1
สรุปรายงาน เทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรู “เรามอบความรูคูความบันเทิง” 18 - 31 มกราคม 2555
2
3
บทนำ ในปีพ.ศ. 2554 เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในประเทศไทยได้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 โดยร่วมมืออย่างเป็นทางการกับองค์การสหประชาชาติที่ว่า ด้วยปีสากลแห่งการอนุรักษ์ป่าไม้ โดยมีจ�ำนวนผู้เข้าชมเทศกาลฯในประเทศไทย สูงถึง 139,101 คน เทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์จดั ขึน้ ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ องค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ คลอง 5 และ จามจุรสี แควร์ ศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ (ท้องฟ้าจ�ำลอง) อุทยานการเรียนรู้ TK park สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา โรงภาพยนตร์เอสพลานาด งามวงศ์วาน - แคราย และจัดรอบฉายพิเศษขึ้นที่ศูนย์เยาวชนชายบ้านมุทิตา และบ้านอุเบกขา นอกจากนี้ อุทยานการเรียนรู้เมืองนครศรีธรรมราชได้เข้าร่วมเป็นศูนย์จัดฉายให้กับเทศกาลฯ ในเขตภาคใต้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์สัญจรโดยร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา 15 แห่ง ดังต่อไปนี้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ขอนแก่น ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาตรัง ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครราชสีมา ศูนย์ วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครศรีธรรมราช ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครสวรรค์ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาล�ำปาง ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาสระแก้ว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศีกษาอุบลราชธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จ�ำนวนผู้เข้าชมในแต่ละสถานที่ ได้แก่
ศูนย์เยาวชนชายบ้ายมุทิตาและบ้านอุเบกขา โรงภาพยนตร์เอสพลานาด งามวงศ์วาน - แคราย อุทยานการเรียนรู้ TK park หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อุทยานการเรียนรู้เมืองนครศรีธรรมราช องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ คลอง 5 และ จามจุรีสแควร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ (ท้องฟ้าจ�ำลอง) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์สัญจรโดยร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 15 แห่งทั่วภูมิภาค จ�ำนวนผู้เข้าชมทั้งหมด
ในฐานะผูจ้ ด ั งานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ขอขอบคุณองค์กรร่วมจัด ศูนย์จดั ฉาย ผูอ้ ปุ ถัมภ์ โรงเรียน และมหาวิทยาลัย เป็นอย่างสูงในความร่วมมือและการสนับสนุนท�ำให้เทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การ เรียนรู้แห่งประเทศไทยประสบความส�ำเร็จมาอย่างต่อเนื่อง สสวท. ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา* ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาตรัง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครสวรรค์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล�ำปาง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศีกษาอุบลราชธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
กรุงเทพฯ โรงภาพยนตร์เอสพลานาด งามวงศ์วาน - แคราย อุทยานการเรียนรู้ TK park หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ คลอง 5 และ จามจุรีสแควร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ (ท้องฟ้าจ�ำลอง) อุทยานการเรียนรู้เมืองนครศรีธรรมราช
300 คน 467 คน 680 คน 1,226 คน 2,686 คน 3,802 คน 3,924 คน 8,078 คน 117,938 คน 139,101 คน
4
ทีม่ า
หนี่งในปัญหาเร่งด่วนที่สุดในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคอาเซียน (สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) คือการทีผ่ คู้ นให้ความสนใจด้านวิทยาศาสตร์นอ้ ยลงไม่ ว่าจะเป็นการลงเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ การมีอาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์หรือเทคนิคเฉพาะ ซึ่งเกิดจากการที่ขาดแคลนบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์ขณะที่ความต้องการด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับภูมิภาคนั้นมีมากขึ้น
เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ใน ประเทศไทยครั้งที่ 7 มีผู้เข้าชมถึง 139,101 คน จาก 7 ศูนย์จัดฉายในเขต กรุงเทพมหานครและ 16 ศูนย์จัดฉาย ทั่วประเทศ เทศกาลภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ได้ร่วมมืออย่างเป็นทางการ กับองค์การสหประชาชาติที่ซึ่งก�ำหนดให้ ปีพ.ศ. 2554 เป็นปีสากลแห่งการอนุรักษ์ ป่าไม้
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เป็นเทศกาลที่ริเริ่มทางด้านวัฒนธรรมและการศึกษาแสดงให้ผู้ ชมวัยเยาว์ได้เห็นว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่เพียงแค่มีความส�ำคัญแต่ยังมีความสนุกในการเรียนรู้ ภาพยนตร์ที่ได้เข้าฉายในเทศกาลฯส่งเสริมให้ผู้ชมได้ ตระหนักในเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกทั้งยังแสดงให้เห็นว่าความบันเทิงและการเรียนรู้สามารถไปควบคู่กันได้ อย่างมีประสิทธิภาพโดยผ่านสื่อทางภาพยนตร์และโทรทัศน์ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์น�ำไปสู่การพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐานในการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ขณะเดียวกันได้สนับสนุนการศึกษา ทางด้านวิทยาศาสตร์ทั้งสองประการนี้ก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์แก่เยาวชนรุ่นใหม่ในสังคมทั่วโลก จุดประสงค์ ที่ได้มีการแปลภาพยนตร์เป็นภาษาประจ�ำชาตินั้นๆเพื่อที่จะให้ผู้ชมได้เข้าใจถึงเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์รวมทั้งได้รับความบันเทิงโดยปราศจาก อุปสรรคในเรื่องของภาษา อีกทั้งเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นั้นมีความตั้งใจที่จะสนับสนุนทางด้านความรู้ผ่านสื่อมวลชนทางด้านวิทยาศาสตร์ ในภูมิภาคอาเซียนด้วย เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากผู้ผลิตภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั่วโลก และขอให้ทุกท่านมีความสนุกกับการ เข้าร่วมเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน
5
สรุปรายงาน เทศกาลภาพยนตร ิทยาศาสตร ่อการเรี องคกรรวมจัด, พัวนธมิ ตร, ศูนยจดั เพื ฉาย และผูอ ยปุ นรู ถัมภ “เรามอบความรูคูความบันเทิง” 18 - 31 มกราคม 2555
เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้เริ่มจัดขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. 2548 และจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ในปีพ.ศ. 2554 โดยสถาบัน เกอเธ่ ประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถานทูตฝรั่งเศสประจ�าประเทศไทย ร่วมกับพันธมิตรหลัก ของเทศกาลฯ ได้แก่ บริษัทไบเออร์ไทย จ�ากัด และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ พร้อมทั้งได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากบริษัท ซีเมนส์ ประเทศไทย และสายการบินแอร์เบอร์ลิน ในปีพ.ศ. 2553 ผู้จัดเทศกาลฯได้หันมาให้ความสนใจทางด้านการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ จากนั้นมาเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ จึงได้ร่วมมืออย่างเป็นทางการกับองค์การสหประชาชาติที่ซึ่งก�าหนดหัวข้อไว้ในแต่ละปี (โดยในปีพ.ศ. 2553 เป็นปีสากลแห่งความหลากหลายทาง ชีวภาพ และปีพ.ศ. 2554 เป็นปีสากลแห่งการอนุรักษ์ป่าไม้) เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้ร่วมงานกับองค์กรกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศไทยชั้นน�า 2 แห่ง คือ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี เพื่อเป็นสื่อกลางให้กับเทศกาลฯในการกระตุ้นให้องค์กรผู้ผลิตชั้นน�า และผู้ผลิตระดับท้องถิ่นด้านวิทยาศาสตร์ ได้มีส่วนร่วม เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์จะไม่สามารถจัดขึ้นได้หากมิได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากศูนย์จัดฉายทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและ ทั่วภูมิภาคในประเทศไทย ได้แก่ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ คลอง 5 และจามจุรีสแควร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ (ท้องฟ้า จ�าลอง) อุทยานการเรียนรู้ TK park สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา โรงภาพยนตร์เอสพลานาด งามวงศ์วาน - แคราย อุทยานการเรียนรู้เมืองนครศรีธรรมราชและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดเทศกาล ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์สัญจรโดยร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 15 แห่งทั่วภูมิภาค
6
พิธเี ปดงานเทศกาลภาพยนตรวทิ ยาศาสตร พิธีเปิดงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งประเทศไทยครั้งที่ 7 ปี พ.ศ. 2554 จัดขึ้นเป็นครั้งแรกที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร ได้เปิดให้สื่อมวลชนและผู้สนับสนุนเทศกาลฯได้เข้าชมภาพยนตร์พร้อมกิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นจุดเด่นของงาน เทศกาลฯ ดร.พรพรรณ ไวทยางกูล ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นประธานเปิดงานแทน ฯพณฯ ท่านรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีตวั แทนผูบ้ ริหาร องค์กรร่วมจัด ศูนย์จดั ฉายและผูส้ นับสนุนหลัก อีกทัง้ นักเรียนจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและ โรงเรียนสวนลุมพินี เข้าร่วมงานในครั้งนี้ ภาพยนตร์เปิดงานในครั้งนี้มีชื่อว่า “Of Forest and Men” โดยช่างภาพและนักสิ่งแวดล้อมนิยม “ญาณ อาร์ทุส - เบอร์ทรองค์”
7
คณะกรรมการคัดเลือกภาพยนตรเขาฉายในเทศกาลฯ การคัดเลือกภาพยนตร์เข้าฉายในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ของแต่ละประเทศนั้นได้รับเกียรติจากคณะกรรมการในประเทศที่ร่วมฉาย เทศกาลฯ โดยคัดเลือกจากภาพยนตร์ทไี่ ด้รบั การคัดเลือกจากผูจ้ ดั แล้วทัง้ หมด คณะกรรมการนัน้ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านวิทยาศาสตร์และภาพยนตร์ ซึ่งมีความเข้าใจในกลุ่มผู้ชมเป้าหมายของเทศกาลฯและคณะกรรมการคัดเลือกภาพยนตร์ในประเทศไทยมีดังต่อไปนี้ นางสาวจุฑามาส สรุปราษฎร์ จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านวิทยาศาสตร์ และ ปริญญาโทด้านการวิจัยและสถิติทางการศึกษาที่ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ท�ำงานเกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และการวิจัยทางการศึกษาที่สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเวลา 9 ปี และเป็นกรรมการในการประเมินเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน นางสาวพีร์ดา จิตนุยานนท์ จากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ เอกชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี และส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ วอชิงตัน ด้านพิพิธภัณฑ์ศึกษา ปัจจุบันท�ำงานที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) ในต�ำแหน่งนักวิชาการศึกษา ปฏิบัติการ ดูแล รับผิดชอบด้านนิทรรศการและกิจกรรมด้านธรรมชาติวิทยา นาย จุมพล เหมะคีรินทร์ จากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญา ตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี ปัจจุบันท�ำงานในต�ำแหน่งที่ปรึกษาฝ่าย สือ่ สิง่ พิมพ์และสือ่ สารวิทยาศาสตร์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารอัพเดท บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจ�ำกัด (มหาชน) นางสาว พิมลพรรณ จันทรพิมล องค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบันท�ำงานในต�ำแหน่ง นักวิชาการ กองนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ นาย ศิวดล ระถี จากหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปัจจุบันท�ำงานประจ�ำในต�ำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานจัดรายการ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) และเป็นอาจารย์ พิเศษวิชาภาพยนตร์สารคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยากรอบรมการผลิตภาพยนตร์สั้นและผู้ก�ำกับและโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ สั้นและสารคดีอิสระ นายยุทธินัย ยั่งเจริญ ทีเค พาร์ค ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองค์การ ปัจจุบันท�ำงานอยู่ที่ ส�ำนักงานอุทยานการเรียนรู้ ทีเค พาร์ค ต�ำแหน่งนักจัดการความรู้ฝ่ายกิจกรรม
8
เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้เริ่มจัดขึ้นใน ประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. 2548 และ ในปีพ.ศ. 2554 เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทยได้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 โดย สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และ สถานทูตฝรั่งเศสประจ�ำประเทศไทย ร่วมกับ พันธมิตรหลักของเทศกาลฯ ได้แก่ บริษัท ไบเออร์ไทย จ�ำกัด และองค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และศูนย์จัดฉายในเขต กรุงเทพมหานครและศูนย์จัดฉายทั่วภูมิภาคใน ประเทศไทย
9
ภาพยนตร เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์แบ่งประเภทของภาพยนตร์ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ “ภาพยนตร์สาระบันเทิง” โดยอธิบายเรื่องราวทาง วิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนานให้แก่เยาวชนซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มผู้ชมเป้าหมายหลักของเทศกาลฯ นอกจากนี้ได้มีการน�ำเสนอ ภาพยนตร์ในกลุ่ม “ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” “วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี” และ “วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์” ส�ำหรับผู้ชมทุกเพศทุกวัย ในปี พ.ศ. 2554 มีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวดกว่า 154 เรื่อง จาก 18 ประเทศ และมีภาพยนตร์จ�ำนวน 39 เรื่องจาก 12 ประเทศที่ได้รับคัดเลือก ให้ฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศอาเซียนทีเ่ ข้าร่วม ส�ำหรับงานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย มีภาพยนตร์ จ�ำนวน 26 เรื่องจาก 7 ประเทศที่ได้รับคัดเลือกเข้าฉาย
10
กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร โครงสร้างของเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นั้นมิใช่เพียงแค่การจัดฉายภาพยนตร์แต่ได้มีการน�ำเอากิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์เข้ามาร่วม ในเทศกาลฯ ด้วย ได้แก่ การทดลอง การสาธิตกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และเกมวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่สัมผัสได้จริง เป็นการแสดง ให้เห็นว่าการเรียนรู้และความบันเทิงสามารถไปควบคู่กันได้ ทุกศูนย์จดั ฉายของงานเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์จะมีการจัดกิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ขนึ้ ซึง่ แตกต่างกันไปตามแต่สถานที่ แต่มาตรฐาน ของกิจกรรมจะอยูใ่ นเกณฑ์เดียวกันทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค ในปีพ.ศ. 2554 สถาบันเกอเธ่เป็นตัวแทนจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ขึ้นประจ�ำปี ในวันที่ 17 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ณ งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยมีตัวแทนจากประเทศที่จัดเทศกาล ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในระดับภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วม ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม ร่วมกับ ผู้สื่อข่าวสาย วิทยาศาสตร์ และมล.โยอาคิม เฮคเคอร์ ผู้เขียนหนังสือการทดลองวิทยาศาสตร์ส�ำหรับเด็กที่มีชื่อเสียงจากประเทศเยอรมนี
11
เทศกาลภาพยนตรวทิ ยาศาสตรเพือ่ การเรียนรูป พ.ศ. 2554 ได้น�าเสนอรูปแบบของความเป็นเทศกาลฯในระดับภูมิภาคด้วยการเชิญคณะกรรมการซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาพยนตร์วิทยาศาสตร์และการ ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์จาก มาเลเชีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนามข้าร่วมในการตัดสินภาพยนตร์ในปีนี้ หว่อง ตุก เชิง (Wong Tuck Cheong) ท�างานเกี่ยวกับการให้ความรู้และการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์ เขาเป็นประธาน โครงการ Kelab Seni Filem Malaysia อีกทั้งท�าหน้าที่เป็นเลขานุการของโครงการ NETPAC (Network for the Promotion of Asian Cinema) และเคยเป็นหนึ่งในบอร์ดของโครงการ FINAS, the National Film Development Corporation of Malaysia ปัจจุบันเขาท�างานเป็นบรรณาธิการอาวุโสให้กับมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ดร.สมชำติ ไพศำลรัตน์ ส�าเร็จการศึกษาปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีชวี ภาพพืช จากโรงเรียนโพลีเทคนิคชัน้ สูงทางด้านการเกษตร ที่เมืองตูลูส ประเทศฝรั่งเศส ก่อนเข้าร่วมงานกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดร.สมชาติ ได้ ท�างานในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ดร.สมชาติ ร่วมเป็นคณะกรรมการในการ ตัดสินภาพยนตร์เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ถึง 3 และครั้งที่ 5 และ 6 เรจิน่ำ เลเฟต โรบิน (Re’gine Lefait Robin) แพทย์เฉพาะทางชาวฝรั่งเศสเกี่ยวกับสุขภาพของแม่และเด็กและโรคติดต่อ หลัง จากท�างานในอเมริกาใต้และแอฟริกาได้เคยย้ายมาท�างานทีป่ ระเทศกัมพูชาเกีย่ วกับโปรแกรมโรคเอดส์ใน สตรีมคี รรภ์ เรจินา่ ได้ เข้าร่วมโปรแกรมการให้ความรู้ทางด้านสุขภาพส�าหรับ RFO (French Broadcasting Overseas Network) ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ได้ท�างานในฐานะ ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา - ประเทศฝรั่งเศส ประจ�าประเทศไทย (ไออาร์ดี) มำริเซล เอ็ม ดีแอส (Maricel M. Diaz) หัวหน้าฝ่าย Special Collections Section of the Filipiniana Division ของหอสมุดแห่งชาติ ฟิลิปปินส์ (with classification Library III) เริ่มท�างานในต�าแหน่งเจ้าหน้าที่ห้องสมุดในปี 2545 (Classified Level I) ด้วยความที่ เธอมีพนื้ ฐานด้านความรูเ้ กีย่ วกับห้องสมุดและวิทยาศาสตร์ทา� ให้เธอได้รบั คัดเลือกให้เป็นตัวแทนของประเทศเข้าร่วมในโครงการ ที่หลากหลายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ โครงการต่างๆ เหล่านี้ได้รวมถึงโครงการริเริ่มด้าน วัฒนธรรมสัมพันธ์โดยกระทรวงวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยวของประเทศเกาหลี และเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อ การเรียนรู้ซึ่งจัดขึ้นโดยสถาบันเกอเธ่ ฟำน ซิน (Phan Xine) นักผลิตภาพยนตร์อิสระ นักวิจารณ์ และผู้จัดงานเทศกาลภาพยนตร์ หลังจบการศึกษาจาก USC School of Cinematic Arts ในเมืองลอสแองเจอลิส มลรัฐแคลิฟอเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เขาได้กลับมาท�างานที่ประเทศเวียดนาม ในโปรเจคของเขาเอง เขาได้มีส่วนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในประเทศเวียดนามจากการที่ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่ผู้ ผลิตภาพยนตร์ท้องถิ่นซึ่งร่วมกับผู้สร้างภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงในฮอลลีวูด อาทิ อดีตซีอีโอ Bill Mechanic ของ 20th Century Fox และผู้ก�ากับภาพยนตร์ฮอลลีวูด Phillip Noyce อีกทั้งเขาเองเป็นผู้ร่วมจัดตั้งเว็บไซต์ 2 แห่ง ส�าหรับแฟนคลับที่รักภาพยนตร์ ได้แก่ Moviesboom และ Yxine ร่วมเขียนบล็อกเกี่ยวกับภาพยนตร์ การสร้างภาพยนตร์ และวารสารภาพยนตร์เข้าชมได้ที่ phanxineblog.com และยังเป็นผู้ผลิตภาพยนตร์สั้นออนไลน์แห่งแรกในประเทศเวียดนาม ในชื่อว่า YxineFF ให้แก่กลุ่มคนผู้ รักการผลิตภาพยนตร์วัยเยาว์ในประเทศเวียดนาม
12
ภาพยนตรวทิ ยาศาสตรทไ่ี ดรบั รางวัลในเทศกาลฯ ในเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้แบ่งประเภทภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลไว้ทั้งหมด 6 ประเภท ตัดสินโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิระดับ นานาชาติ ผู้ชนะเลิศการประกวดภาพยนตร์จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 1000 ยูโร ผู้ชนะเลิศการประกวดรางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ไบเออร์ จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 2000 ยูโร ผู้ชนะเลิศการประกวดรางวัลพิเศษจากคณะกรรมการจะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 3000 ยูโร ประเภทของ ภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัล รางวัลภาพยอดเยี่ยม มอบแด่ภาพยนตร์ที่ถ่ายทอดความน่าหลงใหลของโลกและมนุษย์ลงในภาพยนตร์ได้อย่างงดงาม ด้วยฝีมือการถ่ายท�ำภาพยนตร์ของทีมงานที่ยอด เยี่ยมและเทคนิคอันทันสมัย ทั้งในด้านมุมกล้อง และการสร้างภาพด้วย เทคนิคอนิเมชั่น ทั้งนี้เพื่ออธิบาย หรือสาธิตเนื้อหาความรู้และกระบวนการ หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างชัดแจ้งและสัมพันธ์กัน ป่าและคน
ผู้ก�ำกับ: Yann Arthus-Bertrand | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: GoodPlanet Foundation | ชื่อเดิม: Des Fore’ts et des Hommes | ชื่อภาษาอังกฤษ: Of Forest and Men | ปีที่สร้าง: 2553 | ประเทศ: ฝรั่งเศส | ความยาว: 8 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ต�่ำ กว่า 12 ปี | ประเภท: ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการมอบรางวัลภาพยอดเยี่ยมนี้ให้กับภาพยนตร์เรื่อง “ป่าและคน” ซึ่งมิได้น�ำเสนอเพียงแค่ ความงดงามและมนต์เสน่ห์ของผืนป่าที่ถ่ายทอดออกมาได้อย่างน่าหลงใหลแต่ยังให้เราได้ใส่ใจตระหนักถึง ธรรมชาติด้วยเช่นกัน ภาพยนตร์เรื่องนี้จะท�ำให้เราได้มุมมองใหม่ๆ ในเรื่องของป่าไม้ รางวัลภาพยนตร์เพื่อการศึกษา รางวัลนี้มอบแด่ภาพยนตร์สื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ส�ำหรับเด็ก และ เยาวชนที่เข้าใจง่ายส�ำหรับผู้ชมวัย 6 ถึง 12 ปี มีการน�ำเสนอและอธิบายหลัก การวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมแก่การท�ำความเข้าใจของเด็กในวัยเรียนซึ่งประกอบไปด้วยภาพและเสียง อีกทั้งช่วยส่งเสริมการเรียนการสอน ใน ห้องเรียนอีกด้วย รายการ ไอ กอท อิท ! ตอน น�้ำตาลหวานเจี๊ยบ
ผู้ก�ำกับ: ABS-CBN Foundation | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: Goethe-Institut | ชื่อเดิม: I Got It! Sugar Episode | ชื่อภาษาอังกฤษ: I Got It! Sugar Episode | ปีที่สร้าง: 2553 | ประเทศ: ฟิลิปปินส์ | ความยาว: 10 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ต�่ำกว่า 12 ปี | ประเภท: ภาพยนตร์สาระบันเทิง
คณะกรรมการมอบรางวัลภาพยนตร์เพือ่ การศึกษาให้แก่ภาพยนตร์เรือ่ งนีเ้ นือ่ งด้วยเป็นภาพยนตร์ทเี่ หมาะ กับกลุม่ ผูช้ มวัยเยาว์ทมี่ อี ายุ 6 -12 ปี เป็นการน�ำเสนอเรือ่ งราวสัน้ ๆ สนุกสนาน ดึงดูดความสนใจ และ ให้ความ รู้ได้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของการบริโภคความหวาน อีกทั้งได้น�ำเสนอให้เห็นว่าคนเราสามารถมี ความสุขกับการรับประทานของหวานได้ดว้ ยการรับประทานผลไม้ ภาพยนตร์เรือ่ งนีเ้ ป็นภาพยนตร์เพือ่ การศึกษาอย่างแท้จริงเพราะได้อธิบายให้เห็น ถึงกระบวนการการผลิตน�ำ้ ตาลตัง้ แต่แรกเริม่ ทีไ่ ด้มาจากต้นอ้อย นอกจากนีย้ งั ได้อธิบายเกีย่ วกับสรีรวิทยาในเรือ่ งของปุม่ รับรสบนลิน้ และความส�ำคัญ ของสมองในการวิเคราะห์การรับรสอีกด้วย รางวัลภาพยนตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม รางวัลนีม้ อบแด่ภาพยนตร์ทใี่ ช้ความพยายามอย่างยิง่ ยวดในการสือ่ สารให้มนุษย์รจู้ กั อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ด้วยการน�ำเสนอประเด็นทางนิเวศ อภิปราย และอธิบายได้อย่างชัดแจ้ง เป็นแรงจูงใจที่ช่วยท�ำให้เราตระหนักถึงความส�ำคัญของธรรมชาติและปลูกฝังจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อธรรมชาติในทุก พฤติกรรม ไม่มีปะการัง ก็ไม่มีมัลดีฟส์
ผู้ก�ำกับ: Aminath Najeeb | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: CFI, IRD, in cooperation with Maldives National Broadcasting Cooperation (MNBC) | ชื่อเดิม: Pas de Coraux, Pas de Maldives | ชื่อภาษาอังกฤษ: No Coral, No Maldives | ปี ที่สร้าง: 2553 | ประเทศ: ฝรั่งเศส / มัลดีฟส์ | ความยาว: 13 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป | ประเภท: ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการมอบรางวัลภาพยนตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่ภาพยนตร์เรื่องนี้ซึ่งได้น�ำเสนออีกแง่มุมหนึ่ง ของการคุกคามทีย่ งั หลงเหลืออยูบ่ นหมูเ่ กาะมัลดีฟส์นอกจากสภาวการณ์การเพิม่ สูงขึน้ ของระดับน�ำ้ ทะเลทีพ่ บ อยู่ในปัจจุบัน การท�ำลายแนวปะการังส่งผลกระทบโดยตรงต่อหมู่เกาะแห่งนี้ เมื่อภาพยนตร์ได้อธิบายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วจากนั้นจึงได้น�ำเสนอ
13
ถึงการแก้ปัญหานั้นๆ ด้วย นักชีววิทยาทางทะเลและกลุ่มอาสาสมัครได้ร่วมกันสร้างสรรค์ อุปกรณ์ที่เรียกว่า “กรอบโลหะ” เป็นสถานที่ฟื้นฟูให้กับ แนวปะการังใหม่ โรงแรมบางแห่งได้มีการสนับสนุนให้ผู้เข้าพักได้มีส่วนร่วมกับโครงการนี้โดยการร่วมบริจาคสมทบทุนและหรือร่วมเป็นอาสาสมัคร ลงไปช่วยวาง “กรอบโลหะ” ชนิดนี้ใต้ท้องทะเล ภาพยนตร์เรื่อง “ไม่มีปะการัง ก็ไม่มีมัลดีฟส์” นี้ไม่เพียงแค่ท�ำให้ผู้ชมได้รับความรู้ในสิ่งที่ผู้คนแทบ จะไม่เคยได้รับรู้เกี่ยวกับปัญหาในเรื่องนี้เพียงเท่านั้นแต่ยังน�ำเสนอวิธีแก้ปัญหาเพื่อที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยรักษาปะการังที่สวยงามนี้ไว้ รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการค้นพบ มอบแด่ภาพยนตร์ที่เปี่ยมประสิทธิภาพในการสื่อสารองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณชน ปลุกเร้าให้เกิดความพิศวง สนใจติดตาม รู้จักตั้ง ค�ำถาม ใคร่รู้ และพยายามค้นหาค�ำตอบ ในรูปแบบการน�ำเสนอที่ลงตัวอย่างสมบูรณ์แบบทั้งด้านความบันเทิงและการเรียนรู้ อะไรจะเกิดขึ้น หากสนามแม่เหล็กโลกพลิก
ผู้ก�ำกับ: NICOLOPOULOS Stephane | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: GA Productions / IDEACOM International / CNRS Images | ชื่อเดิม: IS THE MAGNETIC POLE ABOUT TO FLIP? | ชื่อภาษาอังกฤษ: IS THE MAGNETIC POLE ABOUT TO FLIP? | ปีที่ สร้าง: 2553 | ประเทศ: ฝรั่งเศส / แคนาดา | ความยาว: 52 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: มากกว่า 12 ปี | ประเภท: ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ทั่วไป การแพทย์และเทคโนโลยี
คณะกรรมการยอมรับว่าภาพยนตร์เรื่องนี้มีความสวยงามและเป็นภาพยนตร์ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์ซึ่ง จุดเด่นของภาพยนตร์เรื่องนี้คือการค้นพบปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เรารู้จักไม่มากนัก มีเหตุผลไม่มากนัก ที่ท�ำให้สนามแม่เหล็กโลกพลิก ภาพยนตร์เรื่องนี้ครบครันด้วยกราฟิกที่น่าทึ่ง ให้ข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์และมีประโยชน์เป็นอย่างมาก ซึ่งจะท�ำให้ผู้ ชมต้องหันกลับมาทบทวนใหม่ในเรื่องธรรมชาติโลกรอบตัวเราอีกครั้ง รางวัลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ไบเออร์ มอบแด่ภาพยนตร์ที่น�ำเสนอ องค์ความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อบุคคล สังคมและสิ่งแวดล้อมในเชิงบวก นอกจากนี้ไม่เพียงแค่การน�ำเสนอผล วิจัยด้านวิทยาศาสตร์เพียงเท่านั้น แต่ภาพยนตร์ยังแสดงให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ต่างๆ ส�ำหรับ อนาคตของเราและโลกของเรา มรดกของสัตว์โลกในตัวคุณ
ผู้ก�ำกับ: Axel Wagner | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: SWR | ชื่อเดิม: Das Tier in Dir | ชื่อภาษาอังกฤษ: Experiment kinship - your inner animal | ปีที่สร้าง: 2553 | ประเทศ: เยอรมนี | ความยาว: 29 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: มากกว่า 12 ปี | ประเภท: ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ การแพทย์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์มากขึ้น
คณะกรรมการมีความเห็นว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ได้อธิบายเรื่องราวเกี่ยวกับต้นก� ำเนิดของมนุษย์ที่เริ่มจาก เซลล์ตน้ ก�ำเนิดไปสูส่ งิ่ มีชวี ติ ทีซ่ บั ซ้อนด้วยการใช้เทคนิคการถ่ายท�ำภาพยนตร์มาอธิบายความรูท้ างวิทยาศาสตร์ ให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนและน่าหลงใหล ซึง่ เป็นภาพยนตร์ทสี่ ร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผชู้ มวัยเยาว์ได้สนใจใน
รางวัลพิเศษจากคณะกรรมการ มอบแด่ภาพยนตร์ที่สร้างความประทับใจอย่างสูงสุดให้กับคณะกรรมการผู้ตัดสิน ด้วยอารมณ์ของภาพยนตร์ และความชาญฉลาดอันลึกล�้ำที่ส่งให้ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นสื่อภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เข้าถึงสาธารณชนโดยผ่านสื่อภาพยนตร์และโทรทัศน์ได้ดีที่สุด ต�ำนานป่า ตอน อาณาจักรเงา
ผู้ก�ำกับ: Jan Haft | ผู้อ�ำนวยการสร้าง: nautilusfilm GmbH für Studio Hamburg Produktion GmbH | ชื่อเดิม: Mythos Wald : Tierparadies und Schattenreich | ชื่อภาษาอังกฤษ: The Forest - Realm of Shadows | ปีที่สร้าง: 2552 | ประเทศ: เยอรมนี | ความยาว: 43 นาที | กลุ่มอายุที่แนะน�ำ: ทุกกลุ่มอายุ | ประเภท: ภาพยนตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการลงมติเป็นเอกฉันท์ที่จะมอบรางวัลพิเศษจากคณะกรรมการให้แก่ภาพยนตร์เรื่องนี้ซึ่งเป็น ภาพยนตร์ที่เข้ากับหัวข้อของเทศกาลฯในปีนี้ได้เป็นอย่างดีอีกทั้งเนื้อหาที่ได้น�ำเสนอนั้นให้ทั้งความรู้ทางด้าน นิเวศวิทยาและอารมณ์ความรู้สึกร่วม แม้ว่าภาพยนตร์ใช้เวลาด�ำเนินเรื่องค่อนข้างยาวแต่คณะกรรมการยังคง รูส้ กึ สนุกในการรับชมและเห็นพ้องว่าเป็นการถ่ายท�ำภาพยนตร์ทเี่ ยีย่ มยอดและยังเหมาะสมกับรางวัลประเภทอืน่ ๆ ด้วยเช่นกันเนือ่ งจากเป็นภาพยนตร์ ที่ให้ความรู้คู่ความบันเทิงอย่างแท้จริงดังนั้นจึงท�ำให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลพิเศษจากคณะกรรมการไปครอง
14
กิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับงานเทศกาลภาพยนตร วิทยาศาสตรเพือ่ การเรียนรู เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ระดับภูมิภาคอาเซียน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมาเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีและประสบความส�ำเร็จทั้งในห้าประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางผูจ้ ดั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาเทศกาลฯอย่างต่อเนือ่ งให้กลายเป็นเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ทจี่ ดั ขึน้ ในทุกประเทศ ของอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 และสร้างความเชื่อมโยงในระดับภูมิภาคด้วยการมอบความรู้คู่ความบันเทิงผ่านสื่อภาพยนตร์และโทรทัศน์เพื่อเปิด โอกาสให้เยาวชนได้เข้าถึงความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งอาเซียนปี พ.ศ. 2554 ปิดฉากลงด้วยจ�ำนวนผู้เข้าชมที่ท�ำลายสถิติสูงถึง 237,591 คน ใน ประเทศกัมพูชามีจ�ำนวนผู้เข้าชม 19,790 คน อินโดนีเซีย 27,000 คน มาเลเซีย 11,700 คน ฟิลิปปินส์ 23,000 คน ไทย 139,101 คน และ เวียดนาม 17,000 คน เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ระดับภูมิภาคอาเซียนจัดขึ้นพร้อมกันในทุกประเทศที่เข้าร่วมภายใต้โครงสร้างการจัดการแบบ เดียวกัน อย่างไรก็ตามในบางประเทศนั้นมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายและวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ภาพยนตร์ทุก เรื่องได้รับการพากย์เป็นภาษาประจ�ำชาตินั้นๆ เพื่อให้ผู้ชมได้รับอรรถรสในการชมภาพยนตร์ ด้วยจ�ำนวนผู้เข้าชมเทศกาลฯ ในปี พ.ศ. 2554 ท�ำให้เราเชื่อมั่นว่าเราเป็นเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในระดับภูมิภาคอาเซียนที่ใหญ่ที่สุดใน โลกในแง่ของจ�ำนวนผูเ้ ข้าชมเทศกาลฯและยังเป็นทีย่ อมรับว่าเป็นหนึง่ ผลงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ในการริเริม่ ให้ผชู้ มได้เข้าถึงความรูค้ คู่ วามบันเทิง ในระดับภูมิภาคอาเซียน
ซีดอกซ์ 2554 โครงการประกวดภาพยนตร์สารคดีสั้นของนักเรียน นิสิตและนักศึกษาในระดับภูมิภาคอาเซียน โครงการซีดอกซ์ หรือ โครงการประกวดภาพยนตร์สารคดีสนั้ ของนักเรียน นิสติ และนักศึกษาในระดับภูมภิ าคอาเซียนเป็นโครงการทีก่ ระตุน้ ให้ผู้ รักการท�ำภาพยนตร์สารคดีในระดับภูมภิ าคอาเซียนได้มโี อกาสแสดงความสามารถด้านการผลิตภาพยนตร์สารคดีในบริบทของสังคมและสิง่ แวดล้อม ในปีพ.ศ. 2554 โครงการซีดอกซ์ ได้เชิญชวนให้ นิสิตและนักศึกษาที่มีอายุระหว่าง 18 - 28 ปี ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และ เวียดนามส่งภาพยนตร์สารคดีสั้นเข้าประกวด ในหัวข้อที่เกี่ยวกับป่าไม้ โดยมีชื่อว่า “ต้นไม้แห่งชีวิต เมล็ดพันธุ์ แห่งการเปลี่ยนแปลง” ผูท้ ผี่ า่ นการคัดเลือกของแต่ละประเทศจะได้รบั ค�ำแนะน�ำและอยูภ่ ายใต้การดูแลจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการผลิตภาพยนตร์สารคดีของประเทศนัน้ ๆ ในระยะเวลา 8 สัปดาห์ของการผลิตภาพยนตร์ซึ่งพวกเขาจะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 300 ดอลลาร์สหรัฐส�ำหรับการผลิตภาพยนตร์สารคดีสั้นที่มี เนื้อหาสอดคล้องกับป่าไม้
15
ผู้ที่เข้ารอบสุดท้ายทั้ง 3 ท่าน จะได้รับรางวัลเงินสดจ�ำนวน 500 ดอลลาร์สหรัฐ และส�ำหรับผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจะได้รับเงินสนับสนุน เพิ่มเติมอีกจ�ำนวน 5,000 ดอลลาร์สหรัฐเพื่อท�ำการผลิตภาพยนตร์สารคดีส�ำหรับปีพ.ศ. 2555 รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 คือ ไท ประดิษฐเกสร จากประเทศไทย กับภาพยนตร์เรื่อง The Gardener รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 คือ ธนากร ลีระมาศ จากประเทศไทย กับภาพยนตร์เรื่อง The Great Effect รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 คือ Pham Mai Phuong จากประเทศเวียดนาม กับภาพยนตร์เรื่อง Heavenly Appointment
รายการ ไอ กอท อิท ความร่วมมือระดับภูมิภาคอาเซียนในการผลิตรายการโทรทัศน์ด้านสาระบันเทิงส�ำหรับเด็กและเยาวชน ด้วยความพยายามอย่างต่อเนื่องส�ำหรับการจัดงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้โดยมีจุดประสงค์ที่จะเผยแพร่และส่งเสริม ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงท�ำให้สถาบันเกอเธ่ได้ร่วมกับสถานีโทรทัศน์ของภาครัฐและประชาชนในเก้าประเทศ ของภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ ไทยและเวียดนาม ร่วม กันผลิตรายการไอกอทอิท เป็นรายการโทรทัศน์สาระบันเทิงด้านวิทยาศาสตร์ส�ำหรับเด็กชุดใหม่ ในปีแรกของการผลิตรายการ (ตุลาคม พ.ศ. 2553 - มกราคม พ.ศ. 2554) ประกอบด้วย 26 ตอน สลับกันออกอากาศใน 7 ประเทศ (ไม่รวมประเทศ บรูไน และพม่า) ตลอดปีพ.ศ. 2553 ส�ำหรับปีที่ สองในการผลิตรายการตลอดปีพ.ศ. 2554 จะประกอบด้วย 26 ตอนและออกอากาศในเก้าประเทศที่เข้าร่วมตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 และการผลิตรายการปีที่สามจะมีขึ้นตลอดปีพ.ศ. 2555 รายการนีเ้ ป็นความร่วมมือในการผลิตรายการระหว่างสถานีโทรทัศน์ของภาครัฐและประชาชนดังกล่าวข้างต้นซึง่ ได้รบั การสนับสนุนจากสถาบัน เกอเธ่ รายการนี้จะน�ำเสนอในภาษาประจ�ำชาติพร้อมด้วยพิธีกรของประเทศนั้นๆ และในบางสถานีจะมีการช่วยสนับสนุนทางการเงินในส่วนหนึ่ง โครงการนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาการผลิตรายการโทรทัศน์ด้านวิทยาศาสตร์ส�ำหรับเด็กอย่างยั่งยืนโดยการรวมกลยุทธ์เพื่อสร้างมาตรการการ เสริมสร้างศักยภาพความก้าวหน้าของการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เหมาะส�ำหรับเด็กให้เกิดขึ้นจริงได้ในระยะยาวจนเป็นที่ยอมรับในมาตรฐานระดับ นานาชาติและเป็นการร่วมงานแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมข้ามพรมแดน
16
สือ่ ประชาสัมพันธ สื่อประชาสัมพันธ์นับว่าเป็นสิ่งที่ส�าคัญส�าหรับงานเทศกาลฯเนื่องด้วยการจัดเทศกาลฯนั้นมีขึ้นในหลายศูนย์จัดฉายและทางผู้จัดงานมีความ ประสงค์ทจี่ ะให้เทศกาลฯมีการใช้สอื่ ประชาสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ในระดับภูมภิ าคมีการปรับเปลีย่ นรูปแบบสือ่ ประชาสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับ ประเทศนั้นๆแต่ยังคงความเป็นหนึ่งเดียวทั่วทั้งภูมิภาครวมทั้งประเทศไทย รายละเอียดของสื่อประชาสัมพันธ์ด้านล่างนี้เป็นของเทศกาลภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
เทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรู “เรามอบความรูคูความบันเทิง” 18 - 31 มกราคม 2555
ณ ศูนยจัดฉาย โรงภาพยนตรเอสพลานาด ซีนีเพล็กซ งามวงศวาน - แคราย ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา (ทองฟาจำลองกรุงเทพ) BTS เอกมัย สวทช. อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย คลองหลวง สสวท. รวมกับศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา 15 แหง หอภาพยนตร (องคการมหาชน) ศาลายา นครปฐม
• • • • •
องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) เทคโนธานี คลอง 5 จัตุรัสวิทยาศาสตร อพวช. จามจุรีสแควร สามยาน เทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรู อุทยานการเรียนรู TK park อาคารศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด ชั้น 8 Dazzle Zone “เรามอบความรู คูความบันเทิง” อุทยานการเรียนรูเมืองนครศรีธรรมราช 18 - 31 มกราคม 2555 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.goethe.de/sciencefilmfestival
แผ่นพับ โปสเตอร์ แคททะลอก ปากกา เสื้อยืด T-Shirts แบนเนอร์ แบคดรอป
30,500 1,200 5,500 2,000 1,000 22 2
m Rath ulation: 300,000 Rate: 1,050
17
การตอบรับของสือ่
Siam Rath Circulation: 750,000 Ad Rate: 1,050
Section: เศรษฐกิจ/การศึกษา วันที่: พฤหัสบดี 2 กุมภาพันธ์ 2555 ปีที่: 62 ฉบับที่: 21465 หน้า: 17(ล่าง) Col.Inch: 109.82 Ad Value: 115,311 PRValue (x3): 345,933 คอลัมน์: รอบรั้วการศึกษา: เที่ยวหอภาพยนตร์ ดูหนังวิทยาศาสตร์
คลิป: สี่สี
ในแง่การน�ำเสนอข่าวเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ฯในหน้าหนังสือพิมพ์อยู่ที่ประมาณ 4.52 ล้านเล่มซึ่งนอกเหนือจากการให้สัมภาษณ์ทาง โทรทัศน์และการรายงานข่าวสามารถรับชมได้จากข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต (สามารถดูข้อมูลได้จากแผ่นซีดีรอมภาพข่าวส�ำหรับงานเทศกาลฯ)
Section: เศรษฐกิจ/การศึกษา วันที่: พุธ 4 มกราคม 2555 ปีที่: 62 ฉบับที่: 21436 หน้า: 17(บนซ้าย) Col.Inch: 6.92 Ad Value: 7,266 PRValue (x3): 21,798 คอลัมน์: แวดวงของเรา: เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ 850,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์ข่าวสด 850,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์มติชน 830,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์คมชัด ลึก 800,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์สยามรัฐ 300,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์ เอเอสทีวี ผู้จัดการรายวัน 300,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ 220,000 ฉบับ นิตยสาร อะเดย์ บูเลอติน 150,000 ฉบับ หนังสือพิมพ์ คลิป: สีกรุ ่สี งเทพธุรกิจ 145,530 ฉบับ นิตยสารไทยแลนด์ แท็ทเล่อร์ 50,000 ฉบับ นิตยสาร บี เค แมกกาซีน 30,000 ฉบับ รวมทั้งการรายงาน ข่าวออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์โมเดิรน์ ไนน์ทวี ี สถานีโทรทัศน์ไทย พีบีเอส สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานี โทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี และสถานีวิทยุ Seed Section: กีฬา/การศึ Radio 92.00 FMกษา วันที่: ศุกร์ 27 มกราคม 2555 Daily News (Mid-Day) Circulation: 850,000 Ad Rate: 2,100
รหัสข่าว: C-120202021078
สข่าว: C-120104021053
ปีที่: ฉบับที่: 22751 หน้า: 22(ล่าง) Col.Inch: 115.13 Ad Value: 241,773 PRValue (x3): 725,319 หัวข้อข่าว: ดูหนังวิทย์เพื่อการเรียนรู้ปลุกสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
คลิป: สี่สี
หน้า: 1/2
รหัสข่าว: C-120127035126
หน้า: 1/1
หน้า: 1/2
18
การประเมินผล การประเมินผลของผู้เข้าชมเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ฯในปี พ.ศ. 2554 มีจ�านวนผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด 3,064 คน แบบประเมิณที่ได้นั้น มาจากทุกศูนย์จัดฉายในประเทศไทยโดยวิธีการสุ่มเลือก นอกจากนี้การประเมินผลนั้นยังมีความชัดเจนและตรงไปตรงมาซึ่งมีดังต่อไปนี้ 1. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงจ�ำนวนผู้เข้ำชมเทศกำลฯทั ้งหมดซึ่งจ�ำGender แนกตำมเพศ Respondent Respondent Gender No Answer 6% No Answer 6%
Male 42%
Female 52%
Male Female
Male 42%
No Answer Male
Female 52%
Female No Answer
2. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงจ�ำนวนผู้เข้ำชมเทศกำลฯทั้งหมดซึ่งจ�ำแนกตำมอำยุ Age Group
45%
Age Group
40%
45% 40%
4%
< 12 12
4% 12to16 17to19 12to16 17to19
3%
5%
3% 3% 20to26 26 up
5%
3%
20to26 26 up
No Answer No Answer
3. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงจ�ำนวนผู้เข้ำชมเทศกำลฯทัEducational ้งหมดซึ่งจ�ำแนกตำมระดั Level บกำรศึกษำ Educational Level
High School 5%
No Answer 19%
No Answer 19% Middle School High School 5% 27% Middle School 27%
Elementary 49% Elementary 49%
Elementary Middle School Highschool Elementary No Answer Middle School Highschool No Answer
19
4. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงจ�ำนวนผู้เข้ำชมเทศกำลฯทั ้งหมดซึ่งCompetence จ�ำแนกตำมควำมสำมำรถในกำรเข้ำใจเกี่ยวกับภำษำ Language 81%
15% 1% Thai
English
German
1%
French
2%
No Answer
5. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงควำมพึงพอใจต่อภำพยนตร์ของผู้เข้ำชมเทศกำลฯ กิจกรรมในศูนย์จัดฉำย สถำนที่จัดฉำย และภำพรวมเทศกำลฯ Satisfaction 1%
3% Respondent Gender 12%
Films
28% 49%
7% 1%
No Answer 6%
3%
11% 4%
Venue
Not At All 1
15%
Activities
3
Male
4
FemaleVery Much 5
16%
No Answer 44% No Answer
16% 1%
2 40%
Male 42%
7%
Female 13% 52%
30%
2% 11%
Overall
28% 48%
10%
6. กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงลักษณะกำรเข้ำชมเทศกำลฯ Festival Attendance
Individually 4%
No Answer 16% With School 80%
With School Individually No Answer
20
การประเมินผล
7.
How did you find out about Science Festival 2011? กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงกำรรับทรำบข่ำวเกี่ยthe วกับเทศกำลฯ
Passed by
8.
Attendet Last Year
Media
Invitation by School
Did watching the films make you interested in กรำฟนี้แสดงให้เห็นถึงควำมสนใจของผู้เข้science? ำชมเทศกำลฯ เกี่ยวกับวิทยำศำสตร์เพิ่มมำกขึ้นหลังจำกได้ชมภำพยนตร์ No Answer, 10%
No 2%
Yes 88%
9.
others
Did the films explain the กรำฟนี้แสดงให้เห็นว่ำภำพยนตร์ได้ให้ควำมบันเทิsubject งตำมเนื้อtoหำyou entertainingly? No Answer 12% No 2%
Yes 86%
21
10.
Did the films explain the subject to you in a way กรำฟนี้แสดงให้เห็นว่ำภำพยนตร์อธิบำยเนืeasy ้อหำได้toเข้ำunderstand? ใจ No Answer, 12% No 2%
Yes 86%
Would you consider 11. กรำฟนี้แสดงให้เห็นว่ำนักเรียนที่เข้ำชมเทศกำลฯ จะหันมำเลื อกเรียนวิstudy ชำวิทยำศำสตร์เมื่อเข้ำเรียนในระดับมหำวิทยำลัย science?
No Answer 16%
No 20% Yes 64%
12.
Would you like the Festival to be organized in มthe 2012? วิทยำศำสตร์ขึ้นอีกในปีพ.ศ. 2555 กรำฟนี้แสดงให้เห็นว่ำผู้เข้ำชมเทศกำลฯ ประสงค์ที่จะให้ ีกำรจัyear ดเทศกำลภำพยนตร์ No Answer 16% No 2%
Yes 82%
22
เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้จะไม่สามารถจัดขึ้นได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนและความช่วยเหลือ เป็นอย่างดีจากผู้ร่วมงาน ผู้ถ่ายท�ำภาพยนตร์ ผู้อ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์ ตัวแทนต่างๆ สื่อมวลชน ศูนย์จัดฉาย และผู้อุปถัมภ์เทศกาลฯ องค์กรต่างๆ ผู้จัดงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ขอขอบคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงส�ำหรับความร่วมมืออย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้ร่วมงานกันอีกครั้งส�ำหรับงานเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้แห่งประเทศไทย เรามอบความรู้คู่ความบันเทิง ครั้งที่ 8 ในปีพ.ศ. 2555
23
24
Page 24 â&#x20AC;&#x201C; BACK COVER No logos needed, like in Indonesian one, BUT please have festival website: www.goethe.de/ sciencefilmfestival
www.goethe.de/sciencefilmfestival