MY HOME MY POWER PLANT 08-2562

Page 1

วารสารโรงไฟฟ าแม เมาะ

ป ที่ 25 ประจำเดือนส�งหาคม 2562


MY

HOME MY POWER PLANT

หากพูดถึงสนามวิ่งในภาคเหนือ “แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน” ถือเป็นอีกหนึ่ง สนามรุ่นเก๋าที่นักวิ่งทั้งขาเก่าและขาใหม่ ต่างกล่าวขานถึงความท้าทายของเนิน ในต�ำนาน อีกทั้งบรรยากาศเขียวขจีและความเย็นสบายในฤดูฝน ดึงดูดให้เหล่า นักวิ่งน่องเหล็กอยากมาสัมผัสให้ได้สักครั้ง ส�ำหรับการจัดงานในปีที่ 28 นี้ ยังได้รับ การตอบรับที่ดีเช่นเคยจากนักวิ่งทั่วประเทศ และต่างชาติกว่าหมื่นคน ซึ่งนอกเหนือ จากสนามวิ่งและภูมิประเทศที่เป็นเอกลักษณ์แล้ว เหล่าผู้มาเยือนยังได้สัมผัสกับ วัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนแม่เมาะ ตลอดจนได้แวะชมโรงไฟฟ้าและ เหมืองแม่เมาะที่เป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ในภาคเหนืออีกด้วย ไม่เพียง แค่นั้น แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ยังเป็นสนามเริ่มต้นของเยาวชนหลายๆ คน ให้ได้ มาประลองความสามารถจนก้าวไปสูก่ ารเป็นนักวิง่ มืออาชีพมานักต่อนักแล้ว แม้การ ผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป็นภารกิจหลักของ กฟผ.แม่เมาะ แต่งานเดิน-วิง่ เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน จะถือเป็นอีกหนึ่งบทบาทขององค์กร ที่แสดงให้เห็นถึง การสร้ า งสั ม พั น ธ์ อั น ดี ต ่ อ ชุ ม ชน สั ง คม ตลอดจนเป็ น การประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ คนต่างถิ่นรู้จัก อ.แม่เมาะ น�ำความภูมิใจมาสู่ชุมชนและจังหวัดล�ำปาง

บทบรรณาธิการ นอกจากงานยิ่ ง ใหญ่ ป ระจ� ำ ปี อย่ า งงานเดิ น -วิ่ ง ฯ แม่ เ มาะฮาล์ ฟ มาราธอน แล้ว ในเดือนสิงหาคมของทุกปี ยังเป็นช่วงของการแถลงผลการ ด�ำเนินงานสายงาน ชฟฟ2. ในรอบ 6 เดือนแรกด้วย My Home My Power Plant ไม่ ร อช้ า ขอเกาะติ ด สถานการณ์ น� ำ ผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นต่ า งๆ ทั้ง PA ตัวชี้วัด และแผนกลยุทธ์ มาให้ผู้อ่านได้รับทราบ ซึ่งบทสรุปเหล่านี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนากระบวนการท�ำงาน อีกทั้งยังสามารถ น� ำ มาวิ เ คราะห์ ป ั ญ หา อุ ป สรรค อั น จะน� ำ ไปสู ่ ก ารร่ ว มกั น หาทางหาออก ที่ ล ดความเสี่ ย งต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะให้น้อยที่สุด เพื่อคงความมั่นคงในระบบพลังงานของประเทศ ดั ง วิ สั ย ทั ศ น์ ส ายงาน ชฟฟ2. ที่ ว ่ า ผลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ ความมั่ น คง ยั่ ง ยื น ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม บรรณาธิการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กองบรรณาธิการ หมวดข้อมูลข่าวสาร แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส�ำนักงาน แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 โทร : 054-252734 ออกแบบและจัดพิมพ์โดย FINE DAE CREATIVE ORGANISER Co., Ltd. โทร : 053-810801 แฟกซ์ : 053-810811

2

MY HOME MY POWER PLANT

วิสัยทัศน์สายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 ผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม SMART ENERGY FOR SUSTAINABILITY

พันธกิจสายงาน ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า 2 มุ่งเน้นนวัตกรรมในการผลิตไฟฟ้า ให้มีสมรรถนะสูง มั่นคง แข่งขันได้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณค่าร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล


นางสาวพรรณพัชร แก่นเพ็ชร นักท่องเทีย่ ว จาก กทม. กล่าวว่า มาร่วมงานเดิน-วิ่งฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ปีนี้เป็นครั้งแรก ส่วนตัว คิดว่าเมื่อมาถึง อ.แม่เมาะ แล้วต้องมาชมหัวใจหลักของ อ.แม่เมาะ นัน่ ก็คอื กฟผ.แม่เมาะ ไม่อย่างนัน้ แสดงว่ามาไม่ถงึ กิจกรรม พาแอ่วชุมชน ชมวิถีคนแม่เมาะ และ EGAT Happy Tour ได้ตอบโจทย์นักท่องเที่ยว ที่ไม่ได้น�ำรถส่วนตัวมาเอง อีกทั้งยังมีมัคคุเทศก์น้อยคอยแนะน�ำสถาน ที่พร้อมเล่าความเป็นมาตลอดทาง ส่วนบรรยากาศที่นี่สดชื่นมาก มองไปทางไหนก็เขียวชอุ่มไปหมด ไม่น่าเชื่อว่าเหมืองและโรงไฟฟ้า จะรายล้อมด้วยธรรมชาติเช่นนี้ อยากให้มาเที่ยวแม่เมาะเพราะจะได้ เห็นมุมมองมาเห็นด้วยตาและสามารถสัมผัสได้ว่าเมืองอุตสาหกรรม ไม่ได้มีพิษภัยใดๆ เลย มีแต่ความสวยงามที่รอคุณอยู่จริงๆ

MMRP1 พร้อมจ่ายไฟเชิงพาณิชย์ เตรียมรับไม้ตอ่ โรงไฟฟ้าแม่เมาะเครือ่ งที่ 4-7 เสริมสร้างความมัน่ คงทางพลังงานของประเทศ 29 สิ ง หาคมที่ ผ ่ า นมา ถื อ เป็ น ฤกษ์ ง ามยามดี ที่ โรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะเครื่องที่ 4-7 (MMRP1) ถึงก�ำหนดจ่ายกระแสไฟฟ้าเชิงพาณิชย์อย่างเป็นทางการ (Commercial Operation Date : COD) ซึ่ง กฟผ. ต้องแจ้ง ต่อส�ำนักงานก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ก่อนด�ำเนินการ COD ล่วงหน้าอย่างน้อย 15 วัน เพื่อรับรองความพร้อมของ ระบบ ทั้งนี้ MMRP1 ได้เริ่มก่อสร้างและด�ำเนินการตาม ขั้นตอนทางกฎหมายมาตั้งแต่ปี 2558 เป็นโรงไฟฟ้าถ่านหิน เทคโนโลยีสะอาด ที่น�ำเทคโนโลยีอัลตราซุปเปอร์คริติคอล ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยในปัจจุบันมาใช้ในกระบวนการ ผลิต ลดการใช้ถ่านหินลง 24% ลดการใช้น�้ำลงถึง 51% นอกจากนี้ MMRP1 ยั ง มี ร ะบบลดการปล่ อ ยมลสารให้ น้อยยิ่งกว่าเดิม โดยสามารถก�ำจัดฝุ่นได้ถึง 99.98% ก�ำจัด ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 98.94% ซึ่งสามารถควบคุมค่า การปล่อยมลสารทุกประเภทได้ดีกว่าค่ามาตรฐานที่ก�ำหนด โดยกรมควบคุมมลพิษอีกด้วย Photo by HACKPRESSO MY HOME MY POWER PLANT

3


MY

HOME MY POWER PLANT

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แหล่งผลิตข้าวออแกนิคระดับ AAA นอกจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะจะเป็นสถานที่สร้างและผลิตแสงสว่างให้แก่ผู้คน ยังได้สร้าง “ศูนย์เรียนรู้โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร แก่ชุมชนที่อยู่โดยรอบและผู้ที่สนใจอีกด้วย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ ท�ำให้พื้นที่แห่งนี้มีความพร้อมในการท�ำการเกษตรทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นการปลูกพืชผักสวน ครัว การเลี้ยงสัตว์ การท�ำปุ๋ยหมัก การใช้จุลินทรีย์ชีวภาพ การท�ำน�้ำยาและผลิตภัณฑ์ที่ลด การใช้สารเคมีในครัวเรือน ตลอดจนการเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และโครงการปลูก ข้าวแบบประณีตเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ปลูกข้าวพันธุ์ไรซ์เบอรี่แบบปลอดสารเคมี ซึ่งแต่ละปีจึงมีผู้คน ให้ความสนใจเข้ามาศึกษาดูงานเป็นจ�ำนวนมาก ที่ผ่านมาบนพื้นที่นาข้าวของศูนย์ชีววิถีฯ ได้ปลูกข้าวสายพันธุ์ไรซ์เบอรี่ และข้าวพันธุ์ กข.43 ซึ่งผลผลิตเมล็ดข้าวที่ปลูกในศูนย์ชีววิถีฯแห่งนี้ ได้ผ่านการตรวจจากห้องแล็บของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าเป็นเมล็ดพันธุ์ข้าวออแกนิคที่ดี และเม็ดข้าวที่ใช้รับประทาน ได้รับการรับรองว่าเป็นอินทรีย์ AAA ถือว่าเป็นระดับสูงที่สุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคมที่ผ่าน มายังได้ปลูกข้าวพันธุ์หอมใบเตย 62 ข้าวพระราชทานในรัชกาลที่ 10 ด้วยวิธีการโยน ซึ่งผลผลิต จากการเก็บเกี่ยวแต่ละครั้ง กฟผ.แม่เมาะ จะมอบเม็ดพันธุ์ข้าวให้เกษตรกรในพื้นที่ 5 ต�ำบล ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ เพื่อน�ำไปขยายพันธุ์ในฤดูกาลต่อไป

ข าวขาวนํ้าตาลตํ่า เหมาะกับผู รักสุขภาพ และผู ป วยโรคเบาหวาน

กลิ่นหอมคล ายใบเตย อายุการเก็บเกี่ยวสั้น

ระบบ Machine Learning ใช้ AI และ Big data ช่วยพยากรณ์สมรรถนะโรงไฟฟ้า งานวิจัยเรื่อง “ระบบ Machine Learning ต้นแบบส�ำหรับ Digital Power Plant” ผลงานของนายธีรยุทธ ทองบาล วศ.7 อรม., นายปรัชญ์ กิตติพงษ์พฒ ั นา วศ.7 อวน., นายปริวรรต ขวัญกลัด วศ.6 อรม., น.ส.ปิยพัชร ถาวรวิสิตย์ วศ.6 อฟม., น.ส.มัทนพร ไชยตา วศ.6 อฟม., นายพิชา แก้วจิตคงทอง วศ.6 อจส., นายนันทชัย ปาเตนา วศ.5 อรม., นายพิทยา ชัยสวัสดิ์ วศ.5 อรม., นายปฐมพงศ์ ชัยเชษฐ์ด�ำรงกุล วศ.5 อวร., นายอดุลย์ กฤษฎาธาร วศ.5 อรม. และนายปิยะพงศ์ บุญสมปาน วศ.4 อจส. ร่วมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศึกษาวิจัยด้วยงบประมาณ กว่า 3 ล้านบาท โดยด�ำเนินการแล้วเสร็จเมื่อ 31 กรกฎาคมที่ผ่านมา น.ส.ปิยพัชร ถาวรวิสิตย์ นักวิจัย กล่าวว่า ความสูญเสียโอกาสจาก การผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีสาเหตุหลักใหญ่ๆ มาจากความผิดพลาด ของอุปกรณ์การเดินเครือ่ งได้แก่ หม้อไอน�ำ ้ (Boiler) และเครื่องก�ำจัดก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (FGD) จากอดีตถึงปัจจุบนั โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีการจัดเก็บ ฐานข้อมูลงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาไว้อย่างเป็นระบบ (Big data) ทีมงาน จึงน�ำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาเชื่อมโยงเข้ากับเทคโนโลยี ด้านไอที โดยอาศัยปัญญาเชิงค�ำนวณ (Computational Intelligence) หรือ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เข้ามาช่วยตัดสินใจส�ำหรับ อุปกรณ์หรือระบบที่มีผลต่อความสามารถในการผลิตเพื่อลดการสูญเสีย ก� ำ ลั ง การผลิ ต ที่ มี ส าเหตุ ม าจากอุ ป กรณ์ ส� ำ คั ญ ของโรงไฟฟ้ า เสี ย หาย โดยไม่ทราบล่วงหน้า

4

MY HOME MY POWER PLANT

ทีมงานได้ออกแบบระบบด้วยโปรแกรม Python โดยเลือกสร้างระบบ Machine Learning ที่เหมาะสมกับโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ�ำนวน 2 ระบบ ได้แก่ 1.ระบบที่สามารถพยากรณ์การเกิดการรั่วของ Boiler Tube ระยะแรกได้ 2.ระบบที่สามารถพยากรณ์การเกิด Booster Fan Vibration High ของ FGD Unit 13 ล่วงหน้าและสามารถระบุปจั จัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เกิดเหตุการณ์ได้ ปัจจุบันโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้น�ำ Big Data และ AI เข้ามาใช้เพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพในหลายระบบงานและเตรี ย มปรั บ เปลี่ ย นไปสู ่ ก ารเป็ น โรงไฟฟ้าดิจทิ ลั (Digital Power Plant) ซงึ่ ระบบ Machine Learning ต้นแบบ 2 ระบบนี้ ที ม งานเตรี ย มต่ อ ยอดโครงการในระยะที่ ส องเพื่ อ พั ฒ นา ให้ มี ค วามแม่ น ย� ำ มากขึ้ น และสามารถวิ เ คราะห์ ผ ลได้ ใ นเชิ ง ลึ ก มากขึ้ น เพื่อขับเคลื่อนไปสู่การเป็นโรงไฟฟ้าที่มีสมรรถนะสูงต่อไปในอนาคต


MY HOME MY POWER PLANT

5


MY

HOME MY POWER PLANT

02

ผลดําเนินงานตามตัวชี้วัดสําคัญ ชฟฟ2.

1. AFOEE 2. Heat Rate 3. จํานวนนวัตกรรม – งานวิจัยที่ฝ ายเห็นชอบ - สิ่งประดิษฐ ที่ผ านรอบ กฟผ. 4. ต นทุนการผลิตไฟฟ า (M, O&m, Spare part, VOM) 5. อัตราการใช งบลงทุน 6. อัตราการใช งบทําการที่ควบคุมได 7. จํานวนข อเสนอแนะจาก สนตน.(ระดับผลกระทบสูง) และ สตง. 8. จํานวนครั้งปล อยมลสาร (SO2 , NO2 , TSP, TDS) จากแหล งกําเนิดที่เกินกว ากฎหมาย 9. จํานวนข อร องเรียนจากชุมชน (เป นข อบกพร องจาก กฟผ.) 10. จํานวนข อร องเรียนการทุจริตประพฤติมิชอบ และความไม เป นธรรม 11. การสนับสนุนชุมชนหรือ ระดับความสัมพันธ กับชุมชน (รฟม. และ รฟพ.) 12. จํานวนผู ปฏิบัติงานทําผิดกฎระเบียบ 13. มูลค าทรัพย สินสูญเสียต อหน วยการผลิต 14. ดัชนีประสบอันตรายถึงขั้นหยุดงาน หมายเหตุ : ตัวชี้วัดความผูกพันของพนักงานต อ กฟผ. และระดับความพึงพอใจของ รวส. ต อคุณภาพและข อตกลงซื้อขายไฟฟ าผลลัพธ รายงานได ปลายป หมายเหตุ : สีเขียว = เป นไปตามเป าหมาย , สีเหลือง = ติดตามอย างใกล ชิด , สีแดง = ไม เป นไปตามเป าหมาย

6 เดือนแรก ป 2562 สายงาน ชฟฟ2. มีผลดําเนินงานตาม PA คิดเปนคาเกณฑทไี่ ด 4.924 (เต็ม 5) โดยจุดทีน่ บั วาทาทาย อยางมากในการยกระดับคา AFOEE ในชวง 6 เดือนหลังของ รฟ.แมเมาะ คือ ลดโอกาสเกิด Unplan Outage ใหดีกวาแผน ที่กําหนดไว ซึ่งสามารถกูคืนผลดําเนินงานของตัวชี้วัดนี้ และทําใหภาพรวม PA มีผลดําเนินงานที่ดีขึ้น สําหรับตัวชี้วัดดานการ บริหารแผนการลงทุน พบวา 6 เดือนแรก สายงานมีผลดําเนินการที่บรรลุเปาหมายที่วางไว ซึ่งหากติดตามควบคุมกระบวนการที่ดี อยางตอเนื่อง มีโอกาสสูงที่เราจะสามารถเบิกจายไดเต็มตามวงเงินงบประมาณที่วางแผนไว ผลดําเนินงานดานการจัดการความรู (สิง่ ประดิษฐ งานวิจยั นวัตกรรม) มีผลดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายทีว่ างไวในชวง 6 เดือนแรก โดยเฉพาะสิง่ ประดิษฐทเี่ สนอในรอบ กฟผ. ซึง่ เปนตัวแปรสําคัญในการผลักดันสูช นิ้ งานทีเ่ ปนนวัตกรรม สอดคลองทิศทาง กฟผ. และ ตอบโจทยดา นความยัง่ ยืนขององคกร อยางไรก็ตาม สายงาน ชฟฟ2. มีผลดําเนินงานทีไ่ มบรรลุเปาหมายสอดคลองกับนโยบายในการบริหารทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับบุคลากร และสภาพแวดลอมในการปฏิบตั งิ าน ไดแก ผูป ฏิบตั งิ านทําผิดกฎระเบียบ มีขอ บกพรองจริงตามขอเสนอแนะจาก สตง. ผูป ฏิบตั งิ าน ไดรับอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานจากการทํางาน และเกิดความสูญเสียดานทรัพยสิน เปนตน ดังนั้นในชวง 6 เดือนหลัง ป 2562 ขอใหผบู ริหารทุกระดับตระหนักและดูแลผูป ฏิบตั งิ านทีอ่ ยูใ ตบงั คับบัญชา ตลอดจนสภาพแวดลอมในพืน้ ทีท่ รี่ บั ผิดชอบ เพือ่ ลดโอกาส เกิดเหตุการณใหมชวง 6 เดือนหลังตอไป

6

MY HOME MY POWER PLANT


01

ผลดําเนินงานตาม PA ระหว่าง รวฟ. และ ชฟฟ2. (งวด 6 เดือน)

1. ความสามารถในการบริหารแผนการลงทุน (ออก PR ครบ 100% ภายใน มิ.ย.และเบิกจ ายรายไตรมาสไม น อยกว า 80%) 2. การบริหารค าใช จ ายจากการดําเนินงาน (งบทําการ) 3. กรอกข อมูลเข าระบบ GADS ของ อปผ. ทันตามกําหนด 4. การทดสอบความพร อมของการใช เชื้อเพลิงสํารองของ รฟพ. และ รฟว. 5. ความสามารถในการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ าเข าสู ระบบ รฟว. ชุดที่ 3 6. ค า Availability Factor (AFOEE ) - โรงไฟฟ าพลังความร อนแม เมาะ หน วยที่ 8-13 - โรงไฟฟ า รฟพ. ชุดที่ 1-2 และ รฟว. ชุดที่ 4 7. ค าอัตราค าความร อนในการผลิตไฟฟ า (Net Heat Rate)

03

นํ้าหนัก

เกณฑ์ที่ได้รับ

15

5.0

10 10 10 15

5.0 5.0 5.0 5.0

10 10 20

4.243 5.0 5.0

100

4.924

ผลดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์ ชฟฟ2. งวด 6 เดือน ปี 2562

สําหรับผลดําเนินงานในงวด 6 เดือนแรก ป 2562 จากทั้งหมด 24 แผน สามารถดําเนินการไดตามแผน 15 แผน และลาชากวา แผน 9 แผน คิดเปนความกาวหนารอยละ 54.69 เทียบกับเปาหมายรอยละ 55.17 สวนตางลาชา รอยละ - 0.48 ดังนั้นผูรับผิดชอบแผน ควรเรงรัดกิจกรรมของแผนใหเปนไปตามเปาที่กําหนดไวและหากพบวามีปญหาอุปสรรคหรือเกิดความเสี่ยงที่จะไมบรรลุตามเปาหมาย ในสิ้นปนั้น ตองพิจารณาปรับปรุงกิจกรรมของแผน หรือเพื่อขอการสนับสนุนจาก คบ.ชฟฟ2. อยางทันที ทั้งนี้คณะทํางานยุทธศาสตร ความเสี่ยงควบคุมภายในและประเมินผลสายงาน ชฟฟ2. (คยส-ชฟฟ2.) ยิ น ดี รั บ ฟ ง ข อ คิ ด เห็ น หรื อ ข อ เสนอแนะจากชาว ชฟฟ2. ทุ ก ท า นทาง E-Mail: asbpmm@egat.co.th หรือผานชองทาง Scan QR Code

MY HOME MY POWER PLANT

7


MY

HOME MY POWER PLANT

ช่วงก่อสร้าง MMRP1 กฟผ.น�ำส่งเงินให้ กกพ.

กว่า 100 ล้าน บาท

เป็นทีร่ กู้ นั ว่ากว่าจะได้โรงไฟฟ้าสัก 1 โรงนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย ต้องมีการด�ำเนินการหลากหลายขัน้ ตอน ซึง่ ต้องใช้ระยะเวลาหลายปีกว่าจะได้โรงไฟฟ้ามา และที่ส�ำคัญทุกขั้นตอนต้องโปร่งใส ให้ชุมชน สังคมได้รับประโยชน์สูงสุด หลังจากที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะเครื่องที่ 4-7 หมดอายุลง ตามแผน PDP 2018 (แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย) กฟผ. จึงด�ำเนินการสร้างโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะเครื่องที่ 4-7 (MMRP1) โดยเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ เดือนเมษายน 2558 ซึง่ ในระหว่างการก่อสร้างนัน้ กฟผ. ได้สง่ เงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้าโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานแล้ว จ� ำ นวน 110 ล้ า นบาท เพื่ อ เป็ น งบประมาณในการพั ฒ นาชุ ม ชนในพื้ น ที่ ร อบโรงไฟฟ้ า ทั้ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต การศึ ก ษา สาธารณสุ ข อาชี พ และการบูรณะศาสนสถาน อีกทัง้ กระจายความเจริญไปยัง อ.แม่เมาะ และ จ.ล�ำปาง ตามล�ำดับ ในการส่งงบประมาณเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้านัน้ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1. ระหว่างก่อสร้างโรงไฟฟ้า น�ำส่งปีละ 50,000 บาท/เมกะวัตต์ 2. ระหว่างการผลิตไฟฟ้า นับจากวันที่เริ่มจ่ายไฟเข้าระบบเชิงพาณิชย์ น�ำส่งเป็นรายเดือนๆ ละ 2.0 สตางค์/หน่วยไฟฟ้า

เตือนชาวโซเชียล

แบบไหนคูล? แบบไหนคุก?

สวัสดีชาวโซเชียล!! คอมเมนต์เรื่อง ค.1 โรงไฟฟ้าแม่เมาะทดแทนเครื่องที่ 8-9 ที่ผ่านมา กลายเป็นประเด็นร้อนอยู่ในโลกอินเทอร์เน็ตไม่น้อยเลย ชาวคีย์บอร์ดทั้งรุ่นใหม่และรุ่นใหญ่ ต่างแสดงทัศนะต่อการมีและไม่มีโรงไฟฟ้ากันอย่างแข็งขัน ดีที่สมัยนี้หมู่เฮาได้มีพื้นที่แสดงความคิดเห็นกันเต็มที่ แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่ไม่เดือดร้อนผู้อื่น ไม่งั้นอาจเจอโทษหนักขั้นติดคุกได้ “บอกต่อ..เรื่องใกล้ตัว” วันนี้จึงมีเนื้อหาบางส่วนจาก “พ.ร.บ.คอมพ์ ฉบับปี 2560” มาย�้ำเตือนกันหน่อย

นอกจากนี้ ใครพบข้อมูลผิดกฎหมายบนระบบคอมพิวเตอร์ของเรา สามารถแจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบได้โดยที่เราจะไม่มีความผิด เช่น มีคนมา คอมเมนต์ข้อมูลที่ผิดกฎหมายในเฟซบุ๊กของเรา เราสามารถแจ้งลบได้ทันที โดยที่เราจะไม่มีความผิดนั่นเอง

8

*มาตรา 112 - ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา ไปอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเต็มเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ได้ที่ – กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม http://www.mdes.go.th/ MY HOME MY POWER PLANT


คุณภาพอากาศแมเมาะ เดือนกรกฎาคม 2562 อยูในเกณฑมาตรฐาน

การยืนและการนัง่ เป็นพืน้ ฐานของงาน ทุกประเภท ใช่แต่คนท�ำงานในสถานประกอบ การโรงงานเท่านั้น งานส�ำนักงานอาจเกิด ปัญหาท่าทางการท�ำงานได้เช่นกัน ดังนัน้ การ ท�ำให้ทกุ คนตระหนักถึงอันตรายจากปัญหา เกีย่ วกับท่าทางการท�ำงานจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ

- ปรับสถานที่ทํางานให เหมาะสม - ใช เก าอี้หมุนซึ่งปรับความสูงของที่นั่งได - ปรับที่นั่งให มีระดับตํ่ากว างานที่ทําอยู 25 - 35 เซนติเมตร

- ทีน่ ง่ั ควรมีความกว างอย างน อย 40 เซนติเมตร - เลือกเก าอี้ที่มีพนักพิง สามารถรับนํ้าหนักได - ที่นั่งไม ควรหุ มด วยวัสดุที่ลื่นหรือแข็ง - เลือกเบาะที่นั่งที่มีความหนา 2 - 3 เซนติเมตร - ควรจัดให คนงานสามารถปฏิบัติงาน ได ทั้งท านั่งและท ายืน - สําหรับพืน้ ทีท่ จี่ าํ กัด ควรใช เก าอีช้ นิดพับเก็บได - จัดให มีเก าอี้นั่งพัก แม ลักษณะงานนั้นจะต อง ยืนปฏิบัติงานตลอดเวลา

ข อควรปฏิบัติ

- ปรับระดับความสูงของงานให เหมาะสมกับขนาดของร างกาย โดยใช ความสูงระดับข อศอกเป นหลัก - จัดสภาพงานทีต่ อ งทําให อยูใ นระดับทีห่ ยิบจับง าย สะดวก เหมาะสมอยูเ สมอ - หันชิน้ งานเข าหาตัว ให รา งกายอยูใ กล ชนิ้ งาน - จัดพืน้ ทีท่ าํ งานให กว างพอ สําหรับการเปลีย่ นอิริ ยาบถระหว างทํางาน *ใช ที่พักเท า หรือที่วางเท า เพื่อให น้ําหนักของร ายกายไปยังขาข างใดข างหนึ่ง

ข อห าม

- ห ามเอีย้ วหรือบิดตัวไปปฏิบัติงานด านหลัง หากจําเป นให หนั ไปหาชิน้ งานทัง้ ตัว - ห ามเอือ้ มไปปฏิบัติงานเกินขอบเขตพืน้ ทีท่ าํ งานปกติ - ห ามเอือ้ มไปปฏิบัติงานสูงเกินระดับไหล *การยืน หรือนัง่ ทํางานเป นเวลานานๆ ควรเปลีย่ นท าทางบ อยๆ เพือ่ หลีกเลีย่ งความเมือ่ ยล า

71

44

42

8

47

330

120

780

300

320

TSP/day

PM10/day

SO2/hr.

SO2/day

NO2/hr.

= ค าที่วัดได สูงสุดจากเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ กฟผ.แม เมาะ = ค ามาตรฐาน กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ TSP/day PM10 SO2/hr. SO2/day NO2/hr.

: : : : :

ฝุ นละอองรวม ในคาบ 24 ชั่วโมง ฝุ นละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง ก าซซัลเฟอร ไดออกไซด ในคาบ 24 ชั่วโมง ก าซไนโตรเจนไดออกไซด ในคาบ 1 ชั่วโมง *หน วยเป น ไมโครกรัม / ลูกบาศก เมตร

สําหรับดัชนีคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน พื้นที่ บานพักผูป ฏิบตั งิ าน และพืน้ ทีช่ มุ ชน อยูใ นเกณฑ ดีมาก เหมาะสําหรับ กิจกรรมกลางแจงและการทองเที่ยว

คุณภาพนํ้าทิ้งจากโรงไฟฟาแมเมาะ ประจําเดือนกรกฎาคม 2562

ความเป น กรด-ด าง

5.5-9.0

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ไม เกิน

40 Cํ

ค าปริมาณออกซิเจน ทีใ่ ช ในการย อยสลาย ค าออกซิเจน จุลนิ ทรีย ; BOD ที่ละลายในนํ้า ; DO ค าไขมัน-นํ้ามัน (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)

ไม เกิน

5.0

ไม เกิน

20

ไม ได กําหนด

7.94 30.1 1.00 0.65 6.45 ผ าน ผ าน ผ าน ผ าน

ผ าน

: ค ามาตรฐานนํ้าทิ้งจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม : ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าที่ผ านการบําบัดแล วของโรงไฟฟ าแม เมาะ MY HOME MY POWER PLANT

9


MY

HOME MY POWER PLANT

กิจกรรมเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระพันปีหลวงฯ 12 สิงหาคม 2562 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ตลอดจนหัวหน้าส่วนราชการ ผู้น�ำชุมชนและประชาชนจากทุกภาคส่วนใน อ.แม่เมาะ ร่วมกิจกรรม เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประจ�ำปี 2562 โดยช่วงเช้าท�ำบุญตักบาตร พระสงฆ์ 10 รูป ถวายเป็นพระราชกุศลและพิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล จากนั้นช่วงเย็นเป็นพิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล พร้อมกล่าวอาศิรวาทสดุดีเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระพรชัยมงคล ณ หอประชุมโรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

ถ่ายทอดความรู้ “แม่เมาะก้าวไกล เกษตรกรไทยยั่งยืน ด้วยยิปซัม กฟผ.”

31 กรกฎาคม 2562 การไฟฟ้ า ฝ่ า ย ผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดอบรม“แม่เมาะก้าว ไกล เกษตรกรไทยยัง่ ยืน ด้วยยิปซัม กฟผ.” ถ่ายทอดองค์ความรู้ของลักษณะดินรอบ โรงไฟฟ้าและวิธกี ารใช้ยปิ ซัมสังเคราะห์ทเี่ ป็นวัตถุพลอยได้จากการผลิตไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะในการปรับปรุงดิน เพือ่ เพิม่ ผลผลิตให้กบั พืชของเกษตรกร อ�ำเภอแม่เมาะ ณ ห้องประชุมเมาะหลวง อาคารสมานฉันท์ธชั ชวาล ศูนย์ฝกึ อบรมแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

ท�ำบุญตักบาตรแด่พระภิกษุสงฆ์วัดท่าสี

1 สิงหาคม 2562 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ร่วมท�ำบุญ ตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ จ�ำนวน 9 รูป จากวัดท่าสี อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง ณ บริเวณโถงอาคารปฏิบัติการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ (ZD) โดยชมรมพุทธศาสน์ กฟผ.แม่เมาะ ได้จัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตรเป็นประจ�ำ ทุกเดือน มีก�ำหนดครั้งต่อไปในวันที่ 19 กันยายน 2562

ปล่อยพันธุ์ปลาสู่เขื่อนแม่จาง

กฟผ.แม่เมาะ ปลูกข้าวพันธุ์พระราชทานส่ง ต่อเมล็ดพันธุ์สู่ชุมชน

4 สิงหาคม 2562 กฟผ.แม่เมาะ ปลูกข้าว ไรซ์ เ บอร์ รี่ พั น ธุ ์ พ ระราชทานและ ข้าวพันธุ์หอมใบเตย ประจ�ำปี 2562 โดยมี น ายนิ มิ ต ร ผดุ ง ศิ ล ป์ ไ พโรจน์ นายอ� ำ เภอแม่ เ มาะ นายวี ร ะวั ฒ น์ ชลายน และนายวิ ท ยา คชรั ก ษ์ อดี ต ผู ้ ว ่ า การ กฟผ. พร้ อ มด้ ว ย ผู ้ บ ริ ห าร กฟผ. และ ผู ้ แ ทนมู ล นิ ธิ อาสาเพื่ อ นพึ่ ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทยประจ� ำ ภาคเหนื อ ร่วมปลูกข้าวด้วยวิธีการโยน ตลอด จนเดิ น ชมพื้ น ที่ แ ปลงสาธิ ต เกษตรพอเพี ย ง ณ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ชี ว วิ ถี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ.แม่เมาะ หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว จะน�ำเมล็ดพันธุ์ไปแจกจ่ายให้กับเครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่ อ.แม่เมาะ และใช้ขยายพันธุ ์ ใ นฤดูเพาะปลูกต่อไป

10

MY HOME MY POWER PLANT

8 สิงหาคม 2562 กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรม “วันไหว้พระ ปล่อย ปลา พาสุขใจ” โดยมีนายนิมิตร ผดุ ง ศิ ล ป์ ไ พโรจน์ นายอ� ำ เภอ แม่เมาะ เป็นประธาน พร้อมด้วย ผู ้ บ ริ ห ารและผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน กฟผ. แม่เมาะ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ร่วมปล่อยพันธุ์ปลานิล ปลาตะเพียน ปลายี่สก จ�ำนวน 200,000 ตัว เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรน�้ำ บริเวณเขื่อนแม่จาง และมอบพันธุ์ปลาให้แก่ผู้น�ำชุมชนในพื้นที่ ต.นาสัก ส�ำหรับน�ำไปปล่อยในแหล่งน�้ำสาธารณะในชุมชน


สร้างบ้านแก่ผู้ยากไร้ ด้วยความร่วมใจของจิตอาสา “บ้าน” หนึง่ ในปัจจัยสีท่ จี่ ำ� เป็นต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ ทีใ่ ห้ทงั้ ความสะดวกสบาย ปลอดภัย และมัน่ คงแข็งแรง หากแต่วา่ ส�ำหรับนางบัว ขัดหนูวงศ์ วัย 80 ปี ราษฎรบ้านแม่หล่วง ต�ำบลนาสักนั้น ค�ำว่า “บ้าน” มิได้มีพร้อมดังที่กล่าวมาข้างต้น เนื่องด้วยบ้านที่มีสภาพทรุดโทรมและผุพังจนไม่สามารถ อยู่อาศัยได้ จึงท�ำให้เหล่ากาชาดจังหวัดล�ำปาง องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต�ำบลนาสัก และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ร่วมมือกัน ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ยากไร้เหล่านี้ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น นายประดิษฐา นันทวงศ์ ช่างระดับ 9 ตัวแทนจิตอาสา แผนกบ�ำรุง รักษาหม้อน�้ำกลาง กองวางแผนและบ�ำรุงรักษากลาง ฝ่ายบ�ำรุงรักษา โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เล่าว่า “จากที่เหล่ากาชาด จ.ล�ำปาง และ อบต.นาสัก เห็นถึงความยากล�ำบากของนางบัว ขัดหนูวงศ์ จึงสนับสนุนงบประมาณ ในการก่อสร้างบ้านจ�ำนวน 50,000 บาท ส�ำหรับกลุม่ จิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ได้ช่วยเหลือสนับสนุนเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์บางส่วน ตลอดจน ร่วมกันลงมือลงแรงสร้างบ้านจนแล้วเสร็จ พอเห็นผลงานทีอ่ อกมาก็รสู้ กึ ดีใจ และภูมิใจกับทีมงานทุกคนที่ได้สละเวลามาช่วยกันจนส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี อีกทัง้ ยังได้สร้างความสัมพันธ์อนั ดี ดูแลเอาใจใส่ชมุ ชนรอบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ กฟผ.แม่เมาะ ได้อีกด้วย”

E

Enthusiasm for Innovation น�ำด้วยนวัตกรรม

นางสาวณัฐธยาน์ อัศวบุญญานนท์ วิทยากรระดับ 5 แผนกแผนงานและข้อมูล กองชุมชนสัมพันธ์ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ทุกการท�ำงานย่อมมีปญ ั หาใหม่ๆ เกิดขึน้ เสมอ เทคโนโลยี เครือ่ งมือ หรือกระบวนการที่เราคิดว่าดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด อาจไม่ตอบโจทย์ เราก็เป็นได้ เราจึงต้องค่อยๆเรียนรู้ และทดลองไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเจอ สิ่งดีที่สุด ปัจจุบันท�ำงานด้านชุมชน ต้องรวบรวมข้อมูลต่างๆ จัดประชุม ติดตามความก้าวหน้าในแต่ละประเด็นรวมทั้งติดต่อประสานงานกับ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการบริหาร กระบวนการและจัดการข้อมูลดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพ จึงน�ำหลัก E-Enthusiasm for Innovation น�ำด้วยนวัตกรรม มาใช้กับการ ท�ำงาน โดยปรับประบวนการท�ำงานใหม่ ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยี ใหม่ๆเข้ามาช่วย โดยค�ำนึงถึงสภาพปัญหา ผู้เกี่ยวข้องและสถานการณ์ ณ ขณะนั้ น ด้ ว ยว่ า มี ค วามพร้ อ มในการด� ำ เนิ น งานมากน้ อ ยเพี ย งใด เพราะเราไม่ได้ท�ำงานคนเดียว และสิ่งนี้เองจะช่วยให้การท�ำงานของ เรามีประสิทธิภาพสามารถตอบโจทย์เราได้มากที่สุด

5 กันยายน 2562 อ�ำลาโรงไฟฟ้าแม่เมาะเครื่องที่ 4-7 09.30 น. พิธสี งฆ์ ณ ศูนย์อำ� นวยการเดินเครือ่ งโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที่ 4-7 18.00 น. งานเลีย้ งอ�ำลาฯ ณ เกาะลอยเหมืองแม่เมาะ

30 กันยายน 2562 วันแห่งความทรงจ�ำ เกษียณสัมพันธ์ 2562 สายงาน ชฟฟ2. 08.30 น. พี่ผู้เกษียณไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่เคารพ รอบ กฟผ.แม่เมาะ 10.00 น. งานมุทิตาจิต ณ เกาะลอยเหมืองแม่เมาะ 13.30 น. ร่วมพิธีส่งพี่กลับบ้าน

MY HOME MY POWER PLANT

11


แผนปฏิบัติการ ชฟฟ2. ป 2562 รองรับแผนวิสาหกิจ กฟผ. และ initiatives รวฟ. ฉบับมติ คบ.ชฟฟ. วันที่ 12 ธันวาคม 2561

วิสัยทัศน กฟผ. : นวัตกรรมพลังงานไฟฟาเพื่อชีวิตที่ดีกวา วิสัยทัศน รวฟ. : ผลิตไฟฟาเพื่อความมั่นคง ยั่งยืน ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

Theme

พันธกิจ : มุงเนนนวัตกรรมในการผลิตไฟฟาใหมีสมรรถนะสูง มั่นคง แขงขันได ใสใจสิ่งแวดลอม และสรางคุณคารวมกับผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล

ตัวชี้วัด ชฟฟ2.

Strategic Objective

Electricity Innovation

Growth for Administration Excellence Trust and Pride of Nation Sustainability สนับสนุน การดําเนินงาน ตามแผน วิสาหกิจ

E1 - Electricity Innovation 1. Availability Factor : AF 2. Net Heat Rate 3. ร อยละ Production Cost ที่ควบคุม สามารถลดลงได 4. มีจํานวนข อเสนองานวิจัย / สิ่งประดิษฐ / นวัตกรรม

A1 - เพิ่มผลผลิตและความผูกพัน A2 - เสริมสรางการดําเนินงาน พัฒนาโครงสราง พื้นฐานทางดิจิทัล A3 - สนับสนุนการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ

T1 - การกํากับดูแลกิจการที่ดี T2 - ความผูกพันของสังคมและความเชื่อใจ จากชุมชน T3 - การรายงานผลความยั่งยืน

1. ความผูกพันบุคลากรต อองค การ 2. ร อยละการเพิ่มประสิทธิภาพกําลังคน กฟผ. 3. Workforce Productivity (คน/MW)

1. ร อยละสัมพันธภาพของผู มีส วนได ส วนเสีย ต อการดําเนินงาน กฟผ. 2. ข อร องเรียนจากชุมชน 3. รายได ชุมชนเพิ่มขึ้น 4. จํานวนผลิตภัณฑ ชุมชน / กลุ มอาชีพที่ได รับการพัฒนา

1 แผนย อย

11 แผนย อย เปาหมาย

56.83%

เปาหมาย

ผลดําเนินการ 56.72% เปนไปตามแผน 5 แผน ไมเปนไปตามแผน 5 แผน

1. บริหาร สมรรถนะ โรงไฟฟา

2. บริหาร ตนทุน โรงไฟฟา

0.00

56.72

56.83

สวนตาง = -0.11

0.00

49.00

56.83

เปนไปตามแผน 3 แผน ไมเปนไปตามแผน 3 แผน

อฟว.

อฟพ.

Int.

ควบคุม GHR

บริหาร O&M รฟว.

5. บริหาร ทรัพยากร บุคคล

รฟม. (คพจฟ-ชฟฟ2.)

- เพิ่ม/รักษา ความพร อมจ าย - ลด Heat rate - Flexible P. - Model P.

รฟพ. ได รับ การรับรอง TQA ในป 65

อฟม. อรม.

อฟพ.

ลดความ บริหาร สูญเสีย สมรรถนะ รฟพ. พลังงาน ไฟฟ าจาก - บํารุงรักษา โรงเก า อุปกรณ - เตรียม รฟพ. บริหารสมรรถนะ O&M ทดแทน

(8 แผนย อย)

สนับสนุนดําเนินงาน สนับสนุนงาน Product Cost ตามแผน รวฟ. ชฟฟ2. ตามแผน รวฟ. รฟว. ชฟฟ2. บริหารต นทุนผลิตไฟฟ าเพื่อแข งขันได (3 รฟ.) (กบฟม-บ., วช-ฟม.)

3. Digital Digital Power Plant Power Plant รฟม. (คทง.digital)

สนับสนุน Digital Power Plant ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ. รฟว. ชฟฟ2.

4. สงเสริม R&D Innovation รฟม. นวัตกรรม (วพ-ฟม.)

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ. ชฟฟ2.

6. พัฒนา โครงสราง พื้นฐาน ทางดิจิทัล

7 แผนย อย

55.06%

เปาหมาย

ผลดําเนินการ 51.99%

สวนตาง = 0.00

อฟม.

51.99

0.00

55.06

เปนไปตามแผน 6 แผน ไมเปนไปตามแผน 1 แผน

สวนตาง = -3.07

อรม.

53.79%

ผลดําเนินการ 54.93%

อฟพ.

อฟว.

สนับสนุน - ปรับปรุง ดําเนินงาน โครงสร าง ตามแผน อัตรากําลังและ รวฟ. พัฒนาบุคลากร - ลดอุบัติเหตุ ด านบุคคล ทรัพย สิน

สร างคนเก ง ดี มีความสุข

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ.

สร างระบบ Big Data Management รฟ.แม เมาะ (คทง.Big data)

Smart Power Plant

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ.

Int.

รฟ. แมเมาะ

8. สราง - ป องกันความเสี่ยง ความยั่งยืน จัดการข อร องเรียน ใหชุมชน ชุมชน - ขับเคลื่อน เครือข ายผู ปฏิบัติงาน ในพื้นที่

0.00

54.93

53.79

สวนตาง = 1.14

อฟพ.

อฟว.

Social engagement เป นมิตร กับชุมชน รอบ กฟผ.

CSR รฟว.

- ส งเสริมอาชีพ เพื่อรองรับตลาด กฟผ. - กลยุทธ เที่ยว กฟผ.แม เมาะ แวะ ลัดเลาะชุมชน - กลยุทธ ชิงพื้นที่ สื่อฯ เชิงรุก

7. บริหาร งบประมาณ

วิจัยพัฒนา สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม รฟว.

Values

GG2 Initiatives & Action Plans

Int.

6 แผนย อย

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ.

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ.

บริหาร การใช งบประมาณ ลงทุน

สนับสนุน ดําเนินงาน ตามแผน รวฟ.

รักองคการ มุงงานเลิศ เทิดคุณธรรม นําดวยนวัตกรรม ทําประโยชนเพื่อสังคม วิสัยทัศน รวฟ. ฉบับมติ คบ.รวฟ. วันที่ 24 ธันวาคม 2561

*แผนปฏิบัติการ ชฟฟ2. ที่สําคัญ ที่เชื่อมโยงกับเปาหมายของ กฟผ. และ รวฟ. ป 2562 - 2569

http://maemoh.egat.co.th

กฟผ.แม เมาะ

@maemoh.powerplant

Maemoh.egat.com

054 252 734

maemohnews@egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.