sakarin

Page 1



สารบัญ เรื่ อง ผลงาน Romantic Conceptual ของสาคริ นทร์ เครื ออ่อน โดย ภีรวรรณ สุพรรณภพ

หน้ า 1

ประวัติศาสตร์ พื ้นที่กบั ศิลปะ โดย นิรมล เรื องสอาด

13

เรื่ องธรรมชาติ โดย สุริวสั สา หิรัญรัตนศักดิ์

20



ผลงานแบบ Romantic Conceptual ของสาครินทร์ เครืออ่ อน

โดย ภีรวรรณ สุพรรณภพ


ผลงานแบบ Romantic

Conceptual

ของสาครินทร์ เครืออ่ อน โดย ภีรวรรณ สุพรรณภพ

“คนเราเมื่อมีอะไรมากระทบกระเทือนจิตใจ ก็ทาํ ให้เกิดความรู ้สึกเป็ นสุขหรื อทุกข์ สิ่ งที่มากระทบใจ คือ รู ป รส กลิ่น เสี ยง และสัมผัส ซึ่งในพระพุทธศาสนาเรี ยกว่า “อารมณ์” แปลว่า เครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจ ส่วนความรู ้สึกซึ่งทํา ให้เกิดเป็ นอารมณ์สุขหรื อทุกข์ emotion แปลว่า อารมณ์สะเทือนใจหรื อความสะเทือนใจอันเกิดมีข้ ึนมาจากมีส่ิ งใดมา กระทบใจ กระทําให้อารมณ์ดี หรื ออารมณ์เสี ยไปชัว่ ขณะหนึ่ง” 1 คําอธิบายข้างต้นเป็ นการให้ความหมายของคําว่า อารมณ์สะเทือนใจ เรี ยกได้วา่ เป็ นสิ่ งที่เป็ นนามธรรม ไม่มีอะไรมาวัดได้ ยกเว้นความรู ้สึกของคนแต่ละคนเท่านั้น นอกจากกวี วรรณกรรม เพลง และละครแล้ว งานศิลปะถือว่าเป็ นเครื่ องมือหนึ่งที่สามารถสร้างอารมณ์สะเทือน ใจเมื่อได้สมั ผัสได้เช่นกัน อาทิ ศิลปะแบบโรแมนติก (Romanticism) คือ ลัทธิทางศิลปะที่แสดงถึงเรื่ องราวที่ตื่นเต้น เร้าใจ สะเทือนอารมณ์แก่ผพู ้ บเห็น ศิลปิ นโรแมนติกมีความเชื่อว่า ศิลปะจะสร้างสรรค์ตวั ของมันเองขึ้นได้ดว้ ยคุณค่าทาง อารมณ์ของผูด้ ูและผูส้ ร้างสรรค์ 2 และศิลปะแบบ Romantic Conceptual ก็เช่นกัน เป็ นหนึ่งในรู ปแบบที่ผลต่ออารมณ์ ความรู ้สึกเช่นกัน โดยจะนิยามถึงความหมายดังต่อไปนี้ คําว่า “Conceptual Art” เป็ นศิลปะที่เน้นการคิดมากกว่าตัววัตถุ ศิลปะประเภทนี้คือ ปฏิกิริยาโต้ตอบในเชิง ต่อต้านวงการศิลปะที่กลายเป็ นการค้าพาณิ ชย์มากขึ้นเรื่ อยๆ ในยุคคริ สต์ทศวรรษที่ 1960 ใน Conceptual Art มีการใช้ วิธีการแบบ “สัญวิทยา” (Semiotics), เฟมินิสม์ (ลัทธิสตรี นิยม), และวัฒนธรรมพ็อพ (วัฒนธรรมของคนหมู่มาก วัฒนธรรม แบบที่ “ฮิต” หรื อนิยมกันมากในภาษาอังกฤษคือ Popular culture) มาใช้ในการสร้างงาน ในแบบที่ปราศจากวิธีการตาม จารี ต แบบเดิมๆ อาทิ นิทรรศการบางงาน สิ่ งที่คนดูเห็นในแกลเลอรี่ คือ เอกสารข้อมูลหรื อบันทึกข้อมูลทางความคิดของ ศิลปิ น โดยเฉพาะในกรณี ที่มีการใช้คาํ ภาษา หรื อตัวหนังสื อต่างๆ ในงาน เช่น การสร้างคําหรื อข้อความบนแกลเลอรี่ 3 ส่วนRomantic ณ ที่น้ ี หมายถึง ความรู ้สึกสะเทือนใจที่มีต่อผลงานศิลปะของผูด้ ู ดังนั้นนิยามคําว่า Romantic Conceptual ก็คือผลงานรู ปแบบ Conceptual ซึ่งไม่เหมือนกับ Conceptual แบบ ทัว่ ไป เพราะเต็มไปด้วยอารมณ์ความรู ้สึกแทรกแทรงอยูใ่ นผลงาน หรื อมีความเป็ น Romantic (นิยามที่ได้อธิบายไปก่อน หน้านี้) โดดเด่นกว่าสิ่ งอื่นๆ ในผลงาน เช่น บางผลงานเมื่อดูแล้วเกิดความรู ้สึกเศร้าสลดไปกับผลงาน บ้างก็เกิด ความรู ้สึกศรัทธาเมื่อได้ชมผลงาน และหนึ่งในศิลปิ นที่มกั สร้างสรรค์ผลงานแบบนี้กค็ ือ สาคริ นทร์ เครื ออ่อน ศิลปิ น ไทยที่โด่งดังไปทัว่ โลก เป็ นทั้งเจ้าของรางวัลศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ประจําปี 2552 และที่สาํ คัญคือเป็ นศิลปิ นไทยคน แรกที่ได้เข้าร่ วมแสดงผลงานในนิทรรศการศิลปะ Documenta ประเทศเยอรมัน ถือเป็ นงานใหญ่ที่สุดงานหนึ่งของวงการ ศิลปะร่ วมสมัยระดับสากล นอกจากนี้ยงั มีผลงานในนิทรรศการระดับนานาชาติอีกมากมาย 1

2

มารศรี สอทิพย์, อารมณ์ สะเทือนใจในนวนิยายเรื่องสี่ แผ่ นดิน, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&frm=1&source=web&cd=2&ved=0CDQQFjAB&url=http%3A%2F%2Fwww.tcithaijo.org%2Findex.php%2FHUSO%2Farticle%2Fdownload%2F6157%2F5376&ei=L0NOU8KCsnc8AXwvID4Bw&usg=AFQjCNFu_vGmRe9xuWIxmjZG0V1zlnOxgQ&sig2=R6XtLyPhEOr1l4LUhUbX5g. 2 ______,ประวัติศาสตร์ และรู ปแบบศิลปะตะวันตก, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=188fa98b40dad46e. 3 สุธี คุณาวิชยานนท์, จากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย , (กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ บ้านหัวแหลม, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2546), หน้า 110. 1


ตัวอย่างผลงานของสาคริ นทร์ ที่ตอบโจทย์ในเรื่ อง Romantic Conceptual มีท้ งั Lotus Pod, Temple, Yellow Simple, since1958, Who has seen the wind ? และ Monument Of Awakening Era ซึ่งปั จจัยที่ทาํ ให้เกิดอารมณ์ต่างๆ ออกมามีความแตกต่างกันไปในแต่ละผลงานดังต่อไปนี้ ผลงานประติมากรรม site specific art ชื่อ Lotus Pod (ภาพที่ 1) จัดแสดงในปี ค.ศ. 1998 จากนิทรรศการ กรุ งเทพฯเมืองฟ้ าอมร ประติมากรรม 3 ชิ้นทําจากไฟเบอร์กลาสห่อหุม้ ด้วยตะกัว่ โดยเทคนิคบุ และกัดกรด ติดตั้ง ณ ถนนราชดําเนิน แม้วา่ ชื่อประติมากรรมจะสื่ อความหมายว่า ฝักบัว แต่มีนยั ยะที่ซ่อนอยู่ ด้วยลักษณะของประติมากรรมที่ สามารถมองได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ อย่างแรกคือ ฝักบัว (ตามชื่อของประติมากรรม) เป็ นสัญลักษณ์สื่อถึงแก่นแท้แห่งความดี งาม ณ ที่น้ ี อาจหมายถึงสังคมไทยที่เป็ นสังคมแห่งพุทธศาสนา เมืองแห่งความสงบสุข ฝักบัวสามฝักคือ พระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ ติดตั้งเพื่อเตือนใจให้ระลึกถึงความดี อย่างที่สองถือเป็ นนัยยะที่ซ่อนอยูค่ ือ ลูกกระสุน อันเป็ นความหมาย ที่สื่อถึงความรุ นแรง ซึ่งความหมายทั้งสองตรงข้ามกันอย่างสิ้นเชิง ขึ้นอยูท่ ี่ผตู ้ ีความว่ามีประสบการณ์ร่วมกับสิ่ งใดมากกว่า กัน แต่เชื่อว่าจะเอนเอียงไปทางความหมายของลูกกระสุนมากกว่า เพราะสถานที่ติดตั้งอย่างถนนราชดําเนินเป็ นถนน ประวัติศาสตร์ทางการเมือง ผูค้ นมีภาพจําเกี่ยวกับความเจ็บปวด ความตาย ที่เกิดจากการต่อสูท้ างการเมืองในอดีตมานับ ครั้งไม่ถว้ น นอกจากนี้ประติมากรรมยังเป็ นการหยอกล้อกับอนุสาวรี ยป์ ระชาธิปไตยที่ต้ งั อยูบ่ นถนนราชดําเนิน ซึ่งผูค้ น ไม่มีสิทธิ์ไปจับต้องหรื อเคลื่อนย้ายได้เลย แต่อนุสาวรี ยช์ ิ้นนี้ (ประติมากรรมทั้งสาม) ทําให้ผคู ้ นสามารถจับต้องและ เคลื่อนย้ายได้ตามใจชอบ ซึ่งการที่ทาํ ให้คนดูมีส่วนร่ วมดังกล่าว เปรี ยบได้กบั เหตุการณ์บา้ นเมืองที่ทุกคนมีสิทธิ์มีเสี ยงใน เรื่ องประชาธิปไตย การสร้างสรรค์ผลงานให้มีวสั ดุดูคล้ายลูกกระสุนสามลูกตั้งอยูบ่ นพื้น บวกกับรู ปทรงที่หนักแน่น สี พื้นผิว และขนาดที่ใหญ่กว่าปกติ มองแล้วรู ้สึกถึงความอันตรายของตัววัตถุ สิ่ งเหล่านี้เป็ นจุดสําคัญในการดึงเอาอารมณ์ ความรู ้สึกของผูด้ ูออกมา บางคนดูแล้วอาจเกลียดชังกับวัสดุน้ ี บางคนก็ผวาเมื่อได้พบ และบางคนถึงกับร้องไห้ไปกับตัว ประติมากรรมชิ้นนี้ เรี ยกได้วา่ หากมีประสบการณ์กบั เรื่ องนี้มากเท่าไร อาทิ อยูใ่ นเหตุการณ์ 14 ตุลา เหตุการณ์พฤษภา ทมิฬ หรื อการเห็นคนตายไปต่อหน้าต่อหน้าในการชุมนุมทางการเมือง ความรู ้สึกสะเทือนใจยิง่ ปะทุเป็ นทวีคูณ ผลงาน ชิ้นนี้เป็ นดัง่ ภาพสะท้อนความรุ นแรงของสังคมไทย ซึ่งผูเ้ ขียนขอตั้งชื่อว่า ดอกบัวหัวกระสุน เป็ นดัง่ ตัวแทนของสังคมไทย ที่ดูผิวเผินคือรักสงบ ไม่รบราฆ่าฟันกัน แต่ความจริ งเป็ นสังคมที่ปรากฏแต่ความรุ นแรงเสมอมา


ภาพที่ 1 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Lotus Pod, ค.ศ.1998, เทคนิค ประติมากรรมจัดวาง ผลงาน Temple (ภาพที่ 2 ) สร้างขึ้นในปี ค.ศ.2000 นิทรรศการจัดขึ้นที่ About studio / About café (ARRA) กรุ งเทพมหานคร เมื่อได้เข้าไปสัมผัสกับพื้นที่สีแดงขนาดใหญ่จะรู ้สึกถึงพลังแห่งความตื่นตัว เต็มไปด้วยความร้อนลุ่ม แต่ก็มีประกายสี ขาวเสมือนแสงที่ลอดผ่านจุดเล็กๆ อันเป็ นตัวแทนของความหวัง จุดทั้งหลายทั้งปวงมีรูปร่ างเป็ นทั้งนางฟ้ า วัด เจดีย ์ ดอกไม้ ซึ่งทําให้นึกถึงสวรรค์ และลักษณะของจิตรกรรมฝาผนังที่อยูต่ ามวัดของไทย วัสดุที่ศิลปิ นเลือกใช้เป็ น เทคนิคโบราณ คือ ใช้สีฝนสี ุ่ แดงบดผสมกับกาวกระถิน ระบายจนทัว่ ยกเว้นส่วนของพื้นที่ใช้สีน้ าํ มัน ในส่วนของจุด ต่างๆ จะใช้แม่พิมพ์จากการขยายสเกลจากลายรดนํ้า ซึ่งเป็ นต้นแบบจากจิตรกรรมประเพณี และนําแป้ งกับดินสอพอง โปรยไปยังแม่พิมพ์เหล่านี้ พื้นที่ในห้องนี้แสดงออกซึ่งความไม่คงทน เนื่องด้วยตัวเทคนิคและความเปราะบางของวัสดุที่ ใช้ อย่างไรก็ตามหากได้เข้าไปสัมผัส ทําให้รู้สึกว่าเป็ นดัง่ พื้นที่ที่สมมุติข้ ึน ราวกับสวรรค์จาํ ลอง เพราะรู ปร่ างและการ จัดวางองค์ประกอบทั้งปวงได้กระตุน้ อารมณ์แห่งจินตนาการ จุดเล็กๆ ของรู ปร่ างต่างๆ ที่รวมตัวกันบวกกับแสงที่สาดส่อง ในบางจังหวะ บ้างเลือนลาง บ้างลอยคละคลุง้ ภาพต่างๆ ที่ปรากฏดูแล้วรู ้สึกว่าล่องลอยได้ เรี ยกได้วา่ เปลี่ยนอารมณ์ ความรู ้สึกของผูด้ ู ณ ขณะหนึ่ง เมื่อไปอยูใ่ นสถานการณ์เช่นนี้ เพราะข้างในห้องกับข้างนอกห้องนี้ต่างกันอย่างสิ้นเชิง บางคนอาจรู ้สึกถึงพลังแห่งศรัทธา บางคนรู ้สึกถึงความศักดิ์สิทธิ์ภายในห้อง และยิง่ เป็ นคนในสังคมไทยเมื่อมีปัญหาร้อน ใจจะหวังพึ่งสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ที่แทบไม่มีตวั ตนอยูจ่ ริ ง เหมือนกับตัวผลงานที่ดูแล้วเป็ นสิ่ งสมมติ แต่ก็ช่วยให้ผอ่ นคลายจิตใจ ไป ณ ขณะหนึ่ง เรี ยกได้วา่ ศิลปิ นนําเรื่ องของสี ที่ส่งผลต่อจิตวิทยาของมนุษย์มาโอบล้อมห้องเพื่อปรับเปลี่ยนอารมณ์ ความรู ้สึก นอกจากนั้นตัววัสดุ แสงไฟ และเรื่ องราวต่างๆ ที่ปรากฏตามฝาผนังยังตอบโจทย์ในเรื่ องของ romantic conceptual ในแง่ของอารมณ์ความศรัทธา ได้เป็ นอย่างดี


�� � ��, Temple

� � .2543

ภาพที่ 2 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Temple, ค.ศ. 2000, เทคนิค สื่ อผสมจัดวางจุดเด่นอยูท่ ี่ประติมากรรมคล้ายเศียร พระพุทธรู ปขนาดใหญ่ ทําจากวัสดุที่ป้องกันเสี ยงสะท้อน บนใบหน้าปรากฏรอยต่อของแม่พิมพ์ที่เย็บติดกัน รอบๆ ห้อง เต็มไปด้วยใบหูที่วางเรี ยงรายไปตามเสาและฝาผนัง ความรู ้สึกที่เกิดขึ้นขณะเดินเข้ามาคือ ความเงียบสงัด ผ่อนคลายจิตใจ อีกทั้งเกิดความศรัทธาขึ้น

อันเนื่องมาจากลักษณะการจัดวางประติมากรรมเศียรพระพุทธรู ปขนาดมหึ มา

ที่จดั วางใน

แนวนอนลงกับพื้น แสงสว่างส่องมาที่พระพักตร์ ทั้งๆ ที่บริ เวณอื่นมืด กอปรกับพระพักตร์ของพระพุทธรู ปที่ดูราวกับมี ชีวติ จริ ง

ทําให้รู้สึกว่าพื้นที่แห่งนี้มีความศักดิ์สิทธิ์มากยิง่ ขึ้น

ความเงียบและความมืดช่วยให้เราได้ผอ่ นคลายอารมณ์

เปรี ยบพื้นที่น้ ีเป็ นวัด ซึ่งเป็ นที่พ่ งึ พิงของจิตใจ ให้ความรู ้สึกแตกต่างไปจากบริ เวณข้างนอกห้องแสดงงาน ที่มีเสี ยงดังและ สับสนวุน่ วายไปด้วยผูค้ น เพราะเป็ นแหล่งซื้อขายที่มีชื่อเสี ยงเกี่ยวกับโบราณวัตถุ รวมถึงเศียรพระที่มาจากทัว่ ทุกสารทิศ เมื่อก่อนเศียรพระพุทธรู ปเคยอยูใ่ นวัด มีสภาพที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และทําหน้าที่ให้ผคู ้ นกราบไหว้บูชา เป็ นที่พ่ งึ ทางใจ แต่ปัจจุบนั ไม่ได้ทาํ หน้าที่น้ ีอีกต่อไป เศียรพระเป็ นดัง่ ตัวแทนของระบบทุนนิยม ผูค้ นนํามาประดับตกแต่งบารมี เพื่อโอ้ อวดความมัง่ คัง่ กับสังคม

ผลงานชิ้นนี้ได้ยา้ ยพระพุทธศาสนาไปอยูใ่ นพื้นที่ใหม่

และทําหน้าที่เดิม

ซึ่งต่างไปจาก

สภาพแวดล้อมรอบข้าง ที่เต็มไปด้วยผูค้ นมากมาย แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศานายังคงเป็ นที่พ่ งึ สําหรับผูค้ น เพื่อหลีกหนี ความวุน่ วาย และความทุกข์ต่างๆ ในขณะเดียวกันหากมองในอีกมุมหนึ่ง เราสามารถรับรู ้ถึงความสะเทือนใจบางอย่าง ซึ่งความเศร้าจากสี หน้าพระพุทธรู ปบวกกับท่าทางการนอน และการจัดวางใบหู (หนึ่งในส่วนประกอบของผลงาน) ไปทัว่ ทั้งพื้นที่ขนาดใหญ่ซ่ ึงโอบล้อมตัวเรา ทําให้รู้สึกถึงความกดดัน สลดหดหู่ รับรู ้ถึงการสูญสลายหายไปของสิ่ งดีงามเหล่านี้ เป็ นเครื่ องเตือนสติวา่ ทําไมจึงต้องนําสิ่ งที่มีคุณค่าต่อส่วนรวมไปไว้ที่ตน เพราะพระพุทธรู ปบางเศียรมาจากแคว้นที่ไกล แสนไกล มีอดีตที่น่าจดจําสําหรับใครหลายคน เรี ยกได้วา่ ยิง่ รู ้ที่มาของวัตถุแล้ว จะรู ้สึกทั้งเศร้าและละอายใจกับระบบทุน


นิยม

อย่างไรก็ตามการได้เข้าไปสัมผัสผลงานชิ้นนี้ก็ข้ นึ อยูท่ ี่ประสบการณ์ของแต่ละคนว่าจะรู ้สึกอย่างไร บางคนรู ้สึก

สบายใจ แต่บางคนกลับรู ้สึกบัน่ ทอนจิตใจ

ภาพที่ 3 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Yellow Simple, ค.ศ. 2001, เทคนิค สื่ อผสมจัดวาง Since1958 (ภาพที่ 4) สร้างขึ้นในปี ค.ศ.2007 จัดแสดงที่ 798, Beijing, China ผลงานชิ้นนี้เรี ยกได้วา่ เป็ น ศิลปะจัดวางแบบเฉพาะพื้นที่ (Site-Specific) ในความหมายนี้คือ ผลงานถูกทําขึ้นสําหรับพื้นที่เฉพาะนั้นๆ เช่น ทําขึ้น เพื่อติดตั้งในแกลเลอรี่ , พื้นที่กลางแจ้ง และมันมันมิได้สร้างขึ้นโดยให้ความสําคัญเฉพาะแต่ศิลปวัตถุชิ้นนั้นๆ เท่านั้น แต่ความสําคัญจะอยูท่ ี่การประกอบส่วนต่างๆ หรื อการจัดสภาพแวดล้อมทั้งหมด 4 โดยสถานที่ 798 ที่ศิลปิ นเลือกจัด 3

คือ พื้นที่ของรัฐบาลจีนที่เต็มไปด้วยศิลปวัฒนธรรม มีท้ งั แกลเลอรี่ หอศิลป์ พิพิธภัณฑ์ โดยชื่อนี้เมื่อก่อนเป็ นรหัสลัพธ์ ทางทหารในสมัยคอมมิวนิสต์ที่ใช้เรี ยก โรงครัว โรงอาวุธยุทโธปกรณ์ บริ เวณพื้นที่จดั ผลงานเป็ นผนังสี ขาวขนาดกว้าง ซึ่งศิลปิ นได้นาํ เส้นผมจํานวนมากมามัดรวมกันเป็ นคําว่า since 1958 มีความยาวกว่า 10 เมตร ที่มาของ since 1958 คือ เมื่อ ค.ศ 1958 ณ เมือง เหอหนาน ประเทศจีน เป็ นยุคที่คอมมิวนิสต์เบ่งบาน เหมาเจ๋ อตุงมีนโยบายที่ค่อนข้างก้าวกระโดด โดยต้องการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศอย่างรวดเร็ ว เพื่อเพิม่ ผลผลิตทางอุตสาหกรรมให้ได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ เพิม่ ผลผลิตทางเกษตรกรรม โดยทํานาร่ วมกันในระบบคอมมูน แต่ก็เป็ นนโยบายที่ผิดพลาดและล้มเหลว เพราะทําให้ ประชาชนยากจน ขาดอาหาร ด้วยเหตุน้ ีจึงมีผคู ้ นบางกลุ่มออกมาโต้แย้งถึงความล้มเหลวที่เกิดขึ้น เหมาเจ๋ อตุงจึงคิดที่จะ กําจัดบุคคลเหล่านั้นที่ไม่เห็นด้วยกับตน ด้วยนโยบายการเชิญชวนผูท้ ี่มีความคิดดี หรื อผูท้ ี่มีความรู ้มาช่วยกันสร้างชาติ หากใครคิดไม่ตรงกับท่านผูน้ าํ จะถูกฆ่า เรี ยกได้วา่ เป็ นปรากฏการณ์ “ร้อยบุปผาสร้างชาติ” ปั ญญาชนหลายคนต้องตาย กับเหตุการณ์น้ ี เส้นผมจึงเป็ นสัญญะที่บ่งบอกความเป็ นตัวตน มีความหมายทางชาติพนั ธุ์ ณ ที่น้ ี แทนด้วยสังคมของคน สุธี คุณาวิชยานนท์, จากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย , (กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ บ้านหัวแหลม, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2546), หน้า 150.

4


จีน ที่วา่ ด้วยความเป็ นคอมมิวนิสต์ ศิลปิ นใช้เส้นผมของคนจีน แต่ซ้ือมาจากหัวลําโพงซึ่งรับมาจากแหล่งผลิตที่ใหญ่ที่สุด คือเมืองเหอหนาน ประเทศจีน เอาผมกลับไปสู่ที่แหล่งกําเนิด การปลูกผมเพื่อขายของชาวจีน เปรี ยบได้กบั การก้าว กระโดดทางวัฒนธรรมในยุคเหมาเจ๋ อตุง เรี ยกได้วา่ สิ่ งใดที่โลกไม่ทาํ แต่จีนทํา หากกล่าวถึงความรู ้สึกที่ผชู ้ มมีต่อตัว ผลงาน คนจีนที่ใช้ชีวติ ในสังคมคอมมิวนิสต์คงสะเทือนใจกับผลงานอยูไ่ ม่นอ้ ย เพราะการนําเส้นผมจํานวนมากมาเรี ยง ร้อยต่อกันเป็ นคําที่มีที่มาค่อนข้างขมขื่น อดีตในช่วงนั้นเป็ นบาดแผลของคนจีน ผมแต่ละเส้นบ่งบอกถึงความมีชีวติ ความ เป็ นคน ที่แลกด้วยเลือดเนื้อเพื่อชาติ ยิง่ ตั้งอยูใ่ นสถานที่ที่มีความหมายกับชาวจีนอย่าง 789 ความเจ็บปวดยิง่ ทวีความ รุ นแรง

ภาพที่ 4 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Since 1958, ค.ศ.2007, เทคนิค สื่ อผสมจัดวาง Who has seen the wind (ภาพที่ 5) ค.ศ.2011 เป็ นผลงานศิลปะจัดวางเฉพาะพื้นที่ จัดขึ้นที่หอ้ งใต้ดินประเทศ อิตาลี (Villa Bottini, Lucca, Tuscany) โดยศิลปิ นได้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานมาจากบทกวีโรแมนติคของ Christina Rossetti ใจความว่า “Who has seen the wind? But when the leaves hang trembling, Who has seen the wind? But when the trees bow down their heads,

Neither I nor you. The wind is passing through. Neither you nor I. The wind is passing by.”


“ใครบ้างที่เคยเห็นลม ไม่วา่ เธอหรื อฉันต่างก็ไม่เคยเห็นลม แต่วา่ เมื่อเห็นใบไม้ไหวเมื่อไร เมื่อนั้นเราจึงรู ้วา่ ลมอยูท่ ี่นนั่ และไม่วา่ เธอหรื อฉัน ต่างก็ไม่รู้วา่ ลมคืออะไร แต่เมื่อไรก็ตามที่เห็นต้นไม้เอนเอียงกิ่งลงมา แสดงว่าที่นนั่ มีลมอยู”่ 5 4

ลักษณะของผลงานคือ จัดวางในห้องใต้ดิน โดยรอบห้องโล่งกว้าง มีช่องหน้าต่างสองช่อง และติดผ้าม่านไว้ ใจกลางห้องมีตวั หนังสื อภาษาอังกฤษ ที่ทาํ จากแป้ งสําหรับทําขนมปั ง โดยโปรยคําว่า “Who has seen the wind?” ซึ่ง แปลว่า “คุณเคยเห็นลมไหม” ไว้บนพื้น ซึ่งเมื่ออ่านข้อความแล้วทําให้สงั เกตไปยังช่องหน้าต่าง และผ้าม่านอันเป็ นต้น ที่มาของลม เมื่อใดที่ผา้ ม่านขยับเมื่อนั้นเราจะรู ้วา่ มีลมมา และเมื่อใดที่ขอ้ ความที่อยูบ่ นพื้นเคลื่อนย้าย หรื อแปรเปลี่ยนไป เมื่อนั้นเราจะรู ้วา่ ลมอยูท่ ี่นี่ วัตถุท้ งั สองนี้เป็ นตัวกลางที่ทาํ ให้เรารู ้วา่ สายลมอยูท่ ี่ใดเหมือนกับกวีขา้ งต้นที่ได้กล่าวไว้ สาย ลม ณ ที่น้ ี หมายถึง บางสิ่ งบางอย่างที่อยูร่ อบตัวเรา ไม่สามารถมองเห็นมันได้ แต่ก็มีคุณค่ากับเรามาก เมื่อก่อนห้องใต้ดิน แห่งนี้เคยเป็ นที่อยูข่ องคนรับใช้ที่ทาํ ทุกอย่างให้เจ้านาย ทั้งๆ ที่เจ้านายไม่เคยเห็นหน้าพวกเขาเลย ก็เหมือนกับลมที่มองไม่ เห็น แต่ก็เต็มไปด้วยคุณค่า บรรยากาศ และการจัดสภาพห้อง ทําให้รู้สึกถึงความเยือกเย็น และความเงียบสงบ ซึ่งแต่ ก่อนไม่ได้มีการเปิ ดประตู และเจาะช่องหน้าต่างเข้าไป บรรยากาศที่เกิดขึ้นจึงแปลกใหม่ไปจากความรู ้สึกเดิมๆ และที่ สําคัญมีลม และแสงลอดผ่านหน้าต่างเข้ามาเต็มไปด้วยความอบอุน่ มีความค่อยเป็ นค่อยไปในการเคลื่อนไหวของวัตถุ ไม่ได้ปะทะอารมณ์อย่างรุ นแรง ถือเป็ นเสน่ห์ของการใช้ช่วงเวลา เพื่อสังเกตการณ์แปรผันโดยธรรมชาติเป็ นผูก้ าํ หนด อีก ทั้งแฝงไว้ซ่ ึงข้อคิดที่มาจากตัวหนังสื ออันเป็ นปฏิกิริยาเร่ งเร้าที่ทาํ ให้ผชู ้ มเกิดความรู ้สึกต่างๆ ตามมา

ภาพที่ 5 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Who has seen the wind ?, ค.ศ.2011, เทคนิค สื่ อผสมจัดวาง 55

ฟังบรรยายสาคริ นทร์ เครื ออ่อน, ศิลปิ นและอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11

กุมภาพันธ์ 2557.


Momemt of Awakening Era (ภาพที่ 6-7 ) ปี ค.ศ.2012 จัดขึ้นที่ Busan Biennale 2012, Busan, South Korea และที่ Art Sanya, Hainan, China, 2013 ชื่อภาษาไทยคือ อนุสรณ์แห่งการตื่นรู ้ เป็ นผลงานจัดวางที่แสดงให้เห็นถึงความ สะเทือนใจไปกับเรื่ องราวที่เกิดขึ้น คือ “ การสูญพันธุ์ของสมัน” ซึ่งสมันเป็ นกวางขนาดกลาง เป็ นสัตว์สญ ั ชาติไทยโดย แท้จริ ง เพราะพบได้ในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวเท่านั้น กระจายพันธุ์อยูต่ ามที่ราบลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยา ด้วยเขาที่ สวยงามมาก จนได้ชื่อว่าเป็ นกวางที่สวยงามที่สุดชนิดหนึ่งของโลก 6 คนจึงนิยมล่าสมัน เพื่อนําเขามาประดับตกแต่งบ้าน 5

เสริ มสร้างบารมี และโอ้อวดความมัง่ มี โดยไม่คาํ นึงว่าสัตว์ชนิดนี้จะสูญพันธุ์ไปหรื อไม่ บนพื้นที่กว่า 300 ตารางเมตร ศิลปิ นจัดวางเขาสมันนับร้อยวางอยูบ่ นพื้นที่ลกั ษณะคล้ายแอ่งนํ้า และตรงกลางมีสะพานทอดยาวให้เดินขึ้นไปมอง อาณาจักรของสมัน เขาสมันดังกล่าวถอดแบบมาจากเขาสมันตัวสุดท้าย ทําด้วยวัสดุเซรามิคสี ขาวโพลน การจัดวางให้อยู่ บนพื้นของเหลวที่มีเงาสะท้อน ทําให้รู้สึกถึงความสลดหดหู่ มีเพียงวิญญาณ และเงาอันเลือนลางที่ยงั คงเหลืออยู่ ส่วน บริ เวณรอบห้องที่มืดสนิทประกอบกับเสี ยงพากย์อนั สัน่ เครื อ ซึ่งกล่าวถึงถึงสาเหตุการตายของสมัน ก็ยง่ิ รู ้สึกเศร้าหมอง กับเหตุการณ์การสูญพันธุ์ของสมัน ใจความว่า “ เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยสิ้นอายุขยั ในสวนสัตว์ เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยชาวบ้านหนึ่งคน เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยผูอ้ า้ งสิ ทธิ์แห่งความเสมอภาค เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยนํ้ามือของผูไ้ ม่ได้อยูใ่ นศีลธรรม เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยนํ้ามือของชายผูม้ ง่ั คัง่ รํ่ารวย เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยสดับกรรมโง่เขลาที่ถือตําราเล่มใหญ่ไว้ในมือ เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยลูกสมุนของพรานป่ าผูห้ วังฆ่า เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยเสนาบดีตอ้ งการเอาใจเจ้านาย เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยการมาถึงของพ่อค้า เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยนํ้าท่วม

6

วิมุติ วสะหลาย, สมัน, เนือ้ สมัน, กวางเขาสุ่ ม, เข้าถึงเมื่อ 18 มีนาคม 2557,

เข้าถึงได้จาก http://www.verdantplanet.org/animalfiles/viewanimalfile.php?species=สมัน.


เนื้อสมันตัวสุดท้ายตายด้วยนํ้ามือมนุษย์” 7 6

การจะถกเถียงว่าสมันตัวสุด ท้ายตายเพราะอะไร คงไม่สาํ คัญไปกว่า คําถามว่าเราปล่อยให้มนั ตายไปได้อย่างไร ทําไมก่อนหน้านั้นจึงไม่พยายามสงวนพันธุ์สตั ว์ชนิดนี้เอาไว้ อย่างไรก็ตามสาเหตุการตายก็ลว้ นมาจากนํ้ามือของมนุษย์ ทั้งสิ้น เรี ยกได้วา่ ผลงานชิ้นนี้ผชู ้ มจะได้ใช้ท้ งั โสตประสาท ตา และหู ในการเข้าถึงความรู ้สึกสะเทือนใจ เศร้าหมองไปกับ ความสูญเสี ยที่เกิดขึ้นและไม่มีวนั เรี ยกกลับมา

ภาพที่ 6-7 สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, Momemt of Awakening Era, ค.ศ.2012, เทคนิค สื่ อผสมจัดวาง 7

ฟังบรรยายสาคริ นทร์ เครื ออ่อน, ศิลปิ นและอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร,

11 กุมภาพันธ์ 2557.


สิ่ งสําคัญที่ทาํ ให้ผลงานแต่ละชิ้นสะเทือนอารมณ์ความรู ้สึกของผูด้ ู คือ การติดตั้งในสถานที่เฉพาะ โดย ความหมายของพื้นที่จะเป็ นตัวกระตุน้ ความรู ้สึกออกมา ซึ่งค่อนข้างมีความละเอียดอ่อนอยูม่ าก รวมไปถึงลักษณะการ จัดการกับสภาพแวดล้อม องค์ประกอบโดยรอบ และการเลือกสรรวัสดุมาใช้ให้สอดคล้องกับความหมายที่เกี่ยวข้อง สิ่ ง ต่างๆ เหล่านี้มีผลต่อความรู ้สึก ตามจิตวิทยาในการรับรู ้ของมนุษย์ ซึ่งถ้าหากมีประสบการณ์ที่เป็ นภูมิหลังกับเหตุการณ์ นั้นๆ เมื่อได้ชมผลงานก็จะยิง่ ปะทุความรู ้สึกออกมา แต่ใช่วา่ การดูผลงานแต่ละชิ้นจะเกิดอารมณ์ความรู ้สึกได้เหมือนกัน หมด เพราะหนึ่งคน หนึ่งความคิด หนึ่งชีวติ หนึ่งความรู ้สึก นอกจากนี้อารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นสามารถสร้างปั ญญาตามมา ข้อคิดต่างๆ ที่ได้จากอารมณ์น้ นั ๆ ทําให้ยอ้ นกลับ มามองตัวเรา และสังคมว่า ที่เป็ นอยูใ่ นปัจจุบนั นี้ดีแล้วหรื อไม่ ผลงานศิลปะจึงเป็ นดัง่ คําสอน คําตักเตือนให้คิด และทํา ในสิ่ งที่ถูกที่ควร


เอกสารอ้ างอิง หนังสือ สุธี คุณาวิชยานนท์, จากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย , กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์บา้ นหัวแหลม, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2546. เว็บไซต์ มารศรี สอทิพย์, อารมณ์ สะเทือนใจในนวนิยายเรื่องสี่แผ่นดิน, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&frm=1&source=web&cd=2&ved=0CDQQFjAB&url=htt p%3A%2F%2Fwww.tci-thaijo.org%2Findex.php%2FHUSO%2Farticle%2Fdownload%2F6157%2F5376&ei =L0NOU8K- Csnc8AXwvID4Bw&usg=AFQjCNFu_vGmRe9xuWIxmjZG0V1zlnOxgQ&sig2=R6XtLyPhEO r1l4LUhUbX5g. วิมุติ วสะหลาย, สมัน, เนือ้ สมัน, กวางเขาสุ่ ม, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.verdantplanet.org/animalfiles/viewanimalfile.php?species=สมัน. ______,ประวัตศิ าสตร์ และรูปแบบศิลปะตะวันตก, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=188fa98b40dad46e. สัมภาษณ์ ฟังบรรยาย สาคริ นทร์ เครื ออ่อน, ศิลปิ นและอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11 กุมภาพันธ์ 2557


1

ประวัตศิ าสตร์ พนื ้ ที่กับศิลปะ โดย นิรมล เรื องสอาด


2

ประวัตศิ าสตร์ พืน้ ที่กับศิลปะ โดย นิรมล เรื องสอาด ในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ศิลปิ นต้ องการท้ าทายต่อการแสดงออกทางศิลปะมากขึ ้น ด้ วยการพยายาม นําศิลปะออกจากการเป็ นศาสตร์ เดี่ยว เข้ าถึงได้ เฉพาะกลุ่ม เปลี่ยนเป็ นการแสดงออกในพื ้นที่สาธารณะ โดยเริ่ มจากการสร้ างสรรค์ผลงานภายนอกหอศิลป์ และดึงบริ บท ความสําคัญ และวัฒนธรรมของพื ้นที่ นันๆออกมาใช้ ้ เพื่อกระตุ้นแนวคิดบางอย่างที่ศิลปิ นมีตอ่ พื ้นที่นนๆไม่ ั ้ ว่าจะในแง่บวกหรื อลบก็ตาม ผลงาน ในรูปแบบดังกล่าวเรี ยกว่า “ผลงานศิลปะอินสตอลเลชัน่ ในรู ปแบบไซต์ สเปซิฟิค(site specific) หรื อศิลปะ จัดวางบนพื ้นที่เฉพาะ” ไซต์ สเปซิฟิค (site specific) เป็ นผลงานอินสตอลเลชัน่ ที่ทําขึ ้นในพื ้นที่เฉพาะ เช่น การติดตังใน ้ พื ้นที่กลางแจ้ งที่ถกู เลือกมาอย่างเฉพาะเจาะจง ความสําคัญของผลงานไม่ได้ อยู่ที่ศิลปวัตถุชิ ้นใดชิ ้นหนึ่ง เท่านัน้ แต่ความสําคัญจะอยูท่ ี่องค์ประกอบส่วนต่างๆ หรื อการจัดสภาพแวดล้ อมทังหมด ้ เพื่อให้ ผ้ ชู มมีส่วน ร่วม หรื อมีอรรถรสในการเสพมากขึ ้น และยังเปิ ดโอกาสให้ กบั การตีความจากผู้ชมที่หลากหลาย ศิลปิ นไทยหัวก้ าวหน้ าคนหนึ่งซึ่งเป็ นคนไทยคนแรกๆ ที่ได้ เข้ าร่วมแสดงในเทศกาลระดับโลกอย่าง Documenta และมีความโดดเด่นในการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะจัดวางในพื ้นที่เฉพาะ“สาคริ นทร์ เครื ออ่อน” ศิลปิ นซึง่ เดินทางไปสร้ างสรรค์ผลงานแนวไซต์ สเปซิฟิค (site specific)ในหลากหลายพื ้นที่ ไม่ว่าจะ เป็ นยุโรป หรื อเอเชีย โดยที่ให้ ความสําคัญกับเอกลักษณ์ ของพื ้นที่นนั ้ ๆ แล้ วจึงสร้ างผลงานศิลปะเฉพาะ พื ้นที่ในพื ้นที่นนขึ ั ้ ้น เพื่อกระตุ้นให้ ผ้ คู นที่เป็ นเจ้ าของพื ้นที่หรื อผู้ที่ผ่านมาใช้ พื ้นที่แบบชัว่ คราวได้ ครุ่ นคิดถึง สารที่ศลิ ปิ นต้ องการจะสื่อ ผลงานชิ น้ แรกที่ ศิล ปิ นเริ่ ม นํ า บริ บทของพื น้ ที่ เ ข้ า มาเกี่ ยวข้ องอย่างเต็ม รู ปแบบ คือผลงานชื่ อ “Lotus Pod on Ratchadamnern Avenue”(1998) ที่นําเสนอแนวความคิดเกี่ ยวกับเรื่ องประวัติศาสตร์ ของพื ้นที่ผสมผสานกับประวัตศิ าสตร์ ของชาติ ด้ วยผลงานประติมากรรมจากไฟเบอร์ กลาส ในรู ปทรงฝั กบัว จํานวน 3 ชิ ้น จัดวางไว้ บริ เวณด้ านหน้ าอนุสาวรี ย์ประชาธิ ปไตย ถนนราชดําเนิน ในนิทรรศการกรุ งเทพฯ เมืองฟ้าอมร


3

จากบริ บทของพื ้นที่บริ เวณถนนราชดําเนินเป็ นที่ ร้ ู โดยทัว่ กันว่า เป็ นพื ้นที่ ที่เกี่ ยวข้ องกับเรื่ องของ การเรี ยกร้ องสิทธิ์ทางการเมืองของประชาชน ไม่ว่าจะอยู่ในแนวคิดแบบใดก็ตาม จนได้ ชื่อว่าเป็ นถนนสาย การเมืองของประเทศไทย แต่เมื่อมองย้ อนไปในช่วงก่อนหน้ าที่จะเกิดการปฏิวตั ิทางการเมือง ถนนเส้ นนี ้ถูก สร้ างมาเป็ นถนนสํ า หรั บ พระมหากษั ตริ ย์ ใ นการเสด็จ พระราชดํา เนิ น ระหว่า งพระบรมมหาราชวัง กับ พระราชวังดุสิต อีกทังยั ้ งเป็ นถนนที่มีสถาปั ตยกรรมที่สวยงามล้ อมรอบ ศิลปิ นต้ องการจะแสดงความย้ อน แย้ งกับการตีความรูปทรงของผู้ชมที่อยู่ในบริ เวณดังกล่าว เพราะรู ปทรงที่ศิลปิ นสร้ างมานันสามารถมองได้ ้ 2 ลักษณะ คือ รูปทรงฝั กบัว หรื อรูปทรงกระสุนปื น

ภาพผลงาน “Lotus Pod on Ratchadamnern Avenue”(1998) โดย ศิลปิ น สาคริ นทร์ เครื ออ่อน รู ปทรงฝั กบัวนันได้ ้ มาจากบริ บทของถนนเส้ นนี ้ที่บง่ บอกถึงความเป็ นไทย จากสถาปั ตยกรรมรอบ ข้ าง ดังเช่น วัด วัง และสถานที่ราชการที่สําคัญซึ่งอยู่ล้อมรอบถนนเส้ นนี ้ ด้ านนัยยะได้ บ่งบอกความเป็ น เมืองพุทธที่ใช้ ดอกบัวสําหรับการแสดงความเคารพสักการะ จํานวน 3 ชิ ้น อันหมายความถึง พระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ หรื ออาจเป็ นชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์ น้ อยคนนักที่มองประติมากรรมชิ ้นนี ้เป็ นดอกบัว เพราะเหตุการณ์ ที่เกิดในประวัติศาสตร์ ของถนน เส้ นนี ้ คือกิจกรรมทางการเมือง และมักเกิดเหตุการณ์ รุนแรงที่มีความสูญเสียเกิดขึ ้นเสมอ ร่ องรอยต่างๆ เหล่านี เ้ ป็ นสิ่ ง ที่ ส ะเทื อนใจสํ าหรั บคนในชาติจ นมิ อาจลื ม ได้ ทํ าให้ การมองภาพลักษณ์ ของถนนเส้ น นี ้ เปลี่ยนไปจากถนนที่มีความสวยงาม เป็ นถนนแห่งการสูญเสีย จึงไม่เป็ นที่น่าแปลกใจเท่าใดนัก ถ้ าหากว่า ผู้ชมจะตีความรูปทรงขนาดใหญ่ ที่ถกู วางไว้ บนพื ้นนี ้เป็ นรูปทรงกระสุนปื น


4

ผลงานชิ ้นต่อมาคือ ผลงาน“Blooming”(2003) ในโครงการ Khōj international artists workshop เมือง Bangalore ประเทศอินเดีย ที่ศิลปิ นได้ ใช้ พื ้นที่ บริ เวณพิพิธภัณฑ์ Venkatappa ซึ่งเป็ นที่เก็บรักษา วัฒ นธรรมเก่ าแก่ ข องเมื องไว้ โดยพิพิ ธ ภัณ ฑ์ Venkatappa ตัง้ อยู่บนเมื อง Bangalore ที่ เ ป็ นเมื องแห่ง การศึก ษาและความรู้ โดยเมื องนี ไ้ ด้ ผ ลิ ต นัก ปราชญ์ ม ากมาย ทัง้ นี ้ เพราะบริ เ วณรอบเมื อ งมี ส ถานที่ สาธารณะที่สร้ างเพื่อเผยแพร่ความรู้ตงอยู ั ้ ม่ ากมาย ไม่วา่ จะเป็ นความรู้จากอดีต หรื อความรู้ในปั จจุบนั เช่น พิพิธภัณฑ์นี ้มีชื่อว่า Visvesvaraya Industrial Technologica Museum(VITM),Government Museum เป็ นต้ น ทํ าให้ เห็นว่าเมื องนี เ้ ป็ นเมื องที่ มีความหลากหลายในด้ านวัฒ นธรรม และความรู้ จากอดีต และ ปั จจุบนั อีกทังยั ้ งมีชนชันที ้ ่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ ชดั ภายในเมืองอีกด้ วย จากเรื่ องราวทั ง้ หมดนี ท้ ํ า ให้ ศิ ล ปิ นรู้ สึ ก สะเทื อ นใจ ซึ่ ง ถ่ า ยทอดออกมาในผลงาน “Blooming”(2003) ที่ได้ แรงบันดาลใจจากวัตถุในท้ องถิ่นนันคื ้ อ ไหตักนํ ้า ซึ่งนํารูปทรงโบราณมาผลิตด้ วย วัสดุสมัยใหม่คือ พลาสติกที่มีสีสนั สดใส แตกต่างจากเดิมที่เป็ นเครื่ องปั น้ ดินเผา นํามาผ่าเป็ นหลายแฉก และกางออก ทําให้ เกิดรูปทรงคล้ ายดอกบัวที่บานออก หลังจากนันศิ ้ ลปิ นจึงนําไปจัดวางในสระบัวรู ปเกือก ม้ าที่ล้อมรอบพิพิธภัณฑ์ Venkatappa Art Gallery

ภาพผลงาน “Blooming”(2003) โดย ศิลปิ น สาคริ นทร์ เครื ออ่อน นัยยะที่แอบแฝงในผลงานชิ ้นนี ้คือ รู ปทรงดอกบัวที่มีสีสนั สดใส ซึ่งแตกต่างไปจากดอกบัวสีขาวที่ บริ สุทธิ์ อาจหมายถึ งความเปลี่ ยนแปลงของความรู้ ในสมัยปั จ จุบนั ไม่ว่าจะเป็ นด้ านศาสนาหรื อด้ าน วิทยาศาสตร์ ที่ยงั คงมีอยู่ และเบ่งบานเสมอในเมืองนี ้ แต่ความรู้ เหล่านันสามารถช่ ้ วยให้ เมืองและสังคม พัฒนาไปได้ จริ งหรื อ ความรู้ ความสามารถต่างๆ ของเมืองที่ผลิตนักปราชญ์ ได้ ด้านต่างๆ ทังเรื ้ ่ องเก่าและ ใหม่ออกมาที่ดเู หมือนจะสามารถผสมผสานกันได้ นนลงตั ั ้ วกันแล้ วจริ งหรื อ? หรื อความก้ าวหน้ าจะยิ่งทําให้


5

จิตใจของมนุษย์ตกตํ่าลงหรื อเปล่า? ความฉาบฉวยที่เทคโนโลยีสร้ างขึ ้นมานันได้ ้ ทําลายบางสิ่งบางอย่างไป ใช่หรื อไม่? เป็ นคําถามของศิลปิ นที่ฝากไว้ กบั เมืองแห่งนี ้ จากแรงสะเทือนใจของผู้ที่อยู่ภายนอกพื ้นที่แล้ ว มองกลับมา หลัง จากนัน้ หลายปี ศิล ปิ นได้ รับเชิญ ให้ ไ ปสร้ างสรรค์ ผ ลงานที่ เ มื องคาสเซิ ล (Kassel)ประเทศ เยอรมัน ในนิทรรศการศิลปะ Documenta ครัง้ ที่ 13 (2007) โดยมีโจทย์ให้ สร้ างผลงานภายในพื ้นที่ที่จดั นิทรรศการเท่านัน้ ศิลปิ นจึงได้ สร้ างสรรค์ผลงานชื่อ “Terraced Rice Fields Art Project” ที่เรี ยกได้ ว่าเป็ น การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตบางอย่างของคนเมืองคาสเซิลก็เป็ นได้ ผลงานชิ น้ นี ม้ ี ลักษณะเป็ นนาข้ าวขัน้ บันไดที่ คนไทยสามารถเห็ นได้ ม ากมายในแถบภูเ ขาทาง ภาคเหนื อ พื น้ ที่ ซึ่ ง ศิ ล ปิ นได้ เลื อ กสํ า หรั บ การทํ า แปลงนาคื อ ณ บริ เ วณเนิ น ภู เ ขาของปราสาท Wilhelmshohe ซึง่ เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรักษาผลงานศิลปะที่เก่าแก่ไว้ เมื่ อศึกษาย้ อนไปถึ ง ประวัติศาสตร์ ของพื น้ ที่ ที่ศิล ปิ นเลื อกนํ ามาใช้ จะเห็น ว่าเมื องคาสเซิ ล ใน สมัยก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เป็ นเมืองที่ โดนทิง้ ระเบิดจนย่อยยับ ต่อมาจึงได้ สร้ างปราสาท และมีพืช พรรณต่างๆ ขึน้ จนเมืองเต็มไปด้ วยสี เขี ยว และระบบสังคมในพื น้ ที่ดงั กล่าวก็เป็ นระบบที่พยายามสร้ าง สังคมแบบรัฐสวัสดิการ 1 แม้ แต่การใช้ ชีวิตก็เต็มไปด้ วยแบบแผน และกฎเกณฑ์ตา่ งๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็ น การจัดการเรื่ องเวลาให้ เป็ นระเบียบมารยาททางสังคมที่มีความเป็ นส่วนตัวสูง ห้ ามไปลํ ้าเส้ นผู้อื่น เป็ นต้ น ซึง่ ดูจะไร้ ซงึ่ ความเป็ นกันเองหรื อความเชื่อใจกันในแบบสังคมตะวันออก ศิลปิ นจึงนําระบบแนวคิดสังคมนาข้ าว ที่เป็ นสังคมช่วยเหลือกันโดยไร้ ซึ่งค่าตอบแทน เหมือนกับ ชาวนาในประเทศไทยที่มกั ร่วมใจกันไปช่วยเพื่อนบ้ านลงแขก แล้ วจึงวนเวียนกันไปตลอดจนครบทังหมู ้ ่บ้าน ไปใช้ สร้ างผลงานในเมืองคาสเซิล เพื่อพยายามทําให้ ข้อจํากัด และกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ที่ตงึ เครี ยดผ่อนคลายลง ไปบ้ าง อีกทังยั ้ งเป็ นการเปลี่ยนแปลงทัศนียภาพให้ เกิดความแปลกใหม่แก่เมืองนี ้

1

รัฐสวัสดิการ หมายถึง รัฐชาติหรื อสังคมที่มีบทบาทความรับผิดชอบต่อชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนในด้ านต่างๆ

เช่นการตอบสนองความต้ องการพื ้นฐานของประชาชน ในด้ านการศึกษา สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจ และความมัน่ คงทาง สังคม เป็ นต้ น รัฐสวัสดิการเป็ นการสร้ างความสุขให้ ประชาชน โดยรัฐเป็ นผู้ดาํ เนินการเป็ นหลัก (รองศาสตราจารย์ ดร. กิตติพฒ ั น์ นนทปั ทมะดุลย์, เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ เรื่ อง รัฐสวัสดิการ : เครื่ องมือสร้ างความเป็ นธรรมใน สังคม , วันที่ 20 ธันวาคม 2550)


6

โดยศิล ปิ นเริ่ มต้ นจากการหาผู้เ ชี่ ยวชาญในด้ านต่างๆ ทัง้ ด้ านการเกษตร ด้ านวิศวกรรม ด้ าน โบราณคดี มาช่วยคํานวณการปรับหน้ าดินพื ้นที่ วางแผนระบบต่างๆ คํานวณระยะเวลา แสงแดด ฤดูกาล เพื่ อให้ ต้นข้ าวเติบโตได้ ทันภายในระยะเวลาการจัดนิทรรศการ เพราะประเทศยุโรปนัน้ ปลูกข้ าวได้ ยาก เนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่เอื ้ออํานวย มีการขออาสาสมัครมาช่วยกันลงแขกปลูกข้ าว โดยใช้ เครื่ องมือให้ น้ อยที่สดุ เป็ นระบบดังเดิ ้ ม ไม่มีคา่ ตอบแทน ผู้ที่เข้ ามาอาสาต้ องมาด้ วยใจ และได้ พากลุ่มชาวนาไทยกลุ่ม หนึง่ เข้ าไปในพื ้นที่นาดังกล่าว เพื่อคอยควบคุมดูแลต้ นข้ าวให้ เป็ นไปได้ ด้วยดี ให้ ชาวตะวันตกได้ เห็นว่า ยัง มี ระบบที่ แ ลกเปลี่ ย นกันได้ ด้ว ยวิ ธี อื่ นๆ นอกจากระบบความคิด แบบทุนนิ ยมที่ แลกเปลี่ ยนทุก สิ่ ง ด้ ว ย ตัวกลางที่เรี ยกว่าเงิน เป็ นการแลกเปลี่ยนกันด้ วยใจแทน เพราะนอกจากจะได้ ผลกําไรแล้ ว ยังได้ มิตรภาพ ความสนุกสนาน และความเชื่อใจกันกลับมาอีกด้ วย หรื อในอีกแง่หนึ่งคือศิลปิ นต้ องการสร้ างปรากฏการณ์ให้ ชาวตะวันตกที่เป็ นผู้ออกแบบกฎเกณฑ์ และองค์ความรู้ตา่ งๆ อีกทังยั ้ งเป็ นประเทศที่ล่าอาณานิคมทางฝั่ งตะวันออก และนําวัฒนธรรมของตนเข้ า ไปจนกลืนกินวัฒนธรรมดังเดิ ้ มของชนพื น้ เมื อง เช่น การทํ าอุตสาหกรรม แต่ในผลงานชิน้ นีศ้ ิลปิ นได้ ทํา เงื่อนไขให้ ชาวตะวันตกเต็มใจลงมือทํางานในแบบชนชันกรรมาชี ้ พ การทําเกษตรแบบชาวตะวันออก และ ยังฉีกกรอบของความเป็ นส่วนตัวของชาวตะวันตกให้ มีความเป็ นกันเองมากขึ ้นแบบชาวตะวันออก ปรากฏการณ์ดงั กล่าวเป็ นสิ่งใหม่ที่นา่ สนใจต่อพื ้นที่แสดงนิทรรศการศิลปะนานาชาติ เพราะศิลปิ น ได้ ท้าทายต่อพื ้นที่และสังคมในบริ เวณนัน้ จนทําให้ เกิดเป็ นการกระตุ้นในเรื่ องการทํางานศิลปะ และยังเป็ น การสร้ างสังคมที่มีปฏิสมั พันธ์จากโลกตะวันออกอย่างแท้ จริง

ภาพผลงาน “Terraced Rice Fields Art Project “(2007) โดย ศิลปิ น สาคริ นทร์ เครื ออ่อน


7

ผลงานชิ ้นนี ้เป็ นที่จบั ตามองไม่เฉพาะชาวเมืองคาสเซิลเท่านัน้ ชาวเยอรมันทังประเทศก็ ้ มีความ สนใจในโครงการนี ้อย่างมาก เพราะเป็ นครัง้ แรกที่พวกเขาจะได้ เห็นต้ นข้ าวที่สามารถปลูกได้ ในประเทศของ ตน ได้ ลงมือทําในสิ่งที่ไม่เคยทํา และยังสร้ างปรากฏการณ์ตา่ งๆ ที่ทําให้ คนในชุมชนได้ หนั มาพูดคุยกันมาก ขึน้ ผ่านตัวกลางที่ เรี ยกว่าศิลปะจากศิลปิ นผู้นี ้ จากสิ่ งที่ ผ้ ูคนคิดว่าไม่ส ามารถมี และไม่เคยมี สามารถ เกิ ดขึน้ ได้ จากความร่ วมมือร่ วมใจของมนุษย์ เรานี่เอง ทํ าให้ เทศกาลศิลปะ Documenta ครั ง้ นี ป้ ระสบ ความสําเร็ จเกินความคาดหมาย จากทังหมดที ้ ่ยกตัวอย่างผลงานของศิลปิ น สาคริ นทร์ เครื ออ่อน จะเห็นได้ ว่าศิลปิ น มีความคิดที่ ต้ องการตังคํ ้ าถามต่อบริ บทและวัฒนธรรมการเป็ นอยูข่ องพื ้นที่นนๆว่ ั ้ าสิ่งที่เป็ นอยู่ในปั จจุบนั นันดี ้ หรื อเปล่า การบิดเบือนไปของความหมายเก่าโดยประวัติศาสตร์ เกิดเป็ นความหมายใหม่ที่ตรงกันข้ าม จากการเป็ น คนนอกที่มองเข้ าไป การสร้ างผลงานศิลปะในพื ้นที่เฉพาะของเขา ก่อให้ เกิดการกระตุ้นความคิดให้ กบั ผู้ที่ เกี่ ยวข้ องกับพื น้ ที่ แต่การสร้ างผลงานศิลปะของเขายังสามารถสร้ างปรากฏการณ์ ต่างๆ และข้ อถกเถี ยง ให้ กบั สังคมในบริ เวณนันได้ ้ อีกด้ วย








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.