My Home My Power Plant 08-2563

Page 1


MY

HOME MY POWER PLANT

ท่ามกลางความเขียวขจี ทัง้ สวนสมุนไพร และพืชผักนานาชนิด ภายใน ศูนย์การเรียนรูโ้ ครงการชีววิถเี พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน กฟผ.แม่เมาะ ยังมี แปลงนาสาธิตทีเ่ ป็นแหล่งเพาะพันธุข์ า้ วไรซ์เบอร์รชี่ นั้ ดี เป็นแม่พนั ธุแ์ จกจ่าย ให้กบั กลุม่ เกษตรกรในอ�ำเภอแม่เมาะมาตัง้ แต่ปี 2560 จากจุดเริม่ ต้นที่ กฟผ. แม่เมาะ ได้เข้าร่วมโครงการปลูกข้าวอินทรียแ์ บบประณีตเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) โดย มูลนิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระราชชนนีพนั ปีหลวง ได้ลงพืน้ ทีศ่ นู ย์ชวี วีถฯี กฟผ.แม่เมาะ ให้ความรู ้ ใ นการท�ำนาแบบประณีตในปี 2559 ซึ่งมูลนิธิฯ ได้น�ำผลผลิต ทั้งหมดไปแจกจ่ายให้กับเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส�ำหรับ เป็นพืน้ ทีน่ ำ� ร่อง โดยตัง้ แต่ปี 2560 เป็นต้นมา ผลผลิตทัง้ หมดจากศูนย์ชวี วิถฯี ได้นำ� ไปแจกจ่ายให้กบั กลุม่ เกษตรกรในอ�ำเภอแม่เมาะ ส�ำหรับเก็บไว้ขยายพันธุ์

ในฤดูกาลต่อไป พร้อมน�ำไปสีเป็นข้าวแปรรูป เพือ่ สร้างแบรนด์และเพิม่ มูลค่าให้ กับผลผลิต นอกจากนัน้ ในปี 2562 ได้มกี ารน�ำเมล็ดข้าวทีป่ ลูกในแปลงนาสาธิต ศูนย์การเรียนรูฯ้ ไปทดสอบทางวิทยาศาสตร์ พบว่าเมล็ดพันธุม์ คี วามสมบูรณ์ เป็นไปตามคุณสมบัตขิ องเมล็ดพันธุแ์ บบอินทรีย์ คือไม่มสี ารเคมีเจือปน และ ตรงตามพันธุต์ น้ แบบ ซึง่ เป็นตัวชีว้ ดั ได้วา่ แปลงนาข้าวซึง่ อยูบ่ ริเวณข้างโรง ไฟฟ้าแม่เมาะเป็นพืน้ ทีป่ ลอดภัย เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ในปี 2563 นี้ กฟผ.แม่เมาะ ยังคงต่อยอดกิจกรรมปลูกข้าวแบบประณีต ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 5 ภายใต้โครงการ กฟผ.ปลูกข้าวสืบสานปณิธานตามรอยพ่อ โดยมีนายนิมติ ร ผดุงศิลป์ไพโรจน์ นายอ�ำเภอแม่เมาะเป็นประธานเปิดกิจกรรม เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับพันธุข์ า้ วทีน่ ำ� มาปลูกคือ เมล็ดพันธุข์ า้ ว ไรซ์เบอร์รพี่ ระราชทานและพันธุข์ า้ วหอมใบเตย 62 ซึง่ เป็นหนึง่ ใน 5 พันธุข์ า้ ว

บทบรรณาธิการ

ผ่านมาแล้วกว่า 8 เดือน ส�ำหรับการด�ำเนินงานของสายงาน ชฟฟ2. โดยในปีนี้ ทีมงาน วช.-ฟม. ได้ปรับรูปแบบการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของ สายงาน ชฟฟ2. มาเผยแพร่ทางช่องทางวารสารภายใน ให้สอดคล้องต่อมาตรการ ป้องกันและควบคุมการระบาดของโควิด-19 นอกจากนัน้ โควิด-19 ยังเป็นปัจจัย ภายนอกทีเ่ ข้ามามีผลให้การด�ำเนินงานของสายงาน ชฟฟ2. บางส่วนอาจเกิดการติดขัด ไม่เป็นไปตามแผน อย่างไรก็ตาม ทุกหน่วยงานในสายงาน ชฟฟ2. ได้ทำ� หน้าทีอ่ ย่าง เต็มความสามารถ เพือ่ ให้ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้ายังคงท�ำเดินต่อไปได้ในภาวะ ทีไ่ ฟฟ้ามีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ต่อการต่อสูก้ บั โควิด-19 ซึง่ อีกหนึง่ กลุม่ คนส�ำคัญทีช่ ว่ ย ผลักดัน และส่งเสริมการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้ามาตลอดหลายสิบปี คือ พีๆ่ ทีก่ ำ� ลัง จะเกษียณอายุในปีน ี้ ทมี งาน My Home My Power Plant จึงมีบทสัมภาษณ์นา่ รักๆ ของพีๆ่ แต่ละกอง มาให้ทกุ ท่านได้อา่ นเพือ่ ให้ได้ขอ้ คิดสานต่อการท�ำงาน และได้นกึ ถึง กันเมื่อเดือนกันยายนสิ้นสุดลง บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

2

MY HOME MY POWER PLANT

วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY

พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล


LIVE

สามารถรับฟังแบบ RADIO ได้ทก ุ วันจันทร์ ตัง ้ แต่เวลา 10.00 น. – 12.00 น. เพียงสแกน >>> ก็จะรับชมและรับฟังได้แล้ว

เฉลิมพระเกียรติ เนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 มีจุดเด่นคือ กลิน่ หอมคล้ายใบเตย อายุการเก็บเกีย่ วสัน้ น�ำมาปลูกในแปลงนาสาธิต ศูนย์การเรียนรูช้ วี วิถฯี กฟผ.แม่เมาะ โดยมุง่ หวังให้แปลงข้าวในนาสาธิตนี้ เป็นนาข้าวอินทรีย์แบบประณีต ปลอดสารเคมี และใช้จุลินทรีย์ที่มี ประสิทธิภาพทดแทนสารเคมี จนสามารถผลิตพันธุข์ า้ วอินทรียท์ สี่ มบูรณ์ ปลอดภัย เป็นเมล็ดพันธุ์ชั้นดี ทั้งยังเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ดูงานของ ประชาชนทัว่ ไป

ดีเจน้องนุ่น

MM-T1 ลดการใช้เชื้อเพลิง

ลดมลสาร ด้วยจุดเดือดเหนือวิกฤต ในหม้อน�้ำแบบ USC เทคโนโลยีหม้อน�้ำแบบอัลตราซุปเปอร์คริติคอล (USC) ที่ใช้ใน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครื่องที่ 1 (MM-T1) ปัจจุบัน มีวัฏจักร การท�ำงานของระบบน�้ำและไอน�้ำภายใต้สภาวะเหนือจุดวิกฤตของน�้ำ (ความดันไอน�้ำ 275 Bar(g) อุณหภูมิ 600 ํC) ซึ่งเมื่อน�้ำได้รั บ พลั ง งาน ความร้อนสูงในระดับหนึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะของน�้ำเป็นไอน�้ำ แบบทั น ที โดยไม่ ผ ่ า นขั้ น ตอนการเดื อ ดเป็ น ฟอง ซึ่ ง การท� ำ งานของ MM-T1 ภายใต้คุณสมบัตินี้ ท�ำให้ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าสูงขึ้น มีอัตราการใช้เชื้อเพลิงถ่านหินลิกไนต์ลดลง การปล่อยมลสารก็ลดลง ตามไปด้วย ทั้งนี้ หม้อน�้ำแบบ USC ได้ถูกออกแบบให้มีสมรรถนะส�ำหรับ ท�ำงานในสภาวะเหนือจุดวิกฤตของน�้ำได้ เช่น คุ ณ สมบั ติ ข องโลหะที่ ถู ก พัฒนาองค์ประกอบเป็นพิเศษ และมีการออกแบบผนังหม้อน�ำ้ แบบหมุนวน (Spiral Wall) ซึ่งแตกต่างจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครื่องอื่นๆ ที่ออกแบบผนังหม้อน�้ำแบบแนวตั้ง (Vertical Wall) โดยผนังหม้อน�้ำ แบบหมุนวนท�ำให้น�้ำภายในผนังท่อสามารถรับความร้อนจากการเผาไหม้ ได้อย่างสม�่ำเสมอ เพิ่มประสิทธิภาพในการต้มน�้ำเพื่อสร้างแรงดันไอน�้ำ ไปหมุนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้านั่นเอง Spiral Wall : ผนังหม้อน�้ำแบบหมุนวน

MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

1

ผลดําเนินงานตามตัวชีว ้ ัดสําคัญ ชฟฟ2.

กระบวนการ

องค์กร

สังคม/ชุมชน

ผู้ปฏิบัติงาน ลูกค้า

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

ตัวชีว ้ ัดสําคัญ ชฟฟ2. ปี 2563 จํานวน 17 ตัว AFOEE คาสีแสดงผล Net Heat Rate “@รฟพ. และ MM-T1” เขียว - เปนไปตามเปาหมาย จํานวนนวัตกรรม - งานวิจยั ทีฝ่ า ยเห็นชอบ - สิง่ ประดิษฐทผี่ า นรอบ กฟผ. เหลือง - เบีย่ งเบนจากคาเปาหมาย ตนทุนการผลิตไฟฟา (M, O&M, Spare part, VOM) “รฟพ.” ตองติดตามอยางใกลชดิ รอยละรายได AP จริงเทียบ PPA “WN-C4” แดง - ไมบรรลุเปาหมาย อัตราการใชงบลงทุน เทา - รอผลลัพธชวงปลายป อัตรการใชงบทําการที่ควบคุมได จํานวนขอเสนอแนะจาก สนตน. (ระดับผลกระทบสูง) และสตง. จํานวนครั้งปลอยมลสาร (SO2 , NO2 , TSP, TDS) จากแหลงกําเนิดที่เกินกวากฎหมายกําหนด จํานวนขอรองเรียนจากชุมชน (เปนขอบกพรองจาก กฟผ.) จํานวนขอรองเรียนการทุจริต ประพฤติมิชอบ และความไมเปนธรรม การสนับสนุนชุมชนตามบริบท รฟ. “@รฟม. และ รฟว.” จํานวนผูปฏิบัติงานทําผิดกฏระเบียบ “@รฟม.” มูลคาทรัพยสินสูญเสียตอหนวยการผลิต “@รฟม.” ดัชนีประสบอันตรายถึงขั้นหยุดงาน คะแนนความสุข (Happinometer) ระดับความพึงพอใจของ รวส. ตอคุณภาพและขอตกลงซื้อขายไฟฟา (เฉพาะงวดสิ้นป) รฟม. = โรงไฟฟาแมเมาะ

รฟว. = โรงไฟฟาวังนอย

รฟพ. = โรงไฟฟานํ้าพอง

6 เดือนแรก ปี 2563 สายงาน ชฟฟ2. มีผลด�ำเนินงานตาม PA ชฟฟ2. หลังจาก คยส-รวฟ. ได้อนุมัติยกเว้นผลด�ำเนินงานได้แก่ ตัวชี้วัดร้อยละรายได้ Availability Payment(AP) ซึ่งโรงไฟฟ้า MM-T1 สูญเสียโอกาสรับรายได้ AP เพราะโรงไฟฟ้าเกิดความไม่พร้อมจ่ายไฟฟ้า อันเนื่องจาก Major Pending Items และ Material & Design Defect จากปัจจัยนอกเหนือการควบคุม ท�ำให้สายงาน ชฟฟ2. มีผลด�ำเนินงานบรรลุระดับเกณฑ์ 5 ส�ำหรับภาพรวมผลด�ำเนินงานตัวชี้วัดส�ำคัญ ชฟฟ2. งวด 6 เดือนแรกยังรักษาระดับผลด�ำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายได้ และจะต้องติดตามควบคุม กระบวนการที่ดีนี้อย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดส�ำคัญ ชฟฟ2. ที่ก�ำหนดไว้ ยังคงมีความท้าทายในการฟื้นฟู

3

ผลดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์ ชฟฟ2. งวด 6 เดือน ปี 2563

รายงานความก้าวหน้าแผนปฏิบัติการ ชฟฟ2. ไตรมาส 2/2563

52.30%

จํานวนแผนทัง ้ หมด 17 แผน ล่าช้ากว่าแผน 5 แผน

-1.24%

ชือ ่ แผน

4

ความก้าวหน้า

53.54%

หมายเหตุ

1. แผนงานปรับปรุงระบบลําเลียงเถาถานหินและยิปซัมโรงไฟฟาแมเมาะ

70/90 (ลาชา 20)

Collecting Conv.2 สามารถรับโหลด 600 ton/hrs. ไดแลว คปสถ-รฟม. อยูระหวางหารือจัดทําแผนขยายผล

2. แผนบริหารสินทรัพยและสิ่งกอสราง MM-T4-7

46/62 (ลาชา 16)

ขอปรับแผน นําเขาเสนอใน คยส-ชฟฟ2. ครั้งที่ 8/2563

3. แผนสงเสริมงานวิจัย สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม โรงไฟฟาแมเมาะ

42/43 (ลาชา 1)

ลาชาจากกิจกรรมการเผยแพรความรูดานงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรมในระดับกอง ภายในโรงไฟฟาแมเ

4. แผนลดความสูญเสียพลังงานไฟฟาจากอุปกรณ Unit 8-13 และ MM-T1

48.3/48.9 (ลาชา 0.6)

- กิจกรรมการติดตั้ง SSC และ หมอแปลง GSUT Phase A ลาชา จะสามารถ Recover กิจกรรมนี้หลังงาน WI - กิจกรรมแผนลดความสูญเสียการผลิตไฟฟาจากระบบผลิตนํ้าหินปูน เดิมมีความลาชาในการดําเนินงานชื้อจาง สามารถ Recover ไดภายในเดือน พ.ย. 63

5. แผนสราง Reliability MM-T1

52/52.5 (ลาชา 0.5)

ลาชาจากกิจกรรมการติดตั้ง Clinker Grinder เดิมตามแผนกําหนดวาจะติดตั้งในเดือน มิ.ย. 63 ซึ่งสภาพจริงต

ส�ำหรับผลด�ำเนินงานในงวด 6 เดือนแรก ปี 2563 จากทัง้ หมด 17 แผน สามารถด�ำเนินการได้ตามแผน 12 แผน และล่าช้ากว่าแผน 5 แผน คิดเป็นความก้าวหน้าร้อยละ 52.30 เทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 53.54 (-1.24%) ประเด็น ส�ำคัญทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานตามกิจกรรมต่างๆ คือการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ซึง่ ปัจจุบนั สถานการณ์เริม่ คลีค่ ลายมากขึน้ ดังนัน้ ขอผูร้ บั ผิดชอบแผนเร่งรัดฟืน้ ฟูกจิ กรรมของแผนให้เป็นไปตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ MY HOME MY POWER PLANT

และหากพบว่ามีปัญหาอุปสรรคหรือเกิด เพื่อหารือและเกิดแนวทางแก้ไขขับเคลื่อ เพือ่ ให้ผลลัพธ์ตวั ชีว้ ดั ของแผนบรรลุตามก�ำ pms/index.php)


2

ผลดําเนินงานตาม PA ระหว่าง รวฟ. และ ชฟฟ2. (งวด 6 เดือน)

ผลดําเนินงานตาม PA ระหว่าง รวฟ. และ ชฟฟ2. (งวด 6 เดือน)

1. Availability Factor (AFOEE) โรงไฟฟา MM-T1, MM-T8-13, NPO-C1-2 และ WN-C4 2. อัตราคาความรอนในการผลิตไฟฟา (Net Heat Rate) 3. การทดสอบความพรอมของการใชเชื้อเพลิงสํารองของโรงไฟฟา โรงไฟฟา NPO-C1-2 และ WN-C3 4. รอยละรายได Availability Payment โรงไฟฟา MM-T1 และ WN-C4 5. ความสําเร็จการบริหารจัดการโรงไฟฟาแบบยืดหยุน (Plant Flexibility) โรงไฟฟา WN-C4 ป 2563 6.1 ความสามารถในการบริหารแผนการลงทุน : รอยละของภาพรวมการเบิกจาย ที่เกิดขึ้นจริงในชวงป (งวด 6 เดือน) 6.2 ความสามารถในการบริหารแผนการลงทุน : รอยละของการเบิกจาย งบลงทุนตามแผนรายไตรมาส (Q1+Q2)/2 7. การบริหารคาใชจายในการดําเนินงาน (งบทําการ) 8. ความสามารถในการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบ (SR) โรงไฟฟา WN-C3 9. การกรอกขอมูลเขาระบบ GADS ของ อหฟ. และ ขอมูลการใชเชื้อเพลิงตาม billing ปตท.

นํ้าหนัก

เกณฑ์ทไี่ ด้รับ

16.67 16.67 16.67 11.11 11.11

5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

5.56

5.0

5.56 5.56 5.56 5.56 100

5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

ผลด�ำเนินงานในช่วง 6 เดือนหลัง รวมถึงสายงาน ชฟฟ2. ก็ยังมีตัวชี้วัดที่มีผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามเป้าหมายในปี 2563 ซึ่งต้องหาแนวทางปรับปรุงต่อเนื่อง ในปีถัดไป ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่มีแถบสีเหลืองและสีแดง ตัวชี้วัดส�ำคัญ ชฟฟ2. ที่มีแถบสีแดง แสดงถึงผลด�ำเนินงานจริง ณ ปัจจุบัน ไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ได้แก่ ตัวชี้วัด ผู้ปฏิบัติงานท�ำผิดกฎ ระเบียบ และมูลค่าทรัพย์สินสูญเสียต่อหน่วยการผลิต ในพื้นที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะด้านทรัพย์สิน นั้น ดังนั้นในช่วง 6 เดือนหลัง ปี 2563 ขอให้ผู้บริหารทุกระดับ ตระหนักและดูแลผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ใต้บังคับบัญชา ให้ยึดมั่นในค่านิยมองค์กร กฎระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนบริหารจัดการสภาพแวดล้อมในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เพื่อลดโอกาสเกิดเหตุการณ์ใหม่ช่วง 6 เดือนหลังต่อไป (สามารถดูรายละเอียดได้ที่โปรแกรม MMCP http://10.249.99.165/cockpit/)

ทัง้ นี้ คณะท�ำงานยุทธศาสตร์ความเสีย่ งควบคุมภายในและประเมิน ผล สายงาน ชฟฟ2. (คยส-ชฟฟ2.) ยินดีรบั ฟังข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ จากชาว ชฟฟ2. ทุกท่าน ผ่านช่องทาง E-Mail: asbpmm@egat.co.th หรือ Scan QR Code >> Recover

ลไปที่ Collecting Conv.1 จะเสนอปรับแผนใน คยส-ชฟฟ2. ครั้งที่ 8/2563

เมาะ เนื่องจากไมมีการประชุมในเดือนที่ผาน ๆ มาจากสถานการณ COVID-19

ภายในไตรมาส 3

I ง เนือ่ งจากสถานการณ COVID-19 ปจจุบนั กําลังดําเนินการติดตัง้ ตามแผน

พ.ย. 63

ติดตั้งในเดือน ก.ค. 63 ชวงงาน WI ของ MM-T1

ก.ค. 63

ดความเสี่ยงที่จะไม่บรรลุตามเป้าหมายในสิ้นปีนั้น โปรดเสนอ คยส-ชฟฟ2. อนร่วมกัน และเสนอต่อ คบ.ชฟฟ2. ขอการสนับสนุนจากผู้บริหารได้ทันที ำหนด (สามารถดูรายละเอียดได้ทโี่ ปรแกรม PMS https://bdapp.egat.co.th/ MY HOME MY POWER PLANT

5


ประสบการณ์ ท่ีย ากที่สุ ดในการท� ำ งาน แล้ ว ผ่ า นมั น มาได้ อ ย

ยุตธ ิ รรม ประสาทเสรี กปถม-ฟ. อฟม.

ประสาน ชมภูบญ ุ ช.8 หปซม2-ฟ. กบรม2-ฟ. อรม.

ประสบการณ์ทยี่ ากทีส่ ดุ คือ การบริหารจัดการคน เพราะทุกคนที่ ท�ำงานร่วมกันมีความหลากหลาย เราไม่รวู้ า่ เค้าคิดอะไรกันอยูบ่ า้ ง วิธกี ารทีจ่ ะท�ำให้สามารถท�ำงานกับทุกคนได้ คือ ความจริงใจ ความ ตรงไปตรงมา ต้องร่วมลุย ร่วมลงมือท�ำด้วยกัน เพือ่ ให้เค้าเห็นว่าเรา พร้อมท�ำงานกับเค้า ได้ใจเค้า

ประสบการณ์ทยี่ ากทีส่ ดุ คือ ตอนนัน้ ท�ำงานอยูโ่ รงไฟฟ้ายูนติ 2 เกิด เหตุการณ์ Turbine trip เป็นลูกทีมตามพีๆ่ ไปถอด Pressure ของ Control ด้าน Turbine ท�ำให้โดนเรียกเข้าห้องเย็นโดนหัวหน้าต�ำหนิ เพราะท�ำให้องค์กรเกิดความเสียหาย ประสบการณ์ครัง้ นัน้ สอนให้รวู้ า่ ต้องเรียนรู้ และเข้าใจหลักการท�ำงานของอุปกรณ์กอ่ นการท�ำงานให้ ดีกอ่ น อย่าท�ำงานด้วยความเคยชิน เพราะอาจจะไม่ถกู ต้องเสมอไป

ปิ่น เจริญลาภ ช.9 หบหม-ฟ. กวบม-ฟ.

ประสบการณ์ทยี่ ากทีส่ ดุ ในการท�ำงาน คือ การได้ยา้ ย ซ่อมกลาง เพราะตัวเองไม่มปี ระสบการณ์ในการท�ำงาน อย่าง Turbine เป็นอุปกรณ์ตรงจุดนีเ้ ป็นอุปกรณ์ชนิ้ ส�ำ ส�ำรองเลย ช่วงแรกๆทีซ่ อ่ มเสร็จ แล้วต้องเดินเครือ่ งทด มาก ถึงขัน้ ต้องไปท�ำสมาธินงั่ ฟังผลจากวิทยุสอื่ สารอยูใ่ พอผ่านครัง้ นัน้ มาท�ำให้เราต้องขยันเรียนรูม้ ากกว่าเดิม ไหนเราก็สามารถรือ้ ซ่อม Turbine ของโรงไฟฟ้าได้ทกุ

เปรี ย บตั ว เองเป็ น

6

MY HOME MY POWER PLANT

ชัยพร ไพฑูรย์ อฟม.

พั นธิกา คงคา พช.8 หงทม-ฟ. กยธม-ฟ. อฟม.

เปรียบตัวเองเป็น “หม้อน�ำ้ ” เพราะเป็นเครือ่ งต้นก�ำลัง เป็นก�ำลังให้ กังหันท�ำงานต่อได้ เหมือนทีเ่ ราช่วยผลักดันให้ทมี งานของเราสามารถ ท�ำงานได้สำ� เร็จ

เปรียบตัวเองเป็น Hard Disk ของแผนก เพราะตนท�ำหน้าทีธ่ รุ การ ข้อมูลทุกอย่างจึงมารวมศูนย์อยู่ที่ตน และเราต้องท�ำการบริหาร จัดการ รายงาน เรือ่ งนัน้ ๆ ไปยังผูบ้ ริหารในแผนก และหน่วยงาน ในแผนกที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหากใครต้องการข้อมูลอะไร ก็สามารถ มาตามหาทีต่ นได้

สุรพล ต๊ะทอง พช.9 กชส-ฟ. ชฟฟ2.

่ สวัสดิ์ ปกรณ์ หมืน ช.8 หบฟม-ห. กจฟม-ห. อจพ.

ถ้าคิดว่างานที่ได้ทำ� มันยาก ให้คดิ ว่าไม่ได้เป็นแบบนีต้ ลอดไป มันก็แค่ ช่วงหนึ่งของชีวิต แต่ที่ส�ำคัญคือเราต้องคิดถึงองค์กรให้มากๆ ท�ำเพือ่ ผลประโยชน์ขององค์กร น้องๆมีความเก่งกันอยูแ่ ล้ว แต่ตอ้ ง ไม่ ลื มเครื อข่ า ย การท� ำ งานเพี ย งคนเดี ย วไม่ส ามารถส�ำเร็จ ได้ การมีเพือ่ นจะช่วยให้งานเราเร็ว และสะดวกขึน้

น้องๆ เด็กรุ่นใหม่เก่งกันมาก มีความคิดสร้างสรรค์พัฒนาการ ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น แต่อยากให้ประสานวัฒนธรรมเดิมให้คงอยู่คู่ กับสิง่ ใหม่ๆ ให้กลมกลืนกัน มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน ใช้ SPEED เป็น GPS ในการท�ำงาน

พิ ทก ั ษ์ อนุสุรย ิ า วศ.9 กบรม4-ฟ. อรม

เปรียบตัวเองเป็นสลักเกลียว หรือ Bolt 1 ตัว ของ อุป ทีย่ ดึ เพลาสองเพลาให้เข้าด้วยกัน ซึง่ bolt แม้จะมห ขาดตัวใดตัวหนึง่ ไปก็จะท�ำให้อปุ กรณ์นนั้ ๆ ไม่สามาร เต็มประสิทธิภาพ และไม่เกิดความปลอดภัยต่อผูใ้ ชง กับโรงไฟฟ้า 1 โรง ทีจ่ ำ� เป็นต้องมีคนในแต่ละหน่วย ตัวประสาน ให้การด�ำเนินงานด้านการผลิตกระแสไฟ ไปได้อย่างราบรืน่

เจษฎา คันธาใจ พช.8 หธสม-ห. กกม-ห. อ

อยากให้น้องๆ น�ำเอาประสบการณ์ของรุ่นพี่บว ทฤษฎีทมี่ อี ยูม่ าท�ำให้องค์กรเกิดการพัฒนางานไปไ เป็นการน�ำเอาทฤษฎีกับการปฏิบัติมาประยุกต์ร่ว มีความสามัคคีกัน ให้ความส�ำคัญและค�ำนึงถึงผ องค์กรเป็นอันดับแรก


ย่ า งไร?

อรม.

ยมาท�ำงานทีก่ อง นตรงนีม้ าก่อนเลย ำคัญ ทีไ่ ม่มอี ะไหล่ ดสอบระบบ กลัว ในห้องน�ำ้ คนเดียว มอีก แม้จะยากแค่ กหน่วย

อัมพร นามบุญ พช.8 หงฟม-ห. กบส-ฟ. อทบ.

ขจิต สอนแย้ม ช.8 หคซม-ธ. กคฟ-ธ. อคม.

่ ขัดผาบ สนัน พช.5 หรปม-ฟ. อฟม.

ประสบการณ์ทยี่ ากทีส่ ดุ ในการท�ำงาน กฟผ. คือการสอบสวนเรือ่ งค่า รักษาพยาบาลของผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่ มีความซับซ้อนผ่านการท�ำงานที่ ยากๆมาได้เพราะยึดตามกฎระเบียบของ กฟผ. จึงท�ำให้งานสอบสวน ต่างๆคลีค่ ลายปัญหาไปด้วยดี

ประสบการณ์ทยี่ ากทีส่ ดุ ในการท�ำงาน กฟผ. คือการเปลีย่ นสายงาน เพราะเริม่ เข้างานตอนแรกคือโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าท�ำหน้าที่ ตรงนัน้ อยูป่ ระมาณ 20 ปี แล้วจึงได้เปลีย่ นสายงานมาโรงไฟฟ้าซึง่ จากวันทีเ่ ปลีย่ นสายงานจนมาถึงวันเกษียณก็นบั ได้ประมาณ 20 ปี ซึง่ เป็นช่วงระยะเวลาทีเ่ ท่ากันพอดีในการท�ำงานทัง้ 2 ฝ่าย การ เปลีย่ นสายงานต้องเริม่ ต้นใหม่ทงั้ หมด สิง่ ทีท่ ำ� ให้ผา่ นมาได้นนั้ คือ การเรียนรู้ เรียนรูจ้ ากทัง้ ต�ำราและจากพีๆ่ รุน่ หลังท�ำให้งานจากที่ ยากก็เริม่ เข้าทีแ่ ละลงตัว

ท�ำงานที่ กฟผ. มา 36 ปี งานทีย่ ากทีส่ ดุ คือ การสกัดม๊อบ เนือ่ งจาก สมัยก่อนจะมีมอ๊ บของชุมชนรอบโรงไฟฟ้าเข้ามาเรียกร้องเกีย่ วกับการ ด�ำเนินงานของ กฟผ. ตนเป็นทีมรักษาความปลอดภัย มีหน้าทีส่ กัดกัน้ ไม่ให้กลุม่ ผูช้ มุ ชุนเข้ามาในพืน้ ที่ กฟผ. ซึง่ ต้องใช้ความอดทนและความ ละมุนละม่อมในการพูดคุยและสกัดกลุม่ ผูช้ มุ นุมไม่ให้เกิดการปะทะ กัน ผ่านเหตุการณ์ตา่ งๆมาได้เพราะความร่วมไม้รว่ มมือของหน่วยงาน รักษาความปลอดภัยของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ และได้รบั ก�ำลังสนับสนุน จากทางเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจเข้ามาคลีค่ ลายเหตุการณ์ในครัง้ นัน้

นสิ่ งใดสิ่งหนึ่ งในโรงไฟฟ้าแม่ เ มาะ

ม.

ปกรณ์ Coupling มีหลายตัว แต่หาก รถท�ำงานได้อย่าง ช้งาน เช่นเดียวกัน ยงานทีเ่ ป็นตัวยึด ฟฟ้าสามารถเดิน

อพอ.

วกกับความรู้ใน ได้เรือ่ ยๆ เหมือน วมกัน และขอให้ ผลประโยชน์ของ

สิบตรีพัฒนศักดิ์ นารอด ช.5 หชถนม-ฟ. กชนม-ฟ. อฟม.

วิรช ั สุรย ิ า ช.9 กผม1-ฟ. อฟม.

เชาวลิต สร้อยวงศ์ วศ.9 กบรม1-ฟ. อรม.

ถ้าเปรียบตัวเองเป็นอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า คิดว่าเป็น “Scraper” ตัว กวาดและเคลียร์การท�ำงานให้สะอาดหมดจด เปรียบกับตัวเองที่ ปฏิบตั งิ านเมือ่ ได้รบั ค�ำสัง่ ท�ำทันที ท�ำดีทสี่ ดุ

ถ้าเปรียบตัวเองเป็นอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า คิดว่าเป็น “แผงวงจร ควบคุม” เพราะมีหน้าทีด่ แู ลระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ประสานงานกับ ผูป้ ฏิบตั งิ านในห้องควบคุมเดินเครือ่ งและหน่วยงานต่างๆเพือ่ ให้การ เดินเครือ่ งผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

ถ้าเปรียบตัวเองเป็นอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า คิดว่าเป็น “เครือ่ งมือ ตรวจวัด” การท�ำงานกับคนเป็นเรื่องยากเพราะฉะนั้นหากเรา ตรวจวัดเราจะได้รถู้ งึ อาการของคนคนนัน้ เราต้องท�ำงานร่วมกับ เขาให้ได้ หากเรารูอ้ าการเขาก่อนว่าเราไม่สามารถปรับปรุงเขาได้ ดังนัน้ เราก็ปรับปรุงตัวเราง่ายกว่า

ข้ อคิ ดดี ๆ จากพี่ สู่ น้ อ ง

สมเกียรติ เชาวพ้ อง ช.9 กผม2-ฟ. อฟม.

โอภาส ทัศเทียมพงษ์ วศ.10 กบรม3-ฟ. อรม.

สังวาล ยมเกิด พช.8 หจฟม-บ. กบฟม-ฟ. อบภ.

ตัวอย่างทีด่ มี คี า่ มากกว่าค�ำสอน ให้นำ� เอาสิง่ ดีๆทีพ่ ที่ ำ� ไว้เป็นแนวทาง ในการท�ำงานต่อไป อันไหนทีไ่ ม่ดี ไม่ตอ้ งท�ำตาม แล้วหาวิธกี ารท�ำงาน ทีด่ กี ว่าทีพ่ ที่ ำ�

อนาคตองค์กรอาจจะไม่ง่ายเหมือนที่ผ่านมา เราอาจจะต้องเจอ อุปสรรคมากมายจากภายนอก และภายใน ขอให้ชว่ ยกันท�ำงานเพือ่ องค์กรของเราต่อไป

กฟผ. เป็นองค์กรทีด่ ี มีบคุ ลากร เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ เป็น คนเก่ง คนดี และมีวฒ ั ธรรมองค์กรอยูแ่ บบพีน่ อ้ ง ตัวพีเ่ องมีความ ภาคภูมใิ จที่ได้เป็นส่วนหนึง่ ในสายเลือด กฟผ. และเชือ่ ว่าน้องๆรุน่ ต่อไปจะ พัฒนา กฟผ.ให้เจริญก้าวหน้า ขอให้รกั ษาความดี ความ เก่งให้อยูค่ บู่ า้ นหลังนีต้ ลอดไป MY HOME MY POWER PLANT

7


MY

HOME MY POWER PLANT

ยิปซัม สุดยอดวัตถุพลอยได้บ�ำรุงดิน!! “ยิปซัม” เป็นวัตถุพลอยได้จากการดักจับก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ซึง่ ยิปซัมทัว่ ไปมีอยู่ 2 ชนิด คือยิปซัม ธรรมชาติและยิปซัมสังเคราะห์ ในส่วนของโรงไฟฟ้า แม่เมาะเป็นยิปซัมสังเคราะห์ ทีเ่ กิดจากการท�ำปฏิกริยา เคมีระหว่างหินปูน ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ อากาศ และน�ำ ้ ในเครือ่ งก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์นนั่ เอง หลายคนรู้ ว่าประโยชน์ของยิปซัมนัน้ มีมากมายสามารถน�ำไปใช้เป็น ส่วนประกอบผลิตฉนวนกันความร้อนยิปซัมบอร์ด เป็น ส่วนผสมปูนซีเมนต์ ท�ำแบบพิมพ์ในงานเซรามิก แม้แต่ ใช้ถมที่ เป็นต้น แต่รหู้ รือไม่วา่ ยิปซัมยังสามารถน�ำไปท�ำ เป็นปุย๋ บ�ำรุงดินได้อกี ด้วย

“งานวิจยั การใช้ FGD ยิปซัมในการเกษตร” เป็นผลงานวิจยั ที่ กฟผ. ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ท�ำการ ศึกษาวิจยั ต่อยอดให้เกิดประโยชน์ ด้วยการน�ำยิปซัมของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ไปทดลองเพาะปลูก ข้าวโพด อ้อย และถั่วลิสง ในพื้นที่ จ.ล�ำปาง เป็นระยะเวลา 3 ปี ซึง่ ผลสรุปของการวิจยั พบว่า ยิปซัมท�ำให้พชื ทีใ่ ช้ทดลอง มีผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ และยังช่วยให้รากข้าวโพดและอ้อย เติบโตในดินชัน้ ล่างได้ดกี ว่าเดิม ซึง่ จะท�ำให้พชื ทนแล้งได้ ดี รวมไปถึงสามารถมาแก้ปญั หาของดินและปรับปรุงดิน ท�ำให้ดนิ มีคณ ุ สมบัตทิ ดี่ ขี นึ้

โรงไฟฟ้าแม่เมาะจึงขยายผลต่อไปยังเกษตรกร ใน อ.แม่เมาะ ด้วยการจัดอบรมให้ความรูถ้ งึ ประโยชน์ และอัตราส่วนการใช้ยปิ ซัมกับพืชในแปลงเกษตรโดย ทีมงานวิจยั ม.แม่โจ้ และให้เกษตรกรน�ำยิปซัมไปปรับ ใช้กบั แปลงเกษตรของตัวเอง พร้อมคอยติดตามผลอย่าง ต่อเนือ่ ง ถือเป็นอีกหนึง่ ก้าวของความส�ำเร็จจากงานวิจยั ของ กฟผ.แม่เมาะ ทีม่ งุ่ พัฒนาคุณชีวติ ของเกษตรกรและ ชุมชนผ่านวัตถุพลอยได้จากกระบวนการผลิตไฟฟ้า หากสนใจสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ แผนก ส่งเสริมอาชีพและพัฒนาชุมชน โทร 6093 หรือแผนก วัตถุพลอยได้ โทร 2270

ชวนอ่าน อีบุ๊ค ใน “อุ๊คบี” งานนี้ฟรี! แค่ใช้เมล์ กฟผ. หากคุณคือนักอ่าน วันนี้เรามีเรื่องใกล้ตัว มาบอกต่อคุณโดยเฉพาะ! นัน่ ก็คอื แอปพลิเคชัน “OOKBEE” (อุค๊ บี) แอปอ่านอีบคุ๊ ทีย่ กห้องสมุดมาไว้ในมือ! ขยายความกันหน่อย OOKBEE เป็นแอปพลิเคชันยอดฮิต แถมเป็น Start up ฝีมอื คนไทย ทีต่ อบโจทย์นกั อ่านตัวยง เพราะอัดแน่นไปด้วยหนังสือให้อา่ นกว่า 30,000 เล่ม ทั้งนิยาย นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ ส่วนใครไม่ชอบอ่านในแอปยังมีหนังสือเสียง แถมด้วยคอร์สออนไลน์ เช่น คอร์สการตลาด ภาษา การเงิน/การลงทุน พัฒนาตนเอง ไปจนถึงแม่และเด็ก ฯลฯ ซึ่งอัปเดตอยู่ตลอดเวลาด้วย อวดอ้างมาขนาดนี้ ไม่ได้ชวนให้เข้าไปเสียเงินสมัครเองหรอกจ้า เพราะ กฟผ. ซื้อแบบอ่านบุฟเฟต์ให้คุณแล้ว! สมัครง่ายๆ เข้าไปที่ https://corporate.ookbee.com/egat ใส่ E-mail ของ กฟผ. ของคุณเพื่อลงทะเบียน ระบบจะส่ง Email กลับมาให้ยืนยันตัวตน จากนั้นดาวน์โหลดแอป OOKBEE ลงบนสมาร์ทโฟน แท็ปเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ใส่รหัสที่สมัครไว้ แค่นี้ก็เข้าไปอ่าน E-book แบบบุฟเฟต์ได้เลย

8

พบปัญหาในการใช้งาน แคปหน้าจอสอบถามได้ทาง egatlib@egat.co.th หรือประชาสัมพันธ์ห้องสมุด โทร. 66761 หรือ 66762 MY HOME MY POWER PLANT


คุณภาพอากาศแมเมาะ 25 กรกฎาคม - 24 สิงหาคม 2563 อยูในเกณฑมาตรฐาน โรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นสถานประกอบการที่มีการท�ำงานเกี่ยวข้องกับ สารเคมีอยู่หลายชนิด ซึ่งการท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีนั้น ผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีแต่ละชนิด เพื่อจะได้ ระมัดระวังและควบคุมการใช้งานสารเคมีนั้นๆ ได้อย่างปลอดภัย ทั้งนี้จาก ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุด้านบุคคลโรงไฟฟ้าแม่เมาะช่วง 8 เดือนที่ผ่านมา พบการประสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมี แม้ว่าความรุนแรงจะอยู่ในระดับ น้อย แต่ก็ท�ำให้เสียโอกาสในการท�ำงานเนื่องจากต้องเข้ารักษาพยาบาลและ หยุดงานเป็นเวลาหลายวัน ซึ่งนอกจากเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ผู้ควบคุม ผู้รับจ้างและผู้เกี่ยวข้องต้องเข้มงวดให้ปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมอย่างใกล้ ชิดแล้ว ตัวผู้ปฏิบัติงานเองต้องตระหนักและให้ความส�ำคัญกับมาตรการ เชิงป้องกัน เพื่อความปลอดภัยของตนเองเป็นอันดับแรกอีกด้วย

420 100

161 58

66

5

43

330

120

780

300

320

TSP/day

PM10/day

SO2/hr.

SO2/day

NO2/hr.

= ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.

: : : : :

มาตรการเชิงป องกัน สารเคมีอันตราย

สําหรับดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และ พื้นที่ชุมชนคุณภาพอากาศอยูในเกณฑ ดีมาก สามารถทํากิจกรรม กลางแจงและการทองเที่ยวไดตามปกติ

สารเคมีเข าสู ร างกายได 3 ทาง

ทางปาก

ทางลมหายใจ

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

ทางผิวหนัง

คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ เดือนสิงหาคม 2563

แนวทางปฏิบัติเมื่อต องทํางานกับสารเคมี ป องกันจากแหล งกําเนิด

ป องกันที่ทางผ าน

ป องกันที่ตัวผู ปฏิบัติงาน

- ใช้ ส ารเคมี ที่ มี พิ ษ น้ อ ยกว่ า ทดแทน - เปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิต เช่น ใช้ระบบเปียกแทนระบบ แห้ง ป้องกันการฟุง้ กระจาย - แยกกระบวนการผลิ ต ที่ มี อันตรายออกต่างหาก - ด�ำเนินการในสถานทีป่ ดิ มิดชิด - ติดตัง้ ระบบดูดอากาศเฉพาะที่ - บ�ำรุงรักษาเครือ่ งมือ อุปกรณ์ให้ พร้อมใช้งาน

- ดูและรักษาความสะอาดของ สถานทีท่ ำ� งาน - ติดตัง้ ระบบระบายอากาศทัว่ ไป - เพิม่ ระยะห่างในการปฏิบตั งิ าน กับสารเคมี - ตรวจหาปริมาณสารเคมีเทียบ กับค่ามาตรฐานความปลอดภัย

- ให้การศึกษาและฝึกอบรมให้ ความรู้ - ลดชั่วโมงการท�ำงานที่เกี่ยวกับ สารเคมีให้น้อยลง - ให้ผู้ปฏิบัติงานท�ำงานในห้อง ควบคุมพิเศษ - หมุนเวียนผู้ปฏิบัติงาน - ตรวจสุขภาพก่อนเข้าท�ำงาน - ติ ด เครื่ อ งมื อ เตื อ นภั ย กรณี ฉุกเฉิน - สวมใส่ PPE

ความเป น กรด-ด าง

5.5-9.0

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ไม เกิน

40 Cํ

ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)

ไม เกิน

5.0

ไม เกิน

20

ไม ได กําหนด

7.78 31.3 1.51 0.75 6.65

การปฐมพยาบาล ให้ความรูแ้ ละจัดฝึกอบรมผูป้ ฏิบตั งิ าน ทราบวิธปี ฏิบตั ติ ลอดจนสามารถปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นให้กบั ผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บจากสารเคมีกอ่ นน�ำตัวส่งแพทย์

อุปกรณ ปอ งกันอันตรายส วนบุคคลในการทํางานกับสารเคมี อุปกรณปอ งกันศีรษะ เชน หมวกแข็ง หมวกยาง

อุปกรณปอ งกันมือ เชน ถุงมือยาง ถุงมือหนัง

อุปกรณปอ งกันใบหนา เชน กะบังหนา หนากากปองกันใบหนา

อุปกรณปอ งกันลําตัว เชน ชุดหนัง เอีย๊ ม

อุปกรณปอ งกันระบบทางเดินหายใจ เชน หนากากปองกันสารเคมี

อุปกรณปอ งกันเทา เชน รองเทายาง รองเทาหุม สน

ข้อมูลบางส่วนจาก : กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน อยู ในเกณฑ ทดี่ *ี : ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม : ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล ว ของโรงไฟฟ าแม เมาะ

*ปริมาณค าออกซิเจนที่ละลายในนํ้า (DO) ที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตในนํ้า ควรมีค าไม ตํ่ากว า 4 มิลลิกรัม/ลิตร MY HOME MY POWER PLANT

9


MY

HOME MY POWER PLANT

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระพันปีหลวง เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2563 12 สิ ง หาคม 2563 กฟผ.แม่ เ มาะ ร่ ว มกิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2563 โดยมีนาย นิมิตร ผดุงศิลป์ไพโรจน์ นายอ�ำเภอแม่เมาะ เป็นประธานในพิธี โดยภาคเช้า เป็ น พิ ธี ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรพระสงฆ์ 10 รู ป ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลและ พิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล จากนั้นกลุ่มจิตอาสาได้ร่วมปลูกต้นไม้ ณ บริ เ วณถนนด้ า นหน้ า ศู น ย์ ร าชการอ� ำ เภอแม่ เ มาะ ส่ ว นภาคค�่ ำ เป็ น พิ ธี ถ วายเครื่ อ งราชสั ก การะและพิ ธี จุ ด เที ย นชั ย ถวายพระพรชั ย มงคล ณ หอประชุมอ�ำเภอแม่เมาะ (อาคารจ�ำป่าแดด) ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

คปอส-ฟม. ตรวจพืน้ ทีอ่ าคารระบบผลิต (Turbine, Boiler & Precipitator 8-13)

11 สิงหาคม 2563 คปอส-ฟม. ตรวจเยีย่ มการปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัยในการ ท�ำงานพืน้ ทีอ่ าคารระบบผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 8-13 (FGD Unit 8-13) จากนัน้ คณะฯ ได้สรุปผลการตรวจเยีย่ ม โดยภาพรวมอยูใ่ นเกณฑ์ดมี กี ารจัดการ สภาพแวดล้อมพื้นที่ภายในห้องควบคุม (Control Room) ได้เป็นระเบียบ เหมาะแก่การท�ำงาน ทัง้ นีไ้ ด้มขี อ้ เสนอแนะเพิม่ เติม อาทิ ปรับปรุงระบบเครือ่ ง ท�ำความเย็นภายในห้องให้ทวั่ ถึง และปรับปรุงระบบระบายอากาศภายในห้อง เพือ่ สุขลักษณะทีด่ ขี องพืน้ ทีส่ ำ� หรับผูป้ ฏิบตั งิ าน ติดตัง้ ไฟฟ้าแสงสว่างบริเวณ ทางเดินขึน้ ห้องควบคุมเพือ่ ความปลอดภัย เป็นต้น โดยหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ได้รบั ข้อเสนอแนะไปด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อไป

กฟผ.แม่เมาะ ปล่อยพันธุ์ปลา ลงอ่างเก็บน�้ำแม่จาง

7 สิงหาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรม “วั น ไหว้ พ ระ ปล่ อ ยปลา พาสุ ข ใจ” ณ อ่างเก็บน�้ำแม่จาง ต.นาสักอ.แม่เมาะ จ.ล� ำ ปาง โดยมี ผู ้ บ ริ ห ารแลผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน กฟผ.แม่ เ มาะ ตลอดจนผู ้ น� ำ ชุ ม ชนและ ประชาชนในพื้ น ที่ อ .แม่ เ มาะ ร่ ว มสั ก การะหลวงพ่ อ เจ็ ด กษั ต ริ ย ์ แ ละ ปล่อยพันธุ์ปลาทั้งหมดจ�ำนวน 302,500 ตัว เพื่อส่งเสริมให้เป็นแหล่ง สร้างรายได้เสริมด้านการประมงให้กับประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดจน มอบพั น ธุ ์ ป ลาให้ แ ก่ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ต� ำ บลนาสั ก จ� ำ นวน 100 ถุ ง เพื่อน�ำไปปล่อยในแหล่งน�้ำสาธารณะของชุมชน

สายงาน ชฟฟ2. เปิดการประชุม CoPs ครัง้ ที่ 1 กฟผ.แม่เมาะ มอบฉากกัน้ อะคริลคิ แก่ 18 สิงหาคม 2563 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ประชุมคณะท�ำงานชุมชนนักปฏิบตั สิ าย โรงพยาบาลแม่เมาะ

งานผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า 2 (CoPs) ทัง้ 16 ด้าน พร้อมน�ำเสนอผลการด�ำเนิน งานประจ�ำไตรมาส ที่ 1-2 และพิจารณาแนวทางการจัดการความรู้ การคัดเลือก ผลงาน Good Practice การเก็บข้อมูลใน GG Knowledge Base และ แนวทางการจัดงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นในรูปแบบของวิถีปกติใหม่ (New normal) เพือ่ ป้องกันการแพร่กระจายของโควิด-19 ณ ห้องประชุม 137 อาคารบริหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

25 สิงหาคม 2563 กฟผ. แม่เมาะ มอบฉากกัน้ อะคริลคิ จ�ำนวน 9 ชุด แก่ โรงพยาบาลแม่เมาะ โดยมีนายแพทย์กระสิน เขียวปิง ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาล แม่เมาะ เป็นผูร้ บั มอบ ณ โรงพยาบาลแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง เพือ่ ใช้เป็น อุปกรณ์ปอ้ งกันการแพร่กระจายละอองฝอยของเชือ้ โรคให้กบั บุคลากรทางการ แพทย์ระหว่างการบริการตรวจรักษาโรคแก่ประชาชนทีม่ ารับการตรวจรักษาที่ โรงพยาบาล

10

MY HOME MY POWER PLANT


สร้างโอกาสทางการศึ ก ษา สร้างรอยยิ้ ม ที่ ก ว้ า งกว่ า ให้ น ้ อ ง “พีเ่ ชือ่ ว่าการศึกษาเป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ไม่วา่ จะ อยู่พื้นที่ไหนหากได้รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานทีด่ ี มีความคิด ความอ่าน ผลสุดท้ายทุกอย่างก็จะย้อนกลับมาพัฒนา ตัวเด็ก ครอบครัว และชุมชนของเขาเอง” ค�ำบอกเล่าของ “น้าจุบ๊ ” หรือ นายสุทธิพงษ์ บัวเจริญ ช่างระดับ 7 แผนกบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ควบคุมและเครือ่ งวัด 2 กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ 2 ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า แม่เมาะ ถึงที่มาของการให้ความส�ำคัญ และขั บ เคลื่ อ น จิตอาสาด้านการศึกษาส�ำหรับนักเรียน เริ่มตัง้ แต่ปี 2543 ก่อตั้ง “ชมรมรักเด็กไทย” ลงพื้นที่พัฒนาระบบไฟฟ้าและ แสงสว่างให้แก่โรงเรียนที่ตั้งอยู่ตามชายขอบจังหวัดล�ำปาง หลังจากชมรมนีป้ ดิ ตัวลง ต่อมาปี 2551 ก็ได้เดินหน้าโครงการ “พ่อแม่อปุ ถัมภ์” มอบทุนการศึกษาให้กบั เด็กทีม่ กี ารเรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์จนปัจจุบนั ด�ำเนินโครงการเป็นปีที่ 12 และในปี 2561 เป็นหนึ่งในทีมจิตอาสา “กลุ่มฅนรักไฟ” โครงการไฟฟ้าความรูส้ เู่ ยาวชน ของกองจิตอาสาฝ่ายบ�ำรุงรักษา

E

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ สอนความรู้ทฤษฎีไฟฟ้าเบื้องต้นและ ฝึกปฏิบตั ใิ ห้กบั นักเรียนโรงเรียนสบจางวิทยา นอกเหนือจากโครงการที่ท�ำในองค์กรแล้วยังจัดท�ำ โครงการ “มอบชุดนักเรียนให้กบั เด็กทีข่ าดแคลน” เป็นปีที่ 4 โดยใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัว รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด ว.พานิช ชลบุรี (คุณเกือ้ กูล นนทกานันท์) มอบชุดนักเรียนและเครื่องเขียนให้กับเด็กนักเรียนในพื้นที่ อ�ำเภอแม่เมาะ โดยน้าจุบ๊ เล่าว่า “บางครัง้ พอเราลงพืน้ ที่ ก็จะ เห็นชุดนักเรียนของเด็กบางคนมีสภาพทีไ่ ม่คอ่ ยสวยงามนัก ยิ่งพอถึงช่วงเปลี่ยนระดับชั้นเครื่องแต่งกายก็ต้องเปลี่ยน ทัง้ หมดก็จะมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ เราจึงเล็งเห็นและท�ำโครงการนี้ ขึ้นเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวน้องๆ ในช่วงเปิดเทอม สิ่งที่ได้จากตรงนี้หัวใจหลักอย่างเดียวคือ เรามีความสุข สุขใจทีไ่ ด้เป็นผูใ้ ห้ ได้เห็นรอยยิม้ บนใบหน้าของ เด็กๆ ได้อยูร่ ว่ มกันเป็นกัลยาณมิตรทีด่ กี บั ชุมชน เท่านีน้ า้ จุบ๊ ก็ถอื ว่าบรรลุเป้าหมายของการเป็นจิตอาสาแล้ว”

Enthusiasm for Innovation น�ำด้วยนวัตกรรม

นางสาวนุชชุตา ตันเมืองใจ ช่างระดับ 5 แผนกประสิทธิภาพ 2 กองการผลิต 2 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ในยุคสมัยแห่งการเปลีย่ นแปลง เทคโนโลยีกเ็ ป็นอีกสิง่ หนึง่ ทีม่ กี าร ปรับเปลีย่ นอย่างรวดเร็ว และเราทุกคนต้องเผชิญอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ทัง้ ใน การท�ำงานและชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ กฟผ. ของเรามีการวางนโยบายแผนปฏิบตั ิ การดิจทิ ลั เพือ่ เปลีย่ นผ่านไปสูอ่ งค์กรดิจทิ ลั เช่นกัน โดยส่วนตัวท�ำงานด้าน ประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 8-13 หน้าทีส่ ว่ นใหญ่เป็นงานด้าน IT คอยสนับสนุนข้อมูลและจัดท�ำรายงานต่าง ๆ ให้อยูใ่ นรูปแบบเว็บไซต์ เพือ่ การเข้าถึงข้อมูลเป็นไปได้งา่ ย สะดวกรวดเร็วและเป็นมาตรฐาน จึงมี ความจ�ำเป็นอย่างมากทีต่ อ้ งคอยติดตามเทคโนโลยีใหม่ๆอยูเ่ สมอ จึงน�ำหลัก ค่านิยม E-Enthusiasm for Innovation น�ำด้วยนวัตกรรม มาใช้กบั การท�ำงาน ตัง้ แต่การจัดเก็บข้อมูล การเชือ่ มโยงข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ไปจนถึงการสร้างรายงาน โดยน�ำเทคโนโลยีและเครือ่ งมือใหม่ ๆ มาปรับใช้ และพัฒนางานให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากข้อมูลการผลิตไฟฟ้า จ�ำเป็นจะต้องมีความพร้อมในการเข้าถึงข้อมูลอยู่ตลอดเวลาและข้อมูลที่ ได้นั้นต้องมีความถูกต้องมากที่สุด สะท้อนถึงความมั่นคงและเสถียรภาพ ในการผลิตไฟฟ้านัน่ เอง

30 กันยายน 2563 วันแห่งความทรงจ�ำ เกษียณสัมพันธ์ 2563 สายงาน ชฟฟ2. 08.00 น. พีผ่ เู้ กษียณไหว้สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิอ์ นั เป็นทีเ่ คารพรอบ กฟผ.แม่เมาะ 10.00 น. พิธมี อบแหวนทีร่ ะลึกแก่ผเู้ กษียณ ณ ห้องรักองค์การ อาคาร ประชาสัมพันธ์แม่เมาะ 12.00 น. ร่วมพิธสี ง่ พีก่ ลับบ้าน ** การแต่งกายเสือ้ เหลือง กฟผ. **

กฟผ.แม เมาะ

กฟผ.แม เมาะ

@maemoh.powerplant

054 252 734

maemohnews@egat.co.th

http://maemoh.egat.co.th Maemoh.egat.com/hellomaemoh MY HOME MY POWER PLANT

11



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.