รายงานการเงินฐานราก

Page 1

FINANCIAL INCLUSION DEVELOPMENT AND POLICY BUREAU ( FIDP )

รายงานการเงินฐานราก


รายงานการเงินฐานราก

FINANCIAL INCLUSION DEVELOPMENT AND POLICY BUREAU ( FIDP )

สำนักนโยบำยพัฒนำระบบกำรเงินภำคประชำชน (สพช.) สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง ไตรมำสที่ 2 ปี 2556

สรุ ปภาพรวมผลการดาเนินงาน ระบบการเงินฐานรากในประเทศไทย การเงินฐานรากในประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมการเข้าถึงบริการทาง การเงิ นของประชาชนและการเสริ ม สร้ างความเข้ ม แข็ งให้ กั บเศรษฐกิ จชุ ม ชน ในปั จ จุ บัน สถาบันการเงินที่ให้บริการทางการเงินแก่ประชาชนระดับฐานรากในประเทศไทยแบ่งออกได้ เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่ ม ในระบบ ประกอบด้ ว ยสถาบั น การเงิน ที่ มีก ฎหมายรองรั บ เช่ น ธนาคาร พาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) และบริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้ การกากับ (Non-bank) 2) กลุ่มกึ่งในระบบ ประกอบด้วยสถาบันที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะในการส่งเสริมการ ออมและการใช้เงินทุนภายในชุมชน ได้แก่ สหกรณ์ และกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือ ง 3) กลุ่มพึ่งตนเอง ประกอบด้วยองค์กรการเงินที่เกิดขึ้นด้วยการจัดตั้งของชุมชนเอง มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการออมและให้บริการทางการเงินภายในชุมชน เช่น กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กลุ่มออมทรัพย์ทั่วไป และกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เป็นต้น หากพิจารณาถึงสินเชื่อรายย่อยหรือสินเชื่อที่มีวงเงินไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท (ตาราง 1) พบว่า สัดส่วนของสินเชื่อรายย่อยต่อสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ใกล้เคียงกับสัดส่วน ของสินเชื่อรายย่อยต่อ สินเชื่อรวมของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ กล่าวคือธนาคารพาณิชย์ให้ สินเชื่ อรายย่อ ยประมาณ ๓.๗ แสนล้า นบาท หรือร้ อยละ 3.29 จากสินเชื่ อรวมประมาณ 11.2 ล้านล้านบาท ส่วนสถาบันการเงินเฉพาะกิจให้สินเชื่อรายย่อยประมาณ ๑.4 แสนล้าน บาท หรือร้อยละ 3.67 ของสินเชื่อรวมประมาณ 3.8 ล้านล้านบาท ขณะที่บริษัทผู้ประกอบ ธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ (Non-bank) เป็นผู้ที่มีสัดส่วนการให้สินเชื่อรายย่อย มากที่สุด ประมาณ 1.2 แสนล้านบาท หรือร้อยละ 94.57 ของสินเชื่อรวมประมาณ 1.3 แสนล้านบาท อย่างไรก็ดี หากพิจารณาถึงสินเชื่อตามโครงการต่าง ๆ ที่ระบุวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สินเชื่อระดับฐานราก ทั้งจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารกรุงไทย กลุ่มผู้ให้สินเชื่อส่วน บุคคล กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง สหกรณ์ และกลุ่มออมทรัพย์ต่าง ๆ (ตาราง 2 ) สินเชื่อ ฐานรากจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจยังมีบทบาทสูงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสัดส่วนการให้สินเชื่อที่ คิดเป็นร้อยละ 58.88 ของสินเชื่อฐานรากทั้งหมด ตามด้วยสินเชื่อจากสหกรณ์ที่ร้อยละ ๓๐. 47 ของสินเชื่อฐานรากทั้งหมด และสินเชื่อจากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่ร้อยละ 3.๗0 ของสินเชื่อฐานรากทั้งหมด ทั้งนี้ สัดส่วนการให้สินเชื่อของกลุม่ พึ่งตนเองยังมีน้อยกว่าร้อยละ ๑ ของสินเชื่อฐานรากทั้งหมด แม้ สถาบั น การเงิ นต่ าง ๆ จะมีก ารให้สิ น เชื่ อกั บประชาชนระดับฐานราก แต่ยัง มี ประชาชนกลุ่มหนึ่งที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงิน โดยในปี 2553 ธนาคารแห่งประเทศ ไทยได้ทาการสารวจการเข้าถึงบริการทางการเงินภาคครัวเรือน (แผนภาพ 1) พบว่า ร้อยละ 82.07 มีการใช้บริการทางการเงิน ในระบบหรือกึ่งในระบบ ร้อยละ 2.51 ใช้บริการนายทุน นอกระบบ ร้ อยละ 15.42 ไม่มีการใช้บริการ โดยแบ่งเป็นร้อยละ 11.92 ที่เลือกจะไม่ใช้ บริการ และร้อยละ 3.50 ที่มีความต้องการบริการทางการเงิน แต่ไม่สามารถเข้าถึงได้ โดย ครัวเรือนที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงิน มักเป็นครัวเรือนที่มีรายได้ต่าสุดถึงปานกลาง อาศัยในเขตนอกเมือ ง โดยเฉพาะในภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ แสดงให้เ ห็นถึ ง ช่องว่างของระบบการเงินในประเทศไทย

ตำรำง 1 สินเชื่อสำหรับประชำชนระดับฐำนรำกกลุ่มในระบบ (วงเงินไม่เกิน 200,000 บำท) สินเชื่อสำหรับประชำชนระดับฐำนรำกกลุ่มในระบบ(วงเงินไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บำท) สินเชื่อฐำนรำก ร้อยละ สินเชื่อรวม (ลบ.) (ลบ.) ๑. สินเชื่อฐานราก ธพ. ๑๑,๒๗๗,๗๓๘ ๓๗๑,๓๔๔ ๓.๒๙ ๒. สินเชื่อฐานราก สง. เฉพาะกิจ ๓,๗๗๕,๑๙๘ ๑๓๘,๔๕๐ ๓.๖๗ ๑๒3,๕58.83 94.57 ๓. สินเชื่อส่วนบุคคล Non-bank ๑3๐,654.14 ๑๕,๑8๓,๕90.14 ๖๓3,๓52.83 รวมสินเชื่อฐำนรำกของ สง.ใน ๔.๑7 ระบบ (ธพ.+SFLs+Non-bank) ที่มำ : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชำติ จำกัด (ข้อมูล ณ ธันวำคม 2555)

ตำรำง 2 สินเชื่อสำหรับประชำชนระดับฐำนรำก สินเชื่อสำหรับประชำชนระดับฐำนรำก ๑. กลุ่มในระบบ : สินเชื่อฐานราก กรุงไทย สินเชื่อฐานราก สง. เฉพาะกิจ สินเชื่อส่วนบุคคล Non-bank รวมสินเชื่อฐำนรำกของ สง. ในระบบ (ธพ.+SFLs) ๒. กลุ่มกึ่งในระบบ : สหกรณ์ เครดิตยูเนียน กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ๓. กลุ่มพึ่งตนเอง : กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มออมทรัพย์ ธนาคารหมู่บ้าน กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ ลงทะเบียนหนี้นอกระบบ ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ รวมสินเชื่อฐำนรำกทั้งหมด

ล้ำนบำท ๑,๖๑๘.๙๘ ๒,๒๗๓,๖๓๗.๘๗ ๑3๐,654.14 ๒,405,910.99 ๑,๑๗๗,๐๖๘.๑๕ ๑๔๓,๐๙๒.๐๒ ๑๒,๔๕๓.๐๐ ๑,๕๖๑.๐๙ ๑๘.๘๘ ๓๖.๗๐ ๑๒๓,๒๓๔.๔๒ ๓,๘๕๓,๓๐๔.๑๑

ร้อยละ ๐.๐๔ ๕8.88 ๓.38 ๖๒.27 ๓๐.47 ๓.๗0 ๐.๓๒ ๐.๐๔ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓.19 ๑๐๐.๐๐

ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย, สถำบันกำรเงินเฉพำะกิจ, กรมตรวจบัญชีสหกรณ์, สำนักงำนกองทุน หมู่บ้ำนและชุมชนเมืองแห่งชำติ, กรมกำรพัฒนำชุมชน, สถำบันพัฒนำองค์กรชุมชน และกรมบัญชีกลำง (ข้อมูล ณ ธันวำคม 2555)

แผนภำพ ๑ ผลสำรวจกำรเข้ำถึงบริกำรกำรเงิน

1 ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย

1


นโยบายภาครั ฐกับบทบาทของ สพช. โครงการพักหนีฯ้ โครงการพักหนี เ้ กษตรกรรายย่ อยและประชาชนผู้มีรายได้ น้อยที่มีหนี ค้ งค้ าง FINANCIAL INCLUSION DEVELOPMENT AND POLICY BUREAU ( FIDP )

ต่ ากว่ า ๕00,000 บาท เป็ นเวลา ๓ ปี ด าเนิ น การผ่า นสถาบัน การเงิน เฉพาะกิ จ มีกลุ่มเป้าหมาย ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มลูกหนีท้ ี่มีปัญหาการชาระหนี ้ สามารถพักชาระต้ น เงินกู้และไม่ต้องชาระดอกเบี ้ย ๓ ปี และกลุม่ ลูกหนี ้ที่มีสถานะปกติ สามารถเลือก (๑) พักเงินต้ นและลดอัตราดอกเบีย้ หรื อ (๒) ลดอัตราดอกเบีย้ โดยไม่พักเงินต้ น ทัง้ นี ้ ลูกหนี ้ที่มีปัญหาการชาระหนี ้ ต้ องเข้ ารับการอบรมฟื น้ ฟูศกั ยภาพและจัดทาแผนการ ชาระหนี ้ใหม่ ประโยชน์ จากโครงการพักหนีฯ้ มีสว่ นช่วยในการกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประมาณร้ อยละ ๐.๔ – ๐.๗ ต่อปี คิดเป็ นเงินประมาณ ๔๔,๐๐๐ ล้ านบาทต่อปี นอกจากนี ้กลุม่ ลูกหนีท้ ี่มีปัญหาการชาระหนี ้ สามารถนาทักษะจากการอบรมอาชีพมาสร้ างรายได้ และยังสร้ างความรู้ทางการเงิน ผ่านการ จัดทาบัญชีครัวเรือน สาหรับกลุม่ ลูกหนี ้ที่มีสถานะปกติจะมีความคล่องตัวในการนาเงินไปใช้ จ่ายที่จาเป็ น และสามารถกู้เงินเพิ่มเติมได้ เพื่อเพิ่มโอกาสใน การประกอบอาชีพ

โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกร โครงการบัตรสินเชิ่อเกษตรกร เป็ นบัตรเครดิตรูปแบบหนึ่งแตกต่างจากบัตรเครดิต ทัว่ ไป คือ เมื่อใช้ ซือ้ สินค้ าจะเกิดดอกเบีย้ ทันที และเกษตรกรสามารถนาไปใช้ ซือ้ ได้ เฉพาะปั จจัยการผลิตจากร้ านค้ าที่ขึน้ ทะเบียนกับธ.ก.ส. เท่านัน้ วงเงินสินเชื่อไม่เกิน ร้ อยละ ๗๐ ของมูลค่าผลผลิตส่วนเหลือเพื่อขาย โดยวงเงินสินเชื่อที่ได้ รับ จะแบ่งการ จ่ายตามวงเงินที่ได้ รับเป็ น ๒ ส่วน ได้ แก่ (๑) ส่วนแรกจะเบิกจ่ายเป็ นเงินสด เพื่อเป็ น ค่าใช้ จา่ ยในการผลิตที่ต้องชาระเป็ นเงินสด เช่น ค่าจ้ าง และ (๒) ส่วนที่ ๒ จะจ่ายผ่าน บัตรสินเชื่อเกษตรกร เพื่อใช้ ซือ้ ปั จจัยการผลิตตามแผนการใช้ จ่าย เช่น ค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเมล็ดพันธุ์ เป็ นต้ น ประโยชน์ จากโครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกร จากการที่เพิ่มวงเงินให้ มากขึ ้น ๑๐% จากปกติช่วยให้ เกษตรกรเข้ าถึงแหล่งเงินทุนมากขึน้ อัตราดอกเบี ้ย ที่ผ่อนปรนกว่าสินเชื่อปกติ จึงช่วยลดภาระรายจ่ายได้ ทังยั ้ งมีความยืดหยุ่นในการชาระเงิน จากการที่มีระยะเวลาปลอดดอกเบี ้ยถึง ๓๐ วัน จึงช่วยให้ เกษตรกรสามารถบริ หารเงินได้ สะดวกขึน้ นอกจากนีไ้ ม่ก่อให้ เกิ ดปั ญหา Moral Hazard เนื่องจากวงเงินในบัตรเครดิตสามารถใช้ ซื ้อได้ เฉพาะปั จจัยการ ผลิตจากร้ านค้ าที่ขึ ้นทะเบียนกับ ธ.ก.ส. เท่านัน้ ผลการดาเนินโครงการฯ ณ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ มีการจัดทาบัตรแล้ ว ๒.๑๙ ล้ านบัตร ส่งถึงสาขา ธ.ก.ส. ๒.๐๓ ล้ านบัตร ส่งมอบให้ เกษตรกรแล้ ว ๑.๓๖ ล้ านบัตร และมีร้านค้ าที่เข้ าร่วมโครงการ จานวน ๔,๐๐๐ ร้ านค้ า จาแนกเป็ นร้ านค้ าสหกรณ์การตลาดเพื่อลูกค้ า ธ.ก.ส. (สกต.) จานวน ๒,๒๐๐ แห่ง สหกรณ์การเกษตร (สกก.) จานวน ๒๒๐ แห่ง ร้ านค้ าท้ องถิ่น ๑,๒๑๐ แห่ง และสถานีบริการน ้ามัน ๓๗๐ แห่ง 2


ข่ าวสารและกิจกรรม สพช.

FINANCIAL INCLUSION DEVELOPMENT AND POLICY BUREAU ( FIDP )

รู้ จักกับ สพช. สำนักนโยบำยพัฒนำระบบกำรเงินภำคประชำชน หรือ สพช. มีบทบำทหน้ำที่ในกำรสร้ำง ควำมเข้มแข็งทำงกำรเงินให้กับประชำชนระดับฐำนรำก ให้สำมำรถพึ่งพำตนเองได้อย่ำงยั่งยืน สพช. มีกำรแบ่งส่วนงำนภำยในออกเป็น ๕ ส่วน โดยแต่ละส่วนมีภำรกิจสำคัญ ดังนี้

๑. ส่วนกลยุทธ์และพัฒนำระบบกำรเงินภำคประชำชน • วางแผนและพัฒนาระบบการเงินระดับฐานราก เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางการเงินอย่างทั่วถึง เพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนระดับฐานราก ๒. ส่วนกลยุทธ์และพัฒนำระบบควำมคุ้มครองทำงสังคม • สร้างความมั่นคงและการเพิ่มขึ้นของรายได้ของประชาชชนระดับฐานราก โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้แต่ละชุมชนมีระบบ ความคุ้มครองทางสังคม รวมทั้งส่งเสริมรูปแบบการออมในระดับชุมชน ติดตามการดาเนินงานของกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง โครงการพัฒนาเมือง และการสนับสนุนเงินทุนให้แก่วิสาหกิจชุมชน ๓. ส่วนอำนวยกำรปฏิบัติกำรแก้ไขปัญหำหนี้สินภำคประชำชน • ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินของประชาชนทั้งหนี้ในระบบและหนี้นอกระบบ รวมทั้ง การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือประชาชนที่มีปัญหาด้านหนี้สิน ๔. ส่วนป้องปรำมกำรเงินนอกระบบ • สร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชนกลุ่มฐานรากโดยเน้นเรื่องการวางมาตรการป้องปรามการเงินนอกระบบ ตลอดจน รับข้อร้องเรียน ตรวจสอบ ติดตามพฤติกรรมที่เป็นความผิดเรื่องการเงินนอกระบบ ๕. ส่วนสำรสนเทศระบบกำรเงินและกำรออมภำคประชำชน • จัดทาฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการศึกษา วิเคราะห์ และวางแผน เพื่อเสนอแนะมาตรการและนโยบายแก้ไขปัญหา การเข้าถึงบริการทางการเงินของประชาชนระดับฐานราก

3


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.