ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกันยายน 2559
ประจิม-นิศากร ห้องกระจก GENERATION SYNERGY เปิดสูตรสำ�เร็จการสอดประสานพลังพ่อลูกสองวัย ต่อยอดธุรกิจทำ�ไร่อ้อยยั่งยืนด้วยมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม SPEACIAL SCOOP
อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง
หลากสไตล์มิตรชาวไ่ร่
“ถอดรหัสพันธุ์อ้อยแห่งอนาคต”
6 วิธี ฟื้นฟูตับ
HOLA! LA NINA. DECODING THE FUTURE LIVER RECOVERY รับมือ ‘ลานิญา’ น้ำ�ล้นดีกว่าฝนแล้ง
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
AD 1
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
EDITOR’S TALK
EDITOR’s TALK TEAM
สวัสดีประเทศไทย 4.0 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Khoksa-ard Sub-District, District, Chaiyaphum, 36110 Cert ID Cert ID90 CertMoo ID Cert1o, ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDPhukhieo Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Thailand Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert IDCert Cert ID ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert that ID Cert ID economic Cert ID Cert operator ID Cert ID Cert ID Cert IDabove Cert ID was Cert ID Cert ID Cert IDCert Certificadora Ltda. certifies the mentioned assessed andID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID requirements Standard detailed below: Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certmeets ID Cert the ID Cert ID Cert ID Certof IDcompliance Cert ID Cert IDwith Cert the ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDBonsucro Cert ID CertProduction ID Cert ID CertStandard ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert September ID Cert ID Cert 2015 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert – Version 4.1.1 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Bonsucro Chain ofIDCustody Standard Version October Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Mass Cert IDBalance Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID–Cert ID Cert4.0 ID Cert ID Cert 2015 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDScope Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Certification Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Bonsucro rawIDsugar, refined sugar andIDsuper sugar production Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDcertification Cert ID Cert IDofCert Cert ID white Cert ID sugar, Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert IDrefined Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certarea ID Cert ID Cert ID Cert ha ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Total certified production (ha): 1,799.20 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Estimated Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID volume Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert certified production of sugarcane (ton): 71,017 haID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID 3 Estimated certified volume (ton orIDmCert ): 7,620.71 7,317.17 of ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certproduction ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDton Certof ID raw Cert sugar ID Cert OR ID Cert ID Certton ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert refined sugar Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert IDDate Cert ID ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert30/05/2019 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ofCert issue: 30/05/2016 DateIDof expiry: Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertDate ID Cert Certcertification: ID Cert ID Cert30/05/2016 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Certificate issued on: ID 30/05/2016 ofID first Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Number: BRA0024-013 Cert ID Cert IDCertificate Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Mill contact: Mr. Suppapong Sooksangchaya – email: suppapongs@mitrphol.com – telephone: +66 448811114 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Maria Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertVerginia ID Cert IDGuazzelli Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDTechnical Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Manager Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert To verify the authenticity of this document, go to Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID http://www.cert-id.com.br/certification/validation-ofIssued by: CERT ID Certificadora Ltda. Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert CertVargas ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDcertificates/ Cert ID Cert ID the Cert ID Cert IDleft Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert Address: Av.ID Getúlio 901 ID / 1502 – CEP 90150-003 or scan barcode to the withID your device. Cert ID Cert ID Cert IDPorto CertAlegre ID Cert ID– Cert Cert ID Cert ID3012-7080 Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDForCert ID inquiries Cert IDabout Certour ID Certification Cert ID Cert – RS Brazil ID – Phone/fax: +55 (51) general sendIDanCert emailID to: Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Certwww.cert-id.com.br ID Cert ID Cert–ID Cert Cert Reserved ID Cert ©ID Cert ID Cert ID Cert info@cert-id.com.br. ID Cert ID Cert IDFurther Cert ID Cert IDregarding Cert ID this Cert ID Cert ID Cert ID Cert CERT ID ID All Right clarification directed to info@bonsucro.com Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certcertificate ID Cert can ID be Cert ID Cert ID Cert ID Cert or IDbyCert ID Cert ID Cert ID Cert visiting www.bonsucro.com. Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertApproved ID Cert in ID11/2015 Cert ID Cert ID Cert MOD ID REGCert 003-07_rev02 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert
Certificate of Conformance Issued to:
United Farmer and Industry Company Ltd. MITR PHUKHIEO MILL
Bonsucro member No.: THA0003
“สวัสดีประเทศไทย 4.0” เป็นคอนเซ็ปต์ของวารสารมิตรชาวไร่ที่มีเนื้อหาที่ทันเหตุการณ์กับ สถานการณ์ของประเทศ ที่ก�ำลังเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ใหม่ของ ประเทศที่รัฐบาลก�ำหนดไว้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอีก 20 ปีข้างหน้า โดยคุณบรรเทิง ว่ อ งกุ ศ ลกิ จ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ กลุ ่ ม งานอ้ อ ย ได้ ข ยายความภาพรวมของ “ประเทศไทย 4.0” ให้เราได้รู้จักกันมากยิ่งขึ้นในคอลัมน์ “หนึ่งมิตรชิดใกล้” อั พ เดทความเคลื่ อ นไหวในแวดวงอุ ต สาหกรรมอ้ อ ยและน�้ ำ ตาลโลกล่ า สุ ด กลุ ่ ม มิ ต รผล ผ่ า นการรั บ รองมาตรฐาน BONSUCRO มาตรฐานการรั บ รองอ้ อ ยและน�้ ำ ตาลยั่ ง ยื น ที่ ทั่ ว โลก ต่างให้การยอมรับ เป็นรายแรกของประเทศไทย และเป็นรายที่ 2 ของเอเชียแล้ว และได้ประกาศ พามิตรชาวไร่น�ำไร่อ้อยกว่า 400,000 ไร่ เข้ารับการประเมินและผ่านมาตรฐานการรับรองนี้ภายใน 5 ปี เพื่อร่วมกันสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลตั้งแต่ต้นน�้ำต่อไป คอลัมน์ Cover Story ฉบับนี้ พาไปเปิดสูตรส�ำเร็จของการสอดประสานพลังกันของคุณประจิม และน้องก้อย นิศากร ห้องกระจก สองพ่อลูกมิตรชาวไร่จากสิงห์บุรี ที่ต่อยอดธุรกิจท�ำไร่อ้อยยั่งยืน ด้วยมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวดีๆ ที่ไม่ควรพลาด นอกจากนี้ วารสารมิตรชาวไร่ยังได้ปรับโฉมใหม่ เพิ่มเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องกับการท�ำไร่แบบ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มในยุคเกษตรสมัยใหม่ให้มีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้นหลายคอลัมน์ ได้แก่ ฟาร์มดีไซน์ เปลี่ยนแล้วปลื้ม, น�้ำเปลี่ยนชีวิต, หมอดิน, อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง, วิถีคนสู้, Eco Focus, ฮีไร่มิตรชาวไร่, บุรุษชุดเขียว Ironman, มิตรอาสา, สุขจากไร่ และสูตรสุขภาพ ฉบับนี้เปี่ ยมล้นไปด้วยเนื้อหาสาระ อัดแน่นไปด้วยเทคนิควิธีการท�ำไร่สมัยใหม่ เตรียมพร้อมมิตรชาวไร่ก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ก้าวไปพร้อมกันนะครับ กองบรรณาธิการ M
ประธานเจ้าหน้าทีก่ ลุม่ ธุรกิจกลุม่ งานอ้อย บรรเทิง ว่องกุศลกิจ ทีป่ รึกษา เทรเวอร์ ครูกส์ วิโรจน์ ภูส่ ว่าง วิชรัตน์ บุปผาพันธุ์ อภิวฒ ั น์ บุญทวี ไพฑูรย์ ประภาถะโร ปฏิพทั ธ์ นามเขต ทวีป ทัพซ้าย ทรงศักดิ์ เบญจพิพธิ เพิม่ ศักดิ์ งามผ่องใส จิระ กุพชุ ะ ทินกร กลมสอาด อดุลย์ ครองเคหัง ค�ำสี แสนศรี สมศักดิ์ รอดหลง กองบรรณาธิการ กลุม่ ธุรกิจกลุม่ งานอ้อย บริษทั มีเดีย มิกเซอร์ จ�ำกัด ภาพ/ศิลปกรรม/ออกแบบปก บริษทั มีเดีย มิกเซอร์ จ�ำกัด สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมติดต่อ call center โทร 02-794-1888 เบนจามิน โคตรภูเวียง บริษทั ไร่ดา่ นช้าง จ�ำกัด โทร 084 360 9867 นิเวศ สุวรรณบุตร บริษทั ไร่อสี าน จ�ำกัด โทร 090 245 8864 www.mitrpholmodernfarm.com Copyright © 2015 Mitr Phol Group
หนึ่งมิตรชิดใกล้
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
AN IMPRESSIVE VISION
สวัสดีประเทศไทย 4.0 “สวัสดีประเทศไทย 4.0” พี่ นอ ้ งมิตรชาวไร่ทรี่ ก ั ทุกท่านครับ ฉบับนี้ เราต้องทักทายกันให้ทันยุคทันสมัยหน่อย กับ “ประเทศไทย 4.0” ่ น ่ นแปลงของโลกทีห ่ มุน ทีว ั นีเ้ ราคนไทยต้องปรับตัวรับกับความเปลีย ่ี องไกลไปอีก 20 ปี ของประเทศไทย เร็วเหลือเกิน ด้วยวิสย ั ทัศน์ใหม่ทม เพื่ อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับมิตรชาวไร่ “หนึ่งมิตรชิดใ กล้” ฉบับนี้ ผมจะขอขยายความวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย 4.0” ของรัฐบาล ให้ทุกท่านได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นครับ
ต้องบอกกันก่อนว่าประเทศชัน้ น�ำทัว่ โลกหลายประเทศเขาก็มกี ารตัง้ วิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน อย่างสหรัฐอเมริกเขาใช้วิสัยทัศน์ “A Nation of Makers” อั ง กฤษก็ ใช้ “Design of Innovation” ขยับเข้ามาใกล้แถบเอเชีย อย่างอินเดียก็มี “Made in India” หรือเกาหลีใต้ ก็ใช้ “Creative Economy” เป็นแนวในการขับเคลื่อนประเทศ หรือแม้แต่ บ้านใกล้เรือนเคียงเราอย่าง สปป.ลาว ก็ยังก�ำหนดวิสัยทัศน์ของประเทศไว้ ให้เป็น “Battery of Asia” รัฐบาลไทยภายใต้การน�ำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงได้ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาประเทศให้มีรูป ธรรมที่ชัดเจนภายใต้วิสัยทัศน์ “THAILAND 4.0 หรือ ประเทศไทย 4.0” ขึ้นมานั่นเอง แล้วอยู่ๆ ท�ำไมถึงมาเป็น “ประเทศไทย 4.0” เลย หลายคนคง สงสัยว่าแล้วประเทศไทย 1.0, 2.0 และ 3.0 หายไปไหน ที่จริงในอดีตที่ผ่าน มาเศรษฐกิจบ้านเราได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผ่านมาแล้วตั้งแต่ยุคแรกกับ “ประเทศไทย 1.0” ที่มุ่งเน้นการพึ่งพาภาคการเกษตรเป็นหลัก เราปลูกข้าว ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน เลี้ยงสัตว์ กันเป็นหลัก ถัดมาในยุค “ประเทศไทย 2.0” เราเน้นอุตสาหกรรมครับ แต่ยงั เป็นอุตสาหกรรมเบา เน้นผลิตและขายสินค้า อุปโภคบริโภค เครือ่ งหนัง เครือ่ งดืม่ เครือ่ งประดับ เครือ่ งนุง่ ห่ม เป็นต้น และ ปัจจุบันเราถือว่าอยู่ในยุค “ประเทศไทย 3.0” ที่เน้นอุตสาหกรรมหนักและ การส่งออก เน้นผลิต แปรรูป ขาย และส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ กลั่นน�้ำมัน แยกก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น ซึ่งในยุค 1.0 ถึง 3.0 ที่ผ่านมาในช่วง หลายสิบปีนั้น รายได้ของประเทศยังวนเวียนอยู่ในระดับปานกลาง และไม่มี ทีท่าว่าจะขยับเพิ่มสูงขึ้นได้ นี่เองจึงเหตุให้รัฐบาลนี้ต้องเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ ผลักดันประเทศไปสู่ยุค “ประเทศไทย 4.0” สร้างเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) ผลักดันให้คนไทยมีรายได้สูงขึ้น ผ่านการวิจัยและ พัฒนา การใช้ความคิดสร้างสรรค์ และการน�ำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม เข้ามาต่อยอดกลุ่มเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเป้าหมาย 5 กลุ่ม ดังนี้ 04
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
1.กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ 2.กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3.กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ ระบบอิเลคทรอนิกส์ควบคุม 4.กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว เช่น เทคโนโลยีด้านการ เงิน อุปกรณ์เชือ่ มต่ออนไลน์โดยไม่ตอ้ งใช้คน เทคโนโลยีการศึกษา อี-มาร์เก็ต เพลส อี-คอมเมิร์ซ เป็นต้น 5.กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง เช่น เทคโนโลยีการออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การ เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เป็นต้น แนวทางการพัฒนาประเทศภายใต้วสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทย 4.0” ไม่ใช่ เรือ่ งทีอ่ ยูไ่ กลเกินเอือ้ ม สามารถเกิดขึน้ จริงได้นะครับ ซึง่ รัฐบาลได้นำ� แนวทาง “สานพลังประชารัฐ” เข้ามาเป็นต้วขับเคลื่อน โดยให้ภาคเอกชน ภาคการ เงินการธนาคาร ภาคประชาชน ภาคสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยและ สถาบันวิจัยต่างๆ เข้ามาร่วมกันระดมความคิด ผนึกก�ำลังกันเป็นวาระแห่ง ชาติช่วยกันขับเคลื่อนประเทศ ผ่านการด�ำเนินงานของกลุ่ม “ประชารัฐ” ที่ เข้ามาช่วยกันท�ำงานเพือ่ ชาติทงั้ 12 กลุม่ หนึง่ ในนัน้ คือกลุม่ การพัฒนาเกษตร สมัยใหม่และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ซึง่ กลุม่ มิตรผล โดย คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ เป็นประธาน และผมร่วมเป็นกรรมการในคณะนี้ด้วย ช่วยกันขับเคลื่อนในเรื่องเกษตรสมัยใหม่ให้กับประเทศอยู่ครับ ในส่ ว นของภาคการเกษตรของเรา การพั ฒ นาประเทศภายใต้ “ประเทศไทย 4.0” มีสว่ นเกีย่ วข้องกับพีน่ อ้ งมิตรชาวไร่โดยตรง ยุคนีจ้ ะเป็น ยุคของเกษตรสมัยใหม่แล้วครับ เป็นยุคที่ท�ำน้อยแต่ได้มาก เกษตรกรจะไม่ เป็นเกษตรกรอีกต่อไป ต้องมีหวั ใจของการเป็นผูป้ ระกอบการด้วย เราจ�ำเป็น ต้องปรับตัวกันแล้วนะครับ ซึง่ กลุม่ มิตรผล เราได้พฒ ั นาองค์ความรูเ้ พือ่ รองรับ
หนึ่งมิตรชิดใกล้
ยุคเกษตรสมัยใหม่มาอย่างต่อเนือ่ ง ภายใต้ “มิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม” ทีไ่ ด้ชวน มิตรชาวไร่มาเปลีย่ นวิธกี ารท�ำไร่ใหม่ให้เป็นแบบเดียวกันกับเรา โดยมีหลักสีเ่ สา เป็นหัวใจส�ำคัญ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ใหม่ตามทฤษฎี 2 ลด 2 เพิ่ม ซึ่งในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ก็เป็นที่น่าดีใจนะครับที่มิตรชาวไร่ของเราเริ่มตื่นตัวและปรับเข้า สูย่ คุ เกษตรสมัยใหม่กนั แล้ว ซึง่ ขอให้พนี่ อ้ งมิตรชาวไร่ตดิ ตามมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์มกันต่อไปนะครับ เรายังมีองค์ความรูใ้ หม่มาแนะน�ำเพือ่ ให้มติ รชาวไร่ได้ น�ำไปพัฒนาต่อยอดการท�ำไร่ในยุคเกษตรสมัยใหม่กันนะครับ มาก้าวเข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ด้วยกันกับเราครับ...
M
05
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
AD 2 6
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
CONTENTS
CONTENTS
Special Scoop มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม Cover Story น้ำ�เปลี่ยนชีวิต หมอดิน อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง วิถีคนสู้ Eco Focus ของเล่นชาวไร่ Show & Share บุรุษชุดเขียว Ironman มิตรอาสา สุขจากไร่ สูตรสุขภาพ หลากสไตล์มิตรชาวไร่
8 10 12 14 24 26 28 32 36 38 40 42 46 48 52 54
7
SPEACIAL SCOOP
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
HOLA! LA NINA. รับมือ ‘ลานิญา’ น้�ำ ล้นดีกว่าฝนแล้ง
่ี ก “เอลนีโญ” และ “ลานีญา” เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทม ี ารกล่าวถึงกัน ่ ำ� ให้สภาพอากาศในช่วง 2-3 ปีทีผ ่ า่ นมา อย่างกว้างขว้างว่า เป็นตัวการส�ำคัญทีท แปรปรวน เกิดฝนทิง ช่ ว ง ไม่ ต กต้ อ งตามฤดู ก าล พื ช ผลทางการเกษตรเสี ยหาย ้ ประสบภัยแล้งกันในวงกว้ า ง ซึ่ง นี่ล้ วนแล้ วแต่ เป็ น อิ ท ธิ พ ลที่เกิ ดจากเอลนี โ ญ ่ เอลนีโญรุนแรงผ่านไป ก็จะตามติดมาด้วย ทัง ้ สิน ้ และเป็นธรรมดาอีกเช่นกันทีเ่ มือ ่ เป็นปรากฏการณ์ตรงกันข้ามกับเอลนีโญ “ลานีญา” ซึง
การพยากรณ์ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญานั้น สามารถ ท�ำได้ลว่ งหน้ากันข้ามปี มีองค์กรทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับนานาชาติ อย่าง National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) ของประเทศสหรัฐอเมริกาหรือทีร่ จู้ กั กันในนาม “โนอา” และ Australian Bureau of Meteorology ของประเทศออสเตรเลีย เป็น ผูท้ ำ� หน้าทีต่ ดิ ตามและเผยแพร่ขา่ วสาร การพยากรณ์ผลกระทบทีเ่ กิด จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทั้งสองอย่างใกล้ชิด โดยในปี 2558 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ออกมาเตือนประชาชนถึงปรากฏการณ์ ลานีญาทีจ่ ะเกิดขึน้ ในปี 2559 ไว้ลว่ งหน้าถึง 1 ปี โดยจะส่งผลกระทบ อย่ า งหนั ก โดยเฉพาะกั บ ภาคเกษตรกรรม ที่ ต ้ อ งเตรี ย มรั บ มื อ กับภัยแล้งที่ท�ำให้ผลผลิตทางการเกษตรมีแนวโน้มตกต�่ำ ส�ำหรับ 08
ประเทศไทย ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นอีกฟากโลกหนึง่ ของสหรัฐอเมริกา ผลกระทบ ที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้เมื่อลานีญามาถึง ในช่วงกลางปี 2559 คือ สภาวะฝนตกหนักถึงหนักมากนั่นเอง จากการเปิดเผยของศูนย์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและ ภัยพิบตั ิ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้พยากรณ์วา่ ตัง้ แต่เดือนสิงหาคม 2559 เรือ่ ยไปจนถึงช่วงต้นปี 2560 ประเทศไทยอาจต้องเผชิญกับ อุทกภัย ครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง จากสถาการณ์ลานีญาที่ท�ำให้ฝนมีปริมาณ ทีส่ งู กว่าปกติ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทัง้ ในเขตเมือง เขตอุตสาหกรรม และเขตเกษตรกรรม โดยเฉพาะในเขตเมือง อาจต้องเตรียมการ ขุดลอกคูคลอง เร่งก�ำจัดสิ่งที่กีดขวางทางน�้ำโดยเฉพาะขยะมูลฝอย เพื่อเปิดทางให้น�้ำสามารถระบายลงทะเลได้อย่างรวดเร็ว และให้
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
SPEACIAL SCOOP
ภาคเกษตรกรรมเตรียมแผน ในการจัดเตรียมพื้นที่รับน�้ำกักเก็บไว้ ใช้ในหน้าแล้ง ซึ่งนอกจากจะผลดีกับภาคเกษตรกรรมแล้ว ยังมีส่วน ช่วยแบ่งเบาและชะลอปริมาณน�้ำที่จะไหล่บ่าเข้าสู่เขตเมืองและเขต อุตสาหกรรมได้อีกด้วย ส� ำ หรั บ การเตรี ย มความพร้ อ มรั บ มื อ กั บ ลานี ญ าในภาค เกษตรกรรม กลุ ่ ม มิ ต รผลซึ่ ง เป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นการท� ำ เกษตรสมั ย ใหม่ ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงแล้งฝนทิ้งช่วงรุนแรง ในปรากฏการณ์เอลนีโญใน 2 ปีที่ผ่านมา โดยมีการสร้างความ ร่วมมือกับมิตรชาวไร่มงุ่ สร้างสังคมแห่งการแบ่งปัน “น�ำ้ ” ให้เกิดขึน้ เป็นรูปธรรม มีการจัดสรรและหาแหล่งน�้ำร่วมกัน สนับสนุนการขุด บ่อบาดาลในพืน้ ทีเ่ พือ่ บรรเทาปัญหาภัยแล้งทีก่ ระทบกับทุกภาคส่วน และได้วางแผนการจัดการระบบชลประทานแบบองค์รวมเพือ่ รับมือ กับสถานการณ์ลานีญาที่จะเกิดขึ้นต่อจากเอลนีโญมาตั้งแต่ช่วงนั้น โดยรณรงค์ให้มิตรชาวไร่จัดสรรพื้นที่มาท�ำเป็นพื้นที่พักน�้ำหรือแก้ม ลิง ขุดสระ สร้างอ่างเก็บน�้ำขนาดเล็กและขนาดกลางในพื้นที่ตนเอง เพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้เป็นแหล่งส�ำรอง ในฤดูแล้ง ซึ่งสอดรับกับองค์ ความรู้ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มเรื่องการท�ำฟาร์มดีไซน์ ที่ให้มีการ แบ่งพื้นที่ขุดสระในไร่ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการน�้ำในการ ท�ำไร่อ้อยยั่งยืนนั่นเอง การมาของลานี ญ าในครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น การพลิ ก วิ ก ฤติ ให้เป็นโอกาส ท�ำให้เรามีสระน�ำ้ ในพื้ นที่ ของตนเอง ช่วยสร้าง ระบบชลประทานของเราให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งจะเป็น ผลพลอยได้ใน ระยะยาวที่เก็บกินได้ต่อไปไม่รู้จบ คิดในแง่ดี มีนำ�้ ล้นยังดีกว่าฝนแล้งนะครับ M
09
มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
BONSUCRO
มิตรผลผงาด ปักธง BONSUCRO เจ้าแรกในไทย
ชูมาตรฐานใหม่ พาชาวไร่สู่ความยั่งยืน กลุม ่ มิตรผลผ่านการรับรองมาตรฐาน BONSUCRO องค์กรด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลระดับโลก เป็นรายแรกในประเทศไทย และเป็นรายที่ 2 ในภูมภ ิ าคเอเชีย ท�ำให้เป็นเทศไทยกลายเป็นประเทศที่ 5 ของโลก ทีไ่ ด้รบ ั การรับรองมาตรฐานนี้ ภายใต้รป ู แบบการท�ำการเกษตรสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม
นายบรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มธุรกิจกลุ่ม งานอ้อย กลุ่มมิตรผล กล่าวว่า “BONSUCRO เป็นมาตรฐาน การเกษตรยั่ ง ยื น ที่ ค นในอุ ต สาหกรรมอ้ อ ยและน�้ ำ ตาลทั่ ว โลก ให้ ก ารยอมรั บ และเป็ น เรื่ อ งที่ ท ้ า ทายความสามารถของเราใน การปรั บ กระบวนการท� ำ ไร่ ข องเราในสอดคล้ อ งกั บ แนวทางที่ BONSUCRO ก�ำหนดไว้จนครบทุกด้าน ทั้งในเรื่องของกระบวน การผลิต การจัดการะบบนิเวศ การด�ำเนินงานที่สอดคล้องกับ กฎหมาย สิทธิมนุษยชนและแรงงาน โดยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา พวกเราท�ำงานกันอย่างหนักเพื่อปรับกระบวนการท�ำไร่ของเรา พัฒนาไปสู่ความยั่งยืนให้ได้ ซึ่งไม่ใช่เราท�ำอยู่แต่ในส่วนของไร่ บริษัทเพียงอย่างเดียว แต่ยังได้ขยายผลถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ นี้ไปสู่มิตรชาวไร่เพื่อนของเราด้วย มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มได้พิสูจน์ ให้ทุกคนเห็นแล้วว่า แนวทางที่เราก�ำหนดและเดินมานั้นพาเรา 10
มาถูกทางและถูกเวลา การน�ำเครื่องจักรที่ทันสมัยมาใช้ควบคู่ไปกับ หลักสี่เสา ช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลนแรงงาน เพิ่มผลผลิต ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และสร้าง ความยั่ ง ยื น ให้ กั บ อาชี พ ชาวไร่ ไ ปพร้ อ มๆ กั น ได้ จ ริ ง ซึ่ ง นี่ ไ ม่ ใช่ ความส� ำ เร็ จ ของทางด้ า นอ้ อ ยเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ต้ อ งขอขอบคุณ คณะท�ำงานในส่วนของโรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเขียวด้วยเช่นกัน ที่ได้ร่วมผนึกก�ำลังท�ำให้ภารกิจเพื่อชาติในครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วง ท�ำให้ ประเทศไทยเป็นประเทศที่ 5 ของโลกที่ได้ผ่านมาตรฐานนี้ นี่เป็น เพียงก้าวแรกที่เราได้พามิตรชาวไร่ไปสู่มิติใหม่แห่งความยั่งยืน ด้วยกันกับเรา ในปี 2560 เรามีแผนที่จะขอรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น เป็น 42,450 ไร่ และจะขยายเพิ่มขึ้นอีก 127,450 ไร่ ในปี 2561 และภายใน 5 ปีนบั จากนี้ จะมีพนื้ ทีก่ ว่า 4 แสนไร่ ทีไ่ ด้รบั การรับรอง มาตรฐาน BONSUCRO ”
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
นี่เป็นเพียงก้าวแรกที่เราได้พา มิตรชาวไร่ไปสู่มิติใหม่แห่งความยั่งยืน ด้วยกันกับเรา ในปี 2560 เรามีแผนที่จะ ขอรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็น 42,450 ไร่ และจะขยายเพิ่มขึ้นอีก 127,450 ไร่ ในปี 2561 และภายใน 5 ปีนับจากนี้ จะมี พื้นที่กว่า 4 แสนไร่ ที่ได้รับการรับรอง มาตรฐาน BONSUCRO”
Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Khoksa-ard Sub-District, District, Chaiyaphum, 36110 Cert ID Cert ID90 CertMoo ID Cert1o, ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDPhukhieo Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Thailand Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert IDCert Cert ID ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert that ID Cert ID economic Cert ID Cert operator ID Cert ID Cert ID Cert IDabove Cert ID was Cert ID Cert ID Cert IDCert Certificadora Ltda. certifies the mentioned assessed andID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID requirements Standard detailed below: Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certmeets ID Cert the ID Cert ID Cert ID Certof IDcompliance Cert ID Cert IDwith Cert the ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDBonsucro Cert ID CertProduction ID Cert ID CertStandard ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert – Version 4.1.1 September 2015 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Bonsucro Chain ofIDCustody Standard Version October Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Mass Cert IDBalance Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID–Cert ID Cert4.0 ID Cert ID Cert 2015 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDScope Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Certification Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Bonsucro rawIDsugar, refined sugar andIDsuper sugar production Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDcertification Cert ID Cert IDofCert Cert ID white Cert ID sugar, Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert IDrefined Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certarea ID Cert ID Cert ID Cert ha ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Total certified production (ha): 1,799.20 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Estimated Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID volume Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert certified production of sugarcane (ton): 71,017 haID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID 3 Estimated certified volume (ton orIDmCert ): 7,620.71 7,317.17 of ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certproduction ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDton Certof ID raw Cert sugar ID Cert OR ID Cert ID Certton ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert refined sugar Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert IDDate Cert ID ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert30/05/2019 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ofCert issue: 30/05/2016 DateIDof expiry: Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertDate ID Cert Certcertification: ID Cert ID Cert30/05/2016 ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Certificate issued on: ID 30/05/2016 ofID first Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Number: BRA0024-013 Cert ID Cert IDCertificate Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Mill contact: Mr. Suppapong Sooksangchaya – email: suppapongs@mitrphol.com – telephone: +66 448811114 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Maria Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertVerginia ID Cert IDGuazzelli Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDTechnical Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Manager Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert To verify the authenticity of this document, go to Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID http://www.cert-id.com.br/certification/validation-ofIssued by: CERT ID Certificadora Ltda. Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert CertVargas ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDcertificates/ Cert ID Cert ID the Cert ID Cert IDleft Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert Address: Av.ID Getúlio 901 ID / 1502 – CEP 90150-003 or scan barcode to the withID your device. Cert ID Cert ID Cert IDPorto CertAlegre ID Cert ID– Cert Cert ID Cert ID3012-7080 Cert ID Cert ID Cert ID Cert IDForCert ID inquiries Cert IDabout Certour ID Certification Cert ID Cert – RS Brazil ID – Phone/fax: +55 (51) general sendIDanCert emailID to: Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Certwww.cert-id.com.br ID Cert ID Cert–ID Cert Cert Reserved ID Cert ©ID Cert ID Cert ID Cert info@cert-id.com.br. ID Cert ID Cert IDFurther Cert ID Cert IDregarding Cert ID this Cert ID Cert ID Cert ID Cert CERT ID ID All Right clarification directed to info@bonsucro.com Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Certcertificate ID Cert can ID be Cert ID Cert ID Cert ID Cert or IDbyCert ID Cert ID Cert ID Cert visiting www.bonsucro.com. Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID CertApproved ID Cert in ID11/2015 Cert ID Cert ID Cert MOD ID REGCert 003-07_rev02 Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert ID Cert
Certificate of Conformance Issued to:
United Farmer and Industry Company Ltd. MITR PHUKHIEO MILL
Bonsucro member No.: THA0003
ทางด้ า น นายสมศั ก ดิ์ จั น ทรรวงทอง “เลขาธิ ก าร คณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ กลุม่ มิตรผลและกล่าวว่า “BONSUCRO เป็นอีกหนึง่ มาตรฐานด้าน การเกษตรส�ำหรับอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลที่ให้ความส�ำคัญ กับสมดุลด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืน ผลลัพธ์ที่ได้นั้น ไม่เพียงแต่จะช่วยยกระดับประสิทธิภาพ ของผู้ประกอบการตั้งแต่ในไร่อ้อยจนถึงกระบวนการผลิตน�้ำตาล ให้ทัดเทียมระดับสากล แข่งขันได้ในตลาดโลก และเกิดเป็นแนวทาง ในการท�ำการเกษตรแบบยัง่ ยืนเท่านัน้ แต่ผบู้ ริโภคหรือรวมถึงชาวไร่ออ้ ย เองก็ยังได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีจากผลผลิตที่มีคุณภาพเช่นกัน”
การได้รับมาตรฐาน BONBSUCRO ของกลุ่มมิตรผล ได้ ส ร้ า งมาตรฐานใหม่ ใ ห้ กั บ วงการอุ ต สาหกรรมอ้ อ ยและ น�้ ำ ตาลของไทยให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากลในฐานะของ ผู้ ที่ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ม าตรฐานและยั่ ง ยื น ตั้ ง แต่ ต้ น น�้ ำ จ น ถึ ง ปลายน�้ ำ และนี่ คื อ มิ ติ ใ หม่ สู่ ค วามยั่ ง ยื น ของเรา ก้าวต่อไปด้วยกันกับมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม M
11
ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
VALUABLE SPACE คุณวิโรจน์ ภู่สว่าง
ที่ปรึกษากลุ่มธุรกิจกลุ่มงานอ้อย
อ้อยปลก ู ใหม่ ยิ่งห่าง ยิ่งดี
ปลูกอ้อยให้ได้ผลดี “การจัดรูปแปลง” นัน ้ ยให้ได้ผลผลิตสูงและประหยัด ้ ส�ำคัญ การท�ำไร่ออ ่ ถ้าจะให้บรรลุเป้าหมายทีห ่ วังใจไว้ คงมีอยูห ค่าใช้จา่ ยนัน ุ คน ซึง ่ ลายปัจจัย ้ เป็นฝันของมิตรชาวไร่ทก ่ เรือ ่ งทีห ่ ลายคนมองข้ามและอยูเ่ หนือความคาดหมายคงเป็นเรือ ่ งการจัด ให้เราต้องพู ดถึงกัน ซึง รู ป แปลง แต่ เ ชื่ อ หรื อ ไม่ ว่ า ด้ ว ยการจั ด รู ป แปลงใหม่ นี่ แ หละ ที่ จ ะท� ำ ให้ พ วกเรารวยได้ ส บายๆ ้ กว่าเดิมเท่านัน ่ ยออกแรงกันมากนัก เพี ยงขยายระยะห่างระหว่างร่องให้หา่ งขึน โดยไม่ตอ ้ งเหนือ ้ เอง
มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม แนะน� ำ ให้ มิ ต รชาวไร่ หั น มา จั ด รู ป แปลงใหม่ โดยเฉพาะเรื่ อ งการปลู ก อ้ อ ยให้ มี ร ะยะห่ า ง ระหว่ า งร่ อ งที่ 1.85 เมตร เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การน� ำ รถ และเครื่ อ งมื อ การเกษตรสมั ย ใหม่ ล งไปท� ำ งานแทนแรงงานคน อย่างที่เคยๆ เป็นมา โดยหลักคิดนี้ได้รับการพิสูจน์แล้วจากไร่ บริ ษั ท ฯ และชาวไร่ ก ลุ ่ ม หั ว ไวใจกล้ า ในช่ ว ง 2-3 ปี ที่ ผ ่ า นมา ตั้ ง แต่ เราเริ่ ม ท� ำ มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ด้ ว ยกั น มาจนหลายคน ลื ม การปลู ก อ้ อ ยร่ อ งแคบไปแล้ ว ทั้ ง นี้ เ พราะมี ข ้ อ ดี อ ยู ่ หลายต่อหลายข้อ การเตรียมแปลงปลูกอ้อยระยะห่างระหว่างร่อง 12
ที่กว้างขึ้นนี้ช่วยเพิ่มสมรรถนะการท�ำงานของรถตัดให้ท�ำงานได้ เต็มประสิทธิภาพมากขึ้นและแก้ปัญหาเรื่องรถตัดขึ้นเหยียบย�่ำ ตออ้อยที่ส่งผลกระทบให้อ้อยตอเสียหายได้ นอกจากนี้ยังท�ำให้ เราประหยัดท่อนพันธุ์ได้กว่า 30% จากการปลูกแบบเดิมและดีต่อ อ้อยตอในเรือ่ งการเข้าไปจัดการกับหญ้าทีง่ อกแข่งกับอ้อยได้ง่ายกว่า เพราะการปลูกระยะห่างที่แคบกว่า 1.85 เมตร นั้นไม่ว่าจะเป็น 1.30 เมตร, 1.40 เมตร, 1.50 เมตร หรือแม้แต่ระยะห่าง 1.65 เมตร ก็ ต าม ก็ จ ะได้ รั บผลกระทบจากการถู ก รถตั ด เหยี ย บย�่ ำ ตออ้อย เสียหายมากน้อยลดหลั่นกันไป พูดง่ายๆ ยิ่งปลูกห่างเท่าไหร่ ยิ่งดี
กันยายน 2559
ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม
MITR PHOL MODERNFARM
การจัดรูปแปลงแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มนั้น เริ่มต้นมาจาก การศึกษาผลงานวิจัยการปลูกอ้อยของออสเตรเลียในช่วง 30 ปี ทีแ่ ต่เดิมนิยมปลูกอ้อยระยะห่าง 1.65 เมตร และพัฒนามาปลูกแบบ 1.85 เมตร พบว่าช่วยลดความเสียหายจากรถตัดเหยียบย�่ำตออ้อย ได้ดีมาก ช่วยลดการไถพรวนลง ยิ่งท�ำให้ประหยัดเวลาการท�ำงาน ในไร่ ไ ด้ ม ากขึ้ น ทั้ ง นี้ อ าจมี ค วามกั ง วลใจเรื่ อ งปริ ม าณล� ำ อ้ อ ยที่ ลดน้อยลง แต่เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกันล�ำต่อล�ำแล้ว พบว่า อ้อยที่ปลูกในแปลงระยะห่าง 1.85 เมตรนั้นจะมีขนาดล�ำใหญ่และ ให้น�้ำหนักได้ดีกว่า ทั้งนี้เป็นเพราะการเข้าไปจัดการแปลงอ้อยไม่ว่า จะเป็นการบ�ำรุงดินให้ดีเพิ่มธาตุอาหารให้อ้อย หรือจัดการกับหญ้า นั้นท�ำได้ง่ายกว่า เหมือนค�ำกล่าวของบรรพบุรุษเราที่ว่า “ดินเลว ปลูกถี่ ดินดีปลูกห่าง” นั่นเอง ไม่เพียงแต่ระยะห่างระหว่างร่องจะกว้างขึ้นแล้ว แถวอ้อย ยังต้องยาวขึ้นด้วย การจัดรูปแปลงต้องวางต�ำแหน่งของแถวอ้อย ในแปลงให้มีความยาว 250-400 เมตร เพื่อช่วยประหยัดเวลา
ในการกลับรถ รองรับการท�ำงานของรถตัดอ้อยให้ท�ำงานได้อย่าง ต่อเนื่อง รถตัดจะท�ำงานคุ้มค่าเต็มสมรรถนะมากขึ้นเป็นเท่าตัว แถวอ้อยยิ่งสั้นก็ยิ่งเปลืองเวลาท�ำงานและที่ตามมาคือสิ้นเปลือง น�้ำมันโดยใช่เหตุอีกด้วย การจะท� ำ ไร่ แ บบมิ ต รผลโมเดิ ร์ น ฟาร์ ม นั้ น มี เ ครื่ อ ง ทุ่นแรงมากมายที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับมิตรชาวไร่ โดยทีเ่ ราไม่จำ� เป็นต้องลงแรงหนักให้เสียเปล่า อย่างในขัน ้ ตอน การเตรียมแปลงนี้ เรามีการน�ำระบบ GPS เข้ามาใช้ประกอบ กั บ การจั ด รู ป แปลงเพื่ อให้ ไ ด้ แ ถวอ้ อ ยที่ ย าวและมี ร ะยะห่ า ง ระหว่างร่องที่สม�่ำเสมอเป็นการวางรากฐานให้กับแปลงอ้อย ่ ะต้องไว้ตอได้ไปอีกหลายปี ดังนัน ่ ของเราในระยะยาวทีจ ้ เมือ ้ จ เริม ่ จากนีก ็ ะประสบผลส�ำเร็จแน่นอน ่ ต้นวางแผนดี การท�ำไร่ตอ ่ ารท�ำฟาร์มดีไซน์ จ�ำกันให้ขน เพราะผลผลิตดีเริม ึ้ ใจนะครับ ่ ต้นทีก “อ้อยปลูกใหม่ ยิง ่ ห่าง ยิง ่ ดี” M
13
Cover Story
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
GENERATION SYNERGY
เปิดสูตรสำ�เร็จ
การสอดประสานพลังพ่อลูกสองวัย
ต่อยอดธุรกิจทำ�ไร่อ้อยยั่งยืน
ด้วยมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
หากได้ มี โ อกาสลองสอบถามมิ ต รชาวไร่ ถึ ง ปั ญ หา และความกังวลใจที่ประสบพบเจอในอาชีพการเป็นชาวไร่ มื อ อาชี พ ในปั จ จุ บั น ค� ำ ตอบส่ ว นใหญ่ ที่ เ รามั ก จะได้ ยิ น กั น อยู่ บ่ อ ยครั้ ง คงหนี ไ ม่ พ้ นเรื่ อ งความไม่ แ น่ น อน ของ ดินฟ้าอากาศ น�้ำน้อย ฝนตกไม่เพี ยงพอ บางคนก็กลัว โรคหนอนกออ้ อ ย บางคนกั ง วลใจเรื่ อ งหาแรงงาน คนตัดอ้อยไม่ได้ แต่ยังมีอีกหนึ่งความกังวลใจ ซึ่งเป็น สิ่ ง ที่ ท้ า ทายจิ ต ใต้ ส� ำ นึ ก ของมิ ต รชาวไร่ ที่ ยึ ด ถื อ อาชี พ นี้ เป็นอาชีพหลักสืบทอดต่อกันมาหลายชัว ่ อายุคน คือปัญหา กา รข าด ท าย าท รั บช่ ว ง ส า นต่ อ อ า ชี พ ชา ว ไ ร่ นั่ นเอง ด้วยเหตุท่ีวันนี้คนรุ่นใหม่ต่างมองการท�ำไร่เป็นงานหนัก ต้ อ ง เ ห นื่ อ ย ตื่ น แ ต่ เ ช้ า มื ด อ อ ก ไ ป อ า บ เ ห งื่ อ ต่ า ง น�้ ำ ทนหลังสู้ฟา้ หน้าสู้ดิน ชีวิตไม่สะดวกสบายเหมือนคนเป็น หนุ่มสาวที่ท�ำงานนั่งออฟฟิศโก้หรูในเมืองใหญ่
คุ ณ ประจิ ม ห้ อ งกระจก มิ ต รชาวไร่ อ าวุ โ สแห่ ง โรงงานน�้ ำ ตาล มิ ตรผลสิ ง ห์ บุ รี คื อ หนึ่ ง ในมิต รชาวไร่ ที่เคยมีความกังวลใจในเรื่ อ งนี้ อยู่ไม่น้อย และเฝ้าหวังลึกๆ ในใจอยู่ว่าอาณาจักรไร่อ้อยกว่า 700 ไร่ ของครอบครัวที่มีอยู่นั้นจะต้องมีทายาทเข้ามาสานต่อเข้าสักวัน จนเมื่อ การตัดสินใจหันหลังให้ชีวิต เมืองหลวงและกลับมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ของ ลูกสาวคนกลางอย่างคุณก้อย นิศากร ห้องกระจก ในฐานะของ ชาวไร่ออ้ ย รุ่นใหม่มาถึง นิยามใหม่แห่งการสร้างอาณาจักรไร่อ้อยสู่ความยั่งยืน ของครอบครัวห้องกระจก จึงได้เริ่มต้นขึ้น คุณก้อย นิศากร ห้องกระจก เปิดใจถึงการตัดสินใจเปลีย่ นเส้นทางชีวติ ครั้งส�ำคัญให้เราฟังไว้อย่าง น่าสนใจ “พ่อส่งก้อยไปเรียนมหาวิทยาลัย ที่กรุงเทพฯ ก้อยเลือกเรียนคณะมนุษย์ศาสตร์ สาขาการโรงแรม และ การท่องเที่ยวค่ะ พอเรียนจบก้อยก็เริ่มท�ำงานเป็นไกด์ตามที่ได้ร�่ำเรียนมา อยู่พักหนึ่ง ชีวิตช่วงนั้น นับว่าสนุก ได้เดินทางไปไหนมาไหนเยอะมาก 14
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
15
Cover Story
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
เราก็ค่อยๆ สร้าง ค่อยๆ ทำ�ไร่อ้อย ไปเรื่อยๆ จนวันนี้เรามีอยู่ 700 กว่าไร่ ถ้ารวมที่เช่าด้วยก็มีอยู่ 850 ไร่ ตอนที่ลูกไปเรียนไปทำ�งานที่กรุงเทพ เราก็เคยคิดว่าต้องให้ลูกสักคนมา สานต่อกิจการ เรามีไร่ เรามีรถมีทุกอย่าง ในมือ เราสร้างไว้ให้ลูกนี่แหละ
จนพ่อแม่เห็นแล้วก็สงสาร เขาชวนให้ก้อยกลับมาท�ำงานที่บ้าน ตอนนั้นยังไงเราก็ไม่เอา อยากเป็นมนุษย์เงินเดือนใช้ชีวิตสนุกๆ อยู่ในเมืองมากกว่า มันดูเท่ดี เพื่อนๆ ที่เรียนมาด้วยกันเขาก็มีชีวิต แบบนี้กัน มันคงเป็นเทรนด์ของเด็กจบใหม่ในช่วงนั้นด้วยแหละ ก้อยว่านะคะ แต่ถา้ ถามว่าเงินพอใช้ไหม ก็ตอ้ งบอกว่า ไม่คะ ช่วงนัน้ ถึ ง จะท� ำ งานแล้ ว เราก็ ยั ง ต้ อ งขอเงิ น คุ ณ พ่ อ อยู ่ เรื่ อ ยๆ อะค่ ะ ” คุณก้อยเล่าพร้อมเสียงหัวเราะ “จากเป็นไกด์ได้พักใหญ่ๆ ก้อย ก็ลองเปลีย่ นงานดู คราวนีไ้ ปสมัครท�ำงานเป็นสาวออฟฟิศท�ำหน้าที่ ดูแลลูกค้าให้กับกลุ่มเซนทรัลค่ะ ถ้านับเวลารวมๆ ที่เราใช้ชีวิต อยูใ่ นกรุงเทพฯ ตัง้ แต่ไปเรียนจนท�ำงานก็ประมาณ 12 ปี เห็นจะได้” คุณก้อยกล่าว ระหว่ า งที่ คุ ณ ก้ อ ยก� ำ ลั ง เก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ จ ากการ ท�ำงานเป็นพนักงานประจ�ำในกรุงเทพ คุณประจิมก็เร่งขยับขยาย และสนุกอยู่กับการสร้างความแข็งแกร่งให้กับอาณาจักรไร่อ้อย ของครอบครัว เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง “เราก็ ค ่ อ ยๆ สร้ า ง ค่ อ ยๆ ท� ำ ไร่ อ ้ อ ยไปเรื่ อ ยๆ จนวั น นี้ เรามีที่ท�ำไร่ของตัวเองอยู่ 700 กว่าไร่ ถ้ารวมที่เช่าด้วยก็ประมาณ 850 ไร่ ตอนที่ลูกๆ ไปเรียนไปท�ำงานกันที่กรุงเทพ เราก็เคยคิดว่า มันก็ต้องมี ลูกสักคนแหละที่จะมาสานต่อกิจการของเรา เรามีทั้งไร่ 16
เรามีทั้งรถ เรียกว่ามีทุกอย่างในมือ เราก็สร้างไว้ให้เขานี่แหละ แต่ บ างที ก็ มี บ างอารมณ์ ที่ เ คยคิ ด เล่ น ๆ นะว่ า ถ้ า ไม่ มี ใ ครเอา เราจะท�ำยังไง สงสัยก็คงต้องขายทิ้ง (หัวเราะ) ซะให้สิ้นเรื่องไป เรื่องลูกนั่นก็ส่วนหนึ่งก็ต้องให้เขาคิดให้เขาตัดสินใจกันเอง เราก็ยัง ต้องท�ำไร่ต่อไปนะ เทคนิคดีอะไรใหม่ๆ ที่เขาว่าดี ส่วนใหญ่จะมา จากมิตรผล เขาก็จะมาชวนให้ไปดูกัน อย่างมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม นี่เราก็ได้ไปเห็น ตอนที่มิตรผลพาเราไปดูงานที่อีสาน เห็นแล้ว มันก็ช่วยต่อเติมแรงบันดาลใจให้ผมได้มาก ได้เห็นอะไรที่ไม่เคย เห็นหลายอย่าง มันตอบโจทย์เราได้หลายข้อโดยเฉพาะปัญหา ขาดคนงานตั ด อ้ อ ย กลั บ มาก็ เ ลยซื้ อ เครื่ อ งไม้ เ ครื่ อ งมื อ เพิ่ ม เพราะแรงคนต่อไปนี้หายาก ต้องใช้เครื่องจักรเข้าช่วยแล้ว จากนั้น มิตรผลก็พาผมไปดูงานที่ออสเตรเลีย คราวนี้ตื่นตาตื่นใจยิ่งกว่าเดิม ผมกลับมานี่รีบปรับปรุงพื้นที่เตรียมแปลงรองรับรถตัดเป็นการใหญ่ ระบบไหนปรั บได้ ก็ ปรั บ ปรั บให้ มัน ง่ า ยขึ้ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นเรื่อง การจั ด การในไร่ แ ทบทั้ ง นั้ น และด้ ว ยวิ ธี ใ หม่ ๆ เหล่ า นี้ แ หละ ที่ ท� ำ ให้ ผ มคิ ด ว่ า เป็ น อะไรที่ เ หมาะกั บ คนรุ ่ น ใหม่ อ ย่ า งลู ก ๆ ผม เพราะเขาจะเรียนรู้ได้เร็ว และไปไวกว่าเรา” คุณประจิมกล่าว เมื่อจุดเปลี่ยนของชีวิตมาถึงบรรจบกับโอกาสการท�ำธุรกิจ ไร่อ้อยในรูปแบบใหม่ตามแนวทางของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ท�ำให้
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
Cover Story
คุณนิศากร ห้องกระจก
17
Cover Story
MITR PHOL MODERNFARM
คุณก้อยตัดสินใจลาออกจากงานประจ�ำที่กรุงเทพฯ แล้วกลับมา สานต่อธุรกิจท�ำไร่อ้อย กลายเป็นชาวไร่นักธุรกิจเจนเนอเรชั่นใหม่ ที่พร้อมลุยงานและสานต่อกิจการของคุณพ่ออย่างเต็มตัว “ตอนที่ก้อยตัดสินใจลาออกจากงานต�ำแหน่งสุดท้ายของ ก้อยคือ ผู้ช่วยผู้จัดการ หรือ Assistant Manager ถามว่าใหญ่ไหม ก็คงอยู่ในระดับกลางๆ สมวัย แต่เราก็คิดดีแล้วว่าถ้าเรายังท�ำงาน ในสายนี้ต่อไปเรื่อยๆ มันก็ใช่ และที่ต�ำแหน่งหน้าที่การงานเรา จะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น เงิ น เดื อ นก็ ต ้ อ งเพิ่ ม มากขึ้ น ตามมา แต่ นั่ น มั น ยิ่ ง เป็ น ตั ว บี บ ให้ เราไม่ ก ล้ า ลาออกมาเผชิ ญ โลกมากเข้ า ไปอี ก เพราะในยุคนี้ต้องพูดกันตามตรงว่า มันเป็นยุคที่มนุษย์เงินเดือน หลายต่ อ หลายคนอยากจะปลดแอกตั ว เองจากการท� ำ งานกิ น เงิ น เดื อ นในบริ ษั ท ใหญ่ ๆ หลายคนมุ ่ ง หน้ า สู ่ ก ารสร้ า งธุ ร กิ จ ของตั ว เอง เราเลยต้ อ งหั น มามองตั ว เองบ้ า งว่ า เรามี อ ะไร ไปสู ้ ค นอื่ น เขาได้ บ ้ า งไหม ก้ อ ยโชคดี ที่ บ ้ า นเรามี ง านให้ ท� ำ มีกิจการเป็นของตัวเองรอเราอยู่แล้ว ท�ำไมเราถึงจะไม่กลับมาท�ำให้ กิจการเรามันแข็งแรงมากยิ่งขึ้นล่ะ ในเมื่อพ่อแม่ก็อายุเยอะแล้ว เขาควรต้องมีคนมาช่วย แบ่งเบาภาระให้เหนื่อยน้อยลงหรือเปล่า พอคิดได้แบบนี้ ก้อยก็ไม่รีรอตัดสินใจยื่นใบลาออก แล้วกลับมา บ้านเลยค่ะ” คุณก้อยกล่าวพร้อมรอยยิ้ม จากวั น นั้ น ถึ ง วั น นี้ คุ ณ ก้ อ ยได้ ก ้ า วเข้ า มาสื บ ทอดกิ จ การ ของครอบครั ว ห้ อ งกระจกอย่ า งเต็ ม ภาคภู มิ และมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการท�ำธุรกิจไร่อ้อยยั่งยืนในแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม “ตอนนี้กลับมาท�ำธุรกิจไร่อ้อยอย่างเต็มตัวได้ 3 ปีแล้วค่ะ หลายคนเรี ย กว่ า กลั บ มาท� ำ ไร่ แต่ เราเรี ย กว่ า กลั บ มาท� ำ ธุ ร กิ จ จะดูสวยกว่า เพราะมันคือธุรกิจของเรา พอได้มาท�ำเอง รู้เลยว่า อาชีพท�ำเกษตรนี่มันมีเสน่ห์มากเหมือนกันนะคะ อย่าไปคิดว่าการ กลับมาท�ำไร่คือการมาเป็นชาวไร่ แต่ต้องคิดใหม่ วันนี้เรากลับมา เป็นผู้ประกอบการ จะท�ำให้มุมมองในการท�ำงานของเราเปลี่ยนไป เราไม่ ไ ด้ คิ ด แค่ ว ่ า จะท� ำ ยั ง ไงให้ ป ลู ก อ้ อ ยขึ้ น แต่ เราคิ ด ว่ า จะ ท�ำอย่างไรให้ผลผลิต จากไร่ ข องเรามี ก� ำ ไรได้ มากขึ้ น ลดต้ น ทุ น อย่างไรให้ได้ประสิทธิภาพมากขึ้น บริหารจัดการลูกน้องอย่างไร ให้เขาท�ำงานได้เต็มศักยภาพมากขึ้น นี่คือความท้าทายของก้อย การที่ เราได้ ล องไปท� ำ งานประจ� ำ มาก่ อ นนั้ น กลายเป็ น เรื่ อ งดี ที่ จะเสริมให้เราท�ำธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น เราได้เรียนรู้ว่า ตอนสมัยที่เรา เป็นลูกน้องเรารู้สึกอย่างไร คิดอย่างไร เพราะเราก็เคยเป็นลูกน้อง มาก่อน วันนี้เราเปลี่ยนบทบาทมาเป็นนายจ้าง ก็ต้องเอาใจเขา มาใส่ใจเรา ต้องรู้วิธีบริหารจัดการลูกน้องด้วย อันนี้ส�ำคัญมาก” คุณก้อยกล่าวย�้ำ
18
กันยายน 2559
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
Cover Story
การที่เราได้ลองไปทำ�งานประจำ�มาก่อนนั้น กลายเป็นเรื่องดีที่จะเสริมให้เราทำ�ธุรกิจ ได้ดียิ่งขึ้น เราได้เรียนรู้ว่า ตอนสมัยที่เรา เป็นลูกน้องเรารู้สึกอย่างไร คิดอย่างไร เพราะเราก็เคยเป็นลูกน้องมาก่อน วันนี้เรา ่ เปลียนบทบาทมาเป็ นนายจ้าง ก็ตอ ้ งเอาใจเขา มาใส่ใจเรา ต้องรูว ้ ธ ิ บ ี ริหารจัดการลูกน้อง ด้วย อันนี้สำ�คัญมาก
19
MITR PHOL MODERNFARM
20
กันยายน 2559
คุณประจิม ห้องกระจก
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
Cover Story
ออฟฟิศของก้อยก็คือไร่ อาจจะไม่มีชุดยูนิฟอร์มโก้ๆ ไม่ได้แต่งตัวสวยๆ แต่น่คื ี อกิจการของบ้านเราที่เราภูมิใจ เมื่อวันหนึ่งที่พ่อวางใจและถ่ายทอดมาให้ก้อยดูแลเต็มตัว วันนั้นก้อยคงรู้สึกภูมิใจมากว่านี่แหละคือสิ่งที่ฉันกับพ่อได้ช่วยกันลงมือลงแรงสร้างมันขึ้นมา
ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง จากเดิมที่ท�ำงานเป็นเวลา เข้าออกตอกบัตรเริ่มแปดโมงเช้า เลิกงานห้าโมงเย็น ฝ่ารถติด รับประทานอาหารบนรถ แล้วนั่งอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ตลอดทั้งวัน ในวันนี้ออฟฟิศของคุณก้อย คือ ผืนดินผืนฟ้าที่กว้างใหญ่ และ ไร่อ้อยสี เขี ย วสุ ด ลู ก หู ลู กตา “มีเพื่อนๆ ในออฟฟิศถามว่า ลาออกกลับบ้านมาท�ำอะไร ก้อยตอบได้เต็มปากอย่างภูมใิ จว่า กลับมาท�ำไร่ออ้ ย ออฟฟิศของก้อย ก็คอื ไร่ อาจจะไม่มชี ดุ ยูนฟิ อร์มโก้ๆ ไม่ได้แต่งตัวสวยๆ แต่นคี่ อื กิจการ ของบ้านเราทีเ่ ราภูมใิ จ เมือ่ วันหนึง่ ทีพ่ อ่ วางใจและถ่ายทอดมาให้กอ้ ย ดูแลเต็มตัว วันนัน้ ก้อยคงรูส้ กึ ภูมใิ จมากว่านีแ่ หละคือสิง่ ทีฉ่ นั กับพ่อ ได้ชว่ ยกันลงมือลงแรงสร้างมันขึน้ มา” คุณก้อยกล่าวพร้อมรอยยิม้ มัน่ ใจ การเดินตามรอยหลักสี่เสาของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ท�ำให้ คุณประจิมและคุณก้อยมีทิศทางในการท�ำ ธุรกิจไร่อ้อยที่ทันสมัย และชัดเจน โดยใช้จุดแข็งที่แตกต่างกันของแต่ละช่วงวัยเข้ามา สนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยอาศัยคนรุ่นพ่ออย่างคุณประจิมที่มีทั้ง ความเก๋าและประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนานจากการลงมือท�ำจริง สอดผสานกับพลังสร้างสรรค์ของคนรุ่นลูกอย่างคุณก้อย ที่เข้ามา ช่ ว ยเติ ม เต็ ม ในส่ ว นของการเรี ย นรู ้ แ ละประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคนิ ค วิธีการใหม่ตามแนวทางของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม “ก้ อ ยเข้ า มาช่ ว งที่ พ ่ อ เริ่ ม ปรั บ การท� ำ ไร่ เ ป็ น แบบมิ ต รผล โมเดิรน์ ฟาร์ม ซึง่ เป็นจังหวะทีด่ มี าก ก้อยโชคดีหลายอย่าง ก้อยโชคดี ที่พ่อมีไอเดียคล้อยตามกับหลักสี่เสาของโมเดิร์นฟาร์ม โชคดีที่พ่อ เป็นคนทันสมัย ในช่วงที่ก้อยกลับมาช่วยพ่อแรกๆ ก็ได้มีโอกาส เข้าไปช่วยในเรื่องการจัดการไร่โดยใช้เครื่องจักร ใช้เทคโนโลยี สมั ย ใหม่ ท� ำ ให้ รู ้ ว ่ า สิ่ ง ที่ เราท� ำ อยู ่ นี้ มั น ว้ า วมาก ไม่ ไ ด้ ล ้ า หลั ง อย่ า งที่ ใ ครๆ คิ ด เป็ น การท� ำ ไร่ อ ้ อ ยสมั ย ใหม่ และเป็ น วิ ธี ที่ ได้ผลจริงๆ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มท�ำให้เรารู้สึกว่า การท�ำไร่นี่คือ การท�ำธุรกิจ เราคือผู้ประกอบการ เป็นเถ้าแก่ไม่ใช่คนท�ำงานในไร่ มีหลักการท�ำธุรกิจทีท่ นั สมัย เชือ่ ถือได้ ประเมินได้ และวัดผลได้จริง” ส� ำ หรั บ วิ ธี ก ารในการท�ำงานร่ว มกัน ระหว่างคุณก้อ ยและ คุ ณ พ่ อ นั้ น แน่ น อนว่ า ด้ ว ยช่ อ งว่ า งระหว่ า งวั ย ย่ อ มท� ำ ให้ มีความคิดเห็นไม่ตรงกันบ้าง โดยคุณก้อยเล่าให้เราฟังถึงบรรยากาศ ในการท�ำงานร่วมกันอย่างน่าสนใจว่า “ก้อยว่าปัญหาหนึ่งของการ เป็นทายาทแล้วกลับมาสืบทอดกิจการทีบ่ า้ นต้องท�ำงานกับพ่อกับแม่นนั้ คือความกดดัน ถ้าท�ำงานบริษทั เมือ่ โดนนายต�ำหนิหรือดุ พอเลิกงาน
ปัญหาก็จบ พอกลับบ้าน ก็ไม่ต้องเจอหน้าเจ้านายแล้ว แต่พอก้อย มาท�ำงานกับพ่อ ถ้าโดนพ่อดุ เลิกงานแล้วเราก็ตอ้ งเจอกันต่อ กินข้าว ด้วยกัน อยูบ่ า้ นเดียวกัน เพราะฉะนัน้ แน่นอนว่าความกดดันทีท่ ายาท ได้รบั เป็นอีกความท้าทายหนึง่ แต่กอ้ ยใช้วธิ คี ยุ กับพ่อ อธิบายให้พอ่ เข้าใจความคิดเรา และให้พอ่ ใช้ประสบการณ์ทเี่ คยเจอมาช่วยดูและ ตัดสินใจ เพราะสุดท้ายแล้วประสบการณ์สำ� คัญมาก” คุณก้อยได้เรียนรู้การท�ำงานและการควบคุมจัดการลูกน้อง ด้วยการศึกษาและด�ำเนินรอยตาม คุณประจิม “หลักการทีไ่ ด้เรียนรู้ จากการท�ำงานของพ่อคือ พ่อเป็นคนใจดีที่มีความเด็ดขาด พ่อมีทั้ง พระเดช และพระคุณ เราเป็นลูกแถมเป็นลูกผู้หญิงด้วย สิ่งที่ยากคือ พ่อสั่งสมบารมีจากการท�ำงานกับลูกน้อง มาสี่สิบปี เราเพิ่งเข้ามา สามปี แต่ก็ต้องคุมคนให้ได้แบบที่พ่อท�ำ วิธีการของก้อยคือท�ำให้ ลูกน้องได้เห็นว่า เราเอาจริง เขาท�ำอะไร เราก็ท�ำด้วย เราต้องท�ำให้ ลูกน้องเชื่อว่าเราไม่ใช่คนรุ่นใหม่ที่เหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ” ด้ า นคุ ณ ประจิ ม ก็ ไ ด้ แ นะหลั ก การในการท� ำ งานร่ ว มกั บ ทายาทให้ประสบผลส�ำเร็จว่า “เมือ่ ลูกๆ เขากลับมาช่วยงานเราแล้ว สิ่ ง แรกที่ ผ มว่ า คนเป็ น พ่ อ แม่ ต ้ อ งท� ำ คื อ นอกจากจะมั ว แต่ ดี ใจ ปลื้มใจแล้ว เราต้องปรับทัศนคติ ต้องเปิดใจในการท�ำงานร่วมกับ เด็กยุคใหม่ เขาพูดอะไรมา เราต้องรับฟัง เชื่อเขาบ้าง บางเรื่องเรารู้ เขาไม่รู้ แต่บางเรือ่ งเขารู้ เราไม่รกู้ ม็ ี ปัจจัยหลักในการท�ำงานร่วมกัน คือ ต้องรับฟังกันทั้งสองฝ่าย ไม่อย่างนั้นท�ำงานด้วยกันไม่ได้แน่” คุณประจิมได้กล่าวต่อไปอย่างภูมิใจว่า “ก้อยเข้ามาช่วย ในเรื่ อ งมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม เยอะมาก ท� ำ ให้ ก ารท� ำ ไร่ ข องเรา คล่องตัวขึ้น เข้ามาปรับปรุงระบบการท�ำงาน เครื่องไม้เครื่องมือ ตอนนี้ผมเริ่มเบาแล้ว ค่อยๆ โอนถ่ายงานให้ลูกไปเรื่อยๆ ดีใจ ที่ได้เห็นเขาค่อยๆ เติบโตไปพร้อมๆ กับธุรกิจที่เราสร้างขึ้นมาครับ” และนี่ คื อ สู ต รการสอดประสานรวมพลั ง กั น ระหว่ า งคน สองวั ย ในตระกู ล ห้ อ งกระจก โดยใช้ ห ลั ก มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม มาช่ ว ยต่ อ ยอดให้ อ าณาจั ก รไร่ อ ้ อ ยของครอบครั ว ให้ เ ติ บ โตไป เรื่อยๆ อย่างยั่งยืน และนี่คือสูตรการสอดประสานรวมพลังกันระหว่างคน สองวัยในตระกูลห้องกระจก โดยใช้หลักมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม มาช่วยต่อยอดให้อาณาจักรไร่อ้อยของครอบครัวให้เติบโตไป ่ ยๆ อย่างยัง เรือ ่ ยืน M
21
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
AD 3 22
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
เพราะมิตรชาวไร่คือหัวใจของเรา ขอขอบคุณทุกคนที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
AD 4 BONSUCRO SUSTAINABILITY AWARD 2015 เราจะก้าวไปด้วยกัน เพื่อสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นต่อไป
23
น้ำ�เปลี่ยนชีวิต
MITR PHOL MODERNFARM
คุณปิยะ ก่อกุศล
กันยายน 2559
ผู้ช�ำนาญการเทคนิคปฏิบัติการด้านน�้ำ
DRIP IRRIGATION SYSTEM
10 จุดเด่นของ “ระบบน้ำ�หยด” ที่เมื่อรู้แล้วจะรัก ก ร ะ แ ส เ ก ษ ต ร ส มั ย ใ ห ม่ ฟี เ ว อ ร์ น า ที นี้ เ ห็ น ที จ ะ ม า แ ร ง จ ริ ง ช่ ว ย ส ร้ า ง ค ว า ม ห วั ง ใ ห ม่ และปลุกคนทั้งประเทศให้ต้องหันกลับมาโฟกัสที่ภาคการเกษตรกันอีกครั้งในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เราจะได้ เ ห็ น ความพยายามในการน� ำ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมที่ ทั น สมั ย เข้ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ในการท�ำการเกษตรในบ้านเราเราคงพอจะได้เห็นเครื่องไม้เครื่องมือขนาดใหญ่ท่ีมาช่วยทุ่นแรงคน อย่างในอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลของพวกเรา พี่ น้องมิตรชาวไร่ก็เริ่มคุ้นชินกับสมรรถนะของเจ้า รถตั ด อ้ อ ยคั น ใหญ่ ที่ ไ ด้ แ สดงฝี มื อ อวดพวกเราโดยตั ด อ้ อ ยได้ เ ฉลี่ ย ปี ล ะ 20,000 กว่ า ตั น มาแล้ว คราวนี้ก็มาถึงเรื่องที่มิตรชาวไร่หลายคนกลัดกลุ้มใจแก้ปัญหากันไม่ตกในช่วงปีที่ผ่านมา นั่นคือเรื่อง “น�้ำ” นั่นเอง
น�้ำถือเป็นปัจจัยการผลิตที่ส�ำคัญในการท�ำการเกษตร พืชทุก ชนิดต้องการน�้ำ อ้อยเองก็เช่นกัน แต่การปลูกอ้อยของเราส่วนใหญ่ แต่ก่อนมิตรชาวไร่จะอาศัยเทวดาช่วยดูแลเป็นหลัก กล่าวคือ อาศัย น�ำ้ จากน�ำ้ ฝน โดยผลผลิตทีไ่ ด้จะเฉลีย่ 7-8 ตัน ซึง่ ถือว่าน้อยมากเมือ่ เทียบกับการให้นำ�้ ในแบบ ของมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม ทีใ่ ห้ผลผลิตต่อ ไร่สงู ขึน้ เป็นเท่าตัว และในบางพืน้ ทีเ่ คยท�ำสถิตไิ ด้ผลผลิต สูงสุดถึงไร่ ละ 28 ตันเลยทีเดียว นั่นคือ การให้น�้ำ ใน “ระบบน�้ำหยด” 24
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
น้ำ�เปลี่ยนชีวิต
ถื้ อ ้ นั ก า รการให้ ใ ห้ น�้ ำนใ�้ำนในระบบน� ร ะ บ บ น�้ำ้ หยดนั ำ ห ย ดน นว่ถืาคุ อ้มว่ค่าาคุ้ ม ค่ า กั บ กับ ขึ้นขึมาจะท�ำให้ ้ น ม า จ ะ ท� ำ ใ ห้ การล งการลงทุ ทุ น เ พนรเพราะผลผลิ า ะ ผ ล ผ ลิ ตตทีที่ ไ่ ด้ ด้เเพิพิ่ ม่ ม ้ มิ ต รชาวไร่ ย ิ ม ได้ ก ว้ า งขึ น จุ ด เด่ น ของระบบน �้ำหยด มิ ต ร ช า ว ไ ร่ ยิ้ ม ไ้ ด้ ก ว้ า ง ขึ้ จุ ด เ ด่ น ข อ ง ร ะ บ บ น�้ ำ ห ย ด นั้ น มี อ ยู่ ห ลายประการด้ นั้ น มี อ ยู่ ห ลายประการด้ ว ยกั น ดั ง นีว้ ยกั น ดั ง นี้
••• •• •• • •• ••• •• •• •
สามารถให้ สามารถให้นน�้ำ�้ำพร้ พร้ออมกั มกันนหลายไร่ หลายไร่ใในคราวเดี นคราวเดียยวว ลดการใช้ แ รงงาน ลดการใช้แรงงาน ลดเวลาในการท� ลดเวลาในการท�ำำงาน งาน ใช้ น ำ ้ � น้ อ ยกว่ า การให้ ในดินน ใช้นำ้� น้อยกว่าการให้นนำ�้ำ�้ แบบราดร่ แบบราดร่อองง ช่ช่ววยเก็ ยเก็บบรัรักกษาความชื ษาความชืนน้้ ในดิ ได้นนานกว่ านกว่าา ได้ สามารถให้ ไม่ตต้้อองเสี งเสียยเวลา เวลา สามารถให้ปปุ๋ยุ๋ยไปพร้ ไปพร้ออมกั มกันนกักับบการให้ การให้นน�้�้ำำหยด หยด ไม่ หว่ หว่าานปุ นปุ๋ย๋ยหรื หรืออเดิ เดินนฉีฉีดดพ่พ่นน สามารถควบคุ สามารถควบคุมมปริ ปริมมาณน� าณน�้ำ้ำและปุ และปุ๋ย๋ยได้ ได้ตตามปริ ามปริมมาณที าณที่ต่ต้อ้องการ งการ ช่ช่ววยลดค่ ยลดค่าาใช้ ใช้จจ่า่ายในการจั ยในการจัดดการน� การน�้ำ้ำ ช่ช่ววยท� ยท�ำำให้ ให้กการบ� ารบ�ำำรุรุงงรัรักกษาและการจั ษาและการจัดดการอื การอื่น่นท�ท�ำำได้ ได้งง่า่ายขึ ยขึ้น้น ช่ช่ววยท� ยรักกษาระดั ษาระดับบผลผลิ ผลผลิตตในอ้ ในอ้ออยตอ ยตอ ยท�ำำให้ ให้ออ้ออ้ ยไว้ ยไว้ตตอได้ อได้นนานขึ านขึ้นน้ ช่ช่ววยรั ให้ ไม่ ล ดลงมาก เพราะมี น ำ ้ � หล่ อ เลี ย ้ งตออ้ อ ยได้ น านกว่ า ให้ไม่ลดลงมาก เพราะมีน�้ำหล่อเลี้ยงตออ้อยได้นานกว่า
การใช้ระบบน�้ำหยดเข้ามาช่วยในการท�ำไร่สามารถท�ำให้ ผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้นสูงมากกว่าการใช้น�้ำระบบอื่นๆ หรือน�้ำจาก ธรรมชาติ เนื่องจากการใช้ระบบน�้ำหยดนั้นจะช่วยรักษาความชื้น ในดิน ได้นานกว่า ท�ำให้รากที่อยู่ดินนั้นสามารถแทงทะลุดินไปหา อาหารได้อย่างง่ายขึ้น รวมถึงปุ๋ยหรือ ธาตุอาหารที่มิตรชาวไร่ใช้เพื่อ บ�ำรุงที่มากับน�้ำจะยิ่งท�ำให้อ้อยรับสารอาหารได้เร็วและง่าย ้ ่ ำ� ให้ผลผลิตต่อไร่ของเราสูงขึน และนีเ่ องจึงเป็นจุดเด่นทีท ่ ะลดต�ำ่ ลง เป็นเท่าตัวสวนทางกับต้นทุนในการบ�ำรุงรักษาอ้อยทีจ ่ รูอ ้ ล้ว ช่วยมิตรชาวไร่เซฟเงินในกระเป๋าไปได้สบายๆ เมือ ้ ย่างนีแ จะให้ไม่รก ั “น�ำ้ หยด” ได้ยง ั ไงจริงไหมละมิตรชาวไร่ M
25
หมอดิน
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
PROPERTIES OF SOIL ดร.ปรีชา พราหมณีย์
ที่ปรึกษากลุ่มงานพัฒนาและจัดการด้านอ้อย
่ ดินดีมีชัยไปกว่าครึง 3 คุณสมบัติดินที่มิตรชาวไร่จะมองข้ามไม่ได้
การเตรี ย มดิ น ก่ อ นปลู ก อ้ อ ยนั้ น เป็ น ขั้ น ตอนที่ ส� ำ คั ญ ที่ มิ ต รชาวไร่ จ ะละเลย เสียไม่ได้ เพราะหัวใจส�ำคัญของการปลูกอ้อยให้งอกงามนัน ่ ี่ “ดิน” หากการ ้ อยูท เตรียมดินได้ดีมีคุณภาพ ก็ถือว่ามีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว แต่ค�ำว่า “ดินดี” ในทาง การเกษตรนั้นหมายถึงอะไรกัน มิตรชาวไร่ฉบับนี้ เราจะพามิตรชาวไร่ไปรู้จักกับ คุณสมบัตข ิ องดินทีเ่ หมาะกับการปลูกพื ชไร่อย่างอ้อยกัน
ดินดีทอี่ อ้ ยชอบนัน้ จะต้องมีองค์ประกอบของอินทรียวัตถุ น�ำ้ และอากาศ ตลอดจน อนินทรียวัตถุอยูใ่ นปริมาณทีเ่ หมาะสม ปกติ แล้วมักจะมีหน้าดินสีดำ� หนา มีปริมาณอินทรียวัตถุสงู มีธาตุอาหารที่ เป็นประโยชน์ต่อพืชสูง ไม่มีสารที่เป็นพิษต่อพืช มีปฏิกิริยาดินใกล้ เป็นกลาง มีคา่ ความเป็นกรดเป็นด่างหรือค่า pH ประมาณ 5.5-7.0 และไม่มชี นั้ ดินดานทีข่ ดั ขวางการเจริญเติบโตของรากท�ำให้รากสามารถ ชอนไชลงไปในดินได้ลกึ ยืนต้นต้านทานแรงลมได้ดไี ม่ลม้ ได้งา่ ย 26
ในใจลึกๆ ของมิตรชาวไร่ทกุ คนจะมีความสุขมากหากสามารถ ปลูกพืชได้โดยใช้วธิ กี ารจัดการ ดูแลตามปกติธรรมดาทีไ่ ม่ยงุ่ ยาก และ ไม่ต้องบ�ำรุงดินใส่นั่นเติมนี่ให้มากมายจนเกินไปนัก แต่ถึงต่อให้เรา มีดนิ ดีเป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว เมือ่ ปลูกอ้อยไว้ตออย่างต่อเนือ่ งติดต่อกัน ไปหลายๆ ตอเข้า ผลผลิตจะลดน้อยลงฟ้องออกมาเองว่าดินของเราเริม่ ไม่ไหว หนีไม่พน้ ทีจ่ ะต้องหันมาบ�ำรุงดิน เติมธาตุอาหารลงไปให้พร้อม กับการปลูกอ้อยใหม่เพือ่ ให้ได้ผลผลิตกลับมาได้ตามทีใ่ จหวังไว้นนั่ เอง
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
หมอดิน
แต่ก่อนที่เราจะเติมอะไรลงไปในดินก็ตาม เราลองมาทบทวน 3 คุณสมบัติดินดี ที่เหมาะสม ส�ำหรับการเพาะปลูกกันก่อน
•
ดินดีตอ้ งมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหารพืช ธาตุอาหารพืชมี 3 ประเภท ประกอบด้วย • ธาตุอาหารพืชหลัก ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม • ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม ก�ำมะถัน • ธาตุอาหารเสริม ประกอบด้วย เหล็ก สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดินมั แมงกานีส และ คลอรีน • ดินดีต้องมีความสมดุลของอากาศและน�้ำ ดินต้องมีโครงสร้าง ที่ดี มีความร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้ดี มีความสามารถในการอุ้มน�้ำ ได้ดี เม็ดดินเกาะกันอย่างหลวมๆ เพื่อช่วยให้รากพืชสามารถแผ่ ขยาย และชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารในดินในระยะที่กว้างและไกล และควรเป็นดินทีอ่ อ่ นนุม่ ไม่แข็งกระด้าง • ดินดีต้องมีความสมดุลของจุลินทรีย์ ดินต้องมีจุลินทรีย์และ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่เป็นประโยชน์ ในที่มากพอที่จะสามารถควบคุม จุลนิ ทรียแ์ ละสิง่ มีชวี ติ เล็กๆ ทีเ่ ป็นโทษแก่พชื ได้เป็นอย่างดี ช่วยย่อย แร่ธาตุในดินให้เป็นประโยชน์แก่พืชในปริมาณที่มากขึ้น ช่วยตรึง ธาตุอาหารจากอากาศ และสร้างสารปฏิชวี นะปราบโรคและศัตรูพชื ในดินได้ นอกจากนีย้ งั ช่วยเสริมพลังให้พชื เข้าท�ำลายสารพิษ ในดินได้
เมื่ อ ทราบถึ ง คุ ณ สมบั ติ ข องดิ น ดี ที่ เ หมาะกั บ การ ปลูกอ้อยกันแล้ว ฉบับต่อไปมาติดตามวิธีการเตรียมดินและ การบ�ำรุงดินให้พร้อมกับการปลูกอ้อยใหม่ในแบบฉบับของ มิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มกันนะครับ รับรองว่าได้ผลผลิตสูง M
ดิน แต่ละแห่งมีความเหมาะสม ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช ได้ ไ ม่ เ ท่ า กั น ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ วัตถุต้นก�ำเนิดและพั ฒนาการ ของดิน ดินที่เหมาะสมต่อก าร เจริ ญ เติ บ โตของพื ชมี อ งค์ ประกอบของดิน 4 ส่วนได้แก่
3
1
45% 25%
5%
2 4
25% 27
อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
ดร.สมหวัง อนุสนธิ์พรเพิ่ม
ผู้เชี่ยวชาญปรับปรุงพันธุ์
DECODING THE FUTURE “ถอดรหัสพันธุ์อ้อยแห่งอนาคต” พั นธุ์อ้อยที่ดี ปลูกแล้วงอก เติบโตได้ดี เป็นก้าวแรกของการท�ำอ้อยให้ประสบผลส�ำเร็จ เพราะผลที่ ต ามมา คื อ อ้ อ ยที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต สู ง ค่ า ความหวานสู ง แตกกอเร็ ว ไว้ ต อได้ น าน ต้ า นทานโรคและแมลงศั ต รู พื ช อย่ า งไรก็ ต ามพั นธุ์ อ้ อ ยแต่ ล ะพั นธุ์ เ หมาะสมกั บ สภาพดิ น ่ ๆ ไม่เหมือนกัน อาทิ อากาศ และน�ำ้ แตกต่างกันไป รวมถึงวิธก ี ารดูแลรักษา และคุณสมบัตอ ิ ืน อายุการเก็บเกี่ยว น�้ำหนัก ความหวาน ความทนทานต่อโรคและแมลง การสูญเสียน�้ำหนักและ ความหวานหลังการตัด ทัง ้ เด่นและข้อด้อยไม่เท่ากันด้วย ้ ยังมีขอ
มิตรชาวไร่ออ้ ยต้องท�ำความรูจ้ กั พันธุอ์ อ้ ยแต่ละสายพันธุ์ และ ติดตามการปรับปรุงพันธุ์อ้อย แต่ละสายพันธุ์ของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนอย่างต่อเนื่อง เพื่ออัพเดทให้รู้ว่าพันธุ์อ้อยแต่ละพันธุ์ โดยเฉพาะพันธุ์ใหม่ๆ นั้นมีคุณลักษณะอย่างไร การเลือกพันธุ์อ้อย ในครั้งต่อไปจะได้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกพันธุ์อ้อยที่ เหมาะสมกับพื้นที่ของตนเอง ที่ส�ำคัญต้องไม่ลืมว่า พันธุ์เป็นปัจจัย ที่ต้องมาควบคู่กับการดูแลเอาใจใส่อ้อยอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ตลอดช่วงของการเพาะปลูก จึงจะท�ำให้พันธุ์อ้อยให้ผลผลิตดีอย่าง ที่ต้องการ ่ า่ นมามิตรผลโดยศูนย์นวัตกรรมและการวิจย ทีผ ั (RDI) ได้พัฒนาและปรับปรุงพั นธุ์อ้อยใหม่ ออกมาอย่างต่อ เนื่องปีละ 1-2 พั นธุ์ เพื่ อให้ได้พันธุ์อ้อย ่ ทีมีคุณสมบัติพื้นฐานที่ดี 9 ประการ ประกอบด้วย
• • • • • • • • • 28
ให้ผลผลิตไม่ต�่ำกว่า 15 ตันต่อไร่ ค่าความหวานไม่ต�่ำกว่าระดับ 15 ซีซีเอส กาบใบร่วงหล่นง่าย ทนแล้ง สู้กับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ต้านทานโรคและแมลงศัตรูอ้อย แตกกอดี ไว้ตอได้นานประมาณ 5 ปี ขนาดล�ำอ้อยใหญ่พอเหมาะกับการใช้รถตัดอ้อย เหมาะสมกับสภาพดินที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง
ทั้ ง นี้ ใ นช่ ว ง 2 ปี ที่ ผ ่ า นมา มิ ต รผลได้ เ ริ่ ม ทยอยออก พันธุ์อ้อยใหม่ และได้เริ่มแนะน�ำให้มิตรชาวไร่ ได้น�ำอ้อยพันธุ์ดี ไปทดลองปลูกแล้วในหลายพื้นที่ อาทิ พันธุ์เอ็มพีที 03-166, พันธุ์ เอ็มพีที 04-204, พันธุ์เอ็มพีที 318, พันธุ์เอ็มพีที 239 เป็นต้น ซึ่ง ในฉบับต่อไปเราจะมาแนะน�ำคุณสมบัติเด่นของอ้อย พันธุ์ใหม่ จากมิตรผลให้มิตรชาวไร่ได้รู้จักกัน ทั้งนี้แม้ว่าจะมีพันธุ์อ้อยที่มีคุณสมบัติดีขึ้นแค่ไหน แต่ ่ ๆ รวมถึงการ มิตรชาวไร่ต้องไม่ลืมว่ายังมีปัจจัยการผลิต อืน บริหารจัดการไร่อ้อยที่เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่ท�ำให้อ้อยของเรา ได้ผลผลิต และค่าความหวานสูงควบคู่กันไป เมื่อมิตรชาวไร่ รู้แบบนี้แล้ว ก่อนรื้อแปลงปลูกอ้อยใหม่ในปีต่อไป อย่าลืมหา ่ ก พั นธุอ ์ อ ้ ยทีถ ู ใจมาปลูกเตรียมไว้เพื่ อใช้เป็นท่อนพั นธุก ์ น ั ด้วย เพราะการเตรียมท่อนพั นธุ์เองนั้นช่วยให้เราอุ่นใจได้มากกว่า ้ หาท่อนพั นธุจ ่ เข้ามา ให้เสีย ่ งต่อโรคแมลง การไปซือ ์ ากแหล่งอืน รบกวน M
29
MITR PHOL MODERNFARM
30
กันยายน 2559
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
31
วิถีคนสู้
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
THE TIGER LURKING
ไพเราะ ภูฆัง เสือซุ่มแห่งสุพรรณบุรี คุณไพเราะ ภูฆง ั เจ้าของอาณาจักรไร่ออ ้ ยกว่า 1,600 ไร่ จากด่านช้าง สุพรรณบุรี ผูร ้ อคอยการมาถึง ่ นแปลงครัง ้ ากไร่ออ ของมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มมากว่า 2 ปีเต็ม โดยซุม ่ จับตาดูการเปลีย ้ ยเพื่ อนบ้านข้างเคียง ้ นีจ อย่างใจจดใจจ่อ
32
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
วิถีคนสู้
่ หลายคน พอรูว ้ า่ ผมเปลียน มาใช้แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม ่ ทีเดียวสามร้อยสีร้อยไร่ ก็ตกใจบอกว่าผมใจกล้า ่ี งไม่ใช่เรืองใจกล้ ่ แต่ทจริ า หรืออะไรเลย เป็นเพราะผม ศึกษาเรียนรูม ้ านานพอสมควร ่ั ได้เห็นถึงวิธก ี ารจนทำ�ให้มนใจ ว่าหลักการโมเดิรน ์ ฟาร์ม ่ นี แหละของจริง
“เริ่มต้นจากเมื่อสองปีที่แล้ว ไร่อ้อยข้างๆ ผม เขาเริ่มเปลี่ยน วิธีการปลูกและการบริหารจัดการไร่ใหม่ โดยหันมายึดหลักสี่เสา ตามแบบของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มที่คุณบรรเทิง ว่องกุศลกิจ มา แนะน�ำ ผมมีโอกาสได้เข้าไปฟัง เข้าไปศึกษา และจับตาดูการท�ำไร่ แบบใหม่ของมิตรผลมาตั้งแต่ช่วงต้นๆ เลยก็ว่าได้ แต่ด้วยตอนนั้น โครงการนี้ยังขยายมาไม่ถึงเขตของผม เราก็เลยได้แต่อิจฉาซุ่มแอบ มองไร่ของคนอื่นที่ได้เข้าโครงการฯ”คุณไพเราะกล่าวอย่างติดตลก คุ ณ ไพเราะค้ น พบตั ว เองว่ า เริ่ ม สนใจในห ลั ก สี่ เ สาอย่ า ง แท้ จ ริ ง และเกิ ด ความมั่ น ใจขึ้ น ว่ า หลั ก สี่ เ สาของมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์มนั้นจะช่วยท�ำให้ไร่อ้อยของเขานั้นสามารถด�ำเนินไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพและง่ายขึ้น เขาจึงได้เตรียมตัวปรับเปลี่ยนวิธีบริหาร จัดการไร่อ้อยให้เข้าสู่ระบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม “แรกสุดตอนที่ยังซุ่มดูไร่คนอื่นอยู่ เราก็แอบศึกษาว่าเขามี วิธกี ารท�ำอย่างไร แตกต่างจากทีเ่ ราท�ำอย่างไรบ้าง โดยทีเ่ ห็นชัดเจนเลย คือ การท�ำแบบใหม่นั้นเขาจะเริ่มจากพักดิ นแล้วมาปลูกถั่วสลับ ก่อน และค่อยมาเตรียมแปลงเพื่อปลูกอ้อยใหม่ ซึ่งพอผลออกมา นี่ผมประทับใจมากนะ ด้วยความที่ไร่ข้างๆ เขาปลูกแบบมิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม ผมเลยเทียบได้เห็นความแตกต่างที่ชัดเจนเลย ไร่ที่ท�ำ แบบใหม่จะได้ผลผลิตที่เต็มเม็ดเต็มหน่วยก ว่า เขาปลูกอ้อยแบบ ข้ามแล้ง พอฝนมาปุ๊บก็ปลูกถั่ว พอฝนหมดเก็บถั่วแล้วเตรียมปลูก อ้อยใหม่ตามเลย ท�ำแบบนี้ไร่ของเขาแทบจะไม่ต้องให้น�้ำเลย ดิน นี่ชุ่มชื้นมาก เมื่อดินดี ปัญหาแมลงศัตรู พืชก็น้อยลง แถมได้อ้อย มีคุณภาพด้วย เห็นแบบนี้ผมตัดสินใจตั้งแต่ ตอนนั้นเลยว่า ผมจะ
ท�ำไร่ตามแบบคุณบรรเทิง ท�ำตามที่มิตรผลเขาแนะน�ำ” หลังจากที่คุณไพเราะได้สังเกตเห็นรูปแบบการจัดการไร่แบบ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มก็เกิดความเชื่อมั่น เขาจึงเริ่มเตรียมแปลงและ ปรับระบบการท�ำไร่ใหม่เพื่อรองรับการมาของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม “ตอนนั้นผมเริ่มเตรียมอุปกรณ์ ปรับดิน ปรับกา รบริหาร จัดการไว้ให้พร้อมเลย รอว่าถ้าเขาขยายมาถึงเข ตผมเมื่อไหร่เรา ก็พร้อมท�ำเลย ผมเตรียมที่ดินไว้ 500 ไร่ แบ่งท�ำเป็น 2 แบบ แบบ แรก แบ่งไว้ 300 ไร่มาเตรียมท�ำแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มแต่ยังไม่ พักดิน ส่วนชุดหลังนี่อีก 200 ไร่ มีเวลาเตรียมแปลงแบบพักดินเพื่อ รอเวลาท�ำแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มเต็มรูปแบบเลย หลายคน พอ รู้ว่าผมเปลี่ยนมาท�ำแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มทีเดียว 400-500 ไร่ เขาก็ตกใจ ถามผมว่าท�ำไมใจกล้าขนาดนั้น อันที่จริงมันไม่ใช่เรื่องใจ กล้าหรืออะไรเลย แต่เป็นเพราะเราเรียนรู้มานานพอสมควร ได้เห็น วิธีการใหม่ๆ จนท�ำให้มั่นใจ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มนี่แหละของจริง” การเฝ้าศึกษาเรียนรู้ด้วยตัวเองอยู่ถึงสองปี ท�ำให้คุณไพเราะ มีความรู้ความเข้าใจในหลักสี่เสาอย่างถ่องแท้และมีคว า ม พร้อม ที่จะเปลี่ยนแปลงสู่การท�ำไร่แบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มอ ย่ างมาก โดยคุณไพเราะได้กล่าวถึงข้อดีของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มไ ว้ อย่าง น่าประทับใจว่า “หลักสี่เสานี่มันสุดยอดมากจริงๆ นะ มันสามารถ ท�ำให้ไร่ของเราได้ผลผลิตเต็มศักยภาพร้อยเปอร์เซนต์ ผลลัพธ์ของ ทุกหลักการรวมกันนั้นท�ำให้เราประหยัดไปได้เยอะมาก ไม่ว่ า จะ เป็นการประหยัดน�้ำ ประหยัดปุ๋ย ประหยัดยา เมื่อเราปลูกอ้อยตาม ช่วงเวลาที่เหมาะสมตามหลักมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ผลพลอยได้ ที่ 33
วิถีคนสู้
คุณไพเพราะ ภูฆัง
34
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
วิถีคนสู้
ตามมาที่หลายคนไม่คาดคิด คือ พันธุ์อ้อยก็ราคาไม่แพงเพราะช่วง เวลาที่เราจะปลูกนั้นไม่ใช่ช่วงเทศกาลแย่งพันธุ์อ้อยกับไร่อื่นๆ เรา เลยเซฟค่าท่อนพันธุ์ไปได้โดยปริยาย” คุ ณ ไพเราะตั้ ง เป้ า ไว้ ว ่ า จากก้ า วแรกในวั น นี้ ที่ ล งมื อ ปรั บ เปลี่ยนวิธีบริหารจัดการไร่สู่การเป็นมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม แม้จะ ยังมีบางส่วน ที่ยังไม่สามารถด�ำเนินตามหลักมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ได้ร้อยเปอร์เซนต์ แต่ก็จะพยายามน�ำหลักสี่เสามาปรับใช้จนไร่อ้อย ของเขากลายเป็นไร่อ้อยแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม โดยสมบูรณ์ “ตอนนี้เครื่องไม้เครื่องมือผมค่อนข้างพร้อม แม้จะยังไม่ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็นับว่าใช้ได้ ผมมีรถตัดอยู่หนึ่งคัน มีหัวลาก อยู่สามคัน มีริปเปอร์ มินิคอมไบน์ก็มีครบชุด ปัญหาที่พบคือเมื่อ ปีที่แล้วอ้อยไม่ค่อยดี เพราะเจอแล้งประกอบกับคนขับรถตัดยัง ไม่มีประสบการณ์ และรูปแปลงของผมยังมีระยะห่างไม่ตรงตาม มาตรฐานทุกแปลง คงต้องปรับกันใหม่และพัฒนาฝีมือคนขับรถตัด ให้มีความช�ำนาญมากขึ้น ผมว่าเป้าหมายอ้อยรถตัด 20,000 ตันนั้น ไม่ใช่เรื่องเกินความคาดหมายหรอก ผมท�ำได้แน่” เมื่อถามคุณไพเราะถึงความแตกต่างระหว่างคนท�ำไร่อ้อย แบบดั้งเดิมและคนท�ำไร่อ้อยแบบโมเดิร์นฟาร์มนั้น คุณไพเราะ ได้ตั้งข้อสังเกตุว่า “คนที่เขาท�ำไร่แบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มร้อย เปอร์เซนต์นั้น เขาดูสบายๆ ดูไม่มีความกังวล เพราะหลักการที่ มิตรผลบอกนั้นช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับชาวไร่ ให้ท�ำงานง่าย ขึ้น และได้ก�ำไรมากขึ้นด้วย ผมพบว่าหลักมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มมี ความสอดคล้องกับหลักการเก่าแก่ที่ บรรพบุรุษเราเคยสั่งสอนต่อๆ กันมา อย่างค�ำว่า ‘ดินเลวปลูกถี่ ดินดีปลูกห่าง’ อันนี้หลายคนลืม กันไปแล้ว แปลว่าอะไร นั่นคือถ้าเราปลูกอ้อยแถวห่างๆ อ้อยก็ จะไม่แย่งอาหารในดินกัน ล�ำก็จะใหญ่ น�้ำหนักดีมีคุณภาพใช่ไหม ล่ะ นอกจากนั้นหลักการเตรียมแปลงอย่างการขึ้นเบด นี่คือหลัก การส�ำคัญที่จะช่วยให้เราประหยัดแรงงาน ประหยัดยา ประหยัด น�้ำ ประหยัดต้นทุน แม้การเริ่มเปลี่ยนมาท�ำไร่แบบมิตรผลโมเดิร์น ฟาร์มในปีแรกดูว่าจะต้องลงทุนใช้เงินมาก แต่คิดแบบนั้นคงไม่ได้ นั่นมันคิดแบบปีต่อปีไง ต้องมองระยะยาว ซึ่งผมฟันธงให้เลยนะ ว่า ท�ำแบบใหม่ยังไงก็คุ้มแน่นอนครับ” และนี ก็ คื อ อี ก หนึ่ ง ความส� ำ เร็ จ ของคุ ณ ไพเราะ ภู ฆั ง เจ้าของอาณาจักรไร่ออ ้ ยด่านช้าง เสือซุม ่ แห่งสุพรรณบุรี M
35
Eco Focus
MITR PHOL MODERNFARM
คุณจ�ำนาญ โคตรภูเวียง
กันยายน 2559
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการเทคโนโลยีและระบบบริหารจัดการไร่
LOW CHEMICAL FERTILIZER ลดใช้สารเคมี วิถีมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ่ ว การท�ำไร่แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม นอกจากจะยึดหลักสีเ่ สาทีช ่ ยลดการไถพรวน เพื่ ออนุรก ั ษ์ดน ิ แล้ว การท�ำไร่ ่ ด ่ ต ให้ได้ผลผลิตสูงและรบกวนธรรมชาติให้นอ ้ ยทีส ุ ยังเป็นแนวทางทีม ิ รผลโมเดิรน ์ ฟาร์มยึดถือเป็นปรัชญา และ น�ำมาขยายผลต่อยอดสร้างเทคนิคการท�ำไร่ใหม่ๆ ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง โดยหนึ่งในปัจจัยการผลิตที่เราจะต้อง ค�ำนึงถึงเป็นอันดับต้นๆ ของการท�ำไร่ คือ “ปุย ๋ ” อาหารของอ้อย โดยเฉพาะปุย ๋ เคมีหรือปุย ๋ วิทยาศาสตร์ ทีไ่ ด้รบ ั ้ แต่หากขาดการวางแผนในการเลือกใช้ ความนิยมกันอย่างแพร่หลายในหมูม ่ ต ิ รชาวไร่ทใี่ ช้กน ั เพื่ อเพิ่ มผลผลิตให้สง ู ขึน ่ ก ปุย ๋ ทีถ ู ประเภท ถูกเวลา และถูกวิธี รวมถึงให้ปย ุ๋ ในปริมาณทีเ่ หมาะสมแล้ว การให้ปย ุ๋ อาจกลายเป็นฝันร้ายของ ้ ดังใจหวังแล้วต้นทุนยังจะสูงขึน ้ โดยไม่รต ่ อกจากจะไม่ทำ� ให้ผลผลิตสูงขึน มิตรชาวไร่ ทีน ู้ ว ั อีกด้วย
36
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
Eco Focus
ส�ำหรับไร่ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ภายใต้การดูแลของ บริษทั ไร่อสี าน จ�ำกัด ที่ อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ เกือบ 10,000 ไร่ วันนี้ ได้ รับการรับรองมาตรฐาน BONSUCRO รายแรกของประเทศไทย ทีใ่ ห้ การรับรองในขั้นตอนการท�ำไร่อ้อยยั่งยืนของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม โดยมาตรฐานหนึ่งซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ส�ำคัญ คือ การจ�ำกัดการใช้ สารออกฤทธิ์หรือสารเคมีในแปลงอ้อย ที่ต้องอยู่ในปริมาณไม่เกิน 800 กรัมต่อไร่ต่อปี ซึ่งไร่ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มใช้สารออกฤทธิ์ ต�่ำกว่ามาตรฐาน BONSUCRO ก�ำหนด ที่ 650 กรัมต่อไร่ต่อปี ซึ่ ง นี่ คื อ ผลลั พ ธ์ จ ากความพยายามลดใช้ ส ารเคมี แ ละหั น มาใช้ ฟิลเตอร์เค้กหรือกากหม้อกรองและวีแนส ซึ่งเป็นธาตุอาหารจาก วัตถุพลอยได้ที่ได้จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลและเอทานอล ปัจจุบัน มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มก�ำลังพัฒนาให้ฟิลเตอร์เค้ก สามารถน�ำไปใช้ในแปลงอ้อยได้ง่ายขึ้น โดยแปรรูปให้อยู่ในรูปของ ปุ๋ยอินทรีย์พร้อมใช้งาน ด้วยกรรมวิธีลดความชื้นในฟิลเตอร์เค้ก ลงจาก 75 ส่วน เหลือเพียง 35 ส่วน ช่วยลดปริมาณการใช้ฟลิ เตอร์ เค้กลงได้เหลือเพียง 4 ตันต่อไร่ จากเดิมที่ต้องใช้ถึง 30 ตันต่อไร่ ทั้งนี้วิธีการดังกล่าวจะช่วยให้การขนส่งฟิลเตอร์เค้กง่ายยิ่งขึ้น และ ช่วยลดต้นทุนค่าขนส่งลงอีกทางหนึ่งด้วย และนี่ คื อ อี ก หนึ่ ง ความพยายามมุ่ ง สู่ ค วามยั่ ง ยื น ของ มิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มชูแนวทางท�ำไร่ ลดใช้สารเคมี M
37
MITR PHOL MODERNFARM
ของเล่นชาวไร่
กันยายน 2559
9 เครื่องมือเกษตรสมัยใหม่ ตอบโจทย์ยุค ‘ประเทศไทย 4.0’ คุณกฤษณ์ สรรพอาสา
ผู้จัดการฝ่ายเครื่องมือเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เครื่องมือการเตรียมดิน
เครื่องผานพรวน 24 จาน Trailing Disc Plough หน้าที่ : พรวนย่อยดินให้ละเอียดด้วยจานชุดพรวนและสับกลบใบอ้อย ความลึก : 15-20 ซม. สมรรถนะ : 50 ไร่/วัน
เครื่องปรับระดับดิน Drag Scraper หน้าที่ : ปรับพื้นที่ให้เรียบและเสมอทั่วทั้งแปลง เพื่อช่วยในการระบายน�้ำ และลดน�้ำขังในแปลง สมรรถนะ : 15 ไร่/วัน
เครื่องระเบิดดินดาน Deep Ripper หน้าที่ : ท�ำให้ชั้นดินด้านล่างที่แข็ง ไถไม่เข้าและไถไม่ถึงเกิดการแตกร้าว และช่วยเก็บกักน�้ำภายในดิน ความลึก : 40-50 ซม. สมรรถนะ : 30 ไร่/วัน
เครื่องมือปลูกพืชบำ�รุงดิน เครื่องปลูกถั่วเหลือง Double Disc Opener Soybeans Planter
หน้าที่ : ปลูกพืชบ�ำรุงดิน (ถั่วเหลือง) 3 แถว ระยะห่างระหว่างแถว : 40 ซม. ความลึก : 3-5 ซม. อัตรา : 8-10 กก./ไร่ สมรรถนะ : 20 ไร่/วัน 38
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
ของเล่นชาวไร่
เครื่องมือปลูกอ้อย เครื่องแต่งเบด Bed Renovator
หน้าที่ : พรวนกลบเศษซากพืชบ�ำรุงดินบน Bedform และเป็นตัวซ่อม Bedform ให้มีสภาพสมบูรณ์ สมรรถนะ : 30 ไร่/วัน
เครื่องขึ้นเบดแบบโรตารี่ Zonal Rotavator หน้าที่ : พรวนดินให้ละเอียดเฉพาะบน Bedform พร้อมขึ้น Bedform เพื่อให้ดินละเอียด เหมาะแก่การปลูกอ้อย สมรรถนะ : 20 ไร่/วัน เครื่องปลูกอ้อย Double Disc Opener Sugarcane Planter หน้าที่ : ปลูกอ้อยแบบแนวนอนมีชุดเปิดร่องแบบจานคู่ ความลึก : 10-15 ซม. อัตรา : 1-1.5 ตัน/ไร่ สมรรถนะ : 15 ไร่/วัน
เครื่องมือบำ�รุงรักษาอ้อย
เครื่องพ่นระบบไฟฟ้า Spray Rig
หน้าที่ : พ่นสารควบคุมและก�ำจัดวัชพืช พ่นได้ครั้งละ 5 แถว ควบคุมการฉีดพ่นด้วยระบบไฟฟ้า (โซลินอยส์) ความจุ : 1,150 ลิตร สมรรถนะ : 80 ไร่/วัน
เครื่องใส่ปุ๋ยขนาด 2 ตัน Fertilizer Rig หน้าที่ : ใส่ปยุ๋ บ�ำรุงอ้อย ใส่ได้ครั้งละ 3 แถว ลดการเปิดรอยฝังปุ๋ยที่กว้าง อัตรา : 20-100 กก./ไร่ ความจุ : 2,000 กก. สมรรถนะ : 80 ไร่/วัน 39
Show & Share
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
SHOW & SHARE
มิตรผลจัด “IRONMAN DAY” อบอุ่น
เปิดเวที Show & Share แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านเกษตรสมัยใหม่
มิตรผล โดย กลุ่มงานอ้อย จัดงาน “IRONMAN DAY” เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคและองค์ความรู้ด้านการท�ำไร่ ตามแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มหวังเป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนองค์ ความรู ้ เ กษตรสมั ย ใหม่ ใ ห้ กั บ เถ้ า แก่ ไร่ อ ้ อ ยกว่ า 200 คน โดย พื้นที่ภาคกลาง จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2559 ณ โรงงาน น�้ำตาลมิตรผล ด่านช้าง สุพรรณบุรี และพื้นที่ภาคอีสาน จัดขึ้น เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2559 ณ โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเขียว ชัยภูมิ โดยได้รับเกียรติจากคุณ บรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มธุรกิจกลุ่มงานอ้อย กล่าวเปิดงานและร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนเทคนิคความรู้และแนวคิดการบริหารจัดการไร่อ้อย 40
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
Show & Share
สมัยใหม่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดให้กับมิตรชาวไร่ระดับเถ้าแก่ ไร่อ้อยอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้กิจกรรมภายในงานยังมีการศึกษา ดูงานและสาธิตการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ระหว่าง กันทั้งจากวิทยากรจากบริษัท ไร่อีสาน จ�ำกัด, บริษัท ไร่ด่านช้าง จ�ำกัด, ฝ่ายเครื่องมือเกษตร และตัวแทนมิตรชาวไร่ ปิดท้ายกัน ด้วยกิจกรรมมอบเงินสนับสนุนโครงการแบ่งน�้ำใช้ปันน�้ำใจสู้ภัยแล้ง ให้กับหน่วยงานในพื้นที่ภาคกลางและภาคอีสาน และงานเลี้ยง สั ง สรรค์ ร ่ ว มกั น ของคณะผู ้ บ ริ ห ารฯ และกลุ ่ ม มิ ต รชาวไร่ ใ น บรรยากาศที่อบอุ่น M
41
MITR PHOL MODERNFARM
บุรุษชุดเขียว Ironman
คุณไพฑูรย์ ประภาถะโร
UP
ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การสายงานอ้อยภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
TRAINING
บุรุษชุดเขียว
มิตรผลไอรอนแมน - IRONMAN
42
กันยายน 2559
่ ต “คน” ถือเป็นทรัพยากรทีม ิ รผลให้ความส�ำคัญ สู ง สุ ด และถื อ เป็ น หนึ่ง ในสามองค์ ป ระกอบหลั ก ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม “มิตรผลไอรอนแมน” ่ ต หรือทีม ิ รชาวไร่หลายคนเรียกสัน ้ ๆ กันจนติดปาก ว่า “ไอรอนแมน” คือผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางใน การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องเกษตรสมัยใหม่ของ มิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มไปสูม ่ ต ิ รชาวไร่ เปรียบเสมือน ่ี ะน�ำเอาความมัน ฮีโร่พันธุใ์ หม่ทจ ่ คง มัง ่ คัง ่ และยัง ่ ยืน ไปให้กบ ั มิตรชาวไร่ทก ุ คน
ไอรอนแมน จะอ�ำนวยความสะดวกให้กับมิตรชาวไร่ได้เข้าถึง องค์ความรู้ต่างๆ ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม เพื่อให้มิตรชาวไร่บรรลุ เป้าหมายตามทฤษฎี 2 ลด 2 เพิ่ม ของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ได้แก่ 2 ลด คือ ลดต้นทุนและลดระยะเวลาในการท�ำไร่ 2 เพิ่ม คือ เพิ่ม ผลผลิตและเพิ่มรายได้ให้กับมิตรชาวไร่
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
บุรุษชุดเขียว Ironman
จากกระบวนการคัดกรอง บ่มเพาะ และทดสอบ ที่เข้มข้นของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม หล่อหลอมให้ ไอรอนแมนมีคุณสมบัติที่ครบเครื่องทั้งบู๊บุ๋นบนเวที เกษตรสมัยใหม่ ไอรอนแมน คือฮีโร่พันธุใ์ หม่ทต ี่ ด ิ ดิน และเป็นที่พึ่งของมิตรชาวไร่ได้ โดยเฉพาะ องค์ความรู้เรื่องเกษตรสมัยใหม่ ประกอบด้วย
• • • • •
องค์ ค วามรู ้ เ บื้ อ งต้ น ด้ า นการท� ำไร่ เช่ น ความรู ้ เกี่ยวกับดินที่เหมาะสมในการปลูกอ้อย การให้น�้ำ การเลือกพันธุ์อ้อย การจัดการกับโรคและแมลง ศัตรูพืช เป็นต้น องค์ ค วามรู ้ แ ละวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ภ ายใต้ ห ลั ก สี่ เ สา ได้แก่ การปลูกพืชบ�ำรุงดิน การลดการไถพรวน การควบคุมแนวการวิ่งของรถ และการลดการเผา ใบอ้อยโดยใช้รถตัด องค์ความรู้เรื่องวิธีการท�ำไร่ในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศ แตกต่างกัน เช่น พืน้ ทีล่ มุ่ พืน้ ทีด่ อน พืน้ ทีด่ นิ เหนียว และดินทราย เป็นต้น องค์ความรู้เรื่องเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เช่น การน�ำระบบจีพเี อส เข้ามาใช้ประกอบกิจกรรม การท� ำ ไร่ การใช้ ร ะบบไอซี ที เข้ า มาประยุ ก ต์ ใช้ ในการบริหารจัดการไร่ เป็นต้น องค์ ค วามรู ้ เรื่ อ งเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ เ กษตร สมัยใหม่ เช่น อุปกรณ์เครื่อมือเกษตรขนาดใหญ่ รถตัดอ้อยและระบบโลจิสติกส์ใหม่ตามแบบมิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม เป็นต้น
มิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มได้วางแผนในการสร้างทีมไอรอนแมน รวม 600 คน ภายในช่วง 3-5 ปีนี้ โดยอบรมและถ่ายทอด องค์ความรู้ในเรื่องเกษตรสมัยใหม่แบบเข้มข้นทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเพื่ อเตรียมความพร้อมให้ไอรอนแมนสามารถ ล ง พื้ น ที่ ไ ป ช่ ว ย ดู แ ล มิ ต ร ช า ว ไ ร่ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ องค์ความรูใ้ หม่ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนกระบวนการตัง ้ แต่ ต้นทางจนถึงปลายทาง โดยมีหลักสูตรทีไ่ ด้รบ ั การ พั ฒนาจาก ศูนย์การเรียนรู้ Excellence Center ของมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม ้ ะเป็นทีแ่ ลกเปลีย ่ น เพื่ อใช้พัฒนาทรัพยากร บุคคลและศูนย์แห่งนีจ องค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ระหว่างกันของไอรอนแมน ่ วชาญแต่ละด้านต่อไป.... ทัง ้ 600 คนและผูเ้ ชีย ...เห็นบุรษ ุ ชุดเขียวทีไ่ หนอย่าลืมเข้ามาทักทายกันบ้างนะครับ M
43
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
กลุ่มมิตรผล
“คืนคุณค่าความยั่งยืน สู่ผืนดิน น้�ำ ป่า”
ฝายมีชีวิต
ฝายมีชีวิต ไม่ได้เป็นแค่เครื่องมือในการรับมือวิกฤตน้ำ�เท่านั้น แต่ยังเป็นฝายแห่งศาสตร์พระราชา ที่เป็นเครื่องมือสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง สามัคคี รักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นและถ่ายทอดสู่รุ่นหลังอย่างเป็นระบบ และที่สำ�คัญคือเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยตัวชุมชนเอง ตามแนวทางการพัฒนาสังคมให้ย่ง ั ยืน เคียงคู่กับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มมิตรผลตลอดไป 44
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
45
มิตรอาสา
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
ให้แสงสว่างแก่ดวงตา ให้แสงสว่างแก่ชีวิต มิตรผลจับมือพันธมิตรฯ นำ� “แว่นแก้ว กฟผ.” ลงพื้นที่ภาคอีสาน
ช่วยผู้มีปัญหาทางสายตากว่า 600 คน
กลุ่มมิตรผล ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) และบริษท ั หอแว่น กรุป ๊ จ�ำกัด จัดโครงการแว่นแก้วเฉลิมพระเกียรติฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 399 ขึ้น เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 ณ อุทยานมิตรผล อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ เพื่ อออกหน่วยให้บริการ ตรวจวัดสายตาให้กับผู้มีปัญหาทางสายตากว่า 600 คน จากชุมชนรอบโรงงานน�้ำตาลและโรงไฟฟ้ามิตรผลใน เขตพื้ นที่ภาคอีสานทั้ง 4 แห่ง โดยจัดกิจกรรมผ้าป่าแว่นตาเพื่ อรับบริจาคเงินจากพนักงานในกลุ่มมิตรผล และ ได้มอบเงินบริจาคทั้งหมดเพื่ อสนับสนุนโครงการฯ เป็นจ�ำนวน 699,999 บาท
คุณบรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มธุรกิจกลุ่มงาน อ้อย ในฐานะประธานจัดงานกล่าวว่า “สิง่ หนึง่ ทีม่ ติ รผลท�ำมาโดยตลอด ควบคู่ไปกับการท�ำธุรกิจตลอด 60 ปี คือการดูแลชุมชน รอบๆ โรงงาน ของเรา เพราะทุกคนคือมิตร คือเพื่อนของเรา มีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทีเ่ ราท�ำให้กบั ชุมชน เราท�ำถนน ท�ำฝาย ต่อท่อประปา ขุดบ่อบาดาล ขุด สระ สร้างโรงเรียน และอะไรทีเ่ ป็น ความต้องการของชุมชน เราก็ให้การ สนับสนุน ซึ่งบางคนก็เรียกกิจกรรมเหล่านี้ว่างานพัฒนาชุมชน แต่ถ้าให้ ทันสมัยหน่อย เขาก็จะเรียกว่า CSR แต่เราใช้คำ� ว่า “ร่วมอยู่ ร่วมเจริญ” และในโอกาสที่มิตรผลครบ 60 ปี ในปีนี้ หนึ่งในกิจกรรมที่เราท�ำให้กับ ชุมชนของเราก็คอื การมอบโอกาสให้กบั ผูม้ ปี ญ ั หาทางสายตาให้สามารถมี มุมมองทีส่ ดใสขึน้ ผ่านการสนับสนุน โครงการแว่นแก้วเฉลิมพระเกียรติฯ 46
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ด�ำเนินโครงการอยู”่ ทางด้านคุณอรรถพร วัฒนวิสทุ ธิ์ รองผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ได้กล่าวถึงที่มาของโครงการฯ ว่า “โครงการแว่นแก้ว เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น หนึง่ ในโครงการ CSR ของ กฟผ. ทีด่ ำ� เนินการเพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระองค์ทา่ น เนือ่ งใน วโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ 48 พรรษา ในปี 2548 และได้ดำ� เนิน การมาอย่างต่อเนือ่ งจนถึง ปัจจุบนั เป็นเวลากว่า 13 ปีแล้ว ด้วยปณิธาน อันแน่วแน่ในการช่วยเหลือประชาชนผูม้ ปี ญ ั หาทาง สายตาทัว่ ประเทศ โดย ความร่วมมือระหว่าง กฟผ. โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขงิ ) และ บริษทั หอแว่นกรุป๊ จ�ำกัด โดยให้บริการประชาชนมาแล้วกว่า 250,000 คน
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
มิตรอาสา
ภายใต้สโลแกน “ให้แสงสว่างแก่ดวงตา ให้แสงสว่างแก่ชวี ติ ” และในครัง้ นี้ นับเป็น ครั้งที่ 399 ของโครงการที่ได้มาให้บ ริการ ณ ที่แห่งนี้ พี่น้อง ประชาชนที่มาในวันนี้จ�ำนวน 600 คน จะได้รับการตรวจวัด สายตา พร้อมแว่นตากลับบ้านทุกคน โดยต้องขอขอบคุณกลุ่ มมิตรผลทีไ่ ด้ให้การ สนับสนุนโครงการฯ นี้ และหวังว่าจะได้มโี อกาสร่วมกันดู แลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมด้วยกันอีกในโอกาสต่อๆ ไป” M
คุณอรรถพร วัฒนวิสุทธิ์ รองผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
คุณบรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มธุรกิจกลุ่มงานอ้อย
47
สุขจากไร่
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
A PICTURE PAINTS A THOUSAND WORDS.
วัชชระ บัวศรี... สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น
จากเดิม คุณวัชชระ บัวศรี เจ้าของไร่ออ ้ ยขนาด 120 ไร่ แห่งโรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผลภูเวียง ใช้วธ ิ ก ี ารปลูกอ้อย แบบดั้งเดิมมาตลอด จนกระทั่งได้เริ่มต้นรู้จักกับมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม เพื่ อนๆ มิตรชาวไร่รอบข้างก็คุยกันว่า หลักการสี่เสานี้จะช่วยให้ผลผลิตและก�ำไรดีย่ิงขึ้น ท�ำให้คุณวัชชระ เริ่มสนใจมากขึ้นและได้มีโอกาสเข้ามาสัมผัส ่ ต ่ อสเตรเลีย อย่างใกล้ชด ิ ในวันทีม ิ รผลชวนไปดูงานด้วยกันทีอ
48
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
“ตอนแรกผมก็ แ ค่ ส นใจในหลั ก การของมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ม แต่ก็ยังไม่แน่ใจว่ามันจะใช้กับเราได้จริงหรือเปล่า ก่อน ไปออสเตรเลียก็คิดว่าที่บ้านเขาได้ผลผลิตดีคงเป็นเพราะมีพื้นที่ กว้าง เครื่องมือทันสมัยและดินมีคุณภาพกว่าบ้านเรา ไม่แน่ใจว่า จะน�ำหลักการของเขามาใช้กับเราได้จริงไหม แต่ก็ตัดสินใจลอง ไปเพราะอยากไปดูว่าอากาศที่ออสเตรเลียเขาเป็นยังไง อ้อยเขา เป็นยังไง พอไปเห็นจริงๆ แล้ว เปิดโลกมาก สร้างแรงบันดาลใจ ให้ชาวไร่อ้อยอย่างผมอยากเดินตามและก็เริ่มมั่นใจมากขึ้นว่า ถ้า ใช้หลักของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม เราน่าจะสร้างผลผลิตได้มากขึ้น และมีคุณภาพเหมือนที่ออสเตรเลียได้เหมือนกัน” จากตอนแรกที่ ค าดการณ์ ว ่ า ดิ น ที่ อ อสเตรเลี ย น่ า จะมี คุณภาพพร้อมส�ำหรับปลูกอ้อย จึงท�ำให้ได้อ้อยผลผลิตสูง แต่ เมื่อไปสัมผัสจริงแล้ว คุณวัชชระกลับพบว่า แท้จริงแล้วดินของ ออสเตรเลียไม่ได้มีคุณภาพดีกว่าดินที่ไร่ของเขาแต่อย่างใด
สุขจากไร่
“สิ่งส�ำคัญอย่างแรกในการปลูกอ้อยก็คือดิน ตอนแรกก็คิดว่า ดินของเขาคงดี แต่พอไปเห็นจริงแล้วพบว่า ดินบางแปลงคุณภาพ สู้บ้านเราไม่ได้ด้วยซ�้ำ ยิ่งไปกว่านั้นที่ดินบางแปลงของเขาไม่มีน�้ำ อุดมสมบูรณ์เหมือนบ้านเรา แต่เขาท�ำได้ เขาบริหารจัดการดิน และน�้ำจนสร้างอ้อยได้ผลผลิตดีเยี่ยม ผมก็ย้อนกลับมาคิดถึงอ้อย เราเอง ว่าเดิมทีเรารอแต่ธรรมชาติ รอว่าเมื่อไหร่ฝนมามีน�้ำจึงจะ ท�ำอ้อย แต่ที่ออสเตรเลียไม่ใช่แบบนั้น เขาหาวิธีเอาชนะธรรมชาติ ดินบ้านเขาไม่ดี แต่เขาก็มีการน�ำดินไปวิเคราะห์วิจัย ค้นหาว่ามัน ขาดสารอาหารตัวไหน ต้องเติมปุ๋ยสูตรใดเข้าไป ต้องพรวนอย่างไร จึงจะเหมาะสม เขาจึงปลูกได้” “อีกเรื่องหนึ่งคือการเก็บรักษาจุลินทรีย์ในดิน หลักสี่เสาของ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มบอกไว้ว่า เราต้องลดการไถพรวนเพื่อไม่ให้ จุลินทรีย์ตาย บ้านเราสมัยก่อนก็ไถพรวนบ่อย ทั้งเหนื่อยแรง ทั้ง ท�ำให้ดินคุณภาพแย่ลง พอเราเห็นแบบนี้เราก็คิดได้ทันทีว่า บ้าน
มันเปิดโลกให้กบ ั ผมมาก เป็นการ สร้างแรงบันดาลใจให้ชาวไร่ออ ้ ย อย่างผม อยากดำ�เนินรอยตาม ่ นว่ ่ า ถ้าใช้หลักของ และก็เริม ่ เชือมั โมเดิรน ์ ฟาร์ม เราก็นา่ จะสร้าง ผลผลิตได้ดแ ี ละมีคณ ุ ภาพเหมือน ออสเตรเลียได้เหมือนกัน
49
MITR PHOL MODERNFARM
สุขจากไร่
คุณวัชชระ บัวศรี
50
กันยายน 2559
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
สุขจากไร่
เขาท�ำอ้อยแบบป้องกัน แต่บ้านเราท�ำอ้อยแบบแก้ไข คือรอให้ เกิดปัญหาก่อนจึงค่อยแก้ แต่เขาป้องกันไม่ให้ปัญหามันเกิด ไม่ให้ มีวัชพืช ไม่ให้มีโรค ผลผลิตเขาจึงดี” นอกเหนือไปจากวิธีการบริหารจัดการไร่แบบมิตรผลโมเดิร์น ฟาร์มที่คุณวัชชระได้เห็นตอนไปศึกษาดูงานที่ออสเตรเลีย เขายังได้ เห็นด้วยตาตนเองอีกว่าวิธีการท�ำไร่แบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มนั้น ช่วยให้ชาวไร่ประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างมหาศาล “ปกติบ้านเราใส่ปุ๋ยสองกระสอบต่อไร่ บางแปลงผมใส่เข้าไป สามสี่กระสอบ ตอนนี้ผมใช้หลักมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มมาประยุกต์ ก็น�ำเอาปุ๋ยคอกมาลดใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งราคาถูกกว่าเยอะ หลักสี่เสาที่ บอกให้เราทิ้งใบอ้อยคลุมดินไว้ พอผมท�ำตาม ก็พบว่าดินมันชุ่มชื้น ขึ้นจริง ผมประหยัดค่าน�้ำที่ต้องน�ำมาลดได้เกือบ 2,000 บาทต่อไร่ พอดินดี ก็ช่วยแก้ปัญหาเรื่องวัชพืช ประหยัดค่ายาฉีดลงไปได้เอง แถมอ้อยงามกว่าเดิม” จากโอกาสที่ท�ำให้คุณวัชชระ บัวศรี ได้เดินทางไปศึกษา ดูงาน และไปสัมผัสกับไร่อ้อยสมัยใหม่เต็มรูปแบบที่ออสเตรเลีย ท�ำให้เขาเกิดแรงบันดาลใจและน�ำกลับมาประยุกต์ใช้กับไร่อ้อยของ ตนเอง จนวันนี้ คุณวัชชระ ได้ชื่อว่าเป็นหนุ่มทันสมัย เจ้าของธุรกิจ ไร่อ้อยแบบโมเดิร์นฟาร์มอย่างเต็มภาคภูมิ “การได้ไปเห็นความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นจริง ท�ำให้ผมมั่นใจว่าเรา เดินมาถูกทาง จากที่เคยท�ำไร่อ้อยแบบที่เคยท�ำตามๆ กันมา เครื่อง ไม้เครื่องมือก็ใช้เท่าที่มีอยู่ แต่ตอนนี้ผมรู้แล้วว่าเครื่องมือก็คืออาวุธ ทีส่ �ำคัญทีจ่ ะเพิม่ พลังให้การท�ำไร่อ้อยของเรามีประสิทธิภาพมากขึ้น ตอนนี้ผมก็มีเครื่องใส่ปุ๋ย เครื่องไถพรวน เครื่องสับใบสี่จาน มีหัว รถลาก มีรถตัดที่ใช้มาเป็นปีที่สองแล้ว ซึ่งปีแรกรถตัดได้ 22,300 ตัน ปีนี้ได้เพิ่มมาเป็น 25,000 ตัน ถามว่าพอใจไหม ผมค่อนข้าง พอใจ แต่รู้ว่าเรายังท�ำได้มากกว่านี้อีก ที่ออสเตรเลียเขาตัดกันได้ 50,000-60,000 ตัน แปลว่าจริง ๆ เรายังท�ำได้อีก ตอนนี้ผลผลิต ยังไม่เต็มประสิทธิภาพ ก็ถือว่าเป็นการสั่งสมประสบการณ์ คิดว่า ปีต่อๆ ไปต้องดีกว่านี้แน่นอน เพราะเรามีแนวทางให้เดินแล้ว” คุณวัชชระกล่าวสรุปให้ฟง ั อย่างภูมใิ จว่า การท�ำไร่แบบ มิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มท�ำให้เขารูส ้ ก ึ ว่า เขาไม่ได้เดินต่อสูอ ้ ยูเ่ พี ยง ล�ำพั ง ทีมงานมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มให้ความสนับสนุนและให้คำ� ปรึกษา รวมถึงติดอาวุธให้กบ ั เกษตรกรชาวไร่ออ ้ ยด้วยการเปิด โอกาสพาไปศึกษาดูงาน ท�ำให้เขาได้เห็นว่าแนวทางการท�ำไร่ออ ้ ย แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มคือของจริง…เข้าต�ำรา “สิบปากว่าไม่ เท่าตาเห็น” แต่จะให้ได้ผลดีตอ ้ งลงมือท�ำเอง M
51
สูตรสุขภาพ
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
ZIKA VIRUS
“ไข้ซิก้าระบาดหนัก”
บราซิลอ่วม ไทยประกาศเฝ้าระวัง
การไม่มีโรคถือเป็นลาภอันประเสริฐ แต่ถึงเราจะดูแลรักษาสุขภาพกันอย่างดีแล้ว แต่โรค ่ โดยเฉพาะโรคทีม ่ มเยียนเราได้ไม่ทางใดก็ทางหนึง ่ ย ต่างๆ ก็อาจแวะมาเยีย ี ง ุ ลายเป็นพาหะน�ำโรค ่ จะระบาดในช่วงหน้าฝนเป็นประจ�ำทุกปี กวนใจมิตรชาวไร่หนักเบามากน้อย อย่างไข้เลือดออก ซึง ต่างกันแล้วแต่สถานการณ์ในแต่ละปี
นอกจากยุงลายจะเป็นพาหะน�ำโรคไข้เลือดออก ซึง่ เราคุน้ เคย กันเป็นอย่างดีในแถบบ้านเรากันแล้ว หากเราข้ามโลกไปดูสถานการณ์ ในอีกซีกหนึง่ ในโซนอเมริกากลางไล่ลงมาจนถึงอเมริกาใต้ โดยเฉพาะ แถบประเทศบราซิล เพือ่ นชาวไร่ทปี่ ลูกอ้อยมากทีส่ ดุ ในโลก วันนีก้ ็ ก�ำลังประสบปัญหาทีม่ าจากเจ้ายุงลายเป็นพาหนะน�ำเชือ้ ไวรัสมาระ บาดสู่คนอย่างหนักเช่นกัน ในชื่อที่หลายคนเรียกกันจนติดปากตาม ถิน่ ต้นทางระบาดของโรคว่า “ไข้ซกิ า้ ” ฉบับนีเ้ ราจะพามิตรชาวไร่มา ท�ำความรูจ้ กั และเกาะติดสถานการณ์การระบาดของไข้ซกิ าร์กนั ครับ 52
ไข้ซิก้า หรือ ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) กลุ่มเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ ไนล์ ไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ไวรัส ซิก้าสามารถติดต่อได้จากการถูกยุงลายกัด ผู้ป่วยจะมีไข้ อาจมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรง มากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน แต่ความรุนแรงที่ทั่วโลกกังวล กันในขณะนี้คืออาการของโรคที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับกลุ่มสตรี มีครรภ์และทารกแรกเกิด
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าเชื้อ ไวรัสซิก้าได้ระบาดในแถบทวีปอเมริกาใต้อย่างหนักมาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558 โดยเฉพาะในประเทศบราซิลและโคลอมเบีย ซึ่งประเทศบราซิลถือเป็นประเทศที่มีการระบาดหนักที่สุดจนถึง ขั้ นต้ อ งประกาศภาวะฉุก เฉิน หลังพบเด็ก ทารกแรกเกิด ติ ด เชื้ อ และมีความผิดปกติทางสมองเกือบ 4,000 ราย ส่วนในประเทศ โคลอมเบียมีการคาดการณ์ว่าการระบาดของไวรัสซิกาอาจท�ำให้ มี ผู้ ป ่ ว ยถึ ง 600,000-700,000 คน ทางกระทรวงสาธารณสุ ข โคลอมเบียจึงออกประกาศแนะน�ำให้สตรีเลื่อนการตั้งครรภ์ออก ไป 6-8 เดือนเพื่อหลีกเลี่ยงการติดเชื้อไวรัสดังกล่าว โดยจากการ รายงานของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค หรือ CDC (Centers for Disease Control and Prevention) ประเทศสหรัฐอเมริกา ณ วันที่ 26 พฤษภาคม 2559 พบว่า ไวรัสซิก้ามีพื้นที่ระบาดอยู่ใน เขต 48 ประเทศในโซนอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลก (WHO) ยังได้ประกาศให้การ ระบาดของไวรัสซิกา เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่าง ประเทศ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เพื่อให้นานาชาติร่วม มือในการปรับปรุงและส่งเสริมการตรวจหาผู้ติดเชื้อ ในส่ ว นของประเทศไทย โดยกรมควบคุ ม โรค กระทรวง สาธารณสุข ระบุว่า จริงๆ แล้วไวรัสซิกาสามารถพบได้ในทุกภาค ของประเทศไทย โดยพบรอยโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2506 แต่มาพบผู้ ป่วยรายแรกเมื่อปี พ.ศ.2555 และตั้งแต่นั้นมาก็พบผู้ป่วยเฉลี่ยปีละ 2-5 ราย ซึ่งผู้ป่วยทุกรายสามารถหายได้เอง และยังไม่เคยมีรายงาน การติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ จนท�ำให้เด็กเกิดความพิการ
สูตรสุขภาพ
รับมือไข้ซิก้า • ไวรัสซิก้าติดต่อจากการถูกยุงลายกัด • ควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้าย ไข้หวัดใหญ่ • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวัน ถึงสัปดาห์ • อาการของโรคไม่รุนแรงและหายได้เอง ส่วนน้อยจะมีอาการหนัก และต้องรักษาในโรงพยาบาล • ยังไม่มีการรักษาจำ�เพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่ และไข้เลือดออก • ป้องกันยุงลายกัด และทำ�ลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ส�ำหรับสถิตใิ นปี 2559 ของประเทศไทย กรมควบคุมโรค แถลงว่าพบผูป ้ ว ่ ยชาย 2 ราย แต่เข้ารับการรักษาจนหายดีแล้ว อย่างไรก็ตามแม้จะยังไม่พบการระบาดในประเทศไทย แต่กระทรวง ้ ไวรัสซิกา้ ” เป็น สาธารณสุขก็ได้ออกประกาศจัดให้ “โรคติดเชือ ่ หนึงในโรคติดต่อที่ตอ ้ งแจ้งความ และขอให้ประชาชนอย่าตื่น ตระหนก เพราะถือเป็นสถานการณ์ปกติ โดยทัว ้ ว ่ ยไวรัส ่ ไปแล้วผูป ซิกา้ สามารถหายได้เองใน 7 วัน ส่วนทีเ่ กิดการระบาดจนองค์การ อนามัยโลกออกมาประกาศว่าเป็นภาวะฉุกเฉินนัน ้ เป็นเพราะเด็ก ่ ลอดออกมามีความพิ การทางสมองจึงต้องออกประกาศดัง ทีค กล่าว โดยก�ำชับให้มก ี ารดูแลหญิงตัง ้ ครรภ์เป็นพิ เศษแล้ว และไม่ ้ ะเข้ามาในลักษณะข้ามประเทศ หรือ Case Import กังวลว่าโรคนีจ เพราะในประเทศไทยก็มรี อยโรคอยูเ่ พี ยงแต่สามารถควบคุมได้
M
53
หลากสไตล์มิตรชาวไ่ร่
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
LIVER RECOVERY
6 วิธี ้ ฟืนฟูตับ
ตับเป็นอวัยวะส�ำคัญมาต่อร่างกาย เปรียบเสมือน ่ ะคอยก�ำจัดสารพิ ษและของเสีย โรงงานก�ำจัดขยะ ทีจ ออกจากร่างกาย แต่ไม่ใช่เพี ยงแค่นน ้ั ตับยังเป็นแหล่ง สังเคราะห์พลังงานต่างๆ ทีร่ า่ งกายต้องการ เช่น โปรตีน น�้ำตาล และสร้างน�้ำดีที่ใช้ย่อยไขมัน ลองคิดกันดูว่า ถ้าหากเราน�ำสารพิ ษเข้าในร่างกายปริมาณมากๆ จนตับ ่ มประสิทธิภาพ และไม่สามารถก�ำจัดสารพิ ษ ของเราเสือ ออกไปได้หมด ร่างกายของเราจะเป็นอย่างไร?
สารพิษที่มีอยู่ใน ‘เหล้า’ คือสาเหตุส�ำคัญอย่างหนึ่งที่ท�ำร้าย ตับมากที่สุด เพราะเหล้าไม่มีสารอาหารอะไรนอกจากเป็นสารพิษ ที่ต้องถูกส่งไปให้ตับท�ำลาย แต่เมื่อมีในปริมาณที่มากเกินกว่าที่ตับ จะรับมือได้แล้วนั้น ตับก็กลายเป็นผู้ถูกท�ำร้ายจนอักเสบเกิดรูรั่ว ท�ำให้ของดีอย่างเอนไซม์ในตับรั่วไหลไปตามกระแสเลือด ดังนั้น หากตรวจพบเอนไซม์ตับในเลือดเยอะแปลว่า “ตับของคุณก�ำลัง มีปัญหาแน่นอน” ซึ่งในปัจจุบันนี้มีการส�ำรวจพบว่า วัยรุ่นไทย แม้จะยังอายุน้อยแต่ก็เป็นโรคความดันโลหิตสูง และส่วนใหญ่ ก็มีสาเหตุมาจากการดื่มเหล้า โดยไม่รู้ตัวเลยว่าตัวเองก�ำลังเสี่ยง ต่อการเป็นหลายโรครุมเร้ามากมาย เช่น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคหัวใจ โรคตับแข็ง หรือ มะเร็งตับ หลายคนอาจจะบอกว่า “ก็กินมาตั้งนานแล้วไม่เห็นจะเป็น อะไร ยังแข็งแรงอยู่” แต่จริงๆแล้ว พิษของแอลกอฮอล์นั้น จะไม่ได้ แสดงในทั น ที แต่ จ ะไปท� ำ ลายเซลล์ ที่ อ ยู ่ ภ ายในตั บ ให้ อ ่ อ นแอ และตายไปเรื่อยๆ ซึ่งหากเซลล์ตับตายลง จะไม่สามารถสร้าง ใหม่ได้อีก เมื่อตับของเราเสื่อมประสิทธิภาพ ผลที่ตามมาร่างกาย ของเราจะค่อยๆ แสดงออกให้เห็น เช่น เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ อ่อนเพลียง่าย ซึ่งถ้าเรายังเร่งท�ำร้ายตับในระยะยาวก็จะส่งผล รุนแรงถึงชีวิต จึงไม่แปลกที่นักดื่มทั่วไปจะไม่ทันระวังตัว กว่าจะ รู้ตัวก็อาจสายเกินแก้ ท�ำได้เพียงกินยา รักษาตัว ประทังชีวิตไป เท่านั้น ตับก็เปรียบเสมือนเครื่องยนต์ หากคุณใช้รถอย่างไม่ถนอม 54
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
ตามสมรรถนะของมันล่ะก็ อายุการใช้งานมันก็จะสั้นลงตามไป ร่างกายของเราก็เช่นกัน ดังนั้น ลองถามใจตัวเองดูว่า “อยากเลิก ก่อนเป็น หรือ รอให้เป็นแล้วค่อยเลิก” แต่กย็ งั ไม่สายจนเกินไป หากจะเริม่ ฟืน้ ฟูตบั ในตอนนี้ รู้หรือไม่ ‘ตับ’ สามารถฟื้นฟูตัวมันเองได้ง่ายๆ เพียงแค่คุณไม่ท�ำร้ายมันเพิ่ม และดู แ ลมั น ให้ ดี เซลล์ ที่ เ คยอ่ อ นแอ ก็ จ ะกลั บ มาแข็ ง แรง ได้ดังเดิม เรามีเคล็ดลับในการดูแลและฟื้นฟูตับของเราให้กลับมา แข็งแรงอีกครั้ง ด้วยวิธีต่อไปนี้ • เลิกดื่มเหล้าและแอลกอฮอล์ทุกชนิดที่เป็นตัวบ่อนท�ำลายตับ แค่คุณ “พักตับ” เลิกดื่ม ก็ช่วยให้ตับไม่ต้องท�ำงานหนักและ ฟื้นฟูกลับมาแข็งแรงได้อย่างรวดเร็ว • เข้านอนตั้งแต่ 22.00 น. เพราะในช่วงเวลา 22.00-2.00 น. เป็นช่วงที่ตับจะซ่อมแซมตัวเองได้ดีที่สุด
หลากสไตล์มิตรชาวไ่ร่
• ไม่ ค วรทานยาหากไม่ จ�ำ เป็ น เพราะยาเป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ลายตั บ โดยตรง • ขับถ่ายให้เป็นเวลา เพราะอาการท้องผูกจะท�ำให้ตับท�ำงาน มากขึ้น • ไม่ควรทานอาหารทีป่ รุงแต่ง เช่น ใส่สผี สมอาหาร ใส่วตั ถุกนั เสีย และน�้ำตาลเทียม • อย่ า ปล่ อ ยให้ เ กิ ด โรคอ้ ว น และอย่ า กิ น อาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตสูงในปริมาณมาก เพราะอาจจะเสี่ยงเป็นไขมัน แทรกในตับได้ ่ เดียว ไม่ได้มอ ่ ตับของเรามีเพี ยงหนึง ี ะไหล่สำ� รอง ทีเ่ มือ ่ นได้ ดังนัน เสียไปก็เปลีย ั อยูก ่ บ ั เราไปนานๆ ้ มาถนอมรักษาให้ตบ ่ ณ เพื่ อตัวคุณเองและคนทีค ุ รักไปพร้อมกันครับ M
55
MITR PHOL MODERNFARM
56
กันยายน 2559
กันยายน 2559
2
MITR PHOL MODERNFARM
ทำ�ไร่ รายได้
ทฤษฎีสองลดสองเพิ่มของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
ผลลัพธ์ของเกษตรสมัยใหม่
พร้อมพามิตรชาวไร่ก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 แล้ววันนี้
”
เราภูมิใจ ที่ได้ทำ�ให้มิตรชาวไร่ มีความสุขที่ยั่งยืน
”
57
MITR PHOL MODERNFARM
BEN &
THE GANG
58
กันยายน 2559
กันยายน 2559
MITR PHOL MODERNFARM
AD 8 59
MITR PHOL MODERNFARM
กันยายน 2559
AD 9 60