Morning Focus December 2012

Page 1

December 2012

Macro Morning Focus


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office

Summary

1. พาณิชย์ คาดเงินเฟ้อปี นีอ้ ยู่ในกรอบร้ ยอละ 3.0 ขณะที่ พ.ย. อยู่ท่รี ้ อยละ 2.74 2. ธปท.ขอความร่ วมมือแบงก์ พาณิชย์ ไม่ กระตุ้นให้ เกิดการใช้ จ่ายในสินค้ าฟุ่ มเฟื อย 3. ตลาดหุ้นสหรั ฐเปิ ดปรั บตัวขึน้ ขานรั บภาคการผลิตของจีน Highlight 1. พาณิชย์ คาดเงินเฟ้อปี นีอ้ ยู่ในกรอบร้ อยละ 3.0 ขณะที่ พ.ย. อยู่ท่รี ้ อยละ 2.74  ปลัดกระทรวงพาณิชย์เปิ ดเผยว่า อัตราเงินเฟ้อเดือน พ.ย. 55 อยู่ที่ร้อยละ 2.74 เนื่องจากราคาสินค้ า เกษตร ผักและผลไม้ และปลา มีราคาสูงขึ ้น รวมถึงค่าโดยสารรถไฟฟ้าปรับราคาสูงขึ ้นเมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปี ก่อน แต่ถือว่าราคาลดลง หากเทียบกับเดือน ต.ค. 55 จึงทาให้ อตั ราเงินเฟ้อเทียบต่อเดือน ลดลงร้ อยละ 0.35 ส่วนอัตราเงินเฟ้อในรอบ 11 เดือนแรกของปี 2555 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.96 และเชื่อว่า ทั ้งปี จะยังอยูใ่ นกรอบเป้าหมายที่ตั ้งไว้ ร้อยละ 3.0 สาหรับปี 56 คาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อจะขยายตัว ประมาณ 2.8-3.4 หรื อเฉลี่ยร้ อยละ 3.0  สศค. วิเคราะห์ ว่า อัตราเงินเฟ้อเดือน พ.ย. 55 อยู่ท่ รี ้ อยละ 2.7 ปรั บตัวลงจากเดือนก่ อนหน้ า ที่อยู่ร้อยละ 3.3 และเมื่อเทียบกับเดือนก่ อนหน้ าพบว่ า ดัชนีราคาผู้บริ โภคทั่วไปเดือน พ.ย.55 หดตัวเป็ นครั ง้ แรกในรอบ 11 เดือนที่ร้อยละ -0.35 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของราคา สิ นค้ า ในหมวดของผั ก และผลไม้ เ ป็ นส าคั ญ ที่ป รั บ ลดลงจากเดื อ นก่ อ นที่มี เ ทศกาลกิ นเจ ประกอบกับราคานา้ มันขายปลีกในประเทศที่ปรั บลดลงตามราคานา้ มันดิบในตลาดโลก ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่ าอัตราเงินเฟ้อทั่วในปี 55 จะอยู่ท่รี ้ อยละ 3.3 โดยมีช่วงคาดการณ์ ร้อยละ 3.0 – 3.5 สาหรั บในปี 56 คาดว่ าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะปรั บตัวเพิ่มขึน้ เล็กน้ อยมาอยู่ท่รี ้ อยละ 3.5 โดยมี ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 3.0 – 4.0 (คาดการณ์ ณ ก.ย.55) 2. ธปท.ขอความร่ วมมือแบงก์ พาณิชย์ ไม่ กระตุ้นให้ เกิดการใช้ จ่ายในสินค้ าฟุ่ มเฟื อย  ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ เชิญผู้แทนจากสมาคมธนาคารไทยร่ วมพบปะสนทนาเพื่อ แลกเปลี่ยนข้ อคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก พร้ อมกล่าวถึงความสาคัญใน เรื่ องการขยายตัวของสินเชื่อในประเทศ การคุ้มครองผู้บริโภค การโฆษณากระตุ้นการใช้ จ่าย โดยขอให้ ธนาคารพาณิชย์ดแู ลความสมดุลระหว่างการกระตุ้นให้ ประชาชนใช้ จ่ายกับการออม เพื่อสนับสนุนการ เติบโตอย่างยัง่ ยืนของเศรษฐกิจประเทศในระยะยาว และควรมีความรับผิดชอบไม่กระตุ้นให้ เกิดการใช้ จ่ายในสินค้ าฟุ่ มเฟื่ อย  สศค. วิเคราะห์ ว่า จากการติดตามเครื่ องชีด้ ้ านสินเชื่อพบว่ า ยอดคงค้ างสินเชื่อของสถาบันการ เงินเดือน ก.ย. 55 ยังคงขยายตัวได้ ดีต่อเนื่องที่ร้อยละ 15.5 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อนหน้ า โดยถ้ าพิจารณาในรายละเอียดจะพบว่ าสินเชื่อเพื่อการบริโภคของธนาคารพาณิชย์ มี การขยายตัวได้ ในระดับสู งที่ร้อยละ 17.3 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกั นของปี ก่ อนหน้ า แสดงให้ เห็นว่ าประชาชนมีความต้ องการใช้ สินเชื่อเพื่อนามาบริ โภคในสินค้ าและบริ การต่ างๆเพิ่มขึน้ ดังนัน้ เพื่อไม่ ให้ เกิดปั ญหาในระยะยาว การควบคุมและดูแลการปล่ อยสินเชื่อแก่ ประชาชนให้ มีความเหมาะสมจึงมีความจาเป็ น ธนาคารพาณิชย์ ควรให้ ความสาคัญในการปล่ อ ยสินเชื่อที่ ก่ อให้ เกิดประโยชน์ ต่อระบบเศรษฐกิจ และไม่ ทาให้ เกิดการใช้ จ่ายที่เกินตัวของประชาชน 3. ตลาดหุ้นสหรั ฐเปิ ดปรั บตัวขึน้ ขานรั บภาคการผลิตของจีน  ตลาดหุ้นสหรัฐปรับตัวขึ ้นในช่วงเปิ ดตลาดวันจันทร์ (เวลาในสหรัฐ) เพราะได้ ปัจจัยหนุนจากข้ อมูลภาค การผลิตจีนที่ขยายตัว โดยดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์เพิ่มขึ ้น 0.4% แตะที่ 13,079 จุด ดัชนี S&P 500 เพิ่มขึ ้น 0.4% แตะที่ 1,422 จุด และดัชนี Nasdaq เพิ่มขึ ้น 0.6% แตะที่ 3,028 จุด หลังจากที่ HSBC Holdings รายงานในวันนี ้ว่า ดัชนีผ้ จู ัดการฝ่ ายจัดซื ้อ (PMI) ภาคการผลิตขั ้นสุดท้ ายในเดือน พ.ย.ของจีนเพิ่มขึ ้นสู่ระดับ 50.5 ซึ่งเป็ นระดับสูงสุดในรอบ 13 เดือน ซึ่งเป็ นสัญญาณบ่งชี ้ว่า เศรษฐกิจ จีนเริ่มดีดตัวขึ ้น และมีแนวโน้ มที่จะทาให้ ตลาดมีความเชื่อมัน่ ในแนวโน้ มของเศรษฐกิจจีนต่อไป  สศค. วิเคราะห์ ว่า ปั จจุบันบริษัทของสหรั ฐมีการทาข้ อตกลงเพื่อร่ วมทุนกว่ า 2 หมื่นโครงการ ครอบคลุมทัง้ กิจการร่ วมทุนและกิจกรรมของต่ างชาติแบบเต็มตัวในจีน ขณะเดียวกัน จีนเป็ น ตลาดที่ใหญ่ ท่สี ุดด้ านการส่ งออกผลิตภัณฑ์ เกษตรของสหรั ฐ โดยในปี ที่ผ่านมา จีนมียอดซือ้ ถึง 2 หมื่นพันล้ าน USD ส่ งผลให้ เกิดการจ้ างงานถึง 1.6 แสน ตาแหน่ งในภาคเกษตรของสหรั ฐ ดังนัน้ ความสัมพันธ์ ของภาคการผลิตของทัง้ สองประเทศจึงค่ อนข้ างเป็ นไปในทิศทางที่สอด คล้ องกัน โดยการเพิ่มขึน้ ของดัชนี PMI ภาคการผลิตขัน้ สุดท้ ายในเดือน พ.ย.ของจีน สู่ระดับ สูงสุดในรอบ 13 เดือน ดังกล่ าว สอดคล้ องกับดัชนี PMI ภาคการผลิตขัน้ สุดท้ ายของสหรั ฐที่ เพิ่มขึน้ สู่ระดับ 52.8 จาก 51.0 ในเดือน ต.ค.

4 ธันวาคม 2555 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Dubai

Year to Date

Ast.12

108.50

109.21

109.4

30.64

31.10

31.10

2012

Q3

Q4

Nov

Dec

105.61

106.81

104.89

107.22

30.47

30.11

30.99

30.69

Bath/USD

Economic Data Exchange Rate Currencies

30 Nov 12

3 Dec 12

4 Dec 12 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.67

30.65

-0.07

30.63

JPY/USD

82.45

82.23

-0.27

82.12

CNY/USD

6.2265

6.2277

0.0193

ปิ ดทำกำร

USD/EUR

1.2984

1.3053

0.5314

1.3048

99.98

99.95

-0.03

100.00

NEER Index (Average 08=100)

Stock Market Market SET

10 Feb 12

30 Nov 12 (Close)

3 Dec 12 (Close)

% change

1,324.04

1,332.92

0.67

13,025.58

12,965.60

-0.46

FTSE-100

5,866.82

5,871.24

0.08

NIKKEI-225

9,446.01

9,458.18

0.13

22,030.39

21,767.85

-1.19

3,069.95

3,065.74

-0.14

Dow Jones

Hang Seng Straits Time

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.876

2.051

2.292

-28.534

Thailand-10 Year

3.580

3.080

21.454

21.926

USA-2 Year

0.254

0.390

-3.160

0.000

USA-10 Year

1.622

0.520

-9.570

-41.150

Commodities 30 Nov 12

3 Dec 12

109.00

108.50

-

-0.46

88.54

88.66

-

0.14

111.79

112.22

-

0.38

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.83

37.83

37.83

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.38

35.38

35.38

-

Diesel (Bt/litre)

29.79

29.79

29.79

-

1,714.40

1,714.85

1,712.94

-0.11

Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

2011

2011

4 Dec 12 (Spot)

%change


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 6 ธันวาคม 2555

1. หอการค้ าไทยระบุเศรษฐกิจไทยปี 56 ยังน่ าเป็ นห่ วง 2. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค พ.ย. 55 อยู่ท่รี ะดับ 69.4 สูงสุดในรอบ 14 เดือน 3. แนวโน้ มตลาดหุ้นไทยมีโอกาสหดตัวในระยะสัน้ ด้ วยความกังวลจากเศรษฐกิจสหรั ฐชะลอตัว Highlight 1. หอการค้ าไทยระบุเศรษฐกิจไทยปี 56 ยังน่ าเป็ นห่ วง  ประธานกรรมการหอการค้ าไทยและสภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจไทยในปี 56 ยังน่าเป็ นห่วงและน่าจะเติบโตร้ อยละ 4-5 จากความต้ องการภายในที่สูงขึ ้น ขณะที่ภาคการส่งออกคง จะเติบโตเฉลี่ยที่ร้อยละ 0-5 จากปั ญหาเศรษฐกิจของประเทศที่เป็ นตลาดหลักสาคัญ กอปรกับการปรับ ขึ ้นค่าแรง 300 บาท ที่ส่งผลให้ ผ้ ปู ระกอบการมีภาระต้ นทุนสูงขึ ้นและในบางธุรกิจประสบปั ญหาเงื่อนไข ทางการค้ าที่เข้ มงวดมากขึ ้น นอกจากนี ้ ยังได้ เสนอให้ เร่งผลักดันการขยายมูลค่าการค้ าชายแดนให้ เพิ่ม มากขึ ้น  สศค. วิเคราะห์ ว่า แม้ ว่าจะมีปัจจัยความเสี่ยงทางเศรษฐกิจโลก ประเมินว่ าเศรษฐกิจไทยในปี 56 จะขยายตัวได้ ต่อเนื่องที่ร้อยละ 5.2 (ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 4.7–5.7) โดยมีแรงขับเคลื่อน หลักจากอุปสงค์ ภาครั ฐที่คาดว่ าจะยังคงขยายตัวได้ จากปั จจัยสนับสนุนของการเบิกจ่ ายตาม แผนบริหารจัดการนา้ ในระยะยาวของภาครั ฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้ านบาทที่คาดว่ าจะเริ่ม ทยอยลงทุนได้ มากขึน้ ในปี 56 ประกอบกับสถานการณ์ เศรษฐกิจโลกที่แม้ ว่าจะยังคงมีความ เสี่ ยง แต่ ก็มีแนวโน้ มเริ่ มฟื ้ น ตั วขึน้ ตามลาดับ อย่ างไรก็ตาม อุ ปสงค์ ภาคเอกชนมี แนวโน้ ม ชะลอลงภายหลังจากที่มีการเร่ งการบริโภคและการลงทุนเพื่อฟื ้ นฟูภายหลังเหตุการณ์ อุทกภัย ไปมากแล้ วในปี 55 สาหรั บด้ านเสถียรภาพภายในประเทศ คาดว่ าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 56 จะอยู่ท่รี ้ อยละ 3.5 (ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 3.0 – 4.0) (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ย. 55) 2. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค พ.ย. 55 อยู่ท่รี ะดับ 69.4 สูงสุดในรอบ 14 เดือน  ศูนย์พยากรณ์ เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิท ยาลัยหอการค้ าไทย เปิ ดเผยผลส ารวจ ดัชนี ความเชื่ อมั่น ผู้บริโภคเดือน พ.ย. 55 อยูท่ ี่ 69.4 จาก 68.1 ใน ต.ค. 55ซึ่งเป็ นระดับที่สงู สุดในรอบ 14 เดือน  สศค. วิ เ คราะห์ ว่ า ดัชนี ค วามเชื่อ มั่ นผู้ บ ริ โภคเศรษฐกิจ โดยรวมในเดือ นพ.ย. 55 ที่ป รั บ ตั ว เพิ่มขึน้ จากเดือนก่ อนหน้ า เนื่องจากผู้ บริ โภคคลายความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ นา้ ท่ วม ความวุ่นวายทางการเมืองคลี่คลายลง หลังจากการชุมนุมเสร็จสิน้ ภายในวันเดียว ประกอบกับ ภาวะการท่ องเที่ยวที่ดี สถานการณ์ เศรษฐกิจในประเทศที่ยังมีการใช้ จ่ายปกติ และแนวโน้ ม เศรษฐกิจโลกที่มีสัญญาณปรั บตัวดีขนึ ้ หลังจากสหรั ฐฯ ประกาศใช้ มาตรการ QE3 รวมถึงการที่ รั ฐบาลได้ มีการประกาศปรั บขึน้ ค่ าแรงขัน้ ต่ า 300 บาทพร้ อมกันทั่วประเทศในปี 56 อันเป็ น ปั จจัยพืน้ ฐานต่ อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่ างไรก็ตาม การที่รัฐบาลได้ มีการเร่ งรั ดการใช้ นโยบายการคลั งผ่ านการใช้ งบประมาณรายจ่ ายลงทุน และนโยบายการเงินผ่ านการปล่ อย สินเชื่อมากขึน้ เพื่อให้ มีเงินทุนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากขึน้ อันจะเป็ นการสนับสนุนที่ สาคัญให้ เศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้ ดี ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่ าเศรฐกิจไทยในปี 55 จะขยายตัว ได้ ท่รี ้ อยละ 5.5 และปี 56 จะขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ย. 55) 3. แนวโน้ มตลาดหุ้นไทยมีโอกาสหดตัวในระยะสัน้ ด้ วยความกังวลจากเศรษฐกิจสหรั ฐชะลอตัว  บริษัทหลักทรัพย์ ฟิ นน ั เซียไซรัส มองถึงแนวโน้ มการลงทุนตลาดหุ้นไทย โดยมีความกังวลเกี่ยวกับการ อ่อนแอลงของเศรษฐกิจสหรัฐกลับมากดดันตลาดอีกครัง้ หลังตัวเลขกิจกรรมภาคการผลิตเดือน พ.ย. ของสหรัฐดิ่งลงแตะจุดต่าสุดในรอบ 3ปี ขณะที่การเจรจาแก้ ปัญหา Fiscal cliff ยังไม่มีความคืบหน้ า มากนัก ส่งผลให้ ตลาดหุ้น สหรัฐกลับมาปรับตัวลดลงอีกครัง้ แม้ ว่าจะมีข่าวบวกจากการที่ตัวเลข PMI ของจีนขยับขึ ้นต่อเนื่อง ซึ่งช่วยตอกย ้ามุมมองที่ว่าเศรษฐกิจจีนน่าจะฟื น้ ตัวมากขึ ้นในไตรมาส ที่ 4  สศค. วิเคราะห์ ว่า ภาวะ Fiscal cliff ของรั ฐบาลสหรั ฐ อาจจะส่ งผลกระทบอย่ างมากต่ อระบบ เศรษฐกิจสหรั ฐที่ยังคงซบเซาอยู่ มาตรการภาษีท่ ีจะหมดไปได้ แก่ การลดภาษี (Tax Relief) ประกั นการว่ างงาน (Unemployment Insurance Reauthorization) และการจ้ างงาน (Job Creation Act of 2010) การเจรจาต่ ออายุมาตรการ ต้ องบรรลุข้อตกลงก่ อ นวันที่ 31 ธ.ค. 55 นี ้ มิฉะนัน้ สหรั ฐฯ จะต้ องตัดลดรายจ่ ายและเพิ่มภาษีทันที ตาม Budget Control Act ทัง้ นี ้ CBO คาดการณ์ ว่าจะทาให้ รายรั บของภาครั ฐขึน้ ถึงจากร้ อยละ 15.7 ต่ อ GDP ในปี 55 ถึง 18.4 ต่ อ GDP ในปี 56 ได้ กลับเข้ ามาสู่สภาวะปกติ และด้ านรายจ่ ายจะลดลงจากร้ อยละ 22.9 ต่ อ GDP ถึง 22.4 ต่ อ GDP ซึ่งมาตรการนีท้ างการคลังครั ง้ นี ้ Fiscal Cliff อาจจะทาให้ ประเทศสหรั ฐกลับ เข้ าสู่ ส ภาวะถดถอย (Recession) อี ก ในช่ ว งครึ่ ง ปี แรกของ 56 ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า ในปี 55 เศรษฐกิจสหรั ฐจะขยายตัวร้ อยละ 2.2 และกลั บขยายตัวร้ อยละ 2.4 ในปี 56 คาดการณ์ ณ เดือน ก.ย. 55 Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2011

2011 Dubai

Year to Date

Ast.12

107.96

109.19

109.4

30.65

31.10

31.10

2012

Q3

Q4

Nov

Dec

105.61

106.81

104.89

107.30

30.47

30.11

30.99

30.69

Bath/USD

Economic Data Exchange Rate Currencies

4 Dec 12

5 Dec 12

6 Dec 12 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.66

ปิ ดทำกำร

JPY/USD

81.89

82.46

0.70

82.46

CNY/USD

ปิ ดทำกำร

6.2251

-0.005

6.2282

USD/EUR

1.3093

1.3066

0.5314

1.3057

99.77

99.94

-0.03

99.93

NEER Index (Average 08=100)

Stock Market Market SET

0.00

30.67

10 Feb 12

4 Dec 12 (Close)

5 Dec 12 (Close)

% change

1,330.06

ปิ ดทำกำร

-

12,951.78

13,034.49

0.64

FTSE-100

5,869.04

5,892.08

0.39

NIKKEI-225

9,432.46

9,468.84

0.39

21,799.97

22,270.91

2.16

3,062.12

3,075.92

0.45

Dow Jones

Hang Seng Straits Time

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.873

-0.306

2.879

-24.052

Thailand-10 Year

3.573

-0.691

20.186

25.512

USA-2 Year

0.242

-0.790

-3.560

-1.980

USA-10 Year

1.591

-3.410

-8.790

-44.220

Commodities 4 Dec 12

5 Dec 12

107.85

107.55

-

-0.28

88.04

87.33

-

-0.81

110.95

109.94

-

-0.91

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.83

37.83

37.83

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.38

35.38

35.38

-

Diesel (Bt/litre)

29.79

29.79

29.79

-

1,696.74

1,693.41

1,691.20

-0.26

Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold

6 Dec 12 (Spot)

%change


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 7 ธันวาคม 2555

1. ยอดจาหน่ ายรถจักรยานยนต์ เดือน พ.ย. 55 ขยายตัวร้ อยละ 28.0 2. ยอดค้ าปลีกยูโรโซน เดือน ต.ค. 55 หดตัวต่ อเนื่องเป็ นเดือนที่ 17 3. อัตราการว่ างงานออสเตรเลียเดือน พ.ย. 55 ลดลงมาอยู่ท่รี ้ อยละ 5.2 ของกาลังแรงงานรวม Highlight 1. ยอดจำหน่ำยรถจักรยำนยนต์ เดือน พ.ย. 55 ขยำยตัวร้ อยละ 28.0 กรมขนส่งทำงบก รำยงำนยอดจดทะเบียนรถจักรยำนยนต์ในเดือน พ.ย. 55 อยู่ที่ 176,604 คัน หรื อขยำยตัว ร้ อยละ 28.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ต่อเนื่องจำกเดือนก่อนที่ขยำยตัวร้ อยละ 24.0 อย่ำงไรก็ตำม หำกขจัดผลทำงฤดูกำลแล้ ว พบว่ำ ยอดจดทะเบียนในเดือน พ.ย. 55 หดตัวจำกเดือนก่อนหน้ ำร้ อยละ -13.7 ทั ง้ นี ้ ในช่ ว ง 11 เดื อ นแรกปี 55 ยอดจดทะเบี ย นรถจั ก รยำนยนต์ ที่ ส ะท้ อนถึ ง ปริ ม ำณกำรจ ำหน่ ำ ย รถจักรยำนยนต์ ขยำยตัวที่ร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อน  สศค. วิเคราะห์ ว่า ยอดขายรถจั กรยานยนต์ เ ดือน พ.ย. 55 ที่ขยายตัวดี เป็ นผลจากการเพิ่มของ ยอดขายรถจักรยานยนต์ ทัง้ ในเขตกทม. และภูมิภาค ที่ขยายตัวร้ อยละ 109.2 และร้ อยละ 15.7 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ตามลาดับ เร่ งขึน้ จากเดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวร้ อยละ 70.2 และร้ อยละ 15.5 ตามลาดับ ส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากปั จจัยฐานต่าจากมหาอุทกภัยในช่ วงปลายปี ที่แล้ ว ประกอบ กับรายได้ ภาคครัวเรือนที่ยังอยู่ในเกณฑ์ ดี โดยเฉพาะรายได้ เกษตรกร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ จากนโยบายเพิ่มรายได้ เกษตรกรของรั ฐบาล สะท้ อนความแข็งแกร่ งของ การบริ โ ภคภาคเอกชน ที่ จ ะเป็ นเครื่ องยนต์ ขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิ จ ไทยในปี 55 นี ้ ทั ง้ นี ้ สศค. คาดการณ์ ว่าการบริ โภคภาคเอกชนในปี 55 จะขยายตัวร้ อยละ 5.2 (ประมาณการ ณ เดือน ก.ย. 55) 2. ยอดค้ าปลีกยูโรโซน เดือน ต.ค. 55 หดตัวต่ อเนื่องเป็ นเดือนที่ 17  ยอดค้ ำปลีกยูโรโซน เดือน ต.ค. 55 หดตัวต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 17 ที่ร้อยละ -3.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อ น หดตัวเร่ งขึน้ จำกเดื อนก่อ นหน้ ำที่ ห ดตัว ร้ อยละ -1.6 ผลจำกยอดซือ้ สิน ค้ ำหมวดเครื่ องนุ่ง ห่ มและ เฟอร์ นิเจอร์ ที่หดตัวลงเป็ นสำคัญ จำกสถำนกำรณ์ทำงเศรษฐกิจยูโรโซนที่ย่ำแย่ ส่งผลต่ออุปสงค์ในประเทศที่ หดตัวลงต่อเนื่อง  สศค. วิเ คราะห์ ว่ า เศรษฐกิ จยูโรโซนหดตัวต่ อเนื่องและอยู่ในภาวะถดถอยแล้ ว เห็นได้ จ าก GDP ไตรมาส 3 ปี 55 (ตัวเลขเบือ้ งต้ น) หดตัวที่ร้อยละ -0.6 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน หรื อร้ อยละ -0.1 จากไตรมาสก่ อนหน้ า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ ว) ต่ อเนื่องจากไตรมาส 2 ปี 55 ซึ่งหดตัวร้ อยละ -0.2 จากไตรมาสก่ อนหน้ า ซึ่งการหดตัวของ GDP เมื่อเทียบกับไตรมาสก่ อนหน้ าเป็ นเวลา 2 ไตร มาสติด ต่ อกั น นั น้ เป็ นเครื่ องบ่ ง ชีภ้ าวะถดถอยทางเทคนิ ค อี กทั ง้ อั ตราการว่ างงานยัง คงเพิ่ มขึ น้ ต่ อเนื่อง ล่ าสุด ณ เดือน ต.ค. 55 อยู่ท่ รี ้ อยละ 11.7 ของกาลังแรงงานรวม ส่ งผลลบต่ อความเชื่อมั่น ผู้บริโภคต่ อเนื่อง บ่ งชีจ้ ากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริ โภคยูโรโซน เดือน พ.ย. 55 ที่อยู่ท่ ีระดับ -26.9 จุด ลดลงต่ อ เนื่ อ ง ส่ งผลให้ ผ้ ู บริ โ ภคมี ก ารใช้ จ่ า ยที่ ล ดลง โดยเฉพาะสิ น ค้ า หมวดฟุ่ มเฟื อย อาทิ เครื่องนุ่งห่ ม และเฟอร์ นิเจอร์ ที่หดตัวลงร้ อยละ -1.4 และ -1.4 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ตามลาดับ ทั ง้ นี ้ ตั ว เลขดั ง กล่ าวสะท้ อนว่ า การบริ โ ภคภาคเอกชน ซึ่ ง เป็ นหั ว ใจส าคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิ จยูโรโซนที่สัดส่ วนร้ อยละ 56.5 ของ GDP (สัดส่ วนปี 54) ยังคงซบเซาในช่ วงไตรมาสที่ เหลือของปี 55 นี ้ 3. อัตราการว่ างงานออสเตรเลียเดือน พ.ย. 55 ลดลงมาอยู่ท่ รี ้ อยละ 5.2 ของกาลังแรงงานรวม  อัตรำกำรว่ำงงำนออสเตรเลียในเดือน พ.ย. 55 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 ของกำลังแรงงำนรวม โดยลดลงจำกเดือ น ก่อนหน้ ำที่ อยู่ที่ ร้อยละ 5.4 ส่วนหนึ่งเป็ นผลจำกกำรจ้ ำงงำนที่ เพิ่มขึ ้นถึง 13,900 ตำแหน่ง โดยเฉพำะใน อุตสำหกรรมเหมืองแร่และถ่ำนหิน บ่งชี ้อุปสงค์ในประเทศที่ยงั คงขยำยตัวต่อเนื่อง ท่ำมกลำงควำมไม่แน่นอน ของเศรษฐกิจโลก  สศค. วิเคราะห์ ว่า อัตราการว่ างงานออสเตรเลียที่ลดลงดังกล่ าว เกิ ดจากภาคการผลิตในประเทศที่ ยั ง คงขยายตั ว ดี ต่ อเนื่ อง แม้ ว่ าอุ ป สงค์ จากนอกประเทศชะลอลง สะท้ อนจากผลผลิ ต ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ปี 55 ที่ยัง คงขยายตั วดีต่ อเนื่ องที่ร้ อยละ 4.5 เมื่อเทีย บกั บ ช่ ว ง เดียวกันปี ก่ อน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และถ่ านหินที่ขยายตัวเร่ งขึน้ ถึ งร้ อยละ 8.2 ทาให้ การจ้ างงานในอุ ตสาหกรรมดังกล่ าวในเดือน ส.ค. 55 เพิ่มขึน้ ถึ งร้ อยละ 36.6 เมื่อเทียบกั บช่ ว ง เดียวกันปี ก่ อน สะท้ อนอุปสงค์ ในประเทศที่ยังขยายตัวอย่ างแข็งแกร่ ง อย่ างไรก็ตาม อุตสาหกรรม เหมืองแร่ และถ่ านหินดังกล่ าว ส่ วนหนึ่งเป็ นการผลิตเพื่อการส่ งออก โดยเฉพาะส่ งออกไปยังจีน ซึ่ง เป็ นคู่ค้าสาคัญอันดับ 1 และมีสัดส่ วนการส่ งออกสูงถึงร้ อยละ 27.3 ของมูลค่ าการส่ งออกปี 54 เป็ น สาคัญ ดังนัน้ เศรษฐกิจจีนที่ยังคงมีแนวโน้ มชะลอลง อาจส่ งกระทบต่ ออุตสาหกรรมดังกล่ าวของ ออสเตรเลี ย ได้ ในระยะต่ อไป ทั ง้ นี ้ สศค.คาดว่ า เศรษฐกิ จ ออสเตรเลี ย ในปี 55 และปี 56 จะ ขยายตัวร้ อยละ 3.3 (ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 2.8-3.8) และร้ อยละ 3.1 (ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 2.6-3.6 คาดการณ์ ณ สิน้ เดือน ก.ย. 55) ตามลาดับ 

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 325

Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2011

2011 Dubai

Year to Date

Ast.12

107.51

109.18

109.4

30.66

31.10

31.10

2012

Q3

Q4

Nov

Dec

105.61

106.81

104.89

107.30

30.47

30.11

30.99

30.69

Bath/USD

Economic Data Exchange Rate Currencies

5 Dec 12

7 Dec 12 (spot)

% change

6 Dec 12

THB/USD (onshore)

ปิ ดทำกำร

30.65

n.a.

30.65

JPY/USD

82.46

82.39

-0.08

82.50

CNY/USD

6.2251

6.2282

0.0498

6.2282

USD/EUR

1.3066

1.2967

-0.7577

1.2968

99.94

100.06

0.1201

100.11

NEER Index (Average 08=100)

Stock Market Market SET

10 Feb 12

5 Dec 12 (Close)

6 Dec 12 (Close)

% change

ปิ ดทำกำร

1,339.88

n.a.

13,034.49

13,074.04

0.30

FTSE-100

5,892.08

5,901.42

0.16

NIKKEI-225

9,468.84

9,545.16

0.81

22,270.91

22,249.81

-0.09

3,075.92

3,078.20

0.07

Dow Jones

Hang Seng Straits Time

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.910

1.90

8.63

-18.00

Thailand-10 Year

3.570

3.00

11.50

28.20

USA-2 Year

0.242

0.000

-6.330

-1.580

USA-10 Year

1.586

0.52

-16.50

-49.99

5 Dec 12

6 Dec 12

107.55

106.15

-

-1.30

87.36

85.44

-

-2.20

109.94

108.35

-

-1.46

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.83

37.83

37.33

-1.32

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.38

35.38

34.88

-1.41

Diesel (Bt/litre)

29.79

29.79

29.79

-

1,693.41

1,698.62

1,701.51

0.17

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold

7 Dec 12 (Spot)

%change


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.