My Home My Power Plant 06-2563

Page 1

วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ

ป ที่ 26 ประจำเดือนมิถุนายน 2563


MY

HOME MY POWER PLANT

แม่น้�ำจาง เป็นแม่น�้ำที่ไหลผ่าน 19 ฝาย ของชุมชน 3 อ�ำเภอ ในจัง หวั ด ล� ำ ปาง ได้แก่ อ.แม่เ มาะ อ.แม่ท ะ และ อ.เกาะคา โดย กฟผ.แม่เมาะ เป็นผู้ดูแลอ่างเก็บน�้ำแม่จางและแม่ขาม ซึ่งเป็นหนึ่งใน สาขาของแหล่ ง น�้ ำ ที่ ไ หลสู ่ ล� ำ น�้ ำ แม่ จ าง จึ ง ต้ อ งมี ก ารบริ ห ารจั ด การ แหล่งน�ำ้ ทัง้ สองให้เพียงพอต่อระบบการผลิตและไม่กระทบต่อการปล่อยน�ำ้ ไปยั ง ชุ ม ชนล� ำ น�้ ำ แม่ จ าง ล่ า สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 16 มิ ถุ น ายน ที่ ผ ่ า นมา นายพัฒนพงศ์ ขันทา ช.อฟม-2. พร้อมด้วย นายเกษม ใจจันทร์ ปลัดอ�ำเภอ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครองอ�ำเภอแม่เมาะ ร่วมให้สัมภาษณ์ทาง สถานีวิทยุ อสมท ล�ำปาง FM 99.0 MHz ในประเด็นแนวทางการพัฒนา ลุ่มแม่น�้ำจาง ซึ่งนายเกษม กล่าวว่า คณะท�ำงานศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยแล้งจังหวัดล�ำปาง ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน ในพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ แม่ จ างไว้ 3 ด้ า น คื อ 1. การจั ด หามวลน�้ ำ โดยให้ กฟผ.แม่เมาะ เป็นผู้วางแผนการปล่อยน�้ำ 2. การขุดลอกล�ำน�้ำจาง 3. ตั้งคณะท�ำงานบริหารจัดการล�ำน�้ำแม่จาง โดยมีอ�ำเภอแม่เมาะเป็น หน่วยงานหลัก ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่แม่น�้ำจางไหลผ่าน เพื่อร่วมกันวางแผนแก้ไขปัญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ในส่วนของการบริหารจัดการน�้ำของ กฟผ.แม่เมาะ ช.อฟม-2. กล่าวว่า โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้วางแผนปรับช่วงเวลาหยุดซ่อมโรงไฟฟ้า เพื่อลดปริมาณการใช้น�้ำในกระบวนการผลิตช่วงฤดูแล้ง โดยค�ำนึงถึง การรักษาปริมาณน�้ำให้เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน ตลอดจนรั ก ษาสมดุ ล ของระบบนิ เ วศน์ เ ป็ น ล� ำ ดั บ แรก นอกจากนั้ น กฟผ.แม่เมาะ ได้สูบน�้ำจากเขื่อนแม่ขามเข้าเขื่อนห้วยคิงตอนล่าง ส�ำหรับ ส�ำรองน�้ำให้กับการประปาส่วนภูมิภาค อ.แม่เมาะ และระบายน�้ำลงสู่ ล�ำน�ำ้ จางอยูเ่ สมอ โดยตัง้ แต่ปี 2562 จนถึงปัจจุบนั ได้ปล่อยน�ำ้ ให้แก่ชมุ ชน ไปแล้วกว่า 22.69 ล้าน ลบ.ม. (ข้อมูล 31 พ.ค.63) เพื่อรองรับการอุปโภค บริโภค รวมถึงการสนับสนุนน�้ำแก่หน่วยงานท้องถิ่นรอบ กฟผ.แม่เมาะ ในรูปแบบรถบรรทุกน�้ำและจุดจ่ายน�้ำตามความจ�ำเป็นอีกด้วย นอกจากนั้น กฟผ.แม่เมาะ ได้ร่วมมือกับกรมเจ้าท่าในการวางแผน ลงพื้ น ที่ ศึ ก ษาและส� ำ รวจล� ำ น�้ ำ จางในปี 2564 เพื่ อ น� ำ มาออกแบบ การขุดลอกตามความลึกมาตรฐานตลอดล�ำน�้ำ เพื่อให้การกับเก็บน�้ำ มีประสิทธิภาพมากที่สุด

บทบรรณาธิการ

หลังจากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลายลง แหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้า ของภาคเหนื อ อย่ า ง กฟผ.แม่ เ มาะ ก็ ถึ ง เวลาเปิ ด บ้ า นเตรี ย มต้ อ นรั บ ผู ้ ม า เยือนในช่วงฤดูฝนอันเขียวชอุ่มอีกครั้ง เชื่อแน่ว่านักท่องเที่ยวหลายรอต่าง รอคอยเวลาที่จะได้กลับมาเยือนลานสไลเดอร์ ชมพระอาทิตย์ตกที่ทุ่งบัวตอง และถ่ายภาพร่วมเฟรมกับโรงไฟฟ้าทั้ง 10 โรงอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม กฟผ.แม่เมาะ ไม่ได้นิ่งนอนใจต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 จึงเตรียมการต้อนรับแบบ New Normal ให้ทุกคนได้เข้ามาในพื้นที่อย่าง ปลอดภัยห่างไกลโรค นอกเหนือจากการ Re-Opening กฟผ.แม่เมาะ แล้ว เรายังเดินหน้าฟื้นฟูชุมชนแม่เมาะอย่างต่อเนื่องด้วยโครงการดีๆ อย่าง EGAT Care Back to School ส่งมอบอุปกรณ์ป้องกันโควิด-19 แก่สถานศึกษาใน อ.แม่เมาะ เพื่อเยาวชนชาวแม่เมาะ ได้เข้าสู่ฤดูเปิดเทอมอย่างมีความสุขและ ปลอดภัยในภาวะวิกฤตโควิด-19 บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

2

MY HOME MY POWER PLANT

วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY

พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล


1 เขา YouTube.com คนหาชอง กฟผ.แมเมาะ 2 หรือสามารถเขาชมเว็บไซตของ กฟผ.แมเมาะ http://maemoh.egat.com เพียงกดเขาไปที่เมนู YouTube กฟผ.แมเมาะ ดานขวามือ ก็จะเขาไปยัง ชอง YouTube 3 หรือสแกน QR Code นี้ ก็สามารถดูคลิปวิดีโอใน YouTube ไดทันที ไม่อยากพลาดการรับชมคลิปใหม่ๆ อย่าลืมกดปุ่ม

สีแดงมุมขวา กันด้วยนะคะ

MMRP2 ต้องไปต่อ

สผ. เตรียมน�ำรายงาน EHIA เสนอ คชก. พิจารณาก่อนจัดเวทีรับฟัง ความเห็นครั้งสุดท้าย ผ่านมากว่า 4 เดือนแล้วหลังจากการจัดเวที รับฟังความเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียฯ ครัง้ ที่ 3 ส�ำหรับทบทวนร่างรายงาน EHIA โครงการ โรงไฟฟ้าแม่เมาะทดแทนเครือ่ งที่ 8-9 หรือ MMRP2 ล่าสุดเมือ่ วันที่ 28 เมษายน ทีผ่ า่ นมา ฝ่ายสิง่ แวดล้อม โครงการ (อสค.) ได้น�ำส่งรายงานการประเมินฯ ต่อส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม (สผ.) เพือ่ พิจารณาตามขัน้ ตอนแล้ว จากนี้ สผ. จะน�ำรายงานการประเมินฯ พร้อมข้อมูล ภาพนิ่งและวิดีโอ ประกอบต�ำแหน่งการก่อสร้าง อุปกรณ์ องค์ประกอบ และสภาพแวดล้อมปัจจุบัน ของโครงการฯ ทีถ่ กู ถ่ายท�ำไว้ไม่เกิน 30 วัน น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการผู้ช�ำนาญการพิจารณารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (คชก.) ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2563 ทัง้ นี้ หลังจากรายงาน EHIA ได้รบั ความเห็นชอบจาก คชก. แล้วจะมีการจัดเวทีรบั ฟัง ความคิดเห็นอีก 1 ครัง้ โดยคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ก่อนน�ำไปประกอบกับรายงานฯ ทีผ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิง่ แวดล้อม แห่งชาติ (กก.วล.) เพือ่ น�ำเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมตั โิ ครงการต่อไป MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

ศูนย์ชีววิถีฯ น�ำ “โคกหนองนาโมเดล” เพิ่มความชุ่มชื้นให้ดินในหน้าแล้ง เตรียมถ่ายทอดต่อสู่ชุมชน

“โคกหนองนาโมเดล” เป็นอีกหนึ่งในศาสตร์พระราชาของในหลวง รัชกาลที่ 9 ทีท่ รงมอบแนวทางการพอมี พออยู่ พอกิน สร้างวิถยี งั่ ยืนให้แก่ ประชาชนชาวไทย หลักการของโคกหนองนาเป็นการเข้าใจธรรมชาติสร้างสมดุล เรือ่ งของน�ำ้ ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูก โดยการขุดคลองรูปทรงคล้ายขนมครกให้มขี นาด เล็กหรือขนาดใหญ่ แล้วขุดเป็นคลองไส้ไก่ต่อไปยังพื้นที่เพาะปลูกโดยรอบ เมื่อฝนตกน�้ำจะถูกกับเก็บไว้ในคลองขนมครก แล้วส่งต่อน�้ำไปยังคลองไส้ไก่ ซึ่งเป็นตัวแผ่กระจายน�้ำให้เข้าถึงพื้นที่อื่นๆที่ห่างไกลแหล่งน�้ำ ท�ำให้ดินมี ความชุม่ ชืน้ ในฤดูแล้ง ส่งผลดีตอ่ ต้นไม้และพืชผลในพืน้ ที่

ศูนย์การเรียนรูโ้ ครงการชีววิถเี พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน กฟผ.แม่เมาะ ได้ทดลองน�ำหลักการโคกหนองนาโมเดลเข้ามาปรับใช้ในพื้นที่ของศูนย์ฯ ตั้งแต่ประมาณเดือนเมษายน 2563 เพื่อให้พื้นที่มีความชุ่มชื้นในฤดูแล้ง โดยได้ทำ� การขุดคลองขนมครกและคลองไส้ไก่ไว้ในพืน้ ทีส่ วนสมุนไพร ผลทีไ่ ด้ คือดินมีความชุ่มชื้น ส่งผลให้ต้นสมุนไพรเขียวขจีสวยงามมากกว่าพื้นที่อื่น ดั ง นั้ น ศู น ย์ ชี ว วิ ถี ฯ จึ ง ได้ ขุ ด คลองขนมครกและคลองไส้ ไ ก่ เ พิ่ ม ในพื้ น ที่ สวนผลไม้อกี ด้วย และเตรียมท�ำในพืน้ ทีส่ ว่ นอืน่ ๆ เพือ่ เพิม่ ความชุม่ ชืน้ ภายใน ศูนย์ชีววิถีต่อไป อีกทั้งได้เตรียมถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ให้สามารถน�ำไปปรับใช้ในพื้นที่ท�ำกินของตน กฟผ.แม่เมาะ เป็นหนึง่ ในพืน้ ที่ “โครงการ 7 เขือ่ นพระนาม 3 โรงไฟฟ้า เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ซึง่ กฟผ. ได้รว่ มกับมูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติขบั เคลือ่ น ศาสตร์พระราชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูเ่ ป้าหมาย ความยั่ ง ยื น โดยพั ฒ นาศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ใ นพื้ น ที่ กฟผ. ทัว่ ประเทศให้เป็นพลังขับเคลือ่ นในการขยายผล สืบสาน และถ่ายทอดองค์ความรูใ้ นการจัดการดิน น�ำ ้ ป่า สร้าง ความยัง่ ยืนแก่ชมุ ชนโดยรอบด้วยศาสตร์พระราชา

บันทึก Timeline การเดินทางในยุคโควิด-19 สะดวกสบาย ง่ายๆ เพียงแสกน QR Code! บั น ทึ ก ล� ำ ดั บ เหตุ ก ารณ์ (Timeline) การเดิ น ทาง ช่ ว งสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาด โรคโควิด-19 ถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการติดตามสืบสวน ข้อมูลสถานที่ เวลา และผู้ที่อยู่ รอบตัว หากมีการติดเชื้อ ทางโรงไฟฟ้าแม่เมาะ โดย นายประวัติ ธนะราช วิทยากรระดับ 8 กลุ่มงานเพิ่มผลผลิต สังกัดส่วนกลางฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้ตระหนักถึงประโยชน์ ของเครื่องมือนี้ จึงได้พัฒนา “ระบบจัดเก็บ Timeline” ใช้แทนการเก็บข้อมูลลงในกระดาษ ที่อาจจะหาย และไม่สะดวกต่อการบันทึก โดยน�ำข้อมูลเข้าระบบของ Web Application ที่ใช้งานผ่าน Smart phone ได้ง่ายๆ เพียงแสกน QR Code และกรอกข้อมูลทีละขั้นตอน “ระบบจัดเก็บ Timeline” สามารถท�ำบันทึกแจ้งการเดินทาง เข้า-ออก พื้นที่ของผู้ปฏิบัติ งานแก่ผู้บังคับบัญชา ไปจนถึงการบันทึก กิจกรรม สถานที่ และเวลาในการเดินทาง เพื่อให้กลุ่ม ผู้ใช้งาน ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. จากสังกัดอื่นๆ ทั่วประเทศ และ บุคคลภายนอก บันทึกข้อมูล โดยมีทีมแอดมินหลักคือหน่วยงาน ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยฯ (หปอม-ฟ.) และ กองการแพทย์ แม่เมาะ (กกม-ห.) เป็นผู้ติดตาม หากพบว่ามีอาการ หรืออยู่ใน กลุ่มเสี่ยงโรคฯ จะใช้ข้อมูลดังกล่าวนี้ วิเคราะห์และป้องกันการ แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว แสกนเพื่อเข้าสู่ระบบรายงาน Timeline

4

MY HOME MY POWER PLANT


โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีหน้าที่หลักในการผลิตไฟฟ้าตลอด 24 ชั่วโมง จึงต้องมีแผนรองรับการตรวจซ่อมบ�ำรุงตามวาระ เพื่อให้มั่นใจว่าโรงไฟฟ้า จะสามารถคงประสิทธิภาพในการเดินเครื่อง และสามารถซ่อมแซมอุปกรณ์ หรือส่วนทีม่ ปี ญ ั หาได้ทนั ท่วงที ไม่ให้กระทบต่อความมัน่ คงในองค์รวม ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการน�ำผู้รับจ้าง และผู้เชี่ยวชาญงานด้านเทคนิคทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ ตลอดจนมีผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงาน กฟผ. ภูมิภาคและ ส�ำนักงานกลาง เข้ามาร่วมท�ำงาน ล่าสุดระหว่างวันที่ 28 มิถนุ ายน - 25 กรกฎาคม 2563 โรงไฟฟ้าแม่เมาะพลังความร้อนแม่เมาะเครือ่ งที่ 1 (MM-T1) มีการหยุด

เดินเครื่องเพื่อท�ำการตรวจซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ในช่วงการรับประกัน ของบริษัทคู่สัญญาก่อสร้าง ซึ่งก่อนเริ่มงานได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ความปลอดภัยในการท�ำงานและลดอุบัติเหตุ เพื่อสร้างจิตส�ำนึกให้ทุกคน ท�ำงานตามคู่มือและข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยในการท�ำงานอย่างถูกต้อง และเป็นไปตามกฎหมาย ลดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน ตลอดจนลดความสูญเสีย ต่อบุคคล ทรัพย์สิน และระบบการผลิตของ กฟผ.แม่เมาะ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย อุบัติเหตุต้องเป็นศูนย์

นอกเหนือจากการสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัยในการ ท�ำงานแล้ว โรงไฟฟ้าแม่เมาะยังได้มขี อ้ ก�ำหนดส�ำหรับผูป้ ฏิบตั งิ านภายนอก ที่จ�ำเป็นต้องเดินทางเข้ามาท�ำงานยังพื้นที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ให้ปฏิบัติ ตามมาตรการการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเคร่งครัด โดยก�ำหนดแนวทางดังนี้ 1 กรณีการเข้ามาปฏิบัติงานของชาวต่างชาติจากต่างประเทศ ในงานบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ • เมื่อเดินทางมาถึงประเทศไทยให้เข้ารับการกักตัว State Quarantine ที่กรุงเทพฯ 14 วัน และน�ำใบรับรองการกักกันตัวมาแสดงให้ กฟผ. ก่อนเข้ามา ท�ำงานในพื้นที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ • แจ้งข้อมูลชาวต่างชาติในระบบแจ้งข้อมูลชาวต่างชาติของ กฟผ. • ลงข้อมูลการเข้าและออกในบัญชีคัดกรอง COVID-19 โรงไฟฟ้าแม่เมาะทุกวัน • จัดท�ำบันทึกเหตุการณ์ (Timeline) โดยละเอียดทุกวัน ตั้งแต่เดินทางมาถึง จ.ล�ำปาง จนกว่าจะออกจากพื้นที่ จ.ล�ำปาง • หลังจากการกักตัว 14 วัน ให้สังเกตอาการตนเองอย่างต่อเนื่องอีก 14 วัน หากพบว่ามีไข้ให้ไปพบแพทย์ และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ กฟผ. 2 กรณีเข้ามาปฏิบัติงานของชาวต่างชาติที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทยและผู้รับจ้างชาวไทย ในงานบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ • แจ้งข้อมูลชาวต่างชาติในระบบแจ้งข้อมูลชาวต่างชาติของ กฟผ. • ลงข้อมูลการเข้าและออกในบัญชีคัดกรอง COVID-19 โรงไฟฟ้าแม่เมาะทุกวัน • จัดท�ำบันทึกเหตุการณ์ (Timeline) โดยละเอียดทุกวัน ตั้งแต่เดินทางมาถึง จ.ล�ำปาง จนกว่าจะออกจากพื้นที่ จ.ล�ำปาง • ให้สังเกตอาการตนเองอย่างต่อเนื่อง 14 วัน นับตั้งแต่วันเดินทางมายัง จ.ล�ำปาง หากพบว่ามีไข้ให้ไปพบแพทย์ และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ กฟผ. MY HOME MY POWER PLANT

5


6

MY HOME MY POWER PLANT


EGAT Care Back to School เป็นโครงการดีๆ ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ริเริ่มขึ้นจนขยายผลไปยังระดับประเทศ เพื่อมุ่งช่วยเหลือและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในโรงเรียนรอบพื้น ที่เขต เขื่อน และโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ทั่วประเทศ ซึ่งมีนักเรียน บุคลากรทางการศึกษา กว่า 200,000 คน โดยจัดเตรียม หน้ากากอนามัย ภายใต้การจัดหาโดยสายงานรองผู้ว่าการยุทธศาสตร์ (รวย.) พร้อมเจลอนามัย “น�้ำใจ” กฟผ. ซึ่งจัดท�ำโดยสายงานรองผู้ว่าการ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง (รวธ.) ร่ ว มกั บ สายงานรองผู ้ ว ่ า การบริ ห าร (รวห.) เสากดแอลกอฮอล์ แ บบเท้ า เหยี ย บ ที่ ผ ลิ ต โดยผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านในสายงาน รองผู ้ ว ่ า การผลิ ต ไฟฟ้ า (รวฟ.) และสบู ่ เ หลว จากชุ ม ชนรอบ กฟผ. เพื่อน�ำไปมอบให้กับโรงเรียนต่าง ๆ

เสากดเจลแอลกอฮอล แบบเท าเหยีย บ

ในวันเปิดเทอมแรกของเด็กๆ (1 กรกฎาคม 2563) กฟผ.แม่เมาะ ได้ส่งมอบอุปกรณ์ในโครงการฯ แก่สถานศึกษาทั้งหมดในอ�ำเภอแม่เมาะ โดยมี นายอ�ำพล กิติโชตน์กุล ผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะเป็นประธาน ในการส่งมอบ พร้อมด้วยผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ เข้าร่วม ณ โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ และโรงเรียนแม่เมาะวิทยา ส่วนกองจิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ได้ลงพื้นที่ส่งมอบอุปกรณ์ป้องกันโควิด-19 แก่นักเรียน และบุ ค ลากรการศึ ก ษาในโรงเรี ย นทั้ ง 21 แห่ ง ใน 5 ต� ำ บล รอบ กฟผ.แม่เมาะ

เจลอนามั ย “นํ้ า ใจ” กฟผ. ชนิ ดขวด และแกลลอน หน า กากอนามั ย ชนิ ดผ า นาโน หน า กากป อ งกั น ฝอยละออง (Face Shield) กระเป า ยาพร อ มชุ ดกล อ ง ปฐมพยาบาล 21 ชุ ด

EGAT Care Back to School เป็นโครงการทีแ่ สดงถึงการให้ความส�ำคัญต่อภาคการศึกษา เพือ่ เสริมความพร้อมและ เพิ่มศักยภาพในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ภายในสถานศึกษา และพร้อมเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ ให้คนไทยยึดแนวปฏิบัติในการดูแลตนเองและส่วนรวมเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดซ�้ำอีก โดย กฟผ. ขอเคียงข้างคนไทย ทุกวิกฤตและพร้อมร่วมมือกับทุกภาคส่วนร่วมฟื้นฟูประเทศไทย จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 MY HOME MY POWER PLANT

7


MY

HOME MY POWER PLANT

1 เท่าตัว

กฟผ.เพิ่ ม แรงดั น ไฟฟ้ า ส่ ง จั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง เพื่ อ ความมั่ น คงด้ า นพลั ง งาน

เชือ่ ว่าหลายคนคงสงสัยทีม่ าทีไ่ ปของเสาไฟฟ้าแรงสูง ซึง่ ก่อสร้างอยู่ บริเวณแยกทางเข้าเหมืองแม่เมาะ ขอย้อนกลับไปถึงการจ่ายไฟฟ้าของสถานี ไฟฟ้าแรงสูงแม่เมาะ 3 ไปยัง จ.พะเยา และ จ.เชียงราย จะประกอบด้วยสายส่ง ขนาด 230 kV จ�ำนวน 2 วงจร และสายส่งขนาด 115 kV จ�ำนวน 2 วงจร แต่ปจั จุบนั การใช้ไฟฟ้าในโซนภาคเหนือ จ.เชียงราย และ จ.พะเยา มีปริมาณ การใช้ไฟเพิ่มขึ้นตลอดเวลา จึงเป็นที่มาของโครงการปรับปรุงสายส่งจาก สถานีไฟฟ้าแรงสูงแม่เมาะ 3 ขนาด 115 kV จ�ำนวน 2 วงจร เป็น 230 kV 2 วงจร ส่งจากสถานีไฟฟ้าแรงสูงแม่เมาะ 4 ไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูงพะเยา โดยใช้เขตดินสายส่งไฟฟ้าเดิมและก่อสร้างแนวสายใหม่ ในพืน้ ที่ กฟผ.แม่เมาะ ส�ำหรับสายส่ง 230 kV เส้นใหม่นี้มีความยาว 124.58 กิโลเมตร ใช้เสาโครงเหล็กจ�ำนวน 422 ต้น เป็นเสา 2 วงจร จ�ำนวนและชนิดสายไฟฟ้า 2 เส้นต่อเฟสขนาด 1272 MCM ACSR/AW,GA มีบริษทั The Consortium of PWH and CHC เป็นผูร้ บั จ้างก่อสร้าง และมีกองบ�ำรุงรักษาสายส่ง (กสน-ส.) ฝ่ายปฏิบตั งิ านภาคเหนือ (อปน.) เป็นผูค้ วบคุมงาน ซึง่ มีกำ� หนดการจ่ายไฟเข้า ระบบประมาณเดือนกรกฎาคมนี้ หากจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบได้ จะช่วยเสริมสร้าง ความมัน่ คงในการเสริมระบบไฟฟ้าโซน จ.เชียงราย และ จ.พะเยา ให้รองรับ การใช้ไฟฟ้าในอนาคตได้

การเขียนบันทึก จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป!!! ไม่ว่าจะเป็น ใช้ Word ไม่คล่อง จัดหน้ายาก เคาะหน้า เคาะหลัง โดยแก้เยอะ จนไม่รวู้ า่ เป็นไฟล์ไหน แก้ทกี เ็ ปลืองกระดาษ พอท�ำเสร็จยังต้องเดินเอาไปส่ง พอส่งแล้ว ก็ไม่รู้ว่าเอกสารอยู่ไหน ติดตามยากอีก ปัญหาเหล่านีก้ ำ� ลังจะหมดไป ด้วย “ECM” ทีจ่ ะท�ำให้การท�ำบันทึกเป็นเรือ่ งง่าย แค่เข้าไปที่ https://ecm.egat.co.th/Common ล็อกอินด้วยเลขประจ�ำตัว และ password เดียวกับอีเมล์ คลิกเมนู “สร้างบันทึก” กรอกข้อมูลให้ครบ จากนั้น กดส่งพิจารณา ก็จะเข้าสู่กระบวนการดังภาพนี้

พิจารณาเห็นชอบ

เริ่มต น

ผู สร างเอกสารบนระบบ ECM (Paperless)

อ้อ! คุณผู้อ่านสามารถเข้า App EGAT Smart Life คลิก ECM ก็ท�ำบันทึกผ่านมือถือหรือแท็บเล็ตได้เช่นกัน ว้าว! ต่อไปนี้ การเขียนบันทึกจะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ไม่ใช้กระดาษ ไม่ต้อง สแกน เขียนง่าย ส่งง่าย ตรวจง่าย แก้ง่าย ติดตามง่าย ปลอดภัย ไม่มีหลุด!!! *ECM (Enterprise Content Management) = ระบบบริหารจัดการข้อมูลองค์กร (แบบดิจิทัล) ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ECM ได้ทาง ecminfo.egat.co.th

8

MY HOME MY POWER PLANT

ผู พิจารณาร างบันทึก (ถ ามี) ตีกลับ

ผู ลงนามบันทึก

จบการทํางาน - เพื่อทราบ - ดําเนินการ

ผู รับบันทึก

ผู รับบันทึกเพื่อทราบ / ดําเนินการต อ


คุณภาพอากาศแมเมาะ 25 พฤษภาคม - 24 มิถนุ ายน 2563 อยูในเกณฑมาตรฐาน เขาสูฤ ดูฝนแลว นอกจากโรคติดเชือ้ โควิด-19 ทีย่ งั ตองปฏิบตั ติ าม มาตรการปองกันการแพรระบาดอยางเขมขนชนิดที่เรียกวา การดอยาตก ชาวโรงไฟฟาแมเมาะยังตองเตรียมรับมือกับความเสีย่ งจากการปฏิบตั งิ าน บนความแปรปรวนของสภาพดินฟาอากาศโดยเฉพาะบนลานทิง้ เถาถานหิน ของ กปถม-ฟ.ทีเ่ ปนทีโ่ ลงแจงมีการปฏิบตั งิ านบนเครือ่ งจักรกลขนาดใหญ และปฏิบัติงานตามแนวสายพานลําเลียงซึ่งมีความเสี่ยงตอการถูกฟาผา ในขณะเกิดฝนฟาคะนอง โรงไฟฟาแมเมาะ ไดจัดหาอุปกรณแจงเตือนอันตรายจากฟาผา ทีม่ รี ศั มีครอบคลุม 10 กิโลเมตร อุปกรณจะสงเสียงเตือนเมือ่ เครือ่ งตรวจจับ คาความเขมขนประจุไฟฟาในชั้นบรรยากาศที่มีความเขมขนสูง หรือเกิน มาตรฐานทีต่ งั้ ไว เพือ่ ใหผปู ฏิบตั งิ านทีอ่ ยูใ กลเคียงไดทราบ วาจะเกิดฟาผา โดยติดตั้งบริเวณลานทิ้งเถาถานหิน โดยมีแผนก หปฟม4-ฟ.,กบรม4-ฟ. รับผิดชอบบํารุงรักษา และตรวจเช็คอุปกรณใหอยูในสภาพพรอมใชงาน

420 95

161 73

52

8

62

330

120

780

300

320

TSP/day

PM10/day

SO2/hr.

SO2/day

NO2/hr.

= ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.

: : : : :

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

สําหรับดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และ พื้ น ที่ ชุ ม ชนคุ ณ ภาพอากาศอยู  ใ นเกณฑ ดี สามารถทํ า กิ จ กรรม กลางแจงและการทองเที่ยวไดตามปกติ

คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ เดือนมิถุนายน 2563

ความเป น กรด-ด าง

5.5-9.0

อย่างไรก็ตามการปฏิบัติงาน บนพื้นที่ทิ้งเถ้าถ่านหินโรงไฟฟ้า แม่ เ มาะที่ เ ป็ น พื้ น ที่ โ ล่ ง และอยู ่ บนเนินสูงนั้น เป็นสิ่งที่ควรหลีก เลี่ยงในวันที่มีฝนฟ้าคะนอง หรือ หากจ�ำเป็นควรใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน ซึ่งจะช่วยป้องกันความสูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน อีกทั้งยังท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานและเครื่องจักรปฏิบัติงานให้กับ องค์กรได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ไม เกิน

40 Cํ

ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)

ไม เกิน

5.0

ไม เกิน

20

ไม ได กําหนด

7.89 31.7 1.06 1.05 6.85 ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน

ผ าน

: ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม : ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล ว ของโรงไฟฟ าแม เมาะ MY HOME MY POWER PLANT

9


MY

HOME MY POWER PLANT

มอบรายได้จากงานเดิน-วิง่ ฯ ครัง้ ที่ 28 สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ จ.ล�ำปาง

คปอส-ฟม.ตรวจเยี่ยมพื้นที่ก่อสร้าง โรงอาหารใหม่

10 มิถุนายน 2563 กฟผ.แม่เมาะ มอบเงินจากการจัดสรรรายได้จาก การแข่งขันเดิน-วิง่ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ครั้งที่ 28 ประจ�ำปี 2562 แก่จังหวัดล�ำปาง โดยมีนายสิทธิชยั จินดาหลวง รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำปาง เป็นผูร้ บั มอบ ณ ศูนย์ราชการจังหวัดล�ำปาง อ.เมือง จ.ล�ำปาง นอกจากนัน้ ยังมอบงบประมาณ ให้กบั หน่วยงานต่างๆ ใน จังหวัดล�ำปางอีก 12 แห่ง รวมเป็นเงิน 222,000 บาท ส�ำหรับเป็นทุนในกิจกรรมสาธารณประโยชน์ 10 มิถนุ ายน 2563 คปอส-ฟม. ตรวจเยีย่ มความปลอดภัยในการท�ำงานบริเวณ พืน้ ทีก่ อ่ สร้าง อาคารนันทนาการโรงอาหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ และพืน้ ทีว่ า่ งบริเวณ ข้างอาคารเครือ่ งชัง่ ส�ำหรับเตรียมรองรับงานซ่อมบ�ำรุงโรงไฟฟ้า จากนัน้ คณะฯ ได้สรุปผลการตรวจเยีย่ มโดยได้ให้ขอ้ สังเกตเกีย่ วกับงานติดตัง้ ระบบสายล่อฟ้า งานติดตัง้ ระบบเครือ่ งดูดควันประจ�ำร้านในพืน้ ทีก่ อ่ สร้างโรงอาหารใหม่ ซึง่ คาดว่า การก่อสร้างจะแล้วเสร็จปลายเดือนกรกฎาคม 2563 ส�ำหรับพืน้ ทีว่ า่ งส�ำหรับ รองรับงานซ่อมบ�ำรุงโรงไฟฟ้าเบื้องต้นหน่วยงาน กยธม-ฟ. จะเข้าปรับพื้นที่ เพิม่ เติมและขนย้ายเศษวัสดุทไี่ ม่ใช้งานไปไว้ยงั จุดทีห่ น่วยงานก�ำหนดให้ตอ่ ไป

กฟผ.แม่เมาะ มอบอุปกรณ์ต้านโควิด-19 แก่ 10 โรงพยาบาลใน จ.ล�ำปาง 16 มิถนุ ายน 2563 นายมาโนช ชูชาติวรรณกุล อผม. พร้อมด้วยผูบ้ ริหารผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. แม่เมาะ ร่วมมอบตูเ้ ก็บสิง่ ส่งตรวจแรงดันบวกจ�ำนวน 10 ตู้ และอุปกรณ์ปอ้ งกันการระบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) แก่โรงพยาบาลใน จ.ล�ำปาง จ�ำนวน 10 แห่ง ทีม่ ี ความจ�ำเป็นต้องใช้อปุ กรณ์ดงั กล่าวส�ำหรับรองรับการตรวจหาการเชือ้ โควิด-19 อีกทัง้ ยังเป็น ประโยชน์ตอ่ บุคลากรทางการแพทย์ในการลดความเสีย่ งต่อการติดเชือ้ ในขณะปฏิบตั งิ าน

ชฟฟ2. มอบอนุสิทธิบัตรจากกรมทรัพย์สิน ทางปัญญาแก่ “ด้ามคฑาเทพ ” 23 มิ ถุ น ายน 2563 นายพลศรี สุวิศิษฏ์อาษา ชฟฟ2. เป็นประธานมอบ อนุ สิ ท ธิ บั ต รจากกรม ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ใ ห ้ กลุ ่ ม ง า น คุ ณ ภ า พ ประกอบด้วย นายณัฐพล เทวัญ, นายจิรายุทธ รอดผล, นายสมพงษ์ สายเทพ, นายอภิสทิ ธิ์ บุญตันบุตร, นายธนากรณ์ ดอนทอง หดม2/2-ฟ. กผม2-ฟ. อฟม. นายธวัชชัย ธรรมสิทธิ์ หดม1/1-ฟ. กผม1-ฟ. อฟม. และนายกฤษณะ เขียวหลาน หบหม2-ฟ. กบรม2-ฟ. อรม. โดยกลุ่มได้ยื่นจดทะเบียนเพื่อขอรับอนุสิทธิบัตรไทย ในผลงานสิ่งประดิษฐ์เรื่อง “เครื่องมือถอย Long Retractable soot Blower ค้าง” ต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา และได้รับการจดทะเบียน อนุสิทธิบัตรไทย เลขที่ 1557 ภายใต้ชื่อผลงาน“เครื่องมือหมุนท่อแลนซ์ ส�ำหรับอุปกรณ์ลองรีแทรค เทเบิลซูทโบลเวอร์”

10

MY HOME MY POWER PLANT

ซ้อมแผนความปลอดภัยด้านรังสี ปี 2563 29 มิถนุ ายน 2563 ณ อาคารหม้อน�ำ้ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ หน่วยที่ 10 กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง แผนกเดินเครือ่ งกะ3 กองการผลิต2 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้า แม่เมาะ จัดฝึกซ้อมแผนระดับ 2 ด้านรังสี ประจ�ำปี 2563 เพือ่ รักษาความมัน่ คง ปลอดภัยด้านรังสีและรองรับสถานการณ์ฉกุ เฉิน สมมติเหตุการณ์กมั มันตรังสี Cs-137 ของยุง้ ถ่าน (Coal Bunker) 5 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที่ 10 หายจาก จุดติดตัง้ โดยมีนายสมเกียรติ เชาวพ้อง เป็นผูบ้ ญ ั ชาการเหตุฉกุ เฉิน จากนัน้ ได้ สรุปผลการฝึกซ้อมภาพรวมอยูใ่ นเกณฑ์ดแี ละเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทัง้ นี้ ที่ประชุมได้แนะน�ำว่าภายหลังเก็บกู้กัมมันตรังสีแล้ว ควรมีการตรวจสอบ จ�ำนวนผูส้ มั ผัสรังสียอ้ นหลังด้วย เป็นต้น


พุ ท ธสถาน ถ�้ำพญานาคราชดอยน้ อ ย จากพื้ น ที่ ร กร้ า งใจกลางหมู ่ บ ้ า นเมาะหลวง ที่ ป ั จ จุ บั น กลายเป็ น “พุทธสถานถ�้ำพญานาคราชดอยน้อย” ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ. ล�ำปาง ศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนบ้านเมาะหลวงอีกแห่งหนึ่ง นอกจากจะ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์สักการะบูชาแล้ว ด้านบนยังเป็นที่ตั้งของถ�้ำพญานาคราช ที่มีต�ำนานเล่าขานหลายเรื่องราว ตลอด 3-4 ปี นับตั้งแต่เริ่มก่อสร้างจนถึง ปัจจุบัน พุทธสถานแห่งนี้คงไม่อาจส�ำเร็จลุล่วงได้หากไม่ได้รับแรงสนับสนุน จากผูน้ ำ� ชุมชน พระกิตภิ พ สุเมโธ และจิตอาสาบ้านเมาะหลวง ทีร่ ว่ มทุม่ เท ทั้งกายและใจช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกันคือต้องการ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมประจ�ำหมู่บ้าน และต่อยอดเป็น สถานปฏิบตั ธิ รรมสืบทอดให้กบั รุน่ ลูกรุน่ หลานต่อไปในอนาคต หนึ่งบุคคลที่เปรียบเหมือนหัวเรือผู้ริเริ่มและบริหารจัดการงานต่างๆ จนส�ำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีคือ นายสวรรค์ พรมวิชัย นักคอมพิวเตอร์ระดับ 7 แผนกบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ควบคุมและเครือ่ งวัด 2 กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า 2 ฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ใช้เวลาว่างหลังจากการท�ำงานมาเป็น จิตอาสาชุมชนบ้านเมาะหลวง เล่าว่า “เมือ่ ก่อนผมเดินสายท�ำบุญในอ�ำเภอต่างๆ มาหลายที่ พอถึงจุดหนึ่งจึงกลับมาคิดว่าถ้าเกิดอยากจะพัฒนาบ้านของเรา

E

Ethic & Integrity เทิดคุณธรรม

นางสาวจุฬาลักษณ์ กันชาติ วิทยากรระดับ 7 สังกัดแผนกส่งเสริมความสัมพันธ์ชุมชน กองชุมชนสัมพันธ์ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ถ้าพูดถึงการท�ำงานโดยยึดหลักค่านิยม และวัฒนธรรมองค์การ กฟผ. หรือ SPEED มาใช้เป็นหลักในการท�ำงาน ต้องบอกว่าค่านิยม แต่ละข้อมีความส�ำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน ทุกข้อล้วนแล้วควรยึดถือปฏิบัติ นอกจากจะเกิ ด ผลดี ต ่ อ องค์ ก รแล้ ว ยั ง เป็ น ผลดี ต ่ อ ตนเองอี ก ด้ ว ย ส่วนตัวแล้วน�ำหลักค่านิยม E-Ethic & Integrity เทิดคุณธรรม มาปรับใช้ ควบคู่กับการท�ำงานเสมอ เพราะเชื่อว่าความซื่อสัตย์ การปฏิบัติงาน อย่างสุจริต ท�ำตามกฎระเบียบต่างๆ ขององค์กร และไม่เอาเปรียบ เพือ่ นร่วมงาน หรือผูท้ ตี่ ้องประสานงานด้วย จะน�ำมาซึ่งความสบายใจ ในการท�ำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท�ำงานร่วมกับชุมชน ซึ่งต้องมี การใช้งบประมาณในการดูแล สร้างความสัมพันธ์ ร่วมกิจกรรมกับชุมชน ย่อมจะต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง การท�ำงาน หรือข้อร้องเรียนตามมา สุดท้ายเชื่อว่าหากท�ำทุกอย่างด้วย ความถูกต้องแล้ว ถือเป็นความสมบูรณ์แบบของการท�ำงาน

พอจะมีทไี่ หนสามารถท�ำได้บา้ ง จึงพากันมาส�ำรวจทีน่ เี่ พราะเมือ่ ก่อนพอทราบ ว่าบริเวณนี้มีถ�้ำอยู่ จากตอนแรกคิดว่าจะท�ำรูปปั้นพญานาคบริเวณหน้าถ�้ำ ตามงบประมาณที่มีอยู่แสนกว่าบาท แต่พอท�ำไปเรื่อยๆ ชาวบ้านร่วมกัน ช่วยเหลือทุกอย่าง อย่างเช่นวิหารใหม่ทกี่ ำ� ลังสร้างตอนนีไ้ ม้สกั ทัง้ หมดก็มาจาก ชาวบ้านบริจาคคนละเล็กละน้อยรวมแล้ว 70 กว่าต้น หรือแม้แต่งบประมาณ การก่อสร้างก็ได้รับการสนับสนุนที่มาจากคนในชุมชนและผู้มีจิตศรัทธาจาก ทั่วสารทิศ ยิ่งมีแรงสนับสนุนของพี่ ป้า น้า อา เข้ามามากๆ ก็ยิ่งเป็นแรง ผลักดันให้ตงั้ ใจพัฒนาตรงนีใ้ ห้ออกมาดีทสี่ ดุ นอกจากจะได้รว่ มท�ำนุบำ� รุงศาสนา ในชุมชนของตัวเองแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ได้กลับมาคือความสุขจากสิ่งที่ได้ท�ำ เป็นพลังให้ดำ� เนินชีวติ ต่อไป”

นายสวรรค์ พรมวิชยั

31 กรกฎาคม 2563 08.30 – 12.00 น. กฟผ.แม่เมาะ โดยกองทุนสงเคราะห์และ พั ฒ นาจั ง หวั ด ล� ำ ปาง มอบทุ น การศึ ก ษาแก่ นั ก เรี ย นในระดั บ มัธยมศึกษาปีที่ 6 และระดับ ปวช. ปีที่ 3 ในเขตพื้นที่ จ.ล�ำปาง ที่ผ่านการคัดเลือกให้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หรือระดับ ปวส. จ�ำนวน 72 ทุน ทุนละ 5,000 บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 360,000 บาท ณ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ *** กองทุนสงเคราะห์และพัฒนาจังหวัดล�ำปาง จัดตั้งโดย กฟผ.แม่ เ มาะ ที่ น� ำ รายได้ จ ากการจั ด การแข่ ง ขั น งานเดิ น -วิ่ ง เฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ แม่ เ มาะฮาล์ ฟ มาราธอน ส� ำ หรั บ สนั บ สนุ น กิ จ กรรมสาธารณประโยชน์ และส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาแก่ เ ยาวชน ในพื้ น ที่ จ.ล� ำ ปาง โดยการมอบทุ น ในครั้ ง นี้ เ ป็ น จั ด สรรรายได้ จากงานเดิน-วิ่งฯ ครั้งที่ 28 ซึ่งจัดขึ้นวันที่ 4 สิงหาคม 2562

MY HOME MY POWER PLANT

11


โรงไฟฟาแมเมาะ - เป ดรับคณะวันจันทร -ศุกร เวลา 09.00 -16.00 น. (ติดต อสอบถามเจ าหน าที่ล วงหน า) - รับคณะดูงานไม เกิน 100 คน ต องเป นระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป - สแกน QR Code “ไทยชนะ” ก อนเข าและออก

- ตรวจวัดอุณหภูมิร างกาย และล างมือด วยเจลแอลกอฮอล ก อนเข าสู อาคารประชาสัมพันธ แม เมาะ - ต องสวมหน ากากอนามัยตลอดเวลา - มีไข ไอ มีนาํ้ มูก ไม สวมหน ากากอนามัย ไม อนุญาตให เข าศึกษาดูงาน เจลอนามัย ล างมือ

*ทําความสะอาดสถานที่ดูงานก อนและหลังใช งานทุกครั้ง ติดต อสอบถามข อมูลเพิ่มเติม แผนกประชาสัมพันธ โรงไฟฟ าแม เมาะ โทร: 054-253862 , 054-252738

เหมืองแมเมาะ พิพิธภัณฑศูนยถานหินลิกไนตศึกษา

สวนพฤกษชาติเหมืองแมเมาะ

- เป ดทําการวันจันทร -ศุกร (ติดต อสอบถามเจ าหน าที่ล วงหน า) - สแกน QR Code “ไทยชนะ” ก อนเข าและออก - ตรวจวัดอุณหภูมิ และล างมือด วยเจลแอลกอฮอล - มีไข ไอ มีนํ้ามูก ไม สวมหน ากากอนามัย ไม อนุญาตให เข าศึกษาดูงาน - เว นระยะห าง 1.50 เมตร ภายในอาคาร 7 โซน - เข าดูงานรอบละ 10 คน เป ดรับรอบเช า 50 คน รอบบ าย 50 คน - กรณีพบคณะมีไข สูง 37.5 องศา จะยกเลิกการเข าศึกษาดูงานทั้งคณะ - จัดสถานที่พักรอคิวก อนเข าชมภายในพิพิธภัณฑ ฯ

- เป ดทุกวันตั้งแต เวลา 08.30-18.00 น. - รับนักท องเที่ยวเข าชมไม เกิน 125 คน (มีบัตรคิวเข า) - สแกน QR Code “ไทยชนะ” ก อนเข าและออก - ตรวจวัดอุณหภูมิ และล างมือด วยเจลแอลกอฮอล - ห ามรับประทานอาหารในสวน - งดเล นสไลเดอร

เจลอนามัย ล างมือ

สวนเฉลิมพระเกียรติฯ (ทุงบัวตอง) - เป ดทุกวันตั้งแต เวลา 08.30-18.00 น. - รับนักท องเที่ยวเข าชมไม เกิน 150 คน (มีบัตรคิวเข า) - สแกน QR Code “ไทยชนะ” ก อนเข าและออก - ตรวจวัดอุณหภูมิ และล างมือด วยเจลแอลกอฮอล - ห ามรับประทานอาหารในสวน

*ทําความสะอาดสถานที่ดูงานก อนและหลังใช งานทุกครั้ง ติดต อสอบถามข อมูลเพิ่มเติม พิพิธภัณฑ ศูนย ถ านหินลิกไนต ศึกษา (เหมืองแม เมาะ) โทร: 054-254930

กฟผ.แม เมาะ http://maemoh.egat.co.th

กฟผ.แม เมาะ

@maemoh.powerplant

Maemoh.egat.com/hellomaemoh

054 252 734

maemohnews@egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.