วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ
ป ที่ 26 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
MY
HOME MY POWER PLANT
เป็นเวลากว่า 28 ปีแล้ว ที่กองทุนสงเคราะห์และพัฒนาจังหวัดล�ำปาง ได้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสนั บ สนุ น ทุ น ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมอั น เป็ น ประโยชน์ ในจั ง หวั ด ล� ำ ปาง และทุ น การศึ ก ษาแก่ เ ยาวชนในจั ง หวั ด ล� ำ ปางมา อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง กองทุ น ดั ง กล่ า วเป็ น การจั ด สรรรายได้ จ ากการจั ด การแข่งขันเดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ที่จัดขึ้น โดยความร่วมมือระหว่างจังหวัดล�ำปาง กฟผ.แม่เมาะ และ อ.แม่เมาะ เป็นประจ�ำทุกปี ล่าสุดวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 นายพลศรี สุวิศิษฏ์อาษา ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 เป็นประธานมอบทุนการศึกษาจากกองทุน สงเคราะห์และพัฒนาจังหวัดล�ำปางประจ�ำปี 2562 แก่นกั เรียนในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ล�ำปางที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 3 (ปวช.3) ที่ผ่านการสอบคัดเลือกให้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญา ตรีหรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) ในสถาบันการศึกษาของ ภาครัฐ ตลอดจนเป็นนักเรียนที่มีอุปนิสัยดี การเรียนดี แต่ขาดทุนทรัพย์และ ผ่านเกณฑ์การพิจารณาจากโรงเรียน จ�ำนวนทัง้ สิน้ 72 ทุน ทุนละ 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 360,000 บาท ณ ห้องรักองค์การ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง น.ส.ชนากานต์ ขันปิงปุด๊ นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาล�ำปาง กล่าวว่า รู้สึกดีใจที่ได้รับทุนครั้งนี้ ตนก�ำลังเข้าศึกษาต่อในสาขาคหกรรม ซึ่งต้องมี ค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ในการเรียน ทุนที่ได้จะน�ำไปเป็นค่าใช้จ่าย
ในการซื้ออุปกรณ์การเรียน และขอขอบคุณ กฟผ.แม่เมาะ ที่มอบโอกาสดีๆ ให้กับนักเรียนในจังหวัดล�ำปาง นายณัฐกร อุตมา นักเรียนโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี กล่าวว่า ขอขอบคุณ ผู้ใหญ่ใจดีที่ใ ห้ โ อกาสตนได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาในครั้ ง นี้ ซึ่ ง ทุ น ที่ ไ ด้ รั บ จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อทั้งค่าใช้จ่ายในอุปกรณ์การเรียน และการ ใช้ ชี วิ ต ในการเรี ย น การได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ ไ ด้ รั บ ทุ น ท� ำ ให้ ต นมี ก� ำ ลั ง ใจ ในศึกษาต่อ เพราะเห็นแล้วว่าหากตั้งใจเรียนก็จะได้รับสิ่งดีๆ ตามมา
นายณัฐกร อุตมา
น.ส.ชนากานต์ ขันปิงปุด๊
บทบรรณาธิการ เดือนกรกฎาคม ถือเป็นเดือนมหามงคลแห่งพสกนิกรชาวไทย ด้วยเป็น วันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษา ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โรงไฟฟ้าแม่เมาะในฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐจึงได้ จัดพิธีถวายพระพร พร้อมจัดกิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติฯ “รวมใจไทย ปลูกต้นไม้ เพื่อแผ่นดิน” สืบสานสู่ 100 ล้านต้น ทั้งยังเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายใน โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตลอดจนยึดมั่นด�ำเนินภารกิจรักษาความมั่นคงทางพลังงาน โดยน�ำความเชี่ยวชาญของบุคลากร ตลอดจนการวางแผนงานที่มีประสิทธิภาพ การลงมือลงแรงปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนอย่างครบวงจร ทั้งงานเดินเครื่อง งานซ่อมบ�ำรุง และงานสนับสนุนต่างๆ ให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะด�ำเนินงานได้อย่าง ราบรื่น ส่งความสุขผ่านแสงสว่างไปยังชาวไทยทั้งประเทศ บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811
2
MY HOME MY POWER PLANT
วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY
พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล
เข้า facebook.com ค้นหา กาดหมั้วคัวแม่เมาะ ก็สามารถเลือกซื้อสินค้าได้แล้ว มีแอดมินพร้อมตอบลูกค้าตลอดเวลาจ้า
หรือสแกน
ระบบควบคุมความดัน Flue gas ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ป้องกันการรั่วไหล สู่บรรยากาศ
นอกเหนือจากเทคโนโลยีอนั ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง ที่เรียกว่า Ultra-Super Critical (USC) แล้ว โรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนแม่เมาะเครื่องที่ 1 (MM-T1) ยังมีการควบคุมความดัน ในระบบที่ใช้ล�ำเลียงและบ�ำบัดแก๊สจากกระบวนการเผาไหม้ (Flue gas) ให้ มี ค ่ า ความดั น ต�่ ำ กว่ า ความดั น บรรยากาศ ปกติ เ ล็ ก น้ อ ย (ความดั น บรรยากาศปกติ อยู ่ ที่ 1 atm) ซึ่งหากเกิดเหตุสุดวิสัย เช่น มีการช�ำรุดของอุปกรณ์และการรั่ว ของแนวท่อที่ใช้ล�ำเลียงและบ�ำบัด Flue gas แก๊สดังกล่าว จะไม่รั่วไหลออกสู่บรรยากาศภายนอก นอกจากนี้ยังมีระบบ แจ้ ง เตื อ นพนั ก งานควบคุ ม การเดิ น เครื่ อ งให้ ท ราบในกรณี ที่ เกิ ด ความผิ ดปกติ ข องอุ ป กรณ์ ต ่ างๆในระบบการผลิ ต เพื่ อ ที่ พนั ก งานควบคุ ม การเดิ น เครื่ อ งจะสามารถด� ำ เนิ น การตรวจ สอบสภาพอุปกรณ์ที่ผิดปกติ และแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ด�ำเนินการแก้ไขให้กลับมาอยู่ในสภาพปกติได้อย่างทันท่วงที ให้โรงไฟฟ้าสามารถเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีเสถียรภาพ มีความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมโดยรอบ ตลอด 24 ชั่วโมง ข้อมูลจาก: แผนกประสิทธิภาพ กองการผลิต 1
MY HOME MY POWER PLANT
3
MY
HOME MY POWER PLANT
ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้านั้น ก่อให้เกิดวัตถุพลอยได้อาทิ เถ้าหนัก เถ้าลอย และยิปซัม ซึง่ ภาคอุตสาหกรรมตลอดจนภาคเกษตรกรรมสามารถน�ำไป ใช้ เ ป็ นส่ วนผสมของวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก่ อ สร้ างได้ ห ลายชนิ ด อย่างไรก็ดมี วี ตั ถุพลอยได้สว่ นทีค่ งเหลือจากความต้องการใช้ โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานให้ฝังกลบ ที่บ่อกักเก็บเถ้าถ่านหินและยิปซัมที่อยู่ด้านทิศเหนือของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะที่มีพื้นที่ติดสนามกอล์ฟและทุ่งบัวตอง ซึง่ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 700 ไร่ โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้ด�ำเนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เพือ่ ป้องกันการฟุง้ กระจายของฝุน่ ในพืน้ ทีก่ กั เก็บเถ้าถ่านหิน และยิปซัม โดยฉีดพรมน�้ำด้วย Spray Nozzle ตามแนว สายพาน และ Spray น�ำ้ ด้วยรถบรรทุกน�ำ้ ทัว่ พืน้ ทีบ่ อ่ กักเก็บ นอกจากนัน้ เมือ่ ท�ำการยกระดับ คันดินขึน้ ไปทุกๆ 20 เมตร จะมีการปลูกต้นไม้เพือ่ ท�ำแนวกันฝุน่ ทางธรรมชาติและเพิม่ พืน้ ที่ สีเขียวอีกด้วย ซึง่ ปัจจุบนั แนวคันดินของบ่อกักเก็บเถ้าถ่านหินและยิปซัมโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อยู่ที่ระดับความสูง +450 ม.รทก. โดยในปี 2563 ได้ปลูกต้นสนประดิพัทธ์ บนพื้นที่ คันดินบริเวณสายพาน Line 3 และบริเวณสายพาน Line 1 รวม 2,990 ต้น ตามแผน PDP 2018 เมื่อโรงไฟฟ้าแม่เมาะหยุดผลิตกระแสไฟฟ้าคันดินดังกล่าวจะมีระดับความสูงสุดอยู่ที่ +495 ม.รทก. ความสูงเทียบเท่าทุง่ บัวตองนัน่ เอง
กผม2-ฟ. พัฒนา โปรแกรม HPD เป็น E-Learning ที่ใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา การก้าวเข้าสู่ Digital Power Plant ผลักดันให้ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ กระตือรือร้นในการพัฒนาตัวเองอยู่สม�่ำเสมอ และสามารถเรียนรู้ได้อย่างไม่มี ข้อจ�ำกัด จึงเป็นทีม่ าของการคิดค้นโปรแกรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หรือ Human Potential Development (HPD) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากพนักงาน เดินเครื่อง กองการผลิต 2 (กผม2-ฟ.) ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ น�ำทีมโดย นายเอนก สุรวิ งค์ใย วิศวกรระดับ 10 และคณะฯ แนวคิดง่ายๆของการพัฒนา โปรแกรม HPD คือ การเริม่ สังเกตเห็นว่าพนักงาน เดินเครื่องในสังกัดไม่มีเวลาไปเข้าร่วมอบรมตามหลักสูตรทั่วไปที่ กฟผ. ก�ำหนด เนื่องจากต้องปฏิบัติงานเป็นกะ และงานเดินเครื่องเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ ต้องใช้ทั้งความรู้ ความเชี่ยวชาญประกอบกัน มิฉะนั้นจะท�ำให้เกิดความเสียหายต่อ การผลิตไฟฟ้า ทางผูพ้ ฒ ั นาจึงได้ออกแบบโปรแกรมดังกล่าว เพือ่ ให้พนักงานเดินเครือ่ ง ได้ทบทวน และพัฒนาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ เมื่อเกิดเหตุด่วนเหตุฉุกเฉิน ในทางเทคนิค ผูป้ ฏิบตั งิ านจะสามารถแก้ปญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดข้อผิดพลาด ในการท�ำงาน พร้อมยกระดับความส�ำคัญให้เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในการปฏิบัติงาน โดยให้ทำ� แบบทดสอบในทุกไตรมาสอย่างต่อเนือ่ ง หากไม่ผา่ นการทดสอบก็มเี อกสาร หรือต�ำราเฉพาะเรือ่ งให้เข้าไปอ่านทบทวนความรู้ นอกจากนีผ้ บู้ งั คับบัญชายังได้เป็น ผู้ออกแบบข้อสอบ และติดตามผลการสอบผ่านระบบการแจ้งเตือนทางอีเมล์ และ แอปพลิเคชัน่ ไลน์ (Line) ด้วย ปัจจุบนั ขยายผลการใช้งานจากระดับกอง ไปสูร่ ะดับฝ่าย หากหน่วยงานอื่นๆต้องการใช้งานโปรแกรมดังกล่าว ทางผู้จัดท�ำยินดีให้ค�ำปรึกษา เพือ่ สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ส�ำหรับส่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้ กฟผ. ได้ ในอนาคต
4
MY HOME MY POWER PLANT
กว่า 4 เดือน ที่ กฟผ.แม่เมาะ งดรับบุคคลภายนอก เข้ า มาศึ ก ษาดู ง าน เนื่ อ งจากการแพร่ ร ะบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไร ก็ตาม เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ที่ผ่านมา แหล่งศึกษา ด้านพลังงานขนาดใหญ่แห่งนี้ ได้ฤกษ์เปิดบ้านต้อนรับ นักท่องเที่ยวและคณะดูงานอีกครั้ง ด้วยมาตรการ เข้าดูงานแบบ New Normal หลังจากสถานการณ์ การแพร่ ร ะบาดคลี่ ค ลาย โดยได้ ก� ำ หนดมาตรการ และข้อปฏิบัติส�ำหรับบุคคลภายนอกที่ต้องการเข้า ในพื้นที่ส่วนต่างๆ ของ กฟผ.แม่เมาะ ทั้งเข้าดูงาน โรงไฟฟ้ า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศู น ย์ ถ ่ า นหิ น ลิ ก ไนต์ ศึ ก ษาฯ หรือแม้แต่พื้นที่เปิดโล่งอย่าง สวนพฤกษชาติแม่เมาะ และสวนเฉลิมพระเกียรติฯ (ทุ่งบัวตอง) โดยการจัด จุ ดคั ด กรองและให้ ส วมใส่ ห น้ ากากอนามั ย ขณะอยู ่ ในพื้ น ที่ ปรั บ เปลี่ ย นเวลาเปิ ด -ปิ ด จ� ำ กั ด จ� ำ นวน นักท่องเที่ยว ก�ำหนดให้สแกน QR Code ไทยชนะ ก่อนเข้าพื้นที่ ตลอดจนเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล และงดกิ จ กรรมบางชนิ ด ที่ อ าจเสี่ ย งต่ อ การติ ด ต่ อ ได้แก่ งดให้บริการลานสไลเดอร์ และไม่ให้มีการรับ ประทานอาหารในสวน ซึ่งได้รับความร่วมมืออย่างดี จากคณะที่เข้าเยี่ยมชม ทั้งนี้ เพื่อให้การควบคุมและ ป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ด�ำเนินไปได้ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้ กฟผ.แม่เมาะ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า หลั ก ของภาคเหนื อ ปลอดภัยจากโควิด-19 สามารถด�ำเนินภารกิจหลัก ในการผลิตไฟฟ้ารองรับความต้องการของประเทศ ได้อย่างมั่นคง ไปพร้อมๆ กับการเป็นขุมพลังแหล่ง ความรู้ด้านพลังงานของภาคเหนือเฉกเช่นที่ผ่านมา
MY HOME MY POWER PLANT
5
MY
HOME MY POWER PLANT
ในการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หนึง่ ในแผนงานทีส่ ำ� คัญ ส�ำหรับการรักษาความมั่นคงในระบบการผลิตคือ แผนการตรวจ ซ่อมบ�ำรุงรักษาตามวาระ ซึ่งล่าสุดระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 25 กรกฎาคม ที่ผ่านมา โรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครื่องที่ 1 (MM-T1) ได้ ห ยุ ด เดิ น เครื่ อ งเพื่ อ ท� ำ การตรวจซ่ อ มบ� ำ รุ ง รั ก ษา อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ในช่ ว งการรั บ ประกั น ของบริ ษั ท คู ่ สั ญ ญาก่ อ สร้ า ง (Warranty Inspection : WI) หลังจากได้เริ่มเดินเครื่องอย่างเป็น ทางการมาตั้งแต่วันที่ 29 สิงหาคม 2562 โดย นายชัยวัฒน์ นาควะรี Project Manager นายบรรดาล ไชยตาล วิศวกรระดับ 10 และ นายเศกสรรค์ ป๊อกค�ำอู๋ วิศวกรระดับ 9 กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 1 ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้เล่าให้ฟงั ถึงการท�ำงาน WI ครัง้ นีว้ า่ “การตรวจซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ของ MM-T1 ในช่วงการรับประกันของ บริษัทคู่สัญญาก่อสร้าง แบ่งเป็นงาน 2 ส่วนหลัก ๆ คือ
6
MY HOME MY POWER PLANT
1. การตรวจสภาพอุปกรณ์หลักในระบบการผลิต เช่น อุปกรณ์ หม้อน�้ำ (Boiler) อุปกรณ์กังหันไอน�้ำ (Turbine) อุปกรณ์ก�ำจัดก๊าซ ไนโตรเจนออกไซด์ (Selective Catalytic Reduction: SCR) อุปกรณ์ ก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Flue Gas Desulfurization : FGD) และ อุปกรณ์อื่นๆ ในกระบวนการผลิต เพื่อแจ้งเคลมประกันไปยังบริษัท คูส่ ญ ั ญา ให้ดำ� เนินการท�ำการแก้ไขอุปกรณ์ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน 2. การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ปรั บ ปรุ ง สมรรถนะของ อุปกรณ์ให้รองรับการใช้งานของถ่านหินในอนาคตที่จะมีคุณภาพ เปลีย่ นแปลงไป เช่น การปรับปรุงระบบสายพานล�ำเลียงเถ้าเปียกใต้เตา (Submerged Scrapper Conveyor : SSC) การเปลี่ยนหม้อแปลงไฟ ฟ้า(Generator Step-Up Transformer : GSUT) และการติดตั้ง อุ ป กรณ์ ท� ำ ความสะอาดภายในเตาเพิ่ ม เติ ม อย่ า งเช่ น ระบบ Water Cannon เป็นต้น
ซึ่งหลังจากเสร็จสิ้นงาน WI แล้ว จะมีการปรับแต่งระบบ การเผาไหม้ โดยทดสอบการใช้งานกับถ่านหินที่คาดว่าจะมี คุณสมบัติที่แตกต่างกันไปในอนาคต เพื่อคงสมรรถนะ MM-T1 ให้สามารถเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องไปจน ครบก�ำหนดอายุของโรงไฟฟ้า” โรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครื่องที่ 1 (MM-T1) เป็ น โรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง Ultra-Super Critical (USC) ท�ำให้ลดปริมาณการใช้ถ่านหิน ลดปริมาณการใช้น�้ำ และยัง ปล่อยมลสารน้อยลง นอกจากนั้นเมื่อเทียบกับโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 8-13 แล้วปัจจุบนั MM-T1 ยังมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ไม่นอ้ ยกว่า 10 % แสดงให้เห็นถึงความตัง้ ใจของ กฟผ. ทีจ่ ะรักษา ความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ ไปพร้อมๆ กับการใส่ใจ สิ่งแวดล้อม และชุมชนให้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด นายเศกสรรค์ ป๊อกค�ำอู๋ วศ. 9 กบรม1-ฟ.
นายชัยวัฒน์ นาควะรี Project Manager
นายบรรดาล ไชยตาล วศ. 10 กบรม1-ฟ. MY HOME MY POWER PLANT
7
MY
HOME MY POWER PLANT
MM-T1 ใช้น�้ำในการผลิตไฟฟ้าลดลง 1 ใน 4
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครือ่ งที่ 1 หรือ MM-T1 เดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้า เข้าระบบในเชิงพาณิชย์มาแล้วเกือบ 1 ปี โดย MM-T1 ใช้นำ้� ในกระบวนการผลิต ไฟฟ้าน้อยกว่าโรงไฟฟ้าแม่เมาะเครือ่ งที่ 8-9 โดยการผลิตไฟฟ้าของ MM-T1 ทุกๆ 1 ล้านหน่วย จะใช้นำ�้ ในการผลิตไฟฟ้าน้อยลงถึง 610 ลูกบาศก์เมตร รวมการผลิตไฟฟ้า 1 วันจะใช้นำ�้ ลดลงทัง้ สิน้ 7,300 ลูกบาศก์เมตร หรือลดลงกว่า 25% เมือ่ เทียบกับ โรงไฟฟ้าเครือ่ งที่ 8-9
เมือ่ พูดถึงความแตกต่างด้านเทคโนโลยีการใช้นำ�้ ในกระบวนการผลิตไฟฟ้า ระหว่างโรงไฟฟ้าเครือ่ งที่ 8-9 กับ MM-T1 ขัน้ ตอนทีส่ ญ ู เสียน�ำ้ ในการผลิตกระแส ไฟฟ้ามากที่สุดคือการน�ำความร้อนไปทิ้งผ่านกระบวนการควบแน่นของไอน�้ำ ผ่านอุปกรณ์ทเี่ รียกว่า Condenser โดยอุปกรณ์ดงั กล่าวจะน�ำน�ำ้ หล่อเย็นซึง่ เป็นตัวกลาง ในการระบายความร้อนมารับความร้อนจาก Condenser ไประบายออกทีห่ อหล่อเย็น (Cooling Tower) โดยขัน้ ตอนนี้ น�ำ้ หล่อเย็นจะระเหยสูบ่ รรยากาศ ซึง่ การระเหยนี้ คือการสูญเสียน�ำ้ มากทีส่ ดุ ในกระบวนการผลิตไฟฟ้า ส�ำหรับ MM-T1 มีเทคโนโลยีใหม่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงทีเ่ รียกว่า Ultra Supercritical ส่งผลให้โรงไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ ที่สูงและลดการน�ำความร้อนไปทิ้งที่ Condenser จึงลดความสูญเสียที่เกิดจาก การระเหยผ่านระบบหล่อเย็นน้อยกว่าโรงไฟฟ้าเครือ่ งที่ 8-9 นัน่ เอง และอีกระบบที่ แตกต่างกันคือโรงไฟฟ้าเครือ่ งที่ 8-9 จะมีอปุ กรณ์ทรี่ ะบายน�ำ้ บริสทุ ธิอ์ อกบางส่วน ตลอดเวลา (Continues Blow Down) เพือ่ เป็นการรักษาคุณภาพน�ำ้ ในระบบให้ได้ ตามมาตรฐาน ส่วน MM-T1 ได้นำ� ระบบทีเ่ รียกว่า Condensate Polishing Plant (CPP) เข้ามาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ตลอดจนน�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการใช้งานแล้วกลับมาใช้ใหม่ ท�ำให้ลดปริมาณน�ำ้ บริสทุ ธิท์ สี่ ญู เสียไปได้ ผลของการใช้นำ�้ ในการผลิตไฟฟ้าทีน่ อ้ ยลงของ MM-T1 นัน้ ส่งผลดีตอ่ ปริมาณน�ำ้ ส�ำรองของอ่างเก็บน�ำ้ แม่จางและอ่างเก็บน�ำ้ แม่ขาม ซึง่ ใช้ในระบบการผลิตไฟฟ้า ตลอดจน การอุปโภคบริโภคและภาคการเกษตรของประชาชนในพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ จางอีกด้วย
ข้อมูลจาก: แผนกประสิทธิภาพ กองการผลิต 1 และแผนกประสิทธิภาพเชื้อเพลิงถ่านและน�้ำ กองเชื้อเพลิงถ่านและน�้ำ
Co-working Space พื้นที่ท�ำงานร่วมกัน มันดีแบบนี้เอง ถ้า Work from Home คนเดียวแล้วเหงา หรือ Work from Anywhere ในคาเฟ่แล้วไม่มีสมาธิจดจ่อ กลับเข้าส�ำนักงาน ก็ดันเบื่อ เพราะสภาพแวดล้อมเดิม ไม่ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ Co-working Space โรงไฟฟ้าแม่เมาะ มาแล้วจ้าคุณผู้อ่าน! พื้นที่นี้บรรจงจัดสภาพแวดล้อมให้เต็มไปด้วยบรรยากาศกระตุ้นความคิด สร้างสรรค์และขยันท�ำงาน นอกจาก Co-working Space จะช่วยผลักดันให้คุณผู้อ่านท�ำงานอย่าง กระปรี้กระเปร่าแล้ว การพบปะเพื่อนต่างสายงานยังส่งผลดี ในแง่ที่ท�ำให้คุณได้ ไอเดียใหม่ๆ เช่น หากคุณผู้อ่านเป็นวิศวกร ก็อาจเจอน้องๆโปรแกรมเมอร์ ที่จะน�ำพา ไอเดียบรรเจิดด้านเทคโนโลยีมาให้ อาจเจอสาวๆประชาสัมพันธ์ที่จะช่วยแนะน�ำคุณ เรื่องสื่อสร้างสรรค์ใหม่ๆ หรืออาจเจอผู้ใหญ่และผู้บริหารที่มาไกด์งานให้คุณก็เป็นได้ Co-working Space ชั้น 3 ตึกขาว มี 4 โซน ได้แก่ ห้องประชุม พื้นที่ อเนกประสงค์ พื้นที่สีเขียว และ พื้นที่ Internet of things อ้อ! บอกก่อนว่า ห้องประชุมผู้ปฏิบัติงานสามารถจองผ่านระบบได้ ส่วนโซนอื่นๆ สามารถเข้าใช้งาน ได้เลยตลอดเวลาท�ำการ
8
MY HOME MY POWER PLANT
คุณภาพอากาศแมเมาะ 25 มิถนุ ายน - 24 กรกฎาคม 2563 อยูในเกณฑมาตรฐาน โรงไฟฟาพลังความรอนแมเมาะเครื่องที่ 1 (MM-T1) หยุดเครื่อง เพื่อทําการบํารุงรักษาตามวาระ Warranty Inspection (WI) เพื่อแกไข และตรวจสอบอุปกรณที่ตรวจพบความเสียหายรวมไปถึงดําเนินการ เรียกรองสิทธิ์ (Claim) เปลีย่ นอุปกรณกอ นจะหมดการรับประกัน (Warranty) และดําเนินการแกไขงานบํารุงรักษาเดิมทีค่ า งอยูใ หแลวเสร็จ ระหวางวันที่ 28 มิถุนายน – 25 กรกฎาคม 2563 เนื่องจากการปฏิบัติงานดานบํารุงรักษาโรงไฟฟา สวนมากเปน การทํางานในพื้นที่วิกฤตซึ่งมีความเสี่ยง และหนึ่งในนั้นก็คือ การทํางาน บนทีส่ งู โดยอันตรายทีร่ ายแรงก็คือ การพลัดตกจากที่สูง ทําใหเสียชีวิต พิการ หรือบาดเจ็บ ทั้งนี้กฎหมายความปลอดภัยฯ กําหนดใหนายจาง ตองจัดใหมีนั่งรานมาตรฐานใหกับลูกจางในการทํางานที่มีความสูงตั้งแต 2 เมตรขึ้นไป รวมไปถึงตองมีราวกันตก และจัดหาสายนิรภัยใหลูกจาง ไวใชขณะปฏิบัติงาน ถึงแมที่ผานมาโรงไฟฟาแมเมาะยังไมเกิดอุบัติเหตุ ดังกลาว แตการทํางานในพืน้ ทีว่ กิ ฤตทุกครัง้ ผูป ฏิบตั งิ านจะตองไดรบั อนุญาต ใหเขาทํางานในพืน้ ทีว่ กิ ฤต (Work Permit) จากผูค วบคุมงานหรือเจาหนาที่ ความปลอดภัยวิชาชีพทุกครั้งกอนเขาทํางาน
420 80
161 50
26
5
45
330
120
780
300
320
TSP/day
PM10/day
SO2/hr.
SO2/day
NO2/hr.
= ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.
: : : : :
ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร
สําหรับดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และ พื้นที่ชุมชนคุณภาพอากาศอยูในเกณฑ ดีมาก สามารถทํากิจกรรม กลางแจงและการทองเที่ยวไดตามปกติ
คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ เดือนกรกฎาคม 2563
ความเป น กรด-ด าง
5.5-9.0
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)
ไม เกิน
40 Cํ
ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)
ไม เกิน
5.0
ไม เกิน
20
ไม ได กําหนด
7.77 32.3 0.43 0.60 6.80 ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน
ผ าน
: ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม : ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล ว ของโรงไฟฟ าแม เมาะ MY HOME MY POWER PLANT
9
MY
HOME MY POWER PLANT
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2563
กฟผ.แม่ เ มาะ ร่ ว มพิ ธี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2563 โดยมีนายนิมติ ร ผดุงศิลป์ไพโรจน์ นายอ�ำเภอแม่เมาะ เป็นประธาน พร้อมด้วยส่วนราชการ อ.แม่เมาะ เข้าร่วมพิธีฯ โดยภาคเช้าเป็นพิธีท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ 10 รูป ถวายเป็นพระราชกุศลและพิธลี งนามถวายพระพรชัยมงคล จากนัน้ กลุม่ จิตอาสา
ได้รว่ มท�ำกิจกรรมท�ำความสะอาดส�ำนักสงฆ์บา้ นใหม่ฉลองราช หมูท่ ี่ 8 ต.สบป้าด ส่ ว นภาคค�่ ำ เป็ น พิ ธี ถ วายเครื่ อ งราชสั ก การะและพิ ธี จุ ด เที ย นชั ย ถวาย พระพรชัยมงคล ณ หอประชุมอ�ำเภอแม่เมาะ (อาคารจ�ำป่าแดด) ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง
คปอส-ฟม. ตรวจพืน้ ทีอ่ าคารระบบผลิต (Turbine, Boiler & Precipitator 8-13)
14 กรกฎาคม 2563 คปอส-ฟม. ตรวจเยีย่ มการปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัย ในการท�ำงานบริเวณพืน้ ทีอ่ าคารระบบผลิต (Turbine, Boiler & Precipitator 8-13) จากนั้นคณะฯ ได้สรุปผลการตรวจเยี่ยมโดยภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี และจัดพืน้ ทีใ่ นการท�ำงานให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ ี ทัง้ นีไ้ ด้มขี อ้ แนะน�ำเพิม่ เติม อาทิ ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดเก็บ นั่ ง ร้ า นที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ง านให้ เ รี ย บร้ อ ย ปรั บ ปรุ ง พื้ น ทางเดิ น บางจุ ด ช� ำ รุ ด ให้ ใช้งานได้ตามปกติ เป็นต้น โดยหน่วยงาน ที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ รั บ ข้ อ เสนอแนะไป ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อไป
กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ เฉลิมพระเกียรติฯ
23 กรกฎาคม 2563 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกิจกรรม ปลูกต้นไม้และปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธี บรมราชาภิเษก "รวมใจไทย ปลูกต้นไม้ เพือ่ แผ่นดิน" สืบสานสู่ 100 ล้านต้น โดยปลูกต้นไม้จ�ำนวนทั้งสิ้น 800 ต้น ณ บริเวณด้านหลังป้อมรักษาการณ์ ประตู 2 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ และบริเวณลานหน้าโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ เป้าหมายโครงการฯ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจน เสริมทัศนียภาพพืน้ ทีส่ เี ขียวภายในโรงไฟฟ้าแม่เมาะให้อดุ มสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้
กฟผ.แม่เมาะ ส่งเยาวชนในพื้นที่ รับทุนเรียน กฟผ.แม่เมาะ มอบเตียงเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยความ ดันลบ ให้กบั โรงพยาบาลแม่เมาะ ด้านวิศวกรรมฯ ประเทศจีน ปีที่ 3 29 กรกฎาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ จัดประชุมชี้แจงแก่นักเรียนที่ผ่านการรับ ทุนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัย Kunming University of Science and Technology สาธารณรัฐประชาชนจีน ในหลักสูตร Electric Engineering and Automation ซึ่งเป็นทุนเต็มจ�ำนวนของบริษัท China Southern Power Grid (CSG) มอบให้แก่นักเรียนไทยที่มีภูมิล�ำเนาในเขต พื้นที่รอบ กฟผ. เป็นปีที่ 3 โดยมีผู้ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจ�ำนวน 4 คน ได้แก่ นายสุวชิ ชา ชัยค�ำแหง นายอิศม์เดช หลีแก้วสาย น.ส.สร้อยสวรรค์ สุวรรณเมือง และ น.ส.ศรัณยา คีรีวัฒน์ นักเรียนโรงเรียนแม่เมาะวิทยา
10
MY HOME MY POWER PLANT
31 กรกฎาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ มอบเตียงเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยระบบความดันลบ จ�ำนวน 1 เตียง ให้กบั โรงพยาบาลแม่เมาะ ณ โรงพยาบาลแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง ทัง้ นีน้ วัตกรรมเตียงเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยระบบความดันลบเป็นความร่วมมือ ระหว่าง กฟผ. และบริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ พัฒนาขึน้ เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้กับบุคลากรทางการแพทย์เมื่อต้องเคลื่อนย้าย ผูป้ ว่ ยติดเชือ้ ตลอดจนป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
จิตอาสาปริ่ ม ใจ ชุ ม ชนเปี ่ ย มสุ ข ตลอดครึ่ ง ปี ที่ ผ ่ า นมากั บ การต่ อ สู ้ ส ถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 อย่างหนักหน่วง แม้จะเป็นช่วงเวลาที่ยากล�ำบากแต่ก็มิได้เป็น อุปสรรคแก่เหล่าคนท�ำดีทยี่ งั ยึดมัน่ ให้ความช่วยเหลือผูอ้ นื่ อย่างไม่หยุดหย่อน เหมือนดั่งจุดมุ่งหมายของ “กองจิตอาสากองวางแผนและบ�ำรุงรักษากลาง ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ” กว่า 140 ชีวิตที่ผนึกก�ำลังพัฒนาพื้นที่ สาธารณประโยชน์ของชุมชนบ้านแม่หล่วง ทั้งการดูแลความสะอาดบริเวณ โดยรอบและซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ช�ำรุดให้กับส�ำนักสงฆ์บ้านแม่หล่วง ซึ่งเป็น ศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนให้มที ศั นียภาพทีด่ ขี นึ้ ตลอดจนร่วมกับหน่วยงาน ราชการปลูกต้นไม้จำ� นวน 400 ต้นเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้กบั ป่าอนุรกั ษ์ของชุมชน ณ อ่างเก็บน�ำ้ ในหมูบ่ า้ นแม่หล่วง ต.นาสัก อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง
P
Performance Excellence มุง่ งานเลิศ
นายอาทิตย์ ที่ปรึกษา วิศวกรระดับ 6 แผนกบ�ำรุงรักษาเครื่องกล ระบบสายพานเถ้าถ่านหินและยิปซั่ม กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า4 ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
กระบวนการท� ำ งานในแต่ ล ะขั้ น ตอนต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง องค์ ก ร และรักษาผลประโยชน์ของ กฟผ. เป็นหลัก หากเรามีความผูกพันและ เสี ย สละเวลาส่ ว นตั ว ในการท� ำ งาน การท� ำ งานของเราและที ม งาน ก็จะมีประสิทธิภาพและประสบความส�ำเร็จ ปัจจุบันผมท�ำงานด้าน บ� ำ รุ ง รั ก ษาระบบสายพานล� ำ เลี ย งเถ้ า ถ่ า นหิ น และยิ ป ซั่ ม มี ห น้ า ที่ ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องกลของระบบสายพานล�ำเลียงให้พร้อมใช้งาน อยู่เสมอ จึงน�ำค่านิยม P-Performance Excellence มุ่งงานเลิศ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นกระบวนการท� ำ งาน เพราะงานดั ง กล่ า วต้ อ งใช้ ความรั บ ผิ ด ชอบสู ง ต้ อ งสนั บ สนุ น ให้ โ รงไฟฟ้ า สามารถเดิ น เครื่ อ ง ผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่ง จึงตั้งใจทุ่มเท ท�ำงานเป็นทีมด้วยความสามัคคีให้การท�ำงานเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์คือผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีเสถียรภาพ เพื่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ
นายประดิษฐา นันทวงศ์ ช่างระดับ 9 กวบม-ฟ. ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า แม่เมาะ ตัวแทนกองจิตอาสาฯ เล่าว่า “ทีผ่ า่ นมากองจิตอาสา กวบม-ฟ. ท�ำกิจกรรม สาธารณประโยชน์รว่ มกับหมูบ่ า้ นมาโดยตลอด แต่เนือ่ งจากสถานการณ์โควิด 19 จึงไม่ได้จดั ตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ พอสถานการณ์คลีค่ ลายจึงลงพืน้ ทีส่ อบถาม หมู่บ้านว่ามีแผนจะท�ำอะไรบ้าง เพื่อให้สามารถด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับ ความต้องการของชุมชนจึงเกิดเป็นกิจกรรมนีข้ นึ้ ส่วนตัวรูส้ กึ ดีใจและประทับ ใจในความสามัคคีของผูป้ ฏิบตั งิ านจิตอาสาทุกท่าน เพราะกิจกรรมนีถ้ อื เป็นสิง่ ที่สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลคือความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมผู้อื่น อีกทัง้ ยังได้รว่ มท�ำประโยชน์กบั คนในชุมชนในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอแม่เมาะ เสริมสร้าง ความเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกันขององค์การและชุมชนตามแนวทาง กฟผ. ชุมชน คนบ้านเดียวกัน ร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนให้ดขี นึ้ ”
11 กันยายน 2563 เวลา 08.00 น. เป็นต้นไป พิธีมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ทีจ่ ะเกษียณอายุ ประจ�ำปี 2563 (ภาคเหนือ) ณ อาคารประชาสัมพันธ์ แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ
MY HOME MY POWER PLANT
11
กฟผ.แม เมาะ http://maemoh.egat.co.th
กฟผ.แม เมาะ
@maemoh.powerplant
Maemoh.egat.com/hellomaemoh
054 252 734
maemohnews@egat.co.th