ECO Design

Page 1

บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

PACKAGING RMUTL PACKAGING DESIGN 1 YAOWANART NARINTORNSORASAK วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

PROBLEM IDENTIFICATION

ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของทุกชีวิต ดัง จะเห็นได้จากสภาวะอากาศที่แปรเปลี่ยน ความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้น หรือ โรคภัยที่ร้ายแรงขึ้น เหล่านี้ล้วนเป็นผลจากการกระทําของมนุษย์ที่ได้ บั่นทอนธรรมชาติทั้งโดยรู้ตัว และไม่รู้ตัว

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


PROBLEM IDENTIFICATION ในปัจจุบัน ขยะจากครัวเรือน พบว่า

YAOWANART NARINTORNSORASAK

1 ใน 3 ของปริมาณขยะ เป็นขยะจาก

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

บรรจุภัณฑ์ และหากรวมไปถึงขยะจาก ระบบอุตสาหกรรม พบว่า 50% เป็น ขยะของภาชนะบรรจุ โดยทั่วไปภาชนะ บรรจุถูกออกแบบมาเพื่อใช้เพียง ครั้งเดียวแล้วกําจัดทิ้ง ทําให้เกิดการ ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองและเสีย ค่าใช้จ่ายในการกําจัด แต่ผลของการ กําจัดขยะจากภาชนะบรรจุทําให้เกิด ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในหลายๆด้าน


YAOWANART NARINTORNSORASAK

ความสํ า คั ญ ของ ECO DESIGN

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

การออกแบบเชิงนิเวศ เศรษฐกิจ หรือ EcoDesign (Economic & Ecological Design) มีบทบาทสําคัญ ต่อกระบวนการผลิตสินค้า โดยเป็นกระบวนการ ที่ผนวกแนวคิดด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไป ในขั้นตอนการออกแบบ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม


ECO DESIGN MEANING ECO DESIGN คือ กระบวนการที่ผนวก แนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์และด้านสิ่ง

YAOWANART NARINTORNSORASAK

แวดล้อมเข้าไปในขั้นตอนการออกแบบ โดย

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

พิจารณาตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (PRODUCT LIFE CYCLE) ตั้งแต่ขั้นตอน การวางแผนผลิตภัณฑ์ ช่วงการออกแบบ ช่วงการผลิต ช่วงการนําไปใช้ และช่วงการ ทําลายหลังการใช้งาน ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนใน แต่ละขั้นตอนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ ลดผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อมไปพร้อมๆ กัน โดยส่งผลดีต่อธุรกิจ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นแนวทางนําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SUSTAINABLE DEVELOPMENT)


YAOWANART NARINTORNSORASAK

หลั ก การ 4R พื ้ น ฐานของ ECO DESIGN

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

หลักการพื้นฐานของการทํา EcoDesign คือ การประยุกต์ หลักการของ 4Rs ในทุกช่วงของวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การลด (Reduce) การใช้ซ้ํา (Reuse) การนํากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการซ่อมบํารุง (Repair) ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน


หลั ก การ 4R พื ้ น ฐานของ ECO DESIGN

YAOWANART NARINTORNSORASAK

การลด REDUCE การวางแผน

การนํากลับมา ใช้ RECYCLE

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

การออกแบบ

ระบบการผลิต การใช้ซ้ํา REUSE

การจําหน่าย

การใช้งาน การซ่อม REPAIR


ประโยชน์ ข อง ECO DESIGN

YAOWANART NARINTORNSORASAK

เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยจะส่งผลดีต่อธุรกิจ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เป็นแนวทางนําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) 1. เพื่อสร้างผลกําไรให้กับองค์กรโดยการนํากระแสความต้องการสินค้า และบริการที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาใช้เป็นจุดเด่นในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค 2. สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตจากการลดปริมาณวัตถุดิบ หีบห่อ บรรจุ ภัณฑ์ การใช้พลังงานในการผลิตสินค้าและบริการ 3. สามารถนําวัสดุหรือชิ้นส่วนกลับมาใช้ได้ใหม่โดยการปรับปรุงผลิตภัณฑ์จากการ ออกแบบ 4. เพื่อป้องกันปัญหาการใช้ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมมาเป็นกําแพงทางการค้าที่มิใช่ ภาษี (Non-tariff Barrier; NTB) และรองรับการเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบทาง ด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆที่มีความเข้มงวดจากประเทศพัฒนาแล้ว เช่น WEEE, RoHS, EuP เป็นต้น 5. ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กรและผลิตภัณฑ์

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


PACKAGING ECO DESIGN

การออกแบบบรรจุ ภ ั ณ ฑ์ เ พื ่ อ สิ ่ ง แวดล้ อ ม

YAOWANART NARINTORNSORASAK

การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม คือ กิจกรรม หรือการกระทําที่ ทําให้ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเดิม บนพื้นฐานของการประเมินผลกระ

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

ทบ การวิเคราะห์ตัวสินค้า และการวิเคราะห์ด้านการตลาด การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ควรเริ่มที่การลด(REDUCE) ปริมาณขยะเป็นประการแรก การนํากลับมาใช้ซ้ํา (REUSE)มีความ สําคัญกว่าการ RECYCLE และการกําจัดทิ้ง ควรเป็นสิ่งสุดท้าย สิ่งที่นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ จะต้องคํานึงถึงคือความพร้อมของเทคโนโลยี ในการเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า และการจัดการที่สนับสนุนให้กลยุทธ์ต่างๆ ให้เป็นจริงขึ้นมาได้


YAOWANART NARINTORNSORASAK วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

กลยุทธ์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์

ECO DESIGN

PACKAGING S T R A T E G I E S


1. ออกแบบเพื่อลดส่วนประกอบที่เกินความจําเป็นในบรรจุภัณฑ์

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ลดจํานวนกระดาษ CUSHION ภายใน กล่องกระดาษที่ใช้ในการ บรรจุสินค้าเพื่อการขนส่ง ออกแบบให้ CUSHION ภายในนอกจากช่วย ปกป้องสินค้าภายในแล้ว ผลงาน นศ.ปีที่ 4. RMUTL นายอนุรักษ์ เครือติ๊บ รางวัลที่ 2 THAI STAR 53

ยังสามารถตั้งโชว์สินค้า ได้ในจุดขาย (DISPLAY OF PURCHASE) ทันที

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


1. ออกแบบเพื่อลดส่วนประกอบที่เกินความจําเป็นในบรรจุภัณฑ์

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ผลงานนักศึกษา นายปิยะพันธ์ สุรินทร์ นศ.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปี 4 ออกแบบ MODEL STUDY บรรจุภัณฑ์แบบรวมหน่วย INNER PACKAGE น้ําพริก ตาแดง ออกแบบให้ลดจํานวน กระดาษที่ใช้ลงไปเหลือเพียง แถบกระดาษแผ่นเดียวที่ใช้แขวน จําหน่าย เพื่อการค้าปลีก

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


1. ออกแบบเพื่อลดส่วนประกอบที่เกินความจําเป็นในบรรจุภัณฑ์

YAOWANART NARINTORNSORASAK

บรรจุภัณฑ์รวมหน่วย น้ํา ผลไม้ลูกแพร์ เข้มข้นเป็น ผลงานนักศึกษา CONOR HAGAN ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบ รวมหน่วย INNER PACKAGE ออกแบบให้ ลดจํานวนกระดาษที่ใช้ ลงไปเหลือเพียงแถบที่ใช้ หิ้วได้เท่านั้น

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

2. ออกแบบให้บรรจุภัณฑ์มีน้ําหนักเบาและใช้วัสดุน้อย

FASHIONATION ECO - SPEAKER เป็นลําโพงที่ผลิตขึ้นจาก กระดาษ RECYCLE ถึง 70% สีที่ใช้ในการพิมพ์ เป็นสีที่ผสมขึ้นจากสีแดง และสีเขียวจากธรรมชาติ และสามารถพับเก็บ เหลือขนาดเพียง 6 นิ้วเท่านั้น

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


2. ออกแบบให้บรรจุภัณฑ์มีน้ําหนักเบาและใช้วัสดุน้อย

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ผลงานนักศึกษา นายนเรศ สุภา นศ.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปี 4 ออกแบบบรรจุภัณฑ์เชิงเทียน หินทราย ออกแบบให้ บรรจุ ภัณฑ์ และ CUSHION ภายใน ใช้กระดาษแผ่นเดียวพับขึ้นรูป โดยไม่ใช้กาว เพื่อการลดการใช้ วัสดุให้น้อยลงเป็นการประหยัด งบประมาณ และลดสารเคมี

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

2. ออกแบบให้บรรจุภัณฑ์มีน้ําหนักเบาและใช้วัสดุน้อย

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

3. ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อให้สามารถนํากลับมาใช้ซ้ํา

บรรจุภัณฑ์เสื้อยืด หลังจากนําออกมา จากกล่องแล้วแกะ ตามรอยปรุ และ สามารถพับขึ้นรูป เป็นไม้แขวนเสื้อ ได้ทันที

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

4. ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อให้นํากลับมาใช้ประโยชน์่ได้

บรรจุภัณฑ์ถ้วย ไอสครีม NESTLE ออกแบบให้เป็นถ้วยไอสครีม รูปสัตว์ต่างๆ หลังจากทาน หมดแล้วนํามาต่อเป็นตุ๊กตา ของเล่น, เก็บของจุกจิก หรือสะสมได้

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


5. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สามารถนํากลับมา RECYCLE

เครื่องสําอาง HOLLYBETH

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ควบคุมตั้งแต่การปลูกวัตถุดิบ ด้วยระบบ ORGANIC ใช้หลัก ECO ตั้งแต่ระบบการผลิต ผลิตภัณฑ์ จนถึงบรรจุภัณฑ์ ซึ่ง เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนํา กลับมา RECYCLE ได้ไม่ว่าจะ เป็น แก้ว โลหะ พลาสติก และ กระดาษ

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

5. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สามารถนํากลับมา RECYCLE

บรรจุภัณฑ์รองเท้า NEWTON ผลิตจากกระดาษ RECYCLE ทั้งหมด เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม สามารถนําไป RECYCLE กลับมา ใช้ได้ซ้ําแล้ว ซ้ําอีก

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

6. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สามารถกําจัดทิ้งได้อย่างปลอดภัย

บรรจุภัณฑ์หลอดไฟ GREEN LIGHT ออกแบบโดย DANIEL ALMEIDA ใช้หลักการ ECO DESIGN ในกระบวนการออกแบบ

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

6. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สามารถกําจัดทิ้งได้อย่างปลอดภัย

กระป๋องแคนแบบใหม่ ที่ออกแบบโดย Choi Kwenyoung และ Park Jiwoon (Kongju National University, Korea) ออกแบบให้ กระป๋องแคนมีริ้วเฉียงรอบกระป๋อง เมื่อทานหมดสามารถใช้มือบิด ลดขนาดขยะบรรจุภัณฑ์ให้เล็กลงจน เหลือเพียง 1 ใน 3 ของกระป๋องเดิม ประหยัดเนื้อที่ในการกําจัดได้ดี

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

7. ออกแบบโดยลดบรรจุภัณฑ์ที่เกินความจําเป็น

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

7. ออกแบบโดยลดบรรจุภัณฑ์ที่เกินความจําเป็น

โคมไฟที่เป็นทั้งผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์นี้ ออกแบบ โดย DAVID GARDENER ใช้กระดาษ เก่ามา RECYCLE ใหม่ ขึ้น รูปเป็นบรรจุภัณฑ์และ ผลิตภัณฑ์ในตัวเอง

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

8. ออกแบบให้สินค้ามีความเข้มข้นสูงหรือลดปริมาณน้ําลง

เพิ่มความเข้มข้นให้สินค้า ทําให้มีปริมาณ ของสินค้าลดลง เพื่อใช้เนื้อที่ในการบรรจุ ที่เล็กลง ทําให้ต้องการบรรจุภัณฑ์ที่ มีขนาดเล็กลงตามไปด้วย

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


9. ออกแบบมีการรวมกลุ่มสินค้าต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์ ผลงานนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 นายณัฐพล สารป๊ก

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชุดแจกันแลกเกอร์แวร์

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

9. ออกแบบมีการรวมกลุ่มสินค้าต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์

ผลงานนักศึกษา นายศรายุทธ สายใจดี นศ.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปี 4 สร้าง MODEL STUDY บรรจุภัณฑ์แบบรวมหน่วย น้ําพริกตาแดง ออกแบบเป็น กล่องบรรจุ 4 กระปุก จําหน่ายเพื่อการค้าปลีก

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

9. ออกแบบมีการรวมกลุ่มสินค้าต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์

รางวัลที่ 1 THAI STAR 2553 ผลงานนักศึกษา นส.พิมพรรณ นะงอลา นศ.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปี 4 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ชุดแจกันเซรามิกส์เพื่อการขนส่ง 6 ใบ ออกแบบให้มีการรวมหน่วยชุดแจกัน CUSHION ภายในสามารถหมุนได้ 360ํ เพื่อตั้งโชว์ได้ ณ จุดขาย DISPLAY OF PURCHASE

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


YAOWANART NARINTORNSORASAK

9. ออกแบบมีการรวมกลุ่มสินค้าต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์

ผลงานนักศึกษา นายภานุพันธ์ ประพันธ์ นศ.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปี 4 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ชุดแจกันเซรามิกส์เพื่อ การขนส่ง 6 ใบ ออกแบบให้มีการรวมหน่วยชุดแจกัน CUSHION ภายในสามารถซ้อนกันได้ และหยิบยกออกมาได้สะดวก

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


10. ออกแบบให้ลดจํานวนสีที่ใช้พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ ผลงาน นักศึกษาชั้นปีที่ 4

YAOWANART NARINTORNSORASAK

นายสกานต์ สุรกิจโสภณ บรรรจุภัณฑ์ CELADON BATHROOM SET ใช้กระดาษลูกฟูกชนิด KA ลอน E สามารถนํา มา RECYCLE ได้ บรรจุภัณฑ์แสดงออกถึง ความเป็น ECO Design ด้วยการ พิมพ์สีเดียว ลงบนบรรจุภัณฑ์

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


10. ออกแบบให้ลดจํานวนสีที่ใช้พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์

YAOWANART NARINTORNSORASAK

FDP!.!GSJFOEMZ! NBDEPOBME!T

PACKAGING ECO DESIGN STRATEGIES

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010


REFERENCES กรมควบคุมมลพิษ. คู่มือการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ECO DESIGN PACKAGING. กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2550.

YAOWANART NARINTORNSORASAK

ธีระชัย สุขสด. หยุดภาวะโลกร้อน. [ออนไลน์]แหล่งที่มา: http://gotoknow.org/blog/teerachai4/245739. [29 Aug 10].

วันพุธที่ 1 กันยายน 2010

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. EcoDesign การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน. [ออนไลน์]แหล่งที่มา: HTTP://WWW.NSTDA.OR.TH/INDEX.PHP/NEWS/419-ECODESIGN--. [28 AUG 10] HTTP://WWW.MTEC.OR.TH/ECODESIGN2010/. [28 AUG 10] HTTP://GE.GEGLOBALRESEARCH.COM/BLOG/LIFE-CYCLE-ASSESSMENT-ECODESIGN/ HTTP://WWW.FURNITUREHOMEDESIGN.COM/ECO-DESIGN/FASHIONATION-ECO-SPEAKERS/ HTTP://WWW.TREEHUGGER.COM/FILES/2010/02/CHINA-WATER-POLLUTION-TWICE-OFFICIALLISTED-LEVELS.PHP HTTP://WWW.INHABITAT.COM:8080/2008/12/15/WINE-BOX-LAMP-BY-CICLUS/ HTTP://WWW.HOLLYBETH.NET/HOLLYBETH_NATURALLUXURY.HTML HTTP://DUSTBOWL.WORDPRESS.COM/2008/08/15/PACKAGING-LAMP/ HTTP://WWW.PACKAGINGOFTHEWORLD.COM/2008/08/PEARED.HTML


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.