My Home My Power Plant 05-2563

Page 1

สรรสรางความสุข พรอมเคียงขางคนไทย

วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ

ป ที่ 26 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563


MY

HOME MY POWER PLANT

New Normal กลายเปนคําใหมทไี่ ดยนิ กันบอยในชวงการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยความหมาย ทีแ่ ทจริงของ New Normal คือการใชชวี ติ แบบใหมทไี่ มเคยเกิดขึน้ มากอนหนานี้ และจะกลายเปนเรือ่ งปกตินบั จากนี้ ซึง่ นับตัง้ แตเกิดการระบาด ของโควิด-19 โรงไฟฟาแมเมาะของเราไดกําหนดมาตรการการปองกันและควบคุมที่หลากหลาย โดยเนนการเวนระยะหางทางกายภาพ (Physical Distancing) และยังดําเนินมาอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน โดยถือเปนแนวทางสําคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรูปแบบ การใชชีวิตใหม เพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสและการแพรกระจายเชื้อ 2 m.

2 m.

เลี่ยงการอยูในที่คนหนาแนน และควรเวนระยะหางกับผูอื่นอยางนอย 2 เมตร

ตรวจวัดอุณหภูมิรางกายเสมอ หากพบวามีไข หรือมีอุณหภูมิเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ควรไปพบแพทย

ใสหนากากอนามัยหรือหนากากผาทุกครั้งเมื่อออกจากบาน และทิ้งในถังขยะสําหรับหนากากอนามัยโดยเฉพาะ

เวนระยะหางในการใชลิฟต โดยยืนในตําแหนงที่แนะนําในลิฟต

พกเจลอนามัยติดตัวอยูเสมอ และลางมือดวยสบูบอยๆ

การใชรถบริการและรถกะ ควรจํากัดผูใชบริการเพื่อรักษาระยะหาง

บทบรรณาธิการ

แม้จะเริ่มเข้าสู่ฤดูฝนแล้ว แต่หลายพื้นที่ยังประสบกับปัญหาภัยแล้ง ขาดแคลนน�้ำในการอุปโภคบริโภค ตลอดจนท�ำการเกษตร โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ที่ต้องใช้น�้ำในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจึงต้องมีการบริหารจัดการที่ดี และช่ ว ยกั น ใช้ น�้ ำ อย่ า งประหยั ด และรู ้ คุ ณ ค่ า เพื่ อ ให้ มี น�้ ำ ใช้ อ ย่ า งเพี ย งพอ และแบ่ ง ปั น น�้ ำ ไปช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชนได้ ต ลอดช่ ว งแล้ ง นี้ ไม่ เ พี ย งแค่ นั้ น โรงไฟฟ้าแม่เมาะยังคงต้องตั้งการ์ดอย่างต่อเนื่องในการป้องกันและควบคุม การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่แม้จะมีทิศทางที่ดีขึ้น แต่พวกเรายังคงต้อง ปรั บ ตั ว ให้ คุ ้ น ชิ น กั บ วิ ถี ชี วิ ต แบบ New Normal รั ก ษาระยะห่ า งในสั ง คม เพื่อป้องกันการระบาดระลอกสอง ให้ทุกคนด�ำเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัยและ ก้าวผ่านทุกวิกฤตไปได้ด้วยกันอีกครั้ง

บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

2

MY HOME MY POWER PLANT

วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY

พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล


การประชุมในสํานักงาน ใหนั่งที่เวนที่ในหองประชุม หรือเลือกประชุมผาน การสื่อสารทางไกล

จัดพื้นที่เวนระยะหางในการรับบริการ ในโรงอาหาร ทั้งการยืนรอคิว และจํานวนคนนั่งในแตละโตะ

ปฏิบัติตามขั้นตอน ในการเขารับบริการ ตามที่สถานพยาบาล กําหนดอยางเครงครัด

ปดฝาชักโครกกอนกดชักโครกทุกครั้ง เพื่อปองกันการฟุงกระจายของเชื้อโรค

โรงอาหารใหม่

สะดวก สบาย อนุรักษ์พลังงาน

โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีโรงอาหารหลักอยู่ 3 แห่งคือ โรงอาหารกลาง โรงอาหาร ริมรัว้ และโรงอาหารชัว่ คราว (ใกล้กบั อาคาร workshop กองโยธา) ทีม่ สี ภาพ ค่อนข้างเก่า โดยผูบ้ ริหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้เห็นความส�ำคัญของการกินอยูท่ ดี่ ี ของชาวโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จึงเกิดโครงการปรับปรุงโรงอาหารทั้งสองแห่ง ให้สะอาด สะดวกสบาย เป็นไปตามสุขลักษณะทีถ่ กู ต้อง โดยโรงอาหารกลางจะมี การเพิม่ ส่วนพืน้ ทีห่ อ้ งปรับอากาศทีโ่ รงอาหารกลางทีร่ องรับผูใ้ ช้บริการได้ 100 คน จะเริม่ ด�ำเนินการปรับปรุงในปี 2564 และก�ำลังด�ำเนินการสร้างอาคารนันทนาการ

โรงอาหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ บริเวณพืน้ ทีร่ ะหว่างตึกเขียวและอาคารเคมี ออกแบบ โดยทีมสถาปนิก หมวดวิชาการ ส่วนกลางกองโยธาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ แบ่งพืน้ ทีเ่ ป็น สองส่วนคือ ด้านบนเป็นห้องจัดเลีย้ งสัมมนา และด้านล่างเป็นโรงอาหารทีส่ ามารถ รองรับผูม้ าใช้บริการได้ถงึ 300 คน มีการน�ำ solar roof top มาใช้เป็นระบบ พลังงานเสริมในอาคาร การท�ำแผงต้นไม้แนวตัง้ เพือ่ ช่วยกรองแสง ตลอดจนติดตัง้ ฉนวนกันความร้อนใต้หลังคา จึงท�ำให้อาคารนีเ้ ป็นอาคารส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงานแห่งแรกในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปีนี้ MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าที่รายล้อมไปด้วยต้นไม้และผืนป่า โรงไฟฟ้าแม่เมาะค�ำนึงถึงความอุดม สมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมที่ต้องดูแลควบคู่กับ งานด้านผลิตกระแสไฟฟ้า ในแต่ละปีจึงมี แผนการด�ำเนินงานเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวปลูกต้นไม้ นานาพันธุ์บนพื้นที่โดยรอบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ท� ำ ให้ ที่ แ ห่ ง นี้ เ ต็ ม ไปด้ ว ยต้ น ไม้ น ้ อ ยใหญ่ ที่ สร้างความร่มรื่นและงดงามตา นอกเหนือ จากการปลูกต้นไม้ตามสถานที่ต่างๆโดยรอบ โรงไฟฟ้าแม่เมาะแล้ว ตลอดระยะเวลา 10 ปี ทีผ่ า่ นมา ยังได้ปลูกป่าผ่านกิจกรรมปลูกต้นไม้ เฉลิมพระเกียรติ และวันต้นไม้ประจ�ำปีไปแล้ว กว่า 10,000 ต้น ซึง่ ในปี 2563 นี้ ยังได้ตงั้ เป้า ปลูกต้นไม้ที่มีดอกไม้สีเหลืองกว่า 800 ต้น เพือ่ เพิม่ ความสวยงามให้พนื้ ทีโ่ ดยรอบโรงไฟฟ้า แม่เมาะอีกด้วย ห่างจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะไปประมาณ 10 กิโลเมตร กฟผ.แม่เมาะ ได้รว่ มกับชุมชน

ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ท�ำโครงการอนุรักษ์และ พืน้ ฟูปา่ ต้นน�ำ้ ห้วยคิงตอนบน ระหว่างปี 25602565 ทีม่ พี นื้ ทีถ่ งึ 5,117 ไร่ ให้เกิดความอุดม สมบูรณ์ คืนสมดุลสูธ่ รรมชาติ ด้วยการร่วมกัน ปลูกป่า สร้างฝายชะลอน�้ำ เฝ้าระวังการเกิด ไฟป่า ตลอดจนส่งเสริมให้ชมุ ชนรักษ์ปา่ จนเกิด เป็นแหล่งอาหารที่ส�ำคัญส�ำหรับชุมชนรอบ ป่าต้นน�ำ ้ ระยะเวลา 3 ปี ที่ กฟผ.แม่เมาะ และ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันรักษา ผืนป่าแห่งนี้ ท�ำให้ปีน้ีไม่เกิดไฟป่า และพบ สัตว์ปา่ เช่น เสือไฟ กระต่ายป่า เต่าดอย ปูหว้ ย และนกยูง ถือเป็นผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ใน การร่วมแรงร่วมใจช่วยกันเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวและ เพิ่มพื้นที่ป่าใน อ.แม่เมาะ นอกจากนั้นแล้ว ป่าต้นน�้ำห้วยคิงตอนบนยังเป็นจุดเช็คอินที่มี ผู้คนนิยมมาถ่ายภาพกับธรรมชาติโพสต์ลงใน โลกโซเซียลกันเป็นจ�ำนวนมากอีกด้วย

ต้นไม้ที่เพิ่มขึ้นบนพื้นที่ป่าต้นน�้ำ ห้วยคิงตอนบน

บันทึกเลขกิโลเมตรรถยนต์ แบบ Paperless ด้วย QR Code ผลงานเรื่อง “การลงเลขกิโลเมตรรถยนต์ กฟผ. ก่อนน�ำไปใช้งาน ประจ�ำวันด้วย QR Code” เป็นหนึ่งในงานปรับปรุงพัฒนางาน (Kaizen Suggestion System : KSS) ดีเด่นประเภท KSS OFFICE ประจ�ำเดือน มีนาคม 2563 ของแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โดยมี นายไพโรจน์ พันแสง นต.7 หปชม-ฟ. เป็นหัวหน้ากลุ่ม พร้อมด้วยสมาชิกในแผนกจ�ำนวน 9 คน โดยน�ำ QR Code มาปรับใช้ให้เกิดความสะดวก อีกทั้งข้อมูลมีความ เที่ยงตรง และสามารถเช็คตัวเลขการใช้งานได้ตลอดเวลา นายไพโรจน์ พันแสง หัวหน้ากลุม่ กล่าวว่า จากปัญหาผูใ้ ช้งานหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายในการควบคุมการใช้งานรถยนต์ กฟผ. ไม่ได้เขียนเลข กิโลเมตร ก่อนใช้งานในแต่ละวัน เนื่องจากหาแบบฟอร์ม รวห-พน.1 ในรถ ไม่เจอ เกิดการสูญหาย หรือไม่มีปากกา ไม่สามารถเขียนเลขกิโลเมตรลงใน แบบฟอร์ม ท�ำให้ไม่สามารถสรุปตัวเลขกิโลเมตรการใช้งานรถยนต์ กฟผ. ได้ กลุ่มจึงได้ปรับปรุงการท�ำงานโดย สร้างแบบฟอร์มส�ำหรับลงทะเบียนเพื่อ กรอกตัวเลขกิโลเมตรและรายชื่อผู้ใช้รถลงในโปรแกรม Google Sheets จากนั้นแปลงแบบฟอร์มลงทะเบียนเป็น QR Code น�ำไปติดประจ�ำรถยนต์ กฟผ. โดยผูใ้ ช้งานต้องสแกน QR Code เพือ่ กรอกข้อมูล ซึง่ ไฟล์จะถูกบันทึก ไว้ที่ Server ของ Google จากการทดลองใช้งานพบว่าท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานใน แผนกสามารถเข้าถึงแบบฟอร์มได้สะดวก การบันทึกข้อมูลไม่คลาดเคลื่อน สามารถรายงานผลการใช้รถยนต์ กฟผ. ได้งา่ ย รวดเร็ว อีกทัง้ ยังช่วยลดความ ซ�้ำซ้อนในการเก็บข้อมูลและลดการใช้กระดาษอีกด้วย

4

MY HOME MY POWER PLANT


พร้อมเคียงข้างคนไทยทุกวิกฤต การด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน หรือ CSR เป็นอีกหนึ่งภารกิจที่ กฟผ. ให้ความส�ำคัญไม่น้อยไปกว่าการ รักษาความมัน่ คงในระบบการผลิต ตลอดระยะเวลา 51 ปี กฟผ. คงจะ เติบโตไม่ได้หากขาดสัมพันธ์อันดีกับชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม รอบข้าง เสมือนเป็นเพื่อนบ้านที่ต้องถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน เสมอมา เช่นเดียวกับ กฟผ.แม่เมาะ ทีค่ อยสนับสนุนและอยูเ่ คียงข้าง ชุมชนใน อ.แม่เมาะ และ จ.ล�ำปาง ในยามวิกฤต ไม่ว่าจะน�้ำท่วม ไฟป่า และภัยแล้ง ล่าสุดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 กฟผ.แม่ เ มาะ ได้ เ ข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มสนั บ สนุ น ทั้ ง อุ ป กรณ์ แ ละ งบประมาณ ให้กับหน่วยงานภายในจังหวัดล�ำปาง และอ�ำเภอ แม่เมาะ โดยน�ำทรัพยากรภายในองค์กรมาสร้างสรรค์สงิ่ ประดิษฐ์และ ใช้พลังจิตอาสามาเป็นส่วนสนับสนุนงาน เช่น ความรู้ด้านวิศวกรรม น�ำมาผลิตแท่นกดเจลอนามัย กล่องอะคริลิกป้องกันละอองฝอย และตู ้ เ ก็ บ สิ่ ง ส่ ง ตรวจความดั น บวกและลบ การรวมก� ำ ลั ง พล จิตอาสาร่วมผลิต Face Shield และออกเดินสายมอบให้กับชุมชน การอุดหนุนร้านอาหารภายในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการ ควบคุมและป้องกันโควิด-19 เพือ่ น�ำข้าวกล่องไปมอบให้กบั บุคลากร ทางการแพทย์ในจังหวัดล�ำปาง และมอบถุงน�้ำใจ กฟผ.แก่ชุมชน และหน่วยงานที่ได้รับความเดือดร้อน ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่ รองรับการกักกันตัวแก่ประชาชน ทุกกิจกรรม ทุกโครงการ ทุกการ สนับสนุนแสดงให้เห็นถึงความใส่ใจของ กฟผ.แม่เมาะ ที่พร้อมจะ ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน ยืนหยัดเคียงข้างประชาชน ในทุกวิกฤตสถานการณ์ ให้องค์กรได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ สังคมชุมชนอันจะเป็นก�ำลังสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาประเทศ ไปพร้อมๆ กับก้าวที่มั่นคงของ กฟผ. ตลอดไป

MY HOME MY POWER PLANT

5


MY

กฟผ. สู้ภัยแ

HOME MY POWER PLANT

เน้นรักษาระบบการผลิต พร้อมแบ่ง ้ําวัง แม่น

อําเภอเกาะคา

แม ่น

ํา้ ว

ัง

ฝายสบจาง

ฝายแม่หลง

ฝายวังพร้าว ฝายบ้านต๋อ

ฝายสบทะ

แม

่นาํ้

วัง

ฝายบ้านหนอง

ฝายสบเป๊าะ

ฝายนากว้าว

ฝายนํ้าโท้ง

กฟผ.แม่เมาะ มีอ่างเก็บน�้ำขนาดใหญ่ส�ำหรับใช้ในกระบวนการ ผลิตกระแสไฟฟ้าอยู่ 2 แหล่งคือ เขื่อนแม่จางมีปริมาณกักเก็บปกติ 102.118 ล้านลูกบาศก์เมตร และเขื่อนแม่ขามมีปริมาณกักเก็บปกติ 35.843 ล้านลูกบาศก์เมตร จากข้อมูลล่าสุด (31 พฤษภาคม 2563) ปริมาณน�้ำใน 2 เขื่อนใหญ่ ของ กฟผ.แม่เมาะ มีปริมาณน�้ำที่ใช้การได้ คิดเป็น 28.37% และ 17.31% ตามล�ำดับ ล่าสุด คณะท�ำงาน บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน�้ ำ โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ(คทน-ฟม.) น� ำ โดย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้ประกาศสถานการณ์

6

MY HOME MY POWER PLANT

ภาวะภั ย แล้ ง เข้ า สู ่ ร ะดั บ ที่ 2 ที่ ต ้ อ งรณรงค์ ใ ห้ ทั้ ง โรงไฟฟ้ า และ ชุมชนร่วมมือประหยัดน�้ำ พร้อมให้มีการติดตามระดับน�้ำอย่างใกล้ชิด โดยการวางแผนบริหารจัดการน�้ำของคณะฯ ได้น�ำข้อมูลน�้ำย้อนหลัง มาค�ำนวณปริมาณกักเก็บและวางแผนการกักเก็บน�้ำให้เพียงพอใช้งาน ตลอดปี อีกทั้งยังมีการปรับเปลี่ยนช่วงเวลาการหยุดซ่อมโรงไฟฟ้า เพื่อลดปริมาณการใช้น�้ำส�ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าในช่วงฤดูแล้ง และตรวจสอบระบบประปาภายในโรงไฟฟ้ า ซ่ อ มแซมหากมี การ รั่วไหล เพื่อลดการสูญเสียน�้ำโดยไม่จ�ำเป็น


แล้ง

อ่างท่าสี ความจุ 0.99 ล้าน ลบ.ม.

งปันนํ้าแก่ชุมชน

อ่างห้วยหลวง ความจุ 3.11 ล้าน ลบ.ม.

อ่างแม่ขาม ความจุ 35.54 ล้าน ลบ.ม.

อ่างแม่จาง ความจุ 102.78 ล้าน ลบ.ม. ห้วยทราย ความจุ 1.65 ล้าน ลบ.ม. ห้วยคิงตอนบน ความจุ 1.56 ล้าน ลบ.ม.

นํ้าจากอ่างแม่จาง ไหลผ่าน 17 ฝาย ในอําเภอแม่เมาะ อําเภอแม่ทะ และอําเภอเกาะคา ฝายข่วงม่วง

ห้วยเป็ด ความจุ 1.20 ล้าน ลบ.ม.

ห้วยคิงตอนล่าง ความจุ 1.48 ล้าน ลบ.ม.

โรงไฟฟ้า อ่างแม่เมาะ ความจุ 0.99 ล้าน ลบ.ม.

ฝายสบจาง ฝายสบเติ๋น

ฝายสบเมาะใหม่ ฝายสบป้าดใหม่ ฝายสบป้าด ฝายสบเมาะ ฝายหัวเสือ

ฝายปงป่าเป้า

ฝายบ้านก้อม

นอกเหนือจากการส�ำรองน�้ำส�ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว โรงไฟฟ้าแม่เมาะยังมีแผนรองรับการช่วยเหลือชุมชนท้ายน�้ำและ ชุมชนอื่นๆ ที่ร้องขอ โดยตั้งแต่ปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ได้ปล่อยน�้ำ ให้แก่ชุมชนไปแล้วกว่า 22.69 ล้านลูกบาศก์เมตร (ข้อมูลเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563) เข้ า สู ่ ล� ำ น�้ ำ จางผ่ า นชุ ม ชน 7 ชุ ม ชนใน อ.แม่เมาะ สิ้นสุดปลายทาง อ.เกาะคา ระยะทางกว่า 80 กิโลเมตร โดยตลอดล�ำน�้ำชุมชนจะมีฝายคอยกักเก็บน�้ำไว้ใช้ถึง 17 ฝาย สามารถ สูบน�้ำไปใช้ในการเกษตร อุปโภคบริโภคได้ตลอดทั้งปี นอกจากนั้น คทน-ฟม. ยังมีแผนสูบน�้ำจากเขื่อนแม่ขามเข้าเขื่อนห้วยคิงตอนล่าง เพื่ อ ส� ำ รองไว้ ใ ช้ ส� ำ หรั บ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าคอ� ำ เภอแม่ เ มาะ

กรณี ที่ น�้ ำ จากเขื่ อ นห้ ว ยคิ ง ตอนบนหมด ตลอดไปถึ ง จั ด ท� ำ แผน น� ำ รถบรรทุ ก น�้ ำ สะอาดส� ำ หรั บ เติ ม น�้ ำ ในระบบประปาหมู ่ บ ้ า น หรือถังเก็บน�้ำของชุมชนทุกหมู่บ้านของ อ.แม่เมาะ ไว้ตลอดทั้งปี และมีเตรียมจุดให้บริการเติมน�้ำส�ำหรับรถน�้ำของหน่วยงานท้องถิ่น รอบๆ กฟผ.แม่เมาะ ไว้ในบริเวณบ้านพักผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ โดยจะมีนักวิทยาศาสตร์จากกองเชื้อเพลิงถ่านและน�้ำ ฝ่ายการผลิต โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ ตรวจวั ด คุ ณ ภาพน�้ ำ และท� ำ ความสะอาดระบบ กรองทุกอาทิตย์ เพื่อให้มั่นใจว่าน�้ำที่ส�ำรองไว้ให้จะสะอาด ปลอดภัย เป็นไปตามมาตรฐานส�ำหรับอุปโภคบริโภค

MY HOME MY POWER PLANT

7


MY

HOME MY POWER PLANT

หุ ่ น ยนต์ ฉี ด น�้ ำ แรงดั น สู ง เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพก� ำ จั ด Slag

โครงการการพั ฒ นาระบบท� ำ ความสะอาดผนั ง หม้ อ น�้ ำ ด้ ว ยอุ ป กรณ์ ฉีดแรงดันสูงแบบอัตโนมัติ เป็นความร่วมมือระหว่าง อรม. กับ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สามารถพัฒนาหุน่ ยนต์ฉดี น�ำ้ แรงดันสูงทีร่ าคาถูกกว่าสัง่ จากต่างประเทศ ตัวละ 500,000 บาท ลดต้นทุนได้ถงึ 50% เหลือเพียงตัวละ 250,000 บาท ทีม่ าของการพัฒนาหุน่ ยนต์ฉดี น�ำ้ แรงดันสูง เนือ่ งจาก Slag ซึง่ เป็นปัญหา ส�ำคัญอย่างมากของการท�ำงานในโรงไฟฟ้า มีระบบก�ำจัด Slag ชือ่ Water Cannon เป็นการท�ำความสะอาด Slag ในพืน้ ทีก่ ว้างและมีประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ดี ระบบ Water Cannon กลับท�ำงานได้ไม่มปี ระสิทธิภาพเท่าทีค่ วร Sensor ทีใ่ ช้ในการ ตรวจวัดปริมาณ Slag เสียง่าย และมีจดุ ทีใ่ ช้การไม่ได้อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก และต้อง สัง่ ซือ้ จากต่างประเทศในราคาสูงถึง 500,000 บาทต่อตัว อีกทัง้ ท�ำให้ผคู้ วบคุมเตา

ในราคาครึ่งเดียว

ไม่เชือ่ มัน่ ในการท�ำงาน จึงเป็นทีม่ าของการพัฒนาหุน่ ยนต์ฉดี น�ำ้ แรงดันสูง ซึง่ ทดลอง ติดตัง้ ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หน่วยที่ 11 ได้มกี ารออกแบบและวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม ทางวิศวกรรม เพื่อจ�ำลองการท�ำงานของ Sensor ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทนความร้อน และมีความละเอียดสูง มีการเคลือ่ นไหวทีแ่ ม่นย�ำมากกว่า ซึง่ พบว่า การท�ำงานของอุปกรณ์ใหม่นั้นท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีราคาที่ ถูกกว่าครึ่ง และยังสามารถผลิตขึ้นได้ในประเทศอีกด้วย ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอน การติดตัง้ และขยายผลน�ำไปใช้งานจริง ในปี 2562 ทีผ่ า่ นมา ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จัดท�ำโครงการวิจยั เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของอุ ป กรณ์ มีการท�ำโครงการวิจยั ไปแล้ว 5 โครงการ ช่วยลด ต้นทุนได้กว่า 50 ล้านบาทเลยทีเดียว

“ECM” ก�ำลังจะท�ำให้ทุกอย่าง กลายเป็นเรื่องง่าย! ใครจะปฏิเสธบ้างว่าความใหญ่มหึมาของข้อมูล กฟผ. มากล้น จนร้องจุก แหล่งที่เก็บข้อมูลก็หลากหลาย ทับซ้อน ซ่อนไฟล์ ทั้งเก็บใน EGAT Cloud ใส่ไว้ใน Web แชร์ไว้ใน Network Folder หรือแม้กระทั่งในคอมพิวเตอร์ส่วนตัว แต่พอจะ หาข้อมูลที กลับเหมือนงมเข็มในมหาสมุทร พอกันที! ECM* เกิดมาเพื่อสิ่งนี้จ้า ECM หรือระบบบริหารจัดการข้อมูลองค์กรแบบดิจิทัลนี้ รวห. เปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ ไปเมื่อต้นปี ระบบนี้จะเข้ามาจัดการกับข้อมูลทั่วทั้ง กฟผ. เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่าย ลดความซ�้ำซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพงานแทบทุกอย่าง เตรียมพร้อมรับการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงลึก เสริมความปลอดภัยให้ข้อมูล และอื่นๆ อีกมากมาย เอาเป็นว่า ECM ท�ำอะไรได้หลายอย่าง ล่าสุด น�ำร่องด้วยการเปิดประเดิมด้วยเรือ่ งใกล้ตวั คุณผูอ้ า่ นทุกคน อย่างระบบ การท�ำบันทึกผ่าน ECM ทีท่ ำ� เอา Infoma ต้องตกกระป๋อง เพราะใช้แล้ว เขียนเอกสารง่าย ส่งง่าย ตรวจง่าย แก้ง่าย ติดตามง่าย ปลอดภัย ไม่ใช้กระดาษ ชีวิตดี๊ดี!!!! เกริ่นไว้เบาๆ เท่านี้ก่อน ฉบับหน้าจะมาบอกต่อวิธีการท�ำบันทึกผ่าน ECM ที่ง่ายสุดๆ ไปเลย

8

MY HOME MY POWER PLANT

*ECM (Enterprise Content Management) = ระบบบริหารจัดการข้อมูลองค์กร ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ECM ได้ทาง ecminfo.egat.co.th เข้าไปท�ำบันทึกได้ทาง ecm.egat.co.th


คุณภาพอากาศแมเมาะ คาเฉลีย่ เดือนเมษายน - พฤษภาคม 2563 พบปริมาณฝุนเกินเกณฑมาตรฐาน 4 วัน แผนกความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน ฝายการผลิตโรงไฟฟาแมเมาะ ปรับแผนการทํากิจกรรมที่ตองรวมกลุม ของบุคคล เนือ่ งจากสถานการณแพรระบาดของ (COVID – 19) โดยในสวน ของแผนปฏิบัติการดานความปลอดภัยอาชีวนามัยฯ โรงไฟฟาแมเมาะ ยังคงเดินหนาตามเปาหมายเดิม คือ Zero Accident, Zero loss ทีต่ อ งการ ใหอบุ ตั เิ หตุจากการทํางาน, อุบตั เิ หตุจากเครือ่ งจักรอุปกรณ และอุบตั เิ หตุ จากเครื่องจักรกล ยานพาหนะ เปนศูนย และไดกําหนดมาตรการปองกัน และควบคุมการแพรระบาดของ COVID-19 (Zero COVID-19) เพิม่ เติมดังนี้

420 191

161

24

5

120

330

120

780

300

320

TSP/day

PM10/day

SO2/hr.

SO2/day

NO2/hr.

= ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.

ปรับเปลีย่ นเปน การสือ่ สารผานระบบออนไลน และ Work from home

งดจัดกิจกรรม การประชุม การชุมนุมขนาดใหญ หรือการรวมตัวกันของคนจํานวนมาก

งดการจัดกิจกรรมที่ตองรวมตัวกันของคนจํานวนมาก อาทิ งดจัดกิจกรรมรณรงคความปลอดภัย โดยปรับเปลีย่ นไปใชการสือ่ สาร ผานทาง E-mail หรือ สือ่ ออนไลน รวมทัง้ เลือ่ นการจัดฝกอบรมออกไป ปฏิบัติตามมาตรการที่หนวยงานราชการกําหนดอยางเขมงวด - คัดกรองวัดอุณหภูมิ ผูปฏิบัติงาน ลูกจาง หากพบมีอุณหภูมิสูงตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียส ใหพบแพทยทันที - ควบคุมใหผูปฏิบัติงาน ลูกจาง สวมใสหนากากอนามัย - เวนระยะหางทางสังคม - งดเวน หรือเลือ่ นการจัดอบรม สัมมนา หรือจัดกิจกรรมทีม่ คี นมารวมตัว กันเปนจํานวนมาก - ผูป ฏิบตั งิ านทีต่ อ งการเดินทางขามเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดลําปาง ใหแจงผูบ งั คับบัญชา เหนือลําดับชัน้ พรอมจัดทํารายงาน Timeline อยางละเอียด และนําสง เมื่อกลับมายังจังหวัดลําปางทันที ตลอดจนสังเกตอาการตนเอง 14 วัน หากพบวามีไขใหไปพบแพทยทันที - ลูกจางที่เดินทางขามเขตพื้นที่เขามา จ.ลําปาง ตองผานการคัดกรอง ณ ดานตรวจการเดินทางขามพื้นที่ใน จ.ลําปาง และใหจัดทํารายงาน Timeline หากเขามาพักอาศัยในพืน้ ที่ พรอมสังเกตอาการตัวเอง 14 วัน ขอมูล ณ วันที่ 2 มิถนุ ายน 2563 ทัง้ นีเ้ มือ่ ตนเดือนพฤษภาคมทีผ่ า นมาโรงไฟฟาแมเมาะ ไดผอ นปรน จุด Safe Zone อยางไรก็ตามผูปฏิบัติงานทุกหนวยงานยังคงตองปฏิบัติ ตามมาตรการเฝาระวังปองกันและควบคุมการแพรระบาดโรคติดเชื้อ "COVID-19" อยางเครงครัด จนกวาสถานการณจะเขาสูภาวะปกติ

: : : : :

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

สําหรับดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และ พื้นที่ชุมชนคุณภาพอากาศอยูในเกณฑ เริ่มมีผลกระทบตอสุขภาพ ประชาชนทัว่ ไปควรเฝาระวังสุขภาพ หลีกเลีย่ งการทํากิจกรรมกลางแจง ผูที่ตองดูแลสุขภาพเปนพิเศษควรใชอุปกรณปองกันตนเอง หากมี อาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย

คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ คาเฉลี่ยเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2563

ความเป น กรด-ด าง

5.5-9.0

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ไม เกิน

40 Cํ

ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)

ไม เกิน

5.0

ไม เกิน

20

ไม ได กําหนด

7.94 32.1 1.99 1.33 6.53 ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน

ผ าน

: ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม : ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล ว ของโรงไฟฟ าแม เมาะ MY HOME MY POWER PLANT

9


MY

HOME MY POWER PLANT

คปอส-ฟม. ตรวจความปลอดภัยพื้นที่ กปถม-ฟ.

14 พฤษภาคม 2563 นายพลศรี สุวิศิษฏ์อาษา ชฟฟ2. ในฐานะประธาน กรรมการ คปอส-ฟม. น�ำคณะผูแ้ ทนฝ่ายบริหารและฝ่ายลูกจ้างเข้าส�ำรวจกอง ปฏิบตั กิ ารระบบล�ำเลียงเถ้าถ่านหินและยิปซัม (กปถม-ฟ.) โดยมีผรู้ บั ผิดชอบ พืน้ ทีใ่ ห้การต้อนรับและน�ำตรวจเยีย่ ม ซึง่ คณะกรรมการฯ ได้เสนอแนะให้หน่วย งานซ่อมแซมส่วนทีช่ ำ� รุดภายในพืน้ ทีอ่ าคาร ZT-6 เช่น ประตู หน้าต่าง พร้อมให้ ด�ำเนินการจัดเก็บระบบสายไฟและสายแลนบนทางเดินให้เรียบร้อย ตลอดจน เก็บอุปกรณ์ที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อเพิ่มพื้นที่ การท�ำงานภายในส�ำนักงาน โดยหน่วยงาน ที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ รั บ ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ น�ำไปปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัยต่อไป

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกิจกรรม "ปันน�้ำใจ สู้ภัย โควิด-19 เพื่อชาวแม่เมาะ"

15 พฤษภาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ มอบถุง "น�้ำใจ" กฟผ. ประกอบด้วย ข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารกระป๋อง นมกล่อง จ�ำนวน 150 ชุด ให้กับราษฎร ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอแม่เมาะ ในกิจกรรม "ปันน�ำ้ ใจ สูภ้ ยั โควิด-19 เพือ่ ชาวแม่เมาะ” จัดโดยสถานีตำ� รวจภูธรจังหวัดล�ำปาง และสถานีตำ� รวจภูธรแม่เมาะ เพือ่ แจก จ่ายให้กับประชาชนแม่เมาะที่ได้รับความเดือดร้อนจากการแพร่ระบาดของ COVID-19

กฟผ.แม่เมาะ มอบตู้เก็บสิ่งส่งตรวจแรงดันบวกและลบ แก่โรงพยาบาล 5 แห่งใน จ.ล�ำปาง 14-15 พฤษภาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ มอบตูเ้ ก็บ สิง่ ส่งตรวจแรงดันบวกและลบและอุปกรณ์ปอ้ งกัน การระบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส COVID-19 แก่โรงพยาบาลใน จ.ล�ำปาง จ�ำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลแม่เมาะ โรงพยาบาลล�ำปาง, โรงพยาบาลเกาะคา, โรงพยาบาลมะเร็งล�ำปาง และโรงพยาบาลงาว เพื่อช่วยลดความเสี่ยง ในการสัมผัสสารคัดหลั่ง และจ�ำกัดพื้นที่การฟุ้งกระจายสารคัดหลั่งของผู้ป่วย ตลอดจนใช้ปอ้ งกันในการ เก็บสิง่ ส่งตรวจจากผูป้ ว่ ย ในการตรวจหาเชือ้ ไวรัส COVID-19 ซึง่ ก่อนหน้านีโ้ รงพยาบาลในจังหวัดล�ำปางยังไม่มี สามารถรองรับความปลอดภัยและสร้างความอุน่ ใจให้กบั บุคลากรทางการแพทย์ได้เป็นอย่างดี

กฟผ.แม่เมาะ และหน่วยงานสังกัดกระทรวง พลังงาน สนับสนุนโครงการ “จังหวัดล�ำปาง ร่วมบรรเทาทุกข์จากภัยโควิด-19”

19 พฤษภาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ พร้อมด้วยส�ำนักงานพลังงานจังหวัดล�ำปาง คลังปิโตรเลียมล�ำปาง บริษัท ปตท.น�้ำมันและการค้าปลีก จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมสนับสนุนอาหารและน�ำ้ ดืม่ ในโครงการ “จังหวัดล�ำปางร่วมบรรเทาทุกข์ จากภัยโควิด-19” เพือ่ แจกจ่ายให้กบั ประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของ COVID-19 ณ ที่ท�ำการเทศบาลนครล�ำปาง อ.เมือง จ.ล�ำปาง โดยมี ดร.กิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครล�ำปาง และส่วนราชการที่ เกี่ยวข้องร่วมแจกจ่ายอาหารกลางวันในครั้งนี้

10

MY HOME MY POWER PLANT

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับสมาคมนักจัดรายการวิทยุ กระจายเสียงนครล�ำปาง มอบเครือ่ งบริโภคแก่ ด่านตรวจคัดกรองโควิด-19 ใน จ.ล�ำปาง

27 พฤษภาคม 2563 กฟผ.แม่เมาะ สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวน 5,000 บาท แก่สมาคมนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียงนครล�ำปาง เพือ่ สมทบทุนโครงการ “คนล�ำปาง รวมน�ำ้ ใจ สูภ้ ยั สถานการณ์ COVID-19” ส�ำหรับจัดซือ้ เครือ่ งดืม่ ชู ก�ำลัง อาหาร และสิง่ ของจ�ำเป็นแก่เจ้าหน้าทีท่ ปี่ ฏิบตั ภิ ารกิจในด่านคัดกรองโค วิด-19 ในพืน้ ที่ จ.ล�ำปาง จ�ำนวน 4 ด่านทีเ่ ป็นเส้นทางหลักเข้าสูจ่ งั หวัดล�ำปาง ประกอบด้วยด่านตรวจและคัดกรองโควิด-19 ของ อ.ห้างฉัตร, อ.แม่ทะ, อ.งาว และ อ.แม่พริก เพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรการ ควบคุมและป้องกันการระบาดของโควิด-19 จังหวัดล�ำปาง


แบ่ง ปันสุข แบ่ งปั น น�้ ำ ใจ ก้ า วผ่ า น วิก ฤต COVID-19 ไปพร้ อ มกั น ท่ามกลางการต่อสูก้ บั วิกฤต COVID-19 ท�ำให้เราได้เห็นถึงธารน�ำ้ ใจของ คนไทยทีห่ ลัง่ ไหลให้ความช่วยเหลือผูท้ กี่ ำ� ลังเดือดร้อนจากพิษ COVID-19 นอกเหนือ จากการเดินหน้าช่วยเหลือของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อย่างเต็มก�ำลังแล้ว อีกหนึ่งหน่วยงานที่ร่วมขับเคลื่อนธารน�้ำใจ ครั้งนี้ คือ ร้านสหกรณ์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สาขาแม่เมาะ ที่ ไ ด้ เ ปิ ด พื้ น ที่ ต ลาดนั ด สหกรณ์ ใ ห้ กั บ พ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ล� ำ ปาง มาจ�ำหน่ายสินค้าโดยไม่คิดค่าเช่า ตลอดจนจัดตั้ง “ตู้ปันสุข” แบ่งปัน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ป โภคบริ โ ภคที่ จ� ำ เป็ น ให้ แ ก่ ผู ้ ที่ ข าดแคลนสามารถ หยิบไปได้ตามความจ�ำเป็น คุ ณ จั น ทนา ชมสาคร ผู ้ จั ด การร้ า นสหกรณ์ ก ารไฟฟ้ า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สาขาแม่เมาะ กล่าวว่า “ปกติหน้าที่หลักของ ร้านสหกรณ์ฯ คือให้บริการสมาชิกทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. หรือคนในชุมชนใกล้เคียงได้มาซื้อของใช้จ�ำเป็นในราคาย่อมเยาว์ พอเกิด วิกฤต COVID-19 ขึ้นจึงอยากใช้โอกาสนี้ในการคืนก�ำไรให้กับสมาชิกและ พ่อค้าแม่คา้ ทีก่ ำ� ลังเดือดร้อน โดยด�ำเนินโครงการแรกคือ เปิดพืน้ ทีฟ่ รีคา่ เช่า ณ ตลาดนัดสหกรณ์ กฟผ.แม่เมาะ ตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 30 มิ.ย. 2563

Excellence P Performance มุง่ งานเลิศ นางสาวปรารถนา วงศ์ค�ำ ช่างระดับ 5 กลุ่มงานเพิ่มผลผลิต ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าแม่เมาะใช้ระบบ ISO แนวทางในการท�ำงาน และหนึง่ ใน ก�ำลังส�ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นระบบการท�ำงานสูเ่ ป้าหมายทีว่ างไว้ ก็คอื ผูป้ ฏิบตั งิ าน ทีต่ อ้ งช่วยกันด�ำเนินงานให้เป็นไปตามระบบมาตรฐาน ส่วนตัวท�ำหน้าทีเ่ ป็น Internal Auditor หรือผูต้ รวจประเมินภายใน ระบบมาตรฐานการจัดการ ISO 9000 ISO 14001 ISO 45001 ของหน่วย งานต่างๆในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เพือ่ วิเคราะห์หาจุดอ่อน จุดแข็ง และสิง่ ที่ ไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด ISO รวมถึงให้ขอ้ เสนอแนะกับหน่วยงานเมือ่ พบว่าควร มีการปรับปรุงแก้ไข และอีกหนึง่ ความท้าทายคือทีท่ มี งานต้องเอาข้อก�ำหนด ของระบบ ISO ต่างๆมาประยุกต์ใช้กับบริบทของโรงไฟฟ้า จัดท�ำคู่มือ การด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ISO จึงได้นำ� หลักค่านิยม P-Performance Excellence มุง่ งานเลิศ มาปรับใช้ในการท�ำงาน เพราะ การจะออกตรวจฯ ตามหน่วยงานต่างๆ นัน้ ต้องอาศัยความเชีย่ วชาญและ ความแม่นย�ำของข้อมูลเกีย่ วกับมาตรฐาน ISO จึงต้องกระตือรือร้นแสวงหา ความรูด้ า้ นนีอ้ ยูเ่ สมอ ซึง่ การเป็น Internal Auditor ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ช่วยตรวจสอบให้องค์กรได้ด�ำเนินการถูกต้องตาม แนวทางทีก่ ำ� หนดไว้ ถือเป็นการยกระดับการบริหารการจัดการให้เท่าเทียม ระดับสากลอีกด้วย

เพือ่ ช่วยพ่อค้าแม่คา้ ในการลดค่าใช้จา่ ยค่าเช่าพืน้ ที่ ส่วนโครงการทีส่ องคือ “ตูป้ นั สุข” ทีน่ อกจากเป็นจุดวางของใช้ทจี่ ำ� เป็นจากการสนับสนุนของร้านสหกรณ์ฯ แล้ว ยั ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางให้กบั ผูใ้ ห้ทา่ นอืน่ ๆ ได้นำ� ของทีต่ นเองมีมาแบ่งปันผ่านตูน้ ี้ อีกด้วย โดยเครือ่ งอุปโภคบริโภคทีน่ ำ� มาวาง อาทิเช่น ข้าวสาร นม ผงซักฟอก น�ำ้ ยาล้างจาน ขนม น�ำ ้ ผลไม้ เป็นต้น” นีเ่ ป็นเพียงหนึง่ ในเรือ่ งราวดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทีย่ งั มีอกี หลายภาคส่วนพร้อมสร้างรอยยิม้ ให้กบั ผูร้ บั ได้อมิ่ ท้อง กลับมาเป็นความอิม่ อกอิม่ ใจสูผ่ ใู้ ห้ในเวลาเดียวกัน

ท�ำรายงาน Timeline ได้ทุกที่ สะดวกทุกเวลา ด้วยโปรแกรม COVID-19 Timeline โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตามประกาศ ชฟฟ2. ฉบับที่ 11/2563 ก�ำหนดผูป้ ฏิบตั งิ านและลูกจ้าง กฟผ.แม่เมาะ ทีม่ คี วามจ�ำเป็นต้องเดินทางข้ามเขต จ.ล�ำปาง ให้แจ้งผูบ้ งั คับบัญชา ให้ทราบ และต้องจัดท�ำรายงาน Timeline โดยละเอียด ซึง่ ทุกท่านสามารถ จัดท�ำ Timeline ผ่านระบบออนไลน์ได้แล้ว

สแกนเพื่อเข้าสู่ ระบบรายงาน Timeline

สแกนเพือ่ ดู ขัน้ ตอนการใช้งาน โปรแกรม

MY HOME MY POWER PLANT

11


ประชาชนทั่วไป 1. เดินทางข ามเขตพื้นที่เข ามา จ.ลําปาง ให ดําเนินการคัดกรอง ณ ด านตรวจการเดินทางข ามพื้นที่จังหวัดในพื้นที่ จ.ลําปาง เพื่อเฝ าระวัง และสังเกตอาการผู เดินทางและพฤติกรรมที่เสี่ยงต อการติดโรคตามปกติที่ปฏิบัติอยู จนกว าจะมีการ ยกเลิกมาตรการทั้งด านตรวจหรือจุดสกัดดูแลการเดินทางข ามพื้นที่จังหวัด 2. เดินทางข ามเขต และมาพักอาศัยในพื้นที่ จ.ลําปาง ให จัดทําบันทึกลําดับเหตุการณ (Time Line) โดยละเอียดและให สังเกตอาการและดําเนินการ ควบคุมตนเอง (Self monitoring) หากพบว ามี ไข ให ไปพบแพทย และให รายงานส วนราชการหรือ หน วยงานหรืออําเภอ หรือองค กรปกครองส วนท องถิ่นหรือเจ าพนักงานควบคุมโรคติดต อในพื้นที่ ตามทีพ ่ จิ ารณาแล วเห็นว าเป นการสะดวกและรวดเร็ว ทันต อเหตุการณ พร อมบันทึกลําดับเหตุการณ (Time Line) เพื่อสอบสวนโรคโดยด วนแล วรายงานให จังหวัดทราบด วย ศูนย ข อมูล COVID-19 จังหวัดลําปาง 1 มิถุนายน 2563

ผู ปฏิบัติงาน ลูกจ างตามสัญญาจ าง กฟผ.แม เมาะ ผู มาติดต อ 1. เดินทางข ามเขตพื้นที่เข ามา จ.ลําปาง ให ดําเนินการตามมาตรการของ จ.ลําปาง ตาม ข อที่ 1 อย างเคร งครัด 2. เดินทางข ามเขต และมาพักอาศัยในพื้นที่ จ.ลําปาง ให จัดทําบันทึกลําดับเหตุการณ (Time Line) โดยละเอียด ให สังเกตอาการ และดําเนินการควบคุมตนเอง (Self monitoring) หากมี ไข ให ไปพบแพทย ต องแจ งให พนักงานควบคุมโรคติดต อในพืน้ ที่ และ กฟผ.แม เมาะ ทราบ ตลอดจน ส งบันทึกลําดับเหตุการณ (Time Line) เพื่อสอบสวนโรคโดยด วน ประกาศผู รักษาบริเวณโรงไฟฟ าแม เมาะ 2 มิถุนายน 2563

http://maemoh.egat.co.th

กฟผ.แม เมาะ

@maemoh.powerplant

Maemoh.egat.com/hellomaemoh

054 252 734

maemohnews@egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.