วารสาร มิตรชาวไร่ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 เดือนธันวาคม 2559

Page 1

���������� ����� ok.indd 1

12/7/16 5:44 PM


���������� ����� ok.indd 2

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 3

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 4

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

พระราชด� ำ รั ส นี้ เ ปรี ย บเสมื อ นน�้ ำ ทิ พ ย์ ช โลมใจพวกเรา คนท� ำ อ้ อ ยทุ ก คน เป็ น ความซาบซึ้ ง ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ เจ้ า ฟ้ า เจ้ า แผ่ น ดิ​ิ น ทรงมี ค วามห่ ว งใยต่ อ เกษตรกรชาวไร่ อ ้ อ ย ที่ ก� ำ ลั ง ล� ำ บากแร้ น แค้ น อยู ่ ใ นขณะนั้ น โดยเราได้ น ้ อ มน� ำ พระราชด� ำ รั ส นี้ ม าใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาสู ่ ค วามยั่ ง ยื น น� ำ มาขยายผลสื บ เนื่ อ งในเรื่ อ งการดู แ ลคุ ณ ภาพชี วิ ต มิ ต รชาวไร่ และการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนควบคู ่ กั น ไปอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เพื่อสนองพระราชปณิธานของพระองค์อย่างเต็มความสามารถ จุดเริ่มต้นของการพัฒนาในเรื่องนี้ เริ่มจากอ้อยเพียงไม่กี่ล�ำ ในพื้ น ที่ ท รงงานส่ ว นพระองค์ ต่ อ มาได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ และก� ำ ลั ง การผลิ ต เอทานอลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนเมื่ อ วั น ที่ 16 พฤษภาคม 2539 ภายในโครงการส่ ว นพระองค์ ส วนจิ ต รลดา จึงได้เกิดสถานีบริการแก๊สโซฮอล์ เพื่อให้บริการรถยนต์ที่ใช้ใน โครงการส่วนพระองค์ฯ โดยการน้อมเกล้าฯ ถวายของการปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย (ปตท.) ท�ำให้ภาพของพลังงานทดแทนชัดเจน ขึ้นเรื่อย ๆ ตามล�ำดับ และเป็นต้นแบบให้กับหลายภาคส่วนได้น�ำไป วิจัยและพัฒนาในเวลาต่อมา

นอกจากเรื่ อ งการพั ฒ นาอ้ อ ยสู ่ พื ช พลั ง งานแล้ว ในหลวง รัชกาลที่ 9 ยังทรงได้พระราชทานแนวทางการพัฒนาด้านเกษตรกรรม สู่ความยั่งยืนไว้มากมายผ่านโครงการในพระราชด�ำรินับร้อยนับพัน เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ชั ด จนได้ รั บ การถวายพระราชสมั ญ ญา “กษัติรย์เกษตร” โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาปัจจัย การเพาะปลูกที่ส�ำคัญอย่างดิน ทรงปรับสภาพดินในแต่ละพื้นที่ ให้เหมาะสมกับการเพาะปลูกด้วยวิธีแกล้งดิน แก้ปัญหาดินเปรี้ยว ดิ น เค็ ม ดิ น เป็ น กรดเป็ น ด่ า งให้ เ กษตรกรสามารถกลั บ มา เพาะปลู ก พื ช พั น ธุ ์ ต ่ า ง ๆ ได้ ผ ลงอกงามอี ก ครั้ ง ในเรื่ อ งของ การพัฒนาแหล่งน�ำ้ ชลประทานขนาดเล็กในทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง ของพระองค์ นั้ น ได้ ส อนให้ เรารู ้ จั ก พึ่ ง พาตนเอง โดยแบ่ ง พื้ น ที่ ส่วนหนึง่ แยกมาขุดสระเพือ่ ให้มนี ำ�้ ไว้ใช้เพาะปลูกในพืน้ ทีข่ องเราเอง และยังสามารถใช้เป็นบ่อส�ำหรับเลีย้ งพันธุส์ ตั ว์นำ�้ ได้ในคราวเดียวกัน ในส่วนของการบริหารจัดการแหล่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ “โครงการแก้มลิง” ได้ช่วยเกษตรกรแก้ปัญหาการขาดแคลนน�้ำใช้และยังช่วยแก้ปัญหา น�้ำท่วมเมืองไปพร้อม ๆ กันได้ในคราวเดียวกัน นี่ เ ป็ น เพี ย งงานส่ ว นหนึ่ ง ที่ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจให้ เ รา ลุกขึ้นต่อสู้กับความยากล�ำบาก และจะเป็นเครื่องเตือนใจให้เรา ต้องท�ำงานอย่างหนักไม่ทอ้ ถอยตราบเท่าทีง่ านของเรายังไม่บรรลุผล ผมและที ม งาน พวกเราคื อ ชาวไร่ คื อ คนปลู ก อ้ อ ยในรั ช สมั ย ของพระองค์ เรามีความซาบซึ้งและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ และพร้ อ มจะสื บ สานพระราชปณิ ธ านในการ พั ฒ นาประเทศ และพั ฒ นาคุ ณ ชี วิ ต เกษตรกรไทยให้ มี ชี วิ ต ความเป็นอยู่ที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนได้ต่อไป ขอให้ ทุ ก คนจงภู มิ ใ จที่ ไ ด้ เ กิ ด มาเป็ น ชาวไร่ ใ นแผ่ น ดิ น ในหลวงรัชกาลที่ 9 M

05

���������� ����� ok.indd 5

12/8/16 1:35 PM


���������� ����� ok.indd 6

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

ในแปลงทดลองเพื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ พั น ธุ ์ อ ้ อ ยมาตรฐาน และ ปลูกทดสอบในไร่ของเกษตรกร พบว่า มีศักยภาพการให้ผลผลิตสูง และเกษตรกรให้ ก ารยอมรั บ ซึ่ ง อ้ อ ยพั น ธุ ์ นี้ มี ลั ก ษณะเด่ น คื อ หากปลูกในเขตชลประทานจะให้ผลผลิตน�ำ้ หนักเฉลีย่ 19.77 ตัน/ไร่ สู ง กว่ า พั น ธุ ์ K 84-200 ซึ่ ง เป็ น พั น ธุ ์ อ ้ อ ยมาตรฐาน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 41 ซึ่ ง นั บ ว่ า สู ง มาก และถ้ า ปลู ก ในเขตที่ มี น�้ ำ เสริ ม จะให้ ผ ลผลิ ต เฉลี่ ย 15.28 ตั น /ไร่ สู ง กว่ า พั น ธุ ์ K 84-200 ร้อยละ 11 นอกจากนั้นยังต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดงปานกลาง ส่วนอ้อยพันธุ์อู่ทอง 84-11หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า “อู่ทอง 11” ได้จากการผสมข้ามระหว่างอ้อยพันธุ์แม่ 93-2-085 กับพันธุ์พ่อ 92-2-065 ซึ่งอ้อยพันธุ์ใหม่นี้มีลักษณะเด่น คือ ถ้าปลูกในพื้นที่ เขตชลประทานจะให้ ผ ลผลิ ต น�้ ำ หนั ก เฉลี่ ย 18.24 ตั น /ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 ร้อยละ 30 ถ้าปลูกในเขตที่มีน�้ำเสริม จะให้ผลผลิตเฉลี่ย 13.25 ตัน/ไร่ ศูนย์วิจัยและพั ฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี กรมวิชา การเกษตร จึ ง มองเห็ น ว่ า อ้ อ ยพิ เศษพั นธุ์ “อู่ ท อง 10” และพั นธุ์ “อูท ่ อง 11” จึงเป็น “พั นธุแ ์ นะน�ำ” และ “พั นธุร์ บ ั รอง” เพื่ อร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ล อดุลยเดช ในวาระพระราชพิ ธม ี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ ในขณะเดี ย วกั น ยั ง เป็ น การช่ ว ยเพิ่ มทางเลื อ ก ให้ กั บ เกษตกรที่ จ ะได้ ใ ช้ พื ชพั นธุ์ ดี ใ นการเพิ่ มประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิต และสร้างอาชีพสร้างรายได้อก ี ด้วย M

07

���������� ����� ok.indd 7

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 8

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

CONTENTS

CONTENTS

ROYAL ANTHEM SUFFICIENT ECONOMY INTEGRATED FARMING KING BHUMIBOL ADULYADEJ DETENTION BASIN AGGARAVATING THE SOIL THE LEARNING RESORT THE CO-OPERATIVE THE INNOVATOR THE MIRACLE SURVIVORS ALWAYS IN MY MIND THE ROYAL PROJECTS WRITINGS BY THE KING THE DAM OF THE KING THE ENERGY OF LIFE

10 12 14 16 26 28 30 32 34 38 40 42 44 46 48

9

���������� ����� ok.indd 9

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 10

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

เบือ้ งหลังงานนีเ้ ป็นการจับมือกันของ อาจารย์สมเถา สุจริตกุล วาทยกรชาวไทยที่มีผลงานที่รู้จักกันในระดับนานาชาติ ผู้อ�ำนวย การบรรเลงดนตรีให้กับวงดุริยางค์สยามฟิลฮาโมนิคออเคสตร้า (The Siam Philharmonic Orchestra) และได้ “ท่านมุ้ย” หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และทีมงานมาร่วมบันทึกเสียงสดพร้อม ถ่ายท�ำเหตุการณ์นี้ให้เป็นภาพยนตร์เพลง งานนี้ แม้จะมีเวลาเตรียมตัวกันไม่มากนัก แต่ทุกภาคส่วน ต่างพร้อมใจท�ำงานนีข้ นึ้ มาอย่างยิง่ ใหญ่ โดยอาจารย์สมเถา สุจริตกุล บอกว่า นี่คือเพลง “สรรเสริญพระบารมี” ที่ถูกเรียบเรียงท�ำนอง ขึ้นมาใหม่ ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นที่นักดนตรีและนักร้องประสานเสียง หลายร้ อ ยชี วิ ต จะร่ ว มกั น ขั บ ขานเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี นี้ ร่วมกับประชาชนอีกนับแสนคน http://news.voicetv.co.th/thailand/424497.html

ในวันงานจริง เริม่ ในเวลาช่วงบ่าย โดยมีประชาชนจ�ำนวนมาก มารวมตัวกันอย่างพร้อมเพรียงที่สนามหลวง ซึ่ง “มิตรชาวไร่” หลายคนอาจจะมีโอกาสมาร่วมงานนี้ หรือไม่ก็เอาใจช่วยกันที่ หน้าจอโทรทัศน์ ท�ำให้เราได้เห็นพลังของคนรักในหลวงรัชกาลที่ 9 จ�ำนวนมหาศาลที่เปล่งเสียงร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีที่อาจจะ เรียกได้ว่าเสียงดังที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยงานนี้ได้ถูกบันทึกภาพโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และที ม งาน เพื่ อ น� ำ มาตั ด ต่ อ เป็ น ภาพยนตร์ เ พลงสรรเสริ ญ พระบารมี โดยเผยแพร่ในโรงภาพยนตร์และสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ในโอกาสต่อไป แม้ ห ลายคนจะเป็ น ลมจากความแออั ด และความร้ อ น แต่ทุกคนก็ยังยืนหยัดท�ำในสิ่งที่ตนศรัทธา หลายคนหยิบพระบรม ฉายาลักษณ์ และพระบรมสาทิสลักษณ์ ชูขึ้นเหนือหัวในขณะที่ ร้องเพลง เป็นภาพที่น่าประทับใจมาก ๆ และงานนี้ไม่ว่าจะเหน็ด จะเหนื่อยอย่างไร แต่ทุกคนก็เต็มใจท�ำเพื่อพ่อของแผ่นดิน ซึ่งเมื่อ คิดว่าพระองค์ท่านทรงงานอย่างหนักตลอดเวลา 70 ปีที่ผ่านมา เพื่อพวกเรา การยืนร้องเพลงเพื่อร�ำลึกถึงพระองค์ท่านจึงไม่ใช่เรื่อง เหลือบ่ากว่าแรงส�ำหรับคนไทยทุกคน การร้ อ งเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี ใ นครั้ ง ประวั ติ ศ าสตร์ นี้ จึงแสดงให้เห็นว่า แม้วันนี้พระองค์ท่านเสด็จสู่สวรรคาลัยแล้ว แต่หากพระองค์ท่านทอดพระเนตรลงมาที่พวกเรา https://www.pptvthailand.com/special/gallery/26

พระองค์ท่านคงจะทรงปลื้มปิติในพระราชหฤทัย ที่เห็น พสกนิกรไทย รักและสามัคคีกันเช่นนี้ M

11

���������� ����� ok.indd 11

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 12

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 13

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 14

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

การบริหารจัดการที่ดิน ตามแนวทางพระราชดำ�ริ

“ทฤษฎีใหม่” โดยหลักการแล้ว นี่คือแนวทางหรือหลักการ ในการบริ ห ารการจั ด การที่ ดิ น และน�้ ำ เพื่ อ การเกษตรในที่ ดิ น ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยความส�ำคัญของทฤษฎีใหม่* มีดังนี้คือ 1. มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็นสัดส่วน ที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร ซึ่งไม่เคยมีใครคิด มาก่อน 2. มี ก ารค� ำ นวณโดยใช้ ห ลั ก วิ ช าการเกี่ ย วกั บ ปริ ม าณน�้ ำ ที่จะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี 3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบส�ำหรับเกษตรกรรายย่อย 3 ขั้นตอน ในการวางแผนที่ ส มบู ร ณ์ 3 ขั้ น ตอนดั ง กล่ า ว จะเริ่ ม ต้ น ที่ ท ฤษฎี ใ หม่ ขั้ น ต้ น นั่ น คื อ การแบ่ ง พื้ น ที่ อ อกเป็ น 4 ส่ ว น ตามอั ต ราส่ ว น 30:30:30:10 ซึ่ ง หมายถึ ง พื้ น ที่ ส ่ ว นที่ ห นึ่ ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน�้ำเพื่อใช้เก็บกักน�้ำฝนในฤดูฝน และใช้ เ สริ ม การปลูก พืช ในฤดูแ ล้ง ตลอดจนการเลี้ ย งสั ต ว์ และ พืชน�้ำต่าง ๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้ เป็นอาหารประจ�ำวันส�ำหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี

พื้ น ที่ ส ่ ว นที่ ส าม ประมาณ 30% ให้ ปลูกไม้ผ ลไม้ยืนต้น พื ช ผั ก พื ช ไร่ พื ช สมุ น ไพร หรื อ อาจจะมี ก ารปลู ก อ้ อ ยในพื้ น ที่ ตรงนีด้ ว้ ย เพราะนอกจากจะใช้เป็นอาหารประจ�ำวัน หากเหลือบริโภค ก็น�ำไปจ�ำหน่าย และพื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่น ๆ พอเข้าสู่ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง จะเป็นการพูดถึงการรวมพลัง ของเกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือสหกรณ์ เพื่อช่วยกัน วางแผนการผลิต การตลาด การเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา และสังคมศาสนา โดยใช้พลังชุมชนในการผลักดัน และสุดท้าย ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม จะเน้นไปที่การติดต่อ ประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร บริษัท ห้ า งร้ า นเอกชนมาช่ ว ยในการลงทุ น และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ทั้งเกษตรกร ฝ่ายธนาคาร และบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ ร่ ว มกั น อย่ า งเช่ น การค้ า ขายผลผลิ ต ทางการเกษตรในราคา ที่เป็นธรรม ่ อ ่ ต นีค ื หลักการ “ทฤษฎีใหม่” ทีม ิ รชาวไร่สามารถน�ำไป ปรับใช้ได้จริงเพื่ อให้ครัวเรือนและชุมชนสามารถเลี้ยงตัวเอง ได้อย่างยัง ่ ยืน *(ข้อมูลจากเว็บไซต์มูลนิธิชัยพัฒนา) M

15

���������� ����� ok.indd 15

12/7/16 5:45 PM


MITR PHOL MODERNFARM

ธันวาคม 2559

16

���������� ����� ok.indd 16

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 17

12/7/16 5:45 PM


Cover Story

MITR PHOL MODERNFARM

พระองค์เป็นพระโอรสองค์ทสี่ ามในสมเด็จพระมหิตลา ธิ เ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็ จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินี และสมเด็ จ พระบรมเชษฐาธิ ร าช 2 พระองค์ คื อ สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2471 พระองค์ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทย โดยประทั บ ณ วั ง สระปทุ ม ต่ อ มาวั น ที่ 24 กั น ยายน พ.ศ. 2472 สมเด็ จ พระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระชนมายุไม่ถงึ สองพรรษา และเมื่ อ เจริ ญ พระชนมายุ ไ ด้ 4 พรรษา เสด็ จ เข้ า ศึ ก ษาที่ โ รงเรี ย นมาแตร์ เ ดอี วิ ท ยาลั ย จนถึ ง เดื อ น พฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์ทรงศึกษาทีส่ วิตเซอร์แลนด์จนถึง พ.ศ. 2488 จนทรงได้รับรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรง เรียนฌีมนาซกลาซิกก็องตอนาลเดอโลซาน แล้วทรงเข้า ศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซานน์ แผนกวิทยาศาสตร์

ธันวาคม 2559

วั น ที่ 9 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิ ด ลเสด็ จ สวรรคตอย่ า ง กะทันหัน รัฐสภาจึงลงมติเป็นเอกฉันท์อัญเชิญพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์ สื บ ราชสั น ตติ ว งศ์ ต ่ อ ไป แต่ เ นื่ อ งจากยั ง มี พ ระราชกิ จ ด้ า นการศึ ก ษา จึ ง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปศึ ก ษาต่ อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากร แล้ววันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มให้ ตั้ ง การพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกตามแบบอย่ า งโบราณราชประเพณี ขึ้ น ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณเฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่จารึก ในพระสุ พ รรณบั ฏ ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระปฐม บรมราชโองการว่ า “เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” แล้ ว หลั ง วั น นั้ น ถึ ง คงไม่ ใช่ ก ารกล่ า วเกิ น เลยว่ า ประเทศไทยร่มเย็นเป็นสุขเพราะพระบารมีของพระองค์ ท่านเสมอมา

18

���������� ����� ok.indd 18

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

19

���������� ����� ok.indd 19

12/7/16 5:45 PM


MITR PHOL MODERNFARM

แผ่นดินร่ำ�ไห้...

ถวายอาลัย

ในหลวงรัชกาลที่ 9 18.49 น.วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 คือเวลา ทีป่ วงชนชาวไทยใจสลายกับ แถลงการณ์อย่างเป็นทางการ จากส�ำนักพระราชวัง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับรักษาพระ อาการประชวร ณ โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 3 ตุ ล าคม พุ ท ธศั ก ราช 2557 ตามที่ ส� ำ นั ก พระราชวั ง ได้ แถลงให้ทราบเป็นระยะ แม้คณะแพทย์ได้ถวายการรักษา อย่างใกล้ชิดจนสุดความสามารถ แต่พระอาการประชวร หาคลายไม่ ได้ ท รุ ด หนั ก ลงตามล� ำ ดั บ ถึ ง วั น พฤหั ส บดี

ธันวาคม 2559

ที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2559 เวลา 15 นาฬิกา 52 นาที เสด็จสวรรคคต ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยพระอาการสงบ สิริพระชนมพรรษาปีที่ 89 ทรงครองราชสมบัติได้ 70 ปี วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 วันที่ผืนแผ่นดินไทย ปกคลุ ม ไปด้ ว ยความโศกเศร้ า ทางส� ำ นั ก พระราชวั ง จึ ง ใ ห ้ พ ส ก นิ ก ร เข ้ า ม า ถ ว า ย น�้ ำ ส ร ง พ ร ะ บ ร ม ศ พ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุ ล ยเดช เบื้ อ งหน้ า พระบรมฉายาลั ก ษณ์ ที่ บ ริ เวณ ศาลาสหทั ย สมาคม ในพระบรมมหาราชวัง รวมถึงทูตานุทูตที่พ�ำนัก อยู่ในประเทศไทยก็เดินทางเข้ามาถวายน�้ำสรงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เบื้อง หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ อย่างไม่ขาดสาย 16.35 น. คือเวลาที่ขบวนรถอัญเชิญพระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พร้ อ มด้ ว ย สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร และพระบรมวงศานุ ว งศ์ ร ่ ว มเสด็ จ ด้ ว ย ได้เคลื่อนตัวออกจาก รพ.ศิริราช เป็ น เวลาเดี ย วกั น ที่ ปวงชนชาวไทยทั้ ง ชาติ น ้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ ม ส่ ง เสด็ จ ตลอดเส้ น ทางในพิ ธี ก ารเคลื่ อ นพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อมา ประดิษฐาน ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมหา ราชวัง 17.00 น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร เสด็จฯ พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ในการ

20

���������� ����� ok.indd 20

12/7/16 5:45 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

21

���������� ����� ok.indd 21

12/7/16 5:45 PM


MITR PHOL MODERNFARM

พระราชพิธีถวายสรงน�้ำพระบรมศพ ณ พระที่นั่งพิมาน รัตยา ก่อนพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลสวดพระ อภิธรรมพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 11.00 น. ประชาชน ที่ ป ั ก หลั ก อยู ่ ท่ี บ ริ เ วณท้ อ งสนามหลวงและรอบ ๆ พระบรมหาราชวัง ทยอยเดิ น ทางเข้ า มาที่ ศาลาสหทั ย สมาคมอย่ า งเนื อ งแน่ น ถวายสั ก การะพระบรมศพ เบื้ อ งหน้ า พระบรมฉายาลั ก ษณ์ และลงนามสมุดหลวง เพื่อถวายความอาลัย จนปลายแถวยาวไปจนถึงสะพาน สมเด็จพระปิ่นเกล้า และในทุกๆวัน จะมีพระราชวงศ์ ผูน้ ำ� และบุคคลส�ำคัญ จากทัว่ โลก เดินทางมาวางพวงมาลาถวายสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช

ธันวาคม 2559

ณ พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท พระบรมหาราชวั ง และลงนามถวายความอาลัย ณ ศาลาว่าการพระราชวัง อย่างต่อเนื่อง วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระราชาธิบดีจกิ มี เคเซอร์ นั ม เกล วั ง ชุ ก แห่ ง ราชอาณาจั ก รภู ฏ าน เสด็ จ พระราชด�ำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุกไปยังพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง เพื่อทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบรมศพ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และรอบนอกรั้ ว พระบรมหาราชวั ง มี ห น่ ว ยงาน ราชการ และกลุ ่ ม จิ ต อาสาต่ า งๆ มาร่ ว มกั น ท� ำความดี รวมถึงคอยอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่เดินทาง เข้ามายังบริเวณท้องสนามหลวงทั้งการแจกอาหาร น�้ำดื่ม ยาเบื้องต้น รถรับส่ง รวมถึงบริการทีเ่ ตรียมไว้ดแู ลผูส้ งู อายุ

22

���������� ����� ok.indd 22

12/8/16 2:06 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

อย่างการเข็นรถเข็นส�ำหรับบุคคลที่เดินไม่ไหว ในช่วงที่ พสกนิกรอยู่ในความโศกเศร้า ยังมีพระมหากรุณาธิคุณ จาก พระบรมวงศานุวงศ์ พระราชทานอาหาร น�้ำ ดื่ ม แก่ประชาชนที่มารอรับเสด็จบริเวณหน้าพระบรมมหาราชวัง 22 ตุ ล าคม พ.ศ. 2559 วั น ที่ เ สี ย งของปวง ชนชาวไทยดั ง ไกลไปทั่ ว โลก เพราะในวั น นี้ เ ป็ น วั น ที่ ป ร ะ ช า ช น จ� ำ น ว น ม า ก ร ว ม ตั ว กั น บ ริ เว ณ ท ้ อ ง สนามหลวงจนล้ น มาถึ ง ถนนบริ เ วณรอบพระบรม มหาราชวั ง เพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และร่วมแสดงความอาลัย แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุ ล ยเดช ด้ ว ยการร่ ว มร้ อ งเพลงสรรเสริ ญ พระบารมีครั้งใหญ่ วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นวันแรกที่ ส�ำนัก พระราชวังได้รับพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนเข้าถวาย สักการะพระบรมศพเบื้องหน้าพระบรมโกศ ณ พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาทได้ ตั้งแต่เวลา 08.00-21.00 น. ทุกวัน

ภาพของประชาชนที่ ถ วายความไว้ อ าลั ย แด่ ใ นหลวง รัชกาลที่ 9 อย่างหนาแน่นรอบพระบรมหาราชวัง คือสิ่งที่ แสดงให้เห็นถึง ความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของปวงชน ่ ิ สจ ่ ระองค์ทรงปฏิบต ชาวไทย และเป็นสิง ู น์ได้วา่ ทุกอย่างทีพ ั ิ ่ ทีพ มาตลอดระยะ 70 ปี ยังอยูใ่ นใจของพวกเราทุกคน M

23

���������� ����� ok.indd 23

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 24

12/7/16 5:45 PM


���������� ����� ok.indd 25

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 26

12/8/16 1:38 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

โครงการแก้มลิง เป็นแนวคิดในพระราชด�ำริที่เริ่มต้นมาจาก การมองหาวิธีแก้ปัญหาน�้ำท่วมในกรุงเทพฯ โดยเฉพาะเหตุการณ์ น�ำ้ ท่วมใหญ่ทกี่ รุงเทพฯ เมือ่ ปี พ.ศ. 2538 ท�ำให้พระองค์ทรงพิจารณา ถึงปัญหานีอ้ ย่างจริงจัง ค�ำว่า “แก้มลิง” นี้ เริม่ ต้นมาจากการทีใ่ นหลวง รัชกาลที่ 9 มีพระราชด�ำริถึงลิงที่อมกล้วยไว้ในกระพุ้งแก้มได้คราวละมาก ๆ พระองค์ทรงสังเกตว่า “ลิงโดยทั่วไปถ้าเราส่งกล้วยให้ลิงจะรีบ ปอกเปลื อ ก เอาเข้ า ปากเคี้ ย ว แล้ ว น� ำ ไปเก็ บ ไว้ ที่ แ ก้ ม ก่ อ น ลิงจะท�ำอย่างนีจ้ นกล้วยหมดหวีหรือเต็มกระพุง้ แก้ม จากนัน้ จะค่อย ๆ น�ำออกมาเคี้ยวและกลืนกินภายหลัง” ด้วยแนวพระราชด�ำรินี้ จึงท�ำให้เกิด “โครงการแก้มลิง” ขึน้ เพือ่ สร้างพืน้ ทีก่ กั เก็บน�ำ้ ไว้รอการระบายเพือ่ ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ลั ก ษณะการท�ำแก้ม ลิง คือ การระบายน�้ำออกจากพื้ น ที่ ตอนบน เพือ่ ให้นำ�้ ไหลลงคลองพักน�ำ้ ทีช่ ายทะเล จากนัน้ เมือ่ ระดับ น�้ำทะเลลดลงจนต�่ำกว่าน�้ำในคลอง น�้ำในคลองจะไหลลงสู่ทะเล ตามธรรมชาติ ต่อจากนั้นจะเริ่มสูบน�้ำออกจากคลองที่ท�ำหน้าที่ แก้มลิง เพือ่ ท�ำให้นำ�้ ตอนบนค่อย ๆ ไหลมาเอง จึงท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วมพืน้ ที่ ลดน้ อ ยลง จนในที่ สุ ด เมื่ อ ระดั บ น�้ ำ ทะเลสู ง กว่ า ระดั บ ในคลอง จึงปิดประตูระบายน�ำ้ โดยให้นำ�้ ไหลลงทางเดียว (ข้อมูลจาก เว็บไซต์ www.เรารักพระเจ้าอยูห่ วั .com) ในส่วนของโครงการแก้มลิงนัน้ แบ่งออกเป็น 3 ขนาดด้วยกัน ได้แก่ โครงการแก้มลิงขนาดใหญ่ ได้แก่ เขื่อน อ่างเก็บน�้ำ ฝาย ทุ่งเกษตรกรรม เป็นต้น ซึ่งสิ่งก่อสร้างเหล่านี้จะมีวัตถุประสงค์อื่น ประกอบด้วย เช่น เพือ่ การชลประทาน เพือ่ การประมง เป็นต้น แก้มลิงขนาดกลาง เป็นพืน้ ทีช่ ะลอน�ำ้ ทีม่ ขี นาดเล็กกว่า มักเป็น พืน้ ทีธ่ รรมชาติ เช่น หนอง บึง คลอง เป็นต้น และแก้มลิงขนาดเล็ก ซึง่ ต่อเข้ากับระบบระบายน�ำ้ หรือคลอง

ปัจจุบันนี้ มีแก้มลิงทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่กระจาย อยูท่ วั่ กรุงเทพมหานคร กว่า 20 จุด ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นพืน้ ทีท่ างฝัง่ ธนบุรี เนือ่ งจากมีคลองจ�ำนวนมาก และระบายน�ำ้ ออกทางแม่นำ�้ เจ้าพระยา ทัง้ ยังมีโครงการแก้มลิง แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกระบายน�ำ้ ในพื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำเจ้าพระยา โดยจะใช้คลองที่ตั้งอยู่ ชายทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ท�ำหน้าที่เป็นทางเดินของน�้ำ ตั้ ง แต่ จั ง หวั ด สระบุ รี พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ปทุ ม ธานี นนทบุ รี และกรุ ง เทพมหานคร อี ก ส่ ว นคื อ คลองในพื้ น ที่ ฝ ั ่ ง ตะวั น ตก ของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา ซึ่ ง จะใช้ ค ลองมหาชั ย คลองสนามชั ย และแม่นำ�้ ท่าจีน ท�ำหน้าทีเ่ ป็นคลองรับน�ำ้ ในพืน้ ทีต่ งั้ แต่จงั หวัดอ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม และกรุงเทพมหานคร แล้วระบายลงสูท่ ะเล ด้านจังหวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ยังมีโครงการแก้มลิง “แม่น�้ำท่าจีนตอนล่าง” เพือ่ ช่วยระบายน�ำ้ ทีท่ ว่ มให้เร็วขึน้ นี่ คื อ หนึ่ ง ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เพื่ อช่ ว ยบรรเทา ความเดือดร้อนของพสกนิกรจากน�ำ้ ท่วมรอบกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลให้เบาบางลงไปได้ M

27

���������� ����� ok.indd 27

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 28

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

ระบายน�้ำออกจะแปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด มีกรดก�ำมะถันในดิน ปริมาณมากจนไม่สามารถเพาะปลูกได้ พระองค์ท่าน ทรงเล็งเห็นปัญหานี้ จึงมีพระราชด�ำริให้จัดตั้ง “โครงการศู น ย์ ศึ ก ษา การพั ฒ นาพิ กุ ล ทองอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ” ณ จังหวัดนราธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2525 เพื่อศึกษา และปรับปรุงแก้ไขปัญหาพื้นที่พรุเพื่อช่วงเหลือเพื่อนเกษตรกร พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมีพระราชด�ำริเกี่ยวกับเรื่อง “แกล้งดิน” ความว่า “...ให้มีการทดลองท�ำดินให้เปรี้ยวจัดโดย การระบายน�้ำ ให้แห้งและศึกษาวิธีการแกล้ง ดินเปรี้ยว เพื่อน�ำผลไปแก้ปัญหา ดินเปรี้ยว ให้แก่ราษฎรที่มีปัญหาเรื่องนี้ในเขตจังหวัดนราธิวาส โดยให้ ท� ำ โครงการศึ ก ษาทดลอง ในก� ำ หนด 2 ปี และพื ช ที่ท�ำการทดลอง ควรเป็นข้าว...” ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จึ ง ได้ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย และปรั บ ปรุ ง ดิ น อย่ า งหนั ก โดยวิ ธี ก าร “แกล้งดิน” คือ ท�ำให้ดินเปรี้ยว เป็นกรดจัดรุนแรงที่สุด กล่าวคือ การท�ำให้ดินแห้ง และเปียกโดยน�ำน�้ำเข้าแปลงทดลองระยะหนึ่ง และระบายน�้ำออกให้ดินแห้งระยะหนึ่งสลับกัน จะเป็นการกระตุ้น ให้เกิดกรดมากยิ่งขึ้น หลั ง จาก “แกล้ ง ดิ น ” แล้ ว จึ ง เข้ า สู ่ ก ระบวนปรั บ ปรุ ง ดิ น โดยวิธกี ารมากมาย อย่างเช่น การใช้ปนู ขาว หินปูนฝุน่ ใส่ลงไปในดิน แล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน ปูนจะท�ำปฏิกิริยากับกรดก�ำมะถันในดิน ซึ่งหากใส่ในปริมาณที่มากพอจะช่วย ให้ดินมีสภาพเป็นกลาง

อีกวิธีหนึ่งคือ การใช้น�้ำจืดล้างกรดและสารพิษออกจากดิน โดยตรง วิธีการนี้ใช้เวลานานกว่าวิธีใช้ปูน เนื่องจากกรดจะชะล้าง ออกไปอย่างช้า ๆ แต่ได้ผลเช่นกัน ในส่วนของการยกร่อง เพื่อปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น โดยมี คู น�้ ำ อยู ่ ด ้ า นข้ า ง ให้ น� ำ หน้ า ดิ น จากดิ น ในบริ เ วณที่ เ ป็ น คู ม า เสริมหน้าดินเดิมที่เป็นคันร่อง ก็จะได้หน้าดินที่หนาขึ้น ส่วนดิน ที่มีสารไพไรท์จะใช้เสริมด้านข้าง เมื่อใช้น�้ำชะล้างกรดบนสันร่อง กรดจะถูกน�้ำชะล้างไปยังคูด้านข้าง แล้วระบายออกไป ควบคุมระดับน�้ำใต้ดิน ให้อยู่เหนือชั้นดินเลนตะกอนทะเล ด้วยวิธีนี้กรดก�ำมะถันจะไม่ถูกปลดปล่อยมากเกินไป และอีกวิธี คือ การปลูกพืชพันธุ์ทนทานต่อความเป็นกรด แล้ ว เมื่ อ ท� ำ การศึ ก ษาเรื่ อ ง “แกล้ ง ดิ น ” จนประสบ ความส�ำเร็จ ทางศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก พระราชด� ำ ริ จึ ง ได้ จั ด ท� ำ คู ่ มื อ การปรั บ ปรุ ง ดิ น เปรี้ ย วจั ด เพื่ อ การเกษตรขึ้ น เมื่ อ ปี 2536 และเมื่ อ ขยายผลสู ่ พื้ น ที่ จ ริ ง ก็ ป ระสบผลดี จากเพื่ อ นเกษตกรปลู ก ข้ า วได้ เ พี ย งไร่ ล ะ 5-10 ก็ได้มากถึง 40-50 ถัง และเทคนิ ค การท� ำ การเกษตรนี้ ได้ ข ยายผลจากเขต ่ ๆ ทัว จังหวัดนราธิวาส ไปสูจ ่ ง ั หวัดอืน ่ ประเทศไทย อันสะท้อน ่ ามารถ ให้เห็นว่าพระราชด�ำริของพระองค์ทา่ น คือ ของจริงทีส ช่วยเหลือเกษตรกรทัว ่ ประเทศได้ M

29

���������� ����� ok.indd 29

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 30

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

“โครงการชั่ ง หั ว มั น ตามพระราชด� ำ ริ ” ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า น หนองคอกไก่ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลเขากระปุ ก อ� ำ เภอท่ า ยาง จังหวัดเพชรบุรี ความมหัศจรรย์ของสถานที่แห่งนี้ก็คือ จากเดิม เป็นพื้นที่แห้งแล้ง แต่พื้นดินกลับพลิกฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ ได้อีกครั้งด้วยพระอัจฉริยภาพของพระองค์ ในหลวงรัชกาลที่ 9 จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการนี้ เริ่ ม ขึ้ น ในปี พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงซื้อที่ดินจาก ราษฎรบริเวณอ่างเก็บน�้ำ หนองเสือ ประมาณ 120 ไร่ และต่อมา พระองค์ ท รงซื้ อ แปลงที่ ดิ น ติ ด กั น เพิ่ ม อี ก 130 ไร่ รวมเนื้ อ ที่ ทั้งหมดเป็น 250 ไร่ โดยมีพระราชด�ำริให้ท�ำเป็นโครงการตัวอย่าง ด้านการเกษตรรวบรวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจในพื้นที่ อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และพืน้ ทีใ่ กล้เคียงมาปลูกไว้ทนี่ ี่ ซึง่ เดิมทีด่ นิ บริเวณนี้ มีความแห้งแล้งมาก ในช่วงเวลานัน้ เอง ได้มชี าวบ้านน�ำมันเทศทีป่ ลูกมาทูลเกล้าฯ ถวายจึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานน�ำไปวางตั้งโชว์ไว้บน ตาชั่งในห้องทรงงาน บนพระต�ำหนักเปี่ยมสุขวังไกลกังวล ก่อน เสด็จกลับกรุงเทพมหานคร เหตุ ก ารณ์ ผ ่ า นไป พระองค์ เ สด็ จ ฯ กลั บ มาที่ นี่ อี ก ครั้ ง แล้ ว พบว่ า มั น หั ว ดั ง กล่ า วนั้ น งอกเป็ น ต้ น แตกใบอ่ อ นขึ้ น มา จึงมีพระราชด�ำรัสว่า “มันอยู่ที่ไหนก็งอกได้” จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้น�ำมาปลูกใส่กระถางไว้ในวังไกลกังวล

changhuamanmorkanggroup47.wordpress.com/โครงการชั่งหัวมันตามพร/

แล้ ว ต่ อ มาพระองค์ จึ ง มี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ จั ด เป็ น พื้ น ที่ เพาะปลูกพืชต่าง ๆ โดยเน้นที่พืชท้องถิ่นของเพชรบุรี เช่น มะพร้าว ชมพู ่ เ พชร มะนาว กะเพรา สั บ ปะรด ข้ า วไร่ พั น ธุ ์ ต ่ า ง ๆ และพระราชทานพันธุม์ นั เทศ ซึง่ น�ำมาจากหัวมันทีต่ งั้ โชว์ไว้บนตาชัง่ ภายในห้องทรงงานที่วังไกลกังวล ให้น�ำมาขยายพันธุ์ พร้อมกันนี้ ยังทรงพระราชทานชื่อ “โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�ำริ” ่ ดังกล่าว ซึ่งเปี่ ยม เวลาต่อมา เราจึงรูจ ้ ก ั โครงการนีใ้ นชือ ไปด้วยพระอารมณ์ขน ั ของในหลวง รัชกาลที่ 9 M

https://www.youtube.com/watch?v=2-2xiaYA7Vk

31

���������� ����� ok.indd 31

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 32

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

http://www.chaambeach.com/travel/hubkapong/

โดยเลื อ กที่ ดิ น บริ เวณหุ บ กะพง อ� ำ เภอชะอ� ำ จั ง หวั ด เพชรบุ รี เป็นที่ตั้งของศูนย์สาธิตและทดลองการเกษตรของโครงการ ในหลวง รั ช กาลที่ 9 จึ ง ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ กั น พื้ น ที่ ประมาณ 10,000 ไร่ ออกจากป่าคุ้มครองของกรมป่าไม้ ภายหลัง พระองค์ทรงจับจองพื้นที่ดังกล่าวเยี่ยงสามัญชน โดยปฏิบัติตาม ขั้นตอนของกฎหมายป่าไม้และกฎหมายที่ดินทุกประการ เมื่อมีแนวพัฒนาที่ดินดีขึ้นแล้ว ก็จะจัดให้เกษตรกรที่ได้รับ ความเดือดร้อนในตอนต้น และเกษตรกรที่ขาดแคลนที่ดินท�ำกิน เข้ามาอยู่อาศัยและท�ำประโยชน์ สร้างขึ้นเป็นหมู่บ้านเกษตรกร โดยมีทางราชการเข้าช่วยเหลือให้ค�ำแนะน�ำ ตั้งแต่เรื่องการเกษตร ไปจนถึงเรื่องการท�ำสหกรณ์ จนต่อมามีการจัดตั้งสหกรณ์ มีชื่อว่า “สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ�ำกัด” เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2514 ซึ่งพระองค์โปรดเกล้าฯ พระราชทานทะเบียนให้ผู้แทนสหกรณ์ การเกษตรหุบกะพง จ�ำกัด และได้พระราชทานโฉนดที่ดินบริเวณ หุบกะพง จ�ำนวน 3 ฉบับ รวมเนือ้ ที่ 12,079 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์และสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ�ำกัด เป็นผู้รับผิดชอบ การรวมกลุ ่ ม ที่ เข้ ม แข็ ง ของกลุ ่ ม สหกรณ์ ที่ หุ บ กะพงนี้ เ อง เป็ น ตั ว อย่ า งของความพยายามส่ ง เสริ ม ให้ มิ ต รชาวไร่ มี ก าร รวมกลุ่มกัน เพื่อสร้างพลังต่อรองในเชิงเศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดความ ได้เปรียบในการผลิตและการจัดสรรทรัพยากรที่ใช้ในการปลูกอ้อย อย่างเช่น แนวคิดในเรื่องการขุดสระใหญ่เพื่อให้มิตรชาวไร่ได้ใช้นำ�้ เพือ่ การเกษตรร่วมกัน หรืออย่างการท�ำฟาร์มดีไซน์ รวมแปลงใหญ่ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปลู ก อ้ อ ย เพื่ อ น� ำ เครื่ อ งจั ก รอย่ า ง เครื่องปลูกอ้อย เครื่องใส่ปุ๋ย เครื่องให้น�้ำ รถตัด และรถบรรทุก ขนส่งอ้อย ที่สามารถผ่านเข้าออกในแปลงอ้อยได้อย่างสะดวก นี่ ก็ ต ้ อ งอาศั ย การรวมใจของมิ ต รชาวไร่ ใ นการร่ ว มกั น วางแผน เรื่องการออกแบบแปลงให้เหมาะสมกับการปลูกอ้อยเช่นกัน

http://cdn.gotoknow.org

และผลจาก “โครงการตามพระราชประสงค์ หุ บ กะพง” ท�ำให้เกษตรกรในพื้นที่หลายร้อยครัวเรือนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มี ที่ ท� ำ กิ น มั่ น คง ยั่ ง ยื น มี ร ะบบชลประทานที่ ส ามารถบรรเทา ความแห้ ง แล้ ง ในฤดู แ ล้ ง มี ร ะบบสหกรณ์ เ พื่ อ ให้ เ งิ น หมุ น เวี ย น และช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ “โครงการตามพระราชประสงค์ หุบกะพง” ท�ำให้เห็นว่า ไม่วา่ ในหลวง รัชกาลที่ 9 จะเสด็จไปยัง ่ ห้งแล้ง สามารถกลายเป็น แห่งหนต�ำบลใดก็ตาม จากแผ่นดินทีแ แผ่ น ดิ น ทองได้ แ ละจากพื้ นที่ ที่ ไ ร้ ค วามหวั ง กลั บ ฉายแสง ความหวังที่แสนงดงาม M

33

���������� ����� ok.indd 33

12/8/16 2:04 PM


���������� ����� ok.indd 34

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

manowhan.wordpress.com/เฉลิมพระเกียรติ-84-พรรษา/

ด้ ว ยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า พระองค์ ท รงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ทรงอุทิศพระองค์ สร้างสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ ของพสกนิกรชาวไทย เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวโลก ไม่ เ พี ย งแต่ ร างวั ล ดั ง กล่ า วเท่ า นั้ น ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา จึ ง มี ห น่ ว ยงานและองค์ ก รต่ า ง ๆ ทั้ ง รั ฐ และเอกชน ทู ล เกล้ า ฯ ถวายรางวั ล มากมาย อย่ า งเช่ น รางวั ล ไอเอฟ ไอเอคั พ พร้ อ มใบประกาศนี ย บั ต รเกี ย รติ คุ ณ (IFIA Cup) และเหรียญรางวัลจีเนียสไพรซ์ (Genius Prize) จากสมาพันธ์ นักประดิษฐ์นานาชาติ หรือ ไอเอฟไอเอ (IFIA) ซึ่งมีส�ำนักงาน อยู่ที่กรุงบูดาเปสต์ สาธารณรัฐฮังการี และรางวัลสเปเชียลไพรซ์ พร้อมประกาศนียบัตร (Special Prize) พร้อมประกาศนียบัตร จากสมาคมส่งเสริมการประดิษฐ์ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ หรือ คิปา (KIPA) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส�ำหรับผลงานกังหัน น�้ำชัยพัฒนา รวมทั้งผลงานทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง กล่ า วได้ อ ย่ า งภาคภู มิ ว ่ า พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็น “กษัตริย์นักประดิษฐ์” ที่มีผลงาน สิ่งประดิษฐ์ออกมามากมาย สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ข องพระองค์ ชิ้ น แรกที่ ไ ด้ รั บ การจดทะเบี ย น สิทธิบัตรในประเทศไทยก็คือ “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” ได้รับการ จดทะเบียนสิทธิบัตรตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 จากนั้ น มากก็ มี สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ม ากมายจากฝี พ ระหั ต ถ์ แ ละ พระราชด�ำริของที่ทรงได้รับการถวายการรับจดทะเบียนสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร รวมทั้งสิ้น 11 ฉบับ ได้แก่

1. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ เ ลขที่ 3127 เรื่ อ ง เครื่ อ งกล เติมอากาศที่ ผิ ว น�้ ำ หมุ น ช้ า แบบทุ ่ น ลอย (กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นา) เป็ น เครื่ อ งกลเติ ม อากาศที่ ใ ช้ ใ นการเติ ม ออกซิ เ จนลงในน�้ ำ ที่ ร ะดั บ ผิ ว น�้ ำ ถวายการรั บ จดทะเบี ย นสิ ท ธิ บั ต รเมื่ อ วั น ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 2. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ เ ลขที่ 10304 เรื่ อ ง เครื่ อ งกล เติ มอากาศแบบอั ด อากาศและดู ด น�้ำ เป็ น เครื่ องกลเติมอากาศ ใช้ ใ นการเติ ม ออกซิ เ จนลงในน�้ ำ ที่ ร ะดั บ ลึ ก ลงไปใต้ ผิ ว น�้ ำ จนถึ ง ด้ า นล่ า งของแหล่ ง น�้ ำ ถวายการรั บ จดทะเบี ย นสิ ท ธิ บั ต ร เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2544 3. สิทธิบตั รการประดิษฐ์เลขที่ 10764 เรือ่ ง การใช้นำ�้ มันปาล์ม กลั่นบริสุทธิ์ เป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำหรับเครื่องยนต์ดีเซล ถวายการ รับจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2544 4. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 841 เรื่อง การใช้น�้ำมันปาล์มกลั่น บริสทุ ธิ์ เป็นน�้ำมันหล่อลื่นส�ำหรับเครื่องยนต์สองจังหวะ เป็นการใช้ น�ำ้ มันปาล์มกลัน่ บริสทุ ธิท์ ดแทนน�ำ้ มันหล่อลืน่ ทีไ่ ด้จากน�ำ้ มันปิโตรเลียม

35

���������� ����� ok.indd 35

12/7/16 5:46 PM


MITR PHOL MODERNFARM

ส�ำหรับเครือ่ งยนต์สองจังหวะ (เช่น เครือ่ งรถมอเตอร์ไซค์ เครือ่ งสูบน�ำ้ เป็นต้น) ถวายการรับจดทะเบียนอนุสทิ ธิบตั รเมือ่ วันที่ 11 ตุลาคม 2545 5. สิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ 13898 เรื่อง การดัดแปร สภาพอากาศเพื่อให้เกิดฝน (ฝนหลวง) เป็นกรรมวิธีการท�ำฝนหลวง ที่มีการท�ำฝนทั้งในระดับเมฆอุ่นที่ระดับต�่ำกว่า 1 หมื่นฟุต และ เมฆเย็นที่ระดับสูงกว่า 1 หมื่นฟุต พร้อมๆ กัน ซึ่งทรงเรียกว่า “ซุปเปอร์แซนด์วิช” ถวายการรับจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2545 6. สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์เลขที่ 14859 เรือ่ ง ภาชนะ รองรับของเสียที่ขับออกจากร่างกาย เป็นภาชนะที่ทรงออกแบบ ไว้เป็นการเฉพาะส�ำหรับรองรับปัสสาวะของผู้ป่วย ถวายการรับ

ธันวาคม 2559

จดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2546 7. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ เ ลขที่ 16100 เรื่ อ ง อุ ป กรณ์ ควบคุ ม การผลั ก ดั น ของเหลว เป็ น เครื่ อ งยนต์ ที่ ขั บ ดั น น�้ ำ เพื่ อ ใช้ ใ นการขั บ เคลื่ อ นเรื อ ถวายการรั บ จดทะเบี ย นสิ ท ธิ บั ต ร เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2547 8. สิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ 22637 เรื่อง กระบวนการ ปรั บ ปรุ ง สภาพดิ น เปรี้ ย วเพื่ อ ให้ เ หมาะแก่ ก ารเพาะปลู ก (โครงการแกล้งดิน) เป็นการปรับปรุงสภาพดินเปรี้ยวที่ไม่สามารถ เพาะปลู ก พื ช ได้ ให้ เ ป็ น ดิ น ที่ มี ส ภาพที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ ปลู ก พืชต่าง ๆ ได้ โดยใช้วิธีการเลียนแบบธรรมชาติเพื่อแกล้งให้ดิน มี ส ภาพเปรี้ ย วจั ด ก่ อ น แล้ ว ท� ำ การชะล้ า งความเปรี้ ย วของดิ น

36

���������� ����� ok.indd 36

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

และท� ำ การปรั บ สภาพดิ น ให้ เ หมาะแก่ ก ารเพาะปลู ก ต่ อ ไป ถวายการรับจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2550 9. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ หมายเลขที่ 29091 เรื่ อ ง ระบบปรับปรุงคุณภาพน�้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ ชิ้ น นี้ ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ ข อ ง พ ร ะ อ ง ค ์ ในการน� ำ ต้ น พื ช บางชนิ ด เช่ น ต้ น กก ต้ น เตย ต้ น พุ ท ธรั ก ษา ที่ ส ามารถดู ด ซึ ม สารปนเปื ้ อ นมาเป็ น อาหารในการเจริ ญ เติ บ โต ท�ำให้สาหร่ายไม่มีอาหารในการเจริญเติบโต เพราะการ เติมอากาศแม้ เ ป็ น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพของสิ่ ง มี ชี วิ ต ให้ ด� ำ รงชี วิ ต และเติ บ โต แต่ ก ารเติ ม อากาศเพี ย งอย่ า งเดี ย วไม่ ส ามารถแก้ ปัญหาน�้ำเขียวอันเกิดจากสาหร่ายออกได้ จึงจ�ำเป็นต้องน�ำพืช มาช่ ว ยลดปริ ม าณแร่ ธ าตุ ส ารอาหารในน�้ ำ ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ของน�้ ำ เสี ย สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ นี้ ถ วายรั บ การจดทะเบี ย นเมื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิกายน 2553 10. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ หมายเลขที่ 29162 เรื่ อ ง เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ โดยเครื่องกลนี้มีส่วนประกอบ คื อ ใบพั ด ที่ เ ปลี่ ย นพลั ง งานจากความเร็ ว ของกระแสน�้ ำ ให้ เป็ น พลั ง งานกล โดยการหมุ น เพลาที่ ต ่ อ เข้ า กั บ เกี ย ร์ เ พิ่ ม รอบ และเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า จะมี ข ้ อ ต่ อ เพลาเป็ น ตั ว ยึ ด เข้ า ด้ ว ยกั น ท� ำ ให้ ทั้ ง ชุ ด เกี ย ร์ เ พิ่ ม รอบและเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ถู ก ประกอบ อยู่ภายในห้องติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากันน�้ำ ที่ติดตั้งอยู่ใต้น�้ำ ภายใต้ความดันไม่มากกว่า 3 บาร์ ชุดใบพัดจะเป็นแบบหมุน รอบแกนการไหล หรื อ หมุ น ขวางการไหลอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ที่ ใ บพั ด และชุ ด เกี ย ร์ เ พิ่ ม รอบได้ รั บ การออกแบบให้ เ ป็ น ไป ต า ม ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ ข อ ง อั ต ร า ส ่ ว น ค ว า ม เร็ ว ป ล า ย ใ บ สิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้ถวายรับการจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2553 11. สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ หมายเลขที่ 29163 เรื่ อ ง โครงสร้ า งเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า พลั ง งานจลน์ และชุ ด ส� ำ เร็ จ เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า พลั ง งานจลน์ “อุ ท กพลวั ต ” เป็ น กั ง หั น ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน�้ำไหล โดยสิ่งประดิษฐ์นี้น�ำไปติดตั้งที่บริเวณ คลองลัดโพธิ์ตามพระราชด�ำริ ให้มีหน้าที่บริหารจัดการมวลน�้ำ ให้ อ อกสู ่ ท ะเลอย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ พื้นที่อยู่อาศัยของราษฎร และพื้นที่เขตเศรษฐกิจใหญ่ของประเทศ ส่งผลให้เมือ่ น�ำ้ ท่วมใหญ่ในปี 2554 ท�ำให้นำ�้ ไม่ทว่ มในบริเวณนัน้ ทั้ง ที่เกือบทุกปีก่อนหน้านี้น�้ำท่วมตลอด สิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้ถวายรับ การจัดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2553 จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ข อ ง พ ร ะ อ ง ค์ ทั้ ง ห ม ด นี้ มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อช่ ว ยเหลื อ พสกนิ ก รของท่ า นให้ ร อดพ้ น จากความล�ำยาก ความยากจน และสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ่ าทีส ่ ด อันเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีห ุ มิได้ M

37

���������� ����� ok.indd 37

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 38

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

แต่ทราบหรือไม่ว่า? ในหลวง รัชกาลที่ 9 ไม่โปรดเสวย ปลานิล ทุกครั้งที่มีผู้น�ำปลานิลไปตั้งเครื่องเสวย จะโบกพระหัตถ์ ให้ยา้ ยไปไว้ทอี่ นื่ พระองค์เคยทรงมีรบั สัง่ ว่า “ก็เลีย้ งมันมาเหมือนลูก แล้วจะกินมันได้อย่างไร” การเดินทางของปลานิล จากลุ่มแม่น�้ำไนล์ ทวีปแอฟริกา สู่ญี่ปุ่น มาสู่ไทย ถือเป็นปาฏิหาริย์อันเกิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ที่ทรงใส่พระทัยในพสกนิกรของพระองค์ท่าน หากไม่มเี รือ่ งราวส�ำคัญเรือ่ งราวหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2508 เราชาวไทยอาจจะไม่ มี ป ลานิ ล ไว้ ท านเป็ น โปรตี น ประจ� ำ บ้ า น เฉกเช่นทุกวันนี้ เหตุการณ์ในปี 2508 เป็นเหตุการณ์ทพี่ ระจักรพรรดิอะกิฮโิ ตะ ในตอนนั้นยังทรงฐานันดรศักดิ์เป็นมกุฎราชกุมาร ได้ส่งปลานิล จ�ำนวน 50 ตัว มาทูลเกล้าฯ ถวายในหลวง ปรากฏว่า เมื่อเดินทาง มาถึงเมืองไทยปลานิล เหลือรอดชีวิตเพียง 10 ตัว ณ จุ ด นี้ แ หละครั บ ที่ เรี ย กว่ า ปาฏิ ห าริ ย ์ เป็ น ปาฏิ ห าริ ย ์ ในความหมายว่ า ถ้ า เราตั้ ง ใจท� ำ อะไรมาก ๆ เรื่ อ งที่ ย าก จนเป็นไปไม่ได้ เราจะท�ำให้มันเป็นไปได้ในที่สุด

หลั ง จากที่ ท รงได้ รั บ ปลานิ ล ที่ ร อดชี วิ ต มาจ� ำ นวน 10 ตั ว พระองค์ ท รงน� ำ ปลานิ ล กลั บ มาเลี้ ย งเองในวั ง สวนจิ ต รลดา อันเป็นโครงการเกษตรส่วนพระองค์ เป็นเวลา 1 ปี ก่อนพระราชทาน ให้กรมประมง 10,000 ตัว เพื่อแจกจ่ายให้ประชาชนเลี้ยง จาก 10 ตัว เพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ตัว ภายในระยะเวลา 1 ปี นับเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่มาก ๆ เป็นปาฏิหาริย์ของความตั้งพระทัย และพระปณิธานที่จะท�ำให้ชาวบ้านมีแหล่งอาหารดี ๆ ไว้ทานกัน 50 ปีผา่ นไป คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าปลานิล เป็นปลาท้องถิน่ เพราะเรามี โ อกาสทานมั น ทั้ ง ต้ ม ผั ด แกง ทอด มาตั้ ง แต่ ครั้งยังเป็นเด็ก จนในปัจจุบัน เมืองไทยผลิตปลานิลได้ปีละ 220,000 ตัน จากฟาร์ ม 300,000 แห่ ง สร้ า งงานให้ ผู ้ ค นเรื อ นล้ า น และประเทศไทยยังส่งออกปลานิลไปทั่วโลก สร้างรายได้มหาศาล จนเป็นปลาส่งออกล�ำดับต้น ๆ ของเมืองไทย สิ่งดี ๆ ทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้ การเดินทางของปลานิล มาสูเ่ มืองไทย ถ้าไม่เรียกว่า ปาฏิหาริยจ ์ ากในหลวง รัชกาลที่ 9 ่ ได้อก จะเรียกอย่างอืน ี หรือ? M

http://www2.manager.co.th/OnlineSection/ViewNews.aspx?NewsID=9590000105606

39

���������� ����� ok.indd 39

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 40

12/8/16 1:40 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

ต่อมาในอาคารส่วนที่ 4 เป็นส่วนของพระราชกรณียกิจ ซึ่ ง ได้ บ อกเล่ าถึงการทรงงานของพระองค์ที่มีม ากมายมหาศาล โดยเฉพาะโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริทางด้านการเกษตร จุ ด เริ่ ม ต้ น ของหลายโครงการมาจาก โครงการสวนจิ ต รลดา พระราชวั ง ดุ สิ ต ซึ่ ง เป็ น โครงการส่ ว นพระองค์ ที่ ท รงจั ด ตั้ ง ขึ้ น ในปี พุทธศักราช 2504 ซึ่งมีการจัดแสดงในนิทรรศการส่วนนี้ สวนจิ ต รลดา เปรี ย บดั ง “ห้ อ งทดลองส่ ว นพระองค์ ” ที่ทรงศึกษาแนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนาสิ่งใหม่ แล้วจึงทดลอง เพื่ อ ให้ ท รงแน่ พ ระทั ย ว่ า แนวทางดั ง กล่ า วสามารถเกิ ด ผลจริ ง จึงทรงพระราชทานแนวทางดังกล่าวเพื่อดับทุกข์แก่ราษฎร ตัวอย่างเช่น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรม วิชาการเกษตรหรือกรมการข้าวเดิม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น�ำพันธุ์ข้าวต่าง ๆ มาทดลองปลูกในสวนจิตลดาและน�ำข้าวเปลือก ส่วนหนึง่ ทีไ่ ด้ไปท�ำพิธหี ว่านในพระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ นอกจากเรื่องอาหารแล้ว เรื่องจัดการน�้ำ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ มากมาย อย่ า งเช่ น โครงการจัดการน�้ำเสียด้วยกังหันน�้ำชัยพัฒนา โครงการแก้มลิง และโครงการฝนหลวง เป็นต้น ที่อาคารส่วนที่ 4 นี้ ยังน�ำเสนอพระราชกรณียกิจด้านต่าง ๆ ของพระองค์ท่านอีกมากมาย อย่างเช่น ด้านการเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ความคิดเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจ พอเพียง ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไปจนถึงด้านศิลปะ พระราชกรณียกิจของพระองค์ท่านอันมากมายเหล่านี้ มี ม ากมายมหาศาล และกลายเป็ น แรงบั น ดาลใจส� ำ คั ญ ให้มิตรชาวไร่และคนรุ่นหลังได้ศึกษาและท�ำความดีตามรอย พระยุคลบาทของท่านกันต่อไป M

41

���������� ����� ok.indd 41

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 42

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

จึ ง ทรงทราบว่ า ชาวเขาปลู ก ฝิ ่ น แต่ ย ากจน รั บ สั่ ง ถามว่ า นอก จากขายฝิ ่ น แล้ ว เขามี ร ายได้ จ ากพื ช ชนิ ด อื่ น อี ก หรื อ เปล่ า ท�ำให้ทรงทราบว่า นอกจากฝิ่นแล้ว เขายังเก็บท้อพื้นเมืองขาย แม้ว่าลูกจะเล็กก็ตาม แต่ก็ยังได้เงินเท่า ๆ กัน ด้วยพระราชปณิธานอันแน่วแน่ที่จะยกระดับความเป็นอยู่ ของชาวเขา โดยพระราชทานเงิ น จ� ำ นวน 200,000 บาท ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ส� ำ หรั บ จั ด หาที่ ดิ น ส� ำ หรั บ ด� ำ เนิ น งานวิ จั ย ไม้ ผ ลเขตหนาวเพิ่ ม เติ ม จากสถานี วิ จั ย ดอยปุ ย ที่ มี อ ยู ่ แ ต่ เ ดิ ม ซึ่ ง มี พื้ น ที่ คั บ แคบ เกิ ด เป็ น “โครงการหลวง” ในเวลาต่ อ มาโดยมี ห ม่ อ มเจ้ า ภี ศ เดช รั ช นี เป็ น ผู ้ รั บ สนอง พระบรมราชโองการในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ ในช่วงแรกยังไม่มใี ครทราบว่าพืน้ ทีบ่ นดอย อากาศหนาวเย็น ควรปลู ก อะไรกั น ดี โครงการหลวงจึ ง เริ่ ม ด� ำ เนิ น งานวิ จั ย เพื่ อ ทดลองการปลู ก ไม้ ผ ลเขตหนาวที่ มี ค วามเหมาะสม กับพื้นที่สูงของประเทศไทย โดยได้ตั้งสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ต�ำบลม่อนปิน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นสถานีทดลอง การปลูกพืชเขตหนาวชนิดต่าง ๆ

โครงการในพระราชด�ำรินี้ ได้รับการสนับสนุนจากต่างชาติ มากมาย ทั้งกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และมิตรประเทศต่าง ๆ ในการทูลเกล้าฯ ถวายพันธุ์พืช เขตหนาว และสนับสนุนงบประมาณด�ำเนินการวิจัย มีการอบรม ชาวเขาโดยผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยและส่วนราชการต่าง ๆ ทั้ ง ยั ง มี ก ารส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ เ ข้ า ไปดู แ ล ให้ ค� ำ แนะน� ำ ในการ ท�ำการเกษตร ผลที่ ไ ด้ ก็ คื อ จากเดิ ม ที่ เ กษตรกรปลู ก ฝิ ่ น ขาย ก็ หั น มา ปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ในเมื อ งหนาวแทน อย่ า งเช่ น แอปเปิ ้ ล ท้ อ พลับ สตรอเบอร์รี่ กาแฟอะราบิก้า พีช สาลี่ พลัม บ๊วย อโวคาโด้ กีวีฟรุต เสาวรส ผักเขตหนาว ฯลฯ ยังมีไม้ดอกอย่าง คาร์เนชั่น เบญจมาศ แกลดิโอรัส ซิมบิเดียม ฯลฯ รวมไปถึงการต่อยอด มาท� ำ โรงงานหลวงอาหารส� ำ เร็ จ รู ป ผลิ ต อาหารส� ำ เร็ จ รู ป เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาผลผลิ ต ทางการเกษตรราคาตกต�่ ำ เพราะพ่ อ ค้ า คนกลาง อย่ า งเช่ น การแปรรู ป ผลสตรอเบอร์ รี่ ข องเกษตรกร การท�ำแป้งถั่วเหลือง เป็นต้น ไม่ เ พี ย งแต่ ก ารมองเห็ น เพี ย งเรื่ อ งการเกษตรเท่ า นั้ น “โครงการหลวง” ยังสนใจในเรื่องอื่น ๆ ของชาวเขา อย่างเช่น งานพัฒนาสังคม การศึกษา และสาธารณสุข การสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนข้าว แล้วชาวบ้านต้องซื้อข้าว ในราคาแพงมาเป็นซื้อในราคาดอกเบี้ยต�่ำแล้วสามารถใช้คืนได้ ในฤดู ก าลเก็ บ เกี่ ย วถั ด ไป ทั้ ง ยั ง มี ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวง และมูลนิธิโครงการหลวงเพื่อช่วยเหลือชาวเขาแบบยั่งยืน ช า ว เ ข า เ ลิ ก ป ลู ก ฝิ่ น หั น ม า ป ลู ก ไ ม้ เ มื อ ง ห น า ว ส่ ว นคนข้ า งล่ า งดอย มี อ าหารคุ ณ ภาพดี ใ ห้ รั บ ประทาน นี่คือภาพที่งดงามที่สุดตลอดระยะเวลา 40 กว่าที่ในหลวง รั ช กาลที่ 9 ได้ ท รงสอนให้ พ สกนิ ก ของพระองค์ ท่ า นปลู ก ่ ระชาชนไทยทุกคนไม่เคยลืม แต่สง ่ิ ดี ๆ ทีป M

43

���������� ����� ok.indd 43

12/8/16 1:40 PM


���������� ����� ok.indd 44

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากพระบรมราโชวาทเมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระองค์ พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ณ พระต�ำนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 ใจความว่า “นั ก เขี ย น นั ก ประพั น ธ์ งานส� ำ คั ญ ก็ คื อ แสดงความคิ ด ของตนออกมาเป็ น เรื่ อ งชี วิ ต หรื อ เรื่ อ งแต่ ง ขึ้ น มา เพื่ อ ให้ ผู ้ อ่ื น ได้ประโยชน์ คือ ความรูบ้ า้ ง บันเทิงบ้าง นักแสดงความคิดส�ำคัญมาก เพราะว่ า มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชี วิ ต ของมวลมนุ ษ ย์ อาจท� ำ ให้ เ กิ ด ความ คล้อยตามไป และตัวท่านเขียนดีก็ยิ่งคล้อยตามกันมาก ฉะนั้น นักประพันธ์ต้องมีความรับผิดชอบสูง เพราะท่านเป็นผู้ปั้นความคิด และความบริ สุ ท ธิ์ ใ นความคิ ด จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ดั ง บทความ กลั่นกรองไว้ในสมองว่า สิ่งที่จะเขียนออกมาจะไม่แสลง ไม่ท�ำลาย ความคิดของประชากร ไม่ท�ำลายผู้อื่น และตนเอง คือ มีเสรีภาพ ในการเขียนอย่างเต็มที่ในขอบเขตของศีลธรรม” และตามที่พระองค์ท่านทรงด�ำรัสว่า “...นักแสดงความคิด ส� ำ คั ญ มาก เพราะว่ า มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชี วิ ต ของมวลมนุ ษ ย์ . ..” ท�ำให้เราสนใจว่า ในหนังสือพระราชนิพนธ์ของพระองค์ท่านหลาย ต่อหลายเล่ม แฝงแนวคิดอะไรให้มิตรชาวไร่ไปปฏิบัติตามกันบ้าง เริ่ ม จาก “นายอิ น ทร์ ผู ้ ป ิ ด ทองหลั ง พระ” ทรงแปลจาก ต้ น ฉบั บ หนั ง สื อ ขายดี ภ าษาอั ง กฤษเรื่ อ ง “A MAN CALLED INTREPID” บทประพันธ์ของ เซอร์วิลเลียม สตีเฟนสัน พระองค์ ทรงใช้ระยะเวลาในการแปลถึง 3 ปี แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2523 “นายอิ น ทร์ ผู ้ ป ิ ด ทองหลั ง พระ” เป็ น เรื่ อ งราวของนาย อินท์ หรือ Intrepid เป็นชื่อรหัสของ เซอร์วิลเลียม สตีเฟนสัน ซึ่ ง เป็ น หั ว หน้ า หน่ ว ยสื บ ราชการลั บ อาสาสมั ค รของอั ง กฤษ ใน ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มีหน้าที่ล้วงความลับทางทหาร ของ เยอรมนีเพื่อร่วมกันต่อต้านแผนร้ายของฮิตเลอร์ที่หวังครองโลก

ซึ่งสิ่งที่มิตรชาวไร่จะได้เรียนรู้จากหนังสือพระราชนิพนธ์แปลเล่มนี้ คื อ เรื่ อ งของการอุ ทิ ศ ตั ว เพื่ อ ความถู ก ต้ อ ง ยุ ติ ธ รรม เสรี ภ าพ และสันติภาพ โดยไม่หวังลาภยศสรรเสริญใด ๆ ดุจดังนายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ “ติโต” ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงแปลเรื่อง ติโต จากต้นฉบับเรื่อง TITO ของ Phyllis Auty เมื่อปี พ.ศ. 2519 เป็ น เรื่ อ งราวของจอมพลติ โ ต เดิ ม ชื่ อ นายกรั ฐ มนตรี คอมมิวนิสต์คนแรก และประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย ซึ่งพระราชนิพนธ์แปล “ติโต” นี้จะท�ำให้เราได้เรียนรู้ประวัติชีวิต ของผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ ท� ำ เพื่ อ ชาติ บ ้ า นเมื อ งของเขาเพื่ อ ที่ มิ ต รชาวไร่ จะได้ยึดเอาไปเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องความรัก ความเสียสละ ต่อชาติบ้านเมือง และความสามัคคีของคนในชาติ และหากมิ ต รชาวไร่ อ ยากเรี ย นรู ้ ใ นเรื่ อ งความเพี ย ร พระราชนิพนธ์ “พระมหาชก” และ “พระมหาชนก ฉบับการ์ตูน” คื อ หนึ่ ง ในหนั ง สื อ ที่ ค วรอ่ า น กั บ เรื่ อ งราวของพระมหาชนก ที่ ว ่ า ยน�้ ำ ข้ า มมหาสมุ ท รอยู ่ ถึ ง 7 วั น แม้ ว ่ า จะไม่ เ ห็ น ฝั ่ ง พระมหาชนกก็ไม่ย่อท้อ จนบรรลุในสิ่งที่มุ่งหวังไว้ในที่สุด ในส่ ว นของพระราชนิ พ นธ์ เรื่ อ ง “ทองแดง” และเรื่ อ ง “ทองแดง ฉบับการ์ตูน” เป็นหนังสือที่เล่าเรื่อง “คุณทองแดง” สุนัขทรงเลี้ยงของพระเจ้าอยู่หัว ที่พระองค์ทรงยกย่องว่า เป็นสุนัข ที่มีความกตัญญู ซึ่งในพระราชนิพนธ์ได้ทรงยกย่องคุณทองแดง ในเรื่องความกตัญญูรู้คุณของคุณทองแดงที่มีต่อแม่มะลิ “ผิดกับ คนอื่นที่เมื่อกลายมาเป็นคนส�ำคัญแล้วมักจะลืมตัว และดูหมิ่น ผู้มีพระคุณซึ่งเป็นคนต�่ำต้อย” อันเป็นประโยชน์ต่อการด�ำรงชีวิต นี่คือส่วนหนึ่งของพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ ่ อกจากจะอ่านสนุกแล้ว พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ทีน ยั ง แฝงแง่ คิ ด ดี ๆ ให้ มิ ต รชาวไร่ ล องไปปรั บ ใช้ กั บ ชี วิ ต ประจ�ำวันกันดู M

45

���������� ����� ok.indd 45

12/8/16 1:41 PM


���������� ����� ok.indd 46

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

เขื่อนพรมธารา โครงการเขื่อนพรมธารา จังหวัดชัยภูมิ เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่ พระองค์ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทอดพระเนตรการก่ อ สร้ า ง เขื่อนจุฬาภรณ์ ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า “ล� ำ ห้ ว ยขนาดใหญ่ มี น�้ ำ ไหลตลอดปี สมควรศึ ก ษา รายละเอี ย ดเพื่ อ พิ จ ารณาก่ อ สร้ า งเขื่ อ นหรื อ ฝายขนาดเล็ ก และเจาะอุโมงค์ผันน�้ำลงมาเขื่อนจุฬาภรณ์” กฟผ. ในฐานะผู้รับสนองงาน จึงท�ำการศึกษาและก่อสร้าง เขื่ อ นพรมธาราขึ้ น ท� ำ ให้ ส ามารถผั น น�้ ำ มาลงเขื่ อ นจุ ฬ าภรณ์ ได้ถึงปีละ 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งผลให้เขื่อนจุฬาภรณ์สามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพิม่ ขึน้ อีกปีละประมาณ 2 ล้านกิโลวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง เขื่อนพรมธาราเป็นเครื่องพิสูจน์ที่แสดงให้เห็นถึงพระราช อัจฉริยภาพในการประดิษฐ์คิดค้น ดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่เพื่อให้ใช้ ประโยชน์สูงสุด

http://www.painaidii.com/business/117144/album/1/lang/th/

เขื่อนห้วยกุ่ม ปฐมบทแห่งการริเริ่มเขื่อนห้วยกุ่ม เกิดขึ้นในวันที่พระองค์ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น เปิ ด เขื่ อ นจุ ฬ าภรณ์ ทรงมี พ ระราชด� ำ รั ส ให้ กฟผ. ศึ ก ษาถึ ง ความเป็ น ไปได้ ใ นการสร้ า งเขื่ อ นอี ก แห่ ง บริ เวณใต้ เขื่ อ นจุ ฬ าภรณ์ ห ่ า งออกไปประมาณ 40 กิ โ ลเมตร เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาการขาดแคลนน�้ ำ ของเกษตรกร จึ ง เกิ ด เป็ น “เขื่อนห้วยกุ่ม” ขึ้นมาซึ่งนอกจากจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ของเกษตรกรบริเวณล�ำน�ำ้ พรมตอนล่างครอบคลุมพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม 80,000 ไร่ แ ล้ ว ยั ง เป็ น เขื่ อ นที่ ส ามารถผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ได้ ปีละประมาณ 13,000 กิโลวัตต์ตอ่ ชัว่ โมงอีกด้วย ถือเป็นอีกโครงการ ในพระราชด�ำริที่ทรงค�ำนึงถึงความเดือดร้อนของพี่น้องเกษตรกร ทั้งชาวนาและชาวไร่เป็นส�ำคัญ

www.ลูกทุ่งหมอลำ�.com/19129

47

���������� ����� ok.indd 47

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 48

12/7/16 5:46 PM


ธันวาคม 2559

MITR PHOL MODERNFARM

การน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการด�ำเนินการภายใน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริต่าง ๆ แล้ว ยังเป็นตัวอย่าง และแหล่ ง ความรู ้ แ ก่ ป ระชาชนที่ ส นใจน� ำ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ไปใช้ประโยชน์ภายในครัวเรือนหรือเป็นต้นแบบให้ภาคเอกชน น�ำไปประกอบธุรกิจของตนเองได้อีกด้วย พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ที่ น� ำ มาใช้ เ ป็ น พลั ง งานทดแทนแบ่ ง ออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิต ความร้อนและการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 1. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตน�้ำร้อน แบ่งออกเป็น • การผลิตน�ำ้ ร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ เป็นการผลิต น�้ ำ ร้ อ นชนิ ด ที่ มี ถั ง เก็ บ อยู ่ สู ง กว่ า แผงรั บ แสงอาทิ ต ย์ ใช้ ห ลั ก การ หมุนเวียนตามธรรมชาติ • การผลิตน�้ำร้อนชนิดใช้ปั๊มน�้ำหมุนเวียน เหมาะส�ำหรับ การใช้ผลิตน�้ำร้อนจ�ำนวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง • การผลิตน�้ำร้อนชนิดผสมผสาน เป็นการน�ำเทคโนโลยี การผลิตน�้ำร้อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้ง จากการระบายความร้ อ นของเครื่ อ งท� ำ ความเย็ น หรื อ เครื่ อ ง ปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในระบบอบแห้ง แบ่งเป็น • การอบแห้งระบบ Passive เป็นระบบที่เครื่องอบแห้ง ท�ำงานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที่พัดผ่าน • การอบแห้งระบบ Active เป็นระบบอบแห้งทีม่ เี ครือ่ งช่วย ให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการ เช่น มีพัดลมติดตั้งในระบบ เพื่อบังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบ • การอบแห้งระบบ Hybrid เป็นระบบอบแห้งที่ใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ และยังต้องอาศัยพลังงานในภาพแบบอืน่ ๆ ช่วยในเวลา ที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม�่ำเสมอ หรือต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตร แห้งเร็วขึ้น

2. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า • เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand Alone System) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การออกแบบส�ำหรับใช้งานในพืน้ ทีช่ นบท ที่ ไ ม่ มี ร ะบบสายส่ ง ไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ ร ะบบที่ ส� ำ คั ญ ประกอบด้ ว ย แผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ และ อุ ป กรณ์ เ ปลี่ ย นระบบไฟฟ้ า กระแสตรงเป็ น ไฟฟ้ า กระแสสลั บ แบบอิสระ • เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจ�ำหน่าย (PV Grid connected System) เป็ น ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ถู ก ออกแบบ ส� ำ หรั บ ผลิ ต ไฟฟ้ า ผ่ า นอุ ป กรณ์ เ ปลี่ ย นระบบไฟฟ้ า กระแสตรง เป็ น ไฟฟ้ า กระแสสลั บเข้ า สู ่ ร ะบบสายส่ ง ไฟฟ้ า โดยตรง ใช้ผ ลิต ไฟฟ้าในเขตเมือง หรือพื้นที่ที่มีระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ ระบบที่ส�ำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยน ระบบไฟฟ้ า กระแสตรงเป็ น ไฟฟ้ า กระแสสลั บ ชนิ ด ต่ อ กั บ ระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้า • เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid System) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบส�ำหรับท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์ ผลิ ต ไฟฟ้ า อื่ น ๆ เช่ น ระบบเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ กั บ พลั ง งานลม และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและ ไฟฟ้าพลังน�้ำ เป็นต้น นอกจากนี้ การติดตัง้ ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตกระแสไฟฟ้า ยั ง ได้ ต ่ อ ขยายจากพระต� ำ หนั ก สวนจิ ต รลดาไปยั ง โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริมากมายหลายโครงการทั่วประเทศ อาทิ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในภูมิภาค ต่ า ง ๆ โครงการบ้ า นเล็ ก ในป่ า ใหญ่ โครงการฟาร์ ม ตั ว อย่ า ง บ้ า นพุ ร ะก� ำ จั ง หวั ด ราชบุ รี โครงการศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ เกาะเกิ ด จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สถานี พั ฒ นาการเกษตรที่ สู ง จังหวัดเชียงใหม่ และโรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นต้น แบบให้ กั บ ประชาชนคนไทยได้ น ้ อ มน� ำ เอาพลั ง งานทดแทน ไปประยุกต์ใช้กับครัวเรือนและบริษัทห้างร้านได้ต่อไป 49

���������� ����� ok.indd 49

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 50

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 51

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 52

12/7/16 5:46 PM


���������� ����� ok.indd 53

12/7/16 5:46 PM


MITR PHOL MODERNFARM

���������� ����� ok.indd 54

พฤศจิกายน 2559

12/7/16 5:47 PM


พฤศจิกายน 2559

���������� ����� ok.indd 55

MITR PHOL MODERNFARM

12/8/16 2:27 PM


MITR PHOL MODERNFARM

���������� ����� ok.indd 56

พฤศจิกายน 2559

12/7/16 5:47 PM


พฤศจิกายน 2559

���������� ����� ok.indd 57

MITR PHOL MODERNFARM

12/7/16 5:47 PM


���������� ����� ok.indd 58

12/7/16 5:47 PM


���������� ����� ok.indd 59

12/7/16 5:47 PM


MITR PHOL MODERNFARM

ธันวาคม 2559

AD 9 60

���������� ����� ok.indd 60

12/7/16 5:47 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.