Test issue

Page 1

BY THE

WAY

MAGAZINE TEST ISSUE By Niramon R.



EDITOR TALK TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST TEST



CONTENT NEWEVENT………………………………………………………………………………2 NEW ARTIST…………………………………………………………………………….3 บทความโดย ภีรวรรณ…………………………………………………………….…10 บทความโดย นิรมล…………………………………………………………………..17 DIY………………………………………………………………………………………….21


NEW นิทรรศการ I’m A Painter วันที่ : 18 มกราคม - 26 กุมภาพันธ 2557 สถานที่: People's Gallery P3 ชั้น 2 โดย คิงตุน (ภาคินี รัตนะ) จากที่เคยจับปากกา จับดินสอ จับเข็มเย็บผา จับเมาส คอมพิวเตอร แลววันหนึ่งก็มาจับพูกัน มันคือการเดินทางของชีวิต เมื่อชีวิตตกผลึก พูกันและสี จึงกลายเปนเครื่องมือที่ใชแสดงอารมณ เรื่องราว แงคิด ผานภาพเด็กผูหญิงและแมว เพื่อถายทอด มุมมอง ดานดี ๆ ดานสวางของชีวิต เคยอยากเปน อยากทําหลายอยาง แต ตอนนี้ สิ่งเดียวที่อยากทําคือเปนคนวาดรูป

18 JAN 2014


EVENT 18-30 JAN 2014

25 JAN 2014

HOLY KITSCH by Pornwipa Suriyakarn January 25th - March 28th 2014 Whitespace Gallery, One Sala Dang 1, Rama 4, Bangkok 10500 Opening: January 25th, 2014, 6 pm อารยะ - บูชา ในยุคสมัยที่มีความเชื่อเปนรากฐานทางวัฒนธรรม จึงพบเห็นสัญลักษณมากมายที่เปนวัตถุทางความเชื่อ ลวนมีความลึกซึ้งทางใจตอ บุคคลที่ศรัทธาในสิ่งของเหลานั้น ซึ่งขาพเจาก็เปนคนหนึ่งที่เติบโตมาพรอมกับความเชื่อ ขาพเจาจึงสรางสรรคผลงานจากความเชื่อใน ยุคปจจุบันที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรมทางความเชื่อที่แตกตางกัน ในเรื่องของการเคารพบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือแมแตสิ่งของที่ เกิดขึ้นจากธรรมชาติที่มีความแปลกประหลาด ก็นํามากราบไวบูชา แตอีกมุมในยุคปจจุบันก็ไดเห็นความงามของรูปทรงในวัตถุทั่วไป ในชีวิตประจํา วันที่เปนวัตถุรวมสมัย ที่เกิดจากกระบวนการการผลิตทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตางๆ ไมวาจะเปนขาวของเครื่องใช ตุกตา หุนยนต ของเลนเด็ก สิ่งของเหลานี้เปนสิ่งของใกลตัวที่พบเห็นและชื่นชอบเปนการสวนตัว ขาพเจาจึงไดนํามาสรางสรรคผลงาน ก็เพื่อบอกเลาทัศนคติที่มีตอสัญลักษณทางความเชื่อของตัวเอง และบอกเลาในเรื่องของยุคสมัยดวย ผสมผสานกับการใชเทคนิคปูนปน โบราณที่ขาพเจาสนใจนํามาสรางสรรคขึ้นใหม เพื่อสรางสัญลักษณความหมายใหมใหสิ่งของเหลานี้ เพื่อแสดงถึงคุณคาทาง สุนทรียภาพทางดานศิลปะ หรืออาจจะเปนตัวแทนของคนในยุคนี้ ที่มองการผสมทางวัฒนธรรมความเชื่อที่อยูในชีวิตประจําวันใน รูปแบบใหม บวกกับทัศนคติทางความคิดของขาพเจาที่ไดรับอิทธิพลทางความกาวหนาในชีวิต ประจําวัน และจินตนาการ งานศิลปะ ของขาพเจาจึงเปนเสมือนตัวแทนภาพสะทอนความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความรวมสมัยของวัฒนธรรมที่มีความเชื่อ


NEW ARTIST NAME : TINNA HONGNGAM

FACEBOOK: https://www.facebook.com/ovantin.ny

ถึงแม้ วา่ ในปั จจุบนั บทบาทของเพศหญิงต่อสังคมไทยจะเพิ่มขึ ้น แต่ก็ยงั ไม่สามารถที่ จะเดินก้ าวข้ ามบทบาทของเพศชายได้ เหตุที่ยงั เป็ นเช่นนี ้อาจเพราะสังคมไทยยังไม่เปิ ดกว้ าง ในเรื่ องนี ้นัก และด้ วยความที่เพศหญิงเป็ นเพศมีจิตใจที่อ่อนไหวและกําลังที่น้อยกว่า แม้ วา่ จะมีความรู้ที่เท่ากันหรื อมากกว่าเพศชายก็ตามก็ไม่อาจจะต่อสู้กบั เพศชายได้ จึงทําให้ เพศ หญิงส่วนใหญ่ในประเทศไทยยังไม่กล้ าที่จะออกมาต่อสู้กบั เพศชายอย่างจริงจังด้ วยประการ ทังปวง ้ ติ ณ ณา หงส์ ง าม นัก ศึ ก ษาหญิ ง ชัน้ ปี ที่ 4

สาขา

จิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ได้ นําแรงบันดาลใจจากเรื่ อง ดังกล่าวมาสร้ างสรรค์เ ป็ นผลงานศิลปะ เพื่ อเป็ นการ เรี ยกร้ องสิทธิ และความเท่าเทียมกันของเพศหญิ งกับ เพศชาย ซึง่ ยังคงมีให้ พบเห็นในสังคมอยูบ่ อ่ ยครัง้ หากย้ อ นกลับ ไปถึ ง ผลงานที่ ผ่ านมาศิ ล ปิ นที่ ไ ด้ ทํางานเรื่ องของความเป็ นเพศหญิง(Feminist)โดยมีแนวทางการนําเสนอเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องกับ สภาวะภายในจิตใจ ทัง้ ความต้ องการด้ านความงามและประสบการณ์ ในเรื่ องความความ รุ นแรงทางเพศ จากสะเทือนใจในเรื่ องเหล่านี ้ทําให้ ศิลปิ นพยายามสร้ างสรรค์ผลงาน ที่เป็ น การสะท้ อนมุมมองหนึ่งในสังคมขึ ้น ซึ่งในผลงานชิ ้นนี ้ก็ยงั มีอิทธิพลแนวคิดของผลงานชิ ้นที่ ผ่านมาอยูเ่ ช่นกัน


“ ความอดทนของผู้หญิงคนหนึ่ง” เป็ นการนําเสนอมุมมองอีกด้ านหนึ่งของเพศหญิง ที่เป็ นฝ่ ายถูกกระทําและได้ รับความรุ นแรงจากเพศชายเนื่องจากทางกายภาพของร่ างกายที่ แข็งแรงน้ อยกว่า เมื่อเพศหญิงต้ องการนําเสนอความคิด หรื อความเป็ นตัวเองในด้ านใดด้ าน หนึ่งแล้ ว เพศชายอาจเกิดความคิดที่ รับไม่ได้ จนเกิ ดการไม่สบอารมณ์ ซ่ึงก่อให้ เกิ ดความ รุนแรงตามมาเพื่อตัดสินปั ญหาที่เกิดขึ ้น ผลงานชุด “ความอดทนของผู้หญิงคนหนึ่ง” มีขนาด 50x60 เซนติเมตร ภายในชุดประกอบ 2

ไปด้ วย 6 ชิ น้ โดย ศิลปิ นได้ ส ร้ างสรรค์ ผลงานในรู ปแบบกึ่ งนามธรรม ด้ วยวิธี การ พิม พ์ 2

2

2

ภาพถ่ายลงบนผ้ าใบ และเย็บด้ ายลงไปบนผืนผ้ า 3 ชิ ้นด้ านบน เป็ นภาพตัวศิลปิ นเองกําลัง ถูกมัดมือและนัง่ อยูต่ รงมุมห้ อง ส่วนอีก 3 ชิ ้นด้ านล่างคือภาพมือที่ถกู มัดไว้ ซึ่งภาพทังหมดมี ้ สีโทนนํ ้าตาลดําและโดนเย็บด้ วยด้ ายที่มีสีสนั ที่แตกต่างกันออกไป มีแนวทางของเส้ นที่ส่วน ใหญ่เป็ นเส้ นตรงอีกทังมี ้ การขมวดของด้ าย

ด้ านการจัดองค์ประกอบให้ มีจดุ เด่นเพียงจุดเดียวเท่านัน้ คือ รู ปทรงของร่ างกายที่อยู่กลางภาพที่มีขนาดใหญ่และถูกการ ตกแต่ ง สี ล้ อ มรอบเพื่ อ เน้ น ไปยัง ภาพร่ า งกาย ส่ ว นสี ที่ ศิ ล ปิ น เลือกใช้ ในผลงานแบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ สีภาพบนผ้ าใบ เป็ นสีที่พิมพ์ ลงบนผื นผ้ าและสีนํา้ ที่ได้ ระบายเพิ่มลงไป โดยมี โทนสีนํา้ ตาลที่ มืดครึ ม้ ให้ ความรู้ สึกถึงความโดดเดี่ยวและความเศร้ า ส่วนที่สองคือสีของด้ ายที่ถกู เย็บลงไป เป็ นสีที่ฉูดฉาด ทําให้ เกิดการกระตุ้นความรู้ สึกความขัดแย้ งของผู้ดู การเลือกใช้ สีท่ีคอ่ นข้ าง ตรงข้ ามกันนันก่ ้ อให้ เกิดเป็ นอารมณ์ความรุนแรงและความขัดแย้ งกันภายในภาพ สัญลักษณ์ที่ปรากฏในผลงานชิ ้นนี ้ คือ เชือกที่รัดอยู่ที่คอ มือ และเท้ าเพื่อกักขังความ อิ ส ระ ภาพการถูกมัดภาพมื อหมายถึ ง การถูก จํ ากัดอิ ส ระ ในการทํ าสิ่ ง ต่า งๆ ท่าทางของ ร่างกายอยูใ่ นท่าที่ดผู ิดปกติทําให้ สมั ผัสถึงการถูกบังคับและทรมานทางร่างกาย อีกทังร่้ างกาย


ยังอยูใ่ นตําแหน่งมุมห้ องซึง่ ดูแล้ วรู้สกึ ถึงความหมดหวังและจนมุม ถึงแม้ วา่ จะมีประตูที่อยู่ใกล้ เสมือนกับทางออกที่จะพบกับความอิสระแต่ก็ไม่สามารถทําได้ จากการโดนกระทํารู ปแบบนี ้ ซึ่งเป็ นการกระทําของผู้กระทําที่ต้องการตอบสนองอารมณ์ส่วนตัวของตน ราวกับว่าร่ างกาย นัน้ ไม่มี ค่าเสมื อนสิ่ ง ของที่ ส ามารถทํ าอย่างไรก็ ไ ด้ ส่วนแนวทางการเดิน เส้ น ของด้ ายเป็ น เส้ นตรงมีความแข็งทื่อและถูกเย็บไปภายในภาพร่ างกายของศิลปิ น จาก วิธีการเย็บดังกล่าว 2

เสมือนเป็ นการสะท้ อนถึงความเจ็บปวด ความรุนแรง ของเพศหญิงที่โดนทําร้ ายอย่างไม่มีทาง 2

สู้ จนเกิ ดแผลภายในจิตใจ ส่วนเส้ น ด้ ายที่ ถูกดึงรั ง้ ให้ ตึง นัน้ เปรี ยบเสมื อนอารมณ์ ของผู้ที่ กระทํา(เพศชาย)และถูกกระทํา(เพศหญิง)ที่ตา่ งดื ้อรัน้ ดึงกันไปมา ศิลปิ นต้ องการสื่อในเรื่ องปั ญหาความรุ นแรงที่เป็ นเรื่ องน่ากลัว น่าเศร้ าและควรต้ อง รี บแก้ ปัญหาอย่างโดยเร็ ว เพราะความรู้ สึกที่โดนกระทําโดนไปแล้ วจะเกิดเป็ นความเจ็บปวด เข้ ามาแทนที่ เป็ นเหมือนแผลในใจที่ไม่มีวนั หาย และต่อให้ นานเพียงใดความรู้ สึกเจ็บปวดนัน้ ก็จะอยูภ่ ายในจิตใจไปตลอดกาล ความรุ นแรงทางเพศยังถื อเป็ นเรื่ องธรรมดาในสังคมไทย โดยที่ทุกคนทําเป็ นแกล้ ง หลับหูหลับตา ติณณา หงส์งามในฐานะของศิลปิ นที่เป็ นเพศหญิ งผู้หนึ่ง มองเห็นถึงปั ญหานี ้ และต้ องการแก้ ไขปั ญหาโดยการลุกขึ ้นมาสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อเป็ นตัวอย่างให้ เห็นว่า ไม่วา่ เราจะอยูใ่ นฐานะใดของสังคม ควรตะหนักปั ญหาในเรื่ องนี ้ของสังคมไทยและไม่ใช่เพียง เพศหญิงเท่านันที ้ ่แต่เพศชายก็ควรตะหนักด้ วยเช่นกัน ว่าการกระทําให้ คนที่ตนเองรักเจ็บปวด นัน้ ไม่ใช่เรื่ องที่ดี แต่กลับเป็ นการสร้ างบาดแผลภายในจิตใจให้ คนเหล่านันมากกว่ ้ าจนอาจ ส่งผลต่อมาเป็ นเรื่ องราวที่ไม่ดีในสังคมได้




0

ความหมายของชื่อนิทรรศการ คือ เนื้อหาในนิทรรศการคือความหลากหลายของรู ปแบบศิลปะ แต่จะถูกจัดการให้รวม

เป็ นหนึ่งเดียวเพื่อแสดงศักยภาพของนักศึกษาศิลปะในปี การศึกษานี้ ดังชื่อนิทรรศการที่วา่ “หกสิ บหกยกกําลังศูนย์” (All Equals One) คือ นักศึกษาศิลปะรุ่ นที่66ที่กา้ วเดินไปด้วยกัน ออกกําลังสร้างสิ่ งอันสวยงามให้รวมเป็ นหนึ่ งเดียวแม้จะแตกต่าง

กัน ทั้งนี้เลขศูนย์ยงั เป็ นเลขที่ใช้นบั ในทางการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จึงเปรี ยบเหมือนการเริ่ มต้นสิ่ งใหม่ การเริ่ มออกสู่ โลกกว้างและพร้อมจะเติบโตอย่างงดงาม


4

4

4

4

ชองทางงานประชาสัมพันธของเราแบงออกเปนหลากหลายโดยมี ๑ ขาวสารโดยตรงและการกระจายขาว คือ เฟสบุค

4

๒กระจายขาวสั้นๆและรูปถาย ไดแก ทวิตเตอรและอินสตราแกรม ๓บทความ เพื่อแสดงออกตัวตนและแนวความคิด ทัศนคติของพวกเราที่ 4

หลากหลายมีหลายนักเขียนนะคะ ไดแก เอ็กทีน ธัมบลา และ เวิรด เพลส 4

4

๔วิดโี อ ซึ่งนําเสนอ ภาพและบทบาทอยางสั้นๆในหัวขอตางๆ บรรยากาศการ

ทํางานและความเปนอยูของพวกเรา อัพเดททุกวันศุกร-เสาร ทุกชองทางการติดตอ มีเจาหนาที่คุมงาน และสงขาวคราวอยางเปนระบบ 3

เปนประจํา ใครใครตดิ ตอทางไหน ติดตามเรื่องราวของเรา ก็เชิญทางนั้นนะคะ 3

แตถาจะใหดี ติดตามทุกทางคะ 5555 เพราะจะไดเห็นพวกเราในหลากหลาย

มิติ โดยเฉพาะ ยูทูปและบล็อกทั้งสาม ซึ่งเปนชองทางแสดงเนื้อหาเรื่องราว ของตัวตนพวกเราลวนๆ. 3

ที่มา https://www.facebook.com/AllEqualsOneArtThesis 3

3




ชื่องาน รัง

KAESINEE

แนวความคิด ความอบอุนอันเกิดจากสมัยเด็ก การที่ชอบเขาไป อยูในพื้นที่ ที่มีลักษณะเปนโพรงซึง่ ให ความรูสึกอบอุนปลอดภัย

ชื่อผลงาน “ผลกระทบจากความรูส ึก“

NAGE

แนวความคิด สภาวะรูปธรรมที่ถูกกระทําโดยนามธรรม

ชื่อผลงาน "45 degree"

AEK

ใน มุมมองของผม มุมมองที่มีตอเรื่องๆหนึ่งหรือวัตถุชิ้นหนึ่งๆ มี ความแตกตางกันไปในแตละบุคคลซึ่งเปนไปดวยประสบการณที่ไดรบั มานั้นไม เหมือนกัน แลวอะไรที่เปนความจริง? ความจริงคือสิ่งที่คุน ชินอยูในชีวิตประจําวันอยางเชนเกาอี้มันก็คือ เกาอี้อยางที่เห็น ถา หากเกาอี้ที่เคยเห็นมันไมไดมีมมุ มองหรือการใชงานแบบเดิม มันกลับ ทิศทาง กลับมุมมอง ผิดรูป มันยังจะเปนเกาอี้อยูหรือไม ยังคงเปน ความจริงที่คุนตาหรือเปลา?


SAIKAEW BLUE BELL

GREAT FOOD


OAT


YIM

KAMONCHANOK

TUBTIMSAI


BAMEE

LUCKY


TARATAI

PURICH


GIU SENG SAVE

TINNA

MIDNIGHT


MAMAMIYA


MAMAICUT

4METRE



FANG KAEW PEERAWAN SUPANNAPOB

นามธรรมกับเสี ยงดนตรี การแสดงศิลปกรรมร่ วมสมัยนานาชาติแห่งเอเชียครั้งที่ 27 หอศิลป์ ร่ วมสมัยราชดําเนิ น Text: ภีรวรรณ สุ พรรณภพ

จริ งหรื อที่ศิลปะเป็ นเรื่ องยากต่อการเข้าถึงของทุกคน ซึ่งการจะเดินเข้าไปทําความรู ้จกั ทําความเข้าใจเป็ นสิ่ งที่ ยากเย็นแสนเข็ญ และจริ งหรื อถ้าหากยิง่ เป็ นศิลปะนามธรรมแล้ว คนทัว่ ไปมักจะเมินหน้าหนีพร้อมกับตั้งคําถามชวนสงสัยว่า มันคืออะไร มีความหมายอย่างไร และทําไปเพื่ออะไร ศิลปะนามธรรมดูผิวเผินอาจเป็ นเรื่ องยากในการตีความเมื่อเทียบเคียงกับศิลปะประเภทอื่นๆ แต่แท้จริ งแล้วศิลปะ นามธรรมได้ทิ้งเรื่ องราวทุกสิ่ ง ให้เหลือเพียงอารมณ์ความรู ้สึกของศิลปิ น ซึ่งผูช้ มสามารถสัมผัสได้ถึงความงามแห่งสิ่ งที่ ปรากฏตรงหน้า โดยไม่ตอ้ งทราบว่ามีภูมิหลังความเป็ นมาอย่างไร เปรี ยบดัง่ การฟังเพลงต่างภาษาที่เรารู ้สึกได้วา่ ท่วงทํานอง ไพเราะจับใจ โดยไม่ตอ้ งเข้าใจความหมายของเนื้อร้องนั้น ประเทศไทยมีการเปิ ดพื้นที่ทางศิลปะแห่งใหม่ในถนนสายประวัติศาสตร์อย่างถนนราชดําเนิน ที่ชื่อว่า หอศิลป์ ร่ วม สมัยราชดําเนิน และนิทรรศการแรกที่เปิ ดตัวคือ การแสดงศิลปกรรมร่ วมสมัยนานาชาติแห่งเอเชียครั้งที่ 27 (Asian International Art Exhibition) หรื อที่เรี ยกกันว่า AIAE เป็ นการรวมกลุ่มกันเพื่อแสดงนิทรรศการศิลปะของศิลปิ นอิสระในแถบเอเชีย ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 13 ประเทศ ได้แก่ จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย มองโกเลีย มาเก๊า ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ไต้หวัน เวียดนาม และไทย


วัตถุประสงค์ของการจัดนิทรรศการ คือ ต้องการสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนศิลปะและ วัฒนธรรมระหว่างประเทศในทวีปเอเชียอย่างเป็ นอิสระ โดยศิลปิ นทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่ วม ซึ่งแต่ละปี กลุ่มศิลปิ น แต่ละชาติจะหมุนเวียนกันเป็ นเจ้าภาพในการจัดงาน โดย การจัดงานในครั้งนี้ นอกจากจะมีผลงานของประเทศ สมาชิกจํานวน 13 ประเทศแล้ว สํานักงานศิลปวัฒนธรรม ร่ วมสมัยยังได้เชิญประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียเข้าร่ วมแสดง อีกด้วย อาทิ อิหร่ าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย ลาว พม่า กัมพูชา เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานร่ วมกันระหว่าง ผูแ้ ทนศิลปิ นของทุกชาติ และเหตุที่จดั นิทรรศการภายใน หอศิลป์ แห่งนี้ เพราะถนนสายที่หอศิลป์ ตั้งอยูเป็ นถนน สายสําคัญของไทย ผูค้ นมักผ่านไปมาและง่ายต่อการเข้าถึง ศิลปะของประชาชน ภายในนิทรรศการแสดงให้เห็นถึงความ หลากหลายทางวัฒนธรรม สังคม วิถีชีวติ ไม่วา่ จะเป็ น เรื่ องคน ศาสนา

ความเชื่อ ทิวทัศน์ วิถีชีวติ และ

นามธรรม เป็ นที่น่าแปลกใจที่ศิลปะนามธรรมเป็ นหนึ่งใน สามลําดับแรกที่ศิลปิ นเลืกทํามากที่สุด แสดงให้เห็นว่า ผูค้ นในแถบเอเชียได้ให้ความสําคัญกับศิลปะรู ปแบบนี้ โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิ งคโปร์ เวียดนาม ไต้หวัน ฮ่องกง มองโกเลีย และไทย มีแนวโน้มในการ ทํางานศิลปะนามธรรมเกินกว่า 50 %

ภาพจากซ้ายไปขวา Standing tears , Mixed media, 2011, 1303 × 97 cm. Try again , Oil on canvas , 2011 , 97 × 1303 cm. The Beautiful Country , Oil on canvas, 2012, 162 ×130 cm.


กว่า 90 เปอร์เซนต์ของศิลปิ นญี่ปุ่นได้สร้างสรรค์ ผลงานในรู ปแบบนามธรรม ส่วนมากมักใช้รูปทรงที่เรี ยบ ง่าย แฝงไปด้วยจังหวะการเคลื่อนไหว และเป็ นที่น่าสังเกต ว่านอกเหนือจากงานรู ปแบบนามธรรมแล้ว ศิลปิ นมัก สร้างสรรค์ผลงานแบบกึ่งนามธรรมโดยดัดแปลงมาจาก ธรรมชาติมากกว่าการเขียนแบบเหมือนจริ ง ในผลงาน Standing tears โดยศิลปิ น Hwang Hei Joong แสดงถึงการ เคลื่อนไหวของผลงานผ่านวัสดุที่หลากหลาย วัสดุที่ศิลปิ น เลือกใช้คือ ผ้าลูกไม้ ดิ้นทอง ลูกปั ด ซึ่งบ่งบอกถึง วัฒนธรรมความเป็ นอยู่ มีรูปแบบคลี่คลายมาจาก ธรรมชาติที่ศิลปิ นผ่านประสบการณ์มา ในผลงาน Try again ศิลปิ น SHIGEMATU,Junko โดดเด่นในด้านของ การแสดงออกซึ่งอารมณ์ความรู ้สึกผ่านฝี แปรงที่ฉบั พลัน ภายในรู ปทรงที่ค่อนข้างอิสระ ยิง่ ไปกว่านั้นศิลปิ นได้ สอดแทรกเทคนิคที่หลากหลายภายในผลงานทั้งการขูดสี ทับสี Stampสี ออกจากห้วงอารมณ์ความรู ้สึกของตน และ อีกหนึ่งผลงานที่น่าสนใจคือ The Beautiful Country โดย ศิลปิ น SASAKI,Shunsuke ผลงานเป็ นดังการเปิ ดมุมมอง การนําเสนอเมืองของตนที่กล่าวถึงการอยูร่ ่ วมของคนและ ธรรมชาติ โดยใช้สีน้ าํ มันร่ วมกับวัสดุดินเผา ในด้านสี สนั รู ปทรง และ ทีแปรงให้ความรู ้สึกถึงความโดดเดี่ยวทั้งที่อยู่ ร่ วมกัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับสังคมญี่ปุ่นที่ยงั คงมีบาดแผล หลังจากทําสงคราม จึงต้องเร่ งสร้างประเทศตนให้เจริ ญ ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ ดังนั้นคนในชาติน้ ีจึงต้อง กระตือรื อร้น แข่งขัน และก้าวให้ทนั ทุกอย่าง ผลงานส่วน ใหญ่ของชาวญี่ปุ่นมักสําแดงออกซึ่งอารมณ์อย่างฉับพลัน ไม่หยุดนิ่ง นอกจากนี้ศิลปิ นจะให้ความสําคัญกับการ เลือกใช้วสั ดุ เทคนิคที่หลากหลายมาสร้างสรรค์ผลงาน

ภาพซ้าย Work-6-12 , Aclylic on canvas, 2012, 105 × 105 cm. ภาพขวา The Forest,The Wind-Silence, , Aclylic on canvas ,2012, 91 ×

117 cm.


ศิลปิ นเกาหลีใต้เป็ นอีกหนึ่งในประเทศที่ สร้างสรรค์ศิลปะนามธรรมมากว่ารู ปแบบอื่นๆอย่างเห็นได้ ชัด และกว่า 70% มักสร้างสรรผลงานที่กล่าวถึงความ เรี ยบง่ายในการดํารงชีวติ ซึ่งสอดคล้องกับตัวผลงานที่มี การใช้ลกั ษณะรู ปทรง พื้นผิวที่เรี ยบง่าย รวมถึงเล่น เกี่ยวกับพื้นทีวา่ งในผลงาน และอีกว่า 30 % มักสอดคล้อง หรื อได้รับแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ ตัวอย่างผลงาน Work-6-12 โดยศิลปิ น Yi,Sun hee ให้อารมณ์ความรู ้สึกที่ ขัดแย้งด้วยสี และการเคลื่อนไหว ผลงานรู ้สึกถึงความสงบ นิ่งส่วนการใช้สีศิลปิ นเลือกใช้สีที่ร้อนแรงที่มีพลังอานุภาค ที่ร้อนแรงตัดกับสี เขียว ซึ่งอาจกล่าวได้วา่ ถึงแม้จะมีความ เป็ นระเบียบ สงบ ในสังคม แต่สิ่งนั้นก็แฝงไปด้วยความ กดดันภายในอารมณ์ส่วนตัวบุคคลที่แสดงออกด้วยสี ที่ ศิลปิ นเลือกใช้ ส่วนผลงาน The Forest,The WindSilence ศิลปิ น Yoo,Byoung Hoon เป็ นการนําเอาคาม รู ้สึกที่สงบนิ่งของป่ าไม้ถ่ายทอดผ่านความรู ้สึกของศิลปิ น ผ่านฝี แปรงที่เสมือนควบคุมด้วยจิตใจอันเนิบนิ่ง และแน่ว แน่ จนกลายเป็ นผืนป่ าโทนสี เย็นตาทั้งผืนแผ่น ถือเป็ นการ รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติมารังสรรค์ผลงาน หาก เปรี ยบเทียบระหว่างศิลปิ นเกาหลีใต้กบั ศิลปิ นญี่ปุ่นจะพบ

ภาพซ้าย Legends Immortalised , collage, 2012, 69 × 132 cm.

ข้อแตกต่างอย่างเห็นได้ชดั คือ ในขณะที่ญี่ปุ่นมักแสดง

ภาพขวา Unexpurgated poem, , Natural colour on Rice paper,

ความรู ้สึกถึงความเคลื่อนไหว มีความหลากหลายในการ เลือกใช้วสั ดุและเทคนิค แต่ศิลปิ นเกาหลีใต้มกั แสดงออก ถึงความสงบนิ่ง เรี ยบง่าย และไม่ได้เลือกใช้วสั ดุที่ หลากหลายแบบประเทศญี่ปุ่น แต่ในขณะเดียวกันถึงแม้ องค์ประกอบโดยรวมของศิลปิ นเกาหลีจะดูเรี ยบง่าย ตรงกันข้ามกับสีที่ใช้ส่วนใหญ่ให้ความรู ้สึกกดดัน เนื่องจากโครงสร้างสังคมที่คอ่ นข้างตึงเครี ยด ที่ดูผิวเผิน อาจแสดงออกซึ่งความสุขแต่ในใจลึกๆยังคงทุกข์ระทม

2012, 79 × 109 cm.

หากกล่าวถึงศิลปะนามธรรมในประเทศสิ งคโปร์ ถือว่าเติบโตในระดับหนึ่ง และมีเปอร์เซนต์สูงสุดเมื่อเทียบ กับหัวข้ออื่นๆที่ศิลปิ นเลือกทํา สภาพสังคมภายในประเทศ ค่อนข้างหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ส่งผลให้ผลงานมีความ


หลากหลายด้วยเช่นกัน ตัวอย่างผลงาน Legends

ใช้สีจากธรรมชาติและกระดาษที่เขียนลงไปทําจากข้าวซึ่ง

Immortalised โดยศิลปิ น Anthony Chua Say Hua ผลงาน

เป็ นพืชพื้นถิ่นของเวียดนาม แสดงให้เห็นว่าศิลปิ นมีความ

อิงเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์เป็ นการจารึ กลงบนผลงาน

พิถีพิถนั ในการสร้างผลงานในทุกกระบวนการและคงไว้

โดยใช้วสั ดุหนังสื อพิมพ์หรื อข่าวสารต่างๆที่เกี่ยวกับการ

ซึ่งกลิ่นอายความเป็ นพื้นเมือง

ทําผิดศีลธรรมมาผสมผสานกันอย่างลงตัว สิ่ งหนึ่งที่ นามธรรมในสิ งคโปร์มีความคล้ายคลึงกับเกาหลีใต้คือ มัก จับนํารู ปแบบตามธรรมชาติมาคลี่คลาย ซึ่งสะท้อนการอยู่ ร่ วมระหว่างคนและธรรมชาติผา่ นงานศิลปะ หันมาดูที่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนาม ศิลปะนามธรรมที่ปรากฎในนิทรรศการมีจาํ นวนกว่าครึ่ ง ของผลงานทั้งหมด มีความคล้ายคลึงกับประเทศเกาหลีใต้ คือ แสดงออกถึงความเรี ยบง่าย เพียงแต่ตา่ งกันตรงที่ เวียดนามนิยมวัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงาน และ อีกประการหนึ่งคือ มักมีตวั หนังสื อมาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็ น ตัวอักษรจีน โดยการเขียนตัวอักษรเป็ นเรื่ องยากสําหรับ บุคคลทัว่ ไป เพราะต้องใช้ระยะเวลาและความพยายามใน การฝึ กฝน หากมองย้อนกลับไปที่วฒั นธรรม และความ เป็ นอยู่ ประเทศเวียดนามเคยตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของ จีนเป็ นเวลาช้านาน อาจกล่าวได้วา่ วัฒนธรรมเวียดนามก็คือ วัฒนธรรมจีนนัน่ เอง และการที่เวียดนามนําตัวอักษรจีนมา ไว้ในผลงานเป็ นดัง่ การเชิดชูเอกลักษณ์เฉพาะตน ซึ่งไม่ เพียงแต่ดา้ นภาษาที่ใช้ผา่ นผลงานศิลปะ วัสดุที่ใช้ยงั คง เอกลักษณ์ของความเป็ นพื้นถิ่นเวียดนามภายใต้แม่แบบ อย่างประเทศจีน ตัวอย่างผลงาน Unexpurgated poem โดย ศิลปิ น Ly Truc Son เป็ นรู ปแบบที่ถ่ายทอดออกมาให้ ความรู ้สึกเรี ยบง่าย สบายอารมณ์ แต่ทว่ามีการเขียน ตัวหนังสื อจีนแบบตัดทอนที่เกี่ยวกับเรื่ องบทกวี แสดงให้ เห็นว่าศิลปิ นได้นาํ เรื่ องยากมารังสรรค์ให้ถึงแก่นแท้ของ นามธรรมอย่างลงตัว ทั้งนี้จุดเด่นของผลงานชิ้นนี้อยูท่ ี่การ


ศิลปิ นไทยในฐานะเจ้าภาพในการจัดนิทรรศการ

ผสานกับงานจิตรกรรมที่แสดงถึงการประสานกันอย่างลง

จะพบความหลากหลายทางเรื่ องราวที่ศิลปิ นเลือกสร้างสรร

ตัว จังหวะการเคลื่อนไหวให้ความรู ้สึกผ่อนคลายสบายตา

ผลงาน และภาพรวมของเนื้อหาที่ศิลปิ นเลือกทํามากที่สุด

ส่วนผลงาน Blue in Winter ศิลปิ น Sannarong Singhaseni

สามอันดับแรกได้แก่ ศาสนา นามธรรม และคน ถึงแม้

เป็ นนามธรรมโฟวิสซึ่มที่อิงถึงเรื่ องของสนามสี ในรู ปแบบ

นามธรรมจะเป็ นหัวข้อรองจากศาสนาในการสร้างสรรค์

อิมเพรสชันนิส ที่ศิลปิ นได้รับแรงบันดาลใจจากสภาพ

ของศิลปิ น อย่างไรก็ตามถือว่าศิลปะแขนงนี้ที่ยงั คงเป็ นที่

อากาศในหน้าหนาวตีแผ่ออกมาเป็ นสนามสี ดงั ที่ปรากฎใน

นิยมและดํารงอยูเ่ สมอมา

ผลงาน

ผลงานนามธรรมของศิลปิ นไทยมีความ

ความเป็ นนามธรรมในทางสากลนั้นผูช้ มสามารถ

หลากหลายในทางกระบวนการคิด ด้วยสังคมเป็ นแบบวิถี

รับรู ้วา่ สิ่ งๆนั้น มีความลงตัว และสุนทรี ยภาพปรากฎอยูใ่ น

พุทธ บ้างยังคงมีกลิ่นอายความเป็ นศาสนา และเอกลักษณ์

ตัวผลงานนั้นมากน้อยเพียงใด โดยไม่จาํ เป็ นต้องทราบ

พื้นถิ่นปรากฎในผลงาน ศิลปิ นรุ่ นใหญ่อย่างอิทธิพล ตั้ง

ถึงอัตลักษณ์ หรื อเชื้อชาติของศิลปิ นก็สามารถเข้าถึง

โฉลก ผลงานที่ผา่ นมาส่วนใหญ่ลว้ นแต่เป็ นในรู ปแบบ

นามธรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์ แต่ในขณะเดียวกันถึงแม้จะ

นามธรรมที่นาํ เรื่ องราวความเป็ นไทย ดังเช่นผ้าไทย ตัด

มีความเป็ นสากลมากเพียงใด ศิลปิ นแต่ละชนชาติยอ่ มอิง

ทอนเรื่ องราวทิ้ง ให้หลงเหลือแต่เพียงความเป็ นลายผ้ามา

ถึงความเป็ นตัวตนหรื อประสบการณ์ที่รายล้อมไปด้วย

รังสรรค์ให้ออกมาสู่ความเป็ นนามธรรม โดยทั้ง

ความเชื่อ สภาพสังคม และวัฒนธรรม

องค์ประกอบทั้งพื้นผิว สี รู ปทรงมีความลงตัวและให้ ความรู ้สึกถึงความนิ่งทางจิตใจที่เสมือนเป็ นแก่นแท้ของ ทุกสรรพสิ่ ง นอกจากนี้ยงั คงลักษณะเฉพาะของความเป็ น ศิลปะภาพพิมพ์ผา่ นทางวัสดุที่ศิลปิ นเลือกใช้ ปริ ญญา ตันติสุข เป็ นศิลปิ นที่มกั นําเอาลวดลาย

หากเปรี ยบศิลปะนามธรรมกับการเล่นดนตรี นามธรรมเปรี ยบดัง่ วงดนตรี แจ๊ส (Jazz) ที่มกั สําแดงออก ทางอารมณ์ โดยศิลปิ นจะด้นสด(improvisation) ซึ่งก็คือ ผู ้ บรรเลงมีความเป็ นอิสระในการที่จะสร้างสรรค์ตวั โน้ต รายละเอียดต่างๆ ของท่วงทํานอง และจังหวะขึ้นใหม่

ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากภาพการ์ตูนมาสร้างผลงาน ใน

ขนบธรรมเนียมของแจ๊ส (Jazz Tradition) จะเปิ ดโอกาสให้

ระยะต่อมาผลงานของศิลปิ นมีความใกล้เคียงหรื ออิงกับ

นักดนตรี สามารถแสดงความเป็ นตัวของตัวเองให้ปรากฏ

เรื่ องราวมากยิง่ ขึ้น และบางชิน้ ก็สอดคล้องกับความเป็ น

ได้อย่างชัดแจ้ง ไม่วา่ จะเป็ นลีลาอันนุ่มนวล แข็งกระด้าง

พุทธศาสนาในแง่ของแก่นแท้ของการดํารงชีวติ นอกจากนี้

การทอดเสี ยง การสัน่ ไหว การแปรทํานอง และเทคนิค

ศิลปิ นที่โด่งดังในไทยมีอีกมากที่สร้างสรรค์ผลงานในแนว

ต่าง ๆ โดยในขณะเดียวกัน ผูฟ้ ังที่มีประสบการณ์สามารถ

นามธรรม อาทิ เดชา วราชุน วิโชค มุกดามณี

จะตระหนักรู ้ได้โดยง่ายว่าเสี ยงที่ได้ยนิ นั้นเป็ นการบรรเลง

ผลงาน The Harmonized World No.6 โดยศิลปิ น Nattaiert Supat-akanit มีการเลือกใช้วสั ดุเป็ นตัวนําให้


ของนักดนตรี คนใด เช่นเดียวกับศิลปะนามธรรม

ปนเป ส่วนวงดนตรี แจ๊สของสิ งคโปร์ถือเป็ นการนําเครื่ อง

บางครั้งผลงานอาจจะดูเหมือนกันแต่ผชู ้ มยังสามารถ

ดนตรี มากชิ้น แต่ทว่าให้เครื่ องดนตรี หลักเพียงไม่กี่ชิ้นนํา

ตระหนักรู ้เช่นกันว่าลักษณะแบบใดควรเป็ นของชนชาติใด

บรรเลงและเป็ นจุดเด่น อย่างไรก็ตามหากขาดดนตรี ในส่วน

เมื่อได้ยนิ เสี ยงดนตรี เข้าถึงอารมณ์ผฟู ้ ังอย่าง ฉับพลันอย่างประเทศญี่ปุ่น ถือได้วา่ เป็ นวงดนตรี ที่ไม่ตอ้ ง บรรเลงให้ยาวนาน แต่ทว่านําใจความความรู ้สึกที่รับรู ้ได้ของ เพลงมาด้นสดอย่างสนุกสนานและแพรวพราวด้วยเทคนิค ใช้ดนตรี หลากชนิดแต่ไม่มากเครื่ องบรรเลงเพลงออกมา

ใดไปวงก็ไม่สามารถสมบูรณ์ได้ และวงแจ๊สของประเทศ ไทยเป็ นดัง่ การนําเครื่ องดนตรี ที่หลากหลายไม่วา่ จะเป็ น เครื่ องดนตรี สมัยใหม่ เครื่ องดนตรี พ้ืนถิ่นมาประยุกต์ใช้ เสมือนเป็ นการแสดงเพลงแจ๊สครั้งใหญ่และครบรสในทุก เครื่ องดนตรี อย่างเหนือชั้น

อย่างอิสระเสรี เกาหลีใต้ใช้เครื่ องดนตรี เพียงไม่กี่ชิ้นมา

อาจกล่าวได้วา่ หัวใจสําคัญของนามธรรมและวง

แสดง แต่ทุกชิ้นได้อารมณ์และโดดเด่นในลักษณะเฉพาะของ

ดนตรี แจ๊ส คือ การใช้อารมณ์ความรู ้สึกรังสรรค์ผา่ น

เครื่ องดนตรี น้ นั ๆ อาจเป็ นอารมณ์ที่ไม่ได้หลากหลาย แต่

ผลงาน ซึ่งเราสามารถทราบซึ้งถึงความจับใจในศาสตร์ท้ งั

ทว่าเป็ นอารมณ์ที่เรี ยบง่ายและกินใจผูฟ้ ัง หรื ออาจเรี ยกได้วา่

สองได้โดยไม่ตอ้ งใช้องค์ประกอบอื่นๆมาทําความเข้าใจ

เป็ นการฟังแจ๊สที่นุ่มนวลมากเมื่อเทียบกับชาติอื่นๆ ชนชาติ

เพียงแต่ใช้ความรู ้สึกที่ตนมีเชื่อมต่อกับสารที่ศิลปิ นมอบให้

เวียดนามเป็ นวงที่นาํ เครื่ องดนตรี พ้นื เมืองมาผสานกับเครื่ อง

ก็จะทําให้ความรู ้สึกทั้งที่อยูบ่ นเฟรมในผลงานศิลปะ และ

ดนตรี นอ้ ยชิ้นอย่างลงตัว จังหวะมีกลิ่นอายความเป็ นพื้นถิน่

ที่มีอยูใ่ นเสี ยงเพลงมีความสมบูรณ์แบบและมีชีวติ ชีวามาก

ที่แสดงออกถึงความสุข และเรี ยบง่ายในบรรเลง โดยดนตรี

ยิง่ ขึ้น

พื้นเมืองดังกล่าวดุจดังการนําเครื่ องดนตรี ของชาติจีนมาผสม


M.KUM

NIRAMON RUANGSARD พืน้ ทีใ่ หม่ ทางออกของผู้สร้ างสรรค์ งานศิลปะ โดย นิรมล เรื องสอาด

“สถานะภาพความเป็ นศิลปะของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งขึ้นอยูก่ บั สถาบัน หากเป็ นเช่นนั้น อะไรกันแน่ที่เป็ นเงื่อนไขที่ทาํ ให้สิ่งใดสิ่ งหนึ่งเป็ นศิลปะ อะไรมีน้ าํ หนักมากกว่ากัน ระหว่างตัวผลงานกับตัวสถาบันตัวงานศิลปะ” บทสัมภาษณ์ของ เมลิสสา ชู(Melissa Chiu) ในหนังสื อ ปรากฏการณ์ นิทรรศการ โดยธนาวิ โชติประดิษฐ จากบทสัมภาษณ์ของ เมลิสสา ชู(Melissa Chiu) ดังกล่าว ทําให้เกิดเป็ นคําถามที่ถูกถามอยูเ่ สมอว่าตกลงแล้ว ตัวผลงาน หรื อพื้นที่การแสดงผลงานที่เป็ นชี้วา่ สิ่ งใดเป็ นหรื อไม่เป็ นผลงานศิลปะ ซึ่ งในปั จจุบนั พื้นที่สาํ หรับการแสดงออกทางศิลปะได้ เปลี่ยนแปลงไปมากทั้งในรู ปแบบ และกลุ่มคนดูจนทําให้ความศักดิ์สิทธิของการชี้วา่ สิ่ งใดเป็ นหรื อไม่เป็ นศิลปะนั้นเริ่ มหายไป จากเดิ มที่ หอศิ ลป์ เคยได้รับการยกย่องให้เป็ นพื้นที่ สําหรั บงานศิ ลปะเพื่อแบ่ งแยกศิ ลปะกับชี วิตประจําวัน โดยที่ ผลงานศิลปะจะถูกจัดวางและเก็บรักษาอย่างดีมีการควบคุมอุณหภูมิเพื่อจะเก็บรักษาคุณค่าและตัวงานอยูไ่ ด้นานขึ้น แต่การจัด ผลงานและการรักษานั้นก็ได้ก่อให้เกิดช่องว่างระหว่างผูช้ มและผลงานศิลปะเสมอ แต่ปัจจุบนั ศิลปิ นรุ่ นใหม่กลับไม่ได้มีแนวคิด เช่ นนั้น เพราะศิ ลปิ นเหล่านั้นต้องการให้ศิล ปะมี ค วามเป็ นกัน เองกับคนดู มากขึ้ นก่ อ ให้เกิ ดผลงานในรู ปแบบที่ ให้คนดู มี ปฏิสมั พันธ์ หรื อให้นาํ ผลงานกลับบ้าน จนทําให้เกิดความเป็ นไปได้ใหม่ในพื้นที่และแนวทางในศิลปะแบบใหม่


เมื่อพื้นที่ทางศิลปะถูกเปลี่ยนไป จากเพียงพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ มาเป็ นพื้นที่วา่ ง โกดัง หรื อร้านอาหาร ร้านกาแฟ ที่มี หน้าตาค่อนข้างแตกต่างจากพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ แบบแนวประเพณี และมีความเป็ นกันเองกับผูช้ มมากกว่าจากการที่อาจไม่ได้ กําหนดขอบเขตของผูช้ มและตัวศิลปะเองว่าต้องอยูภ่ ายใต้กระจกอีกต่อไปแล้ว ส่ วนทางด้านทางจัดการอาจไม่แตกต่างกันมาก นักเพราะต้องมีการรวมกลุ่มกันของศิลปิ น คัดสรรผลงาน ติดต่อสถานที่ และทําการโฆษณา แต่อาจยังไม่มีการเน้นการค้าขาย มากนักหรื อถ้ามีการค้าขายขึ้นจริ งก็เป็ นการค้าโดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลางอย่างเจ้าของแกลลอรี่ หรื อนายหน้าแต่อย่างใด ยิ่งใน พื้นที่ที่ไม่ถูกจัดการมาก่อนอย่างโกดังหรื อพื้นที่วา่ ง ยิ่งต้องถูกศิลปิ นหรื อผูจ้ ดั งาน จัดการพื้นที่เหล่านั้นมากกว่าในหอศิลป์ เสี ย อีก

ในบริ เวณย่ า นพระนครซึ่ งถื อ ว่ า เป็ นเขตที่ มี เรื่ องราวทางด้านศิลปวัฒนธรรมมาอย่างยาวนาน และยังมี มหาวิทยาลัยศิ ลปากร ซึ่ งเป็ นมหาวิทยาลัยที่ สอนเกี่ ยวกับ ศิ ลปะอี กด้วย ทํา ให้พ้ืนที่ บริ เวณนี้ จึ งมี สถาบันและพื้น ที่ สําหรับการแสดงผลงานสร้างสรรค์อยูจ่ าํ นวนมาก คือ หอ ศิ ล ป์ หรื อสถาบั น ศิ ล ปะที่ เ น้ น การให้ ค วามรู ้ ท างด้ า น ศิลปวัฒนธรรมแก่ผชู ้ ม เช่น หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, พิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติ หอศิ ลป ถนนเจ้าฟ้ า , หอศิลป์ 21

สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ,หอศิลป์ ร่ วม 21

สมัยราชดําเนิ น,มิวเซี ยม สยาม(Museam Siam),นิ ทรรศ รัตนโกสิ นทร์ และที่ กาํ ลังสร้ างคื อพิพิธบางลําพู เป็ นต้น ส่ วนหอศิ ลป์ หรื อสถาบันศิ ลปะที่ เน้นกิ จการอย่างอื่นเป็ น หลักแต่แฝงผลงานศิลปะไว้ เช่น ร้านอาหารบราวน์ชูการ์ (Brown Sugar),ร้านพระนครบาร์,เดอะ แกลลอรี่ ช๊อปคาเฟ่ (The gallery shop Cafe) และร้านอาหารหลังแรกบาร์ เป็ น ต้น

พื้นที่ทางเลือกสําหรับผูส้ ร้างสรรค์งานศิลปะที่จะ ยกมากล่าวคือ ร้านอาหารหลังแรกบาร์ เป็ นบ้านไม้โบราณ หลัง แรกของย่า นนี้ มี ล ัก ษณะเป็ นทรงยุโ รปอยู่ใ นซอย มหรรณพ1 เขตเสาชิงช้า แขวงพระนคร กรุ งเทพมหานคร เปิ ดบริ การตั้งแต่เวลา 11.00 – 01.00 น. เปิ ดกิจการมาเป็ น เวลามาเกื อ บสองปี มาแล้ว ตัว ร้ า นมี บ รรยากาศสบาย ส่ วนตัว และเป็ นกันเองจนทําให้รู้สึก เหมื อนลู กค้ากําลัง ทานอาหารอยูใ่ นบ้านของตนเอง นอกจากการทานอาหาร แล้วยังมีดนตรี ให้ได้รู้สึกผ่อนคลายอีกด้วย จากแนวเพลง Blues,Oldies,Alternative,60s-70s ร้ า น แ ห่ ง นี้ จ ะ แ บ่ ง ออกเป็ นพื้นที่ เป็ น 2 ส่ วน คื อส่ วนด้านนอกที่ เป็ นแบบ กลางแจ้งสําหรับผูท้ ี่ชื่นชอบบรรยากาศกลางแจ้ง และส่ วน ด้านในเป็ นห้อ งปรั บอากาศที่ มีการจัดนิ ท รรศการศิ ลปะ หมุนเวียนให้ชมทุกเดือน ซึ่งเป็ นการสร้างความเป็ นกันเอง ของศิลปะกับกลุ่มผูช้ มกลุ่มใหม่ที่เป็ นคนที่รู้จกั และไม่รู้จกั ผลงานศิลปะมาก่อน โดยการแทรกเข้าไปอย่างแนบเนี ยน จนกลุ่มคนเหล่านั้นอาจไม่รู้เลยว่ากําลังอยู่ในนิ ทรรศการ ศิ ลปะ เช่ นวิธีการติ ดตั้งโดยการสอดผลงานไว้ในกระจก โต๊ะอาหาร ติ ด ตามฝาผนัง ร้ าน มี ป ระติ ม ากรรมในสวน ภายนอกร้าน หรื อแม้กระทัง่ เป็ นของเล่นไว้เพื่อรออาหาร เป็ นต้น


เจ้าของร้าน นายวิสิทธิ์ เตชสิ ริโกศล ซึ่งได้เล่า ว่าประทับใจบ้านหลังนี้เมื่อหลายปี ก่อนเพราะได้เคยมา เที่ยวที่บา้ นหลังนี้ ในครั้งเมื่อเป็ นร้านลัลลาร์ บาร์ ต่อมา เมื่ อจบการศึ กษาปริ ญญาตรี จึงคิดอยากมี กิจการง่ายๆ เป็ นของตนเอง ด้วยเดิมเจ้าของร้านก็จบการศึกษาด้าน ศิลปะจากมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ และเคยผ่านช่วงเวลา ต้องการพื้นที่ เพื่อจะแสดงผลงานของตน จึ งได้ทาํ การ ยืน่ แฟ้ มผลงานไปตามแกลลอรี่ ต่างๆแต่โดนปฏิเสธ จึง มีแนวคิดที่ตอ้ งการสร้างพื้นที่ที่มีความเป็ นกันเองกับผู ้ ที่ตอ้ งการมีพ้ืนที่แสดงผลงานสร้างสรรค์ได้นาํ มาแสดงโดยมีขอ้ จํากัดที่นอ้ ยที่สุด โดยไม่จาํ กัดทั้งเทคนิคการสร้างสรรค์และตัวผู ้ ที่ตอ้ งการแสดงผลงาน ซึ่งไม่ได้จาํ กัดเพียงแค่นกั ศึกษาศิลปะหรื อศิลปิ น แต่เป็ นใครก็ได้ที่มีผลงานแล้วต้องการพื้นที่เพื่อแสดง ผลงานของตนเอง หลักการเลือกงานก็ไม่ยงุ่ ยากเพียงแต่ผทู ้ ี่มาติดต่อแสดงงานต้องเป็ นผูท้ ี่มีตอ้ งการแสดงด้วยใจจริ ง และทํางานศิลปะ อย่างจริ งจังเพียงเท่านั้น ส่ วนด้านผลงานจะเป็ นรู ปแบบใดก็ได้ ตั้งแต่งานแนวดั้งเดิ มอย่างจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หรื องานร่ วมสมัยอย่าง ศิลปะจัดวาง(Installation Art) ศิลปะแนวความคิด(Conceptual Art) วีดีโออาร์ ท(Video Art) เพอร์ ฟอร์ แมนซ์(Performance) หรื อแม้กระทัง่ งานพาณิ ชย์ศิลป์ เจ้าของร้านก็ยินดีเช่นกัน และอีกข้อตกลงคือทางร้านจะให้ผทู ้ ี่จะมา แสดงงาน ต้องจัดการทุกอย่างด้วยตนเองไม่วา่ จะเป็ นการออกแบบพื้นที่แสดงงาน การจัดวางผลงาน การออกแบบสู จิบตั รและ ใบปิ ดประกาศด้วยตนเอง ทางร้านจะสนับสนุนเพียงเครื่ องดื่มเท่านั้น เพราะเจ้าของร้านต้องการให้เกียติให้ผแู ้ สดงงานในการ ตัดสิ นใจในนิทรรศการของตนเอง และต้องการให้ผทู ้ ี่แสดงงานได้รับรู ้ข้ นั ตอน วิธีการจัดแสดงงานด้วยตนเองมากกว่าการเป็ น ผูเ้ ขียนงานศิลปะและนํามาฝากขายเพียงอย่างเดียว


ขอบเขตในการใช้พ้นื ที่ของร้านมีเพียงข้อเดียวคือไม่ให้เจาะผนังของร้านเพิ่มเพราะด้วยตัวร้านที่เป็ นบ้านไม้ที่ค่อนข้าง เก่าถ้าเจาะผนังเพิ่มอาจมีการชํารุ ดได้ ส่ วน การกําหนดราคาของผลงาน เจ้าของร้านได้ให้ศิลปิ นเป็ นผูก้ าํ หนดราคาเองทั้งหมด และถ้าหากมีลูกค้ามาสนใจขอซื้อผลงานศิลปะ เจ้าของร้านก็จะติดต่อศิลปิ นให้กบั ลูกค้าผูน้ ้ นั โดยตรงและไม่มีการหักส่ วนแบ่ง ผลกําไรแต่อย่างใด ในปั จจุบนั เรื่ องของการค้าขายงานศิลปะนั้นไม่ใช่ส่วนหลัก แต่ในอนาคตเจ้าของร้านก็ตอ้ งการนําผลงานที่ สะสมไว้จากผูท้ ี่เคยมาแสดงงานที่นี่ออกขายเป็ นรายได้อีกทางเช่นกัน แต่ยงั คงความเป็ นกันเองกับศิลปิ นและผูช้ มไว้อยู่ เพราะ ต้องการให้ร้านแห่งนี้เป็ นพื้นที่ที่มีความเป็ นกันเองราวกับบ้านของผูท้ ี่มาเข้ามา การพยายามแทรกงานศิ ลปะไว้เป็ นส่ วนหนึ่ งของชีวิตประจําวันที่สามารถมองเห็ นได้ง่ายภายในสถานที่ ที่ ไม่สร้าง ความอึดอัดด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆอย่างหอศิ ลป์ หรื อพิพิธภัณฑ์ ทําให้ร้านอาหารหรื อร้านกาแฟจึ งเป็ นทางเลือกสําหรับศิ ลปิ นที่ ต้องการแสดงงานขนาดไม่ใหญ่มาก อีกทั้งยังได้กลุ่มคนผูช้ มหน้าใหม่ที่แตกต่างกันไปในแต่ละวัน เพราะกลุ่มผูช้ มที่ ไปยัง สถานที่น้ นั ก็เพื่อพบปะพูดคุยกับเพื่อนสนิ ท ทําให้อารมณ์ความรู ้สึกในการชมงานศิลปะผ่อนคลายลงมากกว่าในหอศิลป์ หรื อ พิพิธภัณฑ์ และทําให้ผชู ้ มเหล่านั้นได้ชมผลงานศิลปะจนอาจชอบและลองไปลงปฏิบตั ิอย่างไม่รู้ตวั แต่อย่างไรก็ตาม พื้นที่ทางศิ ลปะมีความหมายกว้างไปกว่าสถาบันทางศิ ลปะต่างๆ ซึ่ งอาจรวมไปถึงร้านอาหาร ร้าน กาแฟ โรงภาพยนตร์ สวนสาธารณะ ข้างถนน พื้นที่วา่ ง หรื อแม้อย่างในปั จจุบนั คือพื้นที่ในโลกอินเตอร์ เน็ต ทําให้ขอบเขตของ การจํากัดความศิลปะว่าขึ้นอยูก่ บั พื้นที่น้ นั ได้หายไปและส่งผลให้เกิดศิลปะรู ปแบบใหม่ในเวลาต่อมาอีกด้วย


D.I.Y

Do it your self

How to Draw Eye


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.