สารบัญ เรื่ อง
หน้ า
อย่างไทยไทย โดย ภีรวรรณ สุพรรณภพ
1
การแปรผันความหมายของผลงานศิลปะ
25
ฉากอันซํ ้าซากของประเทศไทย
32
อย่ างไทยไทย ภีรวรรรณ สุ พรรณภพ
อย่ างไทยไทย ภีรวรรรณ สุ พรรณภพ คุณเคยสงสัยหรื อไม่วา่ “ความเป็ นไทย” แท้จริ งแล้วคืออะไร มีแบบแผน หรื อมีสิ่งกําหนดตายตัวหรื อไม่ บ้าง ก็กล่าวว่า ความเป็ นไทย คือเอกลักษณ์ประจําชาติ ทั้งในด้านวัฒนธรรม ธรรมเนียมประเพณี และศิ ลปกรรม ล้วน แล้วแต่เป็ นมรดกทางความคิดและรสนิยมที่ตกทอดกันมา 1 บ้างก็บอกว่าความเป็ นไทย เป็ นเรื่ องที่ไม่สามารถกําหนดได้ อย่างแน่นอนตายตัว ความหมายของความเป็ นไทยแปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและสัมพันธ์กบั สิ่ งอื่นที่มากระทบ 2 ตัวอย่างความแตกต่างที่คล้ายคลึงกันต่อไปนี้อาจทําให้เห็นภาพชัดได้ข้ ึนคือ คําว่า “อย่างไทย” กับคําว่า “อย่าง ไทยๆ” ซึ่ง คําว่า “ไทย” อย่างแรกมีลกั ษณะเป็ นทางการมากกว่าคําว่า “ไทยๆ” อย่างหลัง เนื่อจาก “ไทยๆ” อย่างหลัง เป็ นการเน้นยํ้าความหมายที่ทาํ ให้ฟังแล้วรู ้สึกว่าลดความจริ งจังลง เปรี ยบได้กบั ความเป็ นไทยพื้นบ้าน (Folk Thai) ที่มา จากชนบท เรี ยบง่ายใกล้ชิดธรรมชาติ หรื อสิ่ งที่ไม่เป็ นทางการ3 ส่ วน “ไทย” อย่างแรก อาจแทนได้วา่ เป็ นไทยประเพณี (Traditional Thai) ที่สวยงาม วิจิตร เห็นได้ในวัง พิพิธภัณฑ์ไทย หรื อที่รัฐบาลกําหนดให้เป็ นรู ปแบบประจําชาติ 4 มุมมองความเป็ นไทยสามารถแบ่งออกเป็ นสองลักษณะใหญ่ๆ ได้แก่ มุมมองความเป็ นไทยในลักษณะอุดมคติ เดิม และมุมมองลักษณะความเป็ นไทยในวัฒนธรรมประจําวัน โดยความเป็ นไทยในลักษณะอุดมคติเดิม เป็ นภาพตัว แทนที่สร้างกรอบความคิดให้ความเป็ นไทยผูกติดกับความเป็ นตะวันออก (Oriental) ภาพลักษณ์ของโบราณสถาน โบราณวัตถุและนาฏกรรม มีบทบาทสําคัญในการแสดงความเป็ นไทยและความเป็ นตะวันออก ที่ทาํ ให้ชาวต่างชาติยดึ โยง กับภาพพจน์ของอดีต5 ลักษณะความเป็ นไทยแบบนี้จึงเป็ นสิ่ งเฉพาะที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของประเทศ มีการ วางรากฐานในการสร้างความรู ้ความเข้าใจให้กบั เด็กและยาวชนเพือ่ ยึดถือปฏิบตั ิ ที่เน้นยํ้าว่า เอกลักษณ์ของชาติตอ้ ง ประกอบไปด้วย สถาบันพุทธศาสนา สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ อักษรไทย ภาษาไทย ประเพณี ไทย จรรยามารยาทของคน ไทย ศิลปกรรมไทย สถาปั ตยกรรมไทย และวรรณคดีไทย ลักษณะของความเป็ นไทยที่กล่าวมานี้เป็ นอุดมคติที่โดดเด่น
1
สุธี คุณาวิชยานนท์, จากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่าด้วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย , (กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์
บ้านหัวแหลม, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2546), หน้า 177. ธนาวิ โชติประดิษฐ์, บรรณวิพากษ์ หนังสื อจากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย, เมืองโบราณ 30, 4(ตุลาคม-ธันวาคม,2547), หน้า 169. 3 จําลอง ฝั่งชลจิตร, ไทย ๆ : มองผ่านเลนส์ คม, เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก 2
http://www.komchadluek.net/detail/20120124/121001/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%86.html. 4
เรื่ องเดียวกัน ชนน์ชนก พลสิ งห์, ความเป็ นไทยแบบร่ วมสมัยในงานศิลปะร่ วมสมัยของประเทศไทย, (การศึกษาโดยเสรี ในแขนงวิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548), หน้า 4.
5
และมักถูกนําเสนออยูใ่ นสื่ อโฆษณา 6 ด้วยการเลือกความเป็ นไทย ที่นาํ เสนอภาพลักษณ์ในเชิงบวก ให้ชาวต่างชาติได้รู้จกั กับความเป็ นไทย ส่วนมุมมองลักษณะความเป็ นไทยในวัฒนธรรมประจําวัน ชาวต่างชาติจะมีโอกาสได้เรี ยนรู ้ตอ่ เมื่อเข้ามาใช้ชีวติ ในเมืองไทย ซึ่งมุมมองความเป็ นไทยในรู ปแบบนี้ เป็ นความเป็ นไทยอย่างใหม่ที่คนภายนอก (ประเทศ) ไม่ค่อยมีโอกาส ได้เรี ยนรู ้ 7 อาทิ คนไทยรักสงบ แท้จริ งแล้วก็มีกาต่อสูห้ รื อมีปัญหาต่างๆ ในประเทศมากมาย และความเป็ นไทยใน ลักษณะนี้ไม่ได้ถูกยอมรับจากชาวไทยที่เป็ นคนชั้นสูงและคนชั้นสามัญ เพราะดูแล้วเป็ นสิ่ งที่ขบขัน และไม่ได้อยูใ่ น กรอบของคุณค่าและความงามอย่างไทย สวยอย่างไทย หรื อมีเอกลักษณ์อย่างไทย จึงไม่ใช่ไทยแท้8 แต่บุคคลภายนอก กลับบอกว่านี่แหละคือความเป็ นไทย ตัวอย่างเช่น ป้ ายภาพยนตร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน รถตุก๊ ๆ ตลาดนัด เป็ นต้น จากความกํากวมของคําว่า ความเป็ นไทย ที่สามารถตีความได้หลากหลายมุมมอง การนําเสนอความคิดที่มีต่อ ความเป็ นไทยผ่านผลงานศิลปะถือเป็ นรู ปแบบหนึ่งที่น่าสนใจ ซึ่งสุธี คุณาวิชยานนท์ ศิลปิ นไทยที่มีชื่อเสี ยงทั้งในและ ต่างประเทศ เป็ นหนึ่งในศิลปิ นที่มกั หยิบยกความเป็ นไทยมาสร้างสรรค์ผลงานในลักษณะการวิพากษ์วจิ ารณ์ โดย ผสมผสานทั้งความเป็ นไทยและความเป็ นไทยๆ ที่ศิลปิ นมีต่อสังคมไทย ถ่ายทอดผ่านสื่ อและเทคนิคที่หลากหลาย ดังต่อไปนี้ ความซํ้าซากอันเป็ นนิรันดร์ ปี พ.ศ. 2540-2541 ผลงานศิลปะจัดวาง สร้างสรรค์ดว้ ยวัสดุไฟเบอร์กลาส มี ลักษณะเป็ นหุ่นผูห้ ญิงใส่ชุดไทย อยูใ่ นท่าประนมมือไหว้ ทั้งนี้ผคู ้ นยังสามารถเข้ามาเล่นกับงานได้โดยการเหยียบมอเตอร์ที่ เท้า เมื่อเหยียบหุ่นจะค่อยๆโค้งไหว้โดยอัตโนมัติ และเมื่อก้มอยูใ่ นระดับหนึ่ง ศีรษะจะเปิ ดออกเป็ นศีรษะกลวง และหุ่นจะ ตั้งขึ้น และศีรษะจะปิ ดเองโดยอัตโนมัติ ความเป็ นไทยที่ปรากฏคือ เรื่ องการไหว้ ซึ่งเป็ นมารยาทไทยที่สืบทอดกันมาช้า นาน การไหว้แสดงถึงความมีสมั มาคารวะ และการให้เกียรติซ่ ึงกันและกัน เป็ นการแสดงออกถึงความหมายเพื่อการทักทาย การขอบคุณ การขอโทษ หรื อการกล่าวลา และสิ่ งที่แสดงถึงความเป็ นไทยจากมุมมองศิลปิ นคือ นิสยั ของคนไทยโดย ศิลปิ นแสดงออกทางรู ปทรงผลงานที่มีสมองกลวง อีกทั้งปฏิกิริยาในตัวผลงานที่ซ้ าํ ไปซํ้ามาในขณะที่ใครเหยียบก็แสดง อาการเดียวกันคือโค้งคํานับ ความค่อยเป็ นค่อยไปในขณะที่หุ่นโค้งคํานับ สื่ อถึงลักษณะความใจเย็นจนเป็ นนิสยั การ ไหว้เรี ยกได้วา่ เป็ นสูตรสําเร็จที่ทาํ ซํ้าๆสื บต่อกันมา โดยที่คุณรู ้หรื อไม่วา่ ที่ทาํ อยูน่ ้ นั มันคืออะไร ทําเพราะความเคยชิน หรื อไม่ เมื่อผูช้ มได้เข้าไปเหยียบผลงานทําให้ผทู ้ ี่เข้าไปเล่นอยูใ่ นภาวะที่เหนือกว่า เปรี ยบได้กบั การเหยียบยํ่าชาวไทยด้วย กันเอง หรื อใครก็ตามสามารถมาเหยียบยํ่าความเป็ นไทยได้ และเราก็จะตอบสนองแบบเดิมทุกครั้งไปหรื อ
6
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 7 เรื่ องเดียวกัน, หน้า 4 8 จําลอง ฝั่งชลจิตร, ไทย ๆ : มองผ่านเลนส์ คม, เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก 7
http://www.komchadluek.net/detail/20120124/121001/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%86.html.
วันวานอันแสนหวาน ปี พ.ศ. 2540-2541 หุ่นไฟเบอร์กลาสผูช้ ายนุ่งโจงกระเบน ทําท่าไหว้ หันหน้าเข้ากระจก และเมื่อเหยียบมอเตอร์หุ่นไหว้ก็จะโค้งไหว้อย่างช้าๆ ความเป็ นไทยที่หยิบยืมมาใช้คือ การแต่งกาย และทรงผมของผู ้ ชายไทยในสมัยก่อนรวมไปถึงการไหว้อย่างนอบน้อม หุ่นส่องกระจกสื่ อถึงการหลงตัวเองมองแต่เพียงเงาตน ศิลปิ นแฝง ไว้ซ่ ึงนิสยั ของคนไทยที่คิดว่าตนเป็ นชาติที่ดีที่สุด โดยไม่ได้มองใครหรื อชาติใดนอกจากตนเอง จากผลงานชุดความซํ้าซากอันเป็ นนิรันดร์ และวันวานอันแสนหวาน หุ่นที่แสดงการไหว้แบบไทยคือสิ่ งที่เห็นได้ ชัดว่า หยิบยืมรู ปลักษณ์ความเป็ นไทยในด้านการแต่งกาย และวัฒนธรรมการไหว้มาใช้ และหุ่นดังกล่าวมีลกั ษณะคล้าย กับหุ่นที่นาํ ไปวางต้อนรับหน้าโรงแรมของไทย สัญลักษณ์ที่ท้ งั ไทยและฝรั่งมองว่ามันคือความเป็ นไทย การไหว้ดงั กล่าว อาจมีที่มาจากการทักทายที่ใช้คาํ ว่า สวัสดี ซึ่งเป็ นคําที่กาํ หนดให้ใช้ในช่วงการสร้างชาติไทย โดยบังคับให้พดู ทักทายเมื่อ พบเจอกัน
ความซํา้ ซากอันเป็ นนิรันดร์
วันวานอันแสนหวาน
ผลงานชุดห้ องเรียนประวัตศิ าสตร์ (ถนนราชดําเนิน) ปี พ.ศ.2543 อีกหนึ่งผลงานที่หยิบยกประวัติศาสตร์ความ เป็ นไทยมาบอกเล่าผ่านผลงานศิลปะที่เน้นการมีส่วนร่ วมของผูค้ นเป็ นหลัก โต๊ะนักเรี ยนที่เป็ นไม้แสดงกลิ่นอายความเป็ น เด็กไทยที่มกั ขีดเขียนโต๊ะนักเรี ยนเล่นจนติดเป็ นนิสยั โต๊ะไม้เหล่านี้ถูกแกะให้มีขอ้ ความ และรู ปภาพทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้ผชู ้ มได้เลือกหรื อฝนใส่กระดาษตามต้องการ เรี ยกได้วา่ สามารถสร้างตํารา สร้างประวัติศาสตร์ข้ ึนเอง ไม่วา่ จะ เป็ นการเลือกกระดาษ เลือกข้อความ เลือกมุมมอง หรื อแม้กระทัง่ วัสดุในการฝน ผูช้ มมีสิทธิ์เลือกจําและไม่จาํ ประวัติศาสตร์ใดก็ได้ตามใจตน แง่คิดที่ศิลปิ นต้องการแสดง คือ ทางการศึกษามักถูก reproduct เรื่ องซํ้าๆในชั้นเรี ยน ตําราบอกอย่างไรก็เชื่ออย่างนั้น ศิลปิ นจึงนําประวัติศาสตร์ไทยรู ปแบบรองๆ ที่มกั ไม่พบในตําราเรี ยนมาใช้แกะลงบนโต๊ะ เช่น โต๊ะที่ 2 มีภาพเทียนวรรณ ซึ่งเป็ นนักปราชญ์คนสําคัญในช่วง ร.ศ.125 (พ.ศ.2448) ซึ่งโต๊ะไม้มีกลอนที่ท่านได้แต่งไว้ โต๊ะที่ 5 เป็ นภาพหมุดที่ตอกบริ เวณอนุสาวรี ยป์ ระชาธิปไตยซึ่งหมุดเขียนไว้วา่ ณ ที่น้ ี ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เวลายํ่ารุ่ ง คณะราษฎร์ได้ก่อกําเนิดรัฐธรรมนูญเพื่อความเจริ ญของชาติ ซึ่งน้อยคนจะรู ้วา่ หมุดนี้มีอยู่ ณ ที่อนุสาวรี ย ์ ตัวอย่างดังกล่าว
แค่สิ่งที่อยากจะจํา หากกล่าวถึงรู ปแบบความเป็ นไทยที่ศิลปิ นนํามาใช้ ได้แก่ การจัดข้อความ และภาพบนโต๊ะนักเรี ยนมี ลักษณะคล้ายกับการพาดหัวข่าวของหนังสื อพิมพ์ไทย ภาพที่ปรากฏมีความคล้ายคลึงกับรู ปภาพพิมพ์ของชาวต่างชาติที่เข้า มาในช่วงกรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น ทั้งตามหนังสื อพิมพ์ รวมไปถึงโปสเตอร์ผนู ้ าํ ชาติที่ออกเผยแพร่ ในยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม ส่วนตัวหนังสื อที่ปรากฏก็สื่อถึงตัวอักษรแบบไทย และข้อความล้วนแล้วแต่มีที่มาจากประวัติศาสตร์ เช่น คําว่า มาลานําไทยสู่ความเป็ นชาติ ให้เปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามเปนไทย เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ฆ่า คอมมิวนิสต์ไม่บาป เป็ นต้น ข้อความเหล่านี้แฝงไปด้วยอารมณ์ขบขันที่เต็มไปด้วยการเสี ยดสี ถึงนิสยั คนไทย และ ประวัติศาสตร์ไทย แต่สิ่งเหล่านี้คือเรื่ องจริ งและค่อนข้างรุ นแรงหากได้ไปอยูใ่ นเหตุการณ์น้ นั เปรี ยบได้กบั ความเป็ นคน ไทยที่ไม่วา่ จะมีเรื่ องราวที่จริ งจังเพียงใดก็ยงั ขําขันได้
ภาพจากนิทรรศการห้องเรี ยนประวัติศาสตร์
โต๊ะที่ 2 ภาพเทียนวรรณ
ภาพเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519
ผลงานชุด 12 เหตุผล ทําไมคนไทยไม่ กลัวโลกาภิวตั น์ ปี พ.ศ.2547 ผลงานภาพพิมพ์อิงค์เจ็ทที่ใช้เทคนิคสี น้ าํ และคอมพิวเตอร์กราฟฟิ ค ทั้งภาพและข้อความทําเหมือนบิลบอร์ดติดอยูท่ วั่ กรุ งเทพมหานคร และเป็ นสถานที่สาํ คัญใน เมืองหลวงที่ชาวไทยรู ้จกั เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ภายในนิทรรศการยังมีการแจกคูม่ ือเกี่ยวกับ 12 เหตุผล ทําไมคนไทยไม่ กลัวโลกาภิวตั น์ ความเป็ นไทยที่เด่นชัดจากผลงานชุดนี้คือบิลบอร์ดอันยิง่ ใหญ่คล้ายกับโฆษณาภาพยนตร์ไทยที่ติดโฆษณา ตามสถานที่ทวั่ ไป ทั้งภาพและตัวหนังสื อยิง่ ทําให้นึกถึงความเป็ นไทย เพราะความอ่อนช้อยแบบไทยๆ และเป็ นตัวละครที่ เหมือนในภาพจิตรกรรมไทย และมักเคยเป็ นผลงานที่ผา่ นมาของศิลปิ น ข้อความต่างๆมีความสอดคล้องกับรู ปภาพ และ แฝงไว้ซ่ ึงนิสยั ของคนไทย แสดงออกอย่างประชดประชันถึงสาเหตุที่ชาวไทยไม่กลัวโลกาภิวตั น์ โดยมีเหตุผลต่างๆ ดังนี้ เหตุผลแรกมีขอ้ ความว่า บูรณาการภูมปิ ัญญาไทย : นวดไทยแผนโบราณ กับแม่ไม้ มวยไทย ศิลปิ นล้อเลียนคําว่า บูรณา การ ซึ่งมีความหมายว่า การรวมเข้าเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และ มี 2 ความหมาย ความหมายที่ 1 คือ ทําให้เป็ นเนื้อเดียวกัน โดยรวมหรื อผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ความหมายที่ 2 หมายถึง เชื่อมหรื อประสานกับสิ่ งอื่นหรื อหน่วยงานอื่น 9 ซึ่งการบูรณาการที่ศิลปิ นล้อเลียนนั้นเนื่องมาจากนโยบายของรัฐบาลที่พยายามสร้างสังคมให้บูรณาการศาสตร์ที่ดูเหมือนจะ แตกต่างกันให้เข้าด้วยกัน และไม่คาํ นึงถึงความเป็ นไปได้ โดยผลงานหยิบยกภูมิปัญญาไทยทั้งสองศาสตร์มาล้อเลียน คือ แม่ไม้มวยไทยและนวดไทยแผนโบราณ โดยเป็ นภาพนักมวยไทยที่กาํ ลังนวดแผนไทยและเอาเท้าเหยียบใบหน้าชายอีกคน ที่แต่งชุดสูท การนวดแผนโบราณเหมือนกับการรักษาโรคแบบไทยๆ หรื อภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดมาช้านานจน ยอมรับว่าคือความเป็ นไทย สําหรับแม่ไม้มวยไทยเป็ นศิลปะการต่อสูป้ ้ องกันตัวที่สื่อถึงความรุ นแรงดูแล้วตรงข้ามกันกับ นวดแผนไทย เพราะสิ่ งหนึ่งคือการรักษาแต่อีกสิ่ งหนึ่งคือการต่อสู ้ แต่คนไทยก็สามารถนํามาผสมปนเปหรื อการบูรณา การจนสามารถหลอกตาชาวต่างชาติ (คนในชุดสูท) ได้อย่างแนบเนียน เรี ยกได้วา่ ถึงแม้จะมีอะไรใหม่ๆเข้ามา คนไทยก็ สามารถบูรณาการเข้าด้วยกันได้อย่างสบาย แต่ไม่ลงตัว
ภาพเหตุผลที่ 1 บูรณาการภูมิปัญญาไทย : นวดไทยแผนโบราณ กับแม่ไม้มวยไทย
9
________, บูรณาการ, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก
http://dict.longdo.com/index.php?lang=en&search=%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%81 %E0%B8%B2%E0%B8%A3.
เหตุผลที่ 2 มีขอ้ ความว่า ประสานผลประโยชน์ : เวนิสตะวันออก เป็ นภาพที่มาจาก นางวันทองเหยียบเรื อสองแคม ซึ่ง เป็ นสุภาษิตที่มีความหมายว่า การที่อยูเ่ ข้าพวกทั้งสองฝ่ าย โดยตักตวงประโยชน์จากทั้งสองฝ่ ายอย่างไม่บริ สุทธิ์ใจ และ นางวันทอง คือตัวละครในวรรณคดีของไทยที่เป็ นหญิงสองใจรักผูช้ ายสองคน ทั้งสุภาษิตและตัวละครในวรรณคดีคือ ความเป็ นไทยที่ศิลปิ นหยิบยืมมา ภาพและข้อความเวนิสตะวันออก ก็คือประเทศไทยลักษณะของเมืองคล้ายคลึงกับเวนิสที่ ใช้แม่น้ าํ สัญจร เรี ยกได้วา่ คนไทยเมื่อเห็นที่ไหนเขามีอะไรดี ประเทศไทยก็มีไปหมดและพยายามผสานสู่ความเป็ นไทย นอกจากนี้การตักตวงผลประโยชน์จากหลายๆ ฝ่ าย เป็ นการประชดประชันนิสยั ของคนไทย และทําให้นึกถึงเหตุการณ์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งไทยถูกมองว่าเป็ นนกสองหัวที่อยูท่ ้ งั ฝ่ ายญี่ปนและอเมริ ุ่ กา เพราะเมื่อญี่ปุ่นแพ้ ไทยก็ยา้ ย ข้างไปอยูฝ่ ่ ายอเมริ กา ดังนั้นคนไทยจึงไม่กลัวโลกาภิวตั น์เพราะ คนไทยสามารถผสานผลประโยชน์ ย้ายฝักย้ายฝ่ าย หรื อ ทําตัวลื่นไหลไปกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้
ภาพเหตุผลที่ 2 ประสานผลประโยชน์ : เวนิ สตะวันออก
เหตุผลที่ 3 มีขอ้ ความว่า อ่ อนช้ อยแต่ ไม่ อ่อนแอ : อ่ อนนอกแข็งใน ภาพหญิงสาวใส่ชุดไทยคล้ายกับตัวละครในจิตรกรรม ไทย มีท่าทางที่อ่อนช้อยงดงาม แต่ทว่ามีความขัดแย้งที่แสดงออกถึงความก้าวร้าวภายใน โดยยกนิ้วกลางขึ้น ซึ่งเป็ น ความหมายสากลคือ อวัยวะเพศชาย และมักใช้แทนคําด่า เรี ยกได้วา่ ภายนอกคนไทยอาจเปราะบาง อ่อนหวาน แต่อีกมุม หนึ่งก็แข็งกระด้าง หยาบคาย และไม่ยอมให้ใครมาทําร้ายโดยเด็ดขาด เหตุผลที่ 4 มีขอ้ ความว่า มืออาชีพเป็ นโปรเฟสชั่นนัล : “โกอินเตอร์ ” แต่ ไม่ลมื ความเป็ นไทย เป็ นภาพชายไทยไว้ทรงผม แบบไทยโบราณที่ชื่อว่าทรงหลักแจว ใส่โจงกระเบนแต่คลุมทับด้วยเสื้ อสูทยืนไหว้อย่างนอบน้อม เรี ยกได้วา่ ถึงแม้จะมี อิทธิพลของความป็ นสมัยใหม่เข้ามา แต่คนไทยก็ยงั ไม่ลืมความเป็ นไทย ราวกับว่าชํานาญทางด้านสมัยใหม่มาก และทํา ได้อย่างแนบเนียนโดยไม่รู้วา่ สิ่ งนั้นมันเข้ากับความเป็ นไทยหรื อไม่ เป็ นการล้อเลียนในเรื่ องการรับวัฒนธรรมต่างชาติเข้า มาของคนไทย และยังเสี ยดสี ถึงคําว่า โกอินเตอร์ ที่หมายถึง ไปต่างประเทศ โด่งดังในต่างประเทศ (ใช้กบั คนไทย
เท่านั้น) 10 ซึ่งการโกอินเตอร์น้ นั ทําให้เป็ นที่ยอมรับและชื่นชมของคนในสังคมไทย อาทิ ผลิตภัณฑ์ไทยที่โกอินเตอร์ ดารา ศิลปิ นไทยที่โกอินเตอร์ เรี ยกได้วา่ ไทยพยายามโอ้อวดว่าประเทศตนก็มีอะไรดีไปสูก้ บั ชาวต่างชาติได้อย่างเป็ นมือ อาชีพ
ภาพเหตุผลที่ 3 อ่อนช้อยแต่ไม่อ่อนแอ : อ่อนนอกแข็งใน ภาพเหตุผลที่ 4 มืออาชี พเป็ นโปรเฟสชัน่ นัล : “โกอินเตอร์ ” แต่ไม่ลืมความเป็ นไทย
เหตุผลที่ 5 มีขอ้ ความว่า เศรษฐกิจเข้ มแข็ง : เสือตัวที่ 5 สวมวิญญาณนกกรวิก เป็ นภาพที่มาจากผลงานชุดเป่ าลม ที่ศิลปิ น ได้นาํ เสื อมาเป็ นตัวแทนชาวไทย ที่ผนู ้ าํ ประเทศในสมัยนั้นเคยกล่าวไว้วา่ จะเป็ นผูน้ าํ ทางเศรษฐกิจประเทศที่ 5 แห่งเอเชีย คําว่า เศรษฐกิจเข้มแข็ง แต่ผลงานเป็ นดัง่ วิญญาณที่ตอ้ งการการต่อลมหายใจจากผูค้ นมากมาย ส่วนนกกรวิกแสดงถึงความ เป็ นไทยในเรื่ องของตํานาน หมายถึง สัตว์หิมพานต์ในตํานาน สรรเสริ ญว่าเป็ นราชานก ที่มีค่าเกินประมาณ มีขนเป็ น ทองคํา กรองคอเป็ นเพชร ที่อยูบ่ นก้อนเมฆ กินลมเป็ นอาหาร ในไตรภูมิพระร่ วงจารึ กว่านกกรวิกมี เสี ยงไพเราะยิง่ นัก11 ด้วยความหมายของนกกรวิก เรี ยกได้วา่ เป็ นนกเรี ยกเงินให้กบั เศรษฐกิจไทยกลายมาเป็ นเสื อตัวที่ 5 แห่งเอเชีย ซึ่งภาพที่ คนไทยกําลังเป่ าลมให้เสื อตัวนี้ เป็ นการเย้ยหยันถึงความคิดของท่านผูน้ าํ ในสมัยนั้นที่พยายามทําสิ่ งที่เป็ นไปไม่ได้ให้ เป็ นไปได้โดยไม่ได้คาํ นึงถึงความเป็ นจริ ง ความเหน็ดเนื่อย และความยุง่ ยากที่ตอ้ งแลกมา เหตุผลที่ 6 มีขอ้ ความว่า เศรษฐกิจพอเพียง : พลิกฟื้ นชีวติ ชาวเกษตร พออยู่พอกิน ชุมชนเข้ มแข็ง จากภาพเป็ นผลงาน ที่มาจากชิ้นเป่ าลมเช่นกัน ศิลปิ นประชดประชันสังคมไทยในเรื่ องการพลิกฟื้ นชีวติ ชาวเกษตรกร ให้มีความพออยูพ่ อกิน สร้างชุมชนเข้มแข็ง ตามนโยบายของรัฐบาล สิ่ งเหล่านี้ทาํ ให้คนไทยไม่กลัวโลกภิวตั น์ เพราะอยูอ่ ย่างพอเพียงมีวถิ ีชีวติ ที่ พออยูพ่ อกิน แต่ในความเป็ นจริ งเป็ นไปได้ยาก เพราะสังคมในปั จจุบนั ได้เปลี่ยนไปแล้ว โดยผลงานเป็ นชายไทยกําลัง ________, โกอินเตอร์ , เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก
10
http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95% E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C. 11 ________, พญานกเรียกเงิน วายุภกั ษ์ ปักษา เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=01f2a0cfd9cb560f.
ต่อลมหายใจให้ควาย (อันเป็ นตัวแทนของภาคเกษตรกรรม) อย่างยากลําบาก และผลงานยังถูกติดตั้งอยูท่ ี่โรงภาพยนตร์ แสดงถึงความขัดแย้งกับคําว่าพอเพียงอย่างสิ้นเชิง
ภาพเหตุผลที่ 5 เศรษฐกิจเข้มแข็ง : เสื อตัวที่ 5 สวมวิญญาณนกกรวิก (ภาพซ้าย) ภาพ เหตุผลที่ 6 เศรษฐกิจพอเพียง : พลิกฟื้ นชีวิตชาวเกษตร พออยูพ่ อกิน ชุมชนเข้มแข็ง (ภาพขวา)
เหตุผลที่ 7 มีขอ้ ความว่า รากเหง้ าและประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนาน : ช้ างเผือกแห่ งสยามประเทศ จากภาพเป็ นผลงานที่ได้มา จากผลงานเป่ าลมให้แก่ชา้ ง ซึ่งช้างเผือกเป็ นตัวแทนความเป็ นชาติไทย เป็ นทั้งสัญลักษณ์ของธงชาติในสมัยก่อน แต่ใน ภาพกลับต้องต่อลมหายใจให้กบั มัน จะเรี ยกว่าเป็ นรากเหง้าประวัติศาสตร์อนั ยาวนานได้ แต่ตอ้ งพึ่งลมหายใจจากชาวไทย หลายๆ คน เหมือนกับคนไทยที่ชอบอวดอ้างว่าช้างเผือกหรื อสิ่ งนั้นสิ่ งนี้ที่บรรพบุรุษสร้างไว้คือความเป็ นไทย มีที่มามี ประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน แต่ไม่ได้พยายามรักษาหรื อดํารงต่อไปให้ดีที่สุด ได้แต่ใช้ชื่อความเป็ นประวัติศาสตร์อวดอ้างไป วันๆ เหตุผลที่ 8 มีขอ้ ความว่า สนุกสนานแบบไทย จริงจังแบบฝรั่ง แฝดสยาม ภาพแฝดอินจันเป็ นแฝดสยามคู่แรกของโลกที่มี ตัวติดกันและใช้ชีวติ อยูอ่ ย่างยาวนาน ทั้งสองมินิสยั ต่างกัน คนแรกมีนิสยั สนุกสนานที่ค่อนข้างเป็ นไทย ส่วนอีกคนมี นิสยั ที่จริ งจังไปทางฝรั่ง แต่ท้ งั สองก็อยูร่ ่ วมกันได้โดยไม่มีปัญหาใดๆ ซึ่งนิสยั ของคนไทยก็คล้ายคลึงกับแฝดอินจันที่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับทุกสถานการณ์ได้ เป็ นดัง่ การวิพากษ์สงั คมไทยที่มีท้ งั ความขัดแย้งและความกลมกลืน แต่คน ไทยก็ปรับตัวได้อย่างแนบเนียน
ภาพเหตุผลที่ 7 รากเหง้าและประวัติศาสตร์ อนั ยาวนาน : ช้างเผือกแห่ งสยามประเทศ (ภาพซ้าย) ภาพเหตุผลที่ 8 สนุกสนานแบบไทย จริ งจังแบบฝรั่ง แฝดสยาม (ภาพขวา)
เหตุผลที่ 9 มีขอ้ ความว่า แปลงศิลปวัฒนธรรมให้ เป็ นทุน แปลงวีรบุรุษให้ เป็ นทุน เป็ นภาพวีรบุรุษไทยถือดาบพร้อมต่อสู ้ และมีขอ้ ความว่า เพื่อแผ่นดิน รักชาติ รักแผ่นดิน ซึ่งคนไทยคิดว่ามีวรี บุรุษเป็ นโมเดลเป็ นดัง่ ของสําคัญในประเทศชาติ เป็ นทุนอยูแ่ ล้ว รวมถึงมีวฒั นธรรมประเพณี อนั ดีงามที่บรรพบุรุษเคยสร้างไว้เป็ นทุนอันมัน่ คงแข็งแรง และไม่เกรงกลัวว่า โลกจะเปลี่ยนไป ถึงอย่างไรไทยก็มีของดีอยู่ ทั้งนี้เป็ นการล้อเลียนกับนโยบายของรัฐบาลที่พยายามสร้างวัฒนธรรมให้ เป็ นต้นทุนเพื่อโฆษณาประเทศไทย ให้ชาวต่างชาติมองว่าเมืองไทยก็มีของดี มีวฒั นธรรมที่ดี แท้จริ งแล้วเป็ นวัฒนธรรมที่ เป็ นมายาคติ เหตุผลที่ 10 มีขอ้ ความว่า บ้ านเมืองร่ มเย็นสงบเรียบร้ อย (ไม่ มผี ้กู ่ อการร้ าย) : อรินทราชเอือ้ อาทร เป็ นภาพอริ นทราช ถือปื นยืนตรง ราวกับว่าต้องดูแลสอดส่องบ้านเมืองตลอดเวลาเมื่อยามมีภยั อริ นทราช 26 เป็ นหน่วยตํารวจที่มีความ เชี่ยวชาญการใช้อาวุธ และยุทธวิธีพิเศษ มีขีดความสามารถในการปฏิบตั ิการพิเศษต่อภัยคุกคามที่เป็ นอาชญากรรม และ การก่อการร้าย ด้วยการแย่งชิงตัวประกัน การจับกุม ฯลฯ ตามแนว "การบริ หารวิกฤตการณ์" โดยมีพ้ืนที่รับผิดชอบในเมือง หลวง และปริ มณฑล เป็ นหน่วยระดับกองร้อย มีอปุ กรณ์ครบมือ เช่น ปื นยิงแห ปื นไฟฟ้ า ปื นพก ปื นลูกซอง ปื นกลเบา ปื นไรเฟิ ล ระเบิดมือ อุปกรณ์ต่อต้านการจลาจล ฯลฯ หน่วยงานนี้ก่อตั้งในช่วงพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็ น นายกรัฐมนตรี ช่วงนั้นประเทศไทยมีภยั คุกคามจากต่างประเทศมากมาย ท่านจึงได้จดั ตั้งหน่วยงานนี้ข้ ึนเพื่อป้ องกันภัย คุกคาม 12 ซึ่งภาพในบิลบอร์ดตรงข้ามกับข้อความที่เขียนไว้วา่ บ้านเมืองร่ มเย็นสงบเรี ยบร้อย (ไม่มีผกู ้ ่อการร้าย)
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี , อรินทราช 26, เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8 12
%8A_26 .
แต่ทาํ ไมจึงต้องมีหน่วยรักษาความปลอดภัยไว้ตลอดเวลา แสดงถึงการประชดประชันสังคมไทยที่มกั จะทําอะไรย้อนแย้ง กันอยูเ่ สมอ
ภาพเหตุผลที่ 9 แปลงศิลปวัฒนธรรมให้เป็ นทุน แปลงวีรบุรุษให้เป็ นทุน (ภาพซ้าย) ภาพเหตุผลที่ 10 บ้านเมืองร่ มเย็นสงบเรี ยบร้อย (ไม่มีผกู ้ ่อการร้าย) : อริ นทราชเอื้ออาทร (ภาพขวา)
เหตุผลที่ 11 มีขอ้ ความว่า เมืองไทยเมืองพุทธ : นรกคือคนอืน่ โดยผลงานเป็ นภาพชายไทยนัง่ สมาธิ เสี ยดสี ถึงนิสยั คน ไทยที่สร้างภาพให้ประเทศของตนว่า เป็ นเมืองพุทธ เมืองแห่งคนดี อยูใ่ นศีลธรรมจรรยา นําเสนอแต่ดา้ นดีของตน แท้จริ งแล้วก็ไม่ได้ดีตามมายาคติที่คิดไว้ ไม่เพียงเท่านี้ยงั พาดพิงสิ่ งที่ไม่ดีให้ประเทศอื่น หรื อคนอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตวั เรา เหตุผลที่ 12 มีขอ้ ความว่า งามอย่ างมีคุณค่ า : สวยอย่ างลีล้ บั เป็ นภาพที่มาจากผลงาน ความซํ้าซากอันเป็ นนิรันดร์ ที่เป็ น หุ่นไฟเบอร์กลาสสาวไทยใส่ชุดไทยไหว้โค้งคํานับอย่างอ่อนช้อย แต่สมองกลวง เปลือกนอกเป็ นดัง่ มายาคติที่คนไทย กําหนดให้วา่ คือความเป็ นไทย อันได้แก่ กริ ยามารยาท การไหว้ที่อ่อนน้อมถ่อมตน เป็ นภาพลักษณ์ที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน แต่ในอีกด้านหนึ่งอาจมองได้วา่ คนไทยมักทําอะไรซํ้าซาก ทําตามๆ กัน ทําเพราะความเคยชิน และ เชื่องช้า อย่างที่กล่าวไว้ ว่าสวยอย่างมีคุณค่า แต่ไม่ทรงคุณค่า
ภาพเหตุผลที่ 11 เมืองไทยเมืองพุทธ : นรกคือคนอื่น
ภาพเหตุผลที่ 12 งามอย่างมีคุณค่า : สวยอย่างลี้ลบั
นิทรรศการสู ตรสําเร็จความเป็ นไทย ปี พ.ศ. 2548 จัดแสดงที่ 100 ต้นสนแกลเลอรี่ กรุ งเทพฯ เป็ นนิทรรศการที่ วิพากษ์ถึงความเป็ นไทยที่ถูกทําซํ้า ผลิตซํ้า เรี ยกได้วา่ เป็ นไทยแบบสูตรสําเร็ จ ภายในนิทรรศการประกอบด้วยผลงาน หลายชิ้นด้วยกัน ดังนี้ วอลล์ เปเปอร์ ไทย บนผนังห้องนิทรรศการเต็มไปด้วยวอลเปเปอร์รูปหญิงไทยใส่ชุดไทยพนมมือไหว้ แต่ทว่ามี ทรงผมแบบฝรั่ง ผลงานชิ้นนี้ประชดประชันภาพลักษณ์ของหญิงไทยที่อ่อนช้อยด้วยการให้ภาพของผูห้ ญิงพนมมือไหว้ และฉี กยิม้ อย่างกว้างขวาง ดวงตาเบิกโต ใบหน้าค้างราวกับโดนบังคับให้ยมิ้ ถูกวางเรี ยงรายทัว่ พื้นผนัง ก่อให้เกิดการเน้น ยํ้าความหมายที่วา่ ความเป็ นแบบแผน และมายาคติอนั ไม่มีที่สิ้นสุด โดยเฉพาะเรื่ องการฉี กยิม้ อาจเป็ นเพราะเมืองไทย ได้ ชื่อว่า สยามเมืองยิม้ ดังนั้นจึงต้องฝื นยิม้ ไปเพื่อเป็ นไปตามายาคติที่ได้กาํ หนดไว้ วีรบุรุษ วีรสตรี เทคนิค จิตรกรรม, ไม้ และโมเดลวีรบุรุษ-วีรสตรี เทคนิค แก้ว, กระดาษ, หลอดฟลูออเรส เซนต์, ไม้, โต๊ะ สิ่ งเหล่านี้แสดงถึงความเป็ นไทยในด้านของการสรรเสริ ญเยินยอวีรบุรุษไทย วีรสตรี ไทยที่ใครออกรบ รักชาติบา้ นเมือง คนเหล่านั้นเป็ นดัง่ ต้นแบบให้ลูกหลานชาวไทยนับหน้าถือตา เพราะยิง่ รักชาติมาก คนเหล่านั้นก็ยง่ิ มี ชื่อเสี ยงมาก ถือว่าเป็ นต้นทุนที่กอบกูช้ ื่อเสี ยงให้ประเทศ เป็ นการโฆษณาและเป็ นหน้าเป็ นตาให้กบั ประเทศว่าคนไทยใน ปั จจุบนั รักชาติยง่ิ ชีพ แท้จริ งแล้วใช้ตน้ ทุนจากอดีตมาต่อลมหายใจต่างหาก นอกจากนี้ยงั ทําให้นึกถึงการสร้างอนุสาวรี ย ์ แห่งชาติในช่วงชาตินิยมซึ่งรู ปแบบเป็ นฉบับทางการ มีแบบแผน เป็ นสูตรสําเร็ จที่มกั ทําตามๆ กันมา ตึกไทยระฟ้า เทคนิค แก้ว, ไม้, กระดาษ, หลอดฟลูออเรสเซนต์, ภาพถ่าย, โต๊ะ บ้านทรงไทยแต่เรี ยงตัวเป็ นตึก สูง ถามว่าเป็ นไปได้หรื อไม่ที่จะผสมผสานความเป็ นไทยกับความเป็ นสากล เรื อนไทยถือเป็ นการหยิบยืมวัฒนธรรมการ อยูอ่ าศัยแบบไทยมาใช้ และพยายามปรับให้เป็ นสากล เย้ยหยันถึงนิสยั คนไทย ซึ่งเมื่อฝรั่งมีอะไร ก็ตอ้ งเอามาปรับเพื่อให้ เป็ นของตนไปหมด และทําให้นึกถึงช่วงศิลปะสร้างชาติ ที่มีศิลปะแบบแผนที่วา่ ด้วยการสร้างอาคารแบบตะวันตก แต่มี จัว่ แบบไทย เป็ นการผสมผสานให้ชาติตนได้ชื่อว่า ชาติผมู ้ ีอารยธรรม และทําให้เป็ นของของตนเอง มืออาชีพชายไทย เทคนิค ไฟเบอร์กลาส, เสื้ อยืด หุ่นชายไทยพนมมือไหว้ ทั้งหน้าตา ทรงผม และชุดท่อนล่างมี ลักษณะเป็ นไทยโบราณ แต่สวมเสื้ อยืดที่มีความเป็ นปัจจุบนั ชายไทยคนนี้มีการผสมผสานวัฒนธรรมเก่ากับวัฒนธรรมใหม่ เข้าด้วยกัน ซึ่งดูแล้วแนบเนียนราวกับมืออาชีพ ก็เหมือนกับคนไทยที่นาํ ทั้งสองวัฒนธรรมมาผสมกันจนกลายมาเป็ น วัฒนธรรมไทยแบบใหม่ๆได้โดยไม่ขดั เขิน อนึ่งการไหว้เป็ นดัง่ สูตรสําเร็ จที่ชาวไทยทําตามๆ กันมาจนเคยชิน สู ตรสําเร็จประเทศไทย (นักเรียน) เทคนิค สี ฝน, ุ่ คอมพิวเตอร์กราฟฟิ ก, อิงค์เจ็ท ภาพนักเรี ยนชายหญิงที่ทุกคนมี หน้าตาเหมือนกัน นัง่ ท่าเดียวกัน ทรงผม เก้าอี้เหมือนกันและมีจาํ นวนมาก แสดงถึงสูตรสําเร็ จความเป็ นไทยในแง่ของการ ซํ้า ความเป็ นแบบแผน ซึ่งผลงานชิ้นนี้อาจโยงไปถึงในช่วงจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มกั จะหาแบบแผนให้กบั ประเทศ ไทย เพื่อให้รู้วา่ สื่ อถึงการรักชาติ โดยหน้าตาของนักเรี ยนในภาพมีลกั ษณะเหมือนกับคนในยุคนั้นเช่นกัน เช่นเดียวกับ ผลงานสู ตรสําเร็จประเทศไทย (ใบหน้ านักเรียน) ที่เต็มไปด้วยภาพใบหน้านักเรี ยนชายหญิงซํ้ากันอย่างเป็ นระเบียบก็ให้ ความหมายเดียวกัน
กระดานดําถูกติดตั้งไว้หน้าโต๊ะนักเรี ยนทําให้นึกถึงห้องเรี ยนแบบไทยๆ และบนกระดานดํามีภาพของนักเรี ยน หญิงที่ใส่ชุดนักเรี ยน แต่ใส่โจงกระเบน พร้อมแนะนําว่า เชิญพิมพ์แล้วนํากลับ เป็ นการเขียนโดยใช้ชอล์ค ส่วนโต๊ะ นักเรี ยนถูกวางเรี ยงรายอย่างเป็ นระเบียบ แต่ละโต๊ะจะแกะเป็ นภาพและคําต่างๆ เช่น สวรรค์ในอกนรกในใจ ดีชวั่ รู ้หมด แต่อดไม่ได้ เลียแข้งตัวเอง ภาพนิ้วกลางอันแสนอ่อนช้อย สวัสดิกะอันแสนอ่อนช้อย นางวันทองเหยียบเรื อสองแคม แฝดสยาม (อ้ายจุกกับเจ้ามิคกี้) ในส่วนของภาพแสดงความเป็ นไทยได้ดีที่สุดเพราะหยิบยืมภาพลักษณ์แบบไทยมาใช้ เช่น มือในลายไทย นางในวรรณคดีอย่างนางวันทอง อ้ายจุกที่สื่อถึงทรงผมเด็กไทยในสมัยก่อน หรื อแฝดอินจันที่เป็ นแฝด สยามคนแรกของโลก ทั้งข้อความและภาพเย้ยหยันถึงนิสยั ของคนไทย หรื อความเป็ นไทยที่นิยมนําเอาตัวตนไปประสม ปนเปกับชาวตะวันตก หรื อจะมีส่วนร่ วมกับทุกอย่างที่เกิดขึ้นบนโลก สิ่ งต่างๆ สามารถทําให้เป็ นไทยได้ สูตรสําเร็ จความ เป็ นไทยที่ปรากฏออกมามีท้ งั เรื่ องการเรี ยนการสอนแบบไทยๆ และลักษณะของคนไทยผ่านข้อความและภาพการแกะโต๊ะ
นิทรรศการสู ตรสําเร็ จความเป็ นไทย
มืออาชีพชายไทย
วีรบุรุษ
ใบหน้ านักเรี ยน
ตึกไทยระฟ้ า
กระดานดํา
ภาพแกะโต๊ะจากนิ ทรรศการสู ตรสําเร็ จความเป็ นไทย
เก่ ง โกง เก่ ง โกง : ลูกหลานศรีธนญชัย ปี พ.ศ.2550 ผลงานเทคนิคออฟเซ็ทพิมพ์ 2 สี , วาดเส้น, แสงไฟ จัดขึ้น ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุ งเทพมหานคร ศิลปิ นสร้างสรรค์ผลงานจากวอลเปเปอร์ที่มีความเป็ นไทยด้วยรู ปลักษณ์ลาย พุม่ ข้าวบิณฑ์ เป็ นการหยิบยืมลายไทยที่มีต้ งั แต่สมัยสุโขทัย ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์มาจากความเชื่อที่วา่ ความอุดมสมบูรณ์พนู สุข ประชาชนอยูด่ ีกินดี จึงได้นาํ ข้าวปลามาทําบุญตักบาตรคนละหนึ่งทัพพี จนทําให้ขา้ วพูนขึ้นพ้นบาตรจึงกลายเป็ นภาพ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ (คําว่า พุม่ ข้าวบิณฑ์ มาจากคําว่า พูนข้าวบิณฑบาตร) 13 ผลงานมีพ้ืนหลังสี แดง ส่วนตัวหนังสื อและ ลายไทยมีสีเหลือง ศิลปิ นจัดให้คาํ ๆหนึ่งในแต่ละช่องอ่านได้สองอย่าง คือ เก่ง-โกง และ Great-Cheat ด้วยคําพูดทั้งเก่ง และโกงที่มกั มีอยูใ่ นตัวของผูน้ าํ ประเทศและรัฐบาลทั้งนั้น หากผูช้ มคือคนไทยจะเข้าใจความหมายของการประชดชันถึงคํา สองคํานี้ เรี ยกได้วา่ ความหมายแสดงถึงความเป็ นอยูข่ องคนไทยในสังคมที่อุดมไปด้วยคนเก่งและคนโกงในคนๆ เดียวกัน เฉกเช่นกับตัวละครในเรื่ องเล่าของไทยอย่างศรี ธนญชัย ที่คนไทยชื่นชมเป็ นอย่างยิง่ ในเรื่ องเชาว์ปัญญา แต่ทว่าเป็ นการ แก้ปัญหาที่ค่อนข้างโกง จึงไม่แปลกที่คนไทยจะยอมรับคนที่เก่งแต่โกงได้ นอกจากนี้ยงั มีหุ่นที่ทาํ ท่าสมาธิ แต่ภายในเขียนว่า ดีชวั่ รู ้หมดแต่อดไม่ได้ รู ปทรงของหุ่นสื่ อถึงความเป็ นไทย เพราะมีลกั ษณะอ่อนช้อยเหมือนตัวละครในจิตรกรรมไทย ส่วนคําพูดที่อยูภ่ ายในขัดแย้งกับตัวหุ่นที่ทาํ สมาธิอย่างเห็นได้ชดั เรี ยกได้วา่ คนไทยแยกแยะว่าสิ่ งไหนดีส่ิ งไหนชัว่ ได้ แต่เวลาปฏิบตั ิจริ งมักจะทําไม่ได้อย่างที่รู้มา หรื อทําอะไรก็ได้ตามใจ ตนและคิดว่ามันไม่ผิด ผลงานเป็ นดัง่ การวิพากษ์ตวั ตนของคนไทยในสองด้านที่มกั มีความขัดแย้งอยูใ่ นตัว
ภาพจากนิทรรศการ เก่ง โกง เก่ง โกง : ลูกหลานศรี ธนญชัย
9 วิธีทาํ ให้ ราษฎรไทยรักประชาธิปไตย ผลงานในปี พ.ศ. 2550 ผลงานวาดเส้นบนพื้นใต้โต๊ะ ติดตั้งที่กาํ แพง ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหอศิลป์ สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิพระบรมราชินีนาถ ภายในนิทรรศการ ประกอบด้วย กระดานดําที่เขียนกลับหัว การวางโต๊ะให้มีลกั ษณะควํ่าลง สองสิ่ งนี้ลอ้ เลียนถึงลักษณะนิสยั ของคนไทยที่มกั ________, ลายไทย ลายพุ่มข้ าวบิณฑ์ , เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก
13
http://www.pamanthai.com/products/linethai1/LT-040.htm.
ทําอะไรจะต้องกลับค่า หรื อต้องหาเหตุผลที่แปลกๆ เหตุผลที่เป็ นนิสยั เคยชิน หรื อเหตุผลที่เอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเองมา อ้างถึงจะยอมรับและปฏิบตั ิตาม ผลงานชุดนี้เป็ นการหยิบยืมความเป็ นไทยในเรื่ องของตัวหนังสื อ ภาพประกอบ รวมถึง การวิพากษ์นิสยั ของคนไทยผ่านข้อความและภาพประกอบ โดยแต่ละข้อมีดงั ต่อไปนี้ 1.รวยถ้วนหน้า ประชาธิปไตย มีขอ้ ความว่า “กระจายความรวย ทําให้เป็ นทุนนิยม ใช้กลยุทธทางการตลาดเข้า มาส่งเสริ มพัฒนาประชาธิปไตย ทําให้เป็ นประชานิยม ทําให้เห็นกันจะๆ ว่าเป็ นประชาธิปไตยแล้วดี…รวย” ภาพใน ผลงานเป็ นภาพชายไทยหญิงไทยขี่ควายที่มีวตั ถุที่ไม่จาํ เป็ นพร้อมทุกอย่างทั้งคอมพิวเตอร์ มือถือ รถยนต์ แสดงให้เห็นว่า ถ้าเอาความรํ่ารวยมาล่อคนไทย เชื่อว่าประชาธิปไตยจะถูกยอมรับมากยิง่ ขึ้น 2.ทําให้กลายเป็ นไทย โดยมีขอ้ ความว่า “ รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยไทย ไม่ใช่ของนําเข้าจากฝรั่ง ชาติ ไทยมีรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยมาแต่โบราณกาลแล้ว ก่อนฝรั่งเสี ยอีก นํามาแปลงโฉม “โม” (modify) มันซะ นํามา ฟอกและพอกแล้วฉาบด้วยความเป็ นไทย รื้ อหาค้นหลักฐานจากอดีต ยิง่ เก่ายิง่ ดี พิสูจน์ไปเลยว่าประชาธิปไตยนั้นแท้จริ ง แล้วชาติไทยมีมาก่อนใคร” ส่วนภาพในผลงาน เป็ นศิลาจารึ กที่สื่อถึงความเป็ นประวัติศาสตร์ไทยอันก่าแก่ ถ้าหาก ประชาธิปไตยคือของคนไทยที่มีมาแต่นาน หรื อเป็ นชาติแรกที่คน้ พบ คนไทยจะยอมรับ ภูมิใจและปฏิบตั ิตาม ประชาธิปไตยโดยไม่ขดั ข้อง 3.ทําให้ทนั สมัย มีขอ้ ความว่า “โละทิ้งภาพลักษณ์ที่เคร่ งรึ มแบบราชการ ทําให้ทนั สมัย ทําให้เป็ นพ็อพคัลเจอร์ โดนใจคนรุ่ นใหม่” ภาพในผลงานเป็ นภาพคนเล่นสเก็ตช์ และภาพพานที่สื่อถึงความเป็ นประชาธิปไตย แต่เป็ นภาพที่เป็ น วัฒนธรรมนิยม (Pop Culture) การที่ทาํ ให้ประชาธิปไตยไม่เคร่ งขรึ ม ทําให้เข้ากับยุคสมัย หรื อปรับให้เข้ากับความนิยม ของคนไทยรุ่ นใหม่ จะทําให้ประชาธิปไตยน่าสนใจกว่าการทําเป็ นแบบทางการ 4.เป็ นของสูง มีขอ้ ความว่า “ทําให้ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเป็ นตํานาน หรื อรู ปเคารพที่เฮี้ยนมีความขลัง” ภาพในผลงานเป็ นภาพคนสวมจตุคามรามเทพ ซึ่งเป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ที่คนส่วนใหญ่เชื่อและศรัทธา หากมีไว้ติดตัวจะแคล้ว คลาดปลอดภัย จตุคามเป็ นดัง่ การประชดประชันเรื่ องกระแสนิยมของคนไทย เพราะมีช่วงเวลาหนึ่งที่คนไทยนิยมซื้อมา ไว้ติดตัว เพื่อความสบายใจ ถ้าหากประชาธิปไตยเป็ นของขลัง เป็ นความเชื่อ หรื อเป็ นวัตถุนิยมของคนไทยเหมือนกับ จตุคาม ประชาธิปไตยไทยคงจะมีความศักดิ์สิทธิ์ เป็ นที่น่าเชื่อถือ และมีผปู ้ ฏิบตั ิตามมากเป็ นทวีคูณ 5.ประชาธิปไตยเถิดเทิง มีขอ้ ความว่า “ทําให้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยให้เป็ นส่วนหนึ่งของความบันเทิงที่ เป็ นเอกลักษณ์ประจําชาติ เปลี่ยนโฉมหน้ารัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตยไม่ให้ข้ ึนหิ้งบูชา ไม่กล้าเอาไปใช้ สมควร จะต้องทําให้เป็ นเรื่ องสนุกเถิดเทิงตามลักษณะประจําชาติ” ส่วนภาพในผลงานเป็ นผูค้ นร่ วมกันเฉลิมฉลอง เหมือนกับการ จัดงานปาร์ต้ ี เพราะคนไทยชอบความบันเทิง หากประชาธิปไตยเป็ นเรื่ องสนุกสนานรื่ นเริ งอย่างงานปาร์ต้ ี ให้กินให้ดื่ม เต็มที่ รับรองว่าประชาธิปไตยจะเป็ นที่สนใจกับคนไทยมาก 6.เซ็กซี่ ทําให้เซ็กซี่ มีขอ้ ความว่า “ลดความเคร่ งขรึ ม เติมความเซ็กซี่ให้แก่ประชาธิปไตย เช่น จัดให้มีสาวเชียร์ รัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตย หรื อพริ ตตี้รัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตย หรื อจัดประกวดโคโยตี้เต้นเพลงปลุกใจหรื อ
เพลงเพื่อชีวติ ” ส่วนภาพในผลงานคือ ผูห้ ญิงแต่งชุดนุ่งสั้นโชว์เรื อนร่ าง แสดงให้เห็นว่า หากมีการแต่งตัวเช่นนี้ไปเป็ น พริ ตตี้ประชาธิปไตย แต่งไปเป็ นนักร้องร้องเพลงปลุกใจ เชื่อว่าคนไทยโดยเฉพาะชายไทยจะให้ความสนใจมากยิง่ ขึ้น สังเกตได้จากงานมอเตอร์โชว์ที่มีพริ ตตี้สวยๆ อยูม่ ากมาย มีผใู ้ ห้ความสนใจและไปร่ วมงานอย่างล้นหลาม 7.ทําการผลิตซํ้า มีขอ้ ความว่า “ทําลายความเป็ นต้นแบบต้นฉบับที่มีเพียงหนึ่งเดียว ต้องทําการผลิตซํ้าสัญลักษณ์ รัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตย กลายเป็ นวัตถุมหาชน เช่น ผลิตหมุด 2475 กระจายออกไปติดตั้งทัว่ ทั้งประเทศ เช่น 1 หมุด 1 ตําบล จัดสร้างอนุสาวรี ยป์ ระชาธิปไตย 1 อนุสาวรี ย ์ 1 ตําบล” ส่วนภาพในผลงานเป็ นภาพแผนที่ประเทศไทยที่ ภายในมีอนุสาวรี ยป์ ระชาธิปไตยซํ้าๆ กันอยูท่ วั่ ทุกพื้นที่ หากการจัดทําอนุสาวรี ยป์ ระชาธิปไตยให้เป็ น 1 อนุสาวรี ย ์ 1 ตําบล ดัง่ เช่นโอท๊อป สิ นค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ตามนโยบายของรัฐบาล) ประชาชนคงให้ความสนใจกับประชาธิปไตย มากยิง่ ขึ้น 8.ทําให้จาํ ปรากฏภาพซํ้าของหญิงชายใส่ชุดไทย พนมมือไหว้ พร้อมกับท่องคําพูดเพียงคําพูดเดียวว่า “ประเทศ ไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข” ซึ่งการซํ้า และระบบท่องจําแบบในตํารา เรี ยนของไทย หากมาปรับใช้ในเรื่ องประชาธิปไตยให้คนจําอย่างซํ้าๆ ก็จะทําให้เป็ นที่รู้จกั มากยิง่ ขึ้น เพราะคนไทยไม่ชอบ ใช้ความเข้าใจ ชอบเรี ยนรู ้แบบการท่องเป็ นนกแก้วนกขุนทองเสี ยมากกว่า 9.ที่สุดในโลก “สร้างรัฐธรรมนูญที่ใหญ่และมากที่สุดในโลก” ส่ วนภาพในผลงานเป็ นภาพอนุสาวรี ย ์ ประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญ่มหึ มา ถ้าหากคนไทยสร้างประชาธิปไตยให้มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เชื่อว่าคนไทยจะสนใจ ประชาธิปไตยมากขึ้น เพราะนิสยั ของคนไทยชอบเป็ นที่หนึ่งในโลกและชอบสิ่ งที่เป็ นหน้าเป็ นตาให้กบั ตนเสมอ ผลงานชุดนี้เป็ นดัง่ การวิพากษ์วจิ ารณ์ถึงประชาธิปไตยในประเทศไทย ว่ามีความเป็ นไปได้มากน้อยเพียงใด ที่ ประชาธิปไตยไทยจะสมบูรณ์ เพราะปั จจัยที่สาํ คัญมาจากลักษณะนิสยั ของคนไทย ด้วยเหตุผลทั้ง 9 ข้อที่กล่าวมา เรี ยกได้ ว่ายากพอสมควร เพราะแทนที่คนไทยจะปรับตัวเพื่อทําความเข้าใจกับประชาธิปไตย แต่กลับต้องให้ประชาธิปไตยปรับตัว เข้าหานิสยั ของคนไทยแทน
ภาพจากผลงานชุด 9 วิธีทาํ ให้ราษฎรไทยรักประชาธิ ปไตย
นิทรรศการโหยสยาม ไทยประดิษฐ์ ปี พ.ศ. 2553 นําเสนอความเป็ นไทยในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครองและ ไทยกําลังสร้างประเทศตนให้เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ของชาวตะวันตก ซึ่งขณะนั้นมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามมาเป็ น ไทย ต้องหาความเป็ นไทย รวมถึงการใช้ศิลปะเข้ามาเปลี่ยนแปลงชาตินาํ ชาติไปสู่สากล จากนิทรรศการนี้แสดงการหยิบ ยืมรัฐนิยมที่มีในสมัยจอมพลป. พิบูลสงครามมาสร้างสรรค์โดยเป็ นยุคที่มีความเป็ นชาตินิยม เต็มไปด้วยประดิษฐกรรมทาง วัฒนธรรม โดยท่านผูน้ าํ พยายามสร้างชาติไทยด้วยการกําหนดวัฒนธรรมต่างๆ ที่เป็ นไทยให้มีระเบียบแบบแผน เพื่อความ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ภายในนิทรรศการได้เปิ ดเพลงปลุกใจในช่วง พ.ศ. 2480 บางเพลงสื บทอดมาจนปัจจุบนั แต่เพลงที่นาํ มาเปิ ดไม่ ค่อยมีคนรู ้จกั เนื่องจากต้องการนําเสนอประวัติศาสตร์ที่ถูกหลงลืม เพลงปลุกใจแสดงถึงความเป็ นชาตินิยม หรื อความเป็ น ไทยในช่วงนั้นได้อย่างดี เพราะท่านผูน้ าํ พยายามให้คนไทยฟังเพือ่ ปลูกฝังให้รักชาติและเกิดความสามัคคี เรี ยกได้วา่ เป็ น การใช้สื่อทางเสี ยง เพื่อให้รู้สึกถึงความเป็ นไทยแทนประสาทสัมผัสทางการมอง ห้องมืดกลางห้อง เป็ นผลงาน stop motion14 โดยศิลปิ นเจาะรู เล็กๆที่ผนังและให้ผชู ้ มมองลอดผ่านรู เหล่านั้น ซึ่ง จะเห็นรู ปปั้ นทหาร ที่มีหน้าตาละม้ายคล้ายคลึงกับคนในยุคจอมพล ป. เรี ยงรายอยูเ่ ต็มห้อง เป็ นการหยิบเอาความเป็ นไทย เรื่ องการแต่งตัว และหน้าตาในยุคชาตินิยมมาใช้ ทหารเหล่านี้กาํ ลังมองดูแผนที่ประเทศไทยในแต่ละยุคสมัยว่า เปลี่ยนแปลงอย่างไร (โดยแผนที่ทาํ เป็ นเทคนิค stop motion) และผูช้ มก็มองทหารเหล่านั้นที่กาํ ลังมองแผนที่ประเทศไทย ซึ่งแต่ละมุมที่มองผ่านรู เปรี ยบได้กบั ผูด้ ูที่เฝ้ ามองประวัติศาสตร์ ต่างคนต่างมุมมอง เพราะเมื่อมองผ่านรู ที่เจาะไว้จะเห็น ไม่เหมือนกัน ดังนั้นการรู ้จกั ประวัติศาสตร์ของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ผนังดําเขียนด้วยชอล์ก มีครู อยูห่ น้ากระดานดําทั้งเขียนและลบเป็ นร่ องรอยต่างๆ คําที่เขียนถือเป็ นประวัติศาสตร์ แบบรองๆ และมีอยูม่ ากมาย ขึ้นอยูท่ ี่วา่ คนอ่านจะสนใจข้อความในวรรคใด หรื อจะเลือกจําสิ่ งใด ข้อความเช่น คําประกาศของคณะราษฎร์ ที่ประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 น้อยคนที่ได้ยนิ หรื อเคยอ่าน ต้องตั้งใจเพราะมีขอ้ ความมาก บางท่อนเบลอ เพราะถูกลบเลือน และทั้งหมดทั้งปวงคงไม่มีใครอ่านตามทุกคํา ซึ่งเปรี ยบ ได้กบั คนไทยที่ไม่ได้รู้จกั ประวัติศาสตร์ชาติไทยได้หมดเสี ยทีเดียว บางอย่างก็ถูกลืม บางอย่างก็คอ่ ยๆเลือนลางจางไป ป้ ายต่างๆ เช่น คําขวัญ โฆษณาชวนเชื่อ สร้างความปลุกใจได้เช่นกัน แสดงออกถึงความเป็ นไทย ศิลปิ นหยิบยก สิ่ งที่ท่านผูน้ าํ ได้กล่าวไว้ในรัฐนิยมมาหวลรําลึก ไม่วา่ จะเป็ นคําพูดติดหูอย่าง “ เชื่อผูน้ าํ ทําให้ชาติพน้ ภัย” อีกทั้งเรื่ องการ รําวง ใช้คาํ ขวัญว่า “เพื่อมหาอาณาจักรเราควรจะปรับรําวงเพื่อชาติ” ซึ่งสมัยนั้นจัดตั้งให้เป็ นแบบแผนในเรื่ องวัฒนธรรม ของชาติ และสิ่ งที่สะท้อนความเป็ นชาตินิยมได้อีกประการหนึ่งคือ การปรับปรุ งอักษรไทยที่ท่านผูน้ าํ ได้ปรับใหม่ให้เป็ น แบบแผนในอีกลักษณะหนึ่ง เช่น คําว่าวัฒนธรรม เขียนเป็ น วัธนธัม คําว่า กระทรวง เขียนเป็ น กะซวง 15 เป็ นต้น ทั้งนี้ในผลงานยังมีขอ้ ความต่างๆ ที่นาํ มาเขียนบนกระดานและป้ ายคําขวัญ เช่น เราเชื่อ เราไว้วางใจในผูน้ าํ ไทย
14
Stop Motion หรื อเรี ยกว่า Model Animation เป็ นการถ่ายภาพแต่ละขณะของหุ่นจําลองที่ค่อยๆขยับ อาจจะเป็ นของเล่น หรื ออาจจะสร้างจาก plasticine วัสดุที่คล้ายกับดินนํ้ามัน โดยโมเดลที่สร้างขึ้นสามารถใช้ได้อีกหลายครั้ง และยังสามารถ ผลิตได้หลายตัว แต่การทํา stop motion ต้องอาศัยเวลาและความทุ่มเทมาก.________, ประวัตแิ ละภาพยนตร์ แอนนิเมชั่น, เข้าถึงเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://nattanichaq.blogspot.com. 15 ________, การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม (ตอนที่ 4 ตอนจบ), เข้าถึงเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.kroobannok.com/60085.
วิดีโอ ที่เกิดจากการแสดงการเขียนกระดาน สื่ อถึงความเป็ นอดีตอันเลือนลาง ซึ่งเป็ นตัวศิลปิ นเองแต่งตัวเป็ นครู ไทยที่หนั หลังเขียนกระดานไปเรื่ อยๆ และพูดตามที่เขียน ประชดประชันถึงการเรี ยนแบบสังคมไทย เขียนไปเรื่ อย เล่า เรื่ องประวัติศาสตร์ไปเรื่ อยๆ โดยทําซํ้าแล้วซํ้าเล่า บ้างก็ลบไปมา ใครจะจําหรื อไม่ก็ไม่ได้สนใจ เหมือนกับคนไทยที่ปล่อย ให้ประวัติศาสตร์ถูกลบเลือน การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็ นนโยบายเด่นที่ทาํ ให้ประชาชนคนไทยต้อง ประสบกับความพิสดารทางวัฒนธรรมอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน แต่นนั่ ก็เป็ นการมุ่งหวังให้ประเทศชาติเจริ ญก้าวหน้า ทัดเทียมอารยประเทศที่เคยดูถูกดูแคลนความเป็ นไทย อย่างฝรั่งเศสและอังกฤษ ทั้งยังเป็ นการสร้างเอกลักษณ์ของชาติให้ มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แตกแยกไปตามวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุ์ซ่ ึงมีอยูอ่ ย่างหลากหลายในประเทศ16 เรี ยกได้วา่ นิทรรศการนี้หยิบยืมความเป็ นไทยในแง่การเมืองและประวัติศาสตร์มาใช้ ผูด้ ูจะมีภาพจําประวัติศาสตร์ที่มีต่อ ชาติไทยในสมัยรัฐนิยม และจะปรากฏความรู ้สึกเป็ นไทยผ่านทางภาษา คําขวัญ เสี ยงเพลง และสอดแทรกการวิพากษ์ถึง ความคิดที่ศิลปิ นมีต่อวัฒนธรรมและการสร้างชาติที่ตอ้ งทําทุกสิ่ งอย่างเป็ นแบบแผน เป็ นมาตรฐานอันหนึ่งอันเดียวในสมัย นั้น ขณะเดียวกันคนไทยในปั จจุบนั ก็หลงลืมประวัติศาสตร์การสร้างชาติที่คนในอดีตได้สร้างไว้
ภาพจากนิ ทรรศการโหยสยาม ไทยประดิษฐ์ 16
เรื่ องเดียวกัน
ดีเป็ นบ้ า 2555 นิทรรศการเดี่ยวของสุธี ด้วยชื่อนิทรรศการทําให้ผชู ้ มเกิดความคิดกํากวมว่า ดีเป็ นบ้า นี้ดีงาม จนกระทัง่ เป็ นบ้าเชียวหรื อ ซึ่งคํานี้คนไทยมักพูดติดหูเช่นกัน ซึ่งสื่อความหมายได้ท้ งั ดีและไม่ดี เหมือนกับประชดประชัน ว่าดีเกินไป ภายในนิทรรศการมีท้ งั คําคมสติ๊กเกอร์ โต๊ะไม้แกะภาพประเทศไทยหัวควํ่า ภาพที่ผสานระหว่างมวยไทยกับ การนวดแผนไทยใส่กรอบรู ป ตัวอย่างคําที่ใช้ลอ้ เลียนถึงความเป็ นไทย เช่น อยากเลิกอยาก เอาอยู่ อย่าโทษนักการเมืองจงโทษประชาชน ดีจะตาย ฉันรักธรรมชาติ (ที่ควบคุมได้) เทพบุตรจอมโกง รักศิลปะแต่เกลียดศิลปิ น ฝูงสัตว์ตอ้ งต้อน ฝูงชนต้องนํา รักประชาธิปไตยแต่เกลียดเสี ยงข้างมาก รสจูบ โลกากระเพื่อม ทีเล่นทีจริ ง อย่ารักฉัน อกหักแต่เท่ เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้ สะท้อนความคิดของศิลปิ นที่มีตอ่ สังคมไทยในเรื่ องวัฒนธรรม การเมือง และศิลปะ นอกจากนี้ตวั หนังสื อที่เลือกใช้สื่อถึง ความเป็ นไทยอย่างเด่นชัดในเรื่ องรู ปแบบอักษรและสี ที่ใช้ มีลกั ษณะคล้ายกับป้ ายโฆษณาภาพยนตร์ไทย การ์ตูนไทย ทั้ง ยังรู ้สึกว่าคล้ายกับสติ๊กเกอร์ที่ใช้ติดตามรถสิ บล้อ เป็ นสิ่ งที่นิยมของคนไทยในสมัยก่อน สิ่ งเหล่านี้เรี ยกได้วา่ แสดงลักษณะ อย่างไทยๆ ที่ชาวต่างชาติมองมาว่าคือรู ปแบบความเป็ นไทย ทั้งที่ไม่ใช่เป็ นศิลปะแบบเป็ นทางการที่คนไทยยอมรับ การ ตีความของผลงานขึ้นอยูก่ บั ความหมายของสติ๊กเกอร์น้ นั ๆ ซึ่งแฝงไว้ดว้ ยเสี ยดสี ถึงลักษณะนิสยั ของคนไทยที่มกั มีความ ขัดแย้งอยูใ่ นตัว ภาพประเทศไทยหัวกลับแสดงความเป็ นชาติไทยที่กลับหัวกลับหาง บางชิ้นก็เป็ นพื้นที่วา่ งสี เหลืองแล้วถูกตัด ออกเป็ นรู ปแผนที่ประเทศไทยสี แดงที่หอ้ ยระโยงระยางกับพื้นที่ท้ งั หมด สื่ อให้เห็นถึงความคิดทางการเมืองที่ศิลปิ นได้แฝง ไว้ ซึ่งเป็ นความขัดแย้งของสองสี แดง เหลืองในประเทศไทย ทําให้ผชู ้ มได้ตระหนักคิดถึงปั ญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยหยิบยกแผนที่และสี มาเป็ นสัญลักษณ์แทนการเมืองไทยในปั จจุบนั ภาพที่ผสานแม่ไม้มวยไทยให้เข้ากับการนวด มีความขัดแย้งภายในตัว ภาพสื่ อถึงความเป็ นไทย โดยภาพบ่งบอก ท่าทางของการนวดแผนไทยที่รุนแรง และการต่อสูแ้ บบมวยไทย เป็ นการหยิบเอาภูมมิปัญญาที่เป็ นวัฒนธรรมไทยมาใช้ เป็ นการเขียนจิตรกรรมแบบไทยที่อ่อนช้อยแต่ใส่ความรุ นแรงลงไป ภาพส่ วนใหญ่จะเป็ นเพศตรงข้ามที่มีท้ งั ไทยและฝรั่ง แสดงความรุ นแรงเกินจริ ง และแฝงไว้ซ่ ึงการประชดประชัน เช่น ชื่อภาพ นวดมหาปลัย (ศีรษะฝรั่ง) เป็ นภาพคนไทยแต่ง ชุดนักมวยนวดที่คอ จนกระทัง่ ใบหน้าฝรั่งกลับด้าน อีกทั้งยังมีภาพวีรบุรุษไทย หญิงในวรรณคดีไทยกําลังทําร้ายตัวเอง โดยเอาดาบมาฟัน ได้แก่ ภาพกลางใจนาง และลาแล้วไทยแลนด์ ตีความได้วา่ ความเป็ นไทยในอดีตได้ตายจากไปแล้ว ซึ่ง เป็ นการทําลายโดยนํ้ามือของคนในชาติเอง
สติ๊กเกอร์ คาํ ขวัญต่างๆ
ภาพประเทศไทยกลับหัว
นวดมหาประลัย (ศีรษะฝรั่ง)
กลางใจนาง
ลาแล้วไทยแลนด์
ผลงานที่ศิลปิ นสร้างสรรค์ข้ ึนในแต่ละครั้งแสดงออกอย่างไทยไทย ซึ่งไทยแรก คือ หยิบเอาความเป็ นไทยที่ใครๆก็ สามารถเข้าใจได้ดว้ ยรู ปลักษณ์ภายนอกที่แสดงออก อาทิ ลักษณะตัวหนังสื อ ลายเส้นตัวละครในวรรณคดีไทยที่อ่อนช้อย นุ่มนวล และไทยต่อมาเป็ นไทยที่มาจากมุมมองของศิลปิ นที่มีต่อความเป็ นไทย แฝงไว้ซ่ ึงความคิดอย่างละเอียดอ่อนที่เต็ม ไปด้วยการล้อเลียน การเสี ยดสี วิพากวิจารณ์สงั คม และการเมืองไทย อาทิ การหยิบยกประวัติศาสตร์สมัยจอมพล ป. พิบูล สงคราม มาวิพากษ์วจิ ารณ์ บางชิ้นงานแฝงไว้ซ่ ึงการวิจารณ์นโยบายของรัฐบาล บางชิ้นงานเป็ นการล้อเลียนถึงนิสยั ของ คนไทยที่มกั มีความขัดแย้งอยูใ่ นตัวเอง บางชิ้นงานหยอกล้อในเรื่ องมายาคติของคนไทยที่พยายามสร้างภาพให้ตนดูดี
ซึ่งสิ่ งเหล่านี้จาํ เป็ นต้องมีประสบการณ์ร่วม จึงจะเข้าใจความหมายที่ศิลปิ นต้องการสื่ อสาร เรี ยกได้วา่ ผลงานทุกชิ้นเป็ น ดัง่ กระจกสะท้อนสังคมไทยให้มองเห็นตัวตนที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั บางชิ้นเหมือนการตั้งคําถาม บางชิ้นเหมือนปล่อย คําตอบที่ตอ้ งคิดต่อไปให้คนไทยฉุกคิดเพื่อให้มีส่วนร่ วมในการตีความทางทัศนะที่มีต่อประเทศและสังคมไทย
เอกสารอ้ างอิง หนังสือ. ชนน์ชนก พลสิ งห์, ความเป็ นไทยแบบร่ วมสมัยในงานศิลปะร่ วมสมัยของประเทศไทย, (การศึกษาโดยเสรี ในแขนงวิชา ประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548) ธนาวิ โชติประดิษฐ์, บรรณวิพากษ์ หนังสือจากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย, เมืองโบราณ 30, 4 (ตุลาคม-ธันวาคม,2547). ประชา สุวรี านนท์, ไทยๆ อัตลักษณ์ ไทย : จากไทยสู่ ไทยๆ, กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, พิมพ์ครั้งที่ 1, 1
1
1
1
2011. สุธี คุณาวิชยานนท์, จากสยามเก่ าสู่ ไทยใหม่ ว่ าด้ วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่ สมัยใหม่ และร่ วมสมัย , กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์บา้ นหัวแหลม, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2546. เว็บไซต์ จําลอง ฝั่งชลจิตร, ไทย ๆ : มองผ่านเลนส์ คม, เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.komchadluek.net/detail/20120124/121001/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8 6.html. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี , อรินทราช 26, เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97 %E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A_26 . 1
_________, การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม (ตอนที่ 4 ตอนจบ), เข้าถึงเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.kroobannok.com/60085. _________, โกอินเตอร์ , เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0 %B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C. _________, บูรณาการ, เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก 1
http://dict.longdo.com/index.php?lang=en&search=%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2 %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3. 1
_________, ประวัตแิ ละภาพยนตร์ แอนนิเมชั่น, เข้าถึงเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://nattanichaq.blogspot.com. __________, พญานกเรียกเงิน วายุภักษ์ ปักษา เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=01f2a0cfd9cb560f.
1
________, ลายไทย ลายพุ่มข้ าวบิณฑ์ , เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2557, เข้าถึงได้จาก 1
http://www.pamanthai.com/products/linethai1/LT-040.htm. สัมภาษณ์ ศิลปิ น ฟังบรรยายจากศิลปิ นสุธี คุณาวิชยานนท์, ศิลปิ นและอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร วันที่ 7 มกราคม 2557
การแปรผันความหมายของผลงานศิลปะ นิรมล เรื องสอาด
การแปรผันความหมายของผลงานศิลปะ โดย นิรมล เรืองสอาด อะไรคือตัวแปรสําคัญที่ทําใหความหมายในผลงานศิลปะบิดเบือนไป มันเปนความตั้งใจของศิลปน หรือความบังเอิญที่เกิดจากความคิดสรางสรรคใหมๆ จากจินตนาการของผูชม หรือจะเปนบริบทและ ความหมายของพื้นที่จัดแสดงที่แทรกตัวลงไปในความหมายของงานศิลปะอยางแนบเนียน ไมวาในยุคสมัยใดก็ตามผลงานศิลปะมักถูกนําไปจัดแสดงในพิพิธภัณฑ หรือหอศิลป(Gallery) ที่ ความหมายของพื้นที่คือสถานที่จัดแสดงผลงานดานศิลปะโดยเฉพาะ ทําใหยังไมมีการรบกวนขากบริบทแวด ลอมรอบดานเทาใด อีกทั้งผูที่เขามาชมก็ตั้งใจมาเพื่อชมผลงานศิลปะ ทําใหความหมายของผลงานชิ้นนั้นๆถูก ถายทอดออกมาอยางครบครัน แตเมื่อหลังจากปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ศิลปนตอตานการคาผลงานศิลปะ ดังนั้นศิลปนจึงเริ่มนําผลงานของตนออกนอกพื้นที่ดังกลาว และใชพื้นที่จริงแทนที่ จนเปนที่มาของศิลปะ ประเภทใหม คือ อินสตอลเลชั่น อารต(Installaion Art) และ คอนเซปชวล อารต(Conceptua; Art) อินสตอลเลชั่น อารต หรือศิลปะจัดวาง เปนรูปแบบของผลงานศิลปะที่ใชเทคนิคเขาไปติดตั้งในพื้นที่ เฉพาะ หรือในพื้น ที่ที่ศิล ปนสรางขึ้นใหม โดยใหความสํ าคัญกั บทุกรายละเอียดที่ปรากฏ เป นรูปแบบของ ผลงานศิลปะใหผูชมเขาไปมีประสบการณรวมกับผลงานศิลปะมากกวาผลงานในรูปแบบเกา ดังนั้นผลงานแนว นี้จึงมีผูชมเปนสวนหนึ่งของผลงาน เพื่อจะใหบรรลุจุดประสงคของการสรางผลงานใหสมบูรณยิ่งขึ้น ศิลปะอิน สตอลเลชั่น อารตนั้นก็มีอิทธิพลมาจากศิลปะแนวคอนเซปชวลอารตที่เชื่อมโยงกัน จากแนวความคิดสูการใช บริบทของพื้นที่ จนทําใหสามารถสรางคุณคาและอรรถรสใหมๆ ในผลงานศิลปะไดมากขึ้น ศิลปนที่เริ่มทํา ผลงานรูปแบบนี้ คือ อลัน คาโพรว (Allan Kaprow) ที่สรางพื้นที่ใหมเพื่อสรางผลงานแนว แฮพเพนนิ่งอารต (Happening Art) เคลล โอลเดินเบิรก (Claes Oldenburg) ที่ใชปูนปลาสเตอรสรางของใชตางๆ จัดวางไปทั่ว หอง
สุธี คุณาวิชยานนท ศิลปนรวมสมัยชั้นแนวหนาของไทย ที่มักจะทํางานศิลปะแนวคอนเซปชวล อารต และอินสตอลเลชั่น อารต เปนอีกหนึ่งศิลปนที่ไดนําโจทยในเรื่องของพื้นที่ ที่มีเรื่องราวและนัยยะที่ตางกันของ ในแตละพื้นที่มาเชื่อมตอและสรางสรรคผลงานศิลปะใหมีความหมายสงเสริมกันและทําใหความหมายที่ออกมา นั้นหนักแนนยิ่งขึ้น ผลงาน ชิ้นที่ 1 ชื่อ “คุณอยูที่นี่(2541)” ที่นําสถานที่ที่ถูกทิ้งรางมานานมาเปลี่ยนบริบทใหมใหเปน สถานที่แสดงผลงานศิลปะ จนเสมือนทําใหพื้นที่นั้นมีชีวิตขึ้นมาอีกครั้ง สถานที่นั้นคือ โรงพิมพคุรุสภาเกา บริเวณขางปอมมหากาฬ ถนนพระอาทิตย กรุงเทพฯ ลักษณะของผลงานชิ้นนี้ คือ ศิลปนไดนําผงฝุนจากในโรงพิมพที่เกาะอยูทั่วบริเวณ มาเรียงเปนคําวา “ชั่วฟาดินสลาย” “คุณอยูที่นี่” ในบริเวณโรงพิมพ คําที่ศิลปนหยิบยกมาใช มักเปนคําที่เราพบเห็นไดบอยใน ชีวิตประจําวัน หรือเปนคําที่มักใชบงบอกสถานะและความรูสึกของเราในชวงขณะนั้น แตดวยตัววัสดุที่ศิลปน นํามาใชคือ ผงฝุน เมื่อเวลาผานไปผงฝุนอาจถูกลมพัดจนทําใหคําที่ศิลปนสรางมามีการเลือนและหายไปใน ที่สุด เพราะบรรยากาศบนโลกมีการเคลื่อนไหวอยูเสมอ ทุกอยางลวนถูกทําลายลงไปตามกาลเวลา ไมตางจาก คําสอนทางพระพุทธศาสนาไดบอกไววา ทุกอยางลวนมีการเกิดและดับไปทั้งสิ้น อาจตีความจากทั้งวัสดุและ ความหมายของคําที่ศิลปนเลือกใชในผลงานชิ้นนี้ไดวา ปจจุบันอาจไมมีอยูและสิ่งที่เห็นอาจไมใชความจริงแท แนนอน แตทั้งหมดนั้นเปนเพียงวาทกรรมที่มนุษยสรางขึ้น เพื่อพยายามแบง หรือบงบอกสถานะของตนเองใน ชั่วขณะหนึ่ง
คุณอยูที่น,ี่ 2541 โรยฝุนจากโรงพิมพครุ ุสภา ยาวประมาณ 30 ซม. นิทรรศการ: รวมแสดงในหนังสือ โรงพิมพครุ ุสภา ถนนพระอาทิตย กรุงเทพฯ 2541
ชั่วฟาดินสลาย, 2541 โรยฝุนจากโรงพิมพครุ ุสภา ยาวประมาณ 30 ซม. นิทรรศการ: รวมแสดงในหนังสือ โรงพิมพครุ ุสภา ถนนพระอาทิตย กรุงเทพฯ 2541
ผลงานชิ้นที่ 2 ชื่อ “ แฝดสยาม (2542) ” เปนผลงานตุกตายางซิลิโคนที่สามารถเปาลมเขาไปใหพอง 16
ได มีลักษณะเปนรูปรางคน 2 คนที่มีสวนใดสวนหนึ่งของรางกายติดกันเสมือนกับคนที่เปนแฝดสยามจริง ซึ่งใน การแสดงผลงานครั้งนี้ ศิลปนไดมีโอกาสนําผลงานออกไปแสดงนอกแกลเลอรี ทําใหเกิดผูชมหนาใหมจากแต ละพื้นที่ ซึ่งผูชมในแตละพื้นที่ไดตีความผลงานชิ้นนี้ในแนวทางที่ตางกัน จากประสบการณที่ผานเขามาในชีวิต ของแตละบุคคลที่มีลักษณะแตกตางกันออกไป อยางการนําเสนอผลงานในพื้นที่ยานสยามสแควร ที่มีชื่อพองกับชื่อผลงาน แฝดสยาม ซึ่งบริบทของ พื้นที่นี้ คือยานการคาขนาดใหญ มีโรงภาพยนตร รานคาเสื้อผาที่นําสมัย อีกทั้งยังเปนที่ตั้งของบริษัทเพลงชื่อ ดัง เปนแหลงขึ้นชื่อวามีแมวมองมาตามหาดาราหนาใหมมากที่สุด และยังเปนยานที่มีบริษัทสินคาตางๆ มาจัด กิจกรรมเพื่อทําการโปรโมทสินคาของตน แมกระทั่งผลงานศิลปะเองก็ยังสามารถพบเห็นไดอยางชินตาเชนกัน จากบริบทของพื้นที่บริเวณนี้ทําใหกลุมคนที่มาใชพื้นที่บริเวณนี้เปนกลุมวัยรุนที่มีนิสัยกลาคิดกลาทํา แตงตัว ทันสมัย ทําใหผูที่เขามาชมและมีสวนรวมกับกิจกรรมจากผลงานชิ้นนี้ไมไดมีความแปลกใจ แตหากจะพยายาม เขามารวมสนุกมากกวาพื้นที่อื่นดวยความคุนเคยจากกิจกรรมที่มักจัดในพื้นที่อยางสม่ําเสมอ
2542
ลมหายใจสยาม (แฝด), 2542
ยางซิลิโคน, เหล็ก, สายยาง , หลอดดูดน้ํา ประติมากรรมเทาคนจริง
ยางซิลิโคน, เหล็ก, สายยาง , หลอดดูดน้ํา ประติมากรรมเทาคนจริง
นิทรรศการ: สยามเซนเตอร
นิทรรศการ: สยามเซนเตอร , 2543
ลมหายใจสยาม (แฝด),
, 2543
ลมหายใจสยาม (แฝด), 2542 ยางซิลิโคน, เหล็ก, สาย ยาง, หลอดดูดน้ํา ประติมากรรมเทาคนจริง นิทรรศการ: สะพานพระ ปนเกลา, 2543
ลมหายใจสยาม (แฝด), 2542 ยางซิลิโคน, เหล็ก, สาย ยาง, หลอดดูดน้ํา ประติมากรรมเทาคนจริง นิทรรศการ: วัดโพธิ,์ 2543
อีกพื้นที่หนึ่งที่ศิลปนไดนําผลงงานศิลปะออกไปแสดงคือ สวนสาธารณะลุมพินี ที่มีบริบทคือเปนสถานที่สําหรับ การพักผอนใจกลางเมือง ทั้งการออกกําลังกาย และการปกนิกกับครอบครัว กลุมคนที่มาใชบริการพื้นที่แหงนี้ มีทุกเพศทุกวัย เมื่อนําผลงานที่เปนตุกตาเปาลมไปแสดง ผูคนในสวนสาธารณะจึงตีความผลงานไปในทางที่วา เปนกิจกรรมสําหรับการผอนคลาย สรางสมาธิ หรือแมกระทั่งเปนการออกกําลังกายดวยการบังคับลมหายใจ ไมเพียงแคนั้นศิลปนยังนําผลงานชุดดังกลาว เดินทางไปยังสถานที่อื่นๆอีก เชน บริเวณบนสะพานปนเกลา บริเวณหนาประตูวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร บริเวณหนาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและ ภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนตน นอกจากในประเทศไทยแลว ศิลปนยังไดนําผลงานชิ้นนี้ไปจัดแสดงในตางประเทศ ทําใหไดเห็นวาผูคน ในแตละประเทศมีผลตอบรับที่แตกตางกันอยางไร เชน ในประเทศฝรั่งเศสที่ผูคนมีความเคารพและใหเกียรติ ผูอื่น อีกทั้งยังเปนประเทศที่ใหการสนับสนุนดานศิลปะเปนอยางดี ปฏิกิริยาของชาวฝรั่งเศสเมื่อเขาชมผลงานคือ จะเดินชมผลงาน โดยรวมกอน แลวจึงมาชมผลงานเฉพาะเจาะจงทีละชิ้น สวนการ รวมเปาลมในผลงานแฝดสยามก็จะคอยๆ ลงมือทําอยางสุภาพ ใน ประเทศอเมริกา ที่เปนประเทศแหงความสนุกสนาน มีความเปนตัว ของตัวเองสูง ผูชมที่เขามามีสวนรวมในการเปาลมก็กระทํากันดวย ความสนุกสนาน ฮึกเหิม หรือการเปาลมเพื่อแขงขันกัน สวน ประเทศมหาอํานาจอยางประเทศจีน ก็เปนประเทศแหงการคาขาย สนุกสนาน และคอนขางแสดงออกอยางเปดเผยไรกฎเกณฑ ผูชมที่มี สวนรวมนั้นไมเพียงแตเปาลม แตยังกระทําการเลนในรูปแบบอื่นๆ ดวย เชน ขึ้นไปนั่ง จับผลงาน เปนตน และในประเทศญี่ปุนซึ่งเปน ประเทศทีม่ ีความเปนสวนตัวและการเคารพกฎเกณฑสูง ทําใหผูชม ในประเทศญี่ปุน มีความกังวลอยางมากในเรื่องสุขอนามัย จากการ ที่ใชสายยางรวมกัน จากการนําผลงานศิลปะไปแสดงในหลาย สถานที่ ซึ่งตางวัฒนธรรมและตางความหมาย ทําใหทราบถึงความ แตกตางของพฤติกรรมของผูคนในแตละพื้นที่ ที่มีตอผลงานศิลปะ ชิ้นเดียวกัน
ลมหายใจสยาม (แฝด), 2542 ยางซิลิโคน, เหล็ก, สายยาง, หลอดดูดน้ํา ประติมากรรมเทาคนจริง นิทรรศการ: เทน เอเชี่ยน อารติส อิน เรซิเดนท, แมทเทรสส แฟคตอรี่, พิตสเบิรก, สหรัฐอเมริกา, 2542
หองเรียนประวัติศาสตร (ถนนราชดําเนิน), 2543 โตะและเกาอีน้ ักเรียน 14 ชุด, แกะสลักไม, ดินสอ, สีไม ขนาดหลากหลาย แปรผันไมแนนอน นิทรรศการ: รวมแสดงในโครงการศิลปกรรม ๑๐๐ ป ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค, ๑๑-๑๔ พฤษภาคม, บริเวณอนุสาวรียประชาธิปไตย
ผลงานชิ้นที่ 3 “ หองเรียนประวัติศาสตร ณ ถนนราชดําเนิน (2543) ” ในโครงการ รําลึก 100 ป 16
16
ชาตกาล อ. ปรีดี พนมยงค ที่มีโจทยในเรื่องเกี่ยวกับการเมือง เรื่องประชาธิปไตยในแงงามกับพื้นที่บริเวณถนน ราชดําเนิน ศิลปนไดคิดวาเรื่องราวทางการเมืองนั้น เปนเรื่องราวที่มีประวัติศาสตรมาเนิ่นนานและควรจะไดรับ การเผยแพรความจริงจากทุกดานในประวัติศาสตร เพื่อเรียนรูเรื่องราวในอดีตของประเทศตนเอง วัตถุที่ศิลปน เลือกใชคือโตะและเกาอี้นักเรียนเกา นํามาแกะสลักเปนขอความและรูปภาพตามประวัติศาสตรการเมืองที่ ศิลปนไดคนความา ตั้งแตประมาณป พ.ศ.2427 ถึง พ.ศ.2535 เพื่อใหผูที่มาชมผลงานชิ้นนี้สามารถนํากระดาษ มาฝนบนโตะที่แกะสลักไวเพื่อใหเกิดรองรอยบนกระดาษ หรือที่ทางศิลปะ เรียกวา การรับบิ้ง (Rubbing) จากความตั้งใจของศิลปน เมื่อเราทําการรับบิ้ง (Rubbing)ครบทุกโตะผูชมจะไดตําราทางประวัติศาสตรที่มาจากการฝนโตะดวย ตนเองกลับบานไปอีกดวย ไมเพียงแคนั้นการที่ศิลปนเลือกวัตถุคือโตะนักเรียนเกา นั้นสงผลใหผูชมหวนนึกถึงประสบการณในอดีต ครั้งเมื่อยังเรียนหนังสือและทํา พฤติกรรมเชนเดียวกันกับเทคนิคที่ศิลปนนํามาใช คือ การแกะสลักโตะนักเรียน สิ่งนี้ยิ่งทําใหกระตุนความสนใจแกผูชมไดอยางมาก เพราะเมื่อผูชมมีความรูสึก คลายกับวาเคยมีประสบการณรวมกับประสบการณเชนนี้ ทําใหการรับชมผลงาน ศิลปะมีความเปนกันเองและกลาจะเขามามีสวนรวมมากขึ้น อีกทั้งพื้นที่ที่นํา ผลงานไปแสดงยังเปนพื้นที่สาธารณะ ซึ่งมีผูคนเดินผานพลุกพลานเปนประจํา
ตัวอยางผลงานในชุด หองเรียน
ดังนั้นผูชมที่เขามาชมมีทั้งผูที่ตั้งใจและไมตั้งใจมาชม บางคนอาจไมเคยมีประสบการณจากการชมผลงานศิลปะ ในรูปแบบนี้ ดังนั้นจึงทําใหผลงานชิ้นนี้สรางความเปนไปไดใหมๆ จากการถูกระดาษที่สรางสรรคของผูชมอีก ดวย คือ บางคนอาจฝนใหถูกตามตนฉบับแบบไมผิดเพี้ยน บางคนอาจเสียดายกระดาษจึงเลือกที่จะฝนเปนบาง ขอความจากบางโตะแตเรื่องราวนั้นยังไมบิดเบือน บางคนอาจเลือกที่จะสรางประวัติศาสตรใหม โดยหยิบภาพ และขอความจากคนละโตะมารวมไวดวยกัน ซึ่งเปนเหตุการณที่ศิลปนไมไดคาดการณไวลวงหนา ทําใหเกิด ความสนุกและผลงานศิลปะชิ้นใหมจากชิ้นตนฉบับของศิลปน
แตเมื่อผลงานถูกยายมาแสดงภายในหอศิลป บรรยากาศและประสบการณที่เกิดขึ้นจากการเสพผลงานชิ้นนี้ก็ เปลี่ยนไปในอีกรูปแบบหนึ่ง เปนบรรยากาศที่คลายหองเรียนจริงที่อยูภายในหองสี่เหลี่ยมและตัวศิลปนเองได เพิ่มกระดานดําไวทางสวนดานหนาผลงาน เปนการสงเสริมความรูสึกของการเรียนรู ทําใหความรูสึกจากการ นั่งทํากิจกรรมบนโตะนักเรียนและฝนกระดาษนั้นมีความจริงจัง ตั้งใจที่จะอานขอความและเรียนรู ประวัติศาสตร อีกทั้งกลุมผูชมที่เขามายังเปนกลุมที่ตั้งใจมาชมผลงานศิลปะ จึงทําใหการเสพและมีสวนรวมกับ ผลงานมีความจริงจังมากขึ้นไปอีก ซึ่งจากผูชมที่เขามาอาจเปนผูมีความรูความเขาใจทางดานผลงานศิลปะจน นําไปสูการตีความที่ลึกซึ้ง ซึ่งตางจากผูชมที่บริเวณถนนราชดําเนินอยางมาก
โตะและเกาอีน้ ักเรียน 14 ชุด, แกะสลักไม, ดินสอ, สีไม ขนาดหลากหลาย แปรผันไมแนนอน นิทรรศการ: รวมแสดงใน ประวัติศาสตรและ ความทรงจํา, ระหวางวันที่ ๒ ตุลาคม ถึง ๑ พฤศจิกายน, หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2544
โตะและเกาอีน้ ักเรียน 14 ชุด, แกะสลักไม, ดินสอ, สีไม ขนาดหลากหลาย แปรผันไมแนนอน นิทรรศการ: / รวมแสดงใน ฟุคโุ อกะ เทรียนนาเล (Fukuoka Triennale), ระหวางมีนาคม ถึง เมษายน, ฟุคุโอกะ, ญี่ปุน, 2545
จากตัวอยางผลงานของ สุธี คุณาวิชยานนท จะเห็นวาตัวแปรสําคัญในการตีความผลงานศิลปะ คือ ประสบการณของผูชมแตละคนที่สั่งสมมาไมเหมือนกันทําใหมีการตีความที่ตางกัน อีกทั้งยังมีบริบทและ ความหมายของแตละพื้นที่ ที่ศิลปนนําผลงานไปแสดง พื้นที่บางแหงนําผลงานไปแสดงแลวยังคงความหมาย ตามความตองการของศิลปน แตบางแหงก็ถูกรบกวนจากบริบทและความหมายของพื้นที่ทําใหความหมายหลัก ที่ตองการนําเสนอนั้นบิดเบือนไป อีกทั้งยังรวมไปถึงวัฒนธรรมในแตละพื้นที่และผูคนในบริเวณพื้นที่นั้น ก็มี สวนทําใหการตีความผลงานศิลปะมีการบิดเบือนไปไมมากก็นอย