MY HOME MY POWER PLANT 10-2563

Page 1

วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ

ป ที่ 26 ประจำเดือนตุลาคม 2563


MY

HOME MY POWER PLANT

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ จั ด ซ้ อ มแผนรองรั บ เหตุ วิ น าศกรรมและดั บ เพลิ ง อพยพหนี ไ ฟ เมื่ อ วั น ที่ 15 ตุลาคม ทีผ่ า่ นมา ซึง่ เป็นความรุนแรงสูงสุดทีห่ น่วยงานไม่สามารถควบคุมได้ (ระดับ 3) จึงขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ อ�ำเภอแม่เมาะ สถานีตำ� รวจภูธรอ�ำเภอแม่เมาะ เทศบาลต�ำบลแม่เมาะ โรงพยาบาลแม่เมาะ โรงพยาบาลศูนย์ล�ำปาง องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดง องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสบป้าด หน่วยกูภ้ ยั อ�ำเภอแม่เมาะ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ โดยสมมุติเหตุการณ์ว่ามีผู้ไม่หวังดีเข้ามาสร้างสถานการณ์ก่อวินาศกรรม ท�ำให้เกิดเพลิงไหม้หม้อแปลงไฟฟ้า บริเวณอาคารผลิตน�ำ้ หินปูน ของระบบ

ก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะ เครือ่ งที่ 1 (อาคาร MCC Ball Mill FGD 4-7) เมือ่ เวลา 09.44 น. หน่วยงาน ภายในไม่สามารถระงับเพลิงได้ จึงประสานขอก�ำลังสนับสนุนจากหน่วยงาน ภายนอก และสามารถควบคุมเพลิงไหม้ได้ในเวลา 10.56 น. โดยมีนายบุญธันว์ เอมย่านยาว วิศวกรระดับ 11 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นผูบ้ ญ ั ชาการ เหตุฉกุ เฉิน พร้อมจัดศูนย์อำ� นวยการภาวะฉุกเฉิน ณ ห้องประชุมแม่เมาะ (137) อาคารบริหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ โดยมีนายอรรถพล อิม่ หน�ำ ผูช้ ว่ ยอ�ำนวย การฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-1 เป็นผูอ้ ำ� นวยการภาวะฉุกเฉิน หลังจาก ซักซ้อมขัน้ ตอนและกระบวนการดับเพลิงแล้วเสร็จผูอ้ ำ� นวยการภาวะฉุกเฉิน และคณะได้รว่ มซ้อมการแถลงข่าวต่อสือ่ มวลชนเกีย่ วกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทั้งนี้ โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้จัดซ้อมแผนฉุกเฉินความรุนแรงระดับ 3 เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ซักซ้อมบุคลากรและทีมฉุกเฉินของหน่วยงานโรงไฟฟ้า แม่เมาะและหน่วยงานใกล้เคียงรวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีความพร้อม สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเกิดเหตุการณ์จริง โดยมีการ ตั้งศูนย์สื่อสารภาวะวิกฤตผ่านทาง VDO Conference ไปยังศูนย์จัดการ ภาวะวิกฤตสายงานรองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า ส�ำนักกลาง กฟผ. จ.นนทบุรี เพื่อรับทราบสถานการณ์และเตรียมข้อมูลส�ำหรับสื่อสารไปยังประชาชน และสือ่ มวลชนอีกด้วย

บทบรรณาธิการ เดือนตุลาคมเป็นเดือนแห่งการโยกย้าย ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดี กับผู้บริหารหลายท่านที่ได้ปรับเปลี่ยนต�ำแหน่ง ในส่วนของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ของเรา ได้ต้อนรับ ชฟฟ2. ท่านใหม่ที่คุ้นเคยกันดี กลับบ้านมาขับเคลื่อน โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะต่ อ จาก ชฟฟ2. ท่ า นเดิ ม ที ม บก. จึ ง ถื อ โอกาสเข้ า พบ และพูดคุยกับทั้ง ชฟฟ2. อรม. และ อฟม. ถึงนโยบายต่อเนื่องทั้งด้านการ บ�ำรุงรักษาและการผลิตที่วางแผนไว้ส�ำหรับปี 2564 ตลอดจนแผนเตรียม รองรับหากเกิดการระบาดของโควิด-19 ให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะยังสามารถรักษา ความมั่ น คงทางการผลิ ต ได้ ท ่ า มกลางวิ ก ฤต ท้ า ยสุ ด นี้ ข อฝากความห่ ว งใย ถึ ง ท่ า นผู ้ อ ่ า น ในช่ ว งอากาศเปลี่ ย นแปลงบ่ อ ยขอให้ ทุ ก ท่ า นรั ก ษาสุ ข ภาพ ด้วยนะคะ บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

2

MY HOME MY POWER PLANT

วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY

พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล


ฝ่ายสิง ่ แวดล้อมโครงการ กฟผ.

ทําช่องทางสื่อสารทาง YouTube : EGAT ENVI แหล่งรวมข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อมของ กฟผ. และเทคนิคดีๆ วิธีการรักษ์โลก เพี ยงเข้า YouTube แล้วค้นหาคําว่า EGAT ENVI หรือจะสแกน QR-Code ก็สามารถรับชมได้ทันที

อย่าลืมกด SUBSCRIBE และกดแชร์กันด้วยนะคะ

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ก�ำหนดสัญญางาน จ้างเหมา แบ่งโควตาจ้างคนในพื้นที่

ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50

นอกเหนือจากการดูแลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวดแล้ว กฟผ.แม่เมาะ ยังก�ำหนดนโยบายในการพิจารณาให้ประชาชนที่มีภูมิล�ำเนา อยูใ่ นเขต อ.แม่เมาะ เข้าท�ำงานเป็นล�ำดับแรก โดยต้องผ่านเกณฑ์คดั เลือกเบือ้ ง ต้นของ กฟผ. ทัง้ นี้ ได้มขี อ้ ก�ำหนดในสัญญากับบริษทั จ้างเหมาต้องมีผปู้ ฏิบตั งิ าน ที่เป็นชาวแม่เมาะเข้าท�ำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจ�ำนวนผู้ปฏิบัติงาน

ทั้ ง หมด ซึ่ ง หากบริ ษั ท จ้ า งเหมาไม่ ส ามารถด� ำ เนิ น การตามข้ อ ก� ำ หนด ดังกล่าวได้ ต้องมีหนังสือชี้แจงเหตุผลพร้อมพร้อมแนบหลักฐานการประกาศ รับสมัครลูกจ้างแรงงานท้องถิ่น อ.แม่เมาะ ของผู้รับจ้างมาแสดง ซึ่ง กฟผ. สงวนสิทธิ์ที่จะให้ผู้รับจ้างท�ำงานต่อไปจนแล้วเสร็จ หรืออาจยกเลิกงาน บางส่วนหรือทั้งหมด และเรียกค่าเสียหายที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง

ปัจจุบันโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีงานจ้างเหมา 2 ลักษณะ คือ 1. การจ้างเหมางาน กับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในพื้ นที่โดยตรง

2. การจ้างเหมางานผ่านนิติบุคคล จ้างเหมาบริการ แบบรวมศูนย์

จ้างเหมางาน พร้อมอุปกรณ์

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

นกอพยพหลากหลายพันธุ์ ย้ายถิน่ มาอาศัยในพืน้ ที่ กฟผ.แม่เมาะ เนื่องจากมีระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ แม้ กฟผ.แม่เมาะ จะเป็นแหล่งอุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด ใหญ่ แต่กลับพบนกอพยพและนกประจ�ำถิน่ ถึง 150 สายพันธุ์ ทีบ่ นิ วนเวียน สับเปลี่ยนเข้ามายังพื้นที่แห่งนี้ อย่างไม่ขาดสาย โดยนกทั้ง 150 สายพันธุ์ ที่ถูกบันทึกโดยชมรมคมรักษ์นกและธรรมชาติ กฟผ.แม่เมาะ ที่มีกิจกรรม นับชนิดของนก ทุกๆ ปี โดยจะเก็บข้อมูลนกที่บินเข้ามายังพื้นที่ กฟผ. แม่เมาะ หากพบว่าเป็นนกชนิดใหม่ก็จะจดบันทึกข้อมูลไว้ โดยนกที่ถูกพบ อาทิ นกกระรางหัวขวาน นกตะขาบทุง่ นกแอ่นฟ้าหงอน นกอีลำ �้ นกเด้าดิน นกหัวโตเล็กขาเหลือง ส่วนนกเป็ดน�ำ ้ นกกะเต็นน้อยธรรมดา นกกะเต็นอกขาว นกกระแตแต้แว้ด สามารถพบเห็นได้ทกุ ปี นอกจากนัน้ แล้วเมือ่ ปี 2552 ยังพบ นกอ้ายงัว่ เป็นครัง้ แรก ซึง่ นกชนิดนีจ้ ดั เป็นสัตว์ปา่ คุม้ ครองประเภทที่ 1 เป็น นกประจ�ำถิ่นที่มีการเคลื่อนย้ายไปตามแหล่งน�้ำ เป็นนกหายากไม่เคยพบที่ จังหวัดล�ำปางมาก่อนทีบ่ ริเวณอ่างห้วยหลวงตอนบน ซึง่ เป็นอ่างเก็บน�ำ้ ในระบบ การผลิตของ กฟผ.แม่เมาะ ในปี 2561 และ 2562 ก็ยงั พบนกอ้ายงัว่ ในพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ โดยรอบ กฟผ.แม่เมาะ อีกด้วย

กระเต็นน้อย

นกคอทับทิม

กระเต็นน้อยอกขาว

เขนบ้าน เมีย ภาพโดย: คุณพรเพ็ญ ชัยสิทธิพล

ส�ำหรับปี 2563 เริม่ มีนกอพยพเข้ามายังพืน้ ที่ กฟผ.แม่เมาะ ตัง้ แต่กลาง เดือนกันยายน สามารถพบเห็นนกคอทับทิม นกอุม้ บาตร และนกอีเสือสีนำ�้ ตาล ในพืน้ ทีแ่ ล้ว นายไพศาล ดวงงาม หัวหน้าแผนกบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ควบคุมและ เครือ่ งวัด 3 กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 3 สมาชิกชมรมคนรักษ์นกและธรรมชาติ เล่าว่า ธรรมชาติของนกในแต่ละปีจะท�ำการอพยพจากพืน้ ทีท่ มี่ อี ากาศหนาว ในแถบไซบีเรียเพือ่ หาแหล่งอาหารทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ และสภาพอากาศทีเ่ หมาะสม ทีผ่ า่ นมามีนกหลายชนิดอพยพเข้ามาในพืน้ ที่ กฟผ.แม่เมาะ แสดงให้เห็นว่า กฟผ.แม่เมาะ มีสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาที่เหมาะสมทั้งสภาพอากาศ แหล่งอาหาร และมีตน้ ไม้เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนัน้ แล้วพืน้ ทีท่ ำ� งานของตน บริเวณกองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า-3 ก็ยังสามารถพบเห็นนกประจ�ำถิ่นเช่น นกปรอทสวน และนกปรอทหัวสีเขม่าอีกด้วย

Nut เก่าอย่าทิ้ง เป็นตัวช่วย ขูดสีในร่องเกลียว Bolt ได้อย่างดี ชิ้นส่วนน็อต (Nut) ตรงบริเวณจุดต่อท่อต่างๆในโรงไฟฟ้า มักจะมี การทาสีป้องกันสนิมและการกัดกร่อนเคลือบไว้ ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปบริเวณ จุดต่อท่อเริ่มมีการเสื่อมสภาพ ท�ำให้ต้องหาวิธีการถอดคลายน็อตเพื่อ ซ่อมแซมจุดต่อท่อ จากเดิมที่ปฏิบัติกันมากว่า 30 ปี ใช้วิธีน�ำใบเลื่อยขูดสี ในร่องเกลียวออก พบข้อจ�ำกัดมากมาย ท�ำให้ไม่สามารถขูดออกได้ทั้งหมด โดยเฉพาะจุดที่ลึกที่สุดของร่องเกลียวยังมีสีติดค้างอยู่ ท�ำให้ร่องเกลียว เกิดความเสียหายเพราะใบเลือ่ ยมีความคมและแข็งกว่า Bolt ทางผูป้ ฏิบตั งิ าน จาก หบผม-ฟ. กบรม4-ฟ. อรม. โดย นายประเสริฐ วังก๋าใจ และ นายธีรพล ฉันโท จึงได้น�ำเอา Nut เก่าที่ไม่ใช้งานแล้ว มาปรับเป็นอุปกรณ์ช่วยขูดสี โดยปรับแป้นเกลียว Nut มาเจาะรู 3 รู (เลือกขนาดขึน้ อยูก่ บั ขนาดของ Bolt) ท�ำมุม 120 องศา เพื่อเป็นคมไว้ส�ำหรับคายเศษสีที่ขูดออกจากร่องเกลียว วิธีการท�ำงาน คือ น�ำอุปกรณ์ขูดสีน้ีหมุนเข้าไปใน Bolt ที่ต้องการคลาย Nut คมตัดที่ฟันเกลียวของอุปกรณ์จะท�ำหน้าที่ขูดสีจากร่องเกลียวจนถึง โคนเกลียว ท�ำซ�ำ้ 1-2 รอบ ก็จะสามารถคลาย Nut ออกจาก Bolt ได้งา่ ยดาย ประโยชน์ของอุปกรณ์ชิ้นนี้ คือการลดเวลาการท�ำงาน จากเดิมที่ใช้ ใบมีดต้องใช้เวลา 5-6 นาที/Bolt 1 ตัว หลังจากน�ำอุปกรณ์ดังกล่าวมาช่วย ใช้เวลาเพียงแค่ 1 นาที/Bolt 1 ตัว นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดงบประมาณ ในการจัดหาอะไหล่ชิ้นใหม่ เพราะอุปกรณ์ดังกล่าวไม่ท�ำให้ Bolt และ Nut เสียหาย โดยผลงานนี้ได้รับรางวัล KSS ดีเด่น ประเภทผลิตและบ�ำรุงรักษา ประจ�ำเดือน กรกฎาคม 2563

4

MY HOME MY POWER PLANT

ภาพแสดง Nut ที่แปลงเป็นตัวขูดสี

Nut Bolt


่ มวลชนจังหวัดล�ำปางเยีย ่ มชมศูนย์การเรียนรู้ กฟผ.ทับสะแก กฟผ.แม่เมาะ น�ำสือ พร้อมพบปะแลกเปลี่ยนความเห็นกับผู้บริหาร หวังเป็นกระบอกเสียงเสริมสร้าง ความรูค ้ วามเข้าใจภารกิจด้านพลังงานแก่สาธารณชน

การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ โดยแผนกประชาสัมพันธ์โรง ไฟฟ้าแม่เมาะ และแผนกประชาสัมพันธ์เหมือง แม่เมาะ ร่วมจัดโครงการสื่อมวลชนสัมพันธ์ ประจ�ำปี 2563 โดยน�ำสือ่ มวลชนจังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 26 ท่าน เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ทับสะแก และรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับโรง ไฟฟ้าพลังงานทดแทนของ กฟผ. ตลอดจนร่วม กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ณ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันที่ 16-19 ตุลาคม 2563 ในโอกาส นี้ นายพัฒนพงศ์ ขันทา ผู้อ�ำนวยการฝ่าย

การผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ และนายสุนทร ดาวประเสริ ฐ วิ ศ วกรระดั บ 11 สายงาน รองผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า ได้รว่ มพบปะแลกเปลีย่ น ความเห็นพร้อมตอบข้อซักถามแก่สื่อมวลชน จังหวัดล�ำปางในประเด็นการบริหารจัดการลุ่ม น�้ำจางของ กฟผ.แม่เมาะ เพื่อสร้างสัมพันธ์ อันดีระหว่างสือ่ มวลชนล�ำปางและ กฟผ.แม่เมาะ ตลอดจนให้ ข ้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ งเกี่ ย วกั บ ภารกิ จ องค์ ก รให้ ส ามารถน� ำ ไปเผยแพร่ ต ่ อ ยั ง สาธารณชนได้

กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรม Synergy เสริมสร้างสัมพั นธ์อันดีระหว่างจิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ส่วนราชการ และผูน ้ ำ� ชุมชน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ โดยกองชุมชน สัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จัดกิจกรรมเสริมพลังการท�ำงานพัฒนาชุมชน แบบมีส่วนร่วม (Synergy) ณ เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์ โดยรุ่นที่ 1 จัดขึ้น ระหว่างวันที่ 15-16 ตุลาคม 2563 มีกองจิตอาสา ส่วนราชการ และผูน้ ำ� ชุมชน ต.แม่เมาะ และ ต.บ้านดง เข้าร่วม รุ่นที่ 2 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 27-28 ตุลาคม มีกองจิตอาสา ส่วนราชการ และผู้น�ำชุมชน ต.สบป้าด ต.นาสัก และ ต.จางเหนือ เข้าร่วม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสานสัมพันธ์อันดีระหว่าง กองจิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ส่วนราชการ และ ผู้น�ำชุมชนในอ�ำเภอแม่เมาะ ตลอดจนให้ความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ แนวทางการพั ฒ นาชุ ม ชน อย่างมีสว่ นร่วม ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี และกิจกรรมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

MY HOME MY POWER PLANT

5


MY

HOME MY POWER PLANT

นายอดิศักดิ์ กิจเจริญธนารักษ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ก่อนอืน่ อยากบอกว่าดีใจทีไ่ ด้กลับมาท�ำงานทีโ่ รงไฟฟ้าแม่เมาะอีกครัง้ ทีน่ เี่ ป็นเหมือนบ้านทีม่ คี วามผูกพัน ซึง่ การกลับมาครัง้ นีก้ ไ็ ด้ตงั้ ใจว่าจะท�ำงาน ให้ดที สี่ ดุ ทีผ่ า่ นมามีโอกาสได้ยา้ ยไปด�ำรงต�ำแหน่งหลายที่ ท�ำให้เห็นว่าภารกิจ ของแม่เมาะค่อนข้างหนักเมือ่ เทียบกับทีอ่ นื่ ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้คนโรงไฟฟ้า แม่เมาะเป็นคนเก่ง สามารถปรับตัวเข้ากับงานอืน่ ๆ ได้งา่ ย ซึง่ ได้ตงั้ เป้าหมาย ด�ำเนินตามนโยบายหลักๆ ดังนี้ 1. การพัฒนาบุคลากร โดยจะส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนา ในด้านต่างๆ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับภารกิจหลักในการเดินเครือ่ งและงานบ�ำรุงรักษา โรงไฟฟ้า โดยสนับสนุนให้ศกึ ษาเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือองค์ความรูจ้ ากภายนอก เข้ามาปรับใช้ในการท�ำงาน ตลอดจนการพัฒนาด้านจิตใจและการมีจติ อาสา ให้สามารถท�ำงานร่วมกับชุมชนฉันท์กลั ยาณมิตร 2. การรักษาเสถียรภาพในการเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า ให้มี ความพร้อมจ่าย ด้วยทิศทางของโลกเปลี่ยนไป กฟผ. ก็ต้องมีการปรับตัว ให้สามารถแข่งขันกับเอกชนได้ ดังนัน้ ในกระบวนการผลิตของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ�ำเป็นต้องมุง่ เน้นประสิทธิภาพในการผลิตควบคูไ่ ปกับการดูแลสิง่ แวดล้อม

3. การสนับสนุนให้น�ำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน เพือ่ ให้ทนั ต่อยุคสมัยทีเ่ ทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทอย่างมาก ตลอดจนเชือ่ มต่อ ระบบ AI เข้ากับระบบการผลิต ให้สามารถตรวจสอบ ระบบได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา นอกจากนัน้ ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องหมัน่ เรียนรูส้ งิ่ ใหม่อย่างต่อเนือ่ ง น�ำมาประกอบกับ ประสบการณ์ความรูเ้ ดิม ต่อยอดเป็นนวัตกรรมทีจ่ ะพัฒนางาน ซึง่ ในส่วนของ ผู้บริหารเองก็จะสนับสนุนให้จัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ผ่าน CoPs หรือ เวทีการประกวด งานคุณภาพต่างๆ เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลีย่ น เรียนรูภ้ ายในองค์กร 4. Happy Work Place ส่งเสริมการท�ำงานอย่างมีความสุขแบบ Work Life Balance เพราะชีวิตไม่ได้มีแค่การท�ำงาน ทุกคนจ�ำเป็นต้อง ดูแลสุขภาพและมีเวลาให้กับครอบครัว รวมถึงการปฏิสัมพันธ์ท�ำกิจกรรม หลังเลิกงานกับเพือ่ นร่วมงาน ทัง้ การเล่นกีฬา หรือการสังสรรค์ เมือ่ จิตใจสบาย เป็นสุข ก็จะท�ำให้สมรรถภาพในการท�ำงานของเราดีไปด้วย

นายอดิศกั ดิ์ กิจเจริญธนารักษ์ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า 2

นายพัฒนพงศ์ ขันทา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการผลิต โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

6

MY HOME MY POWER PLANT


นายพนม บวรวงศ์เสถียร ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ในช่วงปี 2563 ทีผ่ า่ นมา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นอีก หนึง่ สิง่ ทีเ่ ข้ามาท้าทายการบริหารงานด้านบ�ำรุงรักษา เนือ่ งจากต้องประสาน งานติดต่อกับบริษทั Supplier ผูข้ ายและผูร้ บั จ้าง เพือ่ จัดหาเครือ่ งจักรอุปกรณ์ และอะไหล่ มาใช้ในการซ่อมบ�ำรุงโรงไฟฟ้าให้ได้ตามก�ำหนดเวลา ไม่ให้กระทบ ต่อระบบการผลิตเนือ่ งจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นหนึง่ ในโรงไฟฟ้าหลักของ กฟผ. ซึ่งในช่วงที่มีค�ำสั่งห้ามเดินทางข้ามจังหวัด ท�ำให้ต้องปรับเปลี่ยนแผนการ ซ่อมบ�ำรุงไปบ้าง แต่ก็สามารถผ่านมาได้ด้วยดี อย่างไรก็ตามในปี 2564 แม้สถานการณ์การแพร่ระบาดจะคลีค่ ลายลงบ้างแล้ว แต่ทางฝ่ายบ�ำรุงรักษา ยังต้องวางแผนระยะยาวเพือ่ รองรับหากเกิดการระบาดขึน้ อีก โดยได้มกี ารจัด เตรียมทัง้ ด้านแผนการซ่อมบ�ำรุง ทีป่ รับเปลีย่ นแผนงานจาก Major Overhaul ไปเป็น Minor Inspection และเตรียมพัฒนาความรูข้ องบุคลากรให้สามารถ ซ่อมบ�ำรุงได้เองกรณีฉกุ เฉินทีไ่ ม่สามารถน�ำผูเ้ ชีย่ วชาญเข้ามาในพืน้ ทีไ่ ด้

ในส่วนของนโยบายเร่งด่วนทีต่ อ้ งรีบด�ำเนินการ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที่ 8-13 ทีม่ อี ายุการใช้งานค่อนข้างนานแล้ว ซึง่ จะทยอยปลดออกจาก ระบบตามแผน PDP ระหว่างปี 2565-2568 จ�ำเป็นต้องมีการซ่อมบ�ำรุงอย่าง ใกล้ชิด อีกทั้งวางแผนจัดเตรียมพัสดุส�ำรองคลัง ให้พอดีและคุ้มค่าต่อการ ลงทุนเมือ่ เทียบกับอายุการใช้งานทีเ่ หลืออยู่ ส่วนของโรงไฟฟ้า MM-T1 ซึง่ เป็น โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีใหม่ จะมีการน�ำระบบดิจทิ ลั อย่างระบบ Internet of Thing (IoT) เข้ามาใช้งานเพือ่ เสริมความคล่องตัว ลดเวลาการจัดเก็บข้อมูลในอุปกรณ์ ทีส่ ำ� คัญ ตลอดจนเพิม่ ประสิทธิภาพในการวิเคราะห์แก้ปญ ั หา ตอบโจทย์การ เป็น Digital Power Plant สุดท้ายนีอ้ ยากฝากถึงผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคน ทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ตัง้ ใจกันอยูแ่ ล้ว อยากให้ตอ่ ยอดศึกษาความรูจ้ ากพีๆ่ ทีเ่ กษียณไป ซึง่ เราได้ทำ � KM เก็บองค์ความรู้ ของพีๆ่ ไว้ จึงอยากให้นอ้ งๆ หมัน่ ศึกษาและน�ำมาพัฒนางานของตัวเอง และ สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ที่ อ ยากให้ ค� ำ นึ ง ถึ ง ในการท� ำ งานด้ า นบ� ำ รุ ง รั ก ษาคื อ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ต้องประเมินความเสี่ยงก่อนเข้าหน้างานเสมอ ตลอดจนมีสติ และไม่ประมาท เพือ่ ให้ตนปลอดภัยและงานส�ำเร็จ นายพัฒนพงศ์ ขันทา ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ในส่วนของฝ่ายการผลิตของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีโครงการหลักที่ต้อง ติดตามความคืบหน้า คือโครงการโรงไฟฟ้าแม่เมาะทดแทนเครือ่ งที่ 8-9 ซึง่ ล่าสุด ฝ่ายสิง่ แวดล้อมโครงการ (อสค.) ได้นำ� ส่งรายงานการประเมินฯ ต่อส�ำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) เพือ่ พิจารณาตาม ขัน้ ตอนแล้ว โดย สผ. จะน�ำรายงานการประเมินฯ พร้อมข้อมูลภาพนิง่ และ วิดโี อ ประกอบต�ำแหน่งการก่อสร้างอุปกรณ์ องค์ประกอบ และสภาพแวดล้อม ปัจจุบนั ของโครงการฯ ทีถ่ กู ถ่ายท�ำไว้ไม่เกิน 30 วัน น�ำเสนอต่อคณะกรรมการ ผู้ช�ำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) ทัง้ นี้ หลังจากรายงาน EHIA ได้รบั ความเห็นชอบจาก คชก. แล้วจะมีการจัดเวที รับฟังความคิดเห็นอีก 1 ครัง้ โดยคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ซึง่ คาดว่าน่าจะจัดขึน้ ภายในกลางปี 2564 ก่อนน�ำไปประกอบกับรายงานฯ ที่ ผ ่ า นความเห็ นชอบจากคณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ (กก.วล.) เพือ่ น�ำเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมตั โิ ครงการต่อไป ทั้งนี้ ส�ำหรับการรักษาความมั่นคงในระบบการผลิตท่ามกลางวิกฤต การแพร่ระบาดของโควิด-19 ก็เป็นอีกหนึง่ ส่วนส�ำคัญทีต่ อ้ งมุง่ เน้น เนือ่ งจาก บริหารงานท่ามกลางการระบาดของโควิด-19 ถือเป็นประสบการณ์ใหม่ ส�ำหรับทุกองค์กร อย่างไรก็ตามทีผ่ า่ นมา กฟผ. สามารถจัดการได้ดีในเรือ่ ง ของมาตรการป้องกัน โดยเฉพาะได้รับความร่วมมืออย่างดีจากผู้ปฏิบัติงาน โดยพนักงานเดินเครื่องที่มีความส�ำคัญอย่างมากต่อระบบการผลิต แม้อาจ ต้องมาอยูใ่ น Safe Zone ท�ำให้หา่ งจากครอบครัวชัว่ คราว แต่ทกุ คนก็เข้าใจ และให้ความร่วมมือจนเราสามารถผ่านเหตุการณ์มาได้อย่างราบรื่น ทั้งนี้ ในปี 2564 ยังคงวางแผนรองรับการแพร่ระบาดทีอ่ าจเกิดขึน้ ระลอก 2 ได้อกี ซึง่ เรามีทงั้ แผนการเดินเครือ่ ง และแผนจัดการภาวะวิกฤต โดยน�ำความส�ำเร็จ และข้อบกพร่องจากปี 2563 มาปรับให้มีความรัดกุมมากยิ่งขึ้น มุ่งด�ำเนิน ตามเป้าหมายในการลดการสูญเสียก�ำลังการผลิต ลด Heat Rate และเพิม่ ค่าความพร้อมจ่าย เพราะโรงไฟฟ้าแม่เมาะถือเป็นขุมพลังงานไฟฟ้าหลัก ของภาคเหนือ

MY HOME MY POWER PLANT

7


MY

HOME MY POWER PLANT

MM-T1

ต้านแรงแผ่นดินไหวได้ถึง

6 ริกเตอร์ แผ่นดินไหวไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป ไม่กี่ปี ที่ผ่านมามีเกิดแผ่นดินไหวในโซนภาคเหนือหลายครั้ง ล่าสุดเมือ่ ต้นปี 2562 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ริกเตอร์ บริเวณ อ.วังเหนือ จ.ล�ำปาง และเคยเกิดขึน้ ทีจ่ งั หวัด ใกล้เคียงอย่างเชียงราย แรงสัน่ สะเทือนรูส้ กึ ได้ถงึ จังหวัด เชียงใหม่ ล�ำพูน ตลอดจนอาคารสูงบางแห่งในกรุงเทพฯ เลยทีเดียว กฟผ.ไม่เคยมองข้ามเรือ่ งนีจ้ งึ เตรียมพร้อมรับมือ หากเกิดเหตุการณ์จริง โดยออกแบบอาคารโรงไฟฟ้า พลังความร้อนแม่เมาะเครือ่ งที่ 1 (MM-T1) ให้สามารถ

ต้านแรงแผ่นดินไหว ในระดับ Zone2B ตามมาตรฐาน ว่าหากเกิดเหตุไม่คาดฝันขึน้ เหตุการณ์แผ่นดินไหวนัน้ Uniform Building Code-1997 (UBC-1997) ไม่กระทบต่อชุมชนและการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่าง ของประเทศสหรัฐอเมริกา มาตรฐานนี้ประเทศไทย แน่นอน กฟผ. คิดรอบคอบรองรับทุกสถานการณ์ น�ำมาประยุกต์เป็น มาตรฐานการออกแบบอาคาร **ความรุนแรงของแผ่นดินไหวตาม UBC-1997 ต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว โดยกรม แบ่งเป็น 6 Zone (0, 1, 2A, 2B, 3 และ 4) โยธาธิการและผังเมือง (มยผ.1301/1302-61) ซึ่งได้ ส�ำหรับ Zone 2B มีค่า Seismic Coefficients ก�ำหนดให้ภาคเหนือและภาคตะวันตกทั้งหมดอยู่ใน = 0.2 (รุนแรงที่สุดคือ Zone 4 = 0.4) Zone2B เนือ่ งจากบริเวณนีอ้ ยูใ่ นแนวรอยเลือ่ นทีม่ พี ลัง และมีศักยภาพที่จะท�ำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ข้อมูลจาก : หน่วยโยธา โครงการโรงไฟฟ้าทดแทน ในระดับ 5.5-6.0 ริกเตอร์ได้ รูอ้ ย่างนีแ้ ล้วมัน่ ใจได้เลย โรงไฟฟ้าแม่เมาะเครื่องที่ 4-7

EPM ที่อาจจะแปลว่า ข้อมูลเต็มเหนี่ยว ใช่ค่ะคุณผู้อ่าน! เราอยู่ในยุคสมัยที่ Big Data มีค่าดั่งทอง กฟผ. ก็เป็นเจ้าของคลังข้อมูลจ�ำนวน มหาศาล ค� ำ ถามคื อ องค์ก รจัดการข้อมูลนั้น อย่างไรให้ได้ประโยชน์ บอกต่อ..เรื่องใกล้ตัว มี อี ก หนึ่ ง ระบบที่ บ ริ ห ารข้ อ มู ล ได้ เ วิ ร ์ ก มากๆ มาบอกกัน นั่นก็คือ ระบบ EPM ระบบบริ ห ารประสิ ท ธิ ภ าพองค์ ก ร หรือ Enterprise Performance Management (EPM) แสดงผลบน URL ชือ่ http://epm.egat. co.th/ ในเวปจะมีข้อมูลหลัก อย่างการผลิต และความต้ อ งการไฟฟ้ า อั พ เดตทุ ก 5 นาที ค่ า ความพร้ อ มจ่ า ยของโรงไฟฟ้ า รายชั่ ว โมง และ System Generation แบบ real-time อีกความพิเศษของ EPM คือคุณผู้อ่านสามารถ เข้าถึงแหล่งข้อมูลและเว็บไซต์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

8

MY HOME MY POWER PLANT

ได้จากหน้าเว็บ EPM เพียงหน้าเดียว อย่างเช่น Social media ต่างๆของ กฟผ. เทรนด์ใน Twitter ทีเ่ กีย่ วกับ กฟผ. ราคาหุน้ บริษทั ในเครือ และอีกมากมาย หากยังไม่สาแก่ใจ เว็บยังมีข้อมูล HR เช่น จ�ำนวนพนักงานตามสังกัดโครงสาย ข้อมูล แผน PA งบท�ำการ งบลงทุน และอื่นๆ อีกเพียบ นอกจากข้ อ มู ล จุ ก ๆข้ า งบนแล้ ว หาก คุ ณ เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ 12 ยั ง มี สิ ท ธิ ใ ช้ ง าน Dashboard ที่ให้รวบรวมข้อมูลด้านการเงิน, Stakeholder, Learning and Growth, ข้อมูล ทางธุรกิจ, ความปลอดภัย ฯลฯ อ้อ ระบบนี้เป็น Intranet และแนะน�ำ ให้ใช้ Chrome เปิด เพราะจะแสดงผลหน้าจอ ได้เหมาะสมที่สุดเด้อ ข้อมูลจาก ฝ่ายจัดการพัฒนาระบบสารสนเทศ


คุณภาพอากาศแมเมาะ 25 กันยายน – 24 ตุลาคม 2563 อยูในเกณฑมาตรฐาน

หลายท่านอาจยังไม่ทราบว่านอกจากถ่านหินลิกไนต์ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง หลักแล้ว โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้ใช้นำ�้ มันดีเซลเป็นเชือ้ เพลิงเริม่ ต้นในขัน้ ตอนการจุดเตา เพือ่ เตรียมเดินเครือ่ งโรงไฟฟ้า (Start up) รวมไปถึงในการหยุดเดินเครือ่ งโรงไฟฟ้าจะ ต้องมีการเปลีย่ นการใช้เชือ้ เพลิงจากถ่านหินลิกไนต์เป็นน�ำ้ มันดีเซลทุกครัง้ จึงท�ำให้ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีคลังเก็บน�ำ้ มัน (Light Oil Storage Tank) ขนาดความจุถงั ละ 2 ล้านลิตร ทีอ่ อกแบบไว้ถงึ 6 ถัง ปัจจุบนั ยกเลิกการใช้งานถัง NO.1 และอยูร่ ะหว่าง ด�ำเนินการยกเลิกถัง NO.2 ท�ำให้เหลือถังน�ำ้ มันใช้งานจ�ำนวน 4 ถัง ส�ำหรับใช้งาน ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หน่วยที่ 8-13 และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแม่เมาะเครือ่ งที่ 1 ด้านมาตรการความปลอดภัยคลังน�ำ้ มันโรงไฟฟ้าแม่เมาะทีน่ อกจากมีแผน รองรับเหตุฉกุ บริเวณสถานีบริการน�ำ้ มัน / อาคารจัดเก็บน�ำ้ มันหล่อลืน่ และสารเคมี / Light Oil Storage Tank โดยได้จดั ฝึกซ้อมแผนรองรับเหตุฉกุ เฉินอัคคีภยั และ อพยพหนีไฟ ร่วมกับหน่วยงานภายนอกเป็นประจ�ำทุกปีแล้ว โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง คลังน�ำ้ มัน พ.ศ. 2556 โดยจัดให้มกี ารทดสอบและ ตรวจสอบถังน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงตามระยะเวลา ทุก 1 ปี และ 15 ปี พร้อมกันนีย้ งั ได้จดั ให้มกี ารตรวจสอบและทดสอบด้านความปลอดภัยของคลังน�ำ้ มัน อาทิ ระบบโฟม การตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าฝ่าของ คลังน�ำ้ มัน รวมไปถึงการจัดท�ำรายงานการประเมินความเสีย่ งคลังน�ำ้ มันทุกครัง้ ทีม่ ี การเปลีย่ นแปลงการใช้งานถังน�ำ้ มัน ส�ำหรับการทดสอบและตรวจสอบดังกล่าว เป็นหน้าทีข่ องหน่วยงานภายนอก ทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎกระทรวงก�ำหนดเป็นผูท้ ดสอบ โดยผลทีไ่ ด้จะส่งไปยังกรม ธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพือ่ ใช้ประกอบการพิจารณาออกใบอนุญาต ประกอบกิจการ คลังน�ำ้ มันต่อไป ท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ คลังน�ำ้ มันโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีการควบคุม ปฏิบตั ติ ามกฎหมายอย่างเข้มงวด และมีการตรวจสอบจากหน่วยงาน ภายนอกอย่างสม�ำ่ เสมอ ความปลอดภัยคลังน�้ำมันโรงไฟฟ้าแม่เมาะ - ปฏิบัติตามกฎกระทรวง คลังน�้ำมัน พ.ศ.2556 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ทดสอบและตรวจสอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิงตามวาระ ทุก 1 ปี / ทุก 15 ปี - ตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าฝ่าของคลังน�้ำมัน - ประเมินความเสี่ยงคลังน�้ำมันทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานถังน�้ำมัน การซ่อมบ�ำรุงรักษาตามวาระให้ด�ำเนินการทุก 1 ปี ทดสอบและตรวจสอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิงตามวาระ 1 ปี 1. ตรวจสอบโดยวิธีพินิจด้วยสายตา 2. ตรวจสอบการทรุดตัวของถัง 3. ตรวจสอบความเอียงของถัง 4. ตรวจวัดค่าความต้านทานสายดินของถัง ฯลฯ

การซ่อมบ�ำรุงครบวาระ ให้ด�ำเนินการตามระยะเวลา

ทุก 15 ปี ส�ำหรับคลังน�้ำมัน

การซ่อมบ�ำรุงครบวาระ หรือการซ่อมบ�ำรุงในกรณีที่มีเหตุอันอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคง แข็งแรงของถัง เช่น ไฟไหม้ อุบัติเหตุ

420 109

161 62

10

3

34

330

120

780

300

320

TSP/24 hr.

PM10/24 hr.

SO2/1 hr.

SO2/24 hr.

NO2/1 hr.

= ค าเฉลี่ยสูงสุดที่ได จากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/24 hr. PM10/24 hr. SO2/1 hr. SO2/24 hr. NO2/1 hr.

: : : : :

ฝุ นละอองรวม เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด เฉลี่ย 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด เฉลี่ย 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

ดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน พื้นที่บานพัก ผูปฏิบัติงาน และพื้นที่ชุมชน ดัชนีคุณภาพอากาศอยูในเกณฑ ดีมาก เหมาะสําหรับกิจกรรมกลางแจงและการทองเที่ยว

คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ เดือนตุลาคม 2563

ความเป น กรด-ด าง

5.5-9.0

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ไม เกิน

40 Cํ

ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)

ไม เกิน

5.0

ไม เกิน

7.92 30.8 0.96 1.55 6.60 ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน

สถานที่เก็บรักษาน�้ำมัน “สถานที่ที่ใช้ ในการเก็บน�้ำมันเชื้อเพลิง

: ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

คลังน�้ำมัน “สถานที่ที่ใช้ ในการเก็บน�้ำมันเชื้อเพลิง

: ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล ว ของโรงไฟฟ าแม เมาะ

ที่มีปริมาณไม่เกิน 500,000 ลิตร

ที่มีปริมาณเกิน 500,000 ลิตรขึ้นไป

20

ไม ได กําหนด

อยู ในเกณฑ ที่ดี*

*ปริมาณค าออกซิเจนที่ละลายในนํ้า (DO) ที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตในนํ้า ควรมีค าไม ตํ่ากว า 4 มิลลิกรัม/ลิตร MY HOME MY POWER PLANT

9


MY

HOME MY POWER PLANT

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะฯ เนื่องในวันปิยมหาราช 23 ตุลาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะ รัฐวิสาหกิจ และประชาชน ร่วมพิธีฯ เพื่อแสดงความจงรักภักดีและส�ำนึกใน เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สวรรคตพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทย ณ บริเวณ วันปิยมหาราช ประจ�ำปี 2563 มีหวั หน้าส่วนราชการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ลานหน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอแม่เมาะ จ.ล�ำปาง

โรงไฟฟ้าแม่เมาะจัดกิจกรรมรณรงค์ ความปลอดภัยในการท�ำงานฯ

16 ตุลาคม 2563 โรงไฟฟ้าแม่เมาะจัดกิจกรรมรณรงค์ความปลอดภัยในการ ท�ำงาน และลดอุบัติเหตุงานซ่อมบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หน่วยที่ 12 ณ อาคาร Workshop กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 3 เพือ่ กระตุน้ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน และลูกจ้างมีจิตส�ำนึกในการท�ำงานตามคู่มือความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยลดโอกาสการเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน ลดความสูญเสียด้านบุคคล ทรัพย์สนิ และระบบการผลิตของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

สผ. ลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามการปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมฯ EHIA 26 ตุลาคม 2563 ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) ลงพืน้ ทีต่ รวจติดตามการปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมโครงการขยายก�ำลังการผลิตโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ (MM-T1) ตลอดจนติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันฯ ของโครงการ เหมืองแร่ลิกไนต์แม่เมาะและ โครงการเหมืองแร่หินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมเคมีของ กฟผ. ส�ำหรับน�ำไปประกอบรายงาน น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการ ผูช้ ำ� นาญการพิจารณารายงาน ผลกระทบสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ (คชก.) พร้อมแลกเปลี่ยนข้อ เสนอแนะร่ ว มกั บ ผู ้ บ ริ ห าร กฟผ.แม่เมาะ ณ ห้องประชุม มุง่ งานเลิศ อาคารประชาสัมพันธ์ แม่เมาะ

10

MY HOME MY POWER PLANT

คปอส-ฟม. ตรวจเยี่ยม พืน้ ทีอ่ าคารโรงงานกอง บ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 4 20 ตุลาคม 2563 คปอส-ฟม. ตรวจเยีย่ มการปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัยในการ ท�ำงานพืน้ ทีอ่ าคารโรงงา กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 4 (หลังใหม่) จากนัน้ คณะฯ ได้สรุปผลการตรวจเยี่ยม ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งนี้ได้มีข้อเสนอแนะ เพิม่ เติม อาทิ ปรับปรุงระบบปรับอากาศภายในอาคารให้เป็นระบบรวมเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และให้ความรู้ความเข้าใจในการด�ำเนินงาน 5ส for Safety Mind แก่ผปู้ ฏิบตั งิ าน เป็นต้น โดยหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบได้รบั ข้อเสนอแนะไปด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ชฟฟ2. มอบรางวัล KSS ดีเด่น ประจ�ำเดือน มิถนุ ายน – กันยายน 2563 26 ตุลาคม 2563 นายอดิศกั ดิ์ กิจเจริญธนารักษ์ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า2 มอบรางวัลและเกียรติบัตรแก่ผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับรางวัลกิจกรรมปรับปรุง พัฒนางาน Kaizen Suggestion System (KSS) ดีเด่นประจ�ำเดือน มิถนุ ายน-กันยายน 2563 ซึง่ คณะท�ำงานส่งเสริมพัฒนากิจกรรมคุณภาพงาน โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้พิจารณากลุ่มที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกทั้งหมด 16 เรื่อง ได้แก่ ประเภทบ�ำรุงรักษาจ�ำนวน 9 เรือ่ ง และประเภทสนับสนุนจ�ำนวน 7 เรือ่ ง ณ ห้องประชุมแม่เมาะ (137) อาคารบริหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ


เชิดชู เกี ยรติ ห น้ า ด่ า นปราการส�ำคัญ ของ กฟผ.แม่ เ มาะ “พนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย ” ผู ้ เ ปรี ย บเสมื อ นหน้ า ด่ า นแรก ในการปกป้องดูแลทั้งชีวิตและทรัพย์สินขององค์กรมิให้ได้รับความเสียหาย โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของงาน รักษาความปลอดภัยเสมอมา ตามเจตนารมณ์ของพลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์

อดีตองคมนตรีผรู้ เิ ริม่ จัดตัง้ “วันรวมใจ รปภ. กฟผ.” ขึน้ ซึง่ ในปีนโี้ รงไฟฟ้าแม่เมาะ มีพนักงานรักษาความปลอดภัยเข้ารับใบประกาศเกียรติคณ ุ ฯ ประจ�ำปี 2562 ทั้งหมด 2 ท่าน ได้แก่ นายเกียรติพงษ์ ม่านสืบ และนายดนัย กันทะเขียว สังกัดแผนกรักษาความปลอดภัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ (หรปม-ฟ.)

นายดนัย กันทะเขียว กล่าวว่า “รู้สึกดีใจและ นายเกียรติพงษ์ ม่านสืบ กล่าวว่า “ครั้งนี้เป็น ภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับมอบใบประกาศเกียรติคุณฯ ครั้งแรกที่ได้รับจึงรู้สึกภูมิใจมาก และเชื่อว่าความตั้งใจ ในครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ขอขอบคุณผู้บริหาร กฟผ.แม่เมาะ ในการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งสุ ด ความสามารถจะน� ำ มา ที่ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านรักษาความปลอดภัย ซึ่งผลลัพธ์ที่ดีเสมอ ขอบคุณ กฟผ. ที่ท�ำให้เรามีขวัญ ให้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยหน้าที่รับผิดชอบต�ำแหน่ง และก� ำ ลั ง ใจในการพั ฒนาตนเองเพื่ อ ประโยชน์ ข อง หัวหน้ากะซึ่งมีรับผิดชอบค่อนข้างมากแต่สิ่งหนึ่งที่เราต้อง องค์กรและสังคม ส�ำหรับหน้าที่หลักของผมคืองาน ค�ำนึงถึงอยู่เสมอคือการท�ำประโยชน์เพื่อสังคมและชุมชน ดับเพลิงและกูภ้ ยั ทีต่ อ้ งลงพืน้ ทีช่ ว่ ยเหลือเหตุไฟไหม้ปา่ โดยรอบ หากเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ก็จะเข้าไปช่วยเหลือผู้บาดเจ็บและ หรือเหตุเพลิงไหม้ใกล้ย่านชุมชน ทุกครั้งที่เข้าไปปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าเล็กหรือ ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกผ่านศูนย์ รปม. ให้สามารถเข้าเผชิญ ใหญ่สิ่งที่ได้กลับมาคือความภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยอาชีพของผมเอง” เหตุการณ์ เช่น การระงับเหตุ หรือช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้อย่างทันท่วงที”

E

Enthusiasm for innovation น�ำด้วยนวัตกรรม

นางกนกวรรณ วิเศษทักษ์ ช่างระดับ 5 แผนกประสิทธิภาพระบบก�ำจัดก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กองปฏิบัติการระบบก�ำจัดก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ปัญหาในการท�ำงานเชื่อว่าทุกคนเคยสัมผัสไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ อยู่ที่เราจะใช้วิธีการใดจัดการแก้ปัญหานั้นๆ ส่วนตัวท�ำงานในแผนก ประสิทธิภาพระบบก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีหน้าที่รวบรวมข้อมูล การเดินเครื่องก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือ FGD ของโรงไฟฟ้า แม่เมาะ เครือ่ งที่ 8-13 ให้หน่วยงานและบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ บ่อยครัง้ ที่ เกิดปัญหาระหว่างทางในการท�ำงานทัง้ ขัน้ ตอนการจัดส่งข้อมูล โปรแกรม การประมวลผล ฯลฯ ซึ่งต้องใช้เครื่องมือ และวิธีการที่แตกต่างกันไป ในการแก้ปัญหา จึงน�ำหลักค่านิยม น�ำด้วยนวัตกรรม E-Enthusiasm for innovation มาปรับใช้ในการท�ำงาน ด้วยการพยายามศึกษาข้อมูล เทคโนโลยี โปรแกรมใหม่ๆ ที่สามารถรองรับขั้นตอนการท�ำงานได้ กล้ า ที่ จ ะลองผิ ด ลองถู ก และเปิ ด รั บ สิ่ ง ใหม่ เ พื่ อ ให้ ง านออกมามี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร

7-29 พฤศจิกายน (ทุกเสาร์-อาทิตย์) 2563 กฟผ.แม่เมาะ จัดงาน “เทศกาลท่องเที่ยวแม่เมาะ ครั้งที่ 16” ประจ�ำปี 2563 เปิดบ้านต้อนรับนักท่องเที่ยวจัดกิจกรรมสร้างสุข และความสนุ ก แก่ ผู ้ ม าเยื อ น อาทิ ดนตรี ใ นสวน, ย�่ ำ ค�่ ำ ดู ด าว ตื่นเช้าดูนก, การแสดงโชว์วิหคสายฟ้า, โชว์นกสวย, การแข่งขันตอบ ปัญหาพลังงาน, การแข่งขันดนตรีของเยาวชน, ชมทุ่งดอกบัวตอง และดอกไม้นานาพันธุ์ที่บานชูช่อ นอกจากนั้นยังมีทุ่งดอกไม้ LED ที่สว่างไสวเต็มท้องทุ่งยามค�่ำคืน ณ บริเวณสวนพฤกษชาติ และ สวนเฉลิมพระเกียรติฯ (ทุ่งบัวตอง)

MY HOME MY POWER PLANT

11


8

9

T1

2565

10 11 12 13

T1

2567

T1

2569

2570

T1

MMRP2 (ทดแทน MM-T8-9) COD ม.ค. 2569 (+660 MW) 12 13

2568

T2

2571

2572

ตามแผน PDP2018 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1

9

2566

2573

กําลังผลิตกระแสไฟฟาของโรงไฟฟาแมเมาะ ชวงป 2564-2573

10 11 12 13

2564

อานรายละเอียดแผน PDP 2018 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1

1,315 MW

ม.ค. 2569 ปลด MM-T12-13 ออก (-600 MW)

กําลังการผลิตติดตั้ง

1,255 MW

ม.ค. 2568 ปลด MM-T9-11 ออก (-900 MW)

2,155 MW

ม.ค. 2565 ปลด MM-T8 ออก (-300 MW)

2,455 MW

ขอมูลใชสําหรับประกอบการบริหารงานภายในโรงไฟฟาแมเมาะเทานั้น

กฟผ.แม เมาะ

http://maemoh.egat.co.th

กฟผ.แม เมาะ

@maemoh.powerplant

Maemoh.egat.com/hellomaemoh

054 252 734

maemohnews@egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.