วารสาร มิตรชาวไร่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2560

Page 1

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 1

4/4/17 11:03 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 2

4/4/17 11:03 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 3

4/4/17 11:03 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 4

4/4/17 11:03 AM


กุมภาพันธ์ 2560

หนึ่งมิตรชิดใกล้

MITR PHOL MODERNFARM

ใช่ที่ 2 : วิธีที่ใช่ วิธีที่ ใ ช่ นี่ ก็ช่วยมิตรชาวไร่ได้หลายเรื่องเลยครับ นอกจาก เราจะให้ น�้ำ ได้ ทันในช่วงเวลาที่อ้อยตอต้องการน�้ำในแต่ละช่วงแล้ว เราก็ ต ้ อ ง เ ลื อ ก วิ ธี ใ ห้ น�้ ำ ที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ กั น ด้ ว ย จะน�้ำราด น�้ำ พุ่ งหรือน�้ำหยด ถ้าให้ผมแนะน�ำก็ต้องใช้น�้ำหยด สิ ค รั บ อ้ อ ยได้ น�้ ำ แบบเต็ ม เม็ ด เต็ ม หน่ ว ยค่ อ ย ๆ ซึ ม ลงผิ ว ดิ น ในอัตราที่ พ อเหมาะกับที่อ้อยตอของเราต้องการ ถ้าเป็นน�้ำราดนี่ ยังไม่ทนั จะซึมลงดินเลยครับ ยิง่ อากาศแล้ง ๆ พระอาทิตย์ขยันท�ำงาน น�้ำนี่ระเหยไปในอากาศหมดกันพอดี มีนำ�้ เท่าไหร่ก็ไม่เคยพอครับ อีกอย่างน�ำ้ หยดนีช่ ว่ ยเราประหยัดน�ำ้ ได้มากกว่าน�ำ้ ราดถึง 5 เท่าเลย นะครับ พูดง่าย ๆ น�้ำในปริมาณเท่ากัน ถ้าให้นำ�้ ราด ก็ให้อ้อยได้แค่ ไร่เดียว แต่ถ้าเป็นน�้ำหยด ให้ได้ถึง 5 ไร่ แล้ววิธีไหนดีกว่ากันละครับ

ก็ ต ้ อ งใส่ ต ามสั ด ส่ ว นที่ ผู ้ เชี่ ย วชาญแนะน� ำ นะครั บ ให้ ม ากไป ก็สูญเปล่า คือเสียเงินเปล่า ให้น้อยไปก็ไม่พอ อันนี้ส่งผลกับผลผลิต เต็ม ๆ แน่นอนครับ อย่าลืมนะครับว่า “อ้อยตอคือก�ำไร” แค่เราไว้ตอเพิม่ ขึน้ ได้อกี อย่างน้อย 1 ตอ แค่นี้ก็เท่าเพิ่มเงินเข้ากระเป๋าได้สบายถือเป็นก�ำไร ต่อเนื่องโดยไม่ต้องลงทุนลงแรงจริงไหมละครับมิตรชาวไร่ ฝากไว้น ะครั บ เทคนิคการบ�ำรุงอ้อยตอ จ�ำกันให้ขึ้นใจ “ถ้าอ้อยตอต้อง 3 ใช่ ไม่ใช่ 3 ช่านะครับ” M

ใช่ที่ 3 ปริมาณที่ใช่ ปริมาณที่ใช่นี่เข้าใกล้เรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ ในกระเป๋ามิตรชาวไร่ ที่ สุ ด นะครั บ เพราะนอกจากเราจะรู ้ ช ่ว งเวลาว่ า ช่ ว งไหน ต้ อ งท� ำ งานอะไร และใช้ วิ ธี ไ หนแล้ ว ยั ง ต้ อ งก� ำ หนดปริ ม าณ ที่เหมาะสมด้วย อย่างเรื่องให้ปุ๋ยนี่เห็นได้ชัดเจน เพราะปุ๋ยขาย เป็ น กระสอบ 1 กระสอบก็ มี 50 กก. จะกระสอบละกี่ บ าท ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ สู ต รด้ ว ย เราต้ อ งรู ้ น ะครั บ ว่ า ช่ ว งไหนที่ อ ้ อ ยตอ ต้ อ งการปุ ๋ ย สู ต รใดมาช่ ว ยบ� ำ รุ ง และจะใช้ กี่ ก ระสอบต่ อ ไร่ 05

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 5

4/4/17 11:03 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 6

4/4/17 11:03 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

CONTENTS

CONTENTS

Special Scoop มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม Cover Story นำ�้ เปลี่ยนชีวิต หมอดิน อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง วิถีคนสู้ Eco Focus ฮีโร่มิตรชาวไร่ โลจิสติกส์ บุรุษชุดเขียว Ironman ของเล่นชาวไร่ สุขจากไร่ สูตรสุขภาพ หลากสไตล์มิตรชาวไร่

08 10 12 14 22 24 26 30 34 36 38 42 44 46 50 52

7

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 7

4/4/17 11:04 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 8

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

หลังจากน�ำองค์ความรู้แบบใหม่มาปรับใช้ให้เข้ากับสภาพ ภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย จนเกิดผลส�ำเร็จ กลายเป็น มิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์มอย่างทีเ่ พือ่ น ๆ มิตรชาวไร่คนุ้ เคยกัน สร้ า งความประหลาดใจให้ กั บ ผู ้ ที่ เริ่ ม น� ำ เอาวิ ธี ป ลู ก อ้ อ ยแบบ โมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม มาใช้ ก ่ อ นอย่ า งออสเตรเลี ย ท� ำ ให้ ช าวไร่ อ ้ อ ย จากรัฐควีนส์แลนด์ลงทุนบินข้ามน�้ำข้ามทะเล เพื่อมาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ และเทคนิ ค การท� ำ ไร่ อ ้ อ ยสมั ย ใหม่ แ บบมิ ต รผล โมเดิรน์ ฟาร์มกันถึงโรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผลด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เลยล่ะครับ “ชาวไร่อ้อยจากออสเตรเลียที่มาเยี่ยมชมไร่อ้อยที่ด่านช้าง ของเราครั้ ง นี้ มี อ ยู ่ 17 ราย ส่ ว นใหญ่ ก็ เ ป็ น ชาวไร่ อ ้ อ ยที่ อ ยู ่ ใ น รั ฐ ควี น ส์ แ ลนด์ ซึ่ ง สนใจการท� ำ ไร่ อ ้ อ ยที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพแบบ มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม จะได้ น� ำ กลั บ ไปใช้ ใ นไร่ อ ้ อ ยของเขาบ้ า ง จริ ง ๆ ก็ มี ก ารแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ แ บบนี้ ทุ ก ปี ตอนแรก ผู ้ เชี่ ย วชาญจากออสเตรเลี ย บิ น มาช่ ว ยในเรื่ อ งวิ ธี ก ารปลู ก อ้ อ ย แบบโมเดิร์นฟาร์ม แต่ช่วงปีหลัง ๆ กลับกันกลายเป็นว่าชาวไร่อ้อย ออสเตรเลียต้องบินมาดูงานกับเราแทน” คุณอภิวัฒน์ บุญทวี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานอ้อย ภาคกลาง ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำเยี่ยมชมเปิดประสบการณ์การท�ำไร่ อ้อ ยสมั ย ใหม่แ บบมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ให้ กั บ ชาวไร่ อ ้ อ ย จากแดนจิงโจ้ เล่าให้บรรณาธิการมิตรชาวไร่ฟังเกี่ยวกับพัฒนาการ ที่เกิดขึ้นกับโครงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในครั้งนี้ “ส่วนใหญ่เขาจะมาดูวิธีการน�ำอ้อยไปแปรรูปต่อจนได้เป็น น�้ำตาลทราย เพราะบ้านเขาไม่ค่อยเหมือนประเทศเรา ส่งอ้อย เข้าโรงงานแล้วท�ำเป็นน�้ำตาลทรายดิบ อ้อยก็จบ พอมาดูงานที่เรา เขาได้เห็นกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน�้ำไปจนถึงปลายน�้ำแล้วก็ ตื่นเต้น อีกอย่างที่เขามาดูงานกันคือวิธีการปลูกอ้อยแบบมิตรผล โมเดิร์นฟาร์มที่เพิ่มผลผลิตได้เยอะกว่าการปลูกอ้อยแบบเดิมมาก” โดยคุ ณ อภิ วั ฒ น์ ได้ ข ยายความเพิ่ ม เติ ม ว่ า ที่ ป ระเทศ ออสเตรเลียส่วนใหญ่ชาวไร่อ้อยจะท�ำไร่อ้อยด้วยวีธีการสมัยใหม่

SPEACIAL SCOOP

อยูบ่ างส่วนแล้ว ท�ำให้ถา้ เทียบผลผลิตเมือ่ เปลีย่ นมาเป็นการปลูกอ้อย โมเดิร์นฟาร์มแบบเต็มรูปแบบ ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นจะไม่ค่อยแตกต่าง กันมาก การที่เขามาดูงานที่ประเทศไทย ท�ำให้เขาเห็นประสิทธิภาพ ของการท�ำอ้อยแบบโมเดิร์นฟาร์มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ส�ำหรับความร่วมมือระหว่างกันในอนาคตนัน ั น์ ้ คุณอภิวฒ ได้ เ ผยว่ า “ที่ เ ราด� ำ เนิ น การมาแล้ ว คื อ ให้ ช าวไร่ อ้ อ ยของเรา ่ ระเทศออสเตรเลีย ไปดูงานการปลูกอ้อยแบบโมเดิรน ์ ฟาร์มทีป ่ น ่ นประสบการณ์กน สลับกับการให้ชาวไร่ออ ้ ยจากทีน ั้ มาแลกเปลีย ั ่ ่ ทีประเทศไทย ซึงเป็นการพั ฒนาความรูด ้ า้ นการปลูกอ้อยแบบใหม่ ่ ่ ก ไปพร้อม ๆ กันทัง ี ฝ่ายหนึง ้ สองฝ่าย โดยการเสริมในส่วนทีอ ยั ง ขาด หรื อ การน� ำ ความรู้ ใ หม่ ๆ ที่ไ ด้ ไ ปต่ อ ยอดเพิ่ มเติ ม ่ มีจด ในภาพรวมแล้วเป็นการสร้างพั นธมิตรในด้านอ้อย ซึง ุ มุง ่ หมาย ่ อย่ างเดี ยวกั น คื อการปลู ก อ้ อ ยทีมี ประสิ ท ธิ ภาพ ลดต้นทุน ลดเวลาการท�ำงาน เพิ่ มผลผลิต และเพิ่ มรายได้ให้กบ ั ชาวไร่ออ ้ ย ให้สมกับเป็นการปลูกอ้อยแบบยัง ่ ยืนในอนาคต” M

09

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 9

4/4/17 11:04 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 10

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม

ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมการเกษตรในปั จ จุ บั น ไ ม่ว่าจะเป็นโรงงานน�้ำตาลหรือท�ำไร่อ้อยนั้น ต้องคิดให้รอบด้าน เ พราะเราไม่ ส ามารถอยู ่ ค นเดี ย วในโลกใบนี้ ไ ด้ จึ ง ต้ อ งมอง ค นรอบข้างด้วย ทั้งชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้ขับเคลื่อน ไ ปพร้อมกันเหมือนน�้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า อยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูล ด้วยความถ้อยทีถ้อยอาศัย เพื่อให้ทั้งเราทั้งโลกใบนี้อยู่ต่อไปได้ จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน นี่คือเจตนารมณ์ของมิตรผลที่ได้พัฒนาแนวทางการท�ำไร่ สมัยใหม่ในแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มขึ้นมาและได้ชวนมิตรชาวไร่ เ ข้ามาร่วมเดินบนเส้นทางการท�ำไร่อ้อยยั่งยืนเส้นทางเดียวกัน กั บ เรา ซึ่ ง สอดรั บ กั บ หลั ก 5 ข้ อ ของ BONSUCRO ได้ แ ก่ หลักปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเคารพสิทธิมนุษยชนและกฎหมาย แ รงงาน หลั ก บริ ห ารจั ด การปั จ จั ย การผลิ ต ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หลักบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ และ หลักปรับปรุง ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ​และด้วยรูปแบบการท�ำไร่สมัยใหม่ตามแนวทางของมิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม ท�ำให้มั่นใจได้ว่า อ้อยทุกล�ำ ที่มาจากไร่ของเราและ มิตรชาวไร่ เป็นอ้อยดี มีคณ ุ ภาพ เป็นอ้อยรักษ์โลกทีส่ ร้างความยัง่ ยืน ให้กับ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมได้จริง ​นี่คือสิ่งดี ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับมิตรชาวไร่ตามมาตรฐาน ของ BONSUCRO M

11

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 11

4/4/17 11:04 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 12

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

และบนพื้นที่แต่ละหลุม จะมีพืช 4 กลุ่มที่ให้ผล 4 ระยะ เนื่องจากแต่ละชนิดก็จะมีหน้าที่ในหลุมแตกต่างกันไป ดังนี้ 1. ไม้พี่เลี้ยง หน้าที่ของพืชชนิดนี้คือช่วยดูแลพืชชนิดอื่น ๆ โดยให้ ร ่ ม เงา ในประเทศไทย เราใช้ ต ้ น ตะขบหรื อ กล้ ว ยพั น ธุ ์ อะไรก็ได้ แต่หากจะให้ดีและเป็นที่นิยมกันให้เลือกกล้วยน�้ำว้า เพราะกล้วยจะสะสมน�้ำในหน้าฝน และคายน�้ำออกในหน้าแล้ง เป็นการช่วยให้ความชุ่มชื้นแก่พืชอื่น ๆ ในหลุมเดียวกันด้วย 2. ไม้ยืนต้น 4 ต้น จะเป็นไม้ใช้สอยหรือไม้มีผลเพื่อกินก็ได้ แต่ให้เป็นไม้อายุยืน 10-20 ปีขึ้นไป เช่น ตะเคียน ยางนา ขนุน สักทอง เป็นต้น และให้ปลูกอยู่ต้นละมุม อย่างละต้น เพื่อให้ ไม่แย่งอาหารกัน 3. ไม้ข้ามปี จะเลือกไม้ที่เอาตัวรอดได้ดี สามารถเก็บผลหรือ ยอดมารับประทานได้นานพอสมควร เช่น ผักหวาน มะละกอ มะรุม ชะมวง ชะอม เป็นต้น 4. ไม้ ร ายวัน ใช้ไ ม้ล้ม ลุก ปลูก ง่าย อายุ สั้ น แม้ จ ะต้ อ ง คอยปลูกและดูแลใกล้ชิด แต่เก็บผลได้ไว เช่น ผักบุ้งจีน ฟักทอง คะน้า พริก มะเขือ ตะไคร้ โหระพา กะเพรา แตงไทย แมงลัก แตงกวา ข่า เป็นต้น

ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม

จะเห็ น ว่ า ประโยชน์ ที่ ไ ด้ จ ากพื ช 4 กลุ ่ ม นี้ มี ร ะยะเวลา แตกต่ า งกั น ไป ผู ้ ปลู ก ก็ จ ะได้ ผ ลตอบแทนนอกจากดอกผลแล้ว สิ่ ง ที่ จ ะได้ ต ามมาก็ เช่ น ลดรายจ่ า ย เพิ่ ม รายได้ ได้ ไ ม้ ใช้ ส อย ในระยะยาว ปรับปรุงดินให้ร่วนซุย ลดการคุกคามจากแมลงศัตรูพืช อีกทั้งประหยัดน�้ำและเวลากว่าการปลูกแยกกัน เอาล่ะ เมื่อจะเริ่มลงมือกันแล้ว ก็มีหลักวิชาจากผู้รู้เรียบเรียง ไว้เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้ 1. เลือกสถานที่ขุดหลุมเอาตามใจชอบ ขนาด 2x2 เมตร หรือเล็กสุดคือ 1x1 เมตร 2. ขุดหลุมให้ลึกประมาณ 1 เมตร 3. รองพื้นด้วยฟางข้าว ตามด้วยปุ๋ยหมักชีวภาพหรือปุ๋ยคอก และดิน ท�ำเช่นนี้จนครบ 3 ครั้ง 4. เมื่อท�ำเสร็จแล้วให้รอสัก 1 เดือนให้หลุมยุบก่อนให้เริ่ม ลงมือปลูกได้ (หากปลูกเลยให้เจาะรูระบายความร้อน 4 จุดด้วย) 5. การปลูกนั้น ให้น�ำกล้วยลงปลูกตรงกลาง โดยไม่จ�ำเป็น ต้องขุดลึกมากนัก 6. ไม้ ยื น ต้ น 4 ชนิ ด ให้ ป ลู ก ที่ มุ ม ทั้ ง 4 มุ ม (อย่าลื ม เลือกให้เป็นคนละชนิดกัน) 7. ไม้ข้ามปี และไม้รายวัน ให้ปลูกกระจายให้ทั่วในพื้นที่ 8. น�ำใบไม้หรือฟางข้าวคลุมดินไว้ให้ทั่ว 9. รดน�้ำทุกวัน วันละ 1-3 ครั้งแล้วแต่ฤดู 10. หมั่ น ดู แ ลพวกไม้ ร ายวั น และไม้ ข ้ า มปี ใ นระยะแรก หลังจาก 6 เดือนไปแล้ว ไม้ข้ามปีจะดูแลง่ายขึ้นมาก ขั้นตอนง่าย ๆ ของ “หลุมรวมมิตร” ก็มีเพี ยงเท่านี้ เทียบไม่ได้เลยกับประโยชน์ทจ ี่ ะได้รบ ั มิตรชาวไร่ทา่ นใดลงมือท�ำ “หลุมรวมมิตร” กันแล้ว ก็อย่าลืมบอกกล่าวกันมาบ้างเด้อ M

13

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 13

4/4/17 1:36 PM


MITR PHOL MODERNFARM

Cover Story

กุมภาพันธ์ 2560

THE POWER OF TEAM

พลังการรวมกลุ่ม “หนองแซงโมเดล“ ของมิตรชาวไร่

สมาชิกกลุ่มหนองแซงโมเดล

| นายศราวุฒิ ค�ำสอน | นายชัยวัฒน์ สีหะนาม | นายทองลี มานะดี | นายจักรพงษ์ แก้งค�ำ | นางอมร สุภาพเพชร | | นายพิ มล สุภาพเพชร | นายณัฐพล สุภาพเพชร | นายเป แก้งค�ำ | นายสุรต ั น์ ศรีอด ุ ร | นายสายันต์ นิยมธรรม | | นายสมพงษ์ ชมภูผว ิ | นายสมพงษ์ อูเ่ หล็ก |

14

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 14

4/4/17 11:04 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 15

4/4/17 11:04 AM


Cover Story

MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

เงินหมุนเวียนในกลุ่มต่อปี จะอยู่ท่ี แปดหลักขึ้นอยู่แล้ว ผมคนเดียว ก็สิบล้าน ค่ารถตัดเขาจ้างกันทีก็หกหมื่น ค่าตัดก็ 180 บาท/ตัน รายได้ก็ประมาณ 6-7 ล้านต่อปี ่ นีเฉพาะรถตัดนะ หมุนเวียนกันในกลุ่ม ทั้งหมดก็คงเหยียบร้อยล้าน

16

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 16

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

Cover Story

​เช่นเดียวกับคน “คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย สามคน ส บาย” ยิ่ ง มี ค นมาร่ ว มมื อ กั น ท� ำ งานสร้ า งสรรค์ ม าก ๆ พ ลั ง ของการรวมกลุ ่ ม นี่ ล ่ ะ จะช่ ว ยให้ เ ราผ่ า นพ้ น อุ ป สรรค ต่าง ๆ นั้นไปได้ ​เช่ น เดี ย วกั บ เรื่ อ งราวของมิ ต รชาวไร่ ค นเก่ ง ที่ ขึ้ น หน้ า ปก ของเรา พ่อพิมล สุภาพเพชร เกษตรกรจาก บ้านหนองแซง ต�ำบล บ้านแก้ง อ�ำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ กับเรื่องราวของการรวมกลุ่ม เกษตรกรตามหลักการ 5 ประการของ “หนองแซงโมเดล” นั่นคือ 1.รวมคน 2. ร่วมคิด 3. ร่วมท�ำ 4. ร่วมรับ 5. ร่วมอยู่ร่วมเจริญ ซึ่ ง มั น ดี ม าก ๆ จนพ่ อ พิ ม ลถึ ง กั บ ออกปากว่ า “คิ ด ดู จะท�ำได้ยังไง ถ้าไม่มีกลุ่ม” ใ นอดี ต จากที่ เ คยโดนโกงเงิ น มั ด จ� ำ ค่ า ตั ด อ้ อ ย ในวั น นี้ พ่อพิมล คือผู้น�ำกลุ่มหนองแซงโมเดล ที่มีเงินหมุนเวียนในกลุ่ม

วิ ธี ก าร ใช้ เ ครื่ อ งจั ก รก่ อ น ในประเทศผมก็ ไ ปดู ไปอยู ่ เรื่ อ ย ๆ ก็ไปดูมาเปรียบเทียบกันดู แถวก�ำแพงเพชร ไปแลกเปลี่ยนความคิด ดู เ ครื่ อ งจั ก รเขา ดู ข องแปลก ๆ ที่ ไ ม่ เ คยรู ้ ม าก่ อ น แล้ ว ก็ เอากลับมาคิด” แต่ล�ำพังคิดจะพึ่งพาแต่เครื่องจักรก็คงไปไม่รอด เพราะต้อง ใช้ต้นทุนมหาศาล เขาจึงเริ่มคิดถึงแนวทางการรวมกลุ่ม ซึ่งจะท�ำให้ การท�ำไร่อ้อยมีความยั่งยืนกว่า วิธีคิดแบบ “หนองแซงโมเดล” จึงเริ่มต้นขึ้น ด้วยความคิด ที่เรียบง่าย แต่มีพลังมาก นั่นคือเริ่มมาจากการ รวมคน ร่วมคิด และร่วมท�ำกันก่อน “ก็เริ่มตั้งแต่ 5 ปีก่อน จากกลุ่มเล็ก ๆ โรงงานก็มาส่งเสริม พาไปดูงาน พอเริ่มปีที่ 2-3 งานมันเริ่มใหญ่ขึ้น ทางออกตอนนั้น คือมาคุยกัน ท�ำกลุ่มกันอย่างจริงจังมากขึ้น”

ระดับเลขแปดหลักต่อปี เรื่องราวอันน่าเหลือเชื่อนี้อันเกิดจาก หลักการ “หนองแซงโมเดล” เกิดขึ้นได้อย่างไร มิตรชาวไร่ท่านนี้ แบ่งปันประสบการณ์น่าสนใจให้เราฟัง “ เราก็ท�ำอ้อยมานาน ปัญหาหลักคือเรื่องแรงงาน เราเคย ไปจ้างปีละเป็นร้อยคนนะ มาตัดอ้อยเนี่ย เขาเบิกเงินมัดจ�ำไป ล่วงหน้าแล้วก็ไม่มา เสียเงินมัดจ�ำ พอหลัง ๆ มา ผลผลิตเราก็ดีมาก แต่ตัดอ้อยไม่ทัน หลังสงกรานต์แล้วอ้อยยังไม่หมด ค่าแรงงานแพง บางทีก็ไม่มา โกงเราอีกต่างหาก” พ่อพิมลเริ่มต้นด้วยการพูดถึงปัญหาเรื่องการมัดจ�ำค่าอ้อย ที่ เ คยประสบมา และนั่ น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ เขาคิ ด เรื่ อ ง การเปลี่ยนแปลงมาใช้เครื่องจักรช่วยงานในไร่อ้อยมากขึ้นจาก การสนับสนุนของโรงงาน “ เราก็ ไ ปดู ง านหลาย ๆ ที่ ปี พ .ศ.2554 ได้ ไ ปดู ง านที่ ออสเตรเลี ย ตอนนั้ น ก็ คิ ด ว่ า เราจะเอาอยู ่ แ ล้ ว ล่ ะ แต่ ต ้ อ งไปดู

หลักการคือช่วยเหลือสนับสนุนกัน แลกเปลี่ยนทั้งความรู้ อุปกรณ์เครื่องจักร ที่ส�ำคัญคือต้องได้ผลประโยชน์ร่วมกัน “แต่ก่อนพวกรายเล็ก ๆ พวกแรงงานเขาก็จัดการได้ ต่อมา ก็เริ่มล�ำบาก เพราะแรงงานก็แพง ตอนนั้นพวกเขาก็เริ่มมีรถกล่อง (รถที่ใช้ในการเก็บอ้อยที่ตัดแล้ว) กันแล้ว ก็เอ๊ะ รถกล่องที่มีอยู่ จะเอาไปท�ำอะไร ถ้าอยากจะใช้รถตัดน่ะ ผมก็ว่า เอ้า คุณมีรถกล่อง คุ ณ ก็ เ อามาสิ ผมมี ร ถตั ด คุ ณ มี ร ถกล่ อ ง มี ร ถไถก็ ม าร่ ว มกั น เป็ นลักษณะท�ำเป็นกลุ่มทุกคนมีรายได้ร่วมกัน มีรถกล่องคันนึง ก็ เ อาค่าบรรทุ ก ไป ผมก็ เ อาค่ า ตั ด มา ค่ า เตรี ย มดิ น ค่ า รถไถ คุณก็เอาไป ลักษณะนี้ แบ่งปันผลประโยชน์กัน” ที่สุดกลุ่มนี้ก็เริ่มเติบโตขึ้นมาเรื่อย ๆ เวลาผ่านไปราว 5 ปี สมาชิกกลุ่มมีมากขึ้น ปัจจุบันสมาชิกในกลุ่มมีจ�ำนวน 15 คน ควบคู่ไปกับ ผลผลิตและผลก�ำไรก็ดีขึ้น เอาล่ะสิ แผนต่อไปคือ การขยายกลุ่มให้ใหญ่ขึ้น มีพลังมากขึ้นอีก 17

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 17

4/4/17 1:37 PM


Cover Story

MITR PHOL MODERNFARM

“ ตอนแรกมี 5 คน ส่วนมากเป็นญาติกันนี่แหละ ถึงวันนี้ ข ยายเพิ่ ม จนมี 15 คน และปี นี้ ก� ำ ลั ง จะขยายขึ้ น อี ก ตอนนี้ มี ค นสนใจ เริ่ ม เดิ น เข้ า มาอี ก 3-4 คน จะเริ่ ม จากการชั ก ชวน เ ครื อ ญาติ กั น แล้ ว ก็ ดู ช ่ ว งเวลาการท� ำ งาน ผลงานเป็ น ไง มีประสิทธิภาพไหม ตรงเป้าไหม หลัก ๆ อยูต่ ามเขตส่งเสริม อย่างผม มีเครือญาติอยู่เขตอื่นก็ชวนเขามาดู ศึกษาเปรียบเทียบกันดู” แต่การรวมกลุ่มไม่ได้มีเพียงกลุ่มเดียว พ่อพิมลอธิบายวิธีการ ชักชวนสมาชิกมาเข้าเป็นลูกกลุ่ม ต้องสร้างจากความมั่นใจและ เชือ่ ใจ การรวมกลุม่ นีเ้ ริม่ พัฒนาไปไกลจนมีกระทัง่ แปลงสาธิตของกลุม่ “ ของแบบนี้ มั น ขึ้ น อยู ่ กั บ ความพอใจของลู ก กลุ ่ ม เราเป็นตัวเลือกของเขานะ ไม่ใช่ว่าไปบีบบังคับเขา คู่แข่งก็เยอะ ใ ช่ ไ หม เราก็ ต ้ อ งให้ เขาเปรี ย บเที ย บดู ว ่ า มั น เป็ น อย่ า งไร กลุ่มของผมก่อนที่เขาจะเชื่อถือ ต้องมีแปลงสาธิตให้เขา ให้เขาได้ ดูหลักการวิธีการท�ำ ใช้ไร่ของกลุ่ม ใช้เครื่องจักรของกลุ่มให้ลูกค้า มาดู ท�ำแบบนี้แล้วได้ผลดีมาก ๆ ครับ” แ ต่ เ หนื อ สิ่ ง อื่ น ใด สิ่ ง ที่ พ ่ อ พิ ม ลเน้ น ย�้ ำ อยู่เ สมอตลอด การพูดคุยกับเรา สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการรวมกลุม่ กัน นัน่ คือ สัจจะวาจา “ เราต้องตรงไปตรงมากับเขา อะไรท�ำได้ก็บอกว่าได้ อะไร ท�ำไม่ได้ก็พูดตรง ๆ อย่าไปรับปาก มีปัญหาเรื่องอะไรก็คุยกัน” ทุ ก วั น นี้ ก ลุ่ม ของพ่อพิม ล มีป ระชุม ร่ว มกัน แทบทุ ก เดื อ น หารือปรึกษากันสารพัดเรื่องไม่ว่าจะเป็นเรื่องเงิน เรื่องเครื่องจักร พันธุ์อ้อย ใครเตรียมดิน ตัดอ้อยไม่ทัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หาทางออกร่วมกัน โดยมีโรงงานสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง ทุกคน ต้องช่วยกัน สามัคคีกันแบบกอไผ่ งานถึงจะส�ำเร็จ...

กุมภาพันธ์ 2560

“นี่อีกสี่ห้าวันก็จะคุยกันแล้ว ยกตัวอย่างนะ ใครมีแปลงไหน ที่ จ ะปลู ก ใหม่ รื้ อ ใหม่ ต้ อ งวางแผนกั น นะ แปลงไหนจะรื้ อ ผมต้องเน้นแปลงนี้ต้นนี้ก่อน เราก็ต้องปลูกเตรียมดินใหม่ให้เร็ว กว่าแปลงที่ปลูกอ้อยใหม่นะ “โรงงานเขาอยู่เบื้องหลังเรา ซัพพอร์ตเรา เขาก็คอยสอบถาม เรื่อย ๆ คุณมีปัญหาอะไรไหม บางทีเขตอื่นนัดมา โรงงานก็นัด ให้ผม ไปศึกษาดูงานโรงงานไหม ช่วยประสานหาที่ให้” จากการรวมคน ร่วมคิด และร่วมท�ำ ในแบบ “หนองแซง โมเดล” เมื่อจัดการทรัพยากรได้ดีขึ้น ผลผลิตดีขึ้น ไม่ต้องสงสัย เลยว่ า ที่ สุ ด แล้ ว ผลตอบแทนของกลุ ่ ม ก็ ดี ต ามมา จึ ง น� ำ มาสู ่ หลักการและความส�ำเร็จของ “หนองแซงโมเดล” ขั้นตอนต่อไป นั่นคือ ร่วมรับ และร่วมอยู่ร่วมเจริญ “เงินหมุนเวียนในกลุ่มต่อปี จะอยู่ที่แปดหลักขึ้นอยู่แล้ว ผมคนเดี ย วก็ สิ บ ล้ า น ค่ า รถตั ด เขาจ้ า งกั น ที ก็ ห กหมื่ น ค่ า ตั ด ก็ 180 บาท/ตัน รายได้ก็ประมาณ 6-7 ล้านต่อปี นี่เฉพาะรถตัดนะ หมุนเวียนกันในกลุ่ม ทั้งหมดก็คงเหยียบร้อยล้าน” ทั้ ง หมดนี้ ไ ม่ ใช่ เรื่ อ งบั ง เอิ ญ หรื อ เกิ ด ขึ้ น เอง แต่ ม าจาก การรวมกลุ่ม แบ่งปันทรัพยากร และหาหนทางพัฒนาผลผลิต ร่วมกัน โดยถ่ายทอดความรู้ถึงกันผ่านแปลงสาธิต “ชี วิ ต นี้ ไ ม่ เ คยคิ ด ฝั น มาก่ อ นว่ า จะได้ ห มุ น เงิ น ในกลุ ่ ม เป็นร้อยล้าน ไปดูงานออสเตรเลียก็ไม่คดิ ว่าจะได้เป็นเจ้าของรถตัดเลย จะคิดได้ยังไงรถราคา 12 ล้านบาทน่ะคิดดู จะมีความสามารถที่ไหน ถ้าเราไม่มีกลุ่ม สิบสองล้าน รถอีกแปดคัน คันละล้านกว่าบาท ยี่สิบกว่าล้าน ถ้าลงทุนคนเดียวนะ คงไม่ไหวหรอก

18

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 18

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

่ี อเรืองที ่ ่ าทายกลุ่มของเรามาก อาจจะดูยาก แต่นคื ท้ โรงงานก็คอยช่วยสนับสนุน เพิ่มเติมความรู้ใหม่ ๆ หรือพาไปดู เราก็ไปกับเขาหมด อย่างโครงการ โมเดิร์นฟาร์ม แล้วเอามาดัดแปลง ่ านทำ�ได้ ตามแบบฉบับของชาวไร่ อะไรทีชาวบ้ ผมก็ท�ำ เพราะเครื่องมือผมยังไม่ถึงอย่างบริษัท อาจจะมีรายละเอียดต่างกันบ้าง ก็ไปวัดกันที่ผลผลิต

“ในแปลงสาธิตก็จะมีอ้อยพันธุ์ใหม่ ๆ ให้ดู เราต้องศึกษา ดูแทบทุกปี แนะน�ำไปถึงรายละเอียดถึงวิธีการให้น�้ำ เมื่อก่อน ใช้ น�้ ำ ราด เดี๋ ย วนี้ ผ มหั น มาใช้ น�้ ำ หยด เพราะมั น ประหยั ด น�้ ำ คือปกติใส่น�้ำราดจะได้หนึ่งไร่ ใส่น�้ำหยดจะได้สี่ถึงห้าไร่ งานก็เร็ว ประหยั ด เวลา จากที่ เ ห็ น ก็ จ ะให้ ใช้ น้� ำ หยดกั บ พวกที่ ป ลู ก ใหม่ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะมันประหยัดน�้ำ” ใช่แต่เพียงระบบน�้ำหยดเท่านั้น วิธีคิดในการท�ำไร่ของพ่อ พิมล มีการใช้เทคโนโลยีพลังแสงอาทิตย์เพื่อเพิ่มผลผลิตอีกด้วย “พวกระบบพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ผ มก็ น� ำ ร่ อ งให้ เป็ น ต้ น แบบทุกอย่าง จากการศึกษาดูงาน เพราะอยากไปแลกเปลี่ยน ความรู้ นอกจากนี้ผมยังปลูกอ้อยแบบไว้ใบตอนเก็บเกี่ยว เพราะมี อิ น ทรี ย วั ต ถุ อ ยู ่ เพราะฉะนั้ น การกั น ดิ น ของผมจะไม่ เ ผาใบ

Cover Story

ไม่เคยเผาใบ ไม่เฉพาะในกลุม่ ของผม สูตรนีแ้ ทบทุกกลุม่ ตัดอ้อยสด คลุมดินหมด” ปั จ จุ บั น พ่ อ พิ ม ลท� ำ หน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การ เรื่ อ งการเงิ น การประสานงานกั บ โรงงาน และก� ำ ลั ง มองไปที่ ค วามท้ า ทาย ต่อไปคือการพัฒนาผลผลิต และต้องท�ำไปพร้อมกันอย่างเชื่อมั่น ทั้งกลุ่ม “ถ้ า คิ ด ว่ า อะไรที่ ต ่ า งจากกลุ ่ ม อื่ น หนึ่ ง คื อ ความพร้ อ ม ของเครื่ อ งจั ก ร แต่ ลึ ก ๆ คิ ด ว่ า เรื่ อ งสั จ จะวาจาน่ า จะเด่ น คือคุยกันแล้วตรงไปตรงมา ประสบการณ์เราก็เยอะกว่า เพราะเป็น คนแรกคนก็เชื่อถือในจุดนี้” ก้าวต่อไปจะพัฒนาคนในกลุม่ คือพยายามคุยกันว่าท�ำอย่างไร ให้ยั่งยืนแบบถาวร แต่ก่อนเราเคยใช้ตอได้สี่ห้าปีก็อยากจะไว้ตอ ให้ได้นานขึ้น ถ้าได้ถึงห้าหกตอก็จะดี “ส่วนเรื่องพื้นที่จะขยายได้ค่อนข้างยากแล้ว เพราะฉะนั้น อ้อยก็ต้องมีคุณภาพต่อไร่มากขึ้น แต่ก่อนเราเคยได้ 14-15 ตัน ท�ำไงเราจะได้ 20-30 ตันต่อไร่ นี่แหละคือโครงการต่อไป อ้อยปลูก ใหม่เคยได้อยู่ 30 ตัน จากการใช้ระบบสายน�ำ้ หยดใต้ดนิ ส่วนค่าเฉลีย่ เดี๋ยวนี้ 20-22 ตัน ส�ำหรับอ้อยปลูกใหม่ เพราะฉะนั้นที่ตั้งโจทย์ 45 ตันต่อไร่ คือความท้าทายใหม่เลย “อาจจะดู ย าก แต่ นี่ คื อ เรื่ อ งที่ ท ้ า ทายกลุ ่ ม ของเรามาก โรงงานก็คอยช่วยสนับสนุน เพิ่มเติมความรู้ใหม่ ๆ หรือพาไปดู เราก็ ไ ปกั บ เขาหมด อย่ า งโครงการโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม แล้ ว เอามา ดัดแปลงตามแบบฉบับของชาวไร่ อะไรที่ชาวบ้านท�ำได้ ผมก็ท�ำ เพราะเครื่ อ งมื อ ผมยั ง ไม่ ถึ ง อย่ า งบริ ษั ท อาจจะมี ร ายละเอี ย ด ต่างกันบ้าง ก็ไปวัดกันที่ผลผลิต” หลายคนอาจมี ค� ำ ถามว่ า การรวมกลุ ่ ม จ� ำ เป็ น ไหมที่ ต ้ อ ง มีสมาชิกรายใหญ่จ�ำนวนมาก พ่อพิมล อธิบายว่าในกลุ่มก็มีสมาชิก ที่หลากหลายทั้งรายเล็กรายใหญ่ แต่ต้องคิดเรื่องเพิ่มสมาชิก “กลุ่มของผมเนี่ยไม่ถือว่าใหญ่เท่าไหร่คนละ 300-400 ไร่ มาผสมกั น ไม่ ใช่ ว ่ า จะมี แ ต่ ร ายใหญ่ 200 ไร่ ก็ มี รายใหญ่ เขา ก็อาจจะดึงรายเล็กเครือญาติกันมา รายได้ก็อยู่ในกลุ่ม ใครวิ่งเยอะ ท� ำเยอะก็ ไ ด้ เ ยอะ อยู ่ ที่ ก ารสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ของเราที่ มี ร ถตั ด เป็นตัวหลัก เพราะฉะนัน้ ผมเชือ่ ว่า การรวมกลุม่ ก็ใช้กบั รายเล็ก ๆ ได้ แต่ควรต้องคิดเรื่องเพิ่มสมาชิกด้วย “ส� ำ หรั บ ลู ก ไร่ ใ นกลุ ่ ม อาจจะไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งท� ำ เหมื อ นเรา ทุกอย่าง เพราะทุกคนยืนด้วยขานะ มีขานี่คือเขาท�ำเป็นทุกอย่าง แต่อาจจะไม่มีเครื่องจักร ผมต้องเข้าไปดูแลด้วย เขารู้ว่าจะท�ำอะไร แต่ ว ่ า อุ ป กรณ์ เขาไม่ พ ร้ อ ม เราก็ จ ะแนะน� ำ ว่ า ต้ อ งท� ำ แบบไหน เป็นส่วนที่สนับสนุนกัน” และนี่คือแนวคิดทิ้งท้ายจากมิตรชาวไร่ และกลุ่มของเขาจากหน้าปก “มิตรชาวไร่” ฉบับนี้ พลังของการรวมกลุ่มตามหลักการของ “หนองแซง โมเดล” จึงเป็นทางเลือกที่ดีท่ีสุดในยุคนี้ส�ำหรับมิตรชาวไร่ ในการปลูกอ้อยทีเ่ ห็นผลอย่างยัง ่ ยืน M

19

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 19

4/4/17 11:04 AM


MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

สร้างความพอดีกับชีวิต ใช้ชีวิตอยู่แบบพอเพียง

ไร่อ้อยก็เหมือนโรงเรียน ที่ไม่มีห้องเรียน ไม่มีจบหลักสูตร มีแต่พัฒนาความรู้ไปเรื่อย ๆ

คุณพนม ยศรุ่งเรือง

คุณอุระ ทิพย์โชติ

20

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 20

4/4/17 11:04 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

เราก็ค่อย ๆ สร้าง ค่อย ๆ ทำ�ไร่อ้อยไปเรื่อย ๆ จนวันนี้ เรามีอยู่ 700 กว่าไร่

คุณพรรณิกา มูลสันเทียะ

่ ทำ�ไร่อ้อยก็ได้ผลผลิต ตั้งแต่เริม ดีข้นเรื ึ ่อย ๆ ไม่ใช่เพราะเราเก่งนะ แต่เรามีโรงงานคอยช่วยสนับสนุน อยู่ตลอดเวลา

คุณถนอม บุญมา

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 21

21

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 22

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

นำ�้ เปลี่ยนชีวิต

MITR PHOL MODERNFARM

ตารางคาดการณ์ผลผลิตจากปริมาณนำ�้ ชลประทาน (Full Irrigation) ปริมาณนำ�้ ชลประทาน

ผลผลิตคาดการณ์ (ตัน/ไร่)

สุทธิ (ลบ.ม./ไร่)

เทียบนำ�้ ฝน (มม.)

ให้นำ�้ ฝนอย่างเดียว

0

9

300

190

13

500

310

16

700

440

19

900

560

22

1,100

690

24

1,240

775

26

1,408

880

29

การขุดสระในพืน้ ทีต่ วั เองเลยเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญมาก... ต้องขุดสระ ประมาณไหนจึงจะพอดีกับการปลูกอ้อย ส�ำหรับปริมาณน�้ำที่เหมาะสมตามความต้องการของอ้อย ก� ำ หนดให้ อ ยู ่ ที่ ร ะดั บ 1,600 มิ ล ลิ เ มตรต่ อ ไร่ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ผลผลิตอ้อยไม่ต�่ำกว่า 15-20 ตันต่อไร่ โดยน�้ำมาจากปริมาณ น�้ำฝนที่ตกแต่ละปี (เฉลี่ย 1,100-1,200 มิลลิเมตรต่อปี) และเติม จากชลประทาน 400 มิลลิเมตร หรือ 640 ลบ.ม. (คิว) เป็นอย่างต�ำ่ เราขุ ด สระที่ ไร่ เ พื่ อ รองรั บ น�้ ำ ในหน้ า ฝน ถ้ า ไม่ เ ก็ บ น�้ ำ ไว้ เดี๋ยวจะไหลไปกับห้วยหนองคลองบึงเสียหมด แต่พอขุดสระไว้ เรียกได้ว่าเป็นการเตรียมการเก็บกักน�้ำเพื่อใช้ในช่วงฝนตกน้อย หรือช่วงหน้าแล้ง โดยพื้นที่ 10 ไร่ ควรมีการขุดสระลึก 4 เมตร ขนาด 3 ไร่ และให้เพิ่มหรือลดลงตามสัดส่วนของพื้นที่ การขุดสระ จะช่วยให้เกษตรกรสามารถเก็บน�้ำไว้ใช้ได้ตลอดฤดู และสระนี้ ยังสามารถเลี้ยงปลา ช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ชาวไร่อีกด้วย ทั้งนี้เพื่อให้สระที่ขุดสามารถเก็บน�้ำจากฝนได้อย่างเต็มที่ พื้นที่ขุดสระจ�ำเป็นต้องหาจุดที่เหมาะสม โดยต้องเลือกขุดสระ ในที่ลุ่ม และมีความลาดชัน เ อาล่ะ เรามีสระส�ำหรับเก็บน�้ำใช้ในไร่อ้อยแล้ว คราวนี้ ก็ ไ ม่ ต้ อ ง ป ว ด หั ว เ อ า มื อ ก่ า ย ห น้ า ผ า ก กั บ ห น้ า แ ล้ ง ที่ น�้ ำ ไม่คอ ่ ยจะพอกันอีกแล้ว... M

23

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 23

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 24

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ซึ่ ง จะปลู ก หมุ น เวี ย นในช่ ว งพั ก ดิ น ก่ อ นปลู ก อ้ อ ย เพื่ อ เพิ่ ม อินทรียวัตถุและธาตุไนโตรเจนในดิน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ตามหลั ก ชี ว วิ ท ยาของดิ น การปลู ก อ้ อ ยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จ ะมี โรคและแมลงศั ต รู อ ้ อ ยสะสมอยู ่ เ ป็ น จ� ำ นวนมากซึ่ ง พบว่ า ร ากอ้ อ ยในแปลงที่ มี ก ารปลู ก อ้ อ ยต่ อ เนื่ อ งโดยไม่ มี ก ารพั ก ดิ น จ ะสั้ น ไม่ แ ข็ ง แรงและเติ บ โตน้ อ ยกว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ พื้ น ที่ ที่ มี ก ารพั ก ดิ น และการปลู ก อ้ อ ยติ ด ต่ อ กั น โดยไม่ มี ก ารพั ก ดิ น ยังท�ำให้โรคและแมลงศัตรูอ้อยมีชีวิตและขยายพันธุ์เพิ่มปริมาณ ไปได้เรื่อย ๆ ท�ำให้อ้อยอ่อนแอลง เจอแบบนี้ หลังการเก็บเกี่ยว ช่วงพักดินก็ปลูกพืชตระกูลถั่ว กั น ดี ก ว่ า และพื ช ตระกู ล ถั่ ว ที่ น ่ า รั ก น่ า ลุ ้ น น่ า เอามาปลู ก ก็ คื อ ถั่วเหลืองนั่นเอง ก ารปลูกถั่วเหลืองนี้ ดูแลรักษาไม่ยาก ถั่วเหลืองใช้เวลา ไ ม่น านในการเติ บ โต ประมาณไม่ เ กิ น 2 เดื อ น เราก็ จ ะเห็ น ด อกถั่ ว บานอย่ า งสวยงามตามต่ อ ด้ ว ยฝั ก ถั่ ว เหลื อ งซึ่ ง ตอนนั้ น มิ ต รชาวไร่ ห ลายคนคงอดใจไม่ ไ หวแอบเก็ บ ถั่ ว เหลื อ งมาคั้ น ท�ำน�้ำถั่วเหลืองอร่อย ๆ ดื่มแน่นอนครับ

หมอดิน

เหนือไปกว่านั้นคือ ถั่วเหลืองที่มีฝักอยู่เต็มไร่ ยังเก็บเอาไป ขายเพิ่มรายได้ให้กับเราได้ ถั่วเหลืองสามารถดึงเอาธาตุไนโตรเจน จากอากาศมาเป็ น ปุ ๋ ย เก็ บ ไว้ ใ นต้ น ได้ ป ริ ม าณมหาศาลแล้ ว หลังจากนัน้ เราก็ไถกลบต้นถั่วลงไปกับดิน ดินก็จะได้รับธาตุอาหาร ที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ พื ช โดยเฉพาะธาตุ ไ นโตรเจนไปเต็ ม ๆ เรี ย กได้ ว ่ า พอพักดินบ�ำรุงดินเรียบร้อยแล้ว ดินก็จะสมบูรณ์เพื่อเตรียมเข้าสู่ การปลูกอ้อยในฤดูกาลต่อไป ่ การันตีวา่ ปลูกอ้อย เตรียมดินมาดีขนาดนี้ มีชย ั ไปกว่าครึง รอบหน้า ได้ผลดีอย่างแน่นอน... M

25

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 25

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 26

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

พันธุ์อ้อยที่ดีนั้น แน่นอนว่าปลูกแล้วต้องงอก และเติบโตได้ดี ได้ ต ้ น อ้ อ ยที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต สู ง น�้ ำ หนั ก มาก ให้ ค ่ า ความหวานสู ง แตกกอเร็ว ไว้ตอได้นานหลายตอ ทนทาน ต้านทานโรคแมลง และ ศัตรูพืชต่าง ๆ แต่เพือ่ นมิตรชาวไร่รหู้ รือไม่ครับว่าทางมิตรผล โมเดิรน์ ฟาร์ม ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาพั น ธ์ุ อ ้ อ ยขึ้ น มาสายพั น ธุ ์ ห นึ่ ง โดยไม่ ไ ด้ เ น้ น ที่คุณสมบัติเด่นเรื่องน�้ำหนัก หรือมีค่าความหวานสูง แต่ชูจุดขาย เรื่องเป็นพันธุ์อ้อยที่ให้ไฟเบอร์สูง อยากรู ้ ห รื อ เปล่ า ครั บ ว่ า ท� ำ ไมมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ต้องพัฒนาอ้อยที่ให้ไฟเบอร์สูงขึ้นมาด้วย จากอ้อยกว่า 200 สายพันธุ์ที่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง พั น ธุ ์ อ ้ อ ยจากหลายหน่ ว ยงาน ทั้ ง ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ อ้อยและน�ำ้ ตาลทราย กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมถึงกลุ่มมิตรผล เอกชนรายเดียวที่มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ อ้อยนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์อ้อยที่เน้นให้ผลผลิตสูง น�้ำหนักมาก มีค่าความหวานสูง เพื่อเน้นส่งเข้าโรงหีบน�้ำตาลเพื่อแปรรูป แต่อย่าลืมว่าราคารับซื้ออ้อยไม่ได้คงที่ตลอดทุกปี บางปี ที่ปริมาณความต้องการใช้น�้ำตาลในตลาดโลกพุ่งสูง ส่งผลให้ราคา รับซื้ออ้อยดีดตัวตามไปด้วย ในทางกลับกัน ช่วงที่น�้ำตาลในตลาด โลกล้นตลาด ก็กดราคารับซื้ออ้อยของเพื่อนมิตรชาวไร่ได้ด้วย อ้ อ ยที่ มี จุ ด ขายที่ น�้ ำ หนั ก และค่ า ความหวานเพี ย งอย่ า ง เดียวจึงไม่เพียงพอ เป็นสาเหตุให้มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มมุ่งพัฒนา พั น ธุ ์ อ ้ อ ยและปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ์ อ ้ อ ยให้ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ยิ่ ง กว่ า โดยอาศั ย ที ม ผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นาสายพั น ธุ ์ อ ้ อ ย โดยเฉพาะ เพื่อท�ำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน ตั้งแต่ ขั้ น ตอนการผสมพันธุ์อ้อยจนถึงขั้นตอนการทดสอบปลูกจริงในไร่ ของมิตรผลที่ตั้งอยู่ทั้งในภาคกลางและภาคอีสาน จนได้พันธุ์อ้อย ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนส�ำหรับน�ำไปปลูกจริง และขยายท่อนพันธุ์ต่อ ให้กับเกษตรกรได้นั้นคือ อ้อยพันธุ์ เอ็มพีที (MPT 132) อ้ อ ยพั น ธุ ์ นี้ เป็ น พั น ธุ ์ อ ้ อ ยที่ มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาพันธุ์อ้อยในปี 2559 โดยให้มี

อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง

คุ ณ สมบั ติ เ พิ่ ม เติ ม จากเดิ ม เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การท� ำ ไร่ อ ้ อ ย สมั ย ใหม่ แ บบมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม โดยเน้ น ให้ เ ป็ น พั น ธุ ์ อ ้ อ ย ที่ ใ ห้ ไ ฟเบอร์ สู ง กว่ า อ้ อ ยพั น ธุ ์ ท่ั ว ไป เน้ น การเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ อ้อยที่ปลูก เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงให้กับเพื่อนมิตรชาวไร่ ในช่วงที่ราคาน�้ำตาลตลาดโลกตกต�่ำ นอกจากจุ ด เด่ น เรื่ อ งเป็ น พั น ธุ ์ อ ้ อ ยที่ ใ ห้ ไ ฟเบอร์ สู ง แล้ ว ยั ง เป็ น พั น ธุ ์ อ ้ อ ยที่ ค งคุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐานไว้ อย่ า งการให้ ผ ลผลิ ต และน�้ำตาลในระดับสูง ไว้ตอดีมาก และที่ส�ำคัญคือไม่ออกดอก ซึ่งจะท�ำให้อ้อยสูญเสียน�้ำหนักได้ โดยอ้อยพันธุ์ เอ็มพีที 132 พันธุ์นี้ให้ผลผลิตมากถึง 24.1 ตันต่อไร่ โดยมีค่าความหวาน 13.4 ซีซีเอส มีปริมาณไฟเบอร์ 15.1 เปอร์เซ็นต์เส้นใยอ้อย อ้อยพันธุ์ โตเต็มที่จะมีขนาดล�ำต้นที่ประมาณ 2.5-3.0 เซนติเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นพันธุ์อ้อยที่ไว้ตอได้ดีมาก มีการแตกกอดีมาก นอกจากอ้อยที่ให้ไฟเบอร์สูงอย่างพันธุ์ เอ็มพีที 312 แล้ว ยั ง มี อ ้ อ ยอี ก หลายพั น ธุ ์ ที่ ท างมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ได้ วิ จั ย และพัฒนา เพื่อให้เพื่อนมิตรชาวไร่ได้น�ำไปปลูกสร้างรายได้กัน อย่ า งอ้ อ ยพั น ธุ ์ เอ็ ม พี ที 239 ที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต 12-14 ตั น ต่ อ ไร่ หรื อ อย่ า งพั น ธุ ์ เอ็ ม พี ที 118 ที่ ใ ห้ ไ ฟเบอร์ สู ง มากถึ ง 25-30 เปอร์เซ็นต์เส้นใยอ้อย ่ ค ทัง ์ อ ้ ยทีม ี ณ ุ สมบัตด ิ แ ี ค่ไหน แต่เพื่ อน ้ นี้ แม้วา่ จะมีพันธุอ มิตรชาวไร่ก็ต้องไม่ลืมบ�ำรุงรักษาดิน น�้ำ และบริหารจัดการ ่ จะท�ำให้ ไร่ออ ้ ยอย่างเหมาะสม โดยใช้หลัก 4 เสาเข้ามาช่วย ซึง อ้อยของเพื่ อนมิตรชาวไร่ได้ผลผลิตสูง และมีคา่ ควานหวานสูง

M

27

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 27

4/4/17 11:05 AM


เพื่อน ๆ มิตรชาวไร่ เรามารวมกลุ่มกันเถอะ MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

่ ไหมว่าบางครัง เชือ ้ 1+1 ก็ไม่จำ� เป็นต้องเท่ากับ 2 ถูกต้องตามหลักคณิตศาสตร์เสมอไป ่ นีก ่ ค แต่อาจจะเป็น 1+1 = 3 หรือมากกว่านัน ็ อ ื Synergy หรือ พลังของการท�ำงานร่วมกันนัน ้ ซึง ่ เอง

ทำ�ไมต้องรวมกลุ่ม?

แรงงานหายาก มีราคาแพง

ตัดอ้อยไม่ทน ั

รวมคน

ร่วมคิด

รวมกลุม ่ เพื่ อรวมความคิด โดยจัดประชุมเดือนละสองครัง ้ ดง ู านจากโมเดิรน ์ ฟาร์ม เพื่ อจัดรูปแปลงให้ถก ู ต้อง

รวมกลุม ่ ช่วยกัน ้ รถตัดมาใช้ในกลุม ซือ ่ ่ งจักร แบ่งกันใช้ คุม ้ ราคาเครือ

ร่วมทำ�

่ งจักร ลงทุนเครือ ลากหลายชนิดงาน เช่น ห รถตัดอ้อย รถเซมิเทรลเลอร์ รถพ่ นสาร รถแทรกเตอร์

ร่วมอยู่ร่วมเจริญ

ท�ำไร่อ้อยแบบยั่งยืน ผ่านมาตรฐาน Bonsucro ลดค่าใช้จ่าย ลดเวลา เพิ่ มผลผลิต เพิ่ มรายได้

่ งจักรทางเกษตร เครือ มีราคาแพง

ประโยชน์

จากการ

รวมกลุ่ม

ร่วมรับผลประโยชน์ ต่างคนต่าง มีรายได้รว ่ มกัน

เพิ่มประสิทธิภาพ ระบบโลจิสติกส์ รวมกลุ่มจัดคิวตัดอ้อย Cut to Cruch ใช้เวลา ในการตัดจนถึงโรงงาน ไม่เกิน 8 ชั่วโมง

รวมกลุ ่มแล้วจะรู้ว่า “ สามัคคีคือพลัง” เอาไปใช้ได้จริง 28 ���������� ���� ���������� 2017 ���� 28-29 E2.indd 28

3/31/17 2:15 PM


���������� ���� ���������� 2017 ���� 28-29 E2.indd 29

3/31/17 2:15 PM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 30

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 31

4/4/17 11:05 AM


วิถีคนสู้

MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

32

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 32

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

วิถีคนสู้

สวนทางกับชาวไร่ออ้ ยรายกลางบางคนทีม่ ผี ลผลิตเพิม่ มากขึน้ แล้วใช้วิธีน�ำเข้าแรงงานต่างชาติมาช่วย ซึ่งพี่วิรัตน์บอกว่าถ้าจะใช้ แรงงานคนใช้รถตัดอ้อยดีกว่ากันเยอะ เร็วกว่าค่าใช้จ่ายจุกจิกอะไร ก็ไม่ค่อยมี ถ้าซื้อไม่ไหวก็เช่าเขาไปก่อนก็ได้ให้พร้อมค่อยขยับขยาย โมเดิร์นฟาร์ม วิถีปลูกอ้อยแห่งอนาคต ช่ ว งแล้ ง ที่ ผ ่ า นมา พี่ วิ รั ต น์ ต ้ อ งน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากการ ดู ง านที่ อ อสเตรเลี ย มาประยุ ก ต์ ใช้ กั บ จากที่ สั่ ง สมประสบการณ์ การปลู ก อ้ อ ยมาตั้ ง แต่ อ ายุ 20 กว่ า ๆ มาใช้ ทั้ ง การน� ำ ถั ง น�้ ำ ใส่ ร ถเทรลเลอร์ ไ ปท� ำ น�้ ำ หยด ที่ เ ป็ น วิ ถี ที่ ใ ช้ น�้ ำ ได้ อ ย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ สุ ด วิ ธี ห นึ่ ง โชคดี ที่ ใ นพื้ น ที่ ข องพี่ วิ รั ต น์ มี ส ระ เก็บน�้ำที่พ่อได้ขุดเตรียมไว้ เลยผ่านวิกฤตครั้งนั้นไปได้ ปีที่ผ่านมาอ้อยของพี่วิรัตน์จึงได้เฉลี่ยที่ 10 ตันต่อไร่ ส�ำหรับอนาคตการท�ำไร่อ้อย พี่วิรัตน์เปิดเผยว่า ช่วงแล้ง ที่ ผ ่ า นมาเป็ น เครื่ อ งพิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น แล้ ว ว่ า การท� ำ ไร่ อ ้ อ ยแบบ โมเดิร์นฟาร์มดีกว่าการท�ำไร่อ้อยแบบเดิมจริง ๆ ดังนั้นถ้าจะขยาย พื้นที่ปลูกอ้อยออกไปก็จะท�ำแบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ​“อนาคตนะถ้ามีโอกาส พ่อผมเลิกท�ำอ้อย หรือว่าท�ำอ้อย ต่อไม่ไหวแล้ว ผมจะขอพื้นที่ปลูกของพ่อมาท�ำต่อเอง แต่ก็ต้อง ขึ้นกับทางโรงงานมิตรผลด้วยว่าจะเห็นด้วยหรือเปล่า ถ้าท�ำจริง ๆ พื้ น ที่ ข นาด 1,000 ไร่ ยั ง ไงก็ ต ้ อ งเอาเครื่ อ งจั ก รเข้ า มาทุ น แรง เ กื อ บทั้ ง หมด ตอนนี้ ที่ ท� ำ ๆ อยู ่ ก็ เ ริ่ ม ค่ อ ย ๆ เปลี่ ย นไป เราจะไม่เปลี่ยนเลยเป็นโบราณค้างปีก็ไม่ไหว” ​พี่วิรัตน์พูดติดตลก แต่ลึก ๆ แล้วเชื่อว่ามิตรชาวไร่คนนี้ ต้องคิดมาดีแล้วถึงกล้าเปลี่ยนแปลง แน่นอนว่าชาวไร่อ้อยคนอื่น ๆ ที่มาเห็นการเปลี่ยนวิธีปลูกของพี่วิรัตน์ ก็เกิดค�ำถาม บางส่วน อ ยากที่จะลองปฏิบัติตาม เพราะได้มาเปรียบเทียบอ้อยในไร่ของ พี่วิรัตน์แล้วเห็นว่าเจริญงอกงามดีมาก แต่ก็ยังติดที่ต้องเปลี่ยน ม าเป็น การปลู ก แบบร่ อ งกว้ า ง ซึ่ ง ชาวไร่ อ ้ อ ยธรรมดายั ง กลั ว ผ ลผลิตออกมาน้อย ทั้ง ๆ ที่เห็นว่าการท�ำไร่อ้อยแบบมิตรผลโม เ ดิรน์ ฟาร์มของพี่วิรัตน์นั้น ให้ผลผลิตที่ดีพอใช้ มีเงินใช้ไม่ขาดมือ ส่งลูกเรียนหนังสือได้ จากเมื่อก่อนที่ครูพักลักจ�ำวิธีการปลูกอ้อยมาจากพ่ อ จนได้ไปศึกษาวิธีการสมัยใหม่จากต่างประเทศ ท�ำให้พี่วิรัตน์ รู้ ว่ า อ้ อ ยเป็ น พื ชที่ ป ลู ก ไม่ ย ากไม่ ต้ อ งดู แ ลเยอะ แต่ ถ้ า จะ ปลูกให้รวยก็ไม่ใช่เรื่องง่ายเช่นกัน ไม่แปลกที่ทุกวันนี้พ่ี วิรัตน์ ยั ง ต้ อ งลงไปดู แ ลอ้ อ ยด้ ว ยตั ว เอง เปลี่ ย นจากคนที่ เ คย ไม่ชอบการปลูกอ้อย เป็นคนที่ติดการลงแปลงไปเยี่ยมอ้อย ที่ไร่ของตัวเองไปแล้ว M

33

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 33

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 34

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

หนึ่ ง ในปุ ๋ ย ที่ ขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งการคั ด สรรคุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน ส� ำ หรั บ อ้ อ ยของเราก็ คื อ ปุ ๋ ย ผสมซอยล์ เ มตมิ ต รแท้ เ พื่ อ น มิตรชาวไร่ ทีใ่ ส่แล้วเขียวทัง้ ไร่ ก�ำไรทัง้ ปี ดินดีตลอดไป เพราะเป็นปุย๋ ที่มีคุณภาพสูงช่วยเพิ่มผลผลิตอ้อยต่อไร่ ลดปริมาณการใส่ปุ๋ย และ ช่วยลดต้นทุนให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาเหตุ ที่ ปุ๋ย ซอยล์ เ มต โดดเด่น แตกต่ า งจากปุ ๋ ย ชนิ ด อื่ น ๆ เนื่ อ งจากเป็ น ปุ ๋ ย รายแรก รายใหญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทยที่ ใช้ กระบวนการผลิ ต แบบผสมกั น ถุ ง ต่ อ ถุ ง ลดความเสี่ ย งปุ ๋ ย ไม่ ไ ด้ มาตรฐาน ช่วยเพิ่มผลผลิต และรายได้จากการปลูกอ้อยให้กับ เพื่อนมิตรชาวไร่ ตามหลักสองลดสองเพิ่มครับ ​โดยปุ๋ยที่ได้คุณภาพมาตรฐานแตกต่างจากปุ๋ยที่ไม่มีคุณภาพ ต รงที่ มี ธ าตุ อ าหารน้ อ ยไม่ ค รบสู ต ร ท� ำ ให้ เ กษตรกรต้ อ งใส่ ปุ ๋ ย ในปริมาณมากถึง 3 รอบต่อปี อีกทั้งเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยก็ยังไม่มี ประสิทธิภาพ ท�ำให้ปยุ๋ มีความชืน้ สูงและแตกร่วนง่าย จึงไม่สามารถ ใช้งานร่วมกับเครือ่ งจักรในไร่เพือ่ ทุน่ แรงได้ และยังต้องหาแรงงานมา เพือ่ ใส่ปยุ๋ ด้วยมือ เมื่อนับรวมกับปัญหาค่าแรง และการขาดแคลน แรงงานในไร่อ้อยที่เพิ่มมากขึ้น ท�ำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก ยิง่ ขึน้ ไปอีก ถ้ า เพื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ไ ด้ ล องใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง อย่า งปุ ๋ ย ซอยล์ เ มต จะท� ำ ให้ ส ามารถลดปริ ม าณการใช้ ปุ ๋ ย ลง ได้ ก ว่ า ครึ่ ง ช่ ว ยให้ เ พื่ อ นมิ ต รชาวไร่ สามารถเพิ่ ม ผลผลิ ต และ ลดต้นทุนในไร่อ้อยได้อีกทางหนึ่ง

Eco Focus

ซึ่ ง เคล็ ด ลั บ ของการใส่ ปุ ๋ ย ที่ ถู ก ต้ อ ง คื อ การฝั ง ลงใต้ ดิ น เ พื่ อ ให้ ร ากพื ช สามารถดู ด ซึ ม ธาตุ อ าหารได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แ ทนการหว่านด้วยมือซึ่งธาตุอาหารบางส่วนเมื่อตกค้างบนผิว ดิ น จะระเหยไปในอากาศ มี ค วามสิ้ น เปลื อ งมากกว่ า วิ ธี ก ารฝั ง เมื่อรวมกับการท�ำเกษตรแบบชีววิถี ด้วยการตัดอ้อยทิ้งใบคลุมดิน ไม่เผาใบอ้อย และการปรับปรุงคุณภาพดินด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ จ ากกากอ้ อ ย ในระหว่ า งเตรี ย มดิ น จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การดูดซึมธาตุอาหารได้เป็นอย่างดี อัตราการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ซอยล์เมต ส�ำหรับอ้อยถ้าเป็นปุ๋ย ส� ำ หรั บ รองพื้ น อ้ อ ยปลู ก ใหม่ จ ะใช้ ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ ซ อยล์ เ มต 50 กิโลกรัมต่อไร่ ผสม ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ซอยล์เมตสูตร 16-16-8 จ�ำนวน 25 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนในการรองพื้นอ้อยตอ จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ซอยล์เมต อัตราส่วน 50 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ซอยล์เมตสูตร 21-7-18 อัตราส่วน 25 กิโลกรัมต่อไร่ ่ ค การใส่ปย ุ๋ ทีม ี ณ ุ ภาพสูงจะท�ำให้เพื่ อนมิตรชาวไร่สามารถ ลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการใส่ ปุ๋ ย ลงเพราะไม่ ต้ อ งใส่ ปุ๋ ย ในปริ ม าณ ที่มาก ลดเวลาการใส่ปุ๋ย ไม่ต้องใส่หลายรอบ เพิ่ มผลผลิต อ้อยได้มากขึ้นจากปุ๋ยที่มีสารอาหารสูง และสุดท้ายตัดอ้อย ล�ำโต ๆ ไปส่งโรงหีบอ้อยได้กำ� ไรงามเลยละครับ M

35

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 35

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 36

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ประเทศไทยเรามี ห นอนกออ้ อ ยอยู ่ ถึ ง 5 ชนิ ด ด้ ว ยกั น ซึ่งขบวนการห้าสีพวกนี้มีทั้ง หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีชมพู หนอนกอสี ข าว หนอนกอลายจุ ด ใหญ่ และหนอนกอแถบลาย ซึ่ ง พ ว ก ห น อ น ก อ อ ้ อ ย ล า ย จุ ด เ ล็ ก สี ช ม พู แ ล ะ สี ข า ว ก่ อ กวนสร้ า งปั ญ หาให้ กั บ อ้ อ ยในระยะแตกกอมากกว่ า ในระยะอ้อยเป็นล�ำ ส่วนหนอนกอแถบลาย และหนอนกอลายจุดใหญ่ เล่นใหญ่สมชื่อ อ้อยเล็ก ๆ เพิ่งแตกกอไม่แตะ อ้อยเป็นล�ำใหญ่ ๆ ค่อยกิน ลั ก ษณะการเข้ า ท� ำ ลายเริ่ ม ตั้ ง แต่ ฟ ั ก ออกมาจากไข่ จ ะอยู ่ รวมกั น เป็ น กลุ ่ ม รุ ม กั ด กิ น บริ เวณผิ ว ใบและหน่ อ อ้ อ ย ก่ อ นจะ ลามเจาะเข้าไปภายในล�ำต้น และยึดเป็นที่อยู่อาศัย เรียกง่าย ๆ ว่ า กิ น บนเรื อ นขี้ บ นหลั ง คาก็ ว ่ า ได้ พอหน่ อ อ้ อ ยที่ อ าศั ย อยู ่ ต าย ก็จะย้ายไปท�ำลายหน่อใหม่ ดังนั้นหนอนกออ้อย 1 ตัวจึงสามารถ ท�ำลายอ้อยได้ 3-4 หน่อ 100 ตัว ก็ 400 หน่อ...โอ้แม่เจ้า หนอนกออ้ อ ยสามารถท� ำ ลายอ้ อ ยได้ ใ นทุ ก ระยะ การเจริญเติบโต คือท�ำลายหน่อเมื่ออ้อยยังเล็กอยู่ ท�ำลายทุกส่วน ของล� ำ ต้ น รวมถึ ง ส่ ว นยอดของล� ำ ต้ น เมื่ อ อ้ อ ยอยู ่ ใ นระยะ ย่างปล้อง และระยะที่อ้อยเจริญเติบโตเต็มที่ เจ้าหนอนกออ้อย สามารถเข้าท�ำลายอ้อยได้ทุกเขตทั่วประเทศ โดยเฉพาะในเขตที่มี การปลูกอ้อยต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ๆ ซึ่งมีทั้งชนิดที่แพร่ระบาด ในหน้ า ฝน และช่ ว งที่ อ ากาศร้ อ นและแห้ ง แล้ ง ในระยะที่ อ ้ อ ย ก� ำ ลั ง แตกกอ ความเสี ย หายจากศั ต รู อ ้ อ ยชนิ ด นี้ ท� ำ ให้ ผ ลผลิ ต ต่อไร่ลดลง 30-50% อ้อยมีการสูญเสียน�้ำหนัก 1% จากการที่ หนอนกอเข้ า ท� ำ ลายอ้ อ ยจ� ำ นวน 1 ปล้ อ งคุ ณ ภาพความหวาน ลดลง 1-4 ซีซีเอส ขึ้นอยู่กับระดับการเข้าท�ำลายของหนอนกออ้อย โ ด ย ที่ ผ ่ า น ม า เ ค ย มี ก า ร แ พ ร ่ ร ะ บ า ด ที่ ท� ำ ใ ห ้ อ ้ อ ย ได้ รั บ ผลกระทบอย่ า งรุ น แรงใน 21 จั ง หวั ด คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ก ว่ า 8.5 แสนไร่ พบว่ า พื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ พ บว่ า มี ก ารระบาดสู ง สุ ด โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ที่ จั ง หวั ด อุ ด รธานี และจั ง หวั ด ขอนแก่ น คิ ด เป็ น มู ล ค่ า ความเสี ย หายมากกว่ า 2,000 ล้ า นบาท หรื อ กรณี ที่ บ างพื้ น ที่ มี ก ารระบาดของ หนอนกออ้ อ ยมากกว่ า 90,000 ไร่ ท� ำ ความเสี ย หายให้ กั บ เกษตรกรชาวไร่อ้อยจนกระทั่งต้องไถทิ้งเพื่อปลูกใหม่ ส� ำ หรั บ วิ ธี ก� ำ จั ด หนอนกออ้ อ ย มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม แนะน� ำ การใช้ ห ลั ก ธรรมชาติ ดู แ ลอ้ อ ย ทั้ ง ปล่ อ ยแตนเบี ย นไข่ ในระยะพบไข่ ปล่ อ ยแตนเบี ย นหนอน แมลงหางหนี บ รวมถึ ง การใช้ ส มุ น ไพรก� ำ จั ด แมลง โดยส� ำ รวจดู ก ออ้ อ ยว่ า มี ร อยเจาะ ท�ำลายของหนอนกออ้อยบ่อย ๆ เพื่อแก้ไขได้ทันเวลา ที่ส�ำคัญ ก่ อ นและหลั ง การตั ด อ้ อ ยส่ ง เข้ า โรงงานไม่ ค วรเผาใบอ้ อ ย เพราะจะท�ำให้เกิดการระบาดของหนอนกออ้อยรุนแรงมากขึ้น การทิ้งใบอ้อยคลุมแปลงไว้ ช่วยลดการเข้าท�ำลายของหนอนกอ อ้อยในฤดูถัดไปได้

ฮีโร่มิตรชาวไร่

หนอนกอลายจุดเล็ก

หนอนกอสีชมพู

หนอนกอสีขาว

หนอนกอลายใหญ่

หนอนกอแถบลาย

ในพื้ น ที่ ที่ มี ก ารระบาดรุ น แรงควรปลู ก พื ช หมุ น เวี ย น เพื่อตัดวงจรการระบาดของหนอนกออ้อย เช่น ถั่วต่าง ๆ ข้าวโพด ปอเทื อ ง ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ต ามหลั ก สี่ เ สาของมิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ที่ได้แนะน�ำให้เพื่อนมิตรชาวไร่ลองเอาไปปรับใช้ ตอนนีเ้ พื่ อนมิตรชาวไร่กไ็ ด้รจ ู้ ก ั หนอนกออ้อย และวิธก ี าร รับมือกันไปแล้ว ถ้าเพื่ อนมิตรชาวไร่ร่วมมือร่วมใจกันก�ำจัด เจ้าหนอนร้ายนี้ รับรองว่าอีกไม่นานหนอนกออ้อยคงเหลือ ่ื เท่านัน เพี ยงแค่ชอ ้ ครับ M

37

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 37

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 38

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ระบบ Cane MIS (Management Information System) ​เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ล่าสุดที่กลุ่มธุรกิจกลุ่ม งานอ้อยน�ำมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของกลุ่มงานอ้อย ใ ห้ ม ากขึ้ น บนพื้ น ฐานความถู ก ต้ อ ง แม่ น ย� ำ และช่ ว ยอ� ำ นวย ความสะดวกในการขอรั บ หรื อ จ่ า ยส่ ง เสริ ม ชาวไร่ ซึ่ ง สามารถ ให้บริการชาวไร่ทุกที่ทุกเวลา โดยไม่จ�ำกัดสถานที่ จึงท�ำให้ชาวไร่ ได้รับการบริการที่รวดเร็วยิ่งขึ้นจากเดิม การท�ำงานหลักๆ ของระบบ Cane MIS คือ การสร้างฐาน ข้อมูลชาวไร่ โดยเชื่อมโยงข้อมูลเชิงพื้นที่จากระบบสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์ เพื่อน�ำมาใช้ในการบริหารจัดการงานด้านการจ่าย ส่งเสริม การรับซื้ออ้อยชาวไร่อย่างมีหลักเกณฑ์ และประมวลผล ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ เพื่อช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถตัดสิน ใจ ด�ำเนินการในด้านต่างๆ ได้รวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ซึ่งการน�ำระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการจะประกอบด้วย เครื่องมือในการสร้างระบบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1​ส่วนของฐานข้อมูล ซึ่งระบบ Cane MIS จะจัด เก็บข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชาวไร่ การส่งเสริม การรับซื้ออ้อย และอื่นๆ ซึ่งเราเรียกว่า ฐานข้อมูล (Data Base) จึงนับเป็นหัวใจ ส�ำคัญที่ช่ วยให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพ ใช้งานได้สะดวก เข้าถึง ข้อมูลได้ง่าย และรวดเร็ว ส่วนที่ 2​ส่วนของเครื่องมือที่ใช้บันทึก และประมวลผลข้อมูล ซึ่งเราเรี ย กว่า อุปกรณ์ (Hardware) โดยกลุ่มธุรกิจกลุ่มงานอ้อย จะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) และแท็บเล็ต (Tablet) หรือ มือถือสมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็นอุปกรณ์หลักในการจัดการ ข้อมูล โดยมีโปรแกรมเฉพาะที่ใช้ปฏิบัติการ บริหารจัดการ และ การตัดสินใจ ที่เราเรียกว่า ชุดค�ำสั่ง (Software) คือ Cane MIS นั่นเอง โด ย ระบบจะส่ง และจัดเก็บข้อมูลที่ได้บนเครื่องแม่ข่าย (Server) เพื่อเชื่อมโยง และน�ำข้อมูลไปใช้งานต่อไป

โลจิสติกส์

ผู้ช่วยคนเก่งของทีมงานส่งเสริม และผู้เกี่ยวข้อง ​ระบบ Cane MIS นับเป็นระบบทีเ่ ข้ามาช่วยบริหารจัดการงาน และช่วยให้ท�ำงานสะดวกถูกต้อง และเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย นับเป็น ผู้ช่วยคนเ ก่ งของทีมงานที่ช่วยให้ดูแลบริการชาวไร่ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น นั้นหมายคว า ม ว่า เพื่อนมิตรชาวไร่จะจัดการแปลงได้ทันตาม ความต้องการนั้นเอง น อกจากนี้ ร ะ บบยังเชื่อมโยงข้อมูลเชิงพื้นที่ถึงความเป็น เจ้าของแปลง การท�ำกิจกรรมแปลง และผู้รับเหมาจัดการแปลง นั้น ๆ ทั้ ง นี้ ระบบ Cane MIS ยังเป็นระบบใหม่ ซึ่งต้องอาศัย การท�ำความเ ข้ าใจในการใช้งานระบบจากทีมงาน เพื่อให้เกิด ความพร้ อ มใน ก า รให้ บ ริ ก ารกั บ เพื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ซึ่ ง คาดว่ า คงใช้เวลาไม่นานนัก ท้ายที่สุด แล้วระบบนี้จะช่วยให้เพื่ อนมิตรชาวไร่สามารถ ้ จัดการแปลงได้ในเวลาทีเ่ หมาะสม รับบริการได้สะดวกรวดเร็วขึน สร้ า ง ค ว า ม มั่ น ค ง ด้ า น ผ ล ผ ลิ ต อ้ อ ย แ ล ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ของรายได้สู่ครัวเรือนได้ต่อไป M

39

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 39

4/4/17 11:05 AM


MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

ปลูกพืชบำ�รุงดินดียังไง? ่ ดลงไปเรือ ่ ย ๆ คือธาตุอาหารภายในทีจ ่ ำ� เป็นต่อ ดินเป็นทรัพยากรทีไ่ ม่มว ี น ั หมดก็จริง แต่สง ิ่ ทีล ่ ทีช ่ ว การเจริญเติบโตของอ้อย การปลูกพื ชบ�ำรุงดินก็เป็นอีกวิธห ี นึง ่ ยเพิ่ มธาตุอาหารให้กบ ั ดิน นอกจากนัน ้ แล้ว ยังมีประโยชน์อน ื่ ๆ อีกมากมายจะมีอะไรบ้างไปดูดก ี ว่า

ลดปริมาณโรค และแมลงศัตรูออ ้ ย

ท�ำให้ดินร่วนซุย อ่อนนุ่ม ไม่แข็งกระด้าง

ป้องกันการชะล้าง และพั งทลายของดิน รักษาอุณหภูมิ ้ ของดิน และความชืน

เพิ่ มอินทรียวัตถุ ให้กบ ั ดิน

ถัว ่ เหลือง ข้าวไร่

ช่วยสะสม ธาตุอาหารในดิน

ปอเทือง

ลดปริมาณ วัชพื ช ิ ทรีย์ เพิ่ มปริมาณจุลน ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้แก่ดน ิ

ปลูกพืชบำ�รุงดินง่าย ๆ แต่ได้ประโยชน์เต็ม ๆ แบบนี้จะช้ากันอยู่ท�ำ ไม ปลูกกันเลยดีกว่า 40

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 40

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

บำ�รุงอ้อยตอ ด้วยหลัก 3 ใช่ สู่ก�ำ ไรอย่างยั่งยืน

41

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 41

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 42

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

บุรุษชุดเขียว Ironman

จริง ๆ แล้ว การปลูกแบบร่องกว้าง 1.85 เมตร เทียบกับปลูกร่องแคบแบบเดิมผลผลิต ไม่แตกต่างกันมาก แต่ปลูกร่องกว้าง จะลดต้นทุน ลดเวลาการทำ�งานลงไปได้มากขึ้น เพราะกิจกรรมต่าง ๆ ในไร่อ้อย เราสามารถเอาเครื่องจักรทางการเกษตร ไปช่วยทุ่นแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่

​“ตอนนั้ น เป็ น เจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลเครื่ อ งมื อ เกษตรที่ ภู เขี ย ว พ อเขาเปิ ด ให้ มี โ ครงการไอรอนแมนก็ เ ลยลองดู เห็ น ปั ญ หา ห ลั ก ๆ ของมิ ต รชาวไร่ คื อ มี เ ครื่ อ งมื อ ไม่ เ พี ย งพอ มี อ ย่ า งมาก ก็ ผ าลสามใบที่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สั บ วั ช พื ช ก็ ไ ม่ ไ ด้ สั บ ใบ ก็ไม่ละเอียด ท�ำให้มิตรชาวไร่หลายรายต้องใช้วิธีเผาใบอ้อยทิ้ง ซึ่ ง เป็ น การท� ำ ลายอิ น ทรี ย วั ต ถุ ใ นดิ น พอให้ ล องใช้ ผ าลสั บ ใบ ที่ แ ม้ จ ะเป็ น ผาลที่ ผ ลิ ต ในประเทศแต่ ก็ สั บ ใบอ้ อ ยได้ ดี ก ว่ า ผาลสามธรรมดา ท� ำ ให้ ไ ม่ ต ้ อ งเผาอ้ อ ย พอไม่ เ ผาการท� ำ อ้ อ ย ก็ดีขึ้น มิตรชาวไร่หันมาตัดอ้อยสดกันมากขึ้น อ้อยก็ไม่โดนตัด ราคาอ้อยไฟไหม้ มีรายได้เพิ่มขึ้น” ​ซึ่ ง ช่ ว งสามปี ที่ พี่ ธ าวิ ต เป็ น ไอรอนแมนอยู ่ นั้ น ได้ แ นะน� ำ ให้ เ พื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ห ลายต่ อ หลายรายมาดู ง านเปรี ย บเที ย บ ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลทางการเกษตร ในการท� ำ เกษตรสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ท�ำให้เพื่อนมิตรชาวไร่ ที่ เ ห็ น ประโยชน์ ข องเครื่ อ งจั ก รกลทางการเกษตรตั ด สิ น ใจ เปลี่ยนมาใช้กันเกือบทั้งหมด เ ครื่ อ งมื อ ทางการเกษตรที่ พี่ ธ าวิ ต ได้ ใ ห้ ช าวไร่ อ ้ อ ย ลองไปใช้ มี ทั้ ง เครื่ อ งที่ ผ ลิ ต ภายในประเทศ และเครื่ อ งที่ น� ำ เข้ า จากประเทศออสเตรเลีย ประเทศบราซิล โดยพี่ธาวิตจะแนะน�ำ ตามความเหมาะสมกับชาวไร่เป็นรายบุคคลไป โดยดูตามขนาด พื้นที่เพาะปลูกเป็นเกณฑ์ ก ารที่จะใช้เครื่องมือทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกสิ่งที่ควรท�ำควบคู่กันไปคือการจัดเตรียมแปลงปลูกแบบมิตรผล โ มเดิร์นฟาร์ม โดยเฉพาะเปลี่ยนระยะปลูกเป็นร่องกว้างที 1.85 เมตร ซึ่งเป็นระยะที่เครื่องจักรท�ำงานได้ผลที่สุด “จริง ๆ แล้ว การปลูกแบบร่องกว้าง 1.85 เมตร เทียบกับ ปลูกร่องแคบแบบเดิมผลผลิตไม่แตกต่างกันมาก แต่ปลูกร่องกว้าง

จ ะลดต้นทุน ลดเวลาการท�ำงานลงไปได้มากขึ้น เพราะกิจกรรม ต่ า ง ๆ ในไร่ อ ้ อ ย เราสามารถเอาเครื่ อ งจั ก รทางการเกษตร ไปช่วยทุ่นแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่” ซึ่งนั้นคือหลักการพื้นฐานของหลักสี่เสา ทั้งการวางขนาด ร่องปลูกไว้ที่ 1.85 เมตร โดยเว้นระยะให้เครือ่ งจักรกลทางการเกษตร ทีจ่ ะเข้าไปท�ำงานภายในไร่สามารถผ่านไปได้โดยไม่ทำ� ความเสียหาย ใ ห้ กั บ ตออ้ อ ยที่ ป ลู ก ไว้ การไว้ ใ บอ้ อ ยคลุ ม ดิ น หรื อ เมื่ อ รถตั ด ม าตั ด อ้ อ ยสดเข้ า โรงงานแล้ ว เอาใบอ้ อ ยคลุ ม ดิ น ไว้ ก็ จ ะช่ ว ย จัดเก็บความชื้นเอาไว้ได้นาน ซึ่งจะลดการใช้สารปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ล งได้ ด ้ ว ยการใช้ ใ บอ้ อ ยคลุ ม ดิ น แทนการลดการไถพรวน บ ดอัดหน้าดินหรือ Control Traffic ไม่ให้ล้อรถขึ้นไปเหยียบ บนพื้นที่ที่จะใช้ปลูกอ้อย และปลูกพืชบ�ำรุงดิน ​โดยมีเพื่อนมิตรชาวไร่หลายคน ที่ได้น�ำหลักสี่เสาไปใช้จริง แล้วได้ผลดีมาก จนมีลูกไร่เอาไปต่อยอด บางคนแม้จะมีข้อจ�ำกัด ท�ำให้ได้ไม่ครบสี่เสา แต่ก็ยังได้ผลเป็นที่น่าพอใจ “ในมุ ม มองของผมการที่ จ ะท� ำ ไร่ อ้ อ ยให้ ย่ิ ง ยื น นั้ น หนึ่ ง ในสิ่ ง ส� ำ คั ญ มากที่ สุ ด คื อ ต้ อ งหาเครื่ อ งจั ก รกลทาง ่ ด การเกษตรมาช่วยให้ได้มากทีส ุ เพื่ อทดแทนแรงงานคน เพราะ อนาคตคนจะหายากขึ้น ค่าแรงจะแพงยิ่งขึ้น นอกจากจะใช้ เครื่องจักรแล้วการเตรียมแปลงปลูกอ้อยตามหลักมิตรผล โมเดิรน ์ ฟาร์มก็สำ� คัญ ถ้าเราต้องเตรียมแปลงเพื่ อรองรับการ ใช้เครื่องจักรไว้แล้ว เวลาหาแรงงานคนไม่ได้ ก็สามารถเอา เครื่องจักรมาใช้ได้เลย ถ้าท�ำได้จริงผมเชื่อว่าเครื่องจักรกล ่ งการลดต้นทุน ลดเวลาการท�ำงาน จะช่วยเพื่ อนมิตรชาวไร่ในเรือ ้ และรายได้เพิ่ มมากขึน ้ ครับ” ไอรอนแมนรุน ได้ผลผลิตทีเ่ พิ่ มขึน ่ แรก กล่าวทิง ้ ท้ายไว้ M

43

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 43

4/4/17 2:09 PM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 44

4/4/17 11:05 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

พรวนดิ น ละเอี ย ดเพื่ อ ท� ำ ให้ ดิ น ละเอี ย ดขึ้ น หลั ง จากไถครั้ ง แรก แล้วท�ำการปลูกพืชตระกูลถัว่ เช่น ถัว่ เหลือง ถัว่ เขียว และ ปอเทือง เพื่ อ เป็ น ปุ ๋ ย พื ช สด จะท� ำ ให้ ดิ น มี ธ าตุ ไ นโตรเจนเพิ่ ม มากขึ้ น จากเชื้อราไรโซเบียมในปมรากถั่วที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศ ลงมาเป็นปุ๋ยในดินให้กับอ้อยและตัดวงจรการระบาดของโรคแมลง ซึง่ เป็นหนึง่ ในหลักสีเ่ สาของการปลูกอ้อยแบบมิตรผล โมเดิรน์ ฟาร์ม โดยขัน้ ตอนเหล่านีม้ เี ครือ่ งจักรอุปกรณ์มาช่วยเบาแรงชาวไร่ ทัง้ เป็น เครื่องมือที่มีใช้ทั่วไปในบ้านเรา และเครื่องมือประสิทธิภาพสูง จากต่างประเทศโดยแต่ละชนิดมีขอ้ ดีและข้อด้อยแตกต่างกัน ซึง่ เครือ่ งมือทีแ่ นะน�ำในวันนีค้ อื Offset Disc Harrow 360 เครือ่ งจักรตัวเก่งน�ำเข้าจากบราซิลทีม่ ปี ระสิทธิภาพดีกว่าเครือ่ งจักร ตัวอืน่ ๆ ส�ำหรับงานไถกลบเศษซากเจ้า Offset Disc Harrow 360 สามารถไถกลบซากได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้งานถึงวันละ50 ไร่ เทียบ กับเครือ่ งอืน่ ๆ ทีไ่ ด้ไม่เกิน 20 ไร่

ของเล่นชาวไร่

แต่สงิ่ ทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ คือเครือ่ ง Offset Disc Harrow 360 นีใ้ ช้ได้ ทัง้ งานไถกลบเศษซาก และงานพรวนดินละเอียด หลังจากไถครัง้ แรก ซึง่ เครือ่ งอืน่ ๆ ท�ำได้เพียงแค่อย่างเดียวเท่านัน้ ทีส่ ำ� คัญประสิทธิภาพงานพรวนดินละเอียดของเจ้าตัว Offset Disc Harrow 360 นัน้ ต้องขอบอกเลยว่า เครือ่ งอืน่ ๆ เทียบไม่ตดิ ทั้งเรื่องคุณภาพของงานและความรวดเร็วในการท�ำงานที่สามารถ ท�ำงานได้ถงึ วันละ 50 ไร่ในขณะทีเ่ ครือ่ งอืน่ ๆ ท�ำได้เพียง 20 ไร่เท่านัน้ เอ่อ..ก็ไม่มากเท่าไหร่ แค่เกือบ ๆ 3 เท่าเอง เครือ่ ง Offset Disc Harrow 360 นีต้ อ้ งการรถแทรกเตอร์ ขนาดตั้งแต่ 150 แรงม้าขึ้นไป ซึ่งเพื่อนมิตรชาวไร่ที่ท�ำแปลงดีไซน์ ไว้แล้วไม่นา่ จะมีปญ ั หาอะไร เพราะรถแทรกเตอร์วงิ่ ได้ยาว ๆ ไม่ตอ้ ง กลัวท�ำแปลงปลูกเสียหายเครื่องเดียวได้ตั้งสองอย่าง แถมยังได้งาน มากกว่าอีกด้วย ทุ่ น ทั้ ง แรง ทุ่ น ทั้ ง เงิ น ในกระเป๋ า คุ้ ม กว่ า นี้ มี ที่ ไ หน ใช่ไหมครับ M

45

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 45

4/4/17 11:05 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 46

4/4/17 1:42 PM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

อะไรคื อ สาเหตุ ห ลั ก ที่ เ พื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ค นนี้ เ ทหมดใจ ให้หมดไร่ กับทางมิตรผลเราลองไปดูกันดีกว่าครับ “หลัก ๆ เลยคือผมคุยกับมิตรผลกันแล้วรู้เรื่องเลยว่าอะไร เป็นไปได้ไม่ได้ ไม่มีคลุมเครือ ไม่มีมาเปลี่ยนเอาเองในตอนหลัง ค� ำ ไหนก็ ค� ำ นั้ น เมื่ อ เราตกลงอะไรกั บ เขาแล้ ว เราต้ อ งท� ำ ให้ ไ ด้ ตามนั้น ไม่อย่างนั้นแล้วมันจะยุ่งวุ่นวายทั้งเขาทั้งเรา” ​ค� ำ ว่ า คุ ย กั น รู ้ เรื่ อ งส� ำ หรั บ เพื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ค นจริ ง อย่ า ง พี่อ�ำนาจ ยังมีความหมายครอบคลุมไปถึงการอยู่กันแบบเป็นเพื่อน เ ป็ น มิตรจริง ๆ ไม่ใช่เคยพูดขึ้นมาลอยๆ แต่จริงๆ แล้วมองกัน แ ค่ เ พียงชิ้นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมอ้อย หรือเป็นเพียงตัวเลข ที่โรงงานใช้เติมให้เต็มในบัญชีการเงินประจ�ำปี ​อ ย่ า งกรณีปีที่ผ่านมา ที่ปัญหาใหญ่สุดของชาวไร่อ้อยคือ เรื่ อ งความแห้งแล้ง อ้อยส่วนใหญ่ได้น�้ำไม่เพียงพอผลผลิตตกต�่ำ จา ก เ ฉ ลี่ยที่เคยได้ไร่หนึ่งไม่ต�่ำกว่า 15-16 ตัน กลายมาเหลือ เพี ย งแค่ 7-8 ตั น ซ�้ ำ ร้ า ยบางแปลง ต้ อ งตั ด ใจไถอ้ อ ยทิ้ ง เ พ ร า ะ แล้งหนักจนอ้อยที่ได้มีขนาดสั้นไม่คุ้มค่าตัด ปีนั้นโควต้า ที่ พี่ อ� ำ นาจได้ ม ามากกว่ า 30,000 ตั น ซึ่ ง ถื อ ว่ า เยอะมาก ในสถานการณ์เช่นนี้พี่อ�ำนาจเลยตัดสินใจเขาไปคุยกับทางมิตรผล ซึ่ ง สุ ด ท้ า ยก็ ไ ด้ ป รั บ ลดโควต้ า ลงมาเหลื อ เพี ย ง 20,000 ตั น นี่ เ ป็ น หนึ่ ง ในเรื่ อ งความเห็ น อกเห็ น ใจกั น ระหว่ า งโรงงานและ ชาวไร่อ้อยที่พี่อ�ำนาจเรียกมันว่าความเป็นมิตร ​แ ต ก ต่างจากโรงงานน�้ำตาลอื่น ที่พี่อ�ำนาจขอไม่เปิดเผย ชื่ อ โรงงาน เพราะมีประสบการณ์ที่ไม่ดีจากการถูกตัดโควต้าอ้อย ช่ ว ง ที่มีอ้อยเข้าสู่โรงงานเยอะ ในฤดูที่อ้อยให้ผลผลิตดี โดยทาง โร ง ง า นให้เหตุผลกับพี่อ�ำนาจว่า พี่อ�ำนาจไปส่งอ้อยเข้าโรงงาน อื่ น อ ยู ่ แ ล้ ว แค่ ถู ก ตั ด โควต้ า จากที่ นี่ ที่ เ ดี ย วก็ ส ามารถไปหา ที่ ล ง อ้ อ ยที่ อื่ น ได้ ทั้ ง ที่ ผ ่ า นมาพี่ อ� ำ นาจก็ ส ่ ง อ้ อ ยให้ โรงงานนี้ คร บ ต า มโควต้ า โดยไม่ ข าด ภายหลั ง พี่ อ� ำ นาจเลยตั ด สิ น ใจ ถอ น ห ลั ก ทรั พ ย์ จ ากโรงงานน�้ ำ ตาลแห่ ง นั้ น มาทั้ ง หมด เพราะ หมดความเชื่อถือในตัวโรงงานแห่งนั้น ​“ตอนนั้นผมพูดกับทางโรงงานนั้นว่า ถ้าที่นี่มีโรงงานน�้ำตาล ของเข าเพียงเจ้าเดียว ผมจะเลิกปลูกอ้อยไปตลอดชีวิต ทั้งที่ผม เป็นลูกค้าคุณภาพดี ประวัติดีส่งหนี้หมดทุกปี ไม่เคยค้างส่งหนี้เลย ส่ ว นรุ่นลูกรุ่นหลานจะท�ำแล้วกลับไปส่งอ้อยให้ที่นั้นอีกหรือเปล่า ก็ เ รื่ อ งของเขา แต่ ผ มกั บ ภรรยาเจอมาเยอะเข็ ด แล้ ว ไม่ อ ยาก ก ลั บ ไ ปเจอแบบนั้น อีก เขาไม่เอิ้อเฟื้อมีน�้ำ ใจให้ กั น อ้ อ ยขาด ก็โดนตัดคิว ตั้งแต่นั้นมาก็ไม่ไปเลย อ้อยสดก็ไม่ไป” ​พี่ อ� ำ นาจผู ้ ที่ ค ลุ ก คลี กั บ อ้ อ ยมานานกว่ า 40 ปี ตั้ ง แต่ สมัยวัยรุ่นอายุ 17-18 ได้บอกเล่าถึงประสบการณ์เลวร้ายที่ได้เจอ ในครั้งนั้น ที่เป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญให้ตัดสินใจมาอยู่กับทางมิตรผล

สุขจากไร่

หลัก ๆ เลยคือผมคุยกับมิตรผลกันแล้ว รู้เรื่องเลยว่าอะไรเป็นไปได้ไม่ได้ ไม่มีคลุมเครือ ไม่มีมาเปลี่ยนเอาเอง ในตอนหลัง คำ�ไหนก็ค�ำ นั้น เมื่อเราตกลงอะไรกับเขาแล้ว เราต้องทำ�ให้ได้ตามนั้น ไม่อย่างนั้นแล้ว มันจะยุ่งวุ่นวายทั้งเขาทั้งเรา

ท�ำไมวางใจเลือกมิตรผลเพียงเจ้าเดียว ก่ อ นที่ พี่ อ� ำ นาจจะมาเป็ น แฟนพั น ธุ ์ แ ท้ มิ ต รผล ที่ ส ่ ง อ้ อ ย ให้ มิ ต รผลเพี ย งเจ้ า เดี ย วนั้ น พี่ อ� ำ นาจได้ ก ระจายส่ ง อ้ อ ย หลายโรงงาน จนได้ ม าส่ ง ที่ โ รงงานน�้ ำ ตาลมิ ต รผลสิ ง ห์ บุ รี ในเครือมิตรผล ที่แม้ระยะทางจะค่อนข้างไกลจากไร้อ้อยส่วนใหญ่ ของพี่ อ� ำ นาจและลู ก ไร่ ใ นกลุ ่ ม แต่ เ พราะเจ้ า หน้ า ที่ มิ ต รผล พู ด คุ ย กั น ง่ า ยสบายใจ สามารถเปิ ด ใจได้ และให้ ค วามส� ำ คั ญ กับพี่อ�ำนาจในช่วงที่อ้อยล้นตลาด โรงงานน�้ำตาลอื่นเปิดรับอ้อย เข้าหีบได้ไม่ได้เต็มที่ บางโรงไม่มีคิวให้เลย แต่ทางโรงงานน�้ำตาล มิตรผลเปิดรับได้ทั้งหมด ถ้าโรงงานที่สิงห์บุรีหีบไม่ไหว ยังสามารถ โอนโควต้า หรือไปเปิดโควต้าใหม่ได้ที่โรงงานน�้ำตาลมิตรผล อ�ำเภอ ด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรีได้ อย่างเช่นเมื่อสามปีที่แล้ว เป็นปีที่ผลผลิตอ้อยมีจ�ำนวนมาก โรงงานน�้ ำ ตาลสิ ง ห์ บุ รี หี บ ไม่ ทั น พี่ อ� ำ นาจเลยตั ด สิ น ใจเอาอ้ อ ย ที่ เ หลื อ จ� ำ นวนกว่ า 10,000 ตั น ไปส่ ง ที่ โรงงานน�้ ำตาลมิ ต รผล ด่านช้าง ครั้งนั้นเป็นจุดชี้ชะตาเลยว่าอ้อยที่ท�ำมาทั้งปีจะขาดทุน หรือไม่ เพราะออกเงินให้ลูกไร่ไปแล้ว “ตอนนั้ น คิ ด และตั ด สิ น ใจเลยว่ า ไม่ มี ท างเลื อ กอื่ น แล้ ว นอกจากต้องเดินหน้าลุยต่อไปให้สุด มีอ้อยเหลือขาดทุนแน่นอน เพราะให้เงินเกี๊ยวลูกไร่เขาไปจนหมด รอบนั้นลงทุนเปลี่ยนยาง รถพ่วงใหม่เลยทั้งหมด ถ้าระเบิดมาไม่คุ้มกัน พอผ่านตรงนั้นมาได้ มั่ น ใจมากขึ้ น เลยว่ า ไม่ ว ่ า จะเจออะไรเราก็ ผ ่ า นมาได้ ห มด ที่ส�ำคัญเห็นเลยว่าตัดสินใจไม่ผิดที่เลือกมิตรผล เพราะคอยให้ ความช่วยเหลืออยู่ตลอด” มิตรผลจึงกลายมาเป็นบ้านหลังใหม่ อันแสนอบอุน่ ของพีอ่ ำ� นาจอย่างเต็มตัว จากเดิมทีเ่ คยเช่าบ้านเขาอยู่ ไม่รู้ว่าวันดีคืนดีจะโดนไล่ออกเมื่อไหร่ 47

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 47

4/4/17 11:06 AM


สุขจากไร่

MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

48

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 48

4/4/17 11:06 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

“ผมเคยพูดเลยนะว่าอ้อยของผม ทุกลำ�จะเข้าโรงหีบมิตรผลหมด ถ้าที่สิงห์บุรีรับได้ไม่หมดก็จะพยายาม ไปส่งที่ด่านช้างในเครือมิตรผล นอกจากอ้อยท่อนที่หล่นข้างทาง

โรงงานมีหน้าที่หีบ ผมมีหน้าที่ส่งไม่ต้องตาม เข้าใจกันเลย ไม่มีหนีไปไหน ลำ�เดียวก็ไม่ไป

อะไรคือคุณสมบัติที่ดีของมิตรชาวไร่ ส�ำ ห รั บ พี่อ�ำนาจแล้ว คุณสมบัติที่ดีของมิตรชาวไร่ส�ำคัญ ที่สุดคือเรื่องความซื่อสัตย์ โดยเฉพาะเรื่องการไปเกี๊ยวจากโรงงาน น�้ ำ ต า ล ไ หน ถึ ง เวลาตั ด อ้ อ ยก็ ต ้ อ งซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ โรงงานน�้ ำ ตาล โดยไ ม่ ห นีไปส่งอ้อยที่โรงงานอื่น แม้จะมีผลประโยชน์ที่มากกว่า ก็ตา ม แ ต่บางครั้งที่อ้อยไม่พอจริง ๆ มิตรชาวไร่ที่ดีก็ต้องเข้าใจ ยอมลดโควต้าลงตามความเป็นจริง หรือมีปัญหาอะไรก็เข้ามาคุย อย่า ง เช่ นที่พี่อ�ำนาจเคยเจอเรื่องอ้อยให้ผลผลิตเยอะหาแรงงาน มาตั ด ไ ม่ ทัน โรงงานก็ช่วยเหลือเอารถตัดมาช่วย จนปัจจุบัน พี่อ�ำนาจมีรถตัดเป็นของตัวเองแล้ว ที่ผ่า น ม า พี่อ�ำนาจมีลูกไร่ในกลุ่มอยู่ 48 ราย ใช้วิธีบริหาร ลูกกลุ่ ม คือออกค่าเกี๊ยว คือ “เงินบ�ำรุงไร่” ที่ชาวไร่อ้อยจะได้รับ จากโรงงานน�ำ้ ตาล เพือ่ ใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการปลูกอ้อยช่วงต้นฤดู ให้ลูกไร่ไปก่อน โดยใช้เงินของพี่อ�ำนาจเอง และเปิดโควต้าให้ลูกไร่ เพื่อจ ะ ไ ด้ ต า มไปเก็บค่าเกี้ยวได้ในตอนตัดอ้อย โดยดูจากลูกไร่ คนไหนที่น่าเชื่อถือถึงจะปล่อยเกี๊ยวให้ เพราะการปล่อยเกี๊ยวของ พี่อ�ำนาจไม่ เ หมือนโรงงานน�้ำตาล ที่ต้องมีหลักทรัพย์ค�้ำไว้ ลูกไร่ ส่วนใหญ่ ก็ ไ ม่ ค่อยมีหลักทรัพย์ไว้ค�้ำส่วนใหญ่หลักทรัพย์ไปอยู่ที่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ที่ให้ดอกเบี้ยถูกกว่า การเปิดโควต้าให้ลูกไร่ แทนการให้ลูกไร่ไปเปิดโควต้ากันเอง เป็นการ ป้ อ ง กั นเวลามีโรงงานน�้ำตาลใหม่ ๆ มาเปิดใกล้ไร่อ้อย ของลูกไร่ ใ นกลุ่ม ที่อาจถูกดึงไปส่งอ้อยได้ เพราะโรงงานน�้ำตาล เปิดใหม่ มั ก จ ะ ออกโปรโมชั่นที่ให้ผลประโยชน์มากกว่ามาดึงดูด โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพาะปลูกอ้อยของเกษตรกรเลย ที่ ผ ่ า น ม า พี่ อ� ำ นาจดู แ ลให้ ค� ำ ปรึ ก ษาลู ก ไร่ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด ทัง้ เรือ่ งลงทุนเจาะบ่อบาดาล การเอารถมาไถเตรียมแปลง รวมไปถึง เอารถตั ด ม า ช่ ว ย ตัดอ้อย เรียกว่าแทบจะบริการแบบวันสต็อป เซอร์วิสกันเลยทีเดียว

สุขจากไร่

โดยทุ ก ค รั้ ง ที่ โรงงานน�้ ำ ตาลมิ ต รผลสิ ง ห์ บุ รี เ ปิ ด หี บ อ้ อ ย วันแรก พี่ อ�ำ น า จจะมีก็มีอ้อยมารอเป็นชุดแรกเสมอ เพราะเป็น คนวางแผนดี ตั ด อ้ อยไว ทั้งที่ฤดูปิดหีบอ้อยเป็นช่วงที่หารถตัดรถ ขนอ้อยได้ค่อนข้างยาก นี้เป็นอีกหนึ่งคุณสมบัติของมิตรชาวไร่ที่ดี ส่วนทางโรงงานก็ ช่วยเหลือประสานงาน เรื่องรถขนอ้อย ให้ไปส่ ง ไ ด้ ทั น เ วลา รวมถึงเวลามีประชุมนโยบายอะไรก็แจ้ง อยู่ตลอดเวลาให้พี่อ�ำนาจเข้าไปร่วมประชุมด้วยเสมอ ปีที่ผ่ า น ม า ท า ง โรงงานน�้ำตาลสิงห์บุรี ตั้งเป้าให้หีบอ้อย ให้ได้ 1 , 5 4 0 , 0 0 0 ตัน ซึ่งเป็นโจทย์ที่ค่อนข้างยาก แต่สุดท้าย ก็ท�ำได้ เพราะความร่วมมือกันของพนักงานโรงงานน�้ำตาลที่สิงห์บุรี และชาวไร่หนองม่วงของพี่อ�ำนาจ ที่วางแผนวิ่งหาอ้อยมาส่งโรงงาน ให้ได้ตามจ�ำนวนทันเวลาตามโควต้า ช่ ว งนั้ น พี่ อ� ำ น า จ บ อกว่ า ทั้ ง สนุ ก ทั้ ง เหนื่ อ ยเพราะวิ่ ง วุ ่ น กันไปหมด ไม่ ไ ด้ ไ ปรับตัดอ้อยในเขตอื่นเลย ต้องตัดเฉพาะเขตนี้ และเอามา เข้ า หี บ โร ง งานน�้ำตาลสิงห์บุรีเท่านั้น ถ้ารถตัดไม่ทัน ก็ให้คนง า น ตั ด ใ ห้ ไ ด้มากที่สุด การร่วมมือร่วมใจกันของโรงงาน และชาวไร่ อ้ อ ย ใ น ค รั้ ง นั้ น เป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ของทั้งส อ ง ฝ่ า ย เ ป็ นเพื่อนที่เห็นอกเห็นใจกันร่วมฝ่าฟันปัญหา ไปด้วยกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน “ผมเคยพู ด เ ล ย น ะ ว่ า อ้ อ ยของผมทุ ก ล� ำ จะเข้ า โรงหี บ มิตรผลหมด ถ้ า ที่ สิ งห์บุรีรับได้ไม่หมดก็จะพยายามไปส่งที่ด่านช้าง ในเครือมิตรผล นอกจากอ้อยท่อนทีห่ ล่นข้างทาง โรงงานมีหน้าทีห่ บี ผมมีหน้าทีส่ ง่ ไม่ตอ้ งตาม เข้าใจกันเลย ไม่มหี นีไปไหน ล�ำเดียวก็ไม่ไป” มุ่งสู่โมเดิร์นฟาร์ม ​พี่อ�ำนาจได้ทดลองท�ำโมเดิร์นฟาร์มได้ 2 ปี จากการไปดูงาน ทีอ่ อสเตรเลีย ท�ำให้ได้เห็นวิธกี ารปลูกอ้อยแบบสมัยใหม่ พอกลับมา จึงตัดสินใจเปลี่ยนมาใช้โมเดิร์นฟาร์มบ้าง โดยเริ่มจากการรื้อเฉพาะ แปลงที่ต้องรื้อตออยู่แล้วในปีแรกเปลี่ยนได้ประมาณ 100 ไร่ อ้ อ ยที่ เ ปลี่ ย นมาใช้ วิ ธี โ มเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ล็ อ ตแรก เห็ น ผล พ อสมควรเลยว่าดีกว่าการปลูกอ้อยแบบเก่า ทั้ง ๆ ที่เครื่องมือ ยังไม่พร้อมเท่าที่ควร โดยอนาคตมิตรชาวไร่ของเรามีแนวโน้ม ว่ า จะเปลี่ ย นไปเป็ น การปลู ก อ้ อ ยแบบโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ทั้ ง หมด เพราะเห็นผลแล้วว่าดีกว่าปลูกอ้อยแบบเดิม ส าเหตุที่ม่ันใจกล้าเปลี่ยนเป็นโมเดิร์นฟาร์ม เพราะเชื่อใจ มิ ต รผลที่ อ ยู ่ กั น มานาน และมี ก ารพาไปดู ง านศึ ก ษาให้ เ ห็ น ของจริง น�ำอุปกรณ์เครื่องจักรมาสาธิตท�ำให้ดู ท�ำให้กล้าทดลอง ตามแนวทางใหม่ของมิตรผล ซึ่งทั้งหมดมาจากความจริงใจไว้เนื้อเชื่อใจกัน ทั้งจาก โ รงงานและตัวมิตรขาวไร่อย่างพี่ อ�ำนาจ ที่น�ำมาซึ่งประโยชน์ ่ ง ทีย ั่ ยืนร่วมกัน M

49

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 49

4/4/17 11:06 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 50

4/4/17 11:06 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 51

4/4/17 11:06 AM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 52

4/4/17 11:06 AM


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ที่ผ่านมาช่วงฤดูเปิดหีบอ้อยเป็นช่วงเวลาที่เพื่อนมิตรชาวไร่ หลายคนตัง้ หน้าตัง้ ตารอคอยเพราะหลังลงทุนลงแรง ประคบประหงม อ้อยกันมาเป็นปี ระยะเวลาประมาณหนึ่งเดือนของการเปิดหีบอ้อยจึงเป็น ช่วงส�ำคัญ เพราะเป็นการก�ำหนดชะตาว่ารายได้จากการปลูกอ้อย จะคุ้มค่ากับหยาดเหงื่อทุกหยดที่เสียไปหรือไม่ ไหนจะต้องมาลุ้น ทั้งน�้ำหนักอ้อย ค่าความหวาน อ้อยสดอ้อยไฟไหม้ หรือ จะตัดอ้อย ส่งทันช่วงเปิดหีบหรือเปล่า การสร้างขวัญและก�ำลังใจจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ดังนั้นก่อน การเปิดหีบแต่ละครั้ง จึงต้องมีการเอาฤกษ์เอาชัยกันสักหน่อย นั้นก็คือประเพณีการโยนอ้อย ซึ่งประเพณีการโยนอ้อยนี้มีที่มาจากคุณบรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มธุรกิจกลุ่มงานอ้อย กลุ่มมิตรผล ที่เห็น ความส�ำคัญของการเปิดหีบอ้อยทีม่ ตี อ่ ความหวังของเพือ่ นมิตรชาวไร่ จึงมีการนิมนต์พระสงฆ์มาท�ำพิธีทางศาสนา ในช่วงที่โรงงาน ก�ำลังเริ่มเดินเครื่องจักร ก่อนจะให้มีการประเดิมโยนอ้อยเข้าไป ในหีบอ้อย ประหนึ่งพิธีตัดไม้ข่มนามในสมัยโบราณ ที่ก่อนทหาร จะท� ำ ศึ ก ใหญ่ จะตั้ ง ท� ำ พิ ธี เ พื่ อ เป็ น ขวั ญ และก� ำ ลั ง ใจในการ พิชิตชัยชนะ

หลากสไตล์มิตรชาวไ่ร่

โดยแต่ละโรงงานน�้ำตาลมีช่วงเปิดหีบอ้อยไม่ตรงกัน ยึดตาม ความเหมาะสมของผลผลิตในแต่ละพืน้ ที่ ส่วนใหญ่จะอยูช่ ว่ งปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ซึ่ ง แต่ ล ะโรงหี บ อ้ อ ยก็ เชิ ญ แขกผู ้ มี เ กี ย รติ ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ของท้องถิ่น นั้นมาเป็นผู้ประเดิมโยนอ้อยเข้าหีบคนแรก ส�ำหรับทิศทางแนวโน้มราคาน�้ำตาลโลกยังอยู่ในช่วงขาขึ้น จากการประเมินปริมาณสต๊อกน�้ำตาลทรายในตลาดโลกที่มีทิศทาง ปรับตัวลดลง ท�ำให้หลายประเทศเริ่มมีการสั่งซื้อน�้ำตาลทรายเข้าสู่ สต๊อกมากขึ้น เพื่อบริหารความเสี่ยงให้เพียงพอต่อความต้องการ ของแต่ละประเทศ ขณะเดียวกันแนวโน้มของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะประเทศ ที่ก�ำลังพัฒนามีเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัวในทางที่ดีขึ้น จึงเป็นปัจจัย เกื้ อ หนุ น ที่ ดี ต ่ อ ความต้ อ งการบริ โ ภคน�้ ำ ตาลทรายในตลาดโลก และค่าเงินบาทที่อ่อนลง ยังส่งผลดีต่อภาพรวมของอุตสาหกรรม อ้อยและน�้ำตาลทรายในปีนี้ที่จะมีรายได้จากการส่งออกน�้ำตาล เพิ่มขึ้นอีกด้วย ถือได้วา่ เป็นขาขึน้ ของอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายไทย หลั ง พื ช อ้ อ ยขึ้ น แท่ น เป็ น พื ช เศรษฐกิ จ ที่ มี แ นวโน้ ม ราคาดี เมื่ อ น� ำ ไปผลิ ต เป็ น น�้ ำ ตาลทราย สอดรั บ ความต้ อ งการ ซื้ อ น�้ ำ ตาลทรายในตลาดโลกเพิ่ ม ขึ้ น จากภาวะเศรษฐกิ จ โลก ในหลายประเทศเริ่มดีขึ้น สร้างความมั่นใจให้กับเพื่อนมิตรชาวไร่ ว่าจะมีรายได้ที่มั่นคงจากการเพาะปลูกอ้อย ร�ำ่ รวยรับทรัพย์กน ั ถ้วนหน้า ยินดีแทนเพื่ อนมิตรชาวไร่ ทุกคนครับ M

53

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 53

4/4/17 11:06 AM


MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

54

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 54

4/4/17 11:06 AM

�������


กุมภาพันธ์ มกราคม 2560 2560

MITR PHOL MODERNFARM

55

���������� ���� ������ ���������� ok.indd 55 2017 E1.indd 55

2/2/2560 4/4/17 BE 11:06 5:02 AM PM


MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

AD 3 56

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 56

4/4/17 11:06 AM

�������


กุมภาพันธ์ 2560

MITR PHOL MODERNFARM

57

���������� ���� ������ ���������� ok.indd 57 2017 E1.indd 57

2/2/2560 4/4/17 BE 11:06 5:02 AM PM


���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 58

4/4/17 11:06 AM

�������


กุมภาพันธ์ มกราคม 2560 2560

MITR PHOL MODERNFARM

59

���������� ���� ������ ���������� ok.indd 59 2017 E1.indd 59

2/2/2560 4/4/17 BE 11:06 5:02 AM PM


MITR PHOL MODERNFARM

กุมภาพันธ์ 2560

60

���������� ���� ���������� 2017 E1.indd 60

4/4/17 11:06 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.