October 2012
Macro Morning Focus
Bureau of Macroeconomic Policy
Macro Morning Focus Summary 1. นักเศรษฐศาสตร์ มองศก.ไทยยังขาลง 2. ออร์ เดอร์ ส่งออกไก่ กระฉูด 3. ราคานา้ มัน WTI ร่ วง 1.04 USD เหตุวิตกเศรษฐกิจโลกชะลอตัว Highlight
1.นักเศรษฐศาสตร์ มองศก.ไทยยังขาลง ศูนย์วิจยั มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) เผยผลสารวจความเห็นนักเศรษฐศาสตร์ จากองค์กรชั ้น นา 30 แห่ง จานวน 67 คน ที่ผ่านมา เรื่ อง “ดัชนีความเชื่อมัน่ นักเศรษฐศาสตร์ ต่อเศรษฐกิจไทยใน 3-6 เดือนข้ างหน้ า” พบว่า ค่าดัชนีความเชื่อมัน่ ฯ อยู่ในระดับ 47.18 จากปั จจุบนั อยู่ที่ระดับ 45.18 ซึ่งเป็ น ระดับที่ต่ ากว่า 50 เป็ นครั ง้ ที่ 4 ติดต่อกัน แสดงให้ เห็นว่า เศรษฐกิ จไทยอยู่ในสถานะอ่อนแออย่าง ต่อเนื่องนับจากต้ นปี โดยสถานะเศรษฐกิจที่อ่อนแอดังกล่าวเป็ นผลมาจากปั จจัยการส่งออกเป็ นสาคัญ สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจไทยปี 55 จะยังคงขยายตัวได้ เป็ นปกติท่ รี ้ อยละ 5.5 (โดยมีช่ว ง คาดการณ์ ท่รี ้ อยละ 5.3 – 5.8) โดยได้ รับปั จจัยบวกจากอุปสงค์ ภาคเอกชน ทัง้ การบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชนที่สามารถฟื ้ นตัวกลั บมาสู่ท่ ีระดับก่ อนอุ ทกภัยเมื่ อปลายปี 54 ได้ แล้ ว นอกจากนี ้ ยั ง ได้ รั บ อานิ ส งค์ จ ากนโยบายภาครั ฐ เช่ น การเพิ่ม ค่ า จ้ า ง 300 บาท การขึ น้ เงินเดือนข้ าราชการ โครงการรั บจานาข้ าว โครงการบ้ านหลังแรก-รถคันแรก และการทยอย ปรั บ ลดภาษีเงินได้ นิติบุค คล ซึ่งจะเป็ นปั จจั ยที่จ ะช่ วยสนั บ สนุ นการใช้ จ่ ายและการลงทุน ภายในประเทศ อย่ า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ ในปี นี ย้ ั ง คงต้ อ งเผชิญ กั บ ปั จจั ย เสี่ ย งจากภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบางจากปั ญหาหนีส้ าธารณะในกลุ่มประเทศยุโรป ที่ส่งผลกระทบ ต่ อภาคการส่ งออกของไทย ทัง้ นี ้ ส่ งออกของไทยยังคงหดตัวต่ อเนื่องโดย 8 เดือนแรกหดตัวที่ ร้ อยละ -1.3 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน 2. ออร์ เดอร์ ส่งออกไก่ กระฉูด นางฉวี ว รรณ ค าพา นายกสมาคมส่ง เสริ มการเลี ย้ งไก่ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เปิ ดเผยว่ า ในขณะนี ้ ผู้ประกอบการทุกประเทศได้ ปรั บ ราคาไก่เ นื อ้ เพื่ อการส่ งออกมากขึน้ ทัง้ บราซิล และสหรั ฐอเมริ ก า เนื่องจากทุกประเทศประสบปั ญหาต้ นทุนการผลิตสูงจากราคาธัญพืชมีราคาแพง ส่งผลให้ ประเทศผู้ นาเข้ า ทั ้งสหภาพยุโรป ญี่ปนุ่ ประเทศในตะวันออกกลาง และแอฟริกา หันมาสัง่ ซื ้อไก่เนื ้อจากไทยมาก ขึ ้น พร้ อมทัง้ เร่ งการจัดส่งสินค้ าเพื่อให้ ทันกับช่วงเทศกาลปลายปี นี ้ โดยตลาดในสหภาพยุโรปพบว่า สต๊ อกในประเทศเริ่มลดลงทาให้ ต้องเร่งนาเข้ าจานวนมากในช่วงนี ้ สศค. วิเคราะห์ ว่ า การส่ งออกไก่ มีสัดส่ วนร้ อ ยละ 1.0 ของมูลค่ าการส่ งออกทัง้ หมด และใน เดือน ส.ค. 55 มีปริมาณการส่ งออกไก่ 45,6310 ตัน ขยายตัวที่ร้อยละ 5.31 เมื่อเทียบกับช่ วง เดี ย วกั นปี ก่ อ น ซึ่ง การส่ งออกในช่ ว ง 8 เดื อ นแรกของปี 55 มี ป ริ ม าณการส่ ง ออกทัง้ สิ น้ 352,036 ตัน ขยายตัวที่ร้อยละ 17.34 ตลาดหลักในการส่ งออกไก่ ได้ แก่ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป สิงคโปร์ เกาหลี ใต้ และฮ่ องกง ซึ่งในเดือน ส.ค. 55 ไทยส่ งออกไปญี่ปุ่นที่ร้อยละ 0.8 ลดลง จากเดือนก่ อนหน้ า และส่ งออกไปสหภาพยุโ รปหดตัวที่ร้อยละ -18.1 จากเดือ นก่ อ นหน้ า อย่ างไรก็ดี แม้ ว่าผู้ประกอบการทุกประเทศได้ ปรั บราคาไก่ เพิ่มขึน้ ส่ งผลให้ ประเทศผู้นาเข้ า โดยเฉพาะสหภาพยุโรปหันมาสั่งซือ้ ไก่ จากไทยมากขึน้ ก็ต าม แต่ ยังคงได้ รับผลกระทบจาก ปั ญหาหนีส้ าธารณะในสหภาพยุโรปที่ยังคงยืดเยือ้ ส่ งผลให้ การส่ งออกไก่ ไปยังสหภาพยุโรป หดตัวดังกล่ าว 3. ราคานา้ มัน WTI ร่ วง 1.04 USD เหตุวิตกเศรษฐกิจโลกชะลอตัว สัญญาน ้ามันดิบเวสต์เท็กซัส (WTI) เดือนพ.ย. ร่วงลง 1.04 ดอลลาร์ แตะที่ 90.82 ดอลลาร์ /บาร์ เรล ณ เวลา 12.47 น.ตามเวลาลอนดอนในวันนี ้ เนื่องจากความวิตกกังวลที่ว่าการชะลอตัวของเศรษฐกิจทั่ว โลกจะส่งผลให้ ความต้ องการเชื อ้ เพลิงลดลงด้ วย หลังจากผู้ว่าการธนาคารกลางอิสราเอลกล่าวว่า "เศรษฐกิจโลกใกล้ จะเข้ าสู่ภาวะถดถอย" ซึ่งยิ่งเป็ นการเพิ่มความวิ ตกกังวลหลังจากที่ IMF ได้ เตือน เกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจในการประชุมสัปดาห์ที่แล้ ว สศค.วิเคราะห์ ว่า ว่ าสถานการณ์ ราคานา้ มันในช่ วงปั จจุบันได้ รับแรงกดดันจากหลายปั จจัย ทัง้ จากการที่สหรั ฐขอให้ ซาอุฯ ผลิตเพิ่มจนถึงระดับสูงสุดในรอบ 30 ปี เพื่อชดเชยการคว่ าบาตร (แซงชั่น) อิหร่ าน หลั งจากที่อิ หร่ านยังคงเดินหน้ า โครงการทายูเรเนี ยมให้ เข้ ม ข้ นขึน้ และ ปั จจั ยจากการที่ประเทศจีนซึ่งเป็ นผู้ ใ ช้ นา้ มั นรายใหญ่ อั นดับ 2 ของโลก มี ยอดการนาเข้ า นา้ มันดิบลดลงร้ อยละ 1.8 ต่ อปี ในเดือน ก.ย 55 มาอยู่ท่รี ะดับ 20.08 ล้ านตัน จากผลของการ ชะลอตัว ทางเศรษฐกิ จ จี น ทัง้ นี ้ คาดการณ์ ว่า สต็อ กนา้ มั นดิบ ทั่ว โลกในช่ ว งครึ่ ง แรกของ ปี 56 จะปรั บตัวสู งขึน้ เนื่องจากการผลิตที่เพิ่มขึน้ จากกลุ่มประเทศ Non-OPEC โดยเฉพาะ สหรั ฐและแคนาดา
Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257
Fiscal Policy Office 16 ตุลาคม 2555 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2011 Dubai
2011
2012
Q3
Q4
Sep
Oct
Year to Date
Ast.12
105.61
106.81
104.89
111.19
109.44
109.39
110.5115.5
30.47
30.11
30.99
30.98
30.65
31.17
30.6031.60
Bath/USD
Economic Data Exchange Rate Currencies
12 Oct 12
15 Oct 12
16 Oct 12 (spot)
% change
THB/USD (onshore) JPY/USD
30.63
30.68
0.16
30.69
78.42
78.62
0.26
78.80
CNY/USD
6.2670
6.2700
0.0479
6.2739
USD/EUR
1.2950
1.2948
-0.0154
1.2955
99.52
99.41
-0.11
99.42
NEER Index (Average 08=100)
Stock Market
10 Feb 12
12 Oct 12 (Close)
15 Oct 12 (Close)
1,296.98
1,290.56
-0.49
13,328.85
13,424.23
0.72
FTSE-100
5,793.32
5,805.61
0.21
NIKKEI-225
8,534.12
8,577.93
0.51
21,136.43
21,148.25
0.06
3,041.75
3,043.05
0.04
Market SET Dow Jones
Hang Seng Straits Time
% change
Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year
Gov’t Bond Yield
Yield (%)
Thailand - 2 Year
3.162
0.226
0.294
-25.887
Thailand-10 Year
3.529
2.524
-13.081
2.675
USA-2 Year
0.258
-0.400
0.400
-1.160
USA-10 Year
1.668
0.000
-17.510
-50.640
12 Oct 12
15 Oct 12
111.45
110.85
-
-0.54
91.83
91.82
-
-0.01
115.62
115.74
-
0.10
Gasohol-95 (Bt/litre)
38.13
38.13
38.13
-
Gasohol-91 (Bt/litre)
35.68
35.68
35.68
-
Diesel (Bt/litre)
29.79
29.79
29.79
-
1,753.75
1,735.49
1,735.30
-0.01
Commodities Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)
Spot Gold
16 Oct 12 (Spot)
%change