My home my power plant 10 2560

Page 1

INNOVATE POWER SOLUTIONS FOR A BETTER LIFE วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ

ป ที่ 23 ประจำเดือน ตุลาคม 2560


MY

HOME MY POWER PLANT

ปี 2560 ถือเป็นอีกหนึง่ ปีคณ ุ ภาพของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ทีส่ ามารถน�ำผลงานการพัฒนางานและงานวิจยั ไปเฉิดฉายบนเวทีการแข่งขันทัง้ ในระดับประเทศ และระดับนานาชาติได้ ซึง่ ล้วนแล้วเกิดขึน้ จากความตัง้ ใจและมุง่ มัน่ ของผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคน ทีม่ งุ่ หวังและมุง่ มัน่ ในการเพิม่ ประสิทธิภาพงานให้สงู ขึน้ อีกทัง้ ยัง ให้ความส�ำคัญกับชุมชนทีอ่ ยูร่ อบข้างในการสนับสนุนและพัฒนาเพือ่ ให้ กฟผ.แม่เมาะ และ ชุมชน ก้าวไปข้างหน้าด้วยกันอย่างผาสุข

รางวัลด้านผู้ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทนดีเด่น ประเภทสมาคม องค์กร หน่วยงาน (ภาครัฐ) โดย นายนิกลู ศิลาสุวรรณ รองผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า เข้ารับรางวัลจาก พลอากาศเอกประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2560 ณ ห้องบอลรูม หอประชุมสิรกิ ติ ิ์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้ร่วมน�ำเสนอโครงการในภาพรวมของ กฟผ. อาทิ คณะท�ำงานจัดการพลังงานโรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ สื่อประชาสัมพันธ์ประหยัดพลังงาน วารสารสวัสดีแม่เมาะ วารสาร My Home My Power Plant เฟซบุค๊ แฟนเพจ กฟผ. แม่เมาะ ตลอดจนโครงการทีก่ องชุมชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จัดขึน้ เพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและให้ความรูด้ า้ นพลังงาน แก่เยาวชน เช่น โครงการค่ายเมล็ดพันธุพ์ ลังงาน โครงการค่าย เพาะต้นกล้าพลังงาน เป็นต้น

รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 Corporate Social Responsibility (CSR) Category จากผลงาน “The Community Collaboration for Sustainable Development in Mae Moh District” โดยนายอมรพันธ์ ลีลาภรณ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิต ไฟฟ้า 2 เข้ารับรางวัล ASEAN Coal Awards 2017 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2560 ในการประชุม ASEAN Energy Business Forum 2017 ณ โรงเเรมคอนราด กรุงมะนิลา ประเทศ ฟิลิปปินส์ ซึ่งคณะท�ำงานจัดการประกวดและคัดเลือกองค์กร ที่มีความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ ของกิจการถ่านหินของไทย กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ ได้คดั เลือกผลงานของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส่งเข้าร่วมประกวด ASEAN Coal Awards 2017 และได้รับ รางวัลในที่สุด

บทบรรณาธิการ จากกระแสโลกที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมกลายมาเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาประเทศ ถึ ง เวลาที่ กฟผ. ซึ่ ง เป็ น ก� ำ ลั ง หลั ก ในการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ของประเทศไทยต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นตั ว เองให้ ส ามารถก้ า วทั น กั บ สถานการณ์โลก โรงไฟฟ้าแม่เมาะในฐานะฟันเฟืองส�ำคัญขององค์การจึงต้องตื่นตัว พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง โดยเปลี่ยนวิสัยทัศน์ให้สอดคล้องกับบริบทขององค์การ คื อ “Innovate Power Solutions For A Better Life นวั ต กรรมพลั ง งาน ไฟฟ้ า เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ดี ก ว่ า ” มุ ่ ง เน้ น การน� ำ นวั ต กรรมมาใช้ ใ นการพั ฒ นาทั้ ง องค์ ก ร ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงที่สุด คงศักยภาพการเป็นผู้น�ำในการผลิตกระแส ไฟฟ้า ส่งความสุขผ่านแสงสว่างให้ประเทศเกิดความมั่นคง ยังผลให้คนไทยมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีโดยทั่วกัน

วิสัยทัศน์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

2

INNOVATE POWER SOLUTIONS FOR A BETTER LIFE นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิตที่ดีกว่า MY HOME MY POWER PLANT

บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE Magazine โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

พันธกิจ

มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล


คุณภาพอากาศแม่เมาะ เดือนกันยายน 2560 ผลการตรวจวัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ข องผู ้ ป ฏิ บั ติ งานสังกัดฝ่ายบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้า แม่เมาะ 3 ผลงาน ทีเ่ ข้าร่วมแข่งขัน ในเวที ก ารประกวดสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ นานาชาติ ครัง้ ที ่ 13 “13th Taipei International Invention Show & Technomart” (INST 2017) ระหว่างวันที ่ 28 - 30 กันยายน 2560 ณ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน คว้ารางวัล 1 เหรียญทอง และ 2 เหรียญทองแดง

การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) แม่ เ มาะ รายงาน ผลการตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศเดื อ นกั น ยายน 2560 ในพื้ น ที่ อ� า เภอ แม่ เ มาะ จั ง หวั ด ล� า ปาง จากสถานี ต รวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศของ กฟผ. จ�านวน 11 สถานี โดยผลการตรวจวัดฝุ่นละอองรวม (TSP), ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (SO2), ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และผลการตรวจวัด ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) จ�านวน 4 สถานี พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ส�าหรับดัชนีคุณภาพอากาศ (ค่า AQI) บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน พื้นที่ บ้ า นพั ก ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านและพื้ น ที่ ชุ ม ชนอยู ่ ใ นเกณฑ์ ดี ซึ่ ง ไม่ มี ผ ลกระทบ ต่อสุขภาพ

รางวัลเหรียญทอง ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์พิเศษประกอบแผงท่อ หม้อน�า้ แรงดันสูง” จากกลุม่ Special Equipment for Boiler Panel Tube Fitting สังกัดแผนกบ�ารุงรักษาหม้อน�า้ กลาง กองบ�ารุงรักษา กลาง ฝ่ายบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

TSP/day

รางวัลเหรียญทองแดง จ�านวน 2 ผลงาน ได้แก่ ผลงานเรือ่ ง “เครือ่ งดัดรีด Seal Strip” จากกลุม่ Seal Strip Bending Machine สังกัดแผนกโรงงานเครื่องกล กองบ�ารุงรักษากลาง ฝ่ายบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ผลงานเรื่อง “เครื่องม้วนเก็บสายพาน” จากกลุ่ม Belt Rolling Machine สังกัดแผนกบ�ารุงรักษาเครื่องกลระบบล�าเลียงขี้เถ้า กองบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้า 4 ฝ่ายบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

77

39

50

3

47

330

120

780

300

320

นับเป็นเครื่องยืนยันถึงการด�าเนินงานตามมาตรฐานระดับนานาชาติ โดย กฟผ.แม่เมาะ ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่ดีระดับอาเซียน ทั้งในด้านการ ใช้เทคโนโลยีเข้ามาพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิผล ที่ดียิ่งขึ้น รวมทั้งด�าเนินงานโดยค�านึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมควบคู่ ไปกับการผลิตไฟฟ้าอีกด้วย

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชม.

PM10/day

SO2/hr.

ฝุ นละอองขนาดไม เกิน ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชม. ในคาบ 1 ชม.

SO2/day

NO2/hr.

ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 24 ชม. ในคาบ 1 ชม.

= ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ = ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.

: : : : :

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

- รอพบผลวิจัยโมเดลการยอมรับโรงไฟฟ้าถ่านหินต้นปี 61 งานวิจยั โครงการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุการยอมรับโรงไฟฟ้าถ่านหิน : กรณีศกึ ษา โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เปิดผลงานบ้านแม่เมาะได้น�าเสนอไปเมื่อเดือนมกราคม 2559 ซึง่ ขณะนัน้ อยูใ่ นขัน้ ตอนสุดท้ายของการพิจารณาขอรับทุน ปัจจุบนั งานวิจยั นีผ้ า่ น การอนุมัติโครงการจากคณะกรรมการบริหารงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม กฟผ. (คบวน.กฟผ.) และอยู่ในกระบวนการช่วงสุดท้าย ของขั้นตอนการวิจัยแล้ว น.ส.พัชรีพรรณ ดวงมุสิทธิ์ วิทยากรระดับ 6 แผนกวิเคราะห์ประเมินผล การพัฒนาชุมชน กองแผนงานและประเมินผล ฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กล่ า วว่ า “ปั จ จุ บั น งานวิ จั ย นี้ อ ยู ่ ใ นขั้ น ตอนการลงพื้ น ที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ซึ่ ง มี ทั้ ง การวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างแยกตามพื้นที่ ในชุมชนอ�าเภอแม่เมาะ จ�านวน 2,000 คน และการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการ จัดสนทนากลุม่ (Focus group) ควบคู่กัน ซึ่งการเก็บข้อมูลดังกล่าวจะแล้วเสร็จ ในเดือนธันวาคม 2560 จากนั้นจะเป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปผล และด�าเนินการจัดท�ารายงานฉบับสมบูรณ์ โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จต้นปี 2561”

งานวิจยั ดังกล่าวด�าเนินการโดยคณะท�างานวิจยั ฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีทมี งานวิจยั ทัง้ หมด 10 คน งบประมาณ 1,777,940 บาท ระยะเวลาด�าเนินการ 1 ปี 6 เดือน ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2560 สิน้ สุดเดือนมิถนุ ายน 2061 มีคณะอาจารย์จาก มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ปรึกษา โดยผลการศึกษาวิจัยนี้จะ เป็นประโยชน์ในการวางแผนยุทธศาสตร์หรือแผนกลยุทธ์ด้านการสื่อสารองค์การ ชุมชนสัมพันธ์และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) เพือ่ ให้เกิดการยอมรับโรงไฟฟ้า ถ่านหินและสามารถน�าโมเดลต้นแบบทีไ่ ด้ไปปรับใช้กบั โรงไฟฟ้าถ่านหินของ กฟผ. ที่จะสร้างต่อไปในอนาคตได้ MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

ท�าความสะอาดท่อของอุปกรณ์ โรงไฟฟ้าด้วยไอน�า้ (Steam Blow out) การท�าความสะอาดท่อของอุปกรณ์ภายใน โรงไฟฟ้าทดแทนฯ ด้วยไอน�้า (Steam Blow out) เป็ น อี ก หนึ่ ง ขั้ น ตอนที่ มี ค วามส� า คั ญ หลั ง การ ติดตั้งอุปกรณ์แล้วเสร็จ ซึ่งการท�าความสะอาด ท่อของอุปกรณ์ฯ จะเกิดไอน�้าสีขาวออกมาจาก ปล่องระบายไอน�้า มีเสียงดังไม่เกิน 85 เดซิเบลเอ ประมาณ 1 - 2 นาที เป็นระยะๆ เสียงดังกล่าว ที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เสี ย งอื่ น ๆ จะมี ค วามดั ง เท่ า กั บ เสี ย งการจราจรบนท้ อ งถนน ซึ่ ง ไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ การได้ ยิ น อย่ า งไรก็ ต ามโครงการ พั ฒ นาโรงไฟฟ้ า ทดแทนโรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ เครือ่ งที ่ 4-7 (MMRP1) ได้ทา� การติดตัง้ “ไซเรนเซอร์ (Silencer)” ซึ่ ง เป็ น อุ ป กรณ์ เ ก็ บ เสี ย งที่ มี ประสิทธิภาพไว้ภายใน เพื่อไม่ให้เกิดเสียงรบกวน ต่ อ ชุ ม ชนโดยรอบ นอกจากนี้ ยั ง มี โ ครงการให้ ชุม ชนได้เ ข้า มาร่ ว มชมวิ ธี ก ารด� า เนิ น งานในช่ ว ง Steam Blow out เพื่ อ ให้ ชุ ม ชนมั่ น ใจว่ า การ ด�าเนินงานของโครงการฯ จะไม่เกิดอันตรายและ ไม่เกิดเสียงรบกวนอย่างแน่นอน

MR จัดการระบบมาตรฐาน เพื่อคุณภาพขององค์กร การปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรไม่ว่าจะเป็นการใช้ เทคโนโลยี อ ย่ า งเหมาะสม การพั ฒ นาศั ก ยภาพของผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านในองค์ ก ร การลดต้นทุนใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นสิ่งส�าคัญที่ทุกองค์กรพึงมี เช่ น เดี ย วกั บ โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะที่ มี ค ณะผู ้ แ ทนฝ่ า ยบริ ห ารระบบมาตรฐาน การจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หรือ MR (Management Representative) ช่วยขับเคลื่อนให้งานมีประสิทธิภาพตามแผน โดยน�าระบบมาตรฐานการจัดการ มาใช้เป็นเครื่องมืออย่างต่อเนื่อง นายบัณฑิต จารุเนตร วิศวกรระดับ 11 สังกัดผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า2 เป็นผู้แทนฝ่ายบริหาร เล่าว่า “หน้าที่หลักของคณะฯคือก�ากับดูแลระบบบริหาร ด้านมาตรฐานการจัดการ เช่น ระบบบริหารการจัดการคุณภาพ (ISO 9001) ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) ระบบมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001) ระบบการจัดการพลังงาน (ISO 50001) ฯลฯ ให้รอ้ ยเรียงเป็นกระบวนการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง พร้อมสือ่ สารสร้างความมีสว่ น ร่วมกับผูป้ ฏิบตั งิ านให้มคี วามเข้าใจและมีความสุขกับการท�างานตามระบบมาตรฐาน รวมทั้งประเมินผลติดตามบทบาทของแต่ละหน่วยงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป ปัจจุบันได้น�าเอา Lean มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการให้สอดคล้อง และเหมาะสมในกระบวนการท�างานของหน่วยงาน ส่วนในปี 2561 เรายังคงรักษา ระบบมาตรฐานการจัดการไว้เช่นเคย โดยจะขับเคลื่อนให้เข้มข้นขึ้นยึดทฤษฎีและ เน้นปฏิบัติไปพร้อมกัน โดยใช้ทรัพยากรให้เหมาะสมมากที่สุด”

4

MY HOME MY POWER PLANT

“การบริหารงานคุณภาพ

ไม่ใช่กจิ กรรมเสริม ถือเป็นงาน หลักทีต่ อ้ งด�าเนินการ เช่นเดียว กับระบบมาตรฐานการจัดการ ที่เป็นแนวทางการด�าเนินงาน ในกิจการต่างๆ ให้ผลิตไฟฟ้าได้ อย่างมีคณ ุ ภาพและมัน่ คง”


กฟผ.แม่เมาะ บริหารจัดการน�้าอย่างไรในฤดูน�้าหลาก?

“น�า้ ” เป็นหนึง่ ในองค์ประกอบหลักในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ซึง่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ มีอา่ งเก็บน�า้ หลักอยู ่ 2 อ่าง ได้แก่ อ่างเก็บ น�า้ แม่ขามและอ่างเก็บน�า้ แม่จาง ตลอดจนมีฝายท่าสี อ่างห้วยหลวง และอ่างห้วยคิง น�า้ ส่วนหนึง่ ถูกน�าไปใช้ในกิจการของ กฟผ. แม่เมาะ ได้แก่ การผลิตไฟฟ้า การ ท�าเหมือง ระบบประปาภายใน และภายนอกสถานประกอบการ และอีกส่วนหนึ่งใช้เพื่อชุมชนใน ด้านต่างๆ คือ การเกษตรและการ อุปโภคบริโภค ซึง่ กฟผ.แม่เมาะ บริหารจัดการปล่อยและกักเก็บ น�า้ เพือ่ ประโยชน์ขององค์กรและ ชุมชนได้เป็นอย่างดีเสมอมา โดย จ่ายน�า้ ประมาณปีละ 17.35 ล้าน ลูกบาศก์เมตร ให้แก่ชมุ ชนต่างๆ ใน อ.แม่เมาะ เมื่อช่วงต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา เกิดเหตุ ระดับกักเก็บปกติ จึงจ�าเป็นต้องเปิดประตูระบายน�า้ พายุฝนตกหนักต่อเนื่องในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ท�าให้ เพิม่ เพือ่ ระบายน�า้ สูล่ า� น�า้ จาง จนเมือ่ วันที ่ 9 ตุลาคม อ่างเก็บน�า้ แม่จาง ต.นาสัก อ.แม่เมาะ จ.ล�าปาง ซึง่ 2560 ได้ลดการระบายน�้าโดยปิดประตูระบายน�้า เป็นอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่มีความจุ 102.10 ล้าน ลง 1 บาน และเปิดประตูระบายน�า้ บานที ่ 2-3 บานละ ลูกบาศก์ เมตร มี ร ะดับน�้า สูงขึ้นมากกว่าระดับ 10 ซม. พร้อมติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนือ่ ง กั ก เก็ บ ปกติ ข องอ่ า งเก็ บ น�้ า ที่ 13 เซนติ เ มตร กระทั่ง วันที่ 12 ตุลาคม กฟผ.แม่เมาะ (ระดับปริมาณกักเก็บปกติที่ 352.50 เมตร จาก ได้ทา� การปิดประตูระบายน�า้ (Spillway) ทัง้ สามบาน ระดับทะเลปานกลาง) โดยเมือ่ วันที ่ 5 ตุลาคม 2560 ภายหลังจากทีร่ ะดับน�า้ เริม่ คงตัวและมีระดับน�า้ ไหล กฟผ.แม่เมาะ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ก�านัน เข้าอ่างลดลงต่อเนือ่ ง ทัง้ นีก้ ารปิดประตูระบายน�า้ ดัง ผู้ใหญ่บ้าน และผู้น�าชุมชน ทั้ง ต.สบป้าด และ กล่าว เป็นการปิดชัว่ คราว เนือ่ งจากระดับน�า้ กลับสู่ ต.นาสัก จึงเห็นร่วมให้เปิดประตูระบายน�้าของ ระดับกักเก็บปกติ ซึง่ กฟผ.แม่เมาะ จะติดตามและ อ่างเก็บน�า้ แม่จาง จ�านวน 1 บาน ทีร่ ะดับความสูง ประเมินสถานการณ์ น�า้ ไหลเข้าอ่างทีอ่ าจเกิดจาก 10 ซม. มีระดับการไหล 3.27 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พายุฝนส่งท้ายก่อนเข้าสูช่ ว่ งฤดูหนาวอีกครัง้ หนึง่ อย่างไรก็ตามภายหลังจากการลงพืน้ ทีต่ ดิ ตาม ตลอดระยะเวลาการระบายน�า้ ลงสูล่ า� น�า้ จาง ระดับน�า้ อย่างใกล้ชดิ ของ กฟผ.แม่เมาะ ในวันที ่ 6-8 กฟผ.แม่เมาะ ได้บริหารจัดการเพื่อเตรียมรองรับ ตุลาคม ที่ผ่านมา พบว่าระดับน�้าในอ่างยังคงเกิน เหตุที่อาจเกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี ทั้งลงพื้นที่ติดตาม

สภาพฝายและชุมชนบริเวณอ่างเก็บน�า้ อย่างใกล้ชดิ ให้ความช่วยเหลือเบือ้ งต้นแก่พนื้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ ซึง่ การปล่อยน�า้ จากอ่างเก็บน�า้ แม่จางดังกล่าวยังไม่ ส่งผลกระทบกับพื้นที่อยู่อาศัยของชุมชนโดยตรง แต่มีพื้นที่การเกษตรบางแห่งได้รับความเสียหาย ทัง้ นี ้ กฟผ.แม่เมาะ ได้แจ้งให้ประชาชนในพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ จาง ได้แก่ เขต อ.แม่เมาะ อ.แม่ทะ และ อ.เกาะคา เฝ้าระวังระดับน�า้ และน�า้ ป่าไหลหลากอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี ้ อ่างเก็บน�า้ แม่จางมีมาตรการด้านความ มัน่ คงปลอดภัย (Dam Safety) ตามมาตรฐานสากล โดย กฟผ.แม่เมาะ ได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งมือตรวจวัดเพือ่ เฝ้า ระวังกรณีเกิดน�า้ หลากหรือแผ่นดินไหว นอกจากนี้ ยังมีมาตรการตรวจสอบและประเมินความปลอดภัย เป็นประจ�าทุกวัน และตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ผูเ้ ชีย่ วชาญทุก 2 ปี MY HOME MY POWER PLANT

5


MY

HOME MY POWER PLANT

ในช่วงเดือนตุลาคม ที่ผ่านมาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีการเปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์และพันธกิจใหม่ ตลอดจนการหมุนเวียนเปลี่ยนผู้บริหารทั้งในระดับฝ่ายและระดับกอง My Home My Power Plant จึงเข้าไปพูดคุยกับผู้แทน ผู้บริหารท่านใหม่ในแต่ละฝ่าย เพื่อทราบถึงนโยบายในการบริหารทั้งด้านบุคลากร เทคนิค และการพัฒนางาน ในยุค EGAT 4.0

“INNOVATE POWER SOLUTIONS FOR A BETTER LIFE : นวัตกรรม พลังงานไฟฟ้าเพือ่ ชีวติ ทีด่ กี ว่า” วิสยั ทัศน์ใหม่ของสายงานผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า 2 ที่เปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ กฟผ. ซึ่งเน้นส่งเสริมการน�านวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการท�างาน ตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 น�าไปสู ่ กฟผ. ในยุค EGAT 4.0 ฝ่ายต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานภายในจึงต้องมีการปรับเปลีย่ นนโยบายและ วางแผนงานให้สามารถตอบโจทย์วสิ ยั ทัศน์ดงั กล่าว เพือ่ เตรียมพร้อมต่อการเปลีย่ นแปลง ทีก่ า� ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคตอันใกล้

ภารกิจหลักของฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ คือการผลิตและจ่ายไฟฟ้าต้นทุนต�า่ รวมถึงรักษาความพร้อมจ่ายให้เป็นไปตามความต้องการของระบบอย่างมีประสิทธิภาพ ในอนาคตมีความท้าทายรออยูห่ ลายด้าน ปี 2561 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที ่ 4-7 จะเริม่ ทยอยปลดออกจากระบบ เหลือโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที ่ 8-13 ซึง่ ต้องปรับปรุง แก้ไขและหมั่นดูแลเป็นพิเศษ ด้วยการประเมินตรวจสอบระบบและอุปกรณ์อย่าง ละเอียด ให้รกู้ อ่ นทีจ่ ะเกิดความช�ารุดเสียหายเพือ่ ลดความสูญเสีย ปี 2565 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที ่ 8-9 จะได้รบั การทดแทน ส่วนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที ่ 10-13 จะหมดวาระ ในปี 2568 ตามแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์ กฟผ. ปี 2561-2569 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ สนอง ตอบนโยบายตัว E (Electricity Innovation) คือการเป็นองค์การแห่งนวัตกรรมพลังงาน ไฟฟ้า เราจึงมุง่ เน้นการพัฒนานวัตกรรมไปที ่ MMRP1 และ MMRP2 ให้เป็นโรงไฟฟ้า ถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด นอกจากนี ้ ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีแผนงานวิจยั เรือ่ งการประเมินวัฏจักร ชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA) ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ซึง่ จะศึกษาถึงกระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่า ผลกระทบของกระบวนการผลิตไฟฟ้าทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อม ตลอดช่วงชีวติ ของกระบวนการ ผลิต โดยมีการระบุถงึ ปริมาณพลังงานและวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ รวมถึงของเสียทีป่ ล่อยออกสู่ สิง่ แวดล้อมและการประเมินโอกาสทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสุขอนามัยของ ชุมชน เพือ่ หาวิธปี รับปรุงกระบวนการผลิตให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ น�าไปสูก่ ารสร้างความเชือ่ มัน่ ต่อชุมชนโดยรอบเหมืองและโรงไฟฟ้า โดยจะเริม่ ด�าเนิน โครงการในปีหน้า ส่วนปัญหาเรือ่ งเสียง โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้มงี านวิจยั เรือ่ งการควบคุมเสียง (Noise Contour) จากการผลิตไฟฟ้า เพื่อแก้ไขปัญหาการร้องเรียนเรื่องเสียงจากชุมชน โดยคณะท�างานโครงการลดผลกระทบด้านเสียงต่อชุมชนโดยรอบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ (คคส-ฟม.) ด�าเนินการวิจัยร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อหาสาเหตุ ที่แท้จริงของผลกระทบเรื่องเสียง อันจะน�าไปสู่การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มต่อไป

6

MY HOME MY POWER PLANT


งานด้านสือ่ สารองค์การและชุมชนสัมพันธ์ มุง่ เน้นพันธกิจในการสร้างคุณค่าร่วมกับผูม้ สี ว่ น ได้เสียอย่างสมดุล หรือ Creating Shared Value (CSV) ซึง่ กฟผ.แม่เมาะ ได้นอ้ มน�าแนวทางตาม พระราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ ศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในงานด้าน CSR และการบริการงานในหน่วยงาน โดยใช้หลักการ เข้าใจ เข้าถึง แล้วจึงพัฒนา ซึง่ ตัง้ แต่เข้ารับต�าแหน่ง ช.อจม-สช. ได้ตงั้ เป้าด�าเนินงานตามนโยบาย ดังนี้ 1. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้าน CSR และกองจิตอาสา โดยจะเน้นการสือ่ สารไปยังผูป้ ฏิบตั ิ งานให้เข้าใจและพร้อมรับกับการเปลีย่ นแปลงขององค์กรทีก่ า� ลังจะเกิดขึน้ 2. เน้นการน�าแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้ ในการบริหารงานและ งานด้าน CSR 3. พัฒนาระบบสารสนเทศด้าน CSR โดยจะรวบรวมและจัดท�า Big data ทัง้ ฐานข้อมูลส�าหรับ ผูบ้ ริหาร และฐานข้อมูลชุมชน ให้เป็นระบบ ง่ายต่อการน�าไปใช้ และการสือ่ สาร 4. ส่งเสริมงานวิจยั และนวัตกรรมเพือ่ ชุมชน โดยมุง่ เป้าให้เกิดวิสาหกิจชุมชน ให้ชาวบ้านมีอาชีพ ทีย่ งั่ ยืน สามารถเลีย้ งดูตนเองและครอบครัวได้ ซึง่ ก�าลังท�าการศึกษาวิจยั เรือ่ ง เชือ้ เพลิงชีวมวลอัดแท่ง หรือ Biomass Pellet หากโครงการนีส้ ามารถน�าไปปฏิบตั ไิ ด้จริง จะช่วยแก้ปญ ั หาด้านสิง่ แวดล้อม และสร้างรายได้ให้แก่ชมุ ชน ตลอดจนโรงไฟฟ้าแม่เมาะจะกลายเป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกในประเทศไทย ทีส่ ามารถน�าระบบการเผาไหม้แบบ co-firing มาใช้ 5. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันในทุกๆ มิติระหว่างโรงไฟฟ้าแม่เมาะและเหมืองแม่เมาะ ซึง่ การผนึกก�าลังร่วมกันระหว่างสองหน่วยงาน จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการท�างานด้านชุมชนและ สิง่ แวดล้อมได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม นโยบายและแผนงานจะไม่เกิดผลได้เลยหากไม่ได้รบั ความร่วมมือจากผูป้ ฏิบตั งิ าน ทีจ่ ะต้องช่วยกันคิด ช่วยกันพัฒนา เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กรของเราให้กา้ วต่อไปได้ในยุค EGAT 4.0

กองบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้า 3 มีภารกิจหลักในการบ�ารุงโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 12-13 มุง่ มัน่ ในการซ่อมบ�ารุงโรงไฟฟ้าเพือ่ ลดการสูญเสียก�าลังการผลิตให้มากทีส่ ดุ ซึง่ อีกไม่กปี่ ขี า้ งหน้า ก�าลังเผชิญหน้ากับปัญหาปริมาณผูป้ ฏิบตั งิ านจะน้อยลงเรือ่ ยๆ เนือ่ งจากการเกษียณอายุ ในขณะที่ โรงไฟฟ้ามีอายุการใช้งานมากขึ้นจึงต้องการการบ�ารุงรักษาที่มากขึ้น ทั้งยังต้องรักษาต้นทุน ความพร้อมจ่ายในการผลิตไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการคงประสิทธิภาพการใช้งานของโรงไฟฟ้าให้ดี อยูเ่ สมอ ดังนัน้ การน�านวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยในการท�างานจะช่วยเติมเต็มช่องว่างทางด้านบุคลากร และเสริมความต้องการทางด้านเทคนิคได้เป็นอย่างดี โดยตอนนี ้ ทาง กบรม3-ฟ. มีงานวิจยั และ โครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมหลากหลาย ที่เกิดจากการพัฒนางานของผู้ปฏิบัติงานทั้งรุ่นเก่าและ รุน่ ใหม่ ทีม่ องเห็นการเปลีย่ นแปลงของโรงไฟฟ้า และพร้อมจะปรับปรุงการท�างานให้สอดคล้องกับ นวัตกรรมของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น การจ�าลองและการควบคุมระบบทางเดินก๊าซไอเสียเพือ่ ก�าจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ และการวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงความร้อน และหาจุดเหมาะสมในการเดินเครือ่ งของเครือ่ งอุน่ น�า้ ป้อนในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นต้น นอกจากนัน้ กบรม3-ฟ. ยังให้ความส�าคัญกับการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการท�างาน เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั งิ านในขณะปฏิบตั งิ านและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการท�างานด้วย ทัง้ นีผ้ ปู้ ฏิบตั งิ าน กบรม3-ฟ. ต่างมีศกั ยภาพในการท�างานสูง และท�างานร่วมกันเป็นกลุม่ ทุม่ เทกับการท�างานและมุง่ มัน่ ท�าหน้าทีข่ องตน เพือ่ ช่วยกันน�าพาโรงไฟฟ้าแม่เมาะให้เป็นโรงไฟฟ้า ถ่านหินสะอาดและขับเคลือ่ นเข้าสูย่ คุ แห่งนวัตกรรมอย่างมัน่ คง MY HOME MY POWER PLANT

7







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.