E book mastercam thai 181

Page 1

1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล ในปจจุบันคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันมากขึ้น รวมไปถึงโรงงานอุตสาหกรรม ไดนําเอาโปรแกรมสําเร็จรูปมาชวยในการออกแบบ Computer Aided Design (CAD) เพื่อความสะดวก รวดเร็วและแมนยํา ชวยใหความผิดพลาดจากการผลิตนอยลงรวมถึงมีตนทุนในการผลิตต่ําลงแตมีคุณภาพดีขึ้น ทําใหระบบการผลิตมีความยืดหยุนชวยลดเวลาในการผลิต ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งสําหรับนักศึกษา วิศวกรหรือ บุคคลที่สนใจ ที่ทํางานอยูในระบบอุตสาหกรรมที่จะเรียนรูโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอรเพื่อใหเกิด ความรู ความเขาใจและมีทักษะความชํานาญในการใชโปรแกรม โปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอรในปจจุบันมีอยางแพรหลายเกี่ยวกับงาน CAD/CAM มี หลากหลายโปรแกรมใหเลือกใชตามความตองการและเหมาะสม หนึ่งในโปรแกรมนั้นคือ Master CAM เปน โปรแกรมที่ใชในวงการอุตสาหกรรม เนื่องจากโปรแกรมมีความสามารถหลายดาน จึงเปนโปรแกรมที่นาศึกษา เปนอยางยิ่งโปรแกรมนี้สามารถออกแบบเปน 3 มิติและการ Simulation การคํานวณความเร็วรอบ อัตราปอน ไดภายในตัวโปรแกรมนี้ซึ่งไมตองไปเสียเวลาในการหาโปรแกรมตัวใหม นอกจากนี้ยังสามารถแปรงเปน NC Code สั่งใหเครื่องจักรทํางานตาม NC Code ที่ทําขึ้นมาซึ่งจะเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาโปรแกรม Master CAM ในสวนของ Master CAM Mill และ Master CAM Lathe เพื่อชวยในการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาการใชงานโปรแกรม Master CAM 2. ศึกษาขอบขายและคุณสมบัติของ CAM ที่ใชควบคุมการทํางานของเครื่อง CNC 3. ออก code สําหรับงานกัดและงานกลึงและศึกษาระบบการใชงานของเครื่อง CNC 1.3 ขอบขายของงาน 1. ศึกษาการเขียนแบบดวยโปรแกรม Master CAM ทั้งงานกัดและงานกลึง 2. ออกแบบชิ้นงานทั้งงานกัดและงานกลึง 3. ศึกษาขั้นตอนการทํา CAM ทั้งงานกัดและงานกลึงและออก NC code สําหรับการผลิต 4. ทดลองผลิตชิ้นงานจริงโดยเครื่อง CNC 5. สรุปรายงานขั้นสุดทาย


2

1.4 แผนการดําเนินงาน ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน เดือน ลําดับที่

กิจกรรม มิย กค

1.

ศึกษาการเขียนแบบดวย โปรแกรม Master CAM ทั้ง งานกัดและงานกลึง

2.

ออกแบบชิ้นงานทั้งงานกัดและ งานกลึง

3.

ศึกษาขั้นตอนการทํา CAM ทั้ง งานกัดและงานกลึงและออก NC code สําหรับการผลิต

4.

ทดลองผลิตชิ้นงานจริงโดย เครื่อง CNC

5.

สรุปรายงานขั้นสุดทาย

สค

กย

ตค

พย

ธค

มค

1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. สามารถใชโปรแกรม Master CAM ในการออกคําสั่งและควบคุมการทํางานของ เครื่อง CNC ทั้ง เครื่องกัดและเครื่องกลึง 2. ชวยในการออกแบบผลิตภัณฑที่ซับซอนไดอยางรวดเร็ว 3. ชวยลดขั้นตอนและเวลาในการทํางาน


3

บทที่ 2 เครื่องจักรกลซีเอ็นซี

2.1 วิวัฒนาการของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลในอดีตเปนเครื่องจักรกลแบบงาย ๆ ที่ตองการชางผูควบคุมที่มีความชํานาญงาน ควบคุมการผลิตอยางใกลชิด คาความเที่ยงตรงของชิ้นงาน ขึ้นอยูกับความเชี่ยวชาญของชางผูควบคุม เครื่องจักรกลนั้น ๆ เชนในการตัดเฉือนชิ้นงานของเครื่องจักรกลทั่วไป ชางผูควบคุมจะใชมือหมุนเพื่อเลื่อนคม ตัดใหเคลื่อนที่ไป ซึ่งลักษณะเชนนี้ชางผูควบคุมจะตองคอยเฝาดูตําแหนงของคมตัดที่สัมพันธกับเสนรอบรูปบน ชิ้นงานที่กําลังตัดเฉือนอยูตลอดเวลาและในการเปลี่ยนแปลงตําแหนงของคมตัดชางผูควบคุมจะตองหมุนมือ เพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ของแทนเลื่อน และคอยสังเกตคมตัดคมตัดเพื่อคอยตรวจสอบตําแหนงของชิ้นงานกับ คมตัด เพื่อใหไดตําแหนงที่ตองการ นอกเหนือจากการควบคุมตําแหนงของชิ้นงานกับเครื่องมือตัดแลว ชาง ยังตองควบคุมอัตราปอนซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุชิ้นงานวัสดุเครื่องมือตัดและตําแหนงของคมตัดอีกดวย ซึ่ง ตอมาไดมีการพัฒนาเอาระบบควบคุมแบบงาย ๆ เขามาใชกับเครื่องจักรกลแตเปนระบบที่ควบคุมการทํางาน ของเครื่องมือใหสามารถทํางานไดเฉพาะอยางเทานั้น เมื่อระบบเอ็นซีไดถูกนํามาเผยแพร จึงมีการนําระบบเอ็น ซีเขามาใชกับเครื่องจักรกล ทําใหการผลิตชิ้นงานดวยเครื่องเอ็นซีมีความเที่ยงตรงสูง ซึ่งเอ็นซีมาจากคําวา Numerical control หมายถึงการควบคุมเครื่องจักรกลดวยระบบตัวเลขและตัวอักษร หรือจะจํากัดความคําวา เอ็นซี ไดดังนี้ คือ การเคลื่อนตาง ๆ ตลอดจนกระทั่งการทํางานอื่น ๆ ของเครื่องจักรกลจะถูกควบคุมโดยรหัสที่ ประกอบดวยตัวเลขตัวอักษรและสัญลักษณอื่น ๆ และจะถูกแปลงเปนสัญญาณไฟฟาที่จะไปกระตุนมอเตอร หรืออุปกรณอื่น ๆ เพื่อทําใหเครื่องจักรทํางานตามขั้นตอนที่ตองการแตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการทํางาน ของเครื่องเอ็นซีเพื่อใหเหมาะกับลักษณะของงานที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นคอนขางจะยุงยาก ภายหลังคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทจนเปนที่รูจักกัน จึงไดมีการนําคอมพิวเตอรเขามาใชรวมกับ ระบบเอ็นซี ซึ่งเปนระบบที่ใชคอมพิวเตอร เปนตัวควบคุมการทํางานของเครื่องจักร เรียกวาระบบ ซีเอ็นซี มา จากคําวา Computerized Numerical control เปนระบบควบคุมเอ็นซีที่ใชคอมพิวเตอรที่มีความสามารถสูงเพิ่ม เขาไปในระบบ ทําใหสามารถจัดการเก็บขอมูลที่ปอนเขาไปในระบบเอ็นซี และ ประมวลผลขอมูลเพื่อนําผลลัพธ ที่ไดไปควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล ในปจจุบันเครื่องจักรกลเอ็นซี สวนมากจะหมายถึงเครื่องจักรกล ซีเอ็นซี ทั้งนี้เพราะวา ระบบเอ็นซีที่ไมมีคอมพิวเตอรเปนสวนประกอบมักไมนิยมสรางใชแลว เนื่องจาก คอมพิวเตอรมีราคาถูกลง และมีความยืดหยุนพรอมประสิทธิภาพที่สูงกวา


4

2.2 ความแตกตางระหวางเครื่องจักรกลเอ็นซีกับเครื่องจักรกลทั่วไป ความแตกตางในการใชเครื่องจักรกลเอ็นซี เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องจักรกลทั่วไปก็คือ การตัดสินใจ ในการกําหนดขั้นตอนในการทํางานตาง ๆ จะกระทําเพียงครั้งเดียว กลาวคือจะกระทําในขั้นตอนการวางแผน และสรางโปรแกรม สําหรับควบคุมเครื่องจักรกลเทานั้น ตอจากนั้นโปรแกรมก็จะถูกนําไปใชในการทํางานของ เครื่องจักรกลสําหรับการผลิตชิ้นงานที่ตองการ โดยสามารถทําการผลิตงานซ้ํา ๆ กันกี่ครั้งก็ไดตามตองการ นอกจากโปรแกรมการทํางาน ซึ่งเปรียบเสมือนการวางแผนการทํางานที่ไดจัดเตรียมการทํางานทุก ขั้นตอน ตลอดจนการปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได การผลิตชิ้นงานดวยเครื่องจักรกลเอ็นซียังชวยลดเวลา การทํางานอื่น ๆ ที่จําเปน เชน การลดเวลาการตรวจสอบขนาดของชิ้นงาน ลดเวลาในการปรับตําแหนงของ ชิ้นงาน ลดเวลาในการปรับเปลี่ยนความเร็วรอบในการทํางาน เปนตน

2.3 ความแตกตางระหวางระบบเอ็นซีกับระบบซีเอ็นซี ความแตกตางระหวางระบบเอ็นซีกับระบบซีเอ็นซีก็จะอยูที่ความสามารถของระบบควบคุมนั่นคือ คอมพิวเตอร เมื่อนําระบบซีเอ็นซีไปควบคุมเครื่องจักรกล ความสามารถในการทํางานตาง ๆ จะเพิ่มมาดขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องจักรกลเอ็นซีดังนี้ 1. การแสดงรูปจําลอง (Simulation) การทํางานตามโปรแกรมที่ปอนในระบบจอภาพ 2. ความจุของหนวยความจําเพิ่มมากขึ้น สามารถเก็บขอมูลโปรแกรมไดมาก 3. การแกไขและลบโปรแกรมสามารถกระทําไดที่เครื่องจักรโดยตรง 4. สามารถสงขอมูลไปเก็บไวในหนวยความจําภายนอกได 5. ระบบความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น 6. มีการชดเชยความผิดพลาดที่เกิดจากการวัดและการสงกําลัง 7. มีโปรแกรมสําเร็จสําหรับการคํานวณคาตาง ๆ เชน ความเร็วรอบ อัตราปอน เปนตน

2.4 ขอดีและขอเสียของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซีเอ็นซี 2.4.1 ขอดีของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซีเอ็นซี 1. มีความยืดหยุนในการทํางานสูง การเปลี่ยนงานใหมจะแกไขหรือเปลี่ยนแปลงเฉพาะ โปรแกรมเทานั้น 2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) จะอยูชวงระดับเดียวกันตลอดชวงความเร็วรอบและอัตราการ ปอนที่ใชทําการ ผลิต 3. ใชเวลาในการผลิต (Production Time) สั้นกวา 4. สามารถใชผลิตชิ้นงานที่มีรูปทรงซับซอนไดงาย 5. การปรับตั้งเครื่องจักรกระทําไดงาย ใชเวลานอยกวาการผลิตดวยวิธีอื่น ๆ 6. หลีกเลี่ยงความจําเปนที่ตองใชชางควบคุมที่มีทักษะและประสบการณสูง 7. ชางควบคุมเครื่องมีเวลาวางจากการควบคุมเครื่อง สามารถที่จะจัดเตรียมงานอื่น ๆ ไว ลวงหนาได 8. การตรวจสอบคุณภาพไมจําเปนตองกระทําทุกขั้นตอนและทุกชิ้น

2.4.2 ขอเสียของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซีเอ็นซี


5 1. ราคาของเครื่องจักรคอนขางสูง 2. การบํารุงรักษามีความซับซอนมาก 3. จําเปนตองใชชางเขียนโปรแกรม (Part Programmer) ที่มีทักษะสูงและอบรมมา โดยเฉพาะ 4. ชิ้นสวนหรืออะไหลที่ใชในการซอมบํารุง ไมสามารถผลิตในประเทศ จําเปนตองสั่ง ซื้อ 5. การซอมบํารุงจะตองใชชางที่มีประสบการณสูงและผานการฝกอบรมมาโดยเฉพาะ 6. ราคาของเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชในกระบวนการตัดเฉือน เชน แกนเพลายึดมีดกัด มีดกลึง แบบใชอินเสิรต (Insert) เปนตนมีราคาสูง 7. พื้นที่ติดตั้งเครื่องจักรตองควบคุมระดับอุณหภูมิ ความชื้น และฝุนละออง

2.5

การทํางานของเครื่องจักรกลเอ็นซี

ระบบการควบคุมของเครื่องจักรจะรับขอมูลที่เปนภาษาที่ระบบควบคุมสามารถเขาใจไดจะตองปอน โปรแกรมเขาไปในระบบควบคุมเครื่องผานแปนพิมพ (Keyboard) เมื่อระบบควบคุมอานขอมูลที่ปอนเขาไปแลวก็จะนําไปควบคุมใหเครื่องจักรกลทํางานโดยผานการ ควบคุมไปยังมอเตอร เครื่องจักรเอ็นซีจะมีการเคลื่อนที่ 3 แนวแกนก็จะมีมอเตอรปอน 3 ตัว เมื่อระบบควบคุมอานโปรแกรมแลว ก็จะเปลี่ยนรหัสโปรแกรมนั้นใหเปนสัญญาณทางไฟฟา และสงไป ยังภาคขยายสัญญาณของระบบขับ และสงไปยังมอเตอรปอนแนวแกนที่ตองการเคลื่อนที่ความเร็วและระยะทาง การเคลื่อนที่ของแทนจะถูกควบคุมโดยระบบวัดขนาด (Measuring System) ซึ่งประกอบดวยสเกลแนวตรง (Linear Scale) มีจํานวนเทากับจํานวนแนวแกน ในการเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลทําหนาที่สงสัญญาณไฟฟาที่ สัมพันธกับระยะทางที่แทนเลื่อนเคลื่อนที่กับไปยังระบบควบคุม ทําใหระบบควบคุมรูวาแทนเลื่อนเคลื่อนที่ไป เปนระยะทางเทาใด เครื่องจักรเอ็นซี (NC milling Machines) เปนเครื่องจักรที่มีขอบขายการทํางานคอนขางกวางสามารถ ทํางานกัดเชนเดียวกับเครื่องกัดทั่วไป และยังสามารถทํางานอื่น ๆ เชน เจาะรู, ทําเกลียว, ควานรู, ไดอีกดวย เครื่องกัดเอ็นซีจะมีแนวแกนการควบคุมตั้งแต 3 แกน 4 แกน 5 แกน หรือมากกวา ดังแสดงในรูปที่ 2.1 และ 2.2


6

รูปที่ 2.1 เครื่องกัด CNC แบบ 3 แกน

รูปที่ 2.2 เครื่องกัด CNC แบบแกนที่เอียงเพลามีดไดและมีโตะงานหมุน

2.6 ระบบควบคุมซีเอ็นซี (CNC Control) ระบบซีเอ็นซี (CNC System) จะมีคอมพิวเตอรประกอบอยูดวย ดังนั้น ชางควบคุมเครื่องไมเพียงแตจะ ใชโปรแกรมเอ็นซีใหเครื่องจักรทํางานไดเทานั้น แตจะสามารถเขียนและปอนโปรแกรมดวยตัวเองตลอดจนการ แกไขโปรแกรมไดหลังจากปอนเขาไปในระบบควบคุมของเครื่องแลว ดังรูปที่ 2.3 เปนไดอะแกรมของการ ควบคุมระบบ ซีเอ็นซี

รูปที่ 2.3 ระบบซีเอ็นซี

2.7 ชนิดของการควบคุม (Control Modes) ลักษณะการควบคุมการเคลื่อนที่ทําวานของแทนเลื่อนตาง ๆ ในเครื่องจักรกลซีเอ็นซี จะมีการเคลื่อนที่ อยู 2 ลักษณะ คือ


7 การเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง (Linear interpolation หรือ Straight-line interpolation) การเคลื่อนที่ลักษณะนี้ ระบบซีเอ็นซีจะคํานวณหาตําแหนงของจุดตาง ๆ ที่ตอกันเปนลูกโซในแนว เสนตรงระหวางตําแหนงของเครื่องมือ 2 ตําแหนง ในขณะเครื่องมือเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระบบควบคุมซีเอ็นซีจะตรวจสอบและแกไขแนวแกนในการเคลื่อนที่ใหถูกตองอยูตลอดเวลาทําใหการเคลื่อน ของเครื่องมือไมผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนออกจากจุดตอของเสนตรงมากกวาคาพิกดั ความเผื่อของเครื่องที่ กําหนดไว การเคลื่อนในแนวเสนโคง (Circular interpolation) ระบบควบคุมซีเอ็นซี จะคํานวณหาตําแหนงของจุด ตาง ๆ ที่ตอกันเปนเสนโคงตามขนาดรัศมีที่กําหนดระหวางตําแหนงของเครื่องมือที่กําหนดไว 2 ตําแหนงระบบ ควบคุมจะอาศัยจุดเหลานี้ในการตรวจสอบและแกไขแนวการเคลื่อนที่ของเครื่องมือใหถูกตองและอยูภายใน พิกัดความเผื่อของเครื่องจักรกลที่กําหนด เคลื่อนที่ปอนออกเปน 2 ชนิด คือ 2.7.1. การควบคุมจุดตอจุด (Point to point control) การควบคุมแบบนี้จะควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือระหวางจุดสองจุดที่โปรแกรมไวในลักษณะการ เคลื่อนที่เร็ว (Rapid traverse) โดยที่เครื่องมือจะตองไมสัมผัสชิ้นงาน แนวแกนในการเคลื่อนที่ชิ้นอยูกับชนิด ของระบบควบคุม กลาวคือ มอเตอรขับของระบบปอนจะเริ่มทํางานหลาย ๆ แนวแกนพรอมกัน หรือทํางานที ละแนวแกน จนกวาจะเคลื่อนที่ถึงตําแหนงของเครื่องมือที่โปรแกรมไว ทําใหไมสามารถควบคุมทางเดินของ เครื่องมือ (Tool path) ได การควบคุมแบบจุดตอจุดมักจะใชกับเครื่องเจาะ (Drilling machine) เครื่องเชื่อม จุด (Spot welding) เปนตน ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 การควบคุมแบบจุด 2.7.2 การควบคุมการตัดเฉือนแนวเสนตรง (Straight-cut controls)


8 การควบคุมชนิดนี้ นอกจากจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือแบบเคลื่อนที่เร็วไดแลวยัง สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือในแนวขนานกับแนวแกนของเครื่องจักรกลตามคาอัตราปอนที่ ตองการไดอีกดวย แตจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ไดครั้งละ 1 แนวแกนเทานั้น การเคลื่อนที่ของเครื่องมือ จะถูกควบคุมดวยอัตราการปอนและความยาวในการเคลื่อนที่ ระบบการควบคุมการตัดเฉือนแนวเสนตรงชนิดนี้ จะใชกับเครื่องกัดและเครื่องกลึงแบบงาย ๆ ดังรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 การควบคุมแบบเสนตรง

2.7.3 การควบคุมตามเสนของรูป (Contouring controls) การควบคุมแบบนี้จะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ทํางานเหมือนดังรูปที่ 2.6 ไดดังนี้ 1. ควบคุมเครื่องมือที่เคลื่อนที่ไปยังตําแหนงที่ตองการแบบเคลื่อนที่เร็วได 2. ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ขนานกับแนวแกนไปยังตําแหนงที่ตองการตามคาอัตราการ ปอน 3. ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ยังตําแหนงใด ๆ บนชิ้นงานที่กําหนดในแนวเสนตรงและเสน โคงตามคาอัตราปอนได


9

รูปที่ 2.6 การควบคุมเสนตามขอบ การควบคุมตามเสนของรูปนี้ ยังสามารถแยกยอยไดอีกเปน 3 ระดับ ซึ่งขึ้นอยูกับความสามารถของ ระบบควบคุม คือ ความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือได 2 หรือ 3 แกนพรอม ๆ กัน โดย ไมคํานึงถึงวาเครื่องจักรกลซีเอ็นซีนั้น ๆ จะมีกี่แนวแกน จุดสําคัญจะอยูที่วาจะสามารถควบคุมแนวแกนปอนให พรอม ๆ กันกี่แนวแกน ระบบความสามารถทั้งสามระดับของระบบควบคุม มีรายระเอียดดังนี้ การควบคุมแบบเสนของรูปแบบ 2 แกน (2-D contouring control) ระบบควบคุมจะสามารถ ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ระนาบ (plane) ที่กําหนดไดเฉพาะ 2 แนวแกนพรอม ๆ กันทําใชสามารถ เคลื่อนที่ไดทั้งในแนวเสนตรงและเสนโคง แตจะไมสามารถเปลี่ยนระนาบในการทํางานได ถาเครื่องจักรกล ซีเอ็นซีนั้นมี 3 แนวแกน และระบบควบคุมเปนระบบการควบคุมตามเสนของรูป 2 แกนแลว แนวแกนที่ 3 จะ ถูกควบคุมอิสระจากการ 2 แนวแกนขางตน เชน เครื่องกัด (Milling Machine) จะใชแนวแกนหนึ่งสําหรับ การเคลื่อนที่ปอนลึก สวนอีก 2 แนวแกน จะใชสําหรับการเดินกัดตามเสนของรูป ดังแสดงในรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 การควบคุมตามเสนขอบรูป 2 แกน


10 การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 2 แกนครึ่ง (2-D Contouring control) ระบบควบคุมแบบนี้จะ ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ใหแนวเสนตรงและเสนโคงบนระนาบใด ๆ ที่ตองการได แต จะสามารถควบคุม การเคลื่อนที่ไดเพียง 2 แนวแกนพรอมกันเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 2.8

รูปที่ 2.8 การควบคุมตามเสนขอบรูปแบบ 2 แกนครึ่ง สําหรับเครื่องจักรกลซีเอ็นซีมี 3 แนวแกน คือ X, Y และ Z แนวแกนคูใดคูหนึ่ง คือ Y/Z หรือ X/Z จะสามารถควบคุมใหเคลื่อนที่พรอมกันได นั่นหมายความวา สําหรับเครื่องกัด การเคลื่อนที่ปอนกินลึก (Infeed) สามารถทําในแนวแกนใด ๆ ไดทั้ง 3แนวแกน สวนอีก 2 แนวแกนที่เหลือจะใชสําหรับเดินกัดตามเสน ขอบรูป การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 3 แกน ( 3-D Contouring control) ระบบควบคุมจะสามารถ ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนในแนวเสนตรงและเสนโคงไดพรอมกันทั้ง 3 แนวแกน เปนลักษณะ 3 มิติได ทิศทางควบคุมดังแสดงในรูปที่ 2.9

รูปที่ 2.9 การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 3 แกน

2.8 การควบคุมหนาที่การทํางานของเครื่องจักรกล (Control of machine function) ระบบควบคุมซีเอ็นซีนอกจากจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือตามรูปทรงเรขาคณิตของ ชิ้นงานแลว ยังสามารถควบคุมหนาที่การทํางานอื่น ๆ ที่ชวยเสริมการทํางานตัดเฉือนของเครื่องจักรกลให


11 เหมาะสมกับสภาวะ การทํางานในขณะนั้นไดอีกดวยดังแสดงในรูปที่ 2.10 จํานวนหนาที่การทํางานและวิธีการ ควบคุมจะไมขึ้นอยูกับตัวเครื่องจักรกลเพียงอยางเดียวแตยังขึ้นอยูกับระบบควบคุม ตัวอยางหนาที่การทํางานตาง ๆ ที่จําเปนจะตองโปรแกรมเพื่อชวยในการทํางาน 1. การเริ่มหมุนของเพลางาน ทิศทางการหมุนและเปลี่ยนความเร็วรอบ 2. การกําหนดตําแหนงของเพลางาน 3. การเปดสารหลอเย็น และความดันของสารหลอเย็น 4. การรักษาอัตราปอนใหคงที่ 5. การเปลี่ยนตําแหนงของเครื่องมือ 6. การรักษาความเร็วตัดใหคงที่ 7. การเริ่มทําวานหรือควบคุมการทํางานของอุปกรณชวยงานอื่น ๆ เชน อุปกรณ เปลี่ยนชิ้นงาน ไดแก โตะเปลี่ยนงาน (pallet shuttle) เปนตน 8. ชุดยันศูนยทายแทน ( Tail- stock) 9. อุปกรณใสและถอดชิ้นงาน (loader and unloader) 10. แทนประคองศูนย (Steady rest) 11. อุปกรณลําเลียงเศษ (chip conveyor) 12. Sorter

รูปที่ 2.10 หนาที่การทํางานของเครื่องจักรกล

2.9 องคประกอบของระบบควบคุมซีเอ็นซี (CNC Control system components) ระบบซีเอ็นซีจะประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ มากมาย ถาเราพิจารณาถึงสิ่งที่เราตองการใหระบบ สามารถทําได เราจะสามารถแสดงใหเห็นองคประกอบของระบบซีเอ็นซีดวยไดอะแกรมงาย ๆ ในรูปที่ 2.11


12

รูปที่ 2.11 องคประกอบของระบบควบคุม CNC หัวใจของระบบซีเอ็นซีก็คือ คอมพิวเตอร ซึ่งทําหนาที่ในการคํานวณทั้งหมดและเชื่อมโยงขอมูลตาง ๆ เขาดวยกันอยางเปนเหตุและผล เนื่องจากระบบซีเอ็นซีเปนองคประกอบที่เชื่อมโยงระหวางชางควบคุมเครื่อง กับเครื่องจักรกล จึงจําเปนตองมีชุดอินเตอรเฟส (Inter-face) อยู 2 ชุด ดวยกันคือ อินเตอร


13 2.9.1 ชางควบคุมชุดเฟสสําหรับเครื่อง ซึ่งประกอบดวยแผงควบคุม (Control pane) และขอตอ (connections) ตาง ๆ สําหรับเครื่องอาน เทปกระดาษ (magnetic tape unit) หนวยดิสเก็ต (Diskette unit) และเครื่องพิมพ (printer) 2.9.2 ชุดอินเตอรเฟสสําหรับเครื่องจักรกล องคประกอบหลักของชุดอินเตอรเฟสนี้จะประกอบดวย อินเตอรเฟสการควบคุม (Control interface) การควบคุมแนวแกน (axis control) และหนวยจายกําลัง (power supply) รายละเอียดของหมวดการทํางานและวิธีการทํางานของคอมพิวเตอร ตลอดจนชุดอินเตอรเฟส ทั้งสอง มีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้

2.10 แผงควบคุม (Control panel) แผงควบคุมของเครื่องจักรกลซีเอ็นซีซีโดยทั่วไปจะมีลักษณะการออกแบบที่แตกตางกันในสวนที่ เกี่ยวกับรูปแบบการวางตําแหนงของปุมควบคุมตาง ๆ จํานวนของปุมควบคุม ดังแสดงในรูปที่ 2.13 แตก็จะมี องคประกอบที่ควบคุมการทํางานกวาง ๆ ดังนี้ จอภาพ (Displays) หรือสวนแสดงขอมูล ในสวนนี้จะประกอบดวย จอภาพซีอารที (CRT Screen; Cathode Ray Tube = CRT) ในสวนแสดง ขอมูลแบบดิจิตอล digital displays และสัญญาณไฟอื่น ๆ เชน สัญญาณไฟแสดงขอผิดพลาด ดังแสดงในรูปที่ 2.12 จอภาพของระบบซีเอ็นซีจะแสดงขอมูลตาง ๆ ดังนี้ โปรแกรม : จอภาพจะแสดงขอมูลของโปรแกรมเอ็นซีที่ปอนเขาไป ตลอดจนโปรแกรมที่เก็บบันทึกอยูในระบบ ความจําของเครื่อง เครื่องมือ : แสดงรายการเครื่องมือที่ตองใชในแตละโปรแกรม ทั้งขนาดและความยาว ตลอดจนคาแกไขใหถูกตอง นอกจากนี้ยังสามารถแสดงอายุการใชงานของเครื่องมือไดอีกดวย ขอมูลเครื่องจักรกล : แสดงพารามิเตอรของเครื่องจักรกล เชน ความเร็วรอบสูงสุดของเพลางาน อัตราปอนสูงสุด เปนตน การตัดเฉือน : แสดงตําแหนงปจจุบันของเครื่องมือ บล็อก (Block) ของโปรแกรมที่ใชขณะนั้น คาอัตราปอน (F) ความเร็วรอบ (S) เปนตน การทํางานอื่น ๆ: แสดงรูปการทํางานของเครื่องมือตามโปรแกรมเอ็นซีที่ปอนไว (Simulation) เปนตน


14

รูปที่ 2.12 ขอมูลแสดงบนจอภาพ

รูปที่ 2.13 แผงควบคุมระบบซีเอ็นซี

2.11 สวนควบคุมการทํางานของเครื่องจักร (Control for operating machine) ในสวนนี้จะถูกจัดเตรียมสําหรับการควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลดวยมือ (Manual control) ซึ่ง จะมีปุมควบคุมการเคลื่อนที่ของแทนเลื่อนในแนวแกนตาง ๆ มือหมุนเลื่อนแทนเลื่อนเชนเดียวกับ เครื่องจักรกลทั่วไป ปุมสวิตซเปด/ปดสารหลอเย็น ปุมปรับความเร็วรอบ/อัตราปอน เปนตน

2.12 สวนควบคุมการโปรแกรม (Control for programming) ในสวนนี้จะใชสาํ หรับการปอน แกไข และเก็บบันทึกโปรแกรมและขอมูลอื่น ๆ สวนควบคุมการ โปรแกรมจะประกอบดวย แปนพิมพ (Key board) ที่มีทั้งตัวอักษรและตัวเลข สําหรับพิมพคําสั่งตาง ๆ 2.13

สวิตซเลือกหมวดการทํางาน (Mode selector switch)

เพื่อใหระบบควบคุมสามารถแบงแยกการทํางานไดสะดวก จึงแบงการทํางานของระบบควบคุม ออกเปนหมวดการทํางาน (Operating mode) เชน หมวดการทําโปรแกรม หมวดการปอนขอมูล หมวด เครื่องมือ หมวดการทํางานดวยมือ หมวดการทํางานอัตโนมัติ เปนตน การเลือกหมวดการทํางานจะใชสวิตซ หมุน (Rotary switch) หรือแถวของปุมควบคุม (Row of buttons) บนแผงควบคุม วิธีนี้ทําใหสามารถเปลี่ยน


15 การทํางานจากหมวดหนึ่งไปยังอีกหมวดหนึ่งไดงาย ในขณะที่งานบนจอภาพหรือสวนแสดงขอมูลแบบดิจิตอล จะแสดงหมวดการทํางานที่ใชอยู ซึ่งอาจเปนสัญญาณไฟ ตําแหนงของสวิตซ หรือตัวอักษรกับตัวเลขก็ได 2.13.1 การใชสวนควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล สวนควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล จะทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลโดยตรง สวนควบคุม แบบงาย ๆ ไดแก สวิตซปด-เปดตาง ๆ เชน สวิตซปด-เปดสารหลอเย็น สวิตซ-เปดเพลางาน ดังรูปที่ 2.14

รูปที่ 2.14 สวิทชเปด-ปด นอกจากนี้ ยังมีปุมควบคุมทางการเคลื่อนที่ชองแทนเลื่อนในแกนตาง ๆ สําหรับใชในการปรับ ตําแหนงของชิ้นงานและเครื่องมือ ซึ่งอาจทําเปนปุมเลื่อนปอน (Feed buttons) หรือคันโยกปอน (Feed joystick) หรือปุมมือหมุนอิเล็กทรอนิกส (Electronic hand wheel) ดังรูปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 ปุมเลื่อนแทนเลื่อน สวนคันโยกเลื่อนปอนจะทํางานเหมือนกับปุมเลื่อนปอน เคลื่อนที่จะใชวิธีโยกคันโยกไปในทิศทางและแนวแกนที่ตองการแทน

แตแทนที่จะใชวิธีกดปุมใหแทนเลื่อน


16 อุปกรณควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลซีเอ็นซีโดยมากจะชี้แสดงดวยสัญลักษณกํากับอยู สัญลักษณตาง ๆ เหลานี้จะกําหนดไวเปนมาตรฐาน ซึ่งมักจะอธิบายไวในหนังสือหรือตําราตาง ๆ ตัวอยาง สัญลักษณเหลานี้แสดงดังรูปที่ 2.16

รูปที่ 2.16 สัญลักษณอุปกรณควบคุมเครื่องจักรกลซีเอ็นซี 2.13.2 การใชสวนควบคุมสําหรับการโปรแกรม ในสวนควบคุมสําหรับการใชโปรแกรม จะแยกความแตกตางระหวางแปนพิมพขอมูล เชน คําสั่ง โปรแกรม ขอมูลการปรับตั้ง เปนตน กับแปนพิมพที่นําเขาสูการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ในการปอนขอมูล (Data input) โดยปกติจะใชแปนพิมพตัวอักษรกับตัวเลขแบบตาง ๆ ดังแสดงใน รูปที่ 2.16 ซึ่งสามารถปอนคําสั่งโปรแกรมไดทีละตัวอักษร นอกจากนี้ในระบบควบคุมบางแบบจะมีชุดของ แปนพิมพคําสั่งที่ใชบอย ๆ ในโปรแกรมเอ็นซี ทําใหประหยัดเวลาในการปอนขอมูลลง ดังแสดงในรูปที่ 2.17 2.18 และ 2.19 คําสั่งนี้อาจจะแสดงดวยรหัสคําสั่งนั้นโดยตรง เชน G00, G01 เปนตน หรือแสดงดวย สัญลักษณการเคลื่อนที่ก็ได


17

รูปที่ 2.17 แปนพิมพตัวเลขและตัวอักษร

รูปที่ 2.18 แปนพิมพคําสั่ง

รูปที่ 2.19 แปนพิมพคําสั่งคอมพิวเตอร แปนพิมพคําสั่งคอมพิวเตอรจะใชสําหรับการปอนขอมูล การเก็บขอมูล การแกไขขอมูล การแสดง รายละเอียดขอมูล ประมวลผลโปรแกรม ตลอดจนการสงขอมูลไปยังอุปกรณภายนอกแปนพิมพเหลานี้อาจจะ แสดงดวยคําตาง ๆ ตัวยอ หรือ สัญลักษณ


18 ตัวอยางสัญลักษณที่ใชสําหรับการควบคุมการใชโปรแกรมแสดงดังรูป 2.20

รูปที่ 2.20 สัญลักษณในการควบคุมโปรแกรม อุปกรณชวยงานภายนอก โปรแกรมเอ็นซีที่ปอนเขาไปในระบบควบคุมของเครื่องจนเต็มความจุของระบบความจําแลวจะตองลบ ขอมูลโปรแกรมนั้นออก มิเชนนั้นจะไมสามารถปอนขอมูลโปรแกรมเอ็นซีใหมเขาไปได หรือระบบความจําของ ชุดควบคุมที่สามารถเก็บบันทึกโปรแกรมไดเพียงโปรแกรมเดียว เมื่อตองการทํางานใหมที่ตองใชโปรแกรมใหม ตองลบโปรแกรมเกาออก ซึ่งการปอนโปรแกรมในแตละครั้งจะเสียเวลาคอนขางมาก โดยเฉพาะโปรแกรมที่มี ความยาวมาก ๆ ดังนั้น จึงมีอุปกรณเก็บขอมูลและสงถาย เชนรูปที่ 2.21 ซึ่งสามารถที่จะเก็บและสงโปรแกรม เอ็นซีเขาเทปแมเหล็ก (Magnetic tape cassettes) แผนดิสเก็ต (diskettes) เปนตน ซึ่งโปรแกรมเอ็นซีที่เก็บ บันทึกไวในอุปกรณเก็บขอมูลเหลานี้ เราสามารถสั่งพิมพออกมาเพื่อตรวจสอบ แกไข เพิ่มเติมขอมูลได ระบบควบคุมเอ็นซีสวนมากจะจัดเตรียมขอตอ (Connection) ไว เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงกับอุปกรณ เก็บขอมูลเหลานี้ได ตัวอยางดังรูปที่ 2.22

รูปที่ 2.21 การสงถายขอมูลไปยังอุปกรณเก็บขอมูลแบบตาง ๆ


19

รูปที่ 2.22 ตัวอยาง Port สําหรับตอขอมูลแบบตางๆ

2.14 การทํางานของคอมพิวเตอร ชิ้นสวนภายในคอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซี จะประกอบดวยวงจรอินทิเกรทเซมิคอนดัคเตอร (Integrated semi-conductor circuits) โดยทั่วไปแลวชิ้นสวนเหลานี่จะหมายถึง ไมโครชิพส (Microchips) หรือ ชิพส (Chips) หรือ ไอซี (ICs) ที่มีรูปคลายรูปรางคลายคลึงกับรูปที่ 2.23

รูปที่ 2.23 ตัวอยางไมโครชิพสหรือไอซี ไมโครชิพสที่สําคัญมีอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ ไมโครโปรเซสเซอร (Micro-processors) กับสโตเรจ (Storage) สโตเรจจะจัดเตรียมไวสําหรับทําหนาที่เก็บขอมูล (Bytes) ที่ปอนเขาไปในคอมพิวเตอรโดยชาง ควบคุมเครื่องหรือโดยวิธีการอื่น ๆ เชน เทปปรุ เปนตน สวนไมโครโปรเซสเซอรจะทําหนาที่เชื่อมโยงหรือจัดการคิดคํานวณขอมูลเหลานี้ ทําใหไดผลลัพธเปน ขอมูลใหม ซึ่งอาจเก็บไวในระบบความจําเพื่อใชในการคํานวณขั้นตอไป หรือสงผลออกมาเปนผลลัพธที่ตองการ ได ไมโครโปรเซสเซอรเปนชิ้นสวนที่สามารถนํามาโปรแกรมใหทํางานตามที่ตองการได ดังนั้น จึงสามารถที่จะ ปรับใหทํางานตาง ๆ กันที่ตองการไดงาย


20

2.14.1 อินเตอรเฟส-การควบคุมแนวแกน-แหลงพลังงาน (Interface-Axis control-Power supply) เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลทั่วไปที่ประกอบดวยแปนพิมพ (Keyboard) หนวยคํานวณ (Computer) หนวยความจํา (Memory) สามารถนํามาใชแทนระบบซีเอ็นซีสําหรับควบคุมการทํางานของ เครื่องจักรกลที่มีหนาที่ทํางานตาง ๆ ได โดยมีหนวยควบคุม (Control unit) ทําหนาที่เชื่อมโยงระหวาง คอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล หนวยควบคุมนี้จะทําหนาที่เปลี่ยนขอมูลที่คํานวณไดจากคอมพิวเตอรใหเปน คลื่นสัญญาณควบคุม (control pulse) สําหรับการขับปอนแนวแกนตาง ๆ ในระบบซีเอ็นซีหนวยควบคุมนี้จะ ประกอบดวยอินเตอรเฟสการควบคุม (control interface) การควบคุมแนวแกน (axis control) และแหลง พลังงาน (power supply) รวมกัน ดังแสดงในรูปที่ 2.24

รูปที่ 2.24 การใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลเปนระบบซีเอ็นซี โดยทั่วไปหนวยอินเตอรเฟสจะเปนหนวยที่แยกออกมาจากระบบซีเอ็นซีสามารถทําการโปรแกรมได อิสระ ซึ่งหมายความวา การเชื่อมโยงกันของหนาที่การทํางานตาง ๆ ของเครื่องจักรกลอยางสมเหตุสมผล จะ กระทําไดโดยอาศัยคอมพิวเตอร การโปรแกรมหนวยอินเตอรเฟสนี้จะกระทําโดยบริษัทผูผลิตเครื่องจักรกล ซึ่งจะเปนโปรแกรมที่ ตายตัว ไมสามารถปรับปรุงหรือแกไขโดยผูใชเครื่องจักรได สําหรับอินเตอรเฟสการควบคุมที่สามารถโปรแกรมไดโดยอิสระ จะมีชื่อเรียกยอ ๆ วา PC Programmable Control) คอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซีไมสามารถที่จะควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลไดโดยตรง จําเปนที่จะตองมีขั้นตอนการเชื่อมโยงสําหรับการเปลี่ยนแปลงคลื่นสัญญาณระหวางคอมพิวเตอรกับ เครื่องจักรกล รูปที่ 2.25 จะแสดงไดอะแกรมการควบคุมระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล


21

รูปที่ 2.25 การเปลี่ยนแปลงเคลื่อนสัญญาณควบคุมระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล ขั้นตอนการเชื่อมโยงที่จุดตอระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล จะประกอบดวยองคประกอบใหญ ๆ คือ อินเตอรเฟสการควบคุมการควบคุมแนวแกน และแหลงพลังงาน 2.14.2 อินเตอรเฟสการควบคุม (Control interface) อินเตอรเฟสการควบคุมนี้จะทําหนาที่แปลงคลื่นสัญญาณควบคุมที่สงมาจากระบบซีเอ็นซีใหเปน คลื่นสัญญาณที่เหมาะสมสําหรับเครื่องจักรกล กลาวคือ เงื่อนไขตาง ๆ ของเครื่องจักรกลที่จะไดรับผลกระทบ จากสัญญาณควบคุม จะถูกนํามาพิจารณาประกอบดวยตัวอยาง สัญญาณควบคุมใหชุดขับแกน X ทํางานถูกสง มาจากระบบซีเอ็นซี หนวยอินเตอรเฟสการควบคุมก็จะเริ่มทําการตรวจสอบเงื่อนไขตาง ๆ วาเหมาะสมหรือไม เชน 1. ฝาครอบปองกันพื้นที่ทํางานปดหรือยัง ? 2. กลไกแมคคานิกสของมือหมุนถูกปลดหรือยัง ? 3. ระบบไฮดรอลิกสเปดทํางานหรือยัง ? เมื่อผลการตรวจสอบเงื่อนไขตาง ๆ เปนที่พอใจแลว ชุดขับแกน X ก็จะสามารถเริ่มทํางานได ซึ่งใน ขณะเดียวกันการทํางานอื่น ๆ ที่สัมพันธก็จะเริ่มพรอม ๆ กันดวย เชน หลอดไฟสัญญาณการเคลื่อนที่ใน แนวแกน X ติดสวางขึ้น เปนตน 2.14.3 การควบคุมแนวแกน (axis control) หนวยควบคุมแนวแกนจะมีหนาที่ชวยใหการทํางานรวมกันของระบบวัดขนาดและระบบขับปอนกับ คอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซีงายยิ่งขึ้น โดยจะทําการปรับสภาพการทํางานใหสอดคลองสัมพันธกันอยางอิสระ และเปนไปอยางอัตโนมัติ


22 2.14.4 การกําหนดตําแหนงแนวแกน (Axis positioning) หากไมคํานึงถึงองคประกอบพิเศษตาง ๆ ที่ประกอบกันอยูในระบบซีเอ็นซีและหนาที่การทํางานตาง ๆ ขององคประกอบเหลานี้ที่สัมพันธซึ่งกันและกันแลว โครงสรางของระบบซีเอ็นซีโดยทั่วไปจะประกอบดวย ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสจํานวนมาก รวมทั้งวงจรดิจิตอลเบื้องตน เชน วงจร AND วงจร OR และวงจร เปรียบเทียบ (comparison) รวมถึงวงจรควบคุมสําหรับการทํางานอื่น ๆ ดวย เทคโนโลยีการเชื่อมตอของวงจรดิจิตอลที่แสดงในที่นี้ แตละวงจรจะประกอบดวย อินพุท (Input) 2 ทาง และเอาทพุท (Output) 1 ทาง ซึ่งในแตละกรณีของวงจรเหลานี้จะสามารถรับตําแหนงของเลขฐานสอง (binary status) ได เปน 1 กับ 0 (หรือปดกับเปด) ในกรณีที่เปนวงจร AND บิท (Bit) ที่เอาทพุท C จะอยูในตําแหนงหนึ่ง เมื่อบิทของอินพุทที่ A และB เปนหนึ่งทั้งสองทาง ในกรณีที่เปนวงจร OR บิทที่เอาทพุท C จะเทากับ 1 เมื่อบิทที่อินพุท A และ B อยางนอย 1 ทาง เทากับ 1 ในวงจรเปรียบเทียบ (Comparison link) บิทที่เอาทพุท C จะเทากับ 1 เมื่อบิทที่อินพุท A และ B ทั้ง สองทางเทากับ 1 หรือ เทากับ 0 การเชื่อมตอของบิทอินพุททั้งสองทางคือ A และ B กับบิทเอาทพุท C ไดแสดงเปนตารางประกอบไว ในรูปที่ 2.26, 2.27 และ 2.28 ดวย ตารางนี้จะมีชื่อเรียกวา ตารางที่เปนจริง (truth tables)

รูปที่ 2.26 วงจร AND


23

รูปที่ 2.27 วงจร OR

รูปที่ 2.28 วงจรเปรียบเทียบ


24

2.15 ความรูพื้นฐานเกีย่ วกับ CAD/CAM 2.15.1 Computer Aided Design (CAD) Computer Aided Design (CAD) คือ กิจกรรมการออกแบบใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอร อยางมีประสิทธิภาพ ในการสราง ปรับปรุง หรือการเขียนแบบของการออกแบบทางวิศวกรรม ความจําเปนที่ตองใชระบบ CAD ชวยในการอกกแบบทางวิศวกรรม 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของนักออกแบบคือจะชวยใหการออกแบบผลิตภัณฑพรอมทั้ง สวนประกอบตาง ๆ ของผลิตภัณฑนั้น ๆ 2. เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการออกแบบ การใชระบบ CAD สวนของ Hard ware และ Soft ware สามารถใหนักออกแบบวิเคราะหงานทางดานวิศวกรรมไดสมบรูณ และทําไดจํานวนมากขึ้นและมีแบบ ตาง ๆ ใหเลือก อีกทั้งคุณภาพของงานก็จะดียิ่งขึ้น 3. เพื่อปรับปรุงคุณภาพของตัวแบบและเอกสารที่ไดจากระบบ CAD จะใหผลที่ดีกวาแบบที่ทําดวย มือ แบบงานดานวิศวกรรมก็มีมาตรฐานทําใหอานไดงาย และจะมีความผิดพลาดนอย 4. เพื่อใหเปนการสรางฐานขอมูลในการผลิต ในการที่จะออกแบบผลิตภัณฑ เชน รูปรางลักษณะทาง เลขาคณิต ขนาดของสวนประกอบ คุณสมบัติชองวัสดุหรือราคาของวัสดุ ซึ่งขอมูลที่ตองการมีจํานวน มากขึ้น สามารถใช CAD ชวยในการเก็บและคนหาขอมูลเหลานี้ 2.15.2 ขบวนการในการออกแบบทางวิศวกรรม 1. คํานึงถึงความตองการที่จําเปน 2. กําหนดปญหา โดยคํานึงถึงลักษณะพิเศษ, หนาที่, ราคา, คุณภาพและการปฏิบัติ 3. การสรางความสัมพันธ คือ ความสัมพันธของงานแตละสวน 4. การประเมินผล 5. การนําเสนอที่เกี่ยวกับเอกสารของแบบงานโดยแสดงความหมายของแบบ,คุณสมบัติ,รายการ, สวนประกอบ, และฐานขอมูลในการผลิต 2.16

สวนประกอบที่สําคัญของ CAD 1. Geometric modeling เกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอรในการพัฒนารูปรางและลักษณะทาง คณิตศาสตรของวัตถุ รูปรางลักษณะนี้เรียกวา Model และถูกบันทึกไวในหนวยความจําของ คอมพิวเตอร Geometric models จะมีทั้ง Two Dimension และ Three Dimension 2. การวิเคราะหทางวิศวกรรม (Engineering Analysis) เชน การหาคา Stress และ Strain ของวัสดุ, การวิเคราะหการถายเทความรอน, การจําลองทางพลศาสตร 3. การประเมินผลการออกแบบ (Design Evaluation and Review) ประกอบดวยการตรวจสอบ Dimension, การใชจุดอางอิงชวยในการตรวจสอบ, Kinematics routines 4. Automation drafting ที่ใหความเที่ยงตรงแมนยําและรวดเร็วในการผลิตแบบและเอกสาร 2.16.1 สวนประกอบเบื้องตนของ CAD 1. Design Workstation 2. Process


25 3. Secondary storages 4. plotter and/or output devices

2.17 Computer Aided Manufacturing (CAM) Computer Aided Manufacturing (CAM) เปนระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอรที่ใชในการวางแผนการ จัดการ และควบคุมหนาที่ของขบวนการผลิต ซึ่ง CAM สามารถแยกออกไดเปน 2 สวนคือ

2.18 สวนที่ใชในการวางแผน (Manufacturing Planning) เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรในงานดังนี้ 1. การประมาณราคา (Cost estimating) ในการกะประมาณราคาของราคาผลิตภัณฑใหมจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอรหาคาแรงงาน หา อัตราคาโสหุย ตามลําดับของแผนปฏิบัติในแตละสวนของผลิตภัณฑ โปรแกรมคอมพิวเตอรจะรวบรวมราคาใน สวนประกอบนี้ Bill วัสดุของสวนวิศวกรรมเพื่อหาราคาของผลิตภัณฑใหม 2. การวางแผนการผลิต (Computer-aided Process Paining {CAPP}) ขบวนการวางแผนจะเกี่ยวของกับการจัดเตรียม route sheets ที่แสดงลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน และงานที่ตองการผลิตผลิตภัณฑและสวนประกอบของผลิตภัณฑ 3. ขอมูลในการ Machinability (Computerized Machinability data System) ปญหาในการ Operating ของเครื่องจักรที่ตัดโลหะคือ Speed, feed ที่ควรเลือกใชใหเหมาะกับงานและเครื่องจักร ซึ่ง โปรแกรมคอมพิวเตอรนี้จะแนะนําเงื่อนไขที่ดีในการตัดแตละวัสดุ 4. ใชในการทํางานรวมกับเครื่อง NC (Computer assisted NC Part Programming) 5. พัฒนาเวลามาตรฐานในการทํางาน (Development of Work Standards) 6. ใชในการทํา Line balancing (Computer aided line balancing) คือตําแหนงของแตละงาน ระหวางสถานีงานบนสายการประกอบที่มีจํานวนมากและมีปญหามาก ถาสายงานประกอบที่มีขนาดไมแตกตาง กัน ซึ่งจะใชคอมพิวเตอรหาคําตอบของปญหาได 7. วางแผนผลิตภัณฑและสินคาคงคลัง (Production and Invent Planning) ในสวนของการวางแผน ดานผลิตภัณฑ และสินคาคงคลังนี้จะมีหนาที่จัดเก็บและรวบรวมรายงานของสินคาคงคลัง รายงาน Stock แบบ อัตโนมัติ Production Scheduling, วางแผนความตองการวัสดุและการวางแผนกําลังการผลิต

2.19 สวนที่ใชในการควบคุม 1. 2. 3. 4.

ควบคุมการผลิต (Process Control) ควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ควบคุมในระดับการผลิต (Shop floor Control) รายงานการผลิต (Process monitoring)

2.19.1 ความเร็วในการกัด


26 ความหมายของการกัด (Milling Cutter) งานกัดเปนงานที่เกิดขึ้นจากการตัดเฉือนของมีดกัด ของคมตัดตั้งแตหนึ่งคมขึ้นไป ถึงหลาย ๆ คม การเคลื่อนที่ของคมตัด จะเคลื่อนที่หมุนรอบตัวเอง ซึ่งจะอยูในแนวดิ่ง หรือแนวนอนหรือในแนวเอียงมุมแบบ ตาง ๆ ได ลักษณะของคมตัดจะมีทั้งแบบตายตัว และแบบถอดเปลี่ยนคมได ขณะทําการกัดในกรณีที่มีดกัดมีคมกัดหลาย ๆ คม ซึ่งอยูรอบตัวมันเอง ในการหมุนกัด 1 รอบ มีด กัดจะกัดงานเสร็จเฉพาะฟน แลวเคลื่อนที่ฟรีไปชวงหนึ่งจึงหมุนกลับมาที่เดิมอีก จึงจะเริ่มกัดงานใหม การเวน วางเชนนี้จะเปนประโยชนใหกับคมของมีดกัดไดรับการระบายความรอนออกไปไดบาง ซึ่งผิดกับการกลึงงาน คมมีดจะกัดแตะผิวงานอยูตลอดเวลา เพราะฉะนั้นในการกัดชิ้นงาน จําเปนตองใชน้ํามันหลอเย็นมาชวยในการระบายความรอนซึ่งจะชวยให ความรอนที่เกิดจากการเสียดสีระหวางคมกับชิ้นงานลดลงและไลเศษกัดออกจากผิวงานบริเวณตัดเฉือน ทําให ผิวงานเรียบ องคประกอบสําหรับงานกัด 1. เครื่องจักร 2. เครื่องมือ 3. รูปแบบชิ้นงาน 4. วัสดุชิ้นงาน 5. ความเร็วรอบ 6. อัตราปอน 7. ความเร็วตัด 8. ความลึกกัด 9. การหลอเย็น ในการกัดชิ้นงานจําเปนที่จะตองทราบขอมูลตาง ๆ ที่กลาวมาตัวอยางดังนี้ 2.19.2 ความเร็วตัด (Cutting Speed: Cs) หมายถึง ความยาวของเนื้อโลหะที่ถูกตัดเฉือนผานปลายคมตัด ในระยะเวลา 1 นาที จะมี ความยาว เปนเมตร (เมตร/นาที) ความเร็วตัดของเครื่องกัด CNC จะขึ้นอยูกับ วัสดุแตละชนิด จากนั้นนําไปคิดความเร็ว รอบจากสูตร N=

1000Cs D

N = ความเร็วรอบของมีดกัด Cs = ความเร็วตัด เมตร/นาที D = ขนาดเสนผาศูนยกลางของมีด มิลลิเมตร

2.19.3 ความเร็วรอบ (Spindle Speed)


27 การตั้งคาความเร็วรอบจะคิดคาการสงกําลังตัดออกมาเปนคาความเร็วรอบตอนาที (Revolution per Minute: RPM) โดยคํานึงถึงชนิดของมีดกัด วัสดุมีดกัด ชนิดของวัสดุงาน อัตราการปอนกัด และสารระบาย ความรอนที่เหมาะสม หาไดจากสูตร ความเร็วรอบ (RPM) =

Cs *1000 π *D

2.19.4 อัตราการปอนกัด (Feed Rate) อัตราการปอนกัดเปนมิลลิเมตรตอนาที (Feed Rate in Millimeters per Minute) โดยพิจารณาจาก ชนิดของมีดกัด และคาความเร็วของเพลามีด ดังสูตร อัตราการปอนกัด = อัตราการปอนกัดตอฟน (ม.ม.) x จํานวนฟน x ความเร็วรอบของมีดกัด (RPM) 2.19.5 การปอนกัดลึก (Depth of Cut) การปอนกัดลึกจะพิจารณาจากลักษณะความตองการของผิวงาน และองคประกอบตาง ๆ เชน อัตรา การเคลื่อนที่ของงานประสิทธิภาพของเครื่องจักร งานกัดหยาบจะตั้งความลึกมากกวางานกัดละเอียด แตในทาง ปฏิบัติ มักจะใชความชํานาญของผูออกแบบ และผูปฏิบัติงานเปนหลัก และโดยมากจะเผื่อการกัดละเอียด ประมาณ 1 ถึง 2 มิลลิเมตร

2.20 ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Mastercam V 9.0 System Requirements Pentium or comparable processor Windows 98,ME,2000,NT,XP,2003 128 MB RAM 500 MB free hard disk space 16-bit display adapter at 800 x 600 resolution System Recommended 1.0 GHz or better processor Windows 98,ME,2000,NT,XP,2003 256 MB RAM 500 MB free hard disk space 32-bit color display adapter at 1024x768 resolution

2.20.1 ขั้นตอนการติดตั้ง Mastercam V9.0 แสดงดังรูปที่ 2.29-2.39


28 1. เมื่อเริ่มทําการติดตั้ง Mastercam หนาตางแรกที่ปรากฏ คือ Matercam Setup คลิก Next

รูปที่ 2.29 2. อานขอตกลงของโปรแกรม จากนั้น คลิก Yes เพื่อดําเนินขั้นตอนตอไป

รูปที่ 2.30 3. พิมพชื่อ User name และ Company name โดยใชชื่ออะไรก็ไดแตไมควรใชเครื่องหมายทาง คณิตศาสตร คลิก Next เพื่อดําเนินขั้นตอนตอไป


29

รูปที่ 2.31 4. เลือกหนวยวัดที่จะใชเปนคาเริ่มตน (default) ในที่นี้เลือก ระบบ Metric Unit ซึ่งจะมีหนวยวัด เปน มม. โดยคลิกที่ metric(mm) แลว คลิก Next>

รูปที่ 2.32 5. เลือก folder ที่จะทําการ Install แลวคลิก Next>


30

รูปที่ 2.33 6. เลือกโปรแกรมที่จะติดตั้ง ซึ่งมีสวนของ Design, Mill, Lathe, Wire และเลือกตัวอยางหรือถอด ออกโดยคลิกในชองสี่เหลี่ยม แลวคลิก Next>

รูปที่ 2.34 7. เริ่มทําการติดตั้งโปรแกรม


31

รูปที่ 2.35 8. เมื่อ Install เสร็จโปรแกรมจะถามเกี่ยวกับการติดตั้ง Post processor คลิก Yes

รูปที่ 2.36 9. คลิก Next> Next> Next> โปรแกรมเริ่มทําการติดตั้ง เมื่อติดตั้ง Post processor เสร็จจะปรากฏ กรอบขางลาง แลวคลิก Finish


32

รูปที่ 2.37 10. เลือกชนิดของ files ที่ใชรวมกับ Mastercam คลิก Next>

รูปที่ 2.38


33 11. คลิก Finish เพื่อสิ้นสุดการ Install

รูปที่ 2.39


34

2.21 หลักการใชงานโปรแกรมเบื้องตน Mastercam Interface

รูปที่ 2.40 การสรางรูปสี่เหลี่ยม ในการสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยเลือกคําสั่งจาก Main menu (ตามรูปตัวอยาง)

รูปที่ 2.41


35 1. คลิก Create > Rectangle > 2 point

รูปที่ 2.42 สังเกตขอความที่ prompt area ที่ดานลางของโปรแกรม รูปที่ 2.43 2. พิมพคา Coordinate จุดแรกดานลางซาย ในที่นี้ X=0 Y=0 กด Enter 4. จากนั้นพิมพคา Coordinate จุดที่ 2 ดานบนขวาของรูปสี่เหลี่ยม ซึ่ง X=50 Y=100 กดEnter ซึ่ง จะไดงานออกมาดังรูปขางลาง

รูปที่ 2.44


36

2.22 การ SAVE งาน 1. คลิก Main menu เพื่อกลับออกจากโหมด Sketching

รูปที่ 2.45 2. คลิก File > Save จะปรากฏหนาตาง Save ขึ้นมา

รูปที่ 2.46 3. พิมพชื่อ File ลงไป คลิก Save

รูปที่ 2.47


37

2.23 การเปดไฟล 1. คลิก File ที่ main menu ดังรูป

รูปที่ 2.48 2. คลิก Get เพื่อทําการเปดแฟมขอมูลที่ Save ไว 3. จะปรากฏหนาตาง Open ขึ้นมา เลือกแฟมที่ตองการเปด

รูปที่ 2.49 4. คลิก Open เพื่อทําการเปดแฟม

2.24 ตัวอยางการใชโปรแกรม Mastercam V9


38 ตัวอยาง T1: D10 mm Drill T2: D5 mm Endmill Stock: พลาสติก 100X100X20 มม.

รูปที่ 2.50 ขั้นตอนการทํางาน 1. เปด โปรแกรม MasterCam 2. คลิก Create > Rectangle เลือก 2 Points

รูปที่ 2.51 พิมพคาจุดที่มุมลางซาย คือ -50,-50 กด Enter


39 พิมพคาจุดที่มุมบนขวา คือ 50,50 กด Enter จะไดรูปสี่เหลี่ยมดังรูป

รูปที่ 2.52 3. สรางรูปวงกลมใหญกลางรูปสี่เหลี่ยม Create > Arc > Circ pt+dia

รูปที่ 2.53 พิมพคา Diameter วงกลม = 80 มม. จากนั้นคลิกที่ศูนยกลางรูปสี่เหลี่ยม จะได


40

รูปที่ 2.54 4. สรางวงกลมเล็ก Dia. 10 mm ที่พิกัด 40,40 / -40,-40/ 40,-40 / -40,40 จะได

รูปที่ 2.55 5. สรางรูปสี่เหลี่ยมใหเปน Solid กอนทําการ Extrude เลือกมุมมอง Isometric โดยคลิกขวา เลือก Isometric จากนั้นทําการ Extrude โดย คลิก Solids > Extrude

รูปที่ 2.56


41 คลิกที่เสนรูปสี่เหลี่ยม คลิก Done เลือก reverse เพื่อ Extrude ลงดังรูป

รูปที่ 2.57 จากนั้น คลิก Done แลวปอนคาความหนาของชิ้นงาน เทากับ 15 มม. คลิก OK

รูปที่ 2.58


42

รูปที่ 2.59 6. สรางรูปวงกลมใหยุบลง Solid > Extrude คลิกที่รูปวงกลมรูปใหญ แตตางตรงที่เปลี่ยนคา Create Body เปนคา Cut Body ดังรูป

รูปที่ 2.60


43 7. รูปสี่เหลี่ยมเล็กก็ทําเชนกัน คือ Solids > Extrude คลิกที่รูปวงกลม ทั้ง 4 คลิก Done เลือกทิศทางลง คลิก Done จะปรากฏ Dialog box

รูปที่ 2.61 คลิก Ok จะไดดงั รูป

รูปที่ 2.62


44 ขั้นตอนในการสราง Stock เลือก Tool และเลือก Toolpath 1. คลิก Toolpaths > Operation จะปรากฏ Dialog box ดังรูป จากนั้น คลิกขวา เลือก toolpath>pocket ดังรูป

รูปที่ 2.63 คลิกที่วงกลมรูปใหญ คลิก Done แลวจะปรากฏ Dialog box คลิก ขวา เลือก get tool from library ดังรูป


45

รูปที่ 2.64

รูปที่ 2.65 เลือก tool (flat endmill diameter 5 mm) คลิก Ok


46 ปอนคาความลึกในการกัดชิ้นงาน(Depth-คาระดับความลึกการกัดชิ้นงานของ tool) =-5 คลิก Ok

รูปที่ 2.66 ทําการเจาะรูทั้ง 4 รู 2. คลิก Toolpaths > Operation จะปรากฏ Dialog box ดังรูป จากนั้น คลิกขวา เลือก toolpath>Drill ดังรูป

รูปที่ 2.67


47 คลิก manual เลือกวงกลมทั้ง 4 รูป คลิก Done ทําการเลือก tool ใช Drill Diameter 10 mm

รูปที่ 2.68

รูปที่ 2.69


48 ดังนั้น จะไดชิ้นงาน ดังรูป

รูปที่ 2.70 หมายเหตุ คาอัตราปอน,ความเร็วรอบ ฯลฯ โปรแกรมจะคํานวณใหกรณีเราเลือกชนิดของวัสดุแลว ขั้นตอนในการทํา NC Code เลือกการทํางานทั้งหมด คลิก select all จากนั้น คลิก Post

รูปที่ 2.71


49 จะปรากฏ Dialog box ดังรูป เลือก Post processor ใหถูกชนิดกับเครื่องจักร คลิก ถูก ที่ชอง Save NC file คลิก Ok

รูปที่ 2.72 จะได NC Code ดังรูป

รูปที่ 2.73


50

2.25 ตัวอยาง NC CODE File % O0001 (PROGRAM NAME - T003 ) (DATE=DD-MM-YY - 24-08-03 TIME=HH:MM - 00:03 ) N100 G21 N102 G0 G17 G40 G49 G80 G90 / N104 G91 G28 Z0. / N106 G28 X0. Y0. / N108 G92 X0. Y0. Z0. ( 5. FLAT ENDMILL TOOL - 1 DIA. OFF. - 1 LEN. - 1 DIA. - 5. ) N110 T1 M6 N112 G0 G90 X-.086 Y-37.25 S1909 M3 N114 G43 H1 Z50. N116 Z10. N118 G1 Z-10. F1.8 N120 X.086 F190.9 N122 G3 X16.237 Y-33.525 I-.086 J37.25 N124 G1 X-16.237 N126 G2 X-22.35 Y-29.8 I16.237 J33.525 N128 G1 X22.35 N130 G3 X26.602 Y-26.075 I-22.35 J29.8 N132 G1 X-26.602 N134 G2 X-29.8 Y-22.35 I26.602 J26.075 N136 G1 X29.8 N138 G3 X32.259 Y-18.625 I-29.8 J22.35 N140 G1 X-32.259 N142 G2 X-34.14 Y-14.9 I32.259 J18.625 N144 G1 X34.14 N146 G3 X35.534 Y-11.175 I-34.14 J14.9 N148 G1 X-35.534 N150 G2 X-36.497 Y-7.45 I35.534 J11.175 N152 G1 X36.497 N154 G3 X37.063 Y-3.725 I-36.497 J7.45 N156 G1 X-37.063 N158 G2 X-37.25 Y0. I37.063 J3.725 N160 G1 X37.25 N162 G3 X37.063 Y3.725 I-37.25 J0.


51 N164 G1 X-37.063 N166 G2 X-36.497 Y7.45 I37.063 J-3.725 N168 G1 X36.497 N170 G3 X35.534 Y11.175 I-36.497 J-7.45 N172 G1 X-35.534 N174 G2 X-34.14 Y14.9 I35.534 J-11.175 N176 G1 X34.14 N178 G3 X32.259 Y18.625 I-34.14 J-14.9 N180 G1 X-32.259 N182 G2 X-29.8 Y22.35 I32.259 J-18.625 N184 G1 X29.8 N186 G3 X26.602 Y26.075 I-29.8 J-22.35 N188 G1 X-26.602 N190 G2 X-22.35 Y29.8 I26.602 J-26.075 N192 G1 X22.35 N194 G3 X16.237 Y33.525 I-22.35 J-29.8 N196 G1 X-16.237 N198 G2 X-.086 Y37.25 I16.237 J-33.525 N200 G1 X.086 N202 G0 Z50. N204 X37.5 Y0. N206 Z10. N208 G1 Z-10. F1.8 N210 G3 X0. Y37.5 I-37.5 J0. F190.9 N212 X-37.5 Y0. I0. J-37.5 N214 X0. Y-37.5 I37.5 J0. N216 X37.5 Y0. I0. J37.5 N218 G0 Z50. N220 M5 N222 G49 Z50. N224 G91 G28 Z0. N226 G28 X0. Y0. A0. N228 M01 ( 10. DRILL TOOL - 2 DIA. OFF. - 2 LEN. - 2 DIA. - 10. ) N230 T2 M6 N232 G0 G90 X-40. Y-40. S0 M5 N234 G43 H2 Z10. N236 M8


52 N238 G99 G81 Z-23.004 R10. F2.4 N240 Y40. N242 X40. N244 Y-40. N246 G80 N248 M5 N250 G49 Z10. N252 G91 G28 Z0. M9 N254 G28 X0. Y0. A0. N256 M30 %


53

บทที่ 3 การใชคําสั่ง Create

3.1 Point and the Point Submenu Point : เปนคําสั่งวาดรูปโดยมี (+) เปนเครื่องหมาย โดยที่จุดนั้นสามารถอางอิงไดถึงการสรางรูปนั้นๆ ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Point : Create > Point ซึ่งในคําสั่งยอยของ Point จะมีอยู 10 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Position เปนการสรางจุดโดยที่เลือกจากคําสั่งตางๆดังนี้ - Origin - Center - Endpoint - Intersec - Midpoint Along ent Node pts Cpts NURBS Dynamic Length Slice Srf project Grid Boltcircle

- Point - Last - Relative - Quadrant - Sketch

การสรางจุดจากเสนที่วาดหรือที่มีอยูโดยที่ระยะหางระหวางจุดนั้นมี ขนาด ระยะทางที่เทากัน การเรียกจุดที่ใชสราง parametric spline curve กลับมาใชงาน การเรียกจุดควบคุม NURBS Curve หรือ 3D surface กลับมาใชงาน การสรางจุดจากเสนที่มีอยูตลอดทั้งเสนโดยที่ใช mouse ในการกําหนดจุด การสรางจุดจากเสนที่มีอยูโดยที่กําหนดระยะจากจุดสิ้นสุด การสรางจุดตัดตรงตําแหนงของ Plane การสรางจุดบนพื้นผิว(surface)โดยที่จุดเหลานั้นตองอยูบนพื้นผิวโดยตรง การสรางจุดที่มีลักษณะเปนตารางเรียงกันเปนแนว(Grid) การสรางจุดที่มีลักษณะวนเปนเกลียวเหมือนเกลียวน็อต

Create > Point > Position การใชคําสั่ง Position เพื่อใชในการสรางจุดโดยใชตําแหนงในการสราง (Position) ซึ่งจะมีคําสั่งยอย 10 คําสั่งตางๆดังนี้ Origin - คําสั่งสรางจุดที่จุด Origin (0,0,0) ของหนาจอ Center - คําสั่งสรางจุดโดยจากการเลือกรูปที่ตองมีจุดศูนยกลาง เชน วงกลม, สวนโคง


54 Endpoint Intersec Midpoint Point Last Relative Quadrant Sketch

- คําสั่งสรางจุดโดยจาการที่เลือกจากจุดปลายของเสนตรง , สวนโคงและอื่นๆ - คําสั่งสรางจุดจากการเลือกใชจุดตัดกันเชน เสนตรงกับเสนตรง เสนตรงกับ สวนโคงและอื่นๆ - คําสั่งสรางจุดที่กึ่งกลางโดยจากการเลือกเสนที่มีอยูแลว - คําสั่งสรางจุดโดยที่เลือกจากจุดที่มีอยู - คําสั่งสรางจุดเลือกจากจุกที่สรางเปนจุดสุดทาย - การสรางจุดโดยที่ใหใกลเคียงกับระยะทางของจุดที่มีอยู โดยที่คาระยะทางที่ ใสไปตองมีขนาดใกลเคียงกับขนาดจริง - การสรางจุดโดยที่แบง1/4 ของวงกลมบนสวนโคงที่มีอยู - คําสั่งสรางจุดโดยที่ใช mouse เลื่อนไปสรางจุดตามตองการ

จากคําสั่งขางตนสามารถแสดงไดดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 3.1


55 Create > Point > Along ent Along ent : การสรางจุดจากเสนที่วาดหรือที่มีอยูโดยที่ระยะหางระหวางจุดนั้นมีขนาด ระยะทางที่เทากัน วิธีปฏิบัติ 1. เลือกเสนตางๆที่มีอยู เชน เสนตรง วงกลม 2. ใช mouse คลิกไปเสนตรงที่ตองการ หนาจอจะขึ้นใหใสจํานวนแลวกด Enter จุดจะขึ้น ตามที่ตองการ แสดงดังรูปที่ 3.2

รูปที่ 3.2 Create > Point > Node pts Node pts : การเรียกจุดที่ใชสราง parametric spline curve กลับมาใชงาน ดังรูปที่ 4.5 วิธีปฎิบัติ สราง parametric spline curve แลวเลือก parametric spline Tips – ถาเลือกเสนที่มาทําผิด หนาจะจะขึ้นวา “ try again “ ตอจากนั้นกดปุม Esc เพื่อออกจากการเลือกนั้น

รูปที่ 3.3


56 Create > Point > Cpts NURBS Cpts NURBS : การเรียกจุดควบคุม NURBS Curve หรือ 3D surface กลับมาใชงาน วิธีปฏิบัติ สราง NURBS spline แลวเลือก NURBS Curve หรือ 3D surface Tips – 1.จุดพวกนี้จะเปนจุดที่ควบคุมสวนโคงหรือพื้นผิวตางๆ (ดังรูปที่ 3.4 ) 2. ถาเลือกเสนที่จะมาทําผิด หนาจอ หนาจะจะขึ้นวา “ try again “ ตอจากนั้นกดปุม Esc เพื่อออก จากการเลือกนั้น

รูปที่ 3.4 Create > Point > Dynamic Dynamic : การสรางจุดจากเสนที่มีอยูตลอดทั้งเสนโดยที่ใช mouse ในการกําหนดจุด (ดังรูปที่ 4.7 ) วิธีปฏิบัติ 1. เลือกเสนตางๆ ที่มีอยู เชน เสนตรง วงกลม 2. เลื่อน mouse ไปที่เสนตองการและคลิกที่ปุมซายของ mouse เพื่อที่จะสรางจุด ( กดปุม Esc เมื่อ ตองการออกจากคําสั่ง ) Note – คําสั่งนี้สามารถสรางจุดไดมากมายตามที่ตองการทุกตําแหนงตลอดทั้งเสนที่เลือก

รูปที่ 3.5


57

Create > Point > Length Length : การสรางจุดจากเสนที่มีอยูโดยที่กําหนดระยะจากจุดสิ้นสุด ( ดังรูปที่ 4.8 ) วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตางๆ เชน เสนตรง วงกลม 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่ตองการ หนาจอจะขึ้นใหใสระยะหาง โดยที่จะวัดจากจุดสุดทายของ การสรางเสน แลวกดปุม Enter ( กดปุม Esc เมื่อตองการออกจากคําสั่งนั้น )

รูปที่ 3.6

3.2 Line and Line Submenu Line เปนคําสั่งที่ใชวาดเสนตางๆบนหนาจอ โดยที่เสนนั้นสามารถที่จะเปนแนวตั้ง , แนวนอน หรือ แนวอื่นๆสามารถที่จะสรางรูปแบบไดตางๆมากมายดังรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7 ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Line : Create >line ซึ่งในคําสั่งยอยของ Line จะมีอยู 10 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้


58

รูปที่ 3.8 Note – สามารถเปลี่ยนรูปแบบและความหมายของเสนไดโดยกดปุม Style/Width จาก MAIN MENU ดังที่ กลาวไปแลว

Create > Line > Horizontal Horizontal : การสรางเสนตรงในแนวนอน ( ดังรูปที่ 4.13 ) วิธีปฏิบัติ วิธีที่1 ใช mouse เลือกตําแหนง P1 จากนั้นเลือกตําแหนง P2 โดยใช mouse คลิกที่จุดใดก็ได วิธีที่2 1 ใสคาจุด P1 โดยเทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter 2 ใสคาจุด P2 โดยเทียบกับจุด coordinate เหมือนกัน แลวกด Enter จากนั้นหนาจอจะ ขึ้นใหใสคา y โดยเทียบกับ coordinate แลวกด Enter ( กดปุม Esc เมื่อตองการออกจาก คําสั่ง )


59

รูปที่ 3.9 Create > Line > Vertical Vertical : การสรางเสนตรงในแนวตั้ง ดังรูป 3.10 วิธีปฏิบัติ วิธีที่1 ใช mouse เลือกตําแหนง P1จากนั้นเลือกตําแหนง P2 โดยใช mouse คลิกที่จุดใดก็ ได วิธีที่2 1. ใสคาจุดP1 โดยเทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter 2. ใสคาจุดP2โดยเทียบกับจุด coordinate เหมือนกัน แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา x โดยเทียบกับ coordinate แลวกด Enter ( กดปุม Esc เมื่อตองการออกจากคําสั่ง )

รูปที่ 3.10 Create > Line > Endpoint Endpoint : การสรางเสนโดยที่มีจุดสิ้นสุด 2จุด ( ดังรูปที่ 3.11 ) วิธีปฏิบัติ ใช mouse คลิกไปที่จุดใดก็ไดโดยที่ใหจุดแรกเปน P1 และจุดสุดทายเปน P2


60

รูปที่ 3.11 Create > Line > Multi Multi : การสรางเสนตรงโดยที่จุดสุดทายของเสนนั้นจะเปนจุดเริ่มตนของอีกเสนหนึ่งทําไปเรื่อยๆจน เปนลูกโซ ( ดังรูปที่ 4.16 ) วิธีปฏิบัติ ใช mouse คลิกไปที่จุดใดก็ไดโดยที่ใหจุดแรกเปนP1 คลิกจุดตอไปเรื่อยๆ เสนจะตอกันเองโดย อัตโนมัติ ( กดปุม Esc หรือกดปุม BACKUP เมื่อตองการออกจากคําสั่ง )

รูปที่ 3.12


61 Create > Line > Polar Polar : การสรางเสนโดยที่เทียบกับจุด coordinate ( ดังรูปที่ 3.13 ) วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse เลือกกําหนดจุด P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคามุมที่เทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความยาว แลวกด Enter

รูปที่ 3.13 Create > Line > Tangent Tangent : การสรางเสนตรงใหไปสัมผัสสวนโคงหรือวงกลม ซึ่งมีคําสั่งอยู 3 คําสั่ง ดังนี้ Angle การสรางเสนตรงโดยที่กําหนดมุมและความยาวที่จะไปสัมผัสกับสวนโคง 2 arcs การสรางเสนใหสัมผัสกับสวนโคงทั้ง 2 สวนโคง Point การสรางเสนตรงใหไปสัมผัสสวนโคงหรือเสนตรงไปจนถึงจุดที่กําหนด Create > Line > Polar > Angle Angle : การสรางเสนตรงโดยที่กําหนดมุมและความยาวที่จะไปสัมผัสกับสวนโคง วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคงหรือวงกลมใหคลายกับรูปใดรูปหนึ่ง ( ดังรูปที่ 3.14 ) 2. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคง 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคามุมที่เทียบกับจุด coordinateแลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความยาวของเสน แลวกดEnter 5. ใช mouse คลิกเสนที่ตองการจะเก็บไว ( สวนเสนที่เกินจากสวนโคงจะถูกลบทิ้ง )


62 Note – ในการสรางจะมีสวนของเสนตรงอยู 2 เสน ในวิธีปฏิบัตินี้ จะตองเลือกเก็บไวเพียง 1เสน

รูปที่ 3.14 Create > Line > Angle > Point Point : การสรางเสนตรงใหไปสัมผัสกับสวนโคงหรือเสนโคงไปจนถึงจุดที่กําหนด ( ดังรูปที่ 3.15) วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคง 2. ใช mouse เลือกสวนโคงนั้นใหสว นโคงนั้นเปน P1 3. กําหนดจุดสิ้นสุดโดยใช mouse คลิกโดยใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนตรง แลวกด Enter Note – ระยะทางระหวางจุดที่สัมผัสจนไปถึงจุด P2 จะถูกคํานวณโดยอัตโนมัติ

รูปที่ 3.15


63 Create > Line > Perpendclr Perperdclr : การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากกับเสนตรง , สวนโคง , หรือ NURBS curve โดยมีคําสั่ง 2 คําสั่ง ดังนี้ Point การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากกับเสนตรง , สวนโคงหรือเสนโคงอีกเสน Arc การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากโดยที่เสนตรงตั้งฉากนั้นเปนเสนสัมผัสสวนโคง Create > Line > Perpendclr > Point Point : การสรางเสนตรงใหไปตัง้ ฉากกับเสนตรง , สวนโคง หรือเสนโคงอีกเสนหนึ่ง (ดังรูปที่ 3.16) วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse เลือกเสนตรงหรือสวนโคงโดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouseคลิดเลือกจุดใดก็ไดใหเปนจุดสิ้นสุดโดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนตรง แลวกด Enter Note – ดังรูป เสนที่สรางนั้นจะไมมีทางที่เสนมาตั้งฉากนั้นจะไปตัดกับเสนตรงหรือเสนโคงที่เลือก Mastercam จะคํานวณโดยอัตโนมัติ เพื่อที่จะไมใหเสนที่ไปตัดกับเสนตรงหรือสวนโคง

รูปที่ 3.16 Create > Line > Perpendclr > Arc Arc : การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากโดยที่เสนตรงตั้งฉากนั้นเปนเสนสัมผัสสวนโคง ( ดังรูปที่ 4.22 ) วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงโดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงแลวเสนสัมผัสจะมาตั้งฉากกับสวนโคงโดยที่ใหสวนโคงนั้นเปนP2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนที่ตั้งฉาก แลวกด Enter


64 5. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่ตั้งฉากเสนใดเสนหนึ่งเก็บไว โดยที่ใหเสนนั้นเปน P3

รูปที่ 3.17

3.3 Arc and the Arc Submenu คําสั่ง Arc เปนคําสั่งใชในการสรางสวนโคงวงกลมและวงกลม ในรูปที่ 4.25 และแสดงสวนโคงวงกลม และวงกลมที่สามารถสรางไดหลายแบบ MASTERCAM จะแบงการสรางสวนโคง วงกลมออกเปน 4 วิธี และวงกลมแบงออกเปน 5 วิธี

รูปที่ 3.18 ใน MASTERCAM สวนโคงและวงกลมสามารถสรางโดยใชคําสั่งไดหลายอยาง โดยเลือกคําสั่ง Create > Arc จาก MAIN MENU จากนั้นก็จะเห็นเมนูยอยของสวนโคง โดยที่รูปรางของสวนโคงนั้น จะเปนไป ตามคําสั่งดังตอไปนี้ ซึ่งในคําสั่งยอยของ Arc จะมีอยู 9 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้ Create > Arc > Polar สรางสวนโคงใชเทียบกับจุด coordinate ในคําสั่ง Polar จะมีอยู 4 คําสั่ง ดังนี้ Create > Arc > Polar > Center pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย ( ดังรูปที่ 3.19 )


65 วิธีปฏิบัติ 1. หนาจอจะขึ้นใหใส จุดศูนยกลาง แลวกดEnter 2. หนาจอจะขึ้นใหใส รัศมี แลวกดEnter 3. หนาจอจะขึ้นใหใส มุมเริ่มตน แลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใส มุมสุดทาย แลวกดEnter

รูปที่ 3.19 Create > Arc > Polar > Sketch การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช mouse ( ดังรูปที่ 3.20 ) วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดศูนยกลาง โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกเลือกตําแหนงโดยที่ใหจุดนั้นเปนP2 และP3 ตามลําดับ

รูปที่ 3.20


66 Create > Arc < Polar > Start pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช keyboard( ดังรูปที่ 3.21 ) วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดเริ่มตน โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมเริ่มตน แลวกด Enter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมสุดทาย แลวกด Enter

รูปที่ 3.21 Create > Arc < Polar > Endpoint pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช keyboard( ดังรูปที่ 3.22) วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดสุดทายโดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมเริ่มตน แลวกด Enter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมสุดทาย แลวกด Enter

รูปที่ 3.22


67 Create > Arc > Endpoints Endpoint : การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดปลาย 2 จุดและรัศมี โดยทั่วไปแลวการสรางแบบนี้จะมี สวนโคงใหเลือก 2 เสน จึงทําใหสามารถเปลี่ยนไดตามตองการ วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเพื่อกําหนดจุดแรก โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. ใช mouse คลิกเพื่อกําหนดจุดที่2 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P2 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 4. ใช mouse คลิกเพื่อเลือกสวนโคงที่ตองการ โดยที่ใหจุดนั้นเปน P3 Tips- ในตัวอยางจะเห็นไดวามีสวนโคงใหเลือกทั้งหมด 4 เสน ในการเลือกสวนโคงที่ตองการนั้นใช mouse คลิกเลือกจุดจากสวนโคงปด

รูปที่ 3.23 Create > Arc > 3 Points 3 point : การสรางสวนโคงที่ลากผานจุด 3 จุดที่เลือก โดยที่จุดแรกกับจุดที่ 3เปนจุดปลายของสวน โคง วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเพื่อกําหนดจุดแรก โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. ใช mouse คลิกเพื่อกําหนดจุดที่2 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P2 3. ใช mouse คลิกเพื่อกําหนดจุดที่3 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P3 Note- 3 จุดที่เลือกนั้นอาจไมเหมือนกันทุกเสน

รูปที่ 3.24


68 Create > Arc > Tangent Tangent : การสรางสวนโคงจากการใชเสนสัมผัส 1เสน , 2 เสน , 3 เสน หรือสวนโคง ในคําสั่ง Tangent

รูปที่ 3.25 Create > Arc > Tangent > 1 entity 1 entity : การสรางสวนโคง 180 °โดยใชเสนสัมผัสที่เลือกมา 1เสน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรง 1 เสน แลวกําหนดใหเสนตรงเสนนั้นเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยที่ใหเปน P1 2. ใชmouse คลิกเลือกจุดที่จะเปนจุดสัมผัส โดยที่ใหเปน P2 3. หนาจดจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 4. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงที่ตองการและกําหนดจุดที่สวนโคงนั้นเปนจุดP3 tips – ในตัวอยางจะเห็นไดวามีสวนโคงใหเลือก 4 เสน จึงตองใช mouse เลือกสวนโคงที่ตองการ

รูปที่ 3.26


69 Create > Arc > Tangent > 2 entity 2 entity : การสรางสวนโคง 360 ° โดยใชเสนสัมผัสที่เลือกมา 2 เสน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2เสน 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหมาเปนสัมผัส โดยที่ใหเปนP1 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหมาเปนสัมผัส โดยที่ใหเปนP2 Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลที่สุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. ถาใสคารัศมีมากเกินไป MASTERCAM จะแสดงเสนโคงออกมาหลายเสน จึงตองตัดสินใจ เลือกเพียง 1เสน

รูปที่ 3.27 Create > Arc > Tangent > 3 entity 3 entity : การสรางสวนโคง โดยที่ลากผานเสนสัมผัสทั้ง 3 เสน โดยใชเสนสัมผัสที่เลือกมา 3 เสน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 3 เสน 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP2 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP3 Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลที่สุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. การใชคําสั่งในการเลือกนั้นจะมีผลกับทิศทางของสวนโคง


70

รูปที่ 3.28 Create > ARC > Tangent > Center line Center line : การสรางสวนโคง 360 °โดยที่มีเสนตรง 1 เสนเปนเสนสัมผัสวงกลมและมีเสนตรงอีก เสนลากผานจุดศูนยกลาง วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรง 2 เสนที่ไมขนานกัน 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่อยูในวงกลมและผานจุดศูนยกลางวงกลม โดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีของวงกลม แลวกด Enter 5. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงที่ตองการ โดยที่ใหเปนP3 Tips- 1. ในตัวอยางจะมี 2 สวนโคงใหเลือก จึงตองตัดสินใจเลือกสวนโคงในขั้นตอนสุดทาย 2. เสนที่สัมผัสและเสนผานจุดศูนยกลางนั้น ตองไมขนานกัน

รูปที่ 3.29


71 Create > Arc > Tangent > Point Point : การสรางสวนโคงโดยที่มีเสนสัมผัสและสวนโคงนั้นผานจุดที่เลือก วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกกําหนดจุดที่จะใหเสนโคงผานจุดนั้น โดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีแลวกด Enter 5. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคง โดยกําหนดจุดบนสวนโคงที่ตองการ โดยที่ใหเปนP3 Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลที่สุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. ถามีสวนโคงใหเลือกมากกวา 1 เสนใหใช mouse เลือกบนจุดที่สวนโคงที่ตองการ

รูปที่ 3.30 Create > Arc > Circ 2 pts Circ 2 pts : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุด2 จุด โดยที่จุดนั้นอยูบนเสนรอบวง วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่2 โดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.31


72 Create > Arc > Circ 3 pts Circ 3 pts : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุด3 จุด แลวจุด 3 จุดนั้นจะอยูบนเสนรอบวงโดยที่ 3 จุดนั้น ไมอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่2 โดยที่ใหเปน P2 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่3 โดยที่ใหเปน P3

รูปที่ 3.32 Create > Arc > Circ pt+rad Circ pt+rad : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุดศูนยกลางและรัศมี วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปนP1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter

รูปที่ 3.33


73 Create > Arc > Circ pt+dia Circ pt+dia : การสรางวงกลมโดยที่กําหนดจุดศูนยกลางและเสนผานศูนยกลาง วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปนP1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาเสนผานศูนยกลาง แลวกด Enter

รูปที่ 3.34 Create > Arc > Circ pt+edge Circ pt+edge : การสรางวงกลมโดยที่กําหนดจุดศูนยกลางและจุดที่อยูบนเสนรอบวง วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกกําหนดจุดซึ่งจะเปนจุดบนเสนรอบวงโดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.35


74

3.4 Fillet and the Fillet Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Fillet: Create > Fillet ซึ่งในคําสั่งยอยของ Fillet จะมีอยู 4 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้ การสราง Fillet ระหวางเสนตรง 2 เสน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรง 2 เสน เลือก 2. เปลี่ยนคา Fillet ( รัศมี , มุม , และคําสั่งลบมุม ) ตามตองการ 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนแรก โดยที่ใหเปน P1 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่2 โดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.36 คําสั่งที่สราง Fillet หลายๆมุมจากเสนที่ยาวตอกันเรื่อยๆพรอมกันในคราวเดียว วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงที่ตอกันไปเรื่อยๆโดยใชคําสั่ง Create > Line > Multi 2. เลือกและเปลี่ยนคา Fillet ( รัศมี , มุม , และคําสั่งลบมุม ) ตามตองการ 3. เลือกคําสั่ง Chain ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใชคําสั่ง Chain โดยที่ใหเปนP1 4. เลือกคําสั่ง Done

รูปที่ 3.37


75

3.5 Spline and the Spline Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Spline: Create > Spline ในการสรางเสนโคงจะมีเสนโคงอยู 2 แบบ คือ Parametric spline ( Type P ) และ NURBS spline ( Type N ) NURBS ยอมาจาก Non-Uniform Retional B-Spline curveหรือ surface โดยทั่วไป NURBS จะเปน เสนโคงที่มีความราบเรียบสม่ําเสมอ และงายตอการแกไข โดยที่กดไปที่จุดตางๆ แลวควบคุม เปนเครื่องมือที่มี ประโยชนมากมาย ในการสรางเสนโคงและพื้นผิวตางๆ สําหรับอุตสาหกรรม ซึ่งในคําสั่งยอยของ Spline จะมีอยู 4 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้ คําสั่ง Ends เปนคําสั่งที่เปลี่ยนความชันของเสนโคงที่จุดเริ่มตนและจุดสุดทาย ถาไมใสคาอะไรเลยให ใสคาตัว N Create > Spline > Manual การสราง Spline โดยตองกําหนดจุดควบคุมเสน Spline เอง วิธีปฏิบัติ ใช mouse คลิกเลือกจุดตางๆที่จะเปนเสนโคง โดยใหเปน P1,P2,P3 ตามลําดับ กดปุม BACKUP หรือกดปุม Esc เพื่อที่จะเสร็จสิ้นจาการเลือกจุดและจะสรางเสนโคงตอไป

รูปที่ 3.38

Create > Spline > Automatic สรางเสน Spline โดยตองกําหนดจุดควบคุมเสน Spline โดยอัตโนมัติ โดยที่เลือกจุดแรก จุดที่สอง และจุดสุดทายของเสนโคง ระบบจะดําเนินการสรางเสน Spline โดยอัตโนมัติ จากจุดที่มีเลือกมากมาย ภายใน ขอบเขตที่กวางๆ 1. สามารถเลือกคําสั่งในการสรางจุดแรก จุดที่สองและจุดสุดทายไดจากคําสั่ง Create > Point command 2. ถาใชคําสั่ง Create > Spline > Manual ระบบจะไมทํางานตามตองการ


76 วิธีปฏิบัติ 1. สรางจุดหลายจุดดังรูปที่ 4.55 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่ 2 โดยที่ใหเปน P2 4. ใช mouse คลิกเลือกจุดสุดทายโดยที่ใหเปน P3

รูปที่ 3.39 เมื่อตองการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเสนโคงใหละเอียดขึ้น ก็จะตองสรางจุดมากๆ ในบริเวณที่ตองการจะทําให ทิศทางของเสนโคงละเอียดมากขึ้น ดังรูปที่ 3.40

รูปที่ 3.40 การเปรียบเทียบระหวาง NURBS และ parametric spline curve หลังจากที่สรางจุดจากจุดที่เหมือนกันดังรูปที่ 3.41 หมายเหตุจะแตกตางที่จุดเริ่มตนและที่จุดสิ้นสุด


77

รูปที่ 3.41 Create > Spline > Curve คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูแลว สามารถสรางเสนโคงจากเสนที่มีอยูแลวหรือมาจาการ รวมกันของเสนโคงตางๆ ( การรวมกันสวนโคง เสนตรงหรือเสนโคง ) ถาตองการสรางเสนโคงจากเสนที่มีอยู อยางเดียว ใหคลิกคําสั่ง single ถาตองการสรางจากหลายเสนที่มีอยูมาเชื่อมตอกันใหคลิกที่คําสั่ง Chain Create > Spline > Curve > Chain คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูหลายเสน ซึ่งเสนเหลานั้นมาตอเรียงกัน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหลายเสนใหตอกันดังรูปที่ 4.58 โดยที่ใชคําสั่ง Create > Line > Multi > Sketch 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรกที่จะเริ่มตนของการสรางเสนโคง โดยที่ใหเปน P1 3. เลือกคําสั่ง Done > Do it เลือกที่เสนตรงแรกที่สราง จากนั้นก็เปลี่ยนเปน NURBS curve

รูปที่ 3.42


78 Create > Spline > Curve > Chain > Single คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูเพียงเสนเดียวไมวาจะเปนสวนโคงหรือเสนตรง วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคงหรือเสนตรง ดังรูปที่ 3.43 2. ใช mouse คลิกจุดที่จะใหเปนเสนโคง โดยที่ใหเปนP1 3. เลือกคําสั่ง Done > Do it ( สวนโคงหรือเสนตรงเสนแรกก็จะถูกเปลี่ยนเปน NURBS )

รูปที่ 3.43 Surface คําจํากัดความของ surface ที่สามรถอธิบายงายๆก็คือ พื้นผิวของรูปราง 3 มิติที่มีลักษณะเปนแผน คลายกับแผนกระดาษ โดย surface จะมีขอบเขตที่เรียกวา wire frame ซึ่งทําหนาที่เปนโครงใหกับ surface ให ลองนึกวา วาว ที่ตองมีโครงกอนที่จะเอากระดาษมาแปะทับไปตามโครง ซึ่งก็คือ wire frame กระดาษก็คือ surface นั่นเอง ในที่นี้จะอธิบายชนิดของ surface ที่ผูใชสามารถสรางสรรคโปรแกรม Mastercam พรอมทั้ง แสดงตัวอยางประกอบในแตละชนิดของ surface ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Surface : Create > Surface Loft คําสั่งสราง surface จาก chain หรือ curve อยางนอย 2 เสนหรือมากกวานั้น ซึ่งโปรแกรมจะคํานวณ การผสมผสานใหเกิดความราบเรียบ ( smooth ) ของ surface ขอแตกตางระหวาง Loft กับ Ruled จะแตกตาง กันที่รูปรางของ surface ที่ไดโดยใหสังเกตจาก ดังรูปที่ 3.44 และ 3.45


79

รูปที่ 3.44

รูปที่ 3.45 Coons คําสั่งสราง surface โดยใชเสน curve 4 เสนเปนขอบเขตในการสราง surface ดังรูป 3.46 และ 3.47


80

รูปที่ 3.46

รูปที่ 3.47


81

รูปที่ 3.48

Ruled คําสั่งสราง surfaceจาก chain หรือ curve อยางนอย 2 เสนหรือมากกวานั้น ซึ่งโปรแกรมจะคํานวณ การผสมผสาน surface ดังรูป 3.49 และ 3.50

รูปที่ 3.49


82

รูปที่ 3.50 Revolved คําสั่งสราง surfaceโดยใช chain หรือ contour หมุนรอบแกน ดังรูป 3.51 และ 3.52

รูปที่ 3.51


83

รูปที่ 3.52 Sweep คําสั่งสราง surfaceโดยให chain กวาดจาก chain หนึ่งไปยังอีก chain หนึ่งหรืออีกหลายๆ chain chain เหลานี้เรียกวา “ across contours ”โดยการกวาด จะกวาดไปตามรางที่เรียกวา “along contuors” ผูใช สามารถกําหนดจํานวน across curve และ along curve ไดอยางนอยอยางละหนึ่งเสน ดังรูป 3.53 และ 3.54

รูปที่ 3.53


84

รูปที่ 3.54 Draft คําสั่งสรางsurfaceโดยใช chain หรือ contour ยึดเปน surface คลายทอ โดยตองกําหนดความยาวของ sueface และยังสามารถกําหนดมุม surface ใหเอียงเปนมุมเอียงไดอีก ดังรูป 3.55 และ 3.56

รูปที่ 3.55


85

รูปที่ 3.56

Fillet คําสั่ง Fillet ใหกับ surface การใช Fillet surface สามารถสรางไดทั้งพื้นราบ ( plane ) กับ surface , ระหวาง curve กับ surface , หรือระหวาง surface กับ surface ก็ได ดังรูป 3.57

รูปที่ 3.57


86 Offset เปนคําสั่ง offset surfaceจาก surface เริ่มตน ตามระยะ offset ที่ตองการ ดังรูป 3.58

รูปที่ 3.58 Trim / extend คําสั่งตกแตง surface โดยการขลิบ ( Trim ) หรือยืดขยาย ( extend ) ดังรูป 3.59

รูปที่ 3.59


87 2 surf blnd คําสั่งสราง surface ระหวาง 2 surfaceที่แยกออกจากกันใหมารวมกัน ดังรูป 3.60

รูปที่ 3.60 3 surf blnd คําสั่งสราง surface ระหวาง 3 surfaceที่แยกออกจากกันใหมารวมกัน ดังรูป 3.61

รูปที่ 3.61


88 fillet blnd คําสั่ง fillet ใหกับ surface 3 surface ที่มาตัดกัน ดังรูป 3.62

รูปที่ 3.62

3.7 Rectangle and the Rectangle Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Rectangle: Create > Rectangle ซึ่งในคําสั่งยอยของ Rectangleจะมีอยู 3 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Create > Rectangle > 1 points การสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยใชเพียง 1 จุด เปนมุมของรูปสี่เหลี่ยม โดยอางอิงจากความกวางและความ ยาวที่กําหนดเอง วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกมุมลางซาย ซึ่งจะเปนมุมของรูปสี่เหลี่ยม โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความกวาง แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูง แลวกด Enter Tips- ความกวางและความสูงสามารถเปนคาลบได ถาทั้ง 2 คานั้นเปนคาลบแลว จุดที่เลือกในตอนแรกจะ กลับมาเปนมุมบนขวาของรูปสี่เหลี่ยม


89

รูปที่ 3.63 Create > Rectangle > 2 points การสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยใช 2 จุด กําหนดมุมของรูปสี่เหลี่ยม วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกมุมลางซาย โดยที่ใหเปนP1 2. ใช mouse คลิกเลือกมุมบนขวา โดยที่ใหเปนP2 Tips- ขั้นตอนในการเลือกมุมนั้นไมสําคัญมาก ในตัวอยางสามารถเลือกมุมบนขวากอน หรือมุมลางซายกอนก็ ได

รูปที่ 3.64


90

3.8 Chamfer and the Chamfer Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Chamfer : Create > Next menu > Chamfer เปนคําสั่งการลบมุม Chamfer ระหวางเสนตรง 2 เสนที่ไมขนานกัน โดยที่กําหนดระยะทางทั้ง 2 ซึ่งคําสั่งนี้จะอยู ภายในคําสั่ง Chamfer จนถึงการเปลี่ยนขนาดระยะทางที่ลบมุม โดยทั่วไปแลวระยะทางทั้ง 2 สามารถเปลี่ยนได โดยที่ระยะทางแรกจะถูกกําหนดใหเปน P1 และ ระยะทางที่2 จะถูกกําหนดใหเปน P2

รูปที่ 3.65 Tips- 1. คําสั่ง Chamfer นัน้ จะมีลักษณะคําสั่งเหมือนกับคําสั่ง fillet 2. ในการเปลี่ยนระยะทางนั้น โดยการกดปุม D บน keyboard หรือคลิกไปที่เสนที่ 1 และเสนที่ 2 ที่ จะลบมุมแลวใสคาที่ตอการลงไป Note- ระบบจะเตรียมพรอมสําหรับขอมูลหรือคาตางๆที่จะใสลงไปในบริเวณ Prompt Area วิธีปฏิบัติ 1. สรางรูปสี่เหลี่ยม 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนแรก ที่จะทําการลบมุม โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่2 ที่จะทําการลบมุม โดยที่ใหเปน P2


91

รูปที่ 3.66

3.9 Letters and the Letter Submenu ใน Mastercam จะมีอยู 2 วิธี ที่จะใชในการสรางแบบตัวหนังสือ - วิธีที่1 คือเขาไปในคําสั่ง Letters ซึ่งในวิธีนี้สามารถนําแบบตัวหนังสือจาก Windowsมาใชในการ สรางตัวหนังสือ - วิธีที่2 คือใชคําสั่ง Note ในคําสั่งหลัก Drafting วิธีที่1 ใชคําสั่ง Letters ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Letters : Create > Next > Letters ซึ่งในคําสั่งยอยของ Letters จะมีอยู 3 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Create > Next > Letters > True Type การสรางแบบตัวหนังสือที่มาจากตัวหนังสือแบบมาตรฐาน โดยการยอยกลับไปดูขอมูลใน Windows ซึ่งจะแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของตัวหนังสือ วิธีปฏิบัติ หลังจากที่เลือกคําสั่งนั้นแลว Mastercam จะแสดง dialog box ตัวหนังสือมาตรฐานใน Windows


92

รูปที่ 3.67 1. เลือกแบบตัวหนังสือ , รูปรางของตัวหนังสือและขนาดของตัวหนังสือแลวกด OK 2. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ แลวพิมพคําวา Mastercam 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูงของตัวหนังสือ แลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา ระยะหางระหวางตัวหนังสือ แลวกด Enter การเลือกทิศทางของตัวหนังสือ โดยจะมีอยู 4 คําสั่ง ดังนี้ For horizontal and vertical letters : ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ For top and botton arc letters : 1. ใช mouse คลิกกําหนดจุดศูนยกลางของสวนโคง โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีของสวนโคง แลวกด Enter Create > Next menu > Letters > Drafting การสรางแบบตัวหนังสือโดยใชแบบตัวหนังสือที่ลอกมาจาก Mastercamในปจจุบัน วิธีปฏิบัติ 1. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพวา Mastercam 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูงของตัวหนังสือ แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ


93

รูปที่ 3.68 Create > Next menu > Letters > File การสรางตัวหนังสือโดยใชแบบตัวหนังสือจาก Mastercam v8 หรือเขาไปเลือกแบบตัวหนังสือใน C:\MCAM8\COMMON\FONTS\ ซึ่งจะมีคําสั่งเลือกตัวหนังสืออยู 5 คําสั่งดังนี้

รูปที่ 3.69 วิธีปฏิบัติ 1. 2. 3. 4.

เขาไปในคําสั่งตามแบบตัวหนังสือที่ตองการ หนาจอจะขึ้นใหใสคา ความสูงของตัวหนังสือ แลวกด Enter หนาจอจะขึ้นใหใสคา ระยะหางระหวางตัวหนังสือ แลวกด Enter หนาจอจะถามวา ตองการตัวหนังสือแบบสวนโคงไหม (Y/N) ถาเลือก YES ตัวหนังสือก็จะเปนสวนโคง ถาเลือก NO ตัวหนังสือก็จะเปนเสนตรง


94

For arc letters 1. 2. 3. 4.

ใช mouse คลิกกําหนดจุดศูนยกลางของสวนโคง โดยที่ใหเปน P1 หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter เลือกแบบตัวหนังสือ จะเลือกแบบ Top หรือ Bottom หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพคําวา ARC LETTERS

รูปที่ 3.70 For line letters 1. ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพคําวาLine LETTERS วิธีที่2 ใชคําสั่ง Note และ Modify ในวิธีนี้สามารถสรางตัวหนังสือใหเปนแถวโดยใชคําสั่ง Note ในคําสั่ง Drafting วิธีปฏิบัติ 1. สรางตัวหนังสือใหเปนแถวโดยใชคําสั่ง Note ในคําสั่ง Drafting 2. หนาจอจะมี dialog box ปรากฏขึ้นดังรูป 4.96 ใหเลือกคุณสมบัติของตัวหนังสือตามตองการโดย ที่เขาไปตรง Properties 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดเริ่มตนของตัวหนังสือตามตองการ 4. กดปุม Esc หรือ BACKUP เพื่อออกจากคําสั่ง


95

3.10 Ellipse and Ellipse Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Ellipse: Create > Next menu > Ellipse ซึ่งในคําสั่งยอยของ Ellipse จะมีอยู 6 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้ Mastercamจะแสดงรูปวงรีหลังจากที่กําหนดจุดศูนยกลางแลว Tips- 1. Mastercamจะแสดงขอมูลตางๆเกี่ยวกับวงรีในบริเวณ Prompt Area 2. มุมตางๆทั้งหมดจะวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

รูปที่ 3.71

3.11 Polygon and Polygon Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Polygon: Create > Next > Polygon ซึ่งคําสั่งยอยของ Polygon จะมีอยู 6 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเกี่ยวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Tips- 1. Mastercamจะแสดงขอมูลตางๆเกี่ยวกับ Polygonบริเวณ Prompt Area 2. มุมเริ่มตนจะวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

รูปที่ 3.72


96

3.12 ตัวอยางการใชคําสั่ง Create และ Modify การสรางชิ้นงานตามรูป

รูปที่ 3.73 1. สราง Circle

รูปที่ 3.74 -

เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia พิมพ 6.0 กด Enter พิมพ 0,0 เพื่อใหเปนจุดศูนยกลาง แลว Enter

-

ที่ tool bar เพื่อทําการขยายเต็มจอ คลิก จากนั้น ทําวงกลม Dia 4.75” ทําเชนเดียวกับวงกลม Dia 6”


97

รูปที่ 3.75 - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+rad - พิมพคารัศมีเทากับ 1.775” - คลิกที่จุดศูนยกลางรวมกลมวงกลมทั้งสอง - จากนั้นทําวงกลมรัศมี 1.101” - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia ขึ้นมาอีกครั้ง - พิมพ 0.38 กด Enter - พิมพคาพิกัดเทากับ 0,1.483 และคา 0,-1.483 จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.76


98 2. สราง Horizontal Lines โดยการ Offset

รูปที่ 3.77 -

เลือก Create > Line > Horizontal คลิกพิกัดที่จุดศูนยกลางวงกลม ลากเสนตรงออกมานอกวงกลม คลิก 1 ครั้ง โดยใหพิกัด y=0

รูปที่ 3.76 -

กด Enter เลือก Create > Line > Parallel

รูปที่ 3.78


99

-

เลือกเสนในแนวนอน ดังรูป

รูปที่ 3.79 -

เลือกทิศทางในการ offset (บนเสน)พิมพคา ระยะหางจากเสนอางอิงเทากับ 0.375 “ จากนั้น คลิกเสนอางอิงอีกครั้ง เลือกทิศทางในการ offset (บนลาง)พิมพคา ระยะหางจากเสนอางอิง เทากับ 0.375 “ สรางวงกลมอีกครั้ง โดย Dia = 0.75” โดยคลิกที่จุดตัดระหวางเสนตรงกับวงกลมวงที่ 3 ดังรูป

รูปที่ 3.80 3. การ Trim 1 Entity - ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 1 entity


100

รูปที่ 3.81 -

คลิกที่เสน P1 กับคลิกที่วงกลมที่จุด P2 จากนั้น คลิกที่เสน P3 กับคลิกที่วงกลมที่จุด P4 ดังรูป

รูปที่ 3.82. จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกที่จุด P5 กับเสนวงกลมที่จุด P9 และ คลิกที่จุด P6 กับเสนวงกลมที่จุด P3 จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกที่จุด P9 กับเสนวงกลมที่จุด P5 และ คลิกที่จุด P3 กับเสนวงกลมที่จุด P6 จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกที่จุด P7 กับเสนวงกลมที่จุด P5 และ คลิกที่จุด P8 กับเสนวงกลมที่จุด P6 จะไดดังรูปขางลาง


101

รูปที่ 3.83 4. การใชคําสั่ง Rotate

รูปที่ 3.84 ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Rotate > Chain - คลิกเสนที่เราตองการ Rotate ตอจากนั้นคลิก Done - เลือก Point ที่จะใหเปนจุดหมุน ในที่นี้เลือกจุดศูนยกลางวงกลม จะมีกรอบขึ้นมาดังนี้


102

รูปที่ 3.85 - เลือก Copy จากนั้นพิมพคา 7 ในชอง Number of steps และเลือกมุม 45 (ไดจาก 360/7) จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.86 ขั้นตอนตอไป สรางวงกลมรัศมี = 1.438” และลากเสนตรงเอียง 45 องศา จากนั้นสรางวงกลม diameter = 0.674” ที่เสนตรงตัดกับวงกลมรัศมี = 1.438” จะไดดังรูป


103

รูปที่ 3.87 5. การ Trim 3 Entity

รูปที่ 3.88 ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 3 entities จากรูป

รูปที่ 3.89


104 -

คลิก ที่จุด P1, P5 และ P3 จากนั้น คลิก ที่จุด P1, P6 และ P4 สวนที่ยังไมออกหรือออกไมหมดให หรือ ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 1 entity ใช จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.90 6. การ Mirror รอง Slot

รูปที่ 3.90 ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Mirror > Chain - คลิกเสนที่เราตองการ Miror ตอจากนั้นคลิก Done - เลือกแกน Y ใหเปนจุดหมุน จะมีกรอบขึ้นมาดังนี้ เลือก Copy แลวคลิก OK


105

รูปที่ 3.92 จะไดรูปที่ไดจากการ Mirror ดังรูป

รูปที่ 3.93 7. การใชคําสั่ง Divide

รูปที่ 3.94


106

ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > Divide

รูปที่ 3.95 -

คลิกที่ P1,P2,P3 ใหทําทั้งหมด ซึ่งจะไดดังรูป

รูปที่ 3.96 8. การใชคําสั่ง Fillet

รูปที่ 3.97


107 -

ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Fillet > Radius พิมพคารัศมีโคง ซึ่งเทากับ 0.25” จะไดดังรูป

รูปที่ 3.98 การสรางชิ้นงานตามรูป 3.99

รูปที่ 3.99


108 1. สราง Circle

รูปที่ 3.100 -

เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+rad ที่ Prompt area พิมพคารัศมีเทากับ 3 กด Enter พิมพ -3,0 เพื่อใหเปนจุดศูนยกลาง แลว Enter

-

ที่ tool bar เพื่อทําการขยายเต็มจอ คลิก จากนั้น ทําวงกลมรัศมี 3” ที่พิกัด 3,0 และทําวงกลมรัศมี 1.5” ที่พิกัด 0,6

รูปที่ 3.101


109 2. การสราง Tangent line

รูปที่ 3.102 -

เลือก Main Menu > Create > Line > Tangent > 2 arcs คลิกที่วงกลมใหเชื่อมกัน

การ trim รูปวงกลม และการสรางเสน Vertical Line ในการ trim รูปวงกลมใชเลือก Modify > Trim > 1 Entity จากนั้นลากเสนตรงแนวดิ่งจะไดดังรูป

รูปที่ 3.103


110

3. การ offset

รูปที่ 3.104 ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Offset จะปรากฏ กรอบขางลาง

รูปที่ 3.105 -

เลือก Copy Number of steps =1 Offset distance =0.75 คลิก OK แลวคลิกเสนที่ 1 เลือกทิศซายและขวาในการ offset สวนเสน 2,3,4,5,6 เลือกดานในกรอบรูป


111

รูปที่ 3.106 จะไดรูปดังรูป

รูปที่ 3.107 การ Fillet ไปที่ Main Menu เลือก Create > Fillet หรือ Modify > Fillet เลือก รัศมีเทากับ 0.75 โดคลิกที่ จุด 1 กับ จุด 2 และ จุด 3 กับ จุด 4 โดยทําทั้ง 2 ดาน การสรางวงกลมเล็กดานบน - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia - พิมพคา Dia = 1.75 และพิมพคาพิกัด 0,6 จะไดดังรูป


112

รูปที่ 3.108 3. การใชคําสั่ง Letters

รูปที่ 3.109 -

ไปที่ Main Menu เลือก Create > Next menu > Letters จะปรากฏ กรอบขึ้นมา


113

รูปที่ 3.110 -

พิมพขอความในชอง Letter จากนั้นกําหนดคา Height =0.75 Spacing=0.15 แลว Alignment=Vertical คลิก Ok เลือกจุด Starting คือพิกัด -0.375,4.2 จะไดดังรูป

รูปที่ 3.111


114

2.13 การสรางเสน Toolpaths 2 มิติ ในโปรแกรมมาสเตอรแคม คําสั่งสําหรับ toolpath โปรแกรมมาสเตอรแคมประกอบดวยคําสั่งหลักๆ อยู 5 คําสั่ง คือ Contour, Drill, Pocket, facing, Surface ในบทนี้จะขอกลาวถึง Contour, Drill, Pocket เทานั้น

รูปที่ 3.112 Contour

รูปที่ 3.113 Drilling

รูปที่ 3.114 Facing

รูปที่ 3.115 Pocketing

รูปที่ 3.116 Circle Milling


115

คําสั่ง Contour เปนคําสั่งในการกัดชิ้นงานโดยใหมีดกัดเดินตามเสน Contour และตามความลึกที่กําหนด

รูปที่ 3.117 -

ไปที่ Main Menu เลือก Toolpath > Contour คลิกเสนสี่เหลี่ยมดานใน

รูปที่ 3.118 -

เลือกทิศทาง จากนั้น คลิก Done จะปรากฏ Dialogue Box ขึ้นมา


116

รูปที่ 3.119 -

-

คลิกขวาเพื่อเลือก Get tools from library เพื่อทําการเลือก tool เลือก Tool ขนาด Dia = 0.75 endmill จากนั้นคลิก OK กรณีที่ตองการที่จะแกไข tool คลิกขวาที่ไอคอนของ tool เพื่อทําการแกไข tool และ holder และ คาพารามิเตอรตางๆ ตามรูป คลิก OK


117

รูปที่ 3.120

รูปที่ 3.121


118 คาคุณสมบัติของ Contour

รูปที่ 3.122 Clearance การตั้งคาระยะหางระหวาง tool กับชิ้นงาน Retrace การตั้งคาระยะยกของ tool Feed plane การตั้งคาระยะสําหนับสิ้นสุดการเคลื่อนที่เร็ว Top of stock การตั้งคาระดับของชิ้นงานที่ระดับปกตอ โดยตั้งไวที่คา Z=0 Depth การตั้งคาระดับความลึกการกัดงานของ Tool ตาราง 3.1 Compensation Compensation Control Off

Computer Off

Machine Code Generated

ผลที่เกิดขึ้น

None

ไมชดเชยรัศมีและไมสามารถชดเชย รัศมีได


119 Off

Right/Left

None

โปรแกรมจะทําการชดเชยรัศมีโดย ซอฟแวรแตไมสามารถชดเชยรัศมีtool จากเครื่องจักรได

Right/Left

Off

G41/G42

ไมสามารถทําการชดเชยรัศมีโดย ซอฟแวรแตสามารถปรับแกโดยการใช G41/G42

Right/Left

On

G41/G42

ทําการชดเชยรัศมีโดยซอฟแวรและ สามารถปรับแกโดยการใช G41/G42

NC Utilities

รูปที่ 3.123

รูปที่ 3.124


120

-

การเลือก Post Processor ไปที่ Nc Utils > Post Proc > Change จะปรากฏกรอบ Specify file name to read

รูปที่ 3.125 -

เลือก Post Processor ใหเหมาะสมกับเครื่องจักร คลิก Open

-

เลือก Nc Utils > Post Proc > Run เมื่อตองการแปลงเปน NC Code คลิก ok ที่กรอบ Operation Manager โดยจะมีกรอบ Specify file name to read เลือก File NCI ที่เรา ทําไว คลิกOpen และจะมีกรอบ Specify file name to write พิมพชื่อ file ที่ตองการจะเซฟ


121

รูปที่ 3.126

รูปที่ 3.127


122 จะสามารถออก NC Code ไดดังรูป % O0002 (PROGRAM NAME - T004 ) (DATE=DD-MM-YY - 01-09-03 TIME=HH:MM - 11:30 ) N100 G20 N102 G0 G17 G40 G49 G80 G90 ( 3/4 DRILL TOOL - 1 DIA. OFF. - 1 LEN. - 1 DIA. - .75 ) N104 T1 M6 N106 G0 G90 G54 X-33.3966 Y-5.2581 S2005 M3 N108 G43 H1 Z.25 N110 Z.1 N112 G1 Z0. F4.3 N114 X-19.7886 Y16.7239 F360.9 N116 G2 X-19.4698 Y16.9015 I.3188 J-.1974 N118 G1 X17.3763 N120 G2 X17.6924 Y16.7283 I0. J-.375 N122 G1 X31.719 Y-5.2538 N124 G2 X31.7779 Y-5.4555 I-.3161 J-.2017 N126 X31.4029 Y-5.8305 I-.375 J0. N128 G1 X-33.0777 N130 G2 X-33.4527 Y-5.4555 I0. J.375 N132 X-33.3966 Y-5.2581 I.375 J0. N134 G0 Z.25 N136 M5 N138 G49 Z.25 N140 G91 G28 Z0. N142 G28 X0. Y0. A0. N144 M30 %


123

3.14 การทํา Drilling 2 มิติ

รูปที่ 3.128

รูปที่ 3.129 -

สรางเสน toolpath จากนั้นเลิก Job Setup เลือก Stock โดยการใชขนาดพิกัด 0,0 และ 7.5,6.0 โดย ใชคาความหนา 1 “ ทําจากวัสดุ เหล็ก 4140


124

รูปที่ 3.130

รูปที่ 3.131


125

3.15 การแกไข toolpath ของงานเจาะ -

กรณีที่ตองการเปลี่ยนทางเดินของ tool เลือก Option ที่เมนู Drill

รูปที่ 3.132 การเจาะรู

รูปที่ 3.133


126 -

เลือก Window Pts จากเมนู Drill จะมีขอความขึ้น Select the first corner of the windows ใช Mouse คลิกที่มุมซายบน ดึงลากลงมาดานลางขวา คลิกซายเพื่อตอบรับ จากนั้นคลิก Option จากเมนู Drill เลือกทิศทางในการเจาะ ดูรูป คลิก OK คลิก Done จากเมนู Drill

รูปที่ 3.134 -

คลิกขวาเลือก Get tool from library เลือกดอกสวาน 0.5 “ คลิก Ok คลิกที่แท็บ Drill/Counterbore ปอนคาความลึกที่จะทําการเจาะ เลือก Ok


127

รูปที่ 3.135 Operation Manager จะชวยอํานวยความสะดวกในการทํางาน เพื่อหรือแกไขเสน Toolpaths ซึ่งจะมีคําสั่ง Verify ,Blackplot , และทําการ post

รูปที่ 3.136


128 คลิก Post เพื่อดูรูป Simulation ดังรูป

รูปที่ 3.137

2.16 การทํา Pocketing

รูปที่ 3.138


129 Job Setup เปนคําสั่งที่ใชในการทําสตอก กําหนดขนาดของชิ้นงาน จุด Origin และใชกําหนดชนิดของวัสดุ

รูปที่ 3.139

รูปที่ 3.140


130 -

กําหนดขนาดของ Stock โดยกําหนดคา ในแกน XYZ และจุด Origin

รูปที่ 3.141 -

เลือกชนิดของ วัสดุ ดังรูป

รูปที่ 3.142 -

คลิกจะปรากฏกรอบแสดงชนิดของวัสดุชนิดตางๆ

รูปที่ 3.143


131 ขั้นตอนการทํา Pocket - เลือก Toolpaths > Pocket > Solids - คลิกที่พื้นผิวที่ตองการทํา Pocket คลิก Done > Done

รูปที่ 3.144 -

คลิก Done จะปรากฏกรอบขึ้นมา คลิกขวาเลือก Get tool from library โดยเลือก 0.5 endmill

รูปที่ 3.145


132 -

กรณีที่ตองการเปลี่ยนแปลงขนาดของ tool และ Holder หรือ tool ไมมีตาม list โดย Click ขวาที่ไอ คอน tool จะปรากฏกรอบขึ้นมา

รูปที่ 3.146

รูปที่ 3.147


133 ทิศทางของ Pocketing

รูปที่ 3.148 Machine Direction การตั้งคาทิศทางการเดินกัดชิ้นงานมี 2 แบบคือ Climb และ Conventional Tip Comp

รูปที่ 3.149

-

การตั้งคาจุดอางอิงของ tool ที่จะใหกัดชิ้นงานมี 2 แบบ คือ tip การอางอิงที่ปลาย tool comp การอางอิงที่จุดศูนยกลางของรัศมี tool

3.17 การปรับทิศทางการเดินของ tool -

คลิก Operation ที่เมนู toolpath แลวคลิก parameter คลิก tab ของ Roughing/Finishing parameter

รูปที่ 3.150


134 จากนั้นคลิก OK จากนั้นเมื่อทําการปรับแตคาตางๆ เสร็จ จะไดรูปขางลาง

รูปที่ 3.151 -

ในการทํา Post คลิก Operation ที่เมนู toolpath แลวคลิก Post จะปรากฏกรอบดังรูป คลิก Post

รูปที่ 3.152 -

คลิก OK เพื่อทําการ Save


135 -

พิมพชื่อ file โดยใชชื่อ T005.MC9 คลิก Save เปดดู file ที่ Save โดยเปด โปรแกรม Notepad เลือก ไฟล ซึ่งเซฟที่ D:\ Program Files\ MCAM9\Mill\NC\T005.NC

รูปที่ 3.153


136

บทที่ 4 การออกแบบโดยใช Mastercam Lathe

4. การออกแบบสําหรับงานกลึง 4.1 ระบบพิกัดสําหรับงานกลึง กอนทําการใชงานดวย Mastercam Lathe สิ่งแรกที่จะตองพิจารณา คือระบบพิกัด(Coordinate System) ซึ่งแตกตางกับงานกัด (Milling) งานกลึงจะมีแค 2 แกน คือ แกน X และ แกน Z

รูปที่ 4.1 Construction Plane (CPlane) ใน Mastercam Lathe จะใชระบบพิกัด คือ +DZ, –DZ ,+XZ ,-XZ ซึ่ง X จะเรียกวา Radius Programming และ D เรียกวา Diameter Programming อยางเชนตองการกลึงงานเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว ซึ่งถาใช +XZ ,-XZ (Radius Programming) ซึ่ง ในการออกแบบจะสรางแคครึ่งหนึ่งเทานั้น คือ 0.5 นิ้ว กรณีถาใช +DZ,-DZ (Diameter Programming) จะตองออกแบบตามงานจริง คือ เสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว


137

รูปที่ 4.2

รูปที่ 4.3

รูปที่ 4.4

4.2 ขั้นตอนการออกแบบโดยใช Mastercam Lathe


138 -

เลือกใช +XZ หรือ -XZ (Radius Programming) คลิก Cplane > Next Menu > +XZ

รูปที่ 4.5 -

ทําการเขียนแบบคลาย Mastercam Mill เลือก Main Menu > Create > Line > Muti หรืออาจจะเรียกใชไอคอน Multi Line จากทูลบาร Point A B C D E F G Point A B C D E F G

Radius Value 0 0.875 0.875 1.125 1.125 1.375 1.375

Z Value 0 0 -1 -1 -1.75 -3 -4

Diameter Value 0 1.75 1.75 2.25 2.25 2.75 2.75

Z Value 0 0 -1 -1 -1.75 -3 -4


139

รูปที่ 4.6 -

ทําการ fillet จุด B รัศมี 0.1 นิ้ว เลือก Create > fillet > radius

รูปที่ 4.7

รูปที่ 4.8


140

-

พิมพคา 0.1 แลวกด Enter ทําการสราง Bar Stock ซึ่งจะทําใน level 2 โดยเลือก level จาก Secondary Menu จะปรากฏ Dialogue Box เลือก หมายเลข 2 คลิก Ok

รูปที่ 4.8

รูปที่ 4.9 -

ทําการเปลี่ยนสีของเสน โดยคลิก Color จาก Secondary menu คลิก Ok ทําการออกแบบ Bar Stock เลือก Create > Rectangle > 2 Points

-

พิมพคาพิกัด 0.-4 ที่มุมลางซายและพิมพคา 2.75,0 ซึ่งอยูบนมุมขวาจะปรากฏดังรูป


141

รูปที่ 4.10

รูปที่ 4.11 -

Save งานโดย คลิกที่ File > Save พิมพชื่อ File โดยใช tutorial1 เลือก Save


142

รูปที่ 4.12

4.3 ตัวอยางการออกแบบ ชิ้นงานที่ 2

รูปที่ 4.13 -

เลือกใช +DZ หรือ -DZ (Radius Programming) คลิก Cplane > Next Menu > +DZ


143

รูปที่ 4.14 -

ทําการเขียนแบบคลายกับ Mastercam Mill

-

เลือก Main Menu > Create > Line > Vertical หรืออาจจะเรียกใชไอคอน Multi Line จากทูลบาร พิมพคาพิกัด 0,0 และคาที่ 2 คือ 1,0 เปลี่ยนเปนเสนในแนวนอน คลิก Backup แลวเลือก Horizontal ใช mouse คลิกที่ปลายเสน พิมพคาพิกัด 1,-1 ทําการเปลี่ยนเสน เลือก Main Menu > Create > Line > Multi ใช Mouse คลิกในแนวนอน พิมพคาพิกัด 0.875 , -1.125 และจุด 1.5,-1.125

-

รูปที่ 4.15


144

รูปที่ 4.16 -

Main Menu > Create > Line > Polar ใช mouse คลิกที่ปลายเสน พิมพคามุมเทากับ 169 องศา และพิมพคาความยาว 0.875 ขั้นตอไปสรางเสนโคง

รูปที่ 4.17 -

ใช mouse คลิกที่ปลายเสน พิมพคาพิกัด 2.275,-2.32 และคารัศมีเทากับ 0.65


145

รูปที่ 4.18 -

สรางเสนถัดไป เลือก Main Menu > Create > Line > Endpoints พิมพคาพิกัด 2.275,-3.5 สรางเสนตรงแนวดิ่ง ใชเสน Vertical พิมพคาพิกัด -3 ทําการ chamfer

รูปที่ 4.19


146

รูปที่ 4.20 -

เลือก 2 Distances ความยาวดานแรก = 0.05 และดานที่ 2 เลือก 0.05 คลิก Ok ทํา rough bar stock โดยใสไวใน level 2

รูปที่ 4.21


147

รูปที่ 4.22 -

เลือก หมายเลข 2 คลิก Ok ทําการเปลี่ยนสีของเสน สราง stock เลือก main menu > Create > rectangle


148

รูปที่ 4.23 -

พิมพคาพิกัดจุดแรก 0,-3.5 จุดที่ 2 คือ 3.5,0 จากนั้นทําการ Save file ชื่อ tutorial2 เลือก Save คลิก Ok


149

4.4 การสรางเสน toolpath สําหรับงานกลึง

รูปที่ 4.24

รูปที่ 4.25

4.5 ตัวอยางงานที่ 1

รูปที่ 4.26


150 Job setup Job setup สําหรับงานกลึงมีไวเพื่อกําหนดคาพารามิเตอรตางๆ ที่ใชรวมกับงานกลึง เชนกําหนด ชนิด ของวัสดุ เลือกชนิดของ post processor เลือกชนิดของเครื่องจักร สรางสต็อก ฯลฯ

รูปที่ 4.27 จะปรากฏ Dialogue box ของ Job Setup ขึ้นมา

รูปที่ 4.28


151 -

เลือกชนิดของวัสดุ โดยใน ตัวอยางนี้เลือก steel inch 4140 400BHN คลิกที่ปุมดานขวาเพื่อ เลือก วัสดุ

รูปที่ 4.29 -

ทําการเลือก ชนิดของ Post processor โดยเลือกชนิดใหเหมาะสมกับ M/C ที่ใช ในที่นี้เลือก Genetic Fanuc

รูปที่ 4.30 -

จากนั้นทําการกําหนดขนาด Stock โดย คลิกที่ Tab ของ Boundaries

รูปที่ 4.30 -

คลิก Parameter….

รูปที่ 4.31


152 -

พิมพคา OD =ความโตขนาด stock และคาความยาวเทากับ 1.13 คลิก Ok คลิก Ok อีกครั้งเพื่อปดกรอบ Lathe Job Setup

รูปที่ 4.32 ซึ่ง เสนประที่เห็นคือ ขนาดของสต็อก สวนเสนเต็มคือชิ้นงานกลึง

รูปที่ 4.33 -

เลือก toolpath > Operation คลิกขวา เลือก toolpaths > rough คลิกที่เสนที่ตองการกลึง


153

รูปที่ 4.34

รูปที่ 4.35 -

จากนั้น คลิก Backup คลิก Done จะปรากฏ Dialogue Box ของ tool parameter ขึ้นมา


154

รูปที่ 4.36 -

คลิก tab ของ rough parameter ขึ้นมา

รูปที่ 4.37


155 -

ปอนคา Cutting Method เลือก One-way คลิก Ok ทําการเลือกผิวของชิ้นงานที่จะกลึง โดยทําตามขั้นตอนที่ทํามา ซึ่งจะไดรูปดังนี้

รูปที่ 4.38 -

ทําการแปลง เปน NC code เลือก main menu > toolpaths > Operation คลิก Post

รูปที่ 4.39


156 -

-

จะมี Dialogue box ขึ้นมา ทําการเปลี่ยน post processor คลิกที่ Change post เลือก MPL850SX โดย มีคุณสมบัติดังนี้ o # Post Name : MPL850SX o # Product : LATHE o # Machine Name : CINCINNATI o # Control Name : 850SX จากนั้น คลิกที่ชอง save nc file คลิก Ok

รูปที่ 4.39 - ซึ่ง จะได Post ดังตอไปนี้ % (MSG, TOOL - 1 OFFSET - 1 ) (MSG, LROUGH OD ROUGH RIGHT - 80 DEG. INSERT - CNMG-432 ) :1G0G62G70G97S76M3T1M26X10.Z10. N100G92S3000 N102G0G54X1.4067Z.11M8 N104G96R1.4067S200 N106G95G1Z-.37F.01 N108X1.6F.01 N110X1.7414Z-.2993F.01 N112G0Z.11 N114X1.2133


157 N116G1Z-.37F.01 N118X1.4267F.01 N120X1.5681Z-.2993F.01 N122G0Z.11 N124X1.02 N126G1Z0.F.01 N128Z-.37F.01 N130X1.2333F.01 N132X1.3748Z-.2993F.01 N134G0X1.4067 N136Z.1 N138G1Z-.6848F.01 N140X1.4813Z-.74F.01 N142X1.6F.01 N144X1.7414Z-.6693F.01 N146G0Z.1 N148X1.2133 N150G1Z-.5417F.01 N152X1.4267Z-.6996F.01 N154X1.5681Z-.6288F.01 N156G0Z.1 N158X1.02 N160G1Z-.3986F.01 N162X1.2333Z-.5565F.01 N164X1.3748Z-.4858F.01 N166G0X1.52 N168Z-.63 N170G1Z-.731F.01 N172Z-1.1612F.01 N174X1.6614Z-1.0905F.01 N176G0X4.024 N178M9 N180G0X10.Z10. N182M30 %


158

4.6 ตัวอยางที่ 2

รูปที่ 4.40 Job Setup เลือก main menu > toolpaths > jobsetup

รูปที่ 4.41

Material


159 เลือก Alumenum Inch-6061 คลิก Ok

รูปที่ 4.42 Tool Clearance ควรใชคาที่โปรแกรมกําหนดจะเหมาะสมที่สุด คือ Rapid moves=0.05 Entry/exit=0.02

รูปที่ 4.42 ทํา Facing

รูปที่ 4.43


160 -

เลือก main menu > toolpaths > Operation คลิกขวา เลือก toolpaths > face

รูปที่ 4.44 -

ทําการเลือก tool โดยการเลือกคาที่ โปรแกรมกําหนดให

รูปที่ 4.45 -

จากนั้น ไปที่แท็บ Face parameters เพื่อกําหนดขอบเขตการกลึงปาดหนา คลิก select points


161

รูปที่ 4.46 -

จะกลับไปยังหนาจอ Graphic area คลิกจุด 2 จุด ดังรูป

รูปที่ 4.47 -

คลิก Ok ที่กรอบ Lathe Face จะกลับมาที่กรอบ Operation อีกครั้ง ทําขั้นตอนตอไป


162 Roughing Toolpath

รูปที่ 4.48 -

คลิกขวา เลือก Toolpath > Rough คลิกเลือกเสนเพื่อที่จะกลึงปอกดังรูป

รูปที่ 4.49

-

คลิก backup เลือก Change end


163

รูปที่ 4.50 คลิกเพื่อใหลูกศรเลื่อนไปตามเสนที่ตองการกลึง จะไดดังรูป 4.51

รูปที่ 4.51 -

คลิก Done และ คลิก Done อีกครั้ง เลือก tool คลิก Ok จะไดดังรูป


164

รูปที่ 4.52 Finishing Toolpath - คลิกขวา เลือก Toolpath > Finish

รูปที่ 4.53 -

คลิก เลือกเสนเหมือนกับ Roughing ทุกขั้นตอน จะไดดังรูป เลือก tool ในตัวอยางนี้เลือกชนิด T0202 R0.0156 Finish right 35 Deg คลิก Ok

รูปที่ 4.54


165 จะกลับมาที่กรอบ Operations อีกครั้ง

รูปที่ 4.55 -

คลิก Verify เพื่อ ดูรูปจําลอง (Simulation) ดังรูป จากนั้น คลิก

รูปที่ 4.56


166

รูปที่ 4.57 Grooving Toolpath จากรูปจะเพิ่มรองสวนปลายของชิ้นงาน ขั้นตอนในการเซาะรองมีดังนี้

รูปที่ 4.58


167 -

เลือก main menu > toolpaths > Operations คลิกขวา เลือก toolpaths > groove

รูปที่ 4.59 -

เลือก Chain ใน Grooving Options คลิก Ok

รูปที่ 4.60 -

คลิกตามเสนที่จะทําการเซาะรอง ดังรูป จากนั้น คลิก Backup เลือก Change end > move fwd จะไดดังรูป

รูปที่ 4.61


168 -

คลิก Done > Done เลือก tool จากนั้น คลิก ที่แท็บ Groove sharp parameter สําหรับปรับมุมมีดกลึงแตใน ตัวอยางนี้ ใชคา 90 องศา

รูปที่ 4.62 -

คลิก Ok จะไดดงั รูป

รูปที่ 4.63


169

บทที่ 5 เครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000

เครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000 เปนเครื่องกลึงระบบอัตโนมัติสามารถตรวจสอบรูปแบบ การปฏิบัติงานดวยคอมพิวเตอรกอนที่จะสงรหัส (Code) เขาสูเครื่องกลึงเพื่อนําไปผลิตเปนชิ้นสวน ของเครื่องจักรกลตอไป การทํางานบนเครื่องจักรระบบอัตโนมัตินี้จะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานได อยางรวดเร็วและมีคุณภาพดียิ่งขึ้น องคประกอบและสวนตาง ๆ ของเครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000

5.1 ตารางคําสั่งควบคุมและ FUNCTIONS ตาง ๆ LINE ON.

- รูปแบบ PROGRAM เพื่อเช็คดูกอนเริ่มการทํางาน หรือตองการเปลี่ยน แปลงแกไขสวนตาง ๆ

PROGRAM RUN

- PROGRAM เริ่มการทํางาน

PROGRAM ENTER

- ปอนขอมูลและคําสั่ง Function ตาง ๆ ของ Program

MANUAL

- กําหนดการเคลื่อนที่ของแกนตาง ๆ

START

- เริ่มตนการเขียน Program มี 2 ระบบ “INCH.?” หรือ “MM?”

SPINDLE SPEED

- ความเร็วรอบ RPM 0-1000 RPM


170 0-2000 RPM 0-4000 RPM FEED RATE

- กําหนดอัตราการเคลื่อนที่ของแตละแกน ถาไมกําหนดเครื่องจะ เปนคา 1.97 inch/min (50 mm. / min.) - การกําหนดอัตราการเคลื่อนที่ inch/rev หรือ inch/min mm. /rev หรือ mm. /min อัตราการเคลื่อนที่สูงสุด 60 ipm.

SETUP PROG. REF

END

SHIFT

- กําหนดจุดอางอิงเริ่มตนของแกน XZCD เปนจุดอางอิงบนเครื่องหรือใช เลื่อนจุดอางอิงไปตําแหนงใหม - เปนคําสั่งสิ้นสุดการเขียน PROGRAM - END NEWPART สิ้นสุด PROGRAM แลวกลับมาตําแหนงเริ่มตนเดิม - END NEW REFERENCE สิ้นสุด PROGRAM แลวสามารถที่จะกําหนด ตําแหนง SETUP REF. ใหมได - ปุมกดเลือกอักษรตัวสีฟา

GO ABS THREAD

- กําหนดใหเปนจุดศูนยจุดสุดทายของแตละแกนกอนการเคลื่อนที่ - รูปแบบในการกลึงเกลียว

GO REL DRILL

- กําหนดการเคลื่อนที่ของมีดตัดไปทีละตําแหนง - รูปแบบในการเจาะ

DISPLAY RECT

- แสดงคาตําแหนงของมีดกลึงในแตละแกน - รูปแบบในการกลึงปอก

CALLSUB TRIANGLE

- ใชเรียกหมายเลขของ SUBRUTINE - รูปแบบในการกลึงเรียว

SUB ROUTINE ARC 1

- ใชกําหนดหมายเลขของ SUBRUTINE ในโปรแกรม - ใชในการกลึงสวนโคงแบบ ARC 1


171

TOOL CHANGE

- เปลี่ยนมีดกลึง

X->XCLEAR CONTROL

- ตําแหนงระยะหางของแกน X หางจากผิวงานคือ ระยะตําแหนง C ใน SETUP - รหัสควบคุมคําสั่ง

Z->Z CLEAR DWELL

- ตําแหนงระยะหางของแกน Z หางจากผิวงานคือ ระยะตําแหนง D ใน SETUP - PROGRAM หยุดชั่วคราว กําใหเลือกไดตั้งแต 1-99 วินาที

->MACH 0 XZ->REF 0

- ยกเลิกตําแหนงที่ตั้งศูนยไวและกําหนดจุดศูนยอางอิงใหม - เคลื่อนที่มีดตัดไปยังตําแหนงอางอิงศูนย

SKIP TO ARC 2

- กําหนดใหโปรแกรมกระโดดขามบรรทัดที่ทํางานอยูไปยังบรรทัดที่ โปรแกรมตองการ - เรียกฟงชั่นในการสรางสวนโคงของ ARC 2 มาใชงาน

SUB RETURN NOTCH

REPEAT REPEAT END

- เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมแลวใหกลับไปที่ SUBROUTINE - เรียกฟงชั่น NOTCH มาใชงาน

- กําหนดการใชโปรแกรมซ้ําที่มีอยูหรือใชเปนบางสวน - หยุดการทํางานซ้ําของโปรแกรม

X

- ใชกําหนดรูปแบบของแกน X

Z

- ใชกําหนดรูปแบบของแกน Z

R

- ใชบอกคารัศมีในโปรแกรมหรือบอกคารัศมีของมีดตัดเวลาติดตั้ง เครื่องมือตัด


172

A CHAMFER

ZERO AT SPINDLE ON/OFF

ZERO COODS READ/WRITE

- กําหนดคาของมุมในโปรแกรม - เรียกฟงชั่น CHAMFER มาใชงาน

- สรางตําแหนงจุดศูนยใหม มีดตัดจะไมเคลื่อนที่ไปที่ตําแหนงนั้น แตจะ หมุนรอบตําแหนงศูนย - กําหนดตองการใหเพลาหมุนหรือหยุด

- กําหนดตําแหนงจุดศูนยที่ตําแหนงมีดตัดปจจุบัน - ใชในโหมดของ Line No. เพื่อติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร โดย ผานทาง RS 232

ON/OFF Z

- ใชปดเปดของ JOG FUNCTION ในทิศทางที่ตรงขาม

7 L LEET

- ใชเรียกหมายเลข 7 - ทําให JOG เพิ่มขึ้น 0.001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางตรงกันขาม (ลบ) - ใชเรียกหมายเลข 4

4 F FAST

- ทําให JOG เพิ่มขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางตรงกัน ขาม (ลบ)

YES 1

0

- ใหผูใชตอบ YES ที่คําตอบ - ใชเรียกหมายเลข 1

- ใชเรียกหมายเลข 0


173 SETUP REF. TOOL ABS.

PREVIOUS INSERT

- ใชสําหรับตั้งคําสั่งโปรแกรมและการติดตั้งมีดตัด

- ใชเพื่อยอนกลับไปกอนถึงบรรทัดปจจุบันไดทีละ 1 บรรทัด ในการตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาด - ในโหมด LINE NO. ใหผูใชแทรกบรรทัดในโปรแกรม

X ON/OFF Z

- ใชปดเปดของ JOG FUNCTION ในทิศทางบวก

8 R RIGHT

- ใชเรียกหมายเลข 8 - ทําให JOG เพิ่มขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางบวก (เคลื่อนที่จากชิ้นงานเขาไป)

5

- ใชเรียกหมายเลข 5 - ทําให JOG เพิ่มขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางบวก - ทําใหมีดตัดเคลื่อนที่ไปตําแหนงที่ตองการแลวกลับมาตําแหนงจุดเริ่มตน

C COMBACK

NO 2

TOOL REF

- ใหผูใชตอบ NO ที่คําตอบ - ใชเรียกหมายเลข 2 - ใชเติมคาจุดทศนิยมในโปรแกรม - ใชเพื่อเปลี่ยนแปลงปรับคาของมีดตัดแตละอันมีการสึกหรอของมีดตัด หรือขนาดของชิ้นงานผิดพลาด


174 NEXT DELETE - ใชเหมือนปุม “ENTER” เพื่ออานขอมูลเขาหนวยความจําและใช ทํางานตามโปรแกรมของแตละบรรทัด - ในโหมด LINE NO. ใหใชลบบรรทัดในโปรแกรม

CLEAR

- ในโหมด LINE NO. ใชลางสวนตาง ๆ ในหนวยความจํา

9

- ใชเรียกหมายเลข 9

6

- ใชเรียกหมายเลข 6

3

- ใชเรียกหมายเลข 3

+ / #

- ใชกําหนดการเคลื่อนที่แบบตามเข็มนาฬิกา (-) และแบบทวนเข็ม นาฬิกา (+)

HALT

- ใชหยุดโปรแกรมในบรรทัดที่กําลังทํางานอยู และกด NETX อีกครั้ง เมื่อตองการใหโปรแกรมทํางานตอไป

5.2 โหมดในการใชงาน 4 อยาง ในเครื่องจักรมีโหมดใหเลือกการทํางานอยู 4 อยาง ในการเลือกโหมดใชงานจะเลือกโดยการกดปุม บนแผงควบคุมดังนี้

MANUAL

PROGRAM RUN

PROGRAM ENTER

LINE NO.


175

MANUAL PROGRAM RUN PROGRAM ENTER LINE NO.

- ใชกําหนดปรับระยะขนาดของมีดตัดและเปนคูมือในการทํางานของ เครื่องจักร - สั่งใหเครื่องจักรทําตามโปรแกรมที่มีอยูในหนวยความจํา - สรางโปรแกรมในแผงระบบควบคุม - ตรวจสอบโปรแกรมที่เก็บไวในแผงควบคุมและสามารถแกไข เปลี่ยนแปลงโปรแกรมได


176

บทที่ 6 ผลการศึกษาการใชโปรแกรม มาสเตอรแคม

6.1 ผลการศึกษา มาสเตอรแคมไดแบงโปรแกรมออกเปน 4 สวน คือ Design , Mill , Lathe,Wire โดยสวนของ mastercam design จะสามารถใชงานในการออกแบบ (CAD) เทานั้น สวน Mastercam Mill , Mastercam Lathe , Mastercam Wire จะสามารถออกแบบ (CAD) และในสวนชวยในการผลิต (CAM) โดยระบบการ ทํางานของ Maastercam จะแยกยอยการทํางานเปนหมวดหมูอยางชัดเจนทําใหการทํางานไมซับซอน ใน โครงงานนี้ไดศึกษาในสวนของงานกัดและงานกลึง เมื่อนําโปรแกรม Mastercam ไปเปรียบเทียบกับโปรแกรม Pro/Engineer สามารถสรุประบบการทํางานออกมาโดยคราวๆ ไดดังนี้ 1. การออกแบบ CAD ทั้งงานกัดและงานกลึง Mastercam - ใชงานงาย - สามารถนําไฟลที่ออกแบบจากโปรแกรมอื่นๆไดมาก เชน Solidegde, Pro E, Parasolid, Auto cad, IAES ฯลฯ Pro Engineer - มีคําสั่งที่ชวยในการออกแบบมาก - ออกแบบ 3D ไดดีกวา Mastercam - ยอนกลับไปแกไขงานไดงาย - ใชงานยาก 2. สวนของ CAM และการสราง NC Code Mastercam - การสราง Tool Path ทําไดงาย - การสราง Stock ของชิ้นงาน ทําไดงาย - การกัดโคง มีคําสั่งในการลด feed - สามารถออกแบบ tool ไดเอง - มีคําสั่งในการ verify หรือ simulation - สามารถแกไข Tool Path ได - ออก code ไดเร็ว


177 - มี post processor สําหรับเครื่อง CNC หลายชนิด - สามารถสราง Tool Path สําหรับงาน 2 มิติได - สราง stock ไดเฉพาะงานสี่เหลี่ยม Pro Engineer - สราง stock ไดหลากหลาย - ไมสามารถเปนตัว controller สงขอมูลใหเครื่อง CNC ได การออกแบบ CAD ของ Mastercam ยังดอยกวา Pro /Engineer มาก เพราะมีคําสั่งชวยในการออกแบบ นอยกวา แต Mastercam มีจุดเดนตรงที่สามารถออกแบบ 2D และ 3D และนําไปกําหนดเสน tool path ไดเลย นอกจากนี้ยังสามารถ import จากโปรแกรมตางๆไดเกือบทุกโปรแกรม โดยเมื่อกําหนดเสน tool path จะแปลง เปน NC code ไดงาย ดังนั้นสามารถสรุปไดวา Mastercam มีจุดเดนในการออกแบบ code และสราง tool path ซึ่งเหนือกวา Pro/Engineer ปญหาที่เจอใน Mastercam นั้นนอยมาก นอกจากตอนที่แปลงเปน G Code ของเครื่อง Dyna myte 3000 เทานั้น ซึ่งสามารถสรุปขอผิดพลาดไดดังนี้ 1. G Code จะมีหนวยกําหนดเปน นิ้ว ตลอด แมจะกําหนดเปนหนวยอื่น เชน มม. แลว 2. G Code จะเกิดปญหาคือ มีเครื่องหมายลบซับซอนกัน หลายจุด เชน 151 ZERO AT 152 X 5.5674 153 Z- -38.5237 154 GR A- -10.543 เมื่อไป Simulation ในโปรมแกรม Dyna myte 3000 ไมสามารถรันได 3. ถากําหนดคา feed เปน default ในตัวโปรแกรมมาสเตอรแคมเมื่อแปลงเปน G Code คา feed จะไม กําหนดให


178

เอกสารอางอิง

สุทธิพงษ สุภาชัยวัฒน,คูมือปฎิบัติงานกลึง Dynamyte 3000 cnc lathe,มหาวิทยาลัยขอนแกน Kelly Curran and Jon Stenerson,Understanding Mastercam,Prentice Hall Nattapong Kongprasert,Pruek Kongprawechnon,คูมือการใช Mastercam ภาษาไทย,Faculty of Engineer SWU(prasanmitr)


179

ภาคผนวก


180

ภาคผนวก ก ผลที่ไดจากการทดลอง

ตัวอยางงานกัด

รูปที่ ก.1

รูปที่ ก.2


181

รูปที่ ก.3

รูปที่ ก.4


182

รูปที่ ก.5

รูปดัวอยางงานกลึง

รูปที่ ก.6


183

รูปที่ ก.7

รูปที่ ก.8


184

ภาคผนวก ข

แสดง NC Code เฉพาะงานกลึงรูปที่ ก.6 เนื่องจาก Code คอนขางยาวจึงไมสามารถนํามาแสดงทั้ง 8 รูปได NC Code ของรูปที่ ก.6 เปนดังนี้ 100 START MM 01 102 SET UP >dczx 104 FR XZ/M= 100 106 SPINDLE ON 108 SPD SP= 1800 110 TOOL 1 112 GOfX 22.6167 114 Z 2.7000 116 GO X 22.6168 118 Z- 54.9972 120 ZERO AT 122 X 212.0932 124 Z- 60.4546 126 GR A 3.332 128 >MACH 0 130 GO X 29.1054 132 Z- 59.0404 134 GOfX 29.1054 136 Z 2.7000 138 GOfX 18.9565 140 Z 2.7000 142 GO X 18.9566 144 Z- 48.0701 146 ZERO AT 148 X 212.0932 150 Z- 55.6486 152 GR A 4.542


185 154 >MACH 0 156 GO X 25.8452 158 Z- 54.2344 160 GOfX 25.8451 162 Z 2.7000 164 GOfX 15.2963 166 Z 2.7000 168 GO X 15.2962 170 Z- 37.1600 172 ZERO AT 174 X 212.0932 176 Z- 48.9376 178 GR A 6.921 180 >MACH 0 182 GO X 22.1850 184 Z- 47.5233 186 GOfX 22.1849 188 Z 2.7000 190 GOfX 11.6361 192 Z 2.7000 194 GO X 11.6360 196 Z- 14.8047 198 ZERO AT 200 X 11.4000 202 Z- 16.3000 204 GR A- 85.488 206 >MACH 0 208 GO X 14.4000 210 Z- 31.7722 212 ZERO AT 214 X 212.0932 216 Z- 38.8353 218 GR A 4.106 220 >MACH 0 222 GO X 18.5248 224 Z- 37.4211 226 GOfX 18.5247 228 Z 2.7000


186 230 GOfX 7.9759 232 Z 2.7000 234 GO X 7.9758 236 Z- 6.6130 238 GO X 10.3156 240 Z- 10.5127 242 ZERO AT 244 X 8.4000 246 Z- 10.8000 248 GR A- 16.697 250 >MACH 0 252 GO X 10.4000 254 Z- 14.8000 256 GO X 11.4000 258 Z- 14.8000 260 ZERO AT 262 X 11.4000 264 Z- 14.8341 266 GR A- 12.241 268 >MACH 0 270 GO X 14.8646 272 Z- 13.4199 274 GOfX 14.8645 276 Z 2.7000 278 GOfX 4.3157 280 Z 2.7000 282 GO X 4.3156 284 Z- 0.5127 286 GO X 8.3758 288 Z- 7.2797 290 GO X 11.2042 292 Z- 5.8655 294 SPINDLE OFF 296 CONTROL 1 298 END NEWPART หมายเหตุ เมื่อแปลงเปน NC code แลวกรณีที่ไป simulation กับโปรแกรมอื่นจะตองแกไข Code บางสวน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.