Ven Singhthong Dhammavaro

Page 1

ประวัติและปฎิปทา พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร

โดย พระอาจารย์อุ่น (อุ่นหล้า) ฐิตธมฺโม วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1

ประวัตแิ ละปฏิปทา พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร วัดป่ าแก้ วชุมพล ต.บ้ านชุม อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร มีนามเดิมว่า สงิ ห์ทอง ไชย ั ราช ๒๔๖๗ ตรงกับวันเสาร์ เสนา เกิดเมือ ่ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม พุทธศก ขึน ้ ๑๒ คํา่ เดือน ๘ ปี ชวด ณ บ ้านศรีฐาน ตําบลกระจาย อําเภอลุมพุก จังหวัดอุบลราชธานี (ปั จจุบน ั อําเภอลุมพุกเปลีย ่ นเป็ นอําเภอคําเขือ ่ น แก ้ว ขึน ้ กับจังหวัดยโสธร และปั จจุบน ั บ ้านศรีฐานเป็ นตําบลศรีฐาน ขึน ้ กับอําเภอป่ าติว้ จังหวัดยโสธร) ท่านมีพน ี่ ้องร่วมมารดา-บิดาเดียวกัน ๕ คน เป็ นชาย ๓ เป็ นหญิง ๒ ื่ นายบุญจันทร์ ไชยเสนา มารดาชอ ื่ นางอบมา ไชย บิดาของท่านชอ ี ชวี ต เสนา ท่านเป็ นบุตรคนที่ ๓ พีช ่ ายของท่านคนหัวปี ได ้เสย ิ ไปตัง้ แต่ ี ชวี ต ยังเล็ก สว่ นพีช ่ ายคนรองก็ได ้เสย ิ ไปอีกในตอนทีม ่ ค ี รอบครัวและมี ื่ นางกรอง ลูก ๓ คนแล ้ว ยังเหลืออยูแ ่ ต่น ้องสาวของท่าน ๒ คน ชอ จันใด และนางแก ้ว ป้ องกัน ึ ษา-อุปสมบท ๏ ปฐมว ัย-การศก โยมแม่ของท่านเคยเล่าให ้ฟั งว่า ก่อนทีจ ่ ะปฏิสนธิ โยมแม่ของท่านฝั น ว่ามีคนเอาห่อของไปให ้ แล ้วบอกโยมแม่ของท่านว่านีเ้ ป็ นของฝาก ้ บหวี ต่อมาโยม ของเทวดา ให ้เก็บรักษาเอาไว ้ เมือ ่ แก ้ออกดูเป็ นซองกั ี ทํานา แม่ของท่านก็ตงั ้ ท ้อง เมือ ่ ยังเป็ นเด็ก ท่านได ้ชว่ ยพ่อแม่ผู ้มีอาชพ และชว่ ยในกิจการทุกอย่างเท่าทีจ ่ ะชว่ ยได ้ เมือ ่ ท่านอายุครบพอเข ้า ึ ษาในโรงเรียนประชาบาลจนจบชน ั ้ ป. ๔ โรงเรียนแล ้ว ก็ได ้เข ้าศก

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2

พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ

พระอาจารย์สงิ ห์ ขนฺ ตยาคโม

ั ้ ป. ๔ แล ้ว ท่านก็ได ้ชว่ ยพ่อแม่ทํานาต่อไป จนอายุ ครัน ้ เรียนจบชน ครบ ๒๐ ปี บริบรู ณ์จงึ ได ้อุปสมบทเป็ นพระภิกษุ เมือ ่ เดือนกรกฎาคม ี าวัดป่ าสาํ ราญนิเวศน์ พ.ศ. ๒๔๘๗ ก่อนเข ้าพรรษา ๗ วัน ณ พัทธสม ตําบลบ ้านบุง่ อําเภออํานาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี ท่าน ิ เทวิโร) เป็ นพระอุปัชฌาย์ ซงึ่ พระครูท ัศนวิสท ุ ธิ์ (พระมหาดุสต เป็ นพระอุปัชฌาย์เดียวกันกับ ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ วัดเจ ติยาคิรวี ห ิ าร (วัดภูทอก) ตําบลนาแสง อําเภอศรีวไิ ล จังหวัด หนองคาย แต่ทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ทองบวชหลัง ๑ พรรษา ครัน ้ บวชแล ้วได ้มาจําพรรษา ณ วัดป่ าศรีฐานใน ซงึ่ เป็ นวัดป่ าของ หมูบ ่ ้านศรีฐาน โดยมี ท่านพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์ เป็ นพระอาจารย์ผู ้ให ้ การอบรมสงั่ สอนด ้านสมาธิภาวนา ท่านพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์องค์นบ ี้ วชทีว่ ัดป่ าสาลวัน ตําบลในเมือง ี า เป็ นลูกศษ ิ ย์ของ ท่านพระอาจารย์ อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสม

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3

สงิ ห์ ขนฺตยาคโม ท่านเกิดทีบ ่ ้านหัวเมย ทุกวันนีเ้ ข ้าใจว่าเป็ นอําเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร เดิมท่านเป็ นครูประชาบาล ต่อมาท่านได ้ลาออก ั ของท่านพระอาจารย์บญ นิสย ุ สงิ ห์ เป็ นคนพูดน ้อยและไม่เคยดุใครเลย ท่านขยันทําความเพียรมาก ปกติพอฉันจังหันเสร็จท่านมักจะเข ้าทีเ่ ดิน จงกรม ท่านเดินได ้ตลอดวัน ไปเลิกเอาเวลาประมาณบ่าย ๔ โมง ซงึ่ เป็ นเวลาทํากิจวัตรปั ดกวาดลานวัด และตักนํ้ าใช ้ นํ้ าฉั น เป็ นต ้น สมัยทีท ่ า่ นยังไม่ได ้บวชพระ ยังเป็ นตาปะขาวอยู่ ได ้ฝึ กหัดด ้านสมาธิ ภาวนากับท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ขนฺ ตยาคโม ทีว่ ด ั ป่ าสาลวัน ท่านเคย อดอาหารติดต่อกันเป็ นเวลา ๑๔ วันเพือ ่ ทําความเพียรให ้จิตสงบ ่ ม ในชว่ งเวลาทีอ ่ ดอาหารนัน ้ ท่านได ้ทําข ้อวัตร คือ ท่านตักนํ้ าใสต ุ่ ใส่ โอ่ง ใสไ่ หให ้ครูบาอาจารย์ในวัดทุกวัน โดยท่านตัง้ ใจไว ้ว่า ตราบใดที่ ึ ว่าการหาบนํ้ ายังหนักอยูจ ยังรู ้สก ่ ะไม่ยอมหยุด จะทําอยูอ ่ ย่างนัน ้ เมือ ่ เต็มหมดโอ่ง ตามตุม ่ ตามไหแล ้ว ท่านก็รดนํ้ าต ้นไม ้ต่อ ทําจนว่าไม่ม ี ึ หนัก หาบนํ้ าข ้างละ ๑ ปี บ ท่านว่าเหมือนเดินไปตัวเปล่าแล ้ว ความรู ้สก ท่านจึงได ้หยุด ท่านเป็ นคนทีพ ่ ด ู น ้อยแต่ทําจริง (อย่างทีว่ า่ พูดน ้อยแต่ ต่อยมาก) ทัง้ นีห ้ มายความว่า การทีผ ่ ู ้ประสงค์จะบวชเป็ นพระกรรมฐาน สมัยก่อน นัน ้ ครูบาอาจารย์จะทดสอบด ้านสมาธิภาวนาให ้เป็ นทีพ ่ อใจ แล ้วจึง อนุญาตให ้บวชเป็ นพระได ้ บางราย ๓ ปี ก็ม ี ๏ อยูด ่ ว้ ยพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์ เมือ ่ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองได ้มาอยูใ่ นความดูแลของท่านพระ อาจารย์บญ ุ สงิ ห์ ได ้รับการอบรมสงั่ สอนจากท่านว่าการทําความเพียร ไม่ให ้ถือเอาเวลา ให ้ถือเอาความสงบเป็ นสําคัญ ให ้ทําความเพียรไปจนกระทัง่ จิตสงบลงรวมจึงหยุด หมายความว่า ไม่ ว่าจะเดินจงกรมหรือนั่งสมาธิภาวนา จะเป็ นเวลากีช ่ วั่ โมงก็ตาม ถ ้าจิต ยังไม่สงบแล ้วห ้ามเลิก คือ ท่านทําของท่านแบบนัน ้ ถ ้าในกรณีจําเป็ น

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4

่ จะต ้องไปบิณฑบาต ฉั นจังหัน เมือ เชน ่ เสร็จกิจแล ้วให ้เข ้าทีภ ่ าวนาต่อ จนกว่าจิตจะลงรวมได ้จึงจะหยุดพักผ่อน ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองเคยเล่าให ้ข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐิตธมฺโม) ฟั งว่า มีคราวหนึง่ ท่านพาเดินทางไปธุระ เดินไปตลอดวัน เวลาพักก็พก ั ในโบสถ์ด ้วยกัน ท่านเตือนว่า อย่าเพิง่ นอนเลย ให ้ทําจิต ให ้สงบก่อน ถ ้านอนเลยมันจะนอนมาก ถ ้าได ้พักจิตให ้สงบก่อนแล ้ว นอนหลับนิดเดียวก็อม ิ่ ท่านเตือนอย่างนัน ้ แล ้วต่างองค์ตา่ งก็ลงเดินจงกรม พอเหนือ ่ ยก็เข ้า มาพัก แต่ทา่ นพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์ทา่ นยังไม่เข ้ามา ท่านยังเดินจงกรม อยู่ นั่งภาวนาไปพอสมควรแล ้วก็ล ้มนอนลง เวลาตืน ่ ขึน ้ มามองเห็น ท่านพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์ ท่านนั่งสมาธิอยู่ เลยไม่ทราบว่าท่านนอน เมือ ่ ไร ท่านทําให ้เห็นเป็ นตัวอย่างอย่างนัน ้ เสมอๆ

พระอาจารย์บญ ุ เพ็ง เขมาภิรโต

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5

ท่านพระอาจารย์บญ ุ เพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล ตําบลโนนทัน อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู (ในปั จจุบน ั ) ได ้เคยเล่าให ้ฟั งครัง้ สมัยทีท ่ า่ นยังเป็ น สามเณรบุญเพ็ง จ ันใด อยูว่ า่ ท่านพระอาจารย์ ้ ้านศรีฐาน) ท่านพาเดิน บุญสงิ ห์ได ้ชวนไปภาวนาทีป ่ ่ าชา้ (ป่ าชาบ จงกรม ทีแรกก็คด ิ ในใจว่าจะเดินแข่งกะท่าน ว่าคนแก่จะเดินเก่งขนาดไหน แต่ ้ ไหว ก็เลยขึน พอเดินไปๆ เจ ้าหนุ่มน ้อยเหนือ ่ ย สูไม่ ้ กะแคร่นอน พอตืน ่ ขึน ้ มายังมองเห็นท่านยังเดินอยู่ จนจะถึงเวลาปั ดกวาด คือ ๔-๕ โมง เย็น ท่านจึงพากลับ บทเวลาท่านนั่ง ท่านก็นั่งได ้ทัง้ วันอีกแหละ เพราะทําไม่ถอย ทางเดินจงกรมของท่านพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์มอ ี ยู่ ๓ เสน้ แต่ละเสน้ เดินจนเป็ นร่องลึก ต ้องได ้ถมกันอยูบ ่ อ ่ ยๆ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง กล่าวว่า ท่านอยูไ่ ด ้เพราะมีอาจารย์ผู ้นํ าดี ท่านปฏิบต ั ด ิ ใี ห ้เห็นเป็ น ตัวอย่าง ทําให ้ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองมีความมานะ พยายามเดินจงกรมและ นั่งสมาธิภาวนา ตามแบบฉบับของพระอาจารย์ของท่าน เวลากลางคืน ้ เมือ ่ ไปจับเสนถวายท่ าน ถ ้าวันไหนจิตไม่สงบ ท่านจะพูดธรรมะในด ้าน อสุภกรรมฐานให ้ฟั ง ถ ้าวันไหนภาวนาดี จิตสงบ ท่านพระอาจารย์จะนิง่ ไม่พด ู อะไร ๏ เกิดสุบน ิ นิมต ิ การภาวนาของท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองในพรรษาต ้นๆ นัน ้ ง่าย จิต ของท่านสงบลงรวมได ้ง่าย แม ้กระทั่งทําวัตรไหว ้พระสวดมนต์อยูก ่ บ ั หมูค ่ ณะ กําหนดไปตาม จิตของท่านก็สามารถสงบลงรวมได ้เป็ น บางครัง้ ิ ขา เกรงว่าถ ้าทําความ แต่ความตัง้ ใจของท่านนัน ้ ตัง้ ใจว่าจะลาสก ึ ครัน ิ ใจที่ เพียรมากแล ้วจะเป็ นพระอรหันต์ จะไม่ได ้สก ้ เมือ ่ ท่านตัดสน ึ แน่นอนแล ้ว การภาวนากลับยาก ไม่ง่ายเหมือนแต่กอ จะไม่สก ่ น

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6

รวมพระมหาเถราจารย์ (พระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร นั่งอยูแ ่ ถว ้ ด) บันทึกภาพ ณ โรงพยาบาลสุขม หน ้าซายสุ ุ วิท กรุงเทพฯ เมือ ่ วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๐ ระหว่างทีท ่ า่ นจําพรรษาอยูท ่ วี่ ัดป่ าศรีฐานในนัน ้ ท่านได ้เกิดสุบน ิ นิมต ิ ้ ปรากฏว่ามีพาหนะ ๓ ชนิด คือ ชางเผื อก ม ้าขาว และวัวอุสภ ุ ราช ท่าน ึ ในความฝั นว่า ท่านได ้ขีพ มีความรู ้สก ่ าหนะทัง้ ๓ ตัวนัน ้ ท่านองค์เดียว ี งดนตรีบรรเลง แต่ขพ ี่ าหนะได ้ทัง้ ๓ ตัว ในขณะเดียวกัน และได ้ยินเสย ออกมาจากหมูบ ่ ้านดังออกมายังศาลาทีว่ ัด คล ้ายกับว่าชาวบ ้านจะมา ทอดผ ้าป่ าหรือทําการกุศลชนิดใดชนิดหนึง่ แต่พอมาถึงปรากฏว่าไม่ม ี คน มีแต่ดอกไม ้นานาชนิดลอยมาสูงระดับหน ้าอก แล ้วเวียนรอบศาลา ึ ตัวตืน ก็พอดีทา่ นรู ้สก ่ จากความฝั น นีเ่ ป็ นเหตุให ้ท่านมีความมัน ่ ใจว่า การบวชของท่านนัน ้ จะบรรลุผลอันพึงพอใจ ึ ษาคือ ในชว่ งทีอ ่ ยูว่ ัดป่ าศรีฐานในนัน ้ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองก็ได ้ศก เรียนนักธรรมควบคูก ่ น ั ไปกับการปฏิบต ั ภ ิ าวนา และท่านก็สอบได ้ ั ้ โท นักธรรมชน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


7

พระอาจารย์เพียร วิรโิ ย ่ งพรรษาแรก ๏ ในชว ื้ ในชว่ งระหว่างทีท ่ า่ นอยูว่ ด ั ป่ าศรีฐานในนัน ้ มีชาวบ ้านศรีฐานไปติดเชอ ฝี ดาษมาจากทีอ ่ น ื่ และมาป่ วยตายทีบ ่ ้านศรีฐาน ชาวบ ้านยังไม่รู ้จักก็ พากันไปงานศพตามประเพณีของทางอีสาน ื้ ฝี ดาษกันทุกคน ฟั งว่าเชอ ื้ นีไ้ ปจาก คนทีไ่ ปงานศพนัน ้ ติดเชอ เพชรบูรณ์ คนทีต ่ ายคนแรกเป็ นทหารสมัยเพชรบูรณ์ โรคนีจ ้ งึ ระบาด ไปทัว่ ทัง้ หมูบ ่ ้าน มีคนตายวันละ ๗-๘ คนทุกวัน จนชาวบ ้านสว่ นใหญ่ อพยพออกจากหมูบ ่ ้านไปอยูต ่ ามทุง่ ตามนา และภายในหมูบ ่ ้านเงียบ เหงาวังเวงมาก เมือ ่ มีคนตาย ชาวบ ้านก็มานิมนต์พระไปสวดมาติกา บังสุกล ุ ทําบุญให ้กับผู ้ตาย ระหว่างนีว้ ันหนึง่ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ท่านฝั นว่า ท่านพระอาจารย์เพียร วิรโิ ย สมัยท่านยังเป็ นเด็ก เอาพุ ลูกเหล็ก (ไม ้ซาง) มายิงท่าน ท่านห ้ามว่าอย่ายิงๆ ก็ไม่ฟัง ก็เลยยิง

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


8

ท่านจริงๆ ท่านว่าเข ้าไม่ลก ึ เท่าไรและท่านพระอาจารย์เพียรพูดว่า ยิง แค่นจ ี้ ะเปื่ อยไปทัง้ ตัวนะ แล ้วท่านพระอาจารย์ก็หก ั พุลก ู เหล็ก (ไม ้ ซาง) แล ้วตีทา่ นพระอาจารย์เพียรจนเลือดอาบทัง้ ตัว ้ า่ นเป็นญาติก ับท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ท่านพระอาจารย์เพียรนีท ทอง คือโยมแม่ของท่านพระอาจารย์เพียรเป็นพีส ่ าวของโยมพ่อ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ึ ตัวตืน พอรู ้สก ่ ขึน ้ เมือ ่ ได ้โอกาสท่านก็เล่าความฝั นนัน ้ ถวายท่านพระ อาจารย์บญ ุ สงิ ห์ และท่านพระอาจารย์บญ ุ สงิ ห์ก็ทํานายความฝั นได ้ อย่างแม่นยําว่า ท่านจะต ้องเป็ นฝี ดาษกับเขานะ แต่ไม่ตายดอก เพราะ ท่านได ้ชนะเขา พอท่านทราบดังนัน ้ ท่านจึงได ้หลบโรคร ้ายนีไ ้ ปพักอยู่ ทีว่ ัดป่ าหนองไคร ้ ตําบลหนองหิน อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร ึ เหมือนแผ่นดิน วันหนึง่ ขณะทีท ่ า่ นเดินจงกรมอยู่ ปรากฏว่ามีความรู ้สก หมุนติว้ จนท่านไม่สามารถยืนอยูไ่ ด ้ จึงล ้มตัวลง แล ้วค่อยพยุงตัวไป ยังทีพ ่ ัก แล ้วปรากฏว่าปวดหัวอย่างแรง ท่านจึงลุกขึน ้ นั่งภาวนา โดย ี สละชวี ต ตัง้ ใจว่าถ ้าความปวดนีไ้ ม่หายเมือ ่ ใดจะไม่ยอมเลิก ตัง้ ใจเสย ิ ้ กขเวทนา ถึงอย่างไรจะต ้องพิจารณาให ้รู ้จักทุกขเวทนานีใ้ ห ้ได ้ ต่อสูทุ ้ กขเวทนาจนจิตของท่านสงบ และปรากฏว่าทุกขเวทนา ท่านได ้ต่อสูทุ หายเงียบไปหมด พอทุกขเวทนาหายไปหมดแล ้ว ท่านจึงออกจาก สมาธิแล ้วล ้มตัวลงนอน และได ้กลิน ่ ตัวของตัวเองคล ้ายๆ กับกลิน ่ ื้ ฝี ดาษแล ้ว ครัน ฝี ดาษ จึงทราบว่าท่านได ้ติดเชอ ้ ต่อมาก็มอ ี าการไข ้ เมือ ่ โยมพ่อของท่านได ้ทราบข่าวการป่ วยของท่าน โยมพ่อของท่านจึง ไปรับท่านกลับมาอยูท ่ วี่ ัดป่ าศรีฐานใน ท่านพยายามเดินมาจนถึงวัด เพราะสมัยก่อนยังไม่มรี ถ ระยะทางก็ประมาณ ๓๐๐ เสน้ (๑๒ กิโลเมตร) ต่อมาตุม ่ ก็เริม ่ ออก ตุม ่ ออกเต็มทัง้ ตัวจนกระทั่งฝ่ ามือฝ่ าเท ้า ต่อมาพอตุม ่ สุกแล ้วก็เปื่ อย โรคอันนีเ้ หม็นคาวมาก ท่านพระอาจารย์ถงึ ต ้องนอนใบตองกล ้วย เพราะออกแสบออกร ้อนสารพัด ขณะนัน ้ ท่านพระอาจารย์บญ ุ เพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล ยังเป็ น สามเณรอยู่ เป็ นผู ้อุปัฏฐากท่านพระอาจารย์ แต่ทา่ นพระอาจารย์บญ ุ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


9

สงิ ห์สงั่ พระเณรทีอ ่ ป ุ ั ฏฐากรักษาว่าอย่าเข ้าไปทิศใต ้ลม ให ้เข ้าไปทาง ี ก่อน ท่านกลัวว่าเชอ ื้ โรคจะติดพระเณร ทิศเหนือลม ให ้สงั เกตดูลมเสย ในทีส ่ ด ุ ท่านก็หายและรอดตายมาได ้โดยไม่มรี อยแผลเป็ นเหมือนกับ คนอืน ่ ทีเ่ คยเป็ นโรคนีแ ้ ต่สว่ นมากมักจะตายกัน ถ ้าลงได ้เป็ นโรคอันนี้ แล ้วจะเหลือเพียง ๒๐ % เท่านัน ้

พระเทพสงั วรญาณ (พระอาจารย์พวง สุขน ิ ทริโย) ๏ ไปบอกลากาน ันเหลา ในชว่ งพรรษาที่ ๑-๔ ปี พ.ศ. ๒๔๘๗-๒๔๙๐ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ทองจําพรรษาทีว่ ัดป่ าศรีฐานใน ๓ พรรษา และวัดป่ าบ ้านหนองแสง ตําบลสงิ ห์ อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร อีก ๑ พรรษา ครัน ้ พรรษาที่ ๔ ล่วงไปแล ้ว ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ เดือน ๓ (เดือนกุมภาพันธ์) ท่านก็ได ้

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 0

ออกธุดงค์ โดยมุง่ หน ้าจะไปไหว ้ พระธาตุพนม มีพระเณรติดตามท่านไปด ้วย ๓ องค์ ๔ กับองค์ทา่ น เป็ นสามเณร ๒ องค์ เป็ นพระ ๒ องค์ และ ท่าน ั ั ดิส พระอาจารย์พวง สุขน ิ ทริโย (สมณศก ์ ด ุ ท ้ายที่ พระเทพสงวร ญาณ) วัดศรีธรรมาราม ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร และ เจ ้าคณะจังหวัดยโสธร (ปั จจุบน ั ท่านมรณภาพแล ้ว) สมัยนัน ้ ท่านยัง เป็ น สามเณรพวง ลุลว่ ง อยู่ ท่านก็ได ้ติดตามท่านพระอาจารย์ไป ด ้วย

หลวงพ่อวัน อุตฺตโม-พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ-พระอาจารย์สงิ ห์ ทอง ธมฺมวโร ก่อนจะออกเดินทางจากบ ้านศรีฐาน ท่านได ้ไปบอกลา กาน ัน เหลา ซงึ่ กํานันเหลาคนนีเ้ คยพูดกับท่านพระอาจารย์เอาไว ้สมัยท่านจะ ่ ้านกูนะ ชอบที่ บวชว่า “ถ ้ามึงบวชอยูไ่ ด ้พอพรรษาแล ้ว ให ้มึงมาขีใ้ สบ ็ ก ้น” ท่านพระอาจารย์จําได ้ไม่ ไหนให ้ขีใ้ สเ่ ลย ให ้เอาหมอนกูนัน ้ เชด ลืม เวลาท่านจะออกจากบ ้านไปเทีย ่ ววิเวก (ธุดงค์) ท่านจึงได ้ไปลา ื่ ต ้อนรับ พูดคุยหัวเราะกันเพราะออกจะ พอขึน ้ ไปบ ้าน เขาก็ปส ู าดปูเสอ สนิทกันอยูม ่ าก พอแล ้วท่านพระอาจารย์กม ็ องโน ้นมองนีแ ้ ล ้วพูดว่า จะ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 1

่ รงไหนล่ะ ให ้ขีใ้ สต กํานันเหลาร ้องโอ ้ย ผมนึกว่าครูบาลืมแล ้ว หัวเราะกัน แล ้วก็ขอขมา คารวะท่าน อย่าให ้โยมเป็ นบาปเป็ นกรรมเน ้อ โยมไม่นก ึ ว่าครูบาจะอยู่ ได ้ ได ้เวลาพอสมควรแล ้วท่านพระอาจารย์ก็ลากลับวัด เหตุใดกํานันจึง พูดอย่างนีก ้ บ ั ท่าน เพราะท่านพระอาจารย์สมัยทีย ่ งั ไม่บวชเป็ นคนขีด ้ อ ื้ (ซน) ชอบเล่นสนุก แต่ไม่ใชว่ า่ เป็ นนักเลงดอกนะ การลักการขโมย ั ของท่านชอบเล่นสนุก การฆ่าการตีคนอืน ่ นัน ้ ไม่ใช ่ เพียงแต่นส ิ ย โยมแม่ของท่านเคยเล่าให ้ฟั ง แม ้กระทัง่ วันจะบวช พอโกนผมเสร็จ แล ้ว ยังไม่ถงึ เวลาบวช ท่านก็ยังชวนหมูท ่ เี่ ป็ นนาคด ้วยกันซนกัน ว่า หัวโล ้นชนกันเถอะแล ้วก็ไล่ชนกันกับหมูต ่ ามใต ้ถุนศาลา แล ้วทํา เหมือนควายจะชนกัน พูด แงะ-แงะ แล ้วเบิดไล่ชนกัน โยมแม่ของท่าน พูด ชา่ งไม่อายชาวบ ้านอืน ่ เขา เพราะทีไ่ ปบวชนัน ้ ก็มห ี ลายหมูบ ่ ้าน ท่านขีด ้ อ ื้ (ท่านซน) ไปในลักษณะนีแ ้ หละ

พระธาตุพนม (ในปั จจุบน ั ) ประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร บ ้านธาตุพนม ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 2

๏ ท่านออกเดินทางไปไหว้พระธาตุพนม สมัยก่อนชาวจังหวัดอุบลฯ และจังหวัดใกล ้เคียง หรืออาจจะกล่าวได ้ ว่าชาวอีสานสว่ นใหญ่แทบทุกจังหวัด นิยมเดินทางไปนมัสการ พระ ธาตุพนม กันเป็ นประจําทุกปี สว่ นใหญ่จะไปกันตอนเดือน ๓ เพ็ญ เพราะมีงานในชว่ งนี้ ทางวัดจัดงานไหว ้พระธาตุเป็ นประจําทุกปี ่ น สมัยก่อนทีไ่ ปมาหาสูก ั สะดวก ทางฝั่ งลาวก็ข ้ามนํ้ ามาร่วมกันเป็ น จํานวนมากเหมือนกัน การเดินทางจะเดินไปด ้วยเท ้าเพราะสมัยก่อนยัง ไม่มรี ถมาก และถนนหนทางรถก็ไม่คอ ่ ยดี ตอนหลังๆ มาหน่อย ถึงจะมีรถไปรับ (รถรับเหมา) บางคนบางหมูก ่ ็จะ ไม่ยอมขึน ้ รถไป เขาพูดกันชวนกันว่า เราเดินไปจึงจะได ้บุญมาก ได ้ บุญทุกก ้าวเดิน เห็นพวกโยมแม่เคยไปกัน ถ ้าขึน ้ รถไปกลัวจะไม่ได ้บุญ ื่ มระหว่างหมูบ มาก การเดินทางก็เดินตามทางเกวียน เชอ ่ ้าน คํา่ ไหน ั ขอตามหมูบ นอนนั่น อาหารและนํ้ าก็อาศย ่ ้านทีผ ่ า่ นไป แต่ชาวอีสาน เดิมก็มด ี อ ี ยูอ ่ ย่าง คือ เวลามีแขกมาพัก สว่ นมากจะพักในวัดกัน พอตก กลางคืนถึงเวลากินข ้าว ชาวบ ้านจะพากันเอาข ้าวเอาอาหารมาสง่ สุด แล ้วแต่เขาจะมีอะไร มีนํ้าพริก หรือปลาร ้า ผัก เหล่านีเ้ ป็ นต ้น จะไม่ ื้ กันเหมือนสมัยทุกวันนี้ ค่อยได ้ซอ พวกหนุ่มสาวก็ลงมาคุยกันก็ม ี เพราะไปแต่ละหมู่ แต่ละคณะก็มท ี ัง้ หนุ่มทัง้ แก่ ถ ้าไปอย่างนีส ้ มัยก่อนจะต ้องมีคนแก่ไปด ้วย ถ ้าไม่มค ี นแก่ ั คนแก่ ในระหว่าง ไปด ้วย หญิงสาวจะไม่ยอมไปเด็ดขาด ต ้องอาศย ทางทีเ่ ดินไป บางแห่งก็รม ่ รืน ่ ด ้วยแมกไม ้ ทุกคนดูจะมีความสุขทีจ ่ ะได ้ ไปไหว ้พระธาตุพนม และการเดินทางก็ปลอดภัย ปราศจากอุบต ั เิ หตุ และโจรผู ้ร ้าย บางพวกก็เป่ าแคนร ้องรํากันไป เป็ นทีส ่ นุกสนานตลอด ระยะทาง สาํ หรับท่านพระอาจารย์นัน ้ ก็ได ้เดินทางไปเหมือนกัน พอไปถึงหมูบ ่ ้าน ื่ บ ้านตากแดด อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหาร ท่านทราบ แห่งหนึง่ ชอ ื่ ว่า ภูทอก มี ว่ามีถํ้าทีภ ่ เู ขาลูกหนึง่ ซงึ่ เป็ นภูเขาทีไ่ ม่ใหญ่เท่าไรนัก ชอ ถํ้า แล ้วเมือ ่ ท่านพระอาจารย์และหมูไ่ ปถึง ก็คด ิ อยากจะไปพักในถํ้า เพราะท่านยังไม่เคยเทีย ่ วในถํ้ามาก่อนเลย ถามชาวบ ้าน ชาวบ ้านเขาก็

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 3

ห ้ามว่าครูบาจะอยูไ ่ ด ้หรือ ถํ้านีเ้ ข็ดมากนะ (แรงมากนะ) เมือ ่ ๒-๓ วันก็มพ ี ระมาพัก แต่อยูไ ่ ม่ได ้ หนีไปกลางคืนเลย ครูบาจะอยู่ ได ้หรือ ชาวบ ้านเขาห ้าม แต่ทา่ นพระอาจารย์กอ ็ ยากจะลองพักดู เลย ขอให ้ชาวบ ้านไปสง่ เมือ ่ เขาตามไปสง่ ถึงถํ้าแล ้วเขาก็กลับ ท่านพระ อาจารย์และพระเณรทีไ่ ปด ้วยกันก็ทําข ้อวัตร ปั ดกวาดเสร็จแล ้วก็สรง นํ้ าสรงท่าเสร็จ เป็ นเวลาจวนจะมืด ต่างองค์ตา่ งเดินจงกรม สว่ นท่าน พระอาจารย์ทา่ นเดินอยูท ่ ป ี่ ากถํ้า ี งดังลงมาจากหลังเขา คล ้ายๆ กับเสย ี ง พอมืดเข ้ามาหน่อยก็ได ้ยินเสย ลมพัดหนักๆ พอดีวันนัน ้ เป็ นวัน ๑๔ คํา่ ไม่ทราบว่าข ้างขึน ้ หรือข ้างแรม ี งนัน ี งนัน จําไม่ได ้ เสย ้ ก็ดงั ใกล ้เข ้ามา ใกล ้เข ้ามาเรือ ่ ย แต่เมือ ่ เสย ้ ใกล ้ ี งลมเสย ี แล ้ว เป็ นเสย ี งงูเหมือนงูเลือ เข ้ามา ปรากฏว่าไม่ใชเ่ สย ้ ยมา ี งท ้องของงูกวาดกับหิน ปรากฏว่าจะตัวใหญ่มากทีเดียว ใน เสย ึ ของท่านว่าเหมือนกันกับลากเสอ ื่ หวาย ธรรมดาเสอ ื่ หวายจะ ความรู ้สก ื่ ธรรมดาประมาณเมตรห ้าสบ ิ หรือสองเมตร ท่านว่าถ ้าเป็ น กว ้างกว่าเสอ งูก็จะตัวใหญ่ขนาดนัน ้ แหละ ในภูเขาลูกนีม ้ ห ี ลวงพ่อองค์หนึง่ ท่านประจํามานานแล ้ว แต่ทา่ นเป็ น ี งด ้วย ท่านก็เลย พระมหานิกาย (มหานิกายปฏิบต ั )ิ ท่านได ้ยินเสย ตะโกนบอกว่า ไม่เป็ นไรดอก มาเยีย ่ มเฉยๆ แต่ด ้วยเหตุทท ี่ า่ นพระ อาจารย์ไม่เคยประสบมาก่อน และยังไม่เคยออกวิเวกตามถํ้าตามเขา ี งยังดังอยูไ มาก่อนเลย ท่านก็อดกลัวไม่ได ้ ท่านว่าเมือ ่ เสย ่ กลหน่อย ี งนัน เดินจงกรมก็สด ุ ทางข ้างนัน ้ ข ้างนี้ เมือ ่ เสย ้ ใกล ้เข ้ามาๆ เดินจงกรม ไปได ้ครึง่ ทางเพราะกลัว พอใกล ้เข ้ามาจริงๆ ก็ก ้าวขาไม่ออกเลย ท่าน ว่า นึกจะสวดกรณี ก็ได ้แต่ กรณี กรณี ขยายความไปไม่ได ้ ท่านว่า คนเราเมือ ่ กลัวถึงทีแ ่ ล ้วจิตจะไม่ปรุง จิตตัง้ อยูเ่ หมือนกับเทียนอยูใ่ น โคมไฟ มันปรุงไม่ออก ี งก็ได ้เงียบไป ท่านพระอาจารย์และพระเณรก็เข ้าที่ ท่านว่า จากนัน ้ เสย ของใครของมัน สาํ หรับท่านพระอาจารย์มแ ี คร่นอน แต่องค์อน ื่ นอนกับ พืน ้

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 4

พอขึน ้ แคร่แล ้วก็ทําวัตร ไหว ้พระ สวดมนต์ เสร็จแล ้ว ก็นั่งภาวนา เมือ ่ ได ้เวลาพอสมควรแล ้วก็เลยนึกว่า วันพรุง่ นีจ ้ ะต ้องเดินทางต่อ จะพัก ั หน่อย ถ ้าไม่พักนอนเลยก็จะเหนือ สก ่ ยในการเดินทาง ี งขู่ แล ้วก็ล ้มตัวลงนอน ภาวนาไปด ้วย พอเคลิม ้ จะหลับ ก็ได ้ยินเสย ึ ตัวว่าเสย ี งทีข ี งงู ท่าน ขึน ้ มาจากใต ้แคร่ ท่านก็รู ้สก ่ ข ู่ น ึ้ มานัน ้ เป็ นเสย พระอาจารย์กเ็ ลยปลุกพระเณรว่า ลุกๆ งูจะกินหัวนะ ท่านเจ ้าคุณพวง สุขน ิ ทริโย (สมัยนัน ้ ท่านยังเป็ น สามเณรพวง ลุลว่ ง) ท่านว่ายังไม่ หลับ พอหมูล ่ ก ุ ขึน ้ นั่งหมดแล ้ว ก็ขข ู่ น ึ้ มาอีก ท่านพระอาจารย์ก็เลยพูด ว่าเดีย ๋ วนะ ผมจะขีดไม ้ขีดเพราะแต่กอ ่ นท่านไม่มไี ฟฉาย มีแต่ไม ้ขีดที่ ่ ํ้ ามันก๊าด ท่านก็ขด ใสน ี ไม ้ขีด ยืน ่ แขนออกมาจากมุ ้ง ท่านยังไม่ได ้ลุก นะ ี งก็ขด ่ งดูก็ไม่มอ ี งก็ แล ้วเสย ู่ งั ขึน ้ มาอีกเป็ น ๓ ครัง้ สอ ี ะไร จากนัน ้ เสย ดังลงไปข ้างล่าง เหมือนกับป่ าไม ้ป่ าไผ่แถวนัน ้ จะราบไปหมด ใน ึ ของท่าน ท่านนอนก็ไม่เป็ นหลับเป็ นตืน ความรู ้สก ่ เพราะกลัว เวลารุง่ ้ น เชาขึ ้ มา ป่ าไม ้ก็ปกติธรรมดา ท่านพระอาจารย์กเ็ ลยพูดกับหมูว่ า่ ถ ้า เราจะเดินทางวันนีเ้ ลยก็กลัวว่าเขาจะตําหนิวา่ เรากลัว นอนได ้คืนเดียว ั คืนเถอะ ก็เลยได ้ค ้างทีถ ก็เผ่น ท่านว่าเราพักอีกสก ่ ํ้านัน ้ ๒ คืน แต่คน ื หลังนีเ้ งียบ ไม่มอ ี ะไร หลวงพ่อองค์ทอ ี่ ยูน ่ ัน ้ เล่าให ้ท่านฟั งว่า ใน เดือนหนึง่ จะมีอยู่ ๔ ครัง้ คือ ขึน ้ ๗-๘ คํา่ , ๑๔-๑๕ คํา่ และแรม ๗-๘ คํา่ , ๑๔-๑๕ คํา่ วันนอกนัน ้ ก็ธรรมดา ไม่มอ ี ะไร ในบริเวณถํ้าแห่งนี้ คน ี ผิดธรรมไม่ได ้ จะมีอน จะไปทําผิดศล ั เป็ นไปให ้เห็น อย่างว่าไปฆ่านก หรือกบเขียด หรืออะไร ในบริเวณนัน ้ ก ้อนหินจะกระโดดปั๊ บๆ ร ้องเป็ น ี งนก เสย ี งกบ เสย ี งเขียด เวลาไปดูแล ้วก็เป็ นก ้อนหิน เสย ในบริเวณนัน ้ แต่กอ ่ นหลวงพ่อองค์นัน ้ ว่า อดนํ้ า กันดารนํ้ าใชนํ้ ้ าฉัน ท่านเลยจุดธูปเทียนอธิษฐานขอนํ้ า ก็เลยปรากฏว่ามีนํ้าไหลออกมา จากแอ่งหิน วันหนึง่ ท่านพระอาจารย์วา่ หลวงพ่อเล่าให ้ฟั งว่า มีแม่ออก คนหนึง่ (ผู ้หญิง) ไปเก็บมะม่วงไข่ตามแถวนัน ้ หิวนํ้ า ก็เลยมากินนํ้ า เลยคิดอยากจะอาบนํ้ าเพราะร ้อน ก็เลยอาบนํ้ า แต่เข ้าใจว่าคงเปลือย กาย อาบ เสร็จแล ้วก็กลับบ ้าน จากนัน ้ นํ้ านัน ้ ปรากฏว่านํ้ ามีกลิน ่ เหม็น

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 5

คลุ ้งเหมือนกับซากวัวซากควายตาย ้ ม แล ้วนํ้ านัน ้ ก็ได ้แห ้งไป จากนัน ้ หลวงพ่อก็ไม่มน ี ํ้ าจะใชจะดื ่ จึง อธิษฐานขอใหม่ พร ้อมกับว่าจะบอกไม่ให ้เขาทําอย่างนัน ้ อีก นํ้ านัน ้ จึง ได ้ไหลออกมาอีกตามเคย

พระธาตุพนม (ในปั จจุบน ั ) ประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุพนม ั ดิส ิ ธิอ วรมหาวิหาร พระธาตุศก ์ ท ์ น ั เป็ นทีเ่ คารพสูงสุดของชาวอีสานและ ชาวไทยทัง้ ประเทศ ๏ หนูเดินจงกรม หลวงพ่อพูดต่อไปว่า วันหนึง่ ท่านพาชาวบ ้านไปนวดดิน ท่านจะทํา ธาตุ (เจดีย)์ นวดดินปั น ้ อิฐ พอกลับมาเหนือ ่ ย เลยไม่ได ้เดินจงกรม

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 6

พอวันหลังก็พาชาวบ ้านไปทําอีกเพราะยังไม่เสร็จ แต่บงั เอิญท่านลืม ของใช ้ ท่านจึงกลับมาเอาของ แต่กอ ่ นท่านคงจะพักอยูใ่ นถํ้า พอมาถึง ถํ้าแล ้ว มองเห็นผิดสงั เกต คือมองเห็นหนูเดินจงกรมทีถ ่ ํ้านัน ้ ข ้างบน มี หินยืน ่ ออกมาประมาณ ๑ คืบ หรือ ๑ ฟุต ยาวไปตามถํ้า หนูตวั นัน ้ เดินไปพอถึงสุดทางด ้านนัน ้ ก็กลับคืน แล ้วยืน ๒ ขา เอาขา หน ้ากอดอก ยืนอยูค ่ ล ้ายกับกําหนดจิต พอสมควรแล ้วก็เอาขาหน ้าลง แล ้วเดินไป พอถึงหัวท ้ายข ้างนัน ้ ก็กลับหลัง แล ้วยืน ๒ ขา เอาขาหน ้า กอดอก ยืนอยูค ่ ล ้ายกําหนดจิตอีก แล ้วเดินกลับไปกลับมาอยู่ นัน ้ หลวงพ่อท่านเห็นแล ้วก็ระลึกได ้ว่า นีห ่ นูมน ั เดินจงกรม คงจะเป็ น เทวดาหรือเจ ้าทีแ ่ สดงให ้เห็น เพราะเมือ ่ วันก่อนนัน ้ ท่านขาดการเดิน จงกรม ต่อมาหลังจากนัน ้ ท่านจึงไม่เคยขาดการเดินจงกรม นั่งภาวนา ถึงจะเหน็ ดเหนือ ่ ยก็ต ้องบังคับตัวเองทํา ไม่เคยขาด ๏ ถึงพระธาตุพนม ท่านพระอาจารย์เมือ ่ เดินทางถึง พระธาตุพนม แล ้ว ก็ได ้เข ้าไปกราบ นมัสการพระธาตุพนม เสร็จแล ้วก็ได ้ออกไปพักวิเวกแถวบ ้านนํ้ ากํา่ และ หมูบ ่ ้านริมโขงแถวนัน ้ หน ้าเดือนกุมภาพันธ์ (เดือน ๓ นี)้ มะขามหวาน กําลังสุก เขตเมืองมุก เมืองธาตุพนมนัน ้ มีมะขามหวานมาก เขาเอา มะขามหวานมาจังหัน เห็นว่าท่านชอบฉั น เขาก็เอามาไม่ขาด ต่างคน ิ ว่าของใครจะหวาน ต่างเอามาและจะให ้ท่านพระอาจารย์เป็ นคนตัดสน กว่ากัน เขาเอามาแข่งกัน ท่านพระอาจารย์ก็ไม่รู ้จะว่าอย่างไร ถ ้าจะบอกว่า ี ใจและไม่เอาไป ของคนนัน ้ ดี ของคนนีไ้ ม่ด ี ก็คงจะกลัวว่าเขาจะเสย จังหันอีก ท่านก็เลยตอบเขาไปว่า มันก็หวานดีทก ุ ต ้นนะ หวานดีทก ุ ต ้น แหละ ๏ คุยก ันเรือ ่ งผีปอบ เมือ ่ ท่านพระอาจารย์ฉันเสร็จแล ้ว ชาวบ ้านก็เริม ่ กินข ้าวกัน และพูดคุย กันไป คุยกันไปถึงเรือ ่ งผีปอบในหมูบ ่ ้าน พอท่านพระอาจารย์ได ้ยิน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 7

เรือ ่ งเขาคุยกันเรือ ่ งผีปอบ ท่านก็พด ู กับเขาว่าอาตมาก็เป็ นปอบ เหมือนกันนะโยม ชาวบ ้านเขาก็งงและตกใจว่าพระอะไรจะเป็ นปอบ เขาเลยถามท่านว่าเป็ นปอบได ้อย่างไร ท่านพระอาจารย์ตอบว่า ปอบ มะขามหวาน ชาวบ ้านก็พากันหัวเราะ ท่านว่ายิง่ หวานเท่าไรยิง่ กินดี ปอบคนอืน ่ เขากินคน แต่ปอบของท่านพระอาจารย์กน ิ มะขามหวาน ๏ เรือ ่ งของผีปอบ (จะอธิบายเรือ ่ งของผีปอบ) เรือ ่ งของผีปอบนี้ ทางอีสานโดยเฉพาะบ ้านนอกเขาจะรู ้กัน แต่ภาคอืน ่ สว่ นใหญ่จะไม่รู ้จัก และบางคนอาจจะไม่เคยได ้ยิน คนทีเ่ ป็ นปอบ ื่ ของคน (เจ ้าของปอบ) นีเ้ ป็ นลักษณะผีเทียม เวลาไปกินคนจะบอกชอ ทีเ่ ป็ นปอบนัน ้ ผีปอบนีเ้ กิดจากคนทีเ่ รียกวิชาบางอย่างมา แล ้วรักษา ั ว่านกระจายโพงแล ้ว ตามคําสงั่ ของอาจารย์ไม่ได ้ หรือเกิดจากการสก รักษาไม่ได ้ก็ม ี หรือพวกสบูเ่ ลือด เหล่านีเ้ ป็ นต ้น มักจะเป็ นปอบ ่ เนือ คนทีจ ่ ะเป็ นผีปอบนี้ เริม ่ แรกมักจะฝั นว่าได ้กินของดิบ เชน ้ ดิบ ลาบ ดิบเหล่านี้ ทีแรกก็จะกินเป็ ด กินไก่ จากนัน ้ ก็จะกินคน สว่ นมากมักจะ กินคนป่ วย คนธรรมดาทีไ่ ม่ป่วยก็มส ี ว่ นน ้อย เวลาปอบเข ้ากิน ทีแรกคน ึ ตัวทัง้ หัวเราะทัง้ ร ้องไห ้ ทีถ ่ ก ู ปอบเข ้าจะมึนชาทัง้ ตัว ต่อไปก็จะไม่รู ้สก และหลบหน ้าเป็ นไปในลักษณะนี้ ผิดสงั เกต ไม่เหมือนคนคนเก่า คล ้ายกับผีทรง เวลาผีปอบเข ้าแล ้ว เขาจะเอาหมอมาขับไล่ ่ ้าย (ด ้าย ๓ ส ี ถ ้าอยากรู ้ว่าเจ ้าของผีปอบเป็ นใคร เขาก็เสกคาถาใสด หรือ ๗ ส)ี แล ้วผูกตามข ้อมือ ข ้อเท ้า และคอ แต่เวลาผูกไม่ให ้คนที่ ่ วั ว่านไฟ (หัวไพร) จี้ หรือบางที ปอบเข ้าเห็น รีบผูก แล ้วเสกคาถาใสห ื่ หรือไม่ยอมออกจากคนไข ้ เขาก็จะตีด ้วยลําข่า ลํา ถ ้าไม่ยอมบอกชอ ว่านไฟ (ลําไพร) ชนิดตีให ้ยอม หรือบางหมอก็จะตีด ้วยก ้านกล ้วย ตี ื่ ว่าเป็ นใคร มาจากไหน เคยกินใครมาบ ้าง ในทํานองนี้ จนยอมบอกชอ เวลาผีบอปบอกว่า คนนัน ้ กูกก ็ น ิ คนนีก ้ ก ู ็กน ิ ตับหวานอร่อยดีทํานองนี้ แหละ เมือ ่ เวลาจะให ้ออก เขาก็จะแก ้ด ้ายทีผ ่ ก ู ออก ขับให ้ออก เมือ ่ ผี ปอบออกแล ้วจะไม่รู ้จักว่าตัวเป็ นอะไร คล ้ายๆ กับผีทรง บางทียงั ถาม ว่าคนมาทําไมมากอย่างนี้

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 8

๏ ผีปอบบ้านศรีฐาน ่ ั งเรือ ท่านพระอาจารย์เคยเล่าสูฟ ่ งปอบเข ้าบ ้านศรีฐาน ซงึ่ เป็ นบ ้านเดิม ของท่าน ท่านเล่าว่า มีคนคนหนึง่ เขาไปนา ไปทํางานทีน ่ าของเขา เกิดปวดท ้องหนักเลยกลับบ ้าน คงจะปวดหนักมาก พ่อแม่เห็นผิด สงั เกต นึกว่าผีปอบเข ้าลูก กินลูก ก็เลยไปตามหมอมาขับไล่ พอหมอ ่ ้าย แล ้วก็ผก มาถึงก็ไม่ได ้สงั เกตสงั กาอะไร เสกคาถาใสด ู ข ้อมือ ข ้อ เท ้า และคอ เสร็จแล ้วก็หวดด ้วยลําข่า หือมึงเป็ นใคร มึงมาจากไหน ื่ อะไรหือ มึงจะหนีหรือไม่หนี หือๆ คนทีป มึงชอ ่ วดท ้องก็ร ้องไห ้ ว่าจะ ให ้ผมหนีไปไหน บ ้านผมอยูน ่ ี่ แล ้วยังขูอ ่ ก ี ว่า มึงมาจากไหน คนเจ็บก็บอกว่า มาจากนาหนองพอก ื่ แล ้วหมอและคนดูกต หือมึงเป็ นใคร ก็บอกชอ ็ กใจ พากันหัวเราะกันพัก ใหญ่ ทัง้ สงสารคนป่ วย ปวดท ้องก็จะตายอยูแ ่ ล ้ว ยังโดนตีอก ี นีป ่ อบ บ ้านศรีฐาน แต่สว่ นมากหมอเขาจะรู ้ สว่ นหมอคนนีอ ้ ะไรก็ไม่ทราบ คง จะเรียนมาใหม่แหละดูทา่ ท่านเคยเล่าให ้ฟั งสนุกๆ ๏ พบพระอาจารย์มนคร ่ั งแรก ั้ ครัน ้ เมือ ่ ท่านพระอาจารย์ได ้พักกับชาวบ ้านแถวริมแม่นํ้าโขงพอสมควร แล ้ว ท่านก็ได ้เดินทางต่อไปทางจังหวัดสกลนคร โดยมุง่ หน ้าจะไป กราบนมัสการและฟั งคําอบรมสงั่ สอนจาก ท่านพระอาจารย์มน ่ ั ภู ริทตฺโต ณ วัดป่ าบ ้านหนองผือ (วัดป่ าภูรท ิ ต ั ตถิราวาส) ตําบลนาใน อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เนือ ่ งจากวัดป่ าบ ้านหนองผือนัน ้ ึ ษาธรรมกับท่านพระ เป็ นวัดเล็ก แต่พระเณรมีมากทีต ่ ้องการอบรมศก อาจารย์มน ั่ ท่านพระอาจารย์จงึ ไม่อาจจําพรรษาทีน ่ ัน ้ ได ้ จําเป็ นต ้อง ไปจําพรรษาอยูท ่ วี่ ัดใกล ้ๆ เพราะกุฏม ิ จ ี ํากัด ในระยะนัน ้ เข ้าใจว่า ท่านพระอาจารย์มหาบ ัว ญาณสมฺปนฺโน คงอยู่ ทีว่ ัดป่ าบ ้านหนองผือนัน ้ เมือ ่ พระทีอ ่ ยูเ่ ก่าออกวิเวกและมีกฏ ุ วิ า่ ง ท่าน จึงมีโอกาสเข ้ามาปฏิบต ั ธิ รรมกับท่านพระอาจารย์มน ั่ พอสมควรแก่ เวลา แล ้วจึงได ้กราบลาท่านพระอาจารย์มน ั่ ออกไปวิเวก

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


1 9

พระอาจารย์มน ั่ ภูรท ิ ตฺโต

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 0

พระอาจารย์มหาบัว ญาณสมฺปนฺ โน

พระอาจารย์ออ ่ น ญาณสริ ิ

พระอาจารย์หลุย จนฺ ทสาโร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


๏ พรรษาที่ ๕-๖ ้ บ ้านบะทอง ในพรรษาที่ ๕ ท่านได ้ไปจําพรรษาอยูท ่ บ ี่ ้านนาหัวชาง อําเภอพรรณานิคม โดยมี ท่านพระอาจารย์ออ ่ น ญาณสริ ิ เป็ นผู ้นํ า ้ น ปั จจุบน ั วัดป่ าบ ้านนาหัวชางนั ้ คือ ว ัดป่าอุดมสมพร ในพรรษาที่ ๖ นัน ้ ท่านพระอาจารย์ได ้จําพรรษาอยูก ่ บ ั ท่านพระ อาจารย์หลุย จนฺทสาโร ทีว่ ัดป่ าบ ้านโคกมะนาว อําเภอพรรณานิคม ในชว่ งนีท ้ า่ นเล่าว่า การภาวนาเริม ่ จะยาก คือว่าท่านผ่านทุกขเวทนา ไม่ได ้ พอนั่งภาวนาเป็ นเวลานานพอสมควร มักจะเกิดทุกขเวทนาใหญ่ ้ คือทุกเวทนากล ้ามาก ท่านได ้ต่อสูมาหลายครั ง้ หลายหนแต่ก็ยงั ไม่ สามารถเอาชนะได ้ ท่านจึงได ้กราบเรียนถึงประสบการณ์นถ ี้ วายท่าน พระอาจารย์มหาบัวทราบ พอท่านพระอาจารย์มหาบัวทราบแล ้ว ก็แนะนํ าวิธก ี ารต่อสูกั้ บ ้ ปัญญาพิจารณาแยกธาตุขน ทุกขเวทนาให ้ฟั ง โดยให ้ใชสติ ั ธ์ ท่านได ้ ั จะว่า จะสูกั้ บ นํ าอุบายทีไ่ ด ้รับฟั งมานัน ้ มาปฏิบต ั ิ ด ้วยการตัง้ สจ ทุกขเวทนานีแ ้ บบสละชวี ต ิ เพือ ่ ให ้รู ้เห็นความจริงของทุกข์ ถึงแม ้จะ ปวดหนักปวดเบาขนาดไหน ก็จะไม่ยอมลุกหนีจะปล่อยให ้มันออกเลย ้ ับเวทนาใหญ่ ๏ ต่อสูก เมือ ่ ท่านพระอาจารย์ได ้อุบายจากท่านพระอาจารย์มหาบัวแล ้ว ได ้เวลา ่ งั ฆาฏิ แล ้วนั่ง ท่านก็เตรียมนั่งชนิดว่าแต่งตัวเต็มยศ คือ ห่มจีวร ใสส โดยตัง้ ใจเอาไว ้ว่า ถ ้าผ่านทุกขเวทนานีไ ้ ม่ได ้แล ้ว จะไม่ยอมลุกจากที่ เด็ดขาด ้ ยูน เวลาต่อสูอ ่ น ั้ ม ันทุกข์มาก เจ็บปวดมาก ผิดก ันก ับทุกขเวทนา ื่ นีเ้ อาว่า ทีเ่ คยผ่านมา ฉะนน ั้ ครูบาอาจารย์ทา่ นจึงได้ตงช ั้ อ ทุกขเวทนาใหญ่ ซงึ่ ไม่มใี นตารา ท่านว่าม ันทุกข์จนเหงือ ่ หรือ อะไรภาษาอีสานเขานิยมว่า ยางตาย ออกเปี ยกหมดทงต ั้ ัว ท่านว่าเวลายกมือขึน ้ ดู เหงือ ่ (ยางตาย) จะหยดปั๊ บๆ ตามนิว้ มือ ท่าน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 2

ว่ามันทุกข์ขนาดนัน ้ นะ แต่ปรากฏว่าท่านก็ผา่ นไปได ้ จิตสงบลงรวม ผิดปกติเป็ นอัศจรรย์ ทําให ้ท่านมีกําลังใจในการปฏิบต ั ม ิ าก และ จากนัน ้ ก็ไม่ปรากฏว่าทุกขเวทนาใหญ่นัน ้ ได ้เกิดขึน ้ อีกเลย ท่านว่าจิต มันเปลีย ่ นไปคนละอย่างกับสมัยทีย ่ ังสูมั้ นไม่ได ้ คือ เวลานั่งไป ทุกขเวทนาทําท่าจะเกิดขึน ้ จิตมันไม่กลัวเหมือนแต่กอ ่ น ท่านว่ากลับดี ้ ใจว่าเราจะได ้กําลังใจอีกแล ้ว เพราะการต่อสูแบบนี ท ้ า่ นว่าได ้กําลังใจ คุ ้มค่า จึงเกิดความดีใจ แต่เมือ ่ เรารับรู ้มันแล ้ว มันก็ไม่เกิด จะเกิดขึน ้ ก็ ธรรมดา ไม่ใชเ่ วทนาใหญ่แบบนัน ้

หลวงปู่ ขาว อนาลโย ่ งดาว วริชภูม ิ ๏ เทีย ่ ววิเวกไปทางสว่างแดนดิน สอ เมือ ่ ออกพรรษาแล ้ว ท่านพระอาจารย์กอ ็ อกวิเวก โดยเดินทางไปทาง ่ งดาว และอําเภอวาริชภูม ิ ท่านได ้เคย อําเภอสว่างแดนดิน อําเภอสอ ไปพักอยูก ่ บ ั หลวงปู่ขาว อนาลโย ซงึ่ สมัยคราวนัน ้ ท่านพักอยูท ่ ห ี่ วาย

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 3

สนอย ท่านเล่าว่า ตอนพักอยูก ่ บ ั หลวงปู่ ขาวนัน ้ คงจะเป็ นเดือนพฤษภาคมมิถน ุ ายน ท่านได ้เล่าถึงความอดอยากเพราะฝนแล ้ง ชาวบ ้านอดข ้าว ั แม่ชแ ี ละสามเณรหาหัวมันและ กัน ไปบิณฑบาตไม่พอฉัน ต ้องอาศย ผักเห็ดมาเสริม พอได ้ทําความเพียร แต่อย่างไรก็ตามการพักอยูก ่ บ ั ่ งดาว นัน หลวงปู่ ขาวทีห ่ วายสนอย (ภูเหล็ก) อําเภอสอ ้ ท่านว่าการ ภาวนาดีมาก นอนนิดเดียวก็อม ิ่ จิตสงบละเอียดมาก ทัง้ หลวงปู่ ขาว ท่านก็ทําความเพียร คือโดยมากท่านจะไม่คอ ่ ยเทศน์ แต่ทา่ นทําให ้ เห็นเป็ นตัวอย่าง ปกติทา่ นเป็ นคนทีพ ่ ด ู น ้อย แต่ทําความเพียร เดิน จงกรม นั่งภาวนามาก สมัยทีท ่ า่ นพักอยูน ่ ัน ้ ก็มเี รือ ่ งทีข ่ บขันอยูเ่ รือ ่ งหนึง่ คือ พระเณรไป บิณฑบาต ท่านได ้เห็นผักกระโดนอยูร่ ม ิ ทาง ท่านจึงจําเอาไว ้ว่าขา กลับจะให ้เณรเก็บเอา พอบิณฑบาตกลับ ก็สงั เกตมาตามทาง พอถึง ี้ อกเณรว่า นีเ่ ณรเอาเลยในพุม พุม ่ ผักกระโดนก็ชบ ่ นัน ้ บังเอิญวันนัน ้ มี ่ นตัวอยูใ่ นพุม หญิงสาวคนหนึง่ เขาจะไปไร่ เห็นพระเขาก็หลบเข ้าไปซอ ่ ี งพระและพูดว่า เณรเอาเลย เขาก็ตกใจ ขยับตัว นัน ้ พอได ้ยินเสย ท่านจึงได ้เห็น เลยต่างคนต่างอาย ผักกระโดนก็ไม่เอา หัวเราะกันตาม ่ า่ นพระอาจารย์สงิ ห์ทอง แต่เป็ น ท่านพระ ทาง องค์ทพ ี่ ด ู นัน ้ ไม่ใชท อาจารย์สม ซงึ่ ท่านก็ได ้มรณภาพไปแล ้ว ๏ พรรษาที่ ๗-๘ พรรษาที่ ๗ ไม่ทราบว่าท่านจําพรรษาทีไ่ หน ทีถ ่ ํ้าเป็ ดท่านก็เคยพัก พักอยูก ่ บ ั ท่านพระอาจารย์ออ ่ น ญาณสริ (ิ วัดป่ านิโครธาราม) บ ้าน หนองบัวบาน สมัยนัน ้ ท่านอยูถ ่ ํ้าเป็ ด ท่านพระอาจารย์เล่าว่า ทีถ ่ ํ้าเป็ ด นีภ ้ าวนาไม่คอ ่ ยจะดี จะเป็ นเพราะอากาศหรืออย่างไรไม่ทราบ ท่านว่า ทีถ ่ ํ้าเป็ ดนีง้ ่วงนอนเก่ง นอนไม่รู ้จักอิม ่ อาหารการฉันก็อดอยาก ั ปลาร ้า เหมือนกัน ท่านว่ากล ้วยนํ้ าว ้าใบเดียวแบ่งกัน ๔ องค์ ต ้องอาศย ทีเ่ ตรียมไป ให ้เณรเอาออกวันละนิด แบ่งกันฉัน แต่เวลาฉันแล ้วง่วง นอนเก่ง

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 4

พระอาจารย์ออ ่ น ญาณสริ ิ กับ หลวงปู่ ขาว อนาลโย ๏ ไปร ับโยมพ่อมาบวช เมือ ่ พรรษาที่ ๗ ล่วงแล ้ว ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองก็กลับบ ้านศรีฐาน เพือ ่ เยีย ่ มโยมพ่อ-โยมแม่ของท่าน และได ้นํ าโยมพ่อของท่านไปด ้วย ไปบวชเป็ นตาปะขาว แล ้วฝากโยมพ่อของท่านไว ้กับท่านพระอาจารย์ อ่อน ครัน ้ ต่อมาโยมพ่อของท่านก็ได ้บวชเป็ นพระ ี มพู ๏ วิเวกผ่านดงสช สาํ หรับท่านพระอาจารย์ก็ได ้เดินทางโดยมุง่ หน ้าไปทางจังหวัดอุดธานี และหนองคาย ในระหว่างทางทีจ ่ ะไปมีความจําเป็ นทีจ ่ ะต ้องผ่าน ดงส ี ั ว์ร ้าย ชมพู ซงึ่ สมัยนัน ้ ยังเป็ นดงหนามป่ าทึบอยูม ่ าก และเต็มไปด ้วยสต

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 5

นานาชนิด พวกชาวบ ้านริมดง เขาพากันห ้ามไม่อยากให ้ท่านเดินทางไปเพราะ ท่านไปองค์เดียว เขาเกรงว่าจะหลงทาง ไม่สามารถจะข ้ามดงไปได ้ใน ื ชาง ้ หมี สต ั ว์ เวลาคํา่ มืด ถ ้าค ้างคืนในดงจะต ้องตายแน่ เนือ ่ งจากเสอ ร ้ายเหล่านีช ้ ม ุ มาก ท่านหาได ้ฟั งคําทักท ้วงของชาวบ ้านซงึ่ หวังดีตอ ่ ท่านไม่ ด ้วยท่านมีความเด็ดเดีย ่ วอยูว่ า่ ตายเป็ นตายจะต ้องข ้ามดงส ี ชมพูให ้ได ้ และให ้ถึงจุดหมายปลายทางก่อนตะวันตกดินด ้วย ิ ใจเดินเข ้าสูด ่ งสช ี มพูทงั ้ ทีไ่ ม่รู ้จักทาง โดยสงั เกตดวง ท่านจึงตัดสน อาทิตย์เป็ นเข็มทิศในการเดินทาง ท่านได ้บริกรรม พุท โธ, พุท โธ ไป ้ ตลอดระยะทางทีท ่ า่ นเดินไปในดงนัน ้ ซงึ่ เต็มไปด ้วยรอยเท ้าชาง ื และสต ั ว์ตา่ งๆ เต็มไปด ้วยขีช ้ ั ว์ปะปนกัน รอยเท ้าเสอ ้ างและรอยส ต ั ว์เลีย คล ้ายกับสต ้ งไว ้ในบ ้าน ท่านเดินมุง่ หน ้าไปและระมัดระวังจิตของ ท่านไม่ให ้สง่ ออกภายนอกเลย กําหนดความรู ้ พุท โธ ติดแนบแน่นกับจิต เดินทัง้ วันตัง้ แต่ฉันจังหัน ั นํ้ าตามหนองซงึ่ สต ั ว์ป่าลงกิน เสร็จ ยามเมือ ่ หิวกระหายนํ้ า ก็ได ้อาศย ทัง้ ขีท ้ งั ้ เยีย ่ วใส่ ฉั นพอทาคอท่านว่า เพราะการเดินทางนัน ้ ไม่ได ้เอา นํ้ าไปด ้วย เอาไปแต่กระบอกกรองนํ้ า ครูบาอาจารย์ทา่ นทําอย่างนัน ้ ถ ้าจะเอานํ้ าไปด ้วยแล ้ว ก็จะฉันแต่นํ้าเมือ ่ หิว แล ้วการเดินทางจะไป ไม่ได ้ไกล นํ้ าจะลงพืน ้ เท ้าจะพองเดินไม่ได ้ ฉะนัน ้ ครูบาอาจารย์สมัยก่อนท่านจึงไม่เอานํ้ าติดตัวไปด ้วย และจะได ้ ลดความหนักในการเดินทาง เพราะแต่บริขารทีจ ่ ําเป็ นก็หนักพอแล ้ว ี มพูไปได ้ในวันนัน ผลทีส ่ ด ุ ท่านก็ได ้เดินทางผ่านดงสช ้ โดยปลอดภัย ั อยูต เมือ ่ เวลาพลบคํา่ สงั เกตได ้จากการเห็นหมูบ ่ ้านซงึ่ ปลูกอาศย ่ ามริม ดง ก็ทราบว่าถึงทีจ ่ ด ุ หมายปลายทางแล ้ว แล ้วท่านก็พก ั วิเวกอยูใ่ นเขตอําเภอผือนัน ้ ตามถํ้าม่วง ถํ้าจันฑคาด ถํ้า หีบแถวนัน ้ พอสมควรแล ้ว ก็เดินทางต่อไปทางอําเภอท่าบ่อ และบ ้าน ี งใหม่ ปั จจุบน ี งใหม่ ท่านได ้จําพรรษาทีว่ ด ศรีเชย ั เป็ นอําเภอศรีเชย ั พระ ี งใหม่ (ชอ ื่ ทุกวันนีไ ดอย บ ้านศรีเชย ้ ม่ทราบ) ในพรรษานัน ้ ท่านป่ วย

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 6

เป็ นไข ้ เป็ นไข ้หนัก และพระเณรก็เป็ นไข ้กันหลายองค์ แต่ทา่ นพระ อาจารย์เล่าว่า มักจะได ้กําลังใจเมือ ่ เวลาป่ วยไข ้ เพราะสมัยแต่กอ ่ นไม่คอ ่ ยมีหมอ มีหมอก็หมอชาวบ ้าน อาศํยยาต ้มและ ยาฝน ซงึ่ บางทีก็ไม่คอ ่ ยจะหายง่าย และมีเณรองค์หนึง่ ซงึ่ จําพรรษา ด ้วยกัน เณรองค์นัน ้ ก็ป่วยและหายก่อน เวลาพอเดินได ้เณรนัน ้ ก็เดินไปถามท่านพระอาจารย์วา่ ครูบาเป็ น อย่างไร ยังไข ้อยูห ่ รือ ท่านตอบเณรว่า ยังไข ้อยู่ แล ้วท่านพระอาจารย์ ถามเณรว่า เณรล่ะ หายหรือยัง เณรนัน ้ ตอบว่า หายพอเดินได ้ เณรเลย ั ทีก็ได ้ครูบา ท่าน พูดต่อไปว่า โอ่ย ถ ้าเป็ นอย่างนีไ ้ ม่ให ้ผมเป็ นอีกซก พระอาจารย์ก็หวั เราะ เณรนัน ้ ออกจะไม่คอ ่ ยเต็มบาทเท่าไร ตอนทีไ่ ปเทีย ่ ววิเวกด ้วยกันก็มเี รือ ่ งขบขันหลายอย่าง ทีพ ่ ก ั จําพรรษา อยูด ่ ้วยกันในปี นัน ้ ก็ม ี ท่านพระอาจารย์สว ุ ัจน์ สุวโจ, ท่านพระ อาจารย์ว ัน อุตฺตโม, ท่านพระอาจารย์สม และท่านพระอาจารย์ สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร มีหลายองค์ด ้วยกัน (ปั จจุบน ั ทุกองค์ได ้มรณภาพ ไปหมดแล ้ว) เมือ ่ ออกพรรษาแล ้ว ท่านได ้ทราบข่าวว่าหลวงพ่อของท่านถึงแก่กรรม ิ อําเภอบัวขาว (อําเภอกุฉน ิ ธุ์ ทีห ่ มูบ ่ ้านกุดสม ิ ารายณ์) จังหวัดกาฬสน ในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ อันเป็ นพรรษาที่ ๘ ล่วงแล ้ว ท่านจึงเดินทางกลับบ ้านศรีฐานเพือ ่ ทําบุญให ้กับหลวงพ่อของท่าน แล ้วพักอยูบ ่ ้านนานพอสมควร จึงได ้เดินทางออกวิเวกต่อไปทาง จังหวัดนครพนม เขตอําเภอมุกดาหาร อําเภอคําชะอี

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 7

ิ ย์สายท่านพระอาจารย์มน กองทัพธรรมพระป่ ากรรมฐาน สานุศษ ั่ ภูรท ิ ตฺ ้ โต (จากซายไปขวา) หลวงปู่ สุวัจน์ สุวโจ, หลวงปู่สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร , พระอาจารย์กว่า สุมโน, หลวงตามหาบ ัว ญาณสมฺปนฺโน หลวงปู่ เทสก์ เทสรังส,ี หลวงปู่ อ่อน ญาณสริ ,ิ พระอาจารย์ชม (ไม่ ทราบฉายา) หลวงปู่ กงมา จิรปุํฺโญ, หลวงปู่ อ่อนศรี สุเมโธ, หลวงปู่ เหรียญ วรลาโภ ๏ พรรษาที่ ๙-๑๑ จาพรรษาทีว่ ัดป่าบ้านห้วยทราย (ว ัดป่าวิเวกว ัฒนาราม) ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๔๙๗ เป็ นพรรษาที่ ๙ ถึงพรรษาที่ ๑๑ ท่านได ้จําพรรษาอยูท ่ บ ี่ ้านห ้วยทราย ตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี ปั จจุบน ั ขึน ้ กับจังหวัดมุกดาหาร โดยมี ท่านพระอาจารย์มหาบ ัว ญาณสมฺปนฺโน เป็ นผู ้นํ า ในยุคสมัยนัน ้ ท่านพระอาจารย์มหาบัวท่านเข ้มงวดกวดขันกับพระเณร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 8

ทีไ่ ปปฏิบต ั ก ิ บ ั ท่านมาก ยามคํา่ คืนท่านพระอาจารย์มหาบัวจะลงเดิน ้ ตรวจพระเณรในวัดโดยไม่ใชไฟฉาย ว่าพระเณรองค์ไหนทําความเพียร อยูห ่ รือเปล่า ถ ้ามองเห็นจุดไฟอยูท ่ า่ นจะไม่เข ้าไป ถ ้าองค์ไหนดับไฟ ี งว่านอนหลับหรือเปล่า ท่านจะเข ้าไป เข ้าไปจนใต ้ถุนกุฏแ ิ ล ้วฟั งเสย ี งหายใจจะแรงกว่า หรือนั่งภาวนา เพราะคนทีน ่ อนหลับสว่ นมาก เสย ธรรมดาทีไ่ ม่หลับ ้ ถ ้าหากว่าองค์ไหนนอนหลับก่อน ๔ ทุม ่ แล ้ว พอตอนเชาประมาณตี ๔ ้ ท่านจะเดินตรงไปทีก ่ ฏ ุ อ ิ งค์นัน ้ แหละ และถ ้ายังไม่ตน ื่ ตอนเชาลงศาลา จะเตรียมบิณฑบาต ท่านจะเทศน์วา่ ให ้พระเณรองค์นัน ้ ถ้าท่านได้ เตือนถึง ๓ ครงแล้ ั้ วไม่ดข ี น ึ้ ท่านจะข ับไล่ออกจากว ัดให้ไปอยูว่ ัด ี ” อืน ่ โดยพูดว่า “ผมสอนท่านไม่ได้แล้วนิมนต์ออกไปจากว ัดเสย ฉะนัน ้ พระเณรยุคบ ้านห ้วยทรายภายใต ้การนํ าของท่านพระอาจารย์ มหาบัว จึงมีความพากเพียรในด ้านการทําสมาธิภาวนาเป็ นอย่างมาก ต่างองค์ตา่ งหลักกัน (ภาษากลางไม่ทราบ) คือ บางองค์เวลาหมูเ่ ดิน จงกรมจะขึน ้ กุฏแ ิ ล ้วไม่จด ุ ไฟ ทําท่าเหมือนว่านอน แต่ความจริงนั่ง ภาวนา เวลาหมูข ่ น ึ้ จากทางเดินจงกรมหมดแล ้วจึงค่อยลงเดินก็ม ี ท่าน พระอาจารย์สงิ ห์ทองเคยเล่าให ้ฟั งว่า สมัยนัน ้ เหมือนกับว่า พระเณรใน วัดนัน ้ จะไม่ค ้างโลกกัน พอตืน ่ นอนขึน ้ มา มองไปเห็นแต่แสงไฟ (แสง โคมไฟ) สว่างไสวตามกุฏข ิ องพระเณร เหมือนกับไม่นอนกัน สาํ หรับท่านพระอาจารย์ ท่านก็เร่งความเพียรเต็มทีจ ่ นทางเดินจงกรม ลึกเป็ นร่อง พระเณรได ้ถมทางเดินจงกรมให ้บ่อย ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ทองเล่าให ้ฟั งว่า วันหนึง่ ท่านเดินจงกรมอยู่ ระยะนัน ้ เป็ นหน ้าหนาว อากาศหนาวมาก ท่านก็หม ่ ผ ้า ๓-๔ ผืนเดินจงกรม พอเดินไปๆ ดึกเข ้า มาท่านก็งว่ งนอนมาก เพราะคราวนัน ้ ท่านอดนอนได ้ ๓ คืนแล ้ว เดินไป ผ ้าห่มผืนทีอ ่ ยูน ่ อกหลุดออกตกลง ท่านก็ไม่ทราบ พอเดินไปถึงหัว ื หรือ ทางเดินจงกรม หันกลับมาเห็นผ ้าห่มตัวเองก็ตกใจ ท่านนึกว่าเสอ อะไรหนอ เพราะสมัยนัน ้ ยังมี เดือนก็ไม่สว่างเท่าไร ท่านจึงกระทืบเท ้าดู มันก็นงิ่ เอ๊ะมันอะไรนา เลยค่อยๆ ขยับเท ้าเข ้าไปก ้มดูใกล ้ๆ แล ้วเอาเท ้าเขีย ่ ดู

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


2 9

ทีไ่ หนได ้ เป็ นผ ้าห่ม ท่านก็หวั เราะคนเดียวพักใหญ่ เลยหายง่วง การ เป็ นอยูข ่ องพระเณรสมัยนัน ้ อยูก ่ น ั อย่างประหยัด บิณฑบาตแบบธุดงค ่ าตรพร ้อมกับข ้าวเหนียว วัตร คือ ชาวบ ้านเขาจะหมกห่ออาหารใสบ ไม่ได ้นํ าอาหารตามมาสง่ ทีว่ ัด แต่วา่ ศรัทธาของชาวบ ้านแถวนัน ้ เขาดีมากทัง้ ๆ ทีย ่ ากจน อดอยาก โดยเฉพาะแล ้วเรือ ่ งอาหาร เขามีกบหรือเขียดตัวเดียว อย่างนีเ้ ขาก็ ่ าตรได ้ ๔ บาตร ๔ องค์ก็ม ี ในคราวทีอ แบ่งใสบ ่ ดอยาก มะเขือลูกเดียว ่ าตรได ้ ๔ องค์ ทัง้ นี้ เนือ อย่างนี้ เขาจะผ่าใสบ ่ งจากทางภาคอีสาน กันดารนํ้ าโดยเฉพาะหน ้าแล ้ง บางแห่งต ้องไปกินนํ้ าในสระ พร ้อมทัง้ ตักไปเอาไกลด ้วยเป็ นระยะทาง ๒-๓ กิโลเมตรก็ม ี เพราะขุดบ่อไม่มน ี ํ้ า ถึงจะมีบางแห่งนํ้ าก็เค็มกินไม่ได ้ และทําให ้สงิ่ ทีต ่ ามมาด ้วยก็คอ ื ความ อดอยากเรือ ่ งอาหารการกิน ภาคอืน ่ บางคนมักจะว่าคนอีสานนีก ้ น ิ ไม่เลือก ก็เพราะเหตุวา่ ความทีม ่ น ั หาไม่ได ้นัน ้ เอง มีอะไรเขาก็จับกินไป พวกนํ้ าร ้อน นํ้ าชา โกโก ้ กาแฟ ั และนํ้ าตาล อย่างนี้ ไม่ต ้องถามหา แม ้แต่ภาพยังไม่เคยเห็นเลย อาศย เอาแก่นไม ้ รากไม ้ ใบไม ้มาต ้มฉัน นานๆ จะมีนํ้าอ ้อยก ้อนทีหนึง่ แต่ ก ้อนนํ้ าอ ้อยสมัยนัน ้ อร่อยมาก ก ้อนเดียวแบ่งกันฉั น ๓-๔ องค์กย ็ ังพอ และอร่อยด ้วย ไม่เหมือนนํ้ าอ ้อยสมัยทุกวันนี้ บางปี พระเณรป่ วยเป็ นไข ้มาลาเรียเกือบหมดทัง้ วัด ยังเหลือแต่ทา่ น พระอาจารย์มหาบัวและพระอีกองค์หนึง่ ก็ม ี เป็ นผู ้ทํากิจวัตรประจําวัน ่ ปั ดกวาดลานวัด และตักนํ้ าใชนํ้ ้ าฉั น บางครัง้ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ เชน ทองก็ป่วยหนัก จนชาวบ ้านได ้พากันออกมานอนเฝ้ ารักษา แต่ทา่ นพระ อาจารย์เคยเล่าว่า ได ้กําลังใจดีในเวลาป่ วย เพราะไม่มท ี พ ี่ งึ่ จะพึง่ กาย ก็ไม่สบายป่ วยไข ้ ได ้มีโอกาสพิจารณามาก เมือ ่ พิจารณากันอยูไ ่ ม่หยุดไม่ถอย มันก็รู ้ก็เข ้าใจในเรือ ่ งของกายและ จิต ครูบาอาจารย์สมัยก่อนท่านได ้กําลังใจเพราะการป่ วยไข ้นีม ้ ม ี ากๆ เลย และกําลังใจท่านก็เข ้มแข็ง ไม่เหมือนพระนักปฏิบต ั ท ิ ก ุ วันนี้ เอะอะ ก็หมอ เอะอะก็หมอ นิโรธของนักปฏิบต ั ก ิ ็เลยอยูก ่ บ ั หมอ ไม่ได ้อยูก ่ บ ั ธรรมะของพระพุทธเจ ้า กําลังใจก็ออ ่ นแอเอามากๆ เลย เห็นแล ้วบางที

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 0

ก็หนหวย (รําคาญ) ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๔๙๗ นี้ พอตกหน ้าแล ้ง ่ ภูผากูด ภูเก ้า ภูจ ้อก ้อ บางปี ทา่ นจะออกไปเทีย ่ ววิเวกตามทีต ่ า่ งๆ เชน แถวนัน ้ ท่านพระอาจารย์เคยเล่าให ้ฟั งเรือ ่ งหนึง่ ว่า ท่านได ้ไปพักอยูท ่ ี่ วัดป่ าบ ้านหนองสูง ื่ จริงของวัดก็ไม่ทราบ พัก ปั จจุบน ั บ ้านหนองสูงเป็ นกิง่ อําเภอ และชอ อยูก ่ บ ั ท่านพระอาจารย์กงแก้ว ขนฺตโิ ก มีชาวบ ้านหนองแต ้ ถ ้าจํา ไม่ผด ิ เขาไปนิมนต์ให ้ท่านไปดูทใี่ ห ้เขา (ไปเหยียบทีใ่ ห ้เขา) เพราะที่ หัวนาของเขานัน ้ แรงมาก (เข็ดมาก) จะไปตัดไม ้ตัดฟื นในบริเวณนัน ้ ไม่ได ้ จะต ้องมีอน ั เป็ นไปให ้เห็น จนเป็ นทีร่ ู ้จักกันว่าทีน ่ ัน ้ มันแรง เขามา นิมนต์ทา่ น ท่านก็ไป แต่นไ ี่ ม่ทราบว่าท่านไปด ้วยกัน ๒ องค์ หรือองค์ เดียว จําไม่ได ้ พอไปถึงแล ้ว เขาก็พาท่านเข ้าไปในทีแ ่ ห่งนัน ้ ทีน ่ ัน ้ จะทําเป็ นหอเล็กๆ ไว ้ เมือ ่ ท่านพระอาจารย์ไปถึงแล ้ว ท่านก็วา่ ไหนผี มันอยูต ่ รงไหน ่ ัน แล ้วท่านก็ขใี้ สน ้ ไม่ทราบว่าท่านปวดขีม ้ าแต่เมือ ่ ไร เสร็จแล ้วออกมา ท่านว่า ทําไปเลย มันไม่มผ ี ด ี อกน่า ไม่เห็นอะไรนี่ แล ้วท่านก็กลับวัด พอกลับมาถึงวัด ถึงเวลาปั ดกวาด ทําข ้อวัตรก็ทํา สรงนํ้ าสรงท่า เดิน จงกรม พอคํา่ ดึกพอสมควรก็ขน ึ้ กุฏ ิ ไหว ้พระสวดมนต์และนั่งภาวนา แล ้วก็พก ั ผ่อนหลับนอน ๏ ฝันเห็นผี เมือ ่ ท่านนอนหลับเคลิม ้ ไป แล ้วฝั นว่า เห็นมีคน ๒ คน เดินคุยกันมา เดินผ่านสนามบินนายเตียง สริ ข ิ น ั ธ์ มา รูปร่างใหญ่สงู มาก ดํา ท่านว่า มองเห็นแต่ไกล เพราะสูงกว่าป่ าไม ้แถวนัน ้ สูงประมาณ ๑๐ เมตร แล ้ว เดินเข ้าไปในวัด พูดกันว่าไหน มันอยูไ ่ หน แล ้วก็ตรงไปยังกุฏข ิ องท่าน พระอาจารย์ กุฏข ิ องท่านเพียงเข่าของคน ๒ คนเท่านัน ้ ระยะนัน ้ ท่าน พระอาจารย์กว็ า่ ท่านปรากฏว่าตัวเองนอนอยู่ และร่างของท่านก็ ึ ของท่านนัน ปรากฏว่าใหญ่ยาวออกเหมือนกัน ในความรู ้สก ้ ว่าจะไม่หนี ่ งดูทา่ นพระอาจารย์ แล ้วพูดว่า “อ ้าวหลาน จะสู ้ แล ้วคนหนึง่ ก็ก ้มลงสอ ของเรา อย่าทําท่าน” แล ้วก็พากันกลับ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 1

๏ พรรษาที่ ๑๒ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ อันเป็ นพรรษาที่ ๑๒ ของท่าน ท่านได ้ติดตามท่าน พระอาจารย์มหาบัวไปจังหวัดอุดรธานี เพือ ่ เยีย ่ มโยมมารดาของท่าน พระอาจารย์มหาบัว และท่านพระอาจารย์มหาบัวได ้พาโยมมารดาของ ท่านไปพักจําพรรษาทีใ่ กล ้สถานีทดลองเกษตรกรรมนํ้ าตกพลิว้ อําเภอ แหลมสงิ ห์ จังหวัดจันทบุร ี ซงึ่ เป็ นสถานทีท ่ เี่ ขาถวายใหม่ ท่านเล่าให ้ ฟั งว่า ญาติโยมแถวนัน ้ ภาวนาเก่งกันหลายคน ท่านอยูภ ่ าคตะวันออก ได ้ปี เดียว เนือ ่ งด ้วยโยมมารดาของท่านพระอาจารย์มหาบัวไม่คอ ่ ย สบาย อยากกลับบ ้าน ท่านพระอาจารย์มหาบัวจึงได ้พาโยมมารดาของท่านกลับจังหวัด อุดรธานี จึงได ้สง่ ปั จจัยค่าเดินทางไปให ้ท่าน และหมูท ่ ย ี่ ังเหลืออยูจ ่ งึ ได ้เดินทางกลับอุดรธานี โดยนั่งเรือโดยสารมาลงทีก ่ รุงเทพฯ และ เดินทางต่อไปยังวัดป่ าบ ้านตาด ซงึ่ สมัยนัน ้ เพิง่ จะเริม ่ ตัง้ วัดในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ๏ สติปญ ั ญากล้า ท่านพระอาจารย์เคยเล่าให ้ฟั งว่า คราวทีส ่ ติปัญญามันกล ้า มันกล ้า ั มันเหมือนกันกับว่าทิง้ จริงๆ พิจารณาอะไร เรือ ่ งทีใ่ จติดข ้องหรือสงสย เศษกระดาษใสไ่ ฟกองใหญ่ๆ มันแว ้บเดียว แว ้บเดียวเท่านัน ้ มันหาย ั มันขาดไป ตกไป ใจจึงเพลินในการพิจารณาและค ้นหาเรือ สงสย ่ งทีใ่ จ ั เมือ ยังคิดยังสงสย ่ เจอแล ้วพิจารณาเข ้าไป มันขาดไปๆ ตกไปๆ จึงทํา ั นํ้ าซม ึ คือ ให ้เพลินในการพิจารณา ต่อไปจิตของท่านก็ไหลเป็ นนํ้ าซบ ี แต่หลับ ไม่มเี ผลอเลย เว ้นเสย ก่อนจะหลับพิจารณาอะไร เมือ ่ ตืน ่ ขึน ้ ก็จับพิจารณาต่อไปได ้เลย ครัน ้ ่ พ ต่อมา จิตของท่านก็ตกว่าง จิตว่างนี้ ท่านว่ายังไม่ใชน ิ พานดอกนา บางคนอาจจะเข ้าใจว่า จิตว่างนีค ้ อ ื นิพพาน ท่านว่ายังไม่ใช ่ เวลาผ่าน ไปแล ้วค่อยรู ้ ท่านว่าต ้องย ้อนจิตเข ้ามารู ้ตัวผู ้ทีร่ ู ้ว่าว่างนัน ้ อีก แต่จต ิ ของท่านพระอาจารย์นไ ี้ ม่มข ี ณะ เหมือนครูบาอาจารย์องค์อน ื่ ๆ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 2

เป็ นชนิดทีเ่ หีย ่ วแห ้งไปเลย (จิตชนิดนีใ้ นตําราก็คงมีบอก) จากนัน ้ ไป ท่านว่ามันไม่เหมือนแต่กอ ่ น คือมันไม่ตด ิ กับอะไร เหมือนกับทิง้ เมล็ด ่ ลายเข็มท่านว่า มันไม่ตด งาใสป ิ ซงึ่ แต่กอ ่ นทีย ่ ังมีกเิ ลสอยูม ่ น ั ก็รู ้ เมือ ่ มันหมดทุกสงิ่ ทุกอย่างแล ้ว ทีจ ่ ะละ จะบําเพ็ญ จะไม่ให ้รู ้ได ้อย่างไร ้ ท่านว่ามันรู ้แต่สมมุตท ิ วั่ ไปของโลก ทีใ่ ชกั้ น ก็ใชไปธรรมดา บางคน อาจจะเข ้าใจว่า ครูบาอาจารย์วา่ ท่านหมดกิเลสแล ้ว ทําไมจึงดุ และดุ ่ เิ ลส เราเคย เก่งด ้วย ท่านว่าอันนัน ้ มันเป็ นพลังของธรรม มันไม่ใชก เป็ นมาเรารู ้ ท่านว่า พวกเรานีจ ้ ต ิ ยังไม่เป็ นธรรม มันมีแต่พลังของกิเลส เมือ ่ เห็นท่านแสดงอาการอย่างนน ั้ ก็เข้าใจว่าจะเหมือนก ันก ับเรา ั ท่านว่าถ้าอยากรูใ้ ห้ปฏิบ ัติ เมือ ่ จิตถึงทีส ่ ด ุ หมดความสงสยในต ัว แล้วจะรูเ้ อง ๏ พรรษาที่ ๑๓-๑๖ พรรษาที่ ๑๓-๑๖ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙-๒๕๐๐ ท่านจําพรรษาทีว่ ัดป่ า บ ้านตาด ครัน ้ เมือ ่ อกพรรษาแล ้ว ญาติทางบ ้านศรีฐานได ้เขียน จดหมายมาบอกว่า สามเณรน ้อย สามเณรอุน ่ จะต ้องคัดเลือกทหารใน ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ เมือ ่ เสร็จธุระคือรับกฐิน ทําธุระเกีย ่ วกับการตัดเย็บจีวรเสร็จแล ้ว ท่านก็ ได ้พาสามเณรน ้อย สามเณรอุน ่ ไปบ ้านเพราะเณรสององค์นเี้ ป็ น ลูกน ้องสาวของโยมแม่ของท่าน ท่านจึงต ้องได ้เป็ นภาระพาไป ่ ี นัน พอดีเมือ ่ ไปถึงแล ้ว ปรากฏว่ายังไม่ใชป ้ จะเป็ นปี พ.ศ. ๒๕๐๒ แล ้ว ท่านจึงได ้พาสามเณรสององค์นัน ้ ไปเทีย ่ ววิเวกต่อไปทางอําเภอ มุกดาหาร (จังหวัดมุกดาหาร) แถวภูวัด บ ้านดงมัน และภูเก ้าทีอ ่ ยู่ ใกล ้เคียงกับภูจ ้อก ้อ ขณะนัน ้ ท่านพระอาจารย์หล้า เขมปตฺโต ก็อยูภ ่ จ ู ้อก ้อ ท่านไปเยีย ่ ม ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองทีภ ่ เู ก ้า จากนัน ้ คณะท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ทองก็ได ้เดินทางต่อไปยังบ ้านห ้วยทราย ซงึ่ ระยะนัน ้ ท่านพระ ิ ย์ของท่านพักอยูก อาจารย์ศรี มหาวีโรท่านได ้พาพระเณร ศษ ่ อ ่ น แล ้ว

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 3

พระอาจารย์หล ้า เขมปตฺโต

พระอาจารย์ศรี มหาวีโร

ี ก้ว เสย ี งลา้ (องค์ข ้างหลัง) ถ่ายภาพกับเพือ คุณแม่ชแ ่ นแม่ช ี ี ้านห ้วยทราย ต.คําชะอี อ.คําชะอี จ.มุกดาหาร ณ สาํ นักชบ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 4

๏ พ ักอยูท ่ บ ี่ า้ นห้วยทราย ื่ ว่า พ่อปั น เขา ก่อนหน ้าทีท ่ า่ นจะไปถึง มีชาวบ ้านห ้วยทรายคนหนึง่ ชอ ื้ ที่ เขาจึงมากราบเรียนท่านพระอาจารย์ศรีวา่ จะสมควรซอ ื้ ไหม จะซอ ึ อยูต เพราะทีแ ่ ห่งนัน ้ มันแรงมาก (เข็ดมาก) มีนํ้าไหลซม ่ ลอด ทัง้ หน ้าแล ้งหน ้าฝน ื้ เอาไว ้เสย ี แล ้ว ท่านพระอาจารย์ศรีเลยบอกว่า ถ ้าเขาจะขายก็ซอ อาตมาจะไปพักให ้ดอก เพราะทีม ่ น ั แรง ยิง่ กว่านีก ้ ็เคยได ้ไปพักให ้เขา ื้ เอาทีแ อยูแ ่ ล ้ว พ่อปั นก็เลยซอ ่ ห่งนัน ้ แล ้วก็ทําตะแคร่ร ้านไว ้ ๗ แห่ง เพราะพระเณรทีไ่ ปกับท่านพระอาจารย์ศรีมห ี ลายองค์ เมือ ่ เขาทําเสร็จ แล ้วก็มานิมนต์ทา่ นให ้ไปพักให ้ ก็พอดีทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ทองไปถึง ท่านพระอาจารย์ศรีก็เลยพูดว่า เอา ครูบา ไปพักให ้เขาหน่อย เพราะ ท่านพระอาจารย์ศรีออ ่ นกว่า จึงเรียกครูบา ท่านพระอาจารย์วา่ ก็ใคร บอกให ้เขาทําก็ไปซ ี แล ้วเถียงกันไปเกีย ่ งกันมา ท่านพระอาจารย์ศรีวา่ หมูผ ่ มฝากให ้ครูบานัน ้ แหละไป ผลทีส ่ ด ุ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองเป็ น ผู ้แพ ้ เลยได ้ไปพักในทีแ ่ ห่งนัน ้ ี ก้ว เสย ี งลา้ เวลาออกไป ณ ทีแ ่ ห่งนัน ้ อยูใ่ กล ้กับสํานักของ คุณแม่ชแ จากบ ้านห ้วยทรายจะมองเห็น ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองได ้ไปกับ สามเณรน ้อย สว่ นข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐ ิตธมฺโม) ท่าน ไม่ให ้ไปด ้วย ให ้ดูแลรักษาบริขารทีไ่ ม่ได ้เอาไปด ้วย เมือ ่ ท่านไปถึงวัน แรก พอจะคํา่ ท่านก็สรงนํ้ า แล ้วก็ลงเดินจงกรม พอเหนือ ่ ยและดึก หน่อยท่านก็ขน ึ้ แคร่ขน ึ้ ร ้าน ไหว ้พระสวดมนต์ เสร็จแล ้วก็จะนั่งภาวนา ก่อนจะนั่งภาวนาท่านได ้นึกในใจว่า ถ ้าหากมีเจ ้าทีเ่ จ ้าฐานอยูน ่ ี้ ก็ขอให ้ ี ขยับขยายไปทีอ ่ น ื่ เสย เพราะทีน ่ ช ี้ าวบ ้านเขาจะทํา อยากทํากิน ทําทาน หรือว่าถ ้าไม่ไปแล ้ว ก็อย่าเบียดเบียนเขา ท่านนึกอย่างนัน ้ แล ้วก็นั่งภาวนา มีแปลกผิด ึ อยูน สงั เกตอยูว่ า่ นํ้ าทีเ่ คยไหลซม ่ ัน ้ ปรากฏว่าย่นเข ้ามาทุกวัน คือ แห ้ง เข ้ามาๆ จนวันที่ ๗ ยังเหลืออยูแ ่ ต่ปากบ่อเท่านัน ้ พอท่านพักอยูไ่ ด ้ ครบ ๗ วัน แล ้วท่านก็กลับวัด

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 5

๏ พญานาคอพยพหนีไปถา้ ม่วง ี งค์นเี้ ป็ น ต่อมา คุณแม่ชเี จียง ซงึ่ อยูส ่ าํ นักชใี กล ้ทีแ ่ ห่งนัน ้ แม่ชอ น ้องสาวของโยมพ่อ ท่านพระอาจารย์อน ิ ทร์ถวาย สนฺตส ุ ฺสโก วัดป่ า บ ้านนาคําน ้อย ตําบลบ ้านก ้อง อําเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี (ใน ปั จจุบน ั ) เขาไปจังหันทีว่ ัด แล ้วถามท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองว่า ได ้ ปรากฏอะไรบ ้าง

พระอาจารย์อน ิ ทร์ถวาย สนฺ ตส ุ ฺสโก ท่านพระอาจารย์ตอบว่า มันจะมีอะไร คุณแม่ชเี จียงเลยพูดว่า เขาไป ลาข ้าน ้อย ถามเขาว่าจะไปไหน เขาบอกว่าจะไปอยูถ ่ ํ้าม่วง ทําไมจึงจะ ไป ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองบอก ท่านบอกว่าอย่างไร เขาก็พด ู ให ้ ฟั ง คําพูดนัน ้ เป็ นคําพูดคําเดียวกับทีท ่ า่ นพระอาจารย์นก ึ และคุณแม่ช ี ้ ออกไปจังหัน ได ้พา เจียงยังบอกให ้แสดงรอยไว ้ให ้ดูด ้วย เวลาเชาแม่ แม่ออกไปดูเป็ นรอยคล ้ายๆ กับรอยรถยนต์ คุณแม่ชเี จียงพูด ต่อมาคุณแม่ชเี จียงก็พด ู อีกว่า มีเจ ้าทีอ ่ ยูภ ่ ห ู น ิ ขันธ์ บ ้านดงมัน อําเภอ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 6

มุกดาหาร (จังหวัดมุกดาหาร ในปั จจุบน ั ) มาลาว่า ผมจะไปเกิด ผมไป ลาท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองมา คุณแม่ชเี จียงถามว่า รู ้จักท่านด ้วยหรือ เขาบอกว่ารู ้ เขาได ้เคยไปปฏิบต ั ท ิ า่ นอยูท ่ ภ ี่ วู ัด บ ้านดงมัน เพราะเขา สองลูกนีอ ้ ยูใ่ กล ้กันอยูค ่ นละฝั่ งทาง ผมอยู่ภป ู ิ่ นขันธ์นม ี้ าได ้ ๒ หมืน ่ ปี แล ้ว ผมจะไปเกิด แต่ไม่ทราบว่าจะไปเกิดทีไ่ หนและเกิดเป็ นอะไร ความรู ้ของท่านพระอาจารย์ทเี่ กีย ่ วกับด ้านนี้ ตามทีเ่ คยอยูก ่ บ ั ท่านมา เข ้าใจเอาเองว่าความรู ้ของท่านในด ้านนีไ ้ ม่ม ี บางคนอาจเข ้าใจว่า ครู บาอาจารย์ทท ี่ า่ นภาวนาเป็ นแล ้วจะรู ้ทุกสงิ่ ทุกอย่างไปนัน ้ ไม่ใช ่ จะ เป็ นได ้เฉพาะบางรายเท่านัน ้ ไม่ทั่วไป แต่วา่ อาสว ักขยญาณ คือรู ้ว่า กิเลสหมดไปนีเ้ หมือนกันหมด สว่ นความรู ้ปลีกย่อยนีไ ้ ม่เหมือนกัน ผู ้ที่ ึ ษาตําราทางศาสนามากจะเข ้าใจ แต่ผู ้ทีศ ึ ษาน ้อยอาจจะยัง ได ้ศก ่ ก ั จึงได ้เขียนไว ้ในทีน สงสย ่ ด ี้ ้วย ึ ออกมาอีก พญานาคทีว่ า่ นัน ้ เดีย ๋ วนีก ้ ลับมาทีเ่ ดิมแล ้ว และมีนํ้าไหลซม เหมือนเดิม จากนัน ้ ท่านก็ได ้เทีย ่ ววิเวกต่อไปทางอําเภอธาตุพนม ื่ ถํ้า จังหวัดนครพนม กลับมาอําเภอนาแก พักอยูท ่ ถ ี่ ํ้าตาฮด ปั จจุบน ั ชอ โพธิท ์ อง บ ้านแจ ้งมะหับ พักอยูน ่ ัน ้ ได ้ประมาณ ๑ เดือน มีเรือ ่ งทีข ่ บขัน อยูเ่ รือ ่ งหนึง่ คือเมือ ่ ท่านพักอยูน ่ ัน ้ ชาวบ ้านยังไม่รู ้จักท่านเพราะไม่เคย ื่ ของท่าน ท่านก็บอกชอ ื่ ท่านว่า ญาพ่อ อยูม ่ าก่อน เขาพากันถามถึงชอ ผ ักกะโดน คือปกติทา่ นพระอาจารย์ทา่ นจะชอบฉั นผักเป็ นพิเศษ และ ื่ ของท่านแบบนัน หน ้านัน ้ ผักกะโดนกําลังออกดอก ท่านก็เลยบอกชอ ้ ชาวบ ้านพากันหัวเราะ พอพักทีน ่ ัน ้ พอสมควรแล ้ว ก็เดินทางกลับบ ้าน ห ้วยทราย และจําพรรษาทีบ ่ ้านห ้วยทรายในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ เมือ ่ ออก พรรษาแล ้ว ท่านก็กลับบ ้านศรีฐานอีกประมาณเดือนธันวาคม พา สามเณรน ้อย สามเณรอุน ่ ไปรับใบหมายเรียกจะเข ้าเกณฑ์ทหาร แต่ เนือ ่ งจากสามเณร ๒ องค์นส ี้ อบนักธรรมได ้ คือทางการเขาอนุญาตให ้ ยกเว ้นได ้ ท่านจึงขอให ้เขายกเว ้นให ้ เมือ ่ เสร็จธุระแล ้วท่านก็ออกจาก บ ้านศรีฐานไปทางอําเภอมุกดาหาร (จังหวัดมุกดาหาร ในปั จจุบน ั ) ไป พักอยูท ่ ภ ี่ วู ด ั เพราะว่าภูวัดนีอ ้ ากาศดี ท่านพระอาจารย์ชอบสถานทีแ ่ ห่ง นี้

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 7

หลวงปู่ บัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ

พระอาจารย์อน ุ่ (อุน ่ หล ้า) ฐิตธมฺโม

มีเวลาผ่านไปทางนัน ้ ท่านจึงมักจะไปพักอยูบ ่ อ ่ ย เมือ ่ พักอยูพ ่ อสมควร แล ้วก็เดินทางต่อไปยังภูเก ้า บ ้านโคกกลาง สมัยก่อนขึน ้ กับอําเภอคํา ชะอี แต่ทก ุ วันนีค ้ งขึน ้ กับอําเภอนิคมคําสร ้อย ครัน ้ พักอยูท ่ ภ ี่ เู ก ้า พอสมควรแล ้ว ก็ได ้เดินทางต่อไปยังบ ้านห ้วยทราย และได ้ทําการ บวชพระให ้แก่สามเณรน ้อย สามเณรอุน ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ท่านก็ได ้ จําพรรษาทีบ ่ ้านห ้วยทรายอีก ๒ พรรษา ๏ พรรษาที่ ๑๗-๑๙ เมือ ่ ออกพรรษาแล ้วก็ได ้เดินทางกลับมาทางจังหวัดอุดรธานี เข ้าไปยัง สํานักวัดป่ าบ ้านตาด และในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ นัน ้ ก็ได ้พักจําพรรษาอยูท ่ ี่ วัดป่ าบ ้านตาด ครัน ้ ออกพรรษาแล ้ว ท่านก็ได ้เดินทางไปยังวัดราษฎร สงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) ตําบลหนองบัวบาน อําเภอหนองวัวซอ ของ หลวงปู่บ ัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 8

ครัน ้ เมือ ่ พักพอสมควรแล ้ว ท่านพระอาจารย์ก็เดินทางต่อไปยังวัดถํ้า กลองเพล ของหลวงปู่ ขาว อนาลโย ขณะนัน ้ ท่านพระอาจารย์จวนท่าน ี งใหม่ ทีไ่ ป ก็พักอยูท ่ น ี่ ั่น แล ้วท่านก็เลยชวนกันไปเทีย ่ วจังหวัดเชย ด ้วยกันก็ม ี ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ, ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ทอง ธมฺมวโร, ท่านพระอาจารย์เพียร วิรโิ ย, หลวงพ่อไท และ ื่ สามเณรคาส ี ทีแรกท่านก็ได ้นั่งรถ ต่อเมือ สามเณรอีก ๑ องค์ชอ ่ หมดค่ารถแล ้วก็เดิน ท่านพูดว่าการเดินทางคราวนีล ้ ําบากมากเพราะ ขึน ้ ๆ ลงๆ ตามเขาระหว่างเมืองเลยต่อนครไท เหน็ ดเหนือ ่ ยมากไม่ ี งใหม่โดยนั่งรถ เหมือนเดินตามทีร่ าบ และเดินทางจนถึงจังหวัดเชย บ ้าง เดินบ ้าง ี งใหม่แล ้วก็ได ้ไปดูหลายแห่งและพักอยูน เมือ ่ ไปถึงเชย ่ านพอสมควร ี งใหม่นไ ท่านว่าทางเชย ี้ ม่เป็ นทีส ่ บายของท่าน ท่านก็ได ้เดินทางกลับ อีสานอีกโดยนั่งรถไฟ ตอนทีน ่ ั่งรถไฟกลับท่านก็เล่าเรือ ่ งขบขันให ้ฟั ง ว่า มีพระองค์หนึง่ มาคุยด ้วย คุยไปหลายเรือ ่ งหลายราว พระองค์นัน ้ พูด ว่าท่านได ้ภาษาทุกภาษา ท่านพระอาจารย์คงจะรําคาญหรือท่านคิดจะ หยอกเล่นก็ไม่ทราบ ก็พด ู ภาษาอันหนึง่ ขึน ้ มา สาํ เนียงเหมือนสําเนียง ภาษาญวน แต่คําพูดนัน ้ องค์ทา่ นพระอาจารย์เองก็ไม่รู ้จัก เป็ นภาษาป่ า พอตก ประโยค ท่านพระอาจารย์จวนก็ขน ึ้ รับเลย สาํ เนียงคล ้ายๆ กัน โดยที่ ไม่ได ้นัดกันเอาไว ้ เมือ ่ พูดแล ้วก็หน ้าตาเฉย พระองค์นัน ้ มองหน ้าเพราะ ท่านติดภาษาป่ า ท่านว่าจ ้างมันก็ไม่รู ้ดอก แม ้แต่เราคนพูดเองยังไม่รู ้ ท่านว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๕ นี้ ท่านจําพรรษาทีบ ่ ้านห ้วยทรายอีก เมือ ่ ออกพรรษาได ้เวลาพอสมควรแล ้ว ท่านก็ได ้เดินทางมาอุดรธานีอก ี เข ้าไปทีว่ ัดราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) ของหลวงปู่ บัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ ครัน ้ พักอยูท ่ วี่ ัดราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) ได ้นาน พอสมควรแล ้ว ก็ได ้กราบลาหลวงปู่ บัว พาข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์ อุน ่ ฐ ิตธมฺโม) ไปเทีย ่ ววิเวกทางถํ้าจันทร์ อําเภอบึงกาฬ จังหวัด หนองคาย ในระยะนัน ้ พวกทหารป่ า ผกค. กําลังเริม ่ ระบาด พวกทหาร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


3 9

่ งดูแลอยูท คอยสอดสอ ่ ก ุ แห่ง ทีถ ่ ํ้าจันทร์นัน ้ แต่กอ ่ นยังเป็ นดงหนาป่ า ทึบ เมือ ่ ท่านพระอาจารย์จวนไปพักอยูท ่ น ี่ ัน ้ ก็ได ้มีชาวบ ้านพากันอพยพเข ้า ไปปลูกบ ้าน บุกเบิกป่ า ในระยะนัน ้ ก็มอ ี ยูป ่ ระมาณ ๓๐-๔๐ ครอบครัว วันหนึง่ พอทําข ้อวัตรปั ดกวาดเสร็จ ก็สรงนํ้ าอาบนํ้ ากัน เสร็จแล ้วก็ รวมกันฉันนํ้ าร ้อน และพูดคุยกันไปหน่อย ข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์ อุน ่ ฐิตธมฺโม) จึงออกไปเก็บผ ้าอาบนํ้ าทีต ่ ากปูไว ้กับลานหิน มองเห็น เครือ ่ งบินปี กตัดบินข ้ามมาจากฝั่ งลาว มองเห็นเครือ ่ งบินลํานัน ้ เอียงปี ก และบินผ่านเข ้ามายังถํ้าจันทร์ ข ้าพเจ ้าก็เลยกวักมือใส่ เครือ ่ งบินลํานัน ้ คงจะเป็ นเครือ ่ งบินลาดตระเวน พอเครือ ่ งบินลํานัน ้ เห็นก็เลยบินวนบิน เวียนอยูน ่ ัน ้ เขาคงผิดสงั เกต คงจะเข ้าใจว่าเป็ นทัพของพวก ผกค. จึงได ้บินอย่าง นัน ้ บินเวียนอยูจ ่ นมืด ได ้ประมาณทุม ่ เศษๆ แล ้วค่อยหนี ท่านพระ ่ งขึน อาจารย์จวนก็ได ้ไฟฉาย ๒ กระบอกสอ ้ ใสเ่ ครือ ่ งบินแล ้วเต ้นล ้อ เครือ ่ งบินยิง่ วนเวียนกันใหญ่ ไปทางทิศเหนือ ทิศใต ้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก คิดดูธรรมดาแล ้วมันก็บ ้าทัง้ ๒ ทางนะ ทัง้ ทางอากาศและ ทางดิน พวกเราก็ไม่กลัว เพราะพวกเราไม่มอ ี ะไรนี่ ดีเขาไม่ยงิ ปื นลง ่ าติพ ี่ มาใส่ ถ ้าเขายิงปื นลงมาก็จะกลัวอยูแ ่ หละ เพราะลูกปื นมันใชญ น ้องของใคร เมือ ่ พักอยูท ่ ถ ี่ ํ้าจันทร์นานพอสมควรแล ้ว ท่านก็ได ้พากันมาทางอําเภอ สว่างแดนดิน พร ้อมทัง้ ท่านพระอาจารย์จวนและพระติดตามท่านพระ อาจารย์จวน พอดีเป็ นงานสรงนํ้ าทําบุญครบรอบ ท่านพระอาจารย์ ิ ธิธรรม) ตําบลดงเย็น พรหม จิรปุญฺโญ วัดบ ้านดงเย็น (วัดประสท อําเภอบ ้านดุง จังหวัดอุดรธานี

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 0

พระอาจารย์พรหม จิรปุํฺโญ

พระอาจารย์กงมา จิรปุํฺโญ

เมือ ่ เสร็จงานท่านแล ้ว ก็ได ้เดินทางต่อไปวัดดอยธรรมเจดีย ์ ตําบลตอง โขบ อําเภอโคกศรีสพ ุ รรณ จังหวัดสกลนคร ไปในงานเผาศพ ของ ท่านพระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ เสร็จงานแล ้วท่านพระ อาจารย์จวนและพระติดตามก็ได ้เดินทางไปวิเวกแถวอําเภอนาแก ถํ้า ตาฮด (ถํ้าโพธิท ์ อง) ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองท่านก็กลับบ ้านศรีฐานอีก เพือ ่ เยีย ่ มโยมแม่ ของท่าน และได ้เอาโยมแม่ของท่านบวชพร ้อมกับน ้องสาวของโยมแม่ ของท่าน ซงึ่ เป็ นโยมแม่ของข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐ ิตธมฺ โม) ตอนทีเ่ อาพวกโยมแม่บวชนี้ ไปดึงเอามาเลยนะ กระทั่งพ่อของ พวกโยมแม่ พวกโยมแม่ก็ไม่ได ้ลา เพราะผู ้เฒ่าไปทุง่ นายังไม่กลับ ครัน ้ ต่อมา ๒-๓ วัน ผู ้เฒ่ามาตักบาตร ไม่เห็นลูกสาวมาตักบาตรด ้วย ก็ เลยถามหมูท ่ ต ี่ ก ั บาตรอยูด ่ ้วยกันว่า เขาอีอ ่ บ อีบ ่ บ ุ ผา ไปไหน ไม่เห็น มาตักบาตร ๒-๓ วันแล ้ว

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 1

พวกหมูท ่ รี่ ู ้จักก็หวั เราะแล ้วบอกว่า ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองเอาไป บวชแล ้ว และไปแล ้ว ไปทางสกลนคร อุดรธานี โน ้นแหละ ผู ้เฒ่าก็เลย ั คําน ้อ คิดแล ้วก็น่า ออกอุทานว่า โอ๋ย มันจะบวช มันก็ไม่บอกกูซก สงสารผู ้เฒ่า มัวแต่ไปทุง่ นา หลานขโมยเอาลูกสาวหนีจ ้อย ในระยะนัน ้ อายุของโยมแม่ของท่านพระอาจารย์ได ้ประมาณ ๖๖-๖๗ ปี แล ้วท่านพระอาจารย์ก็ได ้พาโยมแม่ของท่านเดินทางไปอุดรฯ เข ้า ไปสูว่ ด ั ป่ าบ ้านตาด อยูว่ ัดป่ าบ ้านตาดกับท่านพระอาจารย์มหาบัวได ้ ประมาณ ๒ เดือน คือทีว่ ัดป่ าบ ้านตาดนี้ ท่านพระอาจารย์ไม่ถก ู กับอากาศทีท ่ า่ นได ้เคย อยูม ่ า ๓ ปี ปี แรกก็ไม่คอ ่ ยเท่าไร พอปี ท ี่ ๒ ที่ ๓ นีแ ้ พ ้มาก คือ คันตาม ตัว ตามผิวหนังอ่อนๆ แล ้วเป็ นตุม ่ ขึน ้ พองคล ้ายๆ กับไฟไหม ้ เสร็จแล ้ว ก็เปื่ อย

คุณหมออวย เกตุสงิ ห์

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 2

ขอโทษ เวลาท่านไปบิณฑบาต ต ้องได ้เอาผ ้ามัดเอาไว ้ เพราะกลัว นํ้ าเหลืองติดผ ้า มันเป็ นทีล ่ ก ู อัณฑะด ้วย จนจะเดินไม่ได ้บางที ในชว่ ง นัน ้ คุณหมออวย เกตุสงิ ห์ ก็ได ้เข ้าไปวัดป่ าบ ้านตาดแล ้ว ั นํ้ า เอานํ้ าไปตรวจ ไปวิจัยก็ไม่พบอะไร ท่าน คุณหมออวยท่านสงสย ั ปายะ อากาศไม่เป็ นทีส พระอาจารย์เคยพูดว่า อุตส ุ ป ่ บายมันเป็ นอย่าง นี้ ท่านเคยเล่าว่า ถ ้าหากว่าอากาศไม่ผด ิ กับท่านอย่างนี้ ท่านจะอยูก ่ บ ั ท่านพระอาจารย์มหาบัวไปตลอด เพราะการอยูก ่ บ ั ครูบาอาจารย์ ภาระธุระมันน ้อยไม่เหมือนอยูเ่ ฉพาะเรา เพราะภาระสว่ นมากก็เป็ นของ ้ าน มันสะดวกสบายดี ท่านเคย ครูบาอาจารย์ เรามีเพียงแต่คอยรับใชท่ พูด เมือ ่ ท่านไปอีก (พาโยมแม่ไป) ก็แสดงอาการขึน ้ อีกโรคทีว่ า่ แต่เมือ ่ ออกไปจากวัดป่ าบ ้านตาดแล ้วก็หาย โดยทีไ่ ม่ต ้องฉันหยูกฉั นยาอะไร แต่อยูว่ ัดป่ าบ ้านตาดนัน ้ ทัง้ ฉั นยา ทัง้ ทายา มันก็ไม่หาย เมือ ่ เริม ่ มี อาการเกิดขึน ้ อย่างนัน ้ แล ้ว ท่านก็กราบเรียนท่านพระอาจารย์มหาบัว ว่าจะต ้องได ้พาโยมแม่ของท่านออกไปอยูท ่ อ ี่ น ื่ แล ้วท่านก็ปรึกษากัน ว่าจะพาไปอยูท ่ ไี่ หน ก็เลยตกลงจะไปอยูก ่ บ ั หลวงปู่ บัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ วัด ราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) บ ้านหนองแซง

๏ ผีเปรตบ้านกุดเรือคา ขอย ้อนกลับมาพูดเรือ ่ งผีเปรตอีกครัง้ ในปี หนึง่ ท่านพระอาจารย์ได ้ ออกเทีย ่ ววิเวกในหน ้าแล ้ง เมือ ่ ท่านวิเวกไปถึงว ัดกุดเรือคา บ้านกุด เรือคา ตําบลกุดเรือคํา อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ก็เป็ นเวลา จวนจะมืด ท่านได ้เข ้าไปในวัดกุดเรือคํา พระเณรก็ต ้อนรับจัดสถานที่ ให ้พัก ท่านเล่าว่ากุฏวิ า่ งก็มอ ี ยูห ่ ลายหลัง แต่จัดให ้ท่านและท่านพระ อาจารย์เพียรพักทีศ ่ าลาปฏิบต ั ธิ รรม สงั เกตดูพระเณรรวมกันอยูก ่ ฏ ุ ล ิ ะ หลายองค์ทัง้ ๆ ทีก ่ ฏ ุ วิ า่ งยังมี เมือ ่ ท่านสรงนํ้ าเสร็จเรียบร ้อยแล ้ว ท่านก็ครองผ ้าไปกราบนมัสการท่าน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 3

ั เจ ้าอาวาส ซงึ่ มีนามว่า พระอุปช ั ฌาย์เถือ ่ น หรือ พระครูอดุลสงฆ กิจ (หลวงปู่มหาเถือ ่ น อุชุกโร) โดยให ้ ท่านพระอาจารย์เพียร วิร ิ โย อยูเ่ ฝ้ าบริขาร ครัน ้ กราบท่านเจ ้าอาวาสแล ้วก็พด ู คุยกันต่อจนเป็ น เวลาประมาณ ๓ ทุม ่ ท่านจึงกลับมาทีพ ่ ักแล ้วก็ทําวัตร ไหว ้พระ สวด ี งดังข ้างนอกก็อกแก๊กๆ มนต์ ยังทําวัตรไม่ทันถึงไหน ท่านได ้ยินเสย นึกว่าหมามันจะมาคาบรองเท ้าหนีเพราะเป็ นรองเท ้าหนัง ท่านจึงหยุด ออกไปเก็บรองเท ้าเข ้ามาไว ้ข ้างใน แล ้วไหว ้พระต่อ ี งนัน ่ งไฟ เสย ้ ก็ยังดังอยู่ ดังเข ้ามาในห ้องทีนี้ เมือ ่ ไหว ้พระเสร็จท่านก็สอ ฉายไปดู เห็นท่านพระอาจารย์เพียรนั่ งภาวนาอยู่ จึงถามท่านพระ ี งอะไร ท่านพระอาจารย์เพียรตอบว่า มันดังอยู่ อาจารย์เพียรว่า เสย นานแล ้ว บางทีก็เข ้าใจว่าตู ้พระไตรปิ ฎกล ้ม ท่านพระอาจารย์เพียรพูด...ถ ้าดับ ี งจะดังขึน ่ งไฟฉายไปดู ก็ไม่เห็นพบอะไร เมือ ไฟเสย ้ ต่างองค์ตา่ งก็สอ ่ ั ้ ล่างเสย ี งจะไปดังอยูช ั ้ บน เพราะศาลาเป็ น ๒ ชน ั ้ เมือ ดูอยูช ่ น ่ น ่ ตามขึน ้ ั ้ บน ก็จะมาดังอยูช ั ้ ล่าง จนท่านทัง้ สององค์แน่ใจว่า นีค ไปดูชน ่ น ่ งจะ เป็ นเปรตแน่ แล ้วท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองก็เลยพูดว่า ถ้าเป็นเปรต จริง ก็อย่ามารบกวนเพราะเดินทางมาเหนือ ่ ย จะเป็นบาปเป็น ี งก็ได้เงียบไป กรรมหน ักยิง่ กว่าเก่านะ ให้ไว้พ ักบ้าง จากนนเส ั้ ย ี งรบกวนอีก ตลอดคืน ไม่มเี สย

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 4

พระอาจารย์เพียร วิรโิ ย ๏ คนทีเ่ ป็นเปรต คนทีเ่ ป็ นเปรตนัน ้ เดิมเป็ นทายกวัด เก็บปั จจัย (เงิน) ของวัด แล ้วนํ าไป ื้ หวย (ซอ ื้ เบอร์) ยังไม่ทน ้ ซอ ั ได ้ใชแทน และไม่ได ้สงั่ บอกลูกเมียเอาไว ้ เมือ ่ ตายไปแล ้วจึงเป็ นเปรต ชาวบ ้านก็ไม่รู ้แน่วา่ เป็ นใครกันแน่ แต่ ั เพราะคนนีต สงสย ้ ายไปจึงมีเปรต ลูกเมียก็ทําบุญอุทศ ิ ให ้แต่กย ็ ังไม่ หาย ครัน ้ ต่อมามีคนเห็นคือเห็นทายกคนนัน ้ นั่งห ้อยเท ้าไกวขาอยูท ่ ี่ แห่งใดแห่งหนึง่ ในวัด จึงได ้แน่ใจว่าเป็ นคนคนนีแ ้ น่ๆ แล ้วลูกเมียก็ตกใจ เทีย ่ วค ้นหาหลักฐาน ทีเ่ กีย ่ วกับเงินของสงฆ์ทแ ี่ กเก็บรักษาเอาไว ้ เสร็จแล ้วก็ได ้นํ าเงินมา แทน มามอบคืนสงฆ์ เปรตนัน ้ จึงได ้หาย ๏ พรรษาที่ ๒๐-๒๑ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองได ้พาโยมแม่ของท่านไปพักอยูก ่ บ ั หลวงปู่

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 5

บ ัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ ณ ว ัดราษฎรสงเคราะห์ (ว ัดป่าหนองแซง) บ ้าน หนองแซง ตําบลหนองบัวบาน อําเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ใน ปี พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗ และได ้อยูด ่ ้วยความสะดวกสบายทุกอย่าง ั บารมีของหลวงปู่ บัว ซงึ่ ระยะนัน ด ้วยอาศย ้ ก็ม ี คุณแม่ชเี ทียบ เป็ น ี วี่ ัดราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) ได ้พักอยูท หัวหน ้าแม่ชท ่ วี่ ัด ราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) นัน ้ เป็ นเวลา ๒ ปี อันเป็ นพรรษา ที่ ๒๐-๒๑ ของท่านพระอาจารย์ ๏ พรรษาที่ ๒๒-๓๖ สาเหตุทจ ี่ ะได้มาอยูว่ ัดป่าแก้วชุมพล ชาวบ ้านในหมูบ ่ ้านชุมพล บ ้านขาม บ ้านคําเจริญ ซงึ่ ชาวบ ้าน ๒-๓ หมูบ ่ ้านนีส ้ ว่ นมากจะอพยพมาจากเขตจังหวัดอุบลราชธานี และ ชาวบ ้าน ๒-๓ หมูบ ่ ้านนีส ้ ว่ นมากจะเป็ นลูกๆ หลานๆ ของหลวงปู่ ขาว อนาลโย แห่งวัดถํ้ากลองเพล จังหวัดหนองบัวลําภู ซงึ่ ชาวบ ้านเหล่านี้ ้ ่ ปี ทท ได ้ติดตามปฏิบต ั ริ ับใชหลวงปู่ ขาวมาโดยตลอด เชน ี่ า่ นพักจํา พรรษาทีภ ่ ค ู ้อ อําเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ชาวบ ้านเหล่านีจ ้ ะ ี เรือ ตามสง่ เสย ่ งเสบียงอาหารมาโดยตลอด เพราะทีภ ่ ค ู ้อนัน ้ ไม่ม ี ั ชาวบ ้านเอาเสบียงไปสง่ โดยให ้ หมูบ ่ ้านทีจ ่ ะบิณฑบาต จะต ้องอาศย ี ําถวายท่าน และสมัยทีท แม่ชท ่ า่ นพักจําพรรษาอยูท ่ ภ ี่ วู งั อําเภอบึง กาฬ จังหวัดหนองคาย เป็ นต ้น เฉพาะหมูบ ่ ้านชุมพล “ว ัดป่าแก้วชุมพล” แห่งนีเ้ ป็ นวัดที่ หลวงปู่ขาว ิ ธิ อนาลโย และ หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญวัดบ ้านดงเย็น (วัดประสท ้ และท่านได้อยูจ ธรรม) จังหวัดอุดรธานี นาพาริเริม ่ สร้างขึน ่ า พรรษาก ับชาวบ้านเป็นเวลา ๒ ปี คือ ปี ทีต ่ งว ั้ ัดทีแรกเป็นปี พ.ศ. ๒๔๙๔ และ ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ครัน ้ หลวงปู่ ขาวท่านกลับมาจากภูววั ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ นี้ ชาวบ ้านได ้ ไปขอพระจากหลวงปู่ ขาว เนือ ่ งจากทางวัดป่ าแก ้วชุมพลนีข ้ าดพระที่ จะอยูป ่ ระจําวัด หลวงปู่ ขาวท่านจึงได ้แนะนํ าให ้ไปนิมนต์ ท่านพระ อาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร ทีว่ ัดราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) บ ้านหนองแซง

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 6

ชาวบ ้านได ้พยายามติดตามนิมนต์ทา่ นพระอาจารย์อยูห ่ ลายครัง้ หลาย หน ตัง้ ๖-๗ ครัง้ ผลทีส ่ ด ุ ก็ประสบความสาํ เร็จ เหตุทท ี่ า่ นพระอาจารย์ ่ า่ นองค์เดียว แต่มโี ยมแม่ ไม่รับนิมนต์ง่ายนัน ้ ก็เพราะท่านคิดว่าไม่ใชท ของท่านด ้วย เกิดเมือ ่ ไปแล ้วโยมแม่ไม่สะดวกจะลําบาก เพราะอยูก ่ บ ั หลวงปู่ บัวนัน ้ สะดวกแล ้ว เมือ ่ ท่านเห็นว่าชาวบ ้านชุมพลเขาเอาจริงเอา จังและรับสภาพทุกอย่าง จะไม่ให ้ครูบาอาจารย์และโยมแม่ขด ั ข ้อง จึง ได ้รับนิมนต์ ท่านพระอาจารย์จงึ ได ้กราบนมัสการลาหลวงปู่ บัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ แล ้วพา ี ้วยกันไปวัด โยมแม่และน ้องสาวของโยมแม่ของท่าน ซงึ่ บวชเป็ นแม่ชด ป่ าแก ้วชุมพล พร ้อมกับข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐิตธมฺโม) จําได ้ ว่าเป็ นปี พ.ศ. ๒๕๐๘ เดือนเมษายน อันเป็ นพรรษาที่ ๒๒ ของท่าน พระอาจารย์ ๏ การมรณภาพ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร อยูจ ่ าพรรษาทีว่ ัดป่าแก้วชุม พลมาจนกระทงถึ ่ ั งปี พ.ศ. ๒๕๒๓ อ ันเป็นพรรษาที่ ๓๖ สริ อ ิ ายุ ได้ ๕๖ ปี ซงึ่ เป็นปี ทีท ่ า่ นประสบอุบ ัติเหตุเครือ ่ งบินตกได้ถงึ แก่ ิ เขตหมูท มรณภาพ ณ ท้องนาทุง ่ ร ังสต ่ ี่ ๔ ตาบลคลองส ี่ อาเภอ คลองหลวง จ ังหว ัดปทุมธานี เมือ ่ ว ันอาทิตย์ท ี่ ๒๗ เมษายน ิ พร้อมก ับครูบา พ.ศ. ๒๕๒๓ เวลาประมาณ ๑๔.๐๐ นาฬกา อาจารย์อก ี ๔ รูป คือ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 7

หลวงปู่ บุญมา ฐิตเปโม

หลวงพ่อวัน อุตฺตโม

๑. หลวงปู่บุญมา ฐ ิตเปโม วัดสริ ส ิ าลวัน บ ้านโนนทัน ตําบลโนนทัน อําเภอเมือง จังหวัด หนองบัวลําภู ๒. หลวงพ่อว ัน อุตฺตโม ่ งดาว วัดถํ้าอภัยดํารงธรรม (วัดถํ้าพวง) ตําบลปทุมวาปี อําเภอสอ จังหวัดสกลนคร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 8

พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ

พระอาจารย์สพ ุ ฒ ั น์ สุขกาโม

๓. ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ วัดเจติยาคิรวี ห ิ าร (วัดภูทอก) ตําบลนาแสง อําเภอศรีวไิ ล จังหวัด หนองคาย ๔. ท่านพระอาจารย์สพ ุ ัฒน์ สุขกาโม ิ ธิส วัดป่ าประสท ์ ามัคคี บ ้านต ้าย ตําบลบ ้านต ้าย อําเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


4 9

พระคณาจารย์ ๕ รูปทีม ่ รณภาพพร ้อมกันด ้วยเหตุเครือ ่ งบินตก เมือ ่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ เดือนเมษายน ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมว โร ได้ร ับอาราธนาจากทางสาน ักพระราชว ัง กรุงเทพฯ พร ้อมด ้วย พระคณาจารย์อน ื่ ๆ อีกจํานวน ๔ รูป คือ หลวงปู่บุญมา ฐ ิตเปโม, หลวงพ่อว ัน อุตฺตโม, ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏฺโฐ และท่าน พระอาจารย์สพ ุ ัฒน์ สุขกาโม พระคณาจารย์ทัง้ หมดจึงได ้ไปรวมกัน ิ ย์ลก ทีจ ่ ังหวัดอุดรธานีเพือ ่ ขึน ้ เครือ ่ งบิน เพราะลูกศษ ู หาต ้องการถวาย ความสะดวกและเพือ ่ ความรวดเร็วในการเดินทาง โดยได ้ขึน ้ เครือ ่ งบิน ทีจ ่ ังหวัดอุดรธานี เมือ ่ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ิ เขตหมูท ครัน ้ เมือ ่ เครือ ่ งบินมาถึงท ้องนาทุง่ รังสต ่ ี่ ๔ ตําบลคลองส ี่ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เหลือระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตรเศษ เครือ ่ งบินได ้ตัง้ ลําและลดเพดานบินเพือ ่ เตรียมลงสู่ สนาม แต่เนือ ่ งจากเครือ ่ งบินได ้ประสบพายุหมุนและประกอบกับฝนตก ี หลักตกลงทีท ิ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง หนัก จึงเสย ่ ้องนาทุง่ รังสต และคณะจึงได ้ถึงแก่มรณภาพ พร ้อมด ้วยผู ้โดยสารอีกเป็ นจํานวนมาก ิ เมือ ่ เวลาประมาณ ๑๔.๐๐ นาฬกา ผู ้โดยสารทีร่ อดชวี ต ิ เป็ นผู ้ทีน ่ ั่งทางสว่ นหางของเครือ ่ งบิน เพราะสว่ น หางของเครือ ่ งบินยังอยูใ่ นสภาพดี เมือ ่ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองและ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 0

คณะได ้ถึงแก่มรณภาพแล ้ว มีการนํ าศพไปตกแต่งบาดแผลที่ โรงพยาบาลภูมพ ิ ลอดุลยเดช แล ้วนํ าศพไปตัง้ บําเพ็ญกุศลทีว่ ัดพระศรี มหาธาตุ วรมหาวิหาร เขตบางเขน กรุงเทพฯ โดยอยูใ่ นพระบรมรา ชานุเคราะห์ทัง้ ๗ วัน วันแรกพระราชทานหีบทองทึบ วันต่อมาสมเด็จ ิ น พระนางเจ ้าสริ ก ิ ต ิ ฯิ์ พระบรมราชน ี าถ รับสงั่ ให ้เปลีย ่ นใหม่เพราะทรง เห็นว่าไม่สวยงาม จึงได ้เปลีย ่ นเป็ นหีบลายทอง

หลวงพ่อวัน-พระอาจารย์จวน-พระอาจารย์สพ ุ ัฒน์

ซากเครือ ่ งบินทีป ่ ระสบอุบต ั เิ หตุ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


หลังจาก ๗ วันแล ้ว ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ สมเด็จพระ ั ั อริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงฆราช สกลมหาสงฆปริ นายก ี าราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธสถิตมหาสม ทรงเป็ นเจ ้าภาพ และในวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ คณะรัฐบาล ิ ยานุ ซงึ่ มีพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็ นประธาน พร ้อมด ้วยคณะศษ ิ ย์ของพระคณาจารย์ทม ศษ ี่ รณภาพดังกล่าวซงึ่ อยูใ่ นกรุงเทพฯ เป็ น เจ ้าภาพ นับว่าเป็ นเกียรติประวัตแ ิ ก่ทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ทองและคณะ ทีจ ่ ากไปอย่างยิง่ ยวด ยังความปลืม ้ ปิ ตย ิ น ิ ดีแก่ญาติพน ี่ ้อง เพือ ่ น ิ ยานุศษ ิ ย์ และผู ้ทีเ่ คารพนับถือของท่านพระอาจารย์ สหธรรมิก คณะศษ สงิ ห์ทองและคณะอย่างหาทีส ่ ด ุ มิได ้ เมือ ่ ครบกําหนดการบําเพ็ญกุศลอุทศ ิ ถวายทีว่ ัดพระศรีมหาธาตุ ิ ศพท่านพระอาจารย์สงิ ห์ วรมหาวิหาร เขตบางเขน แล ้วก็ได ้อัญเชญ ่ ังวัดเดิมของ ทองและพระคณาจารย์อน ื่ ๆ อีกจํานวน ๔ รูป กลับไปสูย แต่ละท่าน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล ้าฯ ให ้หัวหน ้าแผนกพระราชพิธ ี ิ ศพพระคณาจารย์ตา่ งๆ คุณ เป็ นผู ้ดูแลโดยตลอด สําหรับรถยนต์ทเี่ ชญ ั พันธ์ แห่งโรงพยาบาลแพทย์ปัญญา เป็ นผู ้จัดหา หมอปั ญญา สง่ สม และได ้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลต่างๆ เป็ นอย่างดียงิ่

ศพพระคณาจารย์ทต ี่ งั ้ บําเพ็ญกุศลทีว่ ด ั พระศรีมหาธาตุฯ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 2

สมเด็จพระสงั ฆราช (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธฯ ทรงเป็ นเจ ้าภาพบําเพ็ญกุศลทีว่ ัดพระศรีมหาธาตุฯ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จร่วมบําเพ็ญกุศลทีว่ ัดพระศรีมหาธาตุฯ

สมเด็จพระเจ ้าลูกเธอ เจ ้าฟ้ าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ฯ เสด็จร่วมบําเพ็ญกุศลทีว่ ัดพระศรีมหาธาตุฯ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 3

ิ ศพพระ รถพยาบาลหลายคันจากโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ เชญ คณาจารย์ตา่ งๆ เดินทางจากวัดพระศรีมหาธาตุฯ เขตบางเขน ไปถึงวัด โพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี บรรดาพระภิกษุ สามเณร และประชาชนไป คอยเคารพศพอยูอ ่ ย่างคับคัง่ ิ ต่อมาเมือ ่ วันพุธที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๒๓ เวลา ๐๔.๐๐ นาฬกา ิ ศพได ้เคลือ ขบวนรถเชญ ่ นออกจากวัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร เขตบางเขน โดยมีรถตํารวจทางหลวงนํ าขบวน ถัดมาเป็ นรถหลวง, รถ ิ ศพท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ท่านพระอาจารย์สมชาย ฐิตวิ ริ โิ ย และรถเชญ ิ ทองและคณะ ตามลําดับ เมือ ่ เวลาประมาณ ๐๗.๐๐ นาฬกาเศษ ิ ศพได ้มาถึงยังจังหวัดนครราชสม ี า มีคณะพระภิกษุ ขบวนรถเชญ ั สามเณรโดยการนํ าของ พระราชสงวรญาณ (หลวงพ่อพุธ ฐานิ ั ดิท ิ วงศาจารย์ และ พระเทพ โย) เมือ ่ ครัง้ ดํารงสมณศก ์ ี่ พระชน ั ดิ์ สุทธาจารย์ (หลวงปู่โชติ คุณสมฺปนฺโน) เมือ ่ ครัง้ ดํารงสมณศก ั น พร ้อมด ้วยคณะอุบาสก-อุบาสก ิ า ได ้นํ าข ้าว ที่ พระครูคณ ุ สารสมปั ิ ศพและมาเคารพศพกันเป็ นจํานวนมาก ห่อมาต ้อนรับคณะเชญ หลังจากพระฉันอาหารและเจ ้าหน ้าทีร่ ับประทานอาหารเสร็จแล ้ว ิ ศพได ้ออกเดินทางต่อไปถึงวัดโพธิสมภรณ์ ตําบลหมาก ขบวนรถเชญ ิ ทางวัด แข ้ง อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เมือ ่ เวลา ๑๒.๓๐ นาฬกา โพธิสมภรณ์และชาวอุดรธานีได ้จัดต ้อนรับเป็ นอย่างดี ผู ้ว่าราชการ จังหวัดอุดรธานีได ้นํ าประชาชนหลายจังหวัดมารอเคารพศพ ซงึ่ แล ้ว ิ ิ ศพจึงได ้แยกย ้ายกัน เสร็จเวลาประมาณ ๑๔.๐๐ นาฬกาเศษ รถเชญ ไปยังวัดต่างๆ สาํ หรับศพท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองก็ได ้ไปถึงวัดป่ า

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 4

ิ ศพถึงวัดได ้รับความสะดวกสบายปลอดภัย แก ้วชุมพล นับว่าการเชญ ทุกประการ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร ได ้มรณภาพเมือ ่ สริ ริ วมอายุได ้ ๕๖ ปี พรรษา ๓๖ โดยท่านได ้มรณภาพลงพร ้อมกันกับพระคณาจารย์ อืน ่ ๆ อีกจํานวน ๔ รูป ท่ามกลางความเศร้าสลดอาล ัยของคณะ ิ ยานุศษ ิ ย์ และพุทธศาสนิกชน สงฆ์ เพือ ่ นสหธรรมิก คณะศษ ี ครูบาอาจารย์พระป่ากรรมฐาน ทวไปเป ่ั ็ นยิง่ น ัก ทีต ่ อ ้ งสูญเสย สายท่านพระอาจารย์มน ่ ั ภูรท ิ ตฺโต ไปพร้อมก ันทีเดียวถึง ๕ รูป ี ของวงการสงฆ์ครงใหญ่ ด้วยก ัน ถือได้วา่ เป็นการสูญเสย ั้ มากอีก ครงหนึ ั้ ง่ ของเมืองไทย

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 5

เจดียบ ์ รรจุอ ัฐ ิธาตุพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร ณ วัดป่ าแก ้วชุมพล ต.บ ้านชุม อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 6

๏ ได้ร ับความไว้วางใจ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร ได ้รับความไว ้วางใจจากท่าน พระอาจารย์มหาบัวมาก ท่านพระอาจารย์มหาบัวมักจะมอบหมายให ้ ่ เป็ นประธานด ้านบรรพชต ิ ท่านทําหน ้าทีบ ่ างอย่างแทนท่าน อย่างเชน ในการดําเนินงานศพของหลวงปู่ บัว สริ ป ิ ณ ุ ฺ โณ ณ วัดราษฎรสงเคราะห์ (วัดป่ าหนองแซง) จังหวัดอุดรธานี ซงึ่ ท่านได ้ทําหน ้าทีเ่ รียบร ้อยทุกประการ ท่านพระอาจารย์มหาบัวได ้ ปรารภว่า หากท่านละขันธ์เมือ ่ ใด ขอมอบให ้ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง เป็ นประธานในการดําเนินงานศพของท่าน นอกจากนัน ้ ท่านพระอาจารย์มหาบัวยังหวังจะให ้ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ทองเป็ นหัวหน ้าหมูค ่ ณะพระป่ ากรรมฐานแทนองค์ทา่ นด ้วย แต่บงั เอิญ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองได ้ถึงแก่มรณภาพไปก่อน และท่านพระ อาจารย์มหาบัวต ้องกลับมาเป็ นประธานในการจัดงานศพให ้

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 7

เจดียบ ์ รรจุอ ัฐ ิธาตุพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร ณ วัดป่ าแก ้วชุมพล จ.สกลนคร (อีกมุมหนึง่ ) ๏ ปฏิปทาด้านข้อว ัตรปฏิบ ัติ ปฏิปทาด ้านข ้อวัตรปฏิบต ั ข ิ องท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองนัน ้ เป็ น ่ เดียวกันกับปฏิปทาของครูบาอาจารย์กรรมฐาน คือตัวท่านพระ เชน ิ ย์ดเู ป็ นตัวอย่างเสมอ อาจารย์จะปฏิบต ั ต ิ นให ้ลูกศษ ่ การรักษาศล ี โดยเคร่งครัด และท่านพระอาจารย์จะเทศน์ อาทิเชน ี ของลูกศษ ิ ย์ของท่านอย่าง อบรมและควบคุมปฏิปทาด ้านการรักษาศล ิ ย์ผด ี เคร่งครัด พร ้อมทัง้ ดุดา่ ว่ากล่าวเมือ ่ ลูกศษ ิ พลาดด ้านศล ิ ย์จะก ้าวหน ้าทางด ้านสมาธิภาวนานัน เพราะการทีล ่ ก ู ศษ ้ ต ้องมีพน ื้ ฐาน ี เป็ นทีร่ องรับ สว่ นการทําความพากเพียรเดินจงกรม นั่ง ทางด ้านศล ิ ย์ได ้เห็นอย่างสมํา่ เสมอทุกวัน สมาธิภาวนานัน ้ ท่านจะปฏิบต ั ใิ ห ้ลูกศษ คือตอนเชา้ ท่านจะเดินจงกรมก่อนออกบิณฑบาต ฉันจังหันเสร็จท่าน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 8

จะพักประมาณเทีย ่ ง แล ้วจะลงเดินจงกรมหรือนั่งสมาธิภาวนาต่อ ครัน ้ ถึงเวลาปั ดกวาดลานวัด ท่านจะไม่ยอมขาดถ ้าไม่มธี รุ ะจําเป็ นจริงๆ ตอนพลบคํา่ เวลา ๕-๖ โมงเย็น ท่านจะเดินจงกรมเป็ นประจําทุกวัน โดยจะขึน ้ จากทางเดินจงกรมประมาณ ๒ ทุม ่ ของทุกวัน บางครัง้ ท่าน ้ ้ ไปธุระทางไกลมา พระเณรไปจับเสนถวาย พอจับเสนเสร็ จแล ้วแทนที่ ท่านจะพักผ่อน ท่านกลับลงเดินจงกรมอีก นอกจากนัน ้ ท่านจะเดิน สารวจดูการปฏิบ ัติ การทาความพากเพียรของพระเณร โดย บางครงท่ ั้ านเดินไปมืดๆ ไม่ใชไ้ ฟฉาย และออกตรวจไม่เป็นเวลา แน่นอน ท่านพยายามขนาบพระเณรให้เร่งทาความเพียร พร้อม ก ับเทศน์อบรมสง่ ั สอนอยูเ่ สมอๆ ี งดังหน่อยหรือ ท่านห ้ามพระเณรไปคุยกับตามกุฏ ิ ฉั นนํ้ าร ้อนคุยกันเสย ้ ้ ่ สบู่ ใชสบู ้ แ ใชเวลานานเกิ นควร ใชของไม่ ประหยัด เชน ่ ล ้วทิง้ ไว ้ตาก แดดตากฝนไม่เก็บไว ้ในกล่อง ท่านคอยตรวจตราดูแลข ้อบกพร่อง ต่างๆ ของพระเณรและตักเตือนว่ากล่าวอยูเ่ สมอ ถ ้าใครทําความเพียร ดี ท่านมักจะชมเชยให ้กําลังใจในด ้านปฏิบต ั แ ิ ก่ผู ้นัน ้

ศาลาวัดป่ าแก ้วชุมพล จ.สกลนคร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


5 9

รูปหล่อหลวงปู่ บุญจันทร์ กมโล-หลวงปู่ เพียร วิรโิ ย ประดิษฐาน ณ วิหารวัดป่ าแก ้วชุมพล จ.สกลนคร ้ อยปัจจ ัยส ี่ ๏ การใชส ้ ี่ ัน ้ างประหยัดและมัธยัสถ์ การใชสอยปั จจัยสน ้ ท่านพระอาจารย์ใชอย่ ่ ผ ้าต่างๆ ของท่านจะปะชุนแล ้วปะขุนอีก ผ ้าอาบนํ้ าบางผืน เสมอ เชน เก่าจนขาดรุง่ ริง่ ท่านก็ไม่ยอมทิง้ ยังใชนุ้ ่งอยูท ่ งั ้ ทีผ ่ ้าอาบนํ้ ามีไม่อดใน ี จนจะไม่มแ วัด เวลากลางคืนท่านจะจุดตะเกียงโป๊ ะเล็กๆ หรีล ่ งเสย ี สง ้ ิ ย์ อีกประการ ท่านไม่ยอมใชของฟุ่ มเฟื อยเพือ ่ ให ้เป็ นตัวอย่างแก่ลก ู ศษ ่ สร ้างกุฏ ิ วิหาร หรืออะไรต่อ หนึง่ ท่านไม่ชอบงานก่อสร ้างทุกชนิด เชน อะไรในวัด งานต่างๆ ท่านไม่ยอมให ้มี ท่านชอบให ้พระเณรสร ้างด ้านจิตใจ คือ เดินจงกรม นั่งภาวนาเพือ ่ มรรคผลนิพพานมากกว่าสร ้างสงิ่ ของวัตถุ ี การภาวนา ท่านจึงไม่ ภายนอก ท่านว่าการก่อสร ้างนัน ้ เป็ นเหตุให ้เสย อยากให ้มี

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 0

ั ๏ ธรรมปฏิสนถาร ั ถาร ท่านพระอาจารย์มค ในด ้านธรรมปฏิสน ี วามเมตตาสูงต่อคณะ ี และปฏิบต ศรัทธาญาติโยมทีม ่ าให ้ทาน รักษาศล ั ธิ รรมทีว่ ัดป่ าแก ้วชุม พล คณะแล ้วคณะเล่าท่านจะเมตตาอบรมธรรมะ พร ้อมทัง้ เล่า ประสบการณ์ด ้านการภาวนาของท่านให ้ฟั ง บางครัง้ ก็เล่าเรือ ่ งผี ซงึ่ มี ่ ย่างรอบคอบที่ ทัง้ ผีจริงและผีสงั ขารหลอกลวง ท่านจะดูแลเอาใจใสอ ี และปฏิบต เกีย ่ วกับคณะศรัทธาญาติโยมทีม ่ ารักษาศล ั ธิ รรม ทัง้ ทีพ ่ ัก และเรือ ่ งอาหารการกิน ทุกคณะทีม ่ าบําเพ็ญภาวนาต่างกันสรรเสริญ คุณธรรมข ้อนีข ้ องท่านพระอาจารย์เป็ นอย่างยิง่ ว่าได ้รับความอบอุน ่ สบายจิตสบายใจมากเมือ ่ มาปฏิบต ั ธิ รรมทีว่ ด ั ป่ าแก ้วชุมพล เมือ ่ ถึง กําหนดผู ้มาปฏิบต ั ธิ รรมจะลาท่านกลับ ท่านจะเทศน์อบรมธรรมะสง่ ท ้ายเกือบทุกครัง้ คณะศรัทธาญาติโยมผู ้ทีม ่ าแล ้ว มักจะกลับมาอีก พร ้อมกับแนะนํ า ิ ย์ทา่ นอยูเ่ รือ ผู ้สนใจปฏิบต ั ธิ รรมมาเป็ นลูกศษ ่ ยๆ ตราบจนวาระสุดท ้าย ของท่านพระอาจารย์ เรือ ่ งเล่าประวัตข ิ องท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร นี้ ข ้าพเจ ้า (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐิตธมฺโม) ไม่ได ้นํ ามาเล่าให ้ ื่ ว่าประวัตย ฟั งทัง้ หมด เล่าเฉพาะบางสว่ นเท่านัน ้ จึงได ้ให ้ชอ ิ อ ่ อุน ่ (ท่านพระอาจารย์อน ุ่ ฐ ิตธมฺโม)

พระอาจารย์อน ุ่ (อุน ่ หล ้า) ฐิตธมฺโม ผู ้เขียนประวัตพ ิ ระอาจารย์สงิ ห์ ทอง ธมฺมวโร

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 1

๏ พระธรรมเทศนา • ปั จจุบน ั ทุกวันนีก ้ ็เหมือนกัน รูปทีเ่ ป็ นอยู่ เป็ นของสกปรกทัง้ นัน ้ ไม่วา่ รูปหญิง รูปชาย รูปพระ รูปฆราวาส เป็ นเหมือนกันหมด เหตุ ใดมันจึงเป็ นอย่างนัน ้ ของทีเ่ ราขบฉันรับประทานลงไปเป็ นของ ี ทัง้ นัน ่ องดิบของดีอะไร เป็ นต ้ม เน่า ของเหม็น ของเสย ้ ไม่ใชข เป็ นแกง เป็ นผัดเป็ นทอดต่างๆ ถ ้าเราทิง้ เอาไว ้ ของเหล่านัน ้ จะ ี อยูไ เน่า จะเหม็น จะเสย ่ ปคืนสองคืนมีกลิน ่ แล ้ว นีร่ า่ งกายของเรา ทีเ่ อาของเน่าของเหม็นมาบํารุงบําเรอ มันก็เป็ นก ้อนของเน่า ของ ่ องสวยงามอะไร เพราะเหตุนัน เหม็นปฏิกล ู ไม่ใชข ้ ในร่างกายของ เราทัว่ ไป ไหลออกทางทวารใดก็มแ ี ต่ของสกปรกเน่าเหม็น ไม่ เป็ นของดิบของดี ของหอมหวาน มีแต่ของเน่า เพียงแต่ลม ออกมาเท่านัน ้ มันก็ยงั มีกลิน ่ แสดงว่ามันเน่าทัง้ ตัว มันเหม็นทัง้ ตัว ไม่มอ ี ะไรทีจ ่ ะดีวเิ ศษ • เวลาเราโกรธด่าว่าทุบตีเขา เราก็เป็ นทุกข์ ทัง้ ๆ ทีจ ่ ต ิ มุง่ อยากจะ ให ้คนนัน ้ คนนีเ้ ขาดี จึงดุดา่ ว่ากล่าว โกรธเขาถ ้าเขาไม่ทําตาม แต่ เราสอนเขาด ้วยความโกรธในจิตในใจนัน ้ ไม่เป็ นผลประโยชน์ เหมือนกับเอานํ้ าร ้อนๆ ไปรดผัก แทนทีม ่ น ั จะงอกงามขึน ้ ไม่เป็ น อย่างนัน ้ มันไหม ้มันตายไปหมด เพราะนํ้ าทีเ่ ราไปรดมันร ้อนฉันใด จิตใจของคนทีโ่ กรธไปแนะสอนคนอืน ่ บอกคนอืน ่ ด ้วยความโกรธ จึงเป็ นโทษเป็ นทุกข์ เขาไม่ยน ิ ดีรับคําสอน

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 2

ท่านพระอาจารย์มน ั่ ภูรท ิ ตฺโต

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 3

ั • ในระหว่างการกล่าวธรรมปฏิสนถาร ในว ันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๒๐ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองได ้เล่าให ้ฟั งว่าท่านพระ ื ต ัวเล็กๆ ม ันเรียนง่าย อาจารย์มนเคยสอนท่ ่ั านว่า “หน ังสอ เรียนแล้วก็หลง เรียนต ัวใหญ่ คือ เรียนกาย เรียนใจของ ้ ะ ไม่มห ต ัวเอง ถ้าได้ต ัวนีล ี ลง” ท่านอาจารย์สงิ ห์ทองเล่าและ กล่าวเน้นอีกด้วยว่า “จริงของท่าน ไม่รอ ู ้ ันอืน ่ แต่ขอให้รใู ้ จ ของตน” “ไม่มอ ี น ั อืน ่ ...ก็ขอให ้มีอรรถ มีธรรมประจําตัว” “มันประเสริฐ วิเศษอยูแ ่ ล ้ว” ไม่ต ้องหาอะไรมาเพิม ่ เติม...ไม่เห็นไม่รู ้อะไรก็ไม่เป็ นไร ขอให ้เห็น ให ้เป็ นในเรือ ่ งของอรรถเรือ ่ งของธรรมเท่านัน ้ เป็ นดี เท่านัน ้ เป็ นพอ ฯลฯ ๏ หมากกระดานชวี ต ิ เราทุกคนทีไ่ ด ้มานั่งร่วมวงกันอยูเ่ ดีย ๋ วนี้ เมือ ่ เสร็จจากงานกันแล ้วก็ จะต ้องแยกย ้ายกันไป กลับบ ้านของตน และถ ้ามองให ้ลึกลงไปอีก ก็จะรู ้ว่า ต่างคนต่างก็จะต ้องจากกันไปจริงๆ ไม่วน ั ใดก็วันหนึง่ ไป ตามทางกรรมของแต่ละคน แล ้วแต่กรรมทีเ่ ราทํากันมา

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 4

มัจจุราช คือ ความตาย ไม่เคยเห็นแก่หน ้าใคร เขาไม่มก ี ารไว ้หน ้า ไม่วา่ ชาย ไม่วา่ หญิง เขาไม่ไว ้หน ้าทัง้ นัน ้ จะติดขัดอะไรอยู่ เขาก็ ไม่รับรู ้ ลูกจะเล็กอยูก ่ ต ็ าม พ่อแม่จะป่ วยอยู่ ไม่มค ี นคอยชว่ ยเลีย ้ ง ดู เขาก็ไม่รับรู ้เรือ ่ งอย่างนีเ้ ราเคยคิดคํานึงถึงกันไว ้บ ้างไหม ? ควรพิจารณาเรือ ่ งความตายให ้เข ้าใจว่า ต่อให ้มีพรรคพวกมากมาย ั เพียงไหน จะมียาดีสก ั เท่าใด จะ เพียงใด มีเวทมนตร์คาถาดีสก บําบัดรักษาความเจ็บป่ วยได ้ ก็ชวั่ กาลชวั่ สมัย ระงับดับได ้ก็ชวั่ เวลาเป็ นครัง้ คราว และแล ้วผลทีส ่ ด ุ ก็ต ้องตายเหมือนๆ กัน เรือ ่ งห ยูกเรือ ่ งยาทีร่ ักษาได ้ ก็เมือ ่ มันยังไม่ถงึ คราวถึงสมัยถึงกาลทีค ่ วร ตายเท่านัน ้ ความตายจึงเป็ นภัยอันตรายซงึ่ ไม่เป็ นทีพ ่ งึ ปรารถนา ของใครๆ แต่กไ ็ ม่มใี ครทีจ ่ ะมาแก ้ไข ยกเลิกหรือหลีกเลีย ่ งความ ตายเอาไว ้ได ้ ทุกคนจึงต ้องตาย ้ บาปบุญทีต ่ นสะสมรวบรวมเอาไว ้นั่นแหละ คือ เครือ ่ งใชสอยของ ตนทีจ ่ ะติดตามไป แม ้บาปบุญจะป้ องกันความตายไว ้ไม่ได ้ แต่ ทว่าบาปบุญนัน ้ จะเป็ นกําลังเป็ นเสบียงทีจ ่ ะคอยติดสอยห ้อยตาม ไปอํานวยทุกข์สข ุ ให ้เราในภพต่างๆ เมือ ่ ตายไปแล ้วก็จะต ้อง ั ทีต แสวงหาภพใหม่ชาติใหม่ หาทีอ ่ ยูท ่ อ ี่ าศย ่ นต ้องการ แต่ความ ต ้องการจะได ้สมหมายนัน ้ ก็เพราะเหตุบญ ุ กุศลทีต ่ นสร ้างสม เอาไว ้ คนทีไ่ ม่มบ ี ญ ุ กุศล อยากจะไปเกิดในสถานทีด ่ ก ี ็ไปไม่ได ้ ถ ้าเปรียบชวี ต ิ เหมือนหมากกระดาน เมือ ่ ตายแล ้วก็ล ้มกระดานชวี ต ิ ไปชวี ต ิ หนึง่ สงิ่ ของทรัพย์สมบัตท ิ างโลกทีม ่ อ ี ยูก ่ ็ต ้องกวาดลง

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 5

กระดานไป แล ้วเริม ่ ตัง้ ใหม่กน ั อีกครัง้ ในชาติใหม่ แบบแผนในการ ตัง้ กระดานใหม่จะกําหนดด ้วยเวรกรรม บาปบุญของแต่ละคน ไม่ น ้อยไปกว่านัน ้ และจะไม่เหนือไปกว่านัน ้ ด ้วย ดังนัน ้ ก่อนจะมีการ ล ้มกระดานชวี ต ิ นี้ เราควรทําอะไรสาํ หรับการเตรียมตัง้ หมากใน กระดานชวี ต ิ ใหม่ของเราด ้วย จงอย่าประมาทในชวี ต ิ นี้ จงรีบทํา ความดี ละบาป ชาํ ระใจของตนเองอยูเ่ สมอๆ เถิด หมากกระดานเล่นแล ้วก็ตงั ้ ใหม่ ถ ้าผู ้เล่นมีความประสงค์อยากเล่น ่ เดียวกับชวี ต ต่อ เชน ิ เมือ ่ โลดแล่นไปจนตายแล ้วก็เกิดใหม่ ตราบ เท่าทีจ ่ ต ิ ยังติดยึดกับโลกียสมบัตท ิ งั ้ หลายอยู่ จิตนีก ้ จ ็ ะพาไปก่อ ิ้ ในเกมหมากกระดานนัน ชวี ต ิ ใหม่ไม่รู ้จักจบสน ้ เมือ ่ ผู ้เล่นไม่ ต ้องการเล่นต่อไปอีกแล ้ว คือ หมดความอยากแล ้ว หมากกระดาน ่ เดียวกันกับชวี ต ก็จะถูกวางทิง้ เฉยอยูอ ่ ย่างนัน ้ เชน ิ จิตทีห ่ มดความ ติดยึดในสงิ่ ทัง้ ปวง ชวี ต ิ ร่างกายทัง้ หลายก็จะสงบระงับ ไม่ต ้องมา ่ กัน วนเวียนโลกโลกียน ์ อ ี้ ก ี เชน ๏ ห ัดปฏิบ ัติ ปฏิบต ั น ิ ัน ้ ก็หด ั กันทีจ ่ ต ิ ถ ้าจิตเรามีธรรมในตัว ก็สามารถทีจ ่ ะนํ าเอา สงิ่ ทีต ่ วั ประสบพบเห็น เข ้ามาสอนจิตใจของตัวเองได ้ สามารถที่ จะคิดพิจารณาในเรือ ่ งในแง่ทต ี่ รงกันข ้ามกับโลกทีเ่ ขาคิดกันได ้ จะไปดูหนัง ฟั งลิเกก็อาจเกิดสลดสมเพช แทนทีจ ่ ะเพลิดเพลินไป กับเขา แต่กลับมาคิดดูเห็นความจริงอีกแง่วา่ คนทีเ่ ล่นอยูน ่ ท ี้ เี่ ขา เพลิดเพลินอยูก ่ ็ด ี คนทีย ่ น ื ชม นั่งชมกันอยูน ่ เี้ ป็ นร ้อย เป็ นพันก็ด ี

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 6

คนเหล่านีอ ้ ก ี ไม่ถงึ ร ้อยปี ก็จะตายหมด ไม่มใี ครเหลือหลอ เราผู ้ที่ ่ งิ่ ดูอยูน ่ ก ี่ ท ็ ํานองเดียวกัน ดังนัน ้ ทีด ่ น ู ่าเพลิดเพลินอยูน ่ ม ี้ น ั ไม่ใชส ทีน ่ ่ากําหนัดเพลิดเพลินแต่อย่างไรเลย ความตายนัน ้ มีด ้วยกันทุกคน ถ ้าไม่คด ิ ถึงความตาย มีแต่อยากได ้ อย่างเดียว มันก็ลม ุ่ มันก็หลง ลืมเนือ ้ ลืมตัวกันไป ใจทํากําเริบ ิ สาน ถ ้าหากระลึกถึงความตายอยูเ่ สมอๆ ใจนัน เสบ ้ จะค่อยๆ คลาย ความลุม ่ หลงต่างๆ คลายความกําหนัดยินดีในโลกลงได ้ ๏ เหนือ ่ ยจนตาย ทีไ่ หนๆ ในโลก ไม่วา่ ประเทศไทย หรือในต่างประเทศ จะพบว่ามี ั ทีห บ ้านเรือนทีอ ่ ยูอ ่ าศย ่ รูหราใหญ่โตสวยงามให ้เห็นกันอยู่ ั ใน มากมาย และถ ้าจะถามว่า จิตใจของบุคคลทีอ ่ ยูท ่ อ ี่ าศย บ ้านเรือนทีส ่ วยงามเหล่านัน ้ จะมีความเยือกเย็นเป็ นสุขกว่าใจของ คนอืน ่ ๆ ทีม ่ ฐ ี านะตํา่ กว่าเขาหรือไม่ ก็คงจะตอบได ้ว่า ไม่แน่เสมอ ไป ทัง้ นีก ้ ็คงเพราะว่าเรือ ่ งของวัตถุนัน ้ ไม่ใชเ่ ป็ นสงิ่ ทีจ ่ ะก่อให ้เกิด ่ งิ่ ทีจ ความสงบทีแ ่ ท ้จริงให ้กับคนเราได ้ วัตถุไม่ใชส ่ ะมาชาํ ระล ้าง จิตใจของมนุษย์ได ้ บ ้านเรือนทีห ่ รูหราจึงไม่ใชเ่ ครือ ่ งหมายทีจ ่ ะ ั อยูใ่ นบ ้านหลังนัน บอกได ้ว่า ผู ้คนทีอ ่ าศย ้ มีจต ิ ใจสงบมากน ้อย เพียงไร สุข ทุกข์ อยูท ่ ใี่ จ อยูท ่ ไี่ หน ถ ้าใจมันสงบระงับได ้ มันก็เป็ นสุขได ้ ฉะนัน ้ การฝึ กอบรมใจจึงเป็ นสงิ่ ทีส ่ าํ คัญยิง่ กว่าสงิ่ ใด ถ ้าจิตใจมีแต่

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 7

ความยึดถือหลงใหลในสงิ่ ต่างๆ อยูอ ่ ย่างถอนตัวไม่ขน ึ้ จิตใจก็จะ มีแต่ความเดือดร ้อนวุน ่ วายอยูต ่ ลอดไป ทีย ่ งุ่ เหยิงวุน ่ วายกันอยูท ่ ก ุ วันนีก ้ ็เพราะเรือ ่ งของกาย เรือ ่ งของใจทํางานอะไรก็เพือ ่ กาย เพือ ่ ใจ ทัง้ นัน ้ วิง่ วุน ่ กันอยูต ่ งั ้ แต่วน ั เกิดจนวันตาย ก็เพราะเรือ ่ งของ กายกับใจ คนเรามัวแต่วน ุ่ วายในงานต่างๆ ทัง้ กลางวันกลางคืน โดยสว่ นใหญ่ก็เป็ นงานภายนอก งานสะสมสร ้างฐานะของแต่ละ บุคคลทัง้ นัน ้ วุน ่ วายจนนั่งไม่ตด ิ เดินไม่ตรง หรือนอนไม่หลับกัน ่ ไปก็ม ี เหล่านีก ้ ็เพราะความยึดถือนั่นแหละเป็ นตัวการสําคัญ เชน ้ ้ เกิดยึดถือว่า เราจะมีฐานะสูเขาไม่ ได ้ ถ ้าจะถามว่าสูใคร มันก็มค ี น ทีม ่ ฐ ี านะดีกว่าเราให ้เปรียบเทียบเสมอนั่นแหละ ึ ว่าฐานะตัวดีพอทีจ เมือ ่ ไรจะรู ้สก ่ ะหาความสุขกับมันได ้จริงๆ บ ้าง ใครมีความพอได ้ คนนัน ้ ก็จะมีความสุขได ้ พอจริงก็สข ุ จริง พอ ี บ ้าง หัดวางเสย ี หน่อย ก่อนที่ ได ้มากก็สข ุ ได ้มาก หัดวางเสย สงั ขารจะบังคับให ้วางก่อนทีค ่ วามเฒ่าชรา และความตาย หรือ โรคร ้ายจะเป็ นผู ้บังคับให ้วาง ถ ้ายังไม่หด ั วางจะเป็ นผู ้ทีเ่ หนือ ่ ยจน ตาย แล ้วก็ขนอะไรไปด ้วยไม่ได ้เลยในทีส ่ ด ุ ๏ บนทางจงกรม ท่านพระอาจารย์อน ุ่ (อุน ่ หล้า) ฐ ิตธมฺโม ได ้เมตตาเล่าไว ้ใน ื ประวัตย หนังสอ ิ อ ่ ของพระอาจารย์สงิ ห์ทองว่า ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๗ ซงึ่ เป็ นพรรษาที่ ๙ ถึงพรรษาที่ ๑๑ ของ ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ท่านได ้จําพรรษาอยูท ่ วี่ ด ั ป่ าบ ้านห ้วย

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 8

ทราย ตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหาร โดยมีทา่ น พระอาจารย์หลวงปู่ มหาบัว ญาณสมฺปนฺ โน เป็ นผู ้นํ า ท่านพระ อาจารย์สงิ ห์ทองเคยเล่าให ้ท่านพระอาจารย์อน ุ่ (อุน ่ หล ้า) ฟั งว่า สมัยนัน ้ เหมือนกับว่าพระเณรในวัดนัน ้ จะไม่ค ้างโลกกัน พอตืน ่ นอนขึน ้ มา มองไปเห็นแต่แสงไฟ (แสงโคมตะเกียงทีจ ่ ด ุ ไว ้) สว่าง ตามกุฏข ิ องพระเณรอยูเ่ หมือนกับไม่นอนกัน สําหรับท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ท่านก็เร่งความเพียรเต็มที่ จน ทางจงกรมลึกเป็ นร่อง ทําให ้พระเณรต ้องถมทางจงกรมให ้บ่อยๆ ท่านเล่าว่าวันหนึง่ ท่านเดินจงกรมอยู่ ระยะนัน ้ เป็ นหน ้าหนาว อากาศหนาวมาก ท่านต ้องห่มผ ้า ๓-๔ ผืน เดินจงกรม พอเดิน ไปๆ ดึกเข ้า ท่านก็งว่ งนอนมากเพราะคราวนัน ้ ท่านอดนอนมาได ้ สามคืนแล ้ว เดินไปๆ ผ ้าห่มผืนนอกสุดก็หลุดตกลงมาโดยไม่รู ้ตัว พอเดินไปถึงหัวทางจงกรมแล ้ววกหันกลับมา เห็นผ ้าห่มของ ื หรืออะไรหนอ ?... เพราะสมัยนัน ื ยังมี ตัวเองก็ตกใจ นึกว่าเสอ ้ เสอ ...เดือนก็ไม่สว่างเท่าไร... ท่านจึงกระทืบเท ้าดู มันก็นงิ่ ... เอ๊ะ ! มันอะไรนา ?...เลยค่อยๆ ขยับเท ้าเข ้าไปๆ... ก ้มดูใกล ้ๆ แล ้วเอา เท ้าเขีย ่ ดู... ทีไ่ หนได ้เป็ นผ ้าห่ม ท่านก็เลยหัวเราะขําอยูค ่ นเดียว พักใหญ่ เลยหายง่วง... ฯลฯ “ประโยชน์อะไรกับทรัพย์สมบัต ิ ซงึ่ เอาแต่เก็บไว ้ ั รู ประโยชน์อะไรกับรีพ ้ ล ซงึ่ ไม่ใชต่้ อสูศ้ ต ้ องบ่น ประโยชน์อะไรกับพระคัมภีร ์ ซงึ่ ละเลยไม่ใชท่ ประโยชน์อะไรกับร่างกาย ซงึ่ เจ ้าของไม่รู ้จักข่มใจจากความคิด ชวั่ ”

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


6 9

๏ สติ ธรรมทีค ่ วรเจริญให ้มีมากนัน ้ คือ สติ สตินถ ี้ งึ มีมากเท่าไรก็ไม่เป็ น ภัย สติมม ี ากเท่าไรยิง่ ดี มีสติมากใจมันจะไว ใจมันจะทัน เหตุการณ์ เพียงอะไรนิดอะไรหน่อยทีจ ่ ต ิ คิดปรุงภายใน ใจมันก็รู ้ สติจะทําให ้ไว รู ้คัดเลือกเอาแต่สงิ่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ เหมือนกับคน ตาดี สงิ่ ไหนไม่ดเี ขาเห็น เขาก็ไม่จบ ั ไม่ต ้อง ไม่เอามา สว่ นคนตา บอด เมือ ่ มองไม่เห็น เมือ ่ เขาไม่รู ้ เขาก็จับได ้ทุกสงิ่ ทุกอย่างแม ้แต่ ไฟก็ยังเหยียบ ยังจับได ้ เพราะตาไม่เห็น คนตาดีเขาก็ต ้องเว ้น ไม่ ่ ต่ไฟ ถึงหนามหรือสงิ่ สกปรกอืน ไปเหยียบ ไม่ไปจับ ไม่ใชแ ่ ๆ เขา ก็เลีย ่ ง ไม่ไปเหยียบ ไม่ไปจับ ่ กัน ถ ้าเรามีอยูใ่ นจิตในใจ จะทํา จะพูด จะคิด สงิ่ ใด ถ ้า สติก็เชน เรามีสติ สติจะพาเราเลีย ่ งสงิ่ ทีเ่ ป็ นภัย เป็ นอันตรายทัง้ หลาย เรือ ่ ง สติจะหาทีไ่ หน จะไปหาทีไ่ หนก็ไม่เจอ ถ ้าหากไม่ดท ู ต ี่ วั ของตัว ต ้องฝึ กต ้องหัดให ้รู ้จักกําหนดพิจารณาดูอยูภ ่ ายนอก อย่าไปดูท ี่ อืน ่ สําคัญทีต ่ ้องกําหนดรู ้ ให ้ดูรู ้ เข ้าใจตามความเป็ นจริง รู ้จัก ั ปชญ ั ญะ มีปัญญา รู ้จักทําความ พิจารณาไตร่ตรองทีเ่ รียกว่า มีสม เข ้าใจตามความเป็ นจริง ความรู ้นีจ ้ ะเป็ นสุขก็ตาม จะเป็ นทุกข์ก็ ตาม เฉยๆ ก็ตาม มันรู ้ ตืน ่ อยู่ หลับอยูม ่ น ั ก็รู ้ นีค ่ อ ื เรือ ่ งของจิต สําคัญทีจ ่ ต ิ อย่าไปติดข ้อง สติไม่มท ี างเจริญขึน ้ มาได ้ ถ ้าหากเราไม่มป ี ั ญญาสอนใจให ้รู ้จัก พิจารณาแก ้ไขใจของตัว ไม่ใชว่ า่ มันจะโง่เง่าเขลาอยูต ่ ลอด ไม่ใช ่

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


7 0

ว่ามันจะติดข ้องอยูร่ ํา่ ไป เมือ ่ ฝึ กอบรมแล ้ว เราก็จะรู ้เอง มันไม่ คลุกเคล ้าเมาความชวั่ เหมือนเดิม มันจะฉลาดว่องไวขึน ้ เรือ ่ ง อย่างนีต ้ ้องฝึ ก แล ้วจะเข ้าใจไม่ต ้องมีใครมารับรอง ไม่ต ้องหา ิ ตัวเองได ้ว่าเราก ้าวหน ้ามี ประกาศนียบัตร เรารู ้เอง ตัดสน ั ปชญ ั ญะเจริญขึน สติสม ้ มาเพียงใด แต่กอ ่ นเป็ นอย่างไร ปฏิบต ั ิ มาแล ้วเป็ นอย่างไร ตลอดปั จจุบน ั มันเป็ นอย่างไร ตรวจชาํ ระเอง ได ้เรือ ่ ยตลอดไป เมือ ่ ทําแล ้วสติยอ ่ มดีขน ึ้ ความประมาทเผลอเรอ ก็จะลดลง ๏ อกาลิโก ้ ธรรมยังคงเป็ นอกาลิโกจริง ธรรมยังคงเสนคงวาไม่ ขน ึ้ อยูก ่ บ ั ่ งิ่ ทีจ ่ าลเวลา กาลเวลา ธรรมไม่ใชส ่ ะหมดไปตามกาลสมัย ไม่ใชก ล่วงไปแล ้ว ใครจะพยายามปฏิบต ั ธิ รรมกันเท่าไร ก็จะไม่เห็น ความสุข จะไม่พบความสบายปรากฏกับตน ผู ้ใดประพฤติปฏิบต ั ิ ์ องการปฏิบต จริงจังย่อมจะได ้เห็นอานิสงสข ั น ิ ัน ้ ซงึ่ เมือ ่ ถึงเวลานัน ้ ี งมาร เสย ี งกิเลสทีเ่ คยคอยมากระซบ ิ ให ้ยึดมัน เสย ่ สาํ คัญผิดว่า ธรรมหมดไปแล ้ว ขณะนีม ้ รรคผลต่างๆ หมดไปแล ้ว ก็จะไม่หลุด ไม่ตกไปจากใจของผู ้ปฏิบต ั ิ และใจก็จะได ้รับอิสระ หลุดพ ้นจาก เครือ ่ งร ้อยรัดทัง้ ปวง ทุกคนมีโอกาส มีเวลาฝึ กจะปฏิบต ั ก ิ น ั ได ้ อย่าได ้ไปคิดว่าธรรม หมดยุค หมดเวลาแล ้วทีจ ่ ะมีคนไปเข ้าใจได ้ ธรรมมีมาตัง้ แต่ไหน ั อยูแ แต่ไร โลกนีก ้ เ็ ปิ ดเผยชด ่ ต่ไหนแต่ไรมา ไม่เคยมีเวลาทีจ ่ ะ

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


7 1

ปิ ดบังใคร แต่ทเี่ หมือนปิ ดบังนัน ้ เพราะขาดผู ้ปฏิบต ั ท ิ จ ี่ ริงจัง ต่างหาก ใจของเราไม่มส ี ติ ไม่มป ี ั ญญาจึงลุม ่ หลง ทัง้ ๆ ทีธ ่ รรม ต่างๆ สงิ่ ต่างๆ ยังคงมีอยูธ ่ รรมดาเป็ นปกติ ทุกคนต่างก็อยากมี ความสงบ ต่างก็อยากมีความเย็นใจ จงตัง้ หน ้าตัง้ ตาภาวนารักษา ใจของตัว เมือ ่ ใจเป็ นอรรถเป็ นธรรมจริงจังแล ้ว เห็นอะไรก็จะเป็ น อรรถเป็ นธรรมไปหมด อยูส ่ ถานทีใ่ ด ก็เป็ นอรรถเป็ นธรรมใน สถานทีน ่ ัน ้ เป็ นสุคโตในเมือ ่ เวลาอยู่ เป็ นสุคโตในเมือ ่ เวลาไป อยู่ สถานทีใ่ ดก็ไม่เป็ นเวรเป็ นภัยแก่ตวั ของตัว และไม่เป็ นเวรเป็ นภัย ั ว์อน แก่คนอืน ่ และสต ื่ อยูส ่ ถานทีใ่ ด ก็จะเกิดเป็ นสริ ิ เป็ นมงคลใน สถานทีน ่ ัน ้ ธรรมเป็นสงิ่ ทีไ่ ม่ขน ึ้ ก ับกาลเวลา ธรรมคือของเก่า ผูป ้ ฏิบ ัติ จริงก็ยอ ่ มได้ผลเหมือนเก่า คือ ย่อมได้ความหลุดพ้นเป็นขน ั้ เป็นตอนไปตามลาด ับของการปฏิบ ัติ สงิ่ ทีจ ่ ะเห็น ทีจ ่ ะเป็น ที่ จะรูน ้ น ั้ ผูป ้ ฏิบ ัติยอ ่ มได้พบตามคาสอนของพระพุทธเจ้า อย่างสมบูรณ์ เพราะคาสอนทงหลายของพระองค์ ั้ ย ังคงมีอยู่ ื่ ว่า พระศาสดานนย ซงึ่ ก็เท่าก ับได้ชอ ั้ ังคงอยู่ รีบๆ ปฏิบ ัติก ัน ต้องพยายามฝึ กกาย ฝึ กใจก ันไป ไม่ตอ ้ งไปม ัวคอยอ้างกาล อ้างเวลา เมือ ่ เราได้ชาระความชว่ ั ออก ตงหน้ ั้ าตงตาปฏิ ั้ บ ัติ เราก็ย ังมีทางทีจ ่ ะบริสท ุ ธิไ์ ด้ นีค ่ อ ื ทางแห่งปัญญา เป็นทาง ชาระใจ ทางแห่งความบริสท ุ ธิน ์ ริ ันดรกาล

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


7 2

♥ รวบรวมและเรียบเรียงโดย

„สาวิกาน ้อย‟เว็บ

dhammajak.net

♥ ด ัดแปลงรูปแบบอีบค ุ ้ โดย watconcord.org ทีม ่ าข้อมูลของผูเ้ รียบเรียงจาก :: (๑) ประวัตย ิ อ ่ และพระธรรมเทศนาของท่านพระอาจารย์ สงิ ห์ทอง ธมฺมวโร วัดป่ าแก ้วชุมพล ตําบลบ ้านชุม อําเภอ สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร โดย ท่านพระอาจารย์อน ุ่ (อุน ่ หล ้า) ฐิตธมฺโม http://www.dharma-gateway.com/ ื อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ (๒) หนั งสอ พระอุดมสงั วรวิสท ุ ธิเถร (พระอาจารย์วน ั อุตฺตโม) วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ♥ ขอกราบขอบพระคุณทีม ่ าของรูปภาพทุกแหล่ง โดยเฉพาะจากเว็บไซต์ http://www.watpa.com/ และ ห้องพระ http://www.chiangmai1900.com/ ิ download ไฟล์รป ขอเชญ ู ครูบาอาจารย์ตา่ งๆ จาก http://ie-kittiwat.blogspot.com/2009/12/blogpost.html

วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


วัดพุทธธัมมธโร คอนคอร์ด แคลิฟอร์เนีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.