภทที่ อยูอาศั ยหนาแนนน อย และขอ 2.การกํา หนด มาตรการใหเจาของที่ดิ นที่ประสงคจะใชประโยชนที่ดิ นในกิจ การรองตองแจงตอเจาพนั กงานท องถิ่นกอน และ ไดสงรางกฎกระทรวงใหใชบงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. …. ใหกรมโยธาธิการดําเนินการในขั้นตอน กฎหมายตอไป เมื่อวันที่ 22 กั นยายน 2547 (42) กระทรวงมหาดไทย ไดมีหนังสือที่ มท 0706/12729 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2547 เรียน เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี เรื่ องเสนอรางกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... มาเพื่อดําเนิ นการ (43) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีหนังสือดว นที่สุด ที่ นร.0503/(คกก.7)/589 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 เรียนผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อขอไดโปรดสงผูแ ทนไปชี้แจงเกี่ยวกับรางกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... ตอคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐ มนตรี คณะที่ 7 (ฝายกฎหมายฯ) ในวันพุธที่ 1 ธันวาคม 2547 ไดพิจารณาประเด็ นในรางกฎกระทรวงฯ แลวมี ความเห็ น เกี่ ยวกับข อกฎหมายที่ ระบุวา “ขอ 38 (1) ให เจา ของหรื อผูค รอบครองที่ ดินที่ ป ระสงค จ ะใช ที่ดิน เพื่ อ กอสรางอาคารหรื อประกอบกิจ การที่ต องขออนุ ญาตหรื อตองแจงต อเจา พนั กงานตามกฎหมาย ใหแ จ ง การ ใชประโยชนที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตอเจาพนักงานทองถิ่น ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กรุงเทพมหานครกําหนด” นั้น พระราชบัญญัติการผังเมืองไมไดใหฐานอํานาจไว สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี จะดําเนินการทบทวนประเด็นนี้กับคณะกรรมการกฤษฎีกาอี กครั้งหนึ่ง กอนนําเขาเสนอคณะรัฐ มนตรี ตอไป (44) กรมโยธาธิ การและผังเมื อง มีหนั งสือดว นที่สุ ด ที่ มท 0706/1850 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2548 เรี ยน ปลัดกรุ งเทพมหานคร เรื่ อง การประกาศกฎกระทรวงขยายระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวม มาเพื่ อ โปรดทราบ และแจงใหหนวยงานที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติตอไป พรอมไดสงสําเนากฎกระทรวงกําหนด การขยายระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวม พ.ศ. 2548 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุ เบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 122 ตอนที่ 18 ก วันที่ 24 กุมภาพันธ 2548 มาดวยนั้น การประกาศกฎกระทรวงกําหนดการขยาย ระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวม พ.ศ. 2548 ไดมีผลใหผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) (ลําดับที่ 14) ขยายระยะเวลาการใชบังคับเปนครั้ง ที่ 2 ออกไปอีกหนึ่งปนับแตวันถัดจาก วันสิ้นสุดการใชบังคับครั้งที่ 1 คือสิ้นสุดการใชบังคับในวันที่ 4 กรกฎาคม 2549

สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


10 (45) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหนังสือ ที่ นร 0906/ป 676-7 ลงวันที่ 28 เมษายน 2548 เรียน ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เรื่อง ขอเชิญผูแ ทนไปรวมชี้แจงขอเท็จจริงกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. …. ในที่ประชุมคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 7) ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2548 (46) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มี หนังสื อ ที่ นร 0906/ป 878-23 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2548 เรี ยน ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร เรื่ อง ขอเชิญผูแ ทนไปรว มชี้ แจงข อเท็จจริง กฎกระทรวงให ใ ช บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. …. (สืบเนื่องจากการประชุมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2547) ในที่ประชุม คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 7) ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2548 (47) ประธานคณะกรรมการการโยธาและผังเมือง ได มีหนังสือที่ กท 0100.1/1423 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม 2548 เรียน ผูอํานวยการสํานั กผังเมือง เรื่องขอเชิญประชุมชี้แจงความคืบหนาการจัดทําผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร ในที่ประชุมคณะอนุกรรมการการโยธาและผังเมือง ชุดที่ 5 โดยมีนายวิชัย หุตังคบดี เปนประธาน ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2548 (48) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหนังสือ ที่ นร 0901/0783 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2548 เรี ยน ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร เรื่ อง รางกฎกระทรวงให ใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. …. แจงวา บันทึกตีความปญหาขอกฎหมายเกี่ยวกับขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินในรางกฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 7) ไดพิจารณาขอหารือดัง กลาว แลวเห็นวา ถือไดวาการกําหนดดัง กลาวเปนมาตรการเพื่อปฏิบัติตามวัต ถุประสงคของผังเมืองรวมตามมาตรา 17 (5) แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่ มเติ มป พ.ศ. 2535 … โดยกรุงเทพมหานครควรที่ จะกําหนดเรื่องดัง กลาวไวใหชัดเจนในกฎกระทรวง (49) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีหนังสือดว นที่สุด ที่ นร.0503/(คกก. 6.2)/10595 ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2548 เรียนผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อขอไดโปรดสงผูแ ทนไปชีแ้ จงเกี่ยวกับรางกฎกระทรวงใหใช บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... ตอคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐ มนตรี คณะที่ 6.2 (ฝายกฎหมายฯ) ในวันพุธที่ 10 สิงหาคม 2587 และปลัดกรุงเทพมหานครมอบผูอาํ นวยการสํานักผังเมืองและ ผูเกี่ยวของเปนผูแ ทนกรุงเทพมหานคร เพื่อชีแ้ จงคณะกรรมการกลั่นกรองฯ แลวรายงานผลใหทราบ (50) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มี หนังสือดวนที่สุด ที่ นร.0503/11504 ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2548 เรียนผูวาราชการกรุงเทพมหานคร แจงวา คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6.2 (ฝายกฎหมายฯ) ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) เปนประธาน มีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวง ผังเมือรวมกรุงเทพมหานครตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา โดยใหรบั ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 7 ไปประกอบการพิจารณา (51) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มี หนังสือ ที่ นร 0906/ป 1466 ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2548 เรียน ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เรื่อง ขอเชิญผูแทนไปรวมชี้แจงรายละเอียด และปลัดกรุง เทพมหานคร มอบหมายใหเจ าหนาที่ เกี่ ยวของเขา รว มชี้แจงกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. …. สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


11 ในวันศุกร ที่ 14 ตุลาคม 2548. ณ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยเขารวมชี้แจงรวมกับ เจาหนา ที่กรม โยธาธิการและผังเมือง (52) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มี หนังสือ ที่ นร 0906/ป 1524 ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2548 เรี ยน ผูแทนกรุง เทพมหานครและเจา หนาที่ ที่เกี่ ยวข อง เรื่ อง ขอเชิญประชุ มเพื่ อพิ จารณารางกฎกระทรวง และรายละเอียดของแผนผังและรายการประกอบแผนผัง ในวันที่ 17 ตุลาคม 2548 ถึงวันที่ 21 ตุลาคม 2548 ณ สํานั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (53) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรียนเชิญประชุมผูแทนกรมโยธาธิการและผังเมือง และผูแ ทน กรุงเทพมหานคร เขารวมประชุมตรวจแกไขรางกฎกระทรวง ในวันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน 2548 ณ สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา (54) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรียนเชิญผูแทนกรมโยธาธิการและผังเมืองและผูแทนกรุงเทพมหานคร เขารวมประชุ มตรวจแกไขรางกฎกระทรวง ในวันที่ 15 ธันวาคม 2548 ณ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (55) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประชุมแกไขรางกฎกระทรวงฯ โดยมีผแู ทนกรุงเทพมหานคร เขารวมประชุ มตรวจแกไขรางกฎกระทรวง ในวันอังคารที่ 17 มกราคม 2549 ณ สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา (ประชุ มนอกรอบ) (56) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรียน เชิญประชุมผูแ ทนกรมโยธาธิการและผังเมือง และผูแ ทน กรุงเทพมหานคร เขารวมประชุมตรวจแกไขรางกฎกระทรวง ในวันศุกร ที่ 3 กุมภาพั นธ 2549 ณ สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา (57) สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดจัดสัมมนาทางวิชาการเพื่อเพิ่ มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ดานผังเมือง ในการเตรียมความพรอมใหขาราชการสํานักผังเมืองกอนประกาศกฎกระทรวงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) วันที่ 19-21 มกราคม 2549 ณ หองประชุ มโรงแรมเฟลิกซ ริเวอรแคว รีสอร ท อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี (58) สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการตามโครงการเสริ มสรางความรู ในการดํา เนิ นงานภาคปฏิบัติใหเป นไปตามผังเมื องรวมกรุง เทพมหานคร รุ นที่ 1 ฝายโยธาเขต และสํา นั ก การโยธา กรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่ 30 มกราคม 2549 - 1 กุมภาพั นธ 2549 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พารค สวีท และภูพิมานรีสอรท อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา (59) สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการตามโครงการเสริ มสรางความรูใน การดําเนิ นงานภาคปฏิบัติใหเปนไปตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร รุนที่ 2 ฝายสิ่งแวดลอมเขตและ หนวยงานที่เกี่ ยวของของกรุง เทพมหานคร ระหวางวันที่ 6-10 กุมภาพั นธ 2549 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พารค สวีท และภูพิมานรีสอรท อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา (60) สํานักผังเมืองไดดําเนินการแกไขแผนที่ แผนผังทายกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... ใหเปนไปตามมติที่ป ระชุมสํานั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เสร็จเรี ยบรอยแลว สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


12 จึงไดมีหนังสือดวนมากที่ กท 1704/455 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2549 นําเรี ยนผูวาราชการกรุง เทพมหานคร ในฐานะเจาพนักงานท องถิ่นเพื่ อโปรดลงนามในแผนที่แผนผังทายกฎกระทรวงฯ ดังกลาว (61) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มี หนั งสือ ดว นที่สุด ที่ นร 0906/107 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2549 เรี ยน ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร เรื่ อง รา งกฎกระทรวงใหใชบังคับผัง เมืองรวมกรุง เทพมหานคร พ.ศ. .... แจงวา สํา นั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาไดต รวจพิจ ารณาร างกฎกระทรวงดัง กลาวเสร็ จ แล ว ขอใหผูวาราชการกรุงเทพมหานครแจงยืนยันความเห็ นชอบในรางกฎกระทรวงที่ผานการตรวจพิจารณาแลว เพื่ อสํานั กงานฯ จะไดดํา เนิ นการต อไป (62) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหนังสือดวนที่สดุ ที่ นร 0906/114 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2549 เรียน ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เรื่อง รางกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... พรอมสงรางกฎกระทรวงดังกลาวที่ต รวจพิจารณาแลวมาดวย แจงวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได ตรวจพิจารณารางกฎกระทรวงดังกลาวเสร็จแลว และขอใหกรุงเทพมหานครประสานกับสํานั กเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีโดยตรง (63) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สํานักนิติธรรม) มีหนังสือที่ นร. 0503/4499 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2549 เรียน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง รางกฎกระทรวงผังเมื องรวมใหใชบังคับผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... แจงวา ตามที่สํานักเลขาธิการคณะรัฐ มนตรีไดสงรางกฎกระทรวงดังกลาวให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐ มนตรี คณะที่ 6.2 (ฝายกฎหมายฯ) และสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดตรวจพิจารณารางกฎกระทรวงดังกลาว เสร็จแลว จึงขอใหโปรดพิจารณาลงนาม เพื่อประกาศในราชกิจจานุ เบกษาตอไป (64) กรมโยธาธิการและผังเมือง (กองนิติการ) มีหนังสือที่ มท 0706/2466 ลงวันที่ 4 เมษายน 2549 เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร พ.ศ. 2549 เพื่อ เสนอรัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทยลงนามในกฎกระทรวง และลงนามในหนังสือถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่ อดําเนิ นการประกาศในราชกิจจานุ เบกษาต อไป ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยไดลงนามในกฎกระทรวงฯ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2549 (65) ประกาศกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ในราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา เลม 123 ตอนที่ 48 ก.ลงวันที.่ 16 พฤษภาคม 2549

สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


13

1.4

ขอบเขตการวางผังเมืองรวม

การวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ครอบคลุมเขตการปกครองทัง้ 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร รวมพื้นที่ 1,568.787 ตารางกิโลเมตร โดยมีขอบเขตดังนี้ (แผนผังที่ 1–1) ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต ทิศตะวันตก

จดแนวเขตจังหวัดนนทบุรี และจังหวัดปทุมธานี จดแนวเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา จดแนวเขตจังหวัดสมุทรปราการ และอาวไทย จดแนวเขตจังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครปฐม

ทั้งนี้ ขอบเขตการศึกษาวิเคราะหเพื่อการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2) ยังครอบคลุมพื้นที่ตอเนื่องในปริมณฑล ไดแก จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และนครปฐม ตามความจําเปนของการศึกษาวิเคราะหในแตล ะด า นที่ มีค วามสั มพั นธ กับ กรุ ง เทพมหานคร โดยได มุง เน น การศึกษารายละเอียดดานตางๆ ในเขตวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเปนสําคัญ

สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


14 แผนผังที่ 1–1 ขอบเขตการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

สวนที่ 1 ความเปนมาของการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 2)


สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนา กรุงเทพมหานครและปริมณฑล นโยบายการพัฒนาของภาครัฐในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนากรุงเทพมหานครมี หลายระดั บ ตั้ ง แต ระดั บ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ แผนพั ฒ นาภาคมหานคร นโยบายของรั ฐ บาลป จ จุ บั น นโยบายของกรมโยธาธิการและผังเมือง ผังเมืองรวมในกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑล จนถึ ง ระดั บ ท องถิ่ น ไดแก นโยบายการพัฒนาเมืองตามแผนพั ฒ นากรุ ง เทพมหานคร วาระแห ง กรุ ง เทพมหานคร และนโยบาย ผูบริหารกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ เกี่ ยวข องกั บ การพั ฒ นากรุ ง เทพมหานครในระดั บ ต า งๆ มี รายละเอี ยด พอสังเขปดังนี้

2.1

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในระยะแรกของการพั ฒ นาประเทศโดยอาศั ย แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ได ใ ห

ความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานโดยเฉพาะอยางยิ่ ง ระบบการคมนาคมและชลประทาน แต การ พัฒนาเมืองและท องถิ่ นไม ว า จะเป นนครหลวงหรื อเมื องอื่ นๆ ในประเทศไทยยั ง มิ ไ ด รับ การพิ จ ารณาให มี ความสําคัญเรงดวนแตประการใด นโยบายการพั ฒ นาเมื องได เริ่ มมี การกํ า หนดที่ ชั ด เจนในแผนพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515–2519) โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวของกั บ การพั ฒ นา นครหลวงไดมุงเนนถึงโครงการผังเมืองที่จะมีผลตอการควบคุมการขยายตัวของจํานวนประชากรโดยการอพยพ จากชนบทและจากเมืองตางๆ เขาสูเขตนครหลวง สวนการพัฒนาเมืองนอกนครหลวงนอกจากการดํ า เนิ นการ เพื่อใหมีเมืองใหมเพื่อเปนเมืองบริวารของนครหลวงแลว ยังไดมีนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมของนครหลวง กับเมืองตางๆ ของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520–2524) ไดกําหนดนโยบายการพั ฒ นา เมื องหลั กและการปรั บ ปรุ ง กรุ ง เทพมหานคร โดยในแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 5 (พ.ศ. 2525–2529) ได กํา หนดผั ง เค า โครงกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑลโดยได กํ า หนดบทบาทให กรุงเทพมหานครเปนเพียงศูนยกลางดานวัฒนธรรม การบริหารประเทศ การบริการ และการผลิ ต เฉพาะที่ ต อง ใชแรงงานระดับฝมือและเทคโนโลยีขั้นสูงเทานั้น สวนจังหวัดปริมณฑลจะมีบทบาทในการรองรั บ การกระจาย การผลิ ต และพั กอาศั ยออกจากกรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง จะช ว ยป องกั นการขยายตั ว ของประชากรที่ มุง เข า สู กรุงเทพมหานครไดอีกทางหนึ่ง อยางไรก็ตาม ดวยสภาพการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานครซึ่ ง ยั ง คงเป นไป อย า งต อเนื่ อง แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 6 (พ.ศ. 2530–2534) จึ ง ได ป รั บ เปลี่ ย น แนวความคิดในการควบคุมการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานครมาเปนการจั ด การการเจริ ญ เติ บ โต โดยการ สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


16 จําแนกพื้นที่เปาหมายเปน 4 บริเวณคือ พื้นที่ศูนยกลางธุรกิจชั้นใน พื้นที่ชานเมืองที่กําลังขยายตัวอยางรวดเร็ ว พื้นที่ยานอุตสาหกรรม และแหลงเกษตรกรรมที่ สํ า คั ญ บริ เวณรอบนอก ทั้ ง นี้ แผนพั ฒ นากรุ ง เทพมหานคร และปริมณฑลไดมุงเนนการประสานการใชมาตรการดานการลงทุนขยายโครงขายบริการพื้นฐาน ประกอบกั บ การใชมาตรการทางผังเมือง พรอมทั้งการพัฒนาเมืองศูนยกลางความเจริ ญ ในภู มิภ าค และการพั ฒ นาพื้ นที่ บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535–2539) ไดกําหนดการพัฒนาภาคมหานคร และเขตเศรษฐกิจใหม โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนาโครงข า ยบริ การพื้ นฐานเพื่ อเป นแกนนํ า การขยายตั ว และ การใชที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให เป นไปในทิ ศ ทางที่ เหมาะสมเป นระเบี ยบ และสามารถ เชื่อมโยงเป นระบบเข า กั บ การพั ฒ นาพื้ นที่ บ ริ เวณชายฝ ง ทะเลตะวั นออก โดยการวางแผนการแก ป ญ หา การขาดแคลนบริ การพื้ นฐานและพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสภาพแวดล อมของเมื อ ง ตลอดจนการเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภ าพระบบการบริ การและกํา หนดเป า หมายการพั ฒ นาเป นกลุ มพื้ นที่ หลั ก ได แ ก ภาคมหานคร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่และแนวเชื่ อมต อระหว า งกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑลและพื้ นที่ บ ริ เวณชายฝ ง ทะเล ตะวันออก ประกอบกับพื้นที่แหลงอุตสาหกรรมของภาคกลางตอนบนโดยมีสระบุรีเปนศูนยกลาง การพัฒนาพื้นที่ภาคมหานครโดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540–2544) ไดกํา หนดแนวทางการดํ า เนิ นการซึ่ ง ครอบคลุ มพื้ นที่ กรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑล ชุ มชนชายฝ ง ทะเล ตะวันออกชุมชนอนุภาคกลางตอนบนและชุมชนอนุภาคตะวันตก เพื่ อให เป นฐานเศรษฐกิ จ ที่ เกื้ อหนุ นซึ่ ง กั น และกันอย า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ โดยมี การกํ า หนดแนวทางการขยายตั ว ของกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑล ตลอดจนการมีการประสานการจัดการใชประโยชนที่ดินและการลงทุนโครงขายโครงสรางพื้นฐานทีส่ อดคลองกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของฐานการผลิตหลักของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในภาคมหานคร แนวนโยบายการพัฒนาตางๆ ดังกลาวขางตนไดประมวลและบรรจุอยูในยุทธศาสตรการปรับโครงสร า ง การพัฒนาชนบทและเมืองอยางยั่งยืนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) โดยในแนวทางการพัฒนาด ว ยการสร า งความเข มแข็ ง ของชุ มชน และการพั ฒ นาเมื องน า อยู ชุ มชนน า อยู เพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาที่เนนหลักการมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ควบคูไปกับการพัฒนาเมืองนาอยูและชุ มชนน า อยู ที่อาศั ยความเข มแข็ ง ของชุ มชนและการมี ส ว นร ว มจาก ทุกภาคสวนในสังคม รวมพลังพัฒนาใหเมืองและชนบทมีความสงบ สะดวก สะอาดปลอดภั ย มี ระเบี ยบวิ นัย มีเศรษฐกิจฐานรากทีเ่ ขมแข็งประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี วิถีชีวิตดี มีความสุข สวนแผนพัฒนาภาคมหานครตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พิจารณาไดในแผนผังที่ 2–1

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


17 แผนผังที่ 2–1 แผนพัฒนาภาคมหานครตามแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


18

2.2

แผนพัฒนาภาคมหานคร

การพั ฒ นาภาคมหานครและเขตเศรษฐกิ จ ใหม โ ดยเฉพาะพื้ นที่ กรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑล เพื่อใหเกิดการเชื่อมตอกับพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ประกอบดวยการดําเนินการตามแนวทางต า ง ๆ ไดแก (1) การจัดการใชที่ดินและสิ่งแวดลอมในเขตมหานคร โดยการใชผังเคาโครงการพัฒนาภาคมหานคร และผังเมืองรวมของแตละชุมชนเมืองใหเปนแผนชี้นําการพัฒนาที่ดินและขยายระบบโครงข า ยบริ การพื้ นฐาน การเพิ่มการใชประโยชนพื้นที่วางเปลาในเมือง การกําหนดเขตสงเสริมและควบคุมการขยายตัวของอาคารสู ง การอนุรักษและปรับปรุงฟนฟูเมือง และการสงเสริมใหมีสถานที่ พักผ อนหย อนใจ นอกจากนี้ ยัง ได ส ง เสริ มให มีการพัฒนาระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ยและกํ า จั ด มู ล ฝอยสํ า หรั บ ชุ มชน รวมทั้ ง เร ง รั ด การออกกฎหมายบั ง คั บ ใช มาตรฐานน้ําทิ้งชุมชนและใชใหเกิดผลในการปฏิบัติ (2) การพัฒนาโครงขายบริการพื้ นฐาน ประกอบด ว ย การส ง เสริ มระบบขนส ง มวลชนสาธารณะ การประสานระบบทางดวนใหสัมพันธและสอดคลองกับ โครงข า ยระบบถนนท องถิ่ น และเร ง รั ด การก อสร า ง สถานีขนสงสินคาชานเมือง ประกอบดวย การพัฒนาระบบทางด ว นระหว า งเมื อง การพั ฒ นาท า อากาศยาน พาณิชยสากลแหงที่ 2 และการขยายบริการระบบสื่อสารใหสามารถใหบริการไดอยา งพอเพี ยงและมี คุ ณ ภาพ ที่ไดมาตรฐาน การเรงรัดการดํา เนิ นงานตามแผนการป องกั นน้ํ า ท ว มให เป นระบบที่ ถาวร ตลอดจนการเร ง ขยายโครงขายบริการประปาในพื้นที่ชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ การดําเนินการจะมุงเนนการประสานความร ว มมื อระหว า งภาครั ฐ และประชาชนในการ จัดการดานผังเมืองอยางเป นระบบและเกิ ด ประสิ ทธิ ผ ลในทางปฏิ บั ติ ค วบคู ไ ปกั บ การส ง เสริ มให ทองถิ่ นมี บทบาทหลักในการพัฒนาและการจัดทํางบประมาณอยางมีขั้นตอน

2.3

นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน

จากคําแถลงนโยบายของคณะรัฐ มนตรี คณะที่ 54 โดยพั นตํารวจโททั กษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดแถลงตอรัฐสภา เมื่อวันจันทร ที่ 26 กุมภาพั นธ 2544 ในสวนที่เกี่ยวของกับ นโยบายขอ 16. นโยบายพัฒนา ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร ในดานการพั ฒนากรุงเทพมหานครไดใหนโยบายไวดังนี้ (1) สนับสนุนการกําหนดรูปแบบและโครงสรางใหมของเมืองหลวง โดยการวางแผนการใชประโยชน ของพื้นที่ในกรุงเทพมหานครใหมีความชัดเจน รวมทั้งพัฒ นาเครื อขายเพื่อเชื่อมโยงการใหบริ การสาธารณะ อยางเปนระบบ (2) สงเสริมและสนับสนุ นการบริหารราชการสว นท องถิ่ นของกรุง เทพมหานคร ให มีความคลองตั ว และเปนอิสระจากราชการสวนกลางมากขึ้น ทั้งดานงบประมาณ การกําหนดนโยบาย และการบริหารจัด การ (3) เร ง รั ด และสนั บสนุ นการสร า งงานสร า งรายได เพื่ อยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ตของประชาชนใน กรุ ง เทพมหานคร ด ว ยการแก ไขปญ หาชุ มชนแออั ด อย างเป นระบบ ทั้ ง ด า นการจั ด หาที่ อยู อาศั ยและสร าง สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


19 แหลงงาน การจัดการศึกษา การสาธารณสุข การฟนฟูและรักษาสิง่ แวดลอมการปองกันและบรรเทาอาชญากรรม และสาธารณภัย รวมทั้งการป องกันปราบปรามยาเสพติด (4) สงเสริมการจัดระบบขนสงมวลชนใหเชื่อมโยงเปนโครงขายอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพ การใหบริการของระบบขนสงมวลชน และประสานการกอสรางระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานใหสอดคลองอยาง เปนระบบกับทิศทางการพั ฒนาเมืองและการผังเมื อง

2.4

นโยบายของกรมโยธาธิการและผังเมือง

นโยบายของกรมโยธาธิ การและผังเมื อง มี 2 สวนที่สําคัญ คื อ การใชบังคับผังเมืองรวมในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และการมอบนโยบายและแนวทางใหกรุงเทพมหานครในฐานะเจาพนักงานทองถิ่นนําไปวิเคราะห เพื่อวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ดังนี้

2.4.1 ผังเมืองรวมในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การประกาศใหใชบังคับผังเมืองรวมโดยอาศัยอํานาจแหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ใน พื้นที่ กรุง เทพมหานครและปริ มณฑลนอกเหนือจากผังเมื องรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้ง ที่ 1) ซึ่ ง ได ประกาศใหใชบังคับโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ยังมีผังเมื องรวมในเขตพื้นที่จังหวัดปริ มณฑล ทั้งที่ไดประกาศใชบังคับในปจจุบันและอยูในระหวางขั้นตอนการดําเนินการ ประกอบดวย (1) จังหวัดนนทบุรี : ในเขตพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ได มีผังเมืองรวมเมืองนนทบุ รี ซึ่งประกาศใชบังคับ และได มีการขยายระยะเวลาการใชบังคับ จนกระทั่งสิ้ นสุด ระยะเวลาการใชบังคับในป พ.ศ. 2540 โดยเป น ผังเมืองรวมที่ครอบคลุ มเฉพาะบางพื้ นที่ของจังหวัด ปจจุบันกรมโยธาธิ การและผังเมืองไดดําเนินการวางและ จัดทําผังเมื องรวมเมื องนนทบุ รี (ปรับปรุงครั้งที่ 1) ซึ่งครอบคลุ มพื้นที่ทั้งจังหวัด โดยมีสาระสําคัญประกอบดวย การให ชุ มชนเมื องเป นศู นย กลางการบริ หารราชการ การปกครอง การค าและบริ การของจัง หวัด นนทบุ รี การสงเสริมการพั ฒนาดานที่อยู อาศัย การพาณิช ยกรรม และอุตสาหกรรมใหสัมพันธกับการขยายตัวของ ชุมชน การพัฒนาระบบโครงขายการคมนาคมขนสงใหสอดคลองกับการใชประโยชน ที่ดนิ และระบบโครงขาย การคมนาคมขนสงของกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล การพัฒ นาการบริการทางสังคม การสาธารณู ปโภค และสาธารณูปการใหเพียงพอและไดมาตรฐาน และการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของจังหวัด (2) จังหวัดปทุมธานี : ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุ มธานี ไดมีการวางและจัดทําผังเมืองรวม 4 บริเวณ ไดแก ผังเมืองรวมเมืองปทุ มธานี ผัง เมื องรวมชุ มชนประชาธิปต ย –คลองหลวง ผังเมื องรวมชุ มชนคูคต และ ผังเมืองรวมเมืองธัญบุ รี–หนองเสือ–คลองหลวง ผังเมืองรวมเมืองปทุมธานี ระยะหลังจากการสิ้นสุดระยะเวลาการใชบังคับโดยกฎกระทรวงในป พ.ศ. 2535 ไดมกี ารดํา เนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมเมืองปทุ มธานี (ปรับปรุงครั้งที่ 1) โดยมีสาระสําคัญ ประกอบดว ยการใหชุมชนเมื องเปนศู นย กลางการคา การบริการ อุตสาหกรรมการผลิต และเปนศูนยกลางการ สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


20 บริหารราชการ และการปกครองของจังหวัด การสงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัยในชุมชนใหสอดคลองกับ นโยบายการชะลอความเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร การพัฒนาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการใหเพี ยงพอและได มาตรฐานและการอนุ รักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผังเมืองรวมชุมชนประชาธิปตย–คลองหลวง เปนผังเมืองรวมซึ่งไดระบุสาระสําคัญในการใหชุมชน เมืองเปนศูนยกลางการคา การบริการ อุตสาหกรรมการผลิต และการศึกษาในระดับสูง การสงเสริมการพัฒนา ดานที่อยูอาศัยในชุมชน ใหสอดคลองกับนโยบายการชะลอความเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร การพัฒนา การบริ การทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูป การให เพี ยงพอและได มาตรฐาน และการอนุ รั กษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผังเมืองรวมชุ มชนคูคต เปนผังเมืองรวมซึ่ง มีสาระสําคัญประกอบดวย การสงเสริ มชุมชนเมื องให เปนศูนยกลางการคา การบริการ และอุตสาหกรรมการผลิต การสงเสริมการพั ฒนาดานที่อยู อาศัยในชุ มชน ใหสอดคลองกับนโยบายการชะลอความเจริ ญเติ บโตของกรุงเทพมหานคร การสงเสริ มและพัฒนา การบริ การทาง สังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหเพี ยงพอและได มาตรฐาน และการอนุ รักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ผั ง เมื องรวมเมื องธั ญ บุ รี–หนองเสื อ–คลองหลวง ซึ่ ง อยู ใ นระหว า งขั้ นตอนการดํา เนิ นการ ประกอบดว ยสาระสําคัญ ไดแก การใหชุ มชนเมืองเปนศูนยกลางการบริหารราชการ การปกครอง การคาและ บริการในระดับอําเภอ การสงเสริ มการพัฒ นาดานที่อยูอาศั ย การพาณิชยกรรมใหสอดคลองกับโครงสรางทาง เศรษฐกิจ สังคม และการขยายตัวของชุมชน การพัฒนาบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให เพี ยงพอและได มาตรฐาน และการอนุ รักษ ทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล อม ตลอดจนการควบคุ ม สภาพแวดลอมใหเหมาะสม (3) จังหวัดสมุทรปราการ : ผังเมืองรวมเมื องสมุทรปราการ (ปรับปรุงครั้งที่ 1) เปนผังเมื องรวมที่ ครอบคลุมพื้ นที่ ทั้งจังหวัด และไดระบุถึงสาระสําคัญประกอบดวย การสงเสริมและพัฒ นาชุมชนเมื องใหเปน ศูนยกลางการคา การบริหาร และการปกครองของจังหวัด การสงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัย พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับ การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน การพัฒนาการบริ การ ทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหเพียงพอและไดมาตรฐาน และการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (4) จังหวัดสมุทรสาคร : ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุ ทรสาครได มีผังเมื องรวมที่ไดมีการใชบังคับโดย กฎกระทรวงจํา นวน 2 ผัง ไดแก ผังเมื องรวมสมุ ทรสาคร และผังเมื องรวมเมื องกระทุ มแบน นอกจากนี้ ยัง มี ผังเมืองรวมชุ มชนบานแพว ซึ่งอยูในระหวางขั้นตอนการดําเนินการ สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


21 ผังเมืองรวมเมืองสมุ ทรสาคร ไดระบุถึงสาระสําคัญประกอบดวย การสงเสริมชุมชนเมืองใหเป น ศูนยกลางการบริหาร การปกครอง และพาณิชยกรรมของจังหวัด การสงเสริ มอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของกับธุรกิจการประมง การสงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรมใหสัมพันธ กับการพัฒนา อุตสาหกรรม การพัฒนาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหเพียงพอและไดมาตรฐาน และการอนุ รักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผังเมืองรวมเมืองกระทุมแบน ได ระบุ ถึงสาระสําคัญ ไดแก การสงเสริมและพั ฒนาชุมชนใหเป น เขตอุตสาหกรรมรองจากชุ มชนเมื องสมุ ทรสาคร การสงเสริมการพั ฒนาดานที่ อยู อาศัย พาณิชยกรรม และการบริ การ ใหสอดคลองกับการขยายตั วของชุมชนและระบบเศรษฐกิ จ การพัฒนาการบริ การทางสังคม การสาธารณู ปโภค และสาธารณูปการใหเพียงพอและไดมาตรฐาน และการอนุ รักษ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และในสวนของ ผังเมืองรวมบานแพวซึง่ อยูในระหวางการดําเนินการจะมีสาระสําคัญในการสงเสริมดานการเกษตร นอกจากนี้ กรมโยธาธิ การและผังเมื องไดดําเนิ นการให มีการวางและจัดทําผังเมื องรวมที่ ครอบคลุมพื้ นทีท่ ั้ งจังหวั ดสมุ ทรสาคร (5) จังหวัดนครปฐม : ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ได มีการใชบังคับผังเมืองรวม 2 บริเวณ ไดแก ผัง เมืองรวมเมืองนครปฐม (ปรับปรุงครั้งที่ 1) และผังเมืองรวมชุ มชนอ อมใหญ ผังเมืองรวมเมืองนครปฐม (ปรับปรุงครั้งที่ 1) ไดระบุสาระสําคัญ ไดแก การสงเสริมชุมชนเมื อง ใหเปนศูนยกลางการบริหาร การปกครอง และพาณิชยกรรมของจังหวัด การสงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัย พาณิชยกรรม และอุ ตสาหกรรมใหสอดคล องกั บการขยายตัวของชุ มชนและระบบเศรษฐกิ จ การสงเสริ มการพัฒนา ดานการคมนาคมและการขนสง ใหสอดคลองกับการใชประโยชนที่ดินในอนาคต การพัฒนาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหเพี ยงพอและได มาตรฐาน การอนุ รักษสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทาง ประวัติศาสตรและโบราณคดี และการอนุรักษทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ ไดระบุสาระสําคัญของการพัฒนาและสงเสริมใหเปนพื้นที่รองรับ อุตสาหกรรมจากกรุงเทพมหานคร การสงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัย พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรมให สัมพันธ กับการขยายตัวของชุมชน การสงเสริมให มีการสรางโครงขายคมนาคมใหสอดคลองและสัมพันธกับ การใชที่ดินในอนาคต การพัฒ นาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหเพี ยงพอและ ไดมาตรฐาน และการอนุรักษ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สําหรับผังเมืองรวมในเขตกรุง เทพมหานคร และจังหวัดปริมณฑล ในแผนผังที่ 2–2

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


22 แผนผังที่ 2–2 ผังเมืองรวมในเขตกรุง เทพมหานครและจังหวัดปริ มณฑล

22

แผนผังที่ 2-2 ผังเมืองรวมในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดปริมณฑล

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


23 นอกเหนื อจากผังเมื องรวมในเขตจังหวัดปริมณฑลดังกลาวขางตน ภายในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งมีแนวเขตจังหวัดติดตอกับ กรุงเทพมหานครได มีการใชบังคับผังเมืองรวม 3 บริเวณ ไดแก ผังเมื องรวมเมือง ฉะเชิ งเทรา ผัง เมื องรวมเมืองบางปะกง และผัง เมื องรวมเมืองบางคลา นอกจากนี้ ทางกรมโยธาธิ การและ ผังเมื องกําลังดํา เนิ นการวางและจัดทํ าผังเมื องรวมสุวินทวงศ ซึ่ง มีพื้นที่ตอ เนื่ องกับ พื้ นที่ดา นตะวั น ออกของ กรุงเทพมหานคร

2.2.2 นโยบายของกรมโยธาธิการและผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง ไดมอบนโยบายและแนวทางให กรุ ง เทพมหานครในฐานะเจ า พนั กงาน ทองถิ่น เพื่อนําไปวิเคราะหในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ในประเด็ น ตางๆ ดังนี้ (1) การศึกษาเพื่ อปรั บ ปรุ ง ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร ขอให ศึ กษาในภาพรวมก อนแล ว จึ ง ลง รายละเอียดในแตละเรื่อง สวนในเรื่องผังภาคของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลขอใหประสานกับกรมโยธาธิการ และผังเมืองอยางใกลชิด (2) โรงงานอุตสาหกรรมในเขตผังไมสามารถขยายพื้ นที่ โ รงงานเพิ่ มขึ้ นได เนื่ องจากข อกํ า หนดไม อนุญาต ขณะที่นโยบายรัฐบาลปจจุ บั นต องการผ อนปรนกฎเกณฑ เพื่ อส ง เสริ มอุ ต สาหกรรม แต จ ะต องไม เกิดผลเสียในแงผังเมืองจนเกินไป การผอนปรนจะดําเนินการอยางไร (3) เรื่ อ งอุ ต สาหกรรม กรุ ง เทพมหานครจะดํ า เนิ น การอย า งไรกั บ SMEs ควรศึ กษาจั ด กลุ ม อุตสาหกรรมวาประเภทไหนควรอยูในกรุงเทพฯ หรือไมอย า งไร กลุ มอั นตรายควรอยู ใ ห หา งไกลออกไป ทั้ ง นี้ โดยคํานึงถึงนโยบายของรัฐบาลที่จะกระตุนเศรษฐกิจดวย โดยศึกษาวิเคราะหในเรื่องเหลานี้อยางละเอียด (4) ควรคํานึงถึงการกําหนด Buffer Zone ในกรุงเทพฯ เชน ในเขตอุตสาหกรรม ทาเรือหรื ออื่ นๆ ควร พิจารณาวาจะดําเนินการไดมากนอยแคไหน (5) การแกปญหาพื้นที่น้ําหลากในที่ดินประเภทอนุรักษ ช นบทและเกษตรกรรมด า นตะวั นออกและ ตะวันตกของกรุงเทพฯ ที่มีการสรางกีดขวางทางน้ํา เชน บริ เวณสนามบิ นสุ ว รรณภู มิ จะแก ป ญ หานี้ อย า งไร ใหที่ปรึกษาไปศึกษาเรื่องการแกปญหาพื้นที่น้ําหลาก เพื่อที่จะผอนปรนใหมีการนํ า พื้ นที่ ไ ปใช เป นชุ มชนได ใ น บางบริเวณ เพื่อลดปญหาความขัดแยง แตจะตองมีวิธีแกไขที่เหมาะสมกอน (6) การแกปญหาน้ําเนาเสียในแมน้ําเจาพระยา และในลํ า คลองสายต า งๆ ควรหาทางพั ฒ นาเพื่ อ คืนชีวิตใหแมน้ําลําคลอง เนื่องจากนายกรัฐมนตรี มีนโยบายให พัฒ นาคลองในกรุ ง เทพฯ จึ ง ขอให พิจ ารณา เปนระบบ รวมถึงการบริหารจัดการเปดปดประตูระบายน้ําใหมีการระบายน้ําที่สม่ําเสมอและมีการปลูกตนไม (7) ในการปรับปรุงผัง ให คํ า นึ ง ถึ ง หลั กการที่ ไ ม ค วรขยายพื้ นที่ ชุ มชนของกรุ ง เทพฯออกไป เพราะ ขณะนี้กรุงเทพฯมีขนาดใหญมากแลว ควรพิจารณาถึงเรื่องเมืองบริวารมากกวา

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


24 (8) การพัฒนาพื้นที่กรุงเทพฯ เพื่อเปนที่อยูอาศัย พาณิชยกรรมและอุ ต สาหกรรม ให วิ เคราะห อย า ง รัดกุม ทั้ง ในเรื่ องอาคารสู ง และอาคารขนาดใหญ โดยการพั ฒ นาพื้ นที่ ก็ค วรพิ จ ารณาถึ ง พื้ นที่ เดิ มที่ มีการ พัฒนาแลววาจะแกปญหาอาคารรางที่มีอยูในขณะนี้อยางไร จะต องมี ข อมู ล ของอาคารร า งเหล า นี้ มายื นยั น การเปดพื้นที่พัฒนาใหม (9) เรื่องอาคารพาณิชย ใหมีการศึกษาถึงวิเคราะห ถึง เรื่ องตึ กแถว ไม ใ ห มีการขยายตั ว มากขึ้ นจน เกินความตองการ สว นการค า ปลี กขนาดใหญ จ ะมี การกํ า กั บ อย า งไร และจะต องศึ กษาถึ ง ผลกระทบของ การคาปลีกขนาดใหญที่จะมีตอปญหาจราจร และตอการคาปลีกขนาดเล็กดวย (10) การเพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะใหไดสัดสวนกับจํานวนประชากรมากยิ่งขึ้ น โดยเฉพาะการนํ า พื้ นที่ ของทางราชการมาพัฒนา เพื่อสนองตอนโยบายของรัฐบาลที่จะทําใหเปนเมืองนา อยู และให นํา นโยบายของ ผูวาราชการกรุงเทพมหานครมาใช เกี่ยวกับการนําพื้นที่เอกชนที่รกราง หรือที่ตาบอดมาเชาทําสวนสาธารณะ (11) การพัฒนาสถานที่ทางประวัติศาสตร วัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยว เชน บริเวณถนนราชดํ า เนิ นที่ กํ า ลั ง มี โ ครงการพั ฒ นา กรุ ง เทพมหานครควรพิ จ ารณาเพราะอาจทํ า ให เ สี ยทั ศ นี ยภาพของเมื องในแง ประวัติศาสตรวัฒนธรรมได สํ า หรั บ นโยบายของกรมโยธาธิ การและผั ง เมื องเห็ นด ว ยกั บ การพั ฒ นาแหล ง ทองเที่ยว (12) เรื่องปญหาจราจร ตองมีการวิเคราะหในแงผังเมืองใหสอดคลองกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร และนโยบายของกรมโยธาธิการและผังเมืองที่การวางผั ง ควรให เกิ ด ความประหยั ด ในการใช พลั ง งานในการ เดินทาง (13) การวางเครือขายของการขนสงมวลชน เชน รถไฟฟา รถไฟใตดิ น จะเชื่ อมกั บ รถโดยสารประจํ า ทางอยางไร พิจารณาจุดตอเชื่อมเส นทาง ที่ รถโดยสารประจํ า ทางรั บ ผู โ ดยสารจากที่ พักอาศั ยไปยั ง ระบบ ขนสงมวลชน แตตองคํานึงถึงในแงที่เปนการเปดพื้นที่พัฒนาดวย (14) ควรศึ ก ษาความสอดคล อ งของสนามบิ น สุ ว รรณภู มิกั บ จั ง หวั ด ปริ มณฑล เช น ปทุ ม ธานี สมุทรปราการ (15) ให มีการศึ กษาในเรื่ อ งโครงสร า งพื้ นฐาน เพื่ อนํ า มาเป น เครื่ องมื อทางด า นผั ง เมื อง ในการ จัดบริการถนน ประปา ไฟฟา ใหสอดคลองกับผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพฯ และจะออกแบบวางผั ง อย า งไรให เกิ ด ความประหยัดในการลงทุนดานสาธารณูปโภค (16) การแกปญหาสลัม กรุงเทพมหานครจะแกปญหานี้ อย า งไร เนื่ องจากนายกรั ฐ มนตรี มีนโยบาย สรางที่อยูอาศัยใหผูที่อยูสลัม

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


25

2.5

นโยบายการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร

2.5.1 วาระแหงกรุง เทพมหานคร วาระแหงกรุงเทพมหานคร (Bangkok Agenda) พ.ศ. 2545–2564 เปนแผนพัฒ นากรุง เทพมหานคร ในระยะยาว ซึ่งใชเป นกรอบการดําเนินงานที่สํานั กและสํานั กงานเขตต องปฏิบัติตามแผนและกิจกรรม ประกอบดวย (1) การพั ฒนากรุงเทพฯ ให เปนเมื องที่นา อยูสูความยั่งยื น โดยการชี้แนะและประสานแผนงาน กิจกรรม และโครงการตางๆ ของกรุงเทพมหานคร ใหมีความสอดคลองกั น การให ความสําคัญกับการตัดสิ นใจดานเศรษฐกิจ การพั ฒนาและสิ่งแวดล อมอยางเทาเทียมกั น การพั ฒนาและปรับปรุงฟ นฟู เมื อง การลดความคั บคั่งของการจราจร และลดมลพิษในอากาศ การเพิ่ มปริ มาณพื้ นที่สี เขียวและพื้ นที่ นันทนาการ การลดป ญหาสิ่งแวดล อ มที่ เกิ ด จากขยะมูลฝอยและน้ํา เสีย ตลอดจนการพั ฒนาการบริ หารงานของกทม. และการปลู กจิตสํานึ กและกระตุ น ใหประชาชนรว มรับผิดชอบในการดําเนิ นกิจ กรรมตางๆ ของเมืองรว มกั น (2) การนํ าเศรษฐกิจของกรุง เทพมหานครสู ความยั่งยื น โดยการปรับ ปรุงด านการบริ หารการคลั ง การประเมินผลการดําเนินการและการปฏิบัตงิ านใหเปนไปตามแผนพัฒนา การบริหารการคลังมีความโปรงใส และมีการจัดสรรงบประมาณที่สอดคลองกับแผนกายภาพ โครงการ และกิจกรรมการพัฒนา การใชมาตรการ ดานเศรษฐศาสตรเพื่อลดผลกระทบในเชิงลบดานสิ่งแวดลอม การพัฒ นาฐานขอมูลภาษีและแผนที่ภาษี และ การจัดตั้งศูนยบริหารและพัฒนาเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร (3) การวางผังเมืองเพื่ อปรับปรุงคุณภาพชีวิต โดยการจัดทําผังขอมูลกรุงเทพมหานคร (Bangkok Master Catalogue) เพื่อประสานและเชื่อมโยงการใหบ ริการและโครงสรางพื้นฐานตางๆ ของเมือง การจัดทํา ผังขอมูลสํานักงานเขต (District Catalogues) เพื่อใชในการพัฒ นาและฟนฟู เมื อง การจัดภูมิทัศ นเมือง การ อนุรักษและปรับปรุงฟนฟูมรดกทางวัฒนธรรม การสรางพื้นที่สีเขียวและการแกไขปญ หาชุมชนแออัดและการ รุกล้ําที่สาธารณะ (4) การปรับปรุงการจราจรและขนสงเพื่อรั กษาคุ ณภาพอากาศ โดยการจัดทํ าแผนแม บทเชิงยุทธศาสตร สําหรับการพัฒนาระบบจราจรของกรุงเทพฯในอนาคต การทําแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชถนน การจัดทํา แผนเพื่อประสานระบบบริ การขนสงมวลชน การปรับปรุงรถประจํา ทาง การกําหนดเขตจํากัด การจราจรพิเศษ การจัดการยวดยานเพื่ อลดมลพิษ การเขมงวดในการดูแลรักษาและปรับปรุงสภาพยานพาหนะ ประกอบกับ การกํา หนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ การสงเสริ มเทคโนโลยี ที่สะอาด การจั ดทําแผนเส นทางการขนส ง การพัฒนาระบบสารสนเทศ และการจัดตัง้ องคการบริหารจัดการระบบจราจรและขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร รวมทั้ง การสรางเสริมวิ นัยจราจร (5) การพั ฒนาพื้ นที่สีเขี ยวในกรุงเทพมหานคร โดยการจัดทํ าแผนปฏิบัติการเชิงยุ ทธศาสตรพื้นที่สี เขียว การกํา หนดแนวทางสีเขียว (Green Corridors) การจัดสรางสวนสาธารณะ การพัฒนาพื้ นที่วางสาธารณะให เปนสถานที่ พักผอนหยอนใจ การสรางสวนหย อม การฟ นฟูสภาพคูคลอง การปลูกตนไมริมถนน การสรางลาน สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


26 สาธารณะในเมือง (Public Square) ตลอดจนการจัดทําแนวทางขอกําหนดพื้นที่สีเขียวในโครงการพัฒนาทั้งของ ภาครัฐและภาคเอกชน การปรับปรุง กฎหมายและการใชบังคับ รวมทั้งการเชิญชวนใหประชาชนมีสวนรวมใน การสรางกรุงเทพฯใหเปนเมื องสีเขียว (6) การสรางกรุงเทพฯ ใหเปนเมื องสะอาด โดยการสรางจิตสํานึกใหประชาชนไดมีสวนรวมอยาง จริงจังในการลดปริมาณมูลฝอยและน้ําเสีย การจัดทําแผนการบําบัด น้ําเสียที่ ยั่งยื น การกํา หนดมาตรฐานของ น้ําเสีย มาตรฐานระบบบําบัดน้ําเสี ยชนิดติด กับที่ (On Site Treatment Plant) และการใชบังคับอยางเขมงวด ในดานการจัด การมูลฝอยไดกํา หนดให มีการจัด ทําแผนการจัด การมูลฝอยอยางยั่งยืน การสงเสริมให มีการลด ปริมาณมูลฝอยโดยการลดการใชและนํามาใชใหมกอนการแยกและหมุนเวียนการใช การปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการแยกและหมุ นเวียน และการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดเก็บ มูลฝอย ระบบการเก็บขนขยะอันตราย การจัดตั้งสถานีขนถายมูลฝอยย อย ตลอดจนการกําหนดมาตรฐานการเกิด มูลฝอยและการเพิ่ มการควบคุม การจัดใหมีระบบติดตามตรวจสอบการลดปริมาณมูลฝอยและการแปรรูปมูลฝอยหมุนเวียน การศึกษาวิจัยและ วางแผนเพื่อเปลี่ยนมูลฝอยอิ นทรี ยสารใหเป นกาซชีวภาพ และการประชาสัมพั นธตารางเวลาเก็บขนมูลฝอย ใหประชาชนรับทราบ นอกจากนี้ในดานการปองกันน้ําทวมไดกําหนดใหจัดทําแผนปองกันน้ําทวมและปรับปรุง การระบายน้ําในเมือง การเพิ่ มอัต ราการไหล และความสามารถในการรับน้ําของคลอง การจัด การบึงพั กน้ํา (แกมลิง) การเผยแพรขอมูลและใหความรูเกี่ ยวกับ การปองกันน้ํา ทวม และการพัฒ นาศูนย ควบคุมน้ํา ทวมให กาวหนายิ่งขึ้น (7) การมุงเนนธรรมรัฐใน กทม. เพื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยให กทม. มีการจัดการ อยางมืออาชีพที่ มีประสิ ทธิภาพในการบริหารการพัฒ นา การนํานโยบายและแผนตางๆ ของ กทม. มาเปน แนวทางในการดําเนินกิจกรรมและบริการตางๆ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือหลักในการบริหาร การพั ฒ นาระบบจั ด การขอมูลขาวสาร (MIS) และการยกระดับ การใหบ ริ การของกรุง เทพมหานครทั้ ง หมด นอกจากนี้การดําเนินการยังประกอบดวยการสรางฐานขอมูลบุคลากรที่มีความรูความสามารถ การจัดโครงการ ฝกอบรมระยะยาวและการฝ กอบรมหลักสูตรพิเศษเพื่อเพิ่ มศักยภาพในการบริหาร การพัฒนาระบบการเลื่อน ตําแหนงที่สามารถสนับสนุ นการบริหารงานสาธารณะ การใหค วามสําคัญ กับ การกระจายอํา นาจและการให เอกชนและประชาชนเขา รว มกิจ กรรมในสว นที่ เกี่ ยวของ การกํา หนดมาตรการทางกฎหมายและการบังคับ ใช ตลอดจนการสรางความตระหนักรูและความเขาใจในบทบาทหนาที่ของเจาหนาที่ กทม. เพื่อการพัฒนากรุงเทพฯ ใหมีศักยภาพและบทบาทในเวทีประชาคมโลก (8) การเขาถึงข อมูลขาวสารของ กทม. ไดงา ยและสะดวก โดยการสรางศู นยป ระสานเทคโนโลยี สารสนเทศ (IT Coordination Center) ประกอบกับ การพัฒ นาระบบจัด การขอมูลขาวสาร การจัดทําแผนงาน ตางๆ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส การจัดทําฐานขอมูลดานประชากร (Demographic Database) การจัดทํา ระบบจัดการสิ่งแวดลอมที่จําเป นอยางครบวงจร การกําหนดตัวชี้วัดดานสิ่งแวดลอมของเมือง การพัฒนาศู นย ควบคุมน้ําทว ม การนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) มาประยุกตใชในการบริหารงานเชิงกายภาพ การใช เทคโนโลยีในการเชื่อมโยงแผนงานดานกายภาพและงบประมาณ และการเชื่ อมโยงระบบขอมูลขาวสารของ สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


27 สํานักและสํานักงานเขตโดยการเผยแพรใน website ของกทม. นอกจากนี้ ยังมีการพัฒ นาบุคลากรของกทม. ใหมีความพรอมในการใชเทคโนโลยีอยางเปนระบบและตอเนื่อง และการพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน แบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) อยางสมบูรณแบบ (9) การพัฒ นาทรัพยากรมนุษ ย ใหเปนเครื่ องมือยุทธศาสตรในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดย การใหประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงกรุงเทพฯ การจัด ทําแผนยุทธศาสตรเพื่ อการศึ กษาที่ ดีขึ้น การปรับปรุงโรงเรียนของ กทม. การจัดทําแผนยุทธศาสตรในดานอนามัย แผนยุทธศาสตรการพัฒนาสังคม แผนแกไขปญหาความยากจนและพัฒนาชุมชน แผนสงเสริมวัฒนธรรมไทย แผนยุทธศาสตรสําหรับพัฒนาการ ทองเที่ ยว ตลอดจนการจัด การฝกอบรม สัมมนา สําหรับผูประกอบการและพนั กงานขององคกรตางๆ เพื่อให รวมเอาการพิจารณาดานสิ่งแวดลอมเขาไวในกิจกรรมการดําเนิ นงานดวย (10) การใหประชาชนมีสวนรว มในการพัฒ นากรุงเทพฯ โดยการกระตุ นการมีสวนรวมของประชาชน การสรางการตระหนักรูเรื่ องสิทธิและหนาที่ข องประชาชนในการพั ฒนากรุงเทพฯ ใหดีขึ้น การเผยแพรความรู เรื่องกฎหมายและขอบัญญัติ การใชการประชาสัมพันธและการรณรงคเพื่อกระตุนใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในการสรางสิ่งแวดลอมและความเปนอยูที่ดีขึ้น การจัดตั้งองค กรชุ มชน และการมีสวนรวมของเครือขายชุ มชน และองคกรตางๆ ตลอดจนการใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดทําแผนของกรุงเทพมหานคร

2.5.2 นโยบายผูบริหารกรุงเทพมหานคร ตามแผนพั ฒ นากรุ ง เทพมหานคร ฉบับ ที่ 6 (พ.ศ. 2545–2549) ได ระบุ ถึง นโยบายของผูบ ริ หาร กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย (1) นโยบายดานสวัสดิการสังคม ไดแก การสรางที่พักอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย (ตึกฝกขาวโพด) การจัด การที่ อยู อาศั ยเพื่ อรองรับชุ มชนที่ถูกรื้ อยา ย การสง เสริ มใหส ถาบั นครอบครัว มีค วามอบอุ น ชุ มชนมี ความเอื้ออาทรและประชากรมีความสมานฉั นท การก อตั้งสโมสรพลเมื องอาวุโสแหง เมื องกรุง เทพมหานคร การจัดทําโครงการเพื่ อเด็ กดอยโอกาสโดยการจัดตั้งบานสรางโอกาสเด็ ก (Home of Hope) และศูนยสราง โอกาสเด็ก ฟ นฟู การจัดแสดงดนตรีลีลาศเพื่อประชาชนที่สวนลุ มพินี การจัด กิจกรรมดนตรีใ นสวน จัดใหมี ศูนยฝกกีฬาสี่มุมเมือง การสรางสวนหยอมและการปลูกต นไมใหญ เพื่อสรางความรมรื่นใหแ กเมื อง (2) นโยบายดานสาธารณสุข ไดแก การจัดตั้งศูนยป ระสานการปฏิบัติการใหความชว ยเหลือทาง การแพทยในภาวะฉุกเฉินและวิกฤติตลอดเวลา 24 ชั่วโมง (ศูนย เอราวัณ ) การจัดหาอุปกรณดา นสาธารณสุข การกอตั้งศู นยการแพทยและสาธารณสุข การบําบัดรั กษาผูติด ยาเสพติด การดํา เนิ นการนโยบาย 30 บาท รักษาทุ กโรค การกอสรางโรงฆาสัตวที่ทันสมั ยและไดมาตรฐานอนามัย (3) นโยบายดานสิ่งแวดลอม ไดแก การก อสรางสถานขนถา ยมูลฝอยระบบใหม การกําจัดมูลฝอย ดวยเทคโนโลยีทางชีวภาพ การกอสรางโรงงานแยกกาซที่ไดจากกองมูลฝอยไปผลิตกาซมีเทนเพื่อใชกับรถเก็บขน มูลฝอย การเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บคาธรรมเนียมเก็บขยะมูลฝอย การแจกจายถังขยะใหกับประชาชนทั่วทั้ง สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


28 กรุงเทพมหานคร การกอสรางระบบบําบัดน้าํ เสีย การพัฒนาระบบระบายน้ําหลัก ดวยการกอสรางระบบปองกัน น้ําทวมและระบบระบายน้ํา การฟ นฟูปาชายเลน (4) นโยบายดา นคมนาคม การขนสง และสาธารณูปโภค ไดแ ก การต อขยายระบบขนสงมวลชน กรุง เทพมหานคร การกอสรางระบบรถไฟฟาชานเมืองรอบกรุงเทพมหานคร การก อสรางสะพานพระราม 8 การก อสรางถนนจตุรทิศตะวันตก–ตะวันออก การก อสรางอุโมงคลอดถนนพระรามที่ 9 ตัดใหม การกอสราง ทางจักรยาน การกอสรางที่จอดรถใตสนามหลวง การวางระบบทอสายไฟฟาและสายโทรศัพทใตดิน การศึกษา แนวทางการจัดการเดินรถโดยสารประจําทาง (5) นโยบายดานเศรษฐกิจ การคลัง และการบริหารจัดการ ไดแก การพัฒนาแหลงทองเที่ยวเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจ การออกพันธบัต รกรุงเทพมหานคร การจัดตั้งหนวยงานดานเศรษฐกิจ การคลังของกรุง เทพมหานคร การจัดศูนยบริ การจุดเดี ยวเบ็ดเสร็จ (6) นโยบายดานการศึกษา ไดแก การพัฒนาคุณภาพและการขยายการจัดการเรียนการสอนโรงเรียน ของกรุงเทพมหานครถึงระดับมัธยมศึกษาและวางแนวทางพัฒนา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาไปถึงการจัดตัง้ วิทยาลัยทางวิ ชาชี พและการศึ กษาในระดับอุดมศึ กษา รวมทั้งสงเสริ มให นักเรี ยนในโรงเรี ยนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีโอกาสเรี ยนรูการใชเทคโนโลยีสมัยใหม ดวยการจัดหาคอมพิวเตอร มาใชเพื่อการศึ กษา และใหมีการเรียนรู การใชอินเตอร เน็ต

สวนที่ 2 ภาพรวมนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครและปริมณฑล


สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบายและมาตรการ ของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ในการดําเนิ นการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เพื่อใชเปนแนวทาง ในการพั ฒนาและการดํารงรักษาเมืองใหเป นเมื องนาอยู มีสภาพแวดลอมที่ดี มีบริ การพื้ นฐานทางสังคม สาธารณูปโภค สาธารณูปการ อยางเพียงพอและได มาตรฐาน มี ระบบคมนาคมขนสงที่สมบูรณและมีประสิทธิภาพ สงเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และเป นศูนยกลางทางเศรษฐกิจ วิทยาการ การบริหาร และการปกครอง ของประเทศ ไดกําหนดวิสัยทัศ น วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบายและมาตรการของผังเมืองรวม ดังได นําเสนอรายละเอี ยดตามลําดับดังนี้

3.1

วิสัยทัศนของผังเมืองรวม

การวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดกําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาไว คือ “มหานครที่นาอยูอาศั ย คงความโดดเด นดานศิลปวัฒนธรรมและเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ วิทยาการของภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต ” อยางไรก็ดี สํานักผังเมืองยังได กําหนดวิสัยทัศนยอยเพื่อใหไดภาพการพั ฒนาในอนาคตของกรุงเทพมหานคร ไว 5 วิสัยทัศนยอยดวยกัน ดังนี้ วิสัยทัศนที่ 1

มหานครที่ มีความโดดเดนในดานศิลปวัฒนธรรมอันเป นเอกลักษณของชาติ

วิสัยทัศนที่ 2

มหานครที่ มีความนา อยูและสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนดวยการสงวนรักษา สภาพแวดลอมและทรัพยากรทางธรรมชาติ

วิสัยทัศนที่ 3

มหานครที่เป นศูนยกลางทางเศรษฐกิจวิทยาการของประเทศและภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต

วิสัยทัศนที่ 4

มหานครที่เป นศูนยกลางการบริหาร สถาบันทางสังคมที่สําคัญ และองคกรระหวาง ประเทศ

วิสัยทัศนที่ 5

มหานครที่ มีความคลองตัวและความสะดวกสบายดวยโครงขายการคมนาคมขนสง ที่เปนระบบสมบูรณ

3.2

วัตถุประสงคในการวางผัง

การวางและจัดทําผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัต ถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา กรุงเทพมหานครใหเปนเมืองนาอยูมีสภาพแวดลอมที่ดี มีบริการพื้นฐานทางสังคม สาธารณูปโภค สาธารณูปการ อยางเพี ยงพอและได มาตรฐาน มี ระบบคมนาคมขนสงที่สมบู รณและมีประสิทธิภาพ สงเสริมเอกลักษณ สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


30 ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และเปนศูนย กลางทางเศรษฐกิจ วิทยาการ การบริ การ และการปกครองของประเทศ จึงไดกําหนดนโยบายเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนากรุงเทพมหานคร เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของผังเมืองรวม ดังนี้ (1) สงเสริมความเปนเมืองนาอยูโ ดยการพัฒนาบริการทางสังคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ใหเพียงพอและไดมาตรฐาน (2) สงเสริมการเป นศูนยกลางทางเศรษฐกิจในดานธุ รกิจ พาณิชยกรรม และการบริการที่สําคัญ ของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวั นออกเฉียงใต (3) สงเสริมการเป นศูนยกลางดานการทองเที่ยว และเปนทางผานเขาออกของประเทศและภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต (4) สงเสริมการเปนศูนยกลางการบริหารการปกครอง และเปนที่ตั้งของสถาบันที่สาํ คัญของประเทศ และนานาประเทศ (5) สงเสริมและพัฒนาระบบขนสงมวลชน และเชื่อมโยงโครงขายระบบคมนาคมขนสง ใหสมบูรณ และมีประสิทธิภาพ (6) สงเสริมการพัฒนา ปรับปรุง และฟนฟูยา นที่อยูอ าศั ย และศูนยชุมชน (7) สงเสริมอุตสาหกรรมการผลิตที่ตองใชทักษะ แรงงานฝมือ และเทคโนโลยีชั้นสูงทีไ่ ม มีความ เสี่ยงตออุบัติภัยและปราศจากมลพิษ (8) ดํารงรักษาพื้ นที่เกษตรกรรมที่ มีความอุดมสมบู รณ (9) อนุรกั ษและพื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและสิง่ แวดลอมที่มีคุณคาทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี (10) อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติที่คงคุณคาความงดงาม บํารุง รักษา ฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอม และ ปองกันปญหาจากภั ยธรรมชาติ

3.3

นโยบาย เปาหมาย และมาตรการ

3.3.1 เปาหมายเชิงพื้นที่ในระยะแรกของการใชบังคั บผัง การพั ฒนากรุงเทพมหานครในระยะเวลาการใชบังคับและการดําเนิ นการตามผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) นั้นได กําหนดเปนเปาหมายเชิงพื้ นที่ ประกอบดวย (1) อนุรักษโบราณสถานและการปรับปรุงฟนฟูชุมชนในบริ เวณเกาะรัตนโกสินทร (2) การฟ นฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมและการปรับปรุงสภาพภูมิทัศ นในเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร (3) การฟนฟูคุณภาพสิง่ แวดลอมของพื้นที่เกษตรกรรมและการจัดสรางศูนยบริการชุมชนในเขตชานเมือง ของกรุงเทพมหานคร สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


31 (4) การพั ฒ นาย า นธุ รกิจ พาณิ ช ยกรรมศู นย กลางเมื องย า นบริ เวณศู นย ค มนาคมในเขตชั้นในของ กรุงเทพมหานคร (5) การพั ฒนาย านที่พักและสิง่ อํานวยความสะดวกดานการท องเที่ ยวในเขตชั้นในของกรุ งเทพมหานคร (6) การพั ฒ นายา นอุ ตสาหกรรมและการจั ดการดา นสิ่งแวดล อมในเขตชานเมื องดา นตะวั นตกของ กรุงเทพมหานคร (7) การพั ฒ นาศู นย กลางการบริ หารปกครองและสถาบั นทางสั ง คมที ่ สํา คั ญ ในเขตชั้ นในของ กรุงเทพมหานคร (8) การพัฒ นาและปรับปรุงศูนยชุมชนชานเมืองในเขตตอเมืองของกรุงเทพมหานคร (9) การพัฒ นาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเพื่อการอยูอาศัยในเขตตอเมือง ของกรุงเทพมหานคร (10) การพัฒ นาและปรับปรุงโครงขายถนนและระบบการสัญจรเสริ มเชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชน ในเขตชั้นในและเขตตอเมืองของกรุง เทพมหานคร

3.3.2 นโยบาย เปาหมาย และมาตรการระยะยาว การวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา และการดํารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวของหรือชนบทในดานการใชประโยชนในทรัพยสิน การคมนาคมและ ขนสง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดลอม ซึง่ ครอบคลุมพื้นที่ 1,568.737 ตารางกิโลเมตร ตามขอบเขตการบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร ในการวางผังไดกําหนดใหเป นไปตามวิสัยทัศ น โดยได สะทอนภาพเป นนโยบาย เปาหมาย และมาตรการตางๆ ดังนี้ วิสัยทัศนที่ 1

มหานครที่มีความโดดเดนในดานศิล ปวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของชาติ

นโยบาย

ดํารงรักษาและบูรณะสถานที่ ที่มีคุ ณ ค า ในทางศิ ล ปกรรม สถาป ต ยกรรม ประวั ติ ศ าสตร และโบราณคดี เพื่อสงเสริมความเปนเอกลักษณของกรุงเทพมหานครและของชาติ

เปาหมาย

การอนุรักษบริเวณกรุงรัตนโกสินทร และกรุงธนบุ รี ย า นและชุ มชนดั้ ง เดิ มที่ มีเอกลั กษณ ใ น ดานประเพณีและวัฒนธรรม

มาตรการ

(1) อนุ รัก ษ บู ร ณะและปฏิ สั ง ขรณ โ บราณสถาน และโบราณวั ต ถุ ที่ มีคุ ณ ค า ในทาง ศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี (2) ปรับปรุงฟนฟูชุมชนดั้งเดิ มที่ มีเอกลั กษณ ใ นด า นประเพณี แ ละวั ฒ นธรรม และชุ มชน บริเวณที่ตั้งโบราณสถาน (3) พัฒนาและปรับปรุงสภาพภูมิทัศนของยานสําคัญทางประวัติศาสตร และบริ เวณชุ มชน ดั้งเดิม

สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


32 (4) กําหนดมาตรการควบคุมการใชประโยชนที่ดินและการควบคุมรูปแบบทางสถาปตยกรรม ของอาคารโดยรอบโบราณสถานและศาสนสถาน (5) ส ง เสริ ม กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ และสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกด า นการท องเที่ ยวทาง วัฒนธรรม วิสัยทัศนที่ 2 มหานครที่มีความนาอยูและสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนดวยการสงวนรั ก ษา สภาพแวดลอมและทรัพยากรทางธรรมชาติ นโยบาย

ผอนคลายความแออัดโดยการกระจายการพัฒนาและยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน ดวยสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่มีความพอเพียงและมีมาตรฐาน

เปาหมาย

การพัฒนายานที่อยูอาศัยในเขตชั้นในและเขตตอเมืองของกรุ ง เทพมหานคร และการฟ นฟู บริเวณที่มีคุณคาและความงดงามทางธรรมชาติ

มาตรการ

(1) พัฒนายานที่อยูอาศัยและปรับปรุงฟนฟูชุมชนแออัดและแหลงเสื่อมโทรม (2) ปรับปรุงฟนฟูแมน้ํา คู คลอง พื้นที่เกษตรกรรม และชายฝ ง ทะเลให ค งไว ซึ่ ง ความอุ ด ม สมบูรณและสภาพทางธรรมชาติ (3) พัฒนาสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การให มีป ริ มาณที่ พอเพี ยงตามความต องการ และมีคุณภาพที่ไดมาตรฐาน (4) กําหนดมาตรการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน เพื่อแกไขและปองกั นป ญ หาผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมและการเกิดอุบัติภัย (5) กํ า หนดมาตรการควบคุ มการพั ฒ นาเมื องให มีค วามสั มพั นธ กับ แผนงานการขยาย โครงขายการใหบริการทางดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

วิสัยทัศนที่ 3 มหานครที่เปนศูนยก ลางทางเศรษฐกิ จ วิ ท ยาการของประเทศและภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต นโยบาย

พั ฒ นาย า นธุ ร กิ จ พาณิ ช ยกรรมที่ มี ค วามพร อ มของสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกในระดั บ ที่ สามารถแขงขันไดกับมหานครอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

เปาหมาย

การพัฒนายานพาณิชยกรรมศูนยกลางเมือง ยานพาณิ ช ยกรรมบริ เวณศู นย ค มนาคม และ ยานพาณิชยกรรมศูนยชุมชนชานเมือง

มาตรการ

(1) พัฒนายานพาณิชยกรรมศู นย กลางเมื องและย า นพาณิ ช ยกรรมในระดั บ ต า งๆ ให มี ความสัมพันธ และเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ (2) สรางเสริมประสิทธิภาพในการใหบริการทางดานสาธารณู ป โภค และสิ่ ง อํ า นวยความ สะดวกตางๆ

สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


33 (3) กําหนดมาตรการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน และขอกําหนดการออกแบบสถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม (4) พัฒนาและปรับปรุงสภาพภูมิทัศนข องพื้ นที่ ส าธารณะและสร า งเสริ มเอกลั กษณ ข อง ยานพาณิชยกรรม (5) กํ า หนดมาตรการปรั บ ปรุ ง และฟ นฟู อ าคารร า งหรื อหยุ ด การก อ สร า ง และที่ ดิ น ที่ปราศจากการใชประโยชนในยานพาณิชยกรรม วิสัยทัศนที่ 4 มหานครที่เปนศูนยกลางการบริหาร สถาบันทางสังคมที่ สํ า คั ญและองค ก รระหว า ง ประเทศ นโยบาย

สรางเสริมความสงางามของบริ เวณย า นสถาบั นทางสั ง คม และการบริ หารปกครองของ ประเทศและของกรุงเทพมหานคร

เปาหมาย

การพัฒนายานศูนยกลางการบริหารปกครองของประเทศและของกรุงเทพมหานคร

มาตรการ

(1) พัฒนาและปรับปรุงอาคารและสภาพภูมิทัศนของบริเวณสถาบันราชการ (2) กําหนดมาตรการควบคุ มการใช ประโยชน ที่ดิ นและการควบคุ มรู ปแบบทางสถาป ตยกรรม ของอาคารในบริเวณโดยรอบสถาบันราชการ (3) ปรับปรุงสภาพภูมิทัศนและปรับปรุงฟนฟูยานชุมชนในบริเวณโดยรอบสถาบันราชการ

วิสัยทัศนที่ 5 มหานครที่มีความคลองตัวและความสะดวกสบายด ว ยโครงข า ยการคมนาคมและ ขนสงที่เปนระบบสมบูรณ นโยบาย

สงเสริมการเดินทางโดยระบบขนสงมวลชนและเสริมสรางโครงขายการคมนาคมและขนส ง ใหสามารถเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบที่สมบูรณ

เปาหมาย

การพั ฒ นาโครงข า ยการเชื่ อมโยงกั บ ระบบขนส ง มวลชนและการเชื่ อมโยงกั บ สนามบิ น สุวรรณภูมิ

มาตรการ

(1) สร า งเสริ ม ความสมดุ ล ของที่ อยู อาศั ยและแหล ง งานเพื่ อลดความจํ า เป นของการ เดินทาง (2) พัฒนาโครงขายการเชื่อมโยงระหวางระบบขนส ง มวลชนกั บ การคมนาคมทางรถยนต และระบบขนสงสาธารณะ (3) พัฒนาโครงขายการเชื่อมโยงระหว า งสนามบิ นสุ ว รรณภู มิกับ โครงข า ยการคมนาคม และขนสงของกรุงเทพมหานคร

สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


34 (4) ควบคุมปริมาณการจราจรโดยรถยนต ใ นย า นพาณิ ช ยกรรมศู นย กลางเมื อง และย า น การอนุรักษทางประวัติศาสตร และสรางเสริมความสะดวกในการใชทางเดินเทา (5) กระจายการใหบริการทางสังคมใหมีคุณภาพและปริ มาณที่ พอเพี ยงต อความต องการ ของประชาชนที่อาศัยอยูในเขตชานเมือง

สวนที่ 3 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย นโยบาย และมาตรการของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


สวนที่ 4 เปาหมายประชากร ประชากรเปนทรัพยากรมนุษยที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศและทองถิ่ นชุ มชน นอกจากนี้ ป ระชากร ยังอยูในฐานะผูประกอบกิจกรรมและเปนผูใชสาธารณูปโภคสาธารณูปการในพื้ นที่ ด ว ย ประชากรจึ ง ป จ จั ยที่ สําคัญสําหรับการวางแผนกายภาพเพื่อรองรับความตองการในอนาคต เมื่อศึกษาดานประชากรเพื่อการวางและ จัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) โดยละเอี ยดแล ว จึ ง สรุ ป สาระสํ า คั ญ เกี่ ยวกั บ รู ป แบบ การตัง้ ถิ่นฐานของประชากร การกําหนดเปาหมายประชากร การกระจายประชากรในผังเมืองรวม และพิจารณา ความสามารถในการรองรับประชากรของผังเมืองรวม ดังนําเสนอตอไปนี้

4.1

รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของประชากร

ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประชากรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในป พ.ศ. 2544 พบวา ในพืน้ ที่ ใจกลางของกรุงเทพมหานครประชากรมีการกระจุกตัวความหนาแนนมากที่สุด โดยเฉพาะในพื้นทีป่ ระมาณ 180 ตารางกิโลเมตร ภายในถนนวงแหวนรัชดาภิเษกมีประชากรตั้งถิ่นฐานมากที่สุด แตปจจุบันความหนาแน นของ ประชากรภายในพื้นที่ศูนยกลางวงแหวนรัชดาภิเษกมีแนวโนมลดลงจากเดิม ทั้งนี้เนื่องจากมีการเปลี่ยนกิจกรรม การใชที่ดินจากยานที่อยูอาศัยไปเปนยานแหลงงานพาณิชยกรรมและบริ การมากขึ้ น โดยประชากรขยายตั ว ออกไปตั้งถิ่นฐานอยูอาศัยในเขตตอเมืองและเขตชานเมือง ทําใหพื้นที่ระหวางวงแหวนรัชดาภิเษกกั บ วงแหวน กาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอก) ในเขตกรุงเทพมหานครมีความหนาแนนของประชากรเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ ในเขตชานเมืองดานเหนือและดานตะวั นออกจนกระทั่ ง ไปเชื่ อมโยงกั บ เทศบาลตํ า บลคู ค ต เทศบาลตํ า บล ประชาธิปตย เทศบาลเมืองคลองหลวง เทศบาลตําบลทา โขลง จั ง หวั ด ปทุ มธานี เทศบาลนครนนทบุ รี และ เทศบาลนครปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี ทางด า นเหนื อ เทศบาลตํา บลสํา โรงใต เทศบาลตํา บลลั ด หลวง เทศบาลตําบลพระสมุทรเจดีย และเทศบาลนครสมุทรปราการ ทางดานใต เทศบาลตําบลออมนอย ในจั ง หวั ด สมุทรสาคร และเทศบาลตําบลออมใหญในจังหวัดนครปฐม ทางดานตะวันตก (แผนที่ 4-1) รูปแบบความหนาแนนของประชากรที่ตอเนื่องไปตามโครงขายทางหลวงแผ นดิ น ซึ่ ง เห็ นได ต ามแนวถนน พหลโยธิน และถนนสายรังสิต – องครักษ ทางดานเหนื อ แนวถนนสายกรุ ง เทพฯ – ฉะเชิ ง เทรา (สุ วิ นทวงศ ) ถนนบางนา – ตราด และถนนสุขุมวิท ทางดานตะวันออก แนวถนนสายเพชรเกษม และ สายธนบุ รี – ปากท อ ทางดานทิศตะวันตก รูปแบบพื้นที่ความหนาแน นที่ เกิ ด ตามโครงข า ยถนนที่ ข ยายตั ว จนการตั้ ง ถิ่ นฐานของ กรุงเทพมหานครเชื่อมโยงกับพื้นที่เมืองในปริมณฑล โดยเฉพาะในแนวตะวันตกที่ตอเนื่องจนถึงกําแพงแสนนั้ น สะทอนใหเห็นวาไมสามารถควบคุมการใชประโยชนที่ดิน โดยสงเสริมการพัฒนาเมืองใหอยูในพื้นที่ที่เหมาะสม มีการจัดระเบียบของสิ่งปลูกสรางใหเกิดขึ้นได และใชประโยชนพื้นทีท่ ี่เหมาะสมกับที่ตั้งระหวางพืน้ ที่ศูนยกลาง บริการใจกลางเมือง (CBD) ออกไปสูบริเวณชานเมื องและชนบทรอบนอก อั นจะนํ า ไปสู การพั ฒ นาเมื องให ยั่งยืนในที่สุด สวนที่ 4 เปาหมายประชากร


36 แผนที่

4-1 รูปแบบความหนาแน นของประชากรในกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล ป พ.ศ. 2544

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


37

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


38 จากตารางที่ 4–1 พบวา กรุงเทพมหานครมีการเพิ่ มขึ้นของประชากรอยางรวดเร็วจาก 2.1 ลานคน ในป พ.ศ. 2503 เปน 4.7 ลานคนในป พ.ศ. 2523 สงผลใหสวนแบงประชากรระหวางกรุงเทพมหานครกับ ปริมณฑลเพิ่ มขึ้นจากรอยละ 64.9 เปน 70.7 ตามลําดับ การเพิ่ มประชากรของกรุงเทพมหานครมีแนวโน มที่ ลดลง โดยในป พ.ศ. 2533 และ พ.ศ. 2543 กรุงเทพมหานครมีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นเปน 5.8 และ 6.3 ลานคน หรือเพิ่มขึ้ นจากป พ.ศ. 2523 ประมาณ 1.5 เทา ในขณะที่ประชากรในปริมณฑลเพิ่มขึ้นจาก 1.9 ลานคน เปน 3.8 ลานคน หรือมีขนาดเพิ่มขึ้ น 2 เทา การเปลีย่ นแปลงสัดสวนของประชากรในกรุง เทพมหานครและปริมณฑลตลอดระยะเวลา 40 ปที่ ผานมา สะทอนใหเห็นถึงทิศทางการขยายตัวของกรุงเทพมหานครที่มีผลกระทบตอการตั้งถิ่นฐานของประชากร ในจังหวัดปริมณฑล กรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวงและเมืองศูนยกลางที่ดึงดูดการยายถิ่นเขาจากทั่วภูมิภาค ของประเทศและจากตางประเทศ การขยายตัวของประชากรในกรุงเทพมหานครมีสญ ั ญาณชะลอตัวลง แรงดึงดูด การตั้งถิ่นฐานไปอยูในจังหวัดปริ มณฑล ไดแก จังหวัดสมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานีทางฝงตะวันออก ของแมน้ําเจาพระยาเป นสวนใหญ และการขยายพื้นที่ดึงดูด การตั้งถิ่ นฐานขามไปทางฝงตะวันตกในนครปฐม และสมุทรสาครมากขึ้น ในระยะหลัง (แผนที่ 4–2) การคาดการณจํา นวนประชากรของกรุง เทพมหานครโดยพิจารณาจากสว นแบง ประชากร ผลการ คาดประมาณจํานวนประชากรของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทําใหจํานวนประชากรของกรุงเทพมหานคร ในป พ.ศ. 2545, 2555 และ 2565 เทากับ 6.4, 6.8 และ 7.1 ลานคน สวนการขยายตัวของประชากรใน ปริมณฑลจะมี การเพิ่มขึ้นจาก 4.0, 5.1 และ 6.3 ลานคน ตามลําดับ (แผนภูมิ 4-1) การคาดการณประชากรของกรุ งเทพมหานครและปริมณฑล ระหวางป พ.ศ. 2545-2565 ป พ.ศ. 2503 2513 2523 2533 2543 2545 2550 2555 2560 2565

กทม.และ ปริมณฑล 3,293,326 4,529,447 6,644,425 8,589,874 10,115,029 10,421,881 11,197,680 11,971,935 12,712,224 13,481,076

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc

ประชากร (คน) กทม. 2,136,435 3,377,336 4,697,071 5,882,411 6,355,144 6,399,130 6,596,520 6,775,676 6,927,480 7,079,285

ปริมณฑล 1,156,891 1,452,111 1,947,354 2,707,463 3,804,067 4,022,751 4,601,160 5,196,259 5,784,744 6,401,791

อัตราสวน (%) กทม./กทม.และ ปริมณฑล/กทม. ปริมณฑล และปริมณฑล 64.87 35.13 67.94 32.06 70.69 29.31 68.48 31.52 62.83 37.17 61.40 38.60 58.91 41.09 56.60 43.40 54.49 45.51 52.51 47.49


39 แผนที่ 4-2 อิทธิ พลการตั้งถิ่ นฐานของกรุงเทพมหานครที่มีต อปริ มณฑล

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


40 แผนภูมิที่ 4-1 การคาดการณจํา นวนประชากรของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ป พ.ศ. 2545–2565

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


41

4.2

การกําหนดประชากรเปาหมาย

(1) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับแรก : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครตามกฎหมายฉบับแรก ออกตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 116 (พ.ศ. 2535) ซึ่งไดดําเนินการวางและจัดทําในระหวางป 2526 จนถึงป 2535 เปนเวลาดําเนินการกวา 10 ป ไดมีการคาดประมาณจํานวนประชากรเพิ่ มขึ้นจาก 5.2 ลานคนในป 2526 เปน 7.6 ลานคน ในป พ.ศ. 2544 (ขาวสารสํานักผังเมือง ฉบับที่ 57/2535) โดยมีอัต ราขยายตัวร อยละ 1.92 ตอป ทั้งนี้สํานักผังเมื อง กระทรวงมหาดไทย (กรมโยธาธิการและผังเมื อง ปจจุบัน) ไดกําหนดประชากร เปาหมายเปนลักษณะรวมประชากรทุกประเภทเขาดวยกั นแลว (2) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับนี้ไ ด จัดทําขึ้ นเพื่อรองรั บประชากรในเขตวางผัง โดยมี เปาหมายประชากรทุ กประเภทรวมกั นในป พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2550 และพ.ศ. 2555 จะมีประชากรในเขตวางผัง 9.3 ลานคน 10.2 ลานคน และ 11.0 ลานคน ตามลําดับ โดยมี อัตราขยายตัวของประชากรรอยละ 0.39 ตอป (3) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) : ในการวิเคราะหดานประชากรเพื่ อการ วางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครครั้งนี้แตกตางจากการดําเนิ นการวางผังทั้ง 2 ที่ผานมา ซึ่งเดิม กําหนดประชากรเปาหมายเป นประชากรทุ กประเภทรวมกั น แตการศึกษาครั้งนีไ้ ดจําแนกเปาหมายประชากร ออกเป น 2 กลุ มใหญ คือ กลุ มประชากรภาคกลางคืน กับประชากรภาคกลางวัน หรือแรงงานที่ ทํางานตาม แหลงงานในกรุงเทพมหานคร 1) กลุมประชากรภาคกลางคืน (Nighttime Population) หมายถึงประชากรทีต่ ั้งถิ่ นฐานอาศัย อยูจ ริง หรื อเปนประชากรที่นอนอยูในเคหสถานในเขตกรุงเทพมหานครในเวลากลางคืน ประชากรกลุ มนีจ้ ะ สะท อนภาพความตองการทางด านที่ อยู อาศั ยในเขตวางผังเมืองรวมได อยางชัดเจน การกํ าหนดประชากรเปาหมาย ในกลุมนี้ได จากนําผลของการคาดการณโดยใชประชากรป ฐานจากการทํ าสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ในการทําสํามะโนประชากรฯ ของสํานักงานสถิติแหงชาติ ซึ่งไดนับ รวมประชากรแฝง (Non-registered Population) ที่อยูอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครไวดวยแลว 2) กลุมประชากรภาคกลางวัน (Daytime Population) หมายถึง แรงงาน ประชากรกลุมนีส้ วน ใหญเป นประชากรภาคกลางวั น ซึ่งเป นประชากรที่ มีการเคลื่อนยา ยในระหวางวันจากที่พักอาศั ยที่อยูทั้ง ใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเขามาทํางานอยูในเขตผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร โดยจะสะทอนความ ตองการแหลงงานในสวนที่เป นพาณิชยกรรม อุ ตสาหกรรม หนวยราชการ และแหลงงานประเภทอื่นๆ ในเขต ผังเมื องรวมไดชั ดเจนกวาการกําหนดเปาหมายประชากรทุ กประเภทรวมกันแบบเดิ ม การกําหนดประชากรแรงงาน เปาหมายนี้ไดจากการศึกษาประมาณการจํานวนแรงงานในอนาคต ซึง่ ในการวิเคราะหไดคาํ นึงถึงความสัมพันธ กับภาวะแนวโนมภาวะเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครและประเทศไวแลว

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


42 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดกําหนดประชากรเปาหมายในอนาคต 20 ปขางหนา โดยทุกชวง 5 ป คือ ในป พ.ศ. 2550 จะมีประชากร 6.60 ลานคน แรงงาน 4.13 ลานคน ป พ.ศ. 2555 จะมี ประชากร 6.78 ลานคน แรงงาน 4.57 ลานคน ป พ.ศ. 2560 จะมีประชากร 6.93 ลานคน แรงงาน 5.05 ลานคน ป พ.ศ. 2565 จะมีป ระชากร 7.08 ลานคน และแรงงาน 5.59 ลานคน ตามลําดับ จํานวนประชากรและแรงงานเปาหมาย ในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) จํานวนประชากรเปาหมาย ประชากร ประชากรกลางวัน** ประชากรกลางวัน เปาหมาย (ลานคน) (คน) เปาหมาย (ลานคน)

พ.ศ.

ประชากรกลางคืน* (คน)

2545

6,399,000

6.40

3,736,000

3.74

2550

6,597,000

6.60

4,132,000

4.13

2555

6,776,000

6.78

4,569,000

4.57

2560

6,927,000

6.93

5,053,000

5.05

2565

7,079,000

7.08

5,588,000

5.59

หมายเหตุ : * ประชากรปฐานไดจากผลการสํามะโนประชากรป พ.ศ. 2543 เปนประชากรตั้งถิ่ นฐานและ อยู อาศั ยจริง สามารถนํ า มากํ าหนดการใชป ระโยชน ที่ดิ นเพื่อการอยูอาศั ยประเภทต า งๆ ในเขตผังเมืองรวมไดอยางเหมาะสม ** ประชากรที่เปนแรงงานภาคกลางวัน ซึ่ ง เป นกลุ มประชากรที่ ส ามารถนํ า มากํ า หนดการใช ที่ ดิ นที่ เป นแหล ง งานในอนาคตประเภทพาณิ ช ยกรรมและอุ ต สาหกรรม และแหล ง งาน ประเภทอื่นๆ ไดอยางเหมาะสม

4.3

ประชากรกับความตองการพื้นที่เพื่อการพัฒนาในอนาคต

การวางแผนการใชประโยชนที่ดินสําหรับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ได กํา หนด เปาหมายการพัฒนาในระยะ 20 ป คือ ป พ.ศ. 2565 โดยมีกิจกรรมการใชที่ดินหลักที่จะตองนํามาวิ เคราะห หา ความตองการ คือ พื้นทีท่ ี่อยูอาศัย (แบงเปนที่อยูอาศัยความหนาแนนนอย หนาแนนปานกลาง และหนาแน น มาก) พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินคา และพื้นที่เกษตรกรรม ในการวิ เ คราะห หาความต อ งการที่ ดิ น เพื่ อการใช ป ระโยชน ต ามกิ จ กรรมดั ง กล า ว ได ใ ช จํ า นวน ประชากร เปนฐานในการวิเคราะห ซึ่งสามารถแบงกลุมประชากรออกเปน 2 กลุมใหญ คื อกลุ มประชากรภาค กลางคืน หมายถึงประชากรที่อยูอาศัยภายในเขตกรุง เทพมหานคร กั บ กลุ มประชากรภาคกลางวั นหมายถึ ง แรงงานหรือการจางงานในเขตกรุงเทพมหานคร สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


43 จํานวนประชากรภาคกลางคืนในปเปาหมายใช อา งอิ ง จากข อมู ล การสํ า มะโนประชากร ซึ่ ง ได รวม จํานวนประชากรแฝงไวดวยแลว โดยในปเปาหมาย พ.ศ. 2565 คาดการณวาจะมีจํานวนประชากรที่ อยู อาศั ย ในกรุงเทพมหานครรวมทั้งสิ้น 7,080,000 คน สวนประชากรตามการจางงานใชขอมูลฐานจากจํ า นวนแรงงาน ตามสาขาธุรกิจพาณิชยและบริการตางๆ และไดรวมแรงงานภาคราชการและอุ ต สาหกรรมไว ด ว ย โดยได ใ ช อัตราการเจริญเติบโตในระดับปานกลางซึ่งจะมีแรงงานรวมทั้งสิ้น 5,588,000 คน ซึ่งเมื่อรวมประชากรทั้ ง สอง ภาคแล ว จะมี ป ระชากรเป า หมายที่ ก รุ ง เทพมหานครจะต องเตรี ย มพื้ น ที่ เ พื่ อ รองรั บ กิ จ กรรมต า งๆ ถึ ง 12,668,000 คน

4.4

การกระจายประชากรในผังเมืองรวม

ประชากรกวา 12 ลานคนนี้จะกระจายตัวไปตามพื้ นที่ ต า งๆ ในสั ด ส ว นที่ ส อดคล องกั บ สภาวะและ นโยบายการพัฒนาของกรุงเทพมหานคร โดยการพิจารณาการกระจายตัวที่สํ า คั ญ คื อประชากรภาคกลางคื น ซึ่ ง ต องมี ที่อยู อาศั ยที่ เหมาะสมกั บ ความสามารถในการจ า ย (Affordability) ในที่ นี้ใ ช สั ด ส ว นจากรายได ครัวเรือนที่สํารวจโดยสํานักงานสถิติแหงชาติ เป นตั ว กํ า หนดซึ่ ง พบว า มี ป ระชากรร อยละ 20 ที่ มีรายได สู ง ที่ สามารถอยูอาศัยในพื้นที่ที่มีบริเวณและมีความหนาแน นน อยได ส ว นผู มีรายได ป านกลาง ประมาณร อยละ 40 จะสามารถอยูอาศัยในพื้นที่ที่มีความหนาแนนปานกลางได และผูมีรายไดนอยรวมทั้ ง ชุ มชนแออั ด จํ า นวน รอยละ 30 จะอยูในพื้นที่ที่มีความหนาแนนสูง นอกจากนั้นยังมี ป ระชากรอี กร อยละ 10 ที่ ยัง อาศั ยอยู ใ นพื้ นที่ พาณิชยกรรมและพื้นที่ชุมชนเกษตรกรรม โดยจากขอมูลแรงงาน พบว า แรงงานภาคเกษตรรวมทั้ ง ครั ว เรื อน เกษตรในปเปาหมายจะมีอยูรอยละ 5 ทางดานแรงงาน จากฐานขอมูลการกระจายตัวของแรงงาน พบว า มี แ รงงานที่ กระจุ กตั ว อยู ใ นเขต ชั้ นในในสั ด ส ว นร อยละ 35 นอกจากนั้ นยั ง มี การจ า งงานในพื้ นที่ อยู อาศั ยประมาณครึ่ ง หนึ่ ง ของแรงงาน ทั้งหมด จํานวนประชากรเป าหมายและการกระจายตัวในพื้นที่กิ จกรรมหลักในกรุ งเทพมหานคร ป พ.ศ. 2565 พื้นที่ กิจกรรมหลัก อยูอาศัยหนาแนนนอย อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง อยูอาศัยหนาแนนมาก พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม/คลังสินคา ชนบทและเกษตรกรรม รวม สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc

ประชากรภาคกลางคืน จํานวน (คน) รอยละ 1,416,000 20.0 2,832,000 40.0 2,124,000 30.0 354,000 5.0 0 0.0 354,000 5.0 7,080,000 100.0

การจางงาน จํานวน (คน) รอยละ 696,000 12.5 840,000 15.0 1,397,000 25.0 1,956,000 35.0 420,000 7.5 279,000 5.0 5,588,000 100.0


44 ประชากรดังกลาวจะกระจายตัวไปตามพื้นที่ตา งๆ ตามที่ ไ ด แ สดงไว ข า งต น ซึ่ ง ในการวิ เคราะห หา ความตองการขนาดพื้นที่ ไดนําคามาตรฐานความหนาแนนของกรมโยธาธิการและผั ง เมื อง (กรมการผั ง เมื อง เดิม) มาคํานวณหาความตองการการใชที่ดิน สําหรับการวิเคราะหหาขนาดพื้นที่เพื่อรองรับประชากรภาคกลางคื นที่ กระจายตั ว ไปตามพื้ นที่ ต า งๆ ไดใชคาความหนาแนนที่อยูในเกณฑที่กําหนดเปนชวงโดยกรมโยธาธิ การและผั ง เมื อง โดยเกณฑ ที่กํา หนดนี้ ไดพิจารณาใชคามาตรฐานที่คอนขางต่ํา เนื่องจากพื้นที่กรุงเทพมหานครมีการพั ฒ นามาก อน และไม ไ ด มีการ วางแผนมานาน จึงทําใหมีการพัฒนาพื้นที่ที่มีคาความหนาแนนต่ํากวาความหนาแนนที่กําหนด โดยนโยบาย การใชประโยชนที่ดินเสมอ นอกจากนี้จากตั ว อย า งที่ ศึ กษาได แ สดงค า ความหนาแน นก็ ค อนข า งต่ํ า เช นกั น จากนั้นจึงนําคาความหนาแนนมาหารจํา นวนประชากรภาคกลางคื น ผลที่ ไ ด คื อพื้ นที่ สุ ทธิ ที่จ ะต องรองรั บ ประชากรดังกลาว อยางไรก็ตามการเลือกใชคา ความหนาแน น อาจไม เป นไปตามที่ กํา หนดไว จึ ง ได สํ า รอง พื้ นที่ ไ ว เ พิ่ ม อี กจํ า นวนร อยละ 20 เพื่ อเป นการประกั นความไม พอเพี ย ง เมื่ อ คํ า นวณแล ว พบว า พื้ นที่ ที่ กรุงเทพมหานครจะตองรองรั บ การอยู อาศั ยของประชากรภาคกลางคื นรวมทั้ ง สิ้ น 582,602 ไร หรื อ 932.2 ตารางกิโลเมตร การคํานวณหาพื้นที่กิจกรรมหลักตา งๆ เพื่อรองรั บประชากรภาคกลางคืน * ประเภทการใชที่ดิน อยูอาศั ยหนาแน นนอย อยูอาศั ยหนาแน น ปานกลาง อยูอ าศั ยหนาแน นมาก พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม หมายเหตุ

ประชากร กลางคืน* (คน) 1,416,000 2,832,000 2,124,000 354,000 354,000 7,080,000

*

คาความหนาแนน (คนตอไร ) มาตรฐาน** คาที่ใช*** 1-24 8 25-60 30 61-100 80-120 1-10

65 80 2

พื้นที่ รองรับ กิจกรรม (ไร )

(จํานวนประชากร/คาความหนาแนน)

สุทธิ 177,000 94,400

เพิ่มรอยละ 20**** 212,400.0 113,280.0

32,677 4,425 177,000

39,212.3 5,310.0 212,400.0

485,502

582,602.3

ประชากรกลางคืน ป 2565 ไดจากการคํานวณโดยใชประชากรปฐานจากการสํ า มะโน ประชากร ป 2543 ** คาความหนาแนนรวมของกรมโยธาธิการและผังเมือง ที่รวมทางสั ญ จรและที่ ว า งอื่ นๆ อีกรอยละ 30-40 แลว *** คาความหนาแนนรวมจากกรมโยธาธิการและผังเมือง ที่นํามาเลือกใชในพื้นที่ กทม. **** สํารองพื้นที่โดยการเพิ่มรอยละ 20 กรณีคาความหนาแนนเปลี่ยนแปลง

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


45 ในกลุมของประชากรภาคกลางวันหรือแรงงาน การพิจารณาความหนาแนนไดใชนโยบายและเกณฑ ความหนาแนนของกรมโยธาธิ การและผั ง เมื องเป นตั ว กํ า หนด โดยแรงงานในเขตที่ อยู อาศั ยให มีค า ความ หนาแนนที่สูงกวาคาความหนาแนนของประชากรภาคกลางคืนเล็กนอย แตยังอยู ใ นช ว งที่ กรมโยธาธิ การและ ผังเมืองกําหนดไว สําหรับแรงงานในเขตพาณิชยกรรมใช ค า เฉลี่ ยที่ อยู ใ นช ว งเกณฑ ข องกรมโยธาธิ การและ ผังเมือง (80-120 คนตอไร) คือ 90 คนตอไร และในพื้นที่อุตสาหกรรมได ใ ช ค า ความหนาแน นใกล เคี ยงกั บ ที่ กรมโยธาธิ การและผั ง เมื องกํ า หนด แต เนื่ องจากภาคอุ ต สาหกรรมมี การทํ า งานเป นกะ พื้ นที่ ที่กํา หนดจึ ง สามารถรองรับแรงงานอุตสาหกรรมที่ทํางานเปนกะได 3 กะ ในคาความหนาแน นที่ 10 คนต อไร เมื่ อคํ า นวณ โดยเพิ่มพื้นที่ สํ า รองร อยละ 20 แล ว พบว า พื้ นที่ ที่กรุ ง เทพมหานครจะต องเตรี ยมไว สํ า หรั บ ประชากรภาค กลางวันประมาณ 270,235 ไรหรือ 432.4 ตารางกิโลเมตร การคํานวณหาพื้นที่กิจกรรมหลักตา งๆ เพื่อรองรั บประชากรภาคกลางวัน จํานวน แรงงาน (คน)

ประเภทการใชที่ดิน

คาความหนาแนน (คนตอไร ) มาตรฐาน* คาที่ใช**

พื้นที่ รองรับ กิจกรรม (ไร ) (จํานวนประชากร/คาความหนาแนน)

สุทธิ

เพิ่มรอยละ 20***

อยูอาศั ยหนาแน นนอย

696,000

1-24

12

58,000

69,600

อยูอาศั ยหนาแน น ปานกลาง

840,000

25-60

40

21,000

25,200

อยูอาศั ยหนาแน นมาก

1,397,000

61-100

80

17,463

20,955

พาณิชยกรรม

1,956,000

80-120

90

21,733

26,080

อุตสาหกรรม

420,000

12

10x3 กะ

14,000

16,800

เกษตรกรรม

279,000

1-10

3

93,000

111,600

225,196

270,235

รวม หมายเหตุ

5,588,000 *

คาความหนาแนนรวมของกรมโยธาธิการและผังเมือง ที่รวมทางสั ญ จรและที่ ว า งอื่ นๆ อีกรอยละ 30-40 แลว

**

คาความหนาแนนรวมจากกรมโยธาธิ การและผังเมือง ที่นํามาเลือกใชในพื้นที่ กทม.

***

สํารองพื้นที่โดยการเพิ่มรอยละ 20 กรณีคาความหนาแนนเปลี่ยนแปลง

เมื่อรวมทั้งสองกรณีแลว พื้นที่ที่ตองการสําหรับกิจกรรมการใช ที่ดิ นหลั กในกรุ ง เทพมหานครภายใต เงื่อนไขความหนาแนนที่กําหนดประมาณ 852,837 ไร หรือ 1,364.5 ตารางกิโลเมตร

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


46 สรุปความตองการการใชที่ดินแยกตามประเภทกิจกรรมหลัก การใชประโยชน ที่ดิน

ประชากรเปาหมาย (คน) ภาคกลางคืน

แรงงาน

ความตองการพื้นที่ รวม ไร

ตร.กม.

อยูอาศั ยหนาแน นนอย อยูอาศั ยหนาแน น ปานกลาง

1,416,000 2,832,000

696,000 840,000

282,000.0 138,480.0

451.2 221.6

อยูอาศั ยหนาแน นมาก

2,124,000

1,397,000

60,167.3

96.3

พาณิชยกรรม

354,000

1,956,000

31,390.0

50.2

อุตสาหกรรม

-

420,000

16,800.0

26.9

เกษตรกรรม

354,000

279,000

324,000.0

518.4

7,080,000

5,588,000

852,837.3

1,364.5

รวม

4.5

ความสามารถของผังเมืองรวมในการรองรับประชากร (1) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับแรก) : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับแรกที่ประกาศ

เปนกฎหมายบังคับใชโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 116 (พ.ศ. 2535) ซึ่งจัดทําโดยสํานักผังเมือง กระทรวงมหาดไทย (กรมโยธาธิ การและผังเมื อง ป จจุบัน) มี ความสามารถในการรองรับจํ านวนประชากรสูงที่สุ ด (Maximum Carrying Capacity) ไดประมาณ 24 ลานคน (คํานวณตามมาตรฐานการวางและจัดทําผังเมืองรวม พ.ศ. 2539 ของ กรมการผังเมือง กระทรวงมหาดไทย) (2) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้ งที่ 1) : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 1 ประกาศเปนกฎหมายบังคับใชโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) เมื่อใชคํานวณตาม มาตรฐานการวางและจัดทําผังเมืองรวม พ.ศ. 2539 ของกรมการผังเมื อง กระทรวงมหาดไทย (กรมโยธาธิ การ และผังเมือง ปจจุบัน) พบวา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับนี้มีความสามารถในการรองรับจํานวนประชากร สูงที่สุดไดประมาณ 25 ลานคน เพิ่มขึ้นจากผังเมืองรวมฉบับเดิมเล็กน อยตามการ Up-zone ของผังการใช ประโยชนที่ดิ นเพิ่มขึ้นในบางพื้นที่ จึงทําให รองรับความหนาแน นของประชากรเพิ่มขึ้นบางบริเวณ (คํานวณ ตามมาตรฐานการวางและจัดทําผังเมืองรวม พ.ศ. 2539 ของกรมการผังเมือง กระทรวงมหาดไทย) (3) ผั งเมื อ งรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรั บปรุ งครั้ งที่ 2) : ผัง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เมื่อนํามาคํานวณโดยมาตรฐานการวางและจัดทําผังเมืองรวมของกรมการผังเมือง (กรมโยธาธิ การ สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc


47 และผังเมือง ปจจุบัน) พบวา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับนี้มีความสามารถในการรองรับจํานวนประชากร สูงที่สุดประมาณ 28 ลานคน เพิ่มขึ้ นจากผังเมื องรวมฉบับเดิ มพอสมควร เนื่ องจากมี การ Up-zone ผังการใช ประโยชนที่ดินเพิ่มขึ้นหลายบริเวณ และมีการเปลี่ยนแปลงขอกําหนดในหลายบริเวณใหสามารถรองรับจํานวน ครัวเรือนไดสูงขึ้นตามภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม ทําใหผังเมืองรวมฉบับนี้สามารถรองรับความหนาแนน ประชากรไดเพิ่มขึ้นจากผังเมืองรวมฉบับเดิมพอควร (คํานวณตามมาตรฐานการวางและจัดทําผังเมืองรวม พ.ศ. 2544 กรมการผังเมื อง กระทรวงมหาดไทย) เมื่อเปรียบเที ยบความสามารถในการรองรับประชากรไดสูงที่สุด ฉบับตางๆ สรุปไดดังนี้ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 116 ป 2535 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ป 2542 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ป 2549

สวนที4่ -4.1-เปาหมายประชากร.doc

ของผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร

ความสามารถในการ รองรับประชากร 24 ลานคน 25 ลานคน 28 ลานคน


สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทํา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เป นไปตามกรอบ วิสัยทัศนและวัตถุประสงคที่ไดวางไว แนวความคิ ด ในการวางผั ง ประกอบด ว ยประเด็ นสํ า คั ญ คื อ แนวทาง การพัฒนากรุงเทพมหานคร นโยบายอุตสาหกรรม แนวความคิดในการวางผั ง การใช ป ระโยชน ที่ดิ น ผั ง ที่ โ ล ง และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และผังโครงขายระบบคมนาคมขนสง ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

5.1

แนวทางการพัฒนากรุงเทพมหานครในอนาคต

ผังโครงสรางการพัฒนากรุงเทพมหานครเปนผังที่สะทอนภาพการพัฒนาตามวิสั ยทั ศ น วั ต ถุ ป ระสงค และเปาหมายของการพัฒนาเมืองและนําไปสูการวางและจัดทําผังเมืองรวม การกําหนดผังโครงสรางการพัฒนา กรุงเทพมหานครไดพิจารณาใหสอดคล องกั บ สภาพภู มิป ระเทศ โครงสร า งพื้ นฐานสํ า หรั บ การพั ฒ นาเมื อง และสภาพปญหาของเมืองในปจจุบัน และโครงข า ยถนนของกรุ ง เทพมหานคร ประกอบด ว ยถนนรั ศ มี แ ละ ถนนวงแหวน และการพัฒนาโครงขายระบบขนส ง มวลชนและทางด ว น เป นป จ จั ยสํ า คั ญ ในการกํ า หนดผั ง โครงสรางการพัฒนากรุงเทพมหานคร ดังนั้นผังโครงสร า งการพั ฒ นากรุ ง เทพมหานครจึ ง กํ า หนดการพั ฒ นา เมื องโดยส ง เสริ มการพั ฒ นาเมื องภายในแนวถนนวงแหวนรอบนอก ซึ่ ง เป น บริ เวณที่ มีค วามพร อมด า น สาธารณูปโภค สาธารณูปการ และจํากัดการพัฒ นาเมื องสํ า หรั บ พื้ นที่ นอกแนวถนนวงแหวนรอบนอก และ กําหนดการพัฒนาใหเชื่อมโยงสอดคลองกับแนวทางการพั ฒ นาในจั ง หวั ด ปริ มณฑลโดยรอบ พร อมกั บ การ กําหนดใหมีศูนยชุมชน (Sub Center) ในบริเวณพื้นที่ชานเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่ อรองรั บ ประชากรและ แหลงงานที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต อันเปนการแบงเบาภาระพื้นที่เมืองชั้นใน และได กํา หนดให มีศู นย บ ริ การ ชุมชนในระดับตางๆ เพื่อใหบริการชุมชนและประชากรในแตละยานอยางเปนระบบ โดยโครงสร า งการพั ฒ นา กรุงเทพมหานครเปนดังนี้ (แผนผังที่ 5–1) (1) การพัฒนาเมืองภายในแนวถนนวงแหวนรัชดาภิเษก : การพัฒนาเมืองในแนวถนนวงแหวน รัชดาภิเษก ซึ่งเปนพื้นที่บริเวณยานศูนยกลางเมืองเดิม และพื้ นที่ ต อเนื่ อง มี ค วามสํ า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร ศิลปวัฒนธรรม เปนทั้งยานการคา การบริหารและการปกครอง และเป นพื้ นที่ ที่มีศั กยภาพสํ า หรั บ การพั ฒ นา สู ง เนื่ องจากมี การพั ฒ นาระบบโครงสร า งพื้ นฐานที่ ส มบู รณ ทั้ ง ระบบถนน การให บ ริ การไฟฟ า ประปา โทรศัพท การป องกั นน้ํ า ท ว ม การบํ า บั ด น้ํ า เสี ย รวมทั้ ง การให บ ริ การระบบขนส ง มวลชนที่ มีป ระสิ ทธิ ภ าพ แนวทางการพัฒนาเมืองในพื้นที่ภายในแนวถนนวงแหวนรั ช ดาภิ เษก จึ ง ถู กกํ า หนดให ส อดคล องกั บ สภาพ ของพื้นที่ ดังนี้

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


49 แผนผังที่ 5–1 ผังโครงสรางการพัฒนากรุงเทพมหานคร

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


50

1) การอนุรักษ และฟนฟูบริเวณอนุรักษกรุงรัตนโกสินทรและกรุงธนบุรี 2) การปรับปรุงฟนฟูยานสถาบันการบริหารการปกครองในบริเวณพืน้ ที่ตอเนื่องในเขตดุสิต 3) การพัฒนายานพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยหนาแนนมาก ในบริเวณที่มีศักยภาพโดยเฉพาะ บริเวณที่อยูในเขตการใหบริการของระบบระบบขนส ง มวลชน ซึ่ ง ได แ ก ระบบรถไฟฟ า ยกระดั บ และระบบ รถไฟฟาใตดิน 4) กําหนดพื้นที่พัฒนาพิเศษ บริเวณศูนย ค มนาคมซึ่ ง เป นจุ ด รวมของระบบคมนาคมรู ป แบบ ตางๆ และอาจเชื่อมโยงดวยระบบขนสงมวลชนกับสนามบินสุวรรณภูมิ และบริเวณพื้นที่ ที่มีค วามต อเนื่ องกั บ ยานพาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองในปจจุบัน (2) การพัฒนาในพื้นที่ระหวางถนนวงแหวนรั ชดาภิ เ ษกกั บกาญจนาภิ เ ษก : การพั ฒ นาใน เขตพื้นที่ระหวางถนนวงแหวนรัชดาภิเษกกับถนนกาญจนาภิเษก (ถนนวงแหวนรอบนอก) ซึ่ ง เป นบริ เวณที่ ยัง มีความหนาแนนประชากรคอนขางต่ํา และมีพื้นที่ ว า งที่ ยัง ไม มีการใช ป ระโยชน จํ า นวนมาก ในบริ เวณพื้ นที่ ดังกลาวจึงกําหนดใหเปนบริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลางและหนาแนนนอย โดยกํ า หนดให มีการพั ฒ นา ศูนยพาณิชยกรรมและศูนยชุมชนชานเมืองเพื่อใหบริการแกประชาชนตามระดับความหนาแนนของบริเวณนั้นๆ และเพื่อสรางความสมดุลระหวางแหลงงานและที่อยูอาศัย (3) การพัฒนาพื้นที่รอบนอกกรุงเทพมหานคร : การสงเสริมการพัฒนาเมืองในเขตพื้ นที่ ภ ายใน ถนนวงแหวนรอบนอกซึ่ ง เป นพื้ นที่ ที่มีค วามพร อมด า นสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การในป จ จุ บั น โดย กํา หนดให เป นศู นย ชุ มชนชานเมื อง จะมี ผ ลต อการลดแรงผลั กดั นของการพั ฒ นาในเขตชานเมื อ ง และ ยอมสงผลใหเกิดการฟนฟูสภาพแวดลอมและความอุดมสมบู รณ ใ นเขตเกษตรกรรม ซึ่ ง จะเป นประโยชน ต อ การประกอบอาชีพของเกษตรกร ในขณะที่ พื้นที่ ภ ายในแนวถนนวงแหวนรอบนอกเพี ยงพอสํ า หรั บ รองรั บ ประชากรที่เพิ่มขึ้น ความจําเปนในการพัฒนาเมืองในพื้ นที่ รอบนอกซึ่ ง ส ว นใหญ เป นพื้ นที่ เกษตรกรรมที่ ยัง มี ความอุดมสมบูรณ จึงยังไมมีความจําเปน ในผังโครงสรางการพัฒนาเมืองจึงกําหนดพื้นที่นอกแนวถนนวงแหวน รอบนอกเป น พื้ นที่ ช นบทและเกษตรกรรม โดยกํ า หนดให มีการพั ฒ นาศู นย บ ริ การชุ มชนในบริ เวณต า งๆ อยางเปนระบบ เพื่อกระจายบริการตางๆ ที่จําเปนในการดํ า รงชี วิ ต ของเกษตรกร พร อมทั้ ง ส ง เสริ มกิ จ กรรม บางประเภทที่ ส นั บ สนุ นการประกอบอาชี พเกษตรกรรม เพื่ อยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป นอยู ข อง เกษตรกร (4) การจัดระบบการขยายตัวของอุตสาหกรรม : ผลจากการพัฒนาและฟนฟูในยานพาณิชยกรรม และที่ อยู อาศั ย หนาแน นมากภายในแนวถนนวงแหวนรั ช ดาภิ เษก ทํ า ให มี ค วามจํ า เป น ต อ การฟ น ฟู สภาพแวดล อมและการปรั บ ปรุ ง ด า นภู มิทัศ น ทั้ ง ยั ง ต องควบคุ มการประกอบกิ จ การด า นอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดมลพิษหรื อมี ความเสี่ ยงต อการเกิ ดอุ บั ติ ภั ย ในผั งโครงสร างการพั ฒนา สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


51 กรุงเทพมหานครจึงกําหนดใหยายอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดปญหามลพิ ษ หรื อมี ค วามเสี่ ยงต อการเกิ ด อุ บั ติ ภั ย ออกไปนอกเขตกรุงเทพมหานคร และกําหนดเขตอุตสาหกรรมในพื้นทีเ่ ขตบางบอนและบางขุ นเที ยน เพิ่ มจาก เดิมที่มีนิคมอุตสาหกรรมอยูแลวในพื้นที่ดานตะวันออก ซึ่งจะชวยรองรับอุตสาหกรรมบางประเภทที่ ยัง จํ า เป น และเปนองคประกอบสําคัญของเมือง

5.2

นโยบายอุตสาหกรรม กรุ ง เทพมหานครเป น พื้ นที่ ที่ป ระสบกั บ กั บ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อมเป นพิ ษ จากการประกอบกิ จ การ

อุตสาหกรรมมาอยางตอเนื่อง ไดแก ปญหาน้ําเสียจากการปล อยน้ํ า ทิ้ ง สู แ หล ง น้ํ า สาธารณะ ป ญ หาอากาศ เปนพิษจากกรรมวิธีการผลิต กอใหเกิดเขมา ฝุน กาซพิษและไอสารเปนพิษตางๆ ปญหาเสียงรบกวน เสี ยงดั ง จากเครื่องจักรในการทํางาน และปญหาของเสียที่มีลักษณะเปนทั้งของแข็ ง และสารโลหะ ซึ่ ง ข อกํ า หนดของ ผังเมืองรวมฉบับปจจุบัน (กฎกระทรวง ฉบับที่ 414) ไมอนุญาตใหโรงงานอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถขยายพื้นที่โรงงานเพิ่มขึ้นได อย า งไรก็ ต าม นโยบายรั ฐ บาลป จ จุ บั นมี นโยบายที่ ต องการผ อนปรน กฎเกณฑเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย อม (SMEs) เนื่ องจากเป น แหล ง งานที่ สํ า คั ญ และสร า งรายได ใ ห กับ เศรษฐกิ จ ชุ มชน อั นเป น การกระตุ นเศรษฐกิ จ ระดั บ ประชาชน โดยทั่วไปดวย แตทั้งนีจ้ ะตองไมเกิดผลเสียในแงผังเมืองจนเกินไป จึงมีแนวคิดผอนปรนการประกอบการด า น อุตสาหกรรมมากกวาผังฉบับเดิม ซึ่งตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ได กํา หนดนโยบาย ดานอุตสาหกรรมไวดังนี้ (1) หามการตั้งโรงงานใหมหรือขยายโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชสารเคมีอันตราย (2) ขยายพื้นที่รองรับอุตสาหกรรมในเขตบางบอนและเขตบางขุนเทียน (3) อนุ ญ าตให อุ ต สาหกรรมบริ การชุ ม ชนกระจายตั ว ในแต ล ะประเภทการใช ที่ดิ นตามความ เหมาะสม อุตสาหกรรมตางๆ ที่อนุญาตและไมอนุญาตจะแสดงไวใ นบั ญ ชี แ นบท า ยกฎกระทรวง จํ า แนกตาม ประเภทหรือชนิดของอุตสาหกรรม พรอมกําหนดเงื่อนไขการอนุญาตในแต ล ะย า นการใช ป ระโยชน ที่ดิ นอย า ง เหมาะสม โดยจําแนกกลุมอุตสาหกรรมไดเปน 5 กลุม ตามความจําเปนตอการบริการชุ มชนและความเข มข น ของการใหอนุญาตเนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่มีมลพิษหรือเสี่ยงภัย ประกอบดวย - อุตสาหกรรมบริการที่จําเปนแกชุมชน - อุตสาหกรรมบริการ หรือผลิต หรือประกอบที่มีมลพิษนอย - อุตสาหกรรมบริการที่มีมลพิษ - อุตสาหกรรมผลิต หรือประกอบที่มีมลพิษ สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


52 - อุตสาหกรรมที่มีมลพิษหรือเสี่ยงภัย

5.3

แนวความคิดในการวางผังการใชประโยชนที่ดิน

ภายหลังการศึกษาวิเคราะหขอมูลทางดานตางๆ กํ า หนดวิ สั ยทั ศ น แ ละวั ต ถุ ป ระสงค จากนั้ นจึ ง ได กําหนดเปนผังโครงสรางการพัฒนากรุงเทพมหานครแลว กอนการวางผังการใชที่ดินในรายละเอี ยดได กํา หนด แนวความคิดในการวางผังการประโยชน ที่ดิ นในระยะยาวยั ง คงเป นการพั ฒ นาเมื องระบบหลายศู นย กลาง (Polycentric) ตอเนื่องจากผั ง เมื องรวมฉบั บ ป จ จุ บั น กํ า หนดให มียา นพาณิ ช ยกรรมและบริ การอยู บ ริ เวณ ศู นย กลางเมื อง โดยให มีศู นย ชุ มชนขนาดใหญ อยู ใ นย า นชานเมื อง และมี ศู นย บ ริ การชุ มชนหลายระดั บ กระจายตัวใหบริการชุมชนในแตละยาน ซึ่งสรุปแนวความคิดหลักไดดังนี้ (1) การพัฒนายานพาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองและย า นพาณิ ช ยกรรมศู นย กลางรอง โดยอาศั ย ศักยภาพของระบบขนสงมวลชนขนาดใหญและศูนยค มนาคมเพื่ อสนั บ สนุ นบทบาทการเป นศู นย กลางทาง เศรษฐกิจของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (2) การอนุ รักษ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและส ง เสริ มการท องเที่ ยวในบริ เวณกรุ ง รั ต นโกสิ นทร แ ละพื้ นที่ ตอเนื่อง (3) การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ฟ นฟู ยา นพาณิ ช ยกรรมเมื องและที่ อยู อาศั ยหนาแน น มากในเขต การใหบริการของระบบขนสงมวลขนขนาดใหญและบริ เวณที่ มีอุป ทานเกิ นทางด า นอสั ง หาริ มทรั พย บ ริ เวณ พื้นที่ภายในถนนวงแหวนรัชดาภิเษก (4) การพัฒนายานที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลางและที่อยู อาศั ยหนาแน นน อย โดยมุ ง เน นการใช ประโยชนจากอุปทานเกิ นทางด า นที่ อยู อาศั ยและพื้ นที่ ว า งที่ ป ราศจากการใช ป ระโยชน ใ นบริ เวณระหว า ง ถนนวงแหวนรัชดาภิเษกกับถนนวงแหวนรอบนอก (5) การพั ฒ นาศู นย ชุ มชนชานเมื องและศู นย พาณิ ช ยกรรมชุ มชน เพื่ อสร า งเสริ ม ความสมดุ ล ระหวางที่อยูอาศัยและแหลงงาน และลดความจําเปนในการเดินทางเขาสูเขตเมืองชั้นใน (6) การพัฒนาเขตอุตสาหกรรมเพื่อสรา งเสริ มประสิ ทธิ ภ าพในการจั ด การด า นสิ่ ง แวดล อม และ การปองกันปญหาผลกระทบจากมลพิษและการเกิดอุบัติภัย (7) การพัฒนาและปรับปรุงฟนฟูยานสถาบันราชการ สถาบันทางสั ง คมระดั บ ประเทศและองค กร ระหวางประเทศ (8) การสงวนรักษาความอุ ด มสมบู รณ แ ละความสามารถในการระบายน้ํ า ของพื้ นที่ ช นบทและ เกษตรกรรมในเขตชานเมืองของกรุงเทพมหานคร แผนผังการใชประโยชนที่ดินตามผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรั บปรุ งครั้ งที่ 2) มี เป าหมายการเติ บโต และลักษณะการพัฒนาของเมืองระยะยาวในอนาคต ซึ่งมีความจําเปนตอการกําหนดและจัดลําดับการพั ฒ นา การใชประโยชนที่ดิ น เพื่ อให เมื องมี การขยายตั ว ออกไปอย า งเป นลํ า ดั บ ขั้ นตอน โดยสามารถสร า งสมดุ ล สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


53 ระหวางความตองการและการใหบริการในดานสาธารณูปโภคและสาธารณู ป การของเมื อง และระหว า งการ ขยายตัวของแรงงานและแหลงงาน ทั้งนี้แผนผังลําดับการพัฒนาการใชประโยชนที่ดินระยะแรกยัง เป นแผนผั ง ที่ มีค วามสอดคล องกั บ ช ว งระยะเวลาใช บั ง คั บ ผั ง เมื องรวมตามพระราชบั ญ ญั ติ การผั ง เมื อง พ.ศ. 2518 โดยจํ า แนกย อยการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทต า งๆ เพื่ อความเหมาะสมกั บ สภาพพื้ นที่ แ ละการพั ฒ นา มีรายละเอียดดังนี้ (1) ที่อยูอาศัย : จําแนกยอย ดังนี้ 1) ที่ อ ยู อ าศั ยหนาแน นน อย (สี เ หลื อ ง) เป นย า นการใช ที่ ดิ น ซึ่ ง ส ง เสริ ม การพั ฒ นาที่ ใ ห ความสําคัญในดานคุณภาพของชีวิตและสิ่งแวดลอมโดยแบ ง ออกเป น 4 ระดั บ (ย.1–ย.4) ซึ่ ง มี การควบคุ ม สภาพความหนาแน นและกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นแตกต า งกั นตามสภาพการพั ฒ นาและเศรษฐกิ จ ในปจจุบันของแตละพื้นที่ดังนี้ 1.1) ที่ อ ยู อาศั ย หนาแน น น อ ย 1 (ย.1) ได แ ก บริ เ วณซึ่ ง ป จ จุ บั นเป น ที่ อ ยู อ าศั ย ที่ มี สภาพแวดลอมดี เนื่องจากการพั ฒ นาซึ่ ง ส ว นใหญ เป นที่ อยู อาศั ยแบบบ า นเดี่ ยว สภาพทางเศรษฐกิ จ ของ พื้นที่มีมูลคาสูง บริเวณดังกลาวไดแก ที่อยูอาศัยหนาแน นน อยในเขตชานเมื องด า นตะวั นออก สํ า หรั บ พื้ นที่ ชานเมืองดานตะวันตก ไดแก พื้นทีบ่ างส ว นในเขตทุ ง ครุ ซึ่ ง มี ส ภาพแวดล อมเหมาะสมต อการอยู อาศั ยที่ ดี การกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทนี้เพื่อเปนการดํารงรักษาและสงเสริมสภาพแวดล อมที่ ดี ข องการเป น ที่อยูอาศัย โดยไดควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินและความหนาแน นของการพั ฒ นาที่ ไ ม ส ง ผลกระทบ ตอสภาพแวดลอม 1.2) ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย 2 (ย.2) เปนบริเวณพื้นที่ชานเมืองซึ่ ง สภาพป จ จุ บั นส ว นใหญ ยังคงเปนพื้นที่เกษตรกรรม การพัฒนาและจํานวนประชากรยังมีอยูอยางเบาบาง อยางไรก็ ต ามด ว ยศั กยภาพ ของการคมนาคมและการไดรับบริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จึงกําหนดใหเปนที่อยูอาศั ยหนาแน น นอยเพื่อรองรับการขยายตั ว ของที่ อยู อาศั ยชานเมื องในอนาคต โดยควบคุ มระดั บ การพั ฒ นาและกิ จ กรรม การใชประโยชนที่ดินใหมีความหนาแนนเบาบางและเปนที่อยูอาศัยประเภทบานเดี่ยวและบานแฝด 1.3) ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย 3 (ย.3) ไดแก บริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในและเขตชานเมื อง ซึ่ ง ส ว นใหญ มีการพั ฒ นาของที่ อยู อาศั ยทางราบ (บ า นเดี่ ยว บ า นแฝด ทาวน เฮาส ) และในบริ เวณพื้ นที่ โดยรอบศูนยชุมชนชานเมื อง กํ า หนดให เป นที่ อยู อาศั ยหนาแน นน อย โดยห า มการพั ฒ นาในลั กษณะของ อาคารสูง อาคารขนาดใหญ และควบคุมกิจกรรมการใชประโยชน ที่ดิ นที่ จ ะส ง ผลกระทบต อสภาพแวดล อม และความเปนที่อยูอาศัยหนาแนนนอย 1.4) ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย 4 (ย.4) เพื่อเปนที่อยูอาศัยบริเวณระหวา งเขตเมื องชั้ นในและ เขตชานเมือง เปนบริเวณที่มีความสะดวกในการเดิ นทางและมี ศั กยภาพต อการพั ฒ นาที่ ส ามารถเพิ่ มความ หนาแนนในอนาคตดวยปจจัยมูลคาทางเศรษฐกิจของพื้นที่ ทั้งนี้การกํ า หนดระดั บ ความหนาแน นของการใช ประโยชนที่ดินยังคงหามการพัฒนาของอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ และควบคุมกิจกรรมการใช ป ระโยชน ที่ดินที่สงผลตอการเปนที่อยูอาศัย สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


54 2) ที่ อยู อาศั ยหนาแน นปานกลาง (สี ส ม ) : เป นย า นที่ อยู อาศั ย ซึ่ ง รองรั บ การพั ฒ นาและ ที่อยูอาศัยของประชาชนกลุมระดับรายไดปานกลางซึ่งเปนกลุมที่มีจํานวนสูง สุ ด ของ กทม. แบ ง เป น 3 ระดั บ (ย.5–ย.7) โดยกําหนดการควบคุมความหนาแนนและกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นแตกต า งกั นตามสภาพ การพัฒนาปจจุบัน ศักยภาพในดานการคมนาคมขนสง และสภาพแวดลอมของพื้นที่ ดังนี้ 2.1) ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง 5 (ย.5) ได แ ก ที่ อยู อาศั ยบริ เวณพื้ นที่ ต อเนื่ องกั บ เขต เมืองชั้นในที่มีความหนาแนนปานกลางซึ่งยังคงสภาพแวดลอมที่ดี และบริ เวณโดยรอบศู นย ชุ มชนย อยซึ่ ง อยู ในเขตชานเมือง โดยกําหนดควบคุมการพัฒนาของอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ พิเศษเพื่ อให มีระดั บ ของ การพัฒนาที่ไมหนาแนนหรือสงผลตอสภาพแวดลอมของการอยูอาศั ย สํ า หรั บ กิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ น ประเภทอื่นสามารถอยู ไ ด ภ ายใต เงื่ อนไขในด า นของที่ ตั้ ง และความสะดวกในการเดิ นทางเข า ถึ ง ที่ ไ ม เป น การสรางผลกระทบตอการอยูอาศัยของพื้นที่ 2.2) ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง 6 (ย.6) บริเวณที่อยูอาศั ยในพื้ นที่ ต อเนื่ องกั บ เขตเมื อง ชั้นใน และบริเวณโดยรอบศูนยชุมชนชานเมื อง ศู นย พาณิ ช ยกรรมชุ มชน และเขตอุ ต สาหกรรม เพื่ อรองรั บ การอยูอาศั ยที่ ต องการอยู ใ กล แ หล ง งาน โดยกํ า หนดระดั บ ความหนาแน นของการพั ฒ นาให มีที่อยู อาศั ย ประเภทอาคารสู ง อาคารขนาดใหญ และกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทอื่ นที่ ไ ม ส ง ผลกระทบต อ การอยูอาศัยใหมีความสอดคลองกับสภาพและมูลคาทางเศรษฐกิจของพื้นที่ 2.3) ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง 7 (ย.7) บริเวณที่อยูอาศั ยในพื้ นที่ ต อเนื่ องกั บ เขตเมื อง ชั้ นในและอยู ใ นเขตการให บ ริ การของระบบขนส ง มวลชนจึ ง มี ศั กยภาพต อการพั ฒ นาที่ ส ามารถมี ค วาม หนาแนนเพิ่มขึ้นในอนาคต ประกอบกับปจจัยทางดา นกายภาพและเศรษฐกิ จ ของพื้ นที่ จึ ง กํ า หนดเป นที่ อยู อาศัยหนาแนนปานกลาง โดยมีการพัฒนาของที่อยูอาศัยประเภทอาคารสูง และอาคารขนาดใหญ โดยมี การ ควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินประเภทอื่นที่จะสงผลกระทบตอสภาพของการเปนที่อยูอาศัย 3) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) เปนยานที่ อยู อาศั ยในพื้ นที่ เมื องชั้ นใน ซึ่ ง ส ว นใหญ มี สภาพการพัฒนาและกิจ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ มีค วามหนาแน นสู ง แบ ง ออกเป น 3 ระดั บ (ย.8–10) ตามสภาพเศรษฐกิจและศักยภาพของพื้ นที่ สภาพการพั ฒ นาที่ มีข อจํ า กั ด จากข อบั ญ ญั ติ กรุ ง เทพมหานคร ในการควบคุมการปลูกสรางอาคาร และใหความสําคัญตอคุณคาของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 3.1) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก 8 (ย.8) เพื่ อเป นที่ อยู อาศั ยบริ เวณเขตเมื องชั้ นใน ซึ่ ง มี การ พัฒนาที่หนาแนนแตยังคงมีขอจํากัดในการปลูกสรางอาคารดวยขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ระดั บ การบริ การ ดานสาธารณูปโภค ขีดจํากัดของการจัดการจราจรและการคมนาคมขนส ง ที่ มีป ริ มาณสู ง และบริ เวณพื้ นที่ ริมแมน้ําเจาพระยาซึ่งมีการดํารงรักษาทัศนียภาพและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ โดยควบคุ มระดั บ ความ หนาแนนของการพัฒนาที่เหมาะสมกับมูลคาทางเศรษฐกิจ และกิจกรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ มีข นาดใหญ หรือสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและการจราจร 3.2) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก 9 (ย.9) เป นที่ อยู อาศั ยบริ เวณพื้ นที่ เมื องชั้ นในซึ่ ง อยู ใ นเขต การใหบริการของระบบขนสงมวลชน มีความสะดวกจากระบบสาธารณูปโภคและสาธารณู ป การ และการอยู สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


55 ใกลแหลงงานและการบริการตางๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวัน จึงกําหนดใหเปนบริเวณที่ อยู อาศั ยที่ มี ความหนาแน นสู ง เพื่ อให ระดั บ ของการพั ฒ นามี ค วามเหมาะสมกั บ มู ล ค า ทางเศรษฐกิ จ ของพื้ น ที่ แ ละ สอดคลองกับศักยภาพการได รับ บริ การสาธารณู ป โภค โดยเฉพาะระบบขนส ง มวลชน ทั้ ง นี้ ยัง คงควบคุ ม การพัฒนาของกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินประเภทอื่นดวยเงื่อนไขและมาตรการตางๆ ทางผังเมือง เพือ่ ปองกัน ผลกระทบดานสภาพแวดลอมของการอยูอาศัย 3.3) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก 10 (ย.10) เปนที่อยูอาศัยบริเวณเขตเมื องชั้ นในที่ ต อเนื่ องกั บ ยานพาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองและในเขตการใหบริการของระบบขนส ง มวลชน มี ค วามสะดวกจากระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ใกลแหลงงาน การคาและบริการตางๆสภาพการพั ฒ นาที่ อยู อาศั ยในป จ จุ บั น สวนใหญเปนอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษ ตลอดจนกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทอื่ นซึ่ ง มี ระดับการพัฒนาที่มีความหนาแนนสูง จากปจจัยดานมูลคาของที่ดินและจากศักยภาพในการพั ฒ นาของพื้ นที่ จึงกําหนดใหเปนที่อยูอาศัยที่มีความหนาแนนสูงสุด โดยยังคงควบคุมการพัฒนาของกิจกรรมการใช ป ระโยชน ที่ดินประเภทอื่นในระดับที่ไมสงผลกระทบตอการอยูอาศัยที่หนาแนนดวยเงื่อนไขและมาตรการทางดานผังเมือง (2) พาณิชยกรรม (สีแดง) : จําแนกเปน 5 ประเภท (พ.1–พ.5) ตามระดับและสภาพของกิ จ กรรม ทางเศรษฐกิจ ไดแก 1) พาณิชยกรรมชุ มชน (พ.1) เป นบริ เวณย า นการค า และบริ การที่ ใ ห บ ริ การในระดั บ ชุ มชน เพื่อกระจายกิจกรรมการคาและการบริการที่ อํา นวยความสะดวกต อการดํ า รงชี วิ ต ประจํ า วั นของประชาชน ที่อยูบริเวณชานเมือง กําหนดใหสภาพการพัฒนาและกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินมีความหนาแน นไม สู ง มาก โดยมีความสอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจและศักยภาพของพื้นที่ 2) พาณิ ช ยกรรมชุ มชนย อ ย (พ.2) เป นย า นการค า และบริ การที่ กระจายตั ว อยู ทั่ว ไป เพื่ อ กระจายการคาและบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในเขตต อเมื องและ เขตชานเมือง กําหนดใหสภาพการพัฒนาและประเภทกิจกรรมเขมขนกวาพาณิชยกรรมชุมชน 3) พาณิชยกรรมชุมชนรองและพาณิ ช ยกรรมเมื อง (พ.3) เป นบริ เวณย า นการค า และบริ การ ภายในเมือง เพื่อรองรับการประกอบกิจกรรมทางธุ รกิ จ การค า และการบริ การรวมทั้ ง การค า และการบริ การ เฉพาะประเภทที่ใหบริการสําหรับประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งเปนบริเวณที่สภาพการพัฒนามีระดั บ ความหนาแน น และกิจกรรมการใชที่ดินที่สูงขึ้นโดยสัมพันธกับมูลคาของที่ดิน 4) พาณิชยกรรมศูนยชุมชนชานเมืองและศูนยพาณิชยกรรมรอง (พ.4) ได แ ก ย า นการค า และ บริการในบริเวณศูนยชุมชนชานเมื อง เพื่ อส ง เสริ มความเป นศู นย กลางทางธุ รกิ จ การค า การบริ การ และ สันทนาการ ที่จะสรางความสมดุ ล ระหว า งที่ อยู อาศั ยและแหล ง งานในบริ เวณชานเมื องโดยมี ระดั บ ความ หนาแนนของการพัฒนาที่สูงขึ้นตามบทบาทการใหบริการ และบริเวณโดยรอบศู นย ค มนาคมของระบบขนส ง มวลชนและเขตรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของศูนยพาณิชยกรรมหลัก จึงเปนบริเวณที่ มีศั กยภาพสู ง ต อ การเปนศูนยกลางพาณิชยกรรมเพื่อสงเสริ มการประกอบกิ จ กรรมทางธุ รกิ จ การค า และการบริ การ โดยเป น สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


56 บริ เวณที่ รองรั บ การพั ฒ นาและการกระจายตั ว จากบริ เวณพาณิ ช ยกรรมศู นย กลางเมื อง มี ระดั บ ความ หนาแนนของการใชที่ดินสูง โดยมีขอพิจารณาควบคุมกิจกรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ มีค วามขั ด แย ง (Non– Conforming Use) ที่เขมงวดขึ้น 5) พาณิชยกรรมศูนยกลางเมือง (พ.5) ใช ป ระโยชน เป นศู นย พาณิ ช ยกรรมหลั ก เพื่ อส ง เสริ ม ความเป นศู นย กลางทางธุ รกิ จ การค า การบริ การ และการท องเที่ ยวในระดั บ ภู มิภ าค โดยมี ระดั บ ความ หนาแนนของการพัฒนาสูงสุด เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิ จ ของพื้ นที่ โ ดยสั มพั นธ กับ ระดั บ การบริ การด า น สาธารณูปโภคและระบบขนสงมวลชน (3) อุตสาหกรรมและคลังสินคา : จําแนกเปน 3 ประเภท (อ.1–อ.3) ประกอบดวย 1) เขตอุตสาหกรรม (อ.1) (สีมวง) ไดแก บริ เวณซึ่ ง มี โ รงงานอุ ต สาหกรรมจํ า นวนมากตั้ ง อยู ในปจจุบัน โดยสงเสริมใหเปนเขตอุต สาหกรรมเพื่ อการบริ หารและจั ด การด า นสิ่ ง แวดล อมในการประกอบ กิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการผลิ ตที่ มีมลพิ ษน อย โดยมี ข อพิ จารณาควบคุ มระดั บความหนาแน นการพั ฒ นา ของการใชที่ดินประเภทอื่น 2) นิคมอุตสาหกรรม (อ.2) (สีมวง) ไดแก บริเวณพื้นที่ใชประโยชน เพื่ อเป นนิ ค มอุ ต สาหกรรม ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรม กํ า หนดให มีการใช ที่ดิ นเฉพาะเพื่ อการอุ ต สาหกรรม และกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3) คลังสินคา (อ.3) (สีเม็ดมะปราง) บริเวณซึ่งมีการใชประโยชน ที่ดิ นส ว นใหญ เพื่ อประกอบ กิจการคลังสินคา การเก็บและขนถายสินคาเพื่อการขนสงในระดับภูมิภาค ไดแก บริเวณ ICD เขตลาดกระบัง (4) ชนบทและเกษตรกรรม : กําหนดเป น 4 ประเภท (ก.1–ก.4) ตามสภาพทางกายภาพของ พื้นที่ซึ่งมีผลตอการประกอบการเกษตรกรรม และตามระดับบริการสาธารณูปการของชุมชนดังนี้ 1) พื้นที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (ก.1) (สี ขาวมี ก รอบและเส น ทแยงสี เ ขี ยว) ได แ ก บริเวณสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมในบริเวณที่ มีข อจํ า กั ด ด า นการระบาย น้ําและมีความเสี่ยงตอการเกิดน้ําทวม และการคงสภาพพื้ นที่ เกษตรกรรมในบริ เวณพื้ นที่ น้ํา หลากตามแนว พระราชดําริ ด า นตะวั นออก เพื่ อป องกั นและแก ไ ขป ญ หาน้ํ า ท ว ม โดยมี ข อกํ า หนดการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ เขมงวดเพื่ อควบคุ มและป องกั นสภาพการพั ฒ นาแบบชุ มชนเมื อง ได แ ก บ ริ เวณชานเมื องตะวั นออกของ กรุงเทพมหานคร 2) พื้นที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (ก.2) (สี ขาวมี ก รอบและเส น ทแยงสี เ ขี ยว) ได แ ก บริเวณสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ ข องพื้ นที่ ช นบทและเกษตรกรรม ได แ ก บริ เวณบางส ว นของเขตต อ เมืองตะวันตกและเขตชานเมืองตะวันตกของกรุงเทพมหานคร 3) พื้ นที่ ช นบทและเกษตรกรรม (ก.3) (สี เ ขี ยว) ได แ ก บริ เวณซึ่ ง สงวนรั กษาสภาพทาง ธรรมชาติและเพื่อเปนพื้นที่เกษตรกรรม จึงกํา หนดระดั บ ความหนาแน นการพั ฒ นาและกิ จ กรรมการใช ที่ดิ น เพื่อใหสามารถดํารงสภาพความเปนพื้นที่เกษตรกรรมได ต อไป ทั้ ง นี้ ไ ด กํา หนดเงื่ อนไขการใช ป ระโยชน ที่ดิ น สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


57 เพื่อการเกษตรกรรมประเภทที่ตองอาศั ยน้ํ า เค็ มหรื อน้ํ า กร อยให อยู เฉพาะในบริ เวณที่ มีค วามเหมาะสมจาก สภาพทางกายภาพ 4) ชุมชนชนบท (ก.4) (สีเขียว) ใหใชประโยชนเพื่อเปนชุมชนและศูนยกลางการให บ ริ การด า น สังคมและการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนในบริเวณพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม มี ข อกํ า หนดการประโยชน ที่ดิ น ที่อํานวยตอการพั ฒ นาเพื่ อเป นศู นย บ ริ การชุ มชนชนบทโดยยั ง สามารถควบคุ มระดั บ การพั ฒ นาเป นพื้ นที่ ชนบทและเกษตรกรรม (5) บริเวณอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย (ศ.) (สีน้ําตาลออน) : กําหนดเปน 2 ประเภท (ศ.1–ศ.2) ไดแก บริเวณพื้นที่ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกํ า หนดบริ เวณห า มก อสร า งดั ด แปลงใช หรื อเปลี่ ยน การใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทภายในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร เขตชั้ นในและเขตชั้ นนอก รวมบริ เวณ ฝ ง ธนบุ รี ต รงข า มบริ เวณกรุ ง รั ต นโกสิ นทร ซึ่ ง กํ า หนดเพื่ อให มีการพั ฒ นาและการใช ป ระโยชน ที่ดิ นตาม วัตถุประสงคในการสงเสริมการดํารงรักษาเอกลักษณทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ ไดแก 1) พื้ นที่ อนุ รักษ แ ละส ง เสริ มเอกลั กษณ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชาติ แ ละส ง เสริ มกิ จ กรรมทาง เศรษฐกิจดานการทองเที่ยว (ศ.1) 2) พื้ นที่ อนุ รัก ษ แ ละส ง เสริ มเอกลั กษณ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชาติ แ ละส ง เสริ มกิ จ กรรมด า น พาณิชยกรรม การบริการ และการทองเที่ยว (ศ.2) ไดแก บริเวณวังบูรพา ซึ่งกําหนดใหมีความหนาแน นการใช ประโยชนที่ดินไดมากกวาบริเวณ ศ.1 (6) สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณู ปการ (ส.) (สี น้ํ า เงิ น ) : ให ใ ช ป ระโยชน เพื่อกิจการของรัฐ โดยประกอบดวย สถานที่ทําการของราชการ สถานที่ เพื่ อกิ จ การด า นสาธารณู ป โภคและ สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน สําหรับการใชประโยชนที่ดินประเภทสถาบันราชการทหาร สถาบั นการศึ กษา และศาสนสถาน กําหนดประเภทการใชประโยชนที่ดินตามสีขางเคียง สวนการใชที่ดินประเภทที่ โ ล ง เพื่ อนั นทนาการและรั กษา คุณภาพสิ่งแวดลอมจะอยูในสวนของการวางผังแสดงที่โลง

5.4

แนวความคิดในการวางผังที่โลงและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

5.4.1 ผลการวิเคราะหขอมูล จากการคาดประมาณจํานวนประชากรและคนทํ า งานในกรุ ง เทพมหานครซึ่ ง ในอี ก 20 ป ข า งหน า จะมีประชากรอยูอาศัยและทํางานโดยประมาณ 12.5 ลานคน ทามกลางสภาพแวดลอมที่แ ออั ด หนาแน นของ สิ่งปลูกสรางและอาคารบานเรือน ความคับคั่งของยานพาหนะที่ใชในการสั ญ จร ก อให เกิ ด ป ญ หาสุ ข อนามั ย จากควันพิษและฝุนละออง จากขอมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานครในปจจุบันยังมีพื้นที่สวนสาธารณะ เพื่อการพักผอนหย อนใจน อยมากเพี ยงประมาณ 4,600 ไร หรื อคิ ด เป นสั ด ส ว นต อประชากรโดยประมาณ สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


58 1.16 ตารางเมตรตอคน ซึ่งต่ํากวามาตรฐานที่กําหนดไวในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบั บ ที่ 6 ให เพิ่ มพื้ นที่ สีเขียวและสวนสาธารณะอยางนอยใหมีอัตราสวนพื้นที่ตอจํานวนประชากรอยางนอย 2.5 ตารางเมตรตอคน

5.4.2 แนวความคิดในการวางผัง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) กํ า หนดวิ สั ยทั ศ น แ ละวั ต ถุ ป ระสงค ใ นการพั ฒ นา เมืองที่สําคัญประกอบดวยความมุงหวังที่จะให กรุ ง เทพมหานครเป นมหานครที่ มีค วามน า อยู ด ว ยการสงวน รักษาสภาพแวดลอมและทรัพยากรทางธรรมชาติ ซึ่งตองมีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ที่ทรงคุ ณ ค า งดงาม และปองกันภัยธรรมชาติโดยบํารุงรักษาคุณภาพสิ่ ง แวดล อม ฟ นฟู แ ละป องกั นภั ยจากธรรมชาติ เป นต นว า การปองกันน้ํ า ท ว ม การป องกั นป ญ หาชายฝ ง ถู กน้ํ า ทะเลกั ด เซาะ การอนุ รักษ แ หล ง น้ํ า ธรรมชาติ เป นต น จากนโยบาย วิสัยทัศน และวัตถุประสงคในการวางผังดังกลาว นํามาสูความแนวคิดในการวางผังผังที่โลง ดังนี้ (1) การพัฒนาพื้นที่โลงวางเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมโดยสวนสาธารณะที่ มีอยู ในปจจุบันและโดยการเสนอแนะใหจัดหาสวนสาธารณะในระดับตางๆ (2) การสงวนรักษาที่โลงพักน้ําเพื่อการปองกันน้ําทวม (แก มลิ ง ) ในบริ เวณพื้ นที่ ลุ มและบริ เวณบึ ง หรือสระน้ําในพื้นที่ของสวนราชการและเอกชน (3) การอนุรักษปาชายเลนและการแก ไ ขและป องกั นการกั ด เซาะบริ เวณพื้ นที่ ช ายฝ ง ทะเลในเขต บางขุนเทียน (4) การกําหนดแนวที่โลงริมแมน้ําและคลองเพื่อสรางเสริมสภาพภูมิทัศน และการแก ไ ขหรื อป องกั น ปญหาการบุกรุกลําน้ําสาธารณะ (5) การกําหนดแนวที่โลงริมถนนสายหลักเพือ่ การสรางเสริ มสภาพภู มิทัศ น แ ละการบรรเทาป ญ หา ผลกระทบดานมลพิษจากการจราจร 5.4.3 แผนผังแสดงที่โลง แผนผังที่โลงเปนแผนผังแสดงการใชประโยชนที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและรั กษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอม และรวมถึงการปองกันน้ําทวม โดยแบงที่โลงออกเปน 2 ประเภท คือ (1) ที่โลงเพื่อนันทนาการและการรั ก ษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล อ ม : ได กํา หนดไว ใ นบริ เวณที่ เป น สวนสาธารณะ สวนสัตว สนามกีฬา ศูนยเยาวชนขนาดใหญ สนามมา สนามกอลฟ พื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน ที่โลงขนาดใหญในสถานที่ราชการฯ จํานวนรวม 46 บริเวณ โดยกําหนด “ที่โลงเพื่อนันทนาการและการรั กษา คุณภาพสิ่งแวดลอมเฉพาะที่ดินซึ่งเปนของรั ฐ ให ใ ช ป ระโยชน เพื่ อนั นทนาการหรื อเกี่ ยวข องกั บ นั นทนาการ การรักษาคุณ ภาพสิ่ ง แวดล อม หรื อสาธารณประโยชน เท า นั้ น ที่ โ ล ง ที่ เป นที่ ดิ นซึ่ ง เอกชนเป นเจ า ของหรื อ ผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวของกับนันทนาการ การรักษา คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม สาธารณประโยชน หรื อเพื่ อวั ต ถุ ป ระสงค อื่นที่ ไ ม ขั ด หรื อแย ง กั บ ข อกํ า หนดการใช ประโยชนที่ดินประเภทอื่นที่ไดจําแนกไว ต ามกฎกระทรวงนี้ ซึ่ ง ตั้ ง อยู โ ดยรอบที่ ดิ นดั ง กล า ว ในกรณี ที่ติ ด กั บ สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


59 ที่ดินหลายประเภท ใหใชประโยชนที่ดินไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับขอกํา หนดการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทที่ มี แนวเขตติดตอกับที่โลงประเภทนี้มากที่สุด” (2) ที่โลงพักน้ําเพื่อปองกัน น้ํ า ท ว ม : กํ า หนดไว ใ นแผนผั ง แสดงที่ โ ล ง จํ า นวน 11 บริ เวณ เป น พื้นที่บึงพักน้ํา (แกมลิง) ซึ่งดําเนินการโดยจัดทําเปนแผนหลั กระบบระบายน้ํ า และระบบป องกั นน้ํ า ท ว มของ สํานักการระบายน้ํา ขอกําหนดของที่โลงประเภทนี้ “ใหใชประโยชนเพื่อการปองกันน้ําทวม การสาธารณูปโภค ที่เกี่ยวของกับการปองกันน้ําทวม หรือสวนสาธารณะเทานั้น ที่โลงประเภทนี้ ให มีการถมดิ นได ไ ม เกิ นร อยละ สามสิบหาในแตละบริเวณ” ทั้งนี้ ยังไดกําหนดแนวที่โลงไวในการใชประโยชนที่ดินตามแผนผั ง การใช ป ระโยชน ที่ดิ นในลั กษณะ ตางๆ ดังนี้ - ที่โลงเพื่อส ง เสริ มคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อมริ มถนนสายหลั ก : วั ต ถุ ป ระสงค ข องการกํ า หนดพื้ นที่ สีเขียวริมถนนทั้งสองฟากใหรมเงา และใชประโยชนเปนพื้นที่สีเขียวกันชนระหวางถนนและอาคารสิ่ ง ก อสร า ง ชวยกรองฝุ นละอองและควั นพิ ษ จากท อไอเสี ยรถยนต ที่ โ ล ง ประเภทนี้ ส ว นใหญ ไ ด กํา หนดไว ใ นถนนที่ มี ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครควบคุ มพื้ นที่ ริมถนนในระยะ 15 เมตร จํ า นวน 22 สาย ซึ่ ง มี ข อกํ า หนด “ให มี ที่วางหางจากแนวเขตทางไมนอยกวา 2 เมตร เพื่ อปลู กต นไม เว นแต เป นการก อสร า งรั้ ว กํ า แพง ป อมยาม ปายชื่ออาคารหรือสถานประกอบการ ปายสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงหรือสถานีบริการก า ซ ทางเข า ออกของ อาคาร หรือทางเขาออกของรถ” - ที่โลงเพื่อรักษาสภาพแวดลอมริมแมน้ําและลําคลอง ไดแก การกําหนดใหมีที่วา งเพื่ อปลู กต นไม การกํ า หนดระยะถอยร น เพื่ อประโยชน แ ห ง การรั กษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อม ความเป น ระเบี ยบเรี ยบร อ ย สวยงามของเมือง ซึ่งมีขอกําหนด “ที่ดินนั้นตั้งอยูริมแหลงน้ําสาธารณะที่มีความกว า งน อยกว า 10 เมตร ให มี ที่วางเพื่อปลูกตนไมตามแนวขนานกับเขตแหลงน้ําสาธารณะนั้นไมนอยกวา 3 เมตร แตถาแหล ง น้ํ า สาธารณะ มีความกวางตั้งแต 10 เมตร ขึ้นไป ใหมีที่วางเพื่อปลูกต นไม ต ามแนว ขนานกั บ เขตแหล ง น้ํ า สาธารณะนั้ น ไมนอยกวา 6 เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคมขนสง ทางน้ํ า การสาธารณู ป โภค เขื่ อน รั้ ว หรื อ กําแพง การใชประโยชนที่ดินลวงล้ําเขาไปเหนือน้ํา ในน้ํา หรือใตน้ําของ แหลงน้ํ า สาธารณะ ให ใ ช ป ระโยชน เพื่อการคมนาคมขนส ง ทางน้ํ า การสาธารณู ป โภค เขื่ อน สะพาน ท อ สายเคเบิ ล คานเรื อ และโรงสู บ น้ํ า สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อวัตถุประสงคอื่นใหกระทําไดเฉพาะเพื่อประโยชนสาธารณะและตองไม กระทบ ตอการใชประโยชนในแหลงน้ําสาธารณะรวมกันของประชาชน” นอกจากนี้ ยั ง มี ข อ เสนอแนะเกี่ ยวกั บ สวนสาธารณะ : แผนผั ง แสดงที่ โ ล ง ได เสนอแนะระบบ สวนสาธารณะที่จะตองจัดหาเพิ่มเติมในบริเวณชุมชนที่ขาดแคลน ดังนี้ ฝงตะวันตก สวนสาธารณะระดับเมือง

(300 ไร)

2

แหง

สวนสาธารณะระดับยาน

(100 ไร)

5

แหง

สวนสาธารณะระดับชุมชน

(50 ไร )

20

แหง

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


60 ฝงตะวันออก สวนสาธารณะระดับเมือง

(300 ไร)

3

แหง

สวนสาธารณะระดับเขต

(100 ไร)

9

แหง

(50 ไร )

18

แหง

สวนสาธารณะระดับชุมชน

สภาพป จ จุ บั นกรุ ง เทพมหานครมี ส วนสาธารณะและสวนหย อมที่ ดํ า เนิ นการโดยภาครั ฐ และ เอกชน ซึ่งประชาชนเขา ไปใช พักผ อนหย อนใจได ป ระมาณ 351 แห ง คิ ด เป นพื้ นที่ ป ระมาณ 4,603.563 ไร จากการทําสํามะโนประชากรและเคหะ ป พ.ศ. 2543 พบว า กรุ ง เทพมหานครมี ป ระชากรอยู อาศั ยจํ า นวน 6,355,144 คน ดั ง นั้ นกรุ ง เทพมหานครจึ ง มี สั ด ส ว นสวนสาธารณะต อประชากร 1.159 ตารางเมตรต อคน ซึ่งนับวานอยมากและยังมีการกระจายตัวไมทั่วถึงตอการใหบริการประชาชนในแต ล ะกลุ มพื้ นที่ ผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดมีการคาดการณจํานวนประชากรอยู อาศั ยในเขตกรุ ง เทพมหานครอี ก 20 ปขางหนาไว 7.1 ลานคน โดยมีเปาหมายใหมีพื้นที่สวนสาธารณะเพิ่มอีกประมาณ 6,450 ไร

5.5

แนวความคิดในการวางผังโครงขายระบบคมนาคมและขนสง

5.5.1 ผลการวิเคราะหขอมูล ในการวางแผนผังโครงการคมนาคมและขนสงไดทําการวิเคราะหสภาพการจราจรจากความเร็ ว เฉลี่ ย ของการเดินทาง ปริมาณการเดินทาง และคาความจุสํารองหรือปริมาณการเดินทางตอความจุ ข องถนน (V/C) โดยวิเคราะหในระยะการใชบังคับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) และในอีก 20 ป ขางหนา คื อป พ.ศ. 2565 ทั้ ง นี้ การวิ เคราะห ใ นภาพรวมมี 3 ระดั บ คื อพื้ น ที่ ภ ายในวงแหวนรั ช ดาภิ เ ษก พื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร และพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (1) ปริมาณการเดิน ทาง : ผลจากการวิ เคราะห กล า วได ว า ป พ.ศ. 2545 ปริ มาณการเดิ นทาง ภายในวงแหวนรัชดาภิเษกมีประมาณ 2.4 ลานคน–เที่ยว/วัน ภายในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีปริมาณการเดินทาง ประมาณ 8 ลานคน–เที่ยว/วัน และพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีป ริ มาณการเดิ นทางประมาณ 21.3 ลานคน–เที่ยว/วัน ป พ.ศ. 2552 ปริ มาณการเดิ นทางภายในวงแหวนรั ช ดาภิ เษกเพิ่ มขึ้ นเป น 2.5 ล า นคน– เที่ยว/วัน ภายในพื้ นที่ กรุ ง เทพมหานครมี ป ริ มาณการเดิ นทางเพิ่ มขึ้ นเป น 12 ล า นคน–เที่ ยว/วั น และพื้ นที่ กรุง เทพมหานครและปริ มณฑลมี ป ริ มาณการเดิ นทางเพิ่ มขึ้ นเป น 24 ล า นคน–เที่ ยว/วั น และอี ก 20 ป ใ น อนาคตคือในป พ.ศ. 2565 ปริมาณการเดินทางภายในวงแหวนรัชดาภิเษกเพิ่ มขึ้ นเป น 2.7 ล า นคน–เที่ ยว/วั น ภายในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครมี ป ริ ม าณการเดิ น ทางเพิ่ ม ขึ้ นเป น 13.2 ล า นคน–เที่ ย ว/วั น และพื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีปริมาณการเดินทางเพิ่มขึน้ เปน 26.5 ลานคน–เที่ยว/วัน สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


61 (2) ความเร็วเฉลี่ยของการเดินทาง : ผลการวิเคราะหความเร็วในการเดินทาง พบวาป พ.ศ. 2545 ความเร็วเฉลี่ยของการเดินทางภายในพื้นที่วงแหวนรัชดาภิ เษกประมาณ 18 กม./ชม. ความเร็ ว เฉลี่ ยภายใน พื้นที่กรุงเทพมหานครประมาณ 20 กม./ชม. และความเร็วเฉลี่ ยในการเดิ นทางภายในพื้ นที่ กรุ ง เทพมหานคร และปริมณฑลประมาณ 25 กม./ชม. ในป พ.ศ. 2552 ความเร็ ว เฉลี่ ยในการเดิ นทางภายในพื้ นที่ ว งแหวน รัชดาภิเษกลดลงเหลือ 14 กม./ชม. สวนการเดิ นทางภายในพื้ นที่ กรุ ง เทพมหานครกลั บ มี ค า ความเร็ ว เฉลี่ ย เพิ่มขึ้นเปน 22 กม./ชม. และภายในพืน้ ที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็ มีค า ความเร็ ว เฉลี่ ยในการเดิ นทาง เพิ่มขึ้นเปน 26 กม./ชม. สาเหตุที่ทําใหความเร็วเฉลี่ยในการเดิ นทางภายในพื้ นที่ ว งแหวนรั ช ดาภิ เษกลดลง เนื่ องจาก บริเวณดังกลาวยังคงเปนพื้นที่ยานศูนยกลางการคาและธุรกิจซึ่งเปนจุดดึงดูดการเดินทาง ส ง ผลให มีป ริ มาณ ความตองการในการเดินทางสูง ในขณะที่พื้นที่ ข องถนนคงที่ เนื่ องจากไม ส ามารถเพิ่ มโครงข า ยคมนาคมได ดังนั้นจึงเปนบริเวณที่มีการจราจรติดขัดเพิ่มขึ้นในอนาคต ส ว นสาเหตุ ที่ทํา ให ค วามเร็ ว เฉลี่ ยในการเดิ นทาง บริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไมปรับเปลี่ยนมากอาจเนื่ องมาจากโครงข า ยถนนใหม ที่จ ะเกิ ด ขึ้ นใน อนาคตสามารถรองรับการขยายตัวของการใชประโยชนที่ดินประเภทต า งๆ ที่ เป นผลมาจากโครงการพั ฒ นา พื้ นที่ บ ริ เวณชานเมื อง ประกอบกั บ การลดลงของอั ต ราการเพิ่ มขึ้ นของประชากร ส ว นในป พ.ศ. 2565 ความเร็วเฉลี่ยของการเดิ นทางภายในวงแหวนรั ช ดาภิ เษกลดลงเหลื อ 12 กม./ชม. ความเร็ ว เฉลี่ ยในการ เดินทางภายในพื้นที่กรุงเทพมหานครลดลงเหลือ 19 กม./ชม. และความเร็วเฉลี่ยภายในพื้นที่กรุ ง เทพมหานคร และปริ มณฑลก็ ล ดลงเหลื อ 24 กม./ชม. สาเหตุ ที่เป นเช นนี้ เนื่ องจากโครงข า ยที่ เพิ่ มขึ้ นในช ว งหลั ง จาก ป พ.ศ. 2552 มีไมมากเมื่อเทียบกับความตองการในการเดินทางที่เพิ่มขึ้น ความเร็วการเดินทางในโครงขายที่ไดกลาวไปขางตนนั้นเปนการประมาณการความเร็ ว ของการ เดินทางเฉลี่ยทั้งวัน หากพิจารณาในชวงชั่วโมงเรงดวนเช า และชั่ ว โมงเร ง ด ว นเย็ นจะพบว า ความเร็ ว ในการ เดินทางต่ํามากโดยเฉพาะใจกลางเมืองจะมีความเร็วต่ํากวา 10 กม./ชม. (3) คาความจุสํารอง : สําหรับคาความจุสํารองหรื อปริ มาณรถต อความจุ ข องถนน (V/C) ซึ่ ง เป น ดัชนีวัดความหนาแนนของสภาพการจราจรอี กตั ว แปรหนึ่ ง จากการวิ เคราะห ส ภาพจราจรกล า วได ว า ในป พ.ศ. 2545 พื้นที่บริเวณรอบนอกของกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑลส ว นใหญ แ ล ว สภาพการจราจรยั ง ไม หนาแนนมาก (คา V/C นอยกวา 0.85) ภายในเขตกรุงเทพมหานครหากพิจารณาพื้นที่ภายในวงแหวนรอบนอก พบวา บริเวณตอนเหนือนั้นสวนใหญไมมีปญหาการจราจรติดขัด บริเวณที่มีความหนาแน นของกระแสจราจร หนาแนนคือบริเวณตอนกลางและตอนใตทั้ง ฝ ง ด า นตะวั นตกและตะวั นออกของแม น้ํา เจ า พระยา (ค า V/C มากกวา 0.85) และเมื่อพิจารณาพื้นที่บริเวณวงแหวนรัชดาภิเษกพบวาบริเวณที่ มีป ญ หาการจราจรติ ด ขั ด สู ง (ค า V/C มากกว า 0.85 และมากกว า 1) คื อโครงข า ยถนนรอบวงแหวนรั ช ดาภิ เษก รวมทั้ ง บริ เวณด า น ตะวันตกเฉียงใตติดกับแมน้ําเจาพระยาและบริเวณตอนกลางดานตะวันออก สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


62 ในป พ.ศ. 2552 พื้ นที่ บ ริ เวณรอบนอกของกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑลจะเริ่ มมี ถนนบาง เส นทางมี ค วามหนาแน นของกระแสจราจร แต มองในภาพรวมแล ว ถื อว า โครงข า ยถนนสามารถรองรั บ การจราจรไดสวนใหญ แ ล ว ไม มีป ญ หาด า นการจราจรติ ด ขั ด (ค า V/C น อยกว า 0.85 ) หากพิ จ ารณาพื้ นที่ ภายในวงแหวนรอบนอก พบว า ตอนบนของพื้ นที่ ค วามหนาแน นของกระแสจราจรยั ง ไม มากนั ก (ค า V/C นอยกวา 0.85) บริเวณที่มีความหนาแนนของกระแสจราจรคือ บริเวณตอนกลางและตอนใตทั้งฝงดานตะวันตก และตะวั นออกของแม น้ํา เจ า พระยา (ค า V/C มากกว า 0.85) โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง พื้ นที่ ภ ายในวงแหวน รัชดาภิเษกมีปญหาการจราจรติดขัดสูง (คา V/C มากกวา 0.85 และมากกวา 1) เกือบทั้งพื้นที่ ในป พ.ศ. 2565 การจราจรบริ เวณพื้ นที่ บ ริ เวณรอบนอกของกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑล มีความหนาแนนมากขึ้ นในบางช ว ง ส ว นพื้ นที่ ภ ายในวงแหวนรอบนอกนั้ นช ว งตอนบนโครงข า ยคมนาคม ยังสามารถรองรับปริมาณการเดินทางได แต ช ว งตอนกลางและตอนใต ข องพื้ นที่ มีป ญ หาการจราจรติ ด ขั ด (ค า V/C มากกว า 0.85) และหากพิ จ ารณาพื้ นที่ ภ ายในวงแหวนรั ช ดาภิ เษก พบว า มี ค วามวิ กฤติ ด า น การจราจรทั้งพื้นที่ (คา V/C มากกวา 0.85 และมากกวา 1) จากผลการวิ เคราะห ส ภาพการจราจรในอนาคตนั้ นสามารถกล า วได ว า บริ เวณที่ มีป ญ หา การจราจรติดขัดยังเปนบริเวณเดิมที่มีความหนาแนนของกระแสจราจรในปจจุบัน ซึ่งไดแกบริเวณพื้ นที่ ภ ายใน วงแหวนรัชดาภิ เษกอั นเป นบริ เวณที่ มีข อจํ า กั ด ในการเพิ่ มโครงข า ยคมนาคมใหม เพื่ อรองรั บ ปริ มาณการ เดินทาง นอกจากนั้นบริเวณตอนกลางและตอนใตภายในพื้นที่วงแหวนรอบนอกก็เปนชว งที่ มีวิ กฤติ การจราจร เชนกัน โครงขายถนนที่สรางขึ้นเพื่อรองรับปริ มาณการเดิ นทางที่ จ ะเพิ่ มขึ้ นจากการพั ฒ นาศู นย ชุ มชน ชานเมืองและศู นย พาณิ ช ยกรรมโดยไม เกิ ด ป ญ หา แต ใ นบางพื้ นที่ นั้นยั ง พบว า โครงข า ยยั ง ไม เพี ยงพอต อ ปริมาณการจราจรที่ จ ะเพิ่ มขึ้ นในอนาคตได โดยเฉพาะย า นใจกลางเมื อง การแก ไ ขป ญ หาการจราจรคื อ การเสริมสรางโครงขายขนสงสาธารณะใหมีความสมบูรณ โดยสามารถเดินทางเข า ออกจากพื้ นที่ หรื อเปลี่ ยน รูปแบบการเดินทางไดสะดวก

5.5.2 แนวความคิดในการวางผังโครงการคมนาคมและขนสง ผลการศึ กษาวิ เ คราะห ข อมู ล สภาพการจราจร ซึ่ ง ประกอบด ว ยความเร็ ว เฉลี่ ย ของการเดิ นทาง ปริมาณการเดินทาง และค า ความจุ สํ า รองหรื อปริ มาณการเดิ นทางต อความจุ ข องถนน (V/C) โดยทํ า การ วิเคราะหในระยะการใชบงั คับผังรวมของกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) และในอี ก 20 ป ข า งหน า คื อ ป พ.ศ. 2565 ประกอบกับนโยบายและแผนงานโครงการของภาครั ฐ และเอกชน วิ สั ยทั ศ น แ ละวั ต ถุ ป ระสงค ของการวางผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ได นํา มากํ า หนดแนวความคิ ด ในการวางผั ง โครงการคมนาคมและขนสง ดังนี้ สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


63 (1) การพัฒนาระบบขนสงมวลชนขนาดใหญตามแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขต กทม. และพื้นที่ตอเนื่อง (Urban Rail Transportation Master Plan BMA and Surrounding Areas) (2) การพัฒนาระบบถนนสายประธาน ถนนวงแหวน และระบบทางดวนใหเปนโครงขายที่ครอบคลุ ม และเปนระบบสมบูรณ (3) การพัฒนาระบบขนสงมวลชนขนาดใหญและระบบทางด ว นเพื่ อเชื่ อมโยงสนามบิ นสุ ว รรณภู มิ กับบริเวณพื้นที่ตางๆ ของกรุงเทพมหานคร (4) การพัฒนาความเชื่อมโยงระหวางระบบขนสงมวลชนขนาดใหญ กับ โครงข า ยการคมนาคมทาง รถยนต และการพัฒนาระบบถนนสายรอง และถนนซอยเพื่อสรางเสริมสภาพการเขาถึงในทุ กบริ เวณพื้ นที่ ข อง กรุงเทพมหานคร (5) การพัฒนาระบบขนสงสาธารณะอื่น ไดแก ระบบรถประจําทาง การคมนาคมขนส ง ทางน้ํ า และ การพัฒนาทางเดินเทาและทางจักรยานในชุมชน

5.5.3 แผนผังโครงการคมนาคมและขนสง ในการประเมิ นผลการก อสร า งถนนตามแผนผั ง โครงการคมนาคมและขนส ง ตามกฎกระทรวง ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 1) มี ถนนโครงการตามแผนผั ง ฯ อี กจํา นวนหนึ ่ ง ที ่ ยั ง ไม มี การดําเนินการกอสราง และจากการศึกษาวิเคราะห ข อมู ล ด า นการคมนาคม จึ ง ได กํา หนดแผนผั ง โครงการ คมนาคมขนสงตามผังเมืองรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ประกอบด ว ยโครงข า ยถนนสายหลั ก สายรอง จํานวน 25 สาย โดยแบงถนนออกเปน 7 ขนาด ตามลักษณะ ประเภท และขนาดถนน ดังนี้ (1) ถนนแบบ ก : ขนาดเขตทาง 12 เมตร จํานวน 2 สาย ไดแก 1) ถนนเลียบทางรถไฟสายใต (สะพานพระราม 7 – ศาลายา) เชื่อมระหวางถนนจรั ญ สนิ ทวงศ ที่บริเวณสะพานพระราม 7 ขนานกับทางรถไฟไปถึงสุดเขตผังเมืองรวมดานตะวันตก 2) ถนนเลี ยบทางรถไฟสายใต (ถนนจรัญสนิทวงศ – ชุมทางตลิ่งชัน) จากถนนจรั ญ สนิ ทวงศ ไปบรรจบถนนเลียบทางรถไฟสายใต ถนนทั้งสองสายจะชวยเปดการพัฒนาและรองรับปริมาณการจราจรในพื้ นที่ ฝ ง ธนบุ รีต อนเหนื อ ในเขตตลิ่งชัน (2) ถนนแบบ ข : ขนาดเขตทาง 20 เมตร จํานวน 2 สาย ไดแก 1) ถนนเลียบคลองเปรมประชากร (ฝงตะวันตก) จากถนนรัชดาภิเษก ไปจนจบแนวเขตผั ง เมื อง รวมดานเหนือ เปนถนนที่ ช ว ยสํ า หรั บ การจราจรระหว า งกรุ ง เทพมหานครและจั ง หวั ด นนทบุ รี และจั ง หวั ด ปทุมธานี รวมทั้งรองรับปริมาณการจราจรในพืน้ ที่ตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร 2) ถนนสารสิน – รัชดาภิเษก เปนถนนที่ชวยบรรเทาและรองรับปริมาณการจราจร

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


64 (3) ถนนแบบ ค : ขนาดเขตทาง 30 เมตร จํานวน 6 สาย ไดแก 1) ถนนรามอินทรา – พหลโยธิน – รัตนโกสินทร ส มโภช เป นถนนโครงการเพื่ อช ว ยการจราจร และเปดพื้นที่บริเวณแยกหลักสี่ 2) ถนนเลียบคลองบางเขนฝงใต เปนถนนเชื่ อมระหว า งถนนวิ ภ าวดี รัง สิ ต กั บ ถนนพหลโยธิ น เพื่อบรรเทาปญหาการจราจรบนถนนงามวงศวานหนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3) ถนนรามอินทรา – รมเกล า 1 (ถนนพั ฒ นาชนบท) เพื่ อช ว ยป ญ หาการจราจรในพื้ นที่ แ ละ ลดปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 4) ถนนสาธุประดิษฐ – พระรามที่ 3 เพื่ อช ว ยป ญ หาการจราจรในพื้ นที่ บ ริ เวณเขตยานนาวา เขตบางคอแหลม และชวยการจราจรในถนนสาธุประดิษฐ 5) ถนนอุดมสุข – กาญจนาภิเษก เพื่อเชื่อมการจราจรถนนอุ ด มสุ ข กั บ ถนนวงแหวนรอบนอก และชวยแบงเบาปญหาการจราจรในถนนสุขุมวิท 103 6) ถนนพุทธบูชา – กาญจนาภิเษก เพื่อสรางระบบโครงขายถนนในพื้นที่ และสรางถนนสายใหม เพื่อรองรับการพัฒนาเมืองบริเวณดังกลาว (4) ถนนแบบ ง : ขนาดเขตทาง 35 เมตร จํานวน 3 สาย ไดแก 1) ถนนสายพระรามที่ 2 – บางคอ เชื่อมถนนพระรามที่ 2 กับถนนตากสิน – เพชรเกษม เพื่ อลด ปญหาการจราจรในพื้นที่เขตจอมทอง 2) ถนนพระรามที่ 2 – พัฒนาการ เปนถนนเชื่อมระหว า งถนนพระรามที่ 2 กั บ ถนนพั ฒ นาการ เพื่อรองรับปริมาณการจราจรในพื้นที่และลดปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 3) ถนนพระรามที่ 2 – สุขสวัสดิ์ เชื่อมถนนพระรามที่ 2 กั บ ถนนสุ ข สวั ส ดิ์ เพื่ อแบ ง เบาป ญ หา การจราจรของถนนสุขสวัสดิ์ ในพื้นที่เขตราษฎรบูรณะ และรองรับการจราจรในพื้นที่ (5) ถนนแบบ จ : ขนาดเขตทาง 40 เมตร จํานวน 3 สาย ไดแก 1) ถนนพหลโยธิ น – รั ต นโกสิ นทร ส มโภช เชื่ อมการจราจรระหว า งถนนพหลโยธิ นกั บ ถนน รัตนโกสินทรสมโภช เปนโครงการชวงที่ 1 ของถนนพหลโยธิน – นิมิต รใหม เพื่ อรองรั บ ป ญ หาการจราจรและ แกไขปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 2) ถนนรามอินทรา – นิมิตรใหม เพื่ อรองรั บ ปริ มาณการจราจรในพื้ นที่ แ ละแก ไ ขป ญ หาพื้ นที่ ปดลอมขนาดใหญ 3) ถนนพัฒนาการ – สวนหลวง ร.9 เชื่อมซอยสุขุมวิท 77 (ซอยออนนุช) กับถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 เพื่อรองรับปริมาณการจราจรในพื้นที่และแกไขปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


65 (6) ถนนแบบ ฉ : ขนาดเขตทาง 50 เมตร จํานวน 3 สาย ไดแก 1) ถนนรัชดาภิเษก – รามอินทรา เพื่อเชื่อมโครงขายถนนระหวางถนนรัชดาภิเษกกับถนนรามอินทรา 2) ถนนพุ ทธมณฑลสาย 1 เชื่ อมระหว า งถนนเพชรเกษมกั บ ถนนเลี ยบทางรถไฟสายใต เปนการเปดพื้นที่รองรับการพัฒนา และสรางระบบโครงขายถนน ลดปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 3) โครงการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยา ทางยกระดับและเชิงลาด เพื่ อรองรั บ ปริ มาณ การจราจร ในเขตอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะรถบรรทุกสินคา (7) ถนนแบบ ช : ขนาดเขตทาง 60 เมตร จํานวน 6 สาย ไดแก 1) ถนนรัตนโกสินทรสมโภช – นิมิตรใหม เป นแนวโครงการช วงที่ 2 ของถนนพหลโยธิ น–นิ มิตรใหม เพื่อจัดวางระบบโครงขายถนนแกไขปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 2) ถนนนวมินทร – อุดมสุข เป นถนนโครงการที่ ส ร า งระบบโครงข า ยถนนให มีค วามสมบู รณ แกไขปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 3) ถนนกรุงเทพกรีฑา – รมเกลา เปนถนนโครงการที่สรางระบบโครงขายถนนใหมีความสมบูรณ แกไขปญหาพื้นที่ปดลอมขนาดใหญ 4) ถนนพรานนก – พุทธมณฑลสาย 4 จากถนนจรั ญ สนิ ทวงศ ไ ปจนจรดแนวเขตผั ง เมื องรวม ดานตะวันตก เปนถนนที่ชวยกระจายการจราจรระหว า งพื้ นที่ เขตเมื องชั้ นในด า นตะวั นตกกั บ พื้ นที่ ช านเมื อง และเชื่อมโยงการเดินทางกับพื้นที่จังหวัดนครปฐม 5) ถนนกรุ ง เทพ – ชลบุ รี สายใหม – ท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เพื่ อรองรั บ การคมนาคม ขนสงบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ 6) ถนนลาดกระบั ง – ท าอากาศยานสุ วรรณภู มิ เพื่ อรองรั บการคมนาคมขนส งบริ เวณสนามบิ น สุวรรณภูมิ รูปที่ 5–1 ถึง 5–5 ภาพตัด ขวางมาตรฐานของถนนประเภทต า งๆ ที่ กํา หนดไว ใ นผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

สวนที่ 5 แนวความคิดในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการ ของประชาชนและหนวยงานตางๆ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะผูทรงคุณวุฒิ หนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนความตองการของประชาชน ภาคธุรกิจเอกชนในทองถิ่นที่วางและจัดทําผังเมืองรวม เปนสวนสําคัญนอกเหนือจากนโยบายการพั ฒ นาของ หนวยงานและผูบริหารระดับตางๆ แลว ขอคิดเห็นและข อเสนอแนะจะได จ ากการจั ด ประชุ มประชาชนและ ผูเกี่ยวของตางๆ เพื่อนําใชในการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้ ง ที่ 2) ประกอบด ว ย การประชุมประชาชนครั้งที่ 1 การประชุ มระดมข อคิ ด เห็ นจากผู ทรงคุ ณ วุ ฒิ แ ละหน ว ยงานที่ เกี่ ยวข อง และ การประชุมประชาชนครั้งที่ 2 มีรายละเอียดดังนี้

6.1

การประชุมกอนจัดทํารางผังเมืองรวม

6.1.1 การจัดประชุมประชาชนครั้งที่ 1 การประชุมประชาชนเป นขั้ นตอนตามกฎหมายกํ า หนด กรุ ง เทพมหานครได ดํ า เนิ นการจั ด ประชุ ม ประชาชนครั้งที่ 1 ณ ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย–ญี่ปุน) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2545 มี ป ระชาชน ผู แ ทน ภาคการเมือง หนวยงานที่เกี่ยวของ องคการภาคเอกชน สื่ อมวลชน เข า ร ว มประชุ ม 1,084 คน บรรยากาศ ในที่ประชุมเปนไปดวยความสงบเรียบรอย นอกจากนี้ สํานักผังเมืองยังไดจัดใหมีการประชุมประชาชนสั ญ จร โดยแบ ง ตามกลุ มเขตครอบคลุ ม ทั้ง 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ (1) กลุมเขตเจาพระยา : (เขตดิ นแดง ห ว ยขวาง วั ฒ นา คลองเตย บางนา พระโขนง สาทร บางคอแหลม และยานนาวา) วันที่ 16 กุมภาพันธ 2545 ณ เขตบางคอแหลม ผูเขาประชุม 187 คน (2) กลุมเขตกรุงธนเหนือ : (เขตบางพลัด บางกอกน อย บางกอกใหญ ภาษี เจริ ญ หนองแขม ตลิ่ ง ชั น และทวี วั ฒ นา) วั นที่ 16 กุ มภาพั น ธ 2545 ณ ห องประชุ ม โรงเรี ย นวั ด ปุ รณาวาส เขตทวี วั ฒ นา ผูเขารวมประชุม 301 คน (3) กลุมเขตศรีนครินทร : (เขตสะพานสูง มีนบุรี คลองสามวา หนองจอก ลาดกระบั ง ประเวศ สวนหลวง และคันนายาว) วั นที่ 23 กุ มภาพั นธ 2545 ณ ห องประชุ มสวนหลวง ร.9 เขตประเวศ ผู เข า ร ว ม ประชุม 155 คน (4) กลุมเขตกรุงธนใต : (เขตบางขุนเทียน บางบอน จอมทอง ทุ งครุ ธนบุ รี คลองสาน ราษฎร บู รณะ และบางแค) วันที่ 23 กุมภาพันธ 2545 ณ สํานักเทศกิจ เขตธนบุรี ผูเขารวมประชุม 195 คน

สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


69 (5) กลุมเขตรัตนโกสินทร : (เขตพระนคร ดุสิต สัมพันธวงศ บางรัก ปอมปราบฯ ราชเทวี พญาไท บางซื่อ และปทุมวัน) วันที่ 1 มีนาคม 2545 ณ ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร ผูเขารวมประชุม 137 คน (6) กลุมเขตบูรพา : (เขตดอนเมือง หลักสี่ สายไหม บางเขน จตุจักร ลาดพราว บึ ง กุ ม บางกะป และวังทองหลาง) วันที่ 1 มีนาคม 2545 ณ สํานักงานเขตบึงกุม ผูเขารวมประชุม 187 คน นอกจากขอเสนอแนะและขอคิดเห็นที่ไดจ ากการประชุ มข า งต นแล ว ประชาชนยั ง ส ง หนั ง สื อที่ เป น ลายลักษณอักษรแสดงขอคิดเห็นมายังสํานักผังเมือง ในระหวางวันที่ 11 กุมภาพันธ 2545–20 มิถุนายน 2545 จํานวน 37 ฉบับ (5,769 ราย – บางฉบับมีผูรวมลงชื่อแสดงความคิดเห็นจํานวนมาก) 6.1.2 การประชุมระดมขอคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิและหนวยงานที่เกี่ยวของ ก อนการจั ด ทํา ร า งผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) สํา นั กผั ง เมื องได ดํา เนิ นการ จัดประชุมผูทรงคุณวุฒิทางดานการผังเมืองและหนวยงานทั้งภาครั ฐ และเอกชนที่ เกี่ ยวข องกั บ การพั ฒ นาใน สาขาตางๆ เพื่อนําขอคิดเห็นและขอสรุปที่ไดรับจากการประชุมมาปรับใชในการวางและจัดทํารางผัง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การประชุมตางๆ ดําเนินการมาเปนลําดับดังนี้ (1) การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่ อกํ า หนดกรอบนโยบายในการวางและจั ด ทํ า ผั ง เมื องรวม กรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) วั นที่ 21–23 กั นยายน 2544 ณ โรงแรมคํ า แสด ริ เวอร แ คว รี ส อร ท อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี จํานวนผูเขารวมประชุม 140 คน (2) การประชุ ม ร ว มกั บ หน ว ยงานการวางผั ง ระดั บ ภาคและผั ง เมื องจั ง หวั ด ในปริ มณฑล วั น ที่ 29 ตุลาคม 2544 ณ หองประชุมสํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 30 คน (3) การประชุ ม ประสานงานหน ว ยงานด า นโครงสร า งพื้ นฐานและระบบสาธารณู ป โภค วั น ที่ 30 มกราคม 2545 ณ หองประชุมสํานักการระบายน้ํา จํานวนผูเขารวมประชุม 42 คน (4) การประชุมประสานงานหนวยงานและองคกรดานการอนุรักษสิ่งแวดล อมและพื้ นที่ สี เขี ยว วั นที่ 30 มกราคม 2545 ณ หองประชุมสํานักการระบายน้ํา ผูเขารวมประชุม 39 คน (5) การประชุมหารือและรับฟงข อคิ ด เห็ นแนวโน มการลงทุ นและสถานการณ ทางเศรษฐกิ จ วั นที่ 5 กุมภาพันธ 2545 ณ หองประชุมสํานักการระบายน้ํา ผูเขารวมประชุม 50 คน (6) การสัมมนาทางวิชาการ เรื่องจะจัดการอยางไรกับปญหาโรงงานอุ ต สาหกรรมใน กทม. วั นที่ 7 มีนาคม 2545 ณ หองรับรองกรุงเทพมหานคร ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร ผูเขารวมประชุม 140 คน (7) การสัมมนาอสังหาริมทรัพยกับ การพั ฒ นาเมื อง วั นที่ 26 มี นาคม 2545 ณ ห องอเนกประสงค ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร จํานวนผูเขารวมประชุม 150 คน (8) การสัมมนาเรื่องการอนุรักษและพัฒนากรุงรัต นโกสิ นทร วั นที่ 3 เมษายน 2545 ณ ห องรั บ รอง กรุงเทพมหานคร ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร ผูเขารวมประชุม 98 คน (9) การประชุ มร ว มกั บ กรมการผั ง เมื องและผั ง เมื องจั ง หวั ด ปริ ม ณฑล วั นที่ 30 เมษายน 2545 ณ หองประชุมสํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 30 คน สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


70 6.1.3 ขอคิดเห็นทั่วไป จากการจัดประชุมรับฟงขอคิดเห็นประชาชน ผูประกอบการสาขาอาชีพตางๆ ผูทรงคุณวุฒิ และ หนวยงานที่เกี่ ยวของกอนการจัดทํารางผังเมื องรวมฉบับใหม สามารถสรุปขอคิด เห็น ขอเสนอแนะ และความ ตองการของประชาชน ภาคเอกชน และหนวยงานที่ เกี่ ยวของ เพื่อการจัดทําผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดดังนี้ (1) ใหปรับบทบาทและวิสัยทัศน การพัฒนากรุงเทพมหานครใหสอดคลองกับ กระแสโลก ไมควรมอง บทบาทเพี ยงในระดับประเทศ (2) ส ง เสริ มการอนุ รักษ แ ละพั ฒ นาบริ เวณกรุ ง รั ต นโกสิ นทร โดยคํา นึ ง ถึ ง วิ ถีชี วิ ตของประชาชน เนนการปรับปรุงสภาพแวดลอม ภูมิทัศน และสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อสงเสริ มการทองเที่ยว (3) การแบง Zoning หรือพื้ นที่ Block ไมควรใชแนวถนน หากหลีกเลี่ยงไมไดควรเลือกแนวจากถนน ประมาณ … เมตร และควรใชแนวคลองเปนเสนแบง Block หากสามารถทําได นอกจากนี้ ไมควรแบง Block ครอมเขตการปกครอง (4) การแกไขป ญ หาช องวางของกฎระเบี ยบและขอกํา หนดควรจั ดตั้ง คณะกรรมการผู ทรงคุณวุฒิ เปนผูพิจารณา (5) ควรจัดใหมีการรับ ฟงขอคิดเห็ นจากประชาชนเปนระยะ เพื่ อใหการวางผังเมืองรวมสอดคลองกับ ความตองการของประชาชนและไมเกิดความขัดแยง (6) ผังเมื องรวมควรมี ความชั ดเจนในทางปฏิบัติและสามารถชี้นํา การพั ฒ นาเมื องไดอยางแทจ ริง เพราะนักลงทุนไม มั่นใจแผนงานโครงการของรัฐ (7) ควรกําหนดรูปแบบของเมื องใหเปนแบบหลายศู นย กลาง (Polycentric) และใหแตละศูนยกลาง มีการพัฒนาแบบกระชับ มีความสมบูรณในตัวเอง โดยใหมีการเชื่อมโยงของศูนยกลางตางๆ ดวยระบบขนสง มวลชน (8) การสรางสมดุลและใหความสําคัญกับพื้นที่ฝงธนบุรี ใหพัฒนาเทาเทียมกับกรุงเทพมหานคร โดยมี ลักษณะแบบ 2 เมืองหลวงใน 1 มหานคร (9) กํา หนดนโยบายการวางผังเมื องรวมกรุง เทพมหานคร ให มีลั กษณะที่ส ะท อนถึ งแนวความคิ ด ในการพั ฒ นาแบบเศรษฐกิจ พอเพี ยง การพึ่ง พาตนเอง และควรใชผังเมื องเปนเครื่ องมือในการดํ าเนิ นการ พัฒนาเศรษฐกิจดังกลาว ซึ่งจะชวยใหเมื องพัฒ นาอยางสมดุลและยั่งยื น เปนเมืองนา อยู มิใชมุงสรางเมืองให ตอบสนองความตองการกําไรร่ํารวยเงินทองเพี ยงอยางเดี ยว (10) สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการวางผังเมืองกรุงเทพมหานครคือ ตองสรางความสมดุลของเมืองในดาน ตางๆ ไดแก - สรางความสมดุลระหวางพื้นที่ฝงตะวันออกและฝงตะวันตกของแม น้ําเจาพระยา - สรางความสมดุลระหวางเมื องเกา กับเมื องใหม สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


71 - สรางความสมดุลระหวางกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม คือที่อยูอาศัย ที่ทํางาน ที่พักผอน - สรางความสมดุลระหวาง Mass Transit กับ Individual Transit - สรางความสมดุลหรื อความกลมกลื นระหวางสถาปตยกรรมที่ เปนประเพณีไทย (Thai Tradition Architecture) กับสถาปตยกรรมสมั ยใหม (International Architecture) (11) จัดทําแผนผังกําหนดการใชที่ดินแบบผสมผสาน (Mixed Use) ในบางบริเวณของกรุงเทพฯ เชน ยานพหลโยธิ น ยานโรงงานมั กกะสั น สถานีแมน้ําของการรถไฟแหงประเทศไทย ชุมชนดิ นแดงของกรุงเทพมหานคร และการเคหะแหงชาติ (12) ควรจัดทําแผนผังทายกฎกระทรวงเพิ่ มขึ้น เน นดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เชน - ผังบริการน้ําประปา แสดงพื้นที่ขาดแคลนการบริการน้ําประปา - ผังโครงขายพื้นที่บริ การระบบบําบัดน้ํา เสีย ทั้งพื้ นที่ที่ไดรับบริ การและทีข่ าดแคลน - ผังแสดงคูคลองสายหลักสําหรับการระบายน้ํา - ผังแสดงพื้นที่เสี่ยงตออุบัติภัย เชน น้ําทวม แผนดินทรุด เปนตน 6.1.4 ขอคิดเห็นเกี่ยวกับการกําหนดประเภทกิจการและประเภทการใชประโยชน ที่ดิน (1) ดานอุตสาหกรรม : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครกําหนดหามการใชประโยชนที่ดิ นประเภท โรงงานทุกจําพวก เวนแตโรงงานประเภทตามบัญชีแนบทาย ซึง่ ตองมีพื้นที่ประกอบการไมเกิน 100 ตารางเมตร ซึ่งกอใหเกิดปญหาตามมาคือการหลีกเลี่ยงกฎหมาย ในสวนของการประกอบการประเภทโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดรวบรวมปญหาและขอคิดเห็ นของผูประกอบการดา นอุตสาหกรรม และเสนอขอให เปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิ นประเภทตางๆ เพื่อใหอุตสาหกรรมประเภทที่ใหบ ริการชุมชนและ โรงงานอุตสาหกรรมสะอาดสามารถอยูในกรุงเทพมหานครได และในการประชุ มสัมมนาทางวิชาการ เรื่องจะ จัดการอยางไรกับปญ หาโรงงานอุตสาหกรรมในกรุงเทพมหานคร และการสัมมนาผูประกอบการอุตสาหกรรม ซึ่งจัดโดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยรวมกับสํานักผังเมือง สรุปประเด็นข อเสนอแนะดานอุตสาหกรรม ไดดังนี้ 1) ใหโรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่มีความเสี่ยง หรืออาจกอใหเกิดมลพิษตอชุมชนยายออกไป อยูชานเมืองในพื้นที่ที่กําหนดให โดยใชมาตรการตางๆ ที่เปนมาตรการจูงใจทั้งในดานของคาน้ํา คาไฟ ภาษี หรือ ระบบ Bonus และเพื่อรั กษาสภาพแวดลอมและปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับ พื้นที่โดยรอบ ควรกํา หนดให มี Red Belt เปนแนวปองกัน 2) สําหรับอุตสาหกรรมที่ อยูใ นเมือง จะตองกําหนดมาตรฐานและมาตรการในด านการรั กษา สภาพแวดลอม การรักษาความปลอดภั ยสําหรับชุมชนโดยรอบ ตลอดจนการจัด เก็บภาษีดานตางๆ ในอัตราที่ สูงขึ้น สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


72 3) จัดใหโรงงานที่ มีอยูแลวและรวมตัวเปนกลุ มก อน เช น กลุมโรงงานในเขตบางขุ นเที ยน บางบอน ราษฎรบูรณะ จอมทอง ควรมีการพิจารณาหาทางใหโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทหรือชนิดที่ไมสรางมลพิษ ยังสามารถคงอยูได โดยพิจารณาใหเปนเขตชุ มชนอุตสาหกรรม 4) ควรอนุญาตให มีโรงงานจําพวกที่ 2 และจําพวกที่ 3 ประเภทอุตสาหกรรมที่ใหบ ริการชุมชน และอุตสาหกรรมภาคการผลิตที่ไมกอเหตุเดือดรอนรําคาญ หรือสรางมลพิษโดยเฉพาะโรงงานที่ตองใชแรงงาน ระดับฝมือและเทคโนโลยีขั้นสูง สามารถอยูในการประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัย พาณิชยกรรม และประเภท ชนบทและเกษตรกรรมซึ่งเป นพื้ นที่สวนใหญของกรุงเทพมหานครได 5) การจําแนกประเภทอุ ตสาหกรรมควรมี ความชั ดเจนวาประเภทใดเปนอุตสาหกรรมสะอาด อุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยง เพื่อสะดวกในการบริ หารจัดการและการจัด ทําขอกําหนดผังเมืองรวม เนื่องจาก การจําแนกประเภทอุตสาหกรรมเปนจําพวกที่ 1, 2 และ 3 มีปญหาในการควบคุมให เปนไปตามผังเมือง 6) อุตสาหกรรมประเภทการพั ฒนาเทคโนโลยีและ Software ควรอยูใกลกับสถาบันการศึ กษา และบริเวณใกลสนามบินสุวรรณภูมิควรสงเสริมให มีคลังสินคาประเภทที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง 7) แนวทางการแกไขปญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมควรจัด ทําผังเมืองเฉพาะ 8) โรงงานอุ ตสาหกรรมควรอยูหางจากแมน้ํา ลําคลองอยางนอย 100 เมตร และหางจากบานเรื อน ประชาชนอยางนอย 50 เมตร 9) มีขอคิดเห็ นบางสวนที่เสนอใหยายนิคมอุตสาหกรรมออกไปอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร แต เปนขอคิดเห็นสวนน อย (2) ดานการพัฒนาพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมและอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม : ไดมี ขอคิดเห็นดัง นี้ 1) ขอยกเว นใหสรางโรงสีชุมชนขนาด 10–15 แรงมา และลานตากขาวและไซโลเก็บขาวใน ระดับชุมชน ในพื้นที่อนุ รักษชนบทและเกษตรกรรม 2) เกษตรกรสวนใหญตองการใหคงพื้นที่เกษตรกรรมไว และอยากใหมีการสงเสริมอาชีพเกษตร และยกระดับภาคเกษตรใหดีขึ้น 3) ขอใหรักษาสภาพแวดลอมของพื้นที่เกษตรใหดีขึ้น โดยเฉพาะคลองและคุณภาพน้ําในคลอง รวมทั้ ง การปองกั นและแก ไขป ญหาน้ํา เสี ยจากบา นจั ดสรร และโรงงานอุตสาหกรรมที่สงผลกระทบต อพื้ นที่ เกษตรกรรม 4) การกํา หนดพื้ นที่อนุรักษช นบทและเกษตรกรรมสงผลใหราคาที่ดินลดต่ําลง สงผลกระทบ ตอเจาของที่ดิน แตสงผลดีตอเกษตรกรที่ไดรับความคุมครอง ซึ่งเห็นดวยกับ การคงพื้ นที่เกษตรไว เนื่องจากมี ความเห็นวา ยังคงทําการเกษตรต อไป สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


73 5) ควรมีมาตรการสงเสริมการเกษตรในพื้นที่ เชน ตลาดกลาง ซึ่งกลุมเกษตรกรตองการใหจัดหา พื้นที่ เพื่อสงเสริ มการขาย โดยเปนการซื้อขายโดยปราศจากพ อคาคนกลาง 6) เห็นดว ยในกรณีที่ไ มใหมีบา นจัดสรร และโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ แตอยากให มีโรงงาน ที่เกี่ ยวของกับการเกษตร 7) นักวิชาการขอใหสงวนรักษาพื้ นที่เกษตรที่อุด มสมบูรณไว 8) กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงพื้ นที่สีเขียว ขอใหมีการควบคุ มอยางเข มงวดและเปนธรรม 9) ควรสงเสริมบริ การพื้ นฐานในพื้ นที่สีเขี ยว และพื้นที่สีเขียวลาย (3) ดานสิ่งแวดลอม : มีขอคิด เห็นดัง นี้ 1) ควรกําหนดพื้นที่สีเขียวให มากขึ้นเพื่อสงเสริ มคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม 2) ควรนําแม น้ํา เจา พระยา คูค ลอง ที่ วางเปลา ที่ ไ ม ไ ดใ ชป ระโยชน มาเป นประโยชนสํา หรับ การพั กผอนหยอนใจ (4) ขอกําหนดการใชประโยชนที่ ดิน : มีขอคิดเห็นดังนี้ 1) การกํา หนดกิจ กรรมรอง ไมเกินรอยละ 5 หรือรอยละ 10 นั้นไมเหมาะสม และไมมีความ ชัดเจนวามีการกระจายตัวอยูในบริ เวณใด 2) ควรกําหนดเงื่อนไขตางๆ ในรายละเอี ยดผัง คือรายละเอี ยดสําหรับกิจ กรรมแตละประเภทที่ ใหอนุญาตดําเนินการได เชน การกําหนดใหมีพื้นที่โลงรอบอาคาร ใหมีบอพักน้ําฝน การกําหนดจํานวนไมยืนตน ที่จะตองปลูก การกําหนดให ทําการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) สําหรับอาคารขนาดใหญและอาคาร บางประเภท การกําหนดใหป ระชาชนที่อยูบ ริเวณโดยรอบโครงการที่ขออนุญาตต องใหความเห็นชอบในการ อนุญาตปลูกสรางดวย ฯลฯ 3) ควรควบคุ มความหนาแน นของประชากร โดยกํา หนดจํา นวนครัว เรื อนต อไร ค า FAR ที่ แตกตางกันในแตละยาน และสรางแรงจูงใจในรูปของ Bonus FAR (5) ดานระบบคมนาคม : มีขอคิดเห็ นดังนี้ 1) ควรจัดทําโครงขายเชื่อมโยงถนนระบบตางๆ ควรมีการกําหนดแนวทางที่แนนอน ชัดเจน และ ระยะเวลาที่จะกอสรางจริงโดยให มีคณะกรรมการพิจารณา 2) การสงเสริมระบบขนสงมวลชนโดยการจัดทําผังระบบขนสงมวลชน การกําหนดมาตรการจูงใจ เชน บริเวณ 500 เมตร โดยรอบสถานีควรได รับการยกเวนไมตองสรางที่จอดรถ (6) ขอคิดเห็นในดานการบริหารจัดการใหเปนไปตามผังเมืองรวม : มีขอคิดเห็ นดังนี้ 1) ควรมีการจัดเก็บภาษีที่พักอาศัย โดยลดภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ทั้งนี้เพื่อลดภาระในการ จัดเก็บภาษีและคาธรรมเนี ยมตางๆ เชน คาจัดเก็บขยะ คาบําบัดน้ําเสีย ฯลฯ สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


74 2) ควรมีการลดภาษีโรงเรือน ที่ดิ นในปที่มีการปรับปรุงภายนอกอาคาร เพื่อเปนมาตรการจูงใจ ทําใหเมื องมีความสวยงามไม ทรุดโทรม 3) ผังเมืองรวมจะต องมีบทบาทในดานการประสานนโยบายและประสานหนวยงานตางๆ 4) ใชกลไกทางสังคมและการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดการใชประโยชน ที่ดินและ กระตุ นใหผูประกอบการตระหนักถึงการแกไขปญหา 5) แนวทางการแกไขป ญหามลพิษจากโรงงานอุ ตสาหกรรม ควรวางแผนเป น 3 ระยะ คือ ระยะสั้น วางแผนการใชประโยชนที่ดิ นใหเหมาะสม ใหชุมชนและผูประกอบการทั่วไปมีสวนรว มกับภาคอุตสาหกรรม เลื อกใช เทคโนโลยีส ะอาด ระยะกลาง ปรั บ เปลี่ ยนเทคโนโลยี จ ากเดิ มที่ ลา สมั ยเป นเทคโนโลยีส มั ยใหม ระยะยาว ผูเกี่ยวของทั้ง หมดตองมีเอกภาพในการจัดทํา ระบบนิเวศของอุตสาหกรรมในชุ มชนรวมกัน 6) ควรเก็บภาษีที่วางหรื อที่รกรางวางเปลา เพราะพื้นที่ ดังกลาวกอใหเกิดปญหากับเมื อง เชน กลายเปนที่ทิ้งขยะ ที่ อยูอาศั ยของสัตวที่เปนพาหะนําโรค เกิดไฟไหมในหนาแลง ปญหาน้ําเนา เปนตน

6.1.5 การรวบรวมขอคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงผังเมืองรวม นับจากการประกาศใชบงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จนถึงวันที่ 5 กรกฎาคม 2542 สํานักผังเมือง ไดรับขอคิดเห็นที่เปนลายลักษณอักษรขอใหมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในการปรับปรุงผังเมืองรวม ครั้งที่ 2 จํานวน 37 ฉบับ (5,769 ราย) สามารถสรุปในประเด็ นตางๆ ดังนี้ (1) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนนอย : มีขอคิดเห็นขอแกไขเปลี่ยนแปลงทัง้ หมด 12 กลุม พื้นที่ 17 บริเวณ โดยสวนใหญขอเปลี่ยนการใชที่ดินเป นประเภทพาณิช ยกรรม ที่อยูอาศั ยหนาแนนปานกลาง และที่อยูอาศั ยหนาแน นมาก และการเปลี่ยนเปนพื้นที่ พาณิชยกรรมสวนใหญเป นพื้ นที่บริ เวณริ มถนน และ จุดตัดของถนนสายหลัก (2) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนปานกลาง : มีขอคิดเห็ นขอแกไขเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 9 กลุมพื้นที่ ครอบคลุมพื้นที่ 14 บริเวณ เกือบทั้งหมดขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทพาณิชยกรรม โดยขอเปนพื้นที่อยูอาศัยหนาแนนมากเพียง 1 บริเวณ และพื้นที่ที่ขอสวนใหญเปนพื้นที่สองฟากถนนและบริเวณ จุดตัดของถนนสายหลัก (3) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนมาก : มีขอคิดเห็นขอแกไขเปลี่ยนแปลง 2 กลุมพื้นที่ ครอบคลุมพื้ นที่ 6 บริเวณ โดยขอเปลี่ยนเป นการใชที่ดิ นประเภทพาณิช ยกรรมทั้งหมด และเปนพื้นที่บริเวณ ริมถนนสายหลัก (4) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม : มีขอคิดเห็นขอแกไขเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 9 กลุมพื้นที่ สวนใหญขอใหยกเลิกพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม และขอเปลี่ยนเปนที่อยูอาศัยหนาแนนนอย มีเฉพาะบริเวณ 8.5 และ 8.6 ที่ขอเปลี่ยนเปนพื้นที่อุตสาหกรรม และพื้นที่สองฟากถนนบางขุนเทียน–ชายทะเล ที่ขอเปลี่ยนเปน การใชที่ดินประเภทพาณิชยกรรม สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


75 (5) ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณู ปการ : มีขอคิดเห็นขอ แกไขเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน 3 กลุ มพื้นที่ 3 บริเวณ โดยขอเปลี่ ยนการใชประโยชน ที่ดินเปนที่ อยู อาศัยหนาแนนมาก (6) ที่ดินประเภทอนุรักษ ชนบทและเกษตรกรรม : มีขอคิดเห็นขอแกไขเปลี่ ยนแปลงการใช ประโยชน ที่ดิ น 5 กลุ มพื้ นที่ ครอบคลุ ม 5 บริ เวณ โดยขอยกเลิ กพื้ นที่ อนุ รักษช นบทและเกษตรกรรม ขอเปลี่ยนแปลงเปนที่อยู อาศัยหนาแนนน อยหรือปานกลาง และบริเวณกลางชุมชนและบริเวณสองฟากถนนสายหลัก ขอเปลี่ยนเป นการใชประโยชนที่ดิ นประเภทพาณิช ยกรรม (7) สถาบันการศึกษา : มีขอคิดเห็นขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน 1 แหง โดยขอเปลี่ยนเปน การใชประโยชน ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม

6.2

การรวบรวมขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ

กรุงเทพมหานคร ไดมีหนังสือแจงหนวยงานที่เกี่ ยวของ ประกอบดว ย หนว ยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองคการของรัฐ รวม 236 หนวยงาน ซึ่งมีหนวยงานที่แจงขอมูลและแสดงขอคิดเห็น รวมจํานวนทั้งสิ้น 120 หนว ยงาน สําหรั บขอเสนอแนะและข อคิด เห็ นตางๆ ของหนว ยงานที่มีป ระเด็ นเฉพาะที่ เกี่ ยวข องกั บ การปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร มีดังนี้ (1) กรมธนารักษ : มีขอเสนอเพื่ อพิจารณา 1) ขอใหยกเวนการบังคับใชกับที่ราชพัสดุ ซึ่งกรมธนารักษมีโครงการพัฒนาที่ราชพัสดุใน กทม. ประมาณ 21 โครงการ เปนที่ดินประเภทพาณิชยกรรม 5 โครงการ ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแน นมาก 11 โครงการ ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแน นปานกลาง 1 โครงการ ที่ดินประเภทที่อยู อาศัยหนาแนนนอย 1 โครงการ และที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 3 โครงการ 2) ขอใหจัดแบงการใชประโยชนที่ดิ นเป นเขต เพื่ อประโยชนในการเตรียมวางแผนรองรับการโยกยาย หรือปรับ เปลี่ยนการใชประโยชน 3) การแกไขข อกํ าหนดที่ เป นอุปสรรคในการพั ฒนาที่ ราชพัสดุใ นปจจุบั น ไดแก บริ เ วณศู นย การประชุ มแหงชาติสิริกิติ์ ใหสามารถใชประโยชนเพื่ อการพาณิชยกรรมไดดว ย หรื อที่บริ เวณแฟลตการเคหะ แหงชาติดินแดงซึ่งเปนสีน้ําตาล ไมสามารถสรางอาคารขนาดใหญ พิเศษได 4) การแจงขาวการจัดประชุ มประชาชน (2) การเคหะแหงชาติ : มีที่ดิ นของการเคหะแหงชาติที่ไดดําเนิ นการพัฒนาที่อยู อาศัยไปแลว จํานวน 37 แหง และที่ดินที่เหลือสําหรับจัดทําโครงการที่อยูอาศัยในอนาคตจํานวน 22 แหง และขอให กทม. พิจารณากําหนดประเภทการใชประโยชนที่ดินใหเปนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยที่สามารถกอสรางอาคารสูง อาคาร ขนาดใหญ หรืออาคารขนาดใหญพิเศษได (3) กรมการคาภายใน : ปจจุบันธุรกิจคาปลีกซึ่งเปนภาคเศรษฐกิจที่สําคัญตอระบบเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศ ประสบปญหาการแขงขันที่รนุ แรงจากการขยายตัวของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ โดยเฉพาะ สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


76 ธุรกิจคาปลีกสินคาอุปโภคบริโภคประเภท Discount Store ทําใหธุรกิจคาปลีกขนาดเล็ ก ขนาดกลางไมอาจ แขงขันกับธุรกิจคาปลีกขนาดใหญได การนํามาตรการเกี่ ยวกับการวางผังเมืองเพื่อกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญใหอยูนอกเมืองและมีจํา นวนที่ เหมาะสมกับจํานวนประชากร จึงอาจชวยบรรเทา และยับยั้งปญหาธุรกิจคาปลีกไดทางหนึ่ง (4) สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ : มีที่ดิ นอยูในพื้นที่ที่จะวางผังเมืองตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) บล็อก 13.14 ที่กําหนดไวเป นสีน้ําเงิน ใหเปนที่ดินประเภทสถาบั นราชการฯ โดยไม ปรากฏชื่อสํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เนื่องจากเปนที่ดินของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งไดแบง ที่ดินใหแกสํานั กงานฯ (ตองการให หมายเลข 13.14 มีชื่อสํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติดว ย) (5) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : มีขอคิดเห็นดังนี้ 1) บริเวณที่ตั้งสถานเริงรมย บริเวณใกลเคียงมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ เชน ปากซอย สุขุมวิท 23 (ซอยประสานมิต ร) ซอยสุขุมวิท 31 (ซอยสวัสดี) และบริเวณถนนเพชรบุ รีตัดใหม (ดานหลัง มหาวิ ทยาลัย) ในการวางผังเมืองรวมฉบั บใหมควรยายสถานเริงรมยต างๆ ที่ใกลบริ เวณมหาวิทยาลั ยไปไวบริเวณ เขตที่ตั้งสถานเริง รมยรวม ซึ่งหางจากสถานศึกษา 2) การจัดผังรวมโครงขายการจราจร โดยการเสนอโครงการตัดเชื่อมถนนสุขุมวิ ทและถนนเพชรบุรี ตัดใหม บริเวณซอยสุขุมวิท 31 (ซอยสวัสดี) ซึ่ง กทม. มีโครงการอยูแลว แตยังไมไดดําเนิ นการ จึงควรแจงให เห็นความสําคัญและความเหมาะสมในการตัด เชื่อมถนนบริ เวณดังกลาว 3) การจัดผังรวมเรื่องระบบจราจร การเดินรถบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยให เหมาะสมมากขึ้น เนื่องจากที่ผานมามหาวิทยาลัยมีปญหาเรื่องการจราจรภายนอก ซึ่งมีผลกระทบถึง การจัดระบบจราจรภายใน มหาวิทยาลัยอยางมาก (6) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : มีขอคิดเห็ นเกี่ยวกับ การวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม ดังนี้ 1) ควรทําการประเมินผลการบังคับใชผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ในลั กษณะของ Post Evaluation เพื่ อเป นประโยชน ใ นการจั ดวางผั ง หรื อการปรับ ปรุง แก ไขก อนการครบ กําหนดใช 2) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม สําหรับโครงการจัดสรรที่ดิ นควรมีขอยกเวนให โครงการที่ได รับอนุญาตจัดสรรกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ใชบังคับ 3) การวางและจัดทําผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร มีลักษณะจัดแบบ Mixed Landuse สามารถใชประโยชนใ น Block หมายเลขบริเวณที่ดินเพื่ อกิจ การอื่นที่ไ มตรงกับวัต ถุประสงคหลักได อาจสง ผลกระทบตอกิจกรรมที่มีอยู ถูกต องตามวัตถุป ระสงคของหมายเลขที่ดินนั้ น จึงขอใหพิจารณาความเปนไปได ในการกํา หนดการใชประโยชน ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษช นบทและเกษตรกรรม อนุรักษ เพื่อสงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรมไทย หรือสถาบันศาสนา ใหใชประโยชน ที่ดินเหลานี้ไดเฉพาะกิจกรรมที่ เปนวัตถุประสงคหลักอยางเดี ยวเทานั้น สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


77 4) ควรพิ จารณาปรับลดปริ มาณร อยละของการใชที่ดิ นเพื่อกิจ การอื่ นในที่ดิ นประเภทอี่ นๆ ให นอยลงเพื่ อสรางความเปนระเบี ยบเรี ยบร อยและรองรับการเจริญเติบโตของเมืองอยางมีแบบแผน 5) ในระหวางที่ มีการจัด ทําผังเมืองรวมฉบับใหม มักมีปญหาเรื่องรอยตอของการหมดอายุของ ผังเมืองเดิมกับการรอประกาศใชผังเมื องรวมฉบับใหม ควรเขียนกําหนดลงในรางผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร ฉบับใหมใหชัดเจน 6) ที่ดินบางประเภทกําหนดใหใชประโยชน พื้นที่เพื่อกิจ การอื่ น โดยมีประกาศหา มใชประโยชน ที่ดินในกิจ การตามที่ กําหนด แตยอมใหกิจ การที่ หามสามารถดําเนินการในวัตถุป ระสงครองได เห็นควรยกเลิก เพื่อไมใหเกิดความเสี ยหายแกผูอยูอาศั ยหรือใชประโยชนที่ดินตามวัตถุป ระสงคหลัก 7) พื้นที่สีเขี ยวและพื้นที่ ที่อนุ รักษไวเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม มีขอกํา หนดทางราชการไวแลว เชน พื้นที่โครงการกรุงรัตนโกสินทร หรือมติคณะรัฐ มนตรีวาดวยการรักษาคูคลอง (13 มิถุนายน 2510) ควรนํามา เปนเกณฑ ที่สําคัญในการสรางขอกํา หนดใหสอดคลองกับ พื้นที่บริเวณดัง กลาว 8) ควรรางขอกําหนดสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ไดแกโครงการ ถนน ทางหลวง หรื อขนสงมวลชนขนาดใหญเพิ่มเติ ม 9) ควรนําผลการศึกษาและขอเสนอแนะจากรายงานการวิ เคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอมของ โครงการขนาดใหญที่เกี่ยวของกับการใชที่ดิ นที่ผา นการพิ จารณาเห็ นชอบแลว มาประกอบการวางและจั ดทํา ผังเมืองรวม 10) กรุงเทพมหานครได ออกข อบัญญัติ กรุงเทพมหานคร เรื่ อง กําหนดบริ เวณหามก อสรางดั ดแปลง อาคารบางชนิดหรื อบางประเภท ในเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ พระนคร ปอมปราบฯ และสัมพันธวงศ ควรใหมีการพิจารณากําหนดใหบริเวณดังกลาวเปนพื้นที่สีน้ําตาลออน ประเภทอนุรักษเพื่ อสงเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่ อเปน Buffer Zone ของบริเวณกรุงรัต นโกสินทร 11) การปรับปรุงผังเมืองรวมฉบับใหมควรระบุเสนแมน้ํา คู คลอง ตลอดจนระบุกิจกรรมที่อนุญาต ใหประกอบการลงไปในขอกํา หนดการใชที่ดินใหชัด เจน 12) ในการกํา หนดที่ ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

ควรศึกษาศักยภาพของที่ดิน

บริเวณดังกลาวใหชัดเจน เพื่อเป นขอมูลที่จ ะเปนตัวชี้วัดให พื้นที่ นั้นเปนพื้ นที่สีเขียวยั่งยืนตลอดไป หากจะมี การปรับลดควรใชขอเท็จจริงประกอบในการพิจารณา และควรใชมาตรการภาษีมาใชกับการใชที่ดินผิดประเภท ใหเกิดเป นรูปธรรม

สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


78

6.3

การประชุมหลังจัดทํารางผังเมืองรวม

6.3.1 การประชุมประชาชนครั้งที่ 2 การจัดประชุมประชาชน ครั้งที่ 2 ณ ศูนย เยาวชนกรุ ง เทพมหานคร (ไทย–ญี่ ปุ น) ซึ่ ง ในการประชุ ม ใหญก็เปนไปตามขั้นตอนของกฎหมาย ซึ่งไดปดประกาศรางผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) ณ สถานที่สาธารณะ พรอมโฆษณาประชาสัมพันธทางหนั ง สื อพิ มพ วิ ทยุ และโทรทั ศ น เชิ ญ ชวนประชาชน เขารวมการประชุมในวันที่ 30 พฤษภาคม 2546 ในการประชุมประชาชนครั้งที่ 2 มีประชาชนเข า ร ว มประชุ มประมาณ 2,578 คน และประชาชนได เสนอแนะตางๆ สามารถแบงไดเปน 2 กลุม คือกลุมที่มองเฉพาะที่ ดิ นและอาคารหรื อเรื่ องของตน และกลุ ม ประชาชนทั่วไป ซึ่งไดเสนอใหปรับปรุงผังเมืองรวมในแตละบริเวณ สภาพบรรยากาศการประชุ มประชาชนใน การรับฟงขอคิดเห็นโดยทั่วไปเปนไปไดดวยความสงบเรี ยบร อย และมี ผู แ ทนฝ า ยการเมื องทุ กระดั บ เข า ร ว ม ประชุมสังเกตการณและใหขอเสนอแนะดวย นอกจากนี้ สํานักผังเมืองยังไดจัดใหมีการประชุมประชาชนยอยในลักษณะสัญ จรตามกลุ มเขตต า งๆ อีก 6 ครั้ง ในเขตกรุงเทพมหานคร มีผูเขารวมประชุมรวม 2,513 คน จําแนกตามกลุมเขตไดดังนี้ (1) กลุมเขตรัตนโกสินทร : (เขตพระนคร ดุสิต สัมพันธวงศ บางรั ก ป อมปราบศั ต รู พา ย ราชเทวี พญาไท บางซื่อ และปทุมวัน) วันที่ 17 พฤษภาคม 2546 ณ ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร จํานวน 427 คน (2) กลุมเขตเจาพระยา : (เขตดินแดง หวยขวาง วัฒนา คลองเตย บางนา พระโขนง บางคอแหลม สาทร และยานนาวา) วันที่ 17 พฤษภาคม 2546 ณ หองประชุมเขตบางคอแหลม ผูเขารวมประชุม 421 คน (3) กลุมเขตบูรพา : (เขตดอนเมือง หลักสี่ สายไหม บางเขน จตุ จั กร ลาดพร า ว บึ ง กุ ม บางกะป และวังทองหลาง) วันที่ 17 พฤษภาคม 2546 ณ หองประชุมเขตหลักสี่ ผูเขารวมประชุม 404 คน (4) กลุมเขตกรุงธนเหนือ : (เขตบางพลัด ตลิ่งชัน บางกอกนอย บางกอกใหญ ภาษีเจริญ หนองแขม และทวีวัฒนา) วันที่ 24 พฤษภาคม 2546 ณ หองประชุมเขตตลิ่งชัน ผูเขารวมประชุม 415 คน (5) กลุมเขตกรุงธนใต : (เขตบางขุนเทียน บางบอน จอมทอง ทุงครุ ธนบุรี ราษฎรบูรณะ คลองสาน และบางแค) วันที่ 24 พฤษภาคม 2546 ณ หองประชุมเขตราษฎรบูรณะ ผูเขารวมประชุม 415 คน (6) กลุมเขตศรีนครินทร : (เขตสะพานสูง คลองสามวา หนองจอก ลาดกระบัง ประเวศ สวนหลวง มีนบุรี และคันนายาว) วันที่ 24 พฤษภาคม 2546 ณ หองประชุมเขตประเวศ ผูเขารวมประชุม 431 คน 6.3.2 การประชุมระดมขอคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิและหนวยงานที่เกี่ยวของ เมื่ อ ได จั ด ทํ า ร า งผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) เสร็ จ แล ว สํ า นั กผั ง เมื อ งได ดําเนินการจัดประชุมผูทรงคุณวุฒิทางดานการผังเมืองและหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ ยวข องกั บ การ พัฒนาในสาขาตางๆ 11 ครั้ง ไดแก กลุมวิชาชีพ 3 ครั้ ง (อสั ง หาริ มทรั พย อุ ต สาหกรรม และพาณิ ช ยกรรม) สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


79 กลุมผูบริหารเขต 3 ครั้ง ผูทรงคุณวุฒิดานผังเมือง 1 ครั้ง และหนวยงานที่เกี่ยวของ 4 ครั้ง (ดานคมนาคมขนสง ดานสิ่งแวดลอม ดานสาธารณูปโภคและผังเมือง และการแก ป ญ หาพื้ นที่ อนุ รักษ เกษตรกรรมฝ ง ตะวั นออก) ทั้ ง นี้ เพื่ อนํ า ข อคิ ด เห็ นและข อสรุ ป ที่ ไ ด รับ จากการประชุ มมาปรั บ ใช ใ นการปรั บ ปรุ ง แก ไ ขร า งผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ซึ่งการประชุมตางๆ ดําเนินการมาเปนลําดับดังนี้ (1) การประชุมเพื่ อระดมขอคิด เห็ นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมหนว ยงานดานระบบ คมนาคมขนสง และสาธารณูปโภค วันที่ 8 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 59 คน (2) การประชุ มเพื่อระดมขอคิด เห็นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมธุ รกิจ การคาและบริการ และหนวยงานที่ เกี่ ยวของ วันที่ 10 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 72 คน (3) การประชุมเพื่อระดมขอคิดเห็นตอรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมหนวยงานทีเ่ กี่ยวของกับ ดานสิ่งแวดลอม วันที่ 21 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมื อง ผูเขารวมประชุ ม 75 คน (4) การประชุ มผูบริหารกรุง เทพมหานครกลุมเขตรัต นโกสินทร และกลุมเขตเจาพระยา เกี่ยวกับราง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร วันที่ 23 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมื อง 105 คน (5) การประชุ มเพื่อระดมขอคิด เห็นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมหนว ยงาน องคกร และ ผูประกอบการดานอุตสาหกรรม วันที่ 25 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุ ม 122 คน (6) การประชุ มผูบ ริ หารกรุ ง เทพมหานครกลุ มเขตกรุ งธนเหนื อ และกลุมเขตกรุง ธนใต เกี่ ยวกั บ รางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร วันที่ 29 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมื อง 110 คน (7) การประชุ มเพื่อระดมขอคิด เห็นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมผูทรงคุณวุฒิ ทางดาน ผังเมือง และหนวยงานที่ เกี่ ยวของกับการพัฒ นาเมื อง วันที่ 30 เมษายน 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวม ประชุม 80 คน (8) การประชุ มผูบริ หารกรุงเทพมหานครกลุ มเขตบู รพา และกลุมเขตศรี นครินทร เกี่ ยวกับรางผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร วันที่ 6 พฤษภาคม 2546 ณ สํานักผังเมื อง ผูเขารวมประชุม 108 คน (9) การประชุ มเพื่อระดมขอคิด เห็นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุ มสมาชิกสภา กทม. และ คณะกรรมาธิ การดานสาธารณูปโภคและผังเมือง สภา กทม. วันที่ 12 พฤษภาคม 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 75 คน (10) การประชุมเพื่ อระดมขอคิด เห็ นต อรางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กลุมธุ รกิจอสัง หาริ มทรั พ ย วันที่ 20 พฤษภาคม 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุ ม 111 คน (11) การประชุ มเพื่อระดมขอคิด เห็นต อการแกไขปญหาพื้ นที่ อนุรักษเกษตรกรรมฝงตะวันออกของ กรุงเทพมหานคร วันที่ 18 มิถุนายน 2546 ณ สํานักผังเมือง ผูเขารวมประชุม 50 คน 6.3.3 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ นอกจากขอเสนอแนะและขอคิดเห็ นที่ไดจากการประชุมตางๆ แลว ประชาชน ผูประกอบการ กลุม ผลประโยชน และหนวยราชการบางแหงไดสง หนังสือแสดงขอคิดเห็นที่เปนลายลักษณอักษรมายังสํานักผังเมือง สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


80 ซึ่งรวบรวมได 241 ราย สามารถสรุปขอคิด เห็น ขอเสนอแนะ และความตองการของประชาชนและภาคเอกชน เพื่ อนําไปประกอบการพิจารณาปรับปรุง รางผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับ ปรุงครั้งที่ 2) สรุปขอคิด เห็ น เกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดิ นประเภทตางๆ ไดดังนี้ (1) ที่ดินประเภทอนุรักษ ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) :เสนอ ขอเปลี่ยนการใชประโยชน ที่ดินดังนี้ 1) ขอยกเลิ กพื้นที่รับ น้ําและพื้นที่ เขียวลาย 2) ขอใหประกอบกิจกรรมเชิงพาณิช ยได 3) ขอใหพื้นที่บ ริเวณริ มถนนเปนสีแดง หรือประกอบพาณิชยกรรมได 4) ขอทําอพารต เมนต และหอพั ก (2) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) : ขอเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดิ นดังนี้ 1) ขอเปลี่ยนเป นที่อยูอาศัยหนาแน นปานกลาง และอุตสาหกรรม 2) ขอใหสรางบานแฝด ตึกแถว อาคารอยูอาศั ยรวม อาคารพาณิชยขนาดใหญ ได 3) ขอใหจัดสรรขนาดแปลงที่ดิน 50 ตารางวาได (3) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนนอย (สีเหลือง) : ขอเปลี่ยนการใชประโยชน ที่ดินดัง นี้ 1) ขอเพิ่มระดับ พื้นที่สีเหลือง เชน จาก ย.1 เปน ย.3 2) ขอใหสรางอพารตเมนต อาคารพาณิชยขนาดใหญ อาคารอยู อาศัยรวมได 3) ขอลดขนาดแปลงที่ดินที่ขอจัดสรรจาก 100 ตารางวา ลงเปน 50 ตารางวา 4) ขอใหทําโรงแรมได (4) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนปานกลาง (สีสม) : ขอเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดินดัง นี้ 1) ขอใหทําอาคารพาณิช ยขนาดใหญพิเศษได 2) ขอใหทําอุตสาหกรรมได (5) ที่ดินประเภทที่อยูอาศั ยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) : ขอเปลี่ยนการใชประโยชน ที่ดินดังนี้ 1) ขอใหทํา FAR 10 : 1 ได 2) ขอเปลี่ยนเป นพื้นที่พาณิช ยกรรม (6) ที่ดินประเภทพาณิ ชยกรรม (สีแดง) : ขอเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดิ นดังนี้ 1) ยานเยาวราช และริมคลองผดุงกรุงเกษม ในเขตสัมพั นธวงศ ควรหามไมใหมีการซื้อขาย เครื่องจักรกลเกา (7) ดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ : เสนอขอคิดเห็นดังนี้ 1) ไมเห็ นดวยกับการเวนคืนถนนเชื่อมระหวางวิภาวดีรังสิต – พหลโยธิน สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


81 2) การจัดรถประจําทาง 3) การเพิ่มโครงขายถนนสายหลัก รถไฟฟาใตดิน การจัด การจราจร 4) การเพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะใหมากขึ้น (8) ขอคิดเห็นทั่วไป : มีดังนี้ 1) การประชาสัมพันธ นอยไป 2) ขอเสนอแนะดานการวางผัง เชน ควรจะจัดใหมีการประชุมชาวบาน 3) การรุ กล้ําพื้นที่สาธารณะ แมน้ําลําคลอง ควรกําหนดมาตรการควบคุม 4) ที่ดินซึ่งเปนมูลคาหลักประกันด อยคา ปญหาในดานหลักประกั น

โดยผังเมืองรวมเมื่อกําหนดแลวไมควรทําใหที่ดิ นมี

(9) หนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน : ไดแก 1) การเคหะแหงชาติ ขอเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน 2 บริเวณ ดังนี้ 1.1) บริเวณเคหะชุ มชนดิ นแดง ขอเปนสีแดง พ.4 1.2) บริเวณทะเลสาบคลองจั่น ขอกันพื้นที่ 20 ไร เพื่อพัฒนาให เกิดประโยชน กับองคกร 2) การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ขอเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิ นบริ เวณโดยรอบสถานีรถไฟ ดังนี้ 2.1) บริเวณสถานีบางบําหรุ ฉิมพลี ศาลาธรรมสพน หัว หมาก หัวตะเข ขอเปนสีแดง พ.3 2.2) บริเวณสถานีหลั กสี่ ตลิ่งชัน ขอเปนสีแดง พ.3 2.3) บริเวณสถานีคลองตัน ขอเป นสีแดง พ.4 2.4) บริเวณถนนวัฒนธรรม เขตหวยขวาง ขอเปนสีแดง พ.5 3) การรถไฟฟาขนสง มวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ขอเปลี่ ยนแปลงการใช ประโยชนที่ดิ น บริเวณศูนยซ อมบํารุง เขตหวยขวาง เพื่อพั ฒนาตามแผนแมบ ทการพัฒ นาพื้นที่ เปนพื้นที่เศรษฐกิจ สังคม อาคารสํานักงาน ศูนยซอมบํา รุง ที่อยู อาศัย ที่โลง และสนามกีฬา 4) กรมธนารั กษ กระทรวงการคลัง ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน ที่ดินบริ เวณศูนยการประชุม แหงชาติสิริกิติ์ เปนพาณิช ยกรรม 5) สํานักงานทรั พยสินสวนพระมหากษัตริย ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิ น จํานวน 15 บริเวณ โดยขอเพิ่ มระดับความเขมขนของการใชประโยชนที่ดิ นที่ กําหนดไว ทุกบริ เวณ

สวนที่ 6 ขอคิดเห็นและความตองการของประชาชนและหนวยงานตางๆ


สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) การประเมินผลการใชบังคับผังเมืองกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 1) กฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 414 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 โดยการเปรียบเทียบการคาดประมาณ และเปาหมายในด า นต า งๆ ตามที่ ไ ด กํา หนดในผั ง เมื องรวมประกอบกั บ การพิ จ ารณาการดํ า เนิ นการของ ภาครัฐและภาคเอกชน และผลตอสภาพการเปลี่ยนแปลงทางดานกายภาพ ประชากร เศรษฐกิ จ และสั ง คม ในระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวมดังกลาว ทั้งนี้การประเมินผลการใช บั ง คั บ ผั ง เมื องรวมโดยแผนผั ง และ ข อกํา หนดต า งๆ ในกฎกระทรวงย อมทํา ให ทราบถึ ง ประสิ ทธิ ภ าพในการใช บั ง คั บ ป ญ หาด า นกฎหมาย การตีความ และชองวางของกฎหมาย ซึ่งจําเปนตอการแกไขปรับปรุงในลําดับตอไป แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททายกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ออกตามความพระราชบั ญ ญั ติ การผั ง เมื อง พ.ศ. 2518 แสดงไว ใ นแผนผั ง ที่ 7–1 ส ว นผลการประเมิ น สถานการณตางๆ ในระหวางการใชบังคับผังเมืองรวม และการประเมินผลแผนผังสาระสําคัญของผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) สรุปไดดังนี้

7.1

การประเมินผลดานกายภาพของเมือง

สถานการณดานการใชประโยชนที่ดิ นของกรุงเทพมหานคร พบวา จากภาวะการเติบโตอยางรวดเร็ว ทางเศรษฐกิ จของประเทศ สงผลตอการพั ฒนาและการขยายตัวของกรุง เทพมหานคร โดยเฉพาะอยางยิ่ ง การขยายตัวดา นอสังหาริ มทรั พยของภาคเอกชน และการเรงพั ฒนาระบบคมนาคมขนสง การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการของภาครัฐเพื่อรองรับการขยายตัวดังกลาว สภาพการพัฒนายังคงมีการขยายตัวออกสูพื้นที่ รอบนอกของเมืองอยางตอเนื่ อง ถึงแมจะมี การประกาศใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครแลวถึง 2 ฉบับ ซึ่งตางมีนโยบายควบคุมการเติบโตของเมืองใหอยูในบริเวณที่มีศักยภาพตอการพัฒนาภายในแนวถนนวงแหวน รอบนอก การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของเมืองสามารถสรุปและประเมินไดดังนี้ (1) พื้นที่ เมืองยังคงขยายออกสูบริเวณพื้นที่รอบนอกในอัตราสวนที่เพิ่ มมากขึ้น โดยมีสาเหตุจาก การขยายตัวของการพั ฒนาอสังหาริ มทรัพยดานที่ อยูอาศั ย ซึ่งเกิดขึ้ นอยางกระจัด กระจายในพื้ นที่ชานเมือง ดานตะวันออก และดานตะวันตก ซึ่งกอให เกิดปญหาต อการใหบ ริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการของ ภาครัฐ ขณะเดียวกันได กอให เกิด ที่ดินรกรางไมไดใชประโยชน เปนจํานวนมาก ซึ่งก อใหเกิดปญหาดานสังคม และปญหาของภาครัฐในการใหบริการที่ต องใชงบประมาณสูง

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


83 แผนผังที่ 7–1 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททายกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542)

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


84 (2) การพัฒ นาบริเวณพื้นที่ เมื องชั้นใน ได มีการเปลี่ยนแปลงโดยลักษณะการพัฒ นาฟนฟูเมือง และ มีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมการใชประโยชนที่ดิ นและเพิ่ มความหนาแนน เพื่ อใหคุมคาต อสภาพเศรษฐกิจ เชน การเปลี่ ยนแปลงบริ เวณที่ อยู อาศั ยเป นยา นพาณิ ช ยกรรม หรื อเป นยา นที่ พักอาศัยที่มีความหนาแน นสู ง ขึ้ น การพั ฒ นาดัง กลาว โดยเฉพาะในบริ เวณพื้ นที่ กรุ ง รั ต นโกสิ นทรไ ดใ ห ค วามสํา คั ญ ต อนโยบายการอนุ รักษ ศิลปวัฒนธรรมไทยอันเปนเอกลักษณของชาติ ทั้งนี้ โดยมีกฎหมายควบคุ มการปลู กสรางอาคารที่ มีขอจํากัด ในดานความสูงและกิจกรรมบางประเภท (3) ในชวงระยะเวลาที่ผา นมาซึ่ง เศรษฐกิ จของประเทศมี อัต ราการเจริญ เติบโตสูงสุด พื้นที่ใ นเขต กรุงเทพมหานครไดเกิดการพัฒนาของอาคารสูง ทัง้ ประเภทพาณิชยกรรมและพักอาศัยเปนจํานวนมากในบริเวณ พื้นที่เมืองชั้นใน และมีการกระจายอยูทั่วไปในบริเวณเขตตอเมือง การพัฒนาดังกลาวสวนใหญ ไมสอดคลองกับ ระบบโครงขายขนสงมวลชนที่ไดกําหนดไวในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ซึ่งกอใหเกิดสภาพการพัฒนาที่ขาด ความเปนระเบียบ และปญ หาจราจรคับคั่งในบริ เวณที่มีการพั ฒนาดัง กลาว และปญ หาดานการลงทุ นของ ระบบขนสงมวลชนที่จํานวนผูใชบริ การไมเปนไปตามประมาณการ (4) การพัฒ นาและขยายตัวของกิจ กรรมทางเศรษฐกิจ 1) พาณิชยกรรม การใชที่ดินประเภทพาณิชยกรรมไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่มีความเดนชัด คือ เกิดการพัฒนาในรูปแบบอาคารสํานักงาน หางคาปลีก และกลุมอาคารที่ประกอบกิจกรรมดานพาณิชยกรรม โดยเฉพาะ ทั้ง นี้ การพั ฒนาของอาคารพาณิช ยกรรมแบบห องแถวมี การเพิ่มในอัต ราที่ลดลง อยางไรก็ตาม การพัฒ นาของยานพาณิชยกรรมตาง ๆ ยังคงปรากฏในพื้นที่ เมื องชั้นใน บริเวณศูนยชุมชนและบริเวณถนน สายหลักในพื้ นที่ เขตตอเมื อง และเขตชานเมือง สําหรั บบริ เวณศูนยพาณิ ชยกรรมซึ่งได มีการกําหนดตามผังเมื องรวม กรุงเทพมหานคร เชน บริเวณถนนพระรามที่ 3 (ตามนโยบายการพัฒนาพื้ นที่ พิเศษ) และบริเวณศูนยชุ มชน ชานเมือง (ตามนโยบายการพัฒนาเมืองแบบหลายศูนยกลาง) ยังคงมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงที่ไมชัดเจนนัก 2) อุตสาหกรรม มี การกิจ การเพิ่ มขึ้ นค อนขางน อยซึ่งสอดคลองกับ นโยบายของภาครั ฐ และ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครที่ มุงสงเสริมให มีการกระจายแหลงงานอุตสาหกรรมออกสูภูมิภาค อยางไรก็ตาม พื้นที่เขตชานเมืองตะวันตกยังคงปรากฏการเพิ่มของการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมสูงถึงรอยละ 8.9 ตอป (พ.ศ.2538–2543) โดยเปนการพัฒนาที่ต อเนื่องในบริ เวณถนนเอกชั ย ถนนพระรามที่ 2 และถนนบางขุ นเทียน (5) การลดลงอยางรวดเร็วของพื้นที่ เกษตรกรรมในเขตชานเมืองตะวันออก เขตตอเมื อง และเขต ชานเมืองตะวั นตก โดยเฉพาะบริ เวณที่อยูนอกแนววงแหวนรอบนอก ซึ่งตามผังเมื องรวมกรุงเทพมหานครได กําหนดให เป นพื้ นที่ ชนบทและเกษตรกรรม และพื้นที่ อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม โดยมี เจตนารมณในการสงวน รักษาพื้นที่ธรรมชาติ เพื่ อการอนุ รักษสิ่งแวดลอม และรองรับ การพัฒ นาเมื องเมื่อมีศั กยภาพและความจําเป น ตอการขยายตัวของเมื อง พื้นที่เกษตรกรรมของกรุงเทพมหานครไดลดลงในอัตราที่สูงกวาการขยายตัวของ ประชากรและการพัฒ นาดา นสาธารณูปโภคและสาธารณูป การของภาครัฐ โดยมีสาเหตุสําคัญจากการเก็ ง กําไรที่ดินและการพัฒ นาดา นอสัง หาริ มทรั พย สภาพการณดั งกลา วได กอให เกิ ดปญ หาทั้งคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผูอยูอาศัย และปญหาพื้นที่รกรางไมไดใชประโยชนในบริเวณพื้ นที่ เกษตรกรรม สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


85 (6) การเปลี่ ยนแปลงพื้ นที่พัฒ นาเมื อง การเติ บโตของพื้ นที่ การใช ประโยชนที่ดิ นกรุง เทพมหานคร พบวา มีการขยายตัวของพื้ นที่ เมืองอยางรวดเร็วในระยะแรก แมวาจะมีการประกาศใชบังคับผังเมืองรวมแลว พื้นที่พัฒ นาเมื องยังคงขยายตัว เติบโตไปตามศั กยภาพบริ การสาธารณู ปโภคไปยังพื้ นที่รอบนอก และพื้ น ที่ ตอเมื อง ในเขตจังหวัดนนทบุ รี ปทุมธานี และสมุทรปราการ และในป พ.ศ. 2543 กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ พัฒนาเมื องเพิ่ มเป น 672.33 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณร อยละ 42.88 ของพื้ นที่กรุงเทพมหานคร โดยขยายตัว ทางดานตะวันออกมากกวา พื้นที่ดา นตะวันตกของแมน้ําเจา พระยา (แผนที่ 7–1) การเปลี่ยนแปลงพื้นที่พัฒนาเมือง (Built-up Area) ในกรุงเทพมหานคร กลุมเขต

พื้นที่ พัฒนาเมือง (ตร.กม.) 2529 2538 2543

การเปลี่ยนแปลง (ตร.กม.) 2529-2538 2538-2543

เขตเมืองชั้นในตะวันออก

120.41

153.04

154.42

32.63

1.38

เขตเมืองชั้นในตะวันตก

24.65

33.36

34.97

8.71

1.61

เขตตอเมื องตะวันออก

98.24

198.98

240.03

100.74

41.05

เขตตอเมื องตะวันตก

47.91

92.65

112.95

44.74

20.30

เขตชานเมืองตะวันออก

40.72

80.61

97.92

39.89

17.31

เขตชานเมืองตะวันตก

15.46

26.90

32.04

11.46

5.14

รวมฝงตะวันออก

259.36

432.63

492.37

173.27

59.74

รวมฝงตะวันตก

88.02

152.90

179.96

64.88

27.06

347.39

585.54

672.33

236.15

86.79

รวม กทม.

ที่มา : สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร (7) สภาพการใชประโยชน ที่ดิ นปจจุบั น สภาพการใชประโยชนที่ดินของกรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2543 ยังคงมีรูปแบบการใชประโยชนที่ดินใกลเคี ยงเดิม คือ พื้นที่เขตเมื องชั้นในยังคงเปนศูนยรวมของแหลงงาน ดานพาณิชยกรรม การคาและบริการ และที่ตั้งของสถานที่ราชการขนาดใหญอยูพื้นที่เมืองชั้นในดานตะวันออก มีการใชประโยชนที่ดิ นเพื่อการอยูอาศัย 239,086 ไร (รอยละ 24.39 ของพื้นที่ กทม.) และการพัฒนาที่ดิ นยัง กระจายออกสูพื้นที่รอบนอกโดยรุกล้าํ ไปในบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองที่ยังขาดความพร อมดานการบริการ สาธารณะ จากการพั ฒนาดังกลาวทําใหมีที่รกรางไม ไดใชประโยชนจํานวนมาก 204,988 ไร (รอยละ 20.91 ของพื้นที่ กทม.) ดังแสดงสภาพการใชประโยชนที่ดิ นในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 ในแผนที่ 7-2

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


86 แผนที่ 7-1 การเติบโตของพื้ นที่ การใชประโยชน ที่ดินกรุงเทพมหานคร

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


87 แผนที่ 7-2 การใชประโยชนที่ดิ นในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


88 การใชประโยชน ที่ดินของกรุ งเทพมหานคร ป พ.ศ. 2543 ลําดับที่

การใชประโยชน ที่ดิน

พื้นที่

สัดสวน (รอยละ)

(ตร.กม.)

(ไร)

382.537

239,086

24.38

1.

ที่อยู อาศัย

2.

พาณิชยกรรม

57.554

35,971

3.67

3.

อุตสาหกรรม

27.347

17,092

1.74

4.

คลังสินคา

11.608

7,255

0.74

5.

เกษตรกรรม

486.716

304,198

31.03

6.

สถาบันราชการ

36.691

22,932

2.34

7.

สถาบันการศึ กษา

18.229

11,393

1.16

8.

สถาบันศาสนา

8.603

5,377

0.55

9.

นันทนาการ

19.482

12,176

1.24

10.

ที่ทิ้งราง

327.981

204,988

20.91

11.

ถนน

110.274

68,921

7.03

12.

แหลงน้ํา

81.715

51,072

5.21

1,568.737

98,0461

100.00

รวม ที่มา : สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร

7.2

การประเมินผลดานประชากร เศรษฐกิจ และสังคม

ในระหวางทีผ่ ังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ใชบังคับ ไดมีการ เปลี่ยนแปลงประชากร สภาพการพัฒ นาทางเศรษฐกิจและสังคมในเขตกรุงเทพมหานคร ดังนี้

7.2.1 ดานประชากร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) ไดกําหนดเปาหมายการรองรับประชากรในป พ.ศ. 2545, 2550 และ 2555 โดยคาดวาจะมีจํานวนประชากรประมาณ 9.3, 10.2 และ 11.0 ลานคน ตามลําดับ การคาดประมาณดังกลาว ไดนําจํานวนประชากรป พ.ศ. 2538 ที่ OCMRT/UTDM ศึกษาไวเปนปฐาน และใช อัตราการเพิ่ มประชากรแตละชวงปของ BEIP/JICA คาดประมาณไวมาปรับเปนจํานวนประชากรเปาหมาย จากจํานวนประชากรทะเบียนราษฎรของกรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2545 มีจํานวน 5,584,730 คน รวมกับจํานวนประชากรแฝงตามอัตราสวนโดยผลการศึ กษาวิเคราะหของ OCMRT/UTDM ไดผลเปนจํานวน สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


89 ประชากรทั้งสิ้น 8,097,859 คน เปนจํานวนประชากรที่ต่ํากวาเปาหมายที่กําหนดในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) คาดวามีสาเหตุสาํ คัญจากวิกฤติเศรษฐกิจซึ่งสงผลกระทบตอการจางงานในกรุงเทพมหานคร

7.2.2 ดานเศรษฐกิจ ในระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 116 (พ.ศ. 2535) และ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) การพัฒนาของกรุงเทพมหานครไดประสบ กับวิกฤติเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบที่มีตอสาขาการธนาคาร ประกันภัย และสาขาอสังหาริมทรัพย และสาขาการกอสราง ซึ่งมีอัตราการเพิ่มสูงที่สดุ เทากับรอยละ 36.91 และ 14.29 ในระหวางป พ.ศ. 2532–2537 และลดลงต่ําที่สุดเทากับรอยละ -14.91 และ -10.53 ในระหวางป พ.ศ. 2537–2541 และเปนผลใหอัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมของกรุงเทพมหานครในแตละชวงเวลาดังกลาวลดลงจากรอยละ -13.08 เปน -2.26 ตามลําดับ อยางไรก็ตามสาขาการผลิตอื่นๆ ของกรุงเทพมหานครตางไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยมีอัตราการขยายตัวที่ลดลง ยกเวนสาขาการบริหารราชการและการปองกันประเทศ และสาขาที่อยู อาศัย ซึ่งมีอัตราการขยายตัว ที่เพิ่ มขึ้นจากรอยละ 3.73 และ 7.02 เปนรอยละ 12.53 และ 8.41 ตามลําดับ

7.2.3 ดานสังคม ระดับการศึ กษาของประชากรกรุงเทพมหานคร โดยผลสํารวจจากสํามะโนประชากรไดแสดงใหเห็น ถึงจํานวนและอัตราสวนของผูที่สําเร็จ การศึกษาในระดับมั ธยมศึ กษาและอุด มศึกษาที่เพิ่ มขึ้นอยางชัด เจนใน ป พ.ศ. 2533 และ 2543 แตดวยสาเหตุจากวิ กฤติ เศรษฐกิจเป นผลใหอัตราสวนผูมีงานทํ าลดลงจากร อยละ 62.59 เปนรอยละ 61.16 และในขณะเดี ยวกันที่อัต ราสวนผูไมมีงานทําเพิ่ มขึ้นจากรอยละ 4.18 เปนร อยละ 5.53 และดวยแรงผลักดันจากคาครองชีพที่เพิ่มขึ้นเปนผลใหอัตราสวนผูไมทํางานในเชิงเศรษฐกิจในกรุงเทพมหานคร มีอัตราสวนลดลงจากรอยละ 33.18 เปนรอยละ 25.91 และสถานภาพการทํางานมีการเพิ่มขึ้นของผูเปนนายจาง และผูทําธุรกิจสวนตัว จากรอยละ 2.97 และ 15.78 เปนรอยละ 4.36 และ 17.83 ในขณะที่ผูเปนลู กจาง เอกชนมีอัต ราสวนที่ลดลงจากรอยละ 55.30 เปนร อยละ 52.75 การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2543 แสดงรายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน ในกรุงเทพมหานครเทากับ 26,909 บาท ซึง่ สูงกวารายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือนในจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ และจากเปรียบเที ยบกับคาใชจายเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรื อนซึ่งเทา กับ 20,448 บาท ย อม แสดงใหเห็นถึงอัต ราสวนคาใชจายตอรายได เทากับ รอยละ 76.0 ซึ่งต่ํากวาอัตราสวนคาใชจายตอรายไดของ จังหวัดนนทบุ รี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ซึ่งเทา กับรอยละ 77.7 89.4 และ 90.8 ตามลําดับ

7.3

การประเมินผลแผนผัง

ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานครประกอบด ว ยแผนผั ง พร อมข อกํ า หนด 3 ผั ง ได แ ก แผนผั ง การใช ประโยชนที่ดิน แผนผังโครงขายระบบคมนาคมและขนสง และแผนผั ง ที่ โ ล ง หลั ง จากการประกาศใช บั ง คั บ ผังเมืองรวม วันที่ 5 กรกฎาคม 2542 ไดประเมินผลการใชบังคับผังเมืองรวม ดังนี้ สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


90 7.3.1 แผนผังการใชประโยชนที่ดิน ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (กฎกระทรวง ฉบับที่ 414) ได จํ า แนกประเภทการใช ที่ดิ นออกเป น 13 ประเภท โดยแบงออกเปนบริเวณยอย (บล็อก) รวมทั้ ง สิ้ น 421 บริ เวณ ซึ่ ง ในแต ล ะบริ เวณจะอนุ ญ าตให ใ ช ประโยชนที่ดินเพื่อกิจกรรมรองไดไมเกินรอยละ 10 หรือรอยละ 5 ของที่ดินในแตละบริเวณ จากการประเมินผลเปนรายบริเวณ นับจากวันที่ 5 กรกฎาคม 2542 ถึ ง 30 กรกฎาคม 2546 พบว า ในแตละบริเวณของการใชที่ดินสวนใหญยังคงเหลื อพื้ นที่ เพื่ อกิ จ กรรมรองมากร อยละ 80 ขึ้ นไป บริ เวณที่ มี การใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจกรรมรองเพิ่มขึ้นมากจะเปนยานที่อยูอาศัยหนาแน นน อยในเขตตลิ่ ง ชั น บางบอน และบางแค ซึ่งอยูใกลชุมชนเมืองและแหลงงาน นอกจากนี้ กิจ กรรมรองยั ง เพิ่ มมากขึ้ นในบริ เวณพื้ นที่ ช นบท และเกษตรกรรมฝ ง ตะวั นตกใกล ถนนวงแหวนรอบนอกในเขตบางขุ นเที ยน และพื้ นที่ อนุ รักษ ช นบทและ เกษตรกรรมใกลศูนยชุมชนมีนบุรี โดยสวนใหญ มีการใช ป ระโยชน ที่ดิ นเพื่ อกิ จ การอื่ นไปมากกว า ร อยละ 50 ของพื้นที่ที่อนุญาต การใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมอื่นในแตละประเภทของการใชประโยชน ที่ดิน หนวย : ตารางเมตร ประเภทการใชที่ดิ น

พื้นที่เพื่อกิจกรรมอื่น ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414

พื้นที่ที่ใชไปแลว

พื้นที่คงเหลื อ

ที่อยูอาศัย หนาแนนนอย ที่อยูอาศัย หนาแนนปานกลาง ที่อยูอาศัย หนาแนนมาก พาณิชยกรรม อุตสาหกรรมและคลังสินคา ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

47,411,800.00 16,579,379.00 9,517,600.00 3,925,256.00 1,656,500.00 21,933,951.00 14,232,400.00

4,122,347.93 2,259,277.08 580,597.64 514,771.89 165,470.96 3,490,558.33 4,940,949.52

43,289,452.07 14,320,112.92 8,937,002.36 3,410,484.11 1,494,029.04 18,443,392.67 9,291,450.48

7.3.2 แผนผังโครงการคมนาคมและขนสง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่1) ไดกําหนดเปา หมายในป พ.ศ.2545 ให การเดิ นทาง ของประชาชนรอยละ 30 ใชระบบขนสงมวลชน และรอยละ 70 ใช รถยนต ส ว นบุ ค คล แต จ ากการศึ กษาของ สํ า นั กงานคณะกรรมการจั ด ระบบการจราจรทางบกในโครงการศึ กษาจั ด ทํ า แผนหลั กการพั ฒ นาระบบ การจราจรและขนสง พบวาในป พ.ศ. 2543 มีสัดสวนการเดิ นทางของประชาชนด ว ยระบบขนส ง สาธารณะ รอยละ 47 และเดินทางโดยรถยนตสวนบุคคล รอยละ 53 การดําเนินการตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ซึ่งไดกําหนดแนวถนนสายตางๆ ไว 25 สาย ขณะนี้ กอสร า งเสร็ จ แล ว 10 สาย อยู ใ นระหว า งการประกวด ราคาและเตรียมการกอสรางจํานวน 2 สาย อยูระหวางการดําเนินการออกพระราชกฤษฎีกากําหนดแนวสํ า รวจ สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


91 เพื่อการเวนคืนที่ดินจํานวน 1 สาย และยังไมมีการดําเนินการ จํานวน 12 สาย ในจํ า นวนนี้ ข อยกเลิ ก 2 สาย ตามรายละเอียด ดังนี้ (1) กอสรางแลวเสร็จ หรืออยูในระหวางการกอสรา ง : จํานวน 10 สาย ไดแก 1) ถนนรามคําแหง–ศรีนครินทร (สาย ค 3) 2) ถนนรามคําแหง–พัฒนาการ (สาย ค 4) 3) ถนนตากสิน–เพชรเกษม–กาญจนาภิเษก (สาย ง 1) 4) ถนนศรีอยุธยา–พระรามที่ 9 (สาย จ 3) 5) ถนนพุทธมณฑล สาย 1 (สาย ฉ 2) 6) โครงการกอสรางสะพานขามแม น้ําเจาพระยา ทางยกระดับและเชิงลาด (สาย ฉ 3) 7) ถนนเพชรเกษม–ติวานนท –รัตนาธิเบศร (สาย ช 2) 8) ถนนกรุงเทพกรีฑา–รมเกลา (สาย ช 3) 9) ถนนพรานนก–พุทธมณฑล สาย4 (สาย ช 4) 10) ถนนวงแหวนรอบนอกดา นใต (สาย ฌ) (2) อยูระหวางการประกวดราคาและเตรียมการกอสราง : จํานวน 2 สาย ไดแก 1) ถนนเลียบทางรถไฟสายใต (สาย ก) 2) ถนนสาธุประดิษฐ–พระรามที่ 3 (สาย ค 5) (3) อยูระหวางการดําเนินการออกพระราชกฤษฎีกากําหนดแนวสํารวจเพื่อการเวนคืนที่ดิน : จํานวน 1 สาย ไดแก 1) ถนนรัตนโกสินทรสมโภช–นิมิตรใหม (สาย จ 1) (4) ยังไมมีการดําเนินการ : จํานวน 12 สาย ไดแก 1) ถนนเลียบคลองเปรมประชากร (ฝงตะวันตก) (สาย ข 1) 2) ถนนรามอิ นทรา–รัตนโกสินทรสมโภช (ตัดใหม) (สาย ค 1) 3) ถนนรามอิ นทรา–รมเกลา 1 (ถนนพั ฒนาชนบท) (สาย ค 2) 4) ถนนอุดมสุข –วงแหวนรอบนอก (ดานตะวันออก) (สาย ค 6) 5) ถนนพุทธบูชา–วงแหวนรอบนอก (ดานใต) (สาย ค 7) 6) ถนนพระรามที่ 2–บางคอ (สาย ง 2) 7) ถนนพระรามที่ 2–สุขสวัสดิ์ (สาย ง 4) 8) ถนนรามอิ นทรา–นิมิตรใหม (สาย จ 2) 9) ถนนรัชดาภิเษก–รามอิ นทรา (สาย ฉ 1) 10) ถนนนวมิ นทร –อุดมสุข (สาย ช 1)

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


92 (5) ถนนที่ยกเลิก : จํานวน 2 สาย ไดแก 1) ถนนทางรถไฟเกา สายปากน้ํา (สาย ข 2) 2) ถนนพระรามที่ 2–ตากสิน–เพชรเกษม (สาย ง 3) สวนระบบขนสงมวลชน ไดมีการก อสรางและเปดใหบริการรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพ (BTS) สาย สุขุมวิท ระยะทาง 16.8 กิโลเมตร และสายสีลม ระยะทาง 6.3 กิโลเมตร และระบบรถไฟฟาใตดิน สายบางซื่อ– หัวลําโพง ของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (MRTA) อยูในระหวางการก อสรางซึ่งคาดวาจะเปด ใหบริการภายในป พ.ศ. 2548 สําหรับการคมนาคมและขนสงทางอากาศได มีการก อสร า งสนามบิ นสุ ว รรณภู มิ ซึ่ ง คาดว า จะเป ด ดําเนินการในป พ.ศ. 2548 โดยมีความสามารถในการรองรับผูโดยสารในระยะแรก จํ า นวน 30 ล า นคนต อป หลังจากการเปดใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมื อง จะใช เพื่ อรองรั บ เที่ ยวบิ นเช า เหมาลํ า (Charter Flight) การขนสงทางอากาศ และการเปนศูนยซอมบํารุงอากาศยานระดับ C-Check

7.3.3 แผนผังแสดงที่โลง แผนผั ง แสดงที่ โ ล ง ท า ยกฎกระทรวงฉบั บ ที่ 414 (พ.ศ. 2542) ได เ สนอแนะให มี การจั ด หา สวนสาธารณะระดับเมือง ยาน และชุมชนเพื่อเพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะ จากจํ า นวนทั้ ง สิ้ น 3,019.915 ไร หรื อ คิดเปนอัตราสวนพื้นที่สวนสาธารณะตอประชากรจาก 0.862 ตารางเมตรตอประชากร 1 คน ในป พ.ศ. 2540 ใหไดพื้นที่ตามเกณฑมาตรฐานขั้นต่ําเทากับ 2 ตารางเมตรตอประชากร 1 คน และจากการดํ า เนิ นการในช ว ง การประกาศใชบังคับผังเมืองรวมเปนผลใหกรุงเทพมหานครมีพื้นที่สวนสาธารณะในป พ.ศ. 2545 เพิ่ มขึ้ นเป น 4,603.563 ไร หรือ คิดเปนอัตราสวนพื้นที่สวนสาธารณะเทากับ 1.159 ตารางเมตรตอประชากร 1 คน นอกเหนื อจากการควบคุมให เปนไปตามแผนผังแสดงที่โลงดังกลาวแลวการกําหนด ที่วางหรื อระยะ ถอยรนแนวอาคารใหหางจากเขตแหลงน้ําสาธารณะยังไดมีการเพิ่มเติมการประกาศใชบังคับโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และขอบัญญัติ กทม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ในทองที่เขตมีนบุรี เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง ทั้งนี้เปนการสงเสริมในเรื่องที่โลง เพื่อรักษาสภาพแวดลอมริ มแมน้ําลําคลองจากที่ กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ 414

7.4

ปญหาในการใชบังคับกฎกระทรวง

ในชวงระยะเวลาการใชบังคับ กฎกระทรวงผังเมืองรวม ฉบับที่ 414 นับจากวั นที่ 5 กรกฎาคม 2542 เปนตนมา ไดมีปญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการวินิจฉัยตีความขอกํ า หนดผั ง เมื องรวมหลายกรณี อั นเป นผล จากการเขียนขอกําหนดที่ไมสามารถเขียนใหครอบคลุมรายละเอียดปลีกยอยในทางปฏิบัติได และจะมี ป ญ หา ที่เกิดจากความพยายามในการตีความเพื่อเลี่ยงกฎหมาย ไดแก (1) การตีความขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน : เชน การกําหนดพื้นที่ประกอบการไม เกิ น 100 ตารางเมตร สําหรับการใชประโยชนที่ดิน ขอ 11 วรรค 1 (1) ขอ 11 วรรค 2 (11) จะพิจารณา 100 ตารางเมตร ตอการประกอบการ 1 กิจการ หรือพื้นที่ประกอบการแตละอาคารไม เกิ น 100 ตารางเมตร แต 1 กิ จ การจะมี อาคารขนาดไมเกิน 100 ตารางเมตร กี่หลังก็ได

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


93 (2) ปญหาการตีความ ประเภทกิจการ ตามขอกําหนดผังเมืองรวม : เชน 1) โรงเรี ยนเอกชน โรงพยาบาลเอกชน ที่ จ อดรถที่ มี การเก็ บ ค า บริ การ ห องน้ํ า ที่ มีการเก็ บ คาบริการ เปนการใชประโยชนที่ดินเพื่อพาณิชยกรรมหรือสาธารณูปการ 2) การใชประโยชนที่ดิ นประเภทสถาบั นราชการ และองค กรของรั ฐ โดยเฉพาะรั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ประกอบกิจการพาณิชยควรจะเปนการใชที่ดินประเภทพาณิชยกรรม หรือสถาบันราชการ 3) โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการเกษตรมีความหมายวาอยางไร 4) การเลี้ยงสัตวทุกชนิดเพื่อการคา เชน การเลี้ยงปลาตูสวยงามมีไดหรือไม 5) สวนสนุกมีคําจํากัดความอยางไร (3) การตีความการใชประโยชนที่ดินแบบผสม : เชน พาณิชย/พั กอาศั ย พาณิ ช ย /อุ ต สาหกรรม พักอาศัย/อุตสาหกรรม ฯลฯ จะพิจารณาการใชประโยชนที่ดินอยางไร เพราะปจจุบันมี ป ญ หาในการพิ จ ารณา อนุญาตกอสรางอาคาร เนื่องจากไมมีการขออนุญาตการใชประโยชนที่ดินแยกตางหาก (4) การอนุญาตการใชที่ดินสําหรับกิจกรรมที่ไมตองขออนุญาตประกอบการ : เช น โรงงาน จําพวกที่ 1 และ 2 สามารถดําเนินการได โดยไมตองรั บ อนุ ญ าตจากกระทรวงอุ ต สาหกรรม และท องถิ่ นเอง ไมมีอํานาจหนาที่ในการอนุญาตการประกอบการ ทํ า ให กฎกระทรวงผั ง เมื องรวมไม ส ามารถควบคุ มการใช ประโยชนที่ดินในสวนนี้ได (5) ขอหามการใชประโยชนที่ดินบางประเภท ไมสนับสนุนการใชประโยชน ที่ ดิน หลั ก : เช น อนุญาตใหประกอบกิจการสถานีบริการกาซในที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแน นมากอาจเกิ ด อุ บั ติ ภั ยและเกิ ด ความเสี ยหายที่ รา ยแรง ขณะที่ บ ริ เวณที่ อยู อาศั ยชั้ นดี หรื อพื้ นที่ อนุ รักษ ช นบทและเกษตรกรรม ห า มร า น จําหนายกาซหุงตม ทําใหผูอยูอาศัยเกิดความเดือดรอนและมีคํารองมาที่สํานักผังเมือง

7.5

คํารองขอแกไขเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

ในชวงระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงผั ง เมื องรวม มี คํ า ร องขอแก ไ ขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวม เขามาจํานวน 13 ราย ตามลําดับดังนี้ (1) บริษัทฟลิปส ประเทศไทย จํากัด : ขอแกไขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวมบริ เวณหมายเลข 1.13 ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) เขตหลักสี่ เพื่อใหสามารถขยายการก อสร า งโรงงานเพิ่ มเติ ม ในที่ดินแปลงเดิมได (2) การรถไฟแห ง ประเทศไทย : ขอแก ไ ขการใช ป ระโยชน ที่ดิ นบริ เ วณสถานี รถไฟธนบุ รี เขตบางกอกนอย จากที่ดินประเภทสถาบันราชการฯ บริเวณหมายเลข 13.31 เป นที่ ดิ นประเภทพาณิ ช ยกรรม (สีแดง) และที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) (3) สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริ ย : ขอแก ไ ขกฎกระทรวงบริ เวณโรงเรี ยนรวมเหล า ถนนพระรามที่ 4 เขตปทุมวัน จากการใชประโยชนที่ดินประเภทสถาบั นการศึ กษา (สี เขี ยวมะกอก) เป นที่ ดิ น ประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง)

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


94 (4) สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริ ย : ขอแก ไ ขกฎกระทรวงผั ง เมื อง บริ เวณโครงการ พลับพลา ถนนประดิษฐมนูธรรม (สี เหลื อง) บริ เวณหมายเลข 1.42 เป นการใช ที่ดิ นประเภทพาณิ ช ยกรรม (สีแดง) และที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีแดง) และที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) (5) โรงงานฟุตบอลไทย สปอรตติ้งกูด จํากัด : ขอแกไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมจากการใช ที่ดิ น ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข 8.6 ถนนฉลองกรุง เขตหนองจอก เพื่ อให ส ามารถ ขยายโรงงานในที่ดินแปลงเดิมได (6) บริษัทฟารมกรุงเทพ จํากัด : ขอแกไขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวมจากการใช ที่ดิ นประเภทที่ อยู อาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) บริเวณหมายเลข 2.64 ถนนบางนา–ตราด เขตบางนา เพื่ อให ส ามารถขยาย โรงงานในที่ดินแปลงเดิมได (7) วัดบุญรอดธรรมาราม : ขอแกไขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวม ประเภทที่ อยู อาศั ยหนาแน นน อย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข 2.5 เขตพระโขนง เพื่อใหสามารถสรางฌาปนสถานได (8) มูลนิธิ ม หามกุ ฏราชวิ ท ยาลั ย : ขอแก ไ ขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวม บริ เวณหมายเลข 2.12 ถนนกรุ ง เทพ-นนทบุ รี เขตบางซื่ อ จากการใช ที่ดิ นประเภทที่ อยู อาศั ยหนาแน นปานกลาง (สี ส ม) เพื่ อให สามารถกอสรางอาคารขนาดใหญพิเศษ เพื่อประกอบพาณิชยกรรม (9) ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค : ขอแกไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมจากที่ ดิ นประเภท ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) บริเวณหมายเลข 2.64 เปนที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง) เพื่อขยาย อาคารขนาดใหญพิเศษเพิ่มขึ้นได (10) การเคหะแหงชาติ : ขอแกไขกฎกระทรวงผั ง เมื องรวม บริ เวณที่ ดิ นของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ จากที่ดินประเภทสถาบันราชการฯ (สีน้ําเงิน) บริเวณหมายเลข 13.4 เขตจตุจักร เพื่อใหสามารถสร า ง ที่อยูอาศัยประเภทอาคารใหญได (11) การเคหะแหงชาติ : ขอแกไขกฎกระทรวงผังเมืองรวม บริเวณหมายเลข 1.69 จากการใช ที่ดิ น ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) เขตประเวศ เพื่อใหสามารถสรางที่อยูอาศัยเปนอาคารใหญได (12) กรุงเทพมหานคร : โครงการก อสร า งอาคารพั กอาศั ยให กับ ประชาชนตามนโยบายของ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน (13) สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย : ขอแกไขกฎกระทรวงผังเมือง บริเวณกองบังคับการ ตํารวจมา (เดิม) ซอยสนามคลี ถนนวิ ทยุ เขตปทุ มวั น จากการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทสถาบั นราชการฯ (สีน้ําเงิน) บริเวณหมายเลข เปนการใชที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) ในระหวางการบังคับใชกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ไดมีหนวยงานองค กรต า งๆ หารื อและ ขอทราบรายละเอียดขอกําหนดและเจตนารมณของผังเมืองรวม เชน กรณีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตร (ธ.ก.ส.) หารื อในประเด็ นการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทสถาบั นราชการฯ ในส ว นราชการหรื อ องคกรของรัฐ โดยเฉพาะโครงการกอสรางสํานักงานใหญของ ธ.ก.ส. วาเขาขายเปนการดํ า เนิ นงานในกิ จ การ สถาบันราชการที่ จ ะได รับ การยกเว น หรื อเป นกิ จ การพาณิ ช ยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ พิเศษที่ เป น ขอหามตามกฎกระทรวง กรณีขอรองเรียนเกี่ยวกับการกอสรางสถานีบริการกาซซึ่ง ตั้ ง อยู ใ กล ส ถานศึ กษาที่ จ ะ เกิดปญหาอุบัติภัยและความเดือนรอนรําคาญใหแกผูอยูอาศัยในยานชุมชน ฯลฯ สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


95 นอกจากนี้ยังมีประชาชนรองเรียนผานสมาชิ กสภาผู แ ทนราษฎรและสมาชิ กสภากรุ ง เทพมหานคร โดยไมมีเอกสารเปนลายลักษณอักษรหลายครั้ง โดยเฉพาะในพื้นที่อนุรักษ ช นบทและเกษตรกรรม และพื้ นที่ ชนบทและเกษตรกรรม กรุงเทพมหานครไดพิจารณาทบทวนคํ า ร องต า งๆ และเห็ นว า ควรมี การปรั บ เปลี่ ยน การใชประโยชนทดี่ ินใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

สวนที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1)


สวนที่ 8 สาระสําคัญของ กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลาการใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง 414 (พ.ศ. 2542) ไดปรากฏ ใหเห็นถึงสถานการณและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานการณทางดาน เศรษฐกิจและการลงทุนทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ซึง่ ไดสง ผลใหรปู แบบแนวโนมและทิศทางการพัฒนาเมือง ไมสอดคลองกับกรอบการพั ฒนาเมืองตามที่ไดกํา หนดไวในผังเมื องรวมฉบับดังกลาว ดั ง นั้ น เพื่ อให ก ารวางผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) มี การดํ า เนิ น การตาม กระบวนการวางแผนและขั้ น ตอนต า งๆ ตามที่ ไ ด กํ า หนดในพระราชบั ญ ญั ติ การผั ง เมื อง พ.ศ. 2518 คณะกรรมการผั ง เมื อ งได พิ จ ารณาเห็ น ชอบให ก รุ ง เทพมหานครเป น ผู ว า งและจั ด ทํ า ผั ง เมื อ งรว ม กรุงเทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2) โดยได มีการแต ง ตั้ ง คณะที่ ป รึ กษาผั ง เมื องรวม ซึ่ ง ได ใ ห ข อแนะนํ า แก คณะทํ า งานกลุ ม ต า งๆ จนสามารถบรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ประกาศเป น กฎกระทรวงให ใ ช บั ง คั บ ผั ง เมื องรวม กรุ ง เทพมหานคร พ.ศ. 2549 ซึ่ ง เป นไปตามสาระสํ า คั ญ ของผั ง เมื องรวมที่ กํา หนดไว ใ นมาตรา 17 แห ง พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ประกอบดวย (1) วัตถุประสงคในการวางและจัดทําผังเมืองรวม (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม (3) แผนผังซึ่งทําขึ้นเปนฉบับเดียวหรือหลายฉบั บ พร อมด ว ยข อกํ า หนด โดยมี ส าระสํ า คั ญ ทุกประการหรือบางประการ ดังตอไปนี้ (ก) แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โลง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (4) รายการประกอบแผนผัง (5) นโยบาย มาตรการและวิธีดําเนินการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงคของผังเมืองรวม กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร พ.ศ. 2549 มีสาระสําคัญครบทุกขอ ยกเว น ขอ (3) (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค

สวนที่ 8 สาระสําคัญของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549


97

8.1

แผนผังการใชประโยชนที่ดิน

8.1.1 แนวความคิดในการวางผังการใชประโยชนที่ดิน การพัฒนากรุงเทพมหานครซึ่งสะทอนภาพการพั ฒ นาตามวิ สั ยทั ศ น นโยบาย เป า หมาย มาตรการ และวัตถุประสงค และนําไปสูการวางและจั ด ทํ า ผั ง เมื องรวมซึ่ ง ประกอบด ว ยแผนผั ง และข อกํ า หนดการใช ประโยชนที่ดิน แผนผังแสดงที่โลง และแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง ไดพิจารณาจากเงื่อนไขของสภาพ ภูมิประเทศ และสภาพการพัฒนาเมือง และโครงขายสาธารณูป โภคและสาธารณู ป การ ทั้ ง นี้ โ ครงข า ยถนน ของกรุงเทพมหานครซึ่งประกอบดวยถนนรัศมีและถนนวงแหวน ซึ่งแสดงถึงเขตปดลอมของพื้ นที่ ประกอบกั บ การพัฒนาโครงขายระบบขนส ง มวลชนและทางด ว นภายในเขตวงแหวนรอบนอก การพั ฒ นาเมื องจึ ง ควร พิจารณาใหเกิดขึ้นโดยความสอดคลองกับการดําเนินการดานสาธารณูปโภคในพื้นที่ดังกลาวนี้ การพัฒนาเมืองในเขตถนนวงแหวนรัชดาภิเษกนอกเหนื อจากการอนุ รักษ และฟ นฟู บ ริ เวณอนุ รักษ กรุงรัตนโกสินทรและกรุงธนบุรี และการปรับปรุงฟนฟูยานสถาบันการบริ หารปกครองในบริ เวณพื้ นที่ ต อเนื่ อง ในเขตดุ สิ ต แล ว บริ เวณพื้ นที่ โ ดยทั่ ว ไปได มีศั กยภาพในการพั ฒ นาเป นย า นพาณิ ช ยกรรมและที่ อยู อาศั ย หนาแน นมาก นอกจากนี้ ยัง ได มีโ ครงการพั ฒ นาต า งๆ ที่ สั มพั นธ กับ การก อสร า งระบบขนส ง มวลชนและ ศูนยคมนาคมการพัฒนาในเขตถนนวงแหวนรัชดาภิเษกนี้ โดยเฉพาะในบริเวณที่ ไ ด มีการให บ ริ การโดยระบบ ขนสงมวลชนซึ่งไดแก ระบบรถไฟฟ า ยกระดั บ และระบบรถไฟฟ า ใต ดิ นจะเป นบริ เวณที่ มีศั กยภาพในการ พัฒนาสู ง สุ ด และจะเป นบริ เวณที่ มีค วามต อเนื่ องกั บ ย า นพาณิ ช ยกรรมศู นย กลางเมื องในป จ จุ บั น ซึ่ ง จะ เชื่อมโยงดวยระบบขนสงมวลชนกับสนามบินสุวรรณภูมิ การพัฒนาในเขตพื้นที่ระหวางถนนวงแหวนรั ช ดาภิ เษกกั บ ถนนวงแหวนรอบนอกด ว ยระดั บ ความ หนาแนนประชากรที่คอนขางต่ํ า ประกอบกั บ การมี พื้นที่ ว า งที่ ป ราศจากการใช ป ระโยชน ใ นป จ จุ บั น ย อมมี ความเหมาะสมตอการรองรับความตองการด า นที่ อยู อาศั ยทั้ ง ในระดั บ ความหนาแน นปานกลางและความ หนาแนนนอย ในบริเวณพื้นที่ดังกลาวนี้ไดมีการพัฒนาศูนยพาณิชยกรรมและศู นย ชุ มชนชานเมื องเพื่ อให เกิ ด สภาพความสมดุลระหวางที่อยูอาศัยและแรงงาน โดยการปรั บ เปลี่ ยนโครงสร า งของกรุ ง เทพมหานครให มี รูปแบบการพัฒนาแบบหลายศูนยกลาง ผลจากการพั ฒ นาและฟ นฟู ยา นพาณิ ช ยกรรมและที่ อยู อาศั ยหนาแน นมากในเขตถนนวงแหวน รัชดาภิเษก ยอมจําเปนตอการฟนฟูสภาพแวดลอมและการปรั บ ปรุ ง ทางด า นภู มิทัศ น นอกจากนี้ ยัง มี ค วาม จําเปนตอการควบคุมการประกอบกิจการทางดานอุ ต สาหกรรมโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง อุ ต สาหกรรมที่ กอให เกิ ด ปญหามลพิษหรือมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติภัยใหยายออกไปยังเขตอุต สาหกรรมในเขตพื้ นที่ ช านเมื องของ กรุงเทพมหานครหรือปริมณฑล 8.1.2 หลักการและรายละเอียดของผังการใชประโยชนที่ดิน สภาพการพัฒนาการใช ป ระโยชน ที่ดิ นของกรุ ง เทพมหานครในอนาคต ได แ สดงไว ใ นแผนที่ 8–1 แผนผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) พรอมสรุ ป ข อกํ า หนดการใช ป ระโยชน ที่ดิ นผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไวในตารางที่ 8–1 ซึ่งมีการกําหนดกิจกรรมที่อนุญาตใหประกอบกิ จ การได สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


98 กิจกรรมที่อนุญาตใหประกอบกิจการไดโดยมีเงื่อนไข และกิจกรรมที่หามดําเนินการ สํา หรั บ การกํ า หนดการใช ประโยชนที่ดินไดจําแนกออกเปน 10 ประเภทหลักดังนี้ (1) ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) : เปนยานการใชที่ดินซึ่งสงเสริ มการพั ฒนา ที่ใหความสําคัญในดานคุณภาพของชีวิตและสิ่งแวดลอมโดยแบ ง ออกเป น 4 ระดั บ คื อ ประเภท ย.1–ย.4 ซึ่งมีการควบคุมสภาพความหนาแนนและกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินแตกตางกันตามสภาพการพั ฒ นาและ เศรษฐกิจในปจจุบันของแตละบริเวณ โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) ที่ อยู อาศั ยหนาแน นน อย ประเภท ย.1 : มี เจตนารมณ เพื่ อส ง เสริ มสภาพแวดล อมของ กา รอยู อ าศั ย บ ริ เ ว ณเขตชา นเมื อ ง ได แ ก บริ เ วณ ซึ่ ง ป จ จุ บั น เป น ที่ อ ยู อ า ศั ย ที่ มี สภาพแวดลอมดี เนื่องจากการพัฒนาส ว นใหญ เป นที่ อยู อาศั ยแบบบ า นเดี่ ยว สภาพทาง เศรษฐกิจของพื้นที่มีมูลคาสูงในเขตชานเมือง การกํ า หนดการใช ป ระโยชน ที่ดิ นประเภทนี้ เพื่ อเป น การดํ า รงรั กษาและส ง เสริ มสภาพแวดล อมที่ ดี ข องการเป นที่ อ ยู อาศั ย โดยได ควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินและความหนาแน นของการพั ฒ นาที่ ไ ม ส ง ผลกระทบ ตอสภาพแวดลอม (ข) ที่อยูอาศัยหนาแน นน อย ประเภท ย. 2 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การขยายตั ว ของที่ อยู อาศัยในบริเวณชานเมือง ไดแก บริเวณพื้นที่ชานเมืองซึ่งสภาพป จ จุ บั นส ว นใหญ ยัง คงเป น พื้นที่เกษตรกรรม การพัฒนาและจํานวนประชากรยังมีอยูอยางเบาบาง อย า งไรก็ ต ามด ว ย ศักยภาพของการคมนาคมและการได รับบริ การสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการ จึ งกํ าหนด ใหเปนที่อยูอาศัยหนาแนนนอยเพื่อรองรับการขยายตั ว ของที่ อยู อาศั ยชานเมื องในอนาคต โดยควบคุมระดับการพัฒนาและกิจกรรมการใชประโยชนที่ดิ นให มีค วามหนาแน นเบาบาง และเปนที่อยูอาศัยประเภทบานเดี่ยวและบานแฝด (ค) ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย ประเภท ย. 3 : มี เจตนารมณ เพื่ อดํ า รงรั กษาสภาพแวดล อมของ การอยูอาศัยบริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมือง และบริเวณโดยรอบศู นย ชุ มชน ไดแก บริเวณระหวางเขตเมื องชั้ นในและเขตชานเมื องซึ่ ง ส ว นใหญ มีการพั ฒ นาของที่ อยู อาศัยทางราบ (บานเดี่ยว บา นแฝด ทาวน เฮาส ) และในบริ เวณพื้ นที่ โ ดยรอบศู นย ชุ มชน ชานเมื อง กํ า หนดให เป นที่ อยู อ าศั ยหนาแน นน อย โดยห า มการพั ฒ นาในลั กษณะของ อาคารสูง อาคารขนาดใหญ และควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินที่จะสงผลกระทบต อ สภาพแวดลอมและความเปนที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (ง) ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย ประเภท ย. 4 : มี เจตนารมณ เพื่ อดํ า รงรั กษาสภาพแวดล อมของ การอยูอาศัยบริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมืองที่มีความสะดวกในการเดิ นทาง ไดแก พื้นที่ยานที่อยูอาศัยระหวา งเขตเมื องชั้ นในและเขตชานเมื อง เป นบริ เวณที่ มีค วาม สะดวกในการเดินทางและมีศักยภาพตอการพัฒนาที่สามารถเพิ่มความหนาแน นในอนาคต ดวยปจจัยมูลคาทางเศรษฐกิจของพื้ นที่ ทั้ ง นี้ การกํ า หนดระดั บ ความหนาแน นของการใช สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


99 ประโยชน ที่ดิ น ยั ง คงห า มการพั ฒ นาของอาคารสู ง และอาคารขนาดใหญ และควบคุ ม กิจกรรมการใชประโยชนที่ดินที่สงผลตอการเปนที่อยูอาศัย (2) ที่ดินประเภทที่ อ ยู อ าศั ยหนาแน น ปานกลาง (สี ส ม ) : เป นย า นที่ อยู อาศั ยซึ่ ง รองรั บ การพั ฒ นาและที่ อยู อาศั ยของประชาชนกลุ มระดั บ รายได ป านกลางซึ่ ง เป นกลุ มที่ มีจํ า นวนสู ง สุ ด ของ กรุ ง เทพมหานคร แบ ง เป น 3 ระดั บ คื อ ประเภท ย.5–ย.7 โดยกํ า หนดการควบคุ มความหนาแน นและ กิจกรรมการใชประโยชนที่ดินแตกตางกันตามสภาพการพัฒนาปจ จุ บั น ศั กยภาพในด า นการคมนาคมขนส ง และสภาพแวดลอมของบริเวณ โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง ประเภท ย. 5 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การขยายตั ว ของ ที่อยูอาศัยจากเขตเมืองชั้นใน โดยเปนที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลางที่มีสภาพแวดล อมดี ใ น บริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้ นในและบริ เวณศู นย ชุ มชนชานเมื อง ได แ ก ที่ อยู อาศั ย บริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้นในที่มีความหนาแนนปานกลางซึ่ ง ยั ง คงสภาพแวดล อม ที่ดี และบริเวณโดยรอบศูนยชุมชนยอยซึ่งอยูในเขตชานเมือง โดยกําหนดควบคุมการพัฒ นา ของอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษเพื่อให มีระดั บ ของการพั ฒ นาที่ ไ ม หนาแน นหรื อ สงผลตอสภาพแวดลอมของการอยูอาศัย สําหรับกิจกรรมการใชป ระโยชน ที่ดิ นประเภทอื่ น สามารถอยูไดภายใตเงื่อนไขในด า นของที่ ตั้ ง และความสะดวกในการเดิ นทางเข า ถึ ง ที่ ไ ม เปนการสรางผลกระทบตอการอยูอาศัยของพื้นที่ (ข) ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง ประเภท ย. 6 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การอยู อาศั ยใกล แหลงงาน บริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับศูนยชุมชนชานเมื อง ศู นย พาณิ ช ยกรรมชุ มชน และเขต อุ ต สาหกรรม ได แ ก บริ เวณที่ อ ยู อาศั ยในพื้ นที่ ต อ เนื่ องกั บ เขตเมื องชั้ นใน และบริ เวณ โดยรอบศูนยชุมชนชานเมื อง ศู นย พาณิ ช ยกรรมชุ มชน และเขตอุ ต สาหกรรม เพื่ อรองรั บ การอยูอาศัยที่ตองการอยูใกลแหลงงาน โดยกําหนดระดับความหนาแนนของการพั ฒ นาให มี ที่อยู อ าศั ยประเภทอาคารสู ง อาคารขนาดใหญ และกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ น ประเภทอื่นที่ไมสงผลกระทบตอการอยูอาศัยใหมีความสอดคล องกั บ สภาพและมู ล ค า ทาง เศรษฐกิจของพื้นที่ (ค) ที่อยูอาศั ยหนาแน นปานกลาง ประเภท ย. 7 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การอยู อาศั ยใน บริ เวณพื้ นที่ ต อเนื่ องกั บ เขตเมื องชั้ นในซึ่ งอยู ในเขตการให บริ การของระบบขนส ง มวลชน ไดแก บริเวณที่อยูอาศัยในพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้ นในและอยู ใ นเขตการให บ ริ การของ ระบบขนสงมวลชนจึงมีศักยภาพตอการพัฒนาที่สามารถมีความหนาแนนเพิ่มขึ้ นในอนาคต ประกอบกั บ ป จ จั ยทางด า นกายภาพและเศรษฐกิ จ ของพื้ นที่ จึ ง กํ า หนดเป นที่ อยู อาศั ย หนาแนนปานกลาง โดยมี การพั ฒ นาของที่ อยู อาศั ยประเภทอาคารสู ง และอาคารขนาด ใหญ โดยมีการควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินประเภทอื่นที่จะสงผลกระทบต อสภาพ ของการเปนที่อยูอาศัย สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


100 (3) ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแน น มาก (สี น้ํ า ตาล) : เป นย า นที่ อยู อาศั ยในพื้ นที่ เมื อง ชั้นใน ซึ่งสวนใหญมสี ภาพการพัฒนาและกิจกรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ มีค วามหนาแน นสู ง แบ ง ออกเป น 3 ระดั บ คื อ ประเภท ย.8–ย.10 ตามสภาพเศรษฐกิ จ และศั กยภาพของพื้ นที่ สภาพการพั ฒ นาที่ มี ขอจํากัดจากขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ในการควบคุมการปลูกสร า งอาคาร และให ค วามสํ า คั ญ ต อคุ ณ ค า ของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก ประเภท ย. 8 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การอยู อาศั ยในบริ เวณ พื้นที่เมืองชั้นในและบริเวณริมแมน้ําเจาพระยา ที่ มีการส ง เสริ มและดํ า รงรั กษาทั ศ นี ยภาพ และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เพื่อเปนที่อยูอาศัยบริเวณเขตเมืองชั้ นใน ซึ่ ง มี การพั ฒ นา ที่ หนาแน นแต ยัง คงมี ข อจํ า กั ด ในการปลู กสร า งอาคารด ว ยข อบั ญ ญั ติ กรุ ง เทพมหานคร ระดั บ การบริ การด า นสาธารณู ป โภค ขี ด จํ า กั ด ของการจั ด การจราจรและการคมนาคม ขนสงที่มีปริมาณสูง และบริ เวณพื้ นที่ ริมแม น้ํา เจ า พระยาซึ่ ง มี การดํ า รงรั กษาทั ศ นี ยภาพ และสภาพแวดล อ มทางธรรมชาติ โดยควบคุ ม ระดั บ ความหนาแน นของการพั ฒ นาที่ เหมาะสมกั บ มู ล ค า ทางเศรษฐกิ จ และกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ นที่ มีข นาดใหญ หรื อ สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและการจราจร (ข) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก ประเภท ย. 9 : มี เจตนารมณ เพื่ อรองรั บ การอยู อาศั ยในบริ เวณ พื้นที่เมืองชั้นในซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบขนสง มวลชน ได แ ก บริ เวณที่ อยู อาศั ย บริเวณพื้นที่เมืองชั้นในซึ่งอยูในเขตการให บ ริ การของระบบขนส ง มวลชน มี ค วามสะดวก จากระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และการอยูใกลแหลงงานและการบริ การต า งๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวัน จึงกําหนดให เป นบริ เวณที่ อยู อาศั ยที่ มีค วามหนาแน น สู ง เพื่ อให ระดั บ ของการพั ฒ นามี ค วามเหมาะสมกั บ มู ล ค า ทางเศรษฐกิ จ ของพื้ นที่ แ ละ สอดคล องกั บ ศั กยภาพการได รับ บริ การสาธารณู ป โภค โดยเฉพาะระบบขนส ง มวลชน ทั้งนี้ยังคงควบคุมการพัฒนาของกิจกรรมการใชประโยชนที่ดิ นประเภทอื่ นด ว ยเงื่ อนไขและ มาตรการตางๆ ทางผังเมือง เพื่อปองกันผลกระทบดานสภาพแวดลอมของการอยูอาศัย (ค) ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก ประเภท ย. 10 : มีเจตนารมณเพื่อรองรับการอยูอาศัยในบริเวณพืน้ ที่ เมืองชั้นในที่ตอเนื่องกับยานพาณิชยกรรมศูนยกลางเมือง และในเขตการใหบริการของระบบ ขนสงมวลชน ไดแก บริเวณที่อยูอาศัยบริเวณเขตเมืองชั้นในที่ตอเนื่องกับย า นพาณิ ช ยกรรม ศูนยกลางเมืองและในเขตการใหบริการของระบบขนส ง มวลชน มี ค วามสะดวกจากระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ใกลแหลงงาน การคาและบริ การต า งๆ สภาพการพั ฒ นาที่ อยูอาศัยในปจจุบันสวนใหญเปนอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ พิเศษ ตลอดจนกิ จ กรรม การใชประโยชนที่ดินประเภทอื่นซึ่งมีระดับการพัฒนาที่มีความหนาแน นสู ง จากป จ จั ยด า น มูลคาของที่ดินและจากศั กยภาพในการพั ฒ นาของพื้ นที่ จึ ง กํ า หนดให เป นที่ อยู อาศั ยที่ มี ความหนาแน นสู ง สุ ด โดยยั ง คงควบคุ ม การพั ฒ นาของกิ จ กรรมการใช ป ระโยชน ที่ดิ น สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


101 ประเภทอื่นในระดับที่ไมสงผลกระทบตอการอยูอาศัยที่หนาแน นด ว ยเงื่ อนไขและมาตรการ ทางดานผังเมือง (4) ที่ ดิน ประเภทพาณิ ชยกรรม (สี แ ดง) : จํ า แนกเป น 5 ระดั บ คื อ ประเภท พ.1–พ.5 ตามระดับและสภาพของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) พาณิชยกรรมชุมชน ประเภท พ. 1 : มีเจตนารมณ ใ ห ใ ช ป ระโยชน เป นพาณิ ช ยกรรมชุ มชน เพื่อกระจายกิจกรรมการคาและการบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชี วิ ต ประจํ า วั น ของประชาชนในบริเวณที่อยูอาศัยชานเมือง ไดแก บริเวณยานการคาและบริการที่ใหบ ริ การ ในระดับชุมชนเพื่อกระจายกิจกรรมการคาและการบริการที่อํานวยความสะดวกต อการดํ า รง ชีวิตประจําวันของประชาชนที่อยูบริเวณชานเมือง กําหนดใหสภาพการพั ฒ นาและกิ จ กรรม การใชประโยชนที่ดินมีความหนาแนนไมสูงมาก โดยมีความสอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจ และศักยภาพของพื้นที่ (ข) พาณิชยกรรมศูนยชุมชน ประเภท พ. 2 : มีเจตนารมณใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิ ช ยกรรม ชุ มชนย อย เพื่ อกระจายกิ จการการค า และบริ การที่ อํ านวยความสะดวกต อการดํ ารงชี วิ ต ประจําวันของประชาชนในเขตชุมชน ในพื้นที่เขตต อเมื องและชานเมื อง ได แ ก ย า นการค า และบริการที่กระจายตัวอยูทั่วไป เพื่อกระจายการค า และบริ การที่ อํา นวยความสะดวกต อ การดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในเขตต อเมื องและเขตชานเมื อง กํ า หนดให ส ภาพ การพัฒนาและประเภทกิจกรรมเขมขนกวาพาณิชยกรรมชุมชน (ค) พาณิชยกรรมเมือง ประเภท พ. 3 : มีเจตนารมณใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรมชุ มชน รองและพาณิชยกรรมเมือง เพื่อรองรับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจการค า และการบริ การ รวมทั้งการคาและการบริการเฉพาะประเภทที่ใหบริการแกประชาชนโดยทั่วไป ไดแก บริ เวณ ย า นการค า และบริ ก ารภายในเมื อ ง เพื่ อรองรั บ การประกอบกิ จ กรรมทางธุ รกิ จ การค า และการบริ การสํ า หรั บ ประชาชนโดยทั่ ว ไป ซึ่ ง เป นบริ เวณที่ ส ภาพการพั ฒ นามี ระดั บ ความหนาแนนและกิจกรรมการใชที่ดินที่สูงขึ้นโดยสัมพันธกับมูลคาของที่ดิน (ง) พาณิชยกรรมศูนยชุมชนชานเมืองและศู นย กลางรอง ประเภท พ. 4 : มี เจตนารมณ ใ ห ใ ช ประโยชน เป น ศู นย ชุ ม ชนชานเมื อง และศู น ย พาณิ ช ยกรรมรอง เพื่ อส ง เสริ มความเป น ศูนยกลางทางธุรกิจ การคา การบริการ และสั นทนาการ ที่ จะก อให เกิ ดความสมดุ ลระหว าง ที่อยูอาศัยและแหลงงานของประชาชนที่ อยู อาศั ยบริ เวณเขตชานเมื อง และเพื่ อส ง เสริ ม การประกอบกิ จ กรรมทางธุ รกิ จ การค า การบริ การ และสั นทนาการ ในบริ เวณโดยรอบ ศู นย ค มนาคมของระบบขนส ง มวลชนและเขตรองรั บ การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของ ศูนยพาณิชยกรรมหลัก ยานศูนยพาณิชยกรรมรองบริเวณโดยรอบศูนยคมนาคมระบบขนส ง มวลชนหลัก 3 แหง และยานการคาและบริการในบริเวณศูนย ชุ มชนชานเมื อง เพื่ อส ง เสริ ม สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


102 ความเปนศูนยกลางทางธุ รกิ จ การค า การบริ การ ในบริ เวณชานเมื องโดยมี ระดั บ ความ หนาแนนของการพัฒนาที่สูงขึ้นตามบทบาทการใหบริการ และบริเวณโดยรอบศูนยคมนาคม ของระบบขนสงมวลชนและเขตรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของศูนยพาณิชยกรรมหลั ก จึงเปนบริเวณที่มีศักยภาพสูงตอการเปนศูนยกลางพาณิ ช ยกรรมเพื่ อส ง เสริ มการประกอบ กิจกรรมทางธุรกิจการคาและการบริการ โดยเปนบริเวณที่รองรับการพัฒนาและการกระจาย ตัวจากบริเวณพาณิชยกรรมศูนยกลางเมือง มีระดับความหนาแนนของการใชที่ดิ นสู ง โดยมี ขอพิจารณาควบคุมกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินที่มีความขัดแย ง (Non–Conforming Use) ที่เขมงวดขึ้น (จ) พาณิ ช ยกรรมศู นย กลางเมื อ ง ประเภท พ. 5 : มี เจตนารมณ ใ ห ใ ช ป ระโยชน เป นศู น ย พาณิชยกรรมหลัก เพื่อสงเสริมความเปนศูนยกลางทางธุรกิจ การคา การบริการ และการท องเที่ ยว ในระดั บ ภู มิภ าคเอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต เพื่ อใช ป ระโยชน เป นศู นย พาณิ ช ยกรรมหลั ก เพื่อสงเสริมความเปนศูนยกลางทางธุ รกิ จ การค า การบริ การ และการท องเที่ ยวในระดั บ ภูมิภาค โดยมีระดับความหนาแนนของการพัฒนาสูงสุด เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิ จ ของ พื้นที่โดยสัมพันธกับระดับการบริการดานสาธารณูปโภคและระบบขนสงมวลชน (5) ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (สี ม ว ง) : จํ า แนกเป น 2 ประเภท คื อ ประเภท อ.1–อ.2 โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) เขตอุตสาหกรรม ประเภท อ. 1 : มีเจตนารมณเพื่อเปนเขตอุตสาหกรรมเพื่ อการบริ หารและ จั ด การด า นสิ่ ง แวดล อ มสํ า หรั บ การประกอบกิ จ กรรมประเภทอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ที่ มี มลพิษนอย ไดแก บริเวณซึ่งมีโรงงานอุตสาหกรรมจํานวนมากตั้งอยูในปจจุบั น โดยส ง เสริ ม ใหเปนเขตอุตสาหกรรมเพื่อการบริหารและจัดการดา นสิ่ ง แวดล อมในการประกอบกิ จกรรม ประเภทอุตสาหกรรมการผลิตที่มีมลพิษและกากของเสี ย โดยมี ข อพิ จ ารณาควบคุ มระดั บ ความหนาแนนการพัฒนาของการใชที่ดินประเภทอื่น (ข) นิ ค มอุ ต สาหกรรม ประเภท อ. 2 : มี เจตนารมณ เพื่ อนิ ค มอุ ต สาหกรรมซึ่ ง จั ด ตั้ ง ขึ้ นตาม กฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดแก บริ เวณพื้ นที่ ใ ช ป ระโยชน เพื่ อ เปนนิคมอุตสาหกรรมซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว า ด ว ยการนิ ค มอุ ต สาหกรรม กํ า หนดให มี การใชที่ดินเฉพาะเพื่อการอุตสาหกรรมและกิจกรรมที่เกี่ยวของ (6) ที่ดินประเภทคลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) : กํ า หนดเป นประเภท อ.3 โดยให เป นที่ ดิ น ประเภทคลังสินคา โดยมีเจตนารมณเพื่อคลังสินคา การเก็บและขนถายสินคา เพื่ อการขนส ง ในระดั บ ภู มิภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


103 (7) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส น ทแยงสี เ ขี ยว) : กํ า หนดเป น 2 ระดั บ คื อ ประเภท ก.1–ก.2 ให เป นที่ ดิ นประเภทอนุ รักษ ช นบทและเกษตรกรรม โดยมี เจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) พื้นที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ประเภท ก. 1 : มีเจตนารมณเพื่อการสงวนรั กษาสภาพ ทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ในบริเวณที่มีขอจํากัดดานการระบายน้ํ า และ มีความเสีย่ งตอการเกิดอุทกภัย ไดแก บริเวณสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ เพื่ อป องกั นน้ํ าท วม และการคงสภาพพื ้ น ที ่ เ กษตรกรรมในบริ เ วณพื ้ น ที ่ น้ํา หลากตามแนวพระราชดํ า ริ ด า นตะวันออก เพื่อปองกันและแกไขปญหาน้ําทวม โดยมี ข อกํ า หนดการใช ป ระโยชน ที่ดิ น ที่เขมงวดเพื่อควบคุมและปองกันสภาพการพัฒนาแบบชุมชนเมือง (ข) พื้นที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ประเภท ก. 2 : มีเจตนารมณเพื่อการสงวนรั กษาสภาพ ทางธรรมชาติ ข องพื้ นที่ ช นบทและเกษตรกรรม ได แ ก บริ เวณซึ่ ง สงวนรั กษาสภาพพื้ นที่ เกษตรกรรมฝงตะวันตก และอนุรักษยานที่อยูอาศัยชั้นดี บริ เวณดั ง กล า วได แ ก ที่ อยู อาศั ย หนาแนนนอยในเขตชานเมื องด า นตะวั นออก สํ า หรั บ พื้ นที่ ช านเมื องด า นตะวั นตก ได แ ก พื้ นที่ ซึ่ ง อยู ภ ายใต ข อ บั ญ ญั ติ ก รุ ง เทพมหานครในเขตตลิ่ ง ชั น ทวี วั ฒ นา บางแค และ เขตภาษีเจริญ ซึ่งมีสภาพแวดลอมเหมาะสมต อการอยู อาศั ยที่ ดี และเพื่ อเป นการป องกั น การขยายตั ว ของเมื อ งอย า งไม เ ป น ระบบจนมี ค วามหนาแน นเกิ น ความสามารถของ สาธารณูปโภคจะรองรับได (8) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) : กําหนดเป น 2 ระดั บ คื อ ประเภท ก.3–ก.4 ใหเปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม จําแนกตามสภาพทางกายภาพของพื้ นที่ ซึ่ ง มี ผ ลต อการประกอบ การเกษตรกรรม และตามระดับบริการสาธารณูปการของชุมชน โดยมีเจตนารมณในแตละประเภทยอย ดังนี้ (ก) พื้นที่ชนบท ประเภท ก. 3 : มีเจตนารมณเพื่อเกษตรกรรม การสงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติ และการสงเสริมเศรษฐกิจการเกษตร ไดแก บริเวณซึ่งสงวนรั กษาสภาพทางธรรมชาติ แ ละ เพื่อเปนพื้นที่เกษตรกรรม จึงกําหนดระดับความหนาแนนการพัฒนาและกิจกรรมการใช ที่ดิ น เพื่ อให ส ามารถดํ า รงสภาพความเป นพื้ นที่ เ กษตรกรรมได ต อไป ทั้ ง นี้ ไ ด กํา หนดเงื่ อนไข การใชประโยชน ที่ดิ นเพื่ อการเกษตรกรรมประเภทที่ ต องอาศั ยน้ํ า เค็ มหรื อน้ํ า กร อยให อยู เฉพาะในบริเวณที่มีความเหมาะสมจากสภาพทางกายภาพ (ข) ชุมชนชนบท ประเภท ก. 4 : มี เจตนารมณ เพื่ อเป นชุ มชนและศู นย กลางการให บ ริ การทาง สังคม และการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ได แ ก บริ เวณให ใ ช ประโยชนเพื่อเปนชุมชนและศูนยกลางใหบริการดานสังคมและการสงเสริ มเศรษฐกิ จ ชุ มชน ในบริเวณพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม มีขอกําหนดการใช ประโยชน ที่ดิ นที่ อํานวยต อการพั ฒนา เพื่อเปนศูนยชุมชนโดยยังสามารถควบคุมระดับการพัฒนาเปนพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


104 (9) ที่ดินประเภทอนุรักษเพื่อสงเสริมเอกลักษณศิล ปวั ฒนธรรมไทย (สี น้ํ า ตาลอ อ น) : ไดแก บริเวณพื้นที่ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกํ า หนดบริ เวณห า มก อสร า งดั ด แปลงใช หรื อเปลี่ ยน การใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทภายในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรเขตชั้นในและเขตชั้ นนอก เพื่ อให มีการ พั ฒ นาและการใช ป ระโยชน ที่ ดิ น ตามวั ต ถุ ป ระสงค ใ นการส ง เสริ ม การดํ า รงรั ก ษาเอกลั ก ษณ ท า ง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยจําแนกเปน 2 ประเภท คือ ประเภท ศ. 1 และ ศ. 2 โดยมี เจตนารมณ ใ นแต ล ะ ประเภทยอย ดังนี้ (ก) บริเวณอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย ประเภท ศ. 1 : มีเจตนารมณเพื่อการอนุรักษและส ง เสริ ม เอกลักษณศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจดานการทองเที่ยว (ข) บริ เวณอนุ รั กษ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ประเภท ศ. 2 : มี เจตนารมณ เพื่ อการอนุ รักษ แ ละ ส ง เสริ มเอกลั กษณ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชาติ และส ง เสริ ม กิ จ กรรมด า นพาณิ ช ยกรรม การบริการ และการทองเที่ยวในเขตอนุรักษศิลปวัฒนธรรม (10) ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการ (สี น้ํ า เงิ น ) : กําหนดเปนที่ดินประเภท ส. มีเจตนารมณเพื่อสถาบันราชการและกิจการของรัฐ ที่ เกี่ ยวกั บ การสาธารณู ป โภค สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน โดยใหใชประโยชนเพื่อกิจการของรัฐ ประกอบดวย สถานที่ ทํา การของ ราชการ สถานที่เพื่อกิจการดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใชประโยชนที่ดินประเภทสถาบันราชการทหาร สถาบั นการศึ กษา และศาสนสถาน กําหนดประเภทการใชประโยชนที่ดินตามสีขางเคียง สวนการใชที่ดินประเภทที่ โ ล ง เพื่ อนั นทนาการและรั กษา คุณภาพสิ่งแวดลอมจะอยูในสวนของการวางผังแสดงที่โลง

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


105 แผนผังที่ 8–1 แผนผังแสดงการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททายกฎกระทรวง

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


106 ตารางที่ 8–1 สรุปขอกําหนดการใชประโยชน ที่ดินผังเมืองรวมกรุง เทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


107

8.2

แผนผังแสดงที่โลง

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดกําหนดวิสัยทัศนและวัตถุป ระสงคในการพัฒนา เมืองที่สําคัญ ประกอบดวย ความมุง หวังที่จะใหกรุงเทพมหานครเปนมหานครที่ มีความนาอยูดว ยการสงวน รักษาสภาพแวดลอมและทรัพยากรทางธรรมชาติ ซึ่งตองมีการอนุ รักษ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ทรงคุณคางดงาม และปองกันภัยธรรมชาติโดยบํา รุงรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ฟนฟู และปองกันภัยจากธรรมชาติ เปนตนวา การปองกั นน้ําทว ม การป องกันปญ หาชายฝงถูกน้ําทะเลกัดเซาะ การอนุรักษแหลงน้ําธรรมชาติ เปนตน กรุงเทพมหานครในอีก 20 ปขางหนา จากการคาดประมาณจํานวนประชากรอยู อาศัยและทํางาน โดยประมาณ 12.5 ลานคน ทามกลางสภาพแวดลอมที่แออัดหนาแนนของสิง่ ปลูกสรางและอาคารบานเรื อน ความคับคั่งของยานพาหนะที่ใชในการสัญจร กอใหเกิดปญ หาสุขอนามั ยจากควันพิษและฝุนละออง แตใน ปจจุบันกรุงเทพมหานครยัง มีพื้นที่สวนสาธารณะเพื่อการพั กผอนหยอนใจนอยมากเพี ยงประมาณ 4,600 ไร หรือคิด เปนสัดสวนตอประชากรโดยประมาณ 1.159 ตารางเมตรตอคน ซึ่งต่ํากวามาตรฐานที่กํา หนดไวใน แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 ที่ใหเพิ่มพื้นที่ สีเขียวและสวนสาธารณะใหมีอัตราสวนพื้ นที่ต อจํานวน ประชากรอยางนอย 2.5 ตารางเมตรตอคน แผนผังแสดงที่โลงในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดมีการวางและจัดทําโดยมี วัตถุประสงคเพื่ อสงวนรักษาที่โลงวางที่มีคุณคาในบริเวณตางๆ กํากับดูแลการใชประโยชนที่ดินในกรณีที่จ ะมี การเปลี่ยนแปลงไปใชประโยชนอยางอื่ น เนื่องจากการจัดหาที่ดิ นเพื่อการนั นทนาการในปจจุบันยังไม เพี ยงพอ ตอจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อเปนปอดของเมืองหรือสรางสภาพแวดลอมที่ดี ในพื้ นที่เมืองผสมผสานกั บที่ อยู อาศั ย อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ และอื่นๆ ลวนมีสวนชวยให กรุงเทพมหานคร เปนเมืองนาอยูและมีที่พักผอนหยอนใจสําหรับประชาชน โดยแผนผังแสดงที่โลงจะมีองคประกอบหลักที่สําคัญ 3 ประการ คือ (1) ที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุ ณภาพสิ่งแวดลอม : ไดกําหนดไวในบริ เวณที่เป น สวนสาธารณะ สวนสัตว สนามกี ฬา ศูนย เยาวชนขนาดใหญ สนามมา พื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน และที่โลง ขนาดใหญในสถานที่ราชการ จํานวน 46 บริเวณ (2) ที่โลงพักน้ําเพื่อปอ งกันน้ําทวม : กําหนดไวในแผนผังแสดงที่โลงจํานวน 11 บริเวณ เปนพื้นที่ บึงพักน้ํา (แกมลิง) ซึ่งดําเนินการโดยจัดทําเป นแผนหลักระบบระบายน้ําและระบบปองกั นน้ําทว มของสํานัก การระบายน้ํา (3) ขอเสนอแนะเกี่ยวกับสวนสาธารณะ : ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดมี การคาดการณจํา นวนประชากรที่อยู อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครในอี ก 20 ป จํานวน 7.10 ลานคน โดยมี เปาหมายใหมีพื้นที่สวนสาธารณะเพิ่ มอี กประมาณ 6,450 ไร

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


108 แผนผังแสดงที่โลง ไดเสนอแนะระบบสวนสาธารณะที่จะตองจัดหาเพิ่มเติมในบริเวณชุมชนที่ขาดแคลน ดังนี้ ฝงตะวันตก

?

สวนสาธารณะระดับเมือง

(300 ไร)

2

แหง

สวนสาธารณะระดับเขต

(100 ไร)

5

แหง

สวนสาธารณะระดับชุมชน

(50 ไร )

20

แหง

สวนสาธารณะระดับเมือง

(300 ไร)

3

แหง

สวนสาธารณะระดับเขต

(100 ไร)

9

แหง

สวนสาธารณะระดับชุมชน

(50 ไร )

18

แหง

ฝงตะวันออก

?

ทั้งนี้ ไมนับรวมสวนสาธารณะระดับละแวกบานหรือสวนหยอมที่ใชพักผอนหยอนใจได ซึ่งภาคเอกชน อาจมีสวนชวยโดยพัฒนาใหมีขึ้นในโครงการจัดสรรที่ดิน รวมทั้งวัดและสถานที่ราชการที่เสนอแนะใหหนวยงาน ที่ปฏิบัตินําไปพิจารณาจัด หาพื้ นที่ใ นบริ เวณที่ กํา หนดหรือในรัศ มีใกล เคียง ตามระบบสวนสาธารณะที่ มี การวางแผนไว พิจารณาแผนผังแสดงที่โลงทายกฎกระทรวงในแผนผังที่ 8–2

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


109 แผนผังที่ 8–2 แผนผังแสดงผังที่โลงทายกฎกระทรวง

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


110

8.3

แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง

8.3.1 การพยากรณปริมาณความตองการเดินทางในอนาคต การพยากรณปริมาณความตองการเดินทางในอนาคต อยูบนพื้ นฐานขอมูลการวางแผนซึ่งเปนขอมูล พื้นฐานอันประกอบดวย จํานวนประชากร จํานวนครัวเรือน รายไดของครัวเรือน การจางงานและจํานวนนักเรียน โดยจากผลการวิเคราะหสามารถกลาวไดวา การเดินทางภายในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลใน 20 ปขางหนา (พ.ศ. 2565) จํานวนความตองการในการเดินทางเพิ่มขึ้นเปน 29 ลานคน–เที่ยว จาก 21 ลานคน–เที่ยว ในป พ.ศ. 2545 การวิเคราะหปริมาณการเดินทางไดวิเคราะหในลักษณะการเดิ นทางขามแมน้ําเจาพระยาในทิศตะวันออก –ทิศตะวันตก โดยใชสะพานขามแมน้ําเจาพระยาเปนแนวทางการวิเคราะห สามารถจัดกลุมการเดินทางในพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลออกเปน 6 สวน เพื่อความชัด เจน ในการอธิบายการเดิ นทางขามไปมาระหวาง ฝงแมน้ําเจาพระยา พรอมทั้งการวิเคราะหปริ มาณการเดินทางระหวางพื้ นที่ดานทิศเหนือและทิศใตของพื้ นที่ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดยใช แนวรางรถไฟเป นหลั ก ซึ่งไดแบงพื้ นที่วิ เคราะหออกเปนหลายส ว น เพื่ออธิบายการเดินทางระหวางพื้นที่ดา นทิศเหนือและดานทิศใต (1) การเดินทางในแนวทิศตะวันออก–ทิศตะวันตก : เมื่อเปรียบเที ยบปริมาณความตองการ เดินทางกับ ความสามารถในการรองรับ การเดิ นทางของ โครงขา ยคมนาคมขนสงที่ มีอยู สามารถกลาวไดว า ในป พ.ศ. 2545 การเดิ นทางในแนวทิศ ตะวันออก–ทิศตะวันตก บริเวณทางดานบนของพื้นที่กรุง เทพมหานคร และปริมณฑลประมาณ 1.01 ลานคน–เที่ยวตอวัน และเพิ่มขึ้นเปน 1.36 ลานคน–เที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2565 ในขณะที่ความสามารถในการรองรับการเดินทางขามไปมาระหวางสองฝงแมน้ําเจาพระยา บริเวณพื้นที่ดังกลาว สามารถรองรับการเดินทางไดประมาณ 1.15 ลานคน–เที่ยวตอวั น ซึ่งกลาวไดวาโครงขายคมนาคมในบริเวณ ดังกลาวสามารถรองรับ ความต องการในการเดินทาง แตหากพิจารณาในป พ.ศ. 2565 แลว ความตองการ ในการเดิ นทางกลับสูงกวาการรองรับของโครงขายคมนาคมประมาณ 1.2 เทา 1) การเดิ นทางในทิศตะวั นออก–ทิศตะวันตก บริเวณทางตอนกลางของพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีประมาณ 1.36 ลานคน–เที่ยวตอวันใน ป พ.ศ. 2545 และเพิ่มขึ้นเปน 2.4 ลานคน–เทีย่ วตอวัน ในป พ.ศ. 2565 ในขณะที่ความสามารถในการรองรับ การเดิ นทางขามไปมาระหวางสองฝงแมน้ําเจาพระยา ในบริเวณพื้นที่ดังกลาวมีเพียง 1.34 ลานคน–เที่ยวตอวัน ซึง่ กลาวไดวา ความตองการในการเดินทางในปจจุบันมี มากกวาความสามารถในการรองรับของโครงขายคมนาคมที่ มีอยูในปจจุบั น และหากพิจารณาในป พ.ศ. 2565 แลว ความตองการในการเดิ นทางสูงกวาความสามารถในการรองรับของโครงขายคมนาคมถึงร อยละ 80 2) การเดินทางในทิศตะวันออก–ทิศตะวันตก บริเวณทางดานลางของพื้นที่กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล มีประมาณ 0.84 ลานคน–เที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2545 และเพิ่มขึ้นเปน 1.67 ลานคน–เที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2565 ในขณะที่ความสามารถในการรองรับ การเดิ นทางขามไปมาระหวางสองฝงแมน้ําเจาพระยา บริเวณพื้นที่ดังกลาวมีเพียง 0.22 ลานคน–เที่ยวตอวัน ซึ่งกลาวไดวา ความตองการในการเดิ นทางมีสูงกวา สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


111 ความสามารถในการรองรับของโครงขายคมนาคมหลายเทาตัว เนื่องจากปจจุบันในบริเวณนี้มีสะพานเชื่อมตอ ระหวางสองฝงแมน้ําเจาพระยาเพียงจุดเดี ยวคือสะพานพระราม 9 (2) การเดินทางในแนวทิศเหนือ–ทิศใต : มีดังนี้ 1) การเดิ นทางในแนวทิศเหนื อ–ทิศใต บริเวณฝงซายของพื้นที่กรุง เทพมหานครและปริ มณฑล มีประมาณ 1.24 ลานคน–เที่ ยวต อวั น ในป พ.ศ. 2545 และเพิ่ มขึ้นเปน 1.71 ลานคน–เที่ ยวต อวัน ในป พ.ศ. 2565 ขณะที่ความสามารถของโครงขายคมนาคมในการรองรับการเดินทางขามไปมาระหวางสวนของพื้นที่ดัง กลาว มีเพี ยง 0.88 ลานคน–เที่ยวตอวัน ซึ่งกลาวไดวาความตองการในการเดินทางในป พ.ศ. 2545 มี มากกวา ความสามารถในการรองรับของโครงขายคมนาคมรอยละ 41 และในป พ.ศ. 2565 มีความตองการในการเดินทาง มากกวาความสามารถในการรองรับของโครงขายคมนาคมขนสงถึง รอยละ 94 2) การเดิ นทางในแนวทิศเหนื อ–ทิศใต บริเวณฝงขวาของพื้นทีก่ รุง เทพมหานครและปริ มณฑล มีประมาณ 2.1 ลานคน–เที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2545 และเพิ่มขึ้นเปน 2.8 ลานคน–เที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2565 ในขณะที่ความสามารถในการรองรับของโครงขายการคมนาคมของการเดินทางขามไปมาระหวางสวนของพื้นที่ มีถึง 2.44 ลานคน–เที่ ยวตอวัน ซึ่งกลาวไดวาโครงขายคมนาคมสามารถรองรับปริมาณความต องการในการ เดินทางในปปจจุบั นได แตใ นปอนาคตนั้ นยังคงต องปรั บปรุงโครงขายคมนาคมเพื่อใหสามารถรองรั บความ ตองการการเดินทาง

8.3.2 โครงการคมนาคมและขนสง (1) โครงการถนนและทางดวน : โครงการถนนและทางดวนในเขตกรุงเทพมหานครอยูในความรับผิดชอบ ของหลายหนวยงาน ไดแ ก 1) กรมทางหลวง มีโครงการถนนของที่อยูในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สวนใหญเปน โครงการที่อยูบริเวณรอยตอเขตจังหวัด ซึ่งเปนโครงการที่จะชวยให การจราจรเขา –ออกในพื้นที่ กทม. มีความ คลองตัวขึ้น 9 โครงการ ไดแก โครงการทางหลวงมีนบุรี–ฉะเชิงเทรา โครงการเชื่อมตอทาอากาศยานกรุงเทพ– ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการทางหลวงพระประแดง–บางขุนเทียน โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานใต (พระประแดง–บางพลี) โครงการทางหลวงกรุงเทพ–ชลบุรสี ายใหมตอนศรีนครินทร–ทางเขาสนามบินสุวรรณภูมิ โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานตะวั นออกตอนรามอินทรา–บางพลี โครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง วงแหวนรอบนอกดานตะวั นออก และโครงการขยายช องจราจรทางหลวงพิ เศษสายกรุงเทพ–ชลบุรี 2) กรมโยธาธิการและผังเมือง มีโครงการก อสรางถนนและสะพานในเขตกรุงเทพมหานครและ บริเวณตอเนื่อง ที่สําคัญจํานวน 5 โครงการ ไดแก โครงการถนนสายแยกตากสิน–ถนนเพชรเกษมไปยังถนน พระรามที่ 2 โครงการถนนวงแหวนอุตสาหกรรมระยะที่ 2 ชวงถนนสุขสวัสดิ์–ถนนพระรามที่ 2 โครงการกอสราง สะพานขามแม น้ําเจ าพระยา บริ เวณหาแยกปากเกร็ด และถนนเชื่อมต อ โครงการกอสรางสะพานขา มแม น้ํา เจาพระยา บริเวณสะพานนนทบุรี และโครงการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยา บริเวณสะพานพระนั่งเกลา สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


112 3) กรุงเทพมหานคร มีโครงการกอสรางถนน ไดแ ก โครงการถนนสารสิน–รัชดาภิเษก โครงการ ถนนเลี ยบคลองบางเขน ฝงใต (ถนนวิภ าวดีรังสิต –พหลโยธิ น) โครงการถนนพุทธมณฑลสาย 1 โครงการ ถนนพรานนก–พุ ทธมณฑลสาย 4 และโครงการกอสรางสะพาน จํานวน 4 โครงการ ได แก โครงการก อสรางสะพาน ขามแมน้ําเจาพระยา บริ เวณเกี ยกกาย โครงการกอสรางสะพานขามแม น้ําเจาพระยา บริ เวณถนนจันทน – ถนนเจริญนคร โครงการกอสรางสะพานขามแม น้ําเจาพระยา บริเวณถนนมหาพฤฒาราม–ถนนลาดหญา และโครงการกอสรางสะพานขา มแมน้ําเจา พระยา บริเวณถนนราชวงศ–ถนนทาดินแดง 4) การทางพิ เศษแหงประเทศไทย มีโครงการกอสรางทางดวนที่สําคัญ 5 โครงการ ในสวน เกี่ ยวข องกับพื้ นที่ กรุง เทพมหานคร ไดแก โครงการระบบทางด ว นขั้นที่ 2 (ศรีรัช ) สวน B โครงการระบบ ทางดวนขั้นที่ 3 สายใต ตอน S1 ชวงอาจณรงค–บางนา และโครงการทางดวนสายรามอินทรา–วงแหวนรอบ นอก ระยะทาง 9.5 กิโลเมตร (2) โครงการระบบสงมวลชน : แผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ตอเนื่อง ซึ่งจัดทําขึ้นโดยสํานักงานคณะกรรมการจัด ระบบการคมนาคมทางบก (สจร.) ไดกําหนด โครงการระบบขนสงมวลชนประกอบดวยระบบรถไฟฟา ยกระดับของบริษัทระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (BTS) ระบบรถไฟฟาใตดินของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย และระบบรถไฟชานเมืองและรถไฟ ทางไกลของการรถไฟแหงประเทศไทย (SRT) เพื่ อประกอบเป นโครงขายระบบขนสงมวลชนที่ส มบูรณในป พ.ศ. 2564 (3) โครงการคมนาคมและขนสงทางน้ํา : การคมนาคมขนสงทางน้ํา ไมมีโครงการพั ฒนาเพื่อ ชวยในดานการจราจร เนื่องจากขอจํากัด ดานกายภาพของแมน้ําลําคลอง จึงทําไดเพี ยงปรับปรุง มาตรฐาน การใหบริการและความปลอดภัยแกผูโดยสารเทานั้น การคมนาคมขนสงทางน้ําชวยแบงเบาการจราจรทางบก ไดบาง โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณริมแมน้ําลําคลอง การเชื่ อมต อกับระบบขนสงทางถนนไดมีการก อสรางสะพาน ขามแมน้ําเจาพระยาและระบบตอเชื่อม และถนนเชื่อมทาเรือ ในสวนของการเชื่อมตอกับระบบรางรถไฟฟา BTS รวมกับ กรุงเทพมหานคร จัดใหมีจุดเชื่อมตอระหวางรถไฟฟากับเรือที่สถานีตากสิน (4) โครงการคมนาคมและขนสงทางอากาศ : ประกอบดว ย 1) ทาอากาศยานกรุง เทพ หรือทาอากาศยานดอนเมื องซึ่งมีอัต ราการเพิ่ มขึ้นของผูโดยสารโดย เฉลี่ยประมาณ 2.0 ลานคนตอป จะมีผลตอความสามารถในการรองรับผูโดยสารซึ่งมีความจุสูงสุดประมาณ 37.5 ลานคน บทบาทของทาอากาศยานดอนเมื องหลังเป ดใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิ การทาอากาศยาน แหงประเทศไทยมีความเห็นเบื้องตนใหใชทาอากาศยานดอนเมืองในดานตางๆ ตอไป เชน การรองรับเที่ยวบิน เชาเหมาลํา (Charter Flight) การขนสงสินคาทางอากาศ (Pure Freighter) และศูนยซอมบํารุงอากาศยาน ระดับ C–Check

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


113 2) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีพื้นที่ประมาณ 32 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูทางทิศตะวั นออกของกรุงเทพมหานครหางออกไปประมาณ 20 กิโลเมตร ขณะนี้กําลังอยูในขั้นตอน ทดสอบความพรอมของระบบตางๆ ซึ่งคาดวาจะเปดใชบริการในป พ.ศ. 2549 เมื่อกอสรางถึงขั้นสมบูรณจะ สามารถรองรับผูโดยสารไดป ระมาณ 100 ลานคนตอป และรองรั บสินคาได 6.4 ลานตันตอป ในสวนของ การพัฒ นาโครงขายที่จะเชื่อมโยงทั้งระบบถนนและระบบราง เพื่อใหมีขีดความสามารถเพียงพอที่จะรองรับ ปริมาณการจราจรที่เกิดขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะการเชื่ อมโยงระหวางทาอากาศยานสุวรรณภูมิกับ ทาอากาศ ยานดอนเมื อง ขณะนี้มีโครงการศึ กษาความเหมาะสมในดานตางๆ ที่จะพัฒนาโครงขายเชื่อมตอทาอากาศยาน กรุงเทพ (ดอนเมือง)–ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อใหการเดินทางและการขนสงสินคามีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว โดยในปจจุบันมีโครงขายที่มีศักยภาพอยู 5 โครงขายซึ่งสวนใหญไดดําเนินการกอสรางเต็ม รูปแบบ ทําใหยากตอการปรับปรุงหรื อขยายจํานวนชองจราจร ทั้งยังประสบปญหาการจราจรค อนขางรุนแรง โดยเฉพาะชวงถนนวิภาวดีรังสิต และถนนรามอินทรา ดังนั้นในการเชื่อมโยงสองทาอากาศยานตองมีการศึกษา เพื่อปรับปรุงโครงขายในปจจุบันและการใชโ ครงขา ยในอนาคตตามแผนงานของหนว ยตา งๆ รวมถึง ชนิ ด การเดิ นทางอื่ นๆ ทั้ง ทางรถไฟและรถไฟฟาขนสงมวลชน อีกทั้งพิจารณาคัดเลือกโครงขายใหม เพื่อใหสามารถ รองรับปริมาณจราจรทั้งในปจจุบันและอนาคตโดยใชเวลาในการเดินทางที่เหมาะสม ประหยัดราคาคากอสราง และประหยัด คาใชจา ยในการเดิ นทาง พิจารณาแผนผังโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวงใหใ ช บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ไดในแผนผังที่ 8–3

8.4

รูปแบบของกฎกระทรวงใหใชบงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

เมื่อเปรียบเทียบกฎกระทรวงใหใชบังคั บ ผั ง เมื องรวมกรุ ง เทพมหานคร พ.ศ. 2549 กั บ ผั ง เมื องรวม กรุงเทพมหานคร ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) พบวามีรูปแบบและสาระต า งๆ เปลี่ ยนแปลงไป สามารถสรุปไดดังนี้

8.4.1 กรอบแนวความคิดในการวางผัง กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ได กําหนดกรอบแนวคิดในการวางผัง ดังนี้ (1) การสงเสริมการพัฒนาและฟนฟูเขตเมืองชั้นในภายในแนววงแหวนรั ชดาภิ เษก เพื่ อสนับสนุ นการใช ระบบขนสงมวลชน (2) จํากัดการขยายตัวของเมืองใหอยูภายในกรอบถนนวงแหวนรอบนอก ตามศักยภาพการใหบริการ ระบบโครงสรางพื้นฐาน (3) กําหนดให มีศูนยบริ การชุมชนระดับตางๆ กระจายไปในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ไดแก 1) ศูนยพาณิช ยกรรมกลางเมื อง

4) ศูนยพาณิช ยกรรมชุมชนยอย

2) ศูนยชุมชนชานเมืองและศูนย พาณิชยกรรมรอง

5) ศูนยพาณิช ยกรรมชุมชน

3) ศูนยพาณิช ยกรรมชุมชนรองและพาณิชยกรรมเมือง 6) ศูนยบริ การชุมชนชนบท สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


114 แผนผัง 8–3 แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวง

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


115 8.4.2 แผนผังการใชประโยชนที่ ดิน (1) บริเวณที่เปลี่ยนแปลงสําคัญ : เปลี่ยนแปลงไปจากผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ในบริเวณที่สําคัญคือ 1) การกํา หนดเขตอุตสาหกรรมในผังเมืองรวมใหม บริ เวณบางบอน บางขุนเทียน 2) เพิ่มบทบาทของศูนยพาณิชยกรรมรอง 3 บริ เวณ ซึ่งเปนศูนยคมนาคมขนสงที่สําคัญของ กรุงเทพมหานครในระยะตอไป คือ บริเวณพหลโยธิน มั กกะสั น และศูนยตากสิน 3) ใหความสําคัญกับระบบศูนยชุมชนชานเมืองมากยิ่งขึ้น และไดสง เสริมใหเกิดการพัฒนาเมือง อยางเป นระบบ เพื่อรองรั บสนามบินสุวรรณภู มิ โดยยกระดับการพัฒนาศูนยชุมชนชานเมืองบริเวณลาดกระบังใหม เพื่อรองรับการพัฒ นาดานตะวันออกของกรุงเทพมหานคร สวนอื่นๆ มีการไมเปลี่ ยนแปลงมากเพราะเปนการปรับปรุงผัง ไมใชการทําผังเมืองรวมขึ้นใหม (2) ประเภทการใชประโยชนที่ดินน อยลงจากผังเมื องรวมกรุ งเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) : เดิมในกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 จําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดิน เป น 13 ประเภทหลัก แตกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 มี 10 ประเภทหลัก ทั้งนี้ เนื่องจากใหมีการรวมที่ ดินประเภทสถาบั นราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูป การสถาบั นการศึ กษา ศาสนสถาน เปนที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการหรืออยูในการใชประโยชนที่ดิน ประเภทขางเคียง และตัดการใชที่ดิ นประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจออก (3) เปลี่ยนรูปแบบการแบ งประเภทการใชที่ ดินและการกําหนดบริเวณ : การเปลี่ยนจาก ระบบหมายเลขประเภท.หมายเลขลําดับบริเวณ เชน 1.1 (หมายถึง การใชที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย. บริเวณที่ 1) เปน ระบบอักษรยอ.หมายเลขประเภทยอย–หมายเลขลําดับบริเวณ เชน ย.1–1 (หมายถึง การใช ที่ดินประเภทที่ อยูอาศั ยหนาแนนน อย. ประเภทที่ 1 มีสภาพแวดลอมดีมาก–บริเวณที่ 1) การปรับปรุงโดยนํา ระบบอักษรยอมาใชมีขอดีคือจะทําใหเห็นลักษณะเฉพาะ (Character) ของแตละประเภทการใชที่ดิ นยอยได ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยอักษรย อที่นํา มาใชมีความหมายคื อ ย = ที่อยู อาศัย พ = พาณิชยกรรม อ = อุตสาหกรรม และคลังสินคา ก = อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม/ชนบทและเกษตรกรรม ศ = อนุรักษและสงเสริม ศิลปวัฒนธรรมไทย ส = สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ดังนี้ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ที่อยูอาศัย หนาแนนนอย จําแนกเปน 3 ระดับ (สีเหลือง) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 1.1 ถึง 1.86

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ที่อยูอาศัย หนาแนนนอย จําแนกเปน 4 ระดับ (สีเหลือง) ใชระบบอักษรยอ. (ย.1, ย.2, ย.3, ย.4) หมายเลขประเภท–ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน ย.1–1 ถึง ย.4–45

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


116 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ที่อยูอาศัย หนาแนนปานกลาง จําแนกเปน 2 ระดับ (สีสม) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 2.1 ถึง 2.69

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ที่อยูอาศัย หนาแนนนอย จําแนกเปน 3 ระดับ (สีสม) ใชระบบอักษรยอ. (ย.5, ย.6, ย.7) หมายเลขประเภท–ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน ย.5–1 ถึง ย.7–20

จําแนกเปน 2 ระดับ ที่อยูอาศัย หนาแนนมาก (สีน้ําตาล) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 3.1 ถึง 3.50

ที่อยูอาศัย หนาแนนมาก (สีน้ําตาล) ใชระบบอักษรยอ. หมายเลขประเภท–ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน ย.8–1 ถึง ย.10–18

จําแนกเปน 3 ระดับ (ย.8, ย.9, ย.10)

พาณิชยกรรม (สีแดง) ใชระบบ จําแนกเปน 2 ระดับ หมายเลขประเภท.ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน 4.1 ถึง 4.62

พาณิชยกรรม (สีแดง) ใชระบบ อักษรยอ.หมายเลขประเภท– ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน พ.1–1 ถึง พ.5–7

จําแนกเปน 5 ระดับ (พ.1, พ.2, พ.3, พ.4, พ.5)

อุตสาหกรรมและคลังสินคา จําแนกเปน 1 ระดับ (สีมวง) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 5.1 ถึง 5.8

อุตสาหกรรม จําแนกเปน 2 ระดับ (สีมวง) ใชระบบอักษรยอ. (อ.1, อ.2) หมายเลขประเภท–ลําดับหมายเลข บริเวณ เชน อ.1–1 ถึง อ.2–9

คลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) ใช จําแนกเปน 1 ระดับ ระบบหมายเลขประเภท.ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน 6.1 ถึง 6.3

คลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) ใชระบบอักษรยอ.หมายเลข ประเภท–ลําดับหมายเลข บริเวณ เชน อ.3–1 (1 บริเวณ)

อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ (สีมวง จําแนกเปน 1 ระดับ ออน) ใชร ะบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 7.1 ถึง 7.7

ยกเลิกอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ

อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม จําแนกเปน 2 ระดับ (สีขาวมีเสนและกรอบทแยงสี เขียว) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 10.1 ถึง 10.13

อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ใชระบบอักษรยอ. หมายเลขประเภท–ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน ก.1–1 ถึง ก.2–21

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

จําแนกเปน 1 ระดับ (อ.3)

จําแนกเปน 2 ระดับ (ก.1, ก.2)


117 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542)

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) จําแนกเปน 2 ระดับ ใชระบบหมายเลขประเภท. ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 8.1 ถึง 8.26

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) จําแนกเปน 2 ระดับ ใชระบบอักษรยอ.หมายเลข (ก.2, ก.3) ประเภท–ลําดับหมายเลข บริเวณ เชน ก.3–1 ถึง ก.4–15

สถาบันการศึกษา (สีเขียว จําแนกเปน 1 ระดับ มะกอก) ใชระบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 9.1 ถึง 9.34

ยกเลิกสถาบันการศึกษา โดยกําหนดไวในประเภทการใช ประโยชนที่ดิ นขางเคียง สว น สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ของรัฐจัดอยูใ นประเภทสถาบัน ราชการฯ

อนุรักษเพื่อสงเสริมเอกลักษณ จําแนกเปน 2 ระดับ ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้ําตาล ออน) ใชร ะบบหมายเลข ประเภท.ลําดับหมายเลขบริเวณ เชน 11.1 ถึง 11.10

อนุรักษเพื่อสงเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้ําตาล ออน) ใชร ะบบอักษรยอ. หมายเลขประเภท–ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน ศ.1–1 ถึง ศ.2-1

จําแนกเปน 2 ระดับ (ศ.1, ศ.2)

สถาบันศาสนา (สีเทาอ อน) ใช ระบบหมายเลขประเภท.ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน 12.1 ถึง 12.6

จําแนกเปน 1 ระดับ

ยกเลิกสถาบันศาสนา กําหนดไวในที่ดิ นประเภท ขางเคียง

สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภค และ สาธารณูปการ (สีน้ําเงิน) ใช ระบบหมายเลขประเภท.ลําดับ หมายเลขบริเวณ เชน 13.1 ถึง 11.46

จําแนกเปน 2 ระดับ

สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค จําแนกเปน 1 ระดับ (ส.) และสาธารณูปการ (สีน้ําเงิ น) ใชระบบอักษรยอ.หมายเลข ประเภท–ลําดับหมายเลข บริเวณ เชน ส.1–1 ถึง ส.1–53

(4) เพิ่มจํานวนบริเวณ (บล็อก) มากขึ้น : มี การจําแนกย านการใชประโยชน ที่ดิ น การแบ งบล็อกใหม และขอกําหนดในแตละยานที่เป นรายละเอียดมากขึ้น จากผังเมืองรวมฉบับเดิมมี 473 บริเวณ (รวมแผนผัง ที่โลง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เพิ่มเปน 606 บริ เวณ (แผนผังที่โลงอีก 57 บริเวณ) รวม 663 บริเวณ โดยแตละบริเวณจะมีขนาดพื้ นที่ ระหวาง 1–7 ตารางกิโลเมตร โดยในพื้นที่ชนบทและ เกษตรกรรมจะมีขนาดของแตละบริเวณใหญกวาในเขตเมืองชั้นใน ซึง่ มีความหนาแนนของอาคารสิง่ ปลูกสราง และประชากรสูงกวา สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


118 8.4.3 รูปแบบของขอกําหนดและมาตรการทางผังเมือง รูปแบบสาระสําคัญของขอกําหนดที่ เปลี่ยนแปลงไป สรุปไดดังนี้ (1) เพิ่มมาตรการทางดานผังเมืองในการควบคุมความหนาแนนการใช ประโยชนที่ ดิน : ในการกําหนดที่วางโดยรอบอาคารและความสูง เพื่อสรางความสมดุลระหวางการใชที่ดินและอาคาร ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ไดกําหนดอัตราสวนพื้ นที่อาคารรวมต อพื้ นที่ดิ น (FAR) อัตราสวนของ ที่วางตอพื้นที่อาคารรวม (OSR) และระยะรนโดยรอบอาคารใหมีความแตกตางกั น สําหรับการใชประโยชน ที่ดินแตละประเภท เช น ที่ อยู อาศั ยหนาแน นมาก ให มีคา FAR สูง ที่ อยู อาศั ยหนาแน นน อยให มีคา FAR ต่ํา เปนตน รวมทั้งไดกํา หนดจํานวนพื้ นที่ประกอบการ และแปลงที่ดินต่ําสุดในโครงการจัดสรร (2) ปรับปรุงบัญชีอุตสาหกรรมแนบทายกฎกระทรวง : เพื่อกําหนดประเภท ชนิดและจําพวกของ โรงงานที่อนุญาตใหตั้งไดในยานการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลที่ตองการ ผ อนปรนกฎเกณฑ เพื่ อสง เสริ มอุ ตสาหกรรม โดยเฉพาะอุต สาหกรรมขนาดกลางและขนาดย อม (SMEs) เนื่ องจากเป นแหลงงานที่สําคัญและสรางรายไดใหกับเศรษฐกิจชุ มชน อันเป นการกระตุ นเศรษฐกิจระดั บประชาชน โดยทั่ว ไปดว ย แตทั้งนี้จ ะต องไม เกิ ดผลเสียในแงผัง เมื องจนเกิ นไป จึง ไดป รับปรุงตารางบัญชี อุต สาหกรรม แนบทายกฎกระทรวงใหมใหสอดคลองกับนโยบายและภาวะเศรษฐกิจสังคม โดยไมไดละเลยเรื่ องปญหาดาน สิ่ งแวดล อม หรื อโรงงานวั ต ถุ อันตรายมี มลพิษ หรื อเสี่ ยงภั ย โดยหา มการตั้งโรงงานใหม หรื อขยายโรงงาน อุตสาหกรรมที่ใชสารเคมีอันตราย (3) กิจกรรมหลักและกิจกรรมรองมีมาตรการควบคุมความหนาแนนมากขึ้น : เนื่องจากมี มาตรการควบคุมเรื่องการใชความหนาแน น เชน อัตราสวนพื้ นที่ อาคารรวมตอพื้ นที่ดิ น (FAR) และอัตราสวน ของที่วางตอพื้นที่ อาคารรวม (OSR) นํามาใชในการควบคุมการใชที่ดิ นจึงทําใหกิจ กรรมหลั กและกิจกรรมรอง ของแตละบริเวณไมสามารถที่จะใชประโยชนที่ดิ นไดเทากับกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (4) เพิ่มมาตรการควบคุมในเรื่องปายโฆษณา : การควบคุมเรื่องการติด ตั้ง หรือการกอสราง ปายโฆษณาในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อลดปญหามลทัศน ที่รกรุงรังบดบังทัศ นียภาพ และลดอันตรายที่ เกิด จากปายโฆษณาขนาดใหญที่ขาดการดูแลรักษา เพื่อทําให กรุงเทพมหานครมีความนาอยู (5) ขอกําหนดมีรายละเอียดมากขึ้น : กําหนดกิจกรรมการใชประโยชนที่ดิ นโดยมี เงื่อนไขการใช ประโยชนที่ดิ นในแตละบริเวณ เชน เงื่อนไขเรื่ องเขตทาง (ไม นอยกวา 10 ม., 16 ม. หรือ 30 ม.) หรืออยูใน ระยะ 500 เมตร จากสถานี รถไฟฟาขนสงมวลชน เงื่ อนไขเรื่ องที่ตั้ง เงื่อนไขความเกี่ ยวเนื่ องของกิ จกรรม เงื่ อนไข ภายใต การควบคุ ม/อนุ ญาตจาก กทม. เงื่ อนไขทดแทนของเดิ ม เงื่อนไขเรื่องขนาด/ระดับ การบริ การ เงื่อนไข ตามบัญชีทายกฎกระทรวงฯ เงื่อนไขตั้งชั่วคราวในหนวยงานกอสรางหรือบริ เวณใกลเคียง เงื่อนไขเวนกิจ การ บางประเภทที่ระบุไวในกฎกระทรวง เปนตน (6) กําหนดสิทธิพิเศษเพิ่มเติมเฉพาะพื้นที่ : แบงเปน 2 ลักษณะ ไดแก 1) การใชที่ดินโดยรอบสถานีรถไฟฟาขนสงมวลชน โดยกําหนดให มีการใชที่ดินเพื่ อกิจการประเภท ตางๆ ไดมากขึ้นในระยะ 500 เมตร จากจุดศูนยกลางสถานีรถไฟฟาขนสงมวลชน สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


119 2) กําหนดให มรี ะบบรางวัล (Bonus System) : ในกรณี ที่ผูประกอบการใหจัด หาหรื อจัดใหมี พื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน เชน เพิ่มพื้นที่โลงเพื่อประโยชนสาธารณะสามารถพัฒนาพื้นที่อาคารไดเพิ่มไมเกิน 5 เทาของพื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน มี ที่จอดรถยนตสําหรับประชาชนทั่วไปเพิ่ มขึ้นจากจํานวนที่จอดรถยนต ของอาคารสาธารณะนั้นโดยไมคิดคาตอบแทน สามารถมีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นไมเกิน 30 ตารางเมตรตอทีจ่ อด รถยนตที่เพิ่ มขึ้น 1 คัน (7) เพิ่มคํานิยาม : ไดแก การใชประโยชน ที่ดิน พื้ นที่ป ระกอบการ อัต ราสวนพื้นที่อาคารรวมต อ พื้นที่ดิน อัตราสวนของที่วางต อพื้นที่อาคารรวม สถานี บริ การก าซ สถานที่ เก็ บสินคา ศู นยประชุ มหรื ออาคารแสดง สินคา ตลาด ปาย ตั้งอยูริมถนนสาธารณะ และโรงงานที่ประกอบกิจ การเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการเกษตร (8) กําหนดใหมีระบบการขออนุญาตการใชประโยชนที่ดิน (Use Permit) : เพื่อควบคุมการใช ประโยชนที่ดิ นให เป นไปตามผัง เมืองรวม เนื่ องจากมี หนว ยงานที่พิจ ารณาอนุ ญาตการใชป ระโยชน ที่ดิ น หลายหนวยงาน ทําใหเกิดปญหาการตรวจสอบการใชประโยชนที่ดินใหเปนไปตามแผนผัง ซึ่งตามกฎกระทรวง ใหใชบงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 กําหนดใหมีระบบการแจงการใชประโยชนที่ดินเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคของผังเมืองรวมนี้ ใหมีมาตรการดังตอไปนี้ (1) ใหเจาของหรือผูครอบครองที่ดิ นที่ประสงคจะใชที่ดินเพื่อก อสรางอาคารหรือประกอบกิจการ ที่ตองขออนุญาตหรือต องแจงตอเจาพนั กงานตามกฎหมาย แจงการใชประโยชน ที่ดิน หรือการเปลี่ยนแปลง การใชประโยชน ที่ดินต อเจาพนักงานทองถิ่ น (2) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของใชเปนแนวทางในการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนาเมืองโดยยึดแนวทาง ที่กําหนดไวในผังเมืองรวมเป นหลัก

8.5

การเปรียบเทียบสาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) กับกฎกระทรวงใหใชบังคั บผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) กฎกระทรวงใหใชบงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 มีสาระสําคัญหลายประการเปลี่ ยนแปลงไปจากผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) กฎกระทรวงฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ซึ่งไดเปรียบเที ยบสาระสําคัญบางประการระหวางกฎกระทรวงทั้งสองฉบับดังนี้ การเปรียบเทียบสาระสําคัญระหวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 กับกฎกระทรวงใหใชบังคั บผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 รายละเอียดของผัง สาระสําคัญในการวางและ จัดทําผังเมืองรวมตาม มาตรา 17 แหง พ.ร.บ. การผังเมือง

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวงใหใชบังคับ กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 1. วิสัยทัศน นโยบาย เปาหมาย และ มาตรการ 1. วิสัยทัศน นโยบาย เปา หมาย และมาตรการ ในการวางและจัด ทําผังเมืองรวม ในการวางและจัด ทําผังเมืองรวม 2. แผนที่แสดงขอบเขตของผังเมืองรวม 2. แผนที่แสดงขอบเขตของผังเมืองรวม 3. แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิ น 3. แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิ นตามที่ ตามที่ไดจําแนกประเภท ไดจําแนกประเภท

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


120 การเปรียบเทียบสาระสําคัญระหวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 กับกฎกระทรวงใหใชบังคั บผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 รายละเอียดของผัง

การดําเนินการ

พื้นที่วางผัง ครอบคลุมพื้นที่

ประชากรในขณะวางผัง

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) 4. แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง 5. รายการประกอบแผนผัง 6. ขอกําหนด 7. บัญชีอุตสาหกรรมแนบทายกฎกระทรวง การดําเนินการสอดคลองกับการพัฒ นาภาค มหานครและการพัฒ นากรุงเทพมหานคร และปริมณฑลตามแนวทางการพัฒนาใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 1,568.737 ตารางกิโลเมตร 50 เขต ไดแก เขตพระนคร ปอมปราบฯ สัมพั นธวงศ ปทุมวัน บางรัก สาทร บางคอแหลม ยานาวา ดุสิต บางซื่อ พญาไท ราชเทวี หวยขวาง ดิ นแดง พระโขนง บางนา คลองเตย วัฒนา ประเวศ สวนหลวง บางเขน สายไหม ดอนเมือง หลักสี่ จตุจักร บางกะป วัง ทองหลาง ลาดพราว บึงกุม คันนายาว สะพานสูง หนองจอก คลองสามวา ลาดกระบัง มีนบุรี ธนบุรี คลองสาน บางกอกนอย บางกอกใหญ บางพลัด ภาษีเจริญ บางแค บางขุนเทียน บางบอน จอมทอง ตลิ่งชัน ทวีวัฒ นา ราษฎรบูรณะ ทุงครุ และหนองแขม

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 4. แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง 5. รายการประกอบแผนผัง 6. ขอกําหนด 7. บัญชีอุตสาหกรรมแนบทายกฎกระทรวง การดําเนินการสอดคลองกับการพัฒ นาภาค มหานครและการพัฒ นากรุงเทพมหานคร และปริมณฑลตามแนวทางการพัฒนาใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ตอเนื่องกับแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 8 ขอบเขตพื้ นที่วางผังเทากับผังเมืองรวม กทม. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414

ป 2538 มีประชากรตามทะเบียนราษฎร กทม. = 5.57 ลานคน อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 0.39 ตอป ปริมณฑล = 3.27 ลานคน อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 3.43 ตอป

ป 2543 มีประชากรตามทะเบียนราษฎร กทม. = 5.68 ลานคน อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 0.24 ตอป ปริมณฑล = 3.72 ลานคน อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 2.44 ตอป

สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


121 การเปรียบเทียบสาระสําคัญระหวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 กับกฎกระทรวงใหใชบังคั บผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 รายละเอียดของผัง

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542)

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ประชากรสํามะโน ป 2543 กทม. = 6.355 ลานคน ปริมณฑล = 3.80 ลานคน

เปาหมายรองรับประชากร ในอนาคต

ป 2545 ประชากรทุกประเภท=9.30 ลานคน ป 2545 ประชากรกลางคืน 6.40 ลา นคน ประชากรกลางวัน 3.74 ลานคน ป 2550 ประชากรทุกประเภท=10.20 ลานคน ป 2550 ประชากรกลางคืน 6.60 ลา นคน ประชากรกลางวัน 4.13 ลานคน ป 2555 ประชากรทุกประเภท=11.20 ลานคน ป 2555 ประชากรกลางคืน 6.78 ลา นคน ประชากรกลางวัน 4.57 ลานคน ป 2560 ประชากรกลางคืน 6.93 ลา นคน ประชากรกลางวัน 5.05 ลานคน ป 2565 ประชากรกลางคืน 7.01 ลา นคน ประชากรกลางวัน 5.59 ลานคน

แนวคิดในการวางผัง

1. อนุรักษศิลปวัฒนธรรมในบริเวณ กรุงรัตนโกสินทรและพื้ นที่ต อเนื่ อง

1. กรอบแนวความคิดในการวางผังระยะยาว เปนการพัฒนาเมืองระบบหลายศูนยกลาง (Polycentric)

2. จัดรูปแบบการพัฒนากรุงเทพมหานคร ในอนาคตใหมีการเจริญเติบโตแบบเมือง 2. การพัฒนายานพาณิชยกรรมศูนยกลาง เมืองและยานพาณิชยกรรมศูนยกลางรอง หลายศูนยกลาง (Polycentric) โดยอาศัยศักยภาพของระบบขนสงมวลชน 3. วางและจัดทํ าผังระบบชุมชนกระจาย ขนาดใหญและศูนยคมนาคมเพื่ อ ความเจริญสูพื้นที่ชานเมือง สนับสนุนบทบาทการเปนศูนยกลาง 4. การพัฒนาสวนใหญจะอยูในกรอบถนน ทางเศรษฐกิจของประเทศและภูมิภาค วงแหวนรอบนอกและคันป องกันน้ําทวม เอเชียตะวันออกเฉียงใต 5. กําหนดพื้นที่เศรษฐกิจใหม รองรับ 3. การอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและสงเสริม การเปนศูนยกลางเศรษฐกิจวิทยาการใน การทองเที่ยวในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร พื้นที่ที่มีความคลองตัวสูงในการเดินทาง และพื้นที่ตอเนื่อง 6. จัดระบบการใชที่ดิ นใหร องรับโครงขาย 4. การพัฒนาและปรับปรุงฟ นฟูยาน ระบบขนสงมวลชนและระบบ พาณิชยกรรมเมืองและที่อยูอาศัย สาธารณูปโภคสาธารณูปการที่จะเกิดขึ้น หนาแนนมากในเขตการใหบริการของ ในอนาคต ในบริเวณสถานีขนสงมวลชน สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


122 การเปรียบเทียบสาระสําคัญระหวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 กับกฎกระทรวงใหใชบังคั บผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 รายละเอียดของผัง

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) รวมและพื้นที่โ ดยรอบ 7. กระจายกิจกรรมอุตสาหกรรมใหออกไป อยูในปริมณฑลและพื้นที่ช านเมืองของ กรุงเทพมหานคร และใหมีเฉพาะ อุตสาหกรรมบริการหรืออุตสาหกรรรม ในครอบครัว ที่ไมกอมลพิษอยูไดภายใน ชุมชนทั่วไป 8. ควบคุมการพัฒนาในพื้นที่ที่ปญ หาน้ํา ทวมและแผนดิ นทรุด 9. สงเสริมปรับปรุงฟนฟูสภาพแวดลอม ของเมือง 10. สงวนและรักษาพื้นที่เกษตรกรรมชาน เมืองไวโดยใหการพัฒนามีอยูเฉพาะใน บริเวณที่กําหนดใหเปนเมืองและเพียง พอที่จะรองรับการพัฒนาในอนาคต

กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ระบบขนสงมวลขนขนาดใหญและบริเวณ ที่มีอุปทานเกินทางดานอสังหาริมทรัพย บริเวณพื้นที่ภายในถนนวงแหวน รัชดาภิเษก 5. การพัฒนายานที่ อยูอาศัย หนาแนน ปานกลางและที่ อยูอาศัยหนาแน นน อย โดยมุงเนนการใชประโยชนจากอุปทาน เกินทางดา นที่ อยูอาศัยและพื้นที่วาง ที่ปราศจากการใชประโยชนใ นบริเวณ ระหวางถนนวงแหวนรัชดาภิเษกกับ ถนนวงแหวนรอบนอก 6. การพัฒนาศูนยชุมชนชานเมืองและ ศูนยพาณิชยกรรมชุมชน เพื่อสรางเสริม ความสมดุลระหวางที่ อยูอาศัยและ แหลงงาน และลดความจําเป นในการ เดินทางเขาสูเขตเมืองชั้นใน 7. การพัฒนาเขตอุตสาหกรรมเพื่อสรางเสริม ประสิทธิภาพในการจัดการดาน สิ่งแวดลอม และการปองกันปญหา ผลกระทบจากมลพิษและการเกิดอุบัติภัย 8. การพัฒนาและปรับปรุงฟ นฟูยานสถาบั น ราชการ สถาบันทางสังคมระดับประเทศ และองคกรระหว างประเทศ 9. การสงวนรักษาความอุดมสมบูรณและ ความสามารถในการระบายน้ําของพื้ นที่ ชนบทและเกษตรกรรมในเขตชานเมือง ของกรุงเทพมหานคร

สําหรับรายละเอียดของสาระสําคัญอื่นๆ ไดแก บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงจากผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542) ไปเป นกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 สามารถ พิจารณาไดจากแผนผังการใชประโยชนที่ดิน แผนผังแสดงที่โลง แผนผังแสดงโครงการคมนาคมขนสง และขอกําหนดตางๆ สวนที่ 8 สาระสําคัญของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2)


บรรณานุกรม ภาษาไทย กรุงเทพมหานคร, สํานักปลัด. โครงการจัดการคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร หลักสูตรการจัด การคุณภาพ อากาศ. กรุงเทพมหานคร, 2543. (อัดสําเนา). กรุงเทพมหานคร, สํานักปลัด. แผนปองกันและบรรเทาอุบัติภั ยจากสารเคมี. กรุงเทพมหานคร, 2544. การขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี, กรม. ปริมาณผูโดยสารทางเรือในแม น้ําเจาพระยา ป พ.ศ. 2540-2545. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงคมนาคม, 2546. การคาภายใน, กรม. โครงการศึกษาผลกระทบของการแขงขันและการรวมตัวของผูประกอบการคาปลีกขนาด ใหญในประเทศที่ มีตอผูบริโภคและรานคาปลีกขนาดเล็ก. (ภายใตการศึกษาของบริษัท ซี เอ อินเตอร เนชั่นแนล อินฟอรเมชั่ น จํากัด) กรุงเทพมหานคร:กระทรวงพาณิชย, 2542. การจราจรและขนสง, สํานัก.รายงานการศึกษาความเป นไปไดของโครงการรถไฟฟาวงแหวนในเขตชานเมือง ของกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร, 2545. การจราจรและขนสง, สํานัก.รายงานการศึกษาแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและ พื้นที่ต อเนื่ อง. (Urban Transportation Master Plan in Bangkok and Surrounding Areas, URMAP). กรุงเทพมหานคร, 2545. การปกครอง, กรม. จํานวนประชากรทะเบียนราษฎร ระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล พ.ศ. 2526 2536 และ 2544. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงมหาดไทย,สํานักบริ หารการทะเบียน, 2544. การผังเมือง, กรม. ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร กฎกระทรวงฉบับที่ 116 (พ.ศ. 2535). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2535. การผังเมือง, กรม. ผังเมืองรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา กฎกระทรวงฉบับที่ 335 (พ.ศ.2540). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2540. การผังเมือง, กรม. ผังเมืองรวมเมืองสมุทรปราการ พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2544. การผังเมือง, กรม. ผังเมืองรวมเมืองสมุทรสาคร. กฎกระทรวงฉบับที่ 420 (พ.ศ. 2542). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2540. การผังเมือง, กรม. ผังเมืองรวมชุมชนประชาธิปต ย -คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี กฎกระทรวงฉบับที่ 333. (พ.ศ. 2546). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2546. การผังเมือง, กรม. รางผังเมืองรวมจังหวัดนครปฐม. : กระทรวงมหาดไทย, 2546. (อัดสําเนา) การผังเมือง, กรม. รางผังเมืองรวมจังหวัดนนทบุร.ี : กระทรวงมหาดไทย, 2546. (อัดสําเนา) การระบายน้ํา, สํานัก. คุณภาพน้ําคลองในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543. กรุงเทพมหานคร,2543.


ข การระบายน้ํา, สํานัก. คุณภาพน้ําในแมน้ําเจา พระยา ในป 2543. กรุงเทพมหานคร,2543. การระบายน้ํา, สํานัก. โครงการปองกั นน้ําทว ม บึงรับน้ําที่ป รับปรุงเหลือในปจจุบั น: กรุงเทพมหานคร, 2544. เกียรติ จิวะกุล และคณะ. รายงานผลการศึกษาโครงการพั ฒนาและอนุ รักษ พื้นที่ เกษตรกรรมฝงตะวันออกของ กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร:ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2544. คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก, สํานักงาน. โครงการศึ กษาการจัดทําแผนหลั กการพัฒนาระบบ การจราจรและขนสงในระยะของแผนพัฒ นา เศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงคมนาคม, 2544. คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก, สํานักงาน. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาและวางแผนแมบท พัฒนาเมืองและพื้นที่โดยรอบ โครงการถนนวงแหวนอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : กระทรวง คมนาคม, 2543. คณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549). กรุงเทพมหานคร : สํานักนายกรัฐ มนตรี, 2546. คณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. รายงานขั้นกลาง โครงการแผนผังแมบท พัฒนาพื้ นที่ ถนนราชดําเนินและบริ เวณพื้นที่ตอเนื่อง. กรุงเทพมหานคร : สํานักนายกรัฐ มนตรี, 2546. คณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. สถิตผลิตภัณฑภาคและจังหวัด ป พ.ศ. 2541. กรุงเทพมหานคร : สํานักนายกรัฐมนตรี, 2541. คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ , สํานักงาน. Macroeconomic Indicators พ.ศ. 2504-2544. กรุงเทพมหานคร, 2544. ควบคุมมลพิษ, กรม. การจัดการมูลฝอยอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ สิ่งแวดลอม, 2545. ควบคุมมลพิษ, กรม. รายงานสถานการณและการจัดการปญ หามลพิษทางอากาศและเสียง ป พ.ศ.2543. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม,2543. (อัดสําเนา) ควบคุมมลพิษ, กรม. หลักเกณฑทางวิชาการและแนวทางปฏิบัติสําหรับเตาเผาศพ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, 2545. ควบคุมอาคาร, กอง. จํานวนและการกระจายตัวของหางคาปลีกขนาดใหญในเขตกรุงเทพมหานคร ในป พ.ศ. 2543. กรุงเทพมหานคร : สํานักการโยธา, 2543. เคหะแหงชาติ, การ. รายงานการสํารวจชุมชนแออัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2540. จุฬาลงกรณ, มหาวิทยาลัย. สถานการณโครงการอาคารขนาดใหญ ที่ยุติ การกอสรางในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : ศูนยบริการวิชาการ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2543.


ค เจาทา, กรม. โครงขายโดยสารสาธารณะทางน้ําในแมน้ําเจาพระยา. กรุงเทพมหานคร, 2545. เจาทา, กรม. สถิติปริ มาณผูโดยสารที่ใชบริการสาธารระทางน้ําในแมน้ําเจา พระยา ป พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงคมนาคม, 2545. ชลประทาน, กรม. โครงการระบายน้ําและแกไขปญหาน้ําทว ม พื้นที่ตะวันออกของกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ใกลเคี ยง. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2544. ทรัพยากรธรณี, กรม. สถิติน้ําบาดาลและปริมาณการใชน้ําบาดาลในเขตกรุงเทพมหานคร ในชวงป พ.ศ. 25382544. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2544. ทะเบียนการคา, กรม. ขอมูลสถานประกอบการทีจ่ ดทะเบียนเพิ่ มขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : สํานักบริการขอมูลธุรกิจ กระทรวงพาณิชย, 2545. ทางหลวง, กรม. โครงการทางหลวงที่อยูในพื้ นที่กรุงเทพมหานครและปริ มณฑล. กรุงเทพมหานคร : กระทรวง คมนาคม, 2545. ทาอากาศยานแหงประเทศไทย, การ. ขอมูลจํานวนบุคลากรและปริมาณผูโดยสารของทาอากาศยานกรุงเทพฯ ป พ.ศ. 2539-2544. กรุงเทพมหานคร, 2546. ธนารักษ, กรม. รายงานการศึ กษาโครงการก อสรางศูนย ราชการกรุงเทพมหานคร ถนนแจงวัฒนะ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการคลัง, 2545. นโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร, สํานัก. แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545 – 2549. กรุงเทพมหานคร, 2545. ผังเมือง, สํานัก. รายงานผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร, 2542. ผังเมือง, สํานัก. ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครกฎกระทรวงฉบับที่ 414 (พ.ศ. 2542).ออกตามความใน พระราชบัญญัติการผังเมื อง พ.ศ. 2518 กรุงเทพมหานคร : กระทรวงมหาดไทย, 2542. ผังเมือง, สํานัก. การสํารวจอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร, 2543. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานประชากร). กรุง เทพมหานคร, 2545. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานสังคมและคุณภาพชีวิต). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของบริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานเศรษฐกิจและการวิเคราะหแนวโน มการลงทุน). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม). กรุงเทพมหานคร, 2546.


ง ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานการใชที่ดิน การวางผังเมืองและการกําหนดมาตรฐานการพัฒนา เมือง). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานคมนาคมขนสง). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (ดานกฎหมายและการกําหนดมาตรการทางดานผังเมือง). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. โครงการวางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 2) การศึ กษาของ บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด (รายงานฉบับสมบูรณ). กรุงเทพมหานคร, 2546. ผังเมือง, สํานัก. รายงานฉบับสมบูรณ การศึ กษาและวางผังออกแบบชุมชนในรายละเอียดของพื้นที่ พัฒ นาพิเศษ เขตเศรษฐกิจใหมพระราม 3. กรุงเทพมหานคร, 2544. ผังเมือง, สํานัก. รายงานฉบับสมบูรณโครงการปรับปรุงพื้นที่และชุมชนริมแมน้ําเจาพระยา ในกรุงรัต นโกสินทร ชั้นใน. กรุงเทพมหานคร,2544. ผังเมือง, สํานัก. รายงานฉบับสมบูรณโครงการสะสมที่ดินเพื่อการพั ฒนาบริ เวณศูนยค มนาคมกรุงเทพฯ ดานใต. กรุงเทพมหานคร, 2544. ผังเมือง, สํานัก.และการเคหะแหงชาติ. รายงานฉบับสมบูรณ แผนแมบ ทการพัฒนาพื้นที่และฟน ฟูเมื อง กรณีศึกษา ชุมชนดินแดง. กรุงเทพมหานคร, 2543. มหาดไทย, กระทรวง. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่ อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร: 2544. มหาดไทย, กระทรวง. พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิ น พ.ศ. 2543. กรุงเทพมหานคร, 2543. มหาดไทย, กระทรวง. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และแกไขเพิ่มเติ ม (ฉบับที่ 2) (พ.ศ.2535) และ(ฉบับที่ 3) (พ.ศ.2543) และกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. กรุงเทพมหานคร, 2522. มหาดไทย, กระทรวง. พระราชบัญญัติจัดสรรที่ดิ น พ.ศ. 2543 และขอกําหนดเกี่ ยวกับการจัดสรรที่ดิน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร, 2544. มหาดไทย, กระทรวง. พระราชบัญญัติสถานบริ การ พ.ศ. 2509. กรุงเทพมหานคร, 2509. มหาดไทย, กระทรวง. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518. กรุงเทพมหานคร, 2518. รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย, การ. การศึ กษาและออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกในการเชื่อมตอ การเดิ นทางและการพั ฒนาพื้ นที่บ ริเวณสถานี รถไฟฟาสายเฉลิมรัชมงคลและสวนตอขยาย. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงคมนาคม, 2544.


จ รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย, การ. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการการวางผังปรับปรุงฟนฟูเมืองบริเวณ สถานีรถไฟฟาสายเฉลิมรัชมงคล. กรุงเทพมหานคร, 2544. รถไฟแหงประเทศไทย, การ. รายงานฉบับสมบูรณ ผังแมบทเพื่อพัฒนาพื้นที่ ยานพหลโยธิน และยา นโรงงาน มักกะสัน. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงคมนาคม, 2544. โรงงานอุตสาหกรรม, กรม. จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่ได รับอนุญาตประกอบการ พ.ศ. 2540 และพ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงอุตสาหกรรม, 2544. วิจัยเพื่อการพัฒนาแหงประเทศไทย, สถาบัน. แผนหลักการขนสง พ.ศ. 2540-2549. กรุงเทพมหานคร : กระทรวง คมนาคม, 2546. วิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, สถาบัน. รายงานการวิจัย การคาสงคาปลีกไทย รายงานทิศ ทางเศรษฐกิจและ การคาไทย : ภาคการคาภายในประเทศ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงพาณิชย, 2542. วิชาการและแผนงาน, กอง. เขตอุตสาหกรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : สํานักผังเมือง, 2543. วิชาการและแผนงาน, กอง. โครงการศึกษาวิจัยประชากรแฝงในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสถาบันบัณฑิตพัฒ น บริหารศาสตร (นิดา) เสนอตอกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543. กรุงเทพมหานคร : สํานักผังเมือง, 2543. วิชาการและแผนงาน, กอง. รายงานการศึกษาขยะมูลฝอย ปงบประมาณ 2529-2543. กรุงเทพมหานคร: สํานัก รักษาความสะอาด,2545. วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, กระทรวง.ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่องกํา หนดหลั กเกณฑ วิธีการ ระเบี ยบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทํารายงานการวิ เคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539). กรุงเทพมหานคร, 2539. สงเสริมอุตสาหกรรม, กรม. “SMEs กองทัพบกสรางชาติ.” อุตสาหกรรมสาร. ม.ป.ป. สถิติแหงชาติ, สํานักงาน. รายงานผลเบื้องตนสํามะโนประชากรและการเคหะ พ.ศ.2543. กรุงเทพมหานคร : สํานักนายกรัฐมนตรี, 2543. สวัสดิการสังคม, สํานัก. และสํานักงานเขต ขอมูลสวนสาธารณะที่อยูในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร และหนวยงานของรัฐ. กรุงเทพมหานคร, 2546. สาธารณสุข, กระทรวง. พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535. กรุงเทพมหานคร, 2535. อคิ น รพีพัฒน . ชุมชนแออัด : องคความรู กับความเปนจริง. กรุงเทพมหานคร : สํานั กงานกองทุ นสนับสนุ นการวิจัย, 2542. อุตสาหกรรม, กระทรวง. พระราชบัญญัติโรงงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : 2535 อุตสาหกรรม, กระทรวง. พระราชบัญญัติน้ําบาดาล พ.ศ. 2520 เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทาง วิชาการสําหรับการป องกันภั ยดานสาธารณสุข และปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ. กรุงเทพมหานคร, 2521.


ฉ ภาษาอังกฤษ Boustedt, Olaf. Grundriss der empirischen Regionalforschung Teil 3: Siedlungsstrukturen. Hannover 1975. Kittiprapas, Sauwalak.TDRI Quarterly Review. Vol.14 No.3 (September,13) pp. 18-24. Ministry of Construction. City planning Report. Japan, 1999. Ministry of Transportation. The Protective Systems for Spills of Hazardous Materials. Volume II: Guidelines (FHWA-RD-96-098). United Nations. November, 1996. Mueller, Heinz. Methoden zur regionalen Analyse unol Prognose. Hannover,1973. Schwarz, Karl. Demographische Grundlagen der Raumforschung and Landesplanung. Hannover,1972. Sternstein, Larry. Population Development in Bangkok Metropolitan Region between 1960-1990. Working paper, 1995. www.bbl.co.th www.bma.go.th www.boi.or.th. www.bot.go.th www.dola.go.th www.nesdb.go.th www.ocsc.go.th www.scb.co.th www.tat.go.th www.tfb.co.th www.tmb.co.th www: gov.stpetebeach.org/design/plan.asp.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.