Macro Views July 2013

Page 1

Macro Views July 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH REVIEW: นโยบาย Carbon ช่วยฟื้ นเศรษฐกิ GLOBAL : Abenomics ไม่กTax ระทบเศรษฐกิ จจีน จสหรัฐ HighLight : ฟิ ทช ์ คงอ ันด ับความน่าเชือ่ ถือสหร ัฐไว้ท ี่ AAA บ่งชีเ้ ศรษฐกิจสหร ัฐย ังคงแข็งแกร่ง

Global:

■ สหรัฐ : ฟิทช์ คงอันดับความน่าเชื่อถือของสหรัฐไว้ทร่ี ะดับสูงสุด AAA แสดงให้เห็นว่าปจั จัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของสหรัฐยังคงแข็งแกร่ง และการปรับลดยอดขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐยังอยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐเดือนมิ.ย.อยู่ท่ี 84.1 ลดลงจากเดือนพ.ค.ที่ 84.5 เนื่องจากชาวสหรัฐมีความวิตกกังวลเกีย่ วกับการลดลงของ ตลาดหุน้ และต้นทุนการกูย้ มื ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ แสดงให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคมีความวิตกกังวลมากขึน้ เกีย่ วกับภาวะอ่อนแอในตลาดการเงินในปจั จุบนั : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผย ดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนมิ.ย.ในเขตชิคาโก้ลดลงที่ 51.6 จาก 58.7 (m-o-m) โดยดัชนีท่ี สูงกว่า 50 บ่งชีถ้ งึ การขยายตัวของภาคการผลิต ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผย ไตรมาสแรกของปี 56 ศักยภาพการผลิตของภาคบริการเพิม่ ขึน้ 0.3% ศักยภาพการผลิตในภาคการ ผลิตลดลง 0.4% และศักยภาพการผลิตทีว่ ดั โดยผลผลิตต่อแรงงานเพิม่ ขึน้ 0.3% ส่วนต้นทุนด้านแรงงานต่อหน่วยลดลง 0.4% (q-o-q) และลดลง 0.5% (y-o-y) ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รายงาน ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เพิม่ ขึน้ 0.1% ในเดือนมิ.ย. (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 1.8% (y-o-y) เป็ นไปตามคาด ระบุ ราคาอาหารยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยเพิม่ ขึน้ 5.4% (y-o-y) และราคานํ้ามันเชือ้ เพลิงเพิม่ ขึน้ 3.0% (y-o-y) ท่ามกลางการตัดสินใจยกเลิกการใช้น้ํามันเชือ้ เพลิงจากฟอสซิลและพลังงานนิวเคลียร์ของรัฐบาล ■ จีน : อัตราดอกเบีย้ เงินกูอ้ นิ เตอร์แบงก์ของจีนลดลงติดต่อกันเป็ นวันที่ 5 (27 มิ.ย.) Interest-rate swap ระยะเวลา 1 ปี ลดลง 0.03% ที่ 3.88% โดยวันที่ 20 มิ.ย. เป็ นระดับสูงสุดที่ 5.06% และเพิม่ ขึน้ 0.57% ในเดือนนี้ เนื่องจาก PBoC ส่งสัญญาณอัดฉีดเงินเข้าระบบเพื่อ คลีค่ ลายสภาวะค่ล่องตึงตัว : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน (CFLP) เผย ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเดือนมิ.ย.ลดลงที่ 50.1 จาก 50.8 (m-o-m) ■ ญี่ปนุ่ : BOJ เผยผลสํารวจความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของกลุ่มผูผ้ ลิตรายใหญ่ของญีป่ ุน่ Q2/56 เพิม่ ขึน้ ที่ +4 จาก -8 (q-o-q) มากกว่าคาดที่ +3 และดัชนีความเชื่อมันของผู ่ ป้ ระกอบการนอกภาคการผลิตอยู่ท่ี 12 จาก 6 (q-o-q) โดยบริษทั ขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรม จะเพิม่ การใช้จ่ายด้าน ทุนอีก 5.5% ในปี งบการเงิน 2556 ซึง่ สิน้ สุด ณ เดือนมี.ค.ปี หน้า จาก 2% (q-o-q)

Thailand updates :

■ ธปท. เผย เศรษฐกิจเดือน พ.ค.ชะลอลงตามการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนทีห่ ดตัว 0.2% สอดคล้องกับการส่งออกทีห่ ดตัว 5.1% เป็ นไป ตามอุปสงค์ต่างประเทศทีย่ งั ไม่ฟ้ืนตัวเต็มที่ รวมถึงมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐทีท่ ยอยสิน้ สุดลง ■ เงินบาทปิ ดตลาดวันศุกร์ (28 มิ.ย.) ทีร่ ะดับ 31.01/03 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากปิ ดตลาดวันก่อนที่ 0.12 บาท/ดอลลาร์ เนื่องจากอยู่ในช่วง หยุดติดต่อกับ 3 วัน (วันจันทร์ท่ี 1 ก.ค. วันหยุดกลางปี ของธนาคารพาณิชย์)

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 มิ.ย.) ปิ ดที่ 14,909.60 จุด ลดลง 114.89 จุด หรือ 0.76% จากการทีร่ ฐั บาลเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอ ทําให้นกั ลงทุนเริม่ ไม่มนใจว่ ั ่ า เฟดจะเดินหน้าใช้มาตรการ QE ต่อไปหรือไม่ ดัชนี S&P500 ปิ ดที่ 1,606.28 จุด ลดลง 6.92 จุด หรือ 0.43% ดัชนี NASDAQ ปิ ดที่ 3,403.25 จุด เพิม่ ขึน้ 1.38 จุด หรือ 0.04% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (28 มิ.ย.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 463.77 จุด หรือ 3.51% ปิ ดที่ 13,677.32 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 29.20 จุด หรือ 1.50% ปิ ดที่ 1,979.21 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 363.21 จุด หรือ 1.78% ปิ ดที่ 20,803.29 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดที่ 1,451.90 จุด เพิม่ ขึน้ 5.45 จุด หรือ 0.35% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 14 ประจําว ันที่ 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

่ ยฟื้ นเศรษฐกิจสหร ัฐ GLOBAL REVEIW : นโยบาย Carbon Tax ชว

ประธานาธิบดีสหรัฐฯเผยแผนปฏิบตั ิการใหม่เพื่อต่อสู้กบั ปญั หาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศโลกซึง่ นับวันจะทวีความรุนแรงเพิม่ มากขึน้ ท่ามกลางเสียงคัดค้าน จากรัฐสภาทีม่ องว่า สหรัฐเพิง่ ฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย การใช้นโยบายลด โลกร้อ นในช่วงเวลานี้ ดูจะเป็ นการไม่เหมาะสม โดยเฉพาะมาตรการเพิ่มความ เข้ ม งวดในการผลิ ต ไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลัง ถ่ า นหิน ซึ่ ง อาจทํ า ให้ ก ารผลิ ต ภาคอุตสาหกรรมลดลง ส่งผลให้เศรษฐกิจที่กําลังเติบโตชะงัก แต่โอบามาก็ยงั ยืน กรานทีจ่ ะขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว อันเป็ นแนวทางสําคัญที่เคยได้ให้สญ ั ญาไว้ใน การหาเสียงเลือกตัง้ ก่อนทีจ่ ะเข้ามาบริหารประเทศเป็ นสมัยที่ 2 นโยบายลดโลกร้ อ นฉบับ ใหม่ นี้เ น้ นในเรื่ อ งของการควบคุมการปล่ อยก๊า ซคาร์บ อนทัว่ ประเทศ โดยสั ่งการให้ สํา นั ก งานปกป้ อง สิ่ งแวดล้อมสหรัฐ (EPA) ร่างกฏระเบียบใหม่ เพื่อใช้ ควบคุมการปล่อยก๊าซคาร์บอนสู่ชนั ้ บรรยากาศ (Clean Air Act) และ เพิ่ มการ จัดเก็บภาษี จากการปล่อยก๊าซคาร์บอน (Carbon tax law)* ซึ่งกล่าวว่า ผู้ใดก่อให้เกิดสภาพมลพิษต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการบําบัดสภาพ มลภาวะ โดยนโยบายดังกล่าวไม่เพียงแต่จะช่วยปกป้องสภาพภูมอิ ากาศแต่ยงั มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจสหรัฐดีขน้ึ เนื่องจาก ภาวะโลกร้อนส่งผลให้ GDP ของประเทศลดลงถึงร้อยละ 1.6 ต่อปี และจะลดลงเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 2 ในปี 2030 แม้ 2% ของ GDP อาจจะดูไม่มากนัก แต่สามารถเป็ นตัว บ่งชีไ้ ด้วา่ ประเทศสหรัฐมีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไร กําลังแข็งแกร่งหรือเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย ที่ผ่านมา ภาวะโลกร้อนได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจเป็ นจํานวณมาก เช่น การเกิดภัยแล้งทีย่ าวนานในทวีปอเมริกาเหนือหรือการเกิดพายุไซโคลนที่ ั ่ น ออกของสหรัฐ ซึ่ง รัฐ สูญ เงินไปกว่า 1,000 ล้า น รุน แรงตามชายฝ งตะวั ดอลลาร์สหรัฐ ยังไม่รวมถึงความเสียหาย ที่ทําให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลง กว่าร้อ ยละ 10 และบางรัฐ อย่างมิด เวสต์แ ละแคลิฟอร์เ นี ย ที่ป ระสบปญั หา อุณหภูมเิ พิม่ สูงขึน้ ส่งผลให้ปริมาณนํ้ าฝนลดลง เกษตรกรต้องหาทางแก้ปญั หา โดยการสูบนํ้าบาดาลมาใช้ ต้นทุนจากการผลิตก็มรี าคาสูงขึน้ ส่งผลให้ผลผลิตที่ ได้ก็ม ีราคาสูง ขึ้นตาม ส่วนทางด้านบริษทั ประกันภัย ก็ต้อ งขาดทุนจากการ ประกันพืชผลทางการเกษตรเพราะต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่เกษตรกรที่ได้รบั ความเสียหายจากภัยธรรมชาติเพิม่ ขึน้ ถึงคนละ 51 ดอลลาร์ โอบามายังชีใ้ ห้เห็นว่า “นโยบายลดโลกร้อน” เป็ นการช่วยเพิม่ รายได้ทางอ้อมให้แก่รฐั บาล เนื่องจาก นโยบายดังกล่าวทําให้สหรัฐลดความต้องการ การใช้พลังงานลงถึง 15% รวมทัง้ ลดค่าใช้จา่ ยจากการใช้กําลังทหารถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในการดูแลการส่งผ่านนํ้ามันจากตะวันออกกลาง เข้าสูส่ หรัฐ ซึง่ รัฐบาลเองก็จะได้ลดบทบาทการเกีย่ วข้องกับระบบการเมืองการปกครองของประเทศในแถบตะวันออกกลางทีเ่ อือ้ ประโยชน์เฉพาะใน เรื่องพลังงาน แต่กลับสร้างความเสียหายอันเป็ นภัยคุกคามและการก่อการร้าย การป้องกันสภาพภูมอิ ากาศจึงไม่เพียงแต่เป็ นการแก้ปญั หาด้านสิง่ แวดล้อมแต่ยงั เป็ นการช่วยแก้ปญั หาทางด้านเศรษฐกิจ ซึง่ รัฐสภาฯควรให้ความ สนใจในการแก้ไขปญั หาสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างจริงจังและให้การสนับสนุ นนโยบายดังกล่าวขึน้ เป็ นร่างกฏหมาย ทัง้ นี้คงต้องติดตามกัน ต่อไป ว่าโอบามาจะทําให้รฐั สภาฯเห็นชอบพร้อมทัง้ ให้ความร่วมมือได้หรือไม่… ______________________________________________________ ____________________________________ ____________________________________ _____________________________________ ____________________________________ ____________________________________ ____________________________________ _____________________________________ ______________________________ ______________________________________________________ _________________________________

*Carbon Tax เป็ นนโยบายของทางรัฐบาลที่จะจัดเก็บภาษีจากอุ ตสาหกรรมหรือธุรกิจทีป่ ลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชนั ้ บรรยากาศจาก

กระบวนการผลิตสินค้าเกินกว่า 25,000 ตัน โดยเฉพาะธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับการผลิตกระแสไฟฟ้าและแก๊ส เบือ้ งต้น จะจัดเก็บภาษีคาร์บอนทีอ่ ตั รา $23 ต่อ ตันทีก่ ๊าซคาร์บอนถูกปล่อยไป เริม่ ใช้เมือ่ วันที่ 1 ก.ค. 2012 และจะค่อยๆเพิม่ อัตราภาษีมากขึน้ จนถึงปี 2015 ทีอ่ ตั รา $25.40 ต่อตัน Source: U.S.News: ”Helping the Economic Climate” By DAVID BRODWIN (June 25, 2013), The New York Times: ”Bittersweet Achievement on Climate” By JASON BORDOFF and MICHAEL A. LEVI (June 25, 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ท ั ่วไป ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 2 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH RESEARCH: Abenomics : จีนลุยกวาดล้ งธนาคารเงาจจีน GLOBAL ไม่การะทบเศรษฐกิ HighLight : ค่าใชจ้ า่ ยด้านก่อสร้างเดือนพ.ค.ของสหร ัฐเพิม่ ขึน้ 0.5% สูงสุดในรอบ 4 ปี

Global:

■ กระทรวงพาณิชย์เผย ค่าใช้จา่ ยด้านการก่อสร้างของสหรัฐเดือนพ.ค. เพิม่ ขึน้ 0.5% ที่ 8.749 แสนล้านดอลลาร์ สูงสุดในรอบ 4 ปี โดยได้ปจั จัย หนุนจากการใช้จ่ายในโครงการก่อสร้างของภาครัฐบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.8% ขณะทีก่ ารใช้จ่ายในโครงการก่อสร้างทีอ่ ยู่อาศัยภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ 1.2% บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจของประเทศกําลังขยายตัว : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) รายงาน ดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 50.9 จาก 49.0 (m-o-m) และดัชนีคาํ สังซื ่ อ้ ใหม่ เดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 51.9 จาก 48.8 (m-o-m) ขณะทีด่ ชั นีการผลิตขยายตัวเพิม่ ขึน้ 53.4 จาก 48.6 (m-o-m) แต่ภาวะด้านแรงงานยํ่าแย่ลง โดยดัชนี การจ้างงานเดือนมิ.ย.ลดลงที่ 48.7 จาก 50.1 (m-o-m) ั ยหนุนจากภาคการผลิต ■ ยุโรป : ดัชนี PMI ภาคการผลิตของยูโรโซนเดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 48.8 สูงสุดในรอบ 1 ปี จาก 48.3 (m-o-m) โดยได้ปจจั ของประเทศฝรังเศสและอิ ่ ตาลี ระบุ ดัชนี PMI ภาคการผลิตของฝรังเศสเดื ่ อนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 48.4 จาก 46.4 (m-o-m) : ยูโรสแตทเผย ดัชนี CPI ในกลุ่มสมาชิก 17 ประเทศของยูโรโซนเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 1.6% จาก 1.4% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 3.3% (y-o-y) โดย ราคาอาหาร ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์และยาสูบ เป็ นปจั จัยสําคัญทีส่ ง่ ผลให้เงินเฟ้อสูงขึน้ ■ อังกฤษ : ธนาคารกลางอังกฤษเผย ธนาคารพาณิชย์ได้ปล่อยเงินกูเ้ ดือนพ.ค. เพื่อซือ้ บ้าน 58,242 ราย เพิม่ ขึน้ จาก 54,354 ราย (m-o-m) สูงสุดนับแต่เดือนธ.ค.2552 เกินคาดว่าจะเพิม่ เพียง 55,800 ราย ระบุ วงเงินสินเชื่อจํานองทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ นเดือนพ.ค.เพิม่ ขึน้ 853 ล้านปอนด์ (1.3 พันล้านดอลลาร์) (m-o-m) อยู่ท่ี 1.4 หมื่นล้านปอนด์ สูงสุดนับแต่เดือนต.ค.2551 ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผย ภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ค. ขยายตัวเพิม่ ขึน้ 15.5% (y-o-y) ที่ 4.7055 แสนล้านหยวน ส่วน ภาคอุตสาหกรรมของจีนในช่วง 5 เดือนแรกของปี 56 มีกาํ ไรเพิม่ ขึน้ 12.3% (y-o-y) ที่ 2.08 ล้านล้านหยวน ■ ญี่ปนุ่ : สมาคมผูค้ า้ ยานยนต์ของญีป่ ุน่ (JADA) รายงาน ยอดขายรถยนต์ใหม่เดือนมิ.ย.ซึง่ ไม่รวมรถยนต์ขนาดเล็กลดลง 15.8% (y-o-y) อยู่ท่ี 266,913 คัน รถยนต์นงลดลง ั่ 17.5% อยู่ท่ี 233,176 คัน รถบรรทุกลดลง 1.1% อยู่ท่ี 32,963 คัน ขณะทีร่ ถยนต์ขนาดเล็กลดลง 2.3% อยู่ท่ี 183,915 คัน

Thailand updates :

■ ธปท. รายงาน ดัชนี BSI เดือนพ.ค.อยู่ท่ี 53.9 เพิม่ ขึน้ จาก 48.8 (m-o-m) จากการเพิม่ ขึน้ ของการผลิตและคําสังซื ่ อ้ ใหม่ และดัชนี BSI อีก 3 เดือนข้างหน้าอยูท่ ่ี 54.6 คาดภาวะธุรกิจจะปรับดีขน้ึ ยกเว้นด้านต้นทุน : กระทรวงพาณิชย์เผย ดัชนี CPI เดือนมิ.ย.อยู่ท่ี 105.31 สูงขึน้ 2.25% (y-o-y) ขยายตัวตํ่าสุดในรอบ 43 เดือน เนื่องจากมีการใช้มาตรการ ติดตามราคาสินค้าทีจ่ าํ เป็ นในชีวติ ประจําวันและหมวดอาหารอย่างใกล้ชดิ และยังคงตัง้ เป้าเงินเฟ้อปี 56 ไว้ท่ี 2.8 - 3.4% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (1 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.01/03 บาท/ดอลลาร์ คงทีจ่ ากปิ ดตลาดวันศุกร์ ในขณะทีแ่ ข็งค่าจากปิ ดตลาดช่วงเช้าที่ 0.13 บาท/ ดอลลาร์

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (1 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปิดที่ 14,974.96 จุด เพิม่ ขึน้ 65.36 จุด หรือ 0.44% หลังฟิทช์ประกาศคงอันดับความเชื่อมันสหรั ่ ฐ ที่ AAA ดัชนี NASDAQ ปิ ดที่ 3,434.49 จุด เพิม่ ขึน้ 31.24 จุด หรือ 0.92% ดัชนี S&P500 ปิ ดที่ 1,614.96 จุด เพิม่ ขึน้ 8.68 จุด หรือ 0.54% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (1 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิปิดเพิม่ ขึน้ 175.18 จุด หรือ 1.28% ปิ ดที่ 13,852.50 จุด สุงสุดในรอบ 1 เดือน หลังเงินเยนอ่อนค่า และ BOJ เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ ผ้ ลิตรายใหญ่ทส่ี งู ขึน้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 16.03 จุด หรือ 0.81% ปิ ดที่ 1,995.24 จุด ตลาดฮ่องกงและ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปิ ดทําการเนื่องจากเป็ นวันหยุดครึง่ ปี ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 15 ประจําว ันที่ 2 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : จีนลุยกวาดล้างธนาคารเงา

ปญั หาการขาดสภาพคล่องทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ หรือภาวะสินเชื่อตึงตัว ที่จนี กําลัง ประสบอยูใ่ นขณะนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากความพยายามของธนาคารกลางจีน (PBoC) ที่ ม่งุ หวัง จัดการปั ญหาความอ่ อนแอของระบบธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศ และปั ญหาสิ นเชื่ อ นอกระบบอันเกิ ดจาก ธนาคารเงา (Shadow Banking) ที่กําลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งถือ เป็ นตัวการสร้างปญั หาหนี้เสียทีส่ าํ คัญ โดยในปจั จุบนั สินเชื่อของธนาคารเงาคิดเป็ น 60% ของ GDP ในขณะทีส่ นิ เชื่อทุกรูปแบบมีประมาณ 200% ของ GDP ระบบธนาคารเงาในจีนเป็ นผลข้างเคียงทีไ่ ม่ได้ตงั ้ ใจ อันเกิดจากนโยบายผ่อนคลายทางการเงิน เพื่อการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วงหลายปี ท่ผี ่านมา โดย ธนาคารเงา เป็ น องค์กรหรือสถาบันที่ ดาํ เนิ นธุรกิ จการเงิ นเสมือนธนาคาร แต่ไม่ใช่ธนาคาร ซึง่ หมายถึง เป็ นแหล่งเงินทุนให้กู้ยมื เพื่อนํ าไปลงทุน หากแต่ว่าเป็ นการดําเนินการที่ไม่ได้รบั ใบอนุ ญาตตามกฏหมาย ดังนัน้ จึง เป็ นการปล่อยสินเชื่อที่ไม่ได้อยู่ในระบบธนาคาร โดยผู้กู้ท่เี ข้ามามีส่วนร่วมในวงจรนอกระบบนี้ นอกจากจะมี บริษทั เอกชน นักลงทุนแล้ว ยังมี รัฐบาลท้องถิน่ และรัฐวิสาหกิจอีกด้วย โดยหวังใช้ธนาคารเงาเป็ นเครื่องมือในการปิ ดบังภาระหนี้สนิ ออกจากงบการเงินนั ่นเอง ตัวอย่างธนาคารเงาที่ คุน้ เคยกันดี เช่น กองทุนรวม บริษทั ประกัน นักลงทุนประเภทสถาบัน และบริษทั วานิชธนกิจ เป็ นต้น ข้อบกพร่องสําคัญของนโยบายการเงินจีน ทีเ่ ป็ นช่องทางให้ธนาคารเงาสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็วมีอยู่ 2 ประเด็นหลักๆ คือ 1) ช่องว่าง ระหว่างอัตราดอกเบีย้ เงิ นกู้กบั อัตราดอกเบีย้ เงิ นฝาก (Cap on deposit rates) เป็ นผลให้บริษทั ขนาดใหญ่หลายราย หรือแม้กระทั ่งผูท้ ่ีม ี เครดิตสินเชื่อดีทําการขอกู้เงิน แล้วนํ าไปปล่อยกู้ต่อโดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่สูง 2) ปริ มาณการให้ สินเชื่อที่ จาํ กัด (Lending quota) เนื่องจาก ธุรกิจที่สามารถเข้าถึงสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์จนี ได้ มีเพียงบริษทั ขนาดใหญ่ท่ไี ด้รบั การสนับสนุ นจากรัฐเท่านัน้ ไม่ใช่บริษทั เอกชนส่วนใหญ่ ของประเทศ จึงเป็ นโอกาสทองของธนาคารเงาทีจ่ ะตอบสนองความต้องการทางการเงินทีเ่ หลืออยูเ่ ป็ นจํานวนมาก วิธกี ารปล่อยสินเชื่อของธนาคารเงาส่วนใหญ่ จะกระทําโดยขาดความระมัดระวัง คือจะทําการปล่อยกู้โดยไม่คํานึงถึงศักยภาพในการชําระเงินของ ลูกหนี้ ก่อให้เกิดหนี้เสียมหาศาล และยังเป็ นการเพิม่ ภาระแก่รฐั ทีจ่ ะต้องเข้ามาช่วยเหลือชําระเงินคืนแทนลูกหนี้หลายราย นอกจากนัน้ แหล่งเงินทุน ของธนาคารเงาส่ว นใหญ่ ม ัก มาจากเงิน กู้ยืม ระยะสัน้ แต่ ธ นาคารเงากลับ ทํ า การปล่ อ ยกู้ใ ห้แ ก่ ผู้กู้ท่ีล งทุ น ในสิน ทรัพ ย์ร ะยะยาว เช่ น ภาค อสังหาริมทรัพย์ และตลาดตราสารหนี้ เป็ นต้น ซึง่ เป็ นเหตุให้เกิดปญั หา mismatch ตามมา เพื่อเป็ นการแก้ไขปญั หาธนาคารเงาที่อาจส่งผลกระทบสืบเนื่องไปยังภาคธุรกิจและระบบ เศรษฐกิจ ตลอดจนถึง ภาคการเงิน ในระบบธนาคาร ธนาคารกลางจีน จึง เร่ง เดินหน้ า ใช้ นโยบายทางการเงินอย่างเคร่งครัด ทัง้ ความพยายามในการดูดซับสภาพคล่องในระบบ การ ถอนตัวออกจากระบบการซื้อคืนพันธบัตร และคุมเข้มมาตรการทางการเงินของธนาคาร พาณิชย์ โดยผลที่ตามมา คือ อัตราดอกเบี้ยในตลาดอินเตอร์แบงก์ (Shibor : Shanghai interbank offered rate) ทะยานสูงขึน้ เป็ นประวัตกิ ารณ์ (8-10%ใน1สัปดาห์) นับเป็ นการ กระตุน้ ให้ธนาคารพาณิชย์มกี ารบริหารความเสีย่ งด้านสินเชื่อมากยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ ลงความเห็นว่าปญั หาการขาดแคลนสภาพคล่องดังกล่าวจะไม่ส่งผลร้ายแรงถึงขัน้ ที่เรียกว่าวิกฤตทางการเงิน และเชื่อว่าปญั หาความร้อนแรงของภาวะการเงินตรึงตัวจะหมดไปในไม่ช้า โดยคาดว่าผูน้ ํ าจีนจะมีมาตราการออกมาเร็วๆ นี้ เพื่อเป็ นการลดความ ตื่นตระหนกของนักลงทุน และรักษาความเชื่อมั ่นของนักลงทุนไว้ โดยปจั จุบนั (27 มิ.ย.) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้อินเตอร์แบงก์ได้ลดลงติดต่อกันเป็ น วันที่ 5 เหลือ 3.88% (Interest-rate swap ระยะเวลา 1 ปี ) เนื่องจากธนาคารกลางจีนได้ส่งสัญญาณของการอัดฉีดเงินเข้าคลี่คลายภาวะสภาพ คล่องตึงตัวแล้วนั ่นเอง แต่อย่างไรก็ตามทั ่วโลกยังคงต้องติดตามสถานการณ์จนี อย่างใกล้ชดิ ต่อไป… Source: Our thoughts on China’s creditsqueeze by Bank of America Merrill Lynch (25 June 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ท ั ่วไป ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ฟิ ทชล์ ดอ ันด ับความน่าเชือ่ ถือไซปร ัสลงสูร่ ะด ับ “ผิดน ัดชําระหนีใ้ นวงจําก ัด”

Global:

ั ยจากยอดสังอุ ■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์เผย ยอดสังซื ่ อ้ ใหม่เดือนพ.ค.เพิม่ ขึน้ 2.1% มากกว่าคาดที่ 2% โดยมีปจจั ่ ปกรณ์ดา้ นการขนส่ง เพิม่ ขึน้ 10.9% แต่ยอดสังซื ่ อ้ ยานยนต์ลดลง 2% ส่วนยอดสังซื ่ อ้ ไม่นบั รวมอุปกรณ์ดา้ นการขนส่งเพิม่ ขึน้ 0.6% บ่งชีว้ ่า ภาคการผลิตของสหรัฐ กําลังฟื้นตัว ■ ยุโรป : ยูโรสแตทเผย อัตราว่างงานเดือนพ.ค.ของกลุม่ 17 ประเทศทีใ่ ช้เงินยูโร เพิม่ ขึน้ 0.1% อยู่ท่ี 12.1% จาก 12.0% (m-o-m) สูงสุดเป็ น ประวัตกิ ารณ์ ทัง้ นี้ ยูโรโซนเดือนพ.ค.มีจาํ นวนผูว้ ่างงาน 19.22 ล้านคน ซึง่ เพิม่ ขึน้ 67,000 คน (m-o-m) ส่วนสหภาพยุโรปทีม่ สี มาชิก 27 ประเทศ มีอตั ราว่างงานที่ 10.9% ทรงตัวจากเดือนเม.ย. โดยมีผวู้ ่างงานทัง้ สิน้ 26.40 ล้านคน ■ เยอรมนี : ยอดผูว้ ่างงานรายใหม่เดือนมิ.ย.ลดลง 12,000 ราย จากทีเ่ พิม่ ขึน้ 17,000 ราย (m-o-m) ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานทรงตัวที่ 6.8% ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (Insee) รายงาน ดัชนีเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนมิ.ย. ลดลงอยูท่ ่ี 78 จาก 79 ในเดือนพ.ค. เหตุจากผูบ้ ริโภค วิตกเกีย่ วกับสถานการณ์ทางการเงินส่วนบุคคล ■ ไซปรัส : ฟิทช์ ประกาศลดอันดับความน่าเชื่อถือระยะยาวสกุลเงินภายในประเทศของไซปรัส ลงสูร่ ะดับ "ผิดนัดชําระหนี้ในวงจํากัด" (restricted default) หลังจากรัฐบาลไซปรัสได้เสร็จสิน้ การไถ่ถอนพันธบัตรตามกฎหมาย ■ จีน : ดัชนีผจู้ ดั การจัดซือ้ เดือน มิ.ย. ของจีนลดลงที่ 50.1 จุด จาก 50.8 จุด (m-o-m) สะท้อนถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนทีอ่ าจลดลงใน ไตรมาส 2 โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลลังเลทีจ่ ะจัดทํามาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน (CFLP) เผย ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการเดือนมิ.ย.ลดลงที่ 53.9 จาก 54.3 (m-o-m) แสดงให้เห็นว่าภาคบริการของจีนยังมีการขยายตัว แม้ว่าเป็ นอัตราทีช่ ะลอลง ■ ออสเตรเลีย : ธนาคารกลางออสเตรเลีย มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ที่ 2.75% เนื่องจากตลาดทีอ่ ยู่อาศัยส่งสัญญาณการฟื้นตัว และค่าเงิน ดอลลาร์ออสเตรเลียปรับลดลง ในขณะทีอ่ ตั ราว่างงานเดือน พ.ค. ลดลงที่ 5.5% จาก 5.6% (m-o-m) และความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ 4.7% ■ อียิปต์ : กองทัพขอให้นายมอร์ซผี นู้ ําอียปิ ต์ลงจากตําแหน่งภายใน 48 ชัวโมง ่ หลังประชาชนหลายล้านคนประท้วงขับไล่ เหตุดงั กล่าวอาจทํา ให้มกี ารเปลีย่ นผ่านทางการเมืองของประเทศอื่นในตะวันออกกลางตามมา

Thailand updates :

■ ตลาดตราสารหนี้ไทยเผย ในช่วง 2 เดือนมีนกั ลงทุนต่างชาติขายสุทธิ 9 หมื่นล้านบาท จากเดิมที่ 8.6 แสนล้านบาท เหลืออยูท่ ่ี 7.7 แสนล้าน บาท เนื่องจาก FED ส่งสัญญาณจะลดและเลิกมาตรการ QE เพราะเศรษฐกิจสหรัฐมีทศิ ทางดีขน้ึ ทัง้ นี้คาดว่าแผนการระดมทุนเพิม่ ขึน้ จากเดิม 3 แสนล้านบาท เป็ น 4 แสนล้านบาท โดยในครึง่ ปีแรกมีการระดมทุนแล้ว 2 แสนล้านบาท และคาดว่าในครึง่ ปีหลังจะไม่ต่าํ กว่า 2 แสนล้านบาท ■ เงินบาทปิ ดตลาด (2 ก.ค.) ที่ 30.92/95 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันก่อนที่ 0.08 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (2 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 42.55 จุด หรือ 0.28% ปิ ดที่ 14,932.41 จุด หลังมีเหตุความวุ่นวายทางการเมืองในอียปิ ต์ ดัชนี S&P 500 ลดลง 0.88 จุด หรือ 0.05% ปิ ดที่ 1,614.08 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 1.09 จุด หรือ 0.03% ปิ ดที่ 3,433.40 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (2 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 246.24 จุด หรือ 1.78% ปิ ดที่ 14,098.74 จุด หลังจากมีการเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีด่ แี ละนัก ลงทุนเชื่อมันว่ ่ าญีป่ ุน่ จะฟื้นตัวขึน้ อย่างแข็งแกร่ง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 11.89 จุด หรือ 0.60% ปิ ดที่ 2,007.13 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 144.64 จุด หรือ 0.70% ปิ ดที่ 20,658.65 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดที่ 1,463.98 จุด เพิม่ ขึน้ 12.08 จุด (+0.83%) เนื่องจากใกล้เข้าสู่ ช่วงการประกาศผลประกอบการไตรมาส 2/56 ของบริษทั จดทะเบียน ทําให้มกี ารซือ้ เก็งกําไร ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH RESEARCH: Abenomics : ญี่ปุ่นเดิ นสาย แข่จงจีขันนจีน GLOBAL ไม่กASEAN-5 ระทบเศรษฐกิ HighLight : ขาดดุลการค้าสหร ัฐพ.ค. สูงสุดในรอบ 6 เดือน และการเมืองโปรตุเกสผ ันผวน

Global:

■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์รายงาน ยอดขาดดุลการค้า พ.ค.เพิม่ ขึน้ ที่ 4.5 หมื่นล้านดอลลาร์ หรือ 12% จาก 4.01 หมื่นล้านดอลลาร์ (m-o-m) สูงสุดในรอบ 6 เดือน จากการส่งออกลดลง 500 ล้านดอลลาร์ หรือ 0.3% (m-o-m) อยู่ท่ี 1.871 แสนล้านดอลลาร์ ขณะทีย่ อดนําเข้า เพิม่ ขึน้ 4.4 พันล้านดอลลาร์ หรือ 2% (m-o-m) อยู่ท่ี 2.321 แสนล้านดอลลาร์ ส่งผลให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง 0.1% ในไตรมาสแรก : สถาบันจัดการอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผย ดัชนีภาคบริการ มิ.ย.ลดลงที่ 52.2 จากระดับ 53.7 (m-o-m) ตํ่าสุดในรอบ 3 ปี และดัชนีคาํ สัง่ ซือ้ ใหม่ มิ.ย.ลดลงที่ 50.8 จาก 56.0 (m-o-m) ตํ่าสุดในรอบ 4 ปี ขณะทีด่ ชั นีกจิ กรรมทางธุรกิจ/การผลิต ลดลงที่ 51.7 จาก 56.5 แต่ ดัชนีการ จ้างงานเพิม่ สูงขึน้ ที่ 54.7 จาก 50.1 ขณะเดียวกันดัชนีการส่งออกลดลงที่ 47.5 จาก 50.0 ส่วนดัชนีนําเข้าเพิม่ ขึน้ 53.5 จาก 49.5 : ผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานสหรัฐสิน้ สุดวันที่ 29 มิ.ย. ลดลง 5,000 ราย อยู่ท่ี 343,000 ราย ส่งสัญญาณว่าตลาดแรงงานกําลังปรับตัวดีขน้ึ แต่ ยังคงเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป โดยเดือนมิ.ย.ภาคเอกชนมีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ 188,000 ตําแหน่ง จาก 135,000 ตําแหน่ง (m-o-m) โดยธุรกิจ ภาคบริการมีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ ถึง 161,000 ตําแหน่ง ■ ยุโรป : S&P ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือคู่คา้ ระยะยาวของธนาคารใหญ่ 3 แห่ง คือ บาร์เคลส์ ดอยช์แบงก์ และเครดิตสวิสกรุ๊ป จาก ระดับ A+ เป็ น A มุมมองมีเสถียรภาพ หลังจากประเมินว่า สถาบันการเงินเหล่านี้เผชิญความเสีย่ งมากขึน้ จากกฎระเบียบในภาคการเงินที่ เข้มงวดขึน้ ภาวะตลาดเงินตลาดทุนของโลกมีความเปราะบาง รวมถึงเศรษฐกิจยุโรปอยูใ่ นภาวะชะงักงันและมีความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ จากวิกฤตหนี้ : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของยูโรโซนเดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ ที่ 48.3 จาก 47.2 ในเดือนพ.ค. โดยได้รบั แรงหนุนจากการ ขยายตัวของธุรกิจบริการในเยอรมนี ซึง่ มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าค ส่วนประเทศอื่น เช่น อิตาลี ฝรังเศส ่ ยังอยู่ในภาวะหดตัว ■ โปรตุเกส : ภาวะการเมืองผันผวนจากรมว.ต่างประเทศและรมว.คลังลาออก เพราะไม่พอใจกับมาตราการรัดเข็มขัด ทําให้อตั ราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี เพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 8.2% เป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่ พ.ย. 55 ส่งผลให้นกั ลงทุนกังวลความคืบหน้าของมาตรการรัดเข็มขัด ■ จีน : ธนาคารรายใหญ่ 4 แห่งของจีน ได้เพิม่ วงเงินปล่อยสินเชื่ออีก 2.30 แสนล้านหยวนในเดือนมิ.ย. จาก 6.67 แสนล้านหยวน (m-o-m) เนื่องจากในเดือนมิ.ย. รัฐบาลท้องถิน่ และภาคพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มคี วามต้องการสินเชื่อเพิม่ มากขึน้

Thailand updates :

■ ธปท. เผย ขณะนี้มธี นาคารจากญีป่ ุน่ ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ เข้าหารือเรื่องการจัดตัง้ ธนาคารพาณิชย์ ทีเ่ ป็ นบริษทั ลูกของธนาคาร พาณิชย์ต่างประเทศ (Subsidiary) รายใหม่ในไทย โดย ธปท.จะออกใบอนุญาติให้กบั Subsidiary รายใหม่ไม่เกิน 5 ราย โดยจะคัดเลือก ธนาคารต่างประเทศทีม่ คี ุณสมบัตติ ามทีก่ าํ หนดและจะดําเนินการแล้วเสร็จก่อนมิ.ย. 2557 ■ เงินบาทปิ ดตลาด (3 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.09/11 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิ ดตลาดวันก่อน 0.17 บาท/ดอลลาร์ ในช่วงนี้เงินบาทยัง เคลื่อนไหวตามค่าเงินสกุลหลักในภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (3 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 56.14 จุด หรือ 0.38% ปิ ดที่ 14,988.55 จุด จากข้อมูลการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ และอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในโปรตุเกส ดัชนี S&P 500 บวก 1.33 จุด หรือ 0.08% ปิ ดที่ 1,615.41 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับขึน้ 10.27 จุด หรือ 0.30% ปิ ดที่ 3,443.67 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (3 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 43.18 จุด หรือ 0.31% ปิ ดที่ 14,055.56 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 12.29 จุด หรือ 0.61% ปิ ดที่ 1,994.27 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 511.34 จุด หรือ 2.48% ปิ ดที่ 20,147.31 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดที่ 1,545.46 จุด ั ยบวกจากผลประกอบการไตรมาส 1/56 ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ออกมาดี เพิม่ ขึน้ 15.70 จุด (+1.03%) เนื่องจากได้รบั ปจจั ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 16 ประจําว ันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : ญีป ่ ่ นเดิ ุ นสาย ASEAN-5 แข่งข ันจีน

การเลือกอาเซียนเป็ นจุดหมายแรกในการเดินทางเยือนต่างประเทศของนายกรัฐมนตรีอาเบะเมื่อต้นปี ท่ผี ่านมา ถูกมองว่า ญี่ปุ่นอาจจะเป็ นอีก 1 ชาติ ทีเ่ ข้ามาแข่งขันกับจีนเพื่อสร้างอิทธิพลในอาเซียน และการทีญ ่ ่ปี นุ่ ให้ความสําคัญกับอาเซียนเป็ นลําดับทีส่ องรองจากสหรัฐฯที่เป็ นพันธมิตรเก่าแก่ของ ญี่ปนุ่ เป็ นการตอกยํ้าสถานะการณ์ในขณะนี้วา่ ถนนทุกสายกําลังมุง่ สูอ่ าเซียนอย่างแท้จริง ที่ผ่านมา จีนกับสหรัฐฯเปิ ดฉากแย่งชิงกันสร้างพันธมิตรในอาเซียนมาแล้วหลายครัง้ จน หลายฝ่ายมองว่าอาเซียนกําลังกลายเป็ นสมรภูมขิ องสงครามเย็นครัง้ ใหม่ในการเมืองโลก ดังนัน้ การที่ญ่ีปุ่นกลับมาสร้างความสัม พันธ์อ ันดีกบั กลุ่ม ประเทศอาเซียน โดยเฉพาะ ASEAN-5 ที่ ประกอบไปด้ วยประเทศ อิ นโดนี เซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิ ปปิ นส์ ไทย และ เวียดนาม สะท้อนให้เห็นถึงความสําคัญของภูมภิ าคนี้ท่ีมผี ลต่อการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจ ของญี่ปนุ่ ซึง่ เป็ นประเทศทีม่ ขี นาดของเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของโลก ญี่ปุ่นนัน้ เป็ น "ประเทศคู่คา้ ที่สําคัญที่สุด" ของ ASEAN-5 แม้ในช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เป็ นผลให้ปริมาณการค้าลดลงอยู่ท่ี 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็ น 11% ของ GDP ก็ตาม โดยสาเหตุของการลดลงในช่วงนัน้ มาจาก (1) ญี่ปุ่นมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ช้าเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า ASEAN-5 จึงส่งผลให้ ประสิทธิภาพการส่งออกลดลง (2) จีนได้เข้ามาบทบาทมากขึน้ ในการค้าขายระหว่างประเทศกับ ASEAN-5โดยญี่ปุ่นเองก็ได้มกี ารตัง้ ฐานการผลิตอยู่ท่ี ประเทศจีนเช่นกัน (3) การแข็งค่าของเงินเยนมีผลทําให้การส่งออกของประเทศญี่ปุ่นไปยัง ASEAN-5 ลดลง จากเหตุดงั กล่าว ส่งผลให้อนิ โดนีเซียและ ไทยเป็ นประเทศทีข่ าดดุลการค้ากับญี่ปนุ่ มากทีส่ ดุ ในขณะทีอ่ กี 3 ประเทศยังคงมีทศิ ทางเศรษฐกิจทีด่ กี บั ประเทศญี่ปนุ่ ในช่วงที่ผ่านมา การค้าขายระหว่างญี่ปุ่นกับกลุ่ม ASEAN-5 นํ ามาซึ่งการจ้างงานและรายได้ประชากรที่เพิม่ สูงขึ้น ซึ่งก็มกี ารถ่ายโอนความรู้และ เทคโนโลยีจากญี่ปนุ่ ไปสูป่ ระเทศในกลุ่ม ASEAN-5 มากขึน้ ญี่ปุ่นเองก็ได้รบั ผลตอบแทนที่ดจี ากกลุ่ม ASEAN-5 เนื่องจากภูมภิ าคนี้มขี อ้ ได้เปรียบใน เรื่องของค่าแรงและทรัพยากรธรรมชาติท่ยี งั อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ ทําให้ ญี่ปุ่นยังคงมีการเข้ามาลงทุนกับ ASEAN-5 อย่างต่อเนื่อง โดยนับตัง้ แต่ปี 2003 - ปจั จุบนั ญี่ป่นุ ได้มกี ารลงทุน FDI ใน ASEAN-5 แล้วกว่า 6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าจีนถึง 10 เท่า โดยลงทุนในไทยมากทีส่ ดุ ถึง 40% ตามมาด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปิ นส์ และเวียดนาม ประการสําคัญ ที่ทําให้การค้าระหว่างประเทศญี่ปุ่นกับ ASEAN-5 มีการขยายตัวเพิ่มขึน้ กว่าแต่ก่อ น เนื่องมาจากการใช้มาตรการ “อาเบะโนมิกส์” ทีป่ ระกอบด้วยลูกศร 3 ดอก สองดอกแรกคือ มาตรการการ ใช้จ่ายจํานวณมากของรัฐบาลและการผ่อนคลายนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น ด้วยการ เพิม่ ปริมาณเงินในระบบผ่านการรับซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลเพิม่ ขึน้ กว่า 6 หมื่นล้านล้านเยนต่อปี โดยมี เป้าหมายอยู่ท่ี 270 ล้านล้านเยนภายในสิน้ ปี 2014 เพื่อบรรลุเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ 2% ภายใน 2 ปี ส่งผลให้คา่ เงินเยนอ่อนตัวลงมาก สําหรับดอกที่สามคือ ยุทธศาสตร์การเติบโตและการปฏิรูปต่างๆในเชิง โครงสร้างเพื่อกระตุน้ การเติบโตของภาคเอกชน ทัง้ นี้ ยังมีอกี หลายเหตุผลที่ทําให้ญี่ปนขยายการลงทุ ุ่ น ด้านอุตสาหกรรมมายัง ASEAN-5 อาทิ เช่น (1) อิ นโดนี เซีย ฟิ ลิ ปปิ นส์และเวียดนามมีต้นทุนการผลิ ตที่ ตาํ่ กว่าญี่ปนและจี ุ่ น (2) ด้วยเหตุผล ทางการเมือง จากกรณี พิพาททางทะเลระหว่างญี่ปนกั ุ่ บจีน ทําให้ญี่ปนต้ ุ่ องการย้ายฐานการผลิ ตออกจากประเทศจีน และ (3) ASEAN-5 มี การเติ บโตทางเศรษฐกิ จและมีศกั ยภาพที่เพิ่มสูงขึน้ จึงเป็ นโอกาสที่ดีสาํ หรับการลงทุนของบริษทั ญี่ปนุ่ เนื่องจากญี่ปุ่นต้องการฟื้ นฟูระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศ โดยการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและเติบโตเคียงข้างไปกับ ประเทศเศรษฐกิจหลักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง ASEAN-5 จึงเป็ นเรื่องใหญ่ทญ ่ี ่ปี ุ่นให้ความสําคัญ อีกทัง้ ในช่วง 10 ปี ท่ผี ่านมา ญี่ป่นุ เป็ นฝา่ ยตัง้ รับการรุกของจีนมาโดยตลอด ดังนัน้ รัฐบาลของนายอาเบะจึงพยายามพลิกฟื้นสถานการณ์เป็ นเชิงรุกด้วยการเสริมและสร้างความสัมพันธ์กบั ASEAN5 ให้แข็งแกร่ง เพื่อแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศมหาอํานาจอย่างจีน จึงต้องจับตาดูกนั ต่อไปว่า ญี่ปุ่นและ ASEAN-5 จะมีแนวโน้มทางเศรษฐกิจไป ในทิศทางใด และจีนจะหามาตรการอะไรออกมาตอบโต้... Source: ASEAN Perspectives: Waiting for Japan to reflate by HSBC (2 July 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 5 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH RESEARCH:: Abenomics สกัดกลโกงภาษี ยกั ษ์ข้ามชาติ GLOBAL ไม่กระทบเศรษฐกิ จจีนหารายได้เข้ารัฐ ้ 0.5% ตามคาด HighLight : ธนาคารกลางยุโรปและอ ังกฤษมีมติคงอ ัตราดอกเบีย

Global:

■ สหรัฐ : FED อนุมตั ขิ อ้ กําหนดทีเ่ ข้มงวดขึน้ เกีย่ วกับจํานวนเงินทุนสํารองทีธ่ พ.ควรถือครองไว้เพื่อรองรับการขาดทุน ซึง่ เป็ นแนวทาง ป้องกันระบบการเงินให้รอดพ้นจากความเสีย่ งต่างๆ โดยจะส่งผลให้มกี ารเปลีย่ นแปลงกฎหมายปฏิรปู ด้านการเงินฉบับปี 2553 และจะ สอดคล้องตามเกณฑ์บาเซิล 3 ■ ยุโรป : ธ.กลางยุโรป มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับ 0.5% ตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ โดยเป็ นการตรึงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับเดิมเป็ นเดือนที่ 2 ั บนั หรือตํ่ากว่านี้อกี ระยะหนึ่ง ติดต่อกัน โดยคาดว่าอัตราดอกเบีย้ จะยังคงอยู่ทร่ี ะดับปจจุ ■ อังกฤษ : ธ.กลางอังกฤษ ภายใต้การนําของผูว้ ่าการธนาคารคนใหม่นายมาร์ค คาร์นีย์ มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับ 0.5% หลังจากได้อดั ฉีดเงินเข้าระบบแล้วถึง 3.75 แสนล้านปอนด์ตงั ้ แต่ปี 2552 ■ สเปน : รัฐบาลระดมทุนประมูลขายพันธบัตรระยะกลางได้ทงั ้ สิน้ 4 พันล้านยูโร (5.19 พันล้านดอลลาร์) เป็ นไปตามเป้าที่ 3-4 พันล้านยูโร ซึง่ อัตราผลตอบแทนสูงกว่าการประมูลครัง้ ก่อนแต่ความต้องการซือ้ ลดลง ท่ามกลางความวิตก ปญั หาทางการเมืองในโปรตุเกสอาจทําให้ วิกฤตหนี้ในภูมภิ าคเพิม่ ขึน้ ■ จีน : อัตราดอกเบีย้ R/P 7 วัน ลดลง 0.32% อยู่ท่ี 3.91% อ่อนตัวลงเป็ นวันที่ 10 ยาวนานทีส่ ดุ ในรอบ 14 เดือน เนื่องจากธนาคารกลาง จีนไม่ได้ดดู ซับสภาพคล่องออกจากระบบ หลังจากทีเ่ กิดวิกฤตสภาพคล่องในประเทศ ■ ญีป่ ุน่ : BOJ เผย ยังคงใช้มาตรการ QE เพื่อบรรลุเป้าหมายเงินเฟ้อที่ 2% และได้ปรับเพิม่ ประเมินภาวะเศรษฐกิจระดับภูมภิ าค 8 เขต จาก 9 เขต เป็ นสัญญาณบ่งชีว้ ่า นโยบายกระตุน้ เงินเฟ้อของรัฐบาลส่งผลบวกอย่างกว้างขวาง ซึง่ ได้แรงหนุนจากความเชื่อมันภาคครั ่ วเรือน และภาคธุรกิจ รวมทัง้ อุปสงค์ต่างประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ : กระทรวงการคลังเผย ทุนสํารองเงินตราต่างประเทศ ณ สิน้ เดือนมิ.ย. ลดลง 1.153 หมื่นล้านดอลลาร์ ที่ 1.23871 ล้านล้านดอลลาร์ (m-o-m) ลดลงต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 2 เนื่องจากการลดลงของราคาพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐทีร่ ฐั บาลญีป่ ุน่ ถือครองอยู่

Thailand updates :

■ หอการค้าไทยรายงาน ดัชนีเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคมิ.ย.ลดลงที่ 81.6 จาก 82.5 (m-o-m) ขณะทีด่ ชั นีเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเศรษฐกิจไทยโดยรวมลดลงที่ ั ยลบจากสศค. ประกาศปรับลด GDP ปี น้จี าก 5.3% เหลือ 71.8 จาก 72.8 (m-o-m) ต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 3 ตํ่าสุดในรอบ 6 เดือน โดยมีปจจั 4.5% และความกังวลต่อเมกะโปรเจกต์ภาครัฐเริม่ มีความเสีย่ ง ■ เงินบาทปิ ดตลาด (4ก.ค.)ที่ 31.08/10 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าเล็กน้อยตามค่าเงินในภูมภิ าค เนื่องจากไม่มปี จั จัยใหม่และนักลงทุนรอ ประกาศตัวเลขเศรษฐกิจของสหรัฐ

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (4 ก.ค.) ปิ ดทําการเนื่องในวันชาติสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (4 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 36.63 จุด หรือ 0.26% ปิ ดที่ 7,893.72 จุด เหตุนกั ลงทุนชะลอการซือ้ เนื่องจากเงินเยนแข็งค่า ั และวิตกปญหาการเมื องโปรตุเกสและอียปิ ต์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 11.83 จุด หรือ 0.59% ปิ ดที่ 2,006.10 จุด ที่ 14,018.93 จุด ดัชนี ฮังเส็ ่ งเพิม่ ขึน้ 321.36 จุด หรือ 1.60% ปิ ดที่ 20,468.67 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดที่ 1,430.88 จุด ลดลง -12.69 จุด (-0.88%) จากแรง เทขายในหุน้ กลุ่มรับเหมาและวัสดุก่อสร้าง เนื่องจากคปก.ชีว้ ่า ร่างพ.ร.บ.ลงทุนของภาครัฐ 2.2 ล้านล้านบาทอาจจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 17 ประจําว ันที่ 5 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : สก ัดกลโกงภาษีย ักษ์ขา้ มชาติ หารายได้เข้าร ัฐ

กลายเป็ นประเด็นทีส่ ร้างความแตกตื่นเป็ นอย่างมากให้แก่ผตู้ ดิ ตามความ เคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจในต่างแดน เกีย่ วกับการเลี่ยงภาษีของบริ ษทั ยักษ์ใหญ่ ของโลกที่ทุกคนรู้จกั กันดีอย่าง บริษทั แอปเปิ ล กูเกิ ล อเมซอล และสตาร์ บัคส์

โดยคณะอนุ กรรมการด้านการสอบสวนของวุฒสิ ภาสหรัฐ

ได้ทําการ

ตรวจสอบถึงวิธกี ารทีบ่ ริษทั ข้ามชาติต่างๆ นํามาใช้เป็ นข้ออ้างในการบรรเทาภาระ การเสียภาษี หลังจากทีม่ ีการโจมตีบริ ษทั ใหญ่ๆ ในสหรัฐว่าไม่เต็มใจที่จะ ส่งผลกําไรในต่างแดนกลับสู่ประเทศ เนื่ องจากไม่อยากเสียภาษีนิติบคุ คลที่ สูงถึง 35% ซึ่งถือเป็ นอัตราเรียกเก็บที่สงู ที่สดุ ในโลก โดยทางอนุกรรมการฯ พบว่าบริษทั ต่างๆ ใช้วิธีอนั แยบยลในการเลี่ยงภาษีผ่านช่องว่างทางกฎหมาย ซึ่งถือเป็ นการกระทําที่ไม่ได้ผิดกฎหมาย หากแต่ขาด ความจริงใจและไร้ซึ่งศีลธรรม สําหรับบริษทั ทีท่ ํากําไรมหาศาลแต่ไม่จา่ ยภาษีให้แก่ประเทศ กลโกงการเลีย่ งภาษีของบริษทั ในสหรัฐ มักเริม่ จากการวางแผนภาษี (Tax Planning) ซึง่ เป็ นกระบวนทีเ่ ตรียมพร้อมจัดการภาระภาษีทพ่ี งึ จะ เกิดขึน้ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ โดยใช้ความซํ้าซ้อนของอนุสญ ั ญาภาษีระหว่างประเทศให้เกิดประโยชน์ หากประเทศใดมีการเรียกเก็บภาษีในอัตราทีต่ ่าํ บริษทั เหล่านี้กจ็ ะเลือกประเทศนัน้ ๆ เป็ นถิน่ ฐานในการสร้างรายได้ ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ มีบริษทั ยักษ์ใหญ่จาํ นวนมากจัดตัง้ บริษทั ลูกในดินแดนปลอด ภาษี (Tax Heaven Country) เช่น เคย์แมน บาฮามาส์ บริตชิ เวอร์จนิ และ ไอร์แลนด์ เป็ นต้น เพื่อหวังรับสิทธิพเิ ศษทางภาษี ตัวอย่างเช่น บริษทั แอปเปิ ล พีใ่ หญ่แห่งวงการไอที อาศัยช่องโหว่ของกฎหมาย ในเรื่อง ของสถานะของผูเ้ สียภาษีทต่ี ่างกันระหว่างสหรัฐและไอร์แลนด์ ด้วยจัดตัง้ บริษทั ลูกใน ไอร์แลนด์ขน้ึ 2 บริษทั พร้อมกับตัง้ บริษทั ในเครืออีก 3 บริษทั ให้แก่ 2 บริษทั ลูก ดังกล่าว โดยใน 5 บริษทั นี้มเี พียงแค่ 2 บริษทั เท่านัน้ ทีม่ สี ถานะต้องเสียภาษีให้แก่ ไอร์แลนด์ เนื่องจากเป็ นสํานักงานใหญ่ ในขณะทีต่ ามกฎหมายสหรัฐ บริษทั ในเครือที่ ตัง้ อยูน่ อกประเทศไม่ตอ้ งเสียภาษีในสหรัฐ ส่งผลให้ 3 บริษทั ย่อยของแอปเปิ ลปลอด ภาษีเช่นกัน เป็ นผลให้แอปเปิ ลสามารถเลีย่ งการจ่ายภาษีได้ถงึ 7.4 หมื่นล้านเหรียญ สหรัฐตลอดระยะเวลา 4 ปี ทผ่ี า่ นมา ในขณะทีบ่ ริษทั กูเกิล เจ้าของเสิรช์ เอนจิน้ ยักษ์ใหญ่ ใช้วธิ กี ารที่เรียกว่า Double Irish และ Dutch Sandwich ในการเลีย่ งภาษี โดยการโยกย้ายผล กําไรทีไ่ ด้ในต่างประเทศไปยังบริษทั ลูกในไอร์แลนด์และเนเธอร์แลนด์ ซึง่ ไม่ตอ้ งเสียภาษีในทัง้ 2 ประเทศ ก่อนทีจ่ ะโอนไปยังเกาะเบอร์มวิ ดาอีกที ซึง่ ดินแดนดังกล่าวถือเป็ นแหล่งปลอดภาษีอยูแ่ ล้ว จึงถือเป็ นการประหยัดค่าภาษีให้แก่บริษทั ฯได้ถงึ 2 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปี ผลของการหลบเลี่ยงภาษีของบริษทั ข้ามชาติ ต่างๆ ทําให้รฐั บาลทัง้ ในสหรัฐและยุโรป ต่างสูญเสียรายได้อย่างน้ อย 1แสนล้านเหรียญต่อ ปี ในขณะที่หลายๆ ประเทศกําลังเผชิ ญกับปัญหาการขาดดุลการคลัง อันเกิ ดจากวิ กฤตเศรษฐกิ จที่ยาํ่ แย่อยู่ในขณะนี้ ส่งผลให้รฐั บาล หลายๆ ประเทศหันมาเอาจริ งเอาจังในการปฏิ รปู ระบบการจัดเก็บภาษีของบริษทั ข้ามชาติ อย่างแข็งขัน เพื่อเป็ นการเพิ่มรายได้อีกทาง หนึ่ ง ผนวกกับแรงกดดันทางการเมือง อันเนื่องมาจากประชาชนไม่พอใจทีร่ ฐั บาลผลักภาระการแก้ปญั หาทางเศรษฐกิจมาให้ผา่ นมาตรการ รัดเข็มขัด ในขณะทีร่ ฐั ยอมปล่อยให้เหล่าบริษทั ยักษ์ใหญ่อาศัยช่องว่างทางกฎหมายเพื่อเลีย่ งภาษี โดยแทบไม่มบี ทลงโทษจากการกระทําดังกล่าว อย่างไรก็ตามการปรับปรุงกฎหมายด้านภาษีไม่ใช่เรื่องทีท่ ําได้โดยง่าย ไม่วา่ จะเป็ นปญั หาในเรื่องความซับซ้อนของบทบัญญัตทิ างกฎหมายทีม่ อี ยู่ เดิม ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ และบางประเทศทีถ่ ูกใช้ในการเลีย่ งภาษีกไ็ ม่เต็มใจให้ความร่วมมือมากนัก เนื่องจากเกรงว่าอาจส่งผลกระทบ ต่อผลประโยชน์ของประเทศ ในขณะเดียวกันหากปรับปรุงกฎหมายด้านภาษีโดยนําเรื่อง ศีลธรรม มาเป็ นหนึ่งในองค์ประกอบทีใ่ ช้ในการพิจารณา ปญั หาทีต่ ามมาคือ จะยึดถือศีลธรรมของใครเป็ นบรรทัดฐาน ดังนัน้ การปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวจึงถือเป็ นความท้าทายทีร่ อการพิสูจน์ต่อไป... Source: MNC taxes: Government must apply mind and not morals by The Economic Times (26 June 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ท ั ่วไป ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 8 กรกฏำคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค

GLOBAL RESEARCH : Abenomics ไม่กระทบเศรษฐกิจจีน ี ต ้ อยูท ้ ลงอีก HighLight : อีซบ ี รึงอ ัตรำดอกเบีย ่ รี่ ะด ับตำ ่ สุดต่อไประยะหนึง่ และอำจปร ับลดอ ัตรำดอกเบีย

Global:

■ สหรัฐ : ยอดการจ้างงานนอกภาคการเกษตรประจา มิ.ย. ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 195,000 ตาแหน่ง หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 175,000 ตาแหน่งใน พ.ค.

สูงกว่าทีน่ กั เศรษฐศาสตร์สว่ นใหญ่คาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัว 165,000 ตาแหน่ง ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานทรงตัวในระดับเดิมที่ 7.6% ■ ยุโรป : อีซบี จี ะตรึงอัตราดอกเบีย้ ให้อยู่ทร่ี ะดับต่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ต่อไปอีกระยะหนึ่ง และอาจจะปรับลดอัตราดอกเบีย้ ลงไปอีก ซึง่ การ ประกาศในครัง้ นี้ถอื เป็ นการรับมือต่อภาวะผันผวนทีเ่ กิดขึน้ หลังจากธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เปิ ดเผยแผนยุตมิ าตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ ■ สเปน : สมาพันธ์แบงค์สเปน (Funcas) คาดเศรษฐกิจสเปนปี 57 จะขยายตัว 0.7% หลังจากหดตัว 1.5% (y-o-y) โดยคาดว่า อัตราว่างงาน ปี 57 จะอยูท่ ่ี 26.6% จาก 26.9% (y-o-y) ■ จีน : คณะรัฐมนตรีจนี ยืนยัน การผลักดันกลไกการกากับดูแลตลาดทีอ่ ยู่อาศัยอย่างยังยื ่ น ซึง่ รวมถึงการต่ออายุโครงการทดลองเกีย่ วกับ ภาษีบา้ น การจัดทาเครือข่ายข้อมูลทีอ่ ยู่อาศัยทัวประเทศ ่ และทาให้การลงทะเบียนของตลาดอสังหาริมทรัพย์เป็ นระบบเดียวกัน ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังเผย ทุนสารองเงินตราต่างประเทศ ณ สิน้ เดือนมิ.ย. ลดลง 1.153 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เทียบกับเดือนพ.ค. ที่ ระดับ 1.23871 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เป็ นการลดลง 2 เดือนติดต่อกัน เนื่องจากการลดลงของราคาพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯทีร่ ฐั บาลญีป่ นุ่ ถือครองอยู่ และ ในเดือนพ.ค. มียอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดที่ 5.407 แสนล้านเยน ทาให้ยอดเกินดุลติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 ■ อิ นโดนี เซีย : ธนาคารโลก ปรับลดคาดการณ์ GDP อินโดนีเซียลงอยู่ท่ี 5.9% จากทีค่ าดไว้ 6.2% จากอุปสงค์ในประเทศและการส่งออก สินค้าทีช่ ะลอลง แต่ได้เพิม่ คาดการณ์เงินเฟ้ออยู่ท่ี 7.2% เนื่องจากมีการปรับเพิม่ ราคาเชือ้ เพลิง เป็ นครัง้ แรกในรอบ 5 ปี

Thailand updates : ■ กรมโรงงานอุตสาหกรรมเผย มูลค่าตัง้ โรงงานใหม่ครึง่ ปีแรกขยายตัว 189 % โดยมีการออกใบประกอบกิจการโรงงานใหม่เพิม่ ขึน้ 15.6 % (y-o-y) การจ้างงานเพิม่ ขึน้ 21.6 % มีมลู ค่าการลงทุน 178,854 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 189.2 % จากการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องจักร บ่งชี้ ว่าผูป้ ระกอบการยังคงเชื่อมันเศรษฐกิ ่ จไทยว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ■ เงินบาทปิ ดตลาดวันศุกร์ (5ก.ค.) อยู่ 31.13/15 อ่อนค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันพฤหัส เคลื่อนไหวตามค่าเงินในภูมภิ าค เนื่องจากดอลลาร์ ยังมีแนวโน้มแข็งค่า

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (5 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 147.29 จุด หรือ 0.98% ปิ ดที่ 15,135.84 จุด หลังสหรัฐเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาค การเกษตรเดือนมิ.ย.สูงเกินคาด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 16.48 จุด หรือ 1.02% ปิ ดที่ 1,631.89 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 35.71 จุด หรือ 1.04% ปิ ดที่ 3,479.38 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (5 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 291.04 จุด หรือ 2.08% ปิ ดที่ 14,309.97 จุด สูงสุดในรอบ 1 เดือน จากข้อมูลจ้างงานสหรัฐ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และเชื่อมันว่ ่ า ECB จะยังคงผ่อนคลายนโยบายการเงินต่อไปเพื่อหนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 1.10 จุด หรือ 0.05% ปิ ดที่ 2,007.30 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 386.00 จุด หรือ 1.89% ปิ ดที่ 20,854.67 จุด ดัชนีหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,441.33 จุด เพิม่ ขึน้ 10.45 จุด (+0.73%) จากECBตรึงอัตราดอกเบีย้ ที่ 2.5% และเงินบาทอ่อนค่า ทาให้นกั ลงทุนต่างชาติปรับพอร์ตขายพันธบัตรระยะ ยาว ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : มูดสี ล์ ดอ ันด ับความน่าเชือ่ ถือพ ันธบ ัตรโปรตุเกสลง 4 ขนั้ จาก “Baa1” สู่ “Ba2”

Global:

■ อังกฤษ : ราคาบ้านในช่วงไตรมาสสิน้ สุด ณ เดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 2.1% (q-o-q) และเพิม่ ขึน้ 3.7% (y-o-y) ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ 1-2% ในช่วง 5 เดือนแรกของปี น้ี ■ เยอรมนี : สํานักสถิตแิ ห่งชาติเผย การส่งออกพ.ค.ลดลง 2.4% (m-o-m) และหดตัว 4.8% (y-o-y) แต่การนําเข้าเพิม่ ขึน้ 1.7% (m-o-m) คิดเป็ นมูลค่าส่งออก 8.82 หมื่นล้านยูโร ตํ่าสุดนับแต่ปลายปี 55 ส่งผลให้ยอดเกินดุลการค้าพ.ค.ลดลงอยู่ท่ี 1.41 หมื่นล้านยูโร แสดงให้เห็น ว่า เศรษฐกิจเยอรมนียงั คงยํ่าแย่ตามภูมภิ าค ■ โปรตุเกส : มูดสี ์ ลดอันดับความน่าเชื่อถือพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวโปรตุเกสลง 4 ขัน้ จากระดับ “Baa1” สูร่ ะดับ “Ba2” หรือ ระดับขยะ โดยระบุมคี วามเสีย่ งเพิม่ ขึน้ หลังโปรตุเกสระดมทุนเพิม่ เติมเป็ นครัง้ ที่ 2 ■ จีน : สํานักงานสถิติ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) มิ.ย.ขยายตัว 2.7% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 2.1% (m-o-m) โดยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) มิ.ย. ลดลง 2.7% (y-o-y) และลดลง 2.9% (m-o-m) ■ ญี่ปนุ่ : BOJ รายงาน ธนาคารพาณิชย์ปล่อยกูเ้ ดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ 1.9 % (y-o-y) สูงสุดในรอบ 4 ปี บ่งชีว้ ่ามาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจเชิง รุกและแนวโน้มเศรษฐกิจทีส่ ดใส ส่งผลให้มคี วามต้องการกูเ้ งินเพื่อนําไปลงทุนใหม่เพิม่ สูงขึน้ : กระทรวงการคลังเผย ยอดบัญชีเดินสะพัดพ.ค.เกินดุลอยู่ท่ี 5.407 แสนล้านเยน แม้การขยายตัวด้านการลงทุนจะขาดดุลที่ 9.067 แสนล้าน เยน โดยส่งออกเพิม่ ขึน้ 9.1% ที่ 5.5269 ล้านล้านเยน จากเงินเยนอ่อนค่า ขณะทีน่ ําเข้าเพิม่ ขึน้ 9.6% ที่ 6.4336 ล้านล้านเยน ดอลลาร์ออสเตรเลียปรับลดลง ในขณะทีอ่ ตั ราว่างงานเดือน พ.ค. ลดลงที่ 5.5% จาก 5.6% (m-o-m) และความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ 4.7% : ความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของประชาชนทีป่ ระกอบอาชีพทีไ่ ด้รบั ผลกระทบตามสภาวะเศรษฐกิจเดือน มิ.ย.ลดลง 2.7 จุด (m-o-m) อยู่ท่ี 53.0 จุด ลดลง 3 เดือนติดต่อกัน บ่งชีว้ ่าการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจชะลอลง

Thailand updates :

■ สมาคมผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์เผย ผูป้ ระกอบการต่างชาติเริม่ ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้าน หลังต้นทุนการผลิตเพิม่ สูงขึน้ โดยย้ายไปยัง พม่า กัมพูชา และลาว ซึง่ มีค่าแรงงานถูกกว่า ส่วนผูป้ ระกอบการไทย ยังคงต้องเผชิญกับปญั หาต้นทุนการผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ รวมทัง้ ปญั หาการขาดแคลนแรงงานจํานวนมาก ■ เงินบาทปิ ดตลาด (8 ก.ค.) ที่ 31.43/45 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลง 0.3 บาท/ดอลลาร์ จากปิ ดตลาดวันศุกร์ อ่อนค่ามากสุดในรอบ 11 เดือน หลังเศรษฐกิจสหรัฐฯส่งสัญญาณฟื้นตัว อาจจะมีการปรับลดปริมาณวงเงิน QE เร็วขึน้

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (8 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปิดที่ 15,224.69 จุด เพิม่ ขึน้ 88.85 จุด หรือ +0.59% หลัตวั เลขจ้างงานนอกภาคเกษตรดีเกิน คาด ดัชนี NASDAQ ปิ ดที่ 3,484.83 จุด เพิม่ ขึน้ 5.45 จุด หรือ +0.16% ดัชนี S&P500 ปิ ดที่ 1,640.46 จุด เพิม่ ขึน้ 8.57 จุด หรือ +0.53% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (8 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 200.63 จุด หรือ 1.4% ปิ ดที่ 14,109.34 จุด เนื่องจากมุมมองทีเ่ ป็ นบวกเกีย่ วกับเศรษฐกิจ สหรัฐ อาจทําให้มกี ารชะลอ QE ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 48.93 จุด หรือ 2.44% ปิ ดที่ 1,958.27 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 272.48 จุด หรือ 1.31% ปิ ดวันนี้ท่ี 20,582.19 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,404.64 จุด ลดลง 36.69 จุด (-2.51%) ตามภูมภิ าค หลังสหรัฐฯรายงานยอด การจ้างงานนอกภาคเกษตรมิ.ย.เติบโตเกินคาด โอกาสชะลอ QE มีมากขึน้ ส่งผลให้เงินไหลออกจากตลาดหุน้ เกิดใหม่ในเอเชีย ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : S&P ลดอ ันด ับความน่าเชือ่ ถืออิตาลีลง 1 ขนั้ จาก “BBB+” สู่ “BBB”

Global:

■ สหรัฐ : จํานวนตําแหน่งงานใหม่เดือนพ.ค.เพิม่ ขึน้ 28,000 ตําแหน่ง เป็ น 3.83 ล้านตําแหน่ง จากความเชื่อมันของผู ่ ป้ ระกอบการทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เพราะการบริโภคในประเทศมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในช่วงครึง่ หลังของปี : IMF ลดคาดการณ์ GDP โลกปี น้ลี งเหลือ 3.1% จากเดิมประเมินไว้ท่ี 3.3% เนื่องจากเศรษฐกิจประเทศกําลังพัฒนาอย่างจีนเติบโตชะลอลง และเศรษฐกิจยูโรโซนถดถอยลงกว่าเดิม ■ อังกฤษ : ดัชนีราคาทีอ่ ยู่อาศัยเดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ อยู่ท่ี 21 จุด สูงสุดในรอบ 3 ปี จาก 5 (m-o-m) เป็ นผลจากมาตรการช่วยเหลือผูซ้ อ้ื บ้าน ของภาครัฐ และอัตราดอกเบีย้ ระดับตํ่า : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ค.หดตัวลง 0.8% จาก -0.2% (m-o-m) เนื่องจากผลผลิตทีล่ ดลงของอุตสาหกรรมผลิตยาและโลหะ ขณะทีอ่ ุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเพิม่ ขึน้ จากสภาพอากาศทีอ่ บอุ่น ■ อิ ตาลี : S&P ลดอันดับความน่าเชื่อถืออิตาลีลง 1 ขัน้ สูร่ ะดับ BBB จากระดับ BBB+ เนื่องจากเศรษฐกิจอิตาลีอ่อนแอลง และมีแนวโน้ม จะลดอันดับความน่าเชื่อถือลงอีกในปี น้ี หรือ ปีหน้า ■ จีน : อัตราเงินเฟ้อเดือนมิ.ย.อยู่ท่ี 2.7% เพิม่ ขึน้ จาก 2.1% (m-o-m) จากราคาอาหารทีเ่ พิม่ ขึน้ ถึง 4.9% จาก 3.2% (m-o-m) ขณะทีร่ าคา สินค้าอื่นๆ เพิม่ ขึน้ 1.6% (m-o-m) ทัง้ นี้ อัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับตํ่ากว่าเป้าหมายที่ 3.5% ทําให้ธนาคารกลางจีนยังไม่มคี วามจําเป็ น ในการดําเนินนโยบายการเงินแบบรัดกุม : ดัชนีราคาผูผ้ ลิตหดตัวลง 2.7% จาก -2.9% (m-o-m) ลดลง 16 เดือนติดต่อกัน จากความต้องการในประเทศทีช่ ะลอตัวลง และราคาสินค้า โภคภัณฑ์ลดลง : ยอดการส่งออกเดือนมิ.ย.ลดลง 3.1% (y-o-y) ตํ่ากว่าคาดที่ 3.7% ขณะทีก่ ารนําเข้าเดือนมิ.ย.ลดลง 0.7% จาก 0.3 (m-o-m) แสดงถึงความ ต้องการภายในประเทศและทัวโลกชะลอตั ่ วลง

Thailand updates :

■ ครม.อนุมตั ใิ ห้โอนเงินจากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เพื่อชําระคืนเงินต้นของเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ ของ FIDF1 และ FIDF3 รวม 16,000 ล้านบาท โดยเป็ นเงินจากการขายหุน้ ของบริษทั บริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ จํากัด (บสก.) และหุน้ ของ ธนาคารกรุงไทย (KTB) บางส่วน ■ เงินบาทปิ ดตลาด (9 ก.ค.) ที่ 31.29/30 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ 0.14 บาท/ดอลลาร์ จากแรงช้อนซือ้ ของนักลงทุน

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (9 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปิดที่ 15,300.34 จุด เพิม่ ขึน้ 75.65 จุด หรือ +0.50% จากผลประกอบการทีด่ เี กินคาดของ บริษทั เอกชน ดัชนี NASDAQ ปิ ดที่ 3,504.26 จุด เพิม่ ขึน้ 19.43 จุด หรือ +0.56% ดัชนี S&P500 ปิ ดที่ 1,652.32 จุด เพิม่ ขึน้ 11.86 จุด หรือ +0.72% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (9 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 363.56 จุด หรือ 2.58% ปิ ดที่ 14,472.90 จุด ได้แรงหนุนจากเงินเยนอ่อนค่าและดัชนีราคา ผูบ้ ริโภคจีนออกมาดีตามคาด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 7.18 จุด หรือ 0.37% ปิ ดที่ 1,965.45 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 100.82 จุด หรือ 0.49% ปิ ดที่ 20,683.01 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,398.69 จุด ลดลง 5.95 จุด (-0.42%) สวนทางกับภูมภิ าค เหตุนกั ลงทุนวิตกว่ากนง. จะปรับลดดอกเบีย้ นโยบายวันนี้ (10ก.ค.) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 11 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค ึ ชงิ แอฟริ GLOBALRESEARCH REVIEW: สหร ัฐ – จีน ไม่ เปิกดศ ก GLOBAL : Abenomics ระทบเศรษฐกิ จจีนกา ้ ที่ 2.5% และ FED ยืนย ันคงมาตราการ QE HighLight : กนง.คงมติอ ัตราดอกเบีย

Global:

■ สหรัฐ : ประธาน FED ยืนยันมาตราการกระตุน้ เศรษฐกิจยังคงจําเป็ น เนื่องจากอัตราการว่างงานยังสูงและอัตราเงินเฟ้อยังคงตํ่ากว่าเป้า และคาดว่านโยบายผ่อนคลายทางการเงินยังคงเป็ นสิง่ จําเป็ นในอนาคต ■ อังกฤษ : IMF ได้ปรับเพิม่ GDP อังกฤษจาก 0.6% เป็ น 0.9% ในปี น้ี มองว่าเศรษฐกิจอังกฤษจะขยายตัวดีขน้ึ กว่าเมื่อช่วงเดือนเม.ย. ทัง้ นี้ คาดว่าเศรษฐกิจอังกฤษราว 2.43 ล้านล้านดอลลาร์ จะขยายตัวขึน้ 1.5% ในปี หน้า สูงกว่าประเทศอื่นๆในยุโรป ทีค่ าดว่าจะปรับตัวขึน้ 0.9% ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเผย ดัชนี CPI เดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 0.1% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 1.8% (y-o-y) เป็ นผลมาจากราคาอาหาร และพลังงานทีส่ งู ขึน้ โดยราคาอาหารเพิม่ ขึน้ 5.4% (y-o-y) และราคาพลังงานเพิม่ ขึน้ 3.0% (y-o-y) หากไม่รวมราคาอาหารและพลังงาน ดัชนี CPI เพิม่ ขึน้ 1.3% (y-o-y) ■ ฝรังเศส ่ : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ค.ลดลง 0.4% หลังจากเพิม่ ขึน้ 2.2% ในเดือนเม.ย. เนื่องจากผลผลิตกลุ่มอุตสาหกรรมถ่าน โค้กและโรงกลันนํ ่ ้ามันลดลง ขณะทีย่ อดการผลิตรถยนต์และการผลิตกระแสไฟฟ้ายังเพิม่ ขึน้ ■ จีน : ศุลกากรเผย การส่งออกมิ.ย.ลดลง 3.1% (y-o-y) หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 1% ในพ.ค. โดยการส่งออกไปยังสหรัฐซึง่ เป็ นตลาดส่งออกใหญ่ ทีส่ ดุ ของจีนลดลง 5.4% (y-o-y) และสหภาพยุโรปลดลง 8.3% บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจจีนยังคงเติบโตอย่างชะลอตัว ขณะทีก่ ารนําเข้าลดลง 0.7% (y-o-y) และมียอดเกินดุลการค้ามิ.ย.เพิม่ ขึน้ 2.713 หมื่นล้านดอลลาร์ จาก 2.043 หมื่นล้านดอลลาร์ (m-o-m) : อัตราดอกเบีย้ R/P 7 วัน อ่อนตัวลง 0.05% อยู่ท่ี 3.56% ลดลงต่อเนื่องเป็ นวันที่ 14 ลดลงนานสุดในรอบ 7 ปี โดยอัตราดอกเบีย้ เคยอยู่ ระดับสูงเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 12.45% เมื่อวันที่ 20 มิ.ย : สมาคมผูผ้ ลิตยานยนต์จนี (CAAM) ระบุ ยอดขายและการผลิตรถยนต์ในช่วง 6 เดือนแรกของปี เพิม่ ขึน้ ที่ 10.78 ล้านคัน หรือ 12.34% (y-o-y) ขณะทีก่ ารผลิตรถยนต์อยู่ท่ี 10.75 ล้านคัน เพิม่ ขึน้ 12.83% (y-o-y) ■ ญี่ปนุ่ : หอการค้าญีป่ ุน่ (JCC) เผย ภาวะการขายรถในไทยยังคงทรุดตัวลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะยอดขายรถยนต์แบรนด์ญป่ี นุ่ เดือนมิ.ย.มี ยอดขายเพียง 92,384 คัน ลดลง 10% จากเดือนพ.ค.ทีท่ าํ ได้ 110,000 คัน

Thailand updates :

■ กนง. มีมติคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายที่ 2.50% เนื่องจากอัตราดอกเบีย้ ยังอยูใ่ นระดับเหมาะสม แต่พร้อมปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องตามภาวะ เศรษฐกิจ ขณะทีค่ าดการณ์เศรษฐกิจไทยจะชะลอตัว โดยอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจไทยปี น้จี ะโตไม่ถงึ 5% จากเดิมทีค่ าดว่าจะโต 5.1% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (10 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.24/30 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันก่อน เหตุจากนักลงทุนเทขายดอลลาร์เพื่อทํา กําไร และการคงดอกเบีย้ นโยบายของธปท.เป็ นไปตามคาดการณ์

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (10 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 8.68 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 15,291.66 จุด จากแรงขายทํากําไรแต่เป็ นไปอย่างจํากัดหลัง FED ให้ความเห็นว่าต้องการการฟื้นตัวของตลาดแรงงานทีช่ ดั เจนกว่านี้ก่อนลดมาตรการ QE ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 16.50 จุด หรือ 0.47% ปิ ดที่ 3,520.76 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.30 จุด หรือ 0.02% ปิ ดที่ 1,652.62 ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (10 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 56.30 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 14,416.60 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 42.67 จุด หรือ 2.17 % ปิ ดที่ 2,008.13 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 221.55 จุด หรือ 1.07% ปิ ดที่ 20,904.56 จุดตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,388.41 จุด ลดลง 10.28 จุด (-0.73%) เหตุนกั ลงทุนเทขายทํากําไรหลังกนง.มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 15 ประจําว ันที่ 11 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

ึ ชงิ แอฟริกา GLOBAL REVEIW : สหร ัฐ – จีน เปิ ดศก

การเยือนทวีปแอฟริกาเป็ นครัง้ ที่ 2 ของประธานาธิบดีบารัก โอบามา เมื่อปลายเดือน มิ.ย.ที่ผ่านมา แม้มจี ุดประสงค์เพื่อ การกระชับความสัมพันธ์และพบปะผู้นําประเทศ เพื่อหารือด้านความมั ่นคงของทวีป เชื่อมโยงไปถึงการขยายข้อตกลงด้านการค้าและ การลงทุ นระหว่า งกัน แต่ ปฏิเ สธไม่ไ ด้ว่า สหรัฐ ฯมีเ ป้ า หมายแฝง คือ การสกัด กัน้ อิทธิพลของจีนทีก่ ําลังแผ่ขยายอย่างรวดเร็วในทวีปนี้ แม้โ อบามาได้ใ ช้เ วลาถึง 6 วัน ในการเยือ น 3 ประเทศ คือ เซเนกัล สาธารณรัฐ แอฟริกาใต้ และแทนซาเนีย เพื่อหารือในเรื่องของการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าและการ ลงทุน รวมไปถึงการสร้างประชาธิปไตยในทวีป แต่หลายฝา่ ยมองว่า ความเคลื่อนไหว ของสหรัฐฯทีเ่ กีย่ วกับแอฟริกามาช้าและน้อยเกินไป เทียบไม่ได้กบั อดีตประธานาธิบดี ของจีน นายหู จิน่ เทา ทีม่ าเยือนทวีปนี้ถงึ 7 ครัง้ และก็ยงั ช้ากว่าประธานาธิบดีคนปจั จุบนั นาย สี จิน้ ผิง ที่มาเยือนแอฟริกาทันทีหลังเข้ารับตําแหน่ ง ได้เพียงไม่ก่สี ปั ดาห์ แม้ในปี 2543 มูลค่าการค้าระหว่างแอฟริกา - สหรัฐฯมียอดกว่า 3 หมื่นล้านดอลลาร์ ในขณะที่มูลค่าการค้ากับจีนอยู่ท่ี 1 หมื่น ล้านดอลลาร์ แต่เมื่อปี ทแ่ี ล้ว จีนได้แซงหน้าสหรัฐฯขึน้ เป็ นประเทศคู่คา้ อันดับหนึ่งของแอฟริกา โดยมูลค่าการค้าระหว่างแอฟริกา - จีนเพิม่ สูงขึน้ เป็ น 10 เท่า คิดเป็ นมูลค่า 1.6 แสนล้านดอลลาร์ มากกว่าการค้าแอฟริกา - สหรัฐฯถึง 2 เท่า ไม่เพียงเท่านัน้ จีนยังมีเจ้าหน้าที่ดา้ นการพาณิชย์ประจําอยู่ ในอนุภูมภิ าคทะเลทรายซาฮาร่าถึง 150 คน แต่สหรัฐฯมีเพียงแค่ 6 คน อย่างไรก็ตาม โอบามาก็ยงั ยืนยันจุดแข็งของสหรัฐฯเหนื อจีน ในเรื่อ งของ “ค่านิ ยม แนวทางการพัฒนาและแนวทางสูป่ ระชาธิปไตย” ซึ่งเป็ นสิง่ ที่เหมาะกับประเทศในทวีป แอฟริกามากกว่าแนวทางของจีน แม้ชาวแอฟริกนั ส่วนใหญ่จะยินดีกบั การเข้ามาของ จีน แต่กต็ ้องยอมรับว่า จีนให้ความสนใจกับทรัพยากรในแอฟริกาเป็ นอันดับแรก เพื่อ ป้ อนให้ ก ับ ภาคการผลิ ต ในจีน ในขณะที่ส หรัฐ ฯให้ ค วามสํ า คัญ กับ การก่ อ สร้ า ง โครงสร้างพืน้ ฐานของประชาชนในทวีปมากกว่า ซึ่งล่าสุด โอบามาได้ประกาศแผนการ “พาวเวอร์แอฟริกา” ด้วยการนําทรัพยากรของสหรัฐฯมาลงทุนกว่า 7,000 ล้านดอลลาร์ โดยร่วมมือกับภาคเอกชนที่ร่วมลงทุนกว่า 9,000 ล้านดอลลาร์ ในการเพิม่ พลังงาน แถบซับซาฮาราของทวีปแอฟริกาในช่วง 5 ปี ขา้ งหน้า เพื่อให้ประชาชนชนบทมีไฟฟ้า ใช้มากขึน้ เนื่องจากไฟฟ้าเป็ นปจั จัยพืน้ ฐานของผูค้ น และเป็ นปจั จัยสําคัญที่จะเชื่อมโยงแอฟริกาเข้ากับเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ โอบามายังกระตุ้น ประเทศในแอฟริกา ให้เพิม่ ความเข้มงวดในการเจรจาด้านการลงทุนกับต่างชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อตกลงที่ช่วยสร้างประโยชน์ให้ประชาชน และแพร่ ขยายการพัฒนาไปในฐานทีก่ ว้างขึน้ แต่การเข้ามาของจีนไม่ได้เป็ นการเข้ามาเพื่อตักตวงผลประโยชน์เพียงด้านเดียว เพราะที่ผ่านมา จีนก็ได้เคยให้ความช่วยเหลือแอฟริกาอยู่หลายๆ ด้าน ทัง้ การให้เงินบริจาค และการให้สนิ เชื่อในอัตราดอกเบี้ยตํ่าสําหรับการก่อ สร้างโครงสร้างพื้นฐาน แม้ว่าพันธมิตรสําคัญของแอฟริกาจะเป็ น สหรัฐฯ และสหรัฐเองก็มองแอฟริกาเป็ นตลาดใหม่ท่นี ่ าลงทุน แต่จากสถานการณ์ปจั จุบนั ชาวแอฟริกนั มองว่าสหรัฐฯไม่ค่อยให้ความสนใจกับทวีปนี้ เท่าทีค่ วร แอฟริกาจึงต้องหันมาสร้างความสัมพันธ์กบั ประเทศอื่นๆทีพ่ ร้อมจะยื่นมือเข้ามาเป็ นหุน้ ส่วนด้านการพัฒนา ซึง่ ก็คอื ประเทศจีน แม้นโยบายการต่างประเทศของโอบามาคือ “มุง่ สูเ่ อเชีย” แต่นโยบายของจีนนัน้ คือ “มุ่งสู่ทุกภูมภิ าคทั ่วโลก” รวมไปถึงแอฟริกาเป็ นสําคัญ ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงการมองการไกลด้านการค้าของจีน จึงทําให้หลายฝา่ ยมองว่า นี่อาจจะเป็ นสงครามเย็นแย่งชิงอิทธิพลเหนือทวีปแอฟริกา และทางสหรัฐฯ ก็ดูจะมีภาษีเหนือกว่าจีน เพราะสหรัฐฯเป็ นมิตรเก่าแก่ท่มี คี วามสัมพันธ์อนั ดีมาอย่างยาวนาน หากแต่สหรัฐฯมีความจริงใจอย่างแท้จริงทัง้ ในด้าน การให้ความช่วยเหลือระบบสาธารณูปโภคและการศึกษาเพื่อเพิม่ ศักยภาพของชาวแอฟริกนั สหรัฐฯและแอฟริกาต่างก็จะได้ผลประโยชน์ทงั ้ สอง ฝา่ ยอันนํามาซึง่ ผลกําไรในด้านการค้าและการลงทุนต่อไปในระยะยาว... Source: Daily Nation: “Obama’s Africa Trip: Symbolism and Substance” By Mwangi S. Kimenyi (July 8, 2013), Barack Obama’s Africa tour: Too little too late By David Blair (July 1, 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ท ั ่วไป ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 12 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH RESEARCH: Abenomics : เงินเฟ้อพุไม่ง่ กสูระทบเศรษฐกิ ง ฉุดเสน่ห GLOBAL จจีแ์ นดนอิเหนา ิ ค้านําเข้าสหร ัฐมิ.ย.ลดลง 0.2% ในขณะทีจ HighLight : ราคาสน ่ ํานวนผูว้ า ่ งงานย ังคงสูง

Global:

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานเผย ราคาสินค้านําเข้ามาเดือน มิ.ย.ลดลง 0.2% (m-o-m) หลังจากทีล่ ดลง 0.7% ในเดือน พ.ค. แต่เพิม่ ขึน้ 0.2% (y-o-y) เป็ นผลจากเศรษฐกิจทีอ่ อ่ นแอในยุโรปและเอเชียทําให้ราคาสินค้านําเข้าลดลง กระตุน้ การบริโภคในประเทศ ส่งผลให้เงินเฟ้ออยู่ใน ระดับตํ่า : จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในสัปดาห์ก่อนเพิม่ ขึน้ 16,000 ราย อยู่ท่ี 360,000 ราย เมื่อเทียบกับค่าเฉลีย่ 4 สัปดาห์ท่ี 351,750 ราย และทรงตัวที่ 330,000-360,000 ราย ในช่วง 3 เดือน บ่งชีต้ ลาดแรงงานสหรัฐยังคงไม่ฟ้ืนตัว ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (Insee) เผย ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 0.2% (m-o-m) เกินกว่าคาด และปรับขึน้ 0.9% (y-o-y)
โดยได้รบั แรงหนุนจากราคาอาหารทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ■ สเปน : IMF ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจสเปนปี 2557 สูร่ ะดับขยายตัว 0% จากเดิมทีค่ าดการณ์ไว้เมื่อเดือนเม.ย.ที่ 0.7% ระบุ ปี 2556 มี เพียงอิตาลีทป่ี รับตัวยํ่าแย่กว่าสเปน โดยเศรษฐกิจอิตาลีจะหดตัวลง 1.8% เมื่อเทียบกับตัวเลขประมาณการสเปนอยู่ทห่ี ดตัว 1.6% ■ บราซิ ล : ธนาคารกลางขึน้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูอ้ กี 0.5% เป็ น 8.5% เพื่อรับมืออัตราเงินเฟ้อทีเ่ พิม่ สูงขึน้ และการเติบโตทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่ สดใส โดยมิ.ย.เงินเฟ้อเพิม่ เป็ น 6.7% สูงกว่าเป้าที่ 6.5% ซึง่ ธนาคารได้ขน้ึ ดอกเบีย้ แล้ว 2 ครัง้ ในปี น้ี โดยปรับขึน้ 0.25% เดือนเม.ย. และอีก 0.5% เดือนพ.ค. ■ ญี่ปนุ่ : BOJ มีมติคงนโยบายอัตราดอกเบีย้ ใกล้ 0 และการซือ้ สินทรัพย์ประจําปี อยู่ท่ี 60 -70 ล้านล้านเยน สอดคล้องกับตลาดตามคาด โดยอัตราเงินเฟ้อปีงปม.นี้ 0.6% และ 1.3% ในอีก 12 เดือนข้างหน้า และคาด GDP จะเติบโต 2.9% ในปี งปม. 2556/57 เพิม่ ขึน้ จากเดิมที่ 2.3% โดยคาดดัชนี CPI จะเพิม่ ขึน้ 0.7% จากเดิมที่ 0.4% ■ อิ นโดนี เซีย : ธนาคารกลางปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ อ้างอิง 0.50 % มาเป็ น 6.5% และอัตราดอกเบีย้ เงินฝากจาก 4.25% เป็ น 4.75% เป็ น การประกาศขึน้ อัตราดอกเบีย้ เป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน เพื่อควบคุมตัวเลขเงินเฟ้อ และเพื่อหนุนเงินรูเปี ยห์ทอ่ี ่อนแอให้แข็งแกร่งขึน้ ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางคาดการณ์ ยอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศจะทําสถิตสิ งู สุดในปี น้ี เนื่องจากราคานํ้ามันทีล่ ดลง ระบุ ยอด เกินดุลบัญชีเดินสะพัดปี 56 จะทําสถิตใิ หม่ท่ี 5.3 หมื่นล้านดอลลาร์ หลังมียอดเกินดุล 4.31 หมืน่ ล้านดอลลาร์ ในปี 55

Thailand updates :

■ ธปท. เผย ตัวเลขเงินให้กยู้ มื ภาคครัวเรือนของสถาบันรับฝากเงินทัง้ ระบบ ณ สิน้ ไตรมาสแรกปี น้ี มียอดรวม 8.97 ล้านล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนทีม่ ยี อด 7.72 ล้านล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ 1.25 ล้านล้านบาท คิดเป็ น 16.24% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (10 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.11/12 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากปิ ดตลาดวันก่อน 0.13 บาท/ดอลลาร์ ตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (11 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 169.26 จุด หรือ 1.11% ปิ ดที่ 15,460.92 จุด ดัชนี Nasdaq ปิ ดที่ 3,578.30 จุด บวก 57.55 จุด หรือ 1.63% ดัชนี S&P 500 ปิ ดที่ 1,675.02 จุด บวก 22.40 จุด หรือ 1.36% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (11 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 55.98 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 14,416.60 จุด จากแรงซือ้ เก็งกําไร หลังเฟดส่งสัญญาณว่าจะ ยังไม่มกี ารชะลอมาตรการ QE ในระยะเวลาอันใกล้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 64.86 จุด หรือ 3.23% ปิ ดวที่ 2,072.99 จุด ดัชนีฮงเส็ ั่ ง เพิม่ ขึน้ 532.93 จุด หรือคิดเป็ น 2.55% ปิ ดที่ 21,437.49 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,447.04 จุด เพิม่ ขึน้ 58.63 จุด(+4.22%) ปรับขึน้ ตามภูมิ หลังประธานเฟดส่งสัญญาณการใช้ QE ต่อ และต้องการเห็นตัวเลขการว่างงานปรับตัวดีขน้ึ ก่อนชะลอ QE ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 16 ประจําว ันที่ 12 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : เงินเฟ้อพุง ่ สูง ฉุดเสน่หแ ์ ดนอิเหนา

เศรษฐกิจขยายตัวสูงเป็ นอันดับ 3 ของโลกในช่วง 10 ปี ทผ่ี า่ นมา ทําให้อนิ โดนีเซีย อยูใ่ นทุกสายตาของนักลงทุน และนอกเหนือจากอัตราการเติบโตทีส่ ูงแล้ว เสถียรภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังมีแนวโน้มทีด่ อี กี ด้วย จากการ ประมาณการของสํานักวิจยั ต่างๆ ทีค่ าดว่าภายในปี 2030 อินโดนีเซียจะมีขนาด เศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับ 7 ของโลก จากอันดับ 16 ในปจั จุบนั โดยจะเป็ นรองแค่ เพียงจีน สหรัฐฯ อินเดีย ญี่ปนุ่ บราซิล และรัสเซีย เท่านัน้ หากแต่วา่ มนต์ขลังของ อินโดนีเซีย แดนอิเหนากําลังหมดไป เมื่อระบบเศรษฐกิจอินโดนีเซียเริม่ สะท้อนให้ เห็นถึงความอ่อนแอของโครงสร้างเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็ นปญั หาการขาดดุล งบประมาณซึง่ รวมไปถึงการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดทีม่ แี นวโน้มมากกว่าปี ก่อน ปญั หาความผันผวนของค่าเงินรูเปี ยห์ทอ่ี ่อนค่าลงตํ่าสุดในรอบ 4 ปี และทีส่ าํ คัญ ทีส่ ดุ คือ อัตราเงินเฟ้อทีเ่ ริม่ ปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ อย่างรวดเร็วตัง้ แต่ตน้ ปี 2013 ทีผ่ า่ นมา ทัง้ ทีเ่ คยอยูใ่ นระดับตํ่ามาโดยตลอด ระดับเงินเฟ้อเดือนมิถุนายนในแดนอิเหนากลับมาร้อนแรงอีกครัง้ ทีร่ ะดับ 5.9 % ซึง่ เท่ากับสถิตเิ งินเฟ้อทีส่ งู ทีส่ ดุ ทีเ่ คยทําไว้ในเดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา และคาดว่าระดับเงินเฟ้อจะยิง่ สูงขึน้ ไปอีกในเดือนกรกฎาคมนี้ โดยปจั จัยเกือ้ หนุ นเงินเฟ้อในครัง้ นี้ต่างกับครัง้ ก่อนในเดือนมีนาคม ทีม่ สี าเหตุมาจาก การดําเนินนโยบายทีผ่ ดิ พลาดของรัฐ ทีอ่ อกมาตรการจํากัดสินค้านําเข้าบางรายการ เป็ นผลให้ราคาหมวดอาหารปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาหัวหอมซึง่ ถือเป็ นส่วนประกอบหลักของอาหารในอินโดนีเซียทีส่ งู ขึน้ ถึง 82.3 % ในขณะทีร่ าคากระเทียมและพริกก็เพิม่ สูงขึน้ เช่นกัน แต่ทว่าตัวการสําคัญที่เป็ นเหตุให้เงินเฟ้ อมีแนวโน้ มเพิ่ มสูงขึน้ อย่างต่อเนื่ องในครัง้ นี้ นอกเหนื อจากผลสืบเนื่ องของราคาอาหารที่แพงขึน้ ในช่วงก่อนหน้ า ผนวกกับปัจจัยทางฤดูกาลก่อนเทศกาลรอมฏอนที่เริ่มตัง้ แต่วนั ที่ 11 กรกฎาคมที่ผ่านมา คือ การลดการอุดหนุนราคา นํ้ามันของรัฐในปลายเดือนมิ ถนุ ายนนัน่ เอง ทําให้ราคาขายปลีกนํ้ามันในประเทศเพิ่ มสูงขึน้ ถึง 44 % โดยราคานํ้ามันเบนซินเพิม่ ขึน้ จาก 14 บาท เป็ น 20.24 บาทต่อลิตร และนํ้ามันดีเซล จาก 14 บาท เป็ น 17.12 บาทต่อลิตร ผลักดันให้คา่ ขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการขนส่งมวลชน เพิม่ สูงขึน้ ไปด้วย ซึง่ เท่ากับว่าเป็ นการเพิม่ แรงกดดันของเงินเฟ้อให้รุนแรงเพิม่ ขึน้ ไปอีก ในขณะที่ GDP ไตรมาสแรกทีผ่ า่ นมาขยายตัวเพียง 6.02 % เท่านัน้ ซึง่ ถือเป็ นอัตราการขยายตัวทีช่ า้ ทีส่ ดุ ในรอบ 2 ปี สําหรับการขึน้ ราคานํ้ามันในครัง้ นี้ ถือเป็ นการขึน้ ราคานํ้ามันเป็ นครัง้ แรกในรอบ 5 ปี ตัง้ แต่ปี 2008 โดยหวังช่วยบรรเทาแรงกดดันทีม่ ตี ่อ งบประมาณของภาครัฐ ช่วยชะลอการขาดดุลการค้าและดุลบัญชี เดินสะพัด และช่วยให้การอ่อนค่าของเงินรูเปี ยห์ลดลง เนื่องจากทีผ่ ่าน มารัฐบาลอิเหนาต้องใช้เงินอุดหนุ นด้านพลังงานถึงเกือบ 30,000 ล้าน ดอลลาร์ (ราว 934,000 ล้านบาท) ไปกับการนําเข้านํ้ ามันเชือ้ เพลิงจาก ต่างประเทศ เพื่อพยุงราคาเชื่อเพลิงให้อยูร่ ะดับตํ่า โดยที่กว่า 70 % ของ เงินอุดหนุนที่จา่ ยไปนัน้ มีเพียงแค่ชนชัน้ กลางและชนชัน้ สูงเท่านัน้ ที่ ได้รบั ผลประโยชน์ จากเหตุการณ์ดงั กล่าว ทําให้นกั วิเคราะห์และนักลงทุนทั ่วโลกลงความเห็นเป็ นเสียงเดียวกันว่า ธนาคารกลางอินโดฯ จะทําการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายอีกครัง้ ในเร็วๆ นี้ หลังจากทีเ่ พิง่ ได้ประกาศขึน้ อัตราดอกเบี้ยไป 0.25 % ในเดือนมิถุนายนทีผ่ ่านมา ซึง่ ล่าสุดในวันที่ 11 กรกฎาคม ธนาคารกลางก็ได้ออกมาประกาศขึน้ อัตราดอกเบีย้ อีกครัง้ อีก 0.5 % มาอยู่ที่ระดับ 6.50 % เพื่อควบคุมระดับเงินเฟ้ อให้กลับมาอยู่ใน ระดับที่ตงั ้ เป้ าไว้ 3.5-5.5% แต่อย่างไรก็ตามยังคงต้องจับตาดูเศรษฐกิจอินโดนีเซียต่อไปในฐานะทีเ่ ป็ นประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่าผลของการขึน้ อัตราดอกเบีย้ ในเชิงรุกจะช่วยบรรเทาอัตราเงินเฟ้อทีร่ อ้ นแรงได้หรือไม่ การขึน้ ราคานํ้ามันจะส่งผลร้ายแรง ต่อเศรษฐกิจอย่างไร ซึง่ นักวิ เคราะห์ยงั คงคาดว่าตัวเลขเงินเฟ้ อถิ่ นอิ เหนานี้ จะยังคงทะยานเพิ่มสูงขึน้ ต่อไปถึง 8.5% ในขณะที่อตั รา ดอกเบีย้ นโยบายจะมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึน้ เช่นกันที่ระดับ 7% ในปลายปี นี้ Source: Indonesia Central Bank Watch By (8 July 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ท ั ่วไป ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ั ่ สญญาณเศรษกิ ้ สง HighLight : ธนาคารใหญ่สหร ัฐ 2 ราย ประกาศรายได้เพิม ่ สูงขึน จฟื้ นต ัว และ S&P ื่ ถือไอร์แลนด์ เป็น “เชงิ บวก” ปร ับความน่าเชอ

Global:

■ สหรัฐ : เจพี มอร์แกน (ธนาคารรายใหญ่สดุ ของสหรัฐ) รายงาน กําไรสุทธิเพิม่ ขึน้ 31% อยู่ท่ี 6,500 ล้านดอลลาร์ สูงกว่าคาดการณ์ เป็ น ไตรมาสที่ 5 ติดต่อกัน และเวลส์ ฟาร์โก (ผูป้ ล่อยสินเชื่อบ้านอันดับ 1) กําไรสุทธิเพิม่ ขึน้ 20% อยู่ท่ี 5,250 ล้านดอลลาร์ สะท้อนถึงเศรษฐกิจ สหรัฐทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ■ ไอร์แลนด์ : S&P ปรับเพิม่ มุมมองอันดับความน่าเชื่อถือจาก “มีเสถียรภาพ” เป็ น “เชิงบวก” คงอันดับไว้ท่ี BBB+ สะท้อนถึงการฟื้นตัว ของฐานะการคลังและการลดขาดดุลงบประมาณเร็วกว่าทีค่ าด รวมถึงแนวโน้มหนี้สาธารณะทีอ่ าจลดลงจาก 122% ของ GDP ปี น้ี ลงมาอยู่ท่ี 112% ของ GDP ในปี 2016 ■ สเปน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติสเปน (INE) รายงาน ยอดธุรกิจก่อตัง้ ใหม่เดือน พ.ค.เพิม่ ขึน้ 10.1% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 30.5% (m-o-m) โดย 22% ของธุรกิจทีก่ ่อตัง้ ใหม่เป็ นธุรกิจในภาคการค้าและ 19.4% เป็ นธุรกิจในภาคก่อสร้าง ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม ปรับลดตัวเลขผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ค.เป็ น ขยายตัว 1.9% จากเดือน ก่อนหน้า ลดลงเล็กน้อยจากทีร่ ายงานก่อนหน้าว่าขยายตัว 2.0% ■ จีน: รัฐมนตรีคลังจีนระบุ หากเศรษฐกิจจีนขยายตัวในอัตรา 6.5% จะไม่ก่อให้เกิดปญั หาทีต่ อ้ งกังวล เป็ นสัญญาณว่า รัฐบาลต้องการให้ เศรษฐกิจชะลอตัวลงมากกว่าทีเ่ ป็ นอยู่ ทัง้ นี้ จีนตัง้ เป้า GDP ไว้ท่ี 7.5% ขณะทีใ่ นครึง่ ปีแรกขยายตัวตํ่ากว่าระดับ 7.7% เล็กน้อย : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รายงาน ยอดการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ช่วงครึง่ ปีแรก ขยายตัว 20.3% สูร่ ะดับ 3.68 ล้านล้านหยวน (5.993 แสนล้านดอลลาร์) ยอดขายอสังหาริมทรัพย์เพื่ออยู่อาศัยและเพือ่ การพาณิชย์ชว่ ง 6 เดือนแรกขยายตัว 43.2% ที่ 3.34 ล้านล้านหยวน : ธนาคารกลางจีน เผยยอดการปล่อยกูส้ กุลเงินหยวนล็อตใหม่เดือน มิ.ย.อยู่ท่ี 8.605 แสนล้านหยวน (1.3962 แสนล้านดอลลาร์) เพิม่ ขึน้ 6.674 แสนล้านหยวน (m-o-m) แต่ลดลง 5.93 หมื่นล้านหยวน (y-o-y) : จีนวางแผนจํากัดจํานวนการซือ้ รถยนต์ในเมืองสําคัญอีก 8 เมือง อาทิเช่น เมืองเสิน่ เจิน้ ฉงชิง่ และเทียนจิน เพื่อแก้ปญั หามลภาวะและ การจราจร ทัง้ นี้ ยอดขายรถยนต์ในปี ทผ่ี ่านมาสูงกว่า 13 ล้านคัน เป็ นสาเหตุใหญ่ให้การจราจรติดขัด และเกิดปญั หามลภาวะทางอากาศ

Thailand updates :

■ ธปท. รายงาน ทุนสํารองระหว่างประเทศลดลง 2,000 ล้านเหรียญ อยู่ท่ี 1,688 แสนล้านเหรียญ จากก่อนหน้าทีเ่ งินทุนไหลออกเร็ว เพราะ FED ส่งสัญญาณยกเลิก QE ■ เงินบาทปิ ดตลาดวันศุกร์ (12 ก.ค.) ที่ 31.15/17 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันพฤหัส ตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (12 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปิดที่ 15,460.92 จุด เพิม่ ขึน้ 169.26 จุด หรือ 1.11% หลัง FED เผยมาตรการ QE ยังคงเป็ น สิง่ จําเป็ น เนื่องจากอัตราว่างงานยังสูงและอัตราเงินเฟ้อยังตํ่ากว่าเป้าหมาย ดัชนี S&P500 ปิ ดที่ 1,675.02 จุด เพิม่ ขึน้ 22.40 จุด 1.36% ดัชนี NASDAQ ปิ ดที่ 3,578.30 จุด เพิม่ ขึน้ 57.55 จุด หรือ 1.63% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (12 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 33.67 จุด หรือ 0.23% ปิ ดที่ 14,506.25 จุด หลังเฟดส่งสัญญาณว่าจะยังไม่มกี ารชะลอ มาตรการ QE ในระยะเวลาอันใกล้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 33.50 จุด หรือ -1.62 % ปิ ดที่ 2,039.49 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 160.21 จุด หรือ0.75% ปิ ดที่ 21,277.28 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,453.71 จุด เพิม่ ขึน้ 6.67 จุด (+0.46%) หลัง FED ระบุว่าจะชะลอการผ่อน คลาย QE ทําให้นกั ลงทุนคลายความกังวลและมีเงินบางส่วนกลับเข้ามาในตลาด ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

์ ดเครดิตระบบธนาคารสงิ คโปร์สู่ "เชงิ ลบ" ้ 0.4% และมูดส HighLight : ยอดค้าปลีกสหร ัฐเพิม ่ ขึน ี ล

Global:

■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์รายงาน ยอดค้าปลีกเดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ 0.4% ตํ่ากว่าคาดที่ 0.8% %แม้ได้รบั แรงหนุนจากอุปสงค์ดา้ นพลังงาน และรถยนต์ทแ่ี ข็งแกร่ง แต่อุปสงค์ดา้ นวัสดุก่อสร้าง ร้านค้า และร้านอาหาร กลับชะลอลง สะท้อนถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจซึง่ อาจส่งผล ต่อแผนการของ FED ทีจ่ ะเริม่ ลดขนาด QE ภายในปี น้ี : เฟด นิวยอร์กรายงาน ดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวมเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 9.46 จาก 7.84 ในเดือนมิ.ย. บ่งชีธ้ ุรกิจภาคการผลิตในนิวยอร์กปรับตัวดี ขึน้ หลังจากทีห่ ดตัวลง -1.43 ในเดือนพ.ค. : พาณิชย์รายงาน สต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจเดือนพ.ค. เพิม่ ขึน้ อัตราทีช่ า้ ลง 0.1% แสดงให้เห็นว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจชะลอตัว : ซิตก้ี รุ๊ปเผย รายได้สทุ ธิไตรมาส 2 ปี น้ี อยู่ท่ี 4.2 พันล้านดอลลาร์ หรือ 1.34 ดอลลาร์ต่อหุน้ ขณะทีร่ ายได้รวมอยู่ท่ี 2.05 หมื่นล้านดอลลาร์ เพิม่ ขึน้ 2.9 พันล้านดอลลาร์ (q-o-q) หรือ 0.95 ดอลลาร์ต่อหุน้ ขณะทีร่ ายได้โดยรวมอยู่ท่ี 1.84 หมื่นล้านดอลลาร์ ■ ยุโรป : ยอดจดทะเบียนรถยนต์พ.ค.อยู่ท่ี 1.04 ล้านคัน ลดลง 5.9% (y-o-y) ตํ่าสุดในรอบ 20 ปี โดยเยอรมนีมยี อดขายลดลง 9.9% ฝรังเศสลด ่ 10.4% อิตาลีลด 8% สเปนลด 2.6% ขณะทีอ่ งั กฤษเป็ นประเทศเดียวทีม่ ยี อดขายเพิม่ ขึน้ 11% (y-o-y) ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเผย ยอดค้าปลีกเดือนมิ.ย.อยูท่ ่ี 1.88 ล้านล้านหยวน เพิม่ ขึน้ 13.3% (y-o-y) แข็งแกร่งสุดตัง้ แต่ตน้ ปี และ เพิม่ ขึน้ 1.26% (m-o-m) จาก 12.9% ในเดือนพ.ค.และช่วงครึง่ แรกของปี 56 ยอดค้าปลีกของจีนเพิม่ ขึน้ 12.7% (y-o-y) อยู่ท่ี 11.08 ล้าน ล้านหยวน :ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 8.9% (y-o-y) ชะลอลงจาก 9.2% ในเดือนพ.ค. และการผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ 0.68% (m-o-m) ซึง่ ในช่วงครึง่ แรกของปี 56 การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัว 9.3% หลังจากทีข่ ยายตัว 10% ในปี 55 :คณะกรรมการกํากับดูแลหลักทรัพย์ (CSRC) ปรับเพิม่ โควต้าการลงทุนสําหรับ QFII เป็ น 1.5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ทัง้ นี้ ธนาคารกลาง และ CSRC ได้ตกลงขยายแผนนําร่อง RQFII ให้ครอบคลุมสิงคโปร์ ลอนดอน และตลาดอื่นๆ ต่อจากฮ่องกง ■ สิ งคโปร์: ยอดขายบ้านเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 24% ที่ 1,806 ยูนิต ขณะที่ มูดสี ์ ปรับลดแนวโน้มระบบธนาคาร จาก “มีเสถียรภาพ” เป็ น "เชิงลบ" เนื่องจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของสินเชื่อ และราคาอสังหาริมทรัพย์ทส่ี งู ขึน้ อาจส่งผลให้คุณภาพสินเชื่อถดถอยลง

Thailand updates :

■ คลังเผย รายได้สทุ ธิ 9 เดือนแรกปี งปม.56 (ต.ค.55-มิ.ย.56) อยู่ท่ี 1,616,683 ล้านบาท สูงกว่าเป้าที่ 1,534,685 ล้านบาท หรือ 5.3% โดยการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ภาษีเงินได้ และปิโตรเลียม สูงกว่าเป้า สะท้อนถึงอุปสงค์ภายในประเทศ รายได้ภาคครัวเรือน และ ภาคธุรกิจพลังงานทีข่ ยายตัว ส่วนการจัดเก็บรายได้ม.ิ ย.56 เป็น 181,377 ล้านบาท ตํ่ากว่าเป้า 2% เป็ นผลมาจากการนําเข้าทีช่ ะลอตัว ■ เงินบาทปิ ดตลาด(15 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 30.14/16 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากเปิ ดตลาดวันก่อน

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 19.96 จุด หรือ 0.13% ปิ ดที่ 15,484.26 จุด ขานรับผลประกอบการซิตก้ี รุ๊ปแข็งแกร่ง ตัวเลข สต็อกสินค้าคงคลัง และยอดค้าปลีกสหรัฐเพิม่ ขึน้ ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 7.41 จุด หรือ 0.21% ปิ ดที่ 3,607.49 จุด ดัชนี S&P500 เพิม่ ขึน้ 2.31 จุด หรือ 0.14% ปิ ดที่ 1,682.50 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิปิดทําการ เนื่องในวันหยุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 19.90 จุด หรือ 0.97% ปิ ดที่ 2,059.39 จุด ดัชนีฮงั ่ เส็งเพิม่ ขึน้ 26.03 จุด หรือ 0.12% เปิ ดที่ 21,303.31 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,455.40 จุด เพิม่ ขึน้ 1.69 จุด (+0.12%) จากแรงขายทํา กําไร หลังจีนประกาศ GDP ไตรมาส 2 ขยายตัว 7.5% ตามคาด ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

์ ดอ ันด ับความน่าเชอ ื่ ถือกองทุน ้ 0.5% มากกว่าคาด และฟิ ทชล HighLight : ด ัชนี CPI สหร ัฐมิ.ย.เพิม ่ ขึน ร ักษาเสถียรภาพการเงินยุโรปและฝรง่ ั เศสลง 1 ขน ั้ จาก “AAA” สู่ “AA+”

Global:

■ สหรัฐ : ดัชนี CPI เดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 0.5% มากกว่าคาดที่ 0.3% สูงสุดในรอบ 4 เดือน และเพิม่ ขึน้ 1.8% (y-o-y) จากราคานํ้ามันเบนซิน เพิม่ ขึน้ โดยดัชนี CPI พืน้ ฐานเพิม่ ขึน้ 1.6% (y-o-y) ส่งสัญญาณว่าเงินเฟ้อกําลังเพิม่ ขึน้ อาจเป็ นปจั จัยทีท่ าํ ให้เฟดตัดสินใจเริม่ ลดขนาด QE : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ ส้ ร้างบ้านก.ค.เพิม่ ขึน้ 6 จุด ทีร่ ะดับ 57 เพิม่ ขึน้ 3 ติดต่อกัน และสูงสุดในรอบ 7 ปี จากกลุ่มผูซ้ อ้ื บ้านมีมมุ มองทีเ่ ป็ น บวกมากขึน้ แม้อตั ราดอกเบีย้ เงินกูซ้ อ้ื บ้านปรับสูงขึน้ ก็ตาม ■ ยุโรป : ฟิทช์ ลดอันดับความน่าเชื่อถือกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) ลง 1 ขัน้ สูร่ ะดับ AA+ จากระดับ AAA จากการลด อันดับความน่าเชื่อถือฝรังเศส ่ โดยความน่าเชื่อถือของ EFSF ขึน้ อยู่กบั ประเทศทีท่ างกองทุนได้ให้เงินช่วยเหลือ รวมถึงฝรังเศสด้ ่ วยเช่นกัน : ยูโรโซนมียอดเกินดุลการค้าพ.ค. 1.52 หมื่นล้านยูโร (1.99 หมืน่ ล้านดอลลาร์) เพิม่ ขึน้ 6.6 พันล้านยูโร (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ จาก 1.41 หมื่น ล้านยูโร (m-o-m) ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเผย ดัชนี CPI เดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 2.9% จาก 2.7% เดือนพ.ค. ตํ่ากว่าการคาดที่ 3% จากต้นทุนการ เดินทางด้วยเครื่องบินและอาหารช่วยชดเชยราคาเชือ้ เพลิงทีส่ งู ขึน้ ■ ฝรังเศส ่ : ฟิทช์ลดอันดับความน่าเชื่อถือฝรังเศสลง ่ 1 ขัน้ สูร่ ะดับ AA+ จากระดับ AAA แต่คงแนวโน้มอันดับเครดิตไว้ท่ี “มีเสถียรภาพ" เหตุจากหนี้สนิ ยังคงอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเศรษฐกิจทีไ่ ม่แน่นอน ■ จีน : เจพี มอร์แกนลดคาดการณ์ GDP จีนปี 56 จาก 7.6% สู่ 7.4% ตํ่ากว่าเป้าที่ 7.5% รัฐบาลระบุ แม้ GDP ชะลอตัวลง แต่การปรับ โครงสร้างทางเศรษฐกิจยังคงเป็นสิง่ สําคัญทีต่ อ้ งดําเนินต่อไป : กระทรวงทรัพยากรบุคคลและความมันคงทางสั ่ งคมเผย มีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ 7.25 ล้านอัตรา ในช่วงครึง่ ปีแรก และเพิม่ ขึน้ 310,000 อัตรา (y-o-y) โดยอัตราบุคคลว่างงานในเมืองยังคงทรงตัวที่ 4.1% ■ เกาหลีใต้: รัฐบาลเผย FDI ช่วงครึง่ แรกของปี (ม.ค. - มิ.ย.) เพิม่ ขึน้ 12.5% (y-o-y) อยู่ท่ี 8 พันล้านดอลลาร์ โดย FDI จากสหรัฐเพิม่ ขึน้ กว่า 2 เท่า (y-o-y) ที่ 2.52 พันล้านดอลลาร์ และ FDI จากยุโรปสูงขึน้ ถึง 77.3% (y-o-y)

Thailand updates :

■ พาณิชย์ รายงานมิ.ย.56 มีผปู้ ระกอบการจดทะเบียนตัง้ บริษทั ทัวประเทศ ่ 5,753 ราย ลดลง 422 ราย หรือ 7%(m-o-m) แต่เพิม่ ขึน้ 19% (y-o-y) มีมลู ค่า 30,552 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 10,711 ล้านบาท หรือ 54%(m-o-m) แต่ลดลง 27,543 ล้านบาท หรือ 47%(y-o-y) สําหรับนิติ บุคคลจดทะเบียนเลิกกิจการ 1,170 ราย เพิม่ ขึน้ 343 ราย หรือ 41%(m-o-m) และ เพิม่ ขึน้ 125 ราย หรือ 12%(y-o-y) มีมลู ค่าทุนจด ทะเบียนเลิก 7,390 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 2,889 ล้านบาท หรือ 64% (m-o-m) 2556 และเพิม่ ขึน้ 3,748 ล้านบาทหรือ 103% (y-o-y) ■ เงินบาทปิ ดตลาด (16 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.08/10 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิ ดตลาดวันก่อน 0.94 บาท/ดอลลาร์ ตามทิศทางดอลลาร์ทอ่ี ่อนค่า

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (16 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 32.41 จุด หรือ 0.21% ปิ ดที่ 15,451.85 จุด จากความกังวลผลประกอบการบริษทั หลายแห่งในสหรัฐทีย่ ่าํ แย่ รวมถึงหุน้ โคคา-โคลาทีล่ ดลง 1.9% และนักลงทุนจับตาแถลงเฟดต่อคองเกรส ดัชนี NASDAQ ลดลง 8.99 จุด หรือ 0.25% ปิ ดที่ 3,598.50 จุด ดัชนี S&P500 ลดลง 6.24 จุด หรือ 0.37% ปิ ดที่ 1,676.26 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (16 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 92.87 จุด หรือ 0.64% ปิ ดที่ 14,599.12 จุด สูงสุดในรอบเกือบ 2 เดือน เหตุได้แรงหนุน จากเงินเยนอ่อนค่า และตลาดหุน้ ทัวโลกแข็ ่ งแกร่งขึน้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 6.33 จุด หรือ 0.31% ปิ ดที่ 2,065.72 จุด ดัชนีฮงเส็ ั่ ง เพิม่ ขึน้ 9.07 จุด หรือ 0.04% ปิดที่ 21,312.38 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,451.45 จุด ลดลง 3.95 จุด (-0.27%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 18 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBAL REVIEW: สหรัฐ - จีน สานสัมพันธ์แม้ต่างนโยบาย HighLight : FED อาจลด QE ปี นีเ้ มือ ่ เศรษฐกิจฟื้ นต ัวเร็ วกว่าคาดและอ ัตราเงินเฟ้ออยูใ่ นกรอบเป้าหมาย

Global:

■ สหรัฐ : ประธาน FED แถลงต่อคณะกรรมาธิการการเงิน จะเริม่ ลดขนาดโครงการซือ้ พันธบัตรในปี น้ีต่อเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัวเร็วกว่าที่คาดและอัตรา เงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ มาอยูใ่ นกรอบเป้าหมายที่ 2% แต่พร้อมจะยืดเวลาหากเศรษฐกิจยังไม่ฟ้ื นตัวตามเป้า : ยอดเริม่ ก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยมิ.ย. ลดลง 9.9% (m-o-m) เหลือ 836,000 หลัง โดยการก่อสร้างอพาร์ทเมนต์ลดลงมากทีส่ ดุ 26.2% เหลือ 245,000 หลัง ขณะทีย่ อดขออนุญาตก่อสร้างลดลงเหลือ 911,000 หลัง หรือ 7.5% โดยคาดว่าการหดตัวเป็ นเพียงความผันผวนระยะสัน้ และภาคอสังหาริมทรัพย์ยงั มี แนวโน้มเติบโต ■ ยุโรป: ยูโรสแตทรายงาน ดัชนี CPI มิ.ย.กลุ่มประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร เพิม่ ขึน้ 1.6% จาก 1.4% (m-o-m) จากราคาผักผลไม้และค่าไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ขณะทีต่ น้ ทุนด้านการโทรคมนาคมสื่อสาร เชือ้ เพลิงสําหรับการขนส่ง และค่าบริการทางการแพทย์ลดลง ส่วนเงินเฟ้อกลุ่มอียู 27 ประเทศ อยูท่ ่ี 1.7% เพิม่ ขึน้ จาก 1.6% ในเดือนพ.ค. โดยกรีซมีเงินเฟ้อตํ่าสุดที่ -0.3% ส่วนโรมาเนียมีเงินเฟ้อสูงสุดที่ 4.5% ■ อังกฤษ: ธนาคารกลางมีมติคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายและมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจตามเดิม โดยยังไม่มกี ารเพิม่ มาตรการผ่อนคลายเพิม่ เติม แต่ควร ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ทัง้ นี้ แม้เศรษฐกิจอังกฤษกําลังฟื้นตัวแต่กย็ งั ขยายตัวตํ่า ทําให้ยงั ไม่มเี สถียรภาพ : จํานวนผูย้ ่นื ขอสวัสดิการว่างงานเดือนมิ.ย.ลดลง 21,200 ราย อยูท่ ่ี 1.48 ล้านราย ลดลงมากสุดในรอบ 3 ปี จากการจ้างงานเพิม่ ขึน้ ในภาคเอกชน ทัง้ นี้ อัตราว่างงานทัง้ สิน้ อยูท่ ่ี 7.8% อยู่ท่ี 2.51 ล้านราย ลดลง 57,000 ราย ■ โปรตุเกส: ธนาคารกลางลดประมาณการ GDP ปี หน้าลงเหลือ 0.3% จากเดิม 1.1% โดยคาด ปี น้ีจะหดตัว 2% จากผลของมาตรการรัดเข็มขัดของ รัฐบาลและอัตราว่างงานอยู่ในระดับสูง โดยรัฐฯมีแผนลดงบประมาณรายจ่ายลง 4.8 พันล้านยูโรจนถึงปี 2558 ■ จีน : กระทรวงพาณิชย์เผย FDI เดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 20.12% ที่ 1.43 หมื่นล้านดอลลาร์ มากสุดในรอบ 2 ปี แสดงว่านักลงทุนต่างชาติยงั คงเชื่อมั ่น เศรษฐกิจจีนในระยะยาวจากนโยบายปฏิรปู เศรษฐกิจทีใ่ ห้พง่ึ พาการบริโภคภายในประเทศมากขึน้ : กระทรวงการคลังเผย รัฐวิสาหกิจ (SOE) มีกําไรเพิม่ ขึน้ 7% ในช่วงครึง่ แรกของปี (y-o-y) อยูท่ ่ี 1.11 ล้านล้านหยวน (1.814 แสนล้านดอลลาร์) โดย กําไร SOE ทีบ่ ริหารโดยรัฐบาลกลางเพิม่ ขึน้ แต่กําไร SOE ทีบ่ ริหารโดยรัฐบาลท้องถิน่ กลับลดลง ■ อิ นเดีย: พาณิชย์จะลดข้อจํากัด FDI เพื่อดึงดูดเงินทุนเข้าประเทศ โดยให้ต่างชาติถอื หุน้ ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเพิม่ มากขึน้ เพื่อลดการขาดดุล บัญชีเดินสะพัด และรักษาเสถียรภาพเงินรูปีทอ่ี ่อนค่าลงถึง 7.3% เป็ นเหตุให้เศรษฐกิจชะลอตัวมากสุดในรอบ 10 ปี

Thailand updates :

■ ธปท. และธนาคารกลางฮ่องกง (HKMA) ร่วมมือพัฒนาการเชือ่ มโยงระบบบาทเนตของไทยกับระบบ US Dollar Clearing House Automated Transfer System (USD CHATS) ของฮ่องกง เพือ่ ลดความเสีย่ งของการชําระดุลธุรกรรมซือ้ ขายเงินบาทและเงินดอลลาร์ คาดเปิดให้บริการเดือน ก.ค. 2557 ■ เงินบาทปิดตลาด (17 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.07/09 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อย ตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (17 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 18.67 จุด หรือ 0.12% ปิ ดที่ 15,470.52 จุด จากผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งของ Bank of America ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 11.50 จุด หรือ 0.32% ปิ ดที่ 3,610.00 จุด ดัชนี S&P500 เพิม่ ขึน้ 4.65 จุด หรือ 0.28% ปิ ดที่ 1,680.91 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (17 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 15.92 จุด หรือ 0.11% ปิ ดที่ 14,615.04 จุด ติดต่อกัน 4 วัน จากมุมมองทีเ่ ป็ นบวกต่อแนวโน้มเศษฐ กิจญี่ปนุ่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 20.80 จุด หรือ 1.01% ปิ ดที่ 2,044.92 จุด ดัชนีฮ ั ่งเส็งเพิม่ ขึน้ 59.49 จุด หรือ 0.28% ปิ ดที่ 21,371.87 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,458.08 จุด เพิม่ ขึน้ 6.63 จุด (+0.46%) ตามภูมภิ าค ซึง่ นักลงทุนยังรอความชัดเจนในการดําเนินมาตรการ QE จาก FED ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 17 ประจําวันที่ 18 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

GLOBAL REVEIW : สหรัฐ - จีน สานสัมพันธ์แม้ต่างนโยบาย

Page 2/2

แม้จะเป็ นเพียงมหาอํานาจทางเศรษฐกิจโลกอันดับ 2 แต่รฐั บาลจีนชุดใหม่ภายใต้ การบริหารงานของประธานาธิบดีสี จิ้นผิง และนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง กลับมี ยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจทีช่ ดั เจนในการปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิ จ โดยเน้ น ไปที่ ก ระตุ้ น การบริ โ ภคภายในประเทศ (consumer-led rebalancing) อันเป็ นผลให้ ประเทศยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐไม่อาจจะนิ่งเฉยอยูไ่ ด้ การดําเนินนโยบายของจีนดังกล่าว กระตุ้นให้รฐั บาลสหรัฐต้องหันมองตัวเองเพื่อ เปลี่ยนมุมมองและปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศตาม โดยในการ จัดประชุม “The US-China Strategic and Economic Dialogue” ที่จดั ขึน้ เมื่อวันที่ 10 – 11 กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา มีเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของสหรัฐและจีนเข้าร่วมพบปะสนทนาเชิงยุทธศาสตร์และเศรษฐกิจร่วมกันที่กรุงวอชิงตัน ได้มกี าร ทําความเข้าใจและกําหนดนโยบายใหม่ๆอันเป็ นประโยชน์แก่ทงั ้ 2 ประเทศ ซึ่งดูจะเป็ นการเริม่ ต้นที่สดใส แต่ในความเป็ นจริง การจับมือร่วมกันของ ทัง้ 2 ฝา่ ยต่างก็เต็มไปด้วยอุปสรรค เพราะที่ผ่านมา ทัง้ 2 ประเทศยังมีขอ้ ขัดแย้งในหลายปญั หาที่สะสมมาตัง้ แต่อดีต โดยมีกําแพงที่กดี กันความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐกับจีนคือปญั หา ทางด้านเศรษฐกิจและการค้า ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า ตลอด 34 ปี ท่ผี ่านมา นับตัง้ แต่ทงั ้ สองประเทศสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตจนถึงปจั จุบนั มี มูลค่าการค้าทวิภาคีเพิม่ ขึน้ ถึง 198 เท่า โดยเฉพาะในช่วง 5 ปี ท่ผี ่านมา มูลค่าการค้าร่วมกันได้เพิม่ ขึน้ ถึงเกือบ 5 แสนล้านเหรียญ จาก 2 แสน 7 หมื่นล้านเหรียญ อย่างไรก็ดี การพัฒนาเศรษฐกิจและการค้าที่เพิม่ ขึ้นนัน้ ได้ดําเนิ นควบคู่ไปกับการพิพาทและความระแวงสงสัยซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ ช่องว่างความเหลื่อมลํ้าระหว่าง 2 ประเทศก็ยงั คงมีอยู่สูงมาก ปจั จุบนั นักลงทุนสหรัฐก็เผชิญกับการกีดกันหรือข้อจํากัดด้านการถือครอง กรรมสิทธิ ์ถึง 90 ด้านในจีน ขณะที่บริษทั ของจีนที่แสวงหาโอกาสการลงทุนในสหรัฐก็กงั วลว่า จะได้รบั ผลกระทบจากการนโยบายที่ไม่เอื้อประโยชน์ ต่อจีนจากรัฐสภาสหรัฐ หรือถูกปฏิเสธเพราะเหตุผลด้านความมั ่นคง อีกด้านหนึ่ง การกําหนดค่าเงินหยวนก็เป็ นปญั หาที่สร้างการถกเถียงระหว่าง สองประเทศมหาอํานาจทีส่ ร้างอุปสรรคในการแลกเปลีย่ นทางการค้ามานานแล้ว สหรัฐเห็นว่า จีนได้กําหนดค่าเงินหยวนตํ่าเกินไปเพื่อช่วยให้สถานะ ทางการค้าของประเทศตัวเองมีความได้เปรียบด้านราคาเหนือประเทศอื่น ในขณะที่จนี ก็มองว่า การที่สหรัฐขายอาวุธให้แก่ไต้หวัน การพิพาททาง น่านนํ้าในเอเชียตะวันออก สหรัฐไม่ได้วางตัวเป็ นกลางจริงอย่างทีเ่ คยประกาศ การที่จีน และสหรัฐ พยายามที่จ ะสร้า งสรรค์ค วามสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งประเทศ รู ป แบบใหม่ แ ม้ จ ะมีจุ ด โดดเด่ น อยู่ ห ลายด้ า น แต่ ก็ ย ัง มีข้ อ บกพร่ อ งของ ความสัมพันธ์ระหว่างกัน คือ การขาดความไว้วางใจเชิงยุทธศาสตร์ แม้การจัด ประชุมที่จดั ขึน้ ณ กรุงวอชิงตัน ดังกล่าว สหรัฐมีความพยายามที่ จะเจรจา กับจีน อันจะเป็ นประโยชน์ ต่อประเทศสหรัฐเองในเบือ้ งต้น คือ 1) ให้ภาค ธุร กิ จ สหรัฐ สามารถเข้ า ตลาดในจี น ได้ โ ดยสะดวก 2) อํา นวยความ สะดวกให้ภาคธุรกิ จสหรัฐเข้าไปดําเนิ นธุรกิ จในภาคบริ การของจีน และ 3) กดดัน จี น ให้ ป รับ ปรุง อัต ราแลกเปลี่ ย นสกุล เงิ น หยวนให้ มี ค วาม เหมาะสม แต่การที่สหรัฐยึดมั ่นในหลักเศรษฐกิ จแบบเสรี อาจทําให้รฐั บาลสหรัฐไม่สามารถเข้าไปแทรกแซงเศรษฐกิ จภายในประเทศได้มากนัก ซึ่ง แตกต่างจากจีนที่รฐั บาลกลางสามารถใช้อาํ นาจปรับทิ ศทางเศรษฐกิ จภายในประเทศได้เต็มที่ ท้ายทีส่ ดุ ทัง้ 2 ประเทศก็ยงั คงมีความ แตกต่างทัง้ ทางด้านระบบโครงสร้างและแนวความคิดของผูน้ ํา จึงเป็ นการยากทีท่ งั ้ 2 ฝา่ ยจะการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจไปในทิศทางเดียวกัน ได้ทงั ้ หมด ซึง่ ก็ตอ้ งติดตามต่อไปว่า ความสัมพันธ์ขระหว่างสหรัฐ - จีนจะเป็ นไปในทิศทางใด… Source: The Nation: “The United States must adjust to the new China” By Stephen S Roach (July 15, 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 19 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

GLOBALRESEARCH REVIEW : บุ:รAbenomics ุ ษไปรษณีย์กไม่ับกบทบาทนายธนาคารแดนภารตะ GLOBAL ระทบเศรษฐกิจจีน ้ ในอนาคตอ ันใกล้ และกรีซแก้ไขโครงสร้างราชการให้ออกจากงาน HighLight : เฟดยืนย ันไม่ขน ึ้ อ ัตราดอกเบีย ิ้ ปี 56 29,000 คน ก่อนสน

Global:

■ สหรัฐ : เฟดจะยังไม่ปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ในอนาคตอันใกล้ เนื่องจากเศรษฐกิจประเทศยังมีความเสีย่ ง โดยเฉพาะการลดงบประมาณ ั รายจ่ายของรัฐบาลเพื่อแก้ปญหาการขาดดุ ล อาจส่งผลกระทบต่อการเติบโตเศรษฐกิจ ซึง่ มาตรการ QE จะยังไม่สน้ิ สุดในเร็ววัน แต่เฟดยังคง มีแผนการทีจ่ ะลด QE หากเศรษฐกิจมีการเติบโตได้อย่างมันคง ่ ทัง้ นี้ คาดว่าการขึน้ อัตราดอกเบีย้ ไม่น่าจะมีขน้ึ ก่อนปี 2558 ■ ยุโรป: OCDC คาดอัตราว่างงานยูโรโซน ซึง่ สูงเป็ นประวัตกิ ารณ์อยู่แล้ว จะเพิม่ ขึน้ อีกในปี หน้าที่ 12.3% ชีต้ วั เลขว่างงานเยอรมนีจะลด เหลือ 5% ภายในปลายปี หน้า แต่สเปนและกรีซจะเพิม่ 28% และจะมีคนตกงานกว่า 48 ล้านคน หรือมากกว่าช่วงเริม่ เกิดวิกฤติ 16 ล้านคน โดยอัตราว่างงานในวัยหนุ่มสาวปจั จุบนั พบว่า กรีซอยู่ท่ี 60% สเปน 55% ส่วนอิตาลีและโปรตุเกส 40% ■ สเปน: IMF ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจปี 2557 สูร่ ะดับขยายตัว 0% จากเดิมทีค่ าดการณ์ไว้เมื่อเดือนเม.ย.ที่ 0.7% และสมาพันธ์ธนาคาร ออมทรัพย์แห่งสเปน (Funcas) คาดเศรษฐกิจจะขยายตัว 0.7% เช่นกัน ขณะทีธ่ นาคารกลางสเปนคาดเศรษฐกิจจะขยายตัว 0.6% ■ กรีซ: สมาชิกรัฐสภากรีซ มีมติผ่านร่างกฎหมายแก้ไขโครงสร้างระบบบริหารราชการครัง้ ใหญ่ ส่งผลให้ขา้ ราชการ 25,000 คน และ เจ้าหน้าทีใ่ นหน่วยงานภาครัฐ 4,000 คน ต้องออกจากงานก่อนกําหนดภายในสิน้ ปี 2556 และอีก 11,000 คน จะถูกปลดออกภายในสิน้ ปี 2557 เพื่อแลกกับการรับเงินกูจ้ ากกลุ่มเจ้าหนี้ทรอยก้า 6,800 ล้านยูโร ■ บราซิ ล : สมาคมการค้าต่างประเทศ ระบุว่าแนวโน้มขาดดุลการค้าในปี 56 ที่ 2,000 ล้านดอลลาร์ เป็ นการขาดดุลการค้าครัง้ แรกตัง้ แต่ปี 2543 จากการส่งออกทีล่ ดลง 5% ประกอบกับราคาโภคภัณฑ์ และราคานํ้ามันทีข่ ายให้กบั ต่างประเทศลดลง ■ จีน : รายได้ครัวเรือนในเมืองใหญ่ช่วงครึง่ ปีแรกเพิม่ ขึน้ 6.5 % จาก 9.7 % (y-o-y) ตํ่ากว่าเป้าทีร่ ฐั บาลวางไว้ แม้ยอดขายธุรกิจค้าปลีกจะ เพิม่ ขึน้ ในอัตราทีล่ ดลงมาก โดยมีอตั ราขยายตัว 12.7 % ลดลงจาก 14.4% (y-o-y) ส่วนการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคครึง่ แรกปี 56 อยู่ท่ี 45.2% ของ GDP ลดลงจาก 60.4 % ในช่วงครึง่ แรกปี 55 ขณะทีก่ ารลงทุนในประเทศ เช่น ตัง้ โรงงาน ภาคอสังหาริมทรัพย์และโครงสร้างพืน้ ฐาน ช่วยเพิม่ GDP จาก 51.2% เป็ น 53.9% ในช่วงเวลาเดียวกัน

Thailand updates :

■ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) พ.ค. 56 อยู่ท่ี 175.12 หดตัว 7.8% เหตุจากการส่งออกไปยังจีนหดตัว 16.3% ลดลง 2 เดือนติดต่อกัน และการส่งออกไปยุโรปหดตัว 12.1% โดยอุตสาหกรรมทีม่ กี ารผลิตลดลง ได้แก่ Hard Disk Drive อาหารทะเลกระป๋องและแช่แข็ง ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียม เสือ้ ผ้าสําเร็จรูป ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมพ.ค. 56 หดตัวเล็กน้อยที่ 0.2% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (18 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.06/08 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (18 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 78.02 จุด หรือ 0.50% ปิ ดที่ 15,548.54 จุด ได้แรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจทีแ่ ข็ง แกร่ง และผลประกอบการทีส่ ดใสของบริษทั เอกชน ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 1.28 จุด หรือ 0.04% ปิ ดที่ 3,611.28 จุด ดัชนี S&P500 เพิม่ ขึน้ 8.46 จุด หรือ 0.50% ปิ ดที่ 1,689.37 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (18 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 193.46 จุด หรือ 1.32% ปิ ดที่ 14,808.50 จุด เพิม่ ขึน้ ติดต่อกัน 5 วัน หลังจากเฟดไม่ได้ ั ่ ว่ นในตลาดการเงิน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 4.85 จุด หรือ 0.02% ปิ ดที่ 239.77 จุด ดัชนีฮงเส็ กระตุน้ ให้เกิดภาวะปนป ั ่ งเพิม่ ขึน้ 9.07 จุด หรือ 0.04% ปิ ดที่ 21,376.72 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,487.19 จุด เพิม่ ขึน้ 29.11 จุด (0.20%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 18 ประจําว ันที่ 19 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL REVIEW : บุรษ ุ ไปรษณียก ์ ับบทบาทนายธนาคารแดนภารตะ

ถ้าพูดถึงคําว่า “ไปรษณีย”์ หลายคนอาจนึกถึงตู้สําหรับทิ้งจดหมายสีแดงที่มอี ยู่ท ั ่วทุกหัวมุมถนน นึกถึง บุรุษไปรษณีย์ในชุดเครื่องแบบหรือแม้แต่ท่ที ําการไปรษณีย์ ที่ช่วยเชื่อมความสัมพันธ์ให้กบั ผูค้ นผ่าน การแจกจ่ายจดหมายหรือพัสดุภณ ั ฑ์ แต่ “ไปรษณีย”์ ของประเทศอินเดียมีความพิเศษมากกว่านัน้ คือ เป็ นธนาคารของคนชนบทนั ่นเอง โดยแนวคิดเรื่อง “ธนาคารไปรษณีย”์ นี้ไม่ใช่สงิ่ แปลกใหม่ท่เี พิง่ เกิดขึน้ หากแต่มมี าเนิ่นนานกว่า 150 ปี นับตัง้ แต่ ค.ศ. 1861 ซึ่งประเทศอังกฤษเป็ นผู้รเิ ริม่ นอกจากนี้ยงั มี แพร่หลายในประเทศญี่ปุ่น เยอรมนี ออสเตรีย ฝรั ่งเศส กรีซ แอฟริกาใต้ บราซิล เกาหลี จีน ฟิ ลิปปิ นส์ ฯลฯ อีกด้วย ข้อได้เปรียบของระบบไปรษณีย์ในการให้บริการทางการเงิน คือ เครือข่ายที่กว้างขวาง โดยมีทงั ้ สาขา ไปรษณีย์ และบุรุษไปรษณีย์ท่ีให้บริการในทุกพื้นที่อ ย่างทั ่วถึง โดยในประเทศอินเดียมีม ากถึง กว่า 155,000 สาขา อีกทัง้ ประชาชนยังคุน้ เคยกับการโอนเงินผ่านธนาณัตหิ รือตั ๋วแลกเงินไปรษณียอ์ ยู่แล้วใน ขณะที่ระบบธนาคารพาณิชย์หรือธนาคารเฉพาะกิจของรัฐมีสาขาที่จํากัด และส่วนมากอยู่ในเมืองหรือ อําเภอใหญ่เท่านัน้ ซึง่ ถือเป็ นข้อจํากัดทีส่ าํ คัญอย่างยิง่ ที่กดี ขวางไม่ให้ประชาชนระดับล่าง รวมถึงคนในชนบทเข้าถึงบริการทางการเงิน เป็ นเหตุให้ เกิดปญั หาการกู้เงินนอกระบบ และปญั หาอื่นๆ ตามมา ดังนัน้ “ธนาคารไปรษณี ย”์ จึงถือ เป็ นช่ องทางที่ สําคัญในการช่ วยบรรเทาปั ญหา ความเหลื่อมลํา้ ของบริ การทางการเงิ นระหว่างคนเมืองกับคนชนบท การร่วมมือกันของไปรษณี ยก์ บั ธนาคารภาครัฐในการให้บริ การ ทางการเงิน นอกจากจะเอื้อประโยชน์ ในการส่งผ่านโยบายของรัฐบาลอิ นเดียสู่ชนชัน้ รากหญ้าได้โดยตรงแล้ว ธนาคารไปรษณี ยย์ งั อาจ เรียกได้ว่า เป็ นแหล่งระดมเงินทุนแห่งใหม่ของรัฐได้อีกด้วย เนื่องจากจํานวนบัญชีเงินฝากมีสูงถึง 116 ล้านบัญชี ในปี 2010 และบางบัญชีใน ปี 2012 มีมลู ค่าเงินฝากทีส่ งู ถึง 4 ล้านล้านรูปี หรือ 260 ล้านบาท ปจั จุบนั ธนาคารไปรษณียอ์ ินเดียนอกจากจะมีหน้ าที่หลักในด้านการจัดส่งจดหมาย และพัสดุภณ ั ฑ์ต่างๆ แล้ว ยังมีหน้าที่เสริมเป็ นการให้บริการทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็ น การรับฝากเงินออมทรัพย์สําหรับบุคคลผูม้ รี ายได้น้อย ทําประกันชีวติ จัดตัง้ กองทุน ฝากธนาณัติ รวมไปถึงการปล่อยสินเชื่อขนาดย่อม และบริการการโอนเงินในรูปแบบ ต่างๆ เป็ นต้น โดยบริการด้า นการธนาคารและการประกันของธนาคารไปรษณี ย์ อินเดียนี้ครอบคลุมลูกค้ากว่า 200 ล้านรายทัง้ ในเมืองและชนบททั ่วประเทศ ซึ่งจาก รูป แบบบริก ารที่ห ลากหลายด้า นการเงิน สะท้อ นให้เห็น ถึง บทบาทของธนาคาร ไปรษณีย์ท่ีใ กล้เคียงหรือ อาจเหนื อ กว่า ธนาคารพาณิช ย์ท ั ่วไปในมุม มองของชาว ชนบท ดัง นั ้น ณ เวลานี้ จึง สมควรอย่ า งยิ่ ง ที่ ธ นาคารไปรษณี ย์ อิ น เดี ย จะมี ใบอนุญาตธนาคารเป็ นของตนเอง ดั ่งเช่นธนาคารพาณิ ชย์อื่นๆ เสียที อย่างไรก็ตาม จากรูปแบบการบริการทีห่ ลากหลายดังกล่าว ทําให้ระบบการทํางานทวีความซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ ส่งผลให้การทํางานมีความล่าช้าและ มีปญั หาอื่นๆ ตามมาอีกมาก ด้วยเหตุน้ี ธนาคารไปรษณี ย์อินเดี ยจึ งมีแนวคิ ดที่ จะปรับปรุงข้อ บกพร่องดังกล่าว ซึ่ งจําเป็ นต้ องได้รบั ช่วยเหลือด้านการเงินจากรัฐถึงเกือบ 1.3 หมื่นล้านรูปีเพื่อวางระบบบริการทางการเงินใหม่ โดยตัง้ เป้ าเปลี่ยนแปลงธนาคารไปรษณี ยใ์ ห้ เป็ นอันดับหนึ่ งในด้านอุตสาหกรรมการธนาคารที่มีความโปร่งใส ว่องไว และทันสมัย อันจะเป็ นผลสําเร็จหรือไม่ตอ้ งติดตามกันต่อไป... สําหรับประเทศไทย "ธนาคารไปรษณีย"์ แบบเต็มรูปแบบยังคงเป็ นเรื่องของอนาคต เนื่องจากในปจั จุบนั แม้ว่าไปรษณียไ์ ทยจะเริม่ มีบริการทาง การเงินเพิม่ มากขึน้ เช่น บริการรับชําระเงิน โอนเงิน ฝากเงิน หรือแม้แต่บริการเรียกเก็บเงินก็ตาม แต่กย็ งั ไม่เป็ นที่นิยมมากนัก ซึ่งหากไทยนํ า แนวคิดนี้มาประยุกต์ใช้อย่างจริงจังและระมัดระวัง นอกจากจะเป็ นการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ไปรษณียไ์ ทยแล้ว สิง่ เหล่านี้อาจ เป็ นทางออกของปญั หาเงินกูน้ อกระบบทีอ่ ยูค่ คู่ นไทยมาช้านาน และอาจเป็ นแหล่งเงินทุนแห่งใหม่ของรัฐบาลก็เป็ นได้ Source: Let the postman turn banker: India Post deserves to get a bank licence By The Economic Times (16 July 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพือ่ เผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 24 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค ่ งกงครองแชมป์บ้านแพงสุดในโลก GLOBAL RESEARCH: ฮอ HighLight : มูดส ี ์ ปร ับเพิม ่ แนวโน้มเครดิตสหร ัฐสู่ “มีเสถียรภาพ” ยืนย ันเครดิตที่ AAA และ เมืองดีทรอยต์ยน ื่ ขอล้มละลาย

Global:

■ สหรัฐ : มูดสี ์ เพิม่ แนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือพันธบัตรรัฐบาลจาก “เชิงลบ" สู่ “มีเสถียรภาพ" พร้อมยืนยันอันดับเครดิตรัฐบาลที่ AAA

ั บนั ยังคงชะลอตัว หลังยอดขาดดุลงบประมาณลดลง และคาดจะลดลงต่อเนื่องในช่วง 2-3 ปี ขา้ งหน้า แม้การขยายตัวของเศรษฐกิจปจจุ : เมืองดีทรอยต์รฐั มิชแิ กน เมืองอุตสาหกรรมยานยนต์ขนาดใหญ่ ยื่นเรื่องขอล้มละลาย หลังเผชิญวิกฤติเศรษฐกิจยาวนานกว่า 60 ปี ดว้ ย หนี้สนิ สะสมกว่า 1.5 หมื่นล้านดอลลาร์ ขณะทีร่ ายได้ภาษีหดหายจากบริษทั รถยนต์ทยอยปิ ดกิจการ เนื่องจากตลาดเอเชียมีราคาทีถ่ ูกกว่า : กระทรวงแรงงานเผย จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานประจําสัปดาห์สน้ิ สุด ณ วันที่ 13 ก.ค. ลดลง 24,000 ราย สู่ 334,000 ราย ดีกว่าคาด ว่าจะอยูท่ ่ี 345,000 ราย ส่งสัญญาณว่าตลาดแรงงานสหรัฐเริม่ แข็งแกร่งขึน้ : ราคาบ้านเดือนพ.ค. เพิม่ ขึน้ 0.7% (m-o-m) ตํ่ากว่าทีค่ าดเล็กน้อยว่าจะขยายตัว 0.8% แต่เป็นการเพิม่ ขึน้ ติดต่อกันตลอด 16 เดือนทีผ่ ่านมา แสดงถึงการฟื้นตัวในภาคอสังหาริมทรัพย์ ■ ยุโรป: ยูโรสแตทรายงาน ยอดรวมหนี้สนิ ยูโรโซนอันประกอบไปด้วย 17 ประเทศสมาชิก เพิม่ ขึน้ สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 92.2% ต่อ GDP ในไตรมาสแรกปี 56 จาก 90.6% (q-o-q) โดยกรีซสูงสุดอยู่ท่ี 160.5% อิตาลี 130.3% โปรตุเกส 127.2% และไอร์แลนด์ 125.1% ■ ฝรังเศส: ่ สํานักงานสถิตเิ ผย ดัชนีความเชื่อมันภาคอุ ่ ตสาหกรรมก.ค.เพิม่ ขึน้ เป็ น 95 จุด จาก 93 จุด (m-o-m) เพิม่ ขึน้ ในรอบ 15 เดือน แต่ ตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ระยะยาว เป็ นสัญญาณว่าเศรษฐกิจเริม่ มีเสถียรภาพมากขึน้ หลังจากถดถอยมานาน ■ จีน: ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นก.ค.ลดลงทีร่ ะดับ 47.7 จากดัชนี PMI ขัน้ สุดท้ายของเดือนมิ.ย.ที่ 48.2 บ่งชีถ้ งึ ภาวะชะลอตัวของภาคการผลิต เนื่องจากคําสังซื ่ อ้ ใหม่ทล่ี ดลง ■ ญี่ปน: ุ่ ดัชนีความเชื่อมันผู ่ ผ้ ลิตเดือน ก.ค. อยู่ท่ี 13 ลดลงจากมิ.ย.ที่ 15 เหตุผผู้ ลิตกังวลเกีย่ วกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนซึง่ เป็ นคู่คา้ อันดับแรกของญีป่ ุน่ ■ อิ นโดนี เซีย: FDI ไตรมาส 2 เพิม่ ขึน้ 18.9% คิดเป็ น 6.72 พันล้านดอลลาร์ ลดลง 30.2% (y-o-y) เนื่องจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ลดลง ส่งผลให้แผนการขยาย FDI ล่าช้า ซึง่ FDI ได้เข้ามาลงทุนในภาคเหมืองแร่ การคมนาคม และเคมีพน้ื ฐานเป็ นส่วนใหญ่

Thailand updates :

■ มูดสี ์ เพิม่ ระดับน่าเชื่อถือพันธบัตร-เงินฝากไทย โดย พันธบัตรเงินบาทระยะยาวจากระดับ Aa2 มาอยูท่ ร่ี ะดับ “A1” เงินฝากไทยระยะยาว จากระดับ Aa2 มาอยูท่ ร่ี ะดับ “A1” และพันธบัตรเงินต่างประเทศระยะสัน้ จากระดับ P-2 มาอยูท่ ร่ี ะดับ “P-1” ■ เงินบาทปิ ดตลาด (23 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.06/08 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันก่อน

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (23 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 54.92 จุด หรือ 0.35% ปิ ดที่ 15,600.47 จุด ขานรับผลประกอบการบริษทั เอกชนทีแ่ ข็ง

แกร่งขึน้ ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 3.58 จุด หรือ 0.10% ปิ ดที่ 3,603.97 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 2.56 จุด 0.15% ปิ ดที่ 1,698.09 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (23 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 120.47 จุด หรือ 0.82% มาอยู่ท่ี 14,778.51 จุด เหตุนกั ลงทุนคาดเศรษฐกิจญีป่ ุน่ จะฟื้ นตัว ั ยบวกจากการทีเ่ งินเยนชะลอการแข็งค่า ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 39.12 จุด หรือ 1.95% ปิ ดที่ 2,043.88 จุด ดัชนีฮงั ่ ขึน้ และได้รบั ปจจั เส็งเพิม่ ขึน้ 498.92 จุด หรือ 2.33% ปิ ดที่ 21,915.42 จุด SET ปิ ดที่ 1,513.31 จุด เพิม่ ขึน้ 31.47 จุด หรือ 2.12 จากแรงเก็งกําไรผล ประกอบการไตรมาส 2 ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 17 ประจําวันที่ 24 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : ฮ่องกงครองแชมป์ บ้านแพงสุดในโลก ฮ่องกงถือเป็ นเมืองทีม่ รี าคาทีอ่ ยูอ่ าศัยแพงทีส่ ุดในโลกอีกเมืองหนึ่ง ซึง่ ราคา บ้านส่วนใหญ่อยูท่ ่ี 2,580,000 เหรียญฮ่องกง (ประมาณ 10.32 ล้านบาท) ในขณะที่รายได้ครัวเรือนเฉลีย่ อยู่ท่ี 225,400 เหรียญฮ่องกง (900,000 บาทต่อปี ) โดยราคาบ้านและทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ ถึง 90% นับตัง้ แต่ปี 2552 ทีผ่ ่าน มา เนื่องจากคนจีนทีม่ ฐี านะรํ่ารวยเข้าไปกว้านซื้อบ้านและทีด่ นิ เป็ นจํานวน มาก ซึง่ ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจเป็ นวงกว้างทัง้ การปล่อยสินเชือ่ ของ ธนาคาร และตลาดอสังหาริมทรัพย์ ทางการฮ่องกง จึงต้องประกาศเก็บ ภาษีกบั ผูซ้ อ้ื ทีไ่ ม่ใช่ผพู้ าํ นักถาวรบนเกาะฮ่องกงเพิม่ เติม ก่ อ นหน้ า นี้ ทางการฮ่ อ งกงได้ พ ยายามควบคุม ราคาอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ โดยการเก็บภาษี อ สัง หาริ ม ทรัพ ย์จ ากผู้ซื้ อ ชาว ต่างประเทศ 15% เพิ่ มความเข้มงวดในการอนุมตั ิ สินเชื่อ และเพิ่ มภาษี บ้านมือสองจาก 30% เป็ น 40% เพื่อป้องกันไม่ให้ ราคาอสังหาริมทรัพย์สงู เกินไป อันจะเป็ นภัยคุกคามต่อเศรษฐกิจฮ่องกงซึง่ เป็ นศูนย์กลางทางการเงินของเอเชีย การเปลีย่ นแปลงของราคาสินทรัพย์ทเ่ี พิม่ ขึน้ จะส่งผลกระทบต่อการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ซึง่ ทําให้ความสามารถในการ แข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ และตลาดการเงินปรับตัวลดลง ระดับหนี้ภาคครัวเรือนในปจั จุบนั มีสดั ส่วนประมาณ 58-59% ของ GDP ในช่วงไตรมาสที่ 3 และ 4 ของปี 2555 เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจทีฝ่ ืดเคืองจะส่งผลกระทบต่อรายได้ครัวเรือนได้อย่างชัดเจน องค์กรการเงินฮ่องกงใช้มาตรการควบคุมสินเชื่อ โดยกําหนดให้บ้านที่ม ี ราคาเกิน 12 ล้านเหรียญฮ่องกง จะสามารถกู้เงินได้ไม่เกิน 50 - 60% ของมูลค่าบ้าน ส่วนบ้านทีม่ รี าคา 8 - 12 ล้านเหรียญฮ่องกง จะสามารถกู้ เงินได้ไม่เกิน 60 - 70% หรือประมาณ 6 ล้านเหรียญฮ่องกง และสําหรับ บ้ า นที่ม ีร าคาตํ่ า กว่ า 8 ล้า นเหรีย ญฮ่ อ งกง ให้กู้ ไ ด้ ไ ม่ เ กิน 70% และ สถาบัน การเงิน ไม่ อ าจปล่ อ ยสิน เชื่อ เกิ น กว่ า 4.8 ล้ า นหรีย ญ ฮ่องกง สําหรับอสังหาริมทรัพย์อ่นื ๆ หรืออสังหาริมทรัพย์ทถ่ี อื ครองโดย บริษทั ห้างร้านต่างๆ จะสามารถขอสินเชือ่ ได้เพียง 50% เท่านัน้ สําหรับมาตรการปราบปรามการเก็งกําไรราคาทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทางการฮ่องกง ได้มมี าตรการเพิม่ เติมโดย หาก ต้องการโอนกรรมสิทธิการซื ์ ้อบ้านภายในเวลา 6 เดือน จะต้องเสียค่าธรรมเนียมสูงถึง 15% และถ้าถือครองเกิน 6 เดือนแต่โอน กรรมสิทธิภายใน 1 ปี จะต้องเสียค่าธรรมเนียม 10% แต่หากถือครองเกิน 1 ปี แต่โอนภายใน 2 ปี ต้องเสียค่าธรรมเนียม 5% เพื่อ ์ ป้องกันการเก็งกําไรในระยะสัน้ ทัง้ นี้ผซู้ ้อื และผูข้ ายจะต้องเป็ นผูร้ ่วมจ่ายค่าธรรมเนียมคนละ 50% และจะต้องจ่ายให้แก่รฐั ภายใน 30 วันนับจากวันทําสัญญาซือ้ ขาย ผูฝ้ า่ ฝืนต้องเสียค่าปรับ 10 เท่า หรือ 1.5 เท่าของราคาบ้าน แม้วา่ ทางการฮ่องกงจะใช้มาตรการควบคุมการเก็งกําไรราคาทีอ่ ยูอ่ าศัย เพือ่ ป้องกันผลกระทบจากการซือ้ บ้านเพือ่ เก็งกําไรในระยะสัน้ ก็จ ะทํ า ให้ต ลาดอสัง หาริม ทรัพ ย์ม ีค วามแข็ง แกร่ ง มากขึ้น แต่ ใ นระยะยาวจะสามารถป้ องกัน การเพิ่ม ขึ้น ของราคาบ้ า น ได้ ม ี ประสิทธิภาพเพียงใด ต้องจับตาดูตอ่ ไป... Source: Phatra Securities Plublic Company Limited, “Hong – Kong house prices” (July 19, 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ด ัชนี PMI ยูโรโซน เพิม่ ขึน้ ที่ 50.1 จุด ขยายต ัวในรอบ 2 ปี และ S&P ลดอ ันด ับเครดิตระยะยาวธนาคารอิตาลี 18 แห่ง

Global:

■ สหรัฐ : ดัชนี PMI ภาคการผลิตเบือ้ งต้นก.ค. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 53.2 จุด จาก 51.9 จุด (m-o-m) สูงสุดในรอบ 4 เดือน ส่วนดัชนีคาํ สังซื ่ อ้ ใหม่เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 55.1 จุด จาก 53.4 จุด และดัชนีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 52.6 จุด จาก 49.9 จุด : ยอดขายบ้านใหม่ม.ิ ย.เพิม่ ขึน้ 8.3% อยูท่ ่ี 497,000 ยูนิต สูงสุดในรอบ 5 ปี ขณะทีส่ ต็อกบ้านใหม่ทร่ี อขายเพิม่ ขึน้ 1.3% อยูท่ ่ี 161,000 ยูนิต สูงสุดในรอบ 2 ปี เนื่องจากรองรับอุปสงค์ทข่ี ยายตัว ทําให้ราคาบ้านใหม่เพิม่ ขึน้ 7.4% (y-o-y) อยูท่ ่ี 249,700 ดอลลาร์ ■ ยุโรป : ดัชนี PMI ยูโรโซนเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ ที่ 50.1 จุด ขยายตัวในรอบ 2 ปี จาก 48.8 จุด (m-o-m) บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจยูโรโซนอาจจะกําลังพ้น จากภาวะถดถอย ■ เยอรมัน: ดัชนี PMI เดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 52.8 จุด สูงสุดในรอบ 5 เดือน บ่งชีว้ า่ กิจกรรมทางธุรกิจโดยรวมขยายตัวขึน้ โดยดัชนี PMI ภาคการ ผลิตเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 50.3 และ ดัชนี PMI ภาคบริการเพิม่ ขึน้ 52.5 ■ ฝรังเศส: ่ ดัชนี PMI เดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 48.8 จุด สูงสุดในรอบ 17 เดือน แต่ต่าํ กว่า 50 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมทางธุรกิจโดยรวมของภาคเอกชน ฝรังเศสอยู ่ ใ่ นภาวะหดตัว และ ดัชนี PMI ภาคการผลิตเพิม่ ขึน้ ที่ 49.8 ขณะทีด่ ชั นี PMI ภาคบริการเพิม่ ขึน้ 48.3 สูงสุดในรอบ 11 เดือน ■ อิ ตาลี: S&P ลดอันดับเครดิตระยะยาวธนาคาร 18 แห่ง โดยธนาคาร 17 แห่ง รวมถึง Ubi Banca, Credem และ Fga Capital ถูกลดเครดิตลง 1 ขัน้ ขณะที่ Agos Ducato ถูกลดลง 2 ขัน้ จาก BB+ สู่ BB- ระบุ เศรษฐกิจประเทศเผชิญภาวะถดถอยนานทีส่ ดุ ในรอบกว่า 20 ปีนัน้ จะหดตัวลง 1.9% ในปี 2556 โดย GDP จะลดลง 9% ภายในสิน้ ปีน้ี ■ จีน: ความเชือ่ มันของผู ่ บ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ ไตรมาสที่ 2 เพิม่ ขึน้ 2 จุด อยูท่ ่ี 110 (q-o-q) และเพิม่ ขึน้ 4 จุด (y-o-y) ผลจากผูบ้ ริโภคจับจ่ายใช้สอย มากขึน้ และฐานะการเงินส่วนบุคคลเพิม่ ขึน้ ระบุ เศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ 7.5% ในไตรมาส 2 ลดลงจากไตรมาสแรกทีข่ ยายตัว 7.7% : ภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวเพิม่ ขึน้ กว่า 20% ติดต่อกัน 6 เดือน แม้เศรษฐกิจะชะลอตัวลง จากความต้องการทีเ่ พิม่ มากขึน้ ของกลุ่มผูซ้ อ้ื บ้านหลังแรก ■ ญี่ปน: ุ่ ญีป่ นุ่ ขาดดุลการค้ามิ.ย. 1,820 ล้านดอลลาร์ จากการอ่อนค่าของเงินเยน ส่งผลให้การนําเข้าเพิม่ ขึน้ เป็ น 11.8 % ทัง้ นี้ การส่งออกที่ ผ่านมาเพิม่ ขึน้ เพียง 7.4 เปอร์เซ็นต์ ขยายตัวติดต่อกัน 4 เดือน จากความต้องการของผูบ้ ริโภคยุโรปและการส่งออกรถยนต์ไปยังสหรัฐเพิม่ ขึน้ : คลังเผยการส่งออกไปจีนลดลง 0.6% เหตุจากข้อพิพาทดินแดนระหว่าง 2 ประเทศ ซึง่ ยอดนําเข้าสินค้าจากจีนเพิม่ ขึน้ 11.4% ที่ 8.11 ล้านล้านเยน

Thailand updates :

■ กระทรวงอุตสาหกรรมระบุ การลงทุนภาคอุตสาหกรรมช่วงครึง่ แรกปี 56 มีมลู ค่าการลงทุนเพิม่ ขึน้ 47% (y-o-y) โดยมีโครงการยืน่ ขอรับ BOI จํานวน 1,055 โครงการ มูลค่ารวม 632,800 ล้านบาท ซึง่ กลุ่มทีข่ อรับ BOI มากสุด คือ การบริการและสาธารณูปโภค ตามด้วยกลุ่มยานยนต์ ชิน้ ส่วนโลหะ เครือ่ งจักร และอุตสาหกรรมการเกษตร ■ เงินบาทปิดตลาด (24 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 30.95/97 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากปิดตลาดวันก่อน

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (24 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 22.19 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 15,567.74 จุด เพราะได้แรงหนุนจากรายงานผลประกอบการ ทีด่ เี กินคาดของบริษทั เอกชน ดัชนี Nasdaq ลดลง 21.12 จุด หรือ 0.59% ปิดที่ 3,579.27 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 3.14 จุด 0.19% ปิดที่ 1,692.39 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (24 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 47.23 จุด หรือ 0.32% ปิดที่ 14,731.28 จุด เหตุจากเศรษฐกิจภาคการผลิตของจีนลดลง ดัชนี เซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 10.55 จุด หรือ 0.52% ปิดที่ 2,033.33 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 53.51 จุด หรือ 0.24 % ปิดที่ 21,968.93 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,501.36 จุด ลดลง 11.95 จุด (-0.79%) จากนักลงทุนเริม่ วิตกเกีย่ วกับประเด็นการเมือง หลังจากทีจ่ ะมีการนําพ.ร.บ.นิรโทษ กรรม เข้าสูส่ ภาในวันที่ 7 สิงหาคม ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 26 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH: หลีเ่ ค่อโนมิกส ์ พลิกฟื้ นเศรษฐกิจจีน ้ เกินคาด 7,000 ราย และ GDP อ ังกฤษไตรมาส 2/56 ขยายต ัว 0.6% HighLight : จํานวนว่างงานสหร ัฐเพิม ่ ขึน

Global:

■ สหรัฐ : จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงาน ณ วันที่ 20 ก.ค.เพิม่ ขึน้ 7,000 ราย ที่ 343,000 ราย เหตุอยู่ในช่วงการหยุดผลิตรถยนต์ เพื่อ

เตรียมพร้อมในการเริม่ ผลิตรถยนต์รุ่นใหม่ อย่างไรก็ตาม ตัวเลขยอดสังซื ่ อ้ รถยนต์ทส่ี งู ขึน้ ในเดือนก่อน บ่งชีว้ ่า อุตสาหกรรมการผลิตมี แนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องในช่วงครึง่ ปี หลัง : ยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนเดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ 4.2% ในเดือนก่อน จากยอดสังซื ่ อ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในสินค้าเกือบทุกรายการ โดยเฉพาะสินค้ารถยนต์และ อะไหล่ทเ่ี พิม่ ขึน้ 1.3% ■ อังกฤษ : เศรษฐกิจไตรมาส 2 ขยายตัว 0.6% เพิม่ ขึน้ จาก 0.3% (q-o-q) โดยอุตสาหกรรมหลักทีม่ กี ารขยายตัว ได้แก่ ธุรกิจบริการ เพิม่ ขึน้ 0.6% การก่อสร้างเพิม่ ขึน้ 0.9% ภาคเกษตรกรรมเพิม่ ขึน้ 1.1% และการผลิตเพิม่ ขึน้ 0.6% ■ เยอรมัน: ดัชนีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจเดือน ก.ค. อยูท่ ่ี 106.2 จุด เพิม่ ขึน้ 105.9 จุด (m-o-m) โดยเพิม่ ขึน้ 3 เดือนติดต่อกัน จากอัตรา ว่างงานลดลงและดัชนีภาคอุตสาหกรรมทีเ่ พิม่ ขึน้ ■ อิ ตาลี: ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 95.8 จุด (m-o-m) เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 1 ปี ซึง่ แนวโน้มเศรษฐกิจภาคครัวเรือน เพิม่ ขึน้ เป็ น 99.6 จุด (m-o-m) ■ สเปน: อัตราการว่างงานในไตรมาส 2 อยู่ท่ี 26.26% ลดลงจาก 27.16% (q-o-q) คิดเป็ นจํานวนผูว้ ่างงาน 5.87 ล้านราย ลดลง 225,200 ราย บ่งชีว้ ่า เศรษฐกิจมีเสถียรภาพทีด่ ขี น้ึ โดยธนาคารกลางคาด สเปนจะกลับมาขยายตัวในช่วงครึง่ ปี หลัง หลังจากหดตัวมาตลอด 4 ปี ■ จีน : นายกรัฐมนตรีจนี ประกาศเร่งลงทุนในโครงการรถไฟความเร็วสูงโดยเฉพาะพืน้ ทีภ่ าคกลางและตะวันตก พร้อมทัง้ ลดภาษีเงินได้ให้กบั บริษทั ขนาดย่อม กับลดค่าธรรมเนียมในการส่งออกสินค้า เพื่อกระตุน้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวลงมากทีส่ ดุ ในรอบ 23 ปี ■ ญี่ปน: ุ่ ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนมิ.ย.ขยายตัว 0.4% (y-o-y) เพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกในรอบ 1 ปี 2 เดือน เพราะได้แรงหนุนจากการพุ่งขึน้ ของราคาพลังงาน ■ เกาหลีใต้: ธนาคารกลางเผย GDP ไตรมาส 2 ปี น้ี เพิม่ ขึน้ 1.1% (q-o-q) สูงกว่าคาดว่าจะขยายตัว 0.8% และเป็ นไตรมาสแรกทีเ่ ศรษฐกิจ ขยายตัวหลังจากทีท่ รงตัวอยู่ท่ี 0% ติดต่อกัน 8 เดือน จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ทาํ ให้การบริโภคภาคเอกชนฟื้นตัว

Thailand updates :

■ สมาคมผูค้ า้ ปลีกเผย ยอดค้าปลีกในช่วงครึง่ หลังปี 56 มีแนวโน้มขยายตัวที่ 9% จากครึง่ ปี แรกขยายตัว 8% ทําให้ยอดค้าปลีกทัง้ ปี ขยายตัว เพียง 9% หรือ 8.51 แสนล้านบาท ตํ่ากว่าคาดว่าจะขยายตัวที่ 12.4% หรือ 9.27 แสนล้านบาท แสดงให้เห็นว่า การค้าปลีกไทยมีสถานการณ์ทน่ี ่าวิตก ■ เงินบาทปิ ดตลาด (25 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.12/14 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิ ดตลาดวันก่อน 0.17 บาท/ดอลลาร์ ตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (25 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 25.50 จุด หรือ 0.16% ปิ ดที่ 15,542.24 จุด เนื่องจากยอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐเพิม่ ขึน้

อาจทําให้เฟดชะลอ QE ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 0.33 จุด หรือ 0.01% ปิ ดที่ 3,579.60 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 6.45 จุด 0.38% ปิ ดที่ 1,685.94 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (25 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 168.35 จุด หรือ 1.14% ปิ ดที่ 14,562.93 จุด เหตุนกั ลงทุนเทขาย เนื่องจากได้รบั แรงกดดัน จากการลดลงของตลาดภูมภิ าคเอเชีย ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 12.16 จุด หรือ 0.60% ปิ ดที่ 2,021.17 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 67.97จุด หรือ 0.31% ปิ ดที่ 21,900.96 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,456.68 จุด ลดลง 44.68 จุด (-2.98 %) เหตุจากนักลงทุนกังวลปญั หาทางการเมือง ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 18 ประจําวันที่ 26 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : หลี่เค่อโนมิกส์ พลิ กฟื้ นเศรษฐกิ จจีน “จีน” มหาอํานาจอันดับหนึ่งแห่งเอเชียซึ่งมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 2 ของโลกและยัง เป็ นความหวังของอีกหลายประเทศที่จะช่วยพยุงการเติบโตของเศรษฐกิจโลก แต่ดูเหมือนว่า ในช่วงที่ผ่านมา ตัวเลขทางเศรษฐกิจของจีนหลายตัวกลับออกมาไม่สดใสอย่างที่หลายฝ่าย คาดการณ์ ก่อ ให้เกิดความวิตกกังวลว่า เศรษฐกิจแดนมังกรนี้ อาจกําลังเผชิญ หน้ ากับการ ตกตํ่าทางเศรษฐกิจมากกว่าครัง้ ก่อนๆ ล่าสุด ข้อมูลจากกรมศุลกากรจีนได้เปิ ดเผยให้เห็นว่า มูลค่าการส่งออกในเดือนมิถุนายน ชะลอ ตัวลงจากเดือนก่อนถึงร้อยละ 4.6 ซึ่งเป็ นการหดตัวครัง้ แรกในรอบ 17 เดือน โดยเป็ นผลจาก การทีจ่ นี ได้ใช้มาตรการปราบปรามการปลอมแปลงเอกสารเพื่อการส่งออกสินค้า ทําให้ตวั เลข การส่งออกสอดคล้องกับความเป็ นจริงมากขึน้ ดังจะเห็นได้จากตัวเลขการส่งออกในไตรมาสที่ 2 ปี 56 ขยายตัวเพียง 3.7% ในขณะที่ในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ขยายตัวถึง 18.3% ทางการจีนซึ่งนํ าโดยนายกรัฐมนตรีคนล่าสุด นายหลี่ เค่อ เฉียง จึงได้มกี ารกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจออกมาเพิม่ เติม โดยหวังว่าจะเป็ นส่วนสาคัญทีช่ ่วยพลิกฟื้นเศรษฐกิจ ซึง่ แผนการดังกล่าวถูกขนานนามว่า ”ลีเ่ ค่อโนมิกส์ (Likonomics)” โดยเป้ าหมายของ ”หลี่เค่อโนมิ กส์” ที่ ชดั เจนมีอยู่ 3 เรื่อง คือ (1) การปฏิ รปู ระบบภาษี เพิ่ มการเก็บภาษี VAT แทนการเก็บภาษี ธรุ กิ จ เพื่อ ช่วยเหลือธุรกิ จเอกชนที่ได้รบั ผลกระทบจากภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิ จ (2) ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศด้วยการตัดค่าธรรมเนี ยม ลด การกํากับดูแลที่มากเกิ นไปหรือการลดเทปสีแดง (red tape) และยุติการแทรกแซงค่าเงิ นหยวน (3) เร่งการลงทุนรถไฟฟ้ าความเร็วสูงและ เพิ่มเส้นทางไปยังพืน้ ที่ยากจน มาตรการที่ได้รบั ความสนใจเป็ นอย่างมาก คือ การผลักดันนโยบายปรับเปลี่ยนภาษีธุรกิจ (Business Tax : BT) เป็ นภาษีมูลค่าเพิม่ (Value-added Tax : VAT) เพื่อเพิม่ ศักยภาพของภาคธุรกิจจีน โดยการเพิ่มนํ้าหนักให้กบั การเก็บภาษีมลู ค่าเพิ่มแทนการเก็บภาษี ธรุ กิ จในอัตราที่ สูง โดยคาด ว่า มาตรการภาษีใหม่จะถูกนํ ามาใช้กบั ธุรกิจในภาคบริการและการขนส่งทั ่วประเทศ ตัง้ แต่เดือนสิงหาคมนี้เป็ นต้นไป ทางสํานักงานคณะกรรมการ วางแผนนโยบายได้ประมาณการไว้ว่า การปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบภาษีมูลค่าเพิม่ แทนภาษีธุรกิจ จะเท่ากับการลดหย่อนภาษีให้ธุรกิจเอกชนถึง ประมาณ 1.2 แสนล้านหยวน หรือราวๆ 1.95 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึง่ การปฏิรปู ดังกล่าว เป็ นส่วนหนึ่งของความพยายามของรัฐบาลจีนในการที่จะปรับ สมดุลทางเศรษฐกิจด้วยการส่งเสริมศักยภาพการเติบโตให้กบั ธุรกิจภาคบริการเป็ นสําคัญ นอกจากนี้ ยังได้มกี ารพัฒนาเขตเศรษฐกิจเพื่อเป็ นแรงขับเคลื่อนสําคัญของเศรษฐกิจจีนในอนาคต โดยการประกาศให้เซี่ยงไฮ้เป็ นเขตบูรณาการ การค้าเสรี (The Shanghai Integrated Free Trade Zone) เมื่อต้นเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งได้ช่อื ว่าเป็ นเขตการค้าเสรีแห่งแรกของจีนและจะ กลายเป็ นเขตที่อยู่ในพืน้ ที่ดูแลพิเศษด้านศุลกากร กิจการภาษี และการบริหารอัตราแลกเปลี่ยน โดยจะได้รบั สิทธิเสรีกว่าเขตพืน้ ที่การค้าอื่นๆ การ อนุมตั เิ ขตการค้าเสรีฯดังกล่าว จะมีการปฏิรปู ปรับแก้ และคลายกฎคุมเข้มทางการเงินหลาย ฉบับ โดยอนุ ญาตให้ธนาคารต่างชาติสามารถจัดตัง้ กิจการสาขาย่อยและถือหุ้นโดยตรงเอง ทัง้ หมดในเขตการค้า เสรีเ ซี่ย งไฮ้ รวมทัง้ สามารถร่วมทุ น หรือ ถือ หุ้น ร่ ว มใหญ่ ใ นกิจ การ การเงินอื่นๆได้ ทัง้ ในส่วนที่เป็ นกิจการสนับสนุ นของรัฐและกิจการของเอกชน อีกทัง้ มีการ ปรับลดระยะเวลาการดําเนินกิจการ ที่ธนาคารต่างประเทศไม่ต้องผ่านขัน้ ตอนจํานวนมากใน กระบวนตรวจสอบก่อ นที่จะเปิ ดสาขา และรัฐ บาลจีนยังพร้อ มที่จะลดบทบาทการเข้ามา แทรกแซงค่าเงิน เพราะทีผ่ า่ นมาเงินหยวนมีมลู ค่าตํ่ากว่าความเป็ นจริงอยู่มาก การทําให้เงิน หยวนแข็งค่าเพื่อให้สนิ ค้าส่งออกของจีนมีราคาแพงขึน้ ก็ไม่ได้ส่งผลดีกบั ประเทศจีนในระยะ ยาว ดังนัน้ การยุตกิ ารแซกแทรงตลาดเงินดังกล่าว จึงเป็ นเรื่องทีห่ ลายฝา่ ยให้การสนับสนุน อีกหนึ่งนโยบายสําคัญ คือ การเร่งปฏิ รปู ระบบรถไฟฟ้ าความเร็วสูงภายในประเทศ โดยการระดมทุนจากรัฐบาลกลางและชักจูงภาคเอกชนเพื่อ ดึงดูดเงินลงทุนมาเพิม่ ประสิทธิภาพและความรวดเร็วให้แก่ระบบการขนส่งสินค้าโภคภัณฑ์ทางรถไฟ โดยเฉพาะในพืน้ ที่ภาคกลางและตะวันตก ซึ่ง นายกหลีก่ จ็ ะต้องเร่งผลักดันระบบดังกล่าวให้สาํ เร็จ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ระยะเวลา 5 ปี ฉบับที่ 12 ตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ อย่างไรก็ตาม การปรับเปลี่ยนผู้นําคนใหม่และคณะรัฐบาลชุดใหม่ นํ ามาซึ่งความคาดหวังเกี่ยวกับการปฏิรูปเศรษฐกิจครัง้ ใหญ่ ภารกิจการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจภายใต้การบริหารของนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง จึงเป็ นความท้าทายครัง้ สําคัญ ซึ่งต้องใช้เวลาเรียกความเชื่อมั ่นจากหลายฝา่ ย จึงต้องจับตาดูต่อไปว่า ”หลีเ่ ค่อโนมิกส์” จะช่วยนําพาจีนให้หลุดพ้นจากปญั หาเศรษฐกิจได้หรือไม่… Source: Phatra Securities, “Li Keqiang Put” in action (II): Cut tax/fee, quicken rail FAI (25 July 2013) and “Li Keqiang Put”? Yes,“Liqonomics”? Not yet (12 July 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ สวนกระแสคาดการณ์ HighLight : IMF ลดคาดการณ์เศรษฐกิจสหร ัฐ แต่ด ัชนีเชือ่ มน่ั ผูบ ้ ริโภคท้ายเดือนก.ค.เพิม ่ ขึน

Global:

■ สหรัฐ : IMF คาด เศรษฐกิจสหรัฐจะขยายตัว 1.7% ปี น้ี และ 2.7% ปี หน้า ลดลง 0.2% จากทีเ่ คยประเมินเดือนเม.ย. ระบุเศรษฐกิจยังคง ฟื้นตัวเล็กน้อย แต่กาํ ลังเป็ นไปในทิศทางทีด่ ขี น้ึ โดยได้รบั แรงหนุนทีด่ ขี น้ึ จากตลาดทีอ่ ยู่อาศัย ราคาบ้านเพิม่ ขึน้ และราคาหุน้ ทีส่ งู ขึน้ : ดัชนีเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคช่วงท้ายเดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ 85.1 จาก 84.1 (m-o-m) เนื่องจากมีการจับจ่ายใช้สอยอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับที่ คาดการณ์ว่าจะลดลงที่ 84 จุด ■ ฝรังเศส: ่ สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเผย ดัชนีเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ ที่ 82 จาก 79 (m-o-m) เนื่องจากภาคครัวเรือนมีความ เชื่อมันมากขึ ่ น้ เกีย่ วกับสถานการณ์ทางการเงิน บ่งชีว้ ่าเศรษฐกิจฝรังเศส ่ มีแนวโน้มจะฟื้นตัวจากภาวะถดถอย ■ กรีซ: กรีซได้รบั เงินกูง้ วดใหม่ 2.5 พันล้านยูโร (3.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ขณะทีร่ ฐั บาลประเทศต่างๆในยูโรโซนเลื่อนการหารือการ ผ่อนปรนหนี้ให้กรีซออกไป จนกว่าจะผ่านพ้นการเลือกตัง้ ในเยอรมนีทจ่ี ะจัดขึน้ เดือนก.ย.นี้ ■ จีน: สมาคมรถยนต์นงจี ั ่ น (CPCA) คาด ยอดขายปลีกรถยนต์เดือนก.ค. จะเพิม่ ขึน้ 18% (y-o-y) ที่ 1.1 ล้านคัน ระบุ ณ วันที่ 21 ก.ค. ยอดขายรถยนต์รายวันเฉลีย่ อยูท่ ่ี 31,300 คัน เพิม่ ขึน้ 27% (y-o-y) แต่ลดลง 6% (m-o-m) : มูดส้ี ์ เผย รัฐวิสาหกิจรัฐบาลระดับมณฑลของจีนอาจผิดนัดชําระหนี้ทจ่ี ะครบกําหนดชําระครึง่ ปีหลัง ราว 127 พันล้านหยวน (21 พันล้าน ดอลลาร์) เนื่องจากขาดกระแสเงินสด และอาจต้องให้รฐั บาลกลางเข้าแทรกแซง ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังระบุ ดัชนี CPI พืน้ ฐานมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 0.4% จาก 0.3% (m-o-m) มากสุดในรอบ 5 ปี เหตุจากค่าไฟฟ้าและเงิน เยนทีอ่ ่อนค่าลง ทําให้ตน้ ทุนการนําเข้านํ้ามันเบนซินเพิม่ ขึน้ รัฐบาลจึงอาจจะตัดสินใจขึน้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ 5% หลังจาก GDP ไตรมาส 2 จะออก เดือน ก.ย. ■ สิ งคโปร์ : รัฐบาลเตรียมออกมาตรการอสังหาริมทรัพย์เพิม่ เติมเพื่อป้องกันฟองสบู่ เนื่องจากเพราะมาตรการในปจั จุบนั ไม่ได้ผลเท่าทีค่ วร ทํา ให้ราคาบ้านเพิม่ ขึน้ สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ โดยดัชนีราคาทีอ่ ยู่อาศัยไตรมาส 2 เพิม่ ขึน้ 1% อยู่ท่ี 215.4 จุด ■ ฟิ ลิ ปปิ นส์ : ธนาคารกลาง คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายที่ 3.5% และเพิม่ ประมาณการอัตราเงินเฟ้อ เนื่องจากการอ่อนค่าลงของเงินเปโซเป็ น ปจั จัยเสีย่ งทีจ่ ะทําให้อตั ราเงินเฟ้อเพิม่ ขึน้

Thailand updates :

■ กระทรวงการคลัง รายงาน ยอดหนี้สาธารณะต่อ GDP ณ สิน้ เดือนเม.ย.อยู่ท่ี 44.21% ของ GDP หรือ 5.15 ล้านล้านบาท แบ่งเป็ นหนี้ ของรัฐบาล 3.58 ล้านล้านบาท กับหนี้รฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่ใช่สถาบันการเงิน 1.06 ล้านล้านบาท ■ เงินบาทปิ ดตลาดวันศุกร์ (26 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.10/11 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าเล็กน้อยตามภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (26 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 3.22 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 15,558.83 จุด เหตุจากนักลงทุนได้รบั ข้อมูลความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริ โภคในเชิงบวก ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 7.97 จุด หรือ 0.22% ปิดที่ 3,613.16 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.80 จุด 0.38% ปิดที่ 1,691.65 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (26 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 432.95 จุด หรือ 2.97% ปิดที่ 14,129.98 จุด จากเงินเยนแข็งค่าและเศรษฐกิจจีนชะลอตัวลง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 10.32 จุด หรือ 0.51% ปิดที่ 2,010.85 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 67.99 จุด หรือ 0.31% ปิดที่ 21,968.95 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,476.71 จุด เพิม่ ขึน้ 20.03 จุด (+1.38%) เหตุจากแรงซือ้ เก็งกําไรของนักลงทุนในหุน้ กลุ่มพลังงานและกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 30 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH: ผลกระทบกระแสเงินทุนไหลเข้าของเกาหลีใต้ ้ บ้านสหร ัฐเดือน มิ.ย. ลดลง 0.4% ้ 0.4% ขณะทีย HighLight : ด ัชนี PMI ชิคาโก เพิม ่ ขึน ่ อดซือ

Global:

ั ยบวกจากทัง้ 4 ■ สหรัฐ : Fed ชิคาโกรายงาน ดัชนี PMI เขตมิดเวสต์เดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ 0.4% อยู่ท่ี 96.0 จาก 95.6 (m-o-m) โดยได้ปจจั ภาคธุรกิจ ได้แก่ การผลิตเครื่องจักร ทรัพยากร การผลิตเหล็กกล้าและภาคการผลิตรถยนต์ทป่ี รับตัวดีขน้ึ : Fed ดัลลัสเผย ดัชนี PMI ของเท็กซัสในเดือนก.ค.มีการขยายตัว แต่ในอัตราทีช่ ะลอลงจากเดือนมิ.ย. โดยดัชนีกจิ กรรมทางธุรกิจโดยทัวไป ่ ลดลงที่ 4.4 หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 6.5 ในเดือนมิ.ย. และจาก -10.5 ในเดือนพ.ค. : ยอดทําสัญญาซือ้ บ้านเดือนมิ.ย. ลดลง 0.4% (m-o-m) จากราคาบ้านทีส่ งู ขึน้ ประกอบกับอัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ซือ้ บ้านเพิม่ ขึน้ ตัง้ แต่เดือน พ.ค. จากการชะลอ QE โดยคาดว่าจะลดลง 1% และเพิม่ ขึน้ 9.1% (y-o-y) ■ อิ ตาลี: ดัชนี PMI เดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ 91.7 จาก 90.5 ในเดือนมิ.ย. ซึง่ เป็ นผลมาจากแนวโน้มคําสังซื ่ อ้ และการผลิตปรับตัวดีขน้ึ ■ ญี่ปน: ุ่ ยอดค้าปลีกมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 1.6% (y-o-y) ทัง้ ในส่วนเสือ้ ผ้า พลังงาน และสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยจํานวนนักท่องเทีย่ วจาก ASEAN เพิม่ ขึน้ เป็ นผลบวกต่อยอดขายของห้างสรรพสินค้า เป็ นสัญญาณบ่งชีว้ ่าการใช้จ่ายของผูบ้ ริโภคสามารถสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจได้ : ก.สือ่ สารและกิจการภายใน เผยการใช้จ่ายภาคครัวเรือนโดยเฉลีย่ ต่อเดือนปรับตัวลดลง 0.4% เดือนมิ.ย. (y-o-y) ทัง้ นี้การใช้จ่ายภาคครัว เรือนเป็ นปจั จัยชีว้ ดั การบริโภคภาคเอกชน มีสดั ส่วนประมาณ 60% ของ GDP ■ จีน : ดัชนี PMI เดือนมิ.ย.ลดลงที่ 50.1 และภาคการผลิตในเบือ้ งต้นเดือน ก.ค. ลดลงที่ 47.7 เนื่องจากการชะลอตัวลงของกิจกรรมการ ผลิต โดยกลุ่มบริษทั ขนาดใหญ่ภาคอุตสาหกรรมมีกาํ ไรรวมเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 6.3% เหตุเกิดจากขาดแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องในภาคธุรกิจ ทีแ่ ท้จริงและอุปสงค์ทอ่ี ่อนแอในตลาด : กําไรบริษทั ภาคอุตสาหกรรมเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 6.3% (y-o-y) ซึง่ ลดลงจากเดือนพ.ค. ทีเ่ พิม่ ขึน้ 15.5% โดยมีเหตุจากต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ และ ฐานทีส่ งู ในช่วงปี ก่อนหน้า

Thailand updates :

■ สศค. ปรับลดประมาณการขยายตัว GDP ปี น้ีเหลือประมาณ 4% จากเดิม 4.5% เนื่องจากการใช้จ่ายในประเทศชะลอตัวลง โดยเฉพาะ สินค้าคงทนและการส่งออกไปยังประเทศคู่คา้ สําคัญยังคงไม่ฟ้ืนตัว โดยคาด ส่งออกทัง้ ปีจะตํ่ากว่าเป้าหมายที่ 5.5% ซึง่ ปจั จัยทีจ่ ะช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ คือ การใช้จ่ายภาครัฐหากพ.ร.บ.ลงทุน 2 ล้านล้านบาทผ่านร่างพิจารณาและจํานวนนักท่องเทีย่ วทีย่ งั คงขยายตัวได้ดี ■ เงินบาทปิ ดตลาด (29 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.13/14 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากปิ ดตลาดวันก่อน

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (29 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 34.79 จุด หรือ 0.22% ปิ ดที่ 15,524.04 จุด เพราะยอดทําสัญญาขายบ้านทีร่ อปิ ดการ ขายลดลงในเดือนมิ.ย. ดัชนี Nasdaq ลดลง 1.11 จุด หรือ 0.03 % ปิ ดที่ 3,612.05 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.99 จุด 0.18 % ปิ ดที่ 1,688.66 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (29 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิปิดลดลง 468.85 จุด หรือ 3.32% ปิ ดที่ 13,661.13 จุด เพราะได้รบั แรงกดดันจากการแข็งค่าของ สกุลเงินเยนเมื่อเทียบกับดอลลาร์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 34.54 จุด หรือ 1.72% ปิ ดที่ 1,976.31 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 118.80 จุด หรือ 0.54 % ปิ ดที่ 21,850.15 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,454.28 จุด ลดลง 22.43 จุด (-1.52%) เนื่องจากนักลงทุนเริม่ มีความกังวลเกีย่ วกับ ประเด็นปญั หาการเมือง ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 19 ประจําวันที่ 30 กรกฏาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : ผลกระทบกระแสเงิ นทุนไหลเข้าของเกาหลีใต้ หลายปี ทผ่ี ่านมาเกาหลีใต้ได้ประสบกับปญั หาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า เนื่องจาก กระแสเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ เช่น การกู้ยมื ของธุรกิจภาคเอกชน , การกู้ยืมจากการขายพันธบัตรระยะยาว และการลงทุนในหลักทรัพย์ ซึ่งเป็ น สาเหตุ ใ ห้การเก็งกําไรค่ าเงินในระยะสัน้ ซึ่งทําให้ค่าเงินวอนมีความผันผวน ประมาณร้อยละ 6.6 ในปี 53 เมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นๆ โดยจะส่งผลกระทบกับ ภาคการส่งออกของประเทศ ดังนัน้ เกาหลีใต้จึงได้ออกมาตรการต่ างๆ เพื่อ ควบคุมกระแสเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ และลดความเสีย่ งค่าเงินผันผวน และเพื่อควบคุมกระแสเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ ตลาดการเงินในเกาหลีใต้ โดยเฉพาะตลาดพันธบัตร ได้มกี ระแสเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จะทําให้ภาคการส่งออก ของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะผูส้ ง่ ออกในภาคอุตสาหกรรมหลักได้รบั ผลกระทบจากปญั หาดังกล่าวไปด้วย เนื่องจากธุรกรรมทีเ่ กิดจากทางด้าน ผูส้ ง่ ออกมีมลู ค่ามากกว่าธุรกรรมทางด้านผูน้ ําเข้า จึงเป็ นสาเหตุให้ตลาดการเงินได้รบั ผลกระทบจากการเก็งกําไรด้วย ธนาคารกลางเกาหลีใต้จงึ ออกมาตรการควบคุมการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ โดยการจํากัดเพดานการทําธุรกรรมอนุ พนั ธ์เงินตรา ต่างประเทศ ประกอบด้วย สัญญาฟอร์เวิร์ดเงินตราต่างประเทศ (Currency Forwards) สัญญาสวอปข้ามสกุลเงิน (Cross Currency Swaps) และสัญญาฟอร์เวิรด์ ทีไ่ ม่มกี ารส่งมอบ (Non-Deliverable Forwards: NDFs) ของธนาคาร และสถาบันการเงินอื่นๆ ซึง่ มีประเด็น สําคัญ ดังนี้ 1) สําหรับธนาคารพาณิ ชย์และสถาบันการเงิ นอื่นที่ มิใช่ธนาคารพาณิ ชย์ในเกาหลีใต้ จะถูกจํากัดการทําธุรกรรมที่ เกี่ยวกับสัญญาฟอร์เวิ รด์ และตราสารอนุพนั ธ์ ไว้ที่รอ้ ยละ 50 ของเงิ นกองทุนพันธบัตร 2) ส่วนสาขาธนาคารต่างประเทศที่เปิ ด ดําเนิ นการในเกาหลีใต้นัน้ จะถูกจํากัดปริ มาณของสัญญาฟอร์เวิ รด์ ที่ ถือครองไว้ที่ร้อยละ 250 ของเงิ นกองทุนพันธบัตร 3) บริ ษทั ต่างๆ ได้รบั อนุญาตให้ทาํ ธุรกรรมอนุพนั ธ์เงิ นตราต่างประเทศ (Currency Derivatives Trades) ได้ลดลง โดยกําหนด เพดานไว้ที่ไม่เกิ นร้อยละ 100 ของมูลค่าการค้าต่างประเทศเท่านัน้ แม้ว่ามาตรการควบคุมการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ถือเป็ นมาตรการอีกรูปแบบหนึ่งใน การควบคุมเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ เพื่อลดความผันผวนอัตราแลกเปลีย่ นค่าเงินวอน และความเสี่ยงเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ เพื่อป้องกันหนี้ต่างประเทศระยะสัน้ ที่ เพิม่ ขึน้ และลดความเสีย่ งทางเศรษฐกิจทางการเงินที่เกิดขึน้ หากมีการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ธนาคารกลางเกาหลีใต้เตรียมทีจ่ ะออก ระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการปล่อยกูใ้ นรูปสกุลเงินตราต่างประเทศของธนาคารพาณิชย์ ซึง่ จะมีก ารคาดการณ์ ว่ า จะมีก ารจํ า กัด ประเภทของการปล่ อ ยสิน เชื่อ ในรู ป สกุ ล เงิน ตรา ต่างประเทศทีธ่ นาคารพาณิชย์จะได้รบั อนุญาต เพื่อควบคุมกระแสเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม การทีเ่ กาหลีใต้ได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ เพื่อช่วยควบคุมเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่าง ประเทศและลดความเสีย่ งจากความผันผวนของค่าเงิน โดยมาตรการดังกล่าวจะสามารถช่วยลดปญั หาได้ในระดับหนึ่ง ซึง่ ทางการเกาหลีใต้ ยังคงต้องออกมาตรการอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยลดผลกระทบการเก็งกําไรระยะสัน้ ในตลาดการเงินโดยเฉพาะตลาดหุ้นและตลาด พันธบัตรทีอ่ าจเกิดขึน้ จากมาตรการดังกล่าว ซึง่ จะมีทศิ ทางเช่นไรต้องติดตามกันต่อไป...

Source: Phatra Securities Plublic Company Limited, “Korea’s Capital flows“(24 July 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ ที่ 92.5 จุด และ IMF อนุม ัติเงินกูง้ วดใหม่วงเงิน HighLight : ด ัชนีความเชือ่ มน่ั เศรษฐกิจของยูโรโซนเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน 2.3 พ ันล้านดอลลาร์ ให้กรีซ

Global:

■ สหรัฐ : S&P รายงานดัชนีราคาบ้านเดือน พ.ค.เพิม่ ขึน้ 12.2% (y-o-y) เพิม่ สูงสุดในรอบ 7 ปี เนื่องจากตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยฟื้นตัว ต่อเนื่องทัง้ นี้ ต้นทุนการกูย้ มื ทีอ่ ยูใ่ นระดับตํ่า อุปทานทีข่ าดแคลน และตลาดแรงงานทีป่ รับตัวดีขน้ึ ส่งผลให้ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัย เพิม่ สูงขึน้ ■ ยุโรป : ดัชนีความเชือ่ มันเศรษฐกิ ่ จของยูโรโซนเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ ที่ 92.5 จุด จากเดิม 91.3 จุด เดือน มิ.ย. เป็ นสัญญาณทีด่ สี าํ หรับยูโร โซน ซึง่ ได้รบั ปจั จัยหนุ นจากเศรษฐกิจเยอรมันทีม่ คี วามเชือ่ มันทางธุ ่ รกิจเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง 3 เดือนติดต่อกัน ในขณะทีภ่ าวะถดถอยของ สเปนคลีค่ ลายลงในไตรมาส 2 ■ สเปน : สํานักงานสถิติ เผย GDP ในQ2/56 หดตัวลง 0.1% จาก 0.5% ใน Q1/56 และหดตัวลง 1.7% (y-o-y) ดีกว่าคาดที1่ .8% จากความต้องการจากภายนอกทีช่ ว่ ยชดเชยความต้องการทีซ่ บเซาในประเทศ ■ กรีซ : IMF อนุ มตั เิ งินกูง้ วดใหม่วงเงิน 2.3 พันล้านดอลลาร์ เพือ่ แก้ไขการผิดนัดชําระหนี้ทจ่ี ะครบกําหนดในไม่กส่ี ปั ดาห์ขา้ งหน้า ■ ญี่ปน: ุ่ อัตราว่างงานเดือน มิ.ย.ลดลง 3.9% โดยจํานวนผูว้ า่ งงานลดลง 160,000 ราย (m-o-m) อยูท่ ่ี 2.54 ล้านราย เนื่องจากบริษทั จ้างงานเพิม่ ขึน้ หลังเศรษฐกิจฟื้นตัว โดยเฉพาะบริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้ามีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ 220,000 ตําแหน่ง : ตัวเลขการใช้จา่ ยภาคครัวเรือนเดือน มิ.ย. อยูท่ ่ี 2.70 แสนเยน/เดือน ลดลง 0.4% (y-o-y) ขณะทีร่ ายได้เฉลีย่ ของครัวเรือนเพิม่ ขึน้ 2.0% ไปอยูท่ ่ี 7.28 แสนเยน/เดือน สะท้อนพฤติกรรมการใช้จา่ ยของชาวญีป่ ุน่ ทีย่ งั ให้ความสําคัญกับการออม : ดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนก.ค.ลดลงที่ 50.7 จาก 52.3 ในเดือนมิ.ย. แต่ยงั อยูเ่ หนือระดับ 50 ชีก้ จิ กรรมภาคการผลิตยังมีการ ขยายตัว ■ จีน : ธนาคารกลางเพิม่ เงินเข้าระบบ 1.7 หมืน่ ล้านหยวน (2.8 พันล้านดอลลาร์) เพือ่ แก้ไขปญั หาอัตราดอกเบีย้ เงินกูเ้ พิม่ ขึน้ ส่งผล ให้อตั ราดอกเบีย้ R/P 7 วัน ลดลงเหลือ 4.97% จากทีข่ น้ึ สูงกว่า 5% เมือ่ วันก่อน ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 4 สัปดาห์

Thailand updates :

■ สศอ. รายงาน ดัชนี MPI เดือน มิ.ย. ลดลง 3.5% (y-o-y) เป็ นผลมาจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว กระทบต่อหลายอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ อิเล็กทรอนิกส์ ทําให้ดชั นี MPI ในQ2/56 ลดลง 5.2% (y-o-y) คาดการขยายตัวของ GDP ภาคอุตสาหกรรมในปี น้จี ะอยู่ท่ี 3.0 - 4.0% และ MPI จะขยายตัว 0.5 - 1.0% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (30 ก.ค.) ทีร่ ะดับ 31.17/19 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (30 ก.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 51.23 จุด หรือ 0.33% ปิ ดที่ 15,573.20 จุด เพราะผลประกอบการหลายบริษทั ซึง่ มี ผลกําไรทีด่ ี ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 13.43 จุด หรือ 0.37 % ปิ ดที่ 3,612.57 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 5.13 จุด 0.30 % ปิ ดที่ 1,690.46 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (30 ก.ค.) ดัชนีนิกเกอิปิดเพิม่ ขึน้ 208.69 จุด หรือ 1.53% ปิ ดที่ 13,869.82 จุด จากการอ่อนค่าของสกุลเงินเยน และ แรงซือ้ ขายเก็งกําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 17.16 จุด หรือ 0.90% ปิ ดที่ 1,917.05 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 103.81จุด หรือ 0.48 % ปิ ดที่ 21,953.96 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,435.44 จุด ลดลง 18.84 จุด (-1.30%) เนื่องจากแรงกดดันทางการเมืองและปริมาณการซือ้ ขายทีล่ ดลง ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.