Sciance Film Festival Thailand 2011

Page 1

เทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรู “เรามอบความรูคูความบันเทิง” 18 - 31 มกราคม 2555



greeting words


Message from the Ambassador of the Federal Republic of Germany H.E. Rolf Schulze Botschafter der Bundesrepublik Deutschland in Thailand

Das internationale Wissenschaftsfilmfestival in Thailand findet in diesem Jahr zum 7. Mal statt. Es steht unter dem Thema „Wald“ und hat somit einen unmittelbaren Bezug

zum Internationalen Jahr des Waldes, das die UN für 2011 ausgerufen hat. Da die Wälder unserer Erde ungefähr zwei Dritteln aller Spezies ihren Lebensraum geben, ist klar, dass es hier einen unmittelbaren Zusammenhang zwischen unserem Umgang mit Wäldern und der Artenvielfalt gibt. Das Thema des Festivals soll uns bewusst machen, wie wichtig der Erhalt unserer Wälder und deren nachhaltige Entwicklung ist, damit auch zukünftige Generationen von der Artenvielfalt profitieren können.

Wie auch in den vergangenen Jahren richten sich das Festival in erster Linie an Kinder und Jugendliche. Insgesamt hat eine Jury aus allen 150 eingereichten Filmen 26

Beiträge aus 7 Ländern ausgewählt, die um die ausgeschriebenen Preise konkurrieren.

Inzwischen hat sich das Wissenschaftsfilmfestival in Thailand einen festen Platz in der internationalen Festival-Szene erworben und die Einreichungen kamen aus insgesamt

18 Ländern. Ein hohes Interesse seitens der Filmproduzenten, aber auch eine starke Resonanz bei den Zielgruppen (2010 erreichte das Festival mehr als 88.000 Zuschauer in Thailand) zeigen, dass die medial unterstützte Wissensvermittlung ein Erfolg versprechender Weg ist, einer jungen Generation neue Wege in die Wissensgesellschaft zu öffnen.

Seit 2010 findet das Wissenschaftsfilmfestival zeitgleich in 6 ASEAN-Ländern statt, nämlich außer in Thailand auch in Kambodscha, Indonesien, den Philippinen, Malaysia

und Vietnam. Dies ist möglich, weil sich viele starke Partner, sowohl international als auch jeweils national zusammen getan haben und sich die Organisation und Durchführung teilen. Allen Partnern gemeinsam ist die Überzeugung, dass die großen Zukunftsfragen nur gelöst werden können, wenn die nachwachsenden Generationen sich das für diese Lösungen notwendige Wissen erwerben. Das Festival will den jungen Zuschauern zeigen, dass Lernen unterhaltsam sein kann und ihnen Mut machen, sich diesen Wissensfragen zu stellen. In diesem Sinne wünsche ich allen Zuschauern, jung und alt gleichermaßen, viel Spaß bei der neuen Ausgabe des Wissenschaftsfilmfestivals.

เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งนานาชาติ ในประเทศไทย ครั้งนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ภายใต้หัวข้อ “ป่าไม้” ซึ่งถือเป็นการสนองรับมติและนโยบายขององค์การ สหประชาชาติที่ได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2554 เป็น “ปีป่าไม้สากล” หรือขยายความว่าเป็น “ปีสากลแห่งการอนุรักษ์ป่าไม้” สองในสามของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกของเราด�ำรงชีพอยู่ได้ก็เพราะมีป่าไม้เป็นผู้ค�้ำจุน จึงเป็นที่ชัดเจนว่า ชีวิตของเรากับป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพเป็นสิ่งที่ขาด จากกันไม่ได้ เทศกาลฯ นี้ จึงมีความประสงค์ทจี่ ะเผยแพร่ให้สาธารณชนในวงกว้างได้รจู้ กั คุณค่าของป่าไม้ และตระหนักถึงหน้าทีใ่ นการพิทกั ษ์รกั ษาป่าไม้ของเราให้ดำ� รงอยูต่ อ่ ไป ซึง่ รวมไปถึง การช่วยกันพัฒนาป่าไม้อย่างถูกต้องและยั่งยืน เพื่อให้ลูกหลานของเราได้รับประโยชน์จากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพในอนาคต และเฉกเช่นในเจ็ดปีที่ผ่านมา ภาพยนตร์ที่น�ำมา ฉายในเทศกาลฯ นี้มุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้ชมวัยเด็ก และเยาวชนเป็นอันดับแรก จากภาพยนตร์ที่ส่งเข้าร่วมเทศกาลฯ จ�ำนวน 150 เรื่อง คณะกรรมการคัดเลือกภาพยนตร์ได้คัดสรรภาพยนตร์ดี เด่นจ�ำนวน 26 เรื่อง จาก 7 ประเทศ ให้เข้ารอบประกวดชิงรางวัลชนะเลิศสาขาต่างๆ ในเทศกาลฯ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ประเทศไทย ได้ก้าวขึ้นมาอย่างรวดเร็วจนติดอันดับอยู่ในวงการเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ โดยมีประเทศผู้สนใจส่งภาพยนตร์เข้า ประกวดถึง 18 ประเทศ ทางด้านผู้สร้างภาพยนตร์เองก็ได้ให้ความสนใจในเทศกาลฯ นี้ เป็นอย่างสูง นอกจากนี้ ยังได้รับการตอบรับจากผู้ชมในกลุ่มเป้าหมายอย่างล้นหลาม (ปี พ.ศ. 2553 สถิติผู้ชมในประเทศไทยมากกว่า 88,000 คน) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านทางสื่อเป็นแนวทางที่ถูกต้องและประสบความส�ำเร็จดีเยี่ยม นับเป็นอีกหนึ่งหนทางที่เปิดโอกาส ให้คนรุ่นใหม่ได้เข้ามาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ได้มีการจัดเทศกาลฯ พร้อมกันในหกประเทศภาคีสมาชิกภูมิภาคอาเซียน คือ ประเทศไทย กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และเวียดนาม โครงการใหญ่เช่นนีป้ ระสบความส�ำเร็จได้ เนือ่ งจากภาคีทเี่ ข็มแข็งทัง้ ในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ทีไ่ ด้เข้ามาร่วมกันเป็นเจ้าภาพและผนึกความร่วมมือกันอย่างแข็งขัน ในการแบ่งสรร ความรับผิดชอบ ทั้งในด้านการจัดการและด�ำเนินงาน ความร่วมมือกันในหมู่ภาคีได้สร้างความเชื่อมั่นว่าปัญหาใหญ่ๆ ในอนาคต สามารถแก้ไขขจัดไปได้ หากคนรุ่นใหม่ที่เติบโตขึ้นมาได้ สั่งสมความรู้อันเป็นประโยชน์ที่จะเป็นทางออกให้กับปัญหานั้นๆ เทศกาลฯ นี้มีความประสงค์ที่จะให้ผู้ชมรุ่นเยาว์ได้เล็งเห็นว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ให้ความบันเทิงได้เช่นกัน และยังเป็น แรงจูงใจให้ผู้ชมรู้จักสงสัยและตั้งค�ำถามที่จะเป็นความรู้และประโยชน์ให้แก่ตนเอง ข้าพเจ้าขอให้ผู้ชมภาพยนตร์ทุกท่าน ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ได้รับความสนุกสนานจากเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ในครั้งนี้

2

Science Film Festival Thailand 2011


greeting words Message from the President The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) Ministry of Education Dr. Pornpun Waitayangkoon President Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology

As an agency responsible for the development of science, mathematics and technology education, the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology

(IPST) has put its efforts into raising Thai students’ science, mathematics and technology competence to international standards. To help students to understand abstract concepts, IPST considers movies an effective instructional media. Thanks to moving pictures and sounds, movies facilitate learners’ understanding of contents thereby developing not only positive attitude towards science education but also scientific thinking process giving rise to science culture in Thailand.

It is indeed a pleasure and a pride for IPST to have been involved in the Science Film Festival since inception. Certainly, we appreciate the important role of science films

that attract and draw increasing number of audience. As many as 88,556 viewers attended the Festival last year – a tremendous success. For the Seventh Science Film Festival this year, cooperation of the Centers of Science for Education in fifteen provinces makes it possible for provincial audience to see the films.

The United Nations have designated this year the International Year of Forests to raise awareness of the people around the world about the importance and the value

of forests. An integral part of ecosystems, forests affect human and animals including tiny organisms. To commemorate the International Year of Forests, this year’s Science Film Festival presents selected films – some on forests - in 12 groups named after trees. We fervently hope that the audience will enjoy the films as well as understand and appreciate the importance of forests even more.

In closing, I would like to thank everyone who has supported the Science Film Festival. In so doing you have contributed to the promotion of science, mathematics and

technology education of Thai youth.

สสวท. ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบในด้านพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้พยายามทีจ่ ะขับเคลือ่ นให้นกั เรียนไทย มีความรูค้ วามสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ทัดเทียมกับนานาชาติ สสวท. ตระหนักถึงความส�ำคัญของภาพยนตร์ซึ่งเป็นสื่อการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาสาระได้ง่าย ด้วยภาพยนตร์ที่ให้ทั้งเสียง และภาพทีส่ ามารถเคลือ่ นไหวได้ ท�ำให้นกั เรียนเข้าใจสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม ซึง่ จะช่วยพัฒนาเจตคติทดี่ ตี อ่ การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ มีกระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะผลักดัน วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย สสวท. รู้สึกยินดีและภูมิใจที่ได้ร่วมริเริ่มจัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้มาโดยตลอด ด้วยเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของสื่อภาพยนตร์ดังกล่าว ที่ได้รับความสนใจจากครู อาจารย์ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปเป็นจ�ำนวนมาก ในปีที่ผ่านมามีผู้เข้าชมภาพยนตร์ในเทศกาล จ�ำนวนทั้งสิ้น 88,556 คน นับว่าเป็นความส�ำเร็จอย่างยิ่ง และในการจัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 7 นี้ สสวท. ยังได้ร่วมมือกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาทั้ง 15 แห่งทั่วประเทศ จัดฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในส่วน ภูมิภาคให้ผู้สนใจได้มีโอกาสเข้าชมด้วย โดยที่องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้ปี ค.ศ. 2011 เป็น International Year of Forests หรือปีสากลแห่งป่าไม้ เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักและเห็นถึงความส�ำคัญและคุณค่าของ ป่าไม้ เพราะป่าไม้เป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่งของระบบนิเวศ มีอิทธิพลต่อมนุษย์และสัตว์ รวมถึงสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีประเทศต่างๆ ทั่วโลกรวมทั้ง ประเทศไทยร่วมฉลองด้วย การจัดเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ในปีนี้ มีการแบ่งภาพยนตร์ออกเป็น 12 กลุม่ และใช้ชอื่ ของต้นไม้ชนิดต่างๆ เป็นชือ่ กลุม่ รวมทัง้ น�ำเสนอภาพยนตร์ทเี่ กีย่ วกับ ป่าไม้ เพื่อให้สอดคล้องกับปีสากลดังกล่าว สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ที่ได้เข้าร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ นอกจากจะสนุกสนาน ได้รับความบันเทิงจากภาพยนตร์ต่างๆ แล้ว ยังมีความเข้าใจ และตระหนักถึงความส�ำคัญและเห็นคุณค่าของป่าไม้มากยิ่งขึ้น ดิฉันขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนให้การสนับสนุนการจัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ซึ่งจัดเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ของเยาวชน ไทยให้ก้าวหน้าต่อไป

Science Film Festival Thailand 2011

3


Message from the Ambassador of France in Thailand H.E Gildas Le Lidec Ambassador of France

La promotion de la culture scientifique a toujours tenu un rôle primordial au cœur de la coopération franco-thaïlandaise. C’est donc avec plaisir que nous renouvelons

la participation de l’Ambassade de France à l’organisation de la 7ème édition du Festival du Film Scientifique, avec nos partenaires de toujours : le Goethe-Institut, l’IPST, NSTDA, NSM et la société Bayer. Une 7ème édition qui prend de plus en plus d’ampleur puisque deux autres pays de l’ASEAN, la Malaisie et le Vietnam, renforcent la stature régionale d’un Festival qui a déjà conquis plus de 130 000 spectateurs au Cambodge, en Indonésie, aux Philippines et en Thaïlande en 2010.

De nouveau officiellement associé aux Nations Unis pour, en 2011, « l’Année Internationale des Forêts », le Festival du Film Scientifique d’Asie du Sud-est consacrera une

partie de sa programmation à cette thématique. Après avoir reçu plus de 150 films provenant de 18 pays différents, le comité de sélection du Festival en Thaïlande a retenu une vingtaine de programmes, représentatifs de la nouvelle production audiovisuelle scientifique mondiale.

Par le biais de documentaires, de courts-métrages et d’émissions de télévision attractifs et captivants, le Festival a pour objectifs en Thaïlande, de servir la promotion des

sciences et de susciter des vocations. Conçu pour plaire aux jeunes générations et éveiller leur curiosité, l’événement sera agrémenté d’ateliers pratiques qui expliqueront après chaque projection les principes énoncés dans les programmes diffusés. Du côté français, on soulignera la sélection du dernier court-métrage de Yann Arthus Bertrand, intitulé « Des Forêts et des Hommes ». Spécialement mandaté par les Nations Unis, le photographe français a réalisé ce film dans le cadre de « l’Année Internationale des Forêts » et l’a présenté pour la première fois en séance plénière du 9ème Forum des Nations Unies. Ce magnifique documentaire reprend notamment des images aériennes de ses deux précédents films : « Home » et « La Terre Vue du Ciel ». Pour les plus jeunes, des programmes courts d’animation, qui aborderont des sujets aussi variés que l’archéologie, la biodiversité ou la famine dans le monde, seront proposés. Enfin, le pôle de production audiovisuelle de l’éminent institut de recherche français, l’IRD (Institut de Recherche pour le Développement) sera mis à l’honneur avec la diffusion du film « Pas de Coraux, Pas de Maldives » qui traite des problématiques liées à la protection de la biodiversité.

Je vous souhaite un très bon Festival du Film Scientifique 2011 qui, je l’espère, sera fait de découvertes fructueuses et de plaisir partagé.

การเผยแพร่วัฒนธรรมด้านวิทยาศาสตร์ยังคงเป็นหัวใจของความร่วมมือระดับต้นระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทย ข้าพเจ้าจึงมีความยินดีที่สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจ�ำ ประเทศไทย จะจัดงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ครั้งที่ ๗ ร่วมกับพันธมิตรตลอดกาล คือ สถาบันเกอเธ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.) และบริษทั ไบเออร์อกี ครัง้ งานเทศกาลครัง้ ที่ ๗ นัน้ จะขยายกว้างออกไปอีก เนือ่ งด้วยมี ๒ ประเทศสมาชิกในอาเซียนเข้ามาร่วมจัดงานนีเ้ พิม่ คือ ประเทศ มาเลเซียและเวียดนาม ท�ำให้เทศกาลระดับภูมิภาคขยายกว้างขึ้นจากเดิมซึ่งมีผู้เข้าร่วม ๑๓๐,๐๐๐ คน ในประเทศกัมพูชา อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทยเมื่อปีที่แล้ว ปีนี้งานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ร่วมงานอย่างเป็นทางการกับองค์การสหประชาชาติอีกครั้ง เนื่องในโอกาสที่ปีนี้องค์การสหประชาชาติก�ำหนด ให้เป็น “ปีแห่งการพัฒนาป่าอย่างยั่งยืน” เทศกาลเองก็จะอุทิศรายการภาพยนต์ส่วนหนึ่งให้กับหัวข้อนี้ หลังจากที่ได้รับภาพยนตร์วิทยาศาสตร์มากกว่า ๑๕๐ เรื่องจากประเทศต่างๆ ถึง ๑๘ ประเทศ คณะกรรมการคัดเลือกภาพยนตร์ของเทศกาลในประเทศไทยได้คัดไว้จนเหลือประมาณ ๒๐ เรื่องที่เป็นตัวแทนผลงานภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ชิ้นใหม่ๆ ของโลก ภาพยนตร์สารคดี หนังสั้น รายการโทรทัศน์ที่ดึงดูดผู้ชมรวมอยู่ในงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ที่กรุงเทพฯ โดยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่วิทยาศาสตร์ และสร้างแรงบันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์ให้เด็กรุ่นใหม่ในอนาคต รวมทั้งการจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติเพื่ออธิบายหลักการวิทยาศาสตร์ต่างๆ หลังจากการฉายภาพยนตร์ ส�ำหรับส่วนของฝรัง่ เศสนัน้ เราน�ำเสนอผลงานล่าสุดของ ญาณ อาร์ตสุ แบร์ทร็อง ซึง่ เป็นหนังสัน้ ทีม่ ชี อื่ ว่า “ป่าและคน” องค์การสหประชาชาติมอบหมายให้ชา่ งภาพชาวฝรัง่ เศสผูน้ สี้ ร้าง ภาพยนตร์เรื่องนี้ขึ้นตามกรอบของ “ปีแห่งการพัฒนาป่าอย่างยั่งยืน” เพื่อฉายเป็นครั้งแรกในการประชุมประเทศสมาชิกทั่วโลกครั้งที่ ๙ ขององค์การสหประชาชาติ แน่นอนที่สุดภาพยนตร์ สารคดีชนิ้ นีม้ ภี าพจากมุมสูงเหมือนกับภาพยนตร์สองเรือ่ งก่อนหน้านี้ คือ “Home” และ “Earth from Above” ส�ำหรับผูช้ มทีม่ อี ายุนอ้ ยนัน้ มีรายการภาพยนตร์การ์ตนู เคลือ่ นไหวหรือแอนิเมชัน่ ขนาดสั้นที่มีเนื้อหาต่างกันไป เช่น โบราณคดี ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ทุพภิกภัยในโลก สุดท้ายฝ่ายผลิตโสตทัศน์ของสถาบันค้นคว้าเพื่อการพัฒนาของฝรั่งเศส (IRD) ได้ให้เกียรติฉาย ภาพยนตร์เรื่อง “ไม่มีปะการังก็ไม่มีมัลดีฟส์” ซึ่งกล่าวถึงปมปัญหาในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ ข้าพเจ้าปรารถนาให้ทกุ ท่านชืน่ ชอบและชืน่ ชมภาพยนตร์ตา่ งๆ ทีน่ ำ� มาฉายในเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ประจ�ำปี ๒๕๕๔ และหวังว่าจะเป็นการค้นพบทีม่ ปี ระโยชน์และได้รบั ความ เพลิดเพลินร่วมกัน

4

Science Film Festival Thailand 2011


greeting words Message from the Managing Director of Bayer Thai Co., Ltd. Celina Chew Managing Director of Bayer Thai Co., Ltd.

It is our pleasure to have been supporting this beneficial edutainment initiative, the Science Film Festival, since its inception in 2005. We are very happy to know that

making scientific culture readily available to the Thai society is bearing fruits, evidenced by the increasing number of audience and countries in sending the films for joining the event. I am certain that this year all films, again, will fascinate the audience with up-to-date scientific knowledge and aesthetic production which can inspire systematic questioning and fact-finding behavior from the audience.

At Bayer, sustainability is a key component of the Group’s mission and values. In line with its mission “Bayer: Science For A Better Life,” Bayer believes it can only be

commercially successful over the long term by balancing economic growth with ecological and social responsibility. This is underlined by the company’s commitment to the ten principles of the United Nations Global Compact and the Responsible Care® initiative of the chemical industry.

Finally, I wish the seventh Science Film Festival all the success and thank you for giving Bayer an opportunity to be a part of helping make science more widespread in

Thailand.

ดิฉันรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนับสนุนโครงการอันเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาดังเช่น เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ตั้งแต่ในปีแรก ดิฉันดีใจที่ได้ทราบว่า การสร้าง วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ให้เป็นจริงในสังคมไทยก�ำลังด�ำเนินไปอย่างดียิ่ง โดยพิสูจน์ได้จากจ�ำนวนผู้เข้าชมภาพยนตร์และการส่งภาพยนตร์เข้าร่วมการประกวด ที่เพิ่มมากขึ้นในทุกปี ดิฉัน มั่นใจว่าในปีนี้จะเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ภาพยนตร์ทุกเรื่อง จะท�ำให้ผู้ชมหลงใหลด้วยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยและเทคนิคการถ่ายท�ำที่สวยงาม ซึ่งสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ชม ได้ตั้งค�ำถามอย่างเป็นระบบพร้อมๆ กับการค้นหาความจริง “ความยั่งยืน” เป็นองค์ประกอบหลักของพันธกิจและวิสัยทัศน์ของไบเออร์ “ไบเออร์ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตที่ดี” เป็นพันธกิจที่สามารถสร้างความส�ำเร็จทางด้านธุรกิจได้ในระยะยาว โดย สร้างความสมดุลระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและระบบนิเวศกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม โดยทางไบเออร์จะให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินนโยบายให้สอดคล้องกับ หลักการ 10 ประการตามข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (the United Nations Global Compact) และโครงการดูแลด้วยความรับผิดชอบ (the Responsible Care ®) ซึง่ เป็นค�ำมัน่ สัญญาของผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรมเคมี สุดท้ายนี้ ดิฉันขออวยพรให้ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ครั้งที่ 7 ประสบความส�ำเร็จ และขอขอบคุณที่ให้โอกาสไบเออร์ได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยท�ำให้วิทยาศาสตร์ แพร่หลายในประเทศไทยมากขึ้น

Science Film Festival Thailand 2011

5


Message from the President of the National Science Museum THAILAND (NSM) Pichai Sonchaeng, Ph.D. President, National Science Museum THAILAND

Presenting scientific information, phenomena and Imagination including scientific facts is one of the greatest challenges which require constant development in

communication techniques in order to convey messages from sender to receiver that are understood easily and convey the right message, for scientific information or such related fields such as biochemistry, energy and engineering, are difficult to communicate.

Making the Science Film has become one of the most efficient ways of communicating scientific information, phenomena, and imagination. Science Films are a method

of communication which turns a scientific theory from abstract to a form visible and understandable. On top of this, in science films and movies, scientific phenomena can actually be seen at the actual site. Detail explanation can be given and the timing itself can be controlled. Moreover, the films can present a real phenomenon at the actual place and can fast forward or slowdown the phenomenon for better understanding by the general public.

The National Science Museum THAILAND (NSM) has a mission to promote knowledge, understanding and raise awareness in science and technology to the Thai society.

Therefore, we are honoured and happy to be a part in the Science Film Festival 2011, which will open the youth’s and public’s eyes to view the world around them.

On behalf of the National Science Museum THAILAND, I would like to express my sincere thanks to the organizer of this event particularly Goethe-Institute Bangkok, The

French Embassy of Thailand, The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) and the most importantly, thank you, all the film makers who devoted their heart and soul to convey fascinating scientific information to the public. I truly hope that this year, the Science Film Festival 2011 will achieves its goals and achieve a great success.

การน�ำเสนอข้อมูล ข่าวสาร ปรากฏการณ์ จินตนาการ และข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่ท้าทาย ที่ต้องมีการพัฒนาวิธีการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้รับสาร มีความเข้าใจตามที่ผู้สื่อต้องการ ประกอบกับข้อมูลทางวิทยาศาสตร์รวมทั้งสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น สิ่งแวดล้อม พลังงาน วิศวกรรม เป็นต้น เป็นข้อมูลที่ซับซ้อนเข้าใจได้ยาก ภาพยนตร์เป็นวิธีการสื่อสารหนึ่งที่ท�ำให้ผู้รับสารมีความเข้าใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากภาพยนตร์สามารถท�ำให้แนวคิดทฤษฎีที่เป็นนามธรรม กลายเป็นรูปธรรมที่เข้าใจได้ นอกจากนั้นยังสามารถน�ำเสนอปรากฏการณ์ที่เกิดได้จริง ในสถานที่จริง สามารถอธิบายได้ชัดเจนด้วยเทคนิคการสร้าง ยิ่งกว่านั้นภาพยนตร์ยังน�ำเสนอข้อมูลหรือภาพที่คนทั่วไปจ�ำนวนมาก ไม่สามารถเข้าถึง องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) มีภารกิจในการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นในสังคม มีความยินดีที่ได้มี ส่วนร่วมในการจัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ประจ�ำปี 2554 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะท�ำให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปได้มีความสนใจและเข้าใจวิทยาศาสตร์ และเปิดโลกทัศน์ ได้กว้างขึ้น ขอขอบคุณคณะผูจ้ ดั งานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะ สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย สถานทูตฝรัง่ เศสประจ�ำประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และทีส่ ำ� คัญยิง่ ต้องขอขอบคุณผูส้ ร้างภาพยนตร์ทกุ ท่านทีใ่ ช้ความพยายามทุม่ เทแรงกายแรงใจ สติปญั ญา เพือ่ น�ำสาระทีเ่ ป็นประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กบั ประชาชน และหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ประจ�ำปี 2554 จะประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่หวังไว้ทุกประการ

6

Science Film Festival Thailand 2011


greeting words Message from the Director of the United Nations Forum on Forests Jan McAlpine Director, United Nations Forum on Forests

2011 is the International Year of Forests (Forests 2011). This is truly a historic first for the United Nations. The International Year is a unique opportunity to highlight the

key role of forests in our lives. I am therefore delighted that the theme of this year’s ASEAN Science Film Festival is to celebrate our forests around the world. Through the power of cinematic art, we hope that we can help people understand the importance of forests, and what we can do for them. We are all well aware of the multiple functions of forests. Forests are more than the economic values of timber and other forest products. Forests’ environmental values have also been well publicized, from biodiversity to forest impacts on climate, soil fertility, water, rainfall patterns and soil erosion, just to name a few.

What has not been recognized, what is missing, is a cross-functional, all-encompassing perspective on forests, one that consider the simple truth that forest priorities will

always come down to the crucial relationship between forests and people. In other words, every one of us, all 7 billion, has our physical, economic and spiritual well-being strongly tied to the health of our forest ecosystems. Moreover, the fundamental role that forests play in livelihoods for 1.6 billion people around the world, who are most marginalized by the world economy, is most crucial. Forests thus act as a safety net for the rural poor, and thus play a key role in reducing poverty. Throughout 2011, we will celebrate the multiple functions that forests provide to all of us, and the vital role they play in realising meaningful sustainable development. And for that, the central theme of Forests 2011 is “Celebrating Forests for People.” It is about highlighting the dynamic relationship between forests and all of us who depend on them, and celebrating people’s action towards sustainable forest management around the world.

It is said that “One generation plants the trees, and another gets the shade”. Let us grasp the opportunity we have before us today to ensure that future generations

around the world benefit from the seeds of awareness that we plant today.

On this note, I wish you all the best with this year’s film festival.

ปีพ.ศ. 2554 เป็นปีสากลแห่งการอนุรักษ์ป่าไม้ (ปีป่าไม้ 2011) และถือได้ว่าเป็นปีประวัติศาสตร์ส�ำหรับองค์การสหประชาชาติ ความหมายของปีสากลก็คือโอกาสที่พิเศษสุด ในการเชิดชูบทบาทและความส�ำคัญของป่าไม้ที่มีต่อการด�ำรงชีวิตของเรา ดิฉันจึงมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ทราบว่าเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ในปีนี้จะร่วม เฉลิมฉลองและยกย่องคุณค่าของป่าไม้บนโลกของเรา เราหวังว่าพลังแห่งศิลปะภาพยนตร์จะช่วยให้ผู้คนทั่วโลกได้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของป่าไม้ รวมทั้ง บทบาทหน้าที่ของเราในการพิทักษ์รักษาผืนป่า พวกเราทุกคนต่างตระหนักกันดีถึงเอนกประโยชน์อันหลากหลายของป่าไม้ เราทราบว่าคุณค่าของป่าไม้นั้นอยู่เหนือมูลค่าทางเศรษฐกิจ ของอุตสาหกรรมป่าไม้และผลิตผลจากป่าในรูปแบบอื่นๆ สื่อมวลชนก็ได้เผยแพร่ถึงบทบาทของป่าไม้ในด้านสิ่งแวดล้อม ว่ากันตั้งแต่ความหลากหลายทางชีวภาพ ไปจนถึงผลกระทบ ต่อดุลยภาพของภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของผืนดิน สถานการณ์ทรัพยากรน�้ำ ลักษณะการกระจายตัวของฝน และสาเหตุของดินกร่อนหรือการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ทว่ายังมีบางสิ่งที่ขาดหายไป บางสิ่งที่ยังไม่ได้มีการเล็งเห็น สิ่งนั้นก็คือทัศนคติต่อความส�ำคัญของผืนป่าในเชิงข้ามบทบาทที่ครอบคลุมสาขาทั้งหมดในมิติรอบด้าน อันเป็นทัศนคติ ที่เกิดจากการใคร่ครวญความจริงที่ว่าการพิทักษ์อนุรักษ์ป่าไม้ที่โลกจัดความส�ำคัญไว้เป็นล�ำดับแรกนั้น อย่างไรเสียก็จะมาลงเอยที่ความสัมพันธ์ระหว่างป่าไม้กับผู้คน หรือในอีกนัยหนึ่ง ก็คือ ขณะนี้ป่าไม้ได้แสดงบทบาทในการเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของประชากรบนโลกถึง 1.6 พันล้านคน และประชากรจ�ำนวนนี้ก็คือผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ที่ถูกลดความส�ำคัญลง จนหลุดไปอยู่ชายขอบเศรษฐกิจโลก ด้วยเหตุนี้ ป่าไม้จึงมีสถานภาพเป็นระบบตาข่ายความปลอดภัยทางสังคมที่รองรับและบรรเทาความเดือดร้อนของประชากรชนบทที่ยากไร้ ดังนั้น ป่าไม้จึงมีบทบาทส�ำคัญในการขจัดความยากจน พวกเราทุกๆ คนเป็นหนึ่งในพลเมืองโลกจ�ำนวน 7 พันล้านคนที่ต้องพึ่งพิงความสมบูรณ์ของระบบนิเวศป่าไม้อย่างที่จะขาดมันไป เสียไม่ได้ ป่าไม้เป็นหลักค�้ำจุนสวัสดิภาพความเป็นอยู่ที่ดีของเราทั้งในด้านสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตใจ และเศรษฐกิจ ดังนั้น ในตลอดปีพ.ศ. 2554 นี้ เราจะด�ำเนินกิจกรรมเพื่อ ยกย่องคุณประโยชน์เอนกอนันต์ของทรัพยากรป่าไม้ที่เอื้อเฟื้อแก่ชีวิตเรา และเชิดชูบทบาทส�ำคัญของป่าไม้ในการพัฒนาโลกอย่างยั่งยืน ด้วยเหตุนี้เราจึงได้วางเนื้อหากิจกรรมส�ำหรับ ปีปา่ ไม้สากล พ.ศ. 2554 ภายใต้หวั ข้อว่า “ป่าไม้เพือ่ ประชาชน (การด�ำรงชีพ และการขจัดความยากจน)” ซึง่ เป็นการตอกย�ำ้ ถึงความสัมพันธ์ทเี่ ปีย่ มด้วยพลวัตระหว่างป่าไม้กบั พวกเราทุกคนผู้ ทีฝ่ ากชีวติ ไว้กบั ผืนป่า อีกทัง้ เพือ่ แสดงความชืน่ ชมพร้อมกับร่วมส่งเสริมบทบาทหน้าทีข่ องประชาชนทัว่ โลกในการจัดการ อนุรกั ษ์ และพัฒนาความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้อย่างยัง่ ยืน มีคติพจน์หนึ่งที่กล่าวว่า “ถ้าเราปลูกต้นไม้วันนี้ ชนรุ่นต่อไปก็จะได้อาศัยร่มเงา” ดิฉันขอให้พวกเราคว้าโอกาสที่ปรากฏอยู่เบื้องหน้าเรา ณ ขณะนี้ร่วมกันปฏิบัติตาม เพื่อให้ ชนรุ่นต่อไปทั่วทั้งโลกได้รับผลประโยชน์จากเมล็ดพันธุ์แห่งจิตส�ำนึกรักษ์โลกที่เราได้ช่วยกันหว่านเพาะในวันนี้ ในโอกาสนี้ ดิฉันขอส่งความปรารถนาดีมายังทุกท่านที่เข้าร่วมในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ในปีนี้ Science Film Festival Thailand 2011

7



table of contents


greeting words

table of contents pre - jury profile

15

family edutainment ecology & environment

39

9

23

1


table of contents 88

festival information

47

natural science, life science & technology

57

culture and history

61

organizers, venues & sponsors 64

65

production websites

contributors & special thanks


34 Nine and a Half: Bees in Danger (DE)

รายการ เก้านาทีครึ่ง ตอน ผึ้งช่วยเรา เราช่วยผึ้ง

35 Nine and a Half: Nuclear Accident in Japan (DE)

รายการ เก้านาทีครึ่ง ตอน อุบติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในญี่ปุ่น

36 pur+: Enter the Storm (DE)

family edutainment ภาพยนตร์สาระบันเทิง

รายการ เพียวร์พลัส ตอน พลังลมระดับ 12

37 The Whizz Reporters: Into the Rainforest (FR)

นักข่าวหัวเห็ดในป่าฝน

7 WONDERS (AT) 24

7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก

Archaeological Experts: the Archaeozoologist (FR) 25

ผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี : นักโบราณคดีเกี่ยวกับสัตว์

ARD-Kopfball “Can Spider Silk Hold a Man?” (DE) 26

รายการ คอฟบอล ตอน ท้าพิสูจน์ ใยแมงมุม

Biodiversity Alphabet (FR) 27

ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา

Dandelion: Wonderful Forest – The Labyrinth of Trees (DE) 28

รายการ ดอกหญ้าฟันสิงโต ตอน ผจญภัยในป่าพิศวง

How Can We Feed the World? (FR) 29

คนทั้งโลกจะมีอาหารเพียงพอได้อย่างไร

I Got It! – The Clean Energy Episode (TH) 30

รายการ ไอกอทอิท ตอน พลังงานสะอาด

I Got It! – The Pollution Episode (VN) 31

รายการ ไอกอทอิท ตอน ยานพาหนะปลอดมลพิษ

I Got It! – The Sugar Episode (PH) 32

รายการ ไอกอทอิท ตอน น�้ำตาลหวานเจี๊ยบ

Mouse TV: Fuel Cell (DE) 33

รายการ เมาส์ทีวี ตอน เซลล์เชื้อเพลิง

12

Science Film Festival Thailand 2011

ecology and environment ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

40 DNA – Sanctuary for a Second Chance (FR)

ดีเอนเอกระตุ้นระบบประสาท บ้านพักฟื้นส�ำหรับโอกาสครั้งใหม่

41 No Coral, No Maldives (FR)

ไม่มีปะการังก็ไม่มีมัลดีฟส์

42 Of Forest and Men (FR)

ป่าและคน

43 The Forest: Realm of Shadows (DE)

ต�ำนานป่า ตอน อาณาจักรเงา


greeting words table of contents

natural science, life science and technology

ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี Experiment Kinship - Your Inner Animal (DE) 48

มรดกของสัตว์โลกในตัวคุณ

Fascination Knowledge: Sharks (DE) 49

มหัศจรรย์ความรู้ ตอน ความเชื่อที่ผิดเรื่องฉลาม

Planes Go Green (BE) 50

เครื่องบินพลังงานสะอาดเพื่ออนาคตยั่งยืน

Quarks & Caspers: From Head to Toe (DE) 51

8 เรื่องน่ารู้จากศีรษะจรดเท้า

The Real Guinea Pig (DE) 52

กินนี่พิก หนูแกสบี้แสนฉลาด

Universe of the Oceans (DE) 53

เอกภพแห่งมหาสมุทร

culture and history

ภาพยนตร์วัฒนธรรมและประวติศาสตร์ 58 Climate Protection in Papua New Guinea (DE)

พิทักษ์ป่าบนเกาะปาปัวนิวกิเนีย

59 Young Explorers in Africa - Léa on the Trail of Gorillas (FR)

เลอาตามรอยกอริลล่านักส�ำรวจรุ่นจิ๋วในแอฟริกา

Films From All Films are Synchronized into Thai

ภาพยนตร์ทุกเรื่องพากษ์ไทย

Austria (AT) Belgium (BE) France (FR) Germany (DE) Thailand (TH) The Philippines (PH) Vietnam (VN)

กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: มากกว่า 12 ปี / Over 12 กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ทุกกลุ่มอายุ / All Ages กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ต�่ำกว่า 12 ปี / Under 12 Science Film Festival Thailand 2011

13



pre - jury profile


Ms. Chuthamasth Sarobrass from the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), graduated from Chulalongkorn University with a Master of General Science and from Srinakarin Wiroj University with a Master of Education Research. She has been working as an Educator and Researcher in the education field at IPST since 2002 and has furthermore been a member of the evaluations committee for the Science Film Festival for IPST since 2008.

ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านวิทยาศาสตร์ และปริญญาโทด้านการวิจัยและสถิติทางการศึกษา ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร ท�ำงานด้านหลักสูตรและการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และการวิจยั ทางการศึกษาทีส่ ถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเวลา 9 ปี และเป็นกรรมการในการประเมินเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน Ms. Chuthamasth Sarobrass the Institute for the Promotion of teaching Science and Technology (IPST) Ms. Peeda Chitnuyanont from the Science Centre for Education (SCE) graduated from Chiang Mai University with a Bachelor of Science majoring in Biochemistry and Biochemical Technology and continued with a Master of Museology from University of Washington. She is currently working as an Educator in the Natural Science section at the Science Center for Education.

ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ เอกชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ วอชิงตัน ด้านพิพิธภัณฑ์ศึกษา ปัจจุบันท�ำงานที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) ในต�ำแหน่งนักวิชาการศึกษา ปฏิบัติการ ดูแลรับผิดชอบด้านนิทรรศการ และกิจกรรมด้านธรรมชาติวิทยา Ms. Peeda Chitnuyanont Science Center for Education (SCE)

Mr. Jumphol Hemakheerin from the National Science and Technology Development Agency (NSTDA) graduated from Srinakarin Wiroj University, Bangsaen Campus with a Bachelor of Science in Chemistry Programme. He is currently working as a consultant for science related media and communication at the National Science and Technology Development Agency (NSTDA). Furthermore he is the executive editor for ‘The Updated Magazine’ at Se-Education Co.,Ltd.

ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร วิทยาเขตบางแสน คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี ปัจจุบันท�ำงานในต�ำแหน่งที่ปรึกษาฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อสารวิทยาศาสตร์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และบรรณาธิการบริหาร นิตยสารอัพเดท บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจ�ำกัด (มหาชน) Mr. Jumphol Hemakheerin National Science and Technology Development Agency (NSTDA)

16

Science Film Festival Thailand 2011


greeting words pre - jury profile Ms. Pimonpan Chantarapimon from the National Science Museum (SCE) graduated from Kasetsart University with a Master degree of Agribusiness. She has been working since 2006 as a science educator at the ‘Information Technology Museum’ exhibition department at the National Science Museum (NSM), Thailand.

ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบันท�ำงานในต�ำแหน่งนักวิชาการ กองนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

Ms. Pimonpan Chantarapimon National Science Museum (NSM)

Mr. Siwadol Rathee from the Thai Film Foundation graduated from Thammasat University with a Bachelor of Economics. He is currently working as the Head of Programming at the Thai Film Foundation as well as being a special lecturer of documentary film making at Silpakorn University. Furthermore he is an instructor for short film productions and works as a freelance short film and documentaries producer and director.

ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันท�ำงานประจ�ำในต�ำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานจัดรายการ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) และเป็นอาจารย์พิเศษ วิชาภาพยนตร์สารคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยากรอบรมการผลิตภาพยนตร์สั้นและผู้ก�ำกับและโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์สั้น และสารคดีอิสระ Mr. Siwadol Rathee Film Archive

Mr. Yuttinai Yungcharoen graduated from Chulalongkorn University with a Bachelor of Sport Science and Master of Psychology Industrial Organization. He is currently working as Knowledge Activity Manager at the Thailand Knowledge Park (TK park).

ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองค์การ ปัจจุบันท�ำงานอยู่ที่ ส�ำนักงานอุทยานการเรียนรู้ ทีเค พาร์ค ต�ำแหน่งนักจัดการความรู้ฝ่ายกิจกรรม

Mr. Yuttinai Yungcharoen Thailand Knowledge Park (TK park)

Science Film Festival Thailand 2011

17



festival information


Awards Description The Science Film Festival bestows six awards chosen by an international jury. They are complimented with a cash prize of 1,000 Euro each. The BAYER Science Film Award is complimented with a cash prize of 2,000 Euro. The Prize of the Jury is complimented with a cash prize of 3,000 Euro. The following are the award categories of the Science Film Festival: The Visual Effects Award Honors the film that demonstrates the highest level of visual craftsmanship through cinematography or animation. Moreover, the effects go beyond the aesthetic by serving an educational purpose. Scientific principles or processes are explained clearly and engagingly through the visual effects. The Education Award Honors the film that stands as an excellent example of science journalism intended for young audiences aged 6 - 12. Scientific explanations are presented with the cognitive level of young viewers in mind and the structure of the film reflects an effective audiovisual pedagogical approach. The Ecofilmprize Honors the film that makes an exceptional effort to communicate and proliferate environmental awareness. Ecological issues are discussed and explained clearly. The film inspires to care about nature and cultivates a sense of responsibility in that respect. The Discovery Award Honors the film that makes an outstanding effort

20

Science Film Festival Thailand 2011

to promote learning about science to the general public. The film generates interest and enthusiasm for science and knowledge acquisition. It provides an exemplary balance between education and entertainment of the highest quality. The BAYER Science Film Award Honors the film that most empathically presents the positive influence science can have on individuals, society and the environment. Furthermore than present scientific findings, the film in this category demonstrates that science is one of the most consequential human activities for our future and that of our planet. The Prize of the Jury Honors the film that makes a particularly strong impression on the jury. The film delivers an emotional and intellectual resonance, which distinguishes it as an overall outstanding work of science journalism through film and television.

อันทันสมัย ทั้งในด้านมุมกล้อง และการสร้างภาพ ด้วยเทคนิค อนิเมชั่น ทั้งนี้เพื่ออธิบาย หรือสาธิตเนื้อหา ความรู้และกระบวนการ หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างชัดแจ้งและสัมพันธ์กัน รางวัลภาพยนตร์เพื่อการศึกษา รางวัลนี้มอบแด่ภาพยนตร์สื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ส�ำหรับเด็ก และเยาวชนที่เข้าใจง่ายส�ำหรับผู้ชมวัย 6 ถึง 12 ปี มีการน�ำเสนอและอธิบายหลักการวิทยาศาสตร์ที่ เหมาะสมแก่การท�ำความเข้าใจของเด็กในวัยเรียนซึ่ง ประกอบไปด้วยภาพและเสียง อีกทัง้ ช่วยส่งเสริมการเรียน การสอน ในห้องเรียนอีกด้วย รางวัลภาพยนตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม รางวัลนีม้ อบแด่ภาพยนตร์ทใี่ ช้ความพยายามอย่างยิง่ ยวด ในการสื่อสารให้มนุษย์รู้จักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วย การน�ำเสนอประเด็นทางนิเวศ อภิปราย และอธิบายได้ อย่างชัดแจ้ง เป็นแรงจูงใจที่ช่วยท�ำให้เราตระหนักถึง ความส�ำคัญของธรรมชาติและปลูกฝังจิตส�ำนึกรับผิดชอบ ต่อธรรมชาติในทุกพฤติกรรม

รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการค้นพบ มอบแด่ภาพยนตร์ทเี่ ปีย่ มประสิทธิภาพในการสือ่ สารองค์ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณชน ปลุกเร้าให้เกิด ความพิศวง สนใจติดตาม รู้จักตั้งค�ำถาม ใคร่รู้ และ ในเทศกาลภาพยนตร์ วิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ แ บ่ ง ประเภท พยายามค้นหาหาค�ำตอบ ในรูปแบบการน�ำเสนอที่ลงตัว ภาพยนตร์ทไี่ ด้รบั รางวัลไว้ทงั้ หมด 6 ประเภท ตัดสินโดย อย่างสมบูรณ์แบบทั้งด้านความบันเทิงและการเรียนรู้ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิระดับนานาชาติ ผู้ชนะเลิศ การประกวดภาพยนตร์จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ไบเออร์ มอบแด่ภาพยนตร์ที่น�ำเสนอ องค์ความรู้วิทยาศาสตร์ 1000 ยูโร ที่มีอิทธิพลต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อมในเชิง ผู้ชนะเลิศการประกวดรางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ บวก นอกจากนี้ไม่เพียงแค่การน�ำเสนอผลวิจัยด้าน วิทยาศาสตร์เพียงเท่านั้น แต่ภาพยนตร์ยังแสดงให้เห็น ไบเออร์จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 2000 ยูโร ผู้ชนะเลิศการประกวดรางวัลพิเศษจากคณะกรรมการ ว่าวิทยาศาสตร์เป็นหนึง่ ในกิจกรรมของมนุษย์ทสี่ ง่ ผลต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ส�ำหรับอนาคตของเราและโลกของเรา จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 3000 ยูโร

ภาพยนตร์ที่ได้รบั รางวัล

รางวัลพิเศษจากคณะกรรมการ มอบแด่ภาพยนตร์ที่สร้างความประทับใจอย่างสูงสุดให้ กับคณะกรรมการผู้ตัดสิน ด้วยอารมณ์ของภาพยนตร์ รางวัลภาพยอดเยี่ยม มอบแด่ภาพยนตร์ที่ถ่ายทอดความน่าหลงใหลของโลก และความชาญฉลาดอันลึกล�้ำที่ส่งให้ภาพยนตร์เรื่อง และมนุษย์ลงในภาพยนตร์ได้อย่างงดงาม ด้วยฝีมือการ นั้นเป็นสื่อภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เข้าถึง ถ่ายท�ำภาพยนตร์ของทีมงานที่ยอดเยี่ยมและเทคนิค สาธารณชนโดยผ่านสื่อภาพยนตร์และโทรทัศน์ได้ดีที่สุด ประเภทของภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัล


greeting words festival information

The Award Winners of the Sixth Science Film Festival 2010

ภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ฯ ครั้งที่ 6 audience to discover a new and unknown world through an entertaining approach. The film also reveals insight on environment issues and nature, serving an educational purpose.

BAYER Science Film Award

รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ไบเออร์

Welcome to the Nanoworld: Nanos on the Inside /

ขอต้อนรับสู่โลกนาโน

The jury decided to honour this film which is relevant and inspiring at the same time. The film gives a glimpse to nanotechnology and shows how new techniques will improve our everyday life in treating diseases like cancer.

คณะกรรมการมอบรางวัลให้แก่ภาพยนตร์เรือ่ งนี้ ที่มีเรื่องราวสอดคล้องกับหัวข้อของรางวัลและ ในขณะเดียวกันมีการสร้างแรงบันดาลใจที่จะ สร้างสรรค์ อีกทั้งภาพยนตร์ได้ให้ความรู้ทั้งใน เรื่องของเทคโนโลยีนาโนและยังแสดงให้เห็นถึง วิทยาการใหม่ๆ ในชีวิตประจ�ำวันของเราเพื่อ การดูแลรักษาโรคร้าย อย่างเช่น โรคมะเร็ง

Visual Effects Award

รางวัลภาพยอดเยี่ยม

Drain the Ocean – The Face of the Deep /

แอนนิเมชั่น : เมื่อโลกไร้มหาสมุทร

The jury awarded the film because of its highest level of visual animation and the remarkable and informative journey it offers. According to the jury, the visual effects goes beyond the aesthetics, allowing the

ซับซ้อนให้กลายเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายแล้ว ยัง สามารถเป็นแรงผลักดันให้พวกเขาต้องการทีจ่ ะ ทดลองวิทยาศาสตร์ด้วยตัวเอง

คณะกรรมการมอบรางวั ล ให้ แ ก่ ภ าพยนตร์ เรื่องนี้ด้วยเทคนิคแอนิเมชั่นที่ยอดเยี่ยมและ น่าหลงใหลอีกทั้งยังมอบความรู้ในสิ่งที่ก�ำลัง เดินทางค้นหา และตามที่คณะกรรมการได้ลง ความเห็นว่ารางวัลภาพยอดเยี่ยมนั้นนอกจากที่ ควรจะมอบคุณค่าทางด้านสุนทรียะศาสตร์แล้ว ยังควรที่จะให้ผู้ชมได้ค้นพบสิ่งใหม่ๆ ที่ไม่เคย รูจ้ กั มาก่อนในโลกของเราผ่านสือ่ ทางด้านความ Ecofilmprize บันเทิง ซึ่งได้แสดงให้เห็นในแง่มุมที่เกี่ยวข้อง รางวัลภาพยนตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม ทางด้านสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติอีกด้วยโดย Mission Exploration – Tokyo, a Coming มีจุดมุ่งหมายที่จะมอบให้เป็นความรู้แก่ผู้ชม Laboratory / กรุงโตเกียว ห้องปฏิบัติการ

The jury particularly appreciated this witty and provocative film, which gives a visually effective journey from the womb to your first love. It reveals a fascinating glimpse into how a baby develops from a fetus into a young, thinking adult.

คณะกรรมการประทับใจภาพยนตร์เรื่องนี้ที่ช่วย กระตุน้ และมอบความรูต้ งั้ แต่การอยูใ่ นครรภ์ไปสู่ ความเป็นมนุษย์ ซึ่งเผยให้เห็นจุดที่น่าสนใจใน แง่การพัฒนาของทารกที่อยู่ในครรภ์จนเป็นเด็ก และผู้ใหญ่ที่มีความคิดในล�ำดับต่อไป

แห่งอนาคต

The jury states that this exceptional film not only express environmental issues, but also provides ecological awareness and responsibility. Furthermore, the film clearly demonstrates how we can act and efficiently protect our planet and environment.

คณะกรรมการลงความเห็นว่าภาพยนตร์ที่ยอด เยีย่ มเรือ่ งนีไ้ ม่เพียงแค่อธิบายให้เห็นถึงเรือ่ งราว รางวัลภาพยนตร์เพื่อการศึกษา ทางด้านสิ่งแวดล้อมแต่ยังท�ำให้ตระหนักถึง Discover Science – Let’s See the Speed คุ ณ ค่ า และความรั บ ผิ ด ชอบทางด้ า นชี ว วิ ท ยา of Sound / เปิ ด โลกวิ ท ยาศาสตร์ ตอน นอกจากนีไ้ ด้สาธิตให้เห็นอย่างชัดเจนว่าพวกเรา สามารถทีจ่ ะสนองตอบทีจ่ ะร่วมมือกันดูแลรักษา ค้นหาความเร็วเสียง โลกและสิง่ แวดล้อมให้มปี ระสิทธิภาพได้อย่างไร Education Award

The jury decided to honour this japanese TV program as it is educational and very suitable for young audience and teenagers. Not only does the programme explain a difficult scientific issue in a very simple and understandable way, but it also encourages children to experiment themselves.

คณะกรรมการได้มอบรางวัลภาพยนตร์เพื่อการ ศึกษานี้ให้แก่โปรแกรมโทรทัศน์ของประเทศ ญีป่ นุ่ เนือ่ งด้วยเป็นภาพยนตร์ทเี่ ป็นสือ่ การศึกษา และยังเหมาะสมเป็นอย่างยิง่ แก่เด็กและเยาวชน โปรแกรมโทรทัศน์นี้ไม่เพียงแค่พยายามที่จะ อธิ บ ายความรู ้ ท างด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ส ลั บ

Prize of the Jury

รางวัลพิเศษจากคณะกรรมการ Intelligent Plants / พืชอัจฉริยะ The jury unanimously decided to honour this film for the overall intellectual and emotional resonance it delivers. The seemingly ordinary world of plants is portrayed in a unique and fascinating way making it an outstanding work of science documentary filmmaking. The film moreover fully captures the theme of this year’s Biodiversity theme.

คณะกรรมการมอบรางวัลนี้อย่างเป็นเอกฉันท์ ให้แก่ภาพยนตร์เรือ่ งพืชอัจฉริยะเนือ่ งด้วยสือ่ ให้ เห็นถึงองค์ความรูแ้ ละผสานอารมณ์ความรูส้ กึ ส่ง ผ่านภาพยนตร์ออกมาได้เป็นอย่างดี โลกของ พืชที่ดูเหมือนว่าจะธรรมดานั้นสื่อถึงเอกลักษณ์ และความน่าหลงใหลของมันที่ช่วยท�ำให้เกิด การสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ที่โดดเด่น อีกทั้งภาพยนตร์เรื่องนี้ยังเหมาะกับ หัวข้อของงานในปีนี้ ที่ว่าด้วยความหลากหลาย Discovery Award รางวัลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การค้นพบ ทางชีวภาพ The Outer Adventure, from Baby to Kiss /

การผจญภัยช่วงแรกของชีวิตมนุษย์

Science Film Festival Thailand 2011

21


jury profile Science Film Festival 2010 Winai Sombunna Thai Film Archiv

Winai Sombunna graduated from the Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University, in 1996. He worked as a copywriter for radio commercials for 3 years and then moved on to television production realm as a co-producer. In 2005, he did the Master degree in Independent Film, Video, and New Screen Media at the University of East London. He has been working as an archivist at Film Archive (Public Organization) since 2007.

วิ นั ย สมบุ ญ ณา จบปริ ญ ญาตรี จ าก คณะวารสารศาสตร์ แ ละสื่ อ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี ๒๕๓๙ เริ่ม ท�ำงานในแวดวงสื่อสารมวลชนทั้งทางด้าน วิทยุและโทรทัศน์ ปี ๒๕๔๘ ส�ำเร็จการ ศึกษาปริญญาโทภาควิชา Independent Film, Video, and New Screen Media จาก University of East London ปัจจุบันท�ำงาน เป็นนักวิชาการภาพยนตร์ ที่หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) Dr. Somchart Paisarnrat Thai Film Archiv

Dr. Somchart Paisarnrat finished his Bachelor Science in Food Science and Technology at Kasetsart University before obtaining French Government Scholarship. He held a PhD in Plant Biotechnology at Toulouse, France in 1985. He used to be the Secretary of the IPST Organizing Committees during the 1st to 3rd Science Film Festival.

ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์ ส�ำเร็จปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แล้วจึงได้รบั ทุนรัฐบาลฝรัง่ เศสไปศึกษาต่อด้านเทคโนโลยี ชี วิ ภ าพพื ช ที่ เ มื อ ง Toulouse ประเทศ ฝรั่งเศส จนจบปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2528 ก่อนเข้าร่วมงานกับสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดร.สม ชาติ ได้เริ่มชีวิตการท�ำงานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ณ สถาบันค้นคว้าและพัฒนา

22

Science Film Festival Thailand 2011

ผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านพลังงานแห่ง ภูมิภาค สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และ ศูนย์พันธุวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ชี ว ภาพแห่ ง ชาติ ดร.สมชาติ รั บ หน้ า ที่ เลขานุการ คณะกรรมการของสสวท. ใน การจัดงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ถึง 3 Benoît de Tréglodé Director of the French Research Institute on Contemporary South East Asia (IRASEC) in Thailand

Benoît de Tréglodé has a PhD in History and Civilization from the School of High Studies in Social Sciences (EHESS, Paris). He is the founder of the Research Group on Contemporary Vietnam (Sciences Po., EHESS, MSH) and of the ‘Societies and State-building in Contemporary Vietnam, Laos Cambodia’ seminar at EHESS in 2000. Before joining IRASEC, he was a former guest at EFEO in Hanoi (19941997) and at the Collegium Budapest (1997-98) in Hungary, after which he went on to become the Cultural Attaché at the French Embassy in Tokyo (20052008) in charge of Academic & Science Cooperation.

นาย Benoît de Tréglodé จบการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาประวัติศาสตร์และ อารยธรรม จากสถาบันสังคมศาสตร์ศึกษา ชั้นสูง กรุงปารีส เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มศึกษา เกี่ยวกับประเทศเวียตนาม ร่วมสมัย (จาก สถาบันรัฐศาสตร์ชนั้ สูง สถาบันสังคมศาสตร์ ศึกษาชั้นสูง สถาบันมนุษยศาสตร์) และ กลุ่มสัมมนาหัวข้อ “สังคม และการสร้างรัฐ ในประเทศเวียตนาม ลาว และกัมพูชาร่วม สมัย” ของสถาบันสังคมศาสตร์ศึกษาชั้น สูง ขึ้นในปีพ.ศ. 2543 เขาเคยร่วมงานวิจัย กับศูนย์เวียตนาม ส�ำนักฝรั่งเศสแห่งปลาย บุรพทิศ (EFEO) ระหว่างปีพ.ศ. 2537-2540 และ สถาบันบูดาเปส ประเทศฮังการี ระ หว่างปีพ.ศ. 2540-2541 เขาด�ำรงต�ำแหน่ง รองที่ปรึกษาด้านวัฒนธรรม ดูแล ความ ร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัย ประจ�ำสถานเอกอัครราชทูต ฝรั่ ง เศส ณ กรุ ง โตเกี ย ว ในช่ ว งปี พ .ศ. 2548-2551 นอกจากนี้ เขาเป็นเจ้าของผล งานเกี่ยวกับประเทศเวียตนามหลายเล่ม ที่

ส�ำคัญได้แก่ เรื่อง Héros et Révolution au ชุด WIRED Science ปี 2550 ของสถานี ุ กับการปฏิวตั ใิ นเวียตนาม) โทรทัศน์ PBS ในสหรัฐ และในช่วงสี่ปีที่แล้ว Viêt Nam (วีรบุรษ (ส� ำ นั ก พิ ม พ์ L’Harmattan) Naissance เขาผลิ ต ภาพยนตร์ ส ารคดี ค วามยาวครี่ ง ชั่วโมงให้ TVE และ BBC World News เป็น d’un Etat-Parti , le Viêt Nam depuis 1945 (ก�ำเนิดรัฐทีม่ พี รรคการเมืองพรรคเดียว, ประ รายงานเกี่ยวกับโลกหกเรื่อง รวมถึง เรื่อง « เทศเวียตนาม ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2488) (ร่วม Perfectly Coool » ว่าด้วยความพยายามใน เขียนกับ C. Gpscha – จัดพิมพ์โดยส�ำนัก วงการอุตสาหกรรมผลิตเครื่องปรับอากาศ พิมพ์ Les Indes Savants) และ Viêt Nam ของจีนที่จะขจัดก๊าซซึ่งเป็นตัวการลดโอโซน ในอากาศ เรื่อง « Heads Above Water » contemporain (เวียตนามร่วมสมัย) (ร่วม เขียนกับ S. Dovert - จัดพิมพ์โดยส�ำนัก เกีย่ วกับการเตรียมการของเมืองต่างๆ ซึง่ ตัง้ อยู่ชายฝั่งในเกาะชวาและลุ่มแม่น�้ำโขงเพื่อ พิมพ์ Les Indes Savants) เผชิญกับภาวะน�้ำทะเลสูงขึ้น และรายงาน ล่าสุดของเขาเรื่อง « Gambling on Laos Douglas Varchol » กล่าวถึงความหลากหลายทางชีวภาพใน Documentary Producer, Writer and Director ภาคเหนือของลาว เผยแพร่ครั้งแรกทางช่อง D ouglas Varchol is BBC World News ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. a Bangkok-based 2553 นอกจากนี้ เขายังท�ำงานร่วมกับองค์กร p r o d u c e r, w r i t e r เอกชนและองค์กรนานาชาติหลายแห่งใน and director in film, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิเช่น UNEP television and new IUCN GTZ SIDA SENSA เพื่อพัฒนารายการ media with more than fifteen years of โทรทัศน์เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและการ professional experience. Varchol has พัฒนา ปัจจุบนั วาร์โชลร่วมกับ One Planet created science and history programming for, among others, The Learning Channel, Pictures และ DevTV ผลิตสารคดีหกตอนชุด The History Channel, and PBS in the ธรรมชาติในเอเชีย เพือ่ เผยแพร่ทางช่อง BBC United States and Discovery Channel News World ในพ.ศ. 2554 Europe and BBC World News in the United Kingdom. He was the managing editor for the 2007 WIRED Science series on PBS in the U.S., and in the past four years has made six half-hour Earth Report documentaries for TVE and the BBC World News

ดั๊กลาส วาร์โชล เป็นผู้สร้าง ผู้เขียนบท ผู้ ก�ำกับภาพยนตร์สารคดีทางโทรทัศน์ และ สื่อใหม่ เขามีประสพการณ์การท�ำงานกว่า สิบห้าปีและมีถิ่นพ�ำนักอยู่ในกรุงเทพฯ วาร์ โชล สร้างสรรค์รายการเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ และประวัตศิ าสตร์ให้กบั สถานีโทรทัศน์หลาย ช่อง อาทิเช่น The Learning Channel, The History Channel และ PBS ในสหรัฐอเมริกา รวมทั้ง Discovery Channel Europe และ BBC World News ในสหราชอาณาจักร เขาจบการศึกษาได้รับปริญญาสาขาธรณี ฟิสิกส์ กับสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการ เขาสร้างและถ่าย ท�ำภาพยนตร์ในหลายประเทศทั่วโลก รวม ทั้ง ซูดาน เคนย่า แทนซาเนีย เนปาล อินเดีย (รัฐลาดั๊กห์) เวียตนาม พิลิปปินส์ จีน กัมพูชา อินโดนีเชีย และลาว วาร์โชล เป็นบรรณาธิการบริหารรายการวิทยาศาสตร์

Laila Bunnag Events and Activities Officer (International Relations), Thailand Knowledge Park (TK park)

Graduated from the Faculty of Journalism and Mass Communications, Thammasat University with a major in Film and Photography before further her study in Film Studies at University of East Anglia, UK. Currently working as an Events and Activities Officer with main interest in film activities and festivals for TK park.

จบการศึกษาจากคณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกภาพยนตร์ แ ละภาพนิ่ ง จากนั้ น ไป ศึกษาต่อปริญญาโทด้านภาพยนตร์ศึกษาที่ University of East Anglia สหราชอาณาจักร ปัจจุบันท�ำงานในต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่าย กิจกรรม ดูแลและจัดกิจกรรมด้านภาพยนตร์ ของอุทยานการเรียนรู้ TK park


greeting words

family edutainment


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

© 7 WUNDER

7 WONDERS

7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก Director: Bernhard Nezold / Producer: Kids TV im Auftrag des ORF Country: Austria / Length: 25:00 min / Year: 2010

24

The science magazine “7 Wonders” follows Thomas and Nelson, two space ship captains on their mission to explore the big and small wonders of the world. Some might be obvious to the audience, while other wonders are rather hidden sensations. Together with their shape-shifter space shuttle “Crazy Lola”, they travel around the globe to present a different topic in each episode. In addition to their adventures, short ´do-it-yourself´ experiments are embedded in every instalment, to encourage children to conduct easy and safe experiments at home.

รายการโทรทัศน์เพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กชื่อ “7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก” ด�ำเนินราย การโดยโธมัส และ เนลสัน สองกัปตันนักบินอวกาศผูป้ ฏิบตั ภิ ารกิจส�ำรวจสิง่ มหัศจรรย์ ของโลก ทัง้ ทีม่ ขี นาดเล็กและขนาดใหญ่ ซึง่ บางสิง่ นัน้ เด็กๆเคยเห็นและได้รจู้ กั กันดีแล้ว ขณะที่บางสิ่งยังคงซ่อนความน่าพิศวงเอาไว้ กัปตันทั้งสองได้ออกเดินทางทั่วโลกด้วย ยานอวกาศ “เครซี่ โลล่า” เพื่อที่จะน�ำเสนอเนื้อหาสาระที่ต่างกันไปในแต่ละตอน ของรายการ นอกเหนือจากการเดินทางผจญภัยที่สนุกสนานของสองกัปตันแล้ว ยังได้ น�ำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์เล็กๆ แบบที่เรียกว่า ‘ลงมือท�ำเอง’ เพื่อกระตุ้นให้ เด็กๆ ได้ลองปฏิบัติเองที่บ้านอย่างง่ายดายและปลอดภัย

In this episode the focus is on the wet wonder: water: The “Crazy Lola” crew flies to Iceland to explain how geysers work and discover that you can even boil your breakfast egg in this special kind of hot spring. Furthermore the space ship will transform into a plate to find out what is really happening inside a dishwasher while it cleans up all your dirty cutlery. As for the ´Please try this at home` experiment of the day, be prepared to get a very special kind of recipe: the perfect ingredients list for long-lasting soap bubbles.

รายการในตอนนีน้ ำ� เสนอมหัศจรรย์ความเปียกซึง่ ก็คอื น�ำ้ นัน่ เอง ลูกเรือของยาน ”เครซี่ โลล่า” เดินทางไปยังประเทศไอซ์แลนด์เพื่ออธิบายถึงต้นก�ำเนิดและกลไกธรรมชาติ ของน�้ำพุร้อนไกเซอร์ อีกทั้งได้ค้นพบว่าน�้ำพุร้อนมีอุณหภูมิที่สูงมากถึงขนาดต้มไข่ให้ สุกได้ นอกจากนี้ ยานอวกาศยังได้แปลงร่างเป็นจานข้าว เพื่อเข้าไปส�ำรวจกลไกและ โปรแกรมการท�ำงานต่างๆ ภายในเครื่องล้างจานขณะที่เครื่องก�ำลังท�ำความสะอาด คราบสกปรกที่เกาะติดอยู่กับภาชนะ ในส่วนของการทดลองประจ�ำรายการตามวลี ที่ว่า “ลองท�ำดูเองที่บ้านสิ” ส�ำหรับตอนนี้เป็นเรื่อง การท�ำน�้ำสบู่สูตรพิเศษเพื่อให้ได้ ฟองสบู่สารพัดแบบตามความนึกคิดและแตกยาก

Science Film Festival Thailand 2011


family edutainment greeting words

© Les Experts de l’Archéologie: l’Archéozoologue

Archaeological Experts: the Archaeozoologist

ผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี : นักโบราณคดีเกี่ยวกับสัตว์ Director: Marc Chevalier, Pierre-Emmanuel Lyet, Joris Clerté / Producer: Petite Ceinture, Doncvoilà Country: France / Length: 2:00 min / Year: 2010 Each particular field of archaeology aims at reconstructing the reality of a long-gone era. Pole holes, seeds or bone residue... The archeology of the mundane is able to make the most of those elements to resuscitate landscapes, buildings, customs or even ways of life.

เป็นที่รู้กันดีว่า แขนงวิชาโบราณคดีในแต่ละแขนงนั้นมุ่งฟื้นและสร้างความเป็นจริงที่ เคยก�ำเนิดและมีขึ้นเมื่อครั้งอดีต นักโบราณคดีท�ำให้สิ่งต่างๆ ทั้ง ประเพณีและบ้าน เรือนสิ่งก่อสร้างในอดีตกลับฟื้นคืนชีพขึ้นมาจากหลุมเสา เมล็ดพันธุ์ หรือเศษกระดูก ที่พวกเขารวบรวมได้

In short entertaining animation movies, archeology experts will have you understand how scientists conjecture reality from elements that the inexperienced eye would consider meaningless or undecipherable. The archaeozoologist…his speciality is studying animal remain to work out how they are related to man! Serious business indeed!

ขอเชิญพบกับภาพยนตร์บันเทิงตอนสั้นๆ ผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดีจะแสดงให้ท่าน เห็นกระจ่างแจ้งว่านักวิทยาศาสตร์สามารถรวบรวม ตามหาร่องรอยประวัติศาสตร์ จากสิง่ ทีค่ นทัว่ ไปมองว่าไร้ความหมายและไม่นา่ สนใจได้อย่างไร งานของนักโบราณคดี สรรพสัตว์คือการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์กับมนุษย์

Science Film Festival Thailand 2011

25


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

ARD-Kopfball “Can Spider Silk Hold a Man?”

รายการ คอฟบอล ตอน ท้าพิสูจน์ ใยแมงมุม Director: Dirk Gilson / Producer: Visual Bridges AG Country: Germany / Length: 27:00 min / Year: 2010

26

Spider silk is one of the most stable natural materials. In theory it is five times more tear-resistant than steel. Nobody so far has tried to lift a human being with this delicate material. Together with Oxford University’s leading expert, an experiment will be conducted with the aim to pull a grown man of 83 kg out of a swimming pool using spider silk.

ใยแมงมุมเป็นหนึ่งในวัสดุธรรมชาติที่มีความเหนียวแน่นแข็งแรงมากที่สุด ในทาง ทฤษฎี มันมีความเหนียวกว่าเหล็กกล้าถึงห้าเท่า ทว่าเท่าที่ผ่านมายังไม่เคยมีใครน�ำ วัสดุบอบบางชนิดนี้มาใช้ห้อยโยงและชักดึงร่างมนุษย์ คอฟบอลจึงได้คิดรายการท้า พิสูจน์ใยแมงมุมขึ้น โดยร่วมมือกับผู้ช�ำนาญการชั้นน�ำของมหาวิทยาลัย ออกซฟอร์ด ท�ำการทดสอบดึงร่างชายผู้หนึ่งที่มีน�้ำหนักถึง 83 กิโลกรัมขึ้นจากสระว่ายน�้ำ

To create a thick enough piece of spider silk rope a ‘spider milking machine’ is build, which uses 10 living spiders to weave up their silk into one piece of continuous thread. All the math is done and the correct equations will hopefully work in favour of the spiders. Will it be a success?

การทดสอบต้องใช้เชือกใยแมงมุมทีม่ คี วามหนาเพียงพอ นักวิทยาศาสตร์จงึ ต้องคิดค้น ประดิษฐ์เครื่องกรอใยแมงมุมขึ้นมาเพื่อสาวดึงใยไหมบางๆ จากปลายท้องแมงมุมที่ ยังมีชีวิตอยู่ครั้งละ 10 ตัว (ใช้ทั้งหมด 100 ตัว) จนได้ไหมแมงมุมที่ฟั่นต่อกันเป็นเชือก เส้นหนายาวสมบูรณ์หนึ่งขด และหากการค�ำนวณคณิตศาสตร์ รวมทั้งหลักสมการ ถูกต้อง แมงมุมก็คงเป็นต่อในเกมนี้ ซึ่งเราต้องติดตามดูกันต่อไปว่าการท้าพิสูจน์นี้จะ ประสบความส�ำเร็จหรือไม่

Science Film Festival Thailand 2011


family edutainment greeting words

Biodiversity Alphabet

ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา Director: Jean-Christophe Ribot / Producer: Mosaïque Films, Universcience, Curiospheretv Country: France / Length: 27:00 min / Year: 2010 This series tackles the issue of different scientific concepts linked to diversity of the living on our planet. The series’ tone stands out: each film would match the personal vision of a passionate and populariser scholar. He does not just expound the facts; he organizes a narration that suggests each time a new way of considering nature and its diversity, an approach both scientific and funny. The 26 letters in the alphabet film are embodied by various words, familiar or unfamiliar. Their continuation, surprising and logical, should kindle curiosity: it can deal with animals, scientific concepts or simple words. This alphabet in 26 short animation films shows in a new way the biodiversity. Behind the question of nature’s preservation, it is also the living being what is at stake: the required conditions to its emergence, its reproduction and its diversity. More precisely, the 26 episodes organize themselves on three main themes: balance and unbalance between living species, mechanism of reproduction and the differenciation of species, finally the place of mankind in nature.

ภาพยนตร์ชุดนี้เล่าเรื่องราวคอนเซปต์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในโลก โดยดูเหมือนเป็นงานจากวิสัยทัศน์ของนักวิชาการผู้หลงใหล ในวิทยาศาสตร์ด้านนี้ กล่าวคือ ภาพยนตร์ไม่ได้แจกแจงข้อเท็จจริง แต่กลับบรรยาย มุมมองใหม่ๆ เกี่ยวกับธรรมชาติและความหลากหลายในแบบต่างๆ โดยใส่ทั้งความรู้ ทางวิทยาศาตร์และความสนุกสนานเข้าไปด้วย อักษรภาษาฝรั่งเศสแต่ละตัวถูกผูกโยงเข้ากับค�ำต่างๆ อย่างมีระบบเพื่อเล่าเรื่องราว คอนเซปต์ทางวิทยาศาสตร์ สัตว์ต่างๆ โดยจะท�ำให้คุณกระหายใคร่รู้ตลอดการชม ภาพยนตร์ขนาดสั้นนี้จะเล่าเรื่องราวความหลากหลายทางชีววิทยาผ่านมุมมองใหม่ เพราะนอกจากทีเ่ ราจะต้องอนุรกั ษ์ธรรมชาติแล้ว ความเป็นไปของสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยู่ ภายใต้ธรรมชาติ เช่น การสืบพันธุ์ ความหลากหลายทางชีวภาพก็ส�ำคัญเช่นเดียวกัน

Science Film Festival Thailand 2011

27


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

Dandelion: Wonderful Forest – The Labyrinth of Trees

รายการ ดอกหญ้าฟันสิงโต ตอน ผจญภัยในป่าพิศวง Director: Hannes Spring / Producer: Studio TV für ZDF Country: Germany / Length: 24:00 min / Year: 2010 The edutainment show “Dandelion” imbeds fun facts and fascinating information about nature, the environment and technology into a continuing storyline, involving presenter Fritz Fuchs and his dog Cookie. The concept of the show revolves around the above-mentioned main characters and their adventures, always dealing with one specific theme in every episode. Since the producers of the show believe that educational television for children is more effective if content is put across in a humorous way, many stories are quite amusing and characters are likeable, slightly over the top personalities. The main message sent to the young audience is always: “Engage with the world and have fun while learning.” This episode sees Fritz on a family getaway, when, after an argument with his brother-in-law regarding the fastest way to the camp site, he decides to take a short cut through the woods and meet them at their destination. While in the forest, Fritz explores the flora and fauna surrounding him and meets the local forester who explains what happens to the trees after they are felled.

28

Science Film Festival Thailand 2011

รายการ “ดอกหญ้าฟันสิงโต” เป็นรายการสาระบันเทิงทีอ่ งิ ข้อเท็จจริงและน�ำเสนอข้อมูล ที่น่าสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี โดยน�ำมาผูกเป็นเรื่องราว และเหตุการณ์ที่ตื่นเต้นสนุกสนาน ด�ำเนินเรื่องโดย ฟริทซ์ ฟูคส์ กับ ‘คุกกี้’ สุนัขเลี้ยง เพื่อนคู่หู กรอบความคิดของรายการอยู่ที่การผจญภัยของตัวละครหลักสองตัวนี้ โดย ในแต่ละตอนจะเลือกเนือ้ หาสาระน่ารูห้ วั ข้อใดหัวข้อหนึง่ มาน�ำเสนอ ผูก้ ำ� กับรายการนี้ เชือ่ ว่าโทรทัศน์เพือ่ การศึกษาส�ำหรับเด็กจะมีประสิทธิผลมากขึน้ ด้วยกลวิธมี อบความรูค้ ู่ ความบันเทิง เรือ่ งราวในหลายๆ ตอนมีความสนุกสนานเต็มขัน้ และตัวละครก็เอาชนะใจ ผู้ดูได้ง่ายๆด้วยเสน่ห์และอัตลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งที่รายการนี้น�ำเสนอแก่ผู้ชมวัยเยาว์ ตลอดมาคือ “จงมีส่วนร่วมกับโลกและมีความสนุกสนานขณะเรียนรู้” เรือ่ งราวส�ำหรับตอนนี้ ฟริทซ์ เดินทางไปยังสถานทีพ่ กั ผ่อนกับพีส่ าวและพีเ่ ขย แต่หลัง จากทะเลาะกับพีเ่ ขยเรือ่ งเส้นทางไปยังค่ายทีพ่ กั ทีต่ กลงกันไม่ได้วา่ เส้นทางใดเร็วทีส่ ดุ ฟริทซ์จึงตัดสินใจเดินเท้าลัดผ่านป่าไปตามล�ำพัง โดยนัดหมายกันว่าจะไปพบกันที่ ค่ายพัก ขณะที่ฟริทซ์เดินหลงทางอยู่ในป่านั้น เขาได้ส�ำรวจพืชพรรณและสัตว์ป่ารอบ ตัว จนในที่สุดได้มาพบกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ท้องถิ่นผู้อธิบายถึงสาเหตุที่ต้นไม้ถูกโค่นลง เพื่อสนองการใช้ประโยชน์ของมนุษย์


family edutainment greeting words

How Can We Feed the World?

คนทั้งโลกจะมีอาหารเพียงพอได้อย่างไร Director: Denis van Waerebeke, Sabrina Massen / Producer: Montag, Cité des Sciences et de l’Industrie, Universcience, Heureka, Technopolis, Museo della Scienza Leonardo da Vinci / Country: France / Length: 9:00 min / Year: 2009 The rise of basic food cost in 2007 and 2008 caused some lateral damages all over the world. These events had revealed one of the main worldwide challenges of the next century: how can we feed the whole world population? In spite of technical progress, in spite of global exchanges, many human beings do not access to the first Human rights: being able to eat everyday. This film, dedicated to a general audience, is conceived in a playful and elegant way and proposes some keys to understand a problem which has an impact on all of us. It explains without pathos and in a very simple way a complex situation which requires a multidisciplinary approach: agronomical, technical, scientific, economic, sociological, ecological and above all political.

การพุง่ ตัวสูงของราคาอาหารหลักๆ ในช่วงปี ค.ศ. 2007-2008 ได้ทำ� ให้เกิดการจลาจล ขึ้นทั่วโลก การท�ำให้ประชากรโลกทุกคนมีอาหารเพียงพอต่อความต้องการนับเป็น ความท้าทายส�ำคัญประการหนึ่งของมวลมนุษยชาติในยุคศตวรรษเราต้องตระหนักว่า แม้วา่ ในปัจจุบนั จะมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและแม้วา่ โลกจะอยูใ่ นยุคโลกาภิวตั น์ หากแต่คนมากมายกลับไม่มีสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุด ได้แก่ สิทธิในการมีอาหารเพียงพอ ภาพยนตร์ที่มีความสวยงามน่าดูและเหมาะส�ำหรับสมาชิกทุกคนในครอบครัวเรื่องนี้ จะท�ำให้เรือ่ งสภาวะการขาดแคลนอาหารเป็นเรือ่ งทีเ่ ข้าใจได้งา่ ยๆ โดยไม่ได้ทำ� ให้เรือ่ ง นีเ้ ป็นเรือ่ งเศร้าโศกจนเกินไป ภาพยนตร์อธิบายเรือ่ งทีซ่ บั ซ้อนอย่างยิง่ นีด้ ว้ ยภาษาง่ายๆ ท�ำให้เข้าใจได้อย่างชัดเจน โดยผ่านชุดค�ำอธิบายทีเ่ กีย่ วกับศาสตร์หลายแขนง อันได้แก่ เทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา วิทยาศาสตร์สิ่ง แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเมือง

Observers of these different fields agree to say that it is urgent to carry out complete modifications in production methods and distribution of agricultural goods in a worldwide scale. How can we produce food in a sufficient quantity, respecting ecosystems? How can we distribute food for all in an equitably way? Possible solutions are simply brought up including those that we can individually act for.

ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายต่างเห็นตรงกันว่า เราจะต้องแก้ไขวิธีการผลิตและกระจาย ทรัพยากรอาหารในโลกทั้งหมดใหม่อย่างทันท่วงที ค�ำถามส�ำคัญคือ ท�ำอย่างไรจึง จะผลิตอาหารได้เพียงพอต่อความต้องการของประชากรโลก โดยที่ในขณะเดียวกัน ก็เคารพสิ่งแวดล้อมและแบ่งสันปันส่วนให้ทุกคนอย่างเป็นธรรมภาพยนตร์เรื่องนี้น�ำ เสนอหนทางการแก้ปัญหาแบบต่างๆ อย่างเข้าใจง่ายๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่เรา เริ่มท�ำได้โดยเริ่มจากตัวเราเอง Science Film Festival Thailand 2011

29


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

I Got It! – The Clean Energy Episode

รายการ ไอกอทอิท ตอน พลังงานสะอาด Director: Thai PBS / Producer: The Goethe-Institut in cooperation with RTB Brunei, TVK Cambodia, TVRI Indonesia, RTM Malaysia, MRTV-4 Myanmar, LNTV Laos, ABS-CBN Foundation Philippines, Thai PBS Thailand and VTV Vietnam / Country: Thailand / Length: 10:00 min / Year: 2010 Our whole life contains energy. We use electricity for our computers, television, cooking or light. We use fuel for our cars, buses, machines and for a lot more. It is hard to imagine our modern life without it. Though, energy generation and the use of this energy are one the main factors of climate changed caused by humans. But there are ways to avoid this by generating and using so-called clean energy. All over the world you can find clean energy depending on the particular conditions of the region, because there is wind power, water power or solar power. One of the most effective clean energy sources, is solar energy. By collecting solar rays with a convex lens it is easy to visualize solar power in a home experiment. But what makes solar power effective for us it the ability of solar cells to transform the sunlight into electricity. Using clean energy helps to reduce the problem of global warming and helps to save expenses for electricity, fuel oil and liquid gas. And it is renewable! “I Got It!” is a unique edutainment programme that unites nine ASEAN broadcaster to co-produce a knowledge magazine for children in cooperation with the Goethe-Institut.

30

Science Film Festival Thailand 2011

มนุษย์เราใช้พลังงานอย่างมหาศาลในการด�ำรงชีวิต เราใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานป้อนสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกหลากหลายประเภท ทัง้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เครือ่ งรับโทรทัศน์ เครือ่ งหุงต้ม และ อุปกรณ์ที่ให้แสงสว่าง เราใช้เชื้อเพลิงเป็นพลังงานขับเคลื่อนรถยนต์ รถเมล์ เครื่องจักรและ อื่นๆ อีกมากมาย ชีวิตอันทันสมัยของเราพึ่งไฟฟ้ามากเสียจนนึกไม่ออกเลยว่าหากปราศจาก ไฟฟ้าแล้วเราจะอยู่อย่างไร จริงอยู่ที่การผลิตพลังงานไฟฟ้าและการใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อ ประโยชน์สุขของมนุษย์เป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ทว่าเรายังมีวิธีการหลีกเลี่ยงปัญหานี้โดยการผลิตและใช้พลังงานที่เรียกว่า ‘พลังงานสะอาด’ พลังงานสะอาดนั้นมีอยู่ทั่วโลกซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะจ�ำเพาะของภูมิภาคนั้นๆ เช่น พลังงาน ลม พลังงานน�ำ้ หรือพลังงานแสงอาทิตย์ หนึง่ ในแหล่งพลังงานสะอาดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด คือพลังงานแสงอาทิตย์ เราสามารถจ�ำลองภาพพลังงานแสงอาทิตย์ได้ง่ายๆ ที่บ้าน โดยใช้ เลนส์นูนเป็นตัวรวมรังสีดวงอาทิตย์ แต่สิ่งที่ท�ำให้พลังงานแสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพส�ำหรับ เราคือกลไกการท�ำงานของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน ไฟฟ้า การใช้พลังงานสะอาดช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน และช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ไฟฟ้า น�ำ้ มันเชือ้ เพลิง และก๊าซธรรมชาติ นอกจากนีย้ งั เป็นพลังงานหมุนเวียนอีกด้วย รายการ “ไอ กอท อิท!” เป็นรายการสาระบันเทิงที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ซึ่งเกิดจากความร่วม มือกันระหว่างภาคีอาเซียนเก้าประเทศกับสถาบันเกอเธ่ โดยมีจุดประสงค์ที่จะผลิตรายการ โทรทัศน์เพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กในกลุ่มภาคีอาเซียน


family edutainment greeting words

I Got It! – The Pollution Episode

รายการ ไอกอทอิท ตอน ยานพาหนะปลอดมลพิษ Director: VTV / Producer: The Goethe-Institut in cooperation with RTB Brunei, TVK Cambodia, TVRI Indonesia, RTM Malaysia, MRTV-4 Myanmar, LNTV Laos, ABS-CBN Foundation Philippines, Thai PBS Thailand and VTV Vietnam / Country: Vietnam / Length: 10:00 min / Year: 2010 The motorbike is in many Asian countries the most important vehicle for transport. In Vietnam there are millions of motorbikes on the road. Every morning, thousands of children are taken to school by their parents on motorbikes. It is the same for Chi. Her mom also takes her with the motorbike for shopping and anywhere in the city. But after a full day of motorbike trips Chi feels a little bit tired and stiff sometimes. This makes her wonder about how harmful the motorbike is to the environment. She wants to figure out how much harmful emissions her dad´s motorbike is producing and has the idea to capture the polluted air directly from the exhaust with an empty bottle and analyse it. Discovering the photosynthesis process and the effects of air pollution, Chi understands the importance of being responsible in our use of resources. Scientists are already searching for future solutions and found one in Manioc. By being inspired of finding a way to reduce air pollution she encourages her friends and family to use the bicycle instead of the motorbike.

รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่ส�ำคัญที่สุดในหลายประเทศแถบเอเชีย ที่ประเทศ เวียดนามมีรถจักรยานยนต์อยูบ่ นถนนนับล้านคัน ทุกๆ เช้ามีเด็กจ�ำนวนเป็นพันๆ คน ทีผ่ ปู้ กครองน�ำไปส่งทีโ่ รงเรียนด้วยรถจักรยานยนต์ เด็กหญิงฉีกเ็ ป็นหนึง่ ในนั้น คุณแม่ พาฉีซ้อนรถจักรยานยนต์ไปซื้อของและไปตามสถานที่ต่างๆ ในเมืองตลอดวัน เมื่อฉี กลับถึงบ้าน เธอรูส้ กึ อ่อนเพลียจนกระดิกตัวแทบไม่ไหว เธออดคิดไม่ได้วา่ มลภาวะอาจ เป็นสาเหตุของอาการนี้ และสงสัยว่ารถจักรยานยนต์กอ่ ให้เกิดมลภาวะทางสิง่ แวดล้อม ได้อย่างไร ฉีอยากรู้ว่ารถจักรยานยนต์ของคุณพ่อปล่อยก๊าซที่ก่อให้เกิดมลภาวะมาก แค่ไหน เธอจึงน�ำตัวอย่างควันพิษจากท่อไอเสียรถจักรยานยนต์ที่อัดใส่ขวดไว้ไปส่ง ให้นักวิจัยเพื่อตรวจวิเคราะห์ เมือ่ ฉีได้ทราบถึงกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชทีม่ ผี ลในการขจัดมลพิษทางอากาศ เธอจึงเข้าใจและเห็นถึงความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่บนโลกอย่างมีส�ำนึก รับผิดชอบ นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้านพลังงานเพื่ออนาคต และได้ค้นพบพลังงานทดแทน เช่น เชื้อเพลิงที่ผลิตจากมันส�ำปะหลัง การค้นพบ วิธีลดมลพิษทางอากาศได้สร้างแรงบันดาลใจบางอย่างให้กับฉี เธอได้ออกความคิด และสนับสนุนให้เพื่อนๆ พร้อมทั้งครอบครัวหันมาใช้รถจักรยานแทนรถจักรยานยนต์ Science Film Festival Thailand 2011

31


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

I Got It! – The Sugar Episode

รายการ ไอกอทอิท ตอน น�้ำตาลหวานเจี๊ยบ Director: ABS-CBN Foundation / Producer: The Goethe-Institut in cooperation with RTB Brunei, TVK Cambodia, TVRI Indonesia, RTM Malaysia, MRTV-4 Myanmar, LNTV Laos, ABS-CBN Foundation Philippines, Thai PBS Thailand and VTV Vietnam / Country: The Philippines / Length: 10:00 min / Year: 2010 One thing is for sure: everybody likes sweets! Candy, cakes or chocolate, in whatever form, people of every age just love it. But not only sweets are sweet, there are also certain foods which are naturally sweet, like fruits and honey. Since when do we know how to get sweetness from plants and who discovered sugar? By going back in history we learn that sugar canes give us the ´white gold`. By recreating the process of sugar extraction, we come to know the process from sugar cane to sweet brown syrup, onto golden shimmering raw sugar until we finally get refined white sugar crystals. However, this is not answering the question why we like sweets and what is happening with us if we´re eating too much of the delicious food. The human body reacts to the sweet taste on the taste buds at the tongue and initiate the brain to distribute `feel good` chemicals. So we want to eat more and more of it. But we should not forget about the negative aspects of consuming loads of sugar.

32

Science Film Festival Thailand 2011

แน่นอนว่า ทุกคนชอบของหวาน เช่น ลูกอม ขนมเค้ก หรือช็อกโกแลต ไม่ว่าน�้ำตาล จะมาในรูปแบบใดผู้คนทุกวัยก็หลงใหลมัน ไม่เพียงของหวานเท่านั้นที่มีรสชาติหวาน แต่ยงั มีอาหารบางชนิดทีม่ รี สหวานโดยธรรมชาติ เช่น ผลไม้ และน�ำ้ ผึง้ มนุษย์เรารูจ้ กั น�ำ ความหวานจากพืชมาบริโภคตัง้ แต่เมือ่ ไร และใครคือผูค้ น้ พบน�้ำตาล เมื่อย้อนกลับไป ดูประวัติศาสตร์เราจึงรู้ว่าน�้ำตาลท�ำมาจากต้นอ้อย และขั้นตอนการสกัดน�้ำตาลท�ำให้ เราทราบถึงกระบวนการที่เริ่มตั้งแต่น�้ำอ้อยที่กลายมาเป็นน�้ำเชื่อมสีน�้ำตาลข้น ไปเป็น น�้ำตาลทรายดิบ จนถึงการฟอกเป็นน�้ำตาลทรายขาว ถึงกระนัน้ ค�ำอธิบายข้างต้นก็ยงั ตอบไม่ได้วา่ ท�ำไมเราถึงชอบรสหวาน และจะเกิดอะไร ขึน้ หากเรารับประทานของหวานมากเกินไป โดยธรรมชาติ มนุษย์มปี ฏิกริ ยิ าต่อรสชาติ หวานเนื่องจากมีปุ่มรับรสหวานที่ปลายลิ้น ซึ่งจะส่งข้อมูลไปยังสมองให้หลั่งสารเคมี ที่ให้ความรู้สึกดีกับเรา ท�ำให้เราอยากรับประทานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ตาม เราไม่ ควรลืมเรื่องผลเสียของการบริโภคน�้ำตาลมากเกินไปเช่นกัน


family edutainment greeting words

Mouse TV: Fuel Cell

รายการ เมาส์ทีวี ตอน เซลล์เชื้อเพลิง Director: Sabine Ennulath / Producer: Sabine Ennulath Country: Germany / Length: 5:00 min / Year: 2009 For the over 40 years now, “Mouse TV” has been successfully delivering educational, child-friendly television content to millions of viewers worldwide. Although initially intended for the younger generation, this weekly programme is highly popular with any age group as it manages to balance quality output with an easy to grasp presentation.Each episode is dedicated to a certain topic and includes short films, which break down complicated procedures into understandable and straightforward concepts, often visualised with basic everyday gimmicks. The aim of the show is to explain the world to children and to spark their interest in their surroundings, therefore simple language is used so that the young audience won`t get lost in big, academic words. In this episode it is investigated how the engine of a hydrogen car works. Is it possible to refuel a car only with water or rather particles of water? If so, what happens in the engine and what chemical processes are involved? Are the exhausted fumes really more eco-friendly than the ones from regular cars? All this will be explored and explained by Christoph, the show`s presenter, who will demonstrate with the help of self-made models, step by step what is happening inside the engine.

เป็นเวลากว่า 40 ปีทรี่ ายการ “เมาส์ทวี ”ี ประสบความส�ำเร็จในการเป็นรายการโทรทัศน์ ส�ำหรับเด็กและเยาวชนทีม่ อบความรูแ้ ละเป็นมิตรกับผูช้ มวัยเยาว์หลายล้านคนทัว่ โลก แม้วา่ กลุม่ เป้าหมายของรายการนีค้ อื เด็กและเยาวชน แต่รายการโทรทัศน์ทอี่ อกอากาศ เป็นรายสัปดาห์นกี้ เ็ ป็นทีช่ นื่ ชอบของผูช้ มทุกวัยด้วยเนือ้ หาทีม่ คี ณุ ภาพและการน�ำเสนอ ทีเ่ ข้าใจได้งา่ ย รายการทุกตอนจะมีหวั ข้อทีแ่ น่นอน รวมไปถึงหนังสัน้ ทีท่ ำ� ให้เรือ่ งราวที่ ซับซ้อนกลายเป็นเรือ่ งทีเ่ ข้าใจได้งา่ ยยิง่ ขึน้ และมีการถ่ายทอดความคิดแบบตรงไปตรง มา ซึง่ มักใช้กลวิธจี ำ� ลองภาพด้วยลูกเล่นง่ายๆ ทีพ่ บเห็นในชีวติ ประจ�ำวัน รายการนีม้ ี จุดประสงค์ทจี่ ะอธิบายเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ บนโลกให้เด็กๆ ได้เข้าใจ และเพือ่ จุดประกาย ความสนใจในสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวของเด็กเอง ดังนั้นรายการจึงเน้นการใช้ภาษาที่ เข้าใจง่าย เพื่อที่เด็กๆ จะได้ไม่งุนงงสับสนหากเทียบกับการใช้ถ้อยค�ำในเชิงวิชาการ ส�ำหรับตอนนี้ รายการจะเข้าไปส�ำรวจเครื่องยนต์ของรถยนต์พลังงานไฮโดรเจนว่า มีกลไกการท�ำงานอย่างไร เป็นไปได้หรือไม่ที่จะเติมเชื้อเพลิงให้กับรถยนต์ด้วยน�้ำ หรือที่เรียกว่าอนุภาคของน�้ำ หากเป็นเช่นนั้นจะเกิดผลอะไรขึ้นในเครื่องยนต์ และมี กระบวนการทางเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างไร เขม่าควันของรถยนต์ประเภทนี้เป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อมมากกว่ารถยนต์ปกติหรือไม่ คริสตอฟจะพาเราไปหาค�ำตอบกัน ผูด้ ำ� เนิน รายการจะท�ำการสาธิตด้วยรถยนต์จำ� ลองทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ เอง และแสดงให้เห็นอย่างเป็น ขั้นตอนถึงกลไกการท�ำงานของเครื่องยนต์พลังงานไฮโดรเจน Science Film Festival Thailand 2011

33


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

Nine and a Half: Bees in Danger

รายการ เก้านาทีครึ่ง ตอน ผึ้งช่วยเรา เราช่วยผึ้ง Director: Svenja Mettlach / Producer: tvision GmbH für den WDR / Country: Germany / Length: 9:00 min / Year: 2010 It is summer and flowers bloom, but something is missing – the bees. The high mortality of bees worldwide is causing bee populations to dwindle. To find out the reason, presenter Johannes goes to the Albert-Schweitzer High school to meet with Alicia and Jaspreet. Both of them are members of a bee workshop at their school. They explain the history of bee cultivation and the inner life of beehives to help understand the needs of bees. But why is this important to us? Bees are a necessary part of the natural food cycle. They pollinate half of our trees, so fruits can grow. Besides bovine and porcine animals, bees are the third most important livestock. Humans are increasingly encrouching on the life of bees though, by destroying forests and meadows to generate space for industry parks and housing. It is therefore not only important to save the bees for their sake, but to save our environment as a whole.

34

Science Film Festival Thailand 2011

นีเ่ ป็นช่วงฤดูรอ้ นและดอกไม้บานแต่บางสิง่ บางอย่างก�ำลังจะหายไป นัน่ คือเจ้าผึง้ น้อย ปัญหาจ�ำนวนประชากรผึ้งที่ลดน้อยลงนี้สืบเนื่องมาจากอัตราการตายของผึ้งที่พุ่งสูง ขึ้นทั่วโลก โยฮันเนส พิธีกรของรายการได้เข้าไปเจาะลึกเรื่องนี้ที่โรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย อัลเบิร์ต ชไวต์ทเซอร์ (Albert-Schweitzer) และได้พบกับ อลิเซีย และ ญัสพรีท ผู้เป็นสมาชิกโครงการเลี้ยงผึ้งของโรงเรียน นักเรียนหญิงทั้งสองได้อธิบาย ถึงประวัติการเลี้ยงผึ้งและสังคมผึ้งในรวงรังซึ่งช่วยให้เราเข้าใจวิถีชีวิตและปัจจัยการ ด�ำรงชีพของผึ้งมากขึ้น ทว่าท�ำไมชีวิตผึ้งถึงมีความส�ำคัญกับเรา ผึ้งเป็นส่วนหนึ่งของระบบห่วงโซ่อาหารใน ธรรมชาติที่จะขาดไปเสียมิได้ ผึ้งท�ำหน้าที่ถ่ายเรณูเพศผู้ไปสู่เกสรเพศเมียให้ไม้ดอก ไม้ผลจ�ำนวนกว่าครึง่ ทีม่ อี ยูบ่ นโลก ต้นไม้จงึ ออกลูกออกผลเป็นอาหารให้แก่เรา และผึง้ ก็ได้กลายมาเป็นสัตว์เลีย้ งเพือ่ การยังชีพของมนุษย์ทมี่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ เป็นอันดับสาม ต่อจากโคและสุกร แต่มนุษย์ก�ำลังคุกคามชีวิตของผึ้งมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการท�ำลาย ป่าไม้และทุ่งหญ้าเพื่อแปรสภาพเป็นนิคมอุตสาหกรรมและหมู่บ้านที่อยู่อาศัย ดังนั้น การอนุรกั ษ์ผงึ้ จึงมิได้มคี วามส�ำคัญต่อชีวติ ผึง้ แต่ฝา่ ยเดียว หากยังช่วยรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทั้งหมดทั้งมวลรวมทั้งชีวิตของเราด้วย


family edutainment greeting words

Nine and a Half: Nuclear Accident in Japan

รายการ เก้านาทีครึ่ง ตอน อุบติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในญี่ปุ่น Director: Maike Pies, Svenja Mettlach / Producer: tvsion GmbH für den WDR Country: Germany / Length: 9:00 min / Year: 2010 At the beginning of this year, a severe earthquake shook Japan. After the earthquake, a tsunami was triggered that devasted the island. Many people became homeless, got injured or were even killed. But there is one more danger threatening not only Japan, but also the entire world: the earthquake led to serious problems in the nuclear power plant Fukushima I. After several explosions and blazes at the nuclear plant, radioactive radiation was leaking. What are the effects of this tragedy? How can you measure nuclear radiation? How does nuclear energy work? These are some of the questions answered in this episode of the German programme, which explains news to children.

Science Film Festival Thailand 2011

35


ภาพยนตร์สาระบันเทิง

pur+: Enter the Storm

รายการ เพียวร์พลัส ตอน พลังลมระดับ 12 Director: Rita Gerhardus-Faust / Producer: ZDF Country: Germany / Length: 25:00 min / Year: 2010 Every year heavy storms are destroying huge regions all over the world. But which wind strength can be dangerous for people? Eric tests it himself. In Stuttgart´s wind tunnel, where cars are usually tested for their aerodynamics, he faces the wind. Can Eric withstand the maximum of 170 km/h or even the wind strength of a hurricane? 11-year old Jakob needs the wind to move through the water. He and his younger brother Xaver are the youngest contestants of kitesurfing in Germany. By using the kite to catch the wind he is able to fly over the sea. But he wants more; he is training for new and difficult tricks for an international competition. Though for this he need’s special wind conditions such as can be found on the Greek island of Rhodes. But what is wind? How does simple air become wind? This is answered in this episode of “pur+”!

36

Science Film Festival Thailand 2011

ทุกปีลมพายุรุนแรงได้ท�ำลายพื้นที่ทั่วโลกเป็นวงกว้าง ความเร็วของลมประเภทใด และระดับไหนที่สามารถท�ำอันตรายผู้คนได้ เอริกเข้าไปทดสอบพลังลมด้วยตัวเขา เองในอุมงค์ลมแห่งเมืองชตุ๊ทการ์ทที่ซึ่งเป็นสถานที่ทดสอบทางอากาศพลศาสตร์ของ รถยนต์ ที่นั่นเขาได้ยืนต้านปะทะความเร็วลม ลองมาทายกันสิว่าเอริกจะสามารถยืน ต้านกระแสลมที่มีความเร็วสูงถึง 170 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือกระทั่งความเร็วสูงสุด ของลมพายุเฮอริเคนได้หรือไม่ ยาคอบ วัย 11 ปีต้องการให้ลมพัดพาร่างของตนเคลื่อนผ่านสายน�้ำ เขากับน้องชาย ที่ชื่อซาเวอร์เป็นผู้เข้าแข่งขัน ‘ไคท์เซิร์ฟฟิ่ง’ จากประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นกีฬาร่อนลม มือบนผิวน�้ำที่ใช้พลังงานลมดันร่มเพื่อดึงผู้เล่นที่ยืนบนกระดานเล็กๆ ให้ลอยตัวอยู่ใน อากาศเหนือพืน้ น�ำ้ ทะเลได้ แต่ยาคอบมีความทะเยอทะยานสูงมาก เขามุง่ ฝึกฝนท่าเล่น ใหม่ลา่ สุดทีต่ อ้ งใช้กลวิธกี ารเล่นทีย่ ากแสนยากเพือ่ เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ ดังนัน้ เขาจึงต้องการลมที่มีลักษณะพิเศษ อย่างเช่นลมทะเลที่เกาะโรดส์ ประเทศกรีซ ทว่า ลมคืออะไร อากาศธรรมดากลายมาเป็นลมได้อย่างไร เชิญพบค�ำตอบได้ในรายการ เพียวร์พลัส


family edutainment greeting words

The Whizz Reporters: Into the Rainforest

นักข่าวหัวเห็ดในป่าฝน Director: Luc Baudonnière, Manou Jakubowicz / Producer: France 3 / Riff International Production / FTD Country: France / Length: 26:00 min / Year: 2002 The Whizz Reporters bring you into the heart of the largest rainforest on the planet: the Amazonian rainforest. This forest covers a third of South America—an area roughly equal to the United States! With millions of unique fauna and flora, the Amazon comprises the most species-rich tract of tropical rainforest in the world. Fred, Jamy and Sabine meet CNRS (a famous French science Institute) scientists working in the middle of Guyana, in a prime forest, yet untouched by mankind. We are discovering with them the unexpected treasures of this extraordinary biodiversity. How does the climate affect the forest? Why do the trees’ roots grow so much at the surface? What is the different stratum of a tropical forest? Can we describe the Amazonian rainforest as the lungs of the world, acting as a carbon trap and limiting the effects of Global Warming? Can we afford the increasing exploitation of such a valuable resource?

ภาพยนตร์เรื่องนี้พาคุณท่องไปยังใจกลางป่าฝนอะเมซอน ซึ่งเป็นป่าฝนที่ใหญ่ที่สุด ของโลก โดยมีเนื้อที่มากถึงหนึ่งในสามของทวีปอเมริกาใต้ ใหญ่พอๆ กับประเทศ อเมริกาเลยทีเดียว ผืนป่าแห่งนี้เป็นแหล่งรวมพืชพันธุ์และสัตว์ต่างๆ หลายล้านชนิด นับเป็นแหล่งทรัพยากรป่าฝนทีส่ มบูรณ์ทสี่ ดุ ในโลก เฟรด ฌามี่ และซาบินจะได้พบกับ นักวิทยาศาสต์จากสถาบัน CNRS ที่มีชื่อเสียงของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งท�ำงานวิจัยใน ใจกลางประเทศกียาน่า ทีซ่ งึ่ ป่ายังคงไร้การสัมผัสจากมนุษย์ พวกเราจะไปสัมผัสความ หลากหลายทางธรรมชาติที่น่าตื่นตาตื่นใจของป่าแห่งนี้ ภาพยนตร์อธิบายให้เราเข้าใจว่าสภาวะอากาศมีผลกระทบอย่างไรต่อป่าอะเมซอน เพราะสาเหตุใดรากต้นไม้จึงงอกขึ้นมาถึงพื้นผิวดิน ชั้นบรรยากาศต่างๆ ของป่า นอกจากนัน้ ภาพยนตร์เรือ่ งนีพ้ ยายามตอบค�ำถามทีว่ า่ เราจะเรียกป่าแห่งนีว้ า่ เป็นปอด ของมวลมนุษยชาติได้หรือไม่ สิง่ ทีเ่ รารูก้ ค็ อื ป่าแห่งนีก้ กั ก๊าซคาร์บอนให้เรา และช่วยเรา จ�ำกัดผลร้ายของสภาวะโลกร้อน แล้วเรายังควรจะใช้ทรัพยากรจากป่าทีม่ คี า่ เช่นนีต้ อ่ ไป หรือไม่

Science Film Festival Thailand 2011

37


The Sixth Science Film Festival 2010 received 25,667 visitors in Bangkok and 62,558 visitors in the provinces – bringing the total audience figure to over 88,000 in Thailand. A selection of 47 films from 17 countries, out of originally 177 entries from 24 countries, was presented at eight venues in Bangkok and universities and schools in 26 provinces nationwide during the event together with the trademark science activities organized by the venues to accompany the screenings The venues in Bangkok for 2011 are: The National Science Museum, NSM Science Square, the Science Centre for Education, Thailand Knowledge Park (TK park), NSTDA Thailand Science Park, Major Esplanade Ngamwongwan – Kaerai and the Thai Film Archive.

เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปีพ.ศ. 2553 ในกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าชมจ�ำนวน 25,667 คน และจ�ำนวนผู้เข้าชมถึง 62,558 คนจาก 26 จังหวัด ทัว่ ภูมภิ าคท�ำให้ยอดผูเ้ ข้าชมทัง้ หมดกว่า 88,000 คน ในประเทศไทย ภาพยนตร์ที่ ส่งเข้าร่วมมีจ�ำนวนทั้งหมด 144 เรื่องจาก 24 ประเทศ ซึ่งได้รับการคัดเลือกให้ จัดฉายจ�ำนวน 47 เรื่องจาก 17 ประเทศ จัดฉายในเขตกรุงเทพมหานคร 8 แห่ง และสถาบันการศึกษาในส่วนภูมภิ าค 26 จังหวัด ในช่วงเทศกาลฯ ได้จดั กิจกรรม ทางด้านวิทยาศาสตร์ควบคูก่ บั การฉายภาพยนตร์โดยทางศูนย์จดั ฉายเป็นผูด้ แู ล ศูนย์จัดฉายภาพยนตร์ในกรุงเทพฯ ในปีพ.ศ. 2554 นี้ ได้แก่ • โรงภาพยนตร์เอสพลานาด ซีนีเพล็กซ์ งามวงศ์วาน - แคราย • องค์การพิพิธภัณฑ์วิยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) เทคโนธานี คลอง 5 • จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. จามจุรีสแควร์ สามย่าน • ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจ�ำลองกรุงเทพ) BTS เอกมัย • สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย คลองหลวง • อุทยานการเรียนรู้ TK park อาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชัน้ 8 Dazzle Zone • หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา นครปฐม


ecology & environment


ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

DNA – Sanctuary for a Second Chance

ดีเอนเอกระตุ้นระบบประสาท บ้านพักฟื้นส�ำหรับโอกาสครั้งใหม่ Director: Ophélie Radureau / Producer: Gédéon Programmes, France Télévisions Country: France / Length: 9:00 min / Year: 2010 Aurélien “Chanee” Brulé has been an ape-enthusiast since his earliest childhood. After living in Indonesia for 13 years, he can only think about one thing: saving gibbons from being traded by humans. Having been treated as personal pets, the apes he takes in have never had the chance to lead a true “ape’s life.” On DNA, we’ll meet Chanee and his team at the heart of the Borneo forest in a sanctuary that today houses 125 gibbons. With them, we’ll discover how humans can teach animals to become wild again. Their mission isn’t easy, as gibbons are one of the most difficult animals to readapt to a life of liberty in the forest. As the apes learn to feed their young or move from branch to branch, we’ll follow the step-by-step daily work of the scientists in the program, and meet the animals who may soon be set free.

40

Science Film Festival Thailand 2011

โอเรเลียง บรูเล่ หรือเรียกอีกชื่อว่าชะนี มีความสนใจเกี่ยวกับลิงตั้งแต่ครั้งยังเยาว์วัย หลังจากได้ใช้ชวี ติ ในประเทศอินโดนีเซียถึงสิบสามปี โอเรเลียงมีความต้องการประการ เดียว คือการช่วยเหลือไม่ให้ชะนี Gibbons ถูกขายด้วยมือมนุษย์ ชะนีทเี่ ขาได้ชว่ ยเหลือ มานัน้ ถูกเลีย้ งไว้ดเู ล่นโดยมนุษย์และไม่เคยใช้ชวี ติ ตามธรรมชาติมาก่อน ภาพยนตร์พา เราไปพบกับโอเรเลียงและเหล่าชะนี 125 ตัวในแหล่งพักฟืน้ ใจกลางป่าบอร์เนียว เรามา ร่วมสังเกตว่ามนุษย์จะสอนให้ชะนีกลับมามีสญั ชาตญาณสัตว์ปา่ อีกครัง้ ได้อย่างไร เพือ่ ทีพ่ วกมันจะได้ปรับตัวและกลับไปมีอสิ ระในธรรมชาติอย่างแท้จริงอีกครัง้ เราจะได้ชม พวกชะนีเหล่านีเ้ รียนรูท้ จี่ ะให้อาหารลูกๆของมันและปีนจากต้นไม้ตน้ หนึง่ ไปยังอีกต้น นอกจากนีแ้ ล้ว เราจะยังได้ตดิ ตามการท�ำงานประจ�ำวันของนักวิทยาศาสาตร์ในทุกขัน้ ตอน ขอเชิญพบกับเหล่าสรรพสัตว์ที่จะพบกับอิสรภาพที่แท้จริง เร็วๆ นี้


ecology and environment greeting words

No Coral, No Maldives

ไม่มีปะการังก็ไม่มีมัลดีฟส์ Director: Aminath Najeeb / Producer: CFI, IRD, in cooperation with Maldives National Broadcasting Cooperation (MNBC) Country: France / Maldives / Length: 13:00 min / Year: 2010 Maldives is formed with 100% coral, creating a rich marine diversity. The coral reefs are the 7th largest in the world making up some 5% of the global reef areas. The coral reef of the Maldives is home to 250 species of coral and over 1000 fish species. Lying only 2.5 m above sea level, the Maldives is one of the countries most threatened by sea level rise. Global Warming has become a major challenge of the 21 st Century. Acting to counter the most pessimistic forecasts, preventing political and economical imbalance and providing information are major goals for the responsible media. Yet environmental subjects such as coral reefs damage in the Maldives are still rarely covered on television, and we note a lack of knowledge of these ecosystems by local population. That is why scientific documentaries are so important to increase awareness through visual information.

มัลดีฟส์นั้นประกอบด้วยปะการังทั้ง 100 เปอร์เซ็นต์ โดยนับเป็นแหล่งทรัพยากรทาง ทะเลอันสมบูรณ์ยิ่ง โดยเป็นแนวปะการังที่ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก กินพื้นที่ 5 เปอร์เซ็นต์ของแนวปะการังทั้งหมดทั่วโลก แนวปะการังในหมู่เกาะมัลดีฟส์เป็นแหล่ง ที่อยู่อาศัยของปะการังมากมายถึง 250 ชนิดและปลาน้อยใหญ่มากมายถึงกว่า 1000 ชนิด แต่หากด้วยเหตุผลที่มัลดีฟส์อยู่สูงจากระดับน�้ำทะเลแค่เพียง 2.5 เมตร ท�ำให้ บริเวณแห่งนี้ต้องเผชิญกับภัยการเพิ่มสูงของระดับทะเลมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก สภาวะโลกร้อนเป็นปัญหาอันท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่โลกต้องเผชิญในยุคศตวรรษที่ 21 การ ปฏิบัติหน้าที่เพื่อไม่ให้มีการพยาการณ์ที่เป็นลบมากจนเกินไป ตลอดจนการให้ข้อมูล ที่ถูกต้องแม่นย�ำ ป้องกันการเสียสมดุลทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ทั้งหมดนี้ นับเป็นหน้าที่หลักของสื่อมวลชน หากแต่ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่นปัญหาแนวปะการัง นับเป็นปัญหาที่ยังคงได้รับการกล่าวถึงน้อยครั้งทางโทรทัศน์ เราจะสังเกตได้ ว่าประชากรท้องถิ่นยังคงรู้เรื่องระบบนิเวศน้อยมาก ด้วยเหตุนี้เองที่สารคดีทาง วิทยาศาสตร์ที่จะช่วยสร้างเสริมความรู้จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง

Science Film Festival Thailand 2011

41


ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Of Forest and Men

ป่าและคน Director: Yann Arthus-Bertrand / Producer: GoodPlanet Foundation Country: France / Length: 8:00 min / Year: 2010 The GoodPlanet Foundation proudly presents Yann Arthus-Bertrand’s official film celebrating the International Year of Forests. Following the success of his film “HOME”, the renowned photographer and founder of GoodPlanet was invited to realize this short film on forests for the United Nations official declaration of 2011 as the International Year of Forests. Forests cover almost a third of the Earth’s surface. They are home to over half of all terrestrial species and partially in some manner supply one in four persons income. Forests provide resources for the food we eat, the air we breathe and the medicines we consume. Forests are also a key element in the fight against climate change. And yet, we are threatening these ecosystems formed hundreds of millions of years ago before the first humanoids appeared on Earth. However, throughout the world, men and women are fighting for them. This International Year of Forests is an opportunity to discover, rediscover, celebrate, cherish, and protect these essential ecosystems.

42

Science Film Festival Thailand 2011

มูลนิธิ GoodPlanet ภูมิใจน�ำเสนอภาพยนตร์ที่เป็นทางการของ ยานน์ อาร์ตุส แบร์ ทรองด์ ในโอกาสการเฉลิมฉลองปีสากลแห่งป่า หลังจากได้รับความส�ำเร็จมากมาย จากภาพยนตร์เรื่อง Home ยานน์ ซึ่งเป็นช่างภาพผู้มีชื่อเสียง และผู้ก่อตั้งมูลนิธิ GoodPlanet ก็ได้รับค�ำเชิญจากสหประชาชาติให้จัดสร้างภาพยนตร์ขนาดสั้นเพื่อ เฉลิมฉลองปี 2011 ทีส่ หประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลแห่งป่า ผืนป่าครอบคลุม เนือ้ ทีถ่ งึ เกือบหนึง่ ในสามของพืน้ ทีโ่ ลกทัง้ หมด นอกจากนีป้ า่ ยังเป็นทีอ่ ยูถ่ งึ สิง่ มีชวี ติ กว่า ครึ่งในโลกของเรา รวมทั้งยังเป็นแหล่งรายได้ของมนุษย์ 1 ใน 4 ในโลกอีกด้วย ป่า เป็นแหล่งอาหารที่เราบริโภค แหล่งอากาศที่เราหายใจ และแหล่งยาที่เราใช้รักษาโรค เหนือสิ่งอื่นใด ป่ายังเป็นกุญแจส�ำคัญในการต่อสู้กับสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง แต่ แม้กระนั้น มนุษย์ก็ยังท�ำลายทรัพยากรป่า ซึ่งเกิดมาหลายล้านปีก่อนการถือก�ำเนิด ขึ้นมาก่อนการเกิดของมนุษย์คนแรกด้วยซ�้ำ ปีสากลแห่งป่านับเป็นโอกาสอันดียิ่งใน การเรียนรู้ เฉลิมฉลอง แสดงความรัก และปกป้องทรัพยากรอันล�ำ้ ค่าทางระบบนิเวศนี้


ecology and environment greeting words

The Forest: Realm of Shadows

ต�ำนานป่า ตอน อาณาจักรเงา Director: Jan Haft / Producer: nautilusfilm GmbH für Studio Hamburg Produktion GmbH Country: Germany / Length: 43:00 min / Year: 2009 The seasons in a European forest are as diverse as its inhabitants and as colourful as the flowers growing within it. When after the snowy winter, the first rays of spring sunshine begin to warm the weather; all the creatures and plants are awakened and begin their yearly routine. What seems like such a peaceful state of cohabitation is really a battle, where only the fittest and smartest can survive. Whether it is animals fighting over the perfect mate or plants battling for the sunniest spots on the ground – life in the forest is a constant struggle. Nature has come up with clever ways of splitting up the rivalries, so that some animals and plants prefer different times of the day or different habitats to be active. However, humans are regularly interfering with this ‘natural equilibrium’, by felling and planting trees and messing with Mother Nature’s concept. As a result, the forest inhabitants are challenged to reorganise the hierarchy by themselves, which sees superior life forms as the winners.

ฤดูกาลในป่ายุโรปมีความหลากหลายเช่นเดียวกับสัตว์ทอี่ าศัยอยูใ่ นป่า มันเต็มไปด้วย สีสันและดอกไม้ที่ก�ำลังเติบโต หลังจากฤดูหนาวผ่านไป แสงแดดแรกที่สาดส่องให้ ความสว่างไสว และอากาศที่เริ่มอบอุ่นได้ปลุกสัตว์โลกและพืชให้ตื่นขึ้นอีกครั้ง เพื่อ เริ่มด�ำเนินชีวิตและกระท�ำกิจวัตรของมันดังเช่นทุกๆ ปี ดูเหมือนว่าทุกชีวิตอยู่ร่วมกัน ได้อย่างสงบสุข แต่ในความเป็นจริง มันเป็นการต่อสู้ที่ยากล�ำบากด้วยสิ่งที่แข็งแรง และฉลาดที่สุดเท่านั้นที่จะอยู่รอดได้ ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้ของสัตว์เพื่อแย่งคู่ หรือ การแก่งแย่งของพืชด้วยกันเพื่อที่จะได้รับพลังงานจากแสงแดดที่ส่องลอดมาถึงพื้น ดินให้มากที่สุด ชีวิตในป่าคือการต่อสู้อย่างต่อเนื่อง ทว่าวิถีของธรรมชาตินั้นมีความ ฉลาดในการแยกเหล่าสิ่งมีชีวิตที่เป็นคู่ปรับกันออกจากกัน ดังนั้น สัตว์และพืชแต่ละ ชนิดจึงด�ำเนินชีวิตและกิจวัตรของมันเฉพาะในช่วงเวลานั้นๆ และในถิ่นอาศัยที่ต่าง กันไป แม้กระนั้น มนุษย์ก็ยังเข้าไปรบกวน “สมดุลของธรรมชาติ” เป็นประจ�ำด้วย การตัดไม้บ้าง ปลูกต้นไม้บ้าง และสร้างความวุ่นวายให้แก่ลักษณะทางธรรมชาติต้น ก�ำเนิด ความท้าทายเช่นนี้เองส่งผลให้สิ่งมีชีวิตในป่าต้องปรับตัวและตั้งกฎผู้เป็นใหญ่ ในป่าขึ้นใหม่ด้วยตนเอง ซึ่งก็คือกฎที่ว่าผู้ที่แข็งแรงกว่าและเหนือกว่าคือผู้ชนะนั่นเอง

Science Film Festival Thailand 2011

43


Protecting Forests for People in the ASEAN Region By providing food, medicine, timber, source of livelihood and many other products and services, forests play a crucial role in sustaining the lives of billions of people. Forests are home to 300 million people around the world and to 80 percent of terrestrial biodiversity. The livelihoods of over 1.6 billion people depend on forests. Some 30 percent of forests are used for production of wood and non-wood products.

by Nigel Ian Laxama However, the growing population’s dependence on these products and services, as well the conversion of forests into agricultural and industrial lands, are taking their toll on the world’s forests. It is estimated that 130,000 square kilometers of the world’s forests are lost due to deforestation every year. In Southeast Asia, the ASEAN Biodiversity Outlook, a publication of the ASEAN Centre for Biodiversity (ACB), reported that the transformation of forests has been quite extensive especially over the last 50 years.

Forest Facts: ASEAN region • Southeast Asia, known as the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) region, has one of the most diverse forest ecosystems in the world. • Species richness and diversity in forest ecosystems are acknowledged as vital resources. It is estimated that two-thirds of terrestrial biodiversity are found in forest ecosystems. However, the threats posed by deforestation, forest degradation and illegal wildlife trading are exerting tremendous pressure on biodiversity resources. • The entire region was covered by forests 8,000 years ago. As of 2000, only 47 percent of the region was forested. By 2007, the forest cover of the entire region was down by four percentage points at 43 percent. • Between 1980 and 2007, the ASEAN region’s forests have decreased by a total of 555,587 square kilometers, an area roughly the size of Thailand.

• Scientists say that of all major tropical regions, Southeast Asia has the highest relative rate of deforestation. They project that the region could lose 75 percent of its forests by 2100. • The most significant impact of deforestation is the degradation or loss of habitats for species, resulting in massive species declines and extinction. Natural forests are innate repositories of biodiversity resources – from genetic to species levels. Its destruction or conversion for other land uses removes the condition by which the diversity and stability of the ecosystem are maintained. To curb massive deforestation, forests and people must work together. It is important to involve people from various levels and sectors to achieve the goal of protecting forests for people. The ASEAN region played a very visible role in the global celebration of the International Year of Biodiversity 2010. This 2011, the region is expected to show the same level of enthusiasm and support for the International Year of Forests as this celebration will enable people to continue highlighting the values of biodiversity through conservation and protection of forests. All hands must be on deck to ensure the well-being and survival of humans and all forms of life that rely on trees and forests.

ASEAN Centre for Biodiversity Biodiversity conservation is increasingly recognized by governments of ASEAN Member States (Brunei Darussalam, Cambodia, Lao PDR, Indonesia, Malaysia, Myanmar, Philippines, Singapore, Thailand and Viet Nam) as extremely important for human development. For this reason, national and local governments across the region have taken numerous individual steps to help preserve their biodiversity resources. There are, however, a number of issues that can be more effectively addressed through actions at the regional level. The ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) is one such action. An intergovernmental regional centre of excellence, ACB facilitates cooperation and coordination among the ten ASEAN Member States and with relevant national governments, regional and international organizations on the conservation and sustainable use of biological diversity, and the fair and equitable sharing of benefits arising from the use of such natural treasures. ACB facilitates discussion and resolution of crosscountry biodiversity conservation issues. It envisions capacity development of the ASEAN Member States for policy development and coordination through education on key biodiversity-related multilateral environment

by Tan Ai Bee agreements, as well as increased knowledge and skills to assess regional/national situations and develop appropriate response mechanisms. ACB works to enhance competence of Protected Area managers in the ASEAN Member States through the conduct of capacity building workshop series and conferences with partner institutions. For more information on biodiversity conservation in the ASEAN region, log on to www.aseanbiodiversity.org.

by Rolando Inciong


พิทักษ์ป่าเพื่อประชากรในภูมิภาคอาเซียน ป่าไม้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าและมีความส�ำคัญ ต่อการด�ำรงชีวิตของประชากรจ�ำนวนนับพันล้านคน ป่าไม้ให้ทั้ง อาหาร สมุนไพร ยารักษาโรค วัสดุไม้ส�ำหรับใช้สอย และพื้นที่ ส�ำหรับการด�ำรงชีพ รวมทัง้ ผลิตผล และบริการทีอ่ ำ� นวยประโยชน์ อื่นๆ อีกมากมาย ป่าไม้ เป็นบ้านของประชากรจ�ำนวน 300 ล้านคนทั่วโลก และคิดเป็นร้อยละ 80 ของความหลากหลาย ทางชีวภาพบนผืนโลก ประชากรกว่า 1.6 พันล้านคนด�ำรงชีพ อยู่ได้ก็ด้วยป่าไม้ ขณะนี้บนโลกของเรา ป่าไม้ถูกโค่นไปแล้วถึง ร้อยละ 30 ทั้งเพื่อน�ำมาผลิตเป็นไม้แปรรูป และการใช้ประโยชน์ อย่างอื่นในทางอ้อม

by Zulkarnain

ทว่า ความต้องการของประชากรทีต่ อ้ งพึง่ ผลิตผลและบริการ หรือประโยชน์จากป่าไม้ในด้านต่างๆ ทีน่ บั วันก็มแี ต่จะเพิม่ สูงขึน้ รวมทัง้ การท�ำลายป่าไม้เพือ่ จัดสรรเป็นพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและพืน้ ที่ อุตสาหกรรม ล้วนเป็นสาเหตุที่ท�ำให้ปริมาณพื้นที่ป่าไม้บนโลก ลดลงอย่างน่าใจหาย มีการประเมินว่า โลกสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ปีละ130,000 ตารางกิโลเมตร เนื่องมาจากการตัดไม้ท�ำลายป่า วารสาร ASEAN Biodiversity Outlook จัดพิมพ์โดย ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) หรือ ศูนย์ความหลากหลายทาง ชีวภาพแห่งอาเซียน ได้รายงานว่า ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ พื้นที่ป่าไม้ได้ถูกแปรสภาพไปเป็นจ�ำนวนมหาศาล โดย เฉพาะในรอบห้าสิบปีที่ผ่านมา

ข้อมูลป่าไม้ : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

• ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ สมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) มีระบบนิเวศป่าไม้ที่หลาก หลายที่สุดแห่งหนึ่งของโลก • ความมั่งคั่งทางสายพันธุ์สิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทาง ระบบนิเวศป่าไม้ ถือได้วา่ เป็นทรัพยากรทีจ่ �ำเป็นส�ำหรับชีวติ สอง ในสามของความหลากหลายทางชีวภาพบนผืนโลกทั้งหมดอยู่ ในระบบนิเวศป่าไม้ อย่างไรก็ตาม การคุกคามอันเนื่องมาจาก การตัดไม้ท�ำลายป่า การท�ำให้ป่าเสื่อมโทรม และการลักลอบค้า สัตว์ป่า ก�ำลังเพิ่มแรงกดดันให้กับทรัพยากรทางชีวภาพที่หลาก หลายบนโลก • เมื่อ 8,000 ปีก่อน ภูมิภาคอาเซียนทัง้ หมดปกคลุมไปด้วยป่าไม้ ทว่าเริม่ จากปีค.ศ. 2000 ป่าไม้ในภูมภิ าคนีล้ ดลงเหลือเพียงร้อยละ

หน่วยงานหนึง่ ในปฏิบตั กิ ารนัน้ ACB เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับรัฐบาลที่ให้ความร่วมมือและประสานงานระหว่างประเทศ ภาคีสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และรวมไปถึงผู้เกี่ยวข้องทั้ง หลาย ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลระดับชาติ องค์กรต่างๆ ในภูมิภาค และองค์กรนานาชาติ ในการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ การจัดการแบ่งปันผล ประโยชน์อย่างยุติธรรม และเสมอภาค อันเนื่องมาจากการใช้ ประโยชน์มรดกธรรมชาติอันสูงค่านั้น ACB จัดให้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหา แนวทางแก้ปัญหาในประเด็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพทั่วทั้งภูมิภาค ACB เปิดวิสัยทัศน์การพัฒนาศักยภาพ ของประเทศภาคีสมาชิกอาเซียน ทั้งในด้านการพัฒนานโยบาย และการประสานงาน ด้วยการให้การศึกษาถึงข้อตกลงทางด้าน สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพที่ส�ำคัญใน ระดับพหุภาคี เช่นเดียวกับการเพิม่ พูนความรูแ้ ละเสริมทักษะ ใน การประเมินสถานการณ์ในระดับภูมิภาคและระดับชาติ รวมทั้ง พัฒนากลไกการตอบสนองที่เหมาะสม ACB ท�ำงานเพื่อยกระดับ ความสามารถของผู้บริหารในเขตคุ้มครอง Protected Area ใน ประเทศภาคีสมาชิกอาเซียน ด้วยการจัดสัมนาเชิงปฏิบตั กิ าร บน ในการทีจ่ ะระงับควบคุมการตัดไม้ทำ� ลายป่าให้ได้ผล ต้องมี หัวข้อการพัฒนาศักยภาพ โดยจัดเป็นวาระต่อเนื่อง และอ�ำนวย การด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างมนุษย์กับป่า สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ ให้มีการประชุมเพื่อหารือกันระหว่างองค์กรสมาชิกด้วย ประชาชนในทุกระดับและทุกภาคส่วน ต้องร่วมมือกันเพือ่ บรรลุถงึ จุดมุ่งหมายสูงสุดซึ่งก็คือ การพิทักษ์ป่าเพื่อประชากรทั้งภูมิภาค หากท่านต้องการข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการอนุรกั ษ์ความหลากหลาย เมื่อปีค.ศ. 2010 อาเซียน ได้แสดงบทบาทให้เป็นที่ประจักษ์ ทางชีวภาพในภูมิภาคอาเซียน เข้าชมได้ที่ อย่างเด่นชัด ในการเฉลิมฉลองปีแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ www.aseanbiodiversity.org นานาชาติ และเป็นที่คาดหมายว่า ในปีค.ศ. 2011 นี้ อาเซียนจะ แสดงบทบาทที่กระตือรือร้น และให้ความสนับสนุนปีสากลแห่ง การอนุรักษ์ป่าไม้ไม่น้อยไปกว่าปีก่อน เพราะการเฉลิมฉลองปีป่า ไม้สากล จะช่วยผลักดันให้ประชากรในประเทศภาคีสมาชิก เห็น ความส�ำคัญและตระหนักถึงคุณค่าอันเป็นที่สุด ของความหลาก หลายทางชีวภาพ และจะได้รว่ มกันอนุรกั ษ์และพิทกั ษ์ปา่ ไม้อย่าง สุดความสามารถ ประชากรทุกผูท้ กุ นามต้องร่วมกันปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการพิทกั ษ์ ป่าไม้ เพือ่ เป็นการสร้างหลักประกันความเป็นอยูท่ ดี่ แี ละความอยู่ รอดของมนุษยชาติ รวมทั้งรูปแบบสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งหมดทั้งมวล ที่ฝากชีวิตไว้กับต้นไม้และผืนป่า 47 ปีค.ศ. 2007 พื้นที่ป่าไม้ในภูมิภาคนี้ลดลงไปในอัตราร้อยละสี่ หรือเหลือเพียงร้อยละ 43 เท่านั้น • ระหว่างปีค.ศ. 1980 ถึง 2007 พื้นที่ป่าไม้ในภูมิภาคอาเซียนลด ลงเป็นจ�ำนวนทัง้ หมด 555,587 ตารางกิโลเมตร หรือเทียบเท่ากับ พื้นที่ประเทศไทยทั้งประเทศ • นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าในบรรดาภูมิภาคป่าร้อนชื้นที่ส�ำคัญ ทั้งหมด ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีอัตราสัมพัทธ์ของการ ตัดไม้ทำ� ลายป่าสูงทีส่ ดุ นักวิทยาศาสตร์ยงั ได้คาดการณ์ลว่ งหน้า ด้วย ว่าทั่วทั้งภูมิภาคจะสูญเสียป่าไม้ถึงร้อยละ 75 ของพื้นที่ป่า ทั้งหมด ภายในปีค.ศ. 2100 • ผลกระทบทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ ของการตัดไม้ทำ� ลายป่าคือ ป่าไม้กลาย เป็นพื้นที่เสื่อมโทรม หรือสูญสิ้นซึ่งแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งจะจบลงด้วยจ�ำนวนประชากรสัตว์ป่าลดลงและสูญพันธุ์ไปใน ที่สุด ป่าไม้ในธรรมชาติเป็นคลังทรัพยากรชีวภาพที่หลากหลาย จากระดับพันธุกรรมไปจนถึงระดับสายพันธุ์ การท�ำลายหรือ แปรสภาพพื้นที่ป่าไม้เพื่อใช้ประโยชน์ผืนดินในรูปแบบอื่น ส่งผล ให้ปัจจัยแวดล้อม ซึ่งเคยด�ำรงรักษาระบบนิเวศให้มีความหลาก หลายและมั่นคงมาโดยตลอด สูญหายไป

ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน

การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพก�ำลังเป็นทีย่ อมรับ มากขึ้นเรื่อยๆ จากรัฐบาลของประเทศภาคีสมาชิกอาเซียน (ประกอบด้วย ประเทศบรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ ประเทศไทย และเวียดนาม) และอาเซียนก็ได้เล็งเห็น ความส�ำคัญในด้านนี้ เทียบเท่ากับในด้านพัฒนาการมนุษย์ ด้วย เหตุผลดังกล่าวนีเ้ อง รัฐบาลทัง้ ในระดับท้องถิน่ และระดับชาติทวั่ ทัง้ ภูมภิ าคอาเซียน จึงได้รเิ ริม่ จัดท�ำนโยบายและแผนปฏิบตั กิ ารใน ประเทศของตนเพื่อสงวนไว้ซึ่งทรัพยากรชีวภาพและความหลาก หลายทางชีวภาพ ถึงกระนั้น นโยบายและแผนงานในหลายๆ ประเด็น ก็สามารถจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งกว่า หาก เกิดจากความตกลงในระดับภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน (ACB) เป็น by Leslie Ann Jose-Castillo


The ASEAN Science Film Festival 2010 received an overwhelmingly positive response from audiences! It was organized for the second time in Cambodia, with over 9,000 visitors and also took place for the first time in Indonesia reaching over 12,500 visitors and in the Philippines reaching over 19,900 visitors. The total number for all ASEAN countries was 130,000 visitors in 2010! In 2011, Malaysia and Vietnam are participating for the first time in the Science Film Festival. The ASEAN Science Film Festival as a regional event takes place concurrently in all participating countries under a unified conceptual and organizational framework that allows for local adaption to maximize its effectiveness in each nation. All films are translated and synchronized into the national language to provide the greatest possible access.

เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ปีพ.ศ. 2553 ท�ำลายสถิติจ�ำนวน ผู้เข้าชมมากกว่า 130,000 คน ในประเทศไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ กัมพูชา นับได้วา่ เทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ทจี่ ดั ขึน้ นีเ้ ป็นเทศกาลภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในแง่ของจ�ำนวนผู้เข้าชมเทศกาลฯ นอกจากนี้ ประเทศมาเลเซียและเวียดนามจะเข้าร่วมในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้ ปีพ.ศ. 2554 นี้ด้วย การจัดเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์นานาชาติแห่งประเทศอาเซียน ในปีพ.ศ. 2553 ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้เข้าชม ในประเทศกัมพูชานับว่าเป็น ครั้งที่สองในการจัดเทศกาลฯ นี้และมีผู้ให้ความสนใจมากกว่า 9,000 คนใน กรุงพนมเปญ นอกจากนี้นับว่าเป็นครั้งแรกส�ำหรับการจัดเทศกาลฯ ในประเทศ อินโดนีเซีย และประสบความส�ำเร็จได้ย่างดีโดยมีผู้เช้าชมมากกว่า 12,500 คน และในประเทศฟิลิปปินส์มีผู้เช้าชมมากกว่า 19,900 คน ในปีพ.ศ. 2554 นี้ ประเทศมาเลเซียและเวียดนามก�ำลังจะเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกในเทศกาล ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นานาชาติแห่งประเทศอาเซียนเป็นครั้งแรก เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในระดับภูมิภาคนั้นได้จัดขึ้นพร้อมกันภายใต้ กรอบแนวคิดและกรอบการท�ำงานขององค์กรที่ด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกัน อย่างไรก็ตามในแต่ละประเทศได้รบั อนุญาตให้สามารถปรับเปลีย่ นวิธกี ารเพือ่ ให้ สอดคล้องกับเยาวชนในประเทศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพให้ได้มากทีส่ ดุ ภาพยนตร์ ทุกเรื่องได้รับการพากย์เป็นภาษาประจ�ำชาติและมีการจัดฉายอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากผู้จัดงานและศูนย์จัดฉาย


natural science, life science and technology


ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี

Experiment Kinship - Your Inner Animal

มรดกของสัตว์โลกในตัวคุณ Director: Axel Wagner / Producer: SWR Country: Germany / Length: 29:00 min / Year: 2010 Where do we come from? How did the human body develop from a single cell organism into a full grown mammal? In this programme, a team of ambitious scientists successfully decodes some of the mysteries surrounding the origins of human life and make some spectacular findings: our bodies still contain evolution’s ancient blueprints and we have more in common with worms, fishes and jellyfish than we can imagine. The journey through the human body takes us automatically to the very beginning of its nowadays existence: in embryos we can observe millions of years of evolution in just 9 months. The shared roots with fish and other animals can be traced in every step of an embryos development, as all life forms on this planet started out in the water. In the billions of years of evolution, life has always been able to adapt itself to the changing environment on this planet and has come up with an optimised form of physical appearance depending on the habitat of each creature. Humankind, as the so-called ‘end product’ on the evolutionary ladder, can therefore wonder: how much animal is there really inside of me?

48

Science Film Festival Thailand 2011

เรามาจากไหน ร่างกายมนุษย์พฒั นาจากสิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียวสูก่ ารเป็นสิง่ มีชวี ติ เลีย้ งลูก ด้วยนมได้อย่างไร รายการโทรทัศน์ชุดสืบย้อนหาเครือญาติตอนนี้เป็นเรื่องของทีม นักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความส�ำเร็จในการถอดรหัสลึกลับบางส่วนที่เป็นบริบทของ การก�ำเนิดชีวิตและวิวัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งเผยถึงการค้นพบที่น่าตื่นเต้นว่าร่างกาย ของเราถอดแบบมาจากพิมพ์เขียวโบราณของวิวัฒนาการสิ่งมีชีวิต เพราะหนอน ปลา แมงกะพรุน และมนุษย์ มีหลายสิ่งที่ร่วมกันอยู่มากกว่าที่เราจะจินตนาการได้ การ ส�ำรวจค้นคว้าร่างกายมนุษย์ช่วยให้เราได้ประจักษ์ว่าพิมพ์เขียวของสิ่งมีชีวิตโบราณ นั้นมีมาตั้งแต่ยุคก�ำเนิดชีวิตและยังคงมีอยู่จนกระทั่งถึงทุกวันนี้ ซึ่งเราสามารถสังเกต ถึงวิวฒั นาการสิง่ มีชวี ติ ทีต่ กทอดกันมาเป็นเวลาหลายล้านปีได้จากตัวอ่อนของมนุษย์ที่ พัฒนาขึน้ ในครรภ์ ในช่วงเวลาเพียง 9 เดือน เอกสิทธิท์ างชีวภาพต้นก�ำเนิดบางส่วนของ ปลาและสัตว์อื่นๆ ได้ทิ้งร่องรอยไว้ในพัฒนาการทุกระยะของตัวอ่อน ทั้งนี้ก็เพราะว่า รูปแบบสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดบนโลกใบนีม้ ที มี่ าอยูใ่ นน�ำ้ วิวฒั นาการสิง่ มีชวี ติ ทีด่ ำ� เนินมานับ พันล้านปีได้แสดงให้เห็นด้วยว่าสิง่ มีชวี ติ รูจ้ กั ปรับตัวให้เข้ากับสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปบนโลกใบนีอ้ ยูเ่ สมอ และได้พฒั นารูปลักษณ์ทางกายภาพทีเ่ หมาะสมตามสภาพถิน่ ที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ขึ้นมา ในฐานะมนุษย์ผู้หนึ่งที่เป็น ‘ผลิตผล’ ของวิวัฒนาการ สิ่งมีชีวิต เราจึงอดสงสัยไม่ได้ว่าในตัวของเรามีสัตว์กี่ชนิดกันแน่


natural science, life science and technology greeting words

Fascination Knowledge: Sharks

มหัศจรรย์ความรู้ ตอน ความเชื่อที่ผิดเรื่องฉลาม Director: Florian Guthknecht / Producer: Florian Guthknecht Country: Germany / Length: 29:00 min / Year: 2010 Sharks: Often feared for their alleged bloodthirsty character and dangerous behaviour. What people don’t realise, it that this beautiful animal, doesn’t want to harm at all – especially not humans. The rumours of the wild beast that goes out to hunt for innocent victims at beaches was fuelled by the 70’s Steven Spielberg movie ‘Jaws’. Since then they have been feared and hunted, for what seems to be no reason. Researchers have found out that the population of Mediterranean shark species like hammerheads, blue sharks and thresher sharks decreased over 97%-99% over the last two centuries. Numerous species are threatened with extinction through overfishing, as they get caught up in the nets and die a slow death. The shark population needs a lot of time to recover as they grow very slowly, mature late and bear only few offsprings. ‘Fascination Knowledge’ sees the sharks as the protagonist and the humans as antagonist. Iska Schreglemann explains the current situation of the sharks and looks at recent scientific projects. She shows the extraordinary abilities of this beautiful animals and what has to be done to rescue them.

ในความนึกคิดของคนทั่วไปแล้ว ฉลามเป็นสัญลักษณ์ของความน่าสะพรึงกลัว เป็นสัตว์โหด กระหายเลือด และมีพฤติกรรมทีเ่ ป็นภัยอันตรายต่อชีวติ มนุษย์อย่างยิง่ ทว่าผูค้ นลืมตระหนัก ไปว่าฉลามคือสัตว์โลกที่มีความสวยงาม และไม่ได้มีนิสัยที่จะจู่โจมท�ำร้ายใคร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งมนุษย์ ค�ำร�่ำลือถึงสัตว์ดุร้ายประเภทนี้มีที่มาจากภาพยนตร์ในยุคทศวรรษ 70 เรื่อง “จอว์ส” ของผู้ก�ำกับชื่อดัง สตีเวน สปีลเบิร์ก ตั้งแต่นั้นมาผู้คนก็พากันหวาดกลัวฉลามและ ไล่ล่าฆาตกรรมพวกมันอย่างสิ้นไร้เหตุผล นักวิจัยพบว่าในช่วงระยะเวลากว่าสองศตวรรษที่ ผ่านมาจ�ำนวนสายพันธุ์ฉลามในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น ฉลามหัวค้อน ฉลามสีเงิน และ ฉลามหางดาบลดลงมากกว่าร้อยละ 97 ถึง 99 และยังมีอีกหลายสายพันธุ์ที่ถูกคุกคามจนใกล้ สูญพันธุ์ เนือ่ งจากอุตสาหกรรมประมงใช้อวนลากปลาขนาดใหญ่ทที่ ำ� ให้พวกมันสิน้ ใจตายคา ตาข่ายอย่างทรมาน การฟืน้ ฟูประชากรฉลามให้กลับคืนสูส่ ภาวะเดิมต้องใช้ระยะเวลายาวนาน เนือ่ งจากฉลามเจริญเติบโตและสืบพันธุช์ า้ อีกทัง้ ยังออกลูกได้ครัง้ ละจ�ำนวนน้อยตัว ในรายการ มหัศจรรย์ธรรมชาติตอนนี้จะเห็นว่าฉลามเป็นตัวเอกของเรื่องและมนุษย์เป็นศัตรู อิสคา ชเรเกิลมันน์ ได้อธิบายถึงสถานการณ์ปัจจุบันของฉลามที่ถูกฆาตกรรมและโยนทิ้งทะเลอย่าง แสนโหดเหีย้ มเนือ่ งจากความเชือ่ ทีผ่ ดิ ของผูบ้ ริโภคหูฉลามหรือครีบฉลาม เธอได้น�ำเราไปรูจ้ กั โครงการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนทีใ่ ห้เด็กนักเรียนเลีย้ งดูลกู ฉลามเพือ่ ปลูกฝังส�ำนึกรับผิดชอบ ในการอนุรักษ์สายพันธุ์ฉลาม และยังได้น�ำเสนอความสามารถพิเศษเฉพาะตัวของสัตว์โลกที่ สวยงามและอ่อนโยนสายพันธุน์ ี้ พร้อมทัง้ ชีแ้ นะสิง่ ทีผ่ บู้ ริโภคควรกระท�ำเพือ่ ช่วยชีวติ ฉลามด้วย Science Film Festival Thailand 2011

49


ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี

Planes Go Green

เครื่องบินพลังงานสะอาดเพื่ออนาคตยั่งยืน Director: Patrice Goldberg and Benjamin Luypaert / Producer: RTBF Country: Belgium / Length: 26:00 min / Year: 2009 “Flying green is no utopia, it is an absolute necessity”, claim concerned researchers all around the world. In times in which air-travel has become a common mode of transportation and passengers can enjoy the benefits of hopping onto an express sky shuttle anytime: how concerned should we really be, regarding the damage we are causing to our environment? This programme shows how scientists and engineers have been trying to tackle the aircraft pollution problem for quite some time now, with more than promising results: from a one-man model plane, which uses its aero dynamical shape and the wind to keep moving to hybrid aircraft solutions, powered partly by solar energy. The technology is at hand, but will commercial airlines seize the opportunity to go green? With fossil fuels vanishing, the current path in aircraft fuelling is leading to a dead end, so it’s time to change the system-and improve it while we’re at it. Airbus has been leading the way in eco-friendly solutions, experimenting with new methods of more sustainable air travel. Although new technology for commercial airplanes is still in its fledgling stages, they are hoping to make statement by improving their technology little by little.

50

Science Film Festival Thailand 2011

ขณะนี้ นักวิจัยทั่วโลกต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “การบินที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไม่ได้ เป็นเรื่องในอุดมคติอีกต่อไป แต่เป็นเรื่องจ�ำเป็นอย่างยิ่ง” ซึ่งถือเป็นคติที่เหมาะสมทัน เหตุการณ์ เนื่องจากการขนส่งทางอากาศได้กลายเป็นเรื่องปกติไปเสียแล้วในยุคนี้ และ ผู้โดยสารเองก็พึงพอใจกับการได้รับประโยชน์จากการเดินทางที่รวดเร็วท�ำให้มีการสัญจร ทางอากาศมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่เราควรตระหนักว่าเราเองเป็นตัวบ่อน ท�ำลายสิง่ แวดล้อม สารคดีเรือ่ งนีน้ ำ� เสนอความพยายามของนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรใน การแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศอันเนือ่ งมาจากอากาศยาน ซึง่ เป็นโครงการทีเ่ ริม่ มาได้ ระยะหนึง่ แล้วและให้ผลลัพธ์ทนี่ า่ พอใจ นัน่ ก็คอื การสร้างเครือ่ งบินขับเคลือ่ นคนเดียวซึง่ มี รูปทรงทีไ่ ด้รบั การออกแบบตามหลักการอากาศพลศาสตร์และใช้แรงลมขับเคลือ่ นอากาศ ยานระบบไฮบริด บวกกับพลังงานบางส่วนจากพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีอยู่ในมือ ของเรา แต่ทว่าสายการบินพาณิชย์จะใช้โอกาสนี้เพื่อสิ่งแวดล้อมสีเขียวหรือไม่ เมื่อถึงวัน ที่เชื้อเพลิงฟอสซิลหมดไป การใช้เชื้อเพลิงของเครื่องบินปัจจุบันก็จะถึงจุดจบ ถึงเวลา แล้วที่จะเปลี่ยนระบบ และก้าวไปสู่ขั้นตอนแห่งการพัฒนา เครื่องบินแอร์บัสเป็นผู้น�ำใน การแก้ปัญหา ด้วยถือคติการบินที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีการค้นคว้าทดดลองวิธี การใหม่ๆ อยู่เสมอเพื่อการเดินทางทางอากาศที่ยั่งยืน แม้ว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ส�ำหรับ สายการบินพาณิชย์จะยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น ทว่าพวกเขาหวังว่าการปรับปรุงและพัฒนา เทคโนโลยีอย่างค่อยเป็นค่อยไปจะน�ำทางไปสู่ความส�ำเร็จได้


natural science, life science and technology greeting words

Quarks & Caspers: From Head to Toe

8 เรื่องน่ารู้จากศีรษะจรดเท้า Director: Claudia Heiss / Producer: Westdeutscher Rundfunk (WDR) Country: Germany / Length: 44:00 min / Year: 2010 Did you know that the tongue is the most sensitive organ in our body or that some people believe that you can tell a person’s personality by measuring their fingers? In this episode of ‘Quarks & Caspers’, presenter Ralph Caspers takes us on an extraordinary voyage through the body – from head to toe. Starting with the head, it is unveiled why European men have a tendency to go bold, why we have hair on certain parts of our body and what chemical processes make hair grow in first place. Moving down a few centimetres, the mouth and the tongue are the next stop on this exciting expedition: Did you realise that we don’t only use this organ to taste but also to grope? Don’t believe it? Then watch a golfer identifying golf balls by their brands – only with the help of his tongue. Step by step this show will explain the different functions of the body and clear up some of the most popular misconceptions.

แม้รา่ งกายจะอยูก่ บั เรามาชัว่ ชีวติ แต่มนั ก็มดี า้ นลึกลับอีกมากมายทีเ่ รายังไม่รจู้ กั ทราบ หรือไม่วา่ ลิน้ คืออวัยวะทีไ่ วต่อสิง่ กระตุน้ มากทีส่ ดุ ในร่างกายของเรา นอกจากนี้ บางคน ยังเชื่อว่าความยาวของนิ้วมือสามารถบ่งบอกนิสัยและบุคลิกภาพของบุคคลได้ ใน รายการ ควาร์กส แอนด์ คาสเปอร์ ตอนนี้ ราล์ฟ คาสเปอร์ ท�ำหน้าที่เป็นพิธีกรน�ำ เราเดินทางส�ำรวจทั่วร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า เริ่มต้นจากศีรษะ ด้วยการเปิดเผยว่าท�ำไมผู้ชายชาวยุโรปมีแนวโน้มที่จะมีศีรษะล้าน เส้นขนในที่ลับมีหน้าที่อะไร และกระบวนการทางเคมีชนิดใดที่ท�ำให้ผมและขนของ เราเจริญเติบโตได้ เลื่อนลงมาอีกไม่กี่เซนติเมตร ปากและลิ้นคือจุดหมายต่อไปของ การเดินทางส�ำรวจที่น่าตื่นเต้นนี้ ทราบหรือไม่ว่าเราไม่ได้ใช้อวัยวะส่วนนี้ส�ำหรับการ รับรู้รสชาติเพียงเท่านั้น แต่ยังใช้ในการรับรู้สัมผัสเพื่อการค้นหาอีกด้วย ถ้าไม่เชื่อ ลองติดตามดูนักกอล์ฟในตอนนี้ที่ใช้แค่ลิ้นสัมผัสก็สามารถบอกยี่ห้อของลูกกอล์ฟได้ รายการนี้อธิบายถึงหน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างเป็นขั้นตอน และ ลบความเชื่อผิดๆ ที่ฝังอยู่ในความนึกคิดของเราให้หมดสิ้นไปด้วยหลักการที่พิสูจน์ได้ Science Film Festival Thailand 2011

51


ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี

The Real Guinea Pig

กินนี่พิก หนูแกสบี้แสนฉลาด Director: Herbert Ostwald / Producer: Light & Shadow GmbH Country: Germany / Length: 50:00 min / Year: 2010 Guinea pigs: we all know them as friendly and loveable pets. But what do we really know about their past? This surprisingly social and cunning critter tells a fascinating story from ancient civilization to modern technology. In South America, the Incas cherished this little animal not only as meat resource during dry periods, but also worshiped them as sacred creatures, which were often sacrificed to the gods. The Spanish invaders brought guinea pigs to Europe, where they were turned into pets to amuse children. Still today they make popular companions for the young ones, but there is more to them than their cute appearance and peaceful personality. Guinea pigs live in colonies and their complex social structures can be easily compared to cohabitating human behaviour. In Germany, a special guinea pig research centre was created to analyse their actions and draw parallels between them and human society. Get ready for an off-beat journey from the soaring peaks of the Andes to the Amazon rainforest and Argentine deserts to see guinea pigs as you have never seen them before!

52

Science Film Festival Thailand 2011

เรารูก้ นั ดีวา่ หนูตะเภาเป็นสัตว์ทเี่ ป็นมิตรและน่ารักน่าเอ็นดู แต่เรารูห้ รือไม่วา่ มันมีอดีต อย่างไร สัตว์น้อยที่แสนฉลาดและเป็นสัตว์สังคมประเภทนี้มีประวัติที่น่าสนใจตั้งแต่ ยุคอารยธรรมโบราณมาจนถึงยุคเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ในทวีปอเมริกาใต้หนูตะเภาไม่ได้ เป็นแค่อาหารช่วงหน้าแล้งส�ำหรับชนเผ่าอินคาเท่านั้น แต่ยังเป็นสัตว์สังเวยเพื่อบูชา พระเจ้าอีกด้วย นักล่าอาณานิคมชาวสเปนเป็นผู้น�ำหนูตะเภาไปยังทวีปยุโรป ท�ำให้ มันกลายเป็นสัตว์เลีย้ งในบ้านทีเ่ ด็กๆ หลงรัก ถึงปัจจุบนั พวกมันก็ยงั เป็นสหายทีน่ า่ รัก ส�ำหรับเด็ก ทว่าหนูตะเภายังมีบางอย่างที่น่าสนใจมากกว่ารูปลักษณ์ที่น่าเอ็นดูและ นิสัยรักสงบ หนูตะเภาชอบอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และมีโครงสร้างทางสังคมที่ ซับซ้อน ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างเทียบเคียงได้กับพฤติกรรมมนุษย์ ในประเทศเยอรมนี ศูนย์วจิ ยั หนูตะเภาได้ถกู สร้างขึน้ เพือ่ ใช้วเิ คราะห์พฤติกรรมและหาความคล้ายคลึงกัน ระหว่างสังคมหนูตะเภากับสังคมมนุษย์ เราขอให้คุณเตรียมพร้อมออกเดินทางสู่เทือก เขาแอนดีส ผ่านป่าฝนแอมะซอน และทะเลทรายอาร์เจนตินาเพื่อที่จะได้เห็นชีวิตของ หนูตะเภาอย่างที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน


natural science, life science and technology greeting words

Universe of the Oceans

เอกภพแห่งมหาสมุทร Director: Stefan Schneider / Producer: Gruppe 5 Filmproduktion GmbH Country: Germany / Length: 43:00 min / Year: 2010 In this three-part documentary, bestselling author Frank Schätzing embarks upon a breathtaking journey through time and space to explore the secrets of the world ´s oceans. It is believed that the oceans functioned as the “cradle of life” to all the living creatures we know today. Four billion years ago the first cells evolved deep down in the sea by a string of coincidences and started the evolutionary process that triggered life on earth. Even today, scientists haven’t been able to fully reconstruct the past of the oceans, as there truly is “less known about the depths of the sea than of the surface of the moon”. For the past ten years, 2,000 marine biologists and scientific experts have been trying to compile a census containing all the creatures of the sea, but only managed to finish a fraction due to the monumental scale of the task. This raises the question whether this gigantic project is even possible, since there is still a vast amount of unexplored territory deep down in the eternal darkness of the sea.

ภาพยนตร์สารคดีชุดนี้มีด้วยกันทั้งหมดสามตอนซึ่งเขียนบทโดยนักเขียนยอดนิยม ชื่อ แฟรงค์ แชทส์ซิ่ง อีกทั้งยังเป็นผู้น�ำพาทุกท่านร่วมเดินทางผ่านมิติเวลาและระยะ อันน่าตื่นเต้นไปส�ำรวจความลับของเอกภพใต้มหาสมุทร บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า มหาสมุทรเป็น “แหล่งก�ำเนิดชีวิต” ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก โดยเมื่อสี่พันล้านปี ก่อนเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์แรกได้อุบัติขึ้นที่ก้นพื้นสมุทรหลังจากที่องค์ประกอบพื้นฐาน ของสิ่งมีชีวิตจับผลัดจับผลูมารวมตัวกันได้ส�ำเร็จ จากนั้นจึงเริ่มวิวัฒนาการมาสู่การ ก�ำเนิดชีวติ ของสรรพชีวติ บนโลกใบนี้ จนถึงวันนี้ นักวิทยาศาสตร์กย็ งั ไม่สามารถเชือ่ ม ต่ออดีตของมหาสมุทรให้ครบสมบูรณ์ได้เท่าใดนัก เพราะ ‘มนุษย์มคี วามรูเ้ รือ่ งเอกภพ ใต้มหาสมุทรน้อยกว่าพืน้ ผิวดวงจันทร์นอกโลกเสียอีก’ สิบปีทผี่ า่ นมา นักชีวะทางทะเล และผู้ช�ำนาญการสาขาวิทยาศาสตร์จ�ำนวน 2,000 คน พยายามท�ำการส�ำรวจส�ำมะโน ประชากรสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมดในทะเล แต่กด็ ำ� เนินการไปได้แค่เสีย้ วหนึง่ เท่านัน้ เนือ่ งจาก เอกภพใต้มหาสมุทรนั้นเวิ้งว้างกว้างใหญ่มหาศาล สิ่งนี้ท�ำให้เกิดค�ำถามตามมาว่า โครงการยักษ์ใหญ่ขนาดนั้นจะบรรลุเป้าหมายได้หรือไม่ ด้วยยังมีดินแดนในห้วงลึก อันมืดมิดชั่วนิรันดรใต้สมุทรอีกจ�ำนวนมากที่ยังมิได้รับการส�ำรวจ

Science Film Festival Thailand 2011

53


ศูนย์จัดฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 7 วั นที่ 16 - 30 พฤศจิกายน 2554 • ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต

02-577-5455

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี

034-600-129

Rangsit Science Centre for Education

Kanchanaburi Science Centre for Education

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น Khon Kaen Science Centre for Education

043-274-154, 043-274-155

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาตรัง

075-572-062

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา

035-322-485

Trang Science Centre for Education

Phra Nakhon Si Ayutthaya Science Centre for Education

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา

Nakhon Ratchasima Science Centre for Education

044-416-984, 044-416-985

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช

075-396-363

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครสวรรค์

056-256-522

Nakhon Si Thammarat Science Centre for Education Nakhon Sawan Science Centre for Education

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล�ำปาง

054-230-855, 054-230-856

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว

037-425-427

Lampang Science Centre for Education Sa Kaeo Science Centre for Education

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร Samut Sakhon Science Centre for Education

034-452-126, 034-452-127

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

073-215-292

• ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศีกษาอุบลราชธานี

045-311-714

• ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด

043-569-340

• อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

032-661-104

Yala Science Centre for Education

Ubon Ratchathani Science Centre for Education Roi Et Science and Cultural Centre for Education

King Mongkut Memorial Park of Science and Technology at Wah Kaw, Prachuap Khirikhan



“น�ำ้ นัน้ ส�ำคัญอย่างไร”

น�ำ้ เป็นหนึง่ ในทรัพยากรขัน้ พืน้ ฐานทีม่ คี ณุ ค่าและจ�ำเป็นต่อสิง่ มีชวี ติ โลกของเรานัน้ ประกอบด้วยพืน้ ดิน 3 ส่วน พืน้ น�้ำ 1 ส่วน น�้ำนัน้ เกิดจากการรวมตัวของก๊าซ บางอย่างที่พอเหมาะกับสัดส่วน ท�ำให้เกิดละอองไอน�้ำลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อเย็นลงก็จับตัวกันเป็นหยดน�้ำและตกลงมาเป็นฝน กลายเป็นแม่น�้ำ ล�ำธาร ปัจจุบัน สภาวะโลกร้อนน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน ระดับน�้ำทะเล และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อพืช สัตว์ มนุษย์ และยังท�ำให้คุณภาพของน�้ำแย่ลง ดังนั้นเราต้องร่วมกันอนุรักษ์น�้ำสะอาด ช่วยกันดูแล บ�ำรุงรักษา พัฒนาแหล่งน�้ำอย่างยั่งยืนส�ำหรับอนาคตโดยเริ่มเสียแต่วันนี้ที่จะรักษาน�้ำที่มีอยู่ให้เราและคนรุ่น ต่อไปได้ใช้กัน เนือ่ งด้วยหัวข้อของงานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ในปี พ.ศ. 2555 คือ น�ำ้ ดังนัน้ จึงขอเชิญชวนน้องๆ เยาวชนทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 8 -14 ปี ร่วมส่งภาพวาดระบายสี เข้าประกวด (ไม่จำ� กัดประเภทการใช้ส)ี ในหัวข้อ “น�ำ้ นัน้ ส�ำคัญอย่างไร” ชิงทุนการศึกษาจ�ำนวน 10,000 บาท ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลจะได้ลงเป็นภาพหน้าปกแคททะลอก ส�ำหรับเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2555 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2554 ถึง วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 กรอกใบสมัคร ได้ที่ www.goethe.de/sciencefilmfestival เงื่อนไขการส่งผลงานเข้าประกวด ภาพวาดระบายสีจะต้องมีขนาด 21 x 21 เซนติเมตร น้องๆ สามารถส่งผลงานด้วยตนเองหรือส่งทางไปรษณีย์มาที่ แผนกกิจกรรมและวัฒนธรรม วงเล็บมุมซอง (ประกวดภาพวาดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์) สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย 18/1 ซอยเกอเธ่ สาทร 1 กรุงเทพ 10120

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02 287 0942 - 4 ต่อ 17 หรือ 80 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.goethe.de/sciencefilmfestival


culture and history


ภาพยนตร์วัฒนธรรมและประวติศาสตร์

Climate Protection in Papua New Guinea

พิทักษ์ป่าบนเกาะปาปัวนิวกิเนีย Director: Joachim Eggers / Producer: DW-TV & Internationale Klimaschutzinitiative des BMU Country: Germany / Length: 7:00 min / Year: 2009

58

Papua New Guinea’s rainforest is under threat. Not by global firms, chopping off trees for commercial use or export, but by the locals themselves, who need to build more houses to satisfy the demand, triggered by the massive population growth.

ป่าฝนในประเทศปาปัวนิวกินกี �ำลังถูกคุกคาม สาเหตุไม่ได้มาจากบริษทั ค้าไม้ขา้ มชาติ ระดับโลกซึ่งท�ำการตัดไม้ท�ำลายป่าเพื่อจุดประสงค์ในเชิงพาณิชย์หรือการส่งออกแต่ อย่างใด แต่เกิดจากคนพื้นเมืองนั่นเองที่ต้องการสร้างที่อยู่อาศัย เพื่อตอบสนองความ ต้องการของประชากรบนเกาะที่มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกที

Teachers and scientists are helping to make the population understand the importance of sustainable farming in order to protect the unique biodiversity in their country. The forest on the Huon Peninsula is the first national conservation area, and many more are supposed to follow. Over 70% of Papua New Guinea is covered in tropical rainforest, which is home to 5%-7% of all of the world’s species, including around 20,000 species of plants, more than 700 species of birds and more than 230 kinds of mammals. In exchange for managing their forests in a sustainable manner, locals receive medical care and education which is a fair deal for both parties.

คุณครูและนักวิทยาศาสตร์จากโครงการอนุรักษ์ป่า ยูส ได้ร่วมมือกันเพื่อช่วยให้ ประชาชนเข้าใจถึงความส�ำคัญของการท�ำการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อทีจ่ ะอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชีวภาพในประเทศนีไ้ ว้ พืน้ ทีป่ า่ ไม้บนคาบสมุทรฮวนได้รบั การคุม้ ครอง และจัดตัง้ เป็นพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติเป็นแห่งแรก และมีอกี หลายพืน้ ทีก่ ำ� ลังจะได้รบั การ ประกาศต่อไป ป่าฝนเขตร้อนครอบคลุมพื้นที่ของประเทศปาปัวนิวกินีมากกว่าร้อยละ 70 ซึ่งพืน้ ทีร่ อ้ ยละ 5 - 7 นัน้ เป็นบ้านของสัตว์หลากหลายสายพันธุ์ของโลก รวมทัง้ สาย พันธุ์พืชซึ่งมีอยู่โดยประมาณ 20,000 ชนิด สายพันธุ์นกมากกว่า 700 และสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมมากกว่า 230 ชนิด ชาวพื้นเมืองยอมรับระบบการจัดการด้านป่าไม้อย่างยั่งยืน ตามค�ำแนะน�ำของโครงการอนุรกั ษ์ปา่ ยูส โดยชาวบ้านจะได้รบั การดูแลทางการแพทย์ และการศึกษาเป็นสิ่งแลกเปลี่ยน ซึ่งเป็นข้อตกลงที่ยุติธรรมกับทั้งสองฝ่าย

Science Film Festival Thailand 2011


culture andwords history greeting

Young Explorers in Africa - Léa on the Trail of Gorillas

เลอาตามรอยกอริลล่านักส�ำรวจรุ่นจิ๋วในแอฟริกา Director: Guy Beauché / Producer: Bonne Pioche Country: France / Length: 26:00 min / Year: 2009 Léa is 10. She lives in the country and shares her spare time between her passion for nature and her love of animals. Discovering Africa, leaving your home for the unknown. This will be the adventure of Lea, a budding explorer, as she will share the everyday life of an African child for two weeks. She’s going to Congo on the trail of the western lowland gorillas, to stay with Rosette who lives in the heart of the primary forest. Rosette’s father, the warden of the park, will show her how he protects the forest and its animals and how he fights against poaching. Léa’s trip ends in the nature reserve at Lesio-Louna 140 km North of Brazzaville: a sanctuary of 170,000 hectares for gorillas that are victims of poaching. Rosette and Léa will live an exceptional experience: feed two young gorillas and give them their bottle! Through her passion for animals and nature, she will make new friends and notice that everything is so different from home: school, food, showering, playing,. Always curious, sometimes shocked, she will explore through marveled eyes, and in her own spontaneous words will give us a glimpse of Africa as you’ve never seen it.

เลอาอายุสบิ ขวบเธออาศัยอยูใ่ นชนบทและใช้เวลาดืม่ ด�ำกับธรรมชาติรอบตัวและสรรพ สัตว์ เลอาจะได้เดินทางออกจากบ้านไปยังทวีปแอฟริกาดินแดนทีเ่ ธอไม่รจู้ กั มาก่อนเพือ่ ตามรอยกอริลล่าแห่งแดนตะวันตก โดยเธอจะได้รว่ มชีวติ กับเด็กชาวแอฟริกนั เป็นเวลา สองสัปดาห์ ในประเทศคองโก ในใจกลางป่าซึ่งโรแซตอาศัยอยู่ พ่อของโรแซตเป็นผูด้ แู ลผืนป่าเขาจะได้อธิบายถึงงานการปกป้องป่าและสรรพสัตว์จาก การล่วงล�้ำของบุคคลอื่นซึ่งเป็นงานที่เขาท�ำอยู่ทุกวัน ในตอนสุดท้ายของการผจญภัย ครั้งนี้ เลอาจะได้ไปอยู่ที่ Lesio Lounq ซึ่งห่างจากทางเหนือของเมือง Brazzaville ไป ไกล 140 กิโลเมตร ที่แห่งนี้เป็นแหล่งพักพิงขนาด 170 000 เฮคตาร์ ซึ่งเหล่ากอริลล่า ที่เคยถูกล่วงล�้ำที่อื่นได้มาอาศัย ทั้งโรแซตและเลอาจะได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ ในการให้อาหารและนมแก่ลูกๆ กอริลล่า เลอารู้สึกได้ว่าทุกอย่างช่างแตกต่างจากใน บ้านและประเทศของเธอเหลือเกิน ทัง้ โรงเรียนอาหารการอาบน�ำ้ แม้แต่การเล่นสนุกแต่ เธอก็ผจญภัยในครั้งนี้ด้วยความตื่นตาตื่นตาและความสนใจใคร่รู้สิ่งใหม่ๆ แม้ว่าบาง ครั้งจะประหลาดใจกับสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อนก็ตามขอเชิญพบกับเสี้ยวหนึ่งของทวีป แอฟริกา ในแบบของเลอา เรามั่นใจว่าคุณยังไม่เคยได้สัมผัสอะไรแบบนี้ Science Film Festival Thailand 2011

59


Production Websites Bonne Pioche Canal France International (CFI) Cité des Sciences et de l’Industrie Doncvoilà Fondation GoodPlanet France 3 France Télévisions Distribution Gédéon Programmes Institut de Recherche pour le Développement (IRD) Maldives National Broadcasting Corporation (MNBC) Mosaïque Films Multimédia France Production (MFP) Universience ORF WDR ZDF Thai PBS VTV ABS-CBN Foundation Nautilusfilm GmbH SWR Flowmotion Film RTBF Light & Shadow GmbH Gruppe 5 Filmproduktion GmbH DW-TV

ว

มาแล

www.bonnepioche.fr www.cfi.fr www.cite-sciences.fr www.doncvoila.net www.goodplanet.org www.france3.fr www.ftv.fr www.gedeonprogrammes.com www.ird.fr www.mnbc.com.mv www.mosaique-films.com www.francetelevisions.fr www.universcience.fr www.orf.at www.wdr.de www.zdf.de www.thaipbs.or.th www.vtv.orv.vn www.abs-cbnfoundation.com www.nautilusfilm.com www.swr.de www.flowmotion-film.de www.rtbf.be www.lightandshadow.tv www.gruppe5film.de www.dw-world.de

เยอรมัน(ส)สัญจร โครงการ

Deutschmobil

พบกันเร็วๆ นี้ที่โรงเรียนของนองๆ ทั่วประเทศ เราจะพานองๆ มาสนุกกับภาษาเยอรมัน ตื่นตาตื่นใจกับสาระนารูเกี่ยวกับประเทศเยอรมนี รูจักบทสนทนางายๆ ที่ใชไดจริง ... บ ย ี พ เ ๆ น ด โ ล ั ว และรับของราง สนใจคลิกมาเลยที่ ...

blog.goethe.de/deutschmobil-thailand facebook.com/deutschmobil.thailand deutschmobil@bangkok.goethe.org


organizers, venues & sponsors


I. Organizers

Goethe-Institut Thailand 18/1 Soi Goethe, Sathorn 1, Bangkok 10120 Thailand Tel: +66 2 287 0942-4 Fax: +66 2 287 1829 www.goethe.de/thailand

II. Venue Partners

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) 924 Sukhumvit Road, Bangkok 10110 Thailand Tel: +66 2 392 4021 Fax: +66 2 381 7530 www.ipst.ac.th

Ambassade de France en Thaïlande 35 Charoen Krung Road 36, Bangkok 10500 Thailand Tel: +66 2 657 5100 Fax: +66 2 627 2111 www.ambafrance-th.org

62

Science Film Festival Thailand 2011

National Science Centre for Education, Ekamai 928 Sukhumvit Road, Klong Toey, Bangkok 10110 Thailand Tel: +66 2 392 1773 Fax: +66 2 391 0522 www.sci-educ.nfe.go.th

Thailand Science Park Convention Center 130 Paholyothin Road, Klong 1, Klong Luang, Pathumthani 12120 Thailand Tel: +66 2 564 7170 Fax: +66 2 564 7161 www.tsp-cc.com

Bayer Thai Co. Ltd. 130/1 North Sathorn Road, Bangkok 10500 Thailand Tel: +66 2 232 7000 Fax: +66 2 236 7738 www.bayer.co.th

NSM Science Square 4th – 5th Floor Chamchuree Square 319 Phaya Thai Road, Pathum Wan, Bangkok Thailand Tel: +66 2 160 5356 Fax: +66 2 160 5357 www.nsm.co.th

National Science Museum Technopolis, Klong 5, Klong Luang, Pathuthani 12120 Thailand Tel: +66 2 577 9999 Fax: +66 2 577 9900 www.nsm.or.th

Thailand Knowledge Park 17th Floor at Central World, 999/9 Rama 1, Bangkok 10330 Thailand Tel: +66 2 264 5963 65 Fax: +66 2 264 5966 www.tkpark.or.th

Major Cineplex Group Plc. 1839 Phaholyothin Road., Ladyao, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand Tel: +66 2 511 5427-36 ext. 873, 893 Fax: +66 2 511 5752 www.corporate.majorcineplex.com

Film Archiv 94Moo3Putthamontol5Rd.,Putthamontol Nakhon Patom 73170 Thailand Tel: +662 482 2013 - 15, +662 482 1087 88 Fax: +662 482 2013 - 15 ext. 116 www.fapot.org

City Learning Park (CLP) Nakorn Si Thammarat Namuang Park, Thachang Road,Muang, Nakhon Si Thammarat 80000 Thailand Tel: +66 75 340 943 - 4 Fax:. +66 75 340 975 www.marclp.com

Bangkok Art and Culture Center (BACC) 939 Rama I Road Wongmai, Bangkok 10330 Thailand Tel: +66 2 214 6630 Fax: +66 2 214 6632 www.bacc.or.th


greeting words organizers, venues & sponsors III. Sponsors & Supporters

Siemens, Ltd. Charn Issara Tower II, 2922/333 New Petchburi Road, Bangkok 10310 Thailand Tel: +66 2 715 4000 Fax: +66 2 715 4100 www.siemens.co.th

MCOT Public Co., Ltd. 63/1 Rama IX Road, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: +66 2 201 6000 Fax: +66 2 245 7090 www.mcot.net

Thai Ministr y of Science and Technology Rama 6 Road, Ratcahatevee, Bangkok 10400 Thailand Tel: +66 2 640 9600 Fax: +66 2 354 3763 www.most.go.th

Air Berlin PLC & Co.Luftverkehrs KG 17th Floor, Vorawat Building, 849 Silom Road, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand Tel: +66 2 267 1202 - 4 Fax: +66 2 267 1190 www.airberlin.com

United Nations Environment Programme 2 rd Floor, A Block , UN Building, Rajdamnern Nok Avenue, Bangkok 10200 Thailand Tel: +66 2 288 2127 Fax: +66 2 280 3828 www.unep.org

Thai Ministry of Education 319 Wangchankasem, Rajdamnern Road, Dusit, Bangkok 10300 Thailand Tel: +66 2 281 3441 Fax: +66 2 281 8218 www.moe.go.th

Alliance Franรงaise Bangkok 29 South Sathorn Road, Bangkok 10120 Thailand Tel: +66 2 670 42 00 Fax: +66 2 670 42 70 www.alliance-francaise.or.th

Thai Public Broadcasting Service 145 Vipavadee Rangsit Rd., Talad - Bangken (Market), Laksi, Bangkok 10210 Thailand Tel: +66 2 790 2000 Fax: +66 2 790 2020 www.thaipbs.or.th

ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) 3F, ERDB Building, Forestry Campus, College Laguna 4031 Philippines Telefax: +63 49 536 2865 and +63 49 536 1044 www.aseanbiodiversity.org

UN Forum on Forests Secretariat Department of Economic and Social Affairs One UN Plaza, DC1-1245 New York, NY 10017 Tel: +1 212 963 3401 Fax: +1 917 367 3186 www.un.org/esa/forests

Bangkok Metropolitan Administration Bangkok City Hall 1, 173 Dinso Road, Bangkok 10200 Thailand Tel: +66 2 221 2141 - 69 www.bma.go.th

Nakorn Si Thammarat City Rajdamnern Nok Road, Klung, Mueng, Nakorn Si Thammarat 80000 Thailand Tel: +66 75 342 880 - 2 Fax: +66 75 347 405 www.nakorncity.org

Science Film Festival Thailand 2011

63


จาก 221 โรงเรียน ในป 2553 ขยายสู 3,000 โรงเรียน ในป 2554 ครูผูสอนไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ สื่อการเรียนการสอน

การใหความอุปถัมภจาก

ครูอนุบาลจะไดรับการอบรมเกี่ยวกับ การทดลองดานวิทยาศาสตร สำหรับเด็ก รวมทั้งแนวคิดในการสอนวิทยาศาสตร สำหรับเด็กอนุบาล

นักวิทยาศาสตรและวิศวกรพี่เลี้ยง โรงเรียนจะไดรับการสนับสนุนและสามารถ ปรึกษานักวิทยาศาสตรและวิศวกรพี่เลี้ยง ซึ่งเปนอาสาสมัครของโครงการ

โรงเรียนจะมีคาใชจายสำหรับสื่อการเรียน การสอนซึ่งรวมถึงใบกิจกรรมการทดลอง และคูมือการสอนซึ่งสามารถใชไดตลอด ระยะการเขารวมโครงการ

ผูปกครองและครอบครัว หนังสือ “บานนักวิทยาศาสตรนอย” ที่รวบรวมการทดลองงายๆ ใหเด็กได “ลงมือปฏิบัติจริง” และมีรายการโทรทัศน “บานนักวิทยาศาสตรนอย” ฉายทุกวัน อาทิตย เวลา 6.35-6.45 น. และฉายซ้ำ ทุกวันศุกร เวลา 16.25-16.35 น. ทางชองไทยพีบีเอส (TPBS) สำนักงานโครงการ บานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย เลขที่ 11 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2662-3000 โทรสาร 0-2662-0919 www.littlescientistshouse.com หรือ www.witnoi.com


contributors & special thanks


contributors & special thanks Festival Committee Dr. Norbert Spitz Andreas Klempin Dr. Pornpun Waitayangkoon Dr. Rawiwan Tenissara Philippe Liège Laure Demonchy Celina Chew Nat Lohsuwan Dr. Pichai Sonchaeng Thanokorn Palachai Ganigar Chen

Director of the Goethe-Institut Thailand Regional ASEAN Project Manager, Goethe-Institut President, the Institut for the Promotion of Teaching Science and Technology Assistant to the President, the Institut for the Promotion of Teaching Science and Technology Counsellor for Culture, Science and Development, Cultural Department, Embassy of France in Thailand Audiovisual Attaché, Embassy of France in Thailand Managing Director of Bayer Thai Co., Ltd. General Manager Corporate Communications – North ASEAN of Bayer Thai Co Ltd. President, National Science Museum Thailand Vice President, National Science Museum Thailand Director of Office of Public Awareness of Science, National Science Museum Thailand

Working Committee

Special Thanks to

Andreas Klempin, Yanisa Teeranathada, Laure Demonchy, Orasa Sastraruji, Dr. Chaiwuti Lertwanasiriwan, Nittayaporn Bunyasiri, Dr. Somchart Paisarnrat, Jelena Götz

Chanika Kongsawat and staff at National Science Museum, Salin Weerabutra and staff of Science Center for Education, Punna Wattanavibool, Jumphol Hemakeerin and staff at NSTDA Thailand Science Park, Tasanai Wongpiseskul, Yuttinai Yungcharoen and staff at TK park, Phenphan Rawichotikul and staff at Major Cineplex, Chalida Uabumrungjit and staff at Film Archive, China Hodgson and staff at City Learning Park, Ministère des Affaires Etrangères et Européennes, Malee Jaeng-arun, Chayanan Boonyaperm, Anthony Chay, Prapassorn Virothai, Katrin Sohns, Franz Xaver Augustin, Wilfried Eckstein, Artjana Saurer, Thepchai Yong, Alliance Française de Bangkok, Pierre Laburthe, Arunrong Thirasak

Film Programming / Features Editor Yanisa Teeranathada, Laure Demonchy, Artjana Saurer, Andreas Klempin, Jelena Götz

Press Relations Kullaya Sriwatanarothai, Yanisa Teeranathada, Dussadee Naiwattanakul, Alain Gavillet, Napadol Wirakan, Arkanae Sawangkamol

Graphic Designers

Ekaluck Kangwankraikal, Ekonid

Warinda Patibhanthewa, Nalinee Udomsinn, Peramita Media Team

Website Editor

Kannikar Saengsuwan

Translators German into Thai

Logo Design

Chatchai Ibrahim / Badini

Publisher

Square Print 1993 Co., Ltd.

Translators English into Thai

Artjana Saurer

Translators French into Thai Angkanit Yingprayoon, Asma Sentira, Peramita Media Team, Antoine Marronnier

66

Science Film Festival Thailand 2011



Thank you to:

www.goethe.de/sciencefilmfestival


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.