คัมภีร์พระวิสุทธิมรรค

Page 1

-0-

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-1-

อารัมภกถา-พุทธโฆสุปปตติ คัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ บัณฑิตทั้งปวงพึงรูวาพระคันถรจนาจารย ผูมีนามปรากฏวา พระ พุทธโฆษาจารย ซึ่งไดจตุปฏิสัมภิทาญาณรูแตกฉานชํานาญในพระไตรปฎก ผูมีปญญาวิสารทะแกลว กลา ไดรจนาตกแตงไว เพื่อใหประโยชนแกพระพุทธศาสนา จะกลาวความอุบัติบังเกิดขึ้นแหงพระพุทธโฆษาจารย เลือกคัดขอความตามนิทานประวัติ ที่มีมาในคุมภีรพุทธโฆสุปปตติ แลคัมภีรญาโณทัยปกรณแตโดยสังเขป มีความวา พระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารยพระองคนี้ แตปุเรชาติปางกอนไดบังเกิดเปน เทพบุตร มีนามวาโฆสเทวบุตร เสวยทิพยสมบัติอยูในดาวดึงสเทวโลก ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนากาลลวงได ๒๓๖ พรรษา นับตั้งแตสมเด็จพระผูมีพระภาค เสด็จ ดับขันธปรินิพพาน พระมหินทเถรเจาผูเปนองคพระอรหันตผูวิเศษ ไดออกไปประดิษฐานพระปริยัติ ธรรมศาสนาไวในลังกาทวีป ครั้นลวงกาลนานมาในภายหลังกุลบัตรในชมพูทวีปนี้ จะเรียนรูพระปริยัติ ธรรมไดโดยยากในกาลใดในกาลนั้น จึงมีมหาเถระองคหนึ่ง เปนพระมหาขีณาสพ มีนามวาพระธรรม โฆษาจารย อีกนามหนึ่งเรียกวา พระเรวัตมหาวเถระเปนผูมีฤทธิ์ คิดจะบํารุงพระปริยัติศาสนาของ สมเด็จพระบรมศาสดาใหถาวรรุงเรื่อง จึงเขาสูฌานสมาบัติ สําแดงฤทธิ์ขึ้นไปปรากฏอยูเฉพาะพระ พักตรสมเด็จทาวสักกะเทวราช ในดาวดึงสพิภพ ขอใหอาราธนาโฆสเทวบุตร ผูมีสมภารบารมีไดสราง สมอบรมมาในสํานัก พระพุทธเจาแตปางกอนหลายพระองคเปนผูมีไตรเหตุกปฏิสนธิปญญาอันแก กลา ใหจุติลงมาบังเกิดในมนุษย ชวยบํารุง พระปริยัติศาสนา ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาให ถาวรรุงเรืองสืบไป ครั้นในโฆสเทวบุตร รับอาราธนาสมเด็จทาวเทวามินทรเทวราชแลวก็จุติลงมาเกิดในครรภ นางเกสินีพราหมณี ผูเปนภรรยาเกสิพราหมปุโรหิตาจารย ผูรูชํานาญในไตรเพท อยูในบานโฆสคาม เปนที่ใกลตนพระมหาโพธิ์ในพระนคร อันเปนแวนแควนแผนดินมัชฌิมประเทศ ในชมพูทวีป ขณะเมื่อทารกนั้นบังเกิด เสียงคนในบานตลอดถึงทาสกรรมกรเปนตน กลาวคํามงคลแกกัน และกัน ดังแซซองกึกกองไป มารดาบิดาแลญาติญึงใหนามแกทารกนั้นวา โฆสกุมาร เพราะเหตุเสียง กลาวมงคลกถาอันดังกึกกองนั้น ครั้นโฆสกุมารมีวัยวัฒนาการอายุได ๗ ขวบ ก็มีสติปญญาสามารถเฉลียวฉลาดยิ่งนัก ได เลาเรียนรูคัมภีรไตรเพทแตกฉานแตภายในอายุ ๗ ขวบ ฝายพราหมณปุโรหิตบิดาโฆสกุมาร เปนพระมหาราชครูผูสั่งสอนไตรเวททางคศาสตร แด สมเด็จบรมกษัตริยในพระนครนั้น แลไดพาบุตรเขาไปในพระราชวังดวยเปนนิตย ในเวลาวันหนึ่ง พราหมณปุโรหิต บอกสอนไตรเพทแดพระมหากษัตริยถึงบทคัมภีรคัณฐี ใน ไตรเพทบทหนึ่ง ก็มีความสงสัยคิดอรรถาธิบายไมออกได จึงทูลลาพาบุตรกลับมาบาน คิดตรึกตรอง อยูเนือง ๆ ก็ยังไมลงเห็นอรรถาธิบายนั้นได ฝายโฆสกุมารรูวา บิดาคิดอรรถาธิบายแหงบทไตรเพทนั้นติดตัน จึงเขียนขออธิบายแหง บทคัณฐีในเตรเพทลงไวในใบลาน ครั้นบิดาออกมาไดเห็นอักษร ก็เขาใจในอรรถาธิบายนั้น แลวรูวา บุตรของตนมีปรีชาเชี่ยวชาญเลียวฉลาดยิ่งนัก มาเขียนอรรถาธิบายแหงขอสงสัยนั้นไวให ก็ชื่นชมดี ใจหาที่สุดมิได จึงพาบุตรเขาไปเฝาพระมหากษัตริยกราบทูลประพฤติเหตุนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-2สมเด็จบรมขัตติยราชก็ทรงพระโสมนัส ชอบพระราชหฤทัยยิ่งนัก จึงสวมกอดเจาโฆสกุมาร ใหนั่งขึ้นนั่งเหนือพระเพลา จุมพิตศิรเกลา แลมีพระราชดํารัสวา แตนี้ไปเจาจงเปนบุตรบุญธรรมของ เรา แลตรัสสรรเสริญปญญาโฆสกุมารเปนอันมาก ครั้นโฆสุกุมาร มีวัยวัฒนาการเจริญขึ้น ไดมาบรรพชาในสํานักพระธรรมโฆษาจารย ผูเปน พระอุปชฌายาจารย ไดเลาเรียนพระธรรมวินัยไตรปฎก (เอามาเรเนว) ในประมาณเดือนเดียวเทานั้นก็ ไดสําเร็จรูพระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม ทั้งสามปฎก ครั้นไดอุปสมบทบวรเปนภิกษุภาพใน พระพุทธศาสนาแลว ก็มีปญญาวิสารทะแกลวกลา ไดสําเร็จจตุปฏิสัมภิทาญาณ รูแตกฉานชํานาญใน บาลีแลอรรถกถา แลนิรุติ บทวิคคหะแลปฏิภาณ การกลาวโตตอบโดยคลองแคลว พรอมองคแหง ปฏิสัมภิทาญาณทั้งสี่ มากิตติคุณสรรเสริญปญญา เลื่องลือกึกกองแผไปในสกลชมพูทวีป จึงมีนาม ปรากฏวา พระพุทธโฆสภิกษุ และพระพุทธโฆษาจารยเปรียบปานดุจดังสมเด็จพระพุทธองค ยังทรง ทรมานมีพระชนมอยู ซึ่งมีพระกิตติศัพท แลพระกิตติคุณแผฟุงเฟองไปในพื้นมหิดล หาที่สุดมิได ครั้นอยูมาถึงเวลาสมควร พระมหาเถระผูเปนพระอุปชฌายจึงมีเถรศาสนสั่งสอนพระพุทธ โฆษาจารย ใหไปแปลพระพุทธวจนะปริยัติธรรมไตรปฎกในลังกาทวีป ออกจากสีหฬภาษากลับขึ้นมา สูมคธภาษามายังชมพูทวีป เพื่อประโยชนแกพระพุทธศาสนาใหถาวรสืบไป ฝายพระพุทธโฆษาจารย รับอุปชฌายศาสน จึงขอผลัดเวลาไปทรมานบิดาซึ่งยังเปน มิจฉาทิฏฐิอยู ใหกลับเปนสัมมาทิฏฐินับถือเลื่อมใสในพระรัตนตรัย จนไดสําเร็จพระโสดาปตติผลแลว พระผูมีพระเปนเจาก็กลับมานมัสการลาพระอุปชฌาย ลงสูสําเภากับดวยพวกพาณิชสําเภาก็แลนออก ไปสูมหาสมุทร ในขณะนั้น ดวยเดชะวิสุทธิมรรคศีลาทิคุณ แลอํานาจบุญเจตนาของพระพุทธโฆษ จารย ซึ่งตั้งจิตจะแปลพระปริยัติธรรม ชวยบํารุงพระพุทธศาสนาใหถาวรสืบไปนั้น เปนบุญกิริยาวัตถม หากุศล บังเกิดเปนทิฏฐธรรมเวทนีย ผลจึงมีเทวราชานุภาพของทาวสักกะเทวราช แลพรหมานุภาพ ของพระพรหมผูมีมหิทธิฤทธิ์ มาชวยพิทักษรักษาสําเภาพระพุทธโฆษาจารยใหแลนไปในมหาสมุทร โดยสวัสดี ไมมีภัยอันตราย เมื่อสําเภาพระพุทธโฆษาจารยแลนไปได ๓ วัน ไดพบสําเภาพระพุทธทัตตเถระองคหนึ่ง ซึ่งแลนออกจากทาลังกาทวีปาในมหาสมุทร พระเถระทั้ง ๒ ไดออกมาปฏิสันถารไตถามถึงกิจตอกัน ครั้นพระพุทธทัตตะทราบวา พระพุทธโฆษาจารยจะออกไปแปลพระปริยัติธรรมในลังกาทวีป ดังนั้น ก็ ยินดีเลื่อมใสยิ่งนัก จึงแจงวาทานไดแปลพระปริยัติธรรมไว ๓ คัมภีร คือบาลีชินาลังกา ๑ บาลีทันต ธาตุ ๑ บาลีพุทธวงศ ๑ แตยังหาไดรจนาคัมภีรอรรถกถา แลคัมภีรฎกีกาไม จึงอาราธนาพระพุทธ โฆษาจารยใหชวยตกแตงคัมภีรอรรถกถา แลคัมภีรฎีกาสําหรับบาลี ๓ คัมภีรนั้น เพื่อใหเปนประโยชน แกพระพุทธศาสนาสืบไป แลวพระพุทธทัตตเถระ จึงถวายผลสมอเปนยาฉันแกโรค ๑ เหล็กจารมีดาม ๑ ศิลาลับเหล็กจาร ๑ แกพระพุทธโฆษาจารย สิ่งของทั้ง ๓ สิ่งนี้ สมเด็จทาวสุชัมบดีเทวราชไดถวาย แกพระผูเปนเจามาแตกอน ในคัมภีรญาโณทัยปกรณกลาววา สมเด็จทาวสักกะเทวราชก็ไดถวายผล หริตกี คือสมอไทยฉันเปนยาแกโรคกับเลขณี กับเหล็กจาร แกพระพุทธโฆษาจารยดุจเดียวกัน ใน วันที่พระผูเปนเจาลงสูทาสําเภา ออกมาจากชมพูทวีปนั้น ครั้นแลวสําเภาพระพุทธทัตตเถระ ก็แลนเขามาสูชมพูทวีปนี้ สําเภาพระพุทธโฆษาจารย ก็ แลนออกไปถึงทาที่จอดในลังกาทวีป ครั้นไดเวลาสมควร พระพุทธโฆษาจารย จึงไปสูสํานักสมเด็จพระสังฆราชาธิบดีผูมีนามวา พระสังฆบาล ผูเปนจอมสงฆในลังกาทวีปซึ่งสถิตในมหาวิหาร นั่งอยูเบื้องหลังศิษยผูมาเรียนพระ ปริยัติธรรมในเวลานั้น สมเด็จพระสังฆราช บอกพระอภิธรรมแลพระวินัยแกศิษยสงฆ ถึงบทคัณฐีพระ อภิธรรมก็ไมไดเขาใจความอธิบาย จึงสงสงฆศิษยทั้งหลายใหกลับไปก็เขาสูหองคิดตรึกตรอง อรรถาธิบายในบทคัณฐีพระอภิธรรมนั้นอยู ฝายพระพุทธโฆษาจารยรูวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

สมเด็จพระสังฆราชไมทราบอรรถาธิบายในบทคัณฐีพระ


-3อภิธรรม จึงเขียนความอธิบายแลอรรถกถาลงไวในแผนกระดานใกลอาศรมสมเด็จพระสังฆราช แลวก็ กลับมาสูที่อยู ครั้นสมเด็จพระสังฆราชออกมาจากหองไดเห็นอักษร ก็เขาใจความอธิบายในบทคัณฐีพระ อภิธรรมนั้น โดยแจงชัด จึงใชคนปฏิบัติไปถามอาราธนาพระพุทธโฆษาจารยมาไตถาม ครั้นไดทราบ ความวาพระพุทธโฆษาจารย เปนผูบอกกลาวสั่งสอนพระไตรปฎก พระพุทธโฆษาจารยไมรับ จึงแจง กิจแหงตนอันพระอุปชฌายสงมาใหแปลพระปริยัติธรรมออกจากสีหฬสภาษา ขึ้นสูมคธภาษา ฝายสมเด็จพระสังฆราชก็มีความยินดียิ่งนัก รับคําวาสาธุดีแลวจึงอาราธนาพระพุทธโฆษา จารย ใหรจนาตกแตงคัมภีรพระวิสุทธิมรรคซึ่งเปนยอดธรรมสั่งสอนของสมเด็จพระผูมีพระภาค ใหดู คัมภีรหนึ่งเพื่อเห็นปญญาสามารถกอน ฝายพระพุทธโฆษาจารย รับคําอาราธนาสมเด็จพระสังฆราช แลวจึงรจนาตกลงแตงคัมภีร พระวิสุทธิมรรคซึ่งเปนยอดธรรมสั่งสอนของสมเด็จพระผูมีพระภาค ใหดูคัมภีรหนึ่งเพื่อเห็นปญญา สามารถกอน ฝายพระพุทธโฆษาจารย รับคําอาราธนาสมเด็จพระสังฆราช แลวจึงรจนาตกลงแตงคัมภีร พระวิสุทธิมรรคปกรณ ตั้งคาถาพระพุทธฎีกาวา (สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ)เปนอาทิ ลงเปน หลักสูตร จึงรจนาตกแตงอรรถกถาไดโดยรวดเร็วยิ่งนัก ครั้นสําเร็จจบพระคัมภีรแลวก็ตั้งไว จึงจําวัด หลับไป พระคัมภีรนั้นก็หายไป ดวยสักกะเทวราชานุภาพ ครั้นพระผูเปนเจาตื่นขึ้นไมเห็นคัมภีรของตน ก็จารคัมภีรพระวิสุทธิมรรคขึ้นอีก เปนคัมภีร คํารบสองโดยรวดเร็วยิ่งนัก ดวยแสงสวางแหงประทีป ครั้นสําเร็จแลวก็วางคัมภีรนั้นไว และจําวัดหลับ ไปอีก พระคัมภีรนั้นก็หายไปดวยเทวราชานุภาพแหงทาวสักกะเทวราชอีกเลา ครั้นพระผูเปนเจาตื่นขึ้นไมเห็นคัมภีรเปนคํารบสองนั้นแลว ก็รีบดวนจารคัมภีรพระวิสุทธิ มรรคขึ้นอีก เปนคัมภีรคํารบสาม ดวยแสงประทีปอันสวาง ครั้นจารเสร็จแลว จึงผูกคัมภีรพระวิสุทธิ มรรคคํารบสามนั้นไวกับจีวร พอเวลารุงเชา พระผูเปนเจาตื่นขึ้น เห็นในพระคัมภีรพระวิสุทธิมรรคทั้งสองคัมภีร ที่พระผู เปนเจาไดรจนาและจารซึ่งหายไปนั้นอันทาวสักกะเทวราชนํามาคืนใหตั้งไวในที่ดังเกา พระผูเปนเจา ก็มีความโสมนัสชื่นชม ตามพระคัมภีรญาโณทัยปกรณกลาววา ซึ่งสักกะเทวราชานุภาพบันดาลใหเปนไปทั้งนี้ เพื่อใหเกิดบุญกิริยาวัตถุแกมหาชน เพื่อไดถวายใบลานใหม ใหพระผูเปนเจาจารพระวิสุทธิมรรคเปน ประโยชนแกพระพุทธศาสนาไดหลายคัมภีร แตบัณฑิตทั้งปวงอนุมานวา “ซึ่งสักกะเทวราชานุภาพใหเหตุเปนไปทั้งนี้ เพื่อแสดง ความสามารถแหงปญญาวิสารทะ แลวิริยะอุตสาหะของพระผูเปนเจาใหปรากฏแกชนชาวลังกาทวีป ทั่วไป” ครั้นแลว พระผูเปนเจาจึงนําพระวิสุทธิมรรคทั้งสามพระคัมภีรนั้นไปแจงเหตุตอสมเด็จ พระสังฆราช ๆ ก็มีความพิศวง จึงใหชุมนุมสงฆผูรูชํานาญในพระปริยัติธรรม ชวยตรวจสอนทานพระวิ สุทธิมรรคทั้งสามคัมภีร ศัพทอันมีนิบาตแลอุปสรรคเปนตน อันพระผูเปนเจาไดรจนาตกแตงแลจารใน บทใด ๆ ก็เสมอสมานกัน เปนอันดีในบทนั้น ๆ ตั้งอยูเหมือนดังพระผูเปนเจาไดตกแตงแลจารไวแต แรกสิ้นทั้งสามคัมภีร แลคัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้มี ๒๓ ปริจเฉท

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-4ปริจเฉทเปนปฐมนั้น ชื่อศีลนิเทศ แสดงดวยศีลมีประเภทตาง ๆ ปริจเฉทเปนคํารบ ๒ ชื่อธุงดงคนิเทศ แสดงดวยธุดงควัตร ๑๓ ประการ ๔๐ ประการ

ปริจเฉทเปนคํารบ ๓ ชื่อกัมมัฏฐานคหณนิเทศ แสดงดวยวิธีเลาเรียนพระสมถกรรมฐาน

ปริจเฉทเปนคํารบ ๔ ชื่อปถวีกสิณนิเทศ แสดงดวยปถวีกสิณเปนตนที่ ๑ ปริจเฉทเปนคํารบ ๕ ชื่อวาอวเสสกสิณนิเทศ แสดงดวยกสิณที่เหลือลง ๙ ประการ รวม กับปถวีกสิณเปน ๑๐ ประการ ปริจเฉทเปนคํารบ ๖ ชื่ออศุภนิเทศ แสดงดวยอศุภ ๙ ประการ ปริจเฉทเปนคํารบ ๗ ชื่อฉานุสสตินิเทศ แสดงดวยอนุสสติ ๖ คือ พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ ปริจเฉทเปนคํารบ ๘ ชื่อเสสานุสสตินิเทศ แสดงดวยอนุสสติ ๔ ที่เหลือลงคือ มรณานุสส ติ กายคตาสติ อานาปานสติ อุปมานุสสติ รวมกับอนุสสติ ๖ จึงเปนอนุสสติ ๑๐ ประการ ปริจเฉทเปนคํารบ ๙ ชื่อพรหมวิหารนิเทศ แสดงดวยพรหมวิหารทั้ง ๔ คือเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๐ ชื่ออรูปนิเทศ แสดงดวยอรูปสมาบัติ ๔ คือ อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญายตนะสมาบัติ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๑ ชื่อสมาธินิเทศ แสดงดวยสมาธิกับทั้งปฏิกูลสัญญาธาตุววัตถาน นิเทศ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๒ ชื่ออิทธิวิธีนิเทศ แสดงดวยฤทธิ์วิธีตาง ๆ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๓ ชื่ออภิญญานิเทศ แสดงดวยอภิญญา ๕ มีทิพพโสต ทิพพจักษุ และเจโตปริยญาณ คือรูวารจิตแหงผูอื่นเปนตน ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๔ ชื่อขันธนิเทศ แสดงดวยปญจขันธ และวิเศษนามแหงขันธตาง ๆ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๕ ชื่ออายตนธาตุนิเทศ แสดงดวยอายตนะ ๒๑ และธาตุ ๑๘ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๖ ชื่ออินทรียสัจจนิเทศ แสดงดวยอินทรีย ๒๒ และอริยสัจ ๔ ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๗ ชื่อภูมินิเทศ แสดงดวยธรรม ๖ คือขันธอายตนะ ธาตุ อินทรีย อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท อันเปนภูมิภาพพื้นแหงวิปสสนากัมมัฏฐาน ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๘ ชื่อวิสุทธินิเทศ แสดงดวยความบริสุทธิ์แหงทิฏฐิคือความเห็น ปริจเฉทเปนคํารบ ๑๙ ชื่อกังขาวิตรณวิสุทธินิเทศ แสดงดวยความบริสุทธิ์ที่ลวงขามความ กังขาสงสัยเสียได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-5ปริจเฉทเปนคํารบ ๒๐ ชื่อมัคคามัคญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ แสดงดวยความบริสุทธิ์ในการ เห็นอริยมรรคดวยญาณปญญาวา สิ่งนี้เปนอริยมรรคสิ่งนี้มิใชอริยมรรค ปริจเฉทเปนคํารบ ๒๑ ชื่อปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิเทศแสดงดวยความบริสุทธิ์ในการ เห็นดวยปญญาวา มรรคควรปฏิบัติสืบตอขึ้นไป ปริจเฉทเปนคํารบ ๒๒ ชื่อญาณทัสสนนิเทศ แสดงดวยความบริสุทธิ์ในการเห็นอริยสัจและ นิพพาน ดวยปญญาอันรูเห็นจริงแจงชัด ปริจเฉทเปนคํารบ ๒๓ ชื่อภาวนานิสังสนิเทศ แสดงดวยอานิสงสผลแหงการภาวนาในพระ วิปสนากัมมัฏฐาน รวมเปน ๒๓ ปริจเฉทบริบูรณ สมเด็จพระสังฆราชาธิบดี ไดเห็นคัมภีรพระวิสุทธิมรรค มีบทอันสม่ําเสมอกันเปนอันดี ไมมี วิปลาสคลาดเคลื่อนแตอยางหนึ่งอยางใด ดังนั้นแลว ก็บังเกิดโสมนัสยิ่งนัก จึงอนุญาตใหพระพุทธ โฆษาจารยแปลพระปริยัติธรรมจากสีหฬภาษาขึ้นสูมคธภาษา และอนุญาตใหเสนาสนะที่อยูในโลห ปราสาทชั้นเปนปฐม เพื่อใหพระผูเปนเจาทํากิจปริวรรตพระปริยัติไดโดยสะดวกดี ในคัมภีรญาโณทัย ปกรณกลาววา สมเด็จบรมกษัตริยผูทรงพระนามวาพระเจามหานามขัตติยราชผูครอบครองในลังกา ทวีป ไดเสด็จมาดวยราชบริพาร ตรัสปวารณาถวายภิกขาหาร บิณฑบาตแกพระผูเปนเจา พระพุทธ โฆษาจารย จนตลอดเสร็จการปริวรรตพระปริยัติธรรม แตนั้น พระพุทธโฆษาจารยก็ตั้งปณิธานวิริยะอุตสาหะแปลพระปริยัติธรรมพุทธวจนะ จาก สีหฬภาษาขึ้นสูมคธภาษา พรอมทั้งบาลีและอรรถกถาฎีกา และอนุฎีกา สิ้นไตรมาสก็สําเร็จการ ปริวรรต แตในคัมภีรญาโณทัยปกรณกลาววา สิ้นสมพัตสรหนึ่งจึงสําเร็จ ฝายสมเด็จพระสังฆราชผูเปนจอมสงฆ ก็ใหอนุโมทนาชื่นชมกลาวคาถาสรรเสริญคุณของ พระพุทธโฆษาจารยเจาเปนอเนกปริยาย ครั้นการปริวรรตพระปริยัติธรรมสําเร็จแลว พระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารย ก็นมัสการลา สมเด็จพระสังฆราชาธิบดี และพระสงฆเถรานุเถระลงสูสําเภากับดวยพาณิช กลับเขามาสูชมพูทวีป นมัสการแจงเหตุแกพระอุปชฌายใหทราบสิ้นทุกประการ เรื่องนิทานประวัติแหงพระพุทธโฆษาจารย มีพิสดารในคัมภีรพุทธโฆสุปปตติ และคัมภีร ญาโณทัยปกรณ และในที่อื่นอีกตาง ๆ ซึ่งเลือกคัดมากลาวในอารัมภกถานี้แตโดยยอ พอประดับ สติปญญา และความศรัทธาเลื่อมใสของสาธุชนเพียงเทานี้ อนึ่ง คัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ แปลวาเปนพระคัมภีรแสดงทางของธรรมอันบริสุทธิ์ คือพระอม ตมหานิพพาน ตั้งแตพระพุทธโฆษาจารยไดรจนาตกแตงขึ้น ก็เปนประโยชนอยางยิ่งแก พระพุทธศาสนาทั้งในการเลาเรียนพระปริยัติธรรม และการแสดงพระธรรมเทศนาเปนที่ปลูกศรัทธา พุทธศาสนิกชนทั้งคฤหัสถและบรรพชิต ใหตั้งจิตบําเพ็ญรักษาศีลบริสุทธิ์ และเลาเรียนพระสมถ กัมมัฏฐาน และพระวิปสสนากัมมัฏฐาน แผไพศาลรุงเรืองไปทั้งชมพูทวีปและลังกาทวีปหาที่สุดมิได สืบ ๆ มาจากปรัตยุบันกาลนี้ คัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ พระพุทธโฆษาจารยเจาผูรจนาตกแตงพระคัมภีร ไดนําพระคาถาพระ พุทธฎีกาซึ่งมีคําวา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ จิตตํ ปฺญฺเจ ภาวยํ อาตาป นิปโก ภิกฺขุ โส อิมํ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-6วิชฏเย ชฏนฺต”ิ ดังนี้ อันพระธรรมสังคาหกาจารย ผูเปนพระอรหันตผูวิเศษทั้งหลายผูรวบรวมรอยกรอง พระไตรปฎก ตั้งแตกระทําสังคายนามาในปฐมสังคีติกาล ไดยกขึ้นตั้งไวในชฏาสูตรที่ ๓ ตติยวรรค ซึ่งเปนวรรคคํารบ ๓ หมวดเทวดาสังยัตต ในคัมภีรสังยุตตนิกายสคาถวรรคฝายพระสุตตันตปฎกมาตั้ง ลงเปนหลักสูตร ในเบื้องตนคัมภีรพระวิสุทธิมรรคขั้นตนนี้แลว สังวรรณนาอรรถกถาพระวิสุทธิมรรค ตามนัยแหงคาถาพระพุทธฎีกานี้โดยพิสดาร แตพระผูเปนเจาไมไดประพันธปณามคาถา นมัสการพระรัตนตรัยขึ้นใหมไวในตนคัมภีร เหมือนอยางคัมภีรอื่น ๆ พระผูเปนเจานําบาลีปณามเดิมวา “นโม ตสฺส ฯลฯ” ดังนี้มาตั้งไวในพระ คัมภีรบาลีปณามเดิมนี้ สําหรับนมัสการพระรัตนตรัย ใชเริ่มตนในสถานตาง ๆ ซึ่งเปนธรรมเนียมสืบมา ในพระพุทธศาสนาแตสมัยพุทธกาลชานาน ขอนี้ นักปราชญในภายหลังอนุมานเห็นวาพระพุทธโฆษาจารยเจาไมนิพนธปณามคาถาขึ้น ใหมไวในตนคัมภีรนี้ เพราะพระผูเปนเจาเปนอติธัมมครุ ผูเคารพยิ่งนักตอพระสัทธรรมของสมเด็จพระ ผูมีพระภาค หวังในคาถาพระพุทธฎีกา ที่องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาวาดวยศีลสมาธิ ปญญา เปนอรรถสารบริบูรณในพระคาถาบทเดียวเทานี้ เชิดชูปรากฏอยูในเบื้องตนพระคัมภีรไมใหมี สํานวนคาถาของตนอยูเบื้องตนปกคลุมสํานวนคาถาพระพุทธฎีกาไปดังนั้น และพระผูเปนเจาเห็นสมควรยิ่งนัก ที่จะแสดงคํานมัสการพระรัตนตรัยดวยพระบาลีปณาม เดิมวา “นโม ตสฺส” เปนตน ไวในเบื้องตนคัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ แตนอกนั้น พระผูเปนเจาไดนิพนธคาถาแกไขขอธรรมตาง ๆ เปนอรรถกถา ตามนัยแหงพระ พุทธฎีกา ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรคทั้งสองบั้นนี้มีอเนกประการ และในคัมภีรอื่น ๆ นั้น พระผูเปนเจาไดนิพนธปณามคาถาไวตนคัมภีรก็มีเปนอเนกวิธาน มี คัมภีรพระปฐมสมันตปาสาทิกาอรรถกถาพระวินัย ฝายพระวินัยปฎก และคัมภีรพระธรรมปทัฏฐกถา ในขุททกนิกาย ฝายพระสุตตันตปฎกเปนตน เพราะฉะนั้น ฉบับบาลีคัมภีรพระวิสุทธิมรรคซึ่งสืบ ๆ กันมาในประเทศสยามจึงมีแตบาลี ปณามเดิมวา “นโม ฯลฯ” อยูเบื้องตนพระคัมภีรโดยมาก ไมพบฉบับที่มีปณามคาถาในที่แหงหนึ่ง แหงใดเลยบัณฑิตควรพิจารณาในเหตุนี้ ในบาลีปณามเดิมวา “นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทธสฺส” นั้น ประกอบบท แปลตามโบราณจารยวา “โย ภควา” สมเด็จพระผูมีพระภาคพระองคใด “อุปฺปนฺโน โลเก” บังเกิด ขึ้นแลวในโลก “นโม” ขาพระองคขอนอบนอมถวายนมัสการ “อตฺถ”ุ ขอจงมี “ตสฺส ภควโต” แต องคพระผูทรงพระภาคพระองคนั้นผูบริบูรณ ดวยพระบารมีธรรม และทรงจําแนกแลว คือพระสัทธรรม ใหแกเวไนยสัตว “อรหโต” พระองคเปนผูไกลจากกิเลส สมควรจะรับซึ่งเครื่องสักการบูชาพิเศษของ เทพามนุษยทั้งปวง “สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส” ตรัสรูดวยพระองคเอง โดยอาการอันชอบ มิไดวิปริต เนื้อความดังนี้ อนึ่ง คัมภีรพระวิสุทธิมรรคบางฉบับ บูรพาจารยเติมบาลีสังเขปปณามวา “นมตฺถุ รตนตฺตยสฺส” ซึ่งแปลวา “นโม อตฺถุ” ขอความนอบนอมนมัสการ ของพระองคจงมี “รตนติตยสฺส” แกประชุมสามแหงพระรัตนะ ดังนี้ สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ จิตตํ ปฺญฺเจ ภาวยํ อาตาป นิปโก ภิกฺขุ โส อิมํ วิชฏ เย ชฏนฺติ อิติหิทํ วุตฺตํ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-7วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในศีลนิเทศ ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรคปกรณ อันพระ พุทธโฆษาจารยเจาจารึกรจนาไว เพื่อเปนประโยชนจะยังสาธุชนใหมีตรุณปติปราโมทย มีเนื้อความในศีลนิเทศ ปริทเฉทเปนปฐมนั้นวา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ” องค สมเด็จพระผูทรงพระภาค คือพระบารมีธรรมทรงพระมหากรุณาตรัสเทศนาไววา นรชนใดประกอบดวย ปญญาเปนไตรเหตุ มีเพียรยังกิเลสใหมีปญญาอันแกกลาเห็นภัยในสังสารวัฏ “โส อิมํ วิชฏเย ชฏํ” นรชนนั้นอาจจะสางเสียซึ่งชัฏ คือตัณหา มีคําปุจฉาวา “กสฺมา ปเนตํ วุตฺตํ” เหตุดังฤๅ องคสมเด็จพระผูมีพระภาค จึงตรัสพระ สัทธรรมเทศนาพระคาถานี้ มีคําอาจารยวิสัชนาวา “ควนตํ กิร สาวตฺถิยํ วิหรนฺต”ํ ดังไดสดับมาใน เพลาราตรีหนึ่งถึงทุติยยาม เทวบุตรองคหนึ่งมิไดปรากฏโดยนามและโคตร เขาสูสํานักองคสมเด็จ พระผูทรงพระภาคอันเสด็จอยูในพระเชตวนาราม มีนครสาวัตถีเปนที่โคจรคาม ทูลถามอรรถปญหา เพื่อจะถอนเสียซึ่งวิกิจฉาความสงสัยของตน ดวยคํานิพนธคาถาวา “อนฺโตชฎา. พาหิชฏา ชฏายชฏิตา ปชา” ดังขาพระองคจะขอทูลถาม “ภนฺเต ภควา” ขาแตพระองคผูทรงพระภาค ตัณหา มี ๒ ประการ คือตัณหาอันชัฏอยูในภายใน และตัณหาอันชัฏอยูภายนอก สัตวทั้งหลายที่เกิดมาใน โลกนี้ ยอมมีจิตอันตัณหาชฏามีอุปมาดังขายแหงนายพราน ครอบงําปกคลุมหุมหอไว มีอรรถสังวรรณนาพระคาถาที่เทพยดาทูลถามปญหานั้นวา คํากลาววาชฏานั้น เปนชื่อของ ตัณหา มีอุปมาดังขาย แทจริง ตัณหานั้นไดนามชื่อวา “ชฏา” เพราะเหตุวาตัณหานั้นยอมบังเกิดแลว บังเกิดเลา โดยประเภทที่จะประพฤติเปนไปในเบื้องต่ําและเบื้องบน ยึดหนวงเอาอารมณมีรูปารมณ เปนอาทิ ดวยอรรถวาตัณหานั้นรอยกรองไว เกี่ยวประสานไว ดุจดังวาแขนงแหงกิ่งไมทั้งหลายมี สุมทุมพมไมไผเปนประธาน อนึ่ง ตัณหานั้นชื่อวาชัฏในภายใน และชัฏในภายนอก เพราะเหตุวาตัณหานั้นบังเกิดขึ้นใน บริขารของตน และบริขารของบุคคลผูอื่นบังเกิดขึ้นในอายตนะภายในและอายตนะภายนอก สัตว ทั้งหลายในโลกนี้ ยอมมีจิตสันดานอันตัณหาภายในและตัณหาภายนอกบังเกิดขึ้นเนือง ๆ ดังนี้แลว ก็ กระทําใหฟนเฟอเหลือที่จะสางได มีคําอุปมาวา “ยถา นาม เวฬุชฏทีหิ เวฬุอาทโย” ตนไมในแผนปฐพีมีตนไมไผเปนอาทิ เมื่อวัฒนาเจริญขึ้นมาแลวเปนแขนงหนามของตนที่เจริญขึ้นมานั้น พาใหรกเลี้ยวปกคลุมหุมหอซึ่งลํา ตนไวมิใหสละสลวยได อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มีอุปไมยเหมือนดวยหมูสัตวที่เกิดมา ตัณหาที่เปนผู ชักนําใหมาเกิดเปนกายก็ยอมกระทําใหฟนเฝอเหลือที่จะสางยังจิตสันดานใหซาน ไปในรูปแลเสียง แลกลิ่นแลรสแลโผฏฐัพพะสัมผัสถูกตองดังนี้ “ตํ ตํ โคตม ปุจฺฉามิ” เพราะเหตุการณนั้น ขาแต พระองคผูทรงพระนามวาโคตมะ ขาพระองคจะขอถามวา “โก อิมํ วิชฏเย ชฏํ” บุคคลดังฤๅจะสามารถ อาจเพื่อจะสางเสียไดซึ่งชัฏ คือตัณหาอันหุมหอครอบงําเกี่ยวประสานจิตสันดานแหงสัตวไว ให ประพฤติเปนไปดังนี้ เมื่อเทพยดาทูลถามอรรถปญหาดังนี้ “สพฺพธมฺเมสุ อปฺปฏิหตณาณจาโร” องคสมเด็จ พระผูทรงพระภาคพระผูมีพระญาณหาสิ่งจะกําจัดมิได พระญาณของพระองคนั้น ยอมสัญจรจาริกไป ในไทยธรรมทั้งปวง มีธรรมอันเปนไปในอดีตกาลเปนอาทิ “เทวานํ อติเทโว” พระพุทธองคเปนวิสุทธิ เทวดาอันเลิศลวงเสียซึ่งเทพยดาทั้งปวงและเปนวิสุทธิสักกะเทวราชอันลวงเสียซึ่งสักกะเทวราชใน โลกธาตุทั้งปวง “พฺรหฺมานํ อติพรหมา” เปนวิสุทธิมหาพรหมอันลวงเสียซึ่งพรหมทั้งปวง พระองค แกลวกลาในจตุเวสารัชญาณทั้งสี่ แลทรงซึ่งพลญาณมีประการสิบ แลมีพระญาณหาสิ่งจะกั้นมิได มา พรอมดวยพระจักขุ กลาวคือปญญาสามารถอาจเห็นประจักษดวยอาการทั้งปวง เมื่อพระองคจะตรัส วิสัชนาอรรถปญหานี้จึงกลาวพระคาถาวา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺญ” เปนอาทิโดยนัยที่กลาว มาแลวในหนหลัง “อิมิสฺสาทานิ คาถาย” ในกาลบัดนี้ขาพระองคผูมีนามชื่อวา พุทธโฆษาจารยจะ ยังอรรถแหงพระคาถาที่องคสมเด็จพระบรมศาสดาผูทรงแสวงหาศีลขันธาทิคุณ ตรัสวิสัชนาจําแนก ศีล แลสมาธิปญญา เปนอาทิ อันมิไดวิปริตใหพิสดาร จักกลาวพระคัมภีรชื่อวาพระวิสุทธิมรรค มีคํา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-8ตัดสินหมดจดดีไมมีเศษ เพราะเหตุวาพระคัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้มิไดเจือดวยลัทธิอันมีในนิกายอื่น ๆ ซึ่งอาศัยในเทศนาแหงพระมหาเถระทั้งหลายอันอยูในมหาวิหาร คัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ สามารถอาจจะกระทําปราโมทยกลาวคือตรุณปติอันออน ใหบังเกิด มีแกพระภิกษุทั้งหลายอันไดบรรพชาในพระพุทธศาสนา อันสัตวโลกทั้งหลายไดดวยยาก พระผูเปน เจายังมิไดรูจักหนทางพระนิพพานวา หนทางนี้ เปนหนทางตรง เปนหนทางมิไดผิด เปนหนทางอัน เกษม สงเคราะหเขาในศีลขันธคือกองแหงศีล สมาธิขันธ กองแหงสมาธิ ป ญญาขันธ กองแหงปญญา เมื่อยังไมรูจักหนทาง ถึงวาจะปรารถนาพระนิพพานก็ดี จะพยายามกระทําเพียรก็ดี ก็มิไดสําเร็จแกพระ นิพพาน “สาธโว” ดูกรสาธุสัปบุรุษทั้งหลาย ทานทั้งปวงปรารถนาวิสุทธิกลาวคือพระนิพพาน จงเงี่ยโสตสดับพระคัมภีรพระวิสุทธิมรรคแตสํานักแหงเรา ผูจะกลาวอรรถสังวรรณนา พระพุทธโฆษาจารยเจานิพนธพระบาลี แปลเปนภาษาสยามไดเนื้อความดังนี้ จึงดําเนิน อรรถสังวรรณนาในบทคือวิสุทธินั้นวา “สพฺพมลวิรหิตํ อจฺจนตปริสุทฺธ”ํ พระนิพพานเวนจากมลทิน ทั้งปวงบริสุทธิ์โดยแทบัณฑิตพึงรูดังนี้ หนทางพระนิพพานนั้น ชื่อวาวิสุทธิ อุบายที่จะตรัสรูนั้นชื่อวา มรรค ขาพระพุทธเจา จักกลาวซึ่งพระคัมภีรชื่อวาวิสุทธิมรรคนั้นมีอรรถคือแปลวา ขาพระองคจะ กลาวซึ่งอุบายที่จะตรัสรูพระนิพพาน “โส ปรนายํ วิสุทธิมคฺโค” อนึ่งพระวิสุทธิมรรคคืออุบายที่จะ กระทําพระนิพพานนั้นใหแจง ในพระสูตรบางแหง องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาแสดง วิปสสนาลวน มิไดเจือดวยสมถะ “ยถาห ภควา” พระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาไวเปนดังฤๅ พระผูมีพระภาคตรัสเทศนาไว ดวยพระบาทพระคาถาวา “สพฺเพ สงฺขารา นิจฺจาติ, ยทา ปฺญาย ปสฺสติ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน กาลใดภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ พิจารณาเห็นดวยปญญาวา ธรรมอันยุติในภูมิ ๓ คือ กามาวจรภูมิ รู ปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ ทั้ง ๓ นี้เปนอนิจจังมิไดเที่ยง ในกาลนั้นคือกาลอันมีในภายหลัง ตั้งแตบังเกิด ขึ้นแหงญาณทั้งหลาย มีอุทยัพพยญาณ คือปญญาอันพิจารณาเห็นซึ่งความดับเปนอาทิ พระภิกษุนั้น ก็จะเหนื่อยหนายในกองทุกข คือปญจักขันธ อันเวียนตายเวียนเกิดอยูในภพทั้ง ๓ นี้ กามาวจรภพเปน อาทิ “เอส มคฺโค วิสุทธิยา” ดูกรภิกษุทั้งหลายธรรมกลาวคือนิพพานญาณปญญาที่เหนื่อยหนายใน กองทุกข กลาวคือปญจักขันธนี้ ชื่อวาเปนอุบายที่จะใหตรัสรูพระนิพพาน “กตฺถจิ ฌานปฺญาวเสน” อนึ่งวิสุทธิมรรค คืออุบายที่จะใหตรัสรูพระปรินิพพานนั้น ใน พระสูตรบางแหง องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวดวยสามารถแหงฌานแลปญญา “ยถาห ภควา” พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวเปนดังฤๅ สมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัส เทศนาไววา “นตฺถิ ฌานํ อปฺญสฺส, นตฺถิ ปฺญา อฌายิโน” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฌานไมมีแก ภิกษุอันหาปญญามิได ปญญาไมมีแกภิกษุอันหาฌานมิได ฌานแลปญญาทั้ง ๒ นี้มีแกภิกษุรูปใด ภิกษุรูปนั้นก็จะตั้งอยูในที่ใกลพระนิพพานโดยแท อนึ่งพระวิสุทธิมรรคนี้ สัมมากัมมันตะเปนอาทิ

ในพระสูตรบางแหง

องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาดวย

“ยถาห ภควา” พระผูมีพระภาคตรัสเทศนาไวเปนดังฤๅ พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไว วา “กมฺมํ วิชฺชา จ ธมโม จ สีลํ ชีวิตมุตฺตมํ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตวทั้งปวงยอมจะบริสุทธิ์ดวย กรรม คือมรรคเจตนา ๑ ดวยวิชชาคือสัมมาทิฏฐิ ๑ ดวยศีลคือสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ ๑ ดวยอุดม ชีวิตคือสัมมาอาชีวะ ๑ ดวยธัมมะ คือสัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ๑ ดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-9บางแหงวาดวยธรรม ๔ ประการ คือ สัมมากัมมันตะ ๑ สัมมาทิฏฐิ ๑ สัมมาวาจา ๑ สัมมาอาชีวะ ๑ “น โคตฺเตน ธเนน วา” สัตวทั้งหลายจะบริสุทธิ์ดวยโคตรแลบริสุทธิ์ดวยทรัพยก็หาไม “กตฺถจิ สีลาทิวเสน” อนึ่งพระวิสุทธิมรรคนี้ ในพระสูตรบางแหงองคพระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาแสดงดวยศีลเปนอาทิ “ยถาห ภควา” องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวเปนดังฤๅ องคพระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาไววา “สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปฺญวา สุสมาหิโต” พระภิกษุในพระศาสนานี้ ถึงพรอมดวย จตุปาริสุทธิศีลมาแลวเนือง ๆ ดวยปญญาอันเปนโลกิยะแลปญญาอันเปนโลกุตตระ มีจิตอันตั้งมั่นดวย สมาธิอันประกอบดวยประการเสมอ ดวยปญญาอันเปนโลกิยะแลเปนโลกุตตระ กระทําความเพียรเพื่อ วาจะสละอกุศลธรรม จะยังกุศลธรรมใหบังเกิดในตน มิไดเอื้อเฟออาลัยในกายแลชีวิต “โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ” พระภิกษุนั้นสามารถอาจจะเขาโอฆะทั้ง ๔ มีกามโอฆะเปนประธานอันสามัญสัตวทั้งปวงมี อาจจะขามได “กตฺถจิ สติปฏานาทิวเสน” พระวิสุทธิมรรคนี้ ในพระสูตรบางแหง องคสมเด็จพระผู ทรงพระภาคตรัสพระสัทธรรมเทศนาดวยโพธิปกขิยธรรม มีพระสติปฏฐานทั้ง ๔ เปนอาทิ “ยถาห ภควา” พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไว เปนดังฤๅ พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนา ไววา “เอกายโน ภิกฺขเว อยํ มคฺโค” ดูกรภิกษุทั้งหลาย มรรคมรรคานี้ เปนหนทางอันบุคคลผูเดียว พึงสัญจรยอมประพฤติเปนไปเพื่อจะยังสัตวทั้งหลายใหบริสุทธิ์ แลจะยังสัตวทั้งหลายใหลวงเสียซึ่ง ทุกขแลโทมนัส ใหตรัสรูพระนิพพานกระทําพระปรินิพพานใหแจง หนทางซึ่งบุคคลผูเดียวพึงสัญจร นั้นคือ พระสติปฏฐานทั้ง ๔ แลพระสัมมัปปธาน ๔ เปนอาทิ อนึ่ง ในปญหาพยากรณที่องคสมเด็จพระบรมศาสดาทรงพยากรณกลาวแก แกเทพยดาอัน ลงมาทูลถามปญหานี้ พระพุทธองคทรงแสดงศีลเปนอาทิ อรรถสังวรรณนาโดยสังเขป ในคาถาเทพยดาถามปญหา ก็ยุติการแตเพียงเทานี้ ในกาลนี้ พระพุทธโฆษาจารยเจาจะสังวรรณนาอรรถพระคาถาที่องคสมเด็จพระบรม ศาสดาตรัสวิสัชนา จึงดําเนินเนื้อความวา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ” สัตวโลกที่มีปญญา อันมา พรอมดวยปฏิสนธิ อันเปนไตรเหตุ อันบังเกิดแกกุศลธรรม ปฏิบัติบําเพ็ญศีลกระทําใหศีลของตน บริบูรณมิใหดางพรอย จึงไดชื่อวาตั้งอยูในศีล เมื่อตั้งอยูในศีลแลว ก็อุตสาหะกระทําความเพียร ที่จะยังกิเลสทั้งหลายใหรอนจําเดิมแต ตน แลใหรอนไปโดยภาคทั้งปวง อนึ่งสัตวผูนั้นมีปญญาอันแกกลาชื่อวา เนปกปญญา ในบทคือเนปกปญญานี้ คือองค สมเด็จพระศาสดาตรัสเทศนา ประสงคเอาปญญา อันประกอบดวยวิธีจะรักษาพระกรรมฐาน แทจริงใน ปญหาพยากรณนี้พระพุทธองคประสงคเอาปญญา ๓ ประการ ปญญาที่หนึ่งนั้น ประสงคเอาปญญาที่มาพรอมดวยปฏิสนทธิอันเปนไตรเหตุ ปญญาที่สองนั้น ประสงคเอาวิปสสนาปญญา อันพิจารณาเห็นพระไตรลักษณ ปญญาที่สามนั้น ประสงคเอาปริหาริกปญญา อันกําหนดกิจทั้งปวงมีกิจที่จะเลาเรียนพระ กรรมฐานทั้งสอง คือพระสมถกรรมฐานและพระวิปสสนากรรมฐาน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 10 สัตวนั้นไดนามชื่อวา ภิกษุ เพราะเหตุวาเห็นภัยในสังสารวัฏประกอบดวยโยนิโสมนสิการ เจริญพระสมาธิ คือเลาเรียนกสิณบริกรรม แลเจริญวิปสสนาใหเห็นวา ปญจวิธขันธทั้ง ๕ เปนอนิจจัง เปนทุกขังเปนอนัตตา “โส อิมํ วิชฏเย ชฏํ” สัตวที่ไดนามชื่อวาภิกษุนั้นยอมประกอบดวยธรรม ๖ ประการ คือ ศีล ๑ สมาธิ ๑ ปญญาทั้ง ๓ มีสหชาติปญญาอันเปนไตรเหตุเปนอาทิ แลความเพียรยัง กิเลสใหรอน ๑ เปน ๖ ประกอบดวยกันดังนี้ พึงถางชัฏคือตัณหานี้ มีคําอุปมาวา บุรุษอันประกอบดวยกําลัง ยืนอยูเหนือพื้นปฐพียกขึ้นซึ่งศาสตราอันตนลับ อานไวเปนอันดี พึงถางเสียซึ่งพุมไมไผอันใหญอันชัฏไปดวยหนามหนา “เสยฺยถาป นาม” ชื่อวามี อุปมาฉันใด ก็มีอุปไมยเหมือนหนึ่งสัตวคือภิกษุในพระพุทธศาสนายืนอยูเหนือปฐพี กลาวคือศีล ยกขึ้นซึ่งศาสตรา กลาวคือวิปสสนาอันตนลับอานแลวเปนอันดี เหนือศิลากลาวคือความเพียรพึงดัด เสียแหงตน อนึ่งพระภิกษุจะถางเสียไดซึ่งชัฏคือตัณหา ก็ถางเสียไดในขณะแหงตนไดพระ อรหัตตมรรค ในขณะที่ไดสําเร็จแกพระอรหัตตผลแลว พระภิกษุนั้นก็ไดชื่อถางชัฏคือตัณหาสําเร็จ แลว เปนอัคคทักขิไณยบุคคล ควรจะพึงรับทานอันเลิศแหงสัตวอันอยูในมนุษยโลก กับดวยสัตวอัน อยูในเทวโลกเหตุการณดังนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค จึงโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนาแก เทพยดานั้นดวยบาทพระคาถามีคํากลาววา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ” เปนอาทิ เอวํ ก็มีดวย ประการฉะนี้ “ตตฺรายํ ยาย ปฺญาย สปญโญติ วุตฺโต ตตฺรายสฺส กรณียํ นตฺถิ ปุริมกมมานุภา เวเนว หิสฺส สา สิทฺธา” “อาตาป นิปโกติ เอตฺถ วุตฺติวริยวเสน ปน เตน สาตจฺจ การินา ปฺญาวเสน จ สม ปชานการิน หุตฺวา สีเล ปติฏาย จิตฺตปฺญาวเสน วุตฺตา สมถวิปสุสนา ภาเวตพฺพาติ” “อิมํ ตตฺร ภควา สิลสมาธิปฺญามุเขน วิสุทฺธิมคคํ ทสฺเสติ” พระสัทธรรมเทศนาสืบลําดับวาระพระบาลีมา มีเนื้อความวาองคสมเด็จพระศาสดา ตรัส เทศนาในพระคาถาวา “สปฺโญ” พระโยคาวจร ภิกษุประกอบดวยปญญาอันใด กิจที่พระโยคาวจร ภิกษุจะพึงกระทําในปญญานั้นบมิไดมี เหตุดังฤๅ เหตุวา ปญญานั้นยอมสําเร็จแกพระโยคาวจรภิกษุนี้ ดวยอานุภาพแหงกุศลกรรม ที่พระโยคาวจรภิกษุสันนิจจยาการกอสรางมาแลวแตปุริมภพปางกอน ในบทคือ “อาตาป นิปโก” องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาดวยสามารถ ศีล สมาธิ ปญญา หวังจะใหพระโยคาวจรเจามีความอุตสาหะกระทําเนือง ๆ กระทําใหมากดวยวิริยะ พยายาม แลกระทําตนใหรูรอบคอบดวยปญญา แลวพึงเจริญสมถะแลวิปสสนา ในพระคาถานี้ องคพระผูมีพระภาค ปรินิพพาน ดวยศีล สมาธิ แลปญญาเปนประธาน

ตรัสเทศนาชื่อวาพระวิสุทธิมรรค คือหนทางพระ

“เอตฺตา หิ ติสฺโส สิกฺขา” แทจริง สิกขาทั้ง ๓ คืออธิศีล สิกขา อธิจิตตสิกขา อติปญญา สิกขา องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคทรงแสดงดวยเทศนามีประมาณเทานี้ อนึ่ง “ติวิธกลฺยาณสาสนํ” คําสั่งสอนที่จะใหปฏิบัติ แลคําสั่งสอนที่จะใหตรัสรูธรรมวิเศษ มีคุณอันบัณฑิตพึงนับ ๓ ประการ คือมีคุณอันบัณฑิตนับในตน แลทามกลางแลที่สุด แลอุปนิสัยแหง ไตรวิชชา แลการที่จะเวนจากลามกทั้ง ๒ คือกามสุขัลลิกานุโยคกระทําความเพียรใหติดอยูในกามสุข อัตตกิลมถานุโยคกระทําความเพียรใหตนไดความลําบาก แลการที่พึงเสพซึ่งมัชฌิมปฏิบัติอันเปนทามกลาง องคสมเด็จพระบรมศาสดา ก็ทรงแสดง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 11 ดวยเทศนามีประมาณเทานี้ อนึ่ง “อปายาทิสมติกฺกมนุปาโย” อุบายที่จะลวงเสียซึ่งเตภูมิกวัฏมีบังเกิดในจตุราบาย เปนอาทิ แลสละกิเลสดวยอาการทั้ง ๓ มีวิขัมภนปหานเปนประธาน แลธรรมอันเปนขาศึกแกวิตก แลวิจารเปนอาทิ แลการที่จะชําระเสียซึ่งสังกิเลสทั้ง ๓ แล จะประพฤติปฏิบัติใหเปนอุปนิสัยแกมรรค แลผลมีพระโสดาปตติมรรคเปนตน องคสมเด็จพระบรม ศาสดาก็ทรงแสดงดวยเทศนามีประมาณเทานี้ มีคําปุจฉาถามวา ธรรมทั้งหลายมีสิกขาทั้ง ๓ เปนอาทินั้น องคสมเด็จพระบรมศาสดาทรง แสดงดวยเทศนามีประมาณเทานี้ คือทรงแสดงดวยพระคาถา มีคํากลาววา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺ โญ” เปนอาทิฉะนี้ ดวยประการดังฤๅ มีคําวิสัชนาวา องคพระบรมศาสดาตรัสเทศนาพระวิสุทธิมรรคหนทางพระนิพพานดวยศีล นั้น คือพระองคทรงแสดงดวยอธิศีลสิกขา พระบรมศาสดา ตรัสเทศนาพระวิสุทธิมรรคหนทางพระนิพพานดวยสมาธินั้น คือพระพุทธ องคทรงแสดงดวยอธิจิตตสิกขา พระบรมศาสดาตรัสเทศนาพระวิสุทธิมรรค หนทางพระนิพพานดวยปญญานั้น คือพระพุทธ องคทรงแสดงดวยอธิปญญาสิกขา แทจริง “สาสนสฺส อาทิกลฺยาณตา” ศาสโนวาทคําสั่งสอนแหงพระบรมศาสดา ไพเราะ ในเบื้องตนนั้น องคพระผูทรงพระภาคทรงแสดงศีล ศีลนั้นชื่อวาเปนเบื้องตนพระศาสนา เพราะเหตุวา พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาเปฯปุจฉาวา “โก จาทิ กุสลานํ ธมฺมานํ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ดังฤๅ เปนเบื้องตนแหงธรรมทั้งหลายอันเปนกุศล แลทรงวิสัชนาวา “สีลฺจ วิสุทธํ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศีลที่บุคคลรักษาไวใหบริสุทธิ์นั้นนั่น แล เปนเบื้องตนแหงกุศลธรมคําสั่งสอนแหงเรา อนึ่งศีลนั้นชื่อวาเปนเบื้องตนพระศาสนา เพราะเหตุวาพระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาไว โดยนัยเปนอาทิวา “สพฺพปาปสฺส อกรณํ” ภิกษุในศาสนานี้ อยาพึงกระทํากรรมอันลามกดวยตน แลอยาพึง ยังบุคคลอื่นใหกระทํากรรมอันลามกดวยวาจา แทจริงศีลนั้นชื่อวากัลยาณะ แปลวามีคุณอันปราชญพึงนับเพราะเหตุวา ศีลนั้นจะนํามาซึ่ง คุณ มีคุณคือมิไดเดือดรอนกินแหนงเปนอาทิ “สมาธินา มชฺเฌ กลฺยาณตา” อนึ่งพระศาสนาคือคําสั่งสอนของพระบรมศาสดามีคุณ อันนักปราชญพึงนับในทามกลางนั้น องคพระผูทรงพระภาค ทรงแสดงดวยสมาธิ แทจริงสมาธินั้น เปนคําสั่งสอนแหงองคพระบรมศาสดาอันเปนทามกลาง เพราะเหตุวาพระ พุทธองคตรัสเทศนาไว โดยนัยเปนอาทิวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระภิกษุในพระศาสนานี้ พึงยังกุศล ธรรมใหสําเร็จ แทจริงสมาธินั้น อิทธิฤทธิ์เปนอาทิ

ชื่อวามีคุณอันนักปราชญพึ่งนับ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

เพราะเหตุวาสมาธินั้นจะนํามาซึ่งคุณมี


- 12 อนึ่ง “ปริโยสานกลฺยาณตา” พระศาสนาคําสั่งสอนของพระบรมศาสดา นักปราชญพึงนับในที่สุดนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาดวยปญญา

มีคุณอัน

แทจริงปญญานั้น ชื่อวาเปนที่สุดพระพุทธศาสนา เพราะเหตุวา พระผูทรงพระภาคตรัส เทศนาไววา “สจิตฺตปริโยทปนํ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระภิกษุในศาสนานี้ พึงยังจิตใหผองใสชําระใจ ใหบริสุทธิ์ตัดเสียซึ่งกิเลสโดยอาการทั้งปวงดวยปญญา “เอตํ พุทฺธานสาสนํ” พระภิกษุในศาสนา ปฏิบัติดังนี้ชื่อวาตั้งอยูในโอวาท รักษาพระ ศาสนาคําสั่งสอนแหงองคสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจา ปญญานี้เปนที่สุดแหงพระศาสนา แทจริงปญญานั้น ชื่อวามีคุณอันปราชญจะพึงนับ เพราะเหตุวาจะนํามาซึ่งตาทิคุณมิให หวั่นไหว ในอิฏฐารมณคือลาภแลอนิฏฐารมณคือ หาลาภไมไดเปนอาทิ เพราะเหตุนั้น องคสมเด็๗ พระผูทรงพระภาค จึงโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนาไววา “เสโล ยถา เอกฆโน, วาเตน น สมิรติ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภูเขาอันแลวดวยศิลาแทง เดียว ยอมมิไดหวั่นไหวดวยกําลัง “ยถา” อันนี้มีอุปมาฉันใด ก็มีอุปไมยเหมือนพระอริยเจา อันดําเนิน ดวยญาณคติ กลาวคือปญญาอันเปนปริโยสานที่สุดพระพุทธศาสนา ยอมมีจิตมิไดหวั่นไหวในโลก ๘ ประการ มีนินทาแลสรรเสริญเปนอาทิ “ตถา สีเลน เตวิชฺชตาย” อนึ่งธรรมเปนอุปนิสัย ที่จะใหพระภิกษุไดสําเร็จแกไตรวิชชา มี ทิพพจักษุญาณเปนประธานองคพระบรมศาสดาก็ตรัสเทศนาแสดงดวยศีล แทจริง พระโยคาวจรภิกษุจะบรรลุถึงวิชชาทั้ง ๓ ก็อาศัยที่รักษาศีลของตนไวใหบริบูรณ “น ตโต ปรํ” อภิญญาทั้ง ๖ ประการ

พระภิกษุนั้นก็ไมอาจสามารถจะบรรลุถึงธรรมอันอื่นยิ่งกวานั้น

คือพระ

ธรรมอันเปนอุปนิสัยที่จะใหพระโยคาวจรภิกษุ บรรลุถึงฉฬภิญญาทั้ง ๖ นั้น องคพระบรม ศาสดาตรัสเทศนาดวยพระสมาธิ แทจริงพระโยคาวจรภิกษุในพระศาสนา จะบรรลุถึงอภิญญาทั้ง ๖ ก็อาศัยแกสมาธิมี บริบูรณอยูในสันดานแหงตน “น ตโต ปรํ” พระภิกษุนั้นก็อาจจะบรรลุถึงธรรมอันอื่น อันยิ่งกวานั้น คือพระปฏิสัมภิทา ญาณ “ปฺญาย ปฏิสมฺภิทาย เภทสสฺส” ธรรมอันเปนอุปนิสัยที่จะใหพระโยคาวจรภิกษุ แตกฉานในปฏิสัมภิทานั้น องคสมเด็จพระมหากรุณาตรัสแสดงดวยปญญา แทจริง พระภิกษุจะบรรลุถึงพระปฏิสัมภิทาญาณทั้ง ๔ ก็อาศัยแกปญญาบริบูรณอยูในจิต สันดาน มิไดบรรลุถึงดวยเหตุอันอื่น อนึ่ง “สีเล กามสุขลฺลิกานุโยคสงฺขาตสฺส” การที่จะละเสียเวนเสียซึ่งธรรมอันลามก กลาวคือประกอบเนือง ๆ ดวยสามารถยินดีในกามสุข องคพระบรมศาสดาตรัสเทศนาดวยศีล การที่เวนเสียซึ่งธรรมอันลามก กลาวคือประกอบเนือง ๆ ที่จะยังตนใหไดความลําบากนั้น องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาแสดงดวยสมาธิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 13 การที่จะเวนสองเสพมัชฌิมปฏิบัติ เปนสวนอันมีในทามกลางองคสมเด็จพระบรมศาสดา ตรัสเทศนาแสดงดวยปญญา “สีเลน อปายสมติกฺกมนุปาโย” อนึ่งอุบายที่จะลวงเสียซึ่งจตุราบายทั้ง ๔ มีนรกเปนอาทิ องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงดวยศีล กิริยาที่ลวงเสียซึ่งกามธาตุ คือมิไดบังเกิดใน กามาวจรภพ องคพระบรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงดวยสมาธิ “สพฺพภวสมุติกฺกมนุปาโย” แสดงดวยปญญา

อุบายที่ลวงเสียซึ่งภพทั้งปวง

องคสมเด็จพระบรมศาสดา

อนึ่งกิริยาที่จะละกิเลสดวยสามารถตทังคปหาน คือการที่จะละเสียซึ่งองคแหงอกุศลนัน ๆ ดวยองคแหงกุศลนั้น ๆ คือบุญกิริยาวัตถุเหมือนหนึ่งกําจัดซึ่งมืด ดวยแสงแหงประทีป องคสมเด็จ พระบมศาสดาตรัสเทศนาดวยศีล กิริยาจะสละละกิเลสดวยวิกขัมภนปหาน สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงดวยสมาธิ

ขมขี่ธรรมทั้งปวงมีนิวรณธรรมเปนอาทิ

องค

กิริยาที่จะสละละกิเลส ดวยสามารถสมุจเฉทปหาน ละกิเลสแลวกิเลสไมกลับมา องค สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงดวยปญญาอันเกิดกับดวยพระอริยมรรค “ตถา สีเลน กิเลสานํ” อนึ่งธรรมอันเปนขาศึกแกการที่จะลวงเสียซึ่งกิเลส องคสมเด็จพระ บรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงดวยศีล ธรรมอันเปนขาศึกแกกลา ที่จะลวงเสียซึ่งกิเลส องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนา แสดงดวยสมาธิ “อนุสยปฏิปกฺโข” ธรรมอันเปนปฏิปกษแกอนุสัยมีตัณหานุสัยเปนอาทิ องคพระผูทรงพระ ภาคตรัสแสดงดวยปญญา อนึ่งกิริยาที่จะชําระเสียซึ่งธรรมอันเศราหมองคือทุจริต แสดงเทศนาดวยศีล

องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัส

การที่จะสละละสังกิเลสคือทิฏฐิ ๖๒ ประการ องคสมเด็จพระบรมศาสดาจารยตรัสเทศนา แสดงดวยปญญา “สีเลน โสตาปนฺนสกิทาคามิภาวสฺส” อนึ่งเหตุที่จะใหไดเปนพระโสดาบันบุคคล และ เปนพระสกิทาคามิบุคคลนั้น องคสมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสเทศนาแสดงดวยศีล เหตุที่จะใหไดเปนพระอนาคามีอริยบุคคลนั้น องคสมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสเทศนาแสดง ดวยสมาธิ เหตุที่จะใหพระอรหัตตเปนองคพระอรหันตนั้น องคสมเด็จพระผูทรงสวัสดิภาคตรัสเทศนา แสดงดวยปญญา “เอวํ เอตฺตาวตา ติสฺโส สิกฺขา” พระคุณทีละสาม ๆ ถึงเกาครั้ง คือสิกขาทั้ง ๓ คืออธิศีล สิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ อธิปญญาสิกขา ๑ เปนสิกขาทั้ง ๓ ประการนับเปน ๑ “ติวิธกลฺยาณสาสนํ” คือคําสั่งสอนของพระบรมศาสดา มีไพเราะ ๓ ประการดังกลาวแลว

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 14 ๑ คือ ธรรมอันเปนอุปนิสัยแกพระคุณทั้ง ๓ มีไตรวิชชาคุณเปนอาทิ ๑ กิริยาที่จะเวนจากธรรมทั้ง ๒ แลเสพมัชฌิมปฏิบัติ ๑ เขากันเปน ๓ ประการ ๑ คืออุบายที่ลวงจตุราบายภูมิเปนอาทิ ๑ สละกิเลสดวยอาการ ๓ ประการ ๑ คือธรรมอันเปนขาศึกที่จะลวงกิเลสเปนอาทิ ๑ จะชําระสังกิเลสทั้ง ๓ ประการ ๑ เหตุที่จะ ใหไดเปนพระโสดาบันเปนอาทิ ๑ นับพระคุณทีละ ๓ ๆ ถึง ๕ ครั้งนี้ แลประมาณ ๓ แหงพระคุณอันอื่น องคสมเด็จพระผูทรง พระภาคตรัสเทศนาแสดงดวยศีลแลสมาธิแลปญญา มีประมาณเทานี้ อนึ่งพระวิสุทธิมรรคนี้ องคสมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสเทศนาแสดงศีล แลสมาธิ แลปญญา เปนประธาน อันสงเคราะหเอาพระคุณเปนอันมากดังนี้ ไดชื่อวาพระพุทธองคทรงแสดงโดยยอยิ่งนัก ไมสามารถอาจใหเปนอุปการแกกุลบุตรทั้งหลาย อันเปนวิปจจิตัญูบุคคลแลไนยบุคคล อันชอบใน พระธรรมเทศนามิไดยอยิ่งนักแล มิไดพิสดารยิ่งนัก ในการนี้ขาพระองคผูมีนามชื่อวา พุทธโฆษาจารยจะปรารภศีลประกอบคําปุจฉาถามอรรถ ปญหา เพื่อจะแสดงคัมภีรวิสุทธิมรรคนี้ใหพิสดารโดยนัยจะแสดงดังนี้ ในปญหาปุจฉกนัยนั้น มีวาระพระบาลรจนาไวถามวา “กึ สีลํ” วัตถุสิ่งดังฤๅ เรียกวา ศีล คํา เรียกวา ศีลนั้นดวยอรรถดังฤๅ ธรรมดังฤๅเปนลักษณะเปนกิจเปนผล เปนอาสันนเหตุแหงศีลนั้น ศีลมีธรรมดังฤๅเปนอานิสงส ศีลมีกี่ประการ ธรรมดังฤๅเปนธรรมอันเศราหมองของศีลนั้น มีธรรมดังฤๅเปนธรรมบริสุทธิ์ของศีล เมื่อพระพุทธโฆษาจารย กลาวปญหาปุจฉกนัยดังนี้แลว จึงกลาวคําวิสัชนาในปญหานั้น โดยพระวาระพระบาลตั้งบทปุจฉาขึ้นไวทีละบท ๆ แลวก็กลาวคําวิสัชนาไปทีละขอ ๆ ในปุจฉาถามวา สิ่งดังฤๅชื่อวาศีลนั้น มีคําวิสัชนาวา ธรรมทั้งหลายมีเจตนาเปนอาทิของบุคคล ที่ละเวนจากบาปธรรมมี ปาณาติบาตเปนตน และยังวัตตปฏิบัติ มีอุปชฌายวัตรเปนประธานใหบริบูรณ มีคํากลาวรับวาจริง วิสัชนาอยางนี้ พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรกลาวไวคัมภีรพระปฏิสัมภิทา มรรควา “กึ สีลนฺติ” ในบทปุจฉาสถามวา วัตถุสิ่งดังฤาชื่อวาศีลนั้น อาจารยวิสัชนาวา เจตนาชื่อวาศีล เจตสิกชื่อวาศีล สังขารชื่อวาศีล มิไดกระทําใหลวง สิกขาบท ชื่อวาศีล อรรถาธิบายวา เจตนาของบุคคลที่เวนจากบาปธรรม มีปาณาติบาตเปนตน และปฏิบัติยัง อุปชฌายวัตรเปนประธานใหบริบูรณดังนี้ ชื่อวาเจตนาศีล วิรัติแหงบุคคลอันเวนจากบาปธรรม มีปาณาติบาตเปนอาทิ ชื่อวาเจตสิกศีล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 15 นัยหนึ่งกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ของบุคคลที่จะละเสียซึ่งบาปธรรมมีปาณาติบาตเปน อาทิ ชื่อวาเจตนาศีล ธรรม ๓ ประการ คืออนภิชฌาไมโลภ คืออพยาบาทไมพยาบาทคือสัมมาทิฏฐิ ที่องคพระผู ทรงพระภาคตรัสเทศนาไวโดยนับเปฯอาทิวา “อภิชฺฌํ ปหาย” พระภิกษุในพระพุทธศาสนาละ อภิชฌาเสียแลว มีจิตปราศจากอภิชฌา อยูเปนสุขในอิริยาบถทั้ง ๔ ธรรม ๓ ประการนี้ชื่อวา เจตสิก ศีล เอวังก็มีดวยประการดังนี้ “สํวโร สีลนฺติ เอตฺถ ปฺจวิเธน สํวโร เวทิตพฺโพ ปาฏิโมกฺข สํวโร สติสํวโร ญาณสํวโร ขนฺติสํวโร วิรียสํวโรติ ตตฺถ อิมินา ปาฏิโมกฺขสํวเรน อุเปโต โหติ สมุเปโตติ อยํ ปาฏิโมกฺขสํวโรติ รกฺขติ จกฺขุนทฺริเย สํวรํ อาปชฺชตีติ อยํ สติ สํวโร ยานิ โสตานิ โสกสฺมึ อชิ ตาติ ภควา สตี เตสํ นิวารณํ โสตานํ สํวรํพรูมิ ปฺญาเยเตป ถิยเรติ อยํ ญาณสํวโร” แปลเนื้อความวา วินิจฉัยในบทคือ “สํวโร สีลํ” สังวรชื่อวาศีลนี้ พระพุทธโฆษาจารยเจา นิพนธพระบาลีวา “ปฺจวิเธน สํวโร เวทิตพฺโพ” นักปราชญพึงรู สังวรมี ๔ ประการ คือ ปาฏิโมกข สังวร ๑ สติสังวร ๑ ญาณสังวร ๑ ขันติสังวร ๑ วิริยสังวร ๑ เปนสังวร ๕ ประการดวยกันดังนี้ สังวรที่องคสมเด็จพระบรมศาสดา ตรัสเทศนาโดยนัยเปนอาทิวา “อิมินา ปาฏิโมกฺขสํ วเรน” พระภิกษุในพระศาสนานี้ ประกอบแลวแลประกอบแลวดวยดี ดวยพระปาฏิโมกขสังวรชื่อวา ปาฏิโมกขสังวรเปนปฐมที่ ๑ สังวรที่ ๒ นั้น องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาไวโดยนัยเปนอาทิ วา “รกฺขติ จกฺขุนฺทฺริย”ํ ภิกษุในพระศาสนายอมรักษาซึ่งจักขุนทรีย ถึงซึ่งสังวรในจักขุนทรีย สังวรดังนี้ชื่อวา สติ สังวรเปนคํารบ ๒ ญาณสังวรเปนคํารบ ๓ นั้น พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาโดยนัยเปนอาทิวา อชิต ดูกรภิกษุชื่อวาอชิต “ยานิ โสตานิ” กระแสแหงตัณหา แลกระแสแหงทิฏฐิ แลกระแสแหงอวิชชา แล กระแสแหงกิเลสอันเหลือลงจากทุจริตอันใด แลมีกิริยาที่จะหามเสียไดซึ่งกระแสแหงธรรมทั้งปวง ก็ อาศัยสติอันประกอบดวยเอกุปปาทาทิประการ เสมอดวยสมถะแลวิปสสนาญาณ พระตถาคตกลาวซึ่ง สังวรคือกิริยาที่พระโยคาวจรภิกษุจะหามเสีย ซึ่งกระแสแหงธรรมทั้งปวงนั้นดวยอริยมรรคญาณ สังวร ดังนี้ ชื่อวาญาณสังวรเปนคํารบ ๓ ใชแตเทานั้น กิริยาอาการที่พระภิกษุจะเสพปจจัยนั้น ก็ถึงซึ่งประชุมลงในญาณสังวรนี้ ขันติสังวรเปนคํารบ ๔ นั้น ก็มาแลวแตพระบาลีมีนัยเปนอาทิวา “โย ปนายํ ขโม โหติ” พระภิกษุในพระศาสนายอมจะอดกลั้นซึ่งเย็นรอน สังวรนี้ชื่อวาขันติสังวรเปนคํารบ ๔ วิริยสังวรเปนคํารบ ๕ ก็มาแลวแตวาระพระบาลีมีนัยเปนอาทิวา “โยจายํ อุปฺปนฺนํ กาม วิตกกํ” พระภิกษุในพระศาสนานี้ มิไดยังกามวิตกอันบังเกิดขึ้นในอารมณนัน ๆ ในแรมอยูในจิตแหง ตน สังวรนี้ชื่อวาวิริยสังวรเปนคํารบ ๕ อาชีวปาริสุทธิศีลนั้นเลา ก็ถึงซึ่งประชุมลงในสังวรศีลนี้ สังวรมี ๕ ประการก็ดี วิรัติคือเจตนาที่จะเวนจากสัมปตตวัตถุของกุลบุตรทั้งหลาย ที่มี ความขลาดแตบาปก็ดี ธรรมทั้งปวงก็ดี สังวร ๕ ประการเปนอาทินี้ บัณฑิตพึงรูเรียกวาสังวรศีล ในบทคือ “อวิติกฺกโม สีลํ” นั้นมีอรรถสังวรรณนาวา การที่มิไดลวงซึ่งศีลที่ตนสมาทาน อันยุติในกายแลยุติในวาจา ชื่อวาอวิตกกมศีล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 16 วิสัชนาปญหาในบทปุจฉาถามวา วัตถุสิ่งดังฤๅ ชื่อวาศีลก็ยุติเพียงนี้ แตนี้จะไดวินิจฉัยในบทปุจฉาอันเศษสืบตอไปวา “เกนตฺเถน สีลํ” วัตถุที่เรียกวาศีลนั้น ดวยอรรถดังฤๅ อาจารยวิสัชนาวา อรรถที่เรียกวาศีลนั้นดวยอรรถวา สีลนะ สิ่งที่ตั้งไวเปนอันดี มีตั้งไวซึ่ง กายสุจริตเปนอาทิ เรียกวา สัจนะ เปนอรรถแหงศีล มีอรรถาธิบายวา บุคคลที่ยังกุศลธรรมีกายกรรมเปนตน มิใหเรี่ยรายดวยสามารถประมวลไว เปนอันดีนั้น ชื่อวาสีลนะ “อุธาณํ วา” อนึ่งการที่บุคคลทรงไว ชื่อวาสีลนะ มีอรรถาธิบายวา สภาวะที่บุคคลทรงไว สามารถอาจยังกุลศลธรรมทั้งหลายใหตั้งอยูในตนชื่อวาสีลนะ เปนอรรถแหงศีล แทจริงอาจารยทั้งหลายที่รูลักษณะแหงศัพท ยอมอนุญาตอรรถทั้ง ๒ ที่กลาวมาแลว ให เปนอรรถในบทคือ สีลํ อนึ่งอาจารยทั้งหลายอื่น ยอมสังวรรณนาอรรถในบท สีลํ นี้โดยนัยเปนอาทิวา “สีรตฺโถ สีตตฺโถ สีตลตฺโถ สีววตฺโถ” ศีลนั้นมีอรรถคือแปลวาอุดม ศีลนั้นมีอรรถคือแปลวาเปนที่ตั้ง แปลวา ระงับเสียซึ่งกระวนกระวาย แลมีอรรถคือแปลวา อันปราชญพึงเสพ ในกาลบัดนี้ จะวินิจฉัยในปญหากรรม ที่พระพุทธโฆษาจารยเจาตั้งปุจฉาถามวา สิ่งดังฤๅ เปนลักษณะ เปนกิจ เปนผล เปนอาสันนเหตุแหงศีล วิสัชนา “สีลนํ ลกฺขณนฺตสมฺภินฺนสฺสาป อเนกธา” กิริยาที่ตั้งไว แลสภาวะที่ทรงไว ชื่อ วาเปนลักษณะแหงศีล อันมีประเภทตาง ๆ โดยประการเปนอันมาก เหมือนดวยจักษุวิญญาณจะพึง เห็นเปนลักษณะที่กําหนดของรูปายตนะ อันมีประเภทตาง ๆ โดยประการเปนอันมาก มีคําอุปมาวา กิริยาที่จะเปนไปกับดวยจักษุวิญญาณ จะพึงเห็นก็เปนลักษณะที่กําหนดของ รูปายตนะ อันมีประเภทตาง ๆ โดยประการเปนอันมาก คือรูปมีวรรณอันเขียวบาง คือรูปมีวรรณอัน เหลืองบาง เปนอาทิดังนี้ เพราะเหตุวาไมลวงเสียซึ่งสภาวะ ที่จะเปนไปกับดวยการที่จักษุวิญญาณ จะ พึงเห็น เปนลักษณะที่กําหนดของรูปายตนะมีสีเขียวเปนอาทิ “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มี อุปไมยเหมือนดวยกิริยาที่แสดงสภาวะแหงศีลมีประเภทตาง ๆ มีเจตนาศีลเปนประธาน อรรถคือสีลนะอันใด ที่เราจะกลาววาเปนที่ทรงไวซึ่งกุศลธรรมทั้ง ๓ คือกายกรรม แล วจีกรรม แลมโนกรรม แลกลาวไววาเปนที่ตั้งไวซึ่งกุศลธรรมทั้งหลาย อรรถคือศีลนั้น ชื่อวาเปน ลักษณะที่กําหนดแหงศีล เพราะเหตุวาไมลวงเสียไดซึ่งสภาวะแหงศีลอันมีประเภทตาง ๆ มีเจตนาศีล เปนตน เปนที่ทรงไวซึ่งกุศลธรรมทั้ง ๓ มีกายกรรมเปนประธาน แลเปนที่ตั้งไวซึ่งธรรมอันเปนกุศล อนึ่ง ศีลมีลักษณะที่จะทรงไว ตั้งไวซึ่งกรรมอันเปนกุศล แลธรรมอันเปนกุศลดังนี้แลว ศีล นั้นก็กําจัดเสียซึ่งสภาวะไมมีศีล ศีลนั้นก็ปราศจากโทษ จะประกอบดวยคุณ อาจารยจึงกลาววาชื่อวา รสดวยอรรถวาเปนกิจแลถึงพรอม เพราะเหตุการณดังนัน นักปราชญพึงรูวาศีลนั้นมีการที่จะกําจัดเสีย ซึ่งภาวะทุศีลเปนกิจ แลโทษหามิไดเปนกิจ ศีลนั้นมีสภาวะสะอาดดวยกายแลวาจาแลจิตเปนผล การที่กลัวแตบาป ละอายแตบาป นักปราชญทั้งหลายกลาวคําเรียกชื่อวาอาสันนเหตุแหงศีล แทจริง ในเมื่อหิริโอตตัปปะ ละอายแตบาปกลัวแตบาปมีอยูแลว ศีลก็บังเกิดมี ศีลก็ตั้งอยู

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 17 เมื่อหิริโอตตัปปะ ละอายแตบาปกลัวแตบาป ไมมีแลว ศีลก็มิไดบังเกิด ศีลก็มิไดตั้งอยู เพราะเหตุการณดังนั้น ศีลจึงมีหิริโอตัปปะ เปนอาสันนเหตุ ลักษณะแลกิจ แลผล แลอาสันนเหตุแหงศีล บัณฑิตพึงรูดวยพระบาลีมีแตประมาณเทานี้ ในบทปุจฉาถามวา “กึ อานิสํสํ” ศีลนั้นมีสิ่งดังฤๅเปนอานิสงส อาจารยวิสัชนาวา ศีลนั้นมีกิริยาที่จะไดซึ่งคุณเปนอันมากมีมิไดเดือดรอนกินแหนงเปนอาท เปนอานิสงส สมดวยพระบาลีที่องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนา แกพระอานนทเถรเจาวา “อวิปฺปฏิสารตฺถานิ โข ปนานนฺท” ดูกรภิกษุชื่อวาอานนท ศีลทั้งหลายนี้เปนธรรมอันมิไดมีโทษ มี ความระลึกถึงกรรมแหงตนที่รักษาศีล เปนธรรมอันนักปราชญ ไมพึงติเตียนไดเปนประโยชนและมิได เดือดรอนกินแหนง เปนอานิสงส ใชแตเทานั้น องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสพระสัทธรรมเทศนาอันอื่นอีกเลาวา “ปฺจิเม คหปตโย อานิสํส”ํ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย อานิสงส ๕ ประการนี้ มีแกบุคคลอันมีศีล ยังศีลที่ตนรักษา ใหบริบูรณ อานิสงส ๕ ประการนั้นเปนดังฤๅ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย บุคคลในโลกนี้ มีศีล รักษาศีลบริบูรณบุคคลนั้นยอมจะไดกองสมบัติ เปนอันมาก บังเกิดขึ้นแกตน เพราะตนมิไดประมาท อานิสงสนี้ เปนอานิสงสปฐมที่ ๑ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย บุคคลในโลกนี้ รักษาศีล ยังศีลใหบริบูรณกิตติศัพทกิตติคุณอัน สุนทรภาพไพบูลยของกุลบุตรนั้นยอมจะฟุงเฟองไปในทิศานุทิศทั้งปวง อานิสงสนี้เปนอานิสงสที่ ๒ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย บุคคลในโลกนี้ มีศีล แลยังมีศีลใหบริบูรณนั้น จะไปสูทามกลาง บริษัท คือขัตติยบริษัท คือพราหมณบริษัท คือคฤหบดีบริษัท แลสมณบริษัท กุลบุตรผูนั้นก็ยอม องอาจแกลวกลา เหตุวากุลบุตรนั้นปราศจากโทษ มิไดประกอบดวยโทษมิควรที่บุคคลจะพึงติเตียน ตน จะไดเปนชนนั่งกมหนา เกอเขินหามิได อานิสงสนี้เปนอานิสงสที่ ๘ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย บุคคลในโลกนี้ มีศีล แลบริสูทธิ์ดวยศีลนั้นยอมประกอบดวยความ เลื่อมใน มิไดหลงลืมสติ อานิสงสนี้เปนอานิสงสที่ ๔ ดูกรคฤหบดีทั้งหลาย บุคคลในโลกนี้ มีศีล แลบริบูรณดวยศีล ครั้นทําลายกาย กลาวคืออุ ปาทินนกรูปเบื้องหนาแตมรณะ จะไดไปบังเกิดในมนุษยสุคติ แลสวรรคสังคเทวโลก อานิสงสนี้เปน อานิสงสที่ ๓ ของบุคคลที่มีศีลบริบูรณดวยศีล ใชแตเทานั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาอีกอยางหนึ่งเลาวา “อากงฺเขยฺย เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ” ดูกรภิกษุทั้งหลายถาแลวาภิกษุในพระศาสนานั้น ปรารภวาในตนเปนผูที่รักแก สมณพรหมจรรยทั้งปวง และจะยังตนใหเปนที่เลื่อมใส เปนที่เคารพ เปนที่สรรเสริญแหงพระสหพรหม จรรยทั้งหลาย ภิกษุนั้นพยายามกระทําตนใหตั้งอยูในศีล รักษาศีลใหบริบูรณ อานิสงสศีลนั้น องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาไวในเบื้องตนนั้น คือจะใหเปนที่รัก เปนที่เจริญใจ เปนที่เคารพ เปนทีส ่ รรเสริญแหงสหพรหมจรรย โดยนัยเปนอาทิดังนี้ ไปในอปรภาค อานิสงสศีลนี้จะใหกุลบุตรในพระศาสนา ไดสําเร็จแกพระอริยมรรคและพระ อริยผล จะยังตนใหสําเร็จแกอาสวักขยะญาณเปนที่สุด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 18 ศีลนี้มีอานิสงสคุณเปนอันมากมี มิไดเดือดรอนกินแหนงเปนอาทิ ดังนี้ นัยหนึ่งที่ตั้งแหงตน กุลบุตรทั้งหลายในพระศาสนานี้ ถาเวนจากศีลแลวก็มิไดมี เมื่อ กุลบุตรมีศีลบริสุทธิ์ในพระศาสนา บุคคลดังฤๅจะสามารถอาจเพื่อจะแสดงอานิสงสศีลแหงกุลบุตรนั้น ได มหานที น้ําในแมน้ําใหญทั้ง ๕ คือ คงคา ยมุนา อจิรวดี มหิมหาสรภู ก็มิอาจสามารถจะ ชําระราคามลทินแหงสัตวทั้งหลายในโลกนี้ใหบริสุทธิ์ได “ยํ เว สีลชํ มลํ” อุทกธารามหานที กลาวคือบริสุทธิ์ ศีลสังวรนี้แล สามารถอาจชําระราคามลทินโทษ อันหมนหมองดองอยูในจิตสันดาน แหงสัตวทั้งหลายในโลกใหบริสุทธิ์ได "น ตํ สชลชา วาตา” อนึ่งลมแลฝนระคนกัน บันดาลตกลงมายังแผนพสุธาใหชุมไปดวย ธาราวารี ยังคณานิกรสรรพสัตวโลกทั้งปวงนี้ใหเย็นทรวงดวงหฤทัย ระงับเสียไดซึ่งกระวนกระวายใน ภายนอกก็ไมอาจระงับดับกระวนกระวาย กลาวคือราคาทิกิเลสในกายในไดดุจดังวาสังวรศีลแหง กุลบุตรในพระพุทธศาสนา “นจาป หริจนฺทนํ” อนึ่งแกนจันทนมีพรรณอันแดงแลสัตตรตนะ มีแกวมุกดาหารเปนอาทิ แลรัศมีจันทรพิมานอันออน อันอุทัยขึ้นมาในปาจีนโลกธาตุ สรรพสิ่งทั้งปวงมีสัมผัสอันเย็นนี้ก็อาจ ระงับกระวนกระวาย กลาวคือ ทุจริตได “ยํ สเมติทํ อริย”ํ ศีลอันใดที่พระโยคาวจรเจารักษาดี เปนศีล อันบริสุทธิ์ ศีลนั้นแลเย็นโดยแทสามารถอาจระงับกระวนกระวาย กลาวคือทุจริตได “สีลคนฺธสโม คนฺโธ กุโต ภวิสฺสติ” อนึ่งกลิ่นอันใดอาจฟุงซานไปตามลม และจะฟุงไป ในที่ทวนลม กลิ่นอันนั้นจะเสมอดวยกลิ่นศีล จักมีแตที่ดังฤๅ อนึ่ง “สคฺคาโรหณโสปฺาณํ” สิ่งอื่นจะเปนบันไดใหสัตวขึ้นไปสูสวรรค แลจะเปนประตูเขา ไปสูมหานคร คือพระอมตมหานิพพานเสมอดวยศีลนั้นมิไดมี “โสภนฺเตว น ราชาโน” อนึ่งบรมขัตติยเจาทั้งหลาย มีพระวรกายประดับดวยอลังการ วิภูษิต อันแลวดวยแกวมุกดาหารรสสรรพรตนาภรณทั้งปวง ก็ไมงามเหมือนพระยัติโยคาวจรภิกษุ อัน ทรงศีลวิภูษิตอาภรณ กลาวคือศีลอันบริสุทธิ์ “อตฺตานุวาทาทิ ภยํ” อนึ่งพระภิกษุในพระพุทธศาสนาทีทรงศีลบริสุทธิ์นั้นจะกําจัดเสีย ซึ่งภัย คือตนก็จมิไดติเตียนซึ่งตน บุคคลผูอื่นก็จะมิไดติเตียนพระภิกษุนั้น พระภิกษุนั้นก็ยอมยังความ สรรเสริญปติโสมนัสใหบังเกิดมีแกตน บัณฑิตพึงรูเถิดวา อานิสงสแหงศีลนี้ มีคุณสามารถจะฆาเสียซึ่งหมูแหงอกุศลกรรม อัน ประกอบไปดวยโทษมีทุจริตเปนมูลโดยนัยวิสัชนามา ดังนี้ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ “อิทานิ ยํ วุตฺตํ กติวิธฺเจตํ สีเลนฺต,ิ ตตฺริทํ วิสชฺชนํ, สพฺพเมว ตาว ทิทํ สีลํ อตฺตโน สีลลกฺขเณน เอกวิธํ. จาริตฺต วารีตฺตวเสนทุวิธํ. ตถา อภิสมาจาริกอาทิพฺรหฺมจริยกวเสน วิรติอ วิรติวเสน กาลปริยนฺตาอาปาณโกฏิกวเสน สปริยนฺตา ปริยนฺตวเสน โลกิยโลกุตฺตรวเสน จ ติ วิธํ หีนมชฺฌิมปณีตวเสน ฯลฯ ปาริสุทฺธสีลนฺติ” มีเนื้อความวา “อิทานิ ยํ วุตฺต”ํ ปญหากรรมอันใด ที่เรากลาวไวแลววา ศีลมีประมาณเทา ดังฤๅ เราจะวิสัชนาในปญหากรรมนั้น ณ กาลบัดนี้ ศีลทั้งปวงนั้นมีประการเดียว คือศีลนะ มีอรรถวาทรงไวตั้งไว

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 19 ศีลทั้งปวงนั้นมีประเภท ๒ ประการ คือจาริตศีล ศีลที่กุลบุตรในพระพุทธศาสนาประพฤติ ๑ คือวาริตศีล สิกขาบทที่พระพุทธเจาทรงหาม ๑ เปน ๒ ประการนี้ ภิกษุที่จะกระทําอภิสมาจาริกวัตร มีถือเอาบาตรแลจีวรเปนอาทิ ๑ คืออาทิพรหมจริยกศีล ศีลที่พระภิกษุประพฤติเปนเบื้องตนแหงมรรคพรหมจรรย ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ แลศีล ๒ ประการ คือวิรติศีล ศีลที่เวนจากบาปธรรม ๑ คือ อวิรติศีล ๑ เปน ๒ ประการนี้ แลศีล ๒ ประการ คือนิสสิตศีล อาศัยตัณหาและทิฏฐิ ๑ คือ อนิสสิตศีล มิไดอาศัยตัณหา แลทิฏฐิ เปนศีลอาศัยพระนิพพาน ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ แลกาลปริยันตศีล รักษาศีลกําหนดกาล ๑ คืออาปาณโมฏิกศีล รักษาศีลมีชีวิตเปนที่สุด ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ แลสปริยันตศีล ศีลมีที่สุด ๑ คืออปริยันตศีล ศีลไมมีที่สุด ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ แลศีลมี ๒ ประการ คือโลกิยศีล ๑ คือโลกุตตรศีล ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ “ติวิธํ สีลํ” อนึ่งศีลมี ๓ ประการ คือหีนศีล อยางต่ํา ๑ คือ มัชฌิมศีล อยางกลาง ๑ คือ ปณีตศีล อยางยิ่งอยางอุดม ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ ใชแตเทานั้น ศีลมี ๓ ประการ คืออัตตาธิปติศีล มีตนเปนใหญ ๑ คือโลกาธิปติศีล มีโลก เปนใหญ ๑ คือธัมมาธิปติศีล มีธรรมเปนใหญ ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ แลศีลมี ๓ ประการ คือปรามัฏฐิศีล อันตัณหาธิธรรมถือเอา ๑ คือ อปรามัฏฐศีล อันธรรม ทั้งหลาย มีตัณหาเปนอาทิ มิไดถือเอา ๑ คือปฏิปสสัทธิศีลคือ ศีลอันเปนที่ระงับดับกิเลส ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ แลศีลมี ๓ ประการ คือเสขศีลของพระเสขบุขบุคคล ๑ คืออเสขศีลของพระอเสขบุคคล ๑ คือเนวเสขานาเสขศีล ศีลขอปุถุชน ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ อนึ่งศีลมี ๔ ประการ คือหายนภาคิยศีล เปนสวนจะใหเสื่อม ๑ คือฐิติภาคิยศีล เปนสวนที่ จะใหตั้งมั่น ๑ คือเวเสสภาคิยศีล เปนสวนที่จะใหวิเศษ ๑ คือนิพเพธภาคิยศีล เปนสวนที่จะใหเหนื่อย หนายชําแรกออกจากกิเลส ๑ เปน ๔ ประการดังนี้ ใชแตเทานั้น ศีลมีประเภท ๔ ประการ คือศีลพระภิกษุ ๑ พระภิกษุณี ๑ ศีลอนุปสัมบัน ๑ ศีลคฤหัสถ ๑ เปน ๔ ประการดังนี้ แลศีลมี ๔ ประการ คือปกติศีล ๑ อาจารศีล ๑ ธรรมดาศีล ๑ บุพพเหตุกศีล ศีลที่เคย รักษามาแลวแตกาลกอน ๑ เปน ๔ ประการดังนี้ แลศีลมี ๔ ประการคือปกฏิโมกขสังวรศีล ๑ คืออินทริยสังวรศีล ๑ คืออาชีวปาริสุทธิศีล ๑ คือปจจัยสินนิสสติศีล ๑ เปน ๔ ประการ “ปญจวิธํ สีลํ อนึ่งศีลมี ๕ ประการ โดยประเภทแหงศีลทั้งหลาย มีปริยันตปาริสุทธิศีล เปนประธาน อันพระธรรมเทสนาบดีสารีบุตรกลาวไวในปกรณชื่อวาปฏิสัมภิทาวา ปฺจสีลานิ ประยนฺต ปาริสุทฺธิสีลํ ฯลฯ”

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 20 ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลมี ๕ ประการ คือปริยันตปาริสุทธิศีล ๑ คืออปริยันตปาริสุทธิศีล ๑ คือปริปุณณปาริสุทธิศีล ศีลที่พระภิกษุกระทําใหเต็มโดยสวนทั้งปวง ๑ คืออปรามัฏฐปาริสุทธิศีล ศีล ที่พระภิกษุรักษาอันตัณหาทิธรรมไดถือเอา ๑ คือปฏิปสสัทธิปาริสุทธิศีลอันเปนที่ระงับดับราคาทิ กิเลส ๑ เปน ๕ ประการดังนี้ ใชแตเทานั้น ศีลยังมีอีก ๕ ประการ คือปหานศีล อันจะสละซึ่งบาปธรรม ๑ คือเวรมณีศีล และเวนจากบาปธรรม ๑ คือ เจตนาศีล ๑ รักษาดวยเจตนา ๑ คือสังวรศีล รักษาดวยสังวร ๑ คืออวิตก กมศีล รักษามิไดใหลวงสิกขาบท ๑ เปน ๕ ประการดังนี้ อรรถสังวรรณนาในสวนแหงศีลมีประการอยางเดียวนั้น แลวแตหนหลัง

บัณฑิตพึงรูโดยนัยวิสัชนามา

“ทุวิธโกฏฐาเส” จะวินิจฉัยตัดสินในศีลมีประเภท ๒ ประการ คือ จาริตศีล แลวาริตศีลนั้น มีเนื้อความวา “ยํ ภควา อิทํ กตฺตพฺพํ” พระภิกษุรักษาสิกขาบท ที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค บัญญัติไววา พระภิกษุพึงกระทําอภิสมาจาริกวัตร ดังนี้ชอว ื่ า จาริตศีล “ยํ อิทํ น กตฺตพฺพํ” กิริยาที่พระภิกษุมิไดกระทําใหลวงสิกขาบทที่พระองคพระบรม ศาสดาตรัสหามวากรรมอันเปนทุจริตนี้ ภิกษุทั้งหลายอยาพึงกระทํา ดังนี้ชื่อวาวาริตศีล มีอรรถวิคหะวา พระภิกษุทั้งหลายประพฤติกระทําใหบริบูรณในศีลทั้งปวง ชื่อวา จาริตศีล มีอรรถาธิบายวา สิกขาบทที่ภิกษุจะพึงใหสําเร็จดวยศรัทธาแลความเพียร ชื่อวา จาริตศีล พระภิกษุรักษาสิกขาบทที่พระพุทธองคทรงหาม ชื่อวา วาริตศีล มีอรรถาธิบายวา สิกขาบทที่พระภิกษุจะพึงใหสําเร็จดวยศรัทธาแลสติชื่อวา วาริตศีล ศีลมี ๒ ประการ คือจาริตศีล แลวาริตศีล บัณฑิตพึงรูดังนี้ มีคําตัดสินในทุกกะที่ ๒ นั้นวา ศีลมี ๒ ประการ คืออภิสมาจาริกศีล แลอาทิพรหมจริยกศีล มีอรรถาสังวรรณนาในบทคืออภิสมาจารนั้นวา การที่ภิกษุประพฤติอุดม ชื่อวา อภิสมาจาริก ศีล นัยหนึ่ง ศีลที่องคสมเด็จพระผูมีพระภาค เฉพาะมรรคแลผล เปนประธานแลว แลบัญญัติ ไว ชื่อวาอภิสมาจาริกศีล ๆ นี้ เปนชื่อแหงศีลอันเหลือลงจากศีลมีอาชีวะเปนคํารบ ๘ แลอาทิพรหมจริยกศีลนั้น มีอรรถวา ศีลอันใดเปนเบื้องตนแหงมรรคพรหมจรรย ศีลอันนั้น ชื่อวา อาทิพรหมจริยกศีล อาทิพรหมจริยกศีลนี้ เปนชื่อแหงศีลมีอาชีวะเปนคํารบ ๘ ศีลนี้เปนตนแหงมรรค พรหมจรรย เพราะเหตุวาศีลนั้น พระภิกษุจะพึงชําระในสวนแหงขอปฏิบัติอันเปนเบื้องตน เพราะเหตุการณนั้น องคพระผูทรงพระภาคจึงตรัสเทศนาวา “ปุพฺเพว โข ปนสฺส กา ยกมฺมํ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย กายกรรมของพระภิกษุนี้ยอมจะบริสุทธิ์ในเบื้องตน วจีกรรมแลอาชีวะการ ที่จะเลี้ยงชีวิตพระภิกษุนี้ ก็ยอมจะบริสุทธิ์ในเบื้องตน อนึ่งสิกขาบททั้งหลาย ที่พระองคตรัสเรียกวา ขุททานุขุททกสิกขาบท นอยแลนอยตาม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 21 ลงมา สิกขาบททั้งปวงนี้ก็ไดนามชื่อวา อภิสมาจาริกศีล โลกิศีลอันเศษชื่อวา อาทิพรหมจริยกศีล อนึ่งศีลอันนับเขาในวิภังคทั้ง ๒ คือภิกขุวิภังค แลภิกขุนีวิภังค ชื่อวา อาทิพรหมจริยกศีล ศีลนับเขาในขันวรรค ชื่อวา อภิสมาจาริกศีล “ตสฺสา สมฺปตฺติยา” เมื่อสมาจาริกศีลนั้น พระภิกษุกระทําใหบริบูรณแลว อาทิพรหมจริย กศีลก็สําเร็จมิไดวิกล “เตเนวาห” เพราะเหตุการณนั้น องคพระผูทรงพระภาค จึงตรัสเทศนาวา “ภิกฺขเว” ดูกอนภิกษุทั้งหลาย “โส อภิสมาจารีกํ” พระภิกษุนั้นมิไดยังขออภิสมาจาริกศีลใหสมบูรณกอน แลว แลจะยังอาทิพรหมจริยกศีลใหบริบูรณ ไดดวยเหตุอันใด เหตุอันนี้ จะเปนที่ตั้งแหงผลหามิได ศีลมี ๒ ประการ คืออภิสมาจาริกศีลแลอาทิพรหมจริยกศีลดังนี้ มีคําวินิจฉัยตัดสิน ในทุกกะเปนคํารบสามนั้นวา ศีลมี ๒ ประการ คือวิรัติศีล แลอวิรัติศีล วิรัติศีลนั้น คือกิริยาที่จะเวนจากบาปธรรมทั้งหลายมีปาณาติบาตเปนตน อวิรัติศีลนั้น คือศีลอันเศษมีเจตนาศีลเปนตนเปนอาทิ เปน ๒ ประการดังนี้ ในจตุตถะทุกกะที่ ๔ นั้น มีคําวินิจฉัยวา ศีลมี ๒ ประการคือ นิสสิตศีล แลอนิสสิตศีล นิสสิตศีลนั้น มีอรรถวา นิสสัยนั้นมี ๒ ประการ คือตัณหานิสสัยแลทิฏฐินิสสัย ตัณหานิสสัยนั้น ไดแกศีลที่บุคคลรักษา ดวยความปรารถนาสมาบัติในภพวา เราจะบังเกิด เปนเทวดา แลจะเปนเทวบุตร เทวธิดาองคใดองคหนึ่งดวยศีลนี้ ศีลนั้นชื่อวา ตัณหานิสสิตศีล ศีลอันใดที่บุคคลรักษาไวดวยคิดเห็นวา เราจะบริสุทธิ์ดวยศีลนี้ศีลนั้น ชื่อวา ทิฏฐินิสสิตศีล “ยมฺปน โลกุตฺตรํ” อนึ่งศีลอันใดเปนโลกุตตรศีล แลเปนโลกิยศีลที่บุคคลรักษา หมายวา จะไดเปนเหตุที่จะไดโลกกุตตรสมมบัติคือ มรรค ๔ ผล ๔ ศีลนั้นชื่อวา อนิสสิตศีล ศีลมี ๒ ประการ คือนิสสิตศีล แลอนิสสิตศีลดังนี้ มีคําวินิจฉัยตัดสิน ในทุกกะเปนคํารบ ๕ นั้นวา ศีลมี ๒ ประการ คือกาลปริยันตศีล ไดแก ศีลที่บุคคลกระทํากาลปริจเฉทกําหนดกาลแลว แลสมาทาน ๑ อปาณโกฏิกศีล ไดแกศีลที่บุคคลสมาทานตราบเทาสิ้นชีวิตแลว แลรักษาไปสิ้นชีวิต ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ วินิจฉัยในทุกกะเปนคํารบ ๖ นั้นวา ศีลมี ๒ ประการ คือสปริยันตศีล ไดแกศีลอันฉิบหาย ดวยลาภแลยศ แลญาติ แลอวัยวะแลชีวิต ๑ คือ อปริยันตศีล ไดแกศีลอันมิไดฉิบหาย ดวยลาภแลยศ แลญาติ แลอวัยวะแลชีวิต ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ สมดวยพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรกลาวไววา ในปฏิสัมภิทาวา “กตมนฺติ สีลํ สปริยนตํ”

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 22 คือชื่อวาสปริยันตะนั้น คือ ศีลฉิบหายดวยลาภ แลฉิบหายดวยยศ และฉิบหายดวยญาติ และอวัยะ แล ชีวิต “กตมนติ สีลํ ลาภปริยนตํ” ศีลฉิบหายดวยลาภนั้นเปนดังฤๅ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ในโลกนี้ ประพฤติลวงสิกขาบทที่ตนสมาทานเพราะเหตุลาภ เพราะ ปจจัยคือลาภ เพราะการณคือลาภศีลนั้นชื่อวา ลาภปริยันตศีล สปริยันตศีล อื่นจากลาภรปริยันตศีล มียศปริยันตศีลเปนอาทิ อาจารยพึงใหพิสดาร โดย อุบายที่กลาวแลวนี้ เปนดังฤๅ

เมื่อพระธรรมเสนาบดี จะวิสัชนาในอปริยันตศีลตอไปนั้น จึงกลาววา นลาภอปริยันตศีลนั้น

ดูกรอาวุโสทั้งหลาย บุคคลจําพวกหนึ่ง ในพระพุทธศาสนานี้มิไดยังจิตใหบังเกิดขึ้นในการ ที่จะลวงสิกขาบท เพราะเหตุลาภแลยศแลญาติ และอวัยวะ และชีวิต ศีลนี้ชื่อวา อปริยันตศีล ๑ เปน ๒ ประการดังนี้ วินิจฉัยในทุกกะ เปนคํารบ ๗ นั้นวา ศีลมี ๒ ประการ คือโลกิยศีล แลโลกุตตรศีล ศีลที่ประกอบดวยอาสวะมีตัณหาสวะเปนอาทิ ของอยูในสันดาน ชื่อวาโลกิยศีล ศีลที่ปราศจากอาสวะชื่อวาโลกุตตรศีล แทจริงโลกิยศีลนั้น ยอมจะนํามาซึ่งสมบัติอันวิเศษในภพ กับประการหนึ่ง โลกิยศีลนี้ จะ เปนสัมภารเหตุ ที่จะรื้อตนออกจากภพ “ยถาห ภควา” องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ตรัสพระสัทธรรมเทศนาไวเปนดังฤๅ องคพระผูทรงภาคตรัสเทศนาไววา “วินโย สํวรตถาย” กริริยาที่จะเลาเรียนพระวินัยปริยัติ นี้ ยอมจะประพฤติเปนไปเพื่อประโยชนจะใหสังวร การที่สังวรนั้น นักปราชญจะพึงติเตียน

จะประพฤติเปนไปเพื่อประโยชนจะมิไดระลึกถึงกรรมแหงตนควรที่

การที่จะไมระลึกถึงกรรมแหงตน ที่บัณฑิตจะพึงติเตียนนั้นยอมจะประพฤติเปนไปเพื่อ ประโยชนจะใหไดความปราโมทย คือตรุณปติอันออน การที่ไดรับความปราโมทยนัน ยอมจะประพฤติเปนไปเพื่อประโยชนจะใหไดพระนิพพาน อันธรรมทั้งหลายมีตัณหาเปนอาทิ มิไดเขจาไปถือเอาได “เอตทตฺถกถา” การที่จะกลาวถึงพระวินัย แลการที่จะพิจารณาซึ่งอรรถแหงพระวินัย แล การที่จะปฏิบัติสืบ ๆ ตามเหตุที่กลาวมา แลจะเงี่ยลงซึ่งโสตประสาทสดับฟงซึ่งธรรม ก็ยอมมีอนุ ปาทานปรินิพพานเปนที่ประสงค “ยทิทํ วิโมกฺโข” วิโมกขคือกิริยาที่จะพนโดยวิเศษของจิตที่ อุปาทานทั้งหลายมิไดเขาไปใกลถือเอาซึ่งธรรม อนึ่งวิโมกขนั้น ก็มีอุปาทานปรินิพพานเปนประโยชน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 23 อนึ่งโลกุตตรศีลนี้ ยอมจะนําซึ่งกิริยาที่จะรื้อตนออกจากภพ แลจะเปนภูมิคือจะเปนที่เขา ไปอาศัยแหงปจจเวกขณญาณ บัณฑิตพึงรูวา ศีลมี ๒ ประการ คือโลกิยศีล ๑ โลกุตตรศีล ๑ เปน ๒ ประการดังวิสัชนามา นี้ เอวํ ก็มีดวยประการฉะนี้ “ติกฺเกสุ ปมติกฺเก หีเนน ฉนฺเทน จิตฺเตน วิริเยน วีมํ สายวา ปวตฺติตํ หีนํ มชฺฌิเมหิ ฉนฺทาทีหิ ปวตฺติตํ มชฺฌิมํ ปณีเตหิ ปณีตํ ยสกามยตาย วา สนาทินนํ หีนํ ปุฺญผลกามตาย มชฺฌิมํ กตฺตพฺเพเมวิทนฺติ อริยภาวนิสสาย สมาทินฺนํ ปณีตํ อหมสฺมิ สีลสมปนฺโน อิเม ปนฺ เญ ภิกขู ทุสฺสีลา ปาปธมฺมาติ เอวํ อตฺตุกํ สนปรวมฺภนาทีหิ อุปกิลิฏฺ วา อนุปกิลิฏํ โลกิยสีลํ มชฺฌิมํ โลกุตฺตรํ ปณีตนฺติ" วาระนี้จะไดวิสัชนา ล้ําติกกะทั้งหลาย ในติกกะประมาณ ๓ แหง ศีลเปนปฐม มีเนื้อความวา ศีลมี ๓ ประการ คือหีนศีล ๑ มัชฌิมศีล ๑ ปณีตศีล ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ หีนศีลเปนปฐมนั้นวา “หีเนน ฉนฺเทน จิตฺเตน” ศีลที่บุคคลใหประพฤติเปนไป ดวยฉันทะ ปรารถนาที่จะรักษา แลจิต แลความเพียร แลปญญาอันต่ําชา ศีลนั้นชื่อวาหีนศีล ๑ “มชฺฌิเมหํ ฉนฺทาทีหิ” ศีลที่บุคคลใหเปนไปดวยฉันทะแลจิต แลวิริยะความเพียร แล ปญญาอันเปนทามกลาง ชื่อวามัชฌิมศีล ๑ “ปณีเตหิ ปวตฺติตํ” ศีลที่บุคคลใหเปนไปดวยฉันทะ แลจิต แลวิริยะความเพียร แล ปญญาอันอุดม ชื่อวาปณีตศีล ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ วา หีนศีล

นัยหนึ่ง “ยสกามยตาย สมาทินฺน”ํ ศีลที่บุคคลสมาทาน ดวยมีความปรารถนาจะมียศชื่อ ศีลที่บุคคลสมาทาน ดวยความปรารถนาจะใหเปนบุญ ชื่อวามัชฌิมศีล

ศีลที่บุคคลสมาทาน อาศัยจะใหตนเปนบุคคลละบาปประเสริฐ โดยวิเศษวาของสิ่งนี้ควรที่ จะพึงกระทํา ชื่อวาปณีตศีล อนึ่ง ศีลที่บุคคลรักษาเศราหมอง หมายวาจะยกแลขมขี่บุคคลผูอื่น ดวยความปริวิตกวา อาตมาจะเปนบุคคลประกอบดวยศีลพรหมจรรยอื่น ๆ นั้นเปนบุคคลไมมีศีล มีแตธรรมอันลามก ชื่อ วาหีนศีล โลกิยศีลที่บุคคลรักษา มิไดกระทําใหมัวหมองดวยอัตตุกังสนะ ยกยอตน ขมขี่บุคคลผูอื่น ชื่อวา มัชฌิมศีล ศีลที่เปนโลกุตตระนั้น ชื่อวา ปณีตศีล ศีลที่บุคคลรักษา เพื่อประโยชนจะไดสมบัติในภพ เปนไปดวยสามารถแหงตัณหา ชื่อ วาหีนศีล ศีลที่บุคคลรักษา เพื่อประโยชนจะเปนสาวก และเปนพระปจเจกโพธิ์ชื่อวา มิชฌิมศีล ศีลที่บุคคลรักษา เพื่อประโยชนจะยังสัตวโลกใหพนจากสังสารวัฏชื่อวา ปณีกศีล ศีลมี ๓ ประการดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 24 วินิจฉัยในศีล ๓ ประการในติกกะที่ ๒ นั้นวา ศีลที่บุคคลรักษาแรารถนาจะละเสียซึ่งกรรม อันมิไดสมควรแกตน มีตนเปนอธิบดี เคารพในตน ศีลนั้นชื่อวา อัตตาธิปไตย ๑ ศีลที่บุคคลรักษา มีความปรารถนาจะหลีกหนีความครหาของสัตวโลกตนก็เปนคนเคารพ ในโลก รักษาดวยความคารวะในโลกดังนี้ ชื่อวา โลกาธิปไตยศีล ๑ ศีลที่บุคคลรักษา เพื่อประโยชนจะบูชาซึ่งพระธรรมเปนใหญเคารพในธรรม มีศรัทธาและ ปญญาเปนประธาน การรักษาดวยความเคารพในพระธรรมดังนี้ ชื่อวาธรรมาธิปไตยศีล ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ ในติกกะที่ ๓ มีเนื้อความวา ศีลอันใดที่เรากลาวแลว ชื่อวานิสสิตศีลในทุกกะ ในติกกะนี้ ชื่อวาปรามัฏฐศีล ๑ เพราะเห็นวาศีลนั้น อันตัณหาแลทิฏฐิถือเอาดวยสามารถจะใหวิบัติฉิบหาย ศีลที่ ๒ ชื่อวา อปรามัฏฐศีล คือศีลที่ปุถุชนรักษาใหเปนสัมภารเหตุแกที่จะไดมรรค แลศีล ของพระเสขริยบุคคล ๗ จําพวก อันประกอบดวยเอกุปปาทาทิประการ เกิดกับดับพรอมดวยมรรคชื่อ วาอปรามัฏฐศีลที่ ๒ ศีลที่ ๓ ชื่อวา ปฏิปสสัทธิศีล ศีลนี้เปนของพระเสขบุคคลแลพระอเสขบุคคล เกิดกับดับ พรอมดวยผล ศีลมี ๓ ประการดังนี้ ในติกกะเปนคํารบ ๔ นั้น “ยํ อาปตฺตึ อาปชฺชนฺเตน” ศีลที่พระภิกษุรักษาไวมิใหตอง อาบัติ แลพระภิกษุตองอาบัติแลว แลเทศนาบัติเสีย ศีลนั้นชื่อวาวิสุทธิศีลที่ ๑ ศีลที่ ๒ นั้นชื่อวา อวิสุทธิศีล คือศีลของพระภิกษุที่ตองอาบัติแลว แลมิไดออกจากอาบัติ ดวยเทศนาเปนอาทิ ศีลนั้นชื่อวา อวิสุทธิศีล “วตฺถุมฺหิ วา อาปตฺติยา วา” ศีลพระภิกษุที่มีความสงสัยในวัตถุ แลอาบัติ แลอัชฌาจารย ประพฤติลวงสิกขาบท ชื่อวา เวมติกศีลที่ ๓ ในเวมติศีลนั้น มีเนื้อความวา พระภิกษุมีความสงสัยวาศีลของตนไมบริสุทธิ์ ก็พึงชําระเสีย ใหบริสุทธิ์ อยาประพฤติลวงในความสงสัย พึงบรรเทาเสียซึ่งความสงสัย ความผาสุกแหงพระภิกษุนั้น จะพึงบังเกิดมี ศีลมี ๓ ประการ มีวิสุทธิศีลเปนประธานดังกลาวมานี้ วินิจฉัยในศีล ๓ ประการในติกกะที่ ๕ นั้นวา “จตูหิ อริยมคฺเคหิ” ศีลอันประกอบดวยเอ กุปปาทาทิประการ เกิดในขณะเดียวกัน ดับในขณะเดียวกัน กับดวยพระอริยมรรคทั้ง ๔ มีพระโสดา ปตติมรรคเปนอาทิ แลวเกิดดับกับพรอมดวยสามัญผลทั้ง ๓ คือพระโสดาปตติผล พระสกิทาคามิผล พระอนาคามิผล ศีลนี้ชื่อวาเสขศีลที่ ๑ “อรหตฺตผลสมฺปยุตฺต”ํ ศีลอันประกอบดวยเอกกุปาทาทิประการ เกิดกับดับพรอมเสมอ ดวยพระอรหัตตผล ชื่อวา อเสขศีลที่ ๒ ศีลอันเศษจากเสขศีลแลอเสขศีลทั้ง ๒ นั้น คือโลกิยศีลทั้งปวง ชื่อวา เนวเสขานาเสขศีล ที่ ๓ รวมเขาดวยกันเปนศล ๔ ประการดังนี้ “ปฏิสมฺภิทายมฺปน” ทั้งหลายนั้น ๆ ในโลก ชื่อวาศีล

อนึ่งพระธรรมเสนาบดี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

กลาวไวในปฏิสัมิภทาวา

ปกติของสัตว


- 25 ปกติของสัตวนั้น คือคําวา “อยํ สุขสีโล” บุคคลผูนั้นมีสุขเปนปกติ บุคคลผูนี้ มีเฉพาะเปน ปกติ บุคคลผูนี้มีตกแตงประดับประดากายเปนปกติ เพราะเหตุการณดังนั้น ศีลจึงมีประเภท ๓ ประการ คือกุศลศีล ๑ อกุศล ๑ อพยากตศีล ๑ เปน ๓ ประการดังนี้ ในอรรถอันนี้ องคสมเด็จพระบรมศาสดามิไดประสงคเอาอกุศลศีล เพราะเหตุวาอกุศลศีล นั้น ไมสมดวยอาการทั้ง ๔ มีลักษณะของศีลเปนอาทิ จึงมิไดนับเขาในศีลนิเทศนี้ นักปราชญพึงรูวา ศีลมี ๓ ประการดังกลาวมาแลว “จตุกฺเกสุ ปมจตุกฺเก” จะวินิจฉัยในปฐมจตุกกะ คือจะวาดวยศีลมี ๔ ประการเปนปฐม หนึ่งกอน มีเนื้อความวา พระภิกษุรูปใดศาสนา เสพซึ่งบุคลทั้งหลายที่ไมมีศีล ไมเสพบุคลทั้งหลายที่ มีศีล ไมเห็นโทสที่ตึวกระทําใหลวงวัตถุที่จะยังตนใหตองอาบัติเปนคนไมรู มากไปดวยความดําริผิด ไมรักษาอินทรีย “เอวรูปสส สีลํ” ศีลของพระภิกษุจําพวกนี้ ชื่อหายนภาคิยศีล เปนสวนที่ จะใหเสื่อม สูญ เปนศีลที่ ๑ อนึ่งพระภิกษุรูปใดในพระศาสนานี้ มีศีลบริบูรณแลว ก็กระทําความเพียรเรียนพระกรรมฐาน สืบตอขึ้นไป เพื่อประโยชน จะใหไดสมาธิศีลแหงพระภิกษุนั้น ชื่อวา วิเลสภาคิยศีล เปนสวนจะให วิเศษเปนศีลที่ ๓ “จตุตฺโถ สีลมตฺเตน” อนึ่งพระภิกษุรูปใดในพระศาสนานี้ไมยินดีอยูดวยศีลสิ่งเดียว มี อุตสาหะเจริญเรียนพระวิปสสนา ศีลพระภิกษุนั้นชื่อวา นิพเพทภาคิยศีล เปนสวนที่จะเหนื่อยหนาย เปนศีลที่ ๔ ศีลมี ๔ ประการดวยกันดังนี้ วินิจฉัยในศีล ๔ ประการที่ ๒ นั้นวา “ภิกฺขู อารพฺภ ปฺญตตสิกฺขาปทานิ” สิกขาบทอัน ใดที่องคพระผูทรงพระภาคปรารภพระภิกษุทั้งหลายแลว แลบัญญัติไว สิกขาบทนั้น พระภิกษุพึง รักษาเปนอสาธารณบัญญัติเฉพาะใหพระภิกษุรักษา ศีลนั้นชื่อวาพระภิกษุศีลที่ ๑ สิกขาบทอันใด ที่พระองคผูทรงพระภาค ปรารภพระภิกษุณีแลว แลตั้งไวเปนสิกขา ควร พระภิกษุณีจะพึงรักษา ศีลนั้นชื่อวาภิกษุณีศีลที่ ๒ อนึ่ง “สามเณสามเณรีน”ํ ศีลของสามเณรแลสามเณรีมี ๑๐ ประการ ศีลนี้ชื่อวา อนุปสัมบันศีล เปนศีลที่ ๓ “อุปาสกอุปาสิกานํ” ศีล ๕ ประการที่อุบาสกอุบาสิกา มีอุตสาหะจะรักษาใหยิ่งขึ้นไป ศีล ๘ ประการก็ยอมจะประพฤติเปนไปแกอุบาสก อุบาสิกาทั้งหลายนั้น ดวยสามารถเปนองคอุโบสถ อุบาสกศีลมี ๔ ประการดวยกันดังนี้ ศีล ๔ ประการที่ ๓ นั้นวา “อุตฺตรกุรุกานํ มนุสฺสานํ” การที่มิไดประพฤติลวงสิกขาบททั้ง ๕ แหงมนุษยทั้งหลาย อันอยูในอุตตรกุรุทวีปชื่อวาปกติศีลที่ ๑ อนึ่ง มนุษยทั้งหลายมีพราหมณเปนประธาน ไมดื่มกินซึ่งสุราเปนอาทิ มนุษยทั้งหลายอยู ในชนบทบางแหงไมเบียดเบียนสัตวเปนอาทิ แลลัทธิอันตั้งไวซึ่งปวงมิใหกระทําบาปตามจารีต บุรพ บุรุษคือมารดา บิดาในตระกูลนั้น อันเปนตนบังเกิดแหงตน แลตนประพฤติมาแลว ศีลนี้ชื่อวาอาจารศีล ที่ ๒ “เอวํ วุตฺตํ โพธิสตฺตมาสุสีลํ” อนึ่ง ศีลของมารดาพระโพธิสัตว ที่องคสมเด็จพระผูทรง พระภาคโปรดประทานเทศนาไววา ดูกรอานนทในกาลใด พระโพธิสัตวลงสูครรภแหงมารดา ในกาล นั้นจิตของมารดาพระบรมโพธิสัตว จะประกอบดวยความยินดี ในกามโกฏฐาสสวนแหงกามคุณ บังเกิด ขึ้นในบุรุษทั้งหลายหามิได ศีลแหงพระพุทธมารดาดังกลาวมานี้ ชื่อวาธรรมดาศีลที่ ๓

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 26 อนึ่ง ศีลแหงสัตวทั้งหลายที่เปนสัตวอันบริสุทธิ์ มีพระมหากัสสปะเปนประธาน แลศีลของ พระโพธิสัตวอันบําเพ็ญศีลบารมีในชาตินั้น ๆ ชื่อวาบุพพเหตุศีลที่ ๔ ศีลมี ๔ ประการดังนี้ ศีลมี ๔ ประการในที่ ๔ นั้นวา “เอวํวุตฺตํ สีลมิทํ” ศีลอันใดที่องคสมเด็จพระบรมศาสดา ตรัสเทศนาไววา พระภิกษุในพระศาสนานี้สังวรในพระปาฏิโมกขสังวรศีล ถึงพรอมดวยอาจาระแล โคจรประพฤติอยูเปนนิจ เห็นภัยในโทษทั้งหลายมีอณูเปนประมาณ สมาทานแลว แลศึกษาใน สิกขาบททั้งปวง ศีลนี้ชื่อวา ปาฏิโมกขสังวรศีลที่ ๑ อนึ่ง ศีลอันใดที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไววา พระภิกษุในพระศาสนานี้ เห็นซึ่งรูปดวยจักษุก็ถือเอาซึ่งนิมิต แลถือเอาโดยอนุพยัญชนะวา เกศงามเปนอาทิ อกุศลธรรม ทั้งหลาย อันลามก คือ โลภแลโทมนัสพึงติดตามพระภิกษุนั้น เพราะเหตุไมสํารวมจักษุอินทรียแลว แลยับยั้งอยู พระภิกษุที่ตั้งอยูในพระปาฏิโมกขสังวรศีล ก็ยอมปฏิบัติเพื่อจะรักษาจักษุอินทรีย ถึงซึ่ง สังวรในจักษุอินทรีย พระภิกษุนั้นไดฟงเสียงดวยโสต แลไดสูดดมซึ่งกลิ่นดวยฆานะ แลไดลิ้มเสียซึ่ง รสดวยชิวหา ไดสัมผัสถูกตองซึ่งโผฏฐัพพะดวยกาย แลรูธรรมารมณดวยจิต ก็มิไดถือเอาซึ่งนิมิตแล มิไดถือเอาโดยอนุพยัญชนะวา เสียงนี้ไพเราะเปนอาทิแลวแลยับยั้งอยู พระภิกษุนั้นก็ยอมปฏิบัติ เพื่อ จะสังวรโสตอินทรียเปนประธาน รักษาโสตอินทรียเปนอาทิ ศีลนี้ชื่อวาอินทรียสังวรศีลที่ ๒ “ปฺญตฺตานํ ฉนฺนํ สิกฺขาปทานํ” อนึ่ง พระภิกษุในพระศาสนานี้จะประพฤติลวง สิกขาบททั้ง ๖ประการ ที่องคพระผูมีพระภาคบัญญัติไว เพราะเหตุจะเลี้ยงชีวิตนั้น คือการทําอาการ กลาวใหทายกพิศวงดวยกุหนวัตถุ เหตุที่ตนโกหก ๓ ประการ มีเจรจากระซิบในที่ใกลเปน อาทิแล กลาวยกยองตนตอทายกใหทายกถวายวัตถุปจจัยอันหนึ่ง แลกระทํานิมิตกรรมแลกลาวปดใหทายก ถวายของดวยคําดา แลปรารถนาจะนํามาซึ่งลาภดวยลาภเปนอาทิดังนี้ เมื่อพระภิกษุเวนจากมิจฉาชีวะ เลี้ยงชีวิตผิดดวยประเภทแหงกรรมอันลามกดังนี้ ศีลของพระภิกษุนั้นก็บริสุทธิ์ชื่อวา อาชีวปาริสุทธิศีล ที่ ๓ “จตุปจฺจยปริโภโค” อนึ่งพระภิกษุบริโภคจตุปจจัยทั้ง ๔ บริสุทธิ์ ดวยกิริยาที่พิจารณาที่ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวโดยนัยเปนอาทิวา “ปฏิสงฺขา โยนิโส จีวรํ ปฏิเสวามิ” ใหพระภิกษุกระทํามนสิการวา อาตมาจะพิจารณาดวยปญญาเสียกอนแลวจึงจะนุงหมจีวรปจจัยเปน อาทิ ศีลของพระภิกษุนั้นก็บริสุทธิ์ ชื่อวาปจจัยสันนิสสิตศีลที่ ๔ จําเดิมแตนี้ ขาพระองคผูมีนามชื่อวาพุทธโฆษาจารย จะกลาววินิจฉัยตัดสินกับจะสังวรรณ นาไปตามลําดับบท ในพระจตุปาริสุทธิศีลทั้ง ๔ มีพระปาฏิโมกขสังวรศีลเปนประธานวา “อิทานิ อิมสมึ” “สาสเน” บุคคลบวชดวยศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนานี้ มีนามชื่อวาภิกษุ เพราะเหตุวาเห็น ภัยในสังสารวัฏ นัยหนึ่งชื่อวา ภิกษุ เพราะเหตุทรงไวซึ่งผาอันทําลาย ทรงไวซึ่งพระปาฏิโมกข คือ สิกขาบทศีล ในบทคือปาฏิโมกขนั้น แปลวาสิกขาบทศีลยอมจะรักไวซึ่งพระภิกษุผูรักษาศีล อันนับเขา ในพระวินัย จะใหพระภิกษุนั้นพนจากทุกขทั้งหลายมีอบายทุกขเปนอาทิ เพราะการณนั้นเองสมเด็จ พระบรมศาสดาจึงเรียกสิกขาบทศีลนั้น ชื่อวาปาฏิโมกข แลสังวโรนั้น แปลวาภิกษุกั้นไวปดไว ซึ่งกายทวาร แลวจีทวาร บทคือสังวโรนั้นเปนชื่อ ของสิ่งที่ไมลวงดวยกาย ไมลวงดวยวาจา สังวรนั้นก็คือพระปาฏิโมกข จึงไดชื่อวาพระปาฏิโมกขสังวร พระภิกษุในพระศาสนา ประกอบดวยปาฏิโมกขสังวรศีลแลว ใหประกอบดวยอาจาระแล โคจรดวย เพราะเหตุการณนั้น พระธรรมสังคาหกเถระเจาทั้งหลาย จึงกลาวอรรถสังวรรณนาวา “อตฺถิ อาจาโร อตฺถิ อนาจาโร” อาจารก็มี อนาจารก็มี อนาจารนั้นเปนดังฤๅ อนาจารนั้นคือพระภิกษุประพฤติอนาจารใชการที่จะประพฤติ กระทํา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 27 ใหลวงสิกขาบทดวยกาย กระทําใหลวงสิกขาบทดวยวาจา กระทําใหลวงสิกขาบททั้งกายทั้งวาจา ดังนี้ชื่ออนาจาร สภาวะหาศีลสังวรมิไดทั้งปวง ชื่อวาอนาจาร “อิเธกจฺโจ เวฬุทาเนน วา” พระภิกษุจําพวกหนึ่ง ในพระศาสนานี้ยอมเลี้ยงชีวิตดวยให ไมไผ ใหใบไม ใหดอกไม ใหผลไม ใหเครื่องอบ ใหไมสีฟน และตั้งตนไวในที่อันต่ํา แลวยกยอทายก ปรารถนาจะใหรัก และกลาวถอยคําเสมอดวยแกงถั่ว และอุมทารกแหงสกุลดวยสะเอว และเปนคนใช ไปดวยกําลังแขง และเลี้ยงชีวิตดวยมิจฉาชีพอยางใดอยางหนึ่ง ที่พระพุทธเจากลาวติเตียนหามมิให กระทํา ดังนี้ชื่อวาอนาจาร “ตตฺถ กตโม อาจาโร” อาจาระนั้นเปนดังฤๅ อาจารนั้น คือพระภิกษุรักษาสิกขาบท มิไดประพฤติใหลวงสิกขาบทดวยกาย ไมลวง สิกขาบทดวยวาจา ไมลวงสิกขาบทดวยกาย และวาจาดังนี้ชื่ออาจาระ การที่วาพระภิกษุสํารวมศีลไวมิใหลวงสิกขาบททั้งปวง ชื่อวาสังวร “อิเธกจฺโจ น เวฬุทาเนน วา” พระภิกษุจําพวกหนึ่งในพระศาสนานี้ ไมเลี้ยงชีวิตดวยให ไมไผ ใหใบไม ใหดอกไม ใหผลไม ใหเครื่องอบ ใหไมสีฟน ไมเลี้ยงชีวิตดวยตั้งตนในที่อันต่ําแลว และไมยกยอทายกจะใหรัก และไมกลาวถอยคําเสมอดวยแกงถั่ว และไมอุมทารกดวยสะเอว และไม เปนคนใชไปดวยกําลังแขง ไมเลี้ยงชีวิตดวยมิจฉาชีวะอยางใดอยางหนึ่ง ที่พระพุทธเจาทรงติเตียน หามมิใหกระทําอยางนี้ชื่อวาอาจาระ อนึ่ง ในบทคือ โคจร นั้น มีอรรถกถาสังวรรณนาวา “อตฺถิ โคจโร อตฺถิ อโคจโร” โคจรก็ มี อโคจรก็มี “ตตฺถ กตโม อโคจโร” อโคจรนั้นเปนดังฤๅ “อิเธกจฺโจ ภิกขุ” ภิกษุจําพวกหนึ่งในพระพุทธศาสนานี้ สกุลหญิงแพศยาเปนที่ไปสูมา หา ดวยสามารถมิตรสันถวะ และมีหญิงหมาย หญิงสาวใหญ ละบัณฑกะ และภิกษุณี และโรงสุราเปน ที่โคจรเปนภิกษุอันระคนกับดวยพระยาและมหาอํามาตยแหงพระยาและติตถีย และสาวกแหงติตถีย ดวยสังสัคคะระคนดวยกายและวาจา อันมิไดประพฤติเปนไปตาสิกขาบททั้ง ๓ มีอธิศีลสิกขาเปนอาทิ อนึ่ง สกุลอันใดมิไดศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนา ดาและบริภาษพระภิกษุสงฆ ไม ปรารถนาจะใหเปนประโยชน เปนคุณปรารถนาแตจะใหมีความสบายแกพระภิกษุสงฆ ปรารถนาจะ ไมใหเกษมจากโยคะแกพระภิกษุ พระภิกษุณีอุบาสกอุบาสิกา พระภิกษุนั้นก็เขาไปสูมาหาสองเสพ สกุลทั้งหลายนั้น พระภิกษุโคจรเที่ยวไปดังนี้ ชื่อวาอโคจร เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ “ตตฺถ กตโม โคจโร อิเธกจฺโจ น เสวิยโคจโร โหติ ฯลฯ น ปานาคารโคจโร โหติ อสํสฏโ วิหรติ ราชูหิ ฯลฯ ติตฺถิยสาวเกหิ อนนุโลมิเกน สํสคฺเคน ยานิ วาปน ตานิ กุลานิ สทฺธาปสนฺนานิ โอปานภูตานิ กาสาปปโชตานิ อวาตปฏิวาตานิ อตฺถกามานิ ฯลฯ โยคกฺเขม กามานิ ภิกฺขูนํ ภิกขูนีนํ อุปาสกานํ อุปาสิกานํ ตถารูปานิ กุลานิ เสวติ ภชติ ปยิรุปาสติ อยํ วุจฺจติโคจโรติ” วาระนี้ จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในโคจร สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี มี เนื้อความในโคจรนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจากลาวคําปุจฉาวา “ตตฺถ กตโม โคจโร” ถาธรรมทั้ง ๒ ประการคือ โคจร และอโคจรนั้น โคจรนั้นเปนดังฤๅ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 28 “อิเธกจฺโจ น เสวิยโคจโร” พระภิกษุบางจําพวกในพระพุทธศาสนานี้ มิไดมีสุกลหญิง แพศยาเปนที่โคจร มิไดมีหญิงหมายเปนที่โคจร มิไดมีสกุลหญิงสาวใหญและสกุลหญิงกุมารี และบัณฑกะและพระภิกษุณี และโรงเปนที่ดื่มกินสุราเปนที่โคจร “อสํสฏโฐ วิหรติ ราชูห”ิ ไมระคนกับ พระยามหาอํามาตยของพระยา ไมระคนกับดวยติตถีย และสาวกของติตถีย ไมระคนดวยกายและวาจา อันเปนขาศึกแกสิกขาทั้ง ๓ มีอธิศีลสิกขาเปนอาทิ “ยานิ วาปน กุลานิ” อนึ่ง สกุลทั้งหลายใด ไมศรัทธา ไมเลื่อมใส ยอมดาปริภาสนาการ พระภิกษุและพระภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา และปรารถนาจะไมใหประโยชน จะไมใหเปนคุณ จะไมให สบายจะไมใหเกษมจากกามาทิโยคแกพระภิกษุ และพระภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระภิกษุก็บมิได เสพ มิไดเขาไปสูมหาสกุลทั้งหลายนั้น “ยานิ วาปน ตานิ กุลานิ” อนึ่ง สกุลทั้งหลายนั้นมิไดมี ศรัทธาเลื่อมใส ปรากฏดุจดังวาสระโบกขรณีอันมีบัวที่บุคคลขุดไวในที่ประชุมใหญทั้งสี่ และสกุลนั้น รุงเรืองเปนอันหนึ่งอันเดียว ดวยรัศมีกาสาวพัตรผานุงผาหมแหงพระภิกษุและพระภิกษุณี และฟุงตลบ ไปดวยลมสรีระ พระภิกษุและพระภิกษุณี อันเปนอิสีแสวงหาสีลักขันธาทิคุณและกุศลทั้งหลาย ปรารถนาจะใหเปนประโยชน ปรารถนาจะใหอยูเปนผาสุก จะใหเกษมจากโยคะแกภิกษุและพระ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระภิกษุก็เสวนะคบคาเขาไปสูหาสกุลทังหลายนั้น พระภิกษุประพฤติเปน ดังนี้ ชื่อวาโคจร พระภิกษุในพระศาสนานี้ ประกอบและประกอบดี ถึงพรอมมาพรอมดวยอาจารและโคจร ดังนี้ จึงไดชื่อวาอาจารโคจรสัมปนโน อนึ่ง อาจาระและโคจรในปาฏิโมกขสังวรศีลนี้ นักปราชญพึงรูโดยนัยอันเราจะแสดงดังนี้ “ทุวิโธ หิ อนาจาโร” แทจริงอนาจารมี ๒ ประเภท คืออนาจารประกอบในกาย ๑ คือ อนาจารประกอบในวาจา ๑ เปน ๒ ประการ ดังนี้ อนาจารอันยุติในกายนั้นเปนดังฤๅ “อิเธกจฺโจ สงฺฆคโตป”พระภิกษุจําพวกหนึ่ง ในพระพุทธศาสนานี้ อยูในที่ประชุมสงฆ ไมเคารพแกสงฆ ยืนเสียดสีพระภิกษุทั้งหลายที่เปนพระเถระดวยสรีระ และจีวร นั่งเสียดสีพระภิกษุที่ เปนพระเถระดวยสรีระและจีวร ยืนในเบืองหน ้ านั่งในเบื้องหนาพระภิกษุที่เปนพระเถระนั่งอยูในอาสนะ อันสูง คลุมศีรษะ ยืนเจรจา ไกวแขน เจรจา พระภิกษุทั้งหลายเปนพระเถระมิไดขึ้นสูรองเทา เดินเทา เปลาตนก็ขึ้นสูรองเทาเดิน พระภิกษุที่เปนเถระจงกรมในที่จงกรมต่ํา ตนก็จงกรมในที่จงกรมอันสูง พระภิกษุเถระจงกรมในแผนดิน ตนก็จงกรมในที่จงกรมยืนแทรกนั่งแทรกพระภิกษุทั้งหลายที่เปนเถระ ในที่คับแคบ หามพระภิกษุบวชใหมดวยที่นั่งมิไดบอกกลาวพระภิกษุเปนเถระเสียใหรูกอน ใสฟนเขา ในกองไฟในโรงไฟ มิไดบอกพระภิกษุเปนเถระกอน เปดประตูโรงไฟพระทบกระทั่งพระภิกษุเปนเถระ แลวลงสูทาน้ําลวงลงไปในเบื้องหนาพระเถระอาบน้ํา กระทบกระทั่งพระเถระ อาบน้ําในเบื้องหนา พระภิกษุอันเปนเถระ เมื่อขึ้นจากน้ํามีกระทบกระทั่งพระภิกษุเปนเถระขึ้นในเบื้องหนา “อนุตร”รํ ปวิสนฺโตป” เมื่อจะเขาไปสูโคจรคาม ก็ครึดครือเสียดสีพระภิกษุที่เปนเถระเดินไปในหนทาง แทรก ไปโดยตาง ๆ แลวก็เดินลวงขึ้นไปในเบื้องหนาพระภิกษุทั้งหลายอันเปนเถระ อนึ่ง หองทั้งหลายในเรือนสกุลเปนหองอันลับ เปนหองอันกําบัง หญิงสกุลกุมาริกาแหง สกุลนั่งอยูในหอง พระภิกษุที่ประพฤติอนาจารก็เขาในหองนั้นโดยเร็วโดยพลัน ปรามาสเขาไปลูบคลํา ศีรษะลูกเล็กเด็กทารก พระภิกษุประพฤติอนาจารดังนี้ชื่อวาประพฤติอนาจารดวยกาย “ตตฺถ กตโม วาจสิโก” พระภิกษุพระพฤติอนาจารดวยวาจานั้นเปนดังฤๅ พระภิกษุจําพวกหนึ่งในพระศาสนานี้ ตนตั้งอยูในที่ประชุมสงฆ ไมกระทําเคารพสงฆ มิได บอกกลาวพระภิกษุเปนเถระกอน ก็กลาวพระธรรมวิสัชนาอรรถปญหา แสดงพระปาฏิโมกข ยืนเจรจา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 29 ไกวแขนเจรจา อนึ่ง “อนุตรฆรํ ปวิฎโป” พระภิกษุนั้นเขาไปสูโคจรคาม แลวก็กลาววาจาแกหญิง และ หญิงกุมารีวา ดูกอนหญิงชื่อนี้ โคตรนี้ ขาวยาคูมีอยูหรือ ขาวสวย และขาทนียะ และโภชนียะ ของ เคี้ยว ของบริโภคมีอยูหรือ เราจักกินหรือจักกัดกินหรือจะบริโภค ทานจะใหแกเราหรือ “อยํ วุจฺจติ วาจสิโก อนาจาโร” พระภิกษุประพฤติดังนี้ ชื่อวาอนาจารอันประกอบในวาจา เปนอนาจาร ๒ ประการดังนี้ พระภิกษุประพฤติอนาจารนั้น บัณฑิตพึงรูดวยสามารถแหงพระบาลี อันเปนปฏิปกษแกคํา ที่กลาวมานี้ อนึ่ง พระภิกษุในพระศาสนานี้ ประกอบดวยยําเยงมาพรอม ถึงพรอมดวยหิริและโอตตัปปะ “สุนิวตฺโถ สุปาริโต” นุงผาเปนปริมณฑลงาม หมผาเปนปริมณฑลงาม จะยางกาวเขาไปและกาว ถอยออกไป และจะเดินไปเบื้องหนา และจะแลไปขางโนนขางนี้ และจะคูแขนเขาและจะเหยียดแขน ออก ก็ยอมจะนํามาซึ่งความเลื่อมใส มีจักษุทอดลงไปในเบื้องต่ํา ถึงพรอมดวยอริยาบถ รักษาอินทรีย สํารวมทวาร รูประมาณในโภชนะประกอบเนือง ๆ ในชาคริยธรรม ตื่นอยูในกุศลสิ้นกาลเปนนิจพรอม ดวยสติสัมปชัญญะ มีความปรารถนานอย ยินดีดวยปจจัยแหงตน ไมระคนดวยคฤหัสถและบรรพชิต กระทําเคารพในอภิสมาจาริกวัตร มากไปดวยเคารพคารวะในบุคคลจะเคารรพพระภิกษุประพฤติดังนี้ ชื่อวาประพฤติอาจาระ วาดวยอนาจาร บัณฑิตพึงรูดังนี้กอน แตนี้จะวาดวยโคจรตอไป โคจรนั้นมี ๓ ประการ คืออุปนิสยโคจร ๑ อารักขโคจร ๑ อุปนิพันธโคจร ๑ เปน ๓ ประการ ดังนี้ “ตตฺถ กตโม อุปนิสสยโคจโร” ล้ําโคจรทั้ง ๓ นั้น อุปนิสยโคจรนั้นเปนดังฤๅ วิสัชนาวา พระภิกษุอาศัยกัลยาณมิตร ซึ่งประกอบดวยคุณ คือ ไดเลาเรียนและทรงไวซึ่ง กถาวัตถุ ๑๐ ประการ ก็ยอมจะไดฟงนวังคสัตถุศาสนา อันประกอบดวยองค ๙ มีสุตตะและเคยยะเปน อาทิ จะไดสั่งสมไวซึ่งสูตร ลวงขามซึ่งความสงสัย กระทําปญญาใหเห็นตรงยังจิตใหเลื่อมใสในพระ รัตนตรัย ศึกษาตามภิกษุที่เปนกัลยาณมิตรตน ก็เจริญดวยศรัทธาและศีลและสดับและบริจาคและ ปญญา พระภิกษุประพฤติโคจรดังนี้ ชื่อวา อุปนิสยโคจรที่ ๑ “กตโม อคคกฺขโคจโร” อารักขโจรที่ ๒ นั้นเปนดังฤๅ อารักขโคจรนั้นวา พระภิกษุในพระศาสนานี้เขาไปในโคจรคามเดินไปตาสกุลก็มีจักษุทอด ลงในเบื้องต่ํา เล็งแลดูไปชั่วแอกหนึ่งเปนประมาณ สํารวมเปนอันดี “น หตฺถึ โอโลเกนโต” ไมแลดู ชาง ไมแลดูมา ไมแลดูรถ ไมแลดูพลเดินเทา ไมแลดูสตรี ไมแลดูบุรุษ ไมแลดูในเบื้องบน ไมแลดูใน เบื้องต่ํา ไมแลดูสระใหญ และที่สระนอย พระภิกษุประพฤติดังนี้ชื่อวาอารักขโคจรที่ ๒ อุปนิพันธโคจรนั้น เปนดังฤๅ อุปนิพันธโคจรนั้นวา พระภิกษุในพระศาสนานี้ ผูกจิตไวในพระสติปฏฐานทั้ง ๔ ใหสมดวย วาระพระบาลีที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาวา “โก จ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน โคจโร” ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมดังฤๅ ในสติปฏฐานทั้ง ๔ ชื่อวาโคจร คือเปนอารมณแหงพระภิกษุเปนอารมณ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 30 ของพระสัมมาสัมพุทธเจาผูเปนพระบิดา พระสติปฏฐานทั้ง ๔ มีกายานุปสสนาสติปฏฐานเปนอาทินี้ ชื่อวาเปนโคจรแหงพระภิกษุ พระภิกษุประพฤติดังนี้ชื่อวาอุปนิพันธโคจรที่ ๒ พระภิกษุประกอบแลว และประกอบดวยดี ดวยอาจาระนี้ก็ดีดวยโคจรนี้ก็ดี ชื่อวาอาจาร โคจรสัมปนโน ในบทคือ “อนุมตฺเตสุ วชฺเชสฺ ภยทสฺเสวี” นั้นวา พระภิกษุถึงพรอมดวยโคจรและอาจาระ แลว ก็เห็นภัยในโทษมีประประมาณนอย คือตนไมแกลงแลวและตองอาบัติ และบังเกิดแหงอกุสศล จิต ในธรรมอันชื่อเสขิยะ เปนอาทิ สิกขาบทอันใดที่ตนจะพึงศึกษา ก็สมาทานสิกขาบทนั้น ศึกษา สําเหนียกในสิกขาบทที่ตนสมาทาน องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาพระปาฏิโมกขสังวรศีล ดวยปุคลาธิษฐาน มีบุคคลคือพระภิกษุเปนที่ตั้ง ในบทคือปาฏิโมกขสังวรสังวุโต มีประมาณเทานี้ อนึ่ง บทพระบาลีวา “อาจารโคจรสมฺปนโน” แปลวาภิกษุถึงพรอมดวยวาจาและโคจร เปนตนนั้น องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาปฏิบัติทั้งปวงที่พระภิกษุยังศีลใหสมบูรณ บัณฑิตพึงรู ดังนี้ “ยมฺปเนตํ ตทนนฺตรํ” ในลําดับพระปาฏิโมกขสังวรศีลนี้องคพระผูทรงพระภาคตรัส เทศนาอินทรียสังวรศีล โดยพระบาลีคํากลาววา “โส จกขุนา รูปทิสวา” เปนอาทิ ดังนี้ วินิจฉัยในอินทรียสังวรนั้นวา พระภิกษุที่ตั้งอยูแลวในพระปาฏิโมกขสังวรศีลนั้น เห็นซึ่งรูป ดวยจักษุวิญญาณ อันสามารถจะเห็นรูปเรียกชื่อวา จักขุ ดวยเหตุกลาวคือจักขุประสาท อนึ่ง โบราณจารยทั้งหลายกลาววา “จกฺขุ รูป น ปสฺสติ” จักษุไมเห็นรูป เพราะเหตุจักษุ นั้นใชจิต “จิตฺตํป ปูป น ปสฺสติ” อนึ่ง จิตก็มิไดเห็นรูป เพราะเหตุวาใชจักษุ เมื่ออารมณกระทบจักษุ ทวารแลว บุคคลก็เห็นรูปดวยรูปดวยจิตตวิญญาณอาศัยจักขุประสาท การที่จะกลาวซึ่งสัมภารเหตุ คือจะเห็นรูปจักขุวิญญาณนั้นมีอุปมาเหมือนนายพรานยิงเนื้อ ดวยธนู ตองประกอบกันทั้ง ๓ อยางเหตุการณนั้นนั้น พระอาจารยเจาจึงสัวรรณนาอรรถวา พระภิกษุ เห็นรูปดวยจักษุวิญญาณแนแลว ก็มิไดถือเอาซึ่งนิมิต วาเปนสตรีบุรุษ และมิไดถือเอาซึ่งนิมิตบังเกิด เปนเหตุแกกิเลสวาเกศางามโลมางามเปนอาทิ เพราะภิกษุนั้นก็กําหนดไววาเห็นเปนประมาณ แลมิได ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ คือกระทําใหปรากฏแกกิเลสทั้งหลายไมถือเอาซึ่งอาการ มีมือแลเทาแลยิ้ม แยมแลกลาวเล็งแลไปแตขาง ๆ นี้ เปนอาทิ สวนอันใดมีเกศาแลโลมาเปนอาทิมีในสรีระ ก็ถือเอา โกฏฐาสนั้นวาเปนปฏิกูลเหมือนพระมหาติสสเถระเจาอันอยูในเจติยบรรพตวิหาร ดังไดสดับมา หญิงสะใภแหงสกุลอันหนึ่ง ทะเลาะกันกับสามี แลวตกแตงสรีรกาย งามดุจ ดังเทวกัญญา ออกจากเมืองอนุราธแตเพลาเชาจะไปเรือนญาตคิ ไดเห็นมหาติสสเถรเจา อันออกเจ ติยบรรพตวิหารจะเขาไปบิณฑบาตในอนุราธนคร ณ ทามกลางมรรค มีจิตอันวิปลาสหัวเราะดัง พระ มหาติสสเถรเจาจึงแลดวยนสิการกระทําไวในใจวา เสียงนี้เปนเสียงดังฤๅ จึงแลเห็นกระดูกคือฟนของ หญิงนั้น พระผูเปนเจาก็ไดอสุภสัญญาในอัฏฐิคือฟนของหญิงนั้นบรรลุถึงพระอรหัตต เพราะเหตุการณ นั้น พระธรรมสังคาหกเถระทั้งหลาย จึงนิพนธพระคาถาวา “ตสฺสา ทนตฏิกํ ทิสวา ปพฺพสฺญํ อนุสฺสริ” แปลเนื้อความวา พระมหาเถรเจาเห็นอัฏฐิ คือฟนของหญิงนั้น ก็ระลึกถึงบุพพสัญญายืนอยู ในประเทศที่นั้นบรรลุถึงพระอรหันต “สามิโกป โข มนุสฺโส” ฝายบุรุษสามีของหญิงติดตาภรรยาไปพบพระมหาเถรเจา ถามวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 31 พระผูเปนเจาเดินมา ไดเห็นหญิงคนหนึ่งเดินไปทางนี้บางหรือวาหามิได พระมหาเถรเจาจึงบอกวา รูปไมรูวาหญิงวาชายเดินไปทางนี้เห็นแตรางกระดูกเดินไปใน หนทางอันใหญ ในบทคือ “ญตฺวาธิกรณเมนํ” นั้นมีอรรถวา พระภิกษุไมสํารวมจักษุอินทรีย ไมปด จักษุทวยารดวยใบบานคือสติแลวแลดูอยูบาปธรรมทั้งหลาย มีอภิชฌาเปนอาทิ ก็ติดตามพระภิกษุนั้น เพราะเหตุไมสํารวมอินทรีย พระภิกษุรูดังนี้แลวเรงปฏิบัติปดจักษุอินทรียไวดวยใบบานคือสติ “เอวํ ปฏิปชฺชนฺโต” เมื่อพระภิกษุปฏิบัติดังนี้องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคก็ตรัสวา พระภิกษุนั้นรักษาจักขุ นทรียถึงซึ่งสังวรในจักขุนทรียไว การที่ไดสังวรแลมิไดสังวร มิไดมีในจักขุนทรียโดยแท สติตั้งมั่นแล หลงลืมสติจะอาศัยจักขุประสาทแลวแลบังเกิดขึ้นนั้นก็หามิได นัยหนึ่ง อารมณคือรูปมาสูโยคประเทศคลองจักขุในกาลใด กาลนั้นภวังจิตก็บังเกิดขึ้นสอง ขณะแลวก็ดับไป กิริยามโนธาตุก็ยังอาวัชชนะกิจคืพิจารณาใหสําเร็จ บังเกิดขึ้นแลวก็ดับไปในลําดับ นั้นจักขุวิญญาณก็ยังทัสสนกิจ คือกระทําใหเห็นใหสําเร็จบังเกิดขึ้นแลวก็ดับไป ในลําดับนั้น วิปากมโนธาตุก็ยังสัมปฏิจฉันนกิจ คือการทํารับรองไวใหสําเร็จบังเกิดขึ้นแลว ก็ดับไป ในลําดับนั้น วิปากเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ยังสันติรณกิจคือกระทําใหลวงเสียซึ่งความ สงสัย ใหสําเร็จบังเกิดขึ้นแลวก็ดับไป ในลําดับนั้น กิริยาเหตุมโนวิญญาณธาตุ ก็ยังโผฏฐัพพนกิจคือ กระทําใหกําหนดไวได ให สําเร็จบังเกิดขึ้นแลวก็ดับไป ในลําดับนั้น ชวนจิตก็เสวยอารมณ สํารวมแลไมไดสํารวมก็มิไดมีในภวังคทั้งปวง และมิได มีในสมัยแหงวิถีจิต อาวัชชนจิตเปนอาทิต เมื่อขณะชวนจิตเสวยอารมณนั้น ถาวาทุศีลคือหาศีลมิไดแลมีสติอันหลง แลอญาณคือ อวิชชาและขันติคือไมอดใจ แลสภาวะเกียจครานบังเกิดมีในจิตสันดานแลว องคสมเด็จพระผูทรงพระ ภาคก็ตรัสพระสัทธรรมเทศนาวา พระภิกษุนั้นไมสํารวมในจักขุนทรีย มีคําปุจฉาถามวา “กสฺมา การณา” เหตุดังฤๅ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค จึงตรัสเรียก พระภิกษุนั้นวา ไมสังวรในจักขุนทรีย มีคําอาจารยวิสัชนาวา “ตสฺมึ สติ ทฺวารมฺป อคุตฺตํ” ในเมื่อเหตุทั้งปวง มีสภาวทุศีลเปน อาทิ บังเกิดแกพระภิกษุนั้นแลวภิกษุนั้นก็มิไดรักษาทวาร มิไดรักษาภวังค มิไดรักษาวิถีจิตทั้งหลายมี อาวัชชนวิถีจิตเปนอาทิ เหตุใดเหตุดังนั้น องคพระผูทรงพระภาคจึงตรัสเรียกพระภิกษุนั้นชื่อวา ไม สังวรในจักขุนทรีย มีอุปมาเปรียบเทียบในอธิการนี้วา “นคเร จตูสุ อสํวฺเตสุ” ประตูเมืองทั้ง ๔ ประตู ผูรักษา ทวารหาไดปดไม มนุษยทั้งหลายที่อยูในพระนครตางคนตางรักษาแตบานเรือนของตน ปดประตูเรือน ปดประตูซุมปดประตูหองไวใหดีโดยแท ในเมื่อประการฉะนั้นแลมีหองเรือนอันเปนที่อยูของมนุษยทั้ง ปวงที่ปดนั้น ก็เหมือนมิไดปดมิไดรักษา แทจริงโจรทั้งหลายเขาไปโดยประตูเมืองทั้ง ๔ ที่มิไดปด ปรารถนาจะกระทํากิจอันใด ก็กระทํากิจอันนั้นไดดังความปรารถนา “เสยฺยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มีอุปไมยเหมือนทุศีลกรรมเปนอาทิบังเกิดขึ้นแลวภิกษุนั้นก็ตั้งอยูในอสังวร เมื่ออสังวรมีแลวก็ไดชื่อ วา ไมรักษาทวาร ไมรักษาภวังค ไมรักษาวิถีจิตทั้งปวงมีอาวชชวิถีจิตเปนประธาน ก็มีอุปไมยเหมือน ดังนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 32 อนึ่งในเมื่อธรรมทั้งหลายมีศีลเปนตน มีบริบูรณบังเกิดพรอมอยูแลว พระภิกษุนั้นก็ไดชื่อวา รักษาทวารรักษาภวังค รักษาวิถีจิตทั้งปวง มีอาชชนวิถีเปนอาทิ มีคําอุปมาวา ประตูนครทั้ง ๔ ประตู ปดไวดีแลว แทจริงเมื่อประตูเมืองปดแลว โจรทั้งหลายก็ไมมีอโกาสที่จะเขาไปประทุษรายได “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใดก็มีอุปไมยเหมือนธรรมทั้งหลาย คือศีล แลสติ แลปญญา แลขันติแลความเพียร บังเกิดในชวนวิถีจิตแลวทวารแลภวังคแลวิถีจิตทั้งหลาย มีอาวัชชวิถีจิตเปนอาทิก็ไดชื่อวารักษาไว แลว เหตุใดเหตุดังนั้น ครั้นธรรมทั้งปวงมีทุศีลธรรมเปนอาทิบังเกิดในขณะชวนะแลว องคสมเด็จพระ ผูทรงพระภาคก็ตรัสเรียกชื่อวาสังวรในจักขุนทรีย สังวรในโสตินทรีย แลฆานินทรียเปนอาทินั้น อันมี ในบทบาลีมึคํากลาววา “โสเตน สทฺทํ สุตฺวา” เปนประธาน ก็มีนัยดุจเดียวกัน ดังวิสัชนาในจักขุนทรีย สังวรนี้ บัณฑิตพึงรูวา อินทรียสังวรศีล มีเวนจากอันถือเอาซึ่งนิมิตอันเปนที่ติดตามซึ่งกิเลสเปนอาทิ เปนลักษณะที่กําหนดของอินทรียสังวรศีล ดังรับพระราชทานถวายวิสัชนามาดังนี้ เอวํก็มีดวยประการ ดังนี้ อิทานิ อินฺทริยํวรสีลานนฺตรํ วุตเต อาชีวปาริสุทฺธสิเล อาชีวเหตุ ปฺญตตานิ ฉนฺนํ สิกฺขาปทานนฺติ ยาติ ตานิ อาชีวเหตุ อาชิวการณา ปาปจโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อนฺภูตํ อุตฺต ริมนุสสมฺมํ อุลลปติ อาปตติ ปาราชิกสฺส อาชีวเหตุ อาชีวการณา สฺจริตตฺ สมาปชฺชติ อา ปาตตฺ สงฺฆาทิเสสสฺส อาชีวเหตุ อาชีวการณา โย เต วิหาเร โส ภิกฺขุ อรหาติ ภณติ ปฏิวิชา นนฺตสส อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส” ในการนี้ จะวินิจฉัยตัดสินในอาชีวปาริสุทธิศีล ที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ทรงแสดง ในลําดับอินทรียสังวรศีล มีกระแสเนื้อความวาสิกขาบททั้ง ๖ ประการ ที่องคพระผูทรงพระภาค บัญญัติไมเปนปฐมนั้นวา พระภิกษุองคใดในพระศาสนานี้มีความปรารถนาลามก อันอิจฉาครอบงํา กลาวอวดอุตตริมนุสสธรรม คือธรรมอันเปนของแหงพระอริยเจามิไดมีในตนวามีในตน มิไดมีบังเกิดใน ตนวาบังเกิดมีในตน เพราะเหตุที่จะเลี้ยงชีวิต เพราะการณคือจะเลี้ยงชีวิตกองอาบัติชื่อปาราชิก ก็มีแก พระภิกษุนั้น อนึ่งพระภิกษุใด ถึงซึ่งภาวะสัญจรเที่ยวไป ชักหญิงใหแกบุรุษชักบุรุษใหแกหญิงจะเปน สามีภรรยากัน เพราะเหตุจะเลี้ยงชีวิตแหงตนกองอาบัติชื่อวาสังฆาทิเสส ก็มีแกภิกษุนั้น “โย เต วิหาเร วสติ” อนึ่งพระภิกษุใดกลาวถอยคําแกอุบาสกเจาอาวาสวา พระภิกษุองค ใดอยูในวิหารของทาน พระภิกษุองคนันเปนพระอรหันต กลาวคําดังนี้ เปนเหตุจะเลี้ยงชีวิต เมื่อ อุบาสกรูวาพระภิกษุลวงดังนั้นแนแลว กองอาบัติชื่อวาถุลลัจจัย ก็มีแกพระภิกษุนั้น อนึ่งพระภิกษุรูปใด ตนมิไดเปนไข ขอโภชนะอันประณีตแตสกุล เพื่อประโยชนแกตนจะ บริโภค เพราะเหตุแกอาชีวะเลี้ยงชีวิตกองอาบัติชื่อวาปาจิตติยะ ก็มีแกพระภิกษุนั้น อนึ่งพระภิกษุองคใด ตนมิไดเปนไข ขอโภชนาะอันประณีต เพื่อประโยชนแกตนแลว บริโภค เพราะเหตุแกอาชีวะเลี้ยงชีวิตกองอาบัติชื่อวาปาฏิเทสนียะ ก็มีแกพระภิกษุนั้น อนึ่งพระภิกษุใดมิไดเปนไขขอดวยตน และยังบุคคลใหขอสูปะโอนทะ เพื่อประโยชนแก ตนบริโภคเพราะเหตุอาชีวะเลี้ยงชีวิต กองอาบัติชื่อวาทุกกฏ ก็มีแกพระภิกษุนั้น สิกขาบทที่ ๖ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคบัญญัติอยางนี้ บัณฑิตพึงรูวา วาระพระบาลีที่เรากลาวตอไป ในบทคือกุหนะ เปนอาทิ ของพระภิกษุที่ ประพฤติลวงสิกขาบททั้ง ๖ นั้นวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 33 “ตตฺถ กตมา กุหนา” ล้ําบททั้งหลายมีกุหนะเปนตนนั้น บทคือกุหนะเปนดังฤๅ “ลาภสกฺการสิโลกสนฺตินิสฺสิตสฺส” พระภิกษุในพระศาสนานี้มีความปรารถนาลามก อัน อิจฉาครอบงํา อาศัยแกลาภสักการะ แลกิตติศัพทตั้งไวแลตั้งไวดวยดี และกระทําหนาสยิ้ววาตน กระทําเพียรอันยิ่ง และกระทําใหทายกพิศวงดวยอาการดังกลาว “ตตฺถ กตมา ลปนา” บทคือลปนาเปนดังฤๅ มีคําบริหารวา พระภิกษุในพระศาสนานี้ ปรารถนาลามก มีจิตสันดานอันอิจฉาครอบงํา อาศัยแกลาภสักการ แลกิตติศัพท กลาวคําของตนขึ้นกอน แลยังทายกใหกลาวถนอมกลาวคํากระทํา ในเบื้องบน กลาวคําโอบออม กลาวเกี่ยวพันในเบื้องบน กลาวเกี่ยวพันโดยภาคทังปวง ยกยอเสียกอน แลวจึงกลาวโดยภาคทั้งปวง กลาวใหรักเนือง ๆ ทําอาการประพฤติตัวต่ํากลาวถอยคําเหมือนแกงถั่ว แลภักดี แลอารีอารอบดังนี้ ชื่อวาลปนา “กตมา เนมิตฺตกตา” สภาวะที่ภิกษุกระทําซึ่งนิมิตนั้นเปนดังฤๅ พระภิกษุในพระศาสนานี้ ปรารถนาลามก อันอิจฉาครอบงํา อาศัยแกลาภสักการ แล กิตติศัพทกระทําซึ่งนิมิตที่จะยังทายกใหถวายจตุปจจัยและกระทําโอกาสกลาวถวอยคําดวยจตุปจจัย แลกลาวคํากระซิบ แลกลาวคําเปรียบปรายดังนี้ ชื่อวา เนมิตตกตา “กตมา วิปฺเปสิกตา” สภาวะที่พระภิกษุกลาวถอยคํา ชื่อวานิปเปสิกตานั้นเปนดังฤๅ พระภิกษุในพระศานนานี้ มีความปรารถนาลามก อันอิจฉาครอบงํา อาศัยแกลาภแลสักการ แลกิตติศัพท กลาวคําดา กลาวคําครอบงํา กลาวคําติเตียนบุคคลผูอื่น เพื่อใหทายากถวายจตุปจจัย แลกลาวคํายกยอแลยอโดยรอบคอบ แลกลาวคําเยยแลเยยโดยรอบคอบ แลกลาวถอยคํานําเสียซึ่ง คุณ แลกลาวถอยคําเหมือนไดกินเนื้อกินหนังทายกดังนี้ ชื่อวานิปเปสิกตา “กตมา ลาเภน ลาภํ นิชิคึสนฺตา” พระภิกษุปรารถนาลามกดวยลาภนั้นเปนดังฤๅ พระภิกษุในพระศาสนานี้ มีความปรารถนาลามก อันอิจฉาครอบงํา อาศัยแกลาภแลสักการ แลกิตติศัพท ไดอามิสแตเรือนนี้นําไปใหในเรือนโนนนําไปใหในเรือนนี้ เที่ยวแลกเปลี่ยนอามิสดวย อามิส แสวงหาอามิสดวยอามิสดังนี้ ชื่อวา “ลาเภน ลาภํ นิชิคึสนฺตา” วาระพระบาลองคสมเด็จพระ บรมศาสนาตรัสเทศนาไวดังนี้ มีเนื้อความวินิจฉัยในกุหนนิเทศดังนี้กอน ในบทคือ “ลาภสฺการสี โลกสนฺนิสฺสิตสฺสํ” นั้นวา พระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ ปรารถนาลาภ ๑ ปรารถนาสักการ ๑ ปรารถนากิตติศัพท ๑ แลมีปรารถนาลามก คือแสดงซึ่งคุณมิไดมี ในวามีคุณในตน ความปรารถนาจะใครไดจตุปจจัยมาครอบงําจิตสันดานแหงตน จึงไดทํากลอุบาย โกหกดังนี้ ในคัมภีรมหานิเทศนันวา “ติวิธํ กุหนวตฺถุ” เหตุจะใหไดโกหกนั้นมี ๓ ประการ คือ พระภิกษุจะเสพปจจัย ๑ คือพระภิกษุกลาวคําในที่ใกล ๑ คือปรารถนาจะตั้งไวซึ่งอริยาบถ ๑ เพราะ เหตุการณดังนั้น พระอาจารยเจาจึงปรารภวาระพระบาลีมีคํากลาววา “ปจฺจยํ ปฏิเสธนสงฺขาเตน” เปน อาทิฉะนี้ เพื่อจะแสดงซึ่งกุหนวัตถุทั้ง ๓ ประการนั้น มีความวินิจฉัยวา พระภิกษุโกหกนั้น คฤหบดี นิมนตใหรับจตุปจจัยทั้ง ๔ มีจีวรปจจัยเปนอาทิ ตนก็ปรารถนาจะใครไดจตุปจจัยทั้ง ๔ นั้นก็หามเสีย ไมรับ เพราะปรารถนาอันลามก ครั้นรูวาคฤหบดีศรัทธาตั้งอยูในตนแลว เมื่อภายหลังคฤหบดีมีความ ปริวิตกวา “อโห อยฺโย อปปจฺโฉ” ดังเราสรรเสริญพระผูเปนเจามีความปรารถนานอย ไมปรารถนา เพื่อจะรับจตุปจจัยอันใดอันหนึ่ง พระผูเปนเจาปฏิบัติมักนอยดังนี้เราทั้งหลายไดปฏิบัติทาน เราเกิดมา เปนมนุษยชาตินี้ ชื่อวาไดชาติมนุษยก็ดี ถาแลวาพระผูเปนเจาจะพึงรับจตุปจจัยอันใดอันหนึ่ง บุญ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 34 ลาภก็จะพึงมีแกเราคฤหบดีปริวิตกดังนี้แลว ก็นําปจจัยทั้งหลาย มีจีวรปจจัยเปนตนภิกษุนั้นก็กระทํา ใหแจงวาตนปรารถนาจะอนุเคราะหคฤหบดี จึงรับจตุปจจัยของคฤหบดี จําเดิมแตนั้นมา พระภิกษุก็ กลาววาจาใหคฤหบดีพิศวงเปนเหตุที่จะใหคฤหบดีนอมนําจตุปจจัยใสใหเต็มเลมเกวียนเขาไปใหแก ตน พระภิกษุปรารถนาลามกปฏิบัติดังนี้ บัณฑิตพึงรูวากุหนวัตถุแปลวาเหตุที่จะโกหก กลาวคือจะเสพ ซึ่งจตุปจจัย อนึ่ง พระธรรมเสนาบดี กลาวไวในคัมภีรมหานิเทศนั้นวา “กตมํ ปจฺจยปฏิเสวนสงฺขาตํ กุ หนวตฺถุ” ดูกรอาวุโสทั้งหลาย เหตุที่พระภิกษุโกหกกลาวคือปรารถนาจะเสพซึ่งปจจัยเปนดังฤๅ พระผูเปนเจากลาวคําปุจฉาแลว จึงกลาวคําวิสัชนาวา “อิธคหปติกา ภิกฺขุ นิมนฺเตนฺติ” คฤหบดีทั้งหลายในคําเปนเหตุสั่งสอนแหงพระบรมครูนี้ ยอมนิมนตพระภิกษุดวยจีวรปจจัย แล บิณฑบาตแลเสนาสนะแลคลานปจจัยบริขาร พระภิกษุที่ปรารถนาลามกอันความอิจฉาครอบงํา ตนก็มี ประโยชนดวยจีวรเปนปจจัยเปนอาทิ ก็หามเสียไมรับจีวรไมรับบิณฑบาตแลเสนาสนะแลคิลานปจจัย เภสัชบริขาร เพราะเหตุปรารถนาจะใครไดใหมาก พระภิกษุนั้นจึงกลาวคําตอบแกคฤหบดีวา “กึ สมณสฺส สหคฺเฆน จีวเรน” สมณะจะมีประโยชนดังฤๅดวยจีวรอันถึงซึ่งคาเปนอันมาก พระสมณะจะ บริโภคนุงหมจีวรอันใด คือผาที่ตนแสวงหาไดในสุสานะประเทศปาชา แลที่ตนแสวงไดที่กอง หยากเยื่อ แลผาอันตกอยูที่ตลาด เปนผาอันหาชายมิได มากระทําเปนผาสังฆาฏิบริโภคทรงไว ผานั้น สมควรแกสมณะจะนุงหมจะบริโภค “กึ สมณสฺส สหคฺเฆน ปณฺฑปาเตน” อันหนึ่งพระสมณะจะมีประโยชนสดังฤๅ ดวย บิณฑบาตอันถึงซึ่งคาเปนอันมาก พระสมณะจะสําเร็จเลี้ยงชีวิตดวยคาแหงโภชนะ ที่ตนแสวงหาดวย บิณฑบาตอันใดบิณฑบาตนันสมควรแกพระสมณะ กึ สมณสฺส สหคฺเฆน เสนาสเนน” พระสมณะจะมีประโยชนดังฤๅ ดวยเสนาสนะอันถึงซึ่ง คาเปนอันมาก พระสมณะอยูรุกขมูลเปนวัตร และอยูอัพโภกาสเปนวัตร ดวยปฏิบัติอันใด ปฏิบัติอันนั้น สมควรแกพระสมณะ อนึ่ง พระสมณะจะมีประโยชนดังฤๅ ดวยคิลานปจจัยเภสัชบริขารอันถึงซึ่งคาเปนอันมาก พระสมณะจะพึงกระทําโอสถดวยมูตรเลาแลชิ้นแหงผลเสมอ ดวยปฏิบัติอันใด ปฏิบัติดังนี้สมควรแก สมณะภิกษุกลาวแกคฤหบดี ดังนี้แลว ก็บริโภคนุงหมจีวรอันเศราหมอง บริโภคบิณฑบาตอันเศรา หมองอยูในเสนาสนะอันเศราหมอง เสพเภสัชอันเปนปจจัยแกความไขอันเปนบริขาร แหงชีวิตอันเศรา หมอง เพราะเหตุปรารถนาจะใหไดจีวรแลบิณฑบาต แลเสนาสนะ แลคิลานปจจัยเภสัชบริขารใหได มาก ๆ “ตเมนํ คหปติกา” คฤหบดีทั้งหลายรูวาพระภิกษุปฏิบัติดังนี้ก็ยินดีเลื่อมใสวา พระะสมณนี้มี ความปรารถนานอยถือสันโดษยินดีในสงัดมิไดสัคคะระคนดวยคฤหัสถแลบรรพชิต ปรารภความเพียร กลาวคําชําระกิเลสแกบุคคลทั้งหลายอื่น แลวก็นิมนตพระภิกษุนั้นดวยปจจัยทั้ง ๔ มีจีวรปจจัยเปน อาทิ พระภิกษุนั้นจึงกลาววา กุลบุตรมีศรัทธายอมจะไดเสวยซึ่งบุญมาก เพราะเหตุมีหนาเฉพาะตอ วัตถุทั้งสาม กุลบุตรมีศรัทธาจะไดเสวยบุญเปนอันมากก็เพราะเหตุมีหนาเฉพาะตอไทยธรรม กุลบุตรมี ศรัทธายอมจะไดเสวยซึ่งบุญเปนอันมากก็เพราะเหตุมีหนาเฉพาะตอไทยธรรม กุลบุตรมีศรัทธายอมจะ ไดเสวยซึ่งบุญเปนอันมากก็เพราะเหตุมีไทยธรรมตั้งอยูในที่เฉพาะหนาศรัทธาของทานก็มี แลวไทย ธรรมคือวัตถุที่ทานจะพึงใหมีอยูแลวตัวของรูปก็เปนปฏิคคาหก ผูจะถือเอาก็มีอยูแลว ถาแลวารูปจะ ไมรับ ทานก็จะไมไดสวนบุญ “น มยฺหํ อิมินา อตฺโถ” รูปจะมีประโยชนจะมีปจจัยนี้ก็หามิไดรูปรับครั้งนี้ก็อาศัยเพราะ อนุเคราะหแกทานผูมีศรัทธา พระภิกษุโกหกกลาวดังนี้แลวก็ถือเอาจีวรเปนอันมาก ถือเอาซึ่ง บิณฑบาตแลเสนาสนะและคิลาน ปจจัยเภสัชบริขารเปนอันมาก เพราะเหตุตนมีความปรารถนาอัน ลามกอยากจะใครไดมาก อนึ่ง อาการที่พระภิกษุกลาวสยิ้วหนา แลกลาวใหทายกพิศวงกลาวโกหกดังนี้ ชื่อวากุหน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 35 วัตถุ กลาวคือจะเสพซึ่งปจจัย อนึ่ง พระภิกษุปรารถนาลามก กลาวคําใหทายกพิศวงดวยประการนั้น ๆ ดวยวาจาแสดงวา ตนไดอุตตริมนุสสธรรม คือมรรคแลผลเปนของแหงพระอริยบุคคล ก็ไดชื่อวากุหนวัตถุ เหมือนวาระ พระบาลีวา “กตมํ สามนฺตชปฺปนสงฺขาตํ กุหนวตฺถํ” องคสมเด็จพระมหากรุณาตรัสเทศนาเปนกเถตุ กามยตาปุจฉาวากุหนวัตถุ กลาวคือพระภิกษุกระซิบเจรจาในที่ใกลนั้นเปนดังฤๅ จึงทรงวิสัชนาวา “อิเธกจฺโจ ปาปจฺฉาปกโต” พระภิกษุจําพวกหนึ่งในพระศาสนานี้ มี อิจฉาลามก อันอิจฉาครอบงําปรารถนาจะกลาวคําสรรเสริญตนใหชนทั้งปวงรูวาตนไดธรรมวิเศษ หรือ อุตริมนุสสธรรม ยอมกลาวถอยคําอันอาศัยธรรมเปนของพระอริยบุคคล “โย เอวรูป จีวรํ ธาเรติ” พระสมณะองคใดทรงจีวรอยางนี้พระสมณะองคนั้นมีศักดานุภาพมาก พระสมณะองคใดทรงบาตร อยางนี้ ทรงภาชนะอันบุคคลกระทําใหแลวโดยโลหะอยางนี้ ทรงธรรมกรกผากรองน้ํา ลูกกุญแจ ทรง กายพันธน ทรงรองเทาอยางนี้ ๆ พระสมณองคนั้นมีศักดานุภาพมาก อนึ่ง พระภิกษุนั้นกลาววา พระอุปชฌายของพระสมณะองคใดปฏิบัติอยางนี้ พระสมณะนี้มี ศักดามาก พระภิกษุมีพระอุปชฌายเสมอกันกับพระสมณะองคใด พระสมณะองคนั้นมีศักดามาก พระภิกษุเปนมิตรอันเปนทามกลาง และเปนมิตรอันเห็นกองของพระสมณะองคใด พระสมณะองคนั้นมี ศักดามาก “โย เอวรูเป วิหาเร วสติ” พระสมณะใดอยูในวิหารมีดังนี้เปนรูป คือปราสาทยาว และ ปราสาทสี่เหลี่ยม แลปราสาทมีสัณฐานอันกลม ดุจดวงพระจันทรในวันเพ็ญแลอยูในคูหา แลที่เรนแล กุฎีแลเรือนยอด แลหอรบ แลปอม แลศาลาอันยาวแลอุปฏฐานศาลาแลมณฑป แลรุกขมูล พระสมณะ นั้นมีศักดามาก นัยหนึ่ง พระภิกษุมีคารมดุจธุลีอันบุคคลพึงเกลียด มีหนาสยิ้วยิ่งนักทักทายยิ่งนัก คน ทั้งหลายอื่นกลาวคําสรรเสริญดวยปากแหงตนเปนประมาณ พระภิกษุนี้ยอมจะกลาวคําใหชนสําคัญตน วาไดโลกุตตรคุณ อันลึกอันกําลังอันไพบูลย ควรจะปกปดไววาพระสมณะนี้ไดผลสมาบัติอันละเอียด ดังนี้ ๆ อาการที่พระภิกษุสยิ้วหนากลาวคํากระซิบในที่ใกล เอวํก็มีดวยประการฉะนี้ “ปาปจฺฉสฺเสว ปน สดต สมฺภาวนาธิปฺปายา เตน อิริยาปเถน วิมฺหาปนํ อิรยาปถสงฺ ี ขาตํ กุหนวตฺถุ อิเธกจฺโจ ปาปจฺโฉ อิจฺฉาปกโต สมฺภาวนาธิปฺปาโย เอวํ มํ ชโน สมฺภาเวสฺสตีติ คมนํ สฌฺเปติ ปณิธาย คจฺฉติ ปณิธาย ติฏติ ปณิธาย นิสีทติ ปณิธาย เสยยํ กปฺเปติ สมาหิ โต วิย คจฺฉติ สมาหิโต วิย ติฏติ เสยฺยํ นิสีทติ เสยฺยํ กปฺเปติ อาปาถกฌายี จ โหติ” พระบาลีมีเนื้อความวา “ปปปจุฉสฺเสว ปน สโต” พระภิกษุมีความปรารถนาลามกอันอิจฉา ครอบงํา ยอมกระทําใหผูอื่นพิศวงดวยอิริยาบถที่ตนกระทําปรารถนาจะยังบุคคลผูอื่นใหสรรเสริญดังนี้ บัณฑิตพึงรูชื่อวา กุหนวัตถุ อาศัยซึ่งอิริยาบถเหมือนดวยวาระพระบาลีที่องคสมเด็จพระผูมีพระภาค ตรัสเทศนาเปนคําปุจฉาวา “กตมฺ อิริยาปถสงฺขาตํ กหนวตฺถุ” เหตุที่พระภิกษุโกหก กลาวคือตั้งไว ซึ่งอิริยาบถนั้นเปนดังฤๅ จึงทรงวิสัชนาวา พระภิกษุจําพวกหนึ่งในพระศาสนานี้ มีความปรารถนาลามกอันอิจฉา ครอบงํา ปรารถนาจะใหชนทั้งปวงสรรเสริญจึงวิตกวา มหาชนจักสรรเสริญเราก็เพราะเหตุอยางนี้ จึง ตั้งไวซึ่งอิริยาบถคือจะเดินไปนั้นก็เดินไปดุจดังวามีธรรมวิเศษตรัสรูแลว อนึ่งเมื่อเดินไปก็ตั้งจิตไววา ชนทั้งหลายจงรูวาเราเปนพระอรหันต เมื่อจะยืนก็ตั้งจิตไวเหมือนดังนี้ เมื่อจะนั่งจะนอนก็ตั้งจิตไว เหมือนดังนั้น อนึ่งเมื่อจะเดินจะยืนจะนั่งจะนอน กระทําอาการดุจดังวามีจิตอันตั้งมั่นไวในอิริยาบถดุจ เขาสูสมาธิในที่ปรากฏมหาชนทั้งปวงกิริยาที่จะตั้งไวซึ่งอิริยาบถทั้ง ๔ ดวยเอื้อเฟอ แลอาการที่ตั้งไว ซึ่งอิริยาบถทั้ง ๔ แลดัดแปลงอิริยาบถทั้ง ๔ ใหนํามาซึ่งความเลื่อมใส แลกระทําสยิ้วหนา ดวยจะ แสดงซึ่งสภาวะแหงตนตั้งไวยิ่งซึ่งความเพียร แลมีปกติสยิ้วหนา แลสภาวะสยิ้วหนา แลกระทําให

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 36 พิศวง แลยังโกหกใหประพฤติเปนไป แลสภาวะโหกดังนี้ ชื่อวากุหนวัตถุ กลาวคือ ตั้งไวซึ่งอิริยาบถ วินิจฉัยในลปานานิเทศ คือแสดงอาการที่พระภิกษุมีความปรารถนาลามก จะวากลาวแก คฤหบดี “อาลปนาติ วิหารํ อาคเต” จะสังวรรณนาอรรถในบทคืออาลปนานั้นกอน มีเนื้อความวา ภิกษุปรารถนาธรรมอันลามก เห็นมนุษยทั้งหลายออกมายังวิหารก็ทักทาย กอนวา “โภนฺโต” ดูกรอุบาสกผูเจริญทานทั้งปวงพากันออกมาสูอาราม เพื่อประโยชนสิ่งอันใด ทาน จะมานิมนตพระภิกษุทั้งหลายหรือ “ยทิ เอวํ คจฺฉถ” ถาทานจะนิมนตจะพระภิกษุแลวจงไปกอนเถิด เราจึงจะพาพระภิกษุทั้งหลายเขาไปในบานเมื่อภายหลัง พระภิกษุกลาวคําดังนี้ ชื่อวา อลปนา แปลวา ทักทายกอน นัยหนึ่งพระภิกษุนอมนําเขาไปถึงตนกลาววา “อหํ ติสฺส ราชา มยิ ปสนฺโน” มีนาม ปรากฏชื่อวา พระติสสเถร บรมกษัตริยเลื่อมใสในเรา มหาอํามาตยชื่อนั้นเลื่อมใสในเรา พระภิกษุ กลาวถอยคําดังนี้ ก็ไดชื่อวา อาลปนา ในบทคือ “ลปนา” ไมมีอาศัพทอยูในเบื้องตนนั้น มีเนื้อความนุษยทั้งหลายออกไปยัง อารามถามวา “ติสฺโส นามโก” พระภิกษุดังฤๅชื่อวาติสสะ พระภิกษุนั้นก็กลาวคําตอบวา อาตมานี้แล ชื่อติสสะบรมกษัตริยเจาพระนครนี้เลื่อมใสในเรา ใชแตเทานั้น มหาอํามาตยผูใหญมีนามชื่อนั้น ชื่อนี้ก็ เลื่อมใสในเรา ดังนี้ชื่อวาอาลปนา ในบทคือ “อุลฺลปนา” นั้น มีคําศัพทตั้งอยูในเบื้องตนนั้นมีอรรถสังวรรณนา แปลใน เนื้อความ “คหปติกานํ อุกฺกณฺเน” พระภิกษุกลัววาคฤหบดีทั้งหลายจะมีความกระสัน ใหโอกาส กลาวถอยคําเอาเนื้อเอาใจคฤหบดีดังนี้ ชื่อวา สลลปนา ในบทคือ “อุลฺลปนา” แปลวากลาวยกยอนั้น คือพระภิกษุกลาววา “มหากุฏมฺพิโก มหา นาวิโก” ทานผูนี้เปนกุฏพีผูใหญ ทานผูนี้เปนนายสําเภาผูใหญ ทานผูนี้เปนทานบดีผูใหญ พระภิกษุ กลาวคํายกยอดังนี้ ชื่อวา อุลฺลปนา ในบทคือ “สมุลฺลปนา” แปลวาภิกษุกระทํายกยอโดยสวนทั้งปวงชื่อวา สมุลฺลปนา ในบทคือ “อุนฺนหนา” นั้นวา พระภิกษุกลาวเกี่ยวพันดูกรอุบาสกทั้งหลาย แตปางกอนถึง เทศกาลนี้แลว อุบาสกเคยถวายทานใหญไทยธรรมตาง ๆ มาในกาลบัดนี้ เหตุไฉนจึงไมกระทําทาน เหมือนอยางนั้นเลา กลาวเกี่ยวพันไปกวาอุบาสกทั้งหลายจะกลาวตอบ วาขาแตพระผูเปนเจา ขาพเจาทั้งปวงจะใหอยู แตทวายังหาโอกาสมิได “อถวา อุจฺฉุหตฺถํ ทิสฺวา” นัยหนึ่งพระภิกษุเห็นอุบาสกถือออยเดินมาถามวา ดูกรอุบาสก ออยนี้ทานนํามาแตดังฤๅ อุบาสกก็กลาวคําตอบวา ออยนี้ขาพเจานํามาแตไรออย ดูกรอุบาสก ออยใน ไรออยนั้นหวานอยูหรือ ขาแตพระผูเปนเจา ออยนี้กินเขาไปดูจึงจะรูวาหวานหรือไมหวาน ดูกรอุบาสก พระภิกษุจะกลาววา ทานทั้งหลายจงใหแกภิกษุนั้นไมควร พระภิกษุกลาวเกี่ยวพันเบื้องตนดังนี้ ชื่อวา อุนฺนหนา พระภิกษุกลาวยกยอแลว ๆ เลา ๆ โดยภาคทั้งปวงชื่อวา สมุนฺนหาน ในบท “อุกฺกาปนา” นั้นวา พระภิกษุยกยอตนแลวแสดงวา “เอตํ กุลํ มํ เอว ชานาติ” ตระกูลนี้รูจักเราผูเดียว ถาแลวาไทยธรรมบังเกิดขึ้นในตระกูลนี้ก็จะถวายแกเรา มีอรรถรูปวา ภิกษุยก ยอตัว ชื่อวา อุกกาปนา บัณฑิตพึงกลาวนิทานอุบาสิกา ชื่อวา เตลกัณฑริกา สาธกเขาในบทคือ อุกกาปนา นี้ พระภิกษุกลาวยกยอตนแลว ยกยอตนเลา โดยสวนทั้งปวง ชื่อวา สมุกฺกาปนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 37 ในบทคือ “อนุปฺปยภาณิตา” นั้นวา ภิกษุไมแลดูการที่จะประกอบดวยประโยชน มีรูปอัน เปนไปตามสัตยสมควรแกคําสัตยแลสมควรแกธรรมที่ตนประพฤติ กลาวถอยคําที่จะทายารักใครตน แลว ๆ เลา ๆ ชื่อวา อนุปฺปยภาณิตา พระภิกษุประพฤติตนตั้งตนไวในเบื้องต่ํา แลวแลประพฤติเปนไปชื่อวา ปาตุกามยตา พระภิกษุกลาววาจาเหมือนดวยแกงถั่ว ชื่อวา มุคฺคสุปปนา มีคําอุปมาวา เมื่อบุคคลแกง ถั่วนั้น ประเทศขางหนึ่งไมสุก ประเทศขางหนึ่งสุก ดิบบางสุกบาง อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มีอุปไมย เหมือนวาจาที่ภิกษุกลาวนั้นจริงบาง เท็จบาง เท็จระคนกับจริง จริงระคนกับเท็จ สภาวะที่ภิกษุกลาว ถอยคําเหมือนแกงถั่วนั้น ชื่อวา มุคฺคสุปฺปตา สภาวะที่ภิกษุบําเรอนั้น ชื่อวา ปาริภฏยตา ที่จริงพระภิกษุรูปหนึ่งอุมทารกตระกูลดวยสะเอว แลทรงทารกแหงตระกูลไวดวยบา การที่ ภิกษุอุมทารกแหงตระกูลนั้น ชื่อวา ปาริภฏยตา สภาวะที่พระภิกษุอุมทารกนั้น ชื่อวา ปาริภฏยตา วินิจฉัยในเนมิตติกตานิเทศนั้นวา “ยํกิฺจิ กายวจีกมฺม”ํ พระภิกษุกระทําดวยกายแล วาจา อันประกอบดวยประโยชน ที่จะยังชนทั้งหลายอื่น ๆ ใหปจจัยแกตน ชื่อวา นิมิต อนึ่ง พระภิกษุเห็นชนทั้งหลายถือเอาซึ่งขาทนียะทั้งหลายแลวแลเดินไป ตนก็กระทํานิมิต โดยนัยเปนอาทิวา ทานทั้งหลายไดขาทนียะของกันมาหรือดังนี้ ชื่อวา นิมิตกรรม พระภิกษุกลาวถอยคําอันประกอบดวยปจจัย ชื่อวา โอภาส อนึ่งพระภิกษุเห็นทารกเลี้ยงโค ถามทารกเลี้ยงโคนั้นวา “กึ อิเม วจฺฉา” ลูกโคทั้งปวงนี้ เปนลูกโคนมหรือ ๆ วาเปนลูกโคเปรียง ทารกเลี้ยงโคก็กลาวตอบวา “ภนเต” ขาแตพระผูเปนเจาผูเจริญ ลูกโคทั้งหลายนี้เปนลูก โคนม พระภิกษุจึงกลาววา “นขีรโควจฺฉา” ลูกโคทั้งปวงนี้มิใชลูกโคนม ถาแลวาลูกโคเหลานี้เปนลูก โคนมแลว พระภิกษุทั้งหลายก็จะไดนมโค พระภิกษุกลาวคําโดยนัยเปนอาทิดังนี้ แลวเด็กเลี้ยงโค ทั้งหลายนั้นก็ไปบอกบิดามารดา ยังมารดาแลบิดาให ๆ น้ํานมโคแกภิกษุกลาวถอยคําดังนี้ ชื่อวา โอภาสกรณกระทําโอภาส อนึ่ง พระภิกษุกลาวกระทําใหใกลกลาวกระซิบ ชื่อวา สามันตชัปปนา เรื่องราวพระภิกษุอันเขาไปสูตระกูล บัณฑิตพึงกลาวในบท คือ สามันตชัปปนา นี้ “กิร” ดังไดสดับมา พระภิกษุรูปหนึ่ง เขาไปสูตระกูลแลวปรารถนาจะบริโภค จึงเขาไปนั่ง อยูในเรือน อุบาสิกาเจาของเรือนเห็นภิกษุนั้นแลวปรารถนาจะไมใหไทยธรรม จึงกลาวถอยคําวา ขาวสารไมมีกระทําอาการ ดุจดังวาจะไปเที่ยวแสวงหาขาวสารแลวก็ไปสูเรือนที่คุนเคยพระภิกษุนั้นก็ เขาไปในหองเล็งแลดูที่ขางนั้นขางนี้ จึงเห็นออยที่อุบาสิกาพิงไวที่แงมประตู ดูไปอีกก็เห็นน้ําออยที่ อุบาสกใสไวในภาชนะเห็นปลาตําแบอยูในตะกรา เห็นขาวสารอยูในกระออม เห็นเปรียงในหมอ พระภิกษุก็ออกมานั่งอยูอุบาสิกาก็รองวาหาขาวสารไมไดแลวก็กลับมา พระภิกษุจึงวา ดูกรอุบาสิกา “อชฺช ภิกฺขา น สมฺปชฺชิสฺสติ” รูปเห็นเหตุเสียกอนแลววา วันนี้มีภิกขาหารจะไมสําเร็จแกอาตมา อุบาสิกาจึงถามวาพระผูเปนเจาเห็นเหตุเปนดังฤๅ พระภิกษุจึงกลาวคําในที่ใกลอุบาสิกาวา อาตมา เห็นอสรพิษเหมือนลําออยที่อุบาสิกาพิงไวที่แงมประตู “ตํ ปหริสสามิ” อาตมาก็คิดวาจะประหาร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 38 อสรพิษจึงจับเอากอนศิลาเหมือนหนึ่งน้ําออยที่อุบาสิกาใสไวในภาชนะ อสรพิษก็ทําพังพานเหมือน ปลาตําแบที่อุบาสิกาใสไวในตะกรา เหมือนอสรพิษดูดเอากอนศิลานั้น อาตมาก็เห็นฟนอสรพิษ เหมือนขาวสารที่อุบาสิกาใสไวในกระออมในขณะนั้นอสรพิษโกรธก็พนพิษออกจากปาก เขฬะที่เจือ ดวยพิษก็ไหลออกจากปากอสรพิษ อาตมาแลเห็นเหมือนเปรียงที่อุบาสิกาใสไวในหมอ อุบาสิกา เจาของเรือนไดฟงดังนั้นก็คิดวาเราไมอาจลวงพระสมณะที่มีศีรษะอันโกน จึงเอาออยออกมาถวาย แลวก็หุงโภชนะนําเขาไปถวายกับปลาตําแบปง บัณฑิตพึงรูวากิริยาที่พระภิกษุกระซิบกลาวในที่ใกลดังนี้ ชื่อวาสามันตชัปปนา ในบทปริกถานั้น มีอรรถสังวรรณนาวา พระภิกษุไดวัตถุมีอโทนะ เปนอาทิแลว ก็เจรจาให แลกเปลี่ยนดวยวัตถุอื่น ๆ ที่ตนปรารถนา ชื่อวาปริกถา กลาวโอบออมไปโดยภาคทั้งปวง วินิจฉัยใน นิปเปสิกตานิเทศนั้นวา พระภิกษุดากลบเอาของดวยอักโกสวัตถุ ๑๐ ประการ ชื่อ วา อักโกสนา พระภิกษุกลาวครอบงํา ชื่อวา อัมภนา พระภิกษุกลาวยกโทษโดยนัยเปนอาทิ “อสทฺโธ อปฺปสนฺโน” คฤหบดีนี้ไมมีศรัทธา ไมมี ความเลื่อมใส ชื่อวา ครหนา พระภิกษุกลาวยกยอดวยวาจาวา ทานอยากลาวคําอยางนี้ ๆ แตตระกูลนี้ชื่อวา อุกเขปนา พระภิกษุกลาวคํายกยอ กระทําใหะเปนไปกับวัตถุ กระทําใหเปนไปกับดวยเหตุโดยภาคทั้ง ปวง ชื่อวา สมุกเขปนา นัยหนึ่งพระภิกษุเห็นคฤหบดีไมใหแลว ก็กลาวยกยอวา “อโห ทานปติ” ดังเราสรรเสริญ คฤหบดีนี้เปนผูใหญในทานดังนี้ ชื่อวา อุกเขปนา พระภิกษุเห็นวาคฤหบดีไมใหแลว ก็กลาวคํายกยอใหยิ่งขึ้นไปวา “อโห มหาทานปติ” ดัง เราสรรเสริญ ทานคฤหบดีนี้เปนมหาทานบดีเปนใหญในมหาทาน ชื่อวา สมุกเขปนา พระภิกษุกลาวคําเยยยุใหคฤหบดีวา ชีวิตของทานนี้หาประโยชนมิได ทานนี้เปนคนบริโภค พืชกินบุญหนหลังดังนี้ ชื่อวาขิปปนา พระภิกษุกลาวคําเยยยิ่งขึ้นไปกวานั้นวา ชนทังหลายกลาววาทานผูนี้เปนทายกเพื่อเหตุดัง ฤา ทานผูนี้ยอมกลาวแตคําวา ไมมีแกพระภิกษุทั้งหลายสิ้นกาลเปนนิจดังนี้ ชื่อวา สังขัปปนา อนึ่ง พระภิกษุยังโทษคือมิไดเปนทายกใหถึงแกคฤหบดี ชื่อวา ปาปนา พระภิกษุยังโทษคือมิไดเปนทายกใหถึงแกคฤหบดี โดยภาคทั้งปวงชื่อวา สัมปาปนา พระภิกษุออกจากเรือนนี้ไปสูเรือนโนน ออกจากบานนี้ไปสูบานโนนออกจากชนบทนี้ไปสู ชนบทโนน เที่ยวกลาวโทษไปทุกแหงวาคฤหบดีนี้ทําบุญใหทานแกเรา เพราะเหตุกลัวเราจะติเตียน กลัววาเราจะไมสรรเสริญ ดังนี้ ชื่อวา อวัณณหาริกา อนึ่ง พระภิกษุกลาวคําไพเราะในที่ตอหนา กลาวโทษในที่ลับหลังชื่อวา ปรปฏฐิมังสิกตา แทจริงวาจานั้นเปนวาจาของบุคคล ไมอาจจะแลดูในที่เฉพาะหนาปรากฏดุจดังวา จะกัด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 39 กินซึ่งเนื้อหนังแหงชนทั้งหลาย อันตั้งอยูในที่ลับหลังเพราะเหตุการณนั้น องคพระผูทรงพระภาคจึง ตรัสวา ปรปฏฐิมังสิกตา วาจาทั้งปวงที่กลาวมา มีครหนาวาจาติเตียนเปนอาทิ ยอมเช็ดเสียซึ่งคุณแหงบุคคลผูอื่น เหมือนซีกไมไผที่บุคคลเช็ดเสีย ครูดเสียซึ่งน้ํามันอันแปดเปอนในสรีระ นัยหนึ่ง วาจาชื่อวา “นิปฺเปติกตา” นี้ ยอมกระทําซึ่งคุณทั้งหลายแหงบุคคลอื่น ใหเปน จุณแลวแลแสวงหาลาภ มีอุปมาเหมือนบุคคลกําจัดเสียซึ่งคันธชาติแลว แลแสวงหาคันธชาติ เหตุใด เหตุดังนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคจึงตรัสวา นิปเปสิกตา ดังนี้ วินิจฉัยในบทคือ “ลาเภน ลาภํ นิชิคึสนตา” นิเทศนั้นวากิริยาที่ภิกษุแสวงหา ชื่อวา “นิชิคึสนตา” พระภิกษุไดภิกขาในเรือนนี้นําไป ใหในเรือนโนน เที่ยวแลกเปลี่ยนไปกวาจะไดวัตถุที่ชอบใจตนในอธิการนี้ พระอาจารยนํานิทาน พระภิกษุซึ่งไดภิกขาในเรือนเดิมแลว แลนําไปใหแกทารกทั้งหลายในเรือนนั้น ๆ ครั้นไดขีรยาคูของ ชอบใจแลวก็ไป มาสาธกเขาในบทคือ “ลาเกน ลาภํ นิชิคึสนตา” นี้ ในบทคือ “เอวมาทีนฺจ ปาปธมฺมานํ” นั้น พระพุทธโฆษาจารยเจากลาววา บัณฑิตพึงรู วา กิริยาที่สมณะแลพราหมณจะถือเอาซึ่งธรรมอันลามกนั้น สมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวใน พรหมชาลสูตรโดยนัยเปนอาทิวา “โภนฺโต สมณพฺราหมณา” ดูกรทานผูเจริญทั้งหลาย สมณะแล พราหมณจําพวกหนึ่งบริโภคโภชนาหารอันบุคคลมีศรัทธาคือเชื่อซึ่งกรรมแลผลแหงกรรมแลวแลพึง ใหแกสมณะแลพราหมณะทั้งหลายนั้น เลี้ยงชีวิตเปนมิจฉาชีพ คือวิชาที่เลี้ยงชีวิตดวยติรัจฉานวิชชา “เสยฺยถีท”ํ สมณะแลพราหมณะเลี้ยงชีวิตดวยติรัจฉานวิชานั้นเปนอยางไร มีคําวิสัชนาวา สมณแลพราหมณะเลี้ยงชีวิตดวยติรัจฉานวิชานั้นคือวิชาที่วาชั่วแลดีแหง อวัยวะนอยใหญทั้งหลาย แลวิชานั้นอันหนึ่งกอบดวยอันบังเกิดขึ้นแหงเหตุทั้งหลาย มีอุกกาบาตแล ไฟไหมในทิศแลแผนดินไหว เปนอาทิ แลวิชาสุบินศาสตรทายสุบินแลวิชาทายลักษณะหญิงแลบุรุษ แลวิชาหนูกัดผา แลวิชาวิธีบูชาเพลิง แลวิชาวิธีบังหวนควันตาง ๆ กันดังนี้ มิจฉาชีพนั้นพระภิกษุใน พระศาสนานี้ ยอมใหประพฤติเปนไปดวยสามารถที่ตนลวงสิกขาบททั้ง ๖ ประการ ที่กลาวมาแลวใน หนหลัง แลประพฤติเปนไปดวยสามารถแหงธรรมอันลามกทั้งหลาย แลโกหกแลกระทําผิดซึ่งนิมิต แลกําจัดเสียซึ่งคุณแหงบุคคลผูอื่นแลว แลแสวงหาลาภดวยลาภเปนอาทิ “ตสฺมา สพฺพปฺปการา มิจฺฉาชีวา” เมื่อภิกษุเวนจากมิจฉาชีวะมีประการดังกลาวแลวทั้งปวงนั้น อาชีวิปาริสุทธิศีลของ พระภิกษุนั้นก็บริสุทธิ์ มีบทวิคคหะในอาชีวปาริสุทธิศีลนั้นวา “เอตํ อาคมฺม ชีวติติ อาชีโว” คือดังฤๅ

พระภิกษุทั้งหลายอาศัยซึ่งสภาวะอันใดแลวแลมีชีวิตอยูสภาวะนั้น ชื่อวา อาชีวะ สภาวะนั้น

สภาวะนั้นคือความเพียรที่จะแสวงหาปจจัยทั้ง ๔ สภาวะบริสุทธิ์นั้นชื่อวา บริสุทธิ์แหงอาชีวะ จึงไดนามชื่อวา อาชีวปาริสุทธิศีล เอวํ ก็มด ี วยประการดังนี้

“ปาริสุทธิ”

“ยมฺปเนตํ ตทนนฺตรํ ปจฺจยสนฺนิสฺสิตสีลํ วุตฺตํ ตตฺถ ปฏิสงฺขาโยนิโสติ อฺปาเยน ปเถน ปฏิสงฺขาย ญตฺวา ปจฺจเวกขิตฺวาติ อตฺโถ เอตฺถ จ สีตสฺส ปฏิฆาฏายาติ อาทินา นเยน วุตฺตํ ปจฺจเวกฺขณเมวโยนิโส ปฏิสงฺขาติ เวทิตพฺพํ ตตฺถ จีวรนฺติ อนฺตรวาสกาทีสุ ยํกิฺจิ ปฏิ เสวตีติปริภุฺชติ นิวาเสติ วา ปารุปติ วา ยาวเทวาติ ปโยชนาวธิปริจฺเฉทนิยมวจนํ เอตฺตกเมว หิ โยคิโน จีวรปฏิเสวเน ปโยชนํ ยิททํ สีตสฺส ปฏิฆาฏยาติ อาทิ” วาระนี้จะไดวิสัชนาในปจจัยสันนิสสิตศีล สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี มีเนื้อความวา ปจจัยสันนิสสิตศีลอันใด อันเรากลาวแลวในลําดับแหงอาชีวปาริสุทธิศีล เราจะวินิจฉัยตัดสินไปใน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 40 ปจจัยสินนิสสิตศีลนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาดําเนินวาระพระบาลีดังนี้ แลวจึงสังวรรณนาในบทคือ “ปฏิสงฺขา โยนิโส” อันเปนเบื้องตนแหงปจจัยสันนิสสิตศีลนี้กอนวา พระภิกษุรูดวยอุบายปญญาปจ จเรกขณะวิธีที่องคสมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสเทศนาไว โดยนัยเปนอาทิ “สีตสฺส ปฏิฆาฏาย” นี้ บัณฑิตพึงรูชื่อวา “โยยิโสปฏิสงฺขา” แปลวาภิกษุรูดวยอุบายปญญา เห็นดวยปญญาแลว แลบริโภค นุงหมจีวรมีผาอันตรวาสกเปนอาทิ ในบทคือ “ยาวเทว” นั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคกลาวกําหนดอันประพฤติเปนไป ดวยสามารถ จะกําหนดแดนประโยชนแทจริง “ยํ อิทํ ปโยชนํ” ประโยชนอันใดที่พระองคสมเด็จพระ ผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวเปนอาทิวา พระภิกษุนุงหมจีวรอันจะบําบัดเสียซึ่งเย็นแลรอน ประโยชน นั้นก็เปนประโยชนของพระภิกษุ มีประมาณเทานี้ “น อิโต ภิยฺโย” ประโยชนอันอื่นจะยิ่งกวา ประโยชนอันนี้ก็มิไดมี ในบทคือ “สีตสฺส” นั้นวา พระภิกษุบริโภคนุงหมจีวร เพื่อจะบําบัดเสียซึ่งหนาว อันบังเกิด ขึ้นดวยสามารถธาตุภายในกําเริบแลบังเกิดขึ้น ดวยสามารถแปรปรวนแหงฤดูอันมีภายนอก ความ อาพาธที่ปวยไขมิไดบังเกิดขึ้นในสรีระฉันใดก็จะบรรเทาเสียอาพาธปวยไขฉันนั้น เมื่อสรีระของภิกษุนั้น อันอาพาธหากรันทําย่ํายีอยูแลวพระภิกษุผูมีจิตกําเริบ ไมอาจตั้งสติ ไวซึ่งความเพียรใหประพฤติเปนไปดวยอุบายปญญาได เพราะเหตุการณนั้น พระภิกษุจึงบริโภคนุงหม จีวรเพื่อบําบัดเสียซึ่งหนาว องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสอนุญาตไวดังนี้ “เอส นโย สพฺพตฺถ” นัยหนึ่งบัณฑิตพึงรูในประโยชนอันเศษมีจะบําบัดเสียซึ่งรอนเปน อาทิ แตนี้จะวินิจฉัยตัดสินในประโยชนทั้งหลาย มีประโยชนคือจะบําบัดเสียซึ่งรอนเปนอาทิ มี เนื้อความวา พระภิกษุที่จะนุงหมจีวรเพื่อจะบําบัดเสียซึ่งรอนอันบังเกิดแตกองแหงอัคคี มีรอนบังเกิด แตไฟไหมปาเปนประธาน อนึ่ง พระภิกษุจะพึงเสพคือนุงหมจีวรนั้น เพื่อจะบําบัดเสียซึ่งแมลงวันเหลือบ แลยุง แลลม แลแดด แลทีฆชาตินอยแลใหญเปนอันมาก ในบทคือ “ฑํสา” นันแปลวา แมลงเหลือบ บางอาจารยกลาววา แมลงวันสีขาวนั้นชื่อวา ฑํสา “มกสา” ศัพทนั้นแปลวายุง ลมทั้งหลายอันประพฤติเปนไปกับดวยธุลี แลลมอันหาธุลีบมิไดเปนอาทิ ชื่อวา วาตา รอนรัศมีวิมานสุริยเทวบุตรนั้นชื่อวา อาตปะ สัตวทั้งหลายมีชาติสรีสะอันยาวมีงูเปนตน อันสัญจรเลื้อยไปในปฐพี ชื่อวา สิริสัปปะ สัมผัสถูกตองแหงสัตวทั้งหลาย มีแมลงเหลือบเปนอาทินั้นมี ๒ ประการคือ ทิฏฐสัมผัส ถูกตองดวยจักษุเห็นประการหนึ่ง คือผุฏฐสัมผัสถูกตองดวยตัวสัตวประการหนึ่ง "โสป จีวรํ ปารุปตฺวา นิสินฺโน” เมื่อภิกษุนุงหมจีวร คลุมจีวรแลวแลนั่งอยู สัมผัสแหง แมลงเหลือบเปนอาทิ ก็มิไดเบียดเบียนพระภิกษุนั้น เพราะเหตุการณนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระ ภาคจึงตรัสอนุญาตใหพระภิกษุนุงหมจีวร เพื่อจะปองกันเสียซึ่งสัมผัสทั้งหลายในที่เห็นปานดังนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 41 พระบาลีกลาวซ้ําวา “ยาว” ใหมเลา เพื่อจะแสดงซึ่งปริจเฉท กําหนดแดนแหงประโยชนอัน เที่ยง แทจริงกิริยาที่พระภิกษุจะปกปดไวซึ่งที่คับแคบ ควรที่จะพึงละอายนั้น เปนประโยชนอัน แท ประโยชนอันอื่นนอกจากประโยชนนี้มีจะบําบัดเสียซึ่งหนาวเปนอาทินั้น ก็เปนประโยชนแตละครั้ง ในบทคือ “หิริโกปน” นี้ แปลวา ที่คับแคบนั้น ๆ “ยสฺมึ ยสฺมึ หิ องฺเค วิวริยมาเน” แทจริงเมื่อองคาพยพใด ๆ พระภิกษุมิไดเปดปดไวแลว ความที่ละอายก็ตั้งอยู อวัยวะนั้น ๆ องค สมเด็จพระศาสดาจึงตรัสเรียกชื่อวา หิริโกปนะ ยังความละอายใหกําเริบ จึงทรงอนุญาตไวให พระภิกษุบริโภคนุงหมจีวร เพื่อจะปกปดเสียซึ่งกริยาที่จะยังความละอายใหกําเริบ เพราะเหตุดังนี้จึง ตรัสเทศนาวา “หิริโกปน ปฏิจฺฉาทนตถํ" ดังนี้ บางบาลีวา “หิริโกปนํปฏิจฺฉาทนตฺท”ํ วิสัชนามาใน ปฏิสงฺขา โยนิโส จีวรํ ตงฺขณิกปจฺจเวกฺขณ เปนตน ก็ยุติแตเพียงเทานี้ ในบทคือ “ตํขณิกปจฺจเวกฺขณ” เปนคํารบสองนั้น พระพุทธองคทรงอนุญาตไวให พระภิกษุ พิจารณาบิณฑบาตดวยปญญาและบริโภคซึ่งวัตถุสิ่งของอันใดอันหนึ่ง ที่พระภิกษุจะพึง กลืนกินชื่อวาบิณฑบาต แทจริง อาหารทั้งปวงนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเรียกชื่อวา บิณฑบาต เพราะ เหตุวาอาหารตกลงแลวในบาตรดวยภิกขาจารวัตรของพระภิกษุ นัยหนึ่ง ประชุมพรอมแหงภิกษาหาร พระภิกษุไดในเรือนนั้น ๆ ชื่อวาบิณฑบาต ในบทคือ “เนว ทวาย” นั้น อรรถกถาสังวรรณนาวา พระภิกษุบริโภคอาหารทั้งปวงเพื่อ ประโยชนจะคะนองเลนดุจชนทั้งหลาย มีทารกแหงมนุษยอันในบานเปนอาทิก็หามิได มีอรรถรูปวา “กีฬานิมิตฺตํ” พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาตมีกิจที่จะเลนเปนนิมิตก็หามิได ในบทคือ “น มทาย” นั้นวา พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาตเพื่อมัวเมา เหมือนหนึ่งคนมวย แลคนปล้ําเปนอาทิก็หามิได มีอรรถวา พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาต เพราะเหตุมัวเมาอันบังเกิดขึ้นอาศัยแกกําลัง และ เพราะเหตุมัวเมาอันเปนของแหงบุรุษก็หามิไดในบทคือ “น มณฺฑนาย” นั้น พระภิกษุจะบริโภค บิณฑบาต เพื่อประโยชนจะแตงตนใหงามดุจดังวาสาวสนมของบรมกษัตริย และนางนครโสเภณีเปน อาทิก็หามิได มีอรรถรูปวา พระภิกษจะบริโภคบิณฑบาต เพราะเหตุวาจะยังอวัยวะนอยใหญอันบกพรอง ใหเต็มก็หามิได ในบทคือ “น วิภูสนาย” นั้นวา พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาตเพื่อประดับกาย ดุจคนฟอน คนรําเปนอาทิก็หามิได มีอรรถรูปวา พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาต เพราะเหตุวาจะใหฉวีวรรณะบริสุทธิ์ผองใสก็หา มิได “เอตถ จะเนว ทวาย” อนึ่งในบทคือ “เนว ทวาย” ที่แปลไดความวา พระภิกษุจะบิรโภค บิณฑบาตเพื่อประโยชนจะคะนองเลนหามิได องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาเพื่อประโยชน จะใหพระภิกษุสละเสียซึ่งอุปนิสัยแหงโมหะมิไดหลงเลน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 42 ในบทคือ “น มทาย” นั้นมีอรรถวา พระภิกษุจะพึงบริโภคบิณฑบาตเพื่อประโยชนจะมัว เมาก็หามิไดนั้น พระสรรเพชญพุทธเจาตรัสเทศนาเพื่อจะใหพระภิกษุละเสียซึ่งเหตุมีกําลังแหงโทษ มิไดประทุษรายดวยความโกรธ ในบทคือ “น มณฺฑนาย น วิภูสนาย” มีอรรถวา พระภิกษุไมพึงบริโภคบิณฑบาตเพื่อจะ แตงตนใหงาม และจะยังที่พรองแหงสรีระใหเต็มก็หามิไดนั้น องคสมเด็จพระสัพพัญูบรมศาสดาตรัส เทศนา เพื่อจะใหพระภิกษุละเสียซึ่งเหตุมีกําลังแหงราคะ คือจะใหหนายจากราคะ อีกอยางหนึ่ง ในบทคือ “เนว ทวาย น มทาย” มีอรรถดังกลาวแลว องคสมเด็จพระบรม ศาสดาตรัสเทศนาเพื่อจะหามซึ่งสังโยชนมีกามสังโยชนเปนอาทิ มิไดบังเกิดแกตนของพระภิกษุ ในบทคือ “น มณฑนาย น วิภูสนาย” มีอรรถดังกลาวแลว พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนา เพื่อจะหามซึ่งกิริยาที่จะบังเกิดขึ้นแหงสังโยชนแกตน แหงพระภิกษุและบุคคลผูอื่น อีกประการหนึ่ง บททั้ง ๔ มี “เนว ทวาย” เปนอาทินี้ องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาเพื่อจะใหละเสีย ซึ่ง ปฏิบัติดวยหาอุบายปญญามิได และจะใหละเสียซึ่งการที่กระทําความเพียรอันติดเนื่องอยูในกามสุข อนึ่ง พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตินั้นเพื่อจะยังรูปกาย กลาวคือ มหาภูตรูปทั้ง ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโช วาโย ใหประพฤติเปนไปอยาใหขาด นัยหนึ่ง พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตนั้น เพื่อตั้งอยูสิ้นกาลนานตราบเทากําหนดอายุขัย มีคํา อุปมาวา “ชณฺณฆรสามิโก” บุรุษเจาของเรือนที่คร่ําคราเกาลงแลวก็ยอมจะอุปถัมภบํารุงซอม แปลงที่ทรุดทําลาย “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มีอุปไมยเหมือนพระภิกษุบริโภคบิณฑบาตเพื่อจะ ยังกาย กลาวคือมหาภูตรูปทั้ง ๔ ใหตั้งอยูสิ้นกาลนานตราบเทาอายุขัยฉันนั้น “อกฺขพฺภฺชนมิว” อนึ่ง มีคําวา บุรุษเจาของเกวียน เมื่อขับเกวียนไปนั้นยอมจะเทน้ํามัน ออกทางเพลา เพื่อประโยชนจะใหจักรเกวียนนั้นประพฤติเปนไปโดยสะดวก “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉัน ใดก็ยังมีอุปไมยเหมือนพระภิกษุบริโภคบิณฑบาต เพื่อจะยังรูปกายใหตั้งอยูและจะใหประพฤติเปนไป สิ้นกลาลปริจเฉทกําหนดอายุขัยฉันนั้น “น ทวมทมณฺฑนวิภูสนตฺถํ” พระภิกษุจะบริโภคบิณฑบาต เพื่อจะคะนองเลนมัวเมาและ จะตกแตงตนใหงาม และจะยังที่แหงสระระใหเต็มก็หามิได นัยหนึ่ง บทคือ “ิต”ิ นั้น เปนชื่อแหงชีวิตอินทรียเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังนั้นบัณฑิตพึงรูอรรถ รูป เนื้อความในบทคือ “อิมสฺส กายสฺส ิติยา ยาปนาย” นี้วา พระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ บริโภค บิณฑบาต เพื่อจะยังชีวิตอินทรียแหงกายของพระภิกษุนี้ใหประพฤติเปนไป ในบทคือ “วิหึสุปรติยา” นั้นวา พระภิกษุเสพซึ่งอาหารบิณฑบาต เพื่อจะระงับเสียซึ่ง ความอยาก ความอยากนั้นชื่อวา วิหิงสา เพราะเหตุแหงความอยากนั้นเปนที่เบียดเบียน และเปนที่ เสียดแทงกายแหงพระภิกษุ พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตนั้น มีอุปมาดุจยาพอกแผลแหงบุคคลอันมีบาด แผดแผลในสรีรกาย และจะปองกันเสียซึ่งรอนและเย็นเปนอาทิ ในกาลเมื่อรอนและเย็นครอบงําเปน อาทิ กระทําอันตรายกายแหงพระภิกษุนี้ ในบทคือ “พฺรหฺมจริยานุคฺคหาย” นั้น มีอรรถสังวรรณนาวาพระภิกษุบริโภคอาหาร บิณฑบาตนั้น เพื่อจะยังศาสนพรหมจรรย คือประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐตามศาสโนวาท คําสั่งแหง องคสมเด็จพระบรมศาสดาทั้งสิ้น และจะยังมรรคพรหมจรรยคือประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐเปนอุบาย ที่จะใหไดธรรมวิเศษคืออรหัตตมรรคและพระอรหัตตผล และพระนิพพานใหสําเร็จ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 43 แทจริง พระภิกษุอาศัยซึ่งกําลังกายอันบังเกิดมี เพราะเหตุบริโภคซึ่งอาหารบิณฑบาต จึง สามารถอาจปฏิบัติเพื่อจะรื้อออกซึ่งตนจากภพกันดารขามสังสารสาครได เมื่อลําดับความเพียร ประกอบเนือง ๆ ซึ่งสิกขาบท ๓ มีอธิสีลสิกขาเปนประธาน จึงบริโภคอาหารบิณฑบาตที่อุปมาดุจดังวา สามีและภรรยาทั้งสอง ปรารถนาจะรื้อตนใหพนจากหนทางกันดารตองบริโภคเนื้อบุตรที่ตายลงเปน อาหาร ไมฉะนั้นอุปาดุจดังวาบุรุษปรารถนาจะขามแมน้ําตองแสวงหาซึ่งพวงและแพ ไมฉันนั้นมีอุปมา ดุจดังพวกพาณิชคิดคาขายขามสมุทรก็ตองแสวงหาสําเภา พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตนั้นพึงมนสิการ กําหนดวา อาตมาจะบําบัดเสียซึ่งเวทนาอันมีในกอน และจะยังเวทนาอันใหมมิใหบังเกิดขึ้นได มีอรรถสังวรรณนาในบทคือ “อิติ ปุราณฺจ เวทนํ ปฏิหํขามิ” นี้วา พระภิกษุบริโภค บิณฑบาตดวยวิตกวา “อิมินา ปณฺฑปาตปฏิเสวเนน” อาตมาจะบําบัดเสียซึ่งเวทนา คือความอยาก มีในกอนดวยกิริยาที่จะเสพอาหารบิณฑบาตนี้ ในบทคือ “น วฺจ เวทนํ น อุปปาเทสฺสามิ” นั้น มีเนื้อความวา พระภิกษุบริโภค บิณฑบาตดวยมนสิการกระแสจิต อาตมาจะยังเวทนาอันใหมมีบริโภคพนประมาณ เปนเหตุปจจัยให ไดพนเวทนาเหมือนอาหารหัตถกพราหมณ และอลังสาฏกพราหมณ และตัดถวัฏฏกพราหมณ และ กากมากพราหมณ และภูตตวัมิกพราหมณคนใดคนหนึ่ง ไมใหบังเกิดมี จะบริโภคบิณฑบาตนั้น เหมือนหนึ่งคนไขบริโภคบําบัดไข มีเนื้อความในอปรนัยวา พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตดวยดําริจิตคิดวา เวทนาใดในกาลบัดนี้ ที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเรียกชื่อวาปุราณเวทา เพราะเหตุวาเวทนานั้นอาศัยบริโภคโภชนะ พนประมาณอันมิไดเปนที่สบาย บังเกิดขึ้นดวยสามารถปจจัย คือกรรมในกาลกอน เมื่ออาตมาบริโภค บิณฑบาตควรแกประมาณอันเปนที่สบาย ยังเหตุยังปจจัยแหงปุรเวทนานั้น ใหพินาศฉิบหายเสียแลว ก็จะบําบัดเสียไดซึ่งปุรานเวทนา อนึ่ง เวทนาใดที่อาตมากระทํามาแลวในกาลอันเปนปจจุบันนั้น เวทนานั้นชื่อวา นวเวทนา แปลวาเวทนาใหม เพราะเหตุเวทนานั้นจะบังเกิดในอนาคตกาล เหตุอาศัยกรรมปจจัย คือมิได พิจารณาแลว และบริโภคปจจัย ไมใหบังเกิดขึ้นได ดวยสามารถที่เราพิจารณาแลว และบริโภคซึ่ง ปจจัย ก็จักยังเวทนาอันใหมนั้นไมใหบังเกิดขึ้น อรรถในบททั้ง ๒ มี “อิติ ปุราณํ” เปนอาทิ บัณฑิตพึงรูโดยนัยดังแสดงมาแลวนี้ “ยุตฺตปริโภคสงฺคโห” บัณฑิตพึงรูวากิริยาที่จะถือเอาโดยสังเขป ซึ่งบิรโภคบิณฑบาติ ปจจัยอันควร และจะสละเสียซึ่งอัตตกิลมถานโยค ประกอบเนือง ๆ ใหลําบากตน และมิไดเสียซึ่งสุข ในกายอันบังเกิดเปนปจจัยแกฌาน องคสมเด็จพระบรมศาสดาจารยทรงแสดงไวดวยพระบาลีมี ประมาณเทานี้ ในบทคือ “ยาตรา จ เม ภวิสฺสติ” นั้นวา พระภิกษุบริโภคบิณฑบาต ดวยปริวิตกวา กิริยา ที่จะยังอัตตภาพนี้อันประพฤติเนื่องดวยปจจัยใหประพฤติเปนไปสิ้นกาลชานาน เพราะเหตุหามิไดแหง อันตราย คือโรคที่ตัดซึ่งชีวิตอินทรีย และจะหักเสียซึ่งอิริยาบถ ๔ จัดมิไดมีแกอาตมาก็เพราะบริโภค ซึ่งบิณฑบาตอันควรแกประมาณ พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตนั้น มีอุปมาดุจดังวาบุคคลมีโรคอยูสิ้นกาลเปนนิจ ตองบริโภค ยา มียานั้นเปนปจจัยไดบําบัดโรค ในบทคือ “อนวชฺชตา จ ผาสุวิหาโร” นั้นวา พระภิกษุบริโภคบิณฑบาตดวยปริวิตกวา สภาวะจะหาโทษมิได จักไดมีแกอาตมา เพราะเหตุเวนจากกิริยาที่แสวงหาจตุปจจัยดวยมิจฉาชีพ อัน องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสติเตียน และเวนจากกิริยาที่จะรับ ไมรูประมาณแหงไทยธรรมของ ทายกและประมาณตน และเวนจากบริโภคซึ่งปจจัยอันมิควร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 44 อนึ่ง กิริยาที่จะอยูสบาย จักมีแกอาตมา ก็เพราะเหตุบริโภคพอประมาณ นัยหนึ่ง โทษทั้งหลายมี มิไดยินดีในเสนาสนะอันสงัด และมิไดยินดีในกุศลธรรมอันเที่ยง และนอนหลับซบเซางวงงุนและครานกาย อันบัณฑิตทั้งหลายพึงติเตียน จึงบังเกิดมีแกอาตมา ก็ เพราะเหตุบริโภคบิณฑบาตพนประมาณอันมิไดเปนที่สบาย สภาวะที่จะหาโทษมิไดมีก็จักมีแกอาตมา ก็เพราะเหตุปราศจากโทษที่กลาวแลวนั้น อนึ่ง กิริยาที่จะอยูสบายก็จะบังเกิดมีแกอาตมา ก็เพราะเหตุกําลังกายบังเกิดแกอาตมา เหตุบริโภคโภชนะควรแกประมาณอันเปนที่สบาย นัยหนึ่ง เมื่ออาตมาบริโภคบิณฑบาตควรแกประโยชน ยังอุทรประเทศใหพรองอยู สภาวะ ที่หาโทษมิไดก็บังเกิดมีแกอาตมา เพราะเหตุละเสียซึ่งสุขที่เราจะพึงไดดวยกิริยาอันนอน และสุขที่ เรานอนกลับขางทั้ง ๒ และสุขอันบังเกิดขึ้นดวยอันประพฤติซึ่งถิ่นมิทธะ คืองวงเหงาหาวนอน อนึ่ง เมื่อเราบริโภคหยอนประมาณอาหารลงมา ๔ - ๕ คํา อาการอยูสบายก็จักบังเกิดมีแก เรา เพราะเหตุปฏิบัติสมควรแกอิริยาบถทั้ง ๔ “วุตฺตมฺป เจตํ” สมดวยพระบาลีที่องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไววา “จตฺตาโร ปฺจ อาโรเป อภุตวา อุทกํ ปเว” พระภิกษุบริโภคอาหารบิณฑบาต ยังอีก ๔ – ๕ คําจะพอประโยชน ก็ อยาพึงบริโภค พึงดื่มกินอุทกัง เมื่อพระภิกษุมีจิตอันประพฤติเปนไปในพระกัมมัฏฐานปฏิบัติดังนี้แลว ก็ควรที่จะอยูเปนผาสุกได “ปโยชนปริคฺคโห” กิริยาที่จะกําหนดซึ่งประโยชน และปฏิบัติเปนมัชฌิม ปฏิบัติทั้ง ๒ ประการ บัณฑิตพึงรูวา องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคทรงแสดงแลวดวยบททั้ง ๓ มี “ยาตรา จเม ภวิสสฺสติ” เปนอาทิ เอวํ ก็มีดวยประการฉะนี้ “เสนาสนนฺติ สยนฺจ ยตฺถ หิ เสติ วหาเร วา อฑฺ ฒโยคาทิมฺหิ วา ตํ ตํ เสนํ ยตฺถ อา สติ นิสีทติ ตํ ตํ อาสนํ ตํ เอกโตกตฺวา เสนาสนนฺติ วุจฺจติ อุตุปริสฺสยวิโนทนปฏิสลฺลานา รามตฺถนฺติ ปริสหนตฺเถน อุตุเยว อุตุปริสฺสโย อุตุปริสฺสยวิ โนทนตฺถญจ ปฏิสลฺลานา รามตฺถณฺจ โย สรีราพาธจิตฺตวิกฺเขปกโร อสปฺปาโย อุตุเสนาสนปฏิเสวเนน วิโนเทตพฺโพ โหติ ตสฺส วิโนทนตฺถ”ํ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในปจจัยสันนิสสิตศีล สังวรรณนาในบทคือ “ปฏิสงฺขา โยนิโส เสนาสนํ” เปนอาทิสืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี มีเนื้อความวา พระภิกษุ เสพซึ่งเสนาสนะนั้นดวยมนสิการกําหนดจิตวา “ปฏิสงฺขา โยนิโส” อาตมาพิจารณาแลวดวยอุบายปญญา จะบริโภคเสนาสนะ มีอรรถสังวรรณนาในบทคือ “เสนาสนํ” นั้นวา “สยนฺจ อาสนฺจ” ที่อันเปนที่นอนแลที่ อันเปนที่นั่ง ชื่อวาเสนาสนะ แทจริงพระภิกษุนอนอยูในที่ใด ๆ คือวิหารก็ดี แลนอนอยูในที่มีปราสาทมีสวนหนึ่ง อัน บุคคลประกอบแลวเปนอาทิก็ดี ที่นั้น ๆ ชื่อวาที่นอน “ยตฺถ ยตฺถ อาสติ นิสีทติ” พระภิกษุนั่งอยูในที่ใด ที่นั้นชื่อวาที่นั่ง “ตํ เอกโต กตฺวา” องคพระผูทรงพระภาคกระทําซึ่งศัพททั้งสองคือ “สยน แล อาสน” ในที่อันเดียวกัน จึงตรัสเทศนาวา เสนาสนัง ดังนี้ ในบทคือ “อุตุปริสุสยวิโนทนปฏิสลฺลานารามตฺถํ” นั้นมีอรรถวาพระภิกษุกําหนดจิตคิด วา อาตมาจะเสพเสนาสนะนั้น เพื่อจะครอบงําเสียซึ่งอันตรายคือฤดู แลจะเสพซึ่งเสนาสนะนั้น เพื่อจะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 45 ยินดีในกิริยาที่จะหลีกออกจากอารมณตาง ๆ แลว เรนอยูดวยสามารถแหงพระกรรมฐาน ฤดูอันใดมิได เปนที่สบาย กระทําใหสรีรกายไดความอาพาธเจ็บไข แลกระทําใหจิตกําเริบตาง ๆ พระภิกษุก็จะพึง บรรเทาเสียได ดวยการจะเสพซึ่งเสนาสนะ เพื่อวาจะบรรเทาเสียซึ่งฤดูอันมิไดเปนที่สบาย จะกระทํา อันตรายตาง ๆ อยางนั้น มีอรรถรูปวา พระภิกษุเสพเสนาสนะเพื่อจะอยูผูเดียวใหเปนสุข อนึ่งกิริยาที่จะบรรเทาเสีย ซึ่งอันตรายคือฤดู องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาแลวดวยบท มิคํากลาววา “สีตสฺส ปฏิ ฆาฏาย” คือวาเพื่อจะบําบัดเสียซึ่งความหนาวในจีวรปจจัยโดยแท ถึงประการฉะนั้นก็ดี ในบท เสนาสนะปจจัยนี้ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาดวยคําอุปมาดวยจีวรปจจัยวา “หิริ โกปนปฏิจฺฉาทนตฺถ”ํ พระภิกษุจะปกปดไวไดซึ่งอวัยวะที่จะยังความละอายใหกําเริบ ก็เพราะเหตุ เสพซึ่งจีวรปจจัย ตองนุงหมไวใหเปนประโยชนอันเที่ยง ประโยชนอื่น ๆ ก็มีแตละครั้งแตละที “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใดก็มีอุปไมยเหมือนพระภิกษุจะอยูในเสนาสนะก็เปนประโยชนอันเที่ยง คือจะ บรรเทาเสียซึ่งอันตราย ประโยชนอื่น ๆ นั้น ก็มีแตละครั้งแตละที บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ มีเนื้อความในอปรนัยวา “อยํ วุตฺตปฺปกาโร อุตุ” ฤดูที่มีประการอันองคสมเด็จพระผูทรง พระภาคตรัสเทศนาแลวนี้ ชื่อวาอุตุแทจริง “ปริยสฺสโย ปน ทุวิโธ” อนึ่งอันตรายมี ๒ ประการคือ ปรากฏปริสสัย แปลวาอันตรายอัน ปรากฏประการ ๑ ปฏิจฉันนปริสสัยคืออันตรายอันกําบังปกปดอยูประการ ๑ อันตรายอันปรากฏคือ อันตรายจะบังเกิดมีแตเนื้อรายมีไกรสรราชสีห และเสือโครงเปนอาทิ อันตรายอันกําบังปกปดอยูนั้น มีอันตรายคือราคะ แลอันตรายคือโทสะเปนประธาน ยอม กระทําใหไดความเดือดรอน ดวยแรงราครสฤดี แลกระทํารายใหน้ําใจขึ้งโกรธ ประทุษทารุณเรารอน ปกปดปวนอยูในสันดาน อันตรายทั้ง ๒ ประการ มิไดกระทําอันตรายใหไดความอาพาธ อันยุติในกายแหงพระภิกษุ อันอยูในเสนาสนะอันใด แลมิไดกระทําอันตรายใหไดความอาพาธอันยุติในจิต เพราะเหตุเห็นซึ่งรูปา รมณ อันมิไดเปนที่สบายเปนอาทิแกพระภิกษุอันอยูในเสนาสนะอันใด พระภิกษุรูวาเสนาสนะนั้น ปองกันเสียซึ่งอันตรายไดดังนี้แลว ก็บริโภคเสนาสนะนั้นปฏิบัติไปตามพระบาลี ที่องคสมเด็จพระบรม ศาสดาตรัสเทศนาไว วา “ปฏิสงฺขา โยนิโส เสนาสนํ” พระภิกษุพิจารณาดวยอุบายปญญาแลว แล เสพเสนาสนะเพื่อประโยชนจะบรรเทาเสียซึ่งอันตรายคือฤดู บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ มีคําวินิจฉัยตัดสินในบทคือ “คิลานปจฺจยเภชฺชปริกฺขารํ”นั้นวาวัตถุชื่อวาปจจัย เพราะ เหตุวาเปนขาศึกแกโรค มีอรรถสังวรรณนาวา วัตถุชื่อวาปจจัยนั้น เพราะเหตุยังโรคใหระงับ คํากลาววาปจจัยนี้ เปน ชื่อแหงความสบาย วัตถุอันใดเปนการแหงบุคคลอันมีวิชา คําไทยเรากลาววาหมอ เพราะเหตุวัตถุนั้น อันหมอจะพึงตกแตง เหตุใดเหตุดังนั้น วัตถุอันนั้นจึงมีนามชื่อวา เภสัชชะ วัตถุที่เปนกรรมแหงหมอ คือปจจัยอันเปนขาศึกแกโรค ชื่อวา คิลานปจจัยเภสัชชะ มีอรรถรูปวา การแหงหมออันเปนที่สบาย แกภิกษุอันเปนไขนั้น มีน้ํามันแลน้ําอึ้งน้ําออยเปน อาทิ อนึ่งเครื่องแวดลอมอันมาแลวในพระบาลี มีคํากลาววา “นครํ สุปริกฺขิตตํ” เมื่อนายชาง สรางพระนครนั้นยอมกระทํากําแพงแวดลอมพระนครนั้นถึง ๗ ชั้นเปนอาทิ องคสมเด็จพระบรมศาสดา ก็ยอมตรัสเทศนาเรียกวา ปริกขาโร อนึ่งเครื่องประดับอันมาในพระบาลี มีคํากลาววา “รโถ เสตปริกฺขาโร” รถคือพระอริยมรรค

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 46 มีปริขารเครื่องประดับ คือศีลอันบริสุทธิ์ มีฌานเปนเพลา มีความเพียรเปนจักรเปนอาทิดังนี้ สมเด็จ พระผูทรงพระภาค ก็ยอมตรัสเทศนนาเรียกชื่อวา ปริกขาโร ใชแตเทานั้นสัมภาระอันมาแลวในพระบาลีวา “เยเกจิ ชีวิตปริกฺขารา” ปริขารเครื่อง สัมภาระอันจะยังชีวิตใหประพฤติเปนไปอันใดอันหนึง บรรพชิตพึงแสวงหาเปนอาทิ องคสมเด็จพระผู ทรงพระภาคก็ตรัสเทศนาเรียกวา ปริกขาโร ในบทคือ “เภสชฺชปริกฺขรํ” องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาประสงคเอาปริขาร ศัพทนี้ ใหแปลวาสัมภาระ ใหแปลวาบริวารเครื่องแวดลอมจึงจะควรในอธิการนี้ แทจริง วัตถุอันเปนการแหงหมอ อันเปนที่สบายของพระภิกษุอันเปนไขขึ้น ชื่อวาสัมภาระ บาง ชื่อวาบริวารบางนั้น เพราะเหตุวาวัตถุที่เปนการแหงหมอ เปนที่สบายของภิกษุไขนี้ เปนเครื่อง แวดลอมของชีวิต แลชื่อวาสัมภาระนั้น เพราะเหตุวัตถุที่เปนการของหมอนี้ ไมใหชองไมใหโอกาสที่ จะยังอาพาธกระทําใหพินาศแกชีวิตบังเกิดขึ้นได ยอมปกครองรักษาชีวิต จะประพฤติเปนไปสิ้นกาล ชานานฉันใด ก็เปนเหตุเปนปจจัยที่จะยังชีวิตใหประพฤติเปนไปสิ้นกาลชานานฉันนั้น เพราะเหตุการณนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคจึงตรัสเทศนาวา ปริกขาโร ดังนี้ มีอรรถวิคคหะวา วัตถุที่เปนการแหงหมอเปนที่สบายของภิกษุเปนไข เปนเครื่องแวดลอม ของชีวิต วัตถุนั้นชื่อวา คิลานปจจัยเภสัชบริขาร มีอรรถรูปวา เครื่องของชีวิตมีน้ํามันแลน้ําผึ้งแลน้ําออยเปนอาทิ ที่หมออนุญาตตกแตงไว ใหเปนที่สบาย ของชนอันเปนไข ชื่อวาคิลานปจจัยเภสัชบริขาร บัณฑิตพึงรูวา พระภิกษุพิจารณาดวยอุบายปญญา แลวแลเสพซึ่งคิลานปจจัยเภสัชบริขาร อันมีนัยดังกลาวมาแลวนี้ เพื่อบรรเทาเสียซึ่งความเวทนาทั้งหลาย มีโรคเรื้อน แลเปนฝ แลเปนตอม เปนอาทิ อันบังเกิดขึ้นเพราะเหตุกําเริบแหงธาตุ และจะใหปราศจากทุกขเปนประมาณ มีอรรถาธิบายวา ทุกขมีโรคเปนเหตุใหไดเวทนา เสวยผลแหงอกุศลกรรมทั้งปวง พระภิกษุ จะละเสียไดตราบใด พระภิกษุนั้นก็บริโภคคิลานปจจัยเภสัชบริขารไปตราบนั้น “เอวมิทํ สงฺเขปโต” ศีลอันนี้มีกิริยาที่พระภิกษุพิจารณาดวยอุบายปญญา แลวบริโภคซึ่ง ปจจัย เปนลักษณะที่กําหนดบัณฑิตพึงรูชื่อวาปจจัยสันนิสสิตศีลโดยสังเขปดังวิสัชนามาฉะนี้ ในบทคือ “ปจฺจยสนฺนิสฺสิตสีล”ํ นี้มีอรรถแหงพระบาลีวาแทจริง “จีวราทโย” วัตถุสิ่งของ ทั้ง ๔ มีจีวรเปนตน องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเรียกชื่อวา ปจจัย เพราะเหตุวาพระภิกษุ ทั้งหลายอาศัยซึ่งวัตถุทั้ง ๔ สิ่งนั้น แลวบริโภคจึงไดประพฤติเปนอยู เหตุใด เหตุดังนั้นวัตถุทั้ง ๔ จึง มีนามชื่อวาปจจัย จีวรก็ชื่อวาปจจัย บิณฑบาตแลเสนาสนะ แลคิลานปจจัยเภสัชบริขาร ก็มีนาม บัญญัติชื่อวา ปจจัย “เต ปจฺจเย สทฺนิสฺสิตํ” ศีลอันใดอาศัยซึ่งปจจัยทั้ง ๔ มีจีวรปจจัยเปนอาทิ ศีลนั้นชื่อวา ปจจัยสันนิสสิตศีล ล้ําศีลทั้ง ๔ ประการนี้ อันวาพระปาฏิโมกขสังวรศีลนั้นพระภิกษุทั้งหลายพึงใหสําเร็จดวย ศรัทธา แทจริง พระปาฏิโมกขสังวรศีลนั้น “สทฺธสาธโน” มีศรัทธาเปนเหตุที่จะใหสําเร็จ เพราะ เหตุวาสิกขาบทที่องคพระผูทรงพระภาคทรงบัญญัติไวนั้น ลวงเสียซึ่งวิสัยแหงสาวก พระสาวก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 47 บัญญัติมิได เมื่อกุลบุตรบวชในพระพุทธศาสนา มีศรัทธาเชื่อฟงพระพุทธวจนะคําของพระผูมีพระภาค เจา พึงปฏิบัติตามพระพุทธบัญญัติกระทําใหบริบูรณ เนื้อความที่พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรทูลอาราธนา ขอใหพระพุทธองคทรงบัญญัติ สิกขาบท พระบรมศาสดาตรัสหาม ขอความอันนี้มีพิสดารอยูในพระวินัยปฎก อาจารยพึงสาธกยกมา กลาวในอธิการคือวินัย อันเปนที่กลาวซึ่งสิกขาบทบัญญัติลวงเสียซึ่งวิสัยแหงพระสาวกนี้ เพราะเหตุการณนั้น อันวาพระปาฏิโมกขสังวรศีลนี้ พระภิกษุมีศรัทธาสมาทานสิกขาบทที่ พระพุทธองคทรงบัญญัติไว ดวยประการใดอยาใหเหลือแลว อยากระทําความอาลัยในชีวิต พึงมีจิต จํานงปลงรักเรงปฏิบัติกระทําใหบริบูรณ “วุตฺตํ เหตํ” คําที่กลาวมานี้ก็จริงเหมือนพระบาลี ที่พระองคผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไว เปนคําอุปมาวา “กิกีว อณฺฑํ จามรีว พาลธี” นางนกกระตอยตีวิดรักษาฟอง ทรายจามรีรักษาขน มารดาบิดารักษาบุตรของตนเปนบุตรผูเดียว บุรุษมีจักษุขางเดียว ขางหนึ่งบอดเสียแลว ก็รักใคร หวงใยดวงจักษุแหงตน สัตว ๔ จําพวกนี้ ปฏิบัติฉันใด พระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ เรงปฏิบัติรักษา ศีลแหงตนโดยเคารพคารวะ จงรักภักดีตอสิกขาบทบัญญัติใหจงได มีอุปไมยเหมือนสัตว ๔ จําพวก นั้น “อปรมฺป วุตตํ” ใชแตเทานั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไวเปนอุปมาวา “มหาสมุทฺโท ถีติธมฺโม” มหาสมุทรเปนถีติธรรมตั้งอยูเปนปกติ ไมไหลลวงซึ่งฝงได “ยถา” อันนี้ แลมีอุปมาฉันใด สิกขาบทที่เราบัญญัติแกสาวกทั้งหลาย สาวกแหงเราก็ไมประพฤติลวงสิกขาบท เพราะเหตุชีวิตแหงตน “เอวเมวโข ตถาเอว” อันนี้ก็มีอุปไมยเหมือนดังนั้น “โจเรหิ พนฺธเถรานํ” วัตถุนิทานแหงพระเถระทั้งหลายที่โจรผูกไวในอรัญราวปา บัณฑิต พึงรูในอรรถ คือพระสาวกมิไดลวงสิกขาบทบัญญัติเพราะเหตุชีวิตนี้ “กิร” ดังไดสดับมา โจรทั้งหลายอยูในดงใกลหนทางอันใหญ จับพระเถระนั้นใหนอนอยูใน ปา พระมหาเถระนอนอยูดวยประการนั้น เจริญพระวิปสสนาเจ็ดทิวาราตรี บรรลุถึงพระอนาคามิผล กระทํากาลกิริยาตายในสถานที่นั้น ไดไปบังเกิดในพรหมโลก “อปริป เถรํ พนฺธิตฺวา” ใชแตเทานั้น โจรทั้งหลายในตามพปณณิทวีป ผูกพระมหาเถรเจา องคหนึ่งไวดวยปูติลดาเถาวัลยเนาใหนอนอยูในปา เมื่อไฟปามาถึงพระผูเปนเจาก็มิไดตัดปูติลดา เจริญพระวิปสสนาไดสําเร็จพระอรหัตตเปนองคพระอรหันต ชื่อสมสีสีแลวก็ปรินิพพาน พระฑีฆภาณก อภัยเถรเจาไปในสถานที่นั้นกับดวยพระภิกษุหารอย ไดเห็นแลวก็เผาสรีระใหไหมไดพระธาตุ จึงให ชนทั้งหลายกระทําพระเจดีย บรรจุพระธาตุไวในพระเจดีย เพราะเหตุการณนั้น กุลบุตรผูบวชในพระ ศาสนาประกอบดวยศรัทธาอื่น ๆ นั้นเมื่อจะชําระพระปาฏิโมกขสังวรศีล ก็พึงละเสียซึ่งชีวิต อยาพึง ทําลายศีลสังวรที่องคพระบรมโลกนาถบัญญัติไวโดยแทจริง อนึ่งพระภิกษุในพระศาสนานี้ ยังพระปาฏิโมกขสังวรศีลใหบริบูรณดวยศรัทธาฉันใด ก็พึงยัง อินทรียสังวรศีลใหบริบูรณดวยสติฉันนั้น อินทรียสังวรศีลนี้สําเร็จดวยสติ เพราะเหตุอินทรียทั้งหลายมีจักษุอินทรียเปนอาทินั้น พระภิกษุตั้งไวยิ่งรักษาไวใหดีดวยสติแลวบาปธรรมทั้งหลายมีอภิชฌา เปนประธานก็มิอาจติดตาม ครอบงําไดเหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุพึงมีจิตคิดคํานึงถึงพระอาทิตตปริยายสูตรที่องคสมเด็จพระผู ทรงพระภาคตรัสเทศนาไวโดยนัยเปนอาทิวา “ภิกฺขเว” ดูกอนภิกษุทั้งหลาย จักษุอินทรียที่บุคคล แทงเขาดวยซี่เหล็กอันไฟไหมแลวลุกรุงเรืองจําเดิมแตตน แลมีเปลวไฟรุงเรืองไปโดยรอบคอบ ก็ ประเสริฐกวาอนุพยัญชนะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 48 “โส นิมิตฺตคาโห” การที่พระภิกษุถือเอาซึ่งนิมิตโดยอนุพยัญชนะวา เกศางามเปนอาทิใน รูปทั้งหลาย อันพระภิกษุจะพึงเห็นนั้นมิไดประเสริฐโดยแท เมื่อพระภิกษุ อนุสสร คํานึงถึงพระธรรมเทศนาพระอาทิตตปริยายสูตรดังนี้แลว หามเสีย ซึ่งนิมิตโดยอนุพยัญชนะ อันบาปธรรมทั้งหลาย มีอภิชฌาเปนตน จะพึงติดตามครอบงําเปนของขวน แหงวิญญาณ อันประพฤติเปนไปดวยทวารทั้งหลายมีจักษุทวารเปนอาทิ ในอารมณเปนประธาน ดวย สติอันไดหลงลืมแลว แลพึงชําระอินทรียสังวรศีลนั้นใหบริสุทธิ์ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ เอวํ อสมฺปาทิเตหิ เอตสมึ ปาฏิโมกฺขสีลํป อนทฺธนียํ โหติ อจิรฏฐิติกํ อสํ วิหิตสาขา ปริวารมิว สสฺสํ หฺญเต จายํ กิเลสโจเรหิ วิวฏทฺวาโร วิย คาโม ปรสฺสหารีภี จิตฺตฺจสฺส ราโค สมติ วิชฺฌติ ทุจฺฉนฺน อคารํ วุฏิ วิย วุตฺตมฺปเจตํ รูเปสุ สทฺเทสุ อโถ รเสสุ คนฺเธสุ ผสฺเสสุ จ น รกฺขตินฺทฺริยํ เอเต หิ ทฺวารา วิวฏา อรกฺขิตา หินนฺติ คามํว ปรสฺส หาริโน ยถา อคารํ ทุจฉนฺนํ วุฏฐิ สมติวิชฺฌติ เอวํ อภาวิตํ จิตฺติ ราโค สมติวิชฺฌตีติ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในจตุปาริสุทธิศีลสืบ อนุสนธิตามกระแสวาระพระ บารมี มีเนื้อความวา “เอวํ อสมฺปาทิเตหิ” แทจริงในเมื่ออินทรียสังวรศีล อันพระภิกษุมิไดกระทําให บริบูรณแลวพระปาฏิโมกขสังวรศีลนั้นก็ไมควรแกกาล ไมตั้งอยูสิ้นกาลชานาน มีอุปมาดุจดังขาวกลา อันชาวนามิไดลอมรั้ว ไมฉะนั้น โจรทั้งหลายกลาวคือราคาทิกิเลส ก็จะเบียดเบียนพระภิกษุมีอุปมาดุจดังวาประตู บานอันบุคคลมิไดปด โจรทั้งหลายก็เขาไปฉกลักสรรพพัสดุขาวของเงินทองทั้งปวง “จิตฺตฺจสฺส ราโค” ใชแตเทานั้น ราคาทิกิเลสก็จะรันทําย่ํายีจิตสันดานแหลงพระภิกษุนี้มีอุปมาดุจดังวาหยาด น้ําฝนอันรั่วลงมาสูเรือนอันบุคคลมุงหาง “วุตตมฺป เจตํ” นัยหนึ่ง องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไววา “รูเปสุ สทเทสุ อโถ” อนึ่งโยคาวจรภิกษุไมรักษาอินทรียใหปราศจากการที่จะถือเอาซึ่งนิมิตเปนอาทิ ในรูปแลเสียง แลกลิ่น แลรส แลโผฏฐัพพะสัมผัสถูกตอง ไมรักษาทวารทั้งหลายมีจักษุทวารเปนอาทิ เปนทวารไม สังวร โจรทั้งหลายคือราคาทิกิเลสก็จะเบียดเบียนจิตสันดานแหงพระภิกษุนั้น มีอุปมาดังวาโจร ทั้งหลายอันเบียดเบียนชาวบาน อนึ่ง หยาดน้ําฝนยอมรั่วลงมาสูเรือนอันบุคคลมุงมิไดดี “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ก็มี อุปไมยเหมือนหนึ่งราคะ ยอมรับทําจิตสันดานแหงบุคคลอันเวนแลวจากโลกุตตรภาวนา “สมฺปาทิเต ปน ตสฺม”ึ ในเมื่ออินทรียสังวรศีลนั้น อันพระภิกษุกระทําใหบริบูรณแลว พระปาฏิโมกขสังวรศีลควร แกกาลนาน และจะตั้งแวดลอมไวเปนดี กิเลสโจรทั้งหลายก็มิไดเบียดเบียนพระภิกษุนี้มีอุปมาดุจดัง บานมีทวารอันบุคคลปดดีแลว โจรทั้งหลายก็มิไดเบียดเบียนได “น จสฺส จิตฺตํ ราโค” อนึ่งราคะก็มิไดรันทําย่ํายีจิตแหงพระภิกษุนี้ มีอุปมาดุจดังวาหยาด น้ําฝนอันมิไดตกลงมาสูเรือนอันบุคคลมุงดีได “วุตฺตมฺป เจตํ” นัยหนึ่ง องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาไววา พระภิกษุรักษา อินทรีย ใหเวนจากกิริยาที่จะถือเอาโดยนิมิตเปนอาทิ ในรูปเสียงแลกลิ่นแลรส แลโผฏฐัพพะสัมผัส ถูกตอง ปดทวารมีจักษุทวารเปนอาทิไว โจรทั้งหลายคือกิเลสก็มิไดเบียดเบียนจิตสันดานของ พระภิกษุ มีอุปมาดุจดังวาโจรทั้งหลายไมเบียดเบียนได ซึ่งบุคคลทั้งหลายอันปดประตูแลวแลอยูใน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 49 บาน “ยถา อคารํ ทุจฺฉนฺนํ” เมล็ดฝนไมรั่วลงมาสูเรือนอันบุคคลมุงแลวก็ดี “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉัน ใด “เอวํ อุภาวิตํ จิตฺต”ํ ราคะอันมิไดรันทําย่ํายีจิตพระภิกษุอันเจริญโลกุตตรภาวนาฉันนั้น พระคาถาทั้ง ๒ ที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนานี้เปนพระธรรมเทศนาอัน อุกฤษฏ “จิตตํ นาเมตํ ลหุปริวตฺติ” ธรรมดาจิตนี้ยอมกลับกลายประพฤติไปเปนพลัน เพราะเหตุนั้น ภิกษุบรรเทาเสียซึ่งราคะอันบังเกิดในจิต ดวยกระทําไวในใจซึ่งอสุภกัมมัฏฐานภาวนาแลว แลยัง อินทรียสังวรใหบริบูรณเหมือนพระวังคีลเถรเจา อันบรรพชาสิ้นกาลมิไดนาน “กิร” ดังไดสดับมา พระวังคีสเถระนี้ เมื่อพระผูเปนเจาบวชใหม เที่ยวไปบิณฑบาตได ทัศนาการเห็นหญิงคนหนึ่ง ราคะก็บังเกิดขึ้นในจิตพระผูเปนเจาจึงกลาวแกพระอานนทเถรเจาวา “กามราเคน ทยฺหา มิ” กามราคะเผาอันจิตแหงขาใหไดความรอน เพราะแรงราคะเขารันทําดังขา พระองคขออาราธนาทานอันบังเกิดในโคตมวงศ ทานจงกลาวอุบายที่จะยังราคะใหดับ เพื่ออนุเคราะห แกขาพระองคในกาลบัดนี้ พระอานนทเถรเจาจึงกลาววา ดูกรอาวุโส จิตของทานไดความเดือดรอนเพราะเหตุมีสําคัญ วิปริต ทานจงเวนเสียซึ่งนิมิตเปนเหตุที่จะยังราคะใหบังเกิดคือสําคัญวางาม ดวยสามารถมิไดกระทํา ไวในใจ จงเจริญจิตแหงตนใหมีอารมณเปนหนึ่ง ใหตั้งมั่นดวยอสุภภาวนาสําคัญวาไมงาม จงเห็นซึ่ง สังขารธรรมทั้งหลายคือนามแลรูป อันประพฤติเปนไปโดยฝายอื่น คือจะนํามาซึ่งทุกขแลมิใชของแหง ตน “นิพฺพาเปหิ มหา ราคํ” จงยังกองแหงกามราคะอันใหญใหดับ อยาใหราคะกระทําจิตแหงทาน ใหรอนเนือง ๆ “เถโร ราคํ วิโนเทตฺวา” พระวังคีสเถรเจาก็ยังราคะนั้นใหดับแลวก็เที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต นัยหนึ่ง “อินฺทริยสํวรปริปูรเกน” พระภิกษุในพุทธศาสนาจะยังอินทรียสังวรใหบริบูรณ พึงปฏิบัติดุจดังวาพระจิตตคุตตเถรเจาอันอยูในถ้ําชื่อวากุรุณฑกะ และพึงปฏิบัติใหเหมือนพระมหา มิตตเถรเจาอันอยูในโจรกมหาวิหาร “กิร” ดังไดสดับ “จิตฺตกมฺมํ มโนรมฺมํ” จิตคือนายชางเขียนเขาเขียนเรืองราว ่ พระพุทธเจาทั้ง ๗ พระองคออกทรงบรรพชาอันเปนที่จะยังจิตใหยินดีมีในถ้ําอันใหญชื่อวา กุรุณฑกะ พระภิกษุทั้งหลายเที่ยวจาริกไปในเสนาสนะ ไดเห็นจตรกรรมในถ้ําที่อยูพระจิตตคุตตเถรเจา จึงมา กลาวคําสรรเสริญในสํานักพระผูเปนเจาวา “มโนรมํ ภนฺเต” ขาแตพระผูเปนเจา จิตรกรรมในถ้ําอันนี้ ควรจะเปนที่ยินดีแหงจิต พระจิตตคุตตเถรเจาจึงกลาววา ดูกอนอาวุโสทั้งหลาย แตเราอยูในถ้ําอันนี้ มามากกวาหกสิบวัสสาแลว เรามิไดรูวาจิตกรรมมีหรือวาไมมีในถ้ํา เราพึ่งรูในเพลาวันนี้ เพราะเหตุ อาศัยทานทั้งหลายอันมีจักษุ แทจริงพระจิตตคุตตเถรเจาอยูในถ้ําสิ้นกาลนานถึงเทานี้ พระผูเปนเจา ไมเคยจะเงยหนาลืมตาขึ้นแลในเบื้องบนถ้ําเลย อนึ่งตนกากะทิงใหญมีอยูแทบประตูน้ํา พระผูเปนเจา ก็มิไดเงยพักตร แลขึ้นไปในเบื้องบนตนกากะทิง ครั้นถึงปตนกากะทิงนั้นมีดอกเกสรดอกกากะทิงนั้น โรยรวงมายังพื้นแผนดินภายใตใกลปากถ้ํา พระมหาเถรเจาจึงรูวาตนกากะทิงนี้มีดอก “ราชา ตสฺส คุณสมฺปตฺตึ สุตฺวา” บรมกษัตริยทรงทราบวา พระหาเถรเจาบริบูรณดวยคุณดังนี้ มีความปรารถนาจะ ถวายนมัสการ สงขาวสารไปอาราธนาเขามาสูมหาคามถึงสามครั้ง พระมหาเถรเจาก็มิไดมา พระองค จึงยังราชบุรุษ ใหผูกถันแหงหญิงทั้งหลายที่มีบุตรอันออนอยู ในมหาคามดวยผาผูกถันนั้นตีตรา ประทับมีใหแกดวยพระโองการตรัสวา พระมหาเถรเจายังไมมาตราบใด ทารกทั้งหลายอยาไดดื่ม น้ํานมตราบนั้นพระหาเถรเจาก็มาสูมหาคาม เพื่อจะอนุเคราะหแกทารกทั้งหลาย บรมกษัตริยไดทรง ฟงวา พระจิตตคุตตเถรเจามาแลว จึงตรัสสั่งราชบุรุษทั้งหลายวา ดูกรนายทานจงเรงออกไปอาราธนา พระผูเปนเจาเขามาเราจะรักษาศีล ตรัสดังนี้แลว ราชบุรุษก็ไปนิมนตพระมหาเถรเจาเขาไปใน พระราชฐาน แลวทรงนมัสการอังคาสดวยขาทนียะโภชนียะ แลวตรัสวาขาแตพระผูเปนเจา เพลาวันนี้ ขาพระอาวไมมีโอกาสตอวันพรุงนี้จึงจะสมาทานศีล ทรงถือเอาบาตรแหงพระมหาเถรเจาตามไปสงถึง วารพระราชวัง พระมหาเถรเจาก็มิไดกระทําเปนแผนกแยกออกวาบรมกษัตริยแลราชเทวีกลาววา “มหาราช” ดูกรมหาราช มหาบพิตรจงอยูเปนสุขเถิด แตพระมหาเถรเจาประพฤติดังนี้ จนลวงไปเจ็ด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 50 วันแลว พระภิกษุทั้งหลายจึงถามวา ขาแตพระผูเปนเจา เมื่อบรมกษัตริยถวายนมัสการพระผูเปนเจา กลาววา มหาราชอยูเปนสุขเถิด เมื่อราชเทวีถวายนมัสการพระผูเปนเจากลาววา ดูกรมหาราช ทานจง อยูเปนสุขเถิด เหตุดังฤๅพระผูเปนเจาจึงกลาวเหมือนกันไปดังนี้ พระมหาเถรจึงกลาวตอบคําวา เรา มิไดกําหนดวา บุคคลนี้เปนกษัตริย บุคคลนี้เปนราชเทวี “สตฺตา หาติกฺกเม” ในเมื่อ ๗ วันลวงไป แลว บรมกษัตริยทรงคิดวาพระผูเปนเจามาอยูในมหาคามนี้มีความลําบาก ทรงอนุญาตแลว พระผูเปน เจาก็ไปสูถ้ําอันใหญชื่อวา กุรุณฑกะ ในเพลาราตรีก็ขึ้นสูที่จงกรม “นาครุกเขอธิวฏา เทวตา” เทพยดาที่สิงอยู ณ ตนกากะทิง มีมือถือประทีปดามสองแสงเพลิงถวายยื่นอยูในที่ใกลจงกรม ในกาล นั้น พระกรรมฐานของพระผูเปนเจาบริสุทธิ์ยิ่งนักปรากกฏแกพระผูที่เปนเจา พระมหาเถรเจาก็มีจิต ยินดีวา วันนี้พระกรรมฐานปรากฏแกเรายิ่งนัก ในเพลาลําดับมิชฌิมยาม พระผูเปนก็ยังภูเขาทั้งปวงให สะเทื้อนสะทานหวั่นไหว ไดบรรลุถึงพระอรหันต เหตุการณนั้น กุลบุตรพุทธชิโนรสองคอื่นในพระพุทธศาสนานี้มีความปรารถนาซึ่ง ประโยชน อยามีจักษุอันเหลือกลาน ดุจวานรในอรัญราวปา แลเนื้อในอรัญประเทศอยาตื่นตระหนก ตกใจ จงทอดทิ้งจักษุทั้งหลายไปในเบื้องต่ํา “ยุคมตตทสฺโส” เล็งแลไปแตชั่วแอกหนึ่ง อยาพึงถึง ซึ่งอํานาจแหงจิต ดุจพรานปาอันลนลาน ในวัตถุนิทานพระมหามิตตเถรเจาวา อุบาสิกามารดาของพระมหามิตตเถรเจา

“วิสคณฺฑโรโค”

โรคฝอันมีพิษ

บังเกิดขึ้นแก

อันธิดาของอุบาสิกานี้ ก็บวชเปนภิกษุณี มหาอุบาสิกาจึงวาแกพระภิกษุณีนั้นวา ทานจง ไปสูสํานักแหงพระผูเปนเจาผูเปนพี่บอกวามารดาไมสบาย ใหพระผูเปนเจาหายามารักษา พระภิกษุณี นั้นก็ไปบอกแกพระมหามิตตเถรเจา ๆ จึงกลาววา อาตมาไมรูจักที่จะประมาณมาซึ่งเภสัชมีรากไม เปน อาทิ แลวแลจะไดปรุงตมสงไปใหแกอุบาสิกา อนึ่งเราจะบอกใหแกทาน ทานจงไปเถิด ไปกลาววา “อหํ ยโต ปพฺพชิโต” เราบวชแลวกาลใด จําเดิมแตกาลนั้นมา เรามิไดทําลายอินทรียสังวรศีล แลว แลเล็งดูซึ่งวิสภาครูปารมณ คือรูปแหงหญิงดวยจิตอันสหรคตถึงพรอมดวยโลภ ดวยความสัตยอันนี้ มารดาแหงขาจะผาสุกเถิด เมื่อทานกลาวคําดังนี้แลวจงเอามือปรามาสลูบคลําสรีรกายแหงอุบาสิกา “สา คนฺตวา ตมตฺถํ อาโรเจตวา” พระภิกษุณีนั้นกลับไปบอกประพฤติเหตุนั้นแกมารดา แลวก็ กระทําเหมือนคําพระมหามิตตเถรเจาสั่งโรคคือฝพิษแหงอุบาสิกาก็ฝอไป ดุจดังวาฟองน้ําอันตรธาน หายในขณะนั้นแทจริง อุบาสิกาก็ลุกขึ้นทันที เปลงวจีเภทดวยจิตอันชื่นชมวา “สเจ สมฺมาสมฺพุทโธ” ถาแลวาองคพระสัมมาสัมพุทธเจายังทรงพระชนมอยู ดังฤๅจะไมพึงปรามาสศีรษะพระภิกษุเห็นปาน ดุจดังวาบุตรแหงเรา ดวยพระหัตถอันวิจิตรอันเลขามีขออันตรงตั้งอยูแลวดวยอาการดุจดังวาขาย อัน บุคคลขึงไวในชองหนาตาง เหตุการณนั้น กุลบุตรอื่นถือตนวาบังเกิดในสกุลแหงบุคคลอันเปนอาจารยแหงสกุล ทั้งหลาย บรรพชาในพระศาสนาแลว พึงตั้งอยูในอินทรียสังวรศีลอันประเสริฐ ดุจดังวาพระมหามิตต เถรเจานี้ อนึ่ง มีคําอุปมาวา “อนฺทริยสํวโร” อินทรียสังวรศีลนั้นพระภิกษุพึงกระทําใหบริบูรณดวย สติอยางไร อาชีวปราริสุทธิศีลนั้น พระภิกษุพึงกระทําใหบริบูรณดวยความเพียรเหมือนอยางนั้น แทจริง อาชีวปาริสุทธิศีลนั้นสําเร็จดวยความเพียร เพราะเหตุวาความเพียรที่พระภิกษุ ปรารภดวยอาการอันดีนั้น ก็จะสละเสียซึ่งมิจฉาชีวะ เพราะเหตุดังนั้น พระภิกษุไมปรารถนาจะเสพซึ่ง ปจจัยอันไมบริสุทธิ์ดุจดังอสรพิษ พึงละเสียซึ่งอเนสนะแสวงหามิไดควรแลว ยังอาชีวปาริสุทธิศีลให บริบูรณ ดวยกิจที่จะแสวงหาดวยอาจาระอันชอบธรรม มีบิณฑบาตจาริกวัตร คือเที่ยวไปบิณฑบาต เปนอาทิดวยความเพียรแหงตน ปจจัยทั้งหลายบังเกิดขึ้นแตสํานักแหงสงฆ และคณะแกพระภิกษุอัน มิไดรักษาธุดงค ปจจัยนั้นก็ไดชื่อวาบังเกิดขึ้นดวยบริสุทธิ์ อนึ่งปจจัยทั้งหลายบังเกิดขึ้นแตสํานักแหง คฤหัสถ อันเลื่อมใสดวยคุณทั้งหลายของพระภิกษุนี้มีธรรมเทศนาคุณเปนอาทิ ปจจัยนั้นก็ไดชื่อวาบัง เกิดขึ้นดวยบริสุทธิ์ อนึ่งปจจัยทั้งหลายบังเกิดดวยสัมมาเอสนา คือภิกษุแสวงโดยชอบมีเที่ยวไป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 51 บิณฑบาตเปนอาทิ ชื่อวาบังเอิญดวยบริสุทธิ์ยิ่งนัก เมื่อพระภิกษุรักษาธุงดงคอยู ปจจัยทั้งหลายเกิด ดวยวัตร มีอันเที่ยวไปบิณฑบาตเปนอาทิ แลบังเกิดขึ้นแตสํานักแหงคฤหัสถทั้งหลายอันเลื่อมใสใน ธุดงค คุณของพระภิกษุนี้โดยอนุโลมตากําหนดซึ่งธุดงคนั้น ปจจัยอันนั้นก็ชื่อวาบังเกิดขึ้นดวยบริสุทธิ์ อนึ่งเภสัชคือสมอดองดวยมูตรโคบูด แลจตุมธุรสทั้ง ๔ บังเกิดแกพระภิกษุอันเปนไข เพื่อจะระงับเสีย ซึ่งพยาธิอันหนึ่ง พระภิกษุนั้นคิดวาสพรหมจรรยทั้งหลายอื่นจะไดบริโภค จตุมธุรสตนก็บริโภค แตชิ้น สมอธุดงคสมาทานของพระภิกษุนั้น ก็สมควรแกพระภิกษุนั่น ก็ไดชื่อวารักษาไวซึ่งวงศแหงพระอริย เจาอันอุดม อนึ่ง เมื่อพระภิกษุชําระอาชีวปาริสุทธิศีล ธรรมทั้ง ๔ ประการคือ นิมิต ๑ โอภาส ๑ ปริกถา ๑ วิญญัติ ๑ อันพระภิกษุจะใหประพฤติเปนไปในจีวร แลบิณฑบาตนั่นมิไดควร อนึ่ง พระภิกษุมิไดรักษาซึ่งธุดงค นิมิตแลโอภาสแลปริกถาทั้ง ๓ นี้ อันพระภิกษุนั้นให ประพฤติเปนไปในเสนาสนะนั้นควร จะสังวรรณนาในนิมิตนั้นกอน มีเนื้อความวา พระภิกษุกระทํากิจทั้งหลาย มีบริกรรมภาคพื้น เพื่อประโยชนแกเสนาสนะ คือที่นอนที่นั่งคฤหัสถทั้งหลายถาวา “กึ ภนฺเต กริยติ” ขาแตพระผูเปน เจาผูเจริญ พระผูเปนเจากระทํากิจดังฤๅ บุคคลงดังฤๅ ยังพระผูเปนเจาใหกระทํากิจการนี้ พระภิกษุก็กลาวคําตอบวา “น โกจิ การาเปติ” ใครที่ไหนจะใหรูปกระทํา รูปกระทําเอง กรรมคือพระภิกษุกระทําดังนี้ ชื่อวานิมิตกรรม อนึ่ง พระภิกษุกระทํานิมิตอยางอื่น เหมือนิมิตกรรมนี้ชื่อวา นิมิตกรรม โอกาสที่ ๒ นั้น มีเนื้อความอันพระภิกษุถามวา ดูกรอุบาสกทั้งหลาย ทานทั้งหลายนี้อยูใน ที่ดังฤๅ อุบาสกก็กลาวคําตอบวา “ปาสาเท ภนฺเต” ขาแตพระผูเปนเจา ผูเจริญ ขาพระองคทั้งปวง นี้ อยูในปราสาท พระภิกษุถามวา

ดูกรอุบาสกทั้งหลาย

ปราสาทใหมควรแกพระภิกษุแลฤๅ

ดังนี้ชื่อวา

โอภาส ภิกษุกลาวคําอันใดอันอื่นเหมือนอยางนี้ คําอันนี้ก็ชื่อวาโอภาสกรรม เอวํ ก็มีดวยประการ ดังนี้ "ปริกถา นาม ภิกฺขุสงฺฆสฺส เสนาสนํ สมฺพาธนฺติ วจนํ ยา วาปนฺญาป เอวรูปา ปริยายกถา เกสชฺเช สพฺพํ วุฏฏติ ตถา อุปฺปนฺนํ ปน เภสชฺชํ โรเค วูปสนฺเต ปริภุฺชิตุ ํ น วุฏฏ ติ ตตฺถ วินยธรา ภควตา ทฺวารํ ทินฺนํ ตสมา วุฏฏตีติ วาทนฺติ สุตฺตนฺติกา ปน กิฺจาป อาปตฺโต ปโหติ อาชีวํ ปน โกเปติ ตสฺมา น วุฏฏติ อิจฺเจวํ วทนฺติ โย ปน ภควตา อนุฺญาตาป นิมตฺโต ภาสปริกถา วิฺญตฺติ อกโรนฺโต อปฺปจฺฉตาทิคฺเณเยว นิสฺสาย ชีวิตกฺขเยป ปจฺจุปฏฐิเต อฺญ เตรโวภาสาทีหิ อุปปนนํ ปจฺจเย ปฏิเสวติ" วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในจตุปาริสุทธิศีล สืบอนุสนธิตามกระแสงวาระพระ บาลี มีเนื้อความวา พระภิกษุกลาววา “เสนาสนํ สมฺพาธํ” เสนาสนะที่อยูแหงพระภิกษุสงฆคับแคบ นักดังนี้ ชื่อวาปริกถา อนึ่ง คําที่พระภิกษุกลาวอยางอื่น ๆ เหมือนอยางนี้ ก็ชื่อวาปริยายกถา “เภสชฺเช สพพมฺป วุฏฏติ” นิมิตแลโอภาส แลปริกถาทั้งปวงนี้ พระภิกษุใหประพฤติเปนไปในเภสัชก็ควร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 52 อนึ่ง เภสัชบังเกิดขึ้นแกพระภิกษุ อันกระทํานิมิตแลโอภาส แลปริกถา เมื่อโรคระงับแลว พระภิกษุจะบริโภคเภสัชนั้นไมควรในเภสัชนั้น พระมหาเถระผูทรงวินัยกลวา “ภควตา ทวารํ ทินุนํ” องคพระผูทรงพระภาคประทานชองไวใหอยู เพราะเหตุการณนั้น พระภิกษุบริโภคเภสัช ที่เกิดขึ้นดวย นิมิตกรรมเปนอาทิ ในกาลเมื่อไขหายแลวก็ควร พระมหาเถระทั้งหลาย อันทรงไวซึ่งพระสูตรกลาววา “อาปตฺติ น โหติ” อาบัติไมมีโดยแท ถึงกระนั้นก็ดี พระภิกษุบริโภคเภสัชอันบังเกิดขึ้นดวย ประการนั้น ชื่อวายังอาชีวปาริสุทธิศีลใหกําเริบ เหตใดเหตุนั้น พระภิกษุจะบริโภคเภสัชอันนั้นในกาล หาโรคมิไดก็ไมควร อนึ่ง พระภิกษุรูปใด ไมกระทํานิมิต แลโอภาส แลปริกถา แลวิญญัติที่พระพุทธองคทรง อนุญาตอาศัยคุณทั้งหลาย มีอัปปจตาคุณคือมีความปรารถนานอยเปนอาทิ ถึงวาชีวิตจะสิ้นไปก็เสพ แตปจจัยทั้งหลายอันบังเกิดขึ้น ดวยอันเวนจากโอภาสเปนอาทิ “เอส ปรมสลฺเลขวุตติ” พระภิกษุนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาสรรเสริญ วาประพฤติสัลเลขพึงกระทําใหนอยแหงกิเลสจิตอันอุดม “เสยฺยถาป เถโร สารีปุตฺโต” เหมือนพระ ธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถรเจา กิร ดังไดสดับมา ในสมัยหนึ่ง พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเจริญวิเวกอยูในอรัญราวปาแหง หนึ่ง กับดวยพระมหาโมคคัลลานะเถรเจาวันหนึ่งอาพาธลมในอุทรประเทศ บังเกิดแกพระผูเปนเจาให ไดความทุกขเวทนาอันยิ่ง ครั้นถึงเพลาสายัณห พระมหาโมคคัลลานะเถรเจาผูมีอายุไปสูที่อุปฏฐาก เห็นพระผูเปนเจานอนอยูทราบวาอาพาธจึงถามวา “ปุพฺเพวเต อาวุโส” ขาแตทานผูมีอายุแตกาลปาง กอน ความไมสบายนี้เคยบังเกิดแกทานแลหรือ จึงมีเถรวาทบอกประพฤติเหตุแกพระมหาโมคคัลลานะวา ขาแตอาวุโส โมคคัลลานะ ใน กาลเมื่ออาตมาเปนคฤหัสถอยูนั้น โรคลมอยางนี้บังเกิดมีแลว อุบาสิกาผูเปนมารดาเคยใหขาวขีร ปายาสอันมิไดเจือกับน้ําประกอบดวยสัปปแลน้ําผึง แลน้ําตาลกรวดแกอาตมาครั้นบริโภคแลวโรคลมนี้ ก็ระงับหายไดรับความผาสุก พระมหาโมคคัลลานะผูมีอายุจึงกลาววา ขาแตอาวุโสเหตุอันนี้จงยกไว ถาแลวาบุญของขาพระองค และบุญของพระผูเปนเจามี วันพรุงนี้ก็จะไดขีรปายาสโดยแท เมื่อพระ มหาเถรเจาทั้งสองกลาวถอยคําดวยกันดังนี้ เทพยดาสิงสูอยูในตนไมใกลที่สุดที่จงกรม ไดฟงแลวคิด วา ในวันพรุงนี้ เราจักยังขีรปายาสใหบังเกิดแกพระผูเปนเจารุกขเทพยดาก็ไปสูสกุลกุลบุตร ผูปฏิบัติ พระมหาเถรเจาเขาสิงอยูในสรีระบุตรแหงผูใหญในสกุล ยังความลําบากใหบังเกิดขึ้นในกาลนั้น ญาติ ทั้งหลายแหงกุลบุตรนี้ ประชุมกันพรอมเพื่อวาจะเยียวยารักษากัน เทพยดาจึงกลาววา ถาทาน ทั้งหลายจะตกแตงขาวปายาสอยางนี้ ไปถวายแกพระผูเปนเจาในเพลารุงเชา เราก็จะปลอยปละ ละเลยเสียซึ่งบุตรแหงทาน มนุษยทั้งหลายในสกุลนั้นจึงกลาววาถึงทานไมบอกแกเรา ขาพเจาทั้ง ปวงก็คงจะถวายภิกขาหาร แกพระผูเปนเจาทั้งสองนั้นสิ้นกาลเปนนิตย กลาวดังนี้แลวในวันเปนคํารบ ๒ ก็ตกแตงขาวปายาสไว คอยจะถวายใสบาตรพระผูเปนเจาเพลาเชา พระมหาโมคคัลลานะเถรเจาก็ ไปยังสํานักแหงพระธรรมเสนาบดี มีเถรวาทวา ขาแตผูอาวุโส ทานจงอยูในสถานที่นี้ ตราบเทาถึง เพลาที่ขาพระองคจะกลับมา พระมหาโมคคัลลานะเถรเจากลาวคําสั่งพระธรรมเสนาบดีเถรเจาดังนี้ แลว ก็เขาไปสูโคจรคามนุษยทั้งหลายในสกุลนั้น ก็กระทําตอนรับโดยเคารพ รับเอาบาตรอาราธนาให นั่งเหนืออาสนะ ใสขาวปายาสในบาตร แลวก็อังคาสถวายแกพระผูเปนเจา พระมหาโมคคัลลานะเถร เจา รับขาวปายาสแลวก็กระทําอาการที่จะกลับไป มนุษยทั้งหลายเหลานั้นจึงกลาววา ขาแตพระผูเปน เจา พระผูเปนเจาจงกระทําภัตตกิจเสียกอนเถิด เมื่อกลับไปขาพระองคจะถวายขีรปายาสอันอื่นแก พระผูเปนเจา กลาวดังนี้ยังพระมหาโมคคัลลานเถรเจาใหบริโภค จึงใสขาวปายาสอื่นลงใหเต็มบาตร ถวายพระผูเปนเจา พระมหาโมคคัลลานะไดขีรปายาสกลับมาถึงแลวจึงเถรวาทวา ขาแตอาวุโสสารี บุตร ขออาราธนาบริโภคขีรปายาส จึงนอมบาตรเขาสูที่ใกล “เถโรป ตํ ทิสฺวา” พระสารีบุตรเถรเจา ไดเห็นขาวปายาสนั้น จึงคิดวาขาวปายาสนี้ เปนที่ยังจิตใหเจริญยิ่งนัก “กถํนุโข โส อุปฺปนฺโน” ดัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 53 เรารําพึงขาวปายาสนั้นบังเกิดขึ้น เพราะพระผูเปนเจาบอกแกพระมหาโมคคัลลานะ จึงมีเถรวาทวา ขา แตพระมหาโมคคัลลานะ ทานจงนําเอาขาวปายาสนี้ออกไป บิณฑบาตินี้ไมควรที่เราจะบริโภค พระมหาโมคคัลลานะก็มิไดคิดวา พระสารีบุตรไมบริโภคบิณฑบาต บาตรอันพระภิกษุเห็น ปานดังเรานี้นํามาถวาย ก็จับเอาขอบบาตรไปเททิ้งเสียในที่สุดขางหนึ่ง ดวยคํา ๆ เดียว อาพาธลม แหงสารีบุตรเถรเจาก็อันตรธานหายไป พรอมดวยกาลที่ขาวปายาสตกจากบาตรลงไปตั้งอยูเหนือ ปฐพี จําเดิมแตนั้นมา ลมอาพาธอยางนั้นก็มิไดกลับมาบังเกิดมีแกพระผูเปนเจาประมาณเขานาน ถึง ๔๕ ปเปนกําหนด ในกาลเมื่ออาพาธอันตรธานหายไปนั้น พระธรรมเสนาบดีจึงกลาวแกพระมหาโมคคัลลานะ วา ขาแตอาวุโส ขาวปายาสบังเกิดขึ้น เพราะเหตุอาศัยวจีวิญญัติ ถึงวาไสใหญในสรีกายแหงเราออก มาแลวแลเรียงรายอยูเหนือแผนดิน ก็ไมควรที่เราจะบริโภคขีรปายาสนี้ พระผูเปนเจากลาวคําดังนี้แลว ก็เปลงขึ้นซึ่งอุทานกถาวา “วจี วิฺญตฺติวิปฺผารา อุปฺปนฺนํ มธุปายาสํ” เปนอาทิ อรรถาธิบายใน อุทานคาถาวา ขาแตอาวุโสโมคคัลลานะ ถาแลขาพเจาจะพึงบริโภคมธุปายาสอันบังเกิดขึ้น เพราะ เหตุขาพเจาเปลงออกซึ่งวาจาอันประกอบดวยอามิส อาชีวปาริสุทธิศีลของเรานั้น องคพระผูเปนเจา ทรงพระภาคก็พึงติเตียน อนึ่ง ไสใหญในอุทรประเทศของเรานี้ จะออกจากกายแหงเราแลว แลเรี่ยรายอยูภายนอก เราก็จะสละเสียซึ่งชีวิตแหง ที่เราจะทําลายอาชีวปาริสุทธิศีลแหงเรานั้นหามิได “อาราเธมิ สกํ จิตฺต”ํ เราจะยังจิตแหงเราใหยินดีที่จะเวนเสีย ซึ่งอเนสนะแสวงหามิไดควร นหํ “พุทฺธปฏิกุฏ”ํ เราก็ มิไดกระทําอเนสนะที่พระพุทธเจาทรงติเตียน ใชแตเทานั้นวัตถุนิทานแหงอัมพขาทกมหาติสสะเถระ อันบริโภคอัมพปานอยูในวิหารชื่อ วาจิรคุมพกะ อาจารยพึงนํามาแสดงในประพฤติสัลเลขอันอุดม ในอาชีวปาริสุทธิศีลนี้ เพราะเหตุการณนั้น พระยัติโยคาพจรภิกษุผูบวชดวยศรัทธาประกอบดวยวิจารณปญญา อยาพึงใหบังเกิดซึ่งจิตอันจะประพฤติเปนไปในอเนนะคือแสวงหามิไดควร พึงชําระอาชีวิปาริสุทธิศีล ดวยประการทั้งปวงดังนี้ “ยถา จ วิริเยน อาชีวปาริสุทธิ” อนึ่งอาชีวปาริสุทธิศีลนั้น พระภิกษุจะพึงใหบริบูรณดวย ความเพียรฉันใด ปจจัยสันนิสสิตศีลนี้ พระภิกษุก็พึงกระทําใหบริบูรณดวยปญญาเหมือนฉันนั้น แทจริงปจจัยสันนิสสิตศีลนั้นสําเร็จดวยปญญา เพราะเหตุวาพระภิกษุประกอบดวยปญญา จึงจะสามารถอาจเห็นซึ่งโทษแลอานิสงสในปจจัยทั้งหลาย เหตุใดเหตุดังนั้น พระโยคาพจรภิกษุพึง สละเสียซึ่งความกําหนัดในปจจัย พิจารณาปจจัยทั้งหลายอันบังเกิดขึ้นโดยธรรมโดยชอบดวยปญญา โดยวิธีกลาวแลวในหนหลัง จะยังปจจัยสันนิสสิตศีลนั้นใหบริบูรณ กิริยาที่พระภิกษุจะทําปจจเวกขณะ คือพิจารณาในปจจัยสันนิสสติศีลมี ๒ ประการ คือพิจารณาในกาลเมื่อไดปจจัยทั้งหลายประการ ๑ คือพิจารณาในกาลเมื่อบริโภคปจจัย ทั้งหลายประการ ๑ เปนปจจเวกขณะวิธี ๒ ประการดวยกันดังนี้ แทจริงพระภิกษุบริโภคปจจัยทั้งหลาย มีจีวรปจจัยเปนอาทิที่ตนพิจารณาดวยธาตุปจจเวก ขณะ และปฏิกูลปจจเวกขณะ แลวแลตั้งไวในกาลเมื่อไดก็หาโทษมิได แลบริโภคในกาลอันยิ่งขึ้นไป กวากาลที่ตนไดนั้น ก็หาโทษมิได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 54 อนึ่ง ปจจัยบริโภคแหงพระภิกษุอันพิจารณาดวยปญญา ในวิธีอันเรากลาวแลวในกาลเมื่อ บริโภคนั้นก็หาโทษมิได วินิจฉัยตัดสินใหหายสนเทหในปจจเวกขณะ บัณฑิตพึงรูโดยนัยอันเราจะกลาวดังนี้

คือพระภิกษุพิจารณาในกาลเมื่อบริโภค

ดังเราจะกลาวโดยพิสดาร “จตฺตาโร ปริโภคา” บริโภคมี ๔ ประการคือ ไถยบริโภคต ๑ อิณบริโภค ๑ ทายัชชบริโภค ๑ สามีบริโภค ๑ เปน ๔ ประการดวยกันดังนี้ ไถยบริโภคปฐมนั้นมีเนื้อความวา "ตตฺถ สงฺฆมชฺเฌป นิสีทิตฺวา" พระภิกษุทุศีลอยูใน ทามกลางสงฆแลวแลบริโภค ชื่อวาไถยบริโภค บริโภคดวยภาวะแหงตนเปนโจร อิณบริโภคเปนคํารบสองนั้นวา พระภิกษุมีศีลมิไดพิจารณาแลวบริโภค ชื่อวาอิณบริโภค เพราะเหตุการณนั้น ภิกษุพึงพิจารณาจีวรในกาลเมื่อบริโภคนุงหมทุก ๆ ครั้ง พระภิกษุพึงพิจารณา บิณฑบาตทุกคํารบบริโภค เมื่อพระภิกษุไมอาจพิจารณาดวยประการดังนั้น ก็พิจารณาจีวรแลบิณฑบาตนัน ในปุโรภัต ตกาล แตเชาจนเที่ยง แลปจฉาภัตตกาล แตเที่ยงจนถึงเพลาเย็น แลปุริมยาม แลมัชฌิมยาม แล ปจฉิมยาม ถาแลวาพระภิกษุไมพิจารณาแลวแลบริโภค แลมิไดพิจารณาในปุเรพัตตกาลเปนอาทิ ยัง อรุณใหขึ้นมา พระภิกษุนั้นก็ตั้งอยูในที่แหงอิณบริโภค อนึ่ง พระภิกษุพึงพิจารณาเสนาสนะ ในกาลเมื่อเขาไปสูที่นอนแลที่นั่งทุก ๆ ครั้ง “สติปจฺจยตา วุฏฏติ” พระภิกษุมีสติระลึกอยูที่จะพึงพิจารณาใหเปนเหตุปจจัย ในกาลที่ จะรับแลกาลที่จะบริโภคเภสัชจึงจะควรเมื่อพระภิกษุพิจารณาในกาลทั้ง ๒ ดังนี้มีแลว เมื่อพระภิกษุ กระทําซึ่งสติพิจารณาในกาลเมื่อรับ เมื่อบริโภคไมกระทําปจจเวกขณะสติอาบัติก็มีแกพระภิกษุนั้น เมื่อพระภิกษุพิจารณาในกาลทั้ง ๒ ดังนี้มีแลว เมื่อพระภิกษุกระทําซึ่งสติพิจารณาในกาล เมื่อรับ เมื่อบริโภคไมกระทําปจจเวกขณสติอาบัติก็มีแกพระภิกษุนั้น อนึ่ง เมื่อพระภิกษุรับมิไดกระทําปจจเวกขณะสติ เมื่อจะบริโภคไดกระทําปจจเวกขณสติ แลว อาบัติก็ไดมีแกพระภิกษุนั้น แทจริง “สุทธิ” แปลวาบริสุทธิ์ ๆ มี ๔ ประการคือ เทศนาสุทธิ ๑ สังวรสุทธิ ๑ ปริเยฏฐิ สุทธิ ๑ ปจจเวกขณสุทธิ ๑ เปนสุทธิ ๔ ประการดวยกันดังนี้ “ตตฺถ เทสนาสุทฺธิ นาม” แทจริงพระปาฏิโมกขสังวรศีลชื่อวา เทศนาสุทธิ นับเขาในสุทธิ ทั้ง ๔ ประการนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ตรัสพระสัทธรรมเทศนาเรียกชื่อวา เทศนาสุทธิ เพราะเหตุเพราะปาฏิโมกขสังวรศีลนั้น บริสุทธิ์ดวยกิริยาที่พระภิกษุแสดงซึ่งอาบัติ อินทรียสังวรศีลนี้ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ตรัสเทศนาเรียกชื่อวาสังวรสุทธิศีล เพราะเหตุวาอินทรียสังวรศีลนั้น บริสุทธิ์ดวยสังวรคือพระภิกษุอธิษฐานจิตวา “น ปุเนวํ กริสฺสามิ” อาตมาจะไมกระทํากรรมเหมือนที่กระทํามาแลวใหมเลา อาชีวิปาริสุทธิศีลที่ ๓ ชื่อวาปริเยฏฐิสุทธิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 55 แทจริงอาชีวปาริสุทธิศีลนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนารองเรียกชื่อวาปริ เยฏฐิสุทธิ เพราะเหตุวาอาชีวิปาริสุทธิศีลนั้นบริสุทธิ์ดวยกิริยาที่พระภิกษุละเสียซึ่งแสวงหาไมควร แลวแลยังปจจัยทั้งหลายใหบังเกิดขึ้นโดยธรรมโดยชอบ ปจจัยสันนิสสิตศีลที่ ๔ นั้นชื่อวาปจจเวกขณ สุทธิ แทจริงปจจัยสันนิสสิตศีลนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนารองเรียกชื่อวาปจจ เวกขณสุทธิ เพราะเหตุวาปจจัยสันนิสสิตนั้นบริสุทธิ์ดวยวิธีที่พระภิกษุพิจารณา โดยประการอันเรา กลาวแลว เพราะเหตุการณนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาวา “ปฏิคฺคหเณ ปน สติ อกตฺวา” ดังวิสุชนามาในหนหลัง ในทายัชชบริโภคที่ ๔ นั้น มีเนื้อความวา การที่จะบริโภคซึ่งปจจัยทั้ง ๔ แหงพระเสขอริย บุคคล ๗ จําพวกนั้น ชื่อวาทายัชชบริโภคคือบริโภคปจจัยอันองคพระสัมมาสัมพุทธเจาประทานให “เต หิ ภควโต ปุตฺตา” แทจริงพระเสขอริยบุคคล ๗ จําพวกนั้น เปนบุตรแหงองคสมเด็จพระผูทรงพระภาค เพราะ เหตุการณนั้น พระเสขอริยบุคคลจึงควรเพื่อถือเอาซึ่งปจจัยอันเปนของแหงบิดา จึงบริโภคไดซึ่ง ปจจัยทั้งหลายนั้น มีคําปุจฉาถามวา “กึ ปน เต ภควโต” พระเสขริยบุคคลทั้งหลายนั้นบริโภคซึ่งปจจัย ทั้งหลาย อันเปนของพระผูทรงพระภาคหรือวาบริโภคปจจัยอันเปนของแหงคฤหัสถ อาจารยวิสัชนาวา “ดิหีหิ ทินฺนาป ภควตา” ปจจัยทั้งหลายนั้นคฤหัสถถวาย ก็ไดชื่อวา เปนของแหงพระผูทรงพระภาค เหตุวาปจจัยทั้งหลายนั้นพระผูมีพระภาคทรงอนุญาต เหตุใดเหตุ ดังนั้นนักปราชญพึงรูวา พระเสขภิกษุทั้งหลายบริโภคซึ่งปจจัยทั้ง ๔ อันเปนของแหงพระผูทรงพระ ภาค อาจารยพึงนํามาซึ่งธรรมทายาทสูตร สาธกเขาในอรรถ คือกลาววาปจจัยทั้งหลายเปนของ แหงพระผูทรงพระภาคนี้ อนึ่ง “ขีณาสวานํ ปริโภโค” พระภิกษุทั้งหลายมีอาสวะอันสิ้นแลว บริโภคปจจัยก็ไดชื่อวา สามีบริโภค แทจริงพระอเสขอริยบุคคลทั้งหลายจําพวกนี้ ชื่อวาเปนเจาของปจจัยเพราะเหตุพระอเส ขอริยเจาทั้งหลายจําพวกนั้น ลวงเสียซึ่งภาวะเปนทาสแหงตัณหา แลวแลบริโภคซึ่งจตุปจจัย “อิเมสุ ปริโภเคสุ” ล้ําบริโภคทั้งหลาย ๔ นี้ อันวาบริโภคทั้ง ๒ ประการ คือสามีบริโภคแล ทายัชชบริโภค ควรแกพระอริยบุคคลแลปุถุชนทั้งหลาย อิณบริโภค ไมควรแกพระอริยบุคคลแลปุถุชนทั้งปวง การที่จะกลาวในไถยบริโภคมิไดมี คือไมควรกลาวแลว อนึ่ง กิริยาที่พิจารณาแลวแลบริโภคอันใด แหงพระภิกษุที่มีศีลบริโภคนั้นชื่อวาบริโภคมิได เปนหนี้บาง สงเคราะหเขาในทายัชชบริโภคบาง เพราะเหตุวาพิจารณาแลวแลบริโภคนั้น เปนขาศึก แกอิณบริโภค แทจริงพระภิกษุที่มีศีลนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคก็ทรงตรัสเรียกชื่อวา เสขะ เพราะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 56 เหตุวาพระภิกษุที่มีศีลนั้นประกอบพรอมเพียงดวยอธิศีลสิกขานี้ อนึ่ง บริโภคทั้ง ๔ ประการนั้น สามีบริโภคสิ่งเดียว เลิศกวาบริโภคทั้งปวง เหตุใดเหตุดังนี้ “ตํ ปตฺถยมาเนน ภิกฺขุนา” เมื่อพระภิกษุปรารถนาสามีบริโภคนั้น ใหพิจารณาดวยปจจเวกขณวิธีมี ประการอันเรากลาวแลว จึงบริโภคจตุปจจัย ปจจัยสันนิสสิตศีลแหงพระภิกษุนั้นจึงบริบูรณ เอวํ ก็มี ดวยประการฉะนี้ “เอวํ กโรนฺโต หิ กิจฺจการี โหติ วุตฺตมฺป เจตํ ปณฺฑํ วิหารํ สยนาสนฺจ อาปญจ สงฺฆาฏิรชูปาหนํ สุตฺวาน ธมฺมํ สุคเตน เทสิตํ สงฺขาย เสเว วรปฺญสาวโก ตสฺมา หิ ปณฺเฑ สยนาสเส จ อเป จ สงฺฆาฏิรชูปวาหเน เอเตสุ ธมฺเมสุ อนุปฺปลิตฺโต ภิกฺขุ ยถา โปกฺขเร วาริวินฺทฺ กาเลน ลทฺธา ปรโต อนุคฺคหา ขชุเชสุ โกเชสุ จ สายเนสุ จ มตฺตํ โส ชฺญา สตตํ อุปฏฐิโต วณสฺส อาเลปนรูหเน ยถา กนฺตาเร ปุตตมํสฺจ อกฺขสสพภญชนํ ยถาเอวํ อาหริ อาหารํ ยาปนาย อมุจฺฉิโตตี” วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในจตุปาริสุทธิศีล อันมีในศีลนิเทศ ในพระวิสุทธิ มรรคปกรณ สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี “เอวํ กโรนฺโต หิ กิจฺจการี” แทจริงเมื่อพระภิกษุ กระทําดังกลาวแลวนี้ก็ไดชื่อวา “กิจฺจการี” คือจะยังสามีบริโภคใหสําเร็จสมดังวาระพระบาลีอันพระ ธรรมสังคาหกเถรเจาทั้งหลายกลาวไววา “ปณฺฑํ วหารํ สยนาสนฺจ” พระภิกษุอันเปนเสขบุคคล แลเปนปุถุชน เปนสาวกแหงองคพระผูทรงพระภาค ผูทรงปญญาอันอุดม ไดสดับพระธรรมเทศนาอัน พระสุคตทรงแสดงแลวก็พิจารณาซึ่งกอนอามิสแลวิหาร แลเสนาสนะมีเตียงเปนอาทิ แลอุทกังคือน้ํา อันจะชําระผาสังฆาฏิ อันแปดเปอนดวยธุลี มีมลทินคือฝุนเปนอาทิ ดวยปญญาแลว แลเสพซึ่ง จตุปจจัยทั้ง ๔ เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุอันเปนพระอริยสาวก อยามีจิตระคนขางอยูในธรรม ทั้งหลาย คือกอนอามิสแลที่อันเปนที่นอนแลที่อันเปนที่นั่งแลน้ําอันจะชําระธุลีอันแปดเปอนซึ่งผา สังฆาฏิ หยาดน้ํามิไดติดอยูในใบบัวฉันใด พึงปฏิบัติพึงประพฤติเปนไปในธรรมทั้งหลาย มีกอนอามิส เปนอาทิ เหมือนกันฉันนั้น “กาเลน ลทฺธา ปรโต อนุคฺคหา” พระภิกษุนั้นไดซึ่งวัตถุมีขาทนียะเปนตน ในสํานักแหง บุคคลผูอื่นคือทายก ดวยความอนุเคราะหวาตนมีศีล ในเวลาบิณฑบาต ก็มีสติอันตั้งมั่น รูประมาณใน วัตถุคือขาทนียะ โภชนียะอันตนจะพึงเคี้ยวแลจะพึงบริโภค แลจะลิ้มเลียแลจะดื่มกินสิ้นกาลทั้งปวง มี อุปไมยดังวาบุรุษมีโรค คือบาดแผลในสรีระตองพอกยายังเนื้อใหงอกขึ้น “กนฺตาเร ปุตฺตมํสฺจ” ไมฉะนั้น มีอุปมาวา สามีกับภรรยาอุมบาตรไปในหนทางกันดาร เสบียงอาหารสิ้นแลวก็กินเนื้อบุตรเปนอาหาร จึงขามเสนกันดารได “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใดก็ดี อนึ่ง นายสารถีจะขับรถไป ก็ตองเอาน้ํามันทาเพลารถเสียกอนจึงจะขับไปได “ยถา” อันนี้ แลอุปมาฉันใดก็ดี พระภิกษุในพระศาสนานี้มิไดสยบซบอยูดวยตัณหา คือความปรารถนาในสูบกลิ่น กินซึ่งอาหาร เพีอจะยังสรีระใหประพฤติเปนไป “เอวํ ตถา” อันนี้ก็มีอุปไมยเหมือนคําอุปมาทั้ง ๒ นั้น อาจารยพึงกลาวนิทานแหงพระสังฆรักขิตสามเณร อันเปนหลานแหงพระสังฆรักขิตเถรเจา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 57 สาธกเขาในวิธีที่พระภิกษุกระทําปจจัยสันนิสสิตนี้บริบูรณ “โส หิ สมฺมา ปจฺจเวกฺขิตฺวา” แทจริงพระสังฆรักขิตสามเณรนั้น พิจารณาดวยอาการอันดี แลวจึงบริโภค เหตุใดเหตุดังนั้นพระสามเณรจึงกลาวพระคาถาวา “อุปชฺฌาโย มํ ภุฺชมานํ สาลิรุกํ สนิพฺพุต”ํ เมื่อเราจะบริโภคขาวสุก อันบุคคลหุงดวยขาวสารสาลีอันเย็นแลว พระอุปชฌายะทานวา แกเราวา ดูกรเจาสามเณร ทานมิไดสํารวมบริโภคอยายังชิวหาแหงทานใหไหม “อุชฺฌายสฺส วโจ สุตฺวา” เราไดฟงวาจาพระอุปชฌายะกลาวดังนี้ ไดความสังเวชขึ้นมาในกาลนั้น “เอกาสเน นิสี ทิตฺวา” เราก็นั่งอยูเหนืออาสนะอันเดียว เจริญพระวิปสสนาบรรลุถึงพระอรหันต เราก็มีความปรารถนา บริบูรณ “จนฺโท ปณฺณรโส ยถา” ดุจดังวาดวงจันทรในวันเพ็ญสิบหาค่ํา ตนของเรานั้นก็มีอาสวะอัน สิ้นไปภพใหมก็มิไดมีแกเรา เพราะเหตุการณนั้น พระภิกษุรูปอื่นปรารถนาจะยังวัฏฏทุกขใหสิ้นไป พึงพิจารณาดวย อุบายปญญาแลวจึงบริโภคจตุปจจัย นี้

บัณฑิตพึงรูวาศีลมี ๕ ประการ มีพระปฏิโมกขสังวรศีลเปนประธาน โดยนัยดังแสดงมาแลว แตนี้จะวินิจฉัยในปฐมปญจกะแหงศีล ๕ ประการ

เนื้อความอันนี้ บัณฑิตพึงรูดวยสามารถแหงศีลทั้งหลาย มีอนุปสัมปนนศีล คือศีลแหงพระ สามเณรเปนอาทิ “วุตฺตํ เหต ปฏิสมฺภิทายํ” สมดวยพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถรเจากลาวไวในคัมภีร ปฏิสัมภิทาวา “กตมํ ปรยินฺตปาริสุทธิสีลํ” ปริยันตปาริสุทธิศีลนั้นเปนดังฤๅ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลอันใดเปนศีลแหงอนุปสัมบัน ศีลแหงพระสามเณรอันที่มีกําหนด ศีลนั้นชื่อวาปริยันตปาริสุทธิศีลที่ ๑ “กตมํ อปริยนฺตปาริสุทธิสีล”ํ อปริยันตปาริสุทธิศีลเปนดังฤๅ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลอันใดเปนศีลแหงอุปสัมบันคือพระภิกษุมีสิกขาบทจะกําหนดมิได ศีลนี้ชื่อวาอปริยันตปาริสุทธิศีลที่ ๒ “กตมํ ปรามฏฐปาริสุทฺธิสีล”ํ ปริปุณเณหาริสุทธิศีลนั้นเปนดังฤๅ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลอันใดเปนศีลแหงปุถุชนทั้งหลาย มีคุณอันนักปราชญจะพึงนับถือ ยอมประกอบในกุศลธรรม แลกระทําใหบริบูรณในวิปสสนาธรรมเปนโลกิยะ อันเพงเอาซึ่งโคตรภูญาณ แลวแลตั้งอยู มีเสขิยธรรมคือพระโสดามรรคนั้นเปนแดนมิไดอาลัยในกายแลชีวิต มีจิตอันบริจาคชนม ชีพแหงตน ศีลนี้ชื่อวาปริสุทธิศีลที่ ๓ “กตมํ อปารามฏฐปริสุทธิสีล”ํ อปรามัฏฐปาริสุทธิศีลนั้นเปนดังฤๅ ดูกรอาวุโส ศีลอันใดแหงพระเสขบุคคลทั้งหลาย ๗ จําพวก ศีลนี้ชื่อวา อปรามัฏฐปาริสุทธิ ศีลที่ ๔ “กตมํ ปฏิปสฺสทฺธิปาริสุทธิสีล”ํ ปฏิปสสัทธิปาริสุทธิศีลนั้น เปนดังฤๅ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลอันใดแหงพระขีณาสวะเจา อันเปนสาวกของพระตถาคตแลเปน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 58 ของแหงพระปจเจกพุทธเจา แลพระสัมมาสัมพุทธเจาอันมาสูพระภูมิ เปนองคพระอรหันตอันประเสริฐ ศีลนี้ชื่อวาปฏิปสสัทธิศีลที่ ๕ แทจริง ศีลแหงอนุปสัมบันทั้งหลาย บัณฑิตพึงรูชื่อวา ปริยันตปาริสุทธิศีล เพราะเหตุวามี ที่กําหนด ดวยสามารถอาจนับได อนึ่ง ศีลแหงอุปสัมบันบุคคลทั้งหลาย คือพระภิกษุนั้น เปนไปกับดวยที่สุดบาง หาที่สุด มิไดบาง เปนไปกับดวยที่สุดนั้นดวยสามารถแหงอาจารยนับวาสังวรวินัย ศีลแหงพระภิกษุนั้นนับได ๙ พัน ๑๘๐ โกฏิ ๕๐ แสนเศษ ๓๖ สังวรวินัยทั้งปวง กลาวคือสิกขาบท โดยนัยมาดังกลาวแลวนี้ โดย เปยยาลเปนประธาน อันองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงไวในพระวินัยปฎก แลสังวรวินัย กลาวคือสิกขาบทหาที่สุดมิไดนั้น บัณฑิตอาศัยซึ่งสมาทานบมิไดเหลือแลมี ที่สุดบมิไดปรากฏ สมดวยสามารถแหงลาภแลยศ แลญาติแลอวัยวะแลชีวิต แลวแลพึงรูชื่อวาอปริยัน ตปาริสุทธิศีล ดุจดังวาศีลแหงพระอัมพขาทกมหาดิสสเถรเจา อันอยูในจิรคุมพกวิหาร “ตถา ตทิทิมินา สจฺจํ” คําที่กลาวมานั้นก็สามดวยคํานี้ “โส มหาติสฺสเถโร” พระมหาดิสสเถรเจานั้น บมิไดละเสียซึ่งอนุสสติระลึกเนือง ๆ ซึ่งคํา แหงองคสมเด็จพระบรมโลกนารถผูเปนองคอริยสัปบุรุษ ทรงประทานพระสัทธรรมเทศนาไววา ประเสริฐ

“ธนํ จเช องฺควรสฺส เหตุ” บุคคลพึงละเสียซึ่งทรัพย เพราะเหตุจะรักษาซึ่งอวัยวะอัน “องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน” เมื่อบุคคลจะรักษาไวซึ่งชีวิตก็พึงสละเสียซึ่งอวัยวะ

“องฺคํ ธนํ ชีวิตฺจาป สพฺพํ นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต” เมื่อบุคคลระลึกเนือง ๆ ซึ่งพระ สัทธรรม เปนคําแหงองคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาสั่งสอน ก็พึงสละเสียซึ่งวัตถุสิ่งของทั้ง ๓ ประการ คือทรัพยแลอวัยวะนอยใหญแลชีวิต อยาไดคิดอาลัยในวัตถุสิ่งของทั้ง ๓ ประการนี้ ในเมื่อความสงสัยในชีวิตบังเกิดมี เพราะเหตุกระวนกระวายในความอยาก “สกฺขปทํ อวิ ติกฺกม” พระผูเปนเจาก็มิไดลวงสิกขาบทตั้งอยูเหนือหลังแหงอุบาสก บรรลุถึงพระอรหันต เพราะเหตุ อาศัยซึ่งอปริยันตปาริสุทธิศีล เหตุใดเหตุดังนั้น พระคันถรจนาจารยจึงนิพนธพระคาถาไววา “น ปตา น ป เต มาตา ฯ ญาติ น ป พนฺธวา” เปนอาทิ แปลเนื้อความวาพระอัมพขาทกมหาดิสสเถรเจานั้น ตั้งอยูเหนือหลังอุบาสกยังสังเวชให บังเกิดขึ้นดวยความปริวิตกวา อุบาสกนี้มิไดเปนมารดาบิดาของทาน แลจะเปนญาติของทานก็หามิได ใชแตเทานั้น อุบาสกนี้จะเปนเผาพันธุแหงทานก็หามิได อุบาสกนี้กระทําซึ่งกิจคือยังทานใหนั่งอยู เหนือบาแลวแลพาไป ก็เพราะเหตุอาศัยแกทานเปนบรรพชิตอันมีศีล “สมฺมสิตฺวาน โยนิโส” พระมหาเถรเจาบังเกิดธรรมสังเวชดังนี้ แลวพิจารณาพระ กรรมฐานดวยวิปสสนาปญญา ตั้งอยูเ หนือหลังแหงอุบาสกนั้น บรรลุถึงพระอรหันต “ปุถุชฺชนกลฺยาณกานํ สีลํ” ศีลแหงพระภิกษุทั้งหลายที่เปนปุถุชน มีคุณอันบัณฑิตพึง นับปราศจากมลทินแลว ก็เปนปทัฏฐานที่ตั้งแหงพระอรหัตต ดวยประมาณแหงจิตตุบาทคือดําริจิตคิด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 59 วาอาตมาจะยกตนออกจากวัฏฏทุกข จะประพฤติเปนไปดังนี้ ก็เพราะวาภิกษุนั้นมีศีลอันบริสุทธิ์ยิ่งนัก ดุจดังวาแกวมณีอันนายชางชําระแลวเปนอันดี มิฉะนั้นดุจดังวาทองอันชางทองกระทําบริกรรมแลว เปนอันดี จําเดิมแตอุปสมบทแลวมา เพราะเหตุการณนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคจึงตรัสเรียกศีล แหงพระภิกษุอันเปนกัลยาณปุถุชนชื่อวาปริปุณณปาริสุทธิศีล ดุจดังวาศีลแหงพระมหาสังฆรักขิตเถร เจาแลพระภาคิเนยยสังฆรักขิตเถรเจา “กิร” ดังไดสดับมา เมื่อพระมหาสังฆรักขิตเถรเจามีวัสสาลวงได ๖๐ วัสสาแลว พระผูเปน เจานอนอยูเหนือเตียงอันเปนที่กระทํามรณกาลกิริยา พระภิกษุทั้งหลายไถถามกิริยาที่พระผูเปนเจาได สําเร็จมรรคแลผล พระมหาเถรเจาจึงบอกวาโลกุตตธรรมแหงเรานั้นมิไดมี ในกาลนั้น พระภิกษุหนุมผูเปนอุปฏฐากปฏิบัติ พระมหาเถรเจาจึงกลาววา “ภนฺเต” ขาแต พระผูเปนเจาผูเจริญ มนุษยทั้งหลายอยูในที่ ๑๒ โยชน โดยรอบคอบพระอาราม มาประชุมพรอมกัน เพราะเหตุกิตติศัพทกลาวกันวาพระผูเปนเจาจะปรินิพพาน “ตุมฺหากํ ปุถุชฺชนกาลกิริยาย” เมื่อพระ ผูเปนเจากระทํากาลกิริยาอันเปนของแหงปุถุชนคนทั้งหลายที่มาประชุมกันนี้ก็มีความวิปฏิสารี เดือดรอนกินแหนงเปนอันมาก จึงมีเถรวาทกลาววา ดูกรอาวุโส เรามีความปรารถนาจะทัศนาการเห็นองคพระผูทรงพระ ภาค ผูทรงพระนามวาอริยเมตไตย เราจึงมิไดตั้งไวซึ่งพระวิปสสนา ถากระนั้นดูกรอาวุโส ทานจงยัง เราใหนั่งจงกระทําซึ่งโอกาสแหงเรา พระภิกษุหนุมนั้นก็ยังพระมหาเถรเจาใหนั่ง ตั้งสรีรวายไดแลวก็ลุกออกไปภายนอก พระมหาเถรเจาก็บรรลุถึงพระอรหัตต พรอมกับดวยการที่พระภิกษุหนุมลุกออกไปภายนอก นั้น พระผูเปนเจาก็ใหสําคัญสัญญาดวยอันดีดนิ้ว พระภิกษุสงฆก็ประชุมพรอมกัน เขาไปกลาวแกพระผูเปนเจาวา “ภนฺเต” ขาแตทานผูเปน อริยสัปบุรุษ พระผูเปนเจายังโลกุตตรธรรมอันขามขึ้นจากโรค ใหบังเกิดไดในกาลเมื่อจะกระทํามรณ กาลนี้พระผูเปนเจากระทําไดดวยยาก จึงมีเถรวาทวา ดูกรวาวุโสทั้งหลาย กิริยาที่เรายังโลกุตตรธรรมใหบังเกิดในกาลครั้งนี้ เรา จะกระทําดวยยากหามิได “อปจ โว ทุกฺกรํ” อนึ่งเราจะบอกการที่กระทําไดดวยยากใหทานทั้งหลาย ฟง ดูกรอาวุโสทั้งหลายเราระลึกไมไดซึ่งการที่เราไมรูแลวแลกระทําดวยหาสติมิได จําเดิมแต บรรพชาแลว อนึ่ง พระภาคิเนยยสงฆรักขิตเถรเจาผูเปนหลานแหงพระมหาสังฆรักขิตเถรเจานี้ เมื่อพระผู เปนเจามีวัสสา ๕๐ ก็บรรลุพระอรหัตตเปนองคพระอรหัตตเหมือนกันดังนี้ “อปฺปสฺสุโตป เจ โตติ” นัยหนึ่งพระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ ถาแลไดสดับฟงพระพุทธ วจนะคือพระไตรปฎกนั้นนอย แลมิไดตั้งอยูดวยอาการอันดี ในพระจตุปาริสุทธิศีล ชนทั้งหลายก็ นินทาพระภิกษุนั้นโดยสวนทั้งสอง คือมิไดมีศีลประการหนึ่ง คือมิไดสดับฟงพระพุทธวจนะประการ หนึ่ง “อปฺปสฺสุโตป เจ โหติ” อนึ่งพระภิกษุในพระศาสนานี้ ถาแลวาไดสดับฟงพระพุทธวจนะ นอย แตทวาตั้งอยูดวยอาการอันดีในพระจตุปาริสุทธิศีล ชนทั้งหลายก็สรรเสริญพระภิกษุนั้นโดยสวน แหงศีล การที่สดับพระพุทธวจนะจะใหนํามาซึ่งบริบูรณแกตน และใหบริบูรณแกบุคคลทั้งหลายอื่น ก็ มิไดสําเร็จแกพระภิกษุนั้น “พหุสฺสุโตป เจ โตติ” อนึ่งถาแลวาพระภิกษุเปนพหุสูต ไดสดับพระพุทธวจนะคือ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 60 พระไตรปฎกทั้งหลายมาก แตทวามิไดตั้งมั่นอยูในศีล “สิลโต นํ ครหนฺติ” ชนทั้งหลายก็ติเตียน พระภิกษุนั้นโดยสวนแหงศีลวา พระภิกษุนั้นไมมีศีล แตกจ ิ สดับฟงพระพุทธวจนะนั้น ก็บริบูรณแก พระภิกษุนั้น “พหุสฺสุโตป เจ โหติ” อนึ่งถาแลวาพระภิกษุเปนพหุสูตไดสดับพุทธวจนะมาก ตั้งอยูใน พระจตุปาริสุทธิศีล ชนทั้งหลายก็สรรเสริญพระภิกษุนั้นโดยสวนทั้งหลาย คือเปนภิกษุมีศีลนั้นสวน หนึ่ง คือเปนพหุสูตนั้นสวนหนึ่ง “โก ตํ นินฺทิตุมรหติ” บุคคลดังฤๅจะสมควรเพื่อจะนินทาพระภิกษุนั้น อันเปนพหุสูตทรง ไวซึ่งธรรม ประกอบดวยปญญา เปนสาวกแหงพระสัมมาสัมพุทธเจา ดุจดังวาทอนทองชมพู เทพยดา แลมนุษยยอมสรรเสริญพระภิกษุนั้น “พฺรหฺมุนาป ปสํสิโต” ถึงทาวมหาพรหมก็ยอมสรรเสริญพระภิกษุนั้น เอวํ ก็มีดวยประการ ดังนี้ “เสขานํ ปน สีลํ ทิฏริวเส อปรามฎตฺตา ปุถุชฺชนานํ วาปน ภาวเสน อปรามฎตฺตา สีลํ อปรามฎปาริสุทฺธิติ เวทิตพฺพํ กุฏมฺพิปุตฺตติสฺสตฺเถรสฺส สีลํ วิย” โส หิ อายสฺมา ตถารูป สีลํ นิสฺสาย อรหัตฺเต ปติฏา ตุกาโม เวรเก อาห “อุ โภ ปาทานิ กินฺทิตฺวา สฺญมิสฺสามิ โว อหํ อฏิยามิ หรายามิ สราคํ มรณํ อหนฺติ เอวาหํ จินฺตยิตวาน สมฺมสิตฺวาน โยนิโส สมฺปตฺเต อรุณุคฺคมฺหิ อรหตฺตมฺป ปาปุณินฺติ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในปฐมปญจะกะแหงศีลมีประการหา สืบอนุสนธิ ตามกระแสวาระพระบาลี มีเนื้อความวา “เสขานํ ปน สีลํ” ดังกลาวฝกฝายอันอื่น ศีลแหงพระเสขะอริยบุคคลทั้งหลายนั้น บัณฑิต พึงรูวาชื่อวา อปรามัฏฐปาริสุทธิศีล เพราะเหตุวาศีลของพระอริยบุคคลนั้น อํานาจแหงทิฏฐิไมถือเอา ได อนึ่งศีลแหงปุถุชนทั้งหลายที่มีคุณอันบัณฑิตพึงนับ นักปราชญพึงรูชื่อวา อปรามัฏฐปาริ สุทธิศีล เพราะเหตุวาศีล ของปุถุชนจําพวกนั้น อันอํานาจแหงภวตัณหามิไดถือเอาได ดุจดังวาศีล แหงพระดิสสเถรเจาอันเปนบุตรแหงกุฎมพี แทจริง พระดิสสเถรเจาผูมีอายุนั้น ปรารถนาจะอาศัยอปรามัฏฐปาริสุทธิศีล อันอํานาจแหง ภวตัณหาไมถือเอาแลวแลจะตั้งอยูในพระอรหัตต จึงมีวาจาแกโจรทั้งหลายที่ภรรยาแหงพี่ชายของ พระผูเปนเจาสงไป เพื่อจะใหฆาพระผูเปนเจาวา “อุโก ปาทานิ ภินฺทิตฺวา” เราจักทําลายเทาทั้งสอง ของเราเสียใหเปนสําคัญแกทานทั้งหลาย แลวพระผูเปนเจาจึงคิดวาเราเกลียดชังเหนื่อยหนายความ มรณะของเราอันประพฤติเปนไปกับดวยราคะ คิดดังนี้แลวก็พิจารณาพระกรรมฐานดวยอุบายปญญา ครั้นเพลาอรุณขึ้นมาแลวพระผูเปฯเจาก็บรรลุถึงพระอรหันต “อฺญตโรป มหาเถโร” ใชแตเทานั้น พระมหาเถรเจาองคหนึ่ง มิไดปรากฏโดยนามและ โคตร พระผูเปนเจาเปนไขหนักไมอาจบริโภคอาหารดวยมือแหงตน จนอยูในมูตรแลกรีสของตนกลิ้ง เกลือกไปมาดวยความเวทนาเปนกําลัง พระภิกษุรูปหนึ่งไดเห็นดังนั้นจึงกลาววา “อโห ทุกฺขา ชีวิต สงฺขารา” โอหนอ สังขารอัน บัณฑิตกลาววาชีวิตนี้ยอมจะนํามาซึ่งทุกข

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 61 พระมหาเถรเจาจึงกลาวกับพระภิกษุหนุมนั้นวา ดูกรอาวุโส เมื่อจะกระทํากาลกิริยาตายลง ในกาลบัดนี้ เราก็จะไดสมบัติในสวรรคความสงสัยในมรณะนี้ไมมีแกเรา อนึ่ง เราจะทําลายศีลของเรานี้แลวแลจะไปไดสมบัตินั้น ก็เหมือนเราละเสียซึ่งอธิศีลสิกขา แลวไดสภาวะแหงเราเปนคฤหัสถ พระผูเปนเจากลาวดังนี้แลวจึงดําริวา “สีเลเนว สทฺธึ มริสฺสามิ” เราจะกระทํากาลกิริยา ตายกันดวยศีล ก็นอนอยูดวยประการนั้นพิจารณาซึ่งเวทนา อันบังเกิดขึ้นเพราะเหตุโรคบรรลุถึงพระ อรหันตแลวก็กลาวพระอรหันตแกพระภิกษุสงฆ ดวยพระคาถาทั้งหลายวา “ผุฏสฺสิ เม อฺญตเรน พยาธินา โรเคน พาฬฺหํ ทุกขิตฺตสฺส รุปฺปโต ปริสุสฺสติ” เปนอาทิดังนี้ อรรถาธิบายในบาทพระคาถาวา “อิติ เกฬวรํ” กเฬวระรางกายแหงเรานี้ พยาธิอันใด อันหนึ่งถูกตองแลว ก็กระทําสรีระใหถึงซึ่งวิกาลดวยโรคอันยิ่ง ไดรับความเดือดรอนเสวยทุกขเวทนา เหี่ยวแหงไปโดยเร็วโดยพลัน มีอุปไมยดุจดังวาดอกไมมีดอกซีกเปนอาทิอันบุคลวางไวในที่มีแสง แหงพระอาทิตยอันรอน “ยตฺถปฺปมตฺตา อธิมุจฺจิตาปชา” สัตวทั้งหลายมีจิตประมาทปราศจากสติ มากไปดวยความกําหนัดในกายอันเปอยเนาอันใด ยิ่งศีลเปนอาทิ อันเปนหนทางที่จะยังตนใหไป บังเกิดในสวรรคใหวิบัติฉิบหาย ดังเราติเตียน กายเราเปอยเนานี้ มิไดเปนที่ยังจิตใหเจริญเปนที่พึงเกลียด คนพาล สรรเสริญวาเปนที่ชอบใจเปนที่รัก อนึ่งกายนี้ไมสะอาดคนพาลกวาวาสะอาด กายนี้เต็มไปดวยอสุจิ ตาง ๆ คนพาลไมคิดเห็นวาจะนํามาซึ่งทุกข ยอมสรรเสริญวาดีวางามตามวิสัยโลกอันนี้ กายอันเนานี้มี กลิ่นอันชั่ว เปนอสุจิประกอบดวยพยาธิกรรมกระทําใหไดความคับแคน “อรหนฺตาทีนํ สีลํ” อันนี้ศีลแหงพระอรหันตอริยบุคคลทั้งหลาย มีองคพระสัมมาสัมพุทธ เจาเปนอรหันตเปนประธาน บัณฑิตพึงรู ชื่อวาปฏิปสสิทธิปาริสุทธิศีล เพราะเหตุบริสุทธิ์ดวยกิริยาที่ ระงับกระวนกระวายมีราคะเปนอาทิ ศีลมี ๕ ประการ มีปริยันตปาริสุทธิศีลเปนตน ดังพระราชทานวิสัชนามานี้ ดังนี้

แตนี้จะวินิจฉัยในศีลมี ๕ ประการเปนคํารบ ๒ บัณฑิตพึงรูโดยนัยแหงคําอันเราจะกลาว

“ปาณาติปาตาทีนํ อตฺโถ” อรรถแหงศีล ๕ ประการมีปาณาติบาตเปนตน นักปราชญพึงรู ดวยประเภทแหงเจตนาเหตุสละเปนอาทิสมดวยพระบาลี ที่พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรกลาวไวใน ปฏิสัมภิทาวา ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ศีลมี ๕ ประการ คือกิริยาที่จะเสียสละซึ่งปาณาติบาต ก็ชื่อวาศีลประการ ๑ คือเจตนาเปนที่จะเวนจากปาณาติบาต ก็ชื่อวาศีลประการ ๑ คือเจตนาอันเปนขาศึกแกปาณาติบาต ก็ชื่อศีลประการ ๑ คือสังวรปดไวซึ่งชองอันเปนที่เขาไปแหงปาณาติบาต ก็ชื่อวาศีลประการ ๑ คือกริยาที่ไมกระทําใหลวง คือไปยังสัตวอันมีปาณะใหตกพลันก็ชื่อวา ศีลประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 62 ศีลนั้นอันประพฤติเปนไปในปาณาติบาต มี ๕ ประการดวยกันดังนี้ ในอทินนาทาน และกาเสุมิจฉาจาร แลมุสาวาท แลเปสุญวาท แลผรุสวาท แล สัมผัปปลาปวาท และอภิชฌา แลพยาบาท แลมิจฉาทิฏฐิ กรรมบถ ๙ ประการนี้ ก็จัดเปนศีลสิ่งละหา ๆ คือปหานศีลแลเวรมณีศีลแลเจตนาศีล แลสังวโรศีล แลอวิติกกโมศีลเหมือนหนึ่งปฐมกรรมบถคือ ปาณาติบาตนั้น การที่จะสละเสียแลเวนเสีย แลเจตนาคือกิริยาที่จะคิดและสังวรปดไวซึ่งชอง แลมิได กระทําใหลวงซึ่งความปรารถนาในกามดวยเนกขัมมะ คือ ไมโลภ ซึ่งพยาบาทดวยไมมีพยาบาท ซึ่ง ถีนมิทธะคืองวงเหงาหาวนอนดวยอาโลกสัญญา คือยังสวางอันปรากฏดวยมนสิการกระทําใหแจงให บังเกิดมี ซึ่งอุทธัจจะฟุงซานดวยสมาธิซึ่งวิกิจฉาสงสัยวินิจฉัยโดยแทซึ่งธรรม มีกรรมอันเปนกุศลเปน ตน ซึ่งอวิชชาดวยปญญา ซึ่งไมยินดีดวยปราโมทย แลการที่จะละเสียและเวนเสียแลปดไวซึ่งชอง แลมิไดกระทําใหลวงนิวรณธรรมทั้งหลาย ดวยปฐมฌาน ซึ่งวิตกแลวิจารทั้งหลายดวยทุติยฌานซึ่งปติดวยตติยฌาน ซึ่งสุขแลทุกขดวยจตุตถ ฌาน ซึ่งรูปสัญญาคือสําคัญวารูป แลปฏิฆสัญญาสําคัญวาครืดครือ แลนานัตตสัญญาสําคัญวาตาง ๆ ดวยอากาสานัญจยตนสมาบัติ ซึ่งอากาสานัญจายตนสัญญาดวยวิญญาณัญจายตนสมาบัติ ซึ่งอา กิญจัญญายตนสัญญาดวยเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติก็จัดเปนศีลสิ่งละหา ๆ ดุจเดียวกัน อนึ่ง การที่จะละเสียและเวนเสีย และเจตนา แลสังขารและไมกระทําใหลวงซึ่งนิจจสัญญา คือสําคัญวาเที่ยงดวยอนิจจานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ วาไมเที่ยง ซึ่งสุขสัญญาคือสําคัญวาเปนสุข ดวยทุกขานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ วานํามาซึ่งทุกข ซึ่งอัตตสัญญาสําคัญวาตนดวยอนัตตาทุปสสนา เห็นเนื่อง ๆ วาไมใชตน ซึ่งความยินดีคือตัณหาอันเปนไปกับดวยปติ ดวยนิพพิทานุปสสนาเห็นเนือง ๆ ดวยอาการอันเหนื่อยหนายในสังขารธรรมทั้งหลาย ซึ่งราคะดวยวิราคานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ ดวยอาการอันไปปราศจากความยินดี ซึ่งสมุทัยคือตัณหานิโรธานุปสสนาคือเห็นเนือง ๆ ซึ่งนิโรธคือ ความดับแหงตัณหา ซึ่งจะสละเสียไดดวยมุญจิตุกามยตานุปสสนาคือเห็นเนือง ๆ ซึ่งภาวะปรารถนา เพื่อจะสละเสีย ซึ่งถือเอาดวยสามารถวาเที่ยงเปนอาทิ ดวยปฏินิสสัคคานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ ซึ่ง สละตอบ คือสละคืนซึ่งฆนสัญญาสําคัญวาเปนแทงดวยขยานุปสสนาคือเห็นเนือง ๆ วาสิ้นไป ซึ่ง อายุหนะคือตกแตงไวดวยวยานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ วาประลัยไป ซึ่งธุวสัญญาสําคัญวาเที่ยงดวย ปริณามานุปสสนา คือเห็นเนือง ๆ วามิไดตั้งมั่นแหงสังขารธรรมทั้งหลาย ซึ่งราคาทินิมิตดวยอนิมิตตา นุปสสนา เห็นเนือง ๆ วาใชนิมิตซึ่งปณิธิมีราคาปณิธิเปนตนดวยอัปปณิหิตานุปสสนา เห็นเนือง ๆ วา ไมทรงอยู ซึ่งอภินิเวส ความถือมั่นดวยสุญญตานุปสสนา เห็นเนือง ๆ วาสูญวาเปลาซึ่งวิปลาสคืออัน ถือเอาวามีสารในธรรมทั้งหลาย อันหาแกนสารมิได ดวยอันเห็นซึ่งธรรมดวยปญญาอันเที่ยง คือ พิจารณาเห็นธรรมอันยุตติในภูมิ ๓ คือกามาวจรภูมิ แลรูปาวจรภูมิ แลอรูปาวจรภูมิ ดวยสามารถเปน อนิจจังไมเที่ยง เปนทุกขังนํามาซึ่งทุกข เปนอนัตตาไมใชตน แลละเสียเวนเสียแลมีเจตนาแลมีสังวรแลไมลวง ซึ่งถือเอาดวยความหลงวาโลกนี้ อิสสร เทวราชตกแตงเปนอาทิ ดวยยถาภูตญาณทัสสนะ เห็นเนือง ๆ ซึ่งพระไตรลักษณ อันถึงซึ่งภาวะเปน ธรรมอันตั้งมั่น ซึ่งอันถือเอาซึ่งภาวะเปนที่พึ่ง แลเปนที่เรนในสังขารธรรมทั้งหลาย ดวยอาทีนวา นุปสสนาเห็นเนือง ๆ ซึ่งโทษ ซึ่งมิไดสละเสียซึ่งสังขารทั้งหลาย ดวยปฏิสังขารานุปสสนาคือเห็นเนือง ๆ ซึ่งสละเสียซึ่ง สังขารธรรมทั้งหลาย ซึ่งอันถือเอาซึ่งสังโยคคือจะประกอบไวดวยดี ดวยวิวัฏฏานุปสสนาเห็นเนือง ๆ ซึ่งวิวัฏ คือปราศจากที่อันเปนที่วนคือสังขาร แลสละเสียเวนเสียแลเจตนาแลสังวรแลไมใหหลงซึ่ง กิเลสทั้งหลาย อันเปนเอกัฏฐานบังเกิดกับดวยทิฏฐิดวยพระโสดาปตติมรรคซึ่งกิเลสทั้งหลายอัน หยาบดวยพระสกิทาคามิมรรค ซึ่งกิเลสทั้งหลายอันเบาบางบังเกิดแลวดวยพระอนาคามีผลมรรค แล ละเสียแลเวนเสียแลเจตนาและสังวรแลมิไดกาวลวงแหงกิเลสทั้งปวง ดวยพระอรหัตตมรรคก็จัดเปน ศีลสิ่งละหา ๆ ดุจเดียวกันดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 63 “เอวรูปานิ สีลานิ” ศีลทั้งหลายที่พรรณนามานี้ ยอมจะประพฤติเปนไป คือจะมิให เดือดรอนกินแหนงแหงจิต แลจะประพฤิตเปนไปเพื่อจะใหไดดรุณปติ คือปติอันออน แลจะประพฤติเปนไปเพื่อจะใหไดพลวปติ คือปติอันกลามีกําลัง แลจะประพฤติเปนไปเพื่อจะใหไดปสสัทธิ ระงับกาย แลวาจา แลจะประพฤติเปนไปเพื่อจะใหไดโสมนัส แลจะประพฤติเปนไปเพื่อจะใหไดเสพซึ่งสมาธิ แลจะประพฤติเปนไปเพื่อจะยังสมาธินั้นใหเจริญ แลจะกระทําใหมากซึ่งสมาธิ และจะกระทําประดับซึ่งพระสมาธินั้น และเปนไปเพื่อจะเปนสัมภาระแหงพระสมาธิ แลจะยังธรรมวิเศษมีมติและวิริยะเปนอาทิ อันบังเกิดเปนบริวารแหงสมาธิใหถึงพรอม แลจะยังสมาธิใหบริบูรณ แลจะใหเหนื่อยหนายเตภูมิกธรรม และใหประพฤติเปนไปเพื่อ วิราคะ คือปราศจากยินดี และจะเปนไปเพื่อนิโรธแลเขาไปใกลระงับ แลตรัสรูยิ่งแลตรัสรูดวย และจะประพฤติเปนไป เพื่อจะใหไดสําเร็จแกพระนิพพานอันหาปจจัยมิได ในบทคือ “ปหานํ” แปลวาสละชื่อวาหานศีลที่ ๑ นั้น มีอรรถสังวรรณนาวา “โกจิ ธมฺโม นาม นตฺถิ” ธรรมอันใดอันหนึ่งเวนจากมาตรวา คืออันจะยังบาปทั้งหลายมีปาณาติบาตเปนตน มี ประการอันเรากลาวแลวไมใหบังเกิดขึ้นนั้น จะไดชื่อวาปหานะหาบมิได อนึ่ง กิริยาที่จะสละเสียซึ่งอกุศลธรรมนั้น ๆ มีสละปาณาติบาตเปนตน ชื่อวาอุปธารณะ ดวย อรรถวา คือสภาวะที่สละบาปธรรมนั้นเปนที่ตั้งแหงกุศลกรรมนั้น ๆ แลชื่อวาสมาทาน เพราะเหตุวาไม กระทําใหเรี่ยราย เหตุใดเหตุดังนั้น การที่สละละอกุศลธรรมนี้ พระธรรมเสนาบัติสารีบุตรจึงมีเถรวาทเรียกชื่อ วาศีล ดวยอรรถคือสภาวะบาปธรรมนั้นชื่อวาสีลนา กลาวคือเปนที่ตั้ง แลมิไดกระทําใหเรี่ยราย ศีลทั้ง ๔ คือเวรมณีศีลแลเจตนาศีล แลสังวโรศีลแลอวิติกกโมศีลนั้น พระธรรมเสนาบดีสา รีบุตร ก็กลาวสหายเอาซึ่งสภาวะ คือประพฤติเปนไปแหงจิตที่จะเวนจากอกุศลกรรม มีปาณาติบาต เปนตนนั้น ๆ แลจะประพฤติเปนไปแหงจิต ที่จะปกปดไมใหชองแกอกุศลมีปาณาติบาตเปนตนนั้น ๆ แลจะประพฤติเปนไปแหงจิต ดวยสามารถแหงเจตนาอันประกอบดวยเอกุปปาทิปหาน เกิด กับดับพรอมดวยเวรมณีแลสังวรทั้ง ๒ นั้น แลจะประพฤติเปนไปแหงจิตที่จะไมลวง ปาณาติบาตเปนตนนั้น ๆ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

แหงบุคคลอันมิไดลวงซึ่งอกุศลธรรม

มี


- 64 อนึ่ง อรรถคือศีลนะแหงศีลทั้งหลายมีเวรมณีศีลเปนตน ขาพระองคมีนามชื่อวาพุทธโฆษา จารยแสดงแลวในหนหลัง “เอวํ ปญจวิธํ สีลํ” ศีลมี ๕ ประการ โดยประเภทมีปหานศีลเปนประธาน ดังวิสัชนามา ดังนี้ กิริยาที่วิสัชนาซึ่งอรรถปญหาที่ถามวา “กึ สีลํ” ธรรมดังฤๅชื่อวา ศีล แลถามวาธรรมชื่อวาศีลนั้นดวยอรรถเปนดังฤๅ แลธรรมดังฤๅ ชื่อวาลักษณะแลเปนกิจแลเปนผลแลเปนอาสันนเหตุแหงศีล แลถามวา ศีลนี้มีธรรมดังฤๅเปนอานิสงส แลถามวาศีลนี้มีประการเทาดังฤๅ ก็ตั้งอยูแลวดวยอาการอันสําเร็จ โดยลําดับแหงพระบาลีมีประมาณเทานี้ “ยํ ปน วุตฺติ” อันหนึ่งปญหากรรมคําปุจฉาอันใด ที่กลาวไววา “โก จสฺส สงฺกิเลโส” ธรรมดังฤๅชื่อวาสังกิเลส คือเศราหมองแหงศีลแลธรรมดังฤๅชื่อ บริสุทธิ์แหงศีล เราจะวิสุชนากลาวแกในปญาหากรรมที่ถามนั้น สภาวะมีศีลขาดเปนอาทิ ชื่อวาสังกิเลสคือเศราหมองแหงศีล สภาวะมีศีลไมขาดเปนอาทิ ชื่อวาบริสุทธิ์แหงศีล สภาวะธรรมที่จะกระทําใหมีศีลขาดเปนอาทินั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนา ประสงคเอาดวยการที่จะทําลายมีลาภแลมียศเปนอาทิ เปนเหตุที่จะใหทําลายดวยเมถุนสังโยค ๗ ประการ “ตถา หิ” คําที่กลาวดังนั้นจริง “ยสฺส สิกฺขาปทํ ภินฺนํ” สิกขาบทแหงพระภิกษุใดทําลาย ในเบื้องตนก็ดี ในที่สุดก็ดี ในอาบัติขันธทั้ง ๗ “ตสฺส สีลํ ปริยเนฺต” ศีลแหงพระภิกษุนั้นก็ชื่อวาขาด ดุจดังผาสาฎกอันขาดโดยภาคทั้งหลาย อนึ่ง ศีลแหงพระภิกษุรูปใดทําลายในทามกลาง ศีลแหงพระภิกษุนั้น ชื่อวาเปนชองดุจดัง ผาสาฎกอันทะลุเปนชองอยูในทามกลาง ศีลแหงพระภิกษุใดทําลายทั้งสองทั้งสามสถานโดยลําดับ ศีลแหงพระภิกษุนั้น ก็เปนศีล อันดางพรอย ดุจดังโคมีสีดําแลสีแดงเปนอาทิ เปนสีอันใดอันหนึ่งดวยวรรณอันเปนวิสภาค มีสวนแหง สีมิไดเสมอกันคือดําบางแดงบาง อันตั้งขึ้นในหลังแลทอง “ยสฺส อนฺตรนฺตรา ภินฺนานิ” ศีลทั้งหลายแหงพระภิกษุใดทําลายในระหวางแลระหวาง ศีลแหงพระภิกษุนั้น ชื่อวาพรอมดุจดังวาโคมีสรีระอันเปนของดางดวยสีอันเปนวิสภาคมีสวนมิไดเสมอ กัน “เอวํ ตาว ลาภทิเหตุเกน” สภาวะแหงศีลมีศีลอันขาดเปนตน ดวยทําลายเพราะเหตุลาภ เปนอาทิ บัณฑิตพึงรูวามีดวยประการดังนี้กอนเอวํ ก็มีดวยประการดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 65 “กถํ เอวํ สตฺตวิธเมถุนสํโยควเสน วุตฺตํ หิ ภควตา อิธ พฺราหฺม เอกจฺโจ สมโณวา พฺ ราหฺมโณ วา สมฺมา พฺรหฺมจารี ปฏิชานมโน น เหวโข มาตุคาเมน สทฺธึ ทฺวยสมาปตฺตึ สมาปชฺชติ อปจโข มาตุคามสฺส อุจฺฉานํ ปริมทฺทนํ นหาปนํ สมฺพาหนํ สาทิยติ โส ตทสสาเทติ ตํ นิกาเมติ เตน จ วิตฺตึ อาปชฺชติ อทํป โข พฺราหฺมณ พฺรหฺมจริยสฺส ขณฺฑมฺป ฉิทฺทมฺปส พลมฺป กมฺมาสมฺป อยํ วุจฺจติ พฺราหฺมณ อปริสุทฺธํ พฺรหมจริยํ จรติ สํยุตฺโต เมถุนสํโยเคน น ปริ มุจฺจติ ชาติยา ชรายมรเณน ฯลฯ” วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในเมถุนสังโยค ๗ ประการ อันมีในศีลนิเทศนี้ สืบ อนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลีมีเนื้อความเปนปุจฉาถามวา “กถํ เกน ปกาเรน” สภาวะมีศีลขาดเปนตนนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนา ประสงคเอาดวยเมถุนสังโยค ๗ ประการนั้น ดวยประการดังฤๅ มีคําอาจารยวิสัชนาวาสภาวะมีศีลขาดเปนตน ที่องคพระบรมศาสดาตรัสเทศนาประสงค เอาดวยเหตุแหงเมถุนสังโยค ๗ ประการนั้น นักปราชญพึงรูโดยนัยที่เราจะแสดงนี้ ๑. “วุตตํ หิ ภควตา” แทจริงองคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนากับมหาพราหมณ ที่มาทูลถามซึ่งความปฏิบัติแหงสมณะแลพราหมณในโลกนี้วา “อิธ พฺราหฺมณ เอกจฺโจ” ดูกร พราหมณ สมณะ แลพราหมณจําพวกหนึ่งในโลกนี้ปฏิญาณตนวา เปนบุคคลประพฤติพรหมจรรยดวย อาการอันดี “น เหวโข มาตุคาเมน สทฺธึ” สมณะแลพราหมณนั้น ไมยินดีอยูเปนคูสองแลสองกับ ดวยมาตุคามแตที่วายินดีซึ่งอันอบสรีระแลนวดนั้น แลยังตนใหอาบแลลูบคลําแหงมาตุคาม แลยิ่งดียิ่ง นักและปรารถนาซึ่งอันอบสรีระเปนอาทิแหงมาตุคาม “อิทําปโข พฺราหฺมณ” ดูกรพราหมณความ ยินดียิ่งนักแล แลความปรารถนาซึ่งวัตถุมีอันอบซึ่งสรีระ เปนอาทิแหงมาตุคามนี้ชื่อวาขาดชื่อวาเปน ชอง ชื่อวาดางชื่อวาพรอมแหงพรหมจรรยของสมณะแลพราหมณนั้น “อยํ วุจฺจติ พฺราหฺมณ” ดูกร พราหมณสมณะ และพราหมณจําพวกนี้บุคคลที่มีปญญาดําเนินดวยญาณคติเหมือนตถาคตอยางนี้ รองเรียกสมณะแลพราหมณจําพวกนี้ประพฤติพรหมจรรยไมบริสุทธิ์ ประกอบดวยเมถุนสังโยค ไมพน จากชาติทุกข ชราทุกข มรณทุกข ไมพนจากทุกขธรรมทั้งปวง ๒. “ปุน จ ปรํ” เหตุอันอื่นมีใหมเลา “อิเธกจฺโจ สมโณ วา พฺราหฺมโณ วา” ดูกร พราหมณ สมณะแลพราหมณในโลกนี้ ประพฤติพรหมจรรยดวยอาการอันดี มิไดมีคูอยูกับจาตุคาม ใช แตเทานั้นไมยินดีซึ่งอันอบสรีระแหงมาตุคาม อนึ่งโสด สมณะแลพราหมณนั้นหัวเราะใหญดวยสามารถแหงกิเลสเลนดวยสามารถกายสัง สัคคะระคนกายแอบอิงกับดวยมาตุคาม แลยินดีซึ่งแยมหัวดวยสามารถแหงกิเลสเปนอาทิ กับดวย มาตุคาม “อยํวุจฺจติ พฺราหฺหมณ” ดูกรพราหมณ สมณะแลพราหมณจําพวกนี้ ตถาคตกลาววาเปน สมณะแลพราหมณประพฤติพรหมจรรย มิไดบริสุทธิ์ประกอบดวยเมถุน สังโยค มิไดพนจากชาติทุกข แลชราทุกข แลมรณทุกข แลมิพนจากทุกขธรรมทั้งปวง ๓. “ปุน จปรํ” เหตุอันอื่นยังมีใหมเลา ดูกรพราหมณ “อิเธกจฺโจสมโณ วา พฺราหฺมโณ วา” สมณะแลพราหมณจําพวกหนึ่งในโลกนี้ ไมถึงพรอมเปนคูอยูกับดวยมาตุคาม ไมยินดีซึ่งอันอบ สรีระแหงมาตุคาม ไมหัวเราะดังดวยอํานาจแหงกิเลส ไมเลนดวยสามารถกายสังสัคคะระคนกับดวย กาย ไมหยอกเอินดวยมาตุคามดวยประการทั้งปวง อนึ่ง สมณะแลพราหมณนั้น เขาไปใกลมาตุคามดวยจุกษุแหงตน แลยินดีที่จะยังแหงตน ใหตอบตอมาตุคาม “อยํ วุจฺจติ พฺราหฺมณ” ดูกรพราหมณ สมณะแลพราหมณจําพวกนี้ ตถาคตกลาววาเปน สมณะแลพราหมณ ประพฤติพรหมจรรยไมบริสุทธิ์ ประกอบดวยเมถุนสังโยค ไมพนจากชาติทุกขแล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 66 ชราทุกขแลมรณทุกข ไมพนจากทุกขธรรมทั้งปวง ๔. “ปุน จ ปรํ” เหตุอันอื่นมีใหมเลา ดูกรพราหมณ “อิเธกจฺโจสมโณ วา พฺราหฺมโณ วา” สมณะแลพราหมณจําพวกหนึ่งไมเขาไปใกลแลวแลดูยิ่งนักซึ่งมาตุคามดวยสามารถแหงราคะ ไม แลดูมาตุคามดวยตาแหงตน “อปจโข มาตุคามสฺส” อันหนึ่งสมณะแลพราหมณนั้น ฟงซึ่งเสียงแหงมาตุคาม ยินดีที่จะ สดับฟงซึ่งเสียงแหงหญิงอันหัวเราะแลกลาวถอยคําแลมาขับแลรองอยูในภายนอกฝาแลอยูใน ภายนอกกําแพง ดูกรพราหมณสมณะแลพราหมณยินดีดังนี้แลว ก็ชื่อวาขาดชื่อวาทะลุชื่อวาดางชื่อวา พรอยแหงพรหมจรรยสมณะแลพราหมณจําพวกนี้ ตถาคตกลาววาเปนสมณะแลพราหมณประพฤติ พรหมจรรยไมบริสุทธิ์ ประกอบดวยเมถุนสังโยคไมพนจากชาติทุกขแลชราทุกข ไมพนจากทุกขธรรม ทั้งปวง ๕. “ปุน จ ปรํ” อันวาเหตุอันอื่นมีใหมเลา ดูกรพราหมณ “อิเธกจฺโจ สมโณ วา พฺราหฺม โณ วา” สมณะแลพราหมณจําพวกหนึ่งในโลกนี้ ไมถึงซึ่งเปนคนคูอยูเปนสองดวยมาตุคาม ไมยินดี ซึ่งอันอบแหงสรีระอันเปนอาทิดวยมาตุคาม ไมหัวเราะใหญดวยสามารถแหงกิเลส ไมเลนดวย สามารถแหงกายสังสัคคะระคนกับดวยมาตุคาม ไมเพงดูจักษุแหงมาตุคามดวยจักษุแหงตน ไมฟง เสียงแหงมาตุคามอันหัวเราะเปนอาทิในภายนอกฝาในภายนอกกําแพง ไมระลึกเนือง ๆ ซึ่งอันหัวเราะ อันกลาวอันเลนกับดวยมาตุคาม ๖. “อปจโข ปสฺสติ”” อนึ่งสมณะและพราหมณนั้น เห็นซึ่งคฤหบดีและบุตรแหงคฤหบดี อันอิ่มไปดวยปญญากามคุณ อันพรอมเพรียงดวยปญจกามคุณ อันบุคคลทั้งหลายบําเรอดวยปญจ กามคุณ ยินดีซึ่งกิริยาที่คฤหบดีและบุตรของคฤหบดี อันอิ่มไปดวยปญจวิธกามคุณนั้น พรหมจรรย ของสมณะแลพราหมณจําพวกนี้ก็ขาดทะลุ ก็ดางพรอยไป “อยํวุจฺจติ พฺราหฺมณ” ดูกรพราหมณ สมณะและพราหมณจําพวกนี้ตถาคตรองเรียกวา เปนสมณะและพราหมณประพฤติพรหมจรรยไม บริสุทธิ์ ประกอบดวยเมถุนสังโยคไมพนจากชาติชราและมรณะ ไมพนจากทุกขธรรมทั้งปวง ๗. “ปุน จ ปรํ” อันวาเหตุอันอื่นมีใหมเลา ดูกรพราหมณ “อิเธกจฺโจ สมโณ วา พฺราหฺม โณ วา” สมณะและพราหมณจําพวกหนึ่งในโลกนี้ ไมยินดีไมปรารถนา ไมถึงซึ่งความยินดีดังกลาว แลวในหนหลัง ไมดูคฤหบดีและบุตรคฤหบดี อันอิ่มไปดวยกามคุณเปนอาทิอันบุคคลบําเรออยู “อปจ โข อฺญธรเทวนิกายํ”อนึ่ง สมณและพราหมณนั้นปรารถนาจะเปนเทพยดาองคใดองคหนึ่ง จึง ประพฤติพรหมจรรยดวยความปริวิตกวาเราจะเปนเทพยดาและเทวดาองคใดองคหนึ่งดวยศีลอันนี้ ดวยวัตรอันนี้ ประพฤติซึ่งธรรมอันบุคคลมิอาจประพฤติไดนี้ ดวยพรหมจรรยประพฤติธรรมอันประเสริฐ นี้ “โส ตทสฺสาเทติ” สมณะและพราหมณนั้นก็ยินดีและปรารถนาซึ่งการอันจะเปนเทพยดานั้น และถึง ซึ่งความยินดีดวยกิริยาที่จะเปนเทพยดานั้น “อิทํป พฺราหฺมณ พฺราหมจริยสฺส” ดูกรพราหมณสมณะ และพราหมณประพฤติพรหมจรรย ดวยปริวิตกวาจะเปนเทพยดาดังนี้ ชื่อวาขาดชื่อวาทะลุทําลายชื่อ วาดางพรอยแหงพรหมจรรย บัณฑิตพึงรูวา สภาวะมีขาดเปนอาทิแหงพรหมจรรย องคสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจา ตรัสเทศนา ประสงคเอาดวยประเภทมีลาภเปนตน เปนเหตุปจจัย และเมถุนสังโยค ๗ ประการ ดังรับ พระราชทานถวายวิสัชนา มาดังนี้ “อขณฺฑทิภาโว ปน” อนึ่ง สภาวะที่มิไดขาดเปนอาทิแหงพรหมจรรยนั้น องคสมเด็จพระ ผูทรงพระภาคตรัสเทศนาประสงคเอาดวยมิไดทําลายสิกขาบททั้งหลายทั้งปวง และการกระทําซึ่ง เยียวยาสิกขาบทที่ทําลายแลวจะกระทําคืนไดดวยเทศนาแสดงซึ่งอาบัติเปนอาทิ และสภาวะหามิได แหงเมถุนสังโยค ๗ ประการ และมิไดบังเกิดขึ้นแหงธรรมทั้งหลายอันลามกอันอื่นมีความโกรธและผูก เวรและลบหลูคุณทาน และถือเอาเปนคูและอิสสาอดกลั้น มิไดซึ่งสมบัติแหงบุคคลผูอื่น และมัจฉริยะ ซอนไวแหงตน และมารยาปดไวซึ่งโทษแหงตน และสาไถยแสดงซึ่งคุณแหงตนมิได และถัมภะมีจิต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 67 กระดาง และสารัมภะกลาวใหยิ่งกวาเหตุ และมานะและอติมานะ และมัวเมาแและประมาทเปนอาทิ และทรงสงเคราะหดวยอันบังเกิดขึ้นแหงคุณทั้งหลาย มีอัปปจฉตาคุณ ปรารถนานอยไมมากนัก และ สันตุฏฐิคุณ คือยินดีดวยปจจัยแหงตน และสัลเลขคุณ กระทําใหเบาบางจากกิเลส เปนตน “ยานิ หิ สีลานิ” แทจริง ศีลทั้งหลายใด มิไดทําลายดวยประโยชนลาภและยศเปนอาทิ และทําลายดวยโทษ คือประมาทแตทวาเยียวยาไดเปนศีลอันธรรมทั้งหลายเปนบาป คือประกอบดวย เมถุน และโกรธและผูกเวรเปนตนไมจํากัดได “ตานิ สพฺพโส อขณฺฑาติ” ศีลทั้งหลายนั้น องคพระ ตถาคตก็เรียกวาไมขาด ไมทะลุทําลาย ไมดางไมพรอย “ตานิ จ สีลานิ” อนึ่ง ศีลทั้งหลายนั้น ชื่อวาเปนไป เพราะเหตุกระทําไมใหเปนทาสแหง ตัณหา เหตุศีลทั้งหลายอาศัยวิวัฏฏสมบัติคือจะใหสําเร็จแกพระนิพพาน และชื่อวาวิญูปสัฏฐา เพราะเหตุอันพระอริยบุคคลทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนประธานตรัสสรรเสริญ และชื่อวาอปรามัฏฏศีล เพราะเหตุอันตัณหาและทิฏฐิทั้งหลายมิไดถือเอาศีลทั้งหลายนั้นยอมจะยังอุปจารสมาธิและอัปปนา สมาธิใหประพฤติเปนไป เหตุการณดังนั้นจึงไดชื่อวายังสมาธิใหประพฤติเปนไป เหตุใดเหตุดังนั้น สภาวะคือมิไดขาดมิไดทําลาย มิไดดาง มิไดพรอย แหงศีลทั้งหลายนั้น ชื่อวาบริสุทธิ์บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง กิริยาที่บริสุทธิ์แหงศีลสําเร็จดวยอาการ ๒ ประการ คือเห็นโทษที่วิบัติจากศีลประการ ๑ คือเห็นซึ่งอานิสงสแหงบริบูรณดวยศีลประการ ๑ เปน ๒ ประการดวยกัน โทษแหงวิบัติจากศีลนั้น นักปราชญพึงรูโดยนัยแหงพระสูตรที่องคสมเด็จพระผูทรงพระ ภาคตรัสเทศนาไว โดยนัยเปนอาทิวา “ปฺจิเม ภิกฺขเว อาทีนวา” ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษแหงวิบัติ จากศีลแหงบุคคลอันทุศีลมี ๕ ประการ นัยหนึ่ง “ทุสฺสีโล ปุคคโล” บุคคลที่ไมมีศีลนั้น ไมเปนที่รักแหงเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย เพราเหตุวาตนเปนบุคคลไมมีศีล และเปนที่เกลียดชังแหงสพรหมจารีทั้งปวง และถึงซึ่ง ความทุกขเพราะเหตุชนทั้งหลายติเตียนตนวาเปนบุคคลไมมีศีล และจะบังเกิดวิปฏิสารเดือดรอนกิน แหนง ในกาลเมื่อชนทั้งหลายสรรเสริญซึ่งบุคคลอันมีศีล “ตาย จ ปน ทุสฺสีลตาย” อนึ่ง บุคคลที่ไมมีศีลนั้น เปนชนมีผิวสรีระอันชั่ว ดุจดังวาผาสา กฎกอันบุคคลทอดวยปาน เพราะเหตุไมมีศีล อนึ่ง บุคคลทั้งหลายใดถึงซึ่งทิษฐานนุคติ ดูเยี่ยงดูอยางปฏิบัติตามบุคคลที่ไมมีศีลนั้น ทุกขสัมผัสถูกตองอันจะนํามาซึ่งทุกข ก็จะบังเกิดมีแกบุคคลทั้งหลายนั้น เพราะเหตุจะนํามาซึ่งอบาย ทุกขสิ้นกาลชานาน อนึ่ง บุคคลที่ไมมีศีลนั้น ถือเอาซึ่งไทยธรรมวัตถุที่บุคคลพึงใหแกทายกทั้งหลายใด ไทย ธรรมนั้นก็มีคานอย เพราะเหตุไมกระทําใหมีผลมากแกทายกทั้งหลายนั้น บุคคลที่ไมมีศีลนั้น บัณฑิตชาติไมอาจชําระใหบริสุทธิ์ได มีอุปมาดุจขุมคูถอันสั่งสมอยูสิ้น ปเปนอันมาก “อุภโต ปริพาหิโร” อนึ่ง บุคคลทุศีลนั้น เสื่อมจากคุณสมบัติทั้งสอง คือสมบัติอันเปน ของแหงสมณะ และสมบัติอันเปนของแหงคฤหัสถมีอุปมาดุจดังวาถานฟน ใชแตเทานั้น “ภิกฺขุภาวํ ปฏิชานนฺโตป” บุคคลที่ไมมีศีลปฏิญาณตนวาเปนภิกษุ ก็มิได เปนภิกษุแทจริง มีอุปมาดุจดังวาลาอันติดตามซึ่งฝูงแหงโค “สตฺตุพฺพิโต” สะดุงอยูสิ้นกาลเปนนิจ ดุจดังวาบุรุษมีบุคคลทั้งปวงเปนเวร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 68 “อํสวาสรโห” ไมควรแกสังวาสแหงสพรหมจรรย ดุจดังวากเฬวระ แหงมนุษยอันตายแลว ถึงวาพระภิกษุเปนบุคคลอันทุศีลนั้น จะประกอบดวยคุณมีสดับพระพุทธวจนะเปนตน ก็ไม สมควรที่จะกระทําสักการะบูชาแหงพระภิกษุทั้งหลายอันเปนสพรหมจรรย ดุจดังวาสุสานประเทศปา ชาไมเปนของควรจะบูชาแหงพราหมณ “อภพฺโพ วิเสสาคเม” ไมควรในการตรัสรูธรรมวิเศษเหมือนคนตาบอดไมควรในการแล เห็นรูป “นิราโส สทฺธมฺเม” ไมมีความปรารถนาในปปตฏิติธรรมและปฏิเวธธรรม ดุจดังวากุมารอัน เกิดในตระกูลจัณฑาล อันมิไดมีความปรารถนาในราชสมบัติ อนึ่ง บุคคลเปนภิกษุอันทุศีลนั้นสําคัญวาเปนสุข คือจะไดซึ่งสวนแหงความทุกข อันองค พระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาในอัคคิขันธปริยายสูตร “หิ” ดังจะกลาวโดยพิสดาร “ภควา” องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค ผูมีพระพุทธญาณอัน ประจักษแจงผลแหงกรรมดวยอาการทั้งปวง “อติกกํ ทุกฺฏขํ เทเสนฺโต” เมื่อพระองคทรงแสดงซึ่ง ความทุกขอันเดือดรอนยิ่งนัก อาจจะยังใหรอนในหฤทัยใหบังเกิดแลว และใหรากโลหิตอันรอน ประพฤติเปนไปแกภิกษุทั้งหลายอันมิไดมีศีล มีจิตอันของอยูในความยินดีวา มีสุขมีบริโภคปญจกาม คุณ และเปนที่ไหวที่นับถือแหงชนทั้งหลายเปนอาทิ จึงตรัสถามพระภิกษุทั้งปวงวา “ภิกฺขเว” ดูกร ภิกษุทั้งหลาย “ปสฺสถ โน ตุมฺเห” ดังเราจะขอถามทานทั้งปวงแลเห็นกองเพลิงอันใหญนี้ อันไฟไหม รุงเรืองโดยรอบคอบมีประชุมเปลวอันบังเกิดแลวแลหรือ พระภิกษุทั้งหลายก็รับพระพุทธบรรหารวา “เอวํ ภนฺเต” ขาแตพระองคผูทรงพระภาคผู เจริญ ขาพระองคทั้งปวงไดเห็นแลว จึงตรัสวา “ตํ กึ มฺญถ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งปวงจะ สําคัญคําที่เราจะกลาวในกาลบัดนี้นั้น เปนดังฤๅ ดูกรพระภิกษุทั้งหลาย บุคคลจะเคลาคลึงสวมกอดแลว และนั่งทับและนอนทับกองอัคคี อันใหญนี้ อันเพลิงไหมรุงเรืองโดยรอบ มีประชุมเปลวอันบังเกิดแลว ดวยเวทนาอันใดก็ดี อันหนึ่ง บุคคลเคลาคลึงสวมกอดนางขัตติยกัญญา และนางพราหมณกัญญา และนางคฤหบดีกัญญา แลวนั่ง ใกลนอนใกล ดวยเวทนาอันใดก็ดี เวทนาทั้งสองนี้ขอไหนจะประเสริฐกวากัน พระภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลวา “ภนฺเต” ขาแตพระผูทรงพระภาคผูเจริญ บุคคลที่เคลา คลึงสวมกอดแลว ดวยเวทนาอันใด เวทนาอันนั้นไมประเสริฐ จึงตรัสวา “ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตถาคตจะบอกแกทานทั้งหลาย ตถาคตจะยังทาน ทั้งหลายใหรูอยางนี้วา “ยํ อมุ ํ มหนฺตํ” บุคคลผูใดสวมกอดซึ่งกองเพลิงอันไฟไหมรุงเรืองโดยรอบ มีประชุมเปลวบังเกิดแลว ดวยเวทนาอันใด เวทนาแหงบุคคลนั้นประเสริฐกวาภิกษุไมมีศีล มีสภาวะ ลามก มีมารยาทอันนารังเกียจชื่อวามิไดสะอาด เพราะมีกายกรรมเปนตนไมบริสุทธิ์ มีกรรมอันปกปด เหตุกรรมนั้นพึงละอายยังตนใหรูตนไมเปนสมณะ ปฏิญญาณตนวาเปนสมณะ ตนมิไดประพฤติธรรม อันประเสริฐ ปฏิญญาณตนวาประพฤติธรรมอันประเสริฐอันกรรมเบียดเบียนเขาไปภายในจิต เพราะ เหตุวิบัติจากศีล มีจิตอันชุมไปดวยโทษทั้งหลายมีหยากเยื่อ คือราคาทิกิเลสบังเกิดแลว “ตํ กิสฺส เหตุ” เหตุที่ตถาคตบอกแกทานทั้งหลายนั้น จะประพฤติเปนไปเพื่อเหตุดังฤๅ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่กอดกองเพลิงจะถึงซึ่งความตาย และจะถึงซึ่งเวทนาแทบบรรดาตาย เพราะเหตุกองเพลิงนั้น ก็ไมพึงไปบังเกิดในอบาย และทุคคติ และอสุรกาย และนรกเบื้องหนาแต ทําลายกาย เพราะเหตุกองเพลิงอันใหญไหมซึ่งตนนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 69 ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไมมีศีล มีธรรมอันลามก มีมรรยาทอันระลึกดวยรังเกียจ ชื่อวามิได สะอาด เพราะเหตุมีกายกรรมเปนตนไมบริสุทธิ์ มีกรรมอันปกปด เพราะเหตุกรรมนั้นควรจะพึงละอาย ตนไมเปนสมณะปฏิญญาณตนวาเปนสมณะ ตนไมประพฤติธรรมอันประเสริฐ มีกรรมอันเปอยเนาเขา ไปในภายใน เพราะวาวิบัติจากศีล มีจิตอันชุมไปดวยโทษ มีหยากเยื่อคือราคาทิกิเลสอันบังเกิดแลว “ขตฺติยกฺญํ วา พฺราหฺมณกญญํวา” เคลาคลึงสวมกอดนางขัตติยกัญญา และนางพราหมณ กัญญา และนางคฤหบดีกัญญา แลวและนั่งใกลและนอนใกล อกุศลกรรมของภิกษุนั้นก็จะประพฤติ เปนไปใหนํามาซึ่งสิ่งที่มิไดเปนประโยชน และจะนามาซึ่งทุกขสิ้นกาลชานานเบื้องหนาแตทําลายกาย ภิกษุนั้นจะไปบังเกิดในอบายและคติอันชั่วคืออสุรกายและนรก เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ “เอวํ อคฺคิขนฺโธปมาย อตฺถีปฏิพทฺธปฺจกามคุณปริโภคปฺ ปจฺจยํ ทุกขํ ทสฺเสตฺวา เอ เตเนว อุปาเยน ตํ กึ มฺญถ ภิกฺขเว กตมํ นุโข วรํ ยํ พลวา ปุริโส ทฬฺหาย วาลรชฺชุยา อุโภ ชงฺฆา เวเตฺวา “ํเสยฺย สา ฉวี ฉินฺเทยฺย ฉวึ เฉตฺวา จมฺมํ ฉินฺเทยฺย จมมํ เฉตฺวา มํสํ ฉินฺเทยฺย มํสํ เฉตฺวา นหารุ ํ ฉินฺเทยฺย นหารุ ํ เฉตฺวา อฏึ ฉินฺเทยฺย อฏึ เฉตฺวา อฏิมิฺชํ อาหจจ ติฏเ ยฺย ยํ วา ขตฺติยมหาสาลานํ วา พราหมณมหาสาลานํ วา คหปติ มหาสาลานํ วา อภิวาทตํ สาทิเยยฺยาติ ฯลฯ” วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในศีลนิเทศ อันมีในคัมภีรพระวิสุทธมรรคปกรณ สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี มีเนื้อความวา “ภควา” องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาแสดง ซึ่งทุกข มีบริโภคซึ่งกามคุณทั้ง ๕ อันเนื่องในหญิงเปนเหตุปจจัย ดวยอัคคิขันธรูปมาเทียบดวยกอง เพลิงดังนี้แลว จึงตรัสพระธรรมเทศนาตอไปวา “ตํ กึ มฺญถ ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานทั้ง ปวงจะสําคัญคําที่เราจะกลาวในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษที่มีกําลังพึงผูกพันซึ่งแขงทั้งสองของบุคคลดวยเชือกอันบุคคลฟน ดวยขนทรายอันมั่นมิไดขาด แลวพึงสีไปดวยสามารถที่จะใหเชือกนั้นตัดเขาไปในภายใน “สา ฉวึ ฉินฺ เทยฺย” เชือกนั้นก็พึงตัดเอาผิวหนังแหงทานทั้งปวง เมื่อเชือกนั้นตัดเอาผิวหนังแลว ก็จะพึงตัดเอาซึ่ง หนัง เมื่อตัดเอาหนังแลว ก็จะตองพึงตัดเอาซึ่งเนื้อ เมื่อตัดเอาซึ่งเนื้อแลว ก็จะพึงตัดเอาซึ่งเอ็น เมื่อ ตัดเอาซึ่งเอ็นแลว ก็จะพึงตัดเอาซึ่งอัฏฐิ เมื่อตัดเอาอัฐิแลว ก็จะพึงตัดเอาซึ่งเยื่อกระดูกแหงบุคคลผู นั้น ใหบุคคลผูนั้นไดความทุกขเวทนา อนึ่งดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไมมีศีลธรรมอันลามก ฯลฯ มีหยากเยื่อคือโทษอันบังเกิดแลว จะพึงยินดีซึ่งกิริยาที่ไหวนบเคารพรักใครแหงขัตติยมหาศาล แลพราหมณมหาศาล และคฤหบดี มหาศาลทั้งหลายดวยเวทนาอันใด ดังเราจะขอถาม ดูกรภิกษุทั้งหลายเวทนาแหงบุคคลทั้งสอง จําพวกนี้ ใครจะประเสริฐกวากัน นัยหนึ่ง “ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย “ตํ กึ มณฺญถ” ทานทั้งปวงจะสําคัญคําที่เราจะ กลาวในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษมีกําลังพึ่งประหารในทามกลางอกดวยหอกอันแหลมคม อันโซม แลวดวยน้ํามัน ดวยเวทนาอันใด อนึ่ง พระภิกษุศีลมีสภาวะลามก ฯลฯ มิไดเปนสมณะปฏิญาณตนวาเปนสมณะ ไมประพฤติ พรหมจรรยปฏิภาณตนวาประพฤติพรหมจรรย ฯลฯ พึงยินดีซึ่งอัญชลีกรรมยกขึ้นซึ่งกระพุมหัตถ นมัสการ ของขัตติยมหาศาลแลพรหมณมหาศาล แลคฤหบดีมหาศาลดวยเวทนาอันใด ดังเราจะขอ ถาม ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนาทั้งสองประการนี้ขางไหนจะประเสริฐกวากัน นัยหนึ่ง “ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย “ตํ กึ มฺญถ” ทานทั้งหลายจะสําคัญที่เราจะ กลาวในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 70 “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษอันมีกําลังจะพึงนาบซึ่งกายดวยพืดเหล็กอันไฟไหมแลว อันลุก รุงเรือง มีประชุมเปลวอันบังเกิดแลว อนึ่ง พระภิกษุไมมีศีล มีสภาวะลามก ฯลฯ ตนมิไดเปนสมณะปฏิญาณตนวาเปนสมณะ ตน ไมประพฤติพรหมจรรย ปฏิญาณตนวาประพฤติพรหมจรรย พึงบริโภคนุงหมจีวร อันขัตติยมหาศาลแล พรหมณมหาศาล มลคฤหบดีมหาศาลทั้งหลาย เชื่อซึ่งกรรมแลผลแลว แลใหดวยเวทนาอันใด เวทนาทั้งสองประการนี้ขางไหนจะประเสริฐกวากัน นัยหนึ่ง “ตํ กึ มฺญถ ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งหลายจะสําคัญคําที่เรา ตถาคตจะกลาวในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษผูนั้นมีกําลังมีกําลังเปดออกซึ่งปากแหงบุคคลดวยขอเหล็ก อันไฟ ไหมแลวรอนจําเดิมแตตน รุงเรืองโดยภาคทั้งปวงมีประชุมเปลวอันบังเกิดขึ้นในปากแหงบุคคลผูนั้น กอนเหล็กแดงนั้น ก็จะพึงเผาเอาฝปาก และเผาเอาซึ่งลิ้น เผาซึ่งคอ เผาเอาซึ่งทอง เผาเอาซึ้งไส ใหญแลไสนอยแลวก็พึงไหลออกไป โดยเบื้องต่ําดวยเวทนาอันใด อนึ่ง พระภิกษุไมมีศีลพึงบริโภคซึ่งบิณฑบาต อันขัตติยมหาศาลแลพราหมณมหาศาล แล คฤหบดีมหาศาลทั้งหลาย เชื่อซึ่งกรรมแลผลแลว แลพึงใหดวยเวทนาอันใด เวทนาทั้งสองนี้ ขาง ไหนจะประเสริฐกวากัน ฯลฯ นัยหนึ่ง “ตํ กึ มฺญถ ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งปวงจะสําคัญคําที่เราจะกลาว ในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษมีกําลังจะจับเอาศีรษะแหงบุคคลแลวก็จับเอาบา กดศีรษะใหลง นอนทับแลนั่งทับเตียงอันแลวดวยเหล็กตั่งอันแลวดวยเหล็กอันรอน อันไฟไหมจําเดิมแตตนรุงเรือง โดยรอบคอบมีประชุมเปลวอันบังเกิดแลวพรอมดวยเวทนาอันใด อนึ่ง พระภิกษุไมมีศีล มีธรรมอันลามก พึงบริโภคซึ่งเตียงและตั่งอันขัตติยมหาศาล แลพ ราหมณมหาศาล และคฤหบดีมหาศาลพึงใหดวยศรัทธาดวยเวทนาอันใด ดังเราจะขอถาม เวทนาทั้ง สองนี้ใครจะประเสริฐกวากัน ฯลฯ นัยหนึ่ง “ตํ กึ มฺญถ ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งปวงจะสําคัญคําที่เราจะกลาว ในกาลบัดนี้นั้นเปนดังฤๅ “ยํ พลวา ปุริโส” บุรุษผูมีกําลังจะกระทําบุคคลอันหาศีลมิไดใหมีเทาในเบื้องบนใหมี ศีรษะในเบื้องต่ํา พึงซัดไปในโลหกุมภีอันรอนอันไฟลไหมจําเดิมแตตน แลรุงเรืองโดยรอบคอบ มี ประชุมเปลวเพลิงอันลุกลามพรอม “โส ตตฺถ เผณุเทหกํ” บุคคลที่ทุศีลนั้นก็ไหมอยูในโลหกุมภี มี ฟองอันตั้งขึ้นสิ้นวาระเปนอันมาก ในกาลบางทีก็ไปในเบื้องบนในกาลบางทีก็ไปในเบื้องต่ํา บางทีก็ไป โดยขวางดวยเวทนาอันใด อนึ่ง พระภิกษุที่ไมมีศีลอยูในวิหาร อันขัตติยมหาศาล แลพราหมณมหาศาล แลคฤหบดี มหาศาลทั้งหลาย เชื่อซึ่งกรรมแลผลแลว แลพึงใหดวยเวทนาอันใด เวทนาทั้งสองนี้ ใครจะประเสริฐ กวากัน พระภิกษุทั้งหลายรับพระพุทธบรรหาร แลวจึงกราบทูลวาเวทนาที่พระภิกษุทุศีล ยินดีใน อภิวาทนกรรมไหวดวยเอื้อเฟอแลว แลยินดีในอภิวาทอัญชลีกรรมเปนอาทิ แหงขัตติยมหาศาล แลพ ราหมณมหาศาล แลคฤหบดีมหาศาลนั้นประเสริฐ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 71 องคสมเด็จพระผูทรงมีพระภาค ก็ตรัสพระสัทธรรมเทศนา โทษแหงพระภิกษุทุศีล ผูยินดี ในอภิวาทนกรรมเปนอาทิ แหงขัตติยมหาศาล แลพราหมณมหาศาล แลคฤหบดีมหาศาล แลวแลไป บังเกิดในจตุราบายเบื้องหนาแตจุติจิต โดยวิสัชนาแลวในหนหลัง “อิติ ภควา ทุกฺขํ ทสเสติ” องคสมเด็จพระผูทรงสวัสดิภาพทรงแสดงทุกข มีกิริยาที่ พระภิกษุทุศีลยินดีในอภิวาทนกรรม แลอัญชลีกรรมแลรับซึ่งจีวรแลรับซึ่งบิณฑบาต แลบริโภคซึ่ง เตียงแลตั่ง แลวิหารเปนเหตุเปนปจจัยดวยวาลรัชชุปมา เปรียบดวยเชือกอันบุคคล ฟนดวยขนทราย แลหอกอันคม แลแผนเหล็ก แลกอนเหล็ก แลเตียงเหล็ก แลตั่งเหล็ก แลโลหกุมภี เหตุใดเหตุดังนั้น เมื่องอคสมเด็จพระบรมศาสดาผูที่เคารพของสัตวโลก ติเตียนซึ่งพระภิกษุมีศีลอันวิบัติ จึงตรัสพระ สัทธรรมเทศนาวา “ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุทั้งหลาย “อวิชฺชหโต กามสุขํ” เมื่อภิกษุมิไดสละเสียซึ่งกาม สุข มีผลอันเปนที่เดือดรอนจะใหถึงซึ่งทุกขอันยิ่งกวาทุกขที่จะสวมกอดเคลาคลึงกองอัคคี ตนก็จะ เปนภิกษุมีศีลอันทําลายไมเปนสมณะ ความสุขจะมีแกภิกษุนั้นแตที่ดังฤๅ นัยหนึ่ง “อภิวาทนสาทิเยน” พระภิกษุมีศีลอันวิบัติ มีความยินดีในอภิวาทนกรรม ไหว ดวยเอื้อเฟอแหงบุคคลทั้งหลายอันเปนมหาศาล มีขัตติยมหาศาลเปนประธาน เปนสวนที่จะนํามาซึ่ง ความทุกข อันยิ่งกวาทุกขที่บุคคลจะเชือดจะติดผิวหนังและมังสะ กระทั่งถึงเยื่อกระดูก ดวยเชือกอัน ฟนดวยขนทราย ความสุขดังฤๅจะมีแกพระภิกษุนั้น อนึ่ง พระภิกษุไมมีศีลยินดีในอัญชลีกรรม ประนมนิ้วนอมนมัสการ การแหงขัตติยมหาศาล แลพราหมณมหาศาล แลคฤหบดีมหาศาลอันมีศรัทธาเปนเหตุที่จะนํามาซึ่งทุกข อันยิ่งกวาทุกขที่ บุคคลจะประหารดวยหอกความสุขจะมีแกพระภิกษุนั้นแตที่ดังฤๅ อนึ่งพระภิกษุมีศีลอันวิบัติรูปใด จะพึงเสวยซึ่งสัมผัสนุงหมผาแผนเหล็ก อันรุงเรืองอยูใน นรกสิ้นกาลชานาน พระภิกษุนั้นจะมีประโยชนดังฤๅ ดวยความสุขคือจะนุงหมจีวร อันมหาศาลบุคคล ทั้งหลายถวายดวยศรัทธา อนึ่งพระภิกษุอันมีศีลวิบัติรูปใด จะพึงกลืนกินซึ่งกอนเหล็กอันรอนอันไฟไหมลุกรุงเรือง มี เปลวประชุมบังเกิดแลวในนรกสิ้นกาลชานาน เพราะเหตุบริโภคซึ่งบิณฑบาต อันขัตติยมหาศาล และพราหมณมหาศาล และคฤหบดีมหาศาล เชื่อซึ่งกรรมแลผลแลวแลใหบิณฑบาตินั้นมีรสอรอยเปน ที่ปรารถนา ก็มีอุปมาเหมือนยาพิษอันกินตาย จะเปนประโยชนดังฤๅแกพระภิกษุอันหาศีลมิไดนั้น อนึ่งเตียงแลตั่งทั้งหลาย อันแลวดวยเหล็กอันรุงเรืองเปนที่นํามาซึ่งทุกข จะเบียดเบียน พระภิกษุรูปใดอันหาศีลมิได อันบังเกิดในนรกสิ้นกาลชานนาน พระภิกษุหาศีลมิไดนั้น จะบริโภคซึ่ง เตียงแลตั่ง อันตนสมมติสําคัญวาเปนสุข คือจะนํามาซึ่งอุบายทุกขเพื่อประโยชนดังฤๅ “ชลิเตสุ นิวสิตพฺพ” อนึ่งพระภิกษุรูปใดหาศีลมิไดจะพึงอยูในทามกลางหมอเหล็กอัน รุงเรือง ความยินดีในอาสนะที่นั่งแลที่นอนในวิหารอันมหาศาลบุคคลจะพึงใหดวยศรัทธา จะพึงมีแก พระภิกษุนั้นเพื่อประโยชนดังฤๅ อันนี้องคสมเด็จพระศาสดา ทรงติเตียนพระภิกษุมีศีลอันวิบัตินั้นวา เปนพระภิกษุมีมรรยาท อันตนพึงระลึกดวยรังเกียจ เพราะเหตุวา กายกรรมเปนอาทิไมบริสุทธิ์ ดุจหยากเยื่ออันบุคคลจะพึงทิ้ง เสียชุมไปดวยราคาทิกิเลส มีสภาวะลามกเปอยเนาอยูภายในชีวิตแหงภิกษุมีศีลอันวิบัติปราศจาก ปญญา ตนมิไดเปนสมณะทรงไวซึ่งเพศแหงชนอันเปนสมณะ กําจัดเสียซึ่งตนดวยความฉิบหายแหง ศีล ชื่อวาขุดเสียซึ่งตน กนเสียซึ่งตนเพราะเหตุขุดเสียซึ่งมูล คือกุศล “สีลวนฺโต สนฺโต” พระภิกษุ ทั้งหลายในพระศาสนานี้ ที่มีศีลทรงศีลอันบริสุทธิ์ระงับราคาทิกิเลสแลว ก็ยอมจะเวนเสียสละซึ่งภิกษุ ทุศีล ดุจดังวาภิกษุทั้งหลายมีความปรารถนาจะประดับกาย ยอมเวนเสียซึ่งคูถแลซากศีพ “กึ ชีวิตํ ตสฺส” ชีวิตแหงภิกษุมีศีลอันวิบัตินั้นจะเปนประโยชนดังฤๅ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 72 “สพฺพภเยหิ อมุตฺโต” พระภิกษุทุศีลนั้นมิไดพนจากภัยทั้งปวง มีภัยคือตนก็จะพึงติเตียน ตนเปนอาทิ พนจากสุขคือกรรมพิเศษมีพระโสดามรรคเปนประธาน มีทวารคือชองมรรคาที่จะครรไป ไปสูสวรรคอันทุศีลธรรมปดเสียแลว มีแตจะบายหนาขึ้นสูมรรคที่จะไปสูอบาย “กรุณาย วตฺถุภูโต” เปนบุคคลควรจะกรุณาแหงชนทั้งหลายอันประกอบดวยกรุณา บุคคลดังฤๅจะเสมอดวยภิกษุที่หาศีลมิไดไมมีแลว นักปราชญผูเจริญดวยญาณคติพึงรูวา องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสพระสัทธรรม เทศนา แสดงโทษแหงภิกษุมีศีลอันวิบัติดวยประการเปนอันมาก โดยนัยเปนอาทิที่แสดงมาแลวนี้ อนึ่ง บัณฑิตพึงรูวา องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาแสดงอานิสงสศีลของพระภิกษุ ที่ทรงศีล โดยคําอันวิปริตจากคําอันกลาวแลว อนึ่งพระพุทธโฆษาจารยเจาผูเปนพุทธกตัญู รูพระบรมพุทธาธิบายนิพนธพระคาถามไว วา “ตสฺส ปาสาทิกํ โหต ปตฺตจีวระารณํ” เปนอาทิ อรรถาธิบายในบาทพระคาถานั้นวา ศีลแหง พระภิกษุรุปใดปราศจากมลทิน อาการที่จะทรงไวซึ่งบาตรแลจีวรขจองพระภิกษุนั้นก็เปนที่จะนํามาซึ่ง ความเลื่อมใส อนึ่ง ศีลแหงพระภิกษุรูปใดบริสุทธิ์ไมมีมลทิน บรรพชาของพระภิกษุนั้น ก็เปนบรรพชาอัน ประกอบดวยผล อนึ่งภัยที่จะเบียดเบียนตนเปนตนนั้น ก็มิหยั่งลงสูหฤทัยแหงพระภิกษุมีศีลอันบริสุทืธิ์ ดุจ ดังดวงพระอาทิตยไมยังอันธการใหหยั่งลงไดในโลกธาตุ พระภิกษุมีศีลอันบริสุทธิ์อยูแลว ก็จะงามในศาสนาพรหมจรรย ดุจดังวาปริมณฑลจันทร ทิพยวิมาน อันไพโรจนรุงเรืองอยูในคัดนาลัยประเทศอากาศ ใชแตเทานั้น “กายคนฺโธป ปาโมชฺช”ํ กลิ่นกายแหงพระภิกษุอันมีศีลอันบริสุทธิ์ ก็ฟุงไป ในที่ทวนลมแลที่ตามลม ยังปราโมทยคือตรุณปติใหบังเกิดแกเทวดามนุษยทั้งหลาย “สีลคนฺเธ กถาวกา” จะปวยกลาวไปไยถึงกลิ่นศีล เมื่อพระภิกษุทรงศีลบริสุทธิ์แลว กลิ่นศีลของพระภิกษุนั้น ก็จคงจะครอบงําเสียซึ่งกลนแหงคันธชาติทั้งปวง มีกลิ่นจันทนแลกลิ่นกฤษณาเปนอาทิ ฟุงไปใน ทิศานุทิศมิไดขัดของหาสิ่งจะเคียงคูมิได “อปฺปกาป กตา การา” ถึงวาไทยธรรมนั้นจะนอย ทายกมีศรัทธากระทําสักการะบูชาแก พระภิกษุอันทรงศีลก็มีผลมาก เพราะเหตุการณนั้น พระภิกษุที่มีศีล ชื่อวาเปนภาชนะรับรองเครื่อง สักการบูชา “สีลวนฺตํ น พาเธนฺติ” อนึ่งอาสวะทั้ง ๔ มีกามาสวะเปนอาทิ อันยุติในทิฏฐธรรมคืออัตต ภาพชาตินี้ ก็มิไดเบียดเบียนพระภิกษุผูมีศีล พระภิกษุผูทรงศีลนั้น ยอมจะขุดเสียซึ่งรากเงาแหงทุกข ทั้งหลายในปรโลก สมบัติอันใดมีในมนุษยโลกแลเทวโลกเมื่อพระภิกษุผูมีศีลปรารถนาแลว จะได สมบัตินั้นดวยยากหามิได อนึ่ง จิตของพระภิกษุที่มีศีลนั้นยอมจะนอมไปสูนิพพานสมบัติ อันเปนที่ระงับดับราคาทิ กิเลสโดยแท แทจริงศีลคุณนี้เปนมูลแหงสมบัติทั้งปวง อานิสงสศีล อันเจือดวยอาการเปนอันมากดังนี้

“อเนกาการโวการํ”

บัณฑิตพึงแสดงซึ่ง

เมื่อบัณฑิตชาติแสดงซึ่งอานิสงสศีล ดวยประการดังนี้แลวก็มีจิตสะดุงจากศีลวิบัติ นอม ไปสูศีลสมบัติ คือจะยังตนใหถึงพรอมดวยศีล เหตุใดเหตุดังนั้น นักปราชญผูดําเนินดวยญาณคติเห็น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 73 โทษแหงวิบัติจากศีล และเห็นอานิสงสที่บริบูรณดวยศีล ดังเรากลาวแลวนี้ ก็พึงชําระศีลใหบริสุทธิ์ใน พระพุทธศาสนา ขาพระองคมีนามชื่อวาพุทธโฆษาจารย แสดงซึ่งศีลอันมีในคัมภีรพระวิสุทธิมรรค อันองค สมเด็จพระผูทรงสวัสดิภาคตรัสเทศนาดวยศีลสมาธิปญญาเปนประธาน ในพระคาถาที่มีคํากลาววา “สีเลปติฏาย นโร สปญโญ” เปนอาทิ โดยลําดับพระบาลีมีประมาณเทานี้ “อิติ สาธุชนปามุชฺชตฺถาย” ปฐมปริจเฉทชื่อวาศีลนิเทศ ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรค อันขา พระองคแตงไวเพื่อประโยชนจะยังสาธุชนใหปราโมทย โดยสังเขปกลาวไวแตเพียงนี้ เอวํ ก็มีดวย ประการดังนี้

ธุดงคนิเทศ “อิทานิ เยหิ อปฺปจฺฉตานสนฺตุฎิตาทีหิ คุเณหิ วุตฺตปฺปการสฺส สีลสส โวทานํ โหติ เต คุเณ สมฺปาเทตุ ํ ยสฺมา สมาทินฺนสีเลน โยคินา ธุตงฺคสมาทานํ กาตพฺพํ เอว หิสฺส อปจฺฉตา สนตุฎิตา สลฺเลขตาปวิเวกาปจฺจยวิริยารมภสฺภรตาทิ คุณสถิลวิกฺขาลิตมาลํ สีลํ เจว สุปริ สุทธํ ภวิสสติ วตฺตานิ จ ปมฺปชฺชิสฺสนฺตีติ อิติ อนวชชสีลพฺพตฺตคุณปริสุทฺธสพพสาจาโร โป ราเณ อริยวํสตฺตเย ปติฎาย จตุตถสสภาวนารามตาสงฺขาตสฺส อริยวํสสส อธิคมารโห ภวิสฺ สติ” วาระนี้ จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในเตรสธุดงนิเทศปริจเฉท ๒ อันมีในคัมภีรพระ สุทธิมรรค สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี พระพุทธโฆษาจารยรจนาไววา “โยคินา ธุตงฺคสมาทานํ” พระโยคาวาจรภิกษุผูประพฤติ ความเพียร เมื่อมีศีลอันถือเอาดีแลว พึงกระทําธุดงคสมาทาน ถือเอาซึ่งธุดงสืบขึ้นไปในกาลบัดนี้ กิริยาที่บริสุทธิ์แหงศีลอันเรากลาวแลว จะอุบัติบังเกิดมีดวยคุณทั้งหลายใด มีอัปปจฉตา คุณ คือมีปรารถนานอย แลสันตุฎฐิตาคุณ คือยินดีในปจัยแหงตนเปนอาทิ แลจะยังคุณทั้งหลายนั้นให บริบูรณ เพราะเหตุสมาทานธุดงค แทจริงเมื่อพระโยคาวจรลางเสียซึ่งมลทินแหงศีลดวยน้ํา กลาวคืออัปปจฉตาคุณ คือ ปรารถนานอย แลสัตุฏฐิตาคุณ ยินดีในปจจัยแหงตน แลสัลเลขตาคุณ กระทําใหนอมแหงกิเลส ทั้งหลาย แลยินดีในปวิเวกแลปจจัยคุณ กิเลสทั้งหลายมิไดสั่งสมอยูเพราะเหตุปฏิบัติฉันใด ก็ปฏิบัติ ฉันนั้น แลววิริยารัมภตาคุณ ยังความเพียรใหประพฤติเปนไปเนือง ๆ แลสุภรตาคุณ คือเปนบุคคล พึงเลี้ยงงาย เพราะมิไดปรารถนามากเปนอาทิศีล แหงพระภิกษุนั้นก็จะบริสุทธิ์ดี อนึ่งวัตตปฏิบัติก็จะ บริบูรณ พระโยคาวจรภิกษุมีสมาจารทั้งปวง อันบริสุทธิ์ดวยศีลคุณแลวัตตคุณ อันปราศจากโทษ ดังนี้แลว ก็จะตั้งอยูในที่ประชุม ๓ แหงอริยวงศ คือสันโดษในจีวรแลบิณฑบาต แลเสนาสนะ แล สมควรที่จะไดซึ่งอริยวงศเปนคํารบ ๔ กลาวคือภาวะยินดีในภาวนา “ตสฺมา ธุตงฺคกถ อารพฺภิสฺสา มิ” เพราะเหตุการณดังนี้ ขาพระองคผูมีนามชื่อวา พุทธโฆษาจารยจักปรารภซึ่งธุงดงกถาสืบตอไป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 74 “ภควา หิ เตรส ธุตงฺคาตานิ” แทจริงธุงค ๑๓ ประการนี้ สมเด็จพระผูทรงสวัสดิภาค ทรงอนุญาตแดพระภิกษุทั้งหลาย มีอามิสในโลกอันละเสียแลว มิไดอาลัยในกายแลชีวิต มีความ ปรารถนาเพื่อจะยินดีในอนุโลมปฏิบัติคือเจริญวิปสสนา “เสยฺยถีท”ํ ธุดงค ๑๓ ประการนั้น คือสิ่งดังฤๅ ธุดงค ๑๓ ประการนั้น คือปงสุกุลิกังคธุดงค ๑ เตจีวริกังธุดงค ๑ ปณฑปาติกังคธุดงค ๑ สปทานจาริกังคธุดงค ๑ เอกาสนิกังคธุดงค ๑ ปตตปณฑิกังคธุดงค ๑ ขลุปจฉาภัตติกังคธุดงค ๑ อารัญญิกังคธุดงค ๑ รุกขมูลิกังคธุดงค ๑ อัพโภกาสิกังคธุดงค ๑ โสสานิกังคธุดงค ๑ ยถาสันถติกังค ธุดงค ๑ เนสัชชิกังคธุดงค ๑ ผสมเขาดวยกัน เปนธุดงค ๑๓ ประการดวยกันดังนี้ แตนี้จะวินิจฉัยในธุดงค ๑๓ ประการโดยอรรถวิคหะ ๑ โดยอรรถมีลักษณะเปนตน ๑ โดย สมาทานวิธาน ๑ โดยประเภทคือจําแนก ๑ โดยเภทะคือทําลายหรือพินาศ ๑ โดยอานิสงสแหงธุดงค นั้น ๆ ๑ โดยประมาณ ๓ ตามกําหนดดวยธุดงค ๑ โดยจําแนกชื่อธุดงคเปนตน ๑ โดยสังเขปแล พิสดาร ๑ เปนบทวินิจฉัย ๙ ประการ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ ๑. จะวินิจฉัยโดยอรรถวิคคหะในบท ปงสุกุลิกังคธุดงคเปนปฐมนั้นกอน มีเนื้อความวา จีวรอันใดเปนประดุจดังวาฟุงไปดวยฝุน ดวยอรรถคือสภาวะแหงจีวรนั้นอยู ในที่สูง เพราะเหตุวาผานั้นตั้งอยูบนฝุนทั้งหลายในที่ใดที่หนึ่ง มีตรอกแลสุสานประเทศปาชาแลกอง หยากเยื่อเปนอาทิ เหตุใดเหตุดังนั้น จีวรนั้นจึงไดชื่อวา ปงสุกุล ปงสุกุล วาปงสุกุล

นัยหนึ่งวา

จีวรอันใดถึงซึ่งสภาวะเปนของอันบุคลพึงเกลียดดุจดังวาฝุน

จีวรนั้นชื่อวา

กิริยาที่พระภิกษุทรงไวซึ่งผาบังสุกุล อันไดซึ่งอรรถวิคคหะถือเอาตางซึ่งเนื้อความดังนี้ ชื่อ

กิริยาที่ทรงไวซึ่งผาปงสุกุลเปนปกติแหงภิกษุนี้ พระภิกษุนั้นชื่อปงสุกุลิกะ แปลวามีทรงไว ซึ่งปงสุกุลจีวรเปนปกติ เหตุแหงภิกษุมีทรงไวซึ่งปงสุกุลจีวรเปนปกตินั้นชื่อวาปงสุกุลิกังคะ การณศัพทนี้ องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาเรียกชื่อวาองคเหตุใดพระภิกษุมีทรง ไวซึ่งปงสุกุลจีวรเปนปกติ ยอมจะมีดวยสมาทานอันใด คํากลาววาปงสุกุลิกะนี้ กระนี้ บัณฑิตพึงรูวา เปนชื่อแหงสมาทานเจตนานั้น ๒. ในบทคือ เตจีวริกังคธุดงค เปนคํารบ ๒ นั้น มีอรรถวิคคหะวา “ติจีวรํ” ผา ๓ ผืน คือผา สังฆาฏิ แลผาอุตราสงค แลผาชื่ออันตรวาสก เปนปกติแหงพระภิกษุนี้ เหตุดังนั้นพระภิกษุนี้จึงมีนาม ชื่อวา เตจีวริกะ โดยนัยกลาวมาแลวในปงสุกุลธุดงค องค คือเหตุ ไดแกสมาทานเจตนาของพระภิกษุในที่ทรงไวซึ่งไตรจีวร มีผาสังฆาฏิเปนตน ชื่อวา เตจีวริกังคะ ๓. ในปาฑปาติกังคธุดงคที่ ๓ นั้นมีอรรถวิคคหะวา กิริยาที่ตกแหงกอนอามิสทั้งหลาย กลาวคือภิกขะ ชื่อวา บิณฑบาต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 75 มีอรรถรูป อาจารยกลาววากอนอามิสที่บุคลผูอื่นใหตกลงอยูในบาตรแหงพระภิกษุ ชื่อวา บิณฑบาต พระภิกษุรูปใดแสวงหาบิณฑบาต เขาไปสูสกุลนั้น ๆ เที่ยวแสวงหาหวังบิณฑบาต ภิกษุรูป นั้นชื่อวาปณฑปาติโก นัยหนึ่ง กิริยาที่ตนแหงกอนอามิส เปนวัตตปฏิบัติของพระภิกษุนี้ ภิกษุนั้น ชื่อวา ปณฑ ปาตี “ปณฺฑปาติ เอว ปณฺฑปาติโก” กิริยาที่ภิกษุเที่ยวไปเพื่อกอนอามิสชื่อวา ปณฑปาติโก เหตุคือสมาทานเจตนาของพระภิกษุอันเที่ยวไปเพื่อกอนอามิส ชื่อวา ปณฑปาติกังคะ ๔. ในสปทานจาริกังคธุดงคเปนคํารบ ๔ นั้น มีบทวิคคหะวาทานศัพท แปลวา ขาด แปลวามิไดประพฤติเปนไปมีระหวาง กิริยาที่พระภิกษุเวนจากประพฤติเปนไป ไมมีระหวางนั้นชื่อวา อปทาน อธิบายวาไมขาด ประพฤติอยางใด เปนไปกับดวยไมขาด ประพฤติอยางนั้นชื่อวา สปทาน มีอรรถรูปวา ภิกษุเที่ยวไปไมใหขาด ไมเวนเรือน ไมลวงลําดับเรือน ชื่อวา สปทาน กิริยาที่เที่ยวไปไมลวงลําดับเรือน เปนปกติของพระภิกษุนี้เพราะเหตุดังนั้น พระภิกษุรูปนั้น ชื่อวา สปทานจารี “สปทานจารี เอว สปทานจารโก” พระภิกษุเที่ยวกับดวยมิไดขาด คือเที่ยวไป โดยลําดับเรือนชื่อวา สปทานจาริกะ องค คือเจตนาที่จะถือเอาดวยดีของพระภิกษุที่จะเที่ยวไปกับดวยมิไดขาดตามลําดับเรือน ชื่อวา สปาทานจาริกังคะ ๕. ในเอกาสนิกังคธุดงคเปนคํารบ ๕ มีอรรควิคคหะวากิริยาที่ปบริโภคในอาสนะที่นั่งอัน เดียว ชื่อวา เอกาสนะ บริโภคในอาสนะอันเดียวนั้นเปนปกติของพระภิกษุนี้ พระภิกษุนั้นชื่อวาเอกาสนิกะ “ตสฺมา องฺคํ เอกาสนิกงฺคํ องคคือสมาทานของพระภิกษุบริโภคในอาสนะอันเดียวนั้น ชื่อวา เอกาสนิกังคะ ๖. ในปตตปณฑกังคธุดงคเปนคํารบ ๖ นั้น มีอรรถวิคคหะวากอนอามิสในบาตรอันเดียวแท ชื่อวา ปตตปณฑิก เพราะเหตุธุดงคนี้สมาทาน สมาทานวิธีหามภาชนะเปนคํารบ ๒ กิริยาที่ถือเอากอนอามิสในบาตร การทําสําคัญวากอนอามิสในบาตร ในกาลเมื่อจะถือเอา กอนอามิสในบาตร เปนปกติของพระภิกษุนี้ เหตุดังนั้น พระภิกษุนั้นไดชื่อวา ปตตปณฑิกะ องค คือสมาทานเจตนาแหงพระภิกษุ มีอันถือเอากอนอามิสในบาตรกระทําสําคัญวากอน อามิสในบาตรเปนปกตินั้น ชื่อวา ปตตะปณฑิกังคะ ๗. ในขลุปจฉาภัตติกังคธุดงคเปนคํารบ ๗ นั้นวา ขลุศัพทเปนนิบาตประพฤติเปนไปใน อรรถคือแปลวา ปฏิเสธ มีบทวิเคราะหวา พระภิกษุกระทําซึ่งหามโภชนะแลวแลตั้งอยูได ซึ่งภัตรในภายหลัง ชื่อวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 76 ปจฉาภัอตัง โภชนะของภิกษุอันหามขาวแลวแลไดภัตรในภายหลังนั้นชื่อวาปจฉาภัตะโภชนะ ภัตรอันภิกษุหามขาวแลวแลไดในภายหลัง กระทําสําคัญวาปจฉาภัตรในโภชนะปจฉาภัตร นั้นเปนปกติของพระภิกษุ เหตุดังนั้นพระภิกษุนั้นชื่อวาปจฉาภัติกะ แปลวาพระภิกษุหามขาวแลวซึ่ง ภัตรในภายหลังเปนปกติ “น ปจฺฉาภตติโก ขลุปจฺฉาภตฺติโก” ภัตรที่พระภิกษุหามขาวแลวแลไดในภายหลัง กระทําสําคัญวาปจฉาภัตรในโภชนะปจฉาภัตรนั้นเปนปกติของพระภิกษุนี้หามิได พระภิกษุนั้นชื่อวาข ลุปจฉาภัตติกะ คํากลาววา ขลุปจฉาภัตติโก นี้เปนชื่อแหงบริโภคอันยิ่ง อันกําลังแหงสมาทานหามแลว อนึ่ง มีคําพระอรรถกถาจารยเจากลาวไวในอรรถกถาวา “ขลูติ เอโก สกุโณ” นกจําพวก หนึ่ง ชื่อวาขลุ ถือเอาแลวซึ่งผลไมดวยปาก เมื่อผลไมนั้นตกเสียแลว นกนั้นก็มิไดจิกกัดกินซึ่งผลไม อื่น ๆ “ตาทิโส อยํ” พระภิกษุที่มีขลุปจฉาภัตติกังคธุดงค เปนปกตินี้ก็เหมือนหนึ่งนกนั้น จึงไดนาม ชื่อวา ขลุปจฉาภัตติโก องค ซึ่งสมาทานเจตนาของพระภิกษุที่หามขาวแลวไดซึ่งภัตรในภายหลัง กระทําสําคัญวา ภัตรในภายหลังเปนปกติของตนหามิไดนั้นชื่อวา ขลุปจฉาภัตติกังคะ ๘. ในอารัญญิกกังคธุดงคเปนคํารบ ๘ นั้น “อญเญ นิวาโส อารฺญํ” กิริยาที่นอนอยูใน ประเทศอันบุคคลไมยินดีชื่อวา อารัญญัง การที่อยูในอรัญราวปาเปนปกติของพระภิกษุนี้ เหตุดังนั้นพระภิกษุจึงไดชื่อวา อารัญญิโก อารัญญิกังคะ

องค

คือสมาทานเจตนาของพระภิกษุอันอยูในประเทศไมพึงยินดีเปนปกตินั้น

ชื่อวา

๙. ในรุกขมูลิกังคธุดงคเปนคํารบ ๙ นั้น มีบทวิคคหะวา “รุกฺขมูเล นิวาโส” กิริยาที่อยูใน ภายใตตนไมนั้นชื่อวา รุกขมูล การที่อยูในภายใตตนไมนั้น เปนปกติของพระภิกษุนั้น เหตุดังนั้นพระภิกษุนั้นจึงไดชื่อวา รุกขมูลิกะ องค คือสมาทานเจตนาของพระภิกษุ มีอันอยูในภายใตตนไมเปนปกตินั้นชื่อวา รุกขมูลิกัง คะ ๑๐. ในอัพโภกาสิกังคธุดงคเปนคํารบ ๑๐ แลโสสานิกังคธุดงคเปนคํารบ ๑๑ ก็มีนัยดุจ เดียวกันกับดวยอารัญญิกกังคธุดงค แลรุกขมูลิกังคธุดงคฉันนั้น ๑๒. ในยถาสันถติกังคธุดงคเปนคํารบ ๑๒ นั้น มีบทวิคหะวา “ยเถว สนฺถตํ” เสนาสนะใด ๆ อันพระภิกษุเปนผูปูเสนาสนะใหถึงแกพระภิกษุ เสนาสนะนั้นชื่อวา ยถาสันถตัง ยถาสันถติกังคธุดงคนี้เปนชื่อแหงเสนาสนะ กอนวา เสนาสนะนี้ถึงแกทาน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ที่พระภิกษุเปนผูตกแตงเสนาสนะแสดงขึ้น


- 77 กิริยาที่อยูในเสนาสนะ อันพระภิกษุเปนผูตกแตงจัดแจงเสนาสนะแสดงขึ้นกอนวา เสนาสนะนี้ถึงแกทาน เปนปกติของพระภิกษุนั้นเหตุดังนี้ พระภิกษุนั้นจึงชื่อวา ยถาสันถตินะ องคคือสมาทานเจตนาของพระภิกษุมีอันอยูในเสนาสนะ อันพระภิกษุเปนผูตกแตง เสนาสนะแสดงขึ้นกอนวา เสนาสนะถึงแกทาน เปนปกตินั้นชื่อวา ยถาสันถติกังคะ ๑๓. ในสัชชิกังคธุดงคเปนคํารบ ๑๓ นั้น มีบทวิคคหะวา “สยนํ ปฏิกฺขิปตฺวา” กิริยาที่ พระภิกษุหามซึ่งอิริยาบท คือนอนแลวแลอยูดวยอิริยาบถคือนั่งนั้น เปนปกติแหงพระภิกษุนั้น เหตุ ดังนั้นพระภิกษุนั้นจึงไดชื่อวา เนสัชชิกะ องคคือสมาทานเจตนาของพระภิกษุ ที่จะหามซึ่งอิริยาบถนอนแลวอยูดวยอิริยาบถนั่งเปน ปกตินั้น ชื่อวา เนสัชชิกังคะ อนึ่ง ธุดงคทั้งปวงนี้ ชื่อวาเปนองคแหงพระภิกษุ ชื่อวาธุตะเพราะเหตุวาภิกษุนั้น มีกิเลส อันกําจัดเสียแลวดวยวิธีสมาทานนั้น ๆ นัยหนึ่ง ปญญามีคําเรียกวาธุตะอันไดแลว เพราะเหตุวาปญญานั้นชําระเสียแลวซึ่งกิเลส เปนองคแหงธุดงคทั้งหลาย มีปงสุกุลีกังคธุดงคเปนอาทิ เหตุดังนั้น ปงสุกุลิกังคะเปนประธานนั้น จึงมี นามชื่อวา ธุตังคาตานิ นัยหนึ่ง ปงสุกุลิกังคะเปนอาทินั้น ชื่อวา ธุตะ เพราะเหตุกําจัดเสียซึ่งขาศึก แลชื่อวาองค เพราะเหตุปฏิบัติดวยอาการอันดี ในธรรมทั้งหลายมีศีลเปนประธาน เหตุดังนั้น จึงไดนามชื่อวา ธุดงค วินิจฉัยโดยอรรถวิคหะในธุดงค ๑๓ ประการ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้กอน แตนี้จะวินิจฉัยโดยลักษณะเปนอาทิในธุดงค ๑๓ ประการ บัณฑิตพึงรูโดยนัยเราจะกลาว ตอไปนี้ แทจริง ธุดงค ๑๓ ประการทั้งนี้ มีเจตนาอันประพฤติเปนไปดวยสามารถสมาทานเปน ลักษณะ สมดวยพระอรรถกถาจารยกลาวไวในอรรถกถาวา “โย สมาทิยติ โส ปุคฺคโล” แปล เนื้อความวาการกบุคคล คือพระภิกษุผูจะปฏิบัติพระองคใด สมาทานถือเอาดวยดี พระภิกษุผูจะปฏิบัติ นั้นจะถือเอาดวยดี ดวยธรรมทั้งหลายใด ธรรมทั้งหลายนั้น คือจิตแลเจตสิก เจตนาที่ประพฤติเปนไปดวย สามารถแหงสมาทานเจตนาอันใด สมาทานเจตนานั้น ชื่อวา ธุดงค วจีประโยค คือประกอบซึ่งวาจาหามเสียซึ่งวัตถุทั้งหลาย มีจีวรอันคฤหบดีถวายเปนอาทิ นั้น ชื่อวา วัตถุ แทจริง ธุดงค ๑๓ ประการทั้งปวงนี้ มีกําจัดเสียซึ่งโลภอันยิ่งคือโลภในรูปในเสียงเปนอาทิ อันประพฤติเปนไปดวยสามารถแหงตัณหาเปนกิจ มีสภาวะมิไดโลเลเปนผล มีปรารถนาอันนอยเปนอาทิเปนธรรมแหงพระอริยบุคคล เปนอา สันการณ วินิจฉัยโดยวัตถุทั้งหลาย มีลักษณะเปนตน ในธุดงค ๑๓ ประการ บัณฑิตพึงรูโดยนัยดัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 78 แสดงมาแลวนี้ แตนี้จะวินิจฉัยในบททั้ง ๕ มี “สมาทานวิทานโต” เปนอาทิ มีเนื้อความวาธุดงคทั้งปวงนี้ เมื่อองคสมเด็จพระผูทรงพระภาคยังทรงพระชนมอยู พระภิกษุทั้งหลายพึงสมาทานในสํานักแหงพระองค เมื่อองคพระผูทรงพระภาคเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว พระภิกษุทั้งหลายพึงสมาทานใน สํานักแหงพระมหาสาวก เมื่อพระมหาสาวกทั้งหลายมิไดมีแลว

พระภิกษุทั้งหลายพึงสมาทานในสํานักแหงพระ

ขีณาสพ เมื่อพระขีณาสพเจามิไดมีแลว พึงสมาทานในสํานักพระอนาคามี แลพระสกิทาคามี แล พระโสดาบัน แลพระมหาเถระที่ทรงพระไตรปฎกแลปฎก ๒ แลทรงไวซึ่งพระปฎก ๑ แลพระสังคีติก เถระ แลพระอรรถกถาจารย เมื่อพระอรรถกถาจารยไมมีแลว พึงสมาทานในสํานักพระเถระองคใดองค หนึ่งผูทรงซึ่งธุดงค เมื่อพระเถระผูทรงซึ่งคุณคือธุดงคไมมีแลวพระภิกษุทั้งหลายพึงไปกวาดลานพระ เจดียแลวนั่งยองแลว แลกลาวพระบาลีสมาทาน ดุจกลาวพระบาลีสมาทานในสํานักองคสัมมา พระสัมพุทธเจาแลวพึงสมาทาน อนึ่ง จะสมาทานดวยตนเองนั้นก็ควร อาจารยพึงกลาวนิทานแหงพระเถระอันเปนพี่แหงพระเถระสองพี่นอง วิหาร อันมีความปรารถนานอยในธุดงคสาธกเขาในอธิการนี้

อันอยูในเจติยบรรพต

กิริยาที่กลาวทั่วไป บัณฑิตพึงรูดังนี้กอน เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ “อิทานิ เอเกกสฺส สมาทานวิธานปฺปเภทเภทานิสํเส วณฺณ นิสฺสามิ ปสุกุลิทงฺคํ ตาว คยปติทานจีวรํ ปฏิกฺขิปามิ ปสุกุลิกงฺคํ สมาทิยามิติ อิเมสุ ทฺวิสุ วจเนสุ อฺญตเรน สมาทินฺ โห ติ อิทํ ตาเวตฺถ สมาทานํ เอวํ สมาทินฺนํ ธุตงฺเคน ปนเตน โสสานิกํ อาปฎิกํ รถิยโจฬํ สงฺการ โจฬํ โสตฺถิยํ นฺหานโจฬํ ติตฺฉโจฬํ คตปจฺจาคตํ อคฺคิทฑฺฒํ โคขายิตํ อุปจิกาขยิตํ อุนฺทูรกฺ ขายิตํา อนฺตจุฉินฺนํ ทสาจฺฉินฺนํ ธชาหตํ ถูปจีวรํ สมณจีวรํ อาภิเสรกิกํ อิทฺธิมยํ ปนฺถิกํ วา ตาหฏํ เทวทตติยํ สามุทฺทิยนฺติ วาระนี้ จะไดรับพระราชทานถวายวิสุชนาในเตรสธุดงคนิเทศปริเฉท ๒ ในปกรณ ชื่อวา วิ สุทธิมรรค สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี มีเนื้อความวา “อิทานิ เอเกกสฺส วณฺณยิสฺสามิ” ใน กาลบัดนี้ขาพระองคผูมีนามชื่อวาพุทธโฆษาจารย จักสังวรรณนาสมาทานแลวิธานแลประเภทแลเภ ทะแลอานิสงส แหงธุดงคสิ่งหนึ่ง “ปสุกฺลิกิงคํ ตาว” จะกลาวดวยวิธีสมาทานปงสุกุลิกังคธุดงคกอนวิธีจะสมาทานปงสุกุลิ กังคธุงดงคนั้น พระโยคาวจรภิกษุผูประพฤติซึ่งความเพียร พึงสมาทานดวยพระบาลีทั้งสองอยาง คือพระบาลีวา “คหปติทานจีวรํ ปฏิกฺขิปามิ” อยาง ๑ คือพระบาลีวา “ปสุกุลิกงฺคํ สมาทิยามิ” อยาง ๑ พระบาลีทั้งสองอยางนั้น จะสมาทานอยางใดอยางหนึ่งก็ได ชื่อวาสมาทานแลว สมาทานบทตนวา “คหปติทานจีวรํ ปฏิกฺขิปามิ” นั้น แปลเนื้อความวา ขาพระองคจะ หามเสียบัดนี้ ซึ่งจีวรอันคฤหบดีถวาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 79 จะสมาทานบทปลายวา “ปสุกุลิกงฺคํ สมาททิยามิ” แปลวา ขาพระองคจะสมาทาน ถือเอาบัดนี้ ซึ่งปงสุกุลิกังคธุดงค กิริยาที่สมาทานในปงสุกุงลิกังคธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้กอน “เอวํ สมาทินฺนํ ธุตงฺเคน ปน” อนึ่งพระโยคาวจรภิกษุสมาทานดังนี้แลว พึงถือเอาซึ่งจีวร อันใดอันหนึ่ง คือจีวรชื่อวาโสสานิก แลจีวรชื่อวาอาปณิกัง ชื่อวารถิยโจฬัง ชื่อวาสังการโจฬัง โสตถิ ยังนหาน โจฬัง ติตกโจฬัง คตปจจาคตัง อัคคิทัฑฒัง โคขายิตัง อุปจิกาขายิตัง อุนทูรักขายิตัง อันตัจฉินนัง ทสาจฉินนัง ธชาหตัง ถูปจีวรัง สมณจีวรัง อาภิเสกิกัง อิทธิมยัง ปนถิถัง วาตาหฏัง แล ชื่อวาเทวทัตติยัง แลวจีรชื่อวาสมุททิยัง เขากันเปนจีวร ๒๓ อยาง ฉีกผาเสียแลวละเสียซึ่งที่อัน ทุพพลภาพ ซักซึ่งที่อัน มักกระทํา ใหเปนจีวรนําเสียซึ่งจีวรที่คฤหัสถถวายอันมีในกอน จึงบริโภคนุง หม มีอรรถสังวรรณนาในบท คือโสสานิกังเปนปฐมนั้นวา “สุสาเน ฉฑฺฑิต” ผาอันใดที่บุคคล ทิ้งเสียแลว ในสุสานประเทศปาชา ผาอันนั้นชื่อวา โสสานิกจีวรที่ ๑ ผาอันใดที่ตกอยูในที่ประตูรานตลาด ผานั้นชื่อวา อาปณิกจีวรเปนคํารบ ๒ ผาอันใดที่บุคคลทั้งหลายมีประโยชนดวยบุญ ทิ้งลงมาโดยชองหนาตางใหตกอยูในตรอก สถล ผานั้นชื่อวา รถิยโจฬะ เปนคํารบ ๓ ทอนผาที่บุคคลทิ้งเสียแลวในกองหยากเยื่อ ชื่อวา สังการโจฬะจีวร เปนคํารบ ๔ ผาที่บุคคลเช็คคัพภมลทินแลวแลทิ้งเสีย ชื่อวา โสตถิยจีวรเปนคํารบ ๕ “กิร” ดังไดสดับมา “ติสฺสามจฺจมาตา” มารดาแหงอํามาตย ชื่อวาดิสสะ เช็คคัพภมลทิน ดวยผาคาควรแสนตําลึง ยังหญิงทาสีใหนําไปทิ้งไวในทางที่จะไปสูตาลเวฬิวิหาร ดวยมนสิการกระทํา ไวในใจวา “ปสุกุลิกา คณฺหิสฺสนฺติ” พระภิกษุทั้งหลายที่มีบังสุกุลจีวรเปนปกตินั้น จะไดถือเอา พระภิกษุทั้งหลายก็ถือเอาผานั้น เพื่อประโยชนแกจีวรอันคร่ําครา “ยํ ภูตเวชฺเชหิ” ชนทั้งหลายที่หมอภูตปศาจ ใหอาบน้ํากับดวยศีรษะ ทิ้งผาอาบน้ําอันใด เสียดวยอาโภคคิดวา ผานี้เปนกาลกิณีแลวก็ไป ผานั้นชื่อวา นหานโจฬจีวร เปนคํารบที่ ๖ ผาทอนเกาที่บุคคลทิ้งไวในทาน้ํา ผานั้น ชื่อวาติดถโจฬจีวร เปนคํารบที่ ๗ มนุษยทั้งหลายไปสูสุสานประเทศ กลับมาอาบน้ําแลวทิ้งผาชุบอาบอันใดไว ผานั้นชื่อวา คตปจจาคตจีวร เปนคํารบที่ ๘ ผาอันใดมีประเภทบางแหงอันไฟไหม ผานั้นชื่อวา อัคคิทัฑฒจีวร เปนคํารบที่ ๙ แทจริงผาที่ไฟไหมนั้น มนุษยทั้งหลายก็ยอมทิ้งเสีย ผาทั้งหลายที่โคเคี้ยวแลปลวกกัด แลหนูกัด แลขาดในที่สุด แลผาชายขาด ผาทั้ง ๙ ประการนี้ มนุษยทั้งหลายยอมจะทิ้งเสีย แลผาชื่อวา ธชาหตจีวรเปนคํารบ ๑๕ นั้น อรรถสังวรรณนาวา “นาวํ อภิรุยฺหตฺตา” มนุษย ทั้งหลายเมื่อจะขึ้นสูสําเภา ยอมผูกธงปกไวที่ทา แลวจึงขึ้นสูสําเภา เมื่อลวงทัศนาวิสัยแหงมนุษย ทั้งหลายนั้นแลวพระภิกษุทั้งหลายมีบังสกุลเปนวัตรจะถือเอาผานั้นก็ควร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 80 อนึ่ง ผาอันใดที่เสนาของพระราชาทั้งสองผูเปนธงแลวแลตั้งไวในยุทธภูมิ ในการเมื่อเสนา ทั้งสองฝายไปแลว พระภิกษุมีปงสุกุลเปนปกติ จะถือเอาผานั้นก็ควร ผานั้นชื่อวา ธชาหฏจีวรเปนคํา รบ ๑๕ รบ ๑๖

ผาที่มนุษยทั้งหลายโอบพันจอมปลอม แลวแลกระทําพลีกรรม ผานั้นชื่อวา ถูปจีวร เปนคํา ผาอันใดเปนของแหงพระภิกษุ ผานั้นชื่อวา สมณจีวร เปนคํารบ ๑๗ ผาอันใดที่บุคคลทิ้งไวในที่อภิเษกแหงบรมขัตติยราช ผาอันนั้นชื่อวา อาภิเสกิกจีวร เปน

คํารบ ๑๘ จีวรแหงเอหิภิกษุ ชื่อวา อิทธิมยจีวร เปนคํารบ ๑๙ ผาอันใดตกอยูในระหวางหนทาง ผานั้นชื่อวา ปกถิกจีวร เปนคํารบ ๒๐ อนึ่ง ผาอันใดตนอยูแลเพราะเหตุลืมสติ แหงมนุษยทั้งหลายอันเปนเจาของ ผาอันนั้นให พระภิกษุรักษาอยูหนอยหนึ่งแลวจึงถือเอาผาอันนั้นชื่อวา ปนถิกจีวร เปนคํารบ ๒๐ ดุจเดียวกัน ผาอันใดลมประหารแลวพาไปตกลงในที่ไกล ผานั้นชื่อวา วาตาหฎา เปนคํารบ ๒๑ อนึ่ง ผานั้นเจาของไมเห็นแลว ภิกษุจะถือเอาก็ควร ผาอันใดเปนผาอันเทวดาให เหมือนกันกับผาอันนางเทวธิดาถวายแกพระอนุรุทธ ผานั้น ชื่อวา เทวทัตติยะ เปนคํารบ ๒๒ ผาอันใดคลื่นซัดไปบนบกผานั้นชื่อวา สามุททิยจีวรเปนคํารบ ๒๓ อนึ่ง ผาอันใดที่ทายกถวายวา “สงฺฆสฺส เทม” ขาพระองคถวายแกพระสงฆ แลผาที่ภิกษุ ทั้งหลายเที่ยวไปเพื่อภิกขะแลวแลไดผาอันนั้นไมเปนปงสกุลจีวร วินิจฉัยในภิกขุทัตติยจีวรนั้นวา “ยํ วสฺ สคฺเคนคา เหตฺวา ทียฺยติ” จีวรอันใดที่พระภิกษุ ทั้งหลาย ยังพระภิกษุมีปงสกุลธุดงคเปนปกติใหถือเอาตามวัสสาอายุแลวแลให ใชแตเทานั้น จีวรที่พระภิกษุแลคฤหัสถทั้งหลายใหดวยวาจาวาพระภิกษุทั้งหลายอยูใน เสนาสนะนี้ จงบริโภคนุงหมจีวรนี้ “นตํ ปสุกุลํ” จีวรทั้งสองสถานนั้นไมเปนปงสุกุลจีวร ถาพระภิกษุคฤหัสถทั้งหลายไมถวายเอง จึงจะเปนปงสุกุลจีวร อนึ่ง จีวรอันใดที่ทายกทั้งหลายตั้งไวในที่ใกลเทาของพระภิกษุ พระภิกษุนั้นก็ถวายตั้งไว ในมือของปงสุกุลิกภิกษุ จีวรนั้น ชื่อวา บริสุทธิ์ แตฝายอันหนึ่ง จีวรอันใด ทายกถวายตั้งไวในหัตถแหงพระภิกษุนั้น ๆ ก็เอาไปตั้งไวในที่ใกลเทาของ ปงสุกุลลิกภิกษุ จึวรนั้นก็บริสุทธิ์อีกฝายหนึ่ง จีวรอันใด ทายกตั้งไวในที่ใกลเทาแหงพระภิกษุ ๆ ก็เอาไปถวายแกปงสุกุลิกเหมือนอยาง นั้น จีวรนั้นชื่อวาบริสุทธิ์ทั้งสองฝาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 81 จีวรอันใด ที่พระภิกษุไดเพราะเหตุทายกตั้งไวในมือ พระภิกษุนั้นก็ถวายตั้งไวในมือแหงปง สุกุลิกภิกษุ จีวรนั้นชื่อวาไมเปนจีวรอันอุกฤษฏ พระภิกษุที่ปงสุกุลเปนปกติ รูซึ่งเภทะคือกิริยาแตกทําลายแหงปงสุกุลจีวรดังนี้แลว พึง บริโภคนุงหมจีวร “อิเมตฺถ วิธานํ” วิธีในปงสุกุลิกธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูโดยนัยแหงคําอันเราจะกลาวมาแลวนี้ กลาวดังนี้

“อยมฺปน ปเภโท” อนึ่งประเภทแหงปงสุกุลิกภิกษุ บัณฑิตพึงรูโดยนัยแหงคําอันเราจะ

“ตโย ปสุกุลิกา” พระภิกษุที่มีปงสุกุลเปนปกตินี้มี ๓ จําพวกคือ ปงสุกุลิกภิกษุเปน อุกฤษฏ ปฏิบัติเปนอยางสูงจําพวกหนึ่ง คือปงสุกุลิกภิกษุเปนมัชฌิม ปฏิบัติเปนอยางทามกลางจําพวกหนึ่ง คือปงสุกุลิกภิกษุเปนมุทุ ปฏิบัติเปนอยางต่ําจําพวกหนึ่ง เปน ๓ จําพวกดวยกันดังนี้ พระปงสุกุลิกภิกษุที่ถือเอาผาโสสานิกจีวร ที่บุคคลทิ้งเสียแลวในสุสานประเทศอยางเดียว ชื่อวาปฏิบัติเปนอุกฤษฏเปนปฐมที่หนึ่ง พระปงสุกุลิกภิกษุที่ถือเอาผาปงสุกุล ที่บุคคลตั้งไววาบรรพชิตจะไดถือเอาผาอันนี้ ชื่อวา ปฏิบัติเปนมัชฌิมที่สอง มุทุที่สาม

พระปงสุกุลิกภิกษุ ที่ถือเอาผาทายกตั้งไวในที่ใกลแหงเทาแลวแลถวาย ชื่อวาปฏิบัติเปน

พระปงสุกุลิกภิกษุทั้ง ๓ จําพวกนี้ เมื่อยินดีจีวรที่คฤหัสถทั้งหลายใหธุดงคก็ทําลายใน ขณะที่ตนยินดี ดวยฉันทะแหงตน อธิบายวา พระภิกษุไมชอบใจที่ทรงไวแกตน แลบริโภคนุงหมดวยตน แตวาไมหามที่ คฤหัสถทั้งหลายถวายเพื่อจะรักษาไว ซึ่งความเลื่อมใสของคฤหัสถ ยินดีวาจะไดถวายแกพระภิกษุ ทั้งหลายอื่น ดุจดังวาธุดงคเภทแหงพระภิกษุทั้งหลาย มีพระอานนทเถรเจาเปนอาทิ แลทําลาย ในขณะแหงตนยินดีดวยอภิวาสนขันติ อธิบายวาปงสุกุลิกังคภิกษุนั้น ยินดีดวยปรารถนาวาจะบริโภค “อยเมตฺถ เภโท” วาดวยธุดงคทําลายในปงสุกุลิกธุดงค บัณฑิตพึงรูโดยนัยดังกลาวมานี้ อนึ่ง อานิสงสปงสุกุลิกธุดงค บัณฑิตพึงรูโดยนัยจะกลาวดังตอไปนี้ “ปสุกุลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา” บังสุกุภิกษุ ชื่อวาสภาวะปฏิบัติสมควรแกนิสัยเปน อานิสงส เพราะเหตุวา องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไววา บรรพชานี้อาศัยปงสุกุลจีวร อนึ่ง ปงสุกุลิกภิกษุนี้จะไดอานิสงส คือจะยังตนใหตั้งอยูในอริยวงศเปนปฐม ตนจะไมมีทุกขที่จะรักษาจีวร แลจะไมประพฤติเนื่องดวยบุคคลผูอื่น แลมิไดกลัวแตโจร ไพร แลปราศจากบริโภคตัณหา ปรารถนาจะนุงหมจีวรทั้งปวงและจะทรงไวซึ่งบริขารสมควรแกสมณะ บังสุกุลจีวรนั้นมีคานอย เปนจีวรอันไดดวยงาย จะบริโภคนุงหมก็ปราศจากโทษ องคสมเด็จพระผูทรง พระภาคตรัสสรรเสริญไวดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 82 อนึ่ง “ปาสาทิกตา” ปงสุกุลิกภิกษุนั้น จะนํามาซึ่งความเลื่อมใสแกชนทั้งหลายอื่น เพราะ เหตุวาภิกษุที่ทรงปงสุกุลจีวรนั้นเปนที่เลื่อมใสของสัตวโลกที่เปนลูขปมาณ แลจะยังผลแหงคุณ ทั้งหลายมีอัปปจฉตาคุณ คือภาวะมักนอยเปนตนใหสําเร็จ “สมฺมาปฏิปตฺติยา อนฺพฺรูหนํ” อนึ่งพระภิกษุที่ทรงผาปงสุกุลนั้นจะยังสัมมาปฏิบัติให เจริญ แลจะยังชนอันมีในภายหลังใหถึงซึ่งทิฏฐานุคติดูเยี่ยงอยางปฏิบัติ พระพุทธโฆษาจารยเจา นิพนธคาถาสรรเสริญพระภิกษุทีทรงบังสุกุลจีวรไววา “มารเสน วิฆาฏาย ปสุกุลธโร ยติ” แปลเนื้อความวา “ยติ” อันวาพระโยคาวจรภิกษุ ทรงบังสุกุลจีวรเพื่อวาจะ กําจัดเสียซึ่งมารแลเสนามาร งานในพระพุทธศาสนาปรากฏดุจดังวาบรมขัตติยราชผูกสอดทรงไวซึ่ง เกราะ อันพิจิตรดวยสัตตรัตนะกาญจนมัย งามในยุทธภูมิที่รบระงับเสียซึ่งขาศึก อนึ่ง “ยํ โลกครุนา โก ตํ” องคสมเด็จพระสัพพัญูผูเปนพระบรมครูแหงสัตวโลก พระองคทรงสละเสียซึ่งวรวัตถา พระภูษาอันประเสริฐมีโกสิยพัตรเปนอาทิ ทรมานพระองคทรง ปงสุกุลจีวรนั้นเลา เหตุอันใดพระโยคาวจรภิกษุดังฤๅ จะไมทรงปงสุกุลจีวรนั้นเลาเหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุที่ระลึกถึงคําปฏิญาณแหงตนที่รับคําวาบรรพชาอาศัยปงสุกุลจีวรเปนอาทิแลว ก็พึงยินดีดวย ปงสุกุลจีวรอันประพฤติเปนไปตามความเพียรแหงตน สังวรรณนามาในสมาทานแลวิธาน แลประเภทแลเภทะแลอานิสงส ในบังสุกุลลิกังคธุดงค นี้ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้กอน ในลําดับนั้นขาพระองคผูมีนามวา พุทธโฆษาจารย จักแสดงเตจีวริกังคธุดงคเปนคํารบ ๒ เตจีวริกังคธุดงคนี้ พระภิกษุยอมสมาทานถือเอาดวยพระบาลีทั้งสองคือสมาทานวา “จตุตฺถจีวรํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่งจีวรเปนคํารบ ๔ แลสมาทานวา “เตจีวริกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวาขาพระองคจะสมาทานถือเอา ซึ่งจีวร กังคธุดงค พระภิกษุจะสมาทานดวยพระบาลีอันใดอันหนึ่ง ก็ไดชื่อวาเปนอันสมาทานแลว “เตน ปน เตยีวริเกน” อนึ่งภิกษุที่มีไตรจีวรผาสามผืนเปนปกตินั้น มีจีวรอันคร่ําครา ไดผา เพื่อประโยชนจะทําจีวรแลวยังไมสามารถอาจเพื่อจะกระทําได เพราะเหตุไมมีความสบาย แลไมไดซึ่ง วิจารณกรรมกระทําจัดแจง แลสิ่งของอันใดอันหนึ่งมีเข็มเปนตน ยังมิไดสําเร็จตามใดก็พึงเก็บไวตราบ นั้น โทษจะบังเกิดขึ้นเหตุเก็บผาไวนั้นมิไดมี อนึ่ง จําเดิมแตยอมแลวนั้น พระภิกษุจะเก็บไวไมควร เมื่อพระภิกษุเก็บไว กระทําสันนิธิสั่ง สม พระภิกษุนั้นชื่อวาธุดงคโจร วิธานแหงเตจีวริกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง วินิจฉัยโดยประเภทแหงเตจีวริกังคธุดงคนั้นวา “อยํป ติวิโธโหติ” พระภิกษุที่มีไตร จีวรเปนปกติมี ๓ ประการ คืออุกฤษฏ แลมัชฌิมะ แลมุทุกะ ในกาลเมื่อพระภิกษุอันเปนอุกฤษฏ จะยอมไตรจีวรนั้น พึงยอมผาชื่อวาอันตรวาสกกอน เมื่อจะยอมผาอันตรวาสกนั้น นุงผาชื่อวาอุตราสงคแลวยอมผา ชื่อวาอันตรวาสก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 83 เมื่อจะยอมผาอุตราสงคนั้น นุงผาชื่อวาอันตรวาสกแลว พึงยอมผาชื่อวาอุตราสงค เมื่อจะยอมผาสังฆาฏิ “ตํ ปรุปตฺวา” หมผาชื่อวาอุตราสงคนั้นแลว พึงยอมผาสังฆาฏิ อนึ่ง อุกฤษฏภิกษุนั้น จะนุงผาสังฆาฏิไมควร วัตรอันนี้เปนวัตตปฏิบัติของอุกฤษฏภิกษุ อันอยูในเสนาสนะใกลบาน อนึ่ง อุกฤษฏภิกษุที่อยูในอรัญเสนาสนะ จะซักจะยอมซึ่งผาทั้งสอง คืออันตรวาสก แลผา อุตราสงค ในกาลอันเดียวกันก็ควร พระอุกฤษฏืภิกษุที่อยูปายอมผานั้น เห็นบุคคลผูหนึ่งเดินมาแลว แลอาจะเพื่อจะฉุดครามา ซึ่งผายอมฝาด กระทําในเบื้องบนไดฉันใด พระภิกษุนั้นก็พึงนั่งอยูในที่ใกลจีวรฉันนั้น อนึ่ง พระภิกษุมีไตรจีวรเปนปกติ อันเปนมัชฌิมปฏิบัติอยางกลางนั้น จะยอมไตรจีวรในโรง เปนที่ยอมนั้น ยอมมีผาฝากสําหรับพระภิกษุบริโภคนุงหม ในขณะจะยอมจีวร มัชฌิมภิกษุนั้นจะนุงหม ซึ่งผานั้นแลว แลกระทําซึ่งรัชชนกรรมก็ควร มุทุกภิกษุปฏิบัติอยางต่ําจะนุงจะหมจีวรทั้งหลาย กระทําซึ่งรัชชนกรรมก็ควร

แหงพระภิกษุอันเปนสภาพ

แลวแล

อนึ่ง เครื่องลาดอันเปนของสงฆ แลเปนของแหงบุคคลอื่นอันบุคคลกระทําใหแลวดวยผา ยอมฝาด ตั้งไวดวยความสามารถเปนเครื่องลาดในอาสนะนั้น ก็ควรแกมุทุกภิกษุนั้น พระมุทุกภิกษุจะยังชนใหรักษา แลวแลนําไปซึ่งเครื่องลาดนั้นเพื่อประโยชนแกตนไมควร อนึ่ง มุทุกภิกษุจะนุงหมจีวร แหงพระภิกษุทั้งหลายอันเปสภาคเนือง ๆ นั้น ก็มิไดควร อนึ่ง ผายอมฝาดกระทําเปนอังสะผืนหนึ่ง เพิ่มขึ้นไปเปนคํารบ ๔ ผืน ก็ควรแกพระภิกษุ อันมีไตรจีวรเปนปกติ นั้นแลควร

ผาอังสะนั้น ถาจะวาโดยกวางคืบหนึ่งเปนประมาณ ถาจะวาโดยยาว ๓ ศอกเปนประมาณ

อนึ่ง ธุดงคแหงพระภิกษุทั้ง ๓ มีอุกฤษฏภิกษุเปนอาทิ ยอมทําลายในขณะที่ตนยินดีจีวร เปนคํารบ ๔ เภทะ คือกิริยาทําลายในเตจีวริกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังกลาวมานี้ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ “อยํ ปน อานิสํโส เตจีวริโก ภิกฺขุ สนุตุฏโ โหติ กายปริหาริเกน จีวเรน เตนสฺส ปกฺขิโนวิยสมาทาเยว คมนํ อปฺปสมารมฺภตา วตฺถสนฺนิธิปริวชฺชนํ สลฺลหุกวุตฺติตา อติเรกจีว โลลุปฺปหานํ กปฺปเย มตฺตการิตา สลฺเลขวุตฺติ ตา อปฺปจฺฉตาทีนํ ผลนิปฺผตฺตีติ เอวมาทาทโย คุณา สมฺปชฺชนฺตีติ อติเรกวตฺถตณฺหํ ปหาย สนฺนิธิวิวชฺชิโต ธีโร สนฺโต สสุขรสฺู ติจิวรธโร ภวติโยคี ตสฺมา สปตตจรโณ ปกฺขีว สจีวโรธ โยคีวโร สุขมนุวิจริตุกาโม ติจีวรนิยเม รตึ กยิรา ติ” วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในธุดงคนิเทศ ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรค สังวรรณ นาในอานิสงสเตจีวริกภิกษุที่ทรงไตรจีวรสืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 84 มีเนื้อความวา “อยํ ปน อานิสํโส” อนึ่งอานิสงสแหงพระภิกษุมีไตรจีวรเปนปกตินั้น บัณฑิตพึงรูโดยนัยแหงพระบาลี อันขาพระองคผูชื่อวาพุทธโฆษาจารย จะแสดงดังนี้ “เตจิวรีโก ภิกฺขุ” พระภิกษุที่มีไตรจีวรเปนปกตินั้น จะไดซึ่งอานิสงส คือสันโดษยินดีใน ปจจัยแหงตน คือจีวรอันรักษากายไมใหมีอันตราย คือลมแลแดดเปนอาทิ แลจะถือเอาไตรจีวรไปดวย ตนไดดุจนกอันมีปกบินไปในอากาศ แลจะมีกิจนอย เพราะเหตุหามิไดแหงกิจทั้งหลาย มีกิจที่จะนําไป ซึ่งอติเรกจีวรเปนอาทิ แลจะเวนจากสันนิธิสั่งสมซึ่งผา แลจะประพฤติเบากายแลจะละเสีย ซึ่งโลภใน อติเรกจีวร และจะกระทําซึ่งประมาณในปจจัยอันควร แลประพฤติสัลเลขากระทําใหจิตเบาจากกิเลส แลยังผลแหงคุณทั้งหลายมีอัปปจฉตาคุณคือมีความปรารถนานอยเปนตน ใหสําเร็จคุณอานิสงสแหง เตจีวริกธุดงค มีคํากลาวมาแลวในหนหลังดังนี้เปนตน ยอมจะสําเร็จแกพระโยคาวจรภิกษุผูมีไตรจีวร เปนปกติ ใชแตเทานั้น พระพุทธโฆษาจารยเจารจนาพระบาลีสรรเสริญอานิสงสเตจีวรธุดงคไววา “อติเรกวตฺถตณฺหํ ปหาย” พระโยคาวจรภิกษุอันดําเนินดวยญาณคติละเสียซึ่งตัณหากลาวคือความ ปรารถนาอติเรกจีวร เวนแลวจากสันนิธิสั่งสมผา รูซึ่งรสแหงความสุขอันบังเกิดแตสันโดษ จึงทรงไตร จีวรบริโภคผานุงหมแตสามผืนเทานั้น เหตุดังนั้น พระภิกษุในพระศาสนานี้ ปรารถนาจะเปนโยคาวจร อันประเสริฐ มีจีวร ๓ ผืนไปกับดวยกาย ปรารถนาเพื่อจะเที่ยวไปตามความสุขสบาย ดุจดังปกษาชาติ ทั้งหลาย อันเที่ยวไปกับดวยปกแหงตนพึงกระทําซึ่งความยินดีในกิริยาที่กําหนดซึ่งจีวรรักษาเตจีวริก ธุดงค สังวรรณนามาในสมาทาน แลวิธาน แลประเภท แลเภทะแลอานิสงสในเตจีวริกธุดงค ก็ยุติ เพียงเทานี้ แตนี้จะสังวรรณนาในปณฑปาติกังคธุดงคสืบตอไปมีเนื้อความวา พระภิกษุละสมาทานปณฑปาติกังคธุดงคนั้น ยอมสมาทานดวยพระบาลีทั้งสองวา “อติเรกลาภํ ปฏิกฺขิปามิ” ซึ่งแปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่งอดิเรกลาภ แลสมาทานวา “ปณฺฑปา ติกงฺคํ สมาทิยามิ” ซึ่งแปลวาขาพระองคจะสมาทาน ถือเอาซึ่งปณฑปาติกังคธุดงค สมาทานดวย พระบาลีทั้งสองนี้ แตอันใดอันหนึ่ง ก็ไดชื่อวาสมาทานแลว อนึ่ง พระภิกษุที่บิณฑบาตเปนปกตินั้น อยาพึงยินดีดวยภัตรทั้ง ๑๔ ประการ คือสังฆภัตร ไดแกภัตรที่ทายกพึงถวายแกพระสงฆทั้งสิ้น ๑ คืออุทเทสภัตร ไดแกภัตรที่ทายกเฉพาะพระภิกษุสองสามรูปแลวจะพึงถวาย ๑ คือนิมัตนภัตร ไดแกภัตรอันทายกนิมนตพระภิกษุทั้งปวงก็ดีพระภิกษุสองสามรูปก็ดี เพื่อ จะบริโภคในวันพรุงนี้แลวแลพึงถวาย ๑ คือสลากภัตร ไดแกภัตรอันบุคคลเขียนชื่อแหงทายกทั้งหลายแลว แลพึงใหดวยสามารถ แหงสลากทั้งหลาย ที่พระภิกษุถือเอาแลว ๑ คือปกขิกภัตร ไดแกภัตรอันทายกพึงใหในวันหนึ่งในปกอันหนึ่ง ๑ คืออุโปสถิกภัตร.....อันทายกพึงใหในวันอุโบสถ ๑ คือปาฏิปทิกภัตร.....อันทายกพึงใหในวันค่ําหนึ่ง ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 85 คืออาคันตุกภัตร......อันทายกพึงใหแกพระภิกษุทั้งหลายมีอาคันตุกภิกษุเปนตน ๑ คือคมิกภัตร.....อันทายกพึงใหแกพระภิกษุอันจะไป ๑ คือคิลานภัตร....อันทายกพึงใหแกภิกษุไข ๑ คือคิลานุปฏฐากภัตร......อันทายกพึงใหแก พระภิกษุ อันอุปฏฐากซึ่งภิกษุไข ๑ คือวิหารภัตร.....อันทายกเฉพาะซึ่งวิหารแลวแลพึงให ๑ คือธุรภัทร.........อันทายกตั้งไวในเรือนอันใกลแลวแลพึงถวาย ๑ คือวารภัตร........อันทายกทั้งหลาย มีทายกอยูในบานเปนอาทิ พึงถวายโดยวาระ ๑ รวมเปนภัตร ๑๕ ประการดวยกัน หามมิใหพระภิกษุมีบิณฑบาตเปนปกติยินดีดวยภัตรทั้ง ๑๔ อยาง ดังพรรณนามานี้ อนึ่ง ถาแลวาทายกผูจะถวายภิกขาหาร ไมกลาวโดยนัยมีคําวา “สงฺฆภตฺตํ คนหถ” พระผู เปนเจาจงถือเอาสังฆภัตรเปนอาทิ กลาวถอยคําวา “อมฺหากํ เคเห สงฺโฆ” สงฆจะถือเอาภิกขาหาร ในเรือนแหงขาพเจา พระผูเปนเจาจงถือซึ่งภิกขจะ ทายกกลาวดังนี้แลวก็ถวายซึ่งภัตรทั้งหลาย พระภิกษุมีบิณฑบาตเปนธุดงควัตร จะยินดีภัตรทั้งปวงนั้นก็ควร เพราะเหตุวาทายกกลาวถอยคําอัน เปนปริยายในภิกขะ อนึ่งสลากอันปราศจากอามิส อันบังเกิดแตสํานักสงฆ แลภัตรอันทายกทั้งหลายหุงใน วิหาร เพื่อประโยชนแกสงฆนั้น ก็ควรแทจริง เพราะเหตุวาภัตรนั้น ชื่อวาภิกขะอันทายกนําไปแลวดวย เอื้อเฟอ วิธานแหงปณฑปาติกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังกลาวมาแลว อนึ่ง จะวาโดยประเภทแหงพระภิกษุที่มีบิณฑบาต เปนปกตินั้นมีประเภท ๓ ประการ คือ อุกฤษฏ แลมัชฌิมะ แลมุทุกะ ปณฑปาติกภิกษุอันเปนอุกฤษฏนั้น ยอมไมถือเอาซึ่งภิกขะอันทายกนํามาแตเบื้องหนาแล นํามาแตเบื้องหลัง อนึ่งอุกฤษฏภิกษุนั้น ยืนอยูในที่เฉพาะหนาประตูเรือน เมื่อชนทั้งหลายมารับเอาบาตรแลว ก็ใหบาตร อนึ่งอุกฤษฏภิกษุนั้น ยอมถือเอาซึ่งภิกขะอันทายกนําบาตรมา อนึ่งอุกฤษฏภิกษุนั้น ยอมถือเอาซึ่งภิกขะอันทายกนําบาตรมาจากเรือนแลวแลให ประเทศอันเปนที่กลับมาจากโคจรคาม เพื่อประโยชนแกบริโภค

ใน

อนึ่งทายกทั้งหลายกลาววา พระผูเปนเจาจงอยาเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาตเลย ขาพเจา ทั้งหลายจะนําภิกขะมาถวายในวิหาร พระภิกษุนั้นรับคํานั่งอยูแลว ในวันนั้นจะถือเอาภิกขะไมได ปณฑปาติกภิกษุเปนมัชฌิมะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

รับคําทายกทั้งหลายกลาวอยางนั้นนั่งอยูแลว

ในวันนั้น


- 86 ถือเอาภิกขะได อนึ่งมัชฌิมภิกษุไมรับภิกขะเพื่อประโยชนจะบริโภคในวันพรุงนี้ มุทุกภิกษุรับภิกขะในวันพรุงนี้ก็ได จะรับภิกขะในวันเปนคํารบ ๓ ก็ได “เต อุโคป เสริวิหารสุขํ น ลภนฺติ” มัชฌิมภิกษุ แลทุมุกภิกษุทั้งสองนั้น ไมไดสุขที่จะ อยูตามอําเภอใจ คือประพฤติเนื่องดวยบุคคลผูอื่น “อุกฏเว ลภติ” อุกฤษฏภิกษุจําพวกเดียวไดความสุข คือจะอยูมิไดเนื่องดวยบุคคลผูอื่น “กิร” ดังไดสดับมา พระธรรมกถึกเถระเจาแสดงธรรมเทศนาอันประกอบดวยอริยวังสสูตร ในบานอันหนึ่ง พระอุกฤษฏภิกษุจึงกลาวแกพระมัชฌิมภิกษุ และพระมุทุกภิกษุทั้งสอง “อาวุโส” ดูกร ทานทั้งหลายผูมีอายุ เรามาพากันไปเพื่อจะฟงพระธรรมเทศนา ในพระมัชฌิมภิกษุและพระมุทุกภิกษุทั้งสองนั้น พระมัชฌิมภิกษุรูปหนึ่งตอบวา “ภนฺเต” ขาแตทานผูเจริญ ขาพระองคนี้ มนุษยผูหนึ่งใหนั่งอยู พรุงนี้

พระมุทุกภิกษุกลาวคําตอบวา ขาพระองคนี้รับภิกษาแตมนุษยผูหนึ่งเพื่อวาจะบริโภคในวัน

พระภิกษุทั้งสองรูปนั้น เสื่อมจากธรรมสวนะ ไมไดไปฟงธรรมพระอุกฤษฏภิกษุนั้น เพลา เชาก็ไปเที่ยวเพื่อบิณฑบาต แลวก็ไปฟงธรรม, เทศนา ไดเสวยซึ่งธรรมรส คือรสแหงปราโมทยเปน อาทิ อันประกอบดวยธรรม อนึ่ง ธุดงคแหงพระภิกษุทั้ง ๓ จําพวกนี้ ยอมทําลายในขณะเมื่อตนยินดีในอติเรกลาภ มี สังฆภัตรเปนอาทิ “อยเมตฺถ เภโท” การทําลายในปณฑปาติกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังกลาวมานี้ อนึ่ง อานิสงสในปณฑปาติกธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูโดยนัยแหงคําอันเราจะกลาวดังนี้ พระภิกษุมีปณฑปาติกธุดงคเปนปกตินั้น ประกอบดวยอานิสงส คือ สภาวะปฏิบัติสมควรแก นิสัย เพราะเหตุพระบาลีองคสมเด็จพระมหากรุณาตรัสเทศนาไววา “ปณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา” เปนอาทิดังนี้ แลจะมีอานิสงส คือจะตั้งอยูในอริยวงศเปนคํารบ ๒ แลจะมีอานิสงส คือมิไดประพฤติเนื่องดวยบุคคลผูอื่น แลจะมีอานิสงส คือมีปจจัยนอย และมีปจจัยดวยงาย ปจจัยทั้งหลายนั้นก็หาโทษมิได มี ปจจัยอันพระผูทรงพระภาคสรรเสริญดังนี้ แลจะย่ํายีเสียซึ่งความเกียจคราน คือจะถึงซึ่งความเพียร คือจะเที่ยวไปตามลําดับเรือน แล จะเลี้ยงชีวิตบริสุทธิ์

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 87 แลจะยังเสขิยปฏิบัติใหบริบูรณ คือสภาวะจะไดเดินดวยกายอันปกปดดี มีระหวางไมมี แล ไมเลี้ยงบุคคลผูอื่น และจะกระทําอนุเคราะหแกบุคคลผูอื่น แลจะละเสียซึ่งมานะ แลจะหามเสียซึ่งความปรารถนาอยากในรส แลจะไมตองอาบัติดวยคณโภชนสิกขาบท แลปรัมปรโภชนสิกขาบท แลจาริตตสิกขาบท ทั้งหลาย เพราะเหตุไมรับนิมนต แลประพฤติเปนไปตามแหงคุณทั้งหลาย มีอัปปจฉาคุณ คือสภาวะมี ปรารถนานอยเปนอาทิ แลจะยังสัมมาปฏิบัติใหเจริญ อนุเคราะหแกชนอันมีในภายหลัง พระพุทธโฆษาจารยเจา พรรรณนาอานิสงสพระภิกษุที่มีบิณฑบาตเปนปกติดังนี้แลว จึง นิพนธพระคาถาสรรเสริญในอวสานที่สุดไว “ปณฺฑิยาโลปสนฺตฏโ อปรายตฺตชีวิโก” แปล เนื้อความในพระคาถาวา พระภิกษุมีบิณฑบาตเปนปกติ ยอมสันโดษยินดีในอันกลืนกินซึ่งอาหารอัน ประมวล แลเลี้ยงชีวิตไมเนื่องดวยผูอื่น มีโลภในอาหารอันละเสียแลว อาจไปไมใหขัดของในทิศทั้งสี่ แลบรรเทาความเกียจคราน “อาชีวสฺส วิสุชฺฌติ” อาชีวปาริสุทธิศีลของพระโยคาวจรภิกษุนี้ก็บริสุทธิ์ เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ มีปญญาอันงามก็อยาพึงดูหมิ่นภิกขาจารการที่จะไป เที่ยวเพื่อภิกขา “เทวาปหยนฺติตตาทิโน” เทพยดาแลมนุษยทั้งหลายยอมปรารถนาจะเห็นแลจะไหว เปนอาทิ ซึ่งพระภิกษุมีบิณฑบาตเปนปกติอันเลี้ยงซึ่งตน ไมเลี้ยงซึ่งบุคคลอื่น ปราศจากวิการเห็น ปานดังนั้นเหมือนภิกษุนี้ อนึ่งพระโยคาวจรภิกษุ จะไดอาศัยแกลาภแลยศแลคําสรรเสริญแหงสัตวโลกหามิได สังวรรณนามาในสมาทาน แลวิธานแลประเภท แลทําลาย แลอานิสงสในปณฑปาติกังค ธุดงค ก็ยุติลงแตเพียงนี้ แตนี้จะไดสังวรรณนาในสปทานจาริกธุดงคตอไป มีเนื้อความวา พระภิกษุจะสมาทานสปทานจาริกธุดงคนั้น พึงสมาทานดวยพระบาลีทั้งสอง คือสมาทานดวยพระบาลี “โลลุปฺปจารํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่งอัน เปนไปแหงโลเล แลพึงสมาทานดวยพระบาลีวา “สปาทานจาริกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา ขาพระองคจะ ถือเอาดวยดีซึ่งอันประพฤติเปนไปดวยมิไดขาดอยางนี้เปนอันสมาทานเหมือนกัน อนึ่ง พระภิกษุที่มีสมาทานจาริกเปนปกตินั้น “คามทฺวาเร ตฺวา” ยืนอยูแทนประตูบาน แลว พึงกําหนดที่จะหาอันตรายมิได “ยสฺลา รจฺฉาย วา คาเม วา” อันตรายจะมีในตรอกอันใด แลจะ มีในบานอันใด ก็พึงละเสียซึ่งตรอกอันนั้น แลบานอันนั้น พึงเที่ยวไปในตรอกอันอื่นแลบานอันอื่น ในบานอื่น

เมื่อไมไดวัตถุอันหนึ่งในประตูบานแลตรอกแลบาน กระทําสําคัญวา ไมมีบานแลว ก็พึงไป เมื่อไดวัตถุในบานใด จะละเสียซึ่งบานนั้นแลวไปก็ไมควร

อนึ่ง พระภิกษุที่มีสปทานจาริกเปนปกตินี้ พึงเขาไปสูโคจรคามในเพลาเชาโดยพิเศษ เมื่อ ประพฤติดังนี้แลว ก็สามารถอาจละเสียซึ่งอันมิไดสบายแลวแลจะไปในที่อันอื่น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 88 อนึ่ง ถาวามนุษยทั้งหลาย ทําบุญทําทานในวิหารของพระภิกษุสมาทานจาริกนี้ก็ดี หรือมา พบในทามกลางมรรคาก็ดี เขาถือเอาบาตรแลว แลถวายบิณฑบาตอยางนี้ก็ควร อนึ่ง ก็ควรพระภิกษุสปาทานจาริกนี้เดินไปในบานนั้น จะไมไดภิกขาก็ดี จะไดนอยก็ดีใน บานนั้น ก็พึงเที่ยวไปโดยลําดับบาน “อทมสฺส วิธานํ” วิธานแหงสปทานจาริกธุดงคบัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง จะวาโดยประเภทแหงภิกษุสปาทานจาริกธุดงคนี้มีประเภท ๓ ประการ คือ อุกฤษฏ แลมัชฌิมะ แลมุทุกะ อุกฤษฏภิกษุนั้นไมรับซึ่งภิกขาอันทายก นํามาแตเบื้องหนา แหงตนอันเดินไปในสถล แล ไมรับซึ่งภิกขาอันทายกนํามาแตเบื้องหลังแหงตนอันเดินไปในสถล แลไมรับซึ่งภิกขาอันทายกนํามา ในที่กลับมาจากโคจรคามเพื่อประโยชนจะบริโภคแลวก็ถวาย อนึ่งอุกฤษฏภิกษุนั้น ยอมสละซึ่งบาตรแทบประตูเรือนแหงบุคคลผูอื่น แทจริงในสปทานจาริกธุดงคนี้ พระภิกษุรูปใดปฏิบัติไดเหมือนพระมหากัสสปเถระเจานั้น ยอมจะปรากฏมี อนึ่ง พระสปทานจาริกภิกษุ อันเปนมัชฌิมะนั้น ถือเอาซึ่งภิกขาอันทายกนํามาแตเบื้องหนา แลนําแตเบื้องหลัง จะถือเอาซึ่งภิกขาที่ทายกนํามาในที่กลับมาจากโคจรคาม เพื่อจะบริโภคแลสละ ซึ่งบาตรแทบประตูเรือนแหงบุคคลผูอื่น มัชฌิมภิกษุนั้น จะนั่งคอยถาภิกขาไมไดควร ยอมอนุโลมตามอุกฤษฏปณฑปาติกภิกษุ มุทุกภิกษุนั้น จะนั่งคอยถาในวันนั้นก็ควร อนึ่ง เมื่อประพฤติเปนไปดวยสามารถแหงโลก มาตรวาบังเกิดขึ้นแกพระภิกษุทั้ง ๓ นี้ ธุดงคก็ทําลาย เภทะ กริยาทําลายสปทานจาริกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ “อยํ ปนานิสํโส” อนึ่งอานิสงสพระภิกษุที่สปทานจาริกเปนปกตินั้น องคสมเด็จพระผูทรง พระภาคตรัสเทศนาสรรเสริญไววา “กุเลสุนิจฺจนวกตา” สปทานจาริกภิกษุนี้เปนภิกษุอันใหมอยูสิ้น กาลเปนนิจในสกุลทั้งหลาย แลเปนภิกษุมิไดขัดของในสกุล แลมีสภาวะเหมือนดวยดวงจันทร แลละ เสียซึ่งตระหนี่ในตระกูล แลมีความอนุเคราะหเสมอกันคือมิไดเวนสกุล แลสภาวะหามิไดแหงโทษคือ ที่เขาไปสูสกุล แลมิไดยินดีในอาหารคือมิไดรับบิณฑบาตแหงทายก แลประพฤติเปนไปตามแกคุณ ทั้งหลาย มีปรารถนานอยเปนประธานเพราะเหตุการณนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจา จึงนิพนธคาถาไว “จนฺทูปโม นิจฺจนโว กุเลสุ” แปลเนื้อความวา พระภิกษุที่มีสปทานจาริกธุดงคเปนปกตินั้น มีจันทรพิ มานเปนอุปมาใหมอยูเปนนิจในสกุลทั้งหลายปราศจากมัจฉริยะ อนุเคาาะหเสมอในสกุลทั้งปวง พน จากลามกโทษที่เขาไปสูสกุล แลละเสียซึ่งประพฤติเปนไปแหงโลก เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุใน พระพุทธศาสนาดําเนินดวยญาณคติปรารถนาจะเที่ยวไปตามอําเภอน้ําใจ พึงทอดจักษุลงไปในที่ต่ํา เพงดูซึ่งที่มีชั่วแอกหนึ่งเปนประมาณพึงประพฤติสปทานจาริกธุดงค สังวรรณนามาในสมาทานแลวิธานแลประเภทแลเภทะ แลอานิสงสในสปทานจาริกธุดงค ก็ยุติแตเพียงนี้ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 89 “เอกาสนิกงคํป นานาสนโภชนํ ปฏิกฺขิปามิ เอกาสนิกงฺคํ สมาทิยามีติ อิเมสํ อฺญ ตรวจเนน สมาทินฺนิ โหติ เตน ปน เอกาสนิเกน อาสนสาลายํ นิสีทนฺเตน เถราสเน อนิสีทิตฺวา อิทํ มยฺหํ ปาปฺณิสฺสตีติ ปฏิรูป อาสนํ สลฺลกฺเขตฺวา นิสีติตพฺพํ สจสฺส วิปุปกเต โภชเน อาจริโย วา อุปชฺฌาโย วา อาคจฺฉติ อุฏาย วตฺตํ กาตุ ํ วฏฏติ ติปฏกจุฬาภยตฺเกโร อาห อาสนํ วา รกฺ เขยฺย โภชนํ วา อยํ จ วิปฺปกตโภชโน ตสฺมา วตฺตํ กโรตุ โภชนํ ปนมา ภุฺชตูติ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในเอกาสนิกธุดงค อันมีในธุดงคนิเทศ ในปกรณ ชื่อวาวิสุทธิมรรค สืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระบาลีมีเนื้อความวา “เอกาสนิกงฺคํป” แมอันวาเอกาสนิกังคธุดงค องคพระภิกษุจะสมาทาน ก็พึงสมาทานดวย พระบาลีทั้ง ๒ คือสมาทานวา “นานาสนโภชนํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่ง บริโภคโภชนะในอาสนะตาง ๆ แลสมาทานดวยพระบาลีวา “เอกาสนิกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวาขาพระองคจะสมาทานซึ่ง เอกาสนิกกังคธุดงคอันใดอันหนึ่งก็ไดซึ่งวาสมาทานแลว อนึ่ง เอกาสนิกภิกษุนั้น เมื่อนั่งอยูในศาลาอันเปนที่บริโภคนั้นอยานั่งในอาสนะพระมหา เถระ พึงกําหนดอาสนะพอสมควรดวยมสิการกระทําไวในใจวา อาสนะนี้จะถึงแกเราแลวพึงนั่งอยู อนึ่ง เมื่อเอกาสนิกภิกษุนี้บริโภคยังคางอยู พระเถระผูเปนอาจารยแลเปนพระอุปชฌายมา ในอาสนศาลา ก็พึงลุกขึ้นกระทําวัตรจึงจะควร พระติปฎกจุฬาภยเถระกลาววา อาสนะและโภชนะจะพึงรักษา มีอรรถรูปวาอาสนะจะพึงรักษา พระภิกษุมีอาสนะอันหนึ่งเปนปกติอันจะบริโภคมิไดให ธุดงคจะทําลาย พระภิกษุบริโภคยังไมแลวตราบใดอยาพึงลุกขึ้นจากอาสนะตราบนั้น โภชนะจะพึงรักษา พระภิกษุเมื่อจะบริโภคมิไดใหธุดงคทําลายภิกษุนั้น ยังไมปรารภเพื่อ จะบริโภคตราบใด ก็พึงลุกขึ้นไดตราบนั้น “อยํ จ วิปฺปกตโภชโน” แทจริงพระเอกาสนิกภิกษุนี้ ยังบริโภคคางอยู เพราะเหตุดังนั้น พระภิกษุจึงกระทําวัตรแกพระเถระอันเปนอาจารยเปนอาทิ จงอยาบริโภคโภชนะ วิธานแหงพระภิกษุมีเอกาสนิกธุดงคเปนอาทิ บัณฑิตพึงรูดังกลาวมานี้ อนึ่ง จะวาโดยประเภทเอกาสนิกภิกษุนี้มีประเภท ๓ ประการ คือ อุกฤษฏ แลมัชฌิมะ แล มุทุกะ เอกาสนิกภิกษุอันเปนอุกฤษฏนั้น ยังหัตถใหหยอนลงในภาชนะอันใด อันนอยก็ดี อันมากก็ ดี ก็มิไดเพื่อจะถือเอาซึ่งโภชนะอันอื่นจากโภชนะนั้น ถาแลจะวามนุษยทั้งหลายรูวาพระมหาเถระของเราบริโภคนอยจะนํามาซึ่งวัตถุมีสัปปเปน ตนเขาไปถวาย ภิกษุนั้นจะรับเพื่อเภสัชจึงจะควรถาจะรับเพื่ออาหารแลวก็ไมควร เอกาสนิกภิกษุอันเปนมัชฌิมะนั้น ภัตรในบาตรยังไมสิ้นตราบใดก็ได เพื่อจะรับเอาซึ่งวัตถุ อันอื่นตราบนั้น แทจริงมัชฌิมะภิกษุนั้น ชื่อวาโภชะเปนที่สุด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 90 มุทุกภิกษุนั้น ไมลุกจากอาสนะตราบใด ก็ไดเพื่อจะบริโภคไปตราบนั้น แทจริงมุทุกภิกษุนั้น ชื่อวามีน้ําเปนที่สุด เพราะเหตุวาไมถือเอาน้ําชําระบาตรตราบใด ก็ได เพื่อจะบริโภคโภชนะตราบนั้น แลชื่อวามีอาสนะเปนที่สุด เพราะเหตุวาไมลุกขึ้นจากอาสนะตราบใดก็ ไดเพื่อจะบริโภคตราบนั้น ธุดงคแหงภิกษุทั้งสามจําพวกนี้ ยอมทําลายในขณะบริโภคโชนะในอาสนะตาง ๆ “อยเมตฺถ เภโท” กิริยาทําลายในเอกาสนิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังกลาวมานี้ อนึ่ง อานิสงสของพระภิกษุที่มีเอกาสนิกธุดงค เปนปกตินั้นวา “อปฺปาพาธตา” คือจะมี อาพาธนอย แลจะใหปราศจากทุกขอันบังเกิดแกสรีระ เพราะเหตุบริโภคปจจัยสิ้นวาระเปนอันมาก แล จะประพฤติเบากาย แลจะมีกําลังกาย แลจะอยูสบาย แลจะหาอาบัติมิได เพราะปจจัยคืออนติริต โภชนะ แลจะบรรเทาเสียซึ่งความปรารถนาในรส แลจะเปนไปตามคุณทั้งหลาย มีปรารถนานอยเปน อาทิ พระพุทธโฆษาจารยเจา นิพนธพระบาลีสรรเสริญเอกาสนิกธุดงควา “เอกาสนโภชเน รตํ น ยตึ โภชนปจฺจยา” โรคทั้งหลายมีโภชนะเปนเหตุปจจัย มิไดเบียดเบียนซึ่งพระยัติโยคาวจรภิกษุ ผูยินดีในเอกาสนิกธุดงค พระภิกษุนั้นปราศจากโลกในรสอาหารมิไดยังโยคกรรม คือกระทําความ เพียรแหงตนใหเสื่อม เหตุใดเหตุนั้นพระโยคาวจรมีกมลจิตอันบริสุทธิ์พึงยังความยินดีใหบังเกิดใน เอกาสนิกธุดงคเปนเหตุที่จะใหอยูสบาย เปนที่เขาไปใกล เสพซึ่งความยินดีในสัลเลขอันบริสุทธิ์ สังวรรณนาในสมาทานแลวิธานแลประเภท แลเภทะ คือทําลาย แลอานิสงสในเอกาสนิก ธุดงค ก็ยุติแตเพียงนี้ อนึ่ง ปตตปณฑิกธุดงคนั้น เมื่อพระภิกษุจะสมาทาน ใหสมาทานดวยพระบาลีทั้งสอง คือ “ทุติยภาชนํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวา ขาพระองคจะหามเสียซึ่งภาชนะเปนคํารบ ๒ แลสมาทานดวยพระบาลีวา “ปตฺตปฑิณฺกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา ขาพระองคจะ สมาทานปตตปณฑิกธุดงค อันใดอันหนึ่งก็ไดชื่อวาเปนสมาทานแลว “เตน ปน ปตฺตบฺฑิเกน” พระภิกษุที่มีปตตปณฑิกธุดงคเปนปกตินั้น พึงตั้งใจไวซึ่งขาว ยาคูในภาชนะ ในกาลเมื่อดื่มกินซึ่งขาวยาคูแลพยัญชนะที่ตนไดแลว พึงกัดกินเคี้ยวกินเสียกอน จึงจะ ดื่มกินขาวยาคู อนึ่ง ถาแลพระภิกษุนั้น จะใสลงซึ่งพยัญชนะปนในขาวยาคู เมื่อพยัญชนะปนมัจฉะอันบูด เปนตน ลงไปแปดเปอนในขาวยาคู ขาวยาคูก็เปนปฏิกูล พระภิกษุนั้นจะกระทําใหเปนปฏิกูลแลว แล บริโภคก็ควรเหตุใดเหตุดังนั้น คําที่วาควรนี้ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาหมายเอาซึ่ง พยัญชนะเห็นปานดังนั้น “ยํ ปน มธุสกฺกราทิกํ” อนึ่งวัตถุอันใดมีน้ําผึ้งแลน้ําตาลกรวดเปนอาทิ เปนของมิไดเปน ปฏิกูล พระภิกษุก็พึงใสวัตถุนั้นในขาวยาคู เมื่อพระภิกษุจะรับซึ่งน้ําผึ้งแลน้ําตาลกรวดนั้น พึงรับควรแกประมาณ พระภิกษุจะถือเอาผักดองแลมูลมันดวยหัตถ แลวแลจะกัดกินก็ควร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 91 อนึ่ง ถาไมกระทําอยางนั้น พึงใสในบาตร จะใสไปในที่อื่นไมควร เพราะเหตุหามภาชนะ เปนคํารบสอง วิธานในปตตปณฑิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดงนี้ อนึ่ง ถาจะวาโดยประเภท พระภิกษุมีปตตปณฑิกธุดงคเปนปกตินี้ มีประเภท ๓ ประการ คืออุกฤษฎ แลมัชฌิมะ แลมุทุกะ พระอุกฤษฎนั้น จะทิ้งกากหยากเยื่อแหงวัตถุที่ตนจะพึงเคี้ยวกินนั้นไมควร เวนไวแตกาลที่ จะกัดกินซึ่งออย อนึ่ง อุกฤษฎภิกษุ จะทําลายซึ่งกอนขาว แลปลาแลเนื้อแลขนมออกกัดกินนั้นไมควร พระมัชฌิมภิกษุ จะทําลายกอนขาวแลปลาแลเนื้อแลขนมออกดวยมือขางหนึ่ง แลวแลกัด กินก็ควร พระมัชฌิมภิกษุนี้ ชื่อวาหัตถาโยคี แปลวามีประกอบซึ่งอาหารอันตนทําลายดวยมือ แลใส ในมุขประเทศเปนปกติ อนึ่ง มุทุกภิกษุนั้น อาจเพื่อจะใสเขาซึ่งวัตถุอันใดในบาตร ก็ควรเมื่อจะทําลายวัตถุทั้งปวง นั้น ดวยหัตถก็ดี ดวยทันตก็ดี แลแลกัดกิน อนึ่ง ธุดงคของภิกษุ ๓ จําพวกนี้ เมื่อจะทําลายก็ทําลายในขณะซึ่งยินดีที่ภาชนะเปนคํารบ สอง การทําลายในปตตปณฑิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่งโสด อานิสงสของพระภิกษุที่มีปตตปณฑิกธุดงคนี้เปนปกติเห็นซึ่งประมาณใน ประโยชนในอาหารอันสมเด็จพระบรมศาสดาจารยทรงอนุญาต แลปราศจากความกําหนัดที่จะนําไป ซึ่งภาชนะทั้งหลายมีโอกาสเปนอาทิ แลปราศจากขวนขวายที่จะถือเอาซึ่งพยัญชนะอันตั้งอยูใน ภาชนะตาง ๆ แลประพฤติเปนไปตามแกคุณทั้งหลายอัปปจฉตาคุณ คือมีความปรารถนานอยเปนอาทิ เพราะเหตุการณนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาจึงนิพนธคาถาสรรเสริญพระภิกษุที่มีปตตปณ ฑิกธุดงคเปนปกติวา “นานาภาชนวิกฺเขป หิตฺวา โอกฺขิตฺตโลจโน” พระยัติโยคาวจรภิกษุ มีปตตปณฑิกธุดงคเปนปกตินั้น ละเสียแลวซึ่งกําเริบแหงภาชนะตาง ๆ มีจักษุอันทอดลงในเบื้องต่ํา กระทําสัญญาควรแกประมาณ เมื่อเปนประดุจดังวาจะขุดเสียถอนเสียซึ่งมูลแหงรสตัณหา หรือความ ปรารถนาในรส มีวัตรอันดีมีจิตอันงาม ทรงไวซึ่งสันตุฏฐีดุจดังรูปแหงตนแลวแลอาจเพื่อจะบริโภค อาหาร “โกอฺโญ ปตฺตปณฺฑิโก” พระภิกษุองคอื่น ดังฤๅจะมิไดปตตปณฑิกธุดงคเปนปกติ บริโภค ซึ่งอาหารดังนี้ สังวรรณนามาในสมาทานแลวิธาน แลประเภทแลเภทะ แลอานิสงสในปตตปณฑิกธุดงค ก็ ยุติแตเพียงนี้ ในขลุปจฉาภัตติกธุดงคนั้น พระภิกษุพึงสมาทานดวยพระบาลีคือ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวา ขาพระองคหามอนติริตตโภชนะ

“อนติริตฺตโภชนํ

แลพระบาลีวา “ขลุปจฺฉาภตฺติกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา ขาพระองคสมาทานบัดนี้ ซึ่งขลุ ปจฉาภัตติกธุดงค แตอันใดอันหนึ่งก็ได ชื่อวาสมาทานแลว

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 92 “เตน ปน ขลุปจฺฉาภตฺติเกน” อนึ่งพระภิกษุที่มีขลุปจฉาภัติติกธุดงค เปนปกตินั้น หาม ขาวแลวแลยังบุคคลใหกระทําโภชภะใหเปนกับปยะใหมเลา แลวจะพึงบริโภคนั้นไมควร วิธานแหงขลุปจฉาภัตติกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง ถาจะวาโดยประเภทนั้น ขลุปจฉาภัตติกธุดงคภิกษุนี้มีประเภท ๓ ประการ คืออุกฤษฏ แลมัชฌิมะแลมุทุกะ กิริยาที่จะหามขาวในกอนอามิสเปนปฐม มิไดมีแกอุกฤษฏภิกษุเหตุใดเหตุดังนั้น อุกฤษฏ ภิกษุหามขาวแลวดวยประการดังนี้ อยาบริโภคกอนอามิสเปนคํารบสอง อนึ่ง เมื่ออุกฤษฏภิกษุจะกลืนกินกอนอามิสเปนปฐมนั้น ยอมจะหามเสียซึ่งกอนอามิสอื่น เพราะเหตุการณนั้น อุกฤษฏภิกษุหามขาวแลวดวยประการดังนี้ กลืนกินกอนอามิสเปนปฐมแลวก็มิได บริโภคกอนอามิสเปนคํารบสอง มัชฌิมภิกษุนั้นหามขาวแลว โภชนะอันใดตั้งอยูแลวในบาตรก็ยอมจะบริโภคซึ่งโภชนะนั้น อันตั้งอยูแลวในบาตรแทจริง มุทุกภิกษุนั้น ไมลุกจากอาสนะตราบใด ยอมจะบริโภคไดตราบนั้น อนึ่ง ธุดงคแหงพระภิกษุ ๓ จําพวกนี้ ยอมจะทําลายในขณะที่ตนหามขาวแลว แลจะยังชน ใหกระทําเปนกัปปยะแลวแลบริโภค “อยเมตตฺถ เกโท” กิริยาที่ทําลายในขลุปจฉาภัตติกธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูดังนี้ “อยํ ปนานิสํโส” อนึ่ง อานิสงสแหงขลุปจฉาภัตติกธุดงคนั้นวา “อนติริตฺตโภชนาปตฺติยา” พระภิกษุผูประพฤติความเพียรในขลุปจฉาภัตติกธุดงคนี้ จะ ตั้งอยูในที่ไกลจากอาบัติอันบังเกิดแกปจจัย คือ บริโภคแลกัดกินแลเคี้ยวกินซึ่งอาหาร มีอนติริตตวินัย กรรมอันตนมิไดกระทําแลว แลภาวะหามิไดที่กระทําใหเต็มทองแลจะปราศจากสันนิธิสั่งสมอามิสไว เพื่อจะบริโภคใหมเลา ในตนที่ตนหามขามแลวแลสภาวะหามิไดแหงแสวงหาใหมเลา แลจะประพฤติ เปนไปตามแกคุณทั้งหลาย มีอัปปจฉตาคุณ คือปรารถนานอยเปนอาทิ พระโยคาวจรภิกษุอันดําเนิน ดวยญาณคติ มีขลุปจฉาภัตติกธุดงคเปนปกติมิไดถึงซึ่งความกําหนัด ในการที่จะแสวงหาไมกระทํา สันนิธิสั่งสม ละเสียซึ่งกิริยาที่กระทําอาการใหเต็มทอง มีขลุปจฉาภัตติกธุดงคเปนปกติ เหตุใดเหตุ ดังนั้น พระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ มีความปรารถนาเพื่อจะกําจัดเสียซึ่งความปรารถนาทั้งปวง มี เสพซึ่งขลุปจฉาภัตติกธุดงค อันองคสมเด็จพระสุคตสรรเสริญ เปนที่ยังความเจริญแหงคุณทั้งหลาย มีสันโดษยินดีในปจจัยเปนของแหงตนใหบังเกิด สังวรรณนาในสมาทานแลวิธาน แลประเภทแลเภททําลายแลอานิสงสในขลุปจฉาภัตติก ธุดงค ก็ตั้งอยูดวยอาการอันสําเร็จดังนี้ ในอารัญญิกธุดงคนั้น เมื่อพระภิกษุจะสมาทาน ก็พึงสมาทานพระบาลีทั้งสอง อยางใด อยางหนึ่ง “คามนฺตเสนาสนํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวา ขาพระองคจะหามเสียซึ่งเสนาสนะใกลบาน แลสมาทานวา “อารฺญิกงฺคํ สมาทิยามิ” ขาพระองคจะถือเอาซึ่งอารัญญิกธุดงค มีอยู ในประเทศอันบุคคลไมพึงยินดีเปนปกติ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 93 “เตน ปน อารฺญิเกน” อนึ่งอารัญญิกภิกษุนั้น ละเสียซึ่งเสนาสนะอันใกลบาน แลวแล พึงยังอรุณใหตั้งขึ้นในอรัญประเทศบานอันเปนไปกับดวยอุปจารบาน ชื่อวาคามันตเสนาสนะ อนึ่งโสด ประเทศอันใดอันหนึ่ง มีกุฎีพันหนึ่งก็ดี มีกุฎีมากก็ดี มีรั้วลอมก็ดี ไมมีรั้วลอมก็ดี มี มนุษยอยูก็ดี ไมมีมนุษยก็ดี ประเทศนั้นชื่อวา คาโม แปลวาบาน กําหนดที่สุดนั้นพวกพาณิชยมาตั้ง ทับอยูในประเทศที่ใดมากกวา ๔ เดือน ในประเทศนั้นชื่อวาบาน ถาแลวาธรณีทั้งสองแหงบานอันแวดลอมอยู ดุจดังวาธรณีทั้งสองแหงเมืองอนุราธ มัชฌิม บุรุษที่มีกําลังยืนอยูเห็นธรณีอันมีอยูภายในทิ้งกอนดินออกไปใหตกลงในที่ใด ประเทศที่นั้นชื่อวา คามูปจารแปลวาอุปจารแหงบาน พระเถระทั้งหลายอันทรงซึ่งวินัย กลาวลักษณะกําหนดเลฑฑุบาตนั้นวา “ตรุณมนุสฺสา อตฺตโน พลํ ทสฺเสนฺตา” มนุษยทั้งหลายที่เปนหนุม เมื่อจะแสดงซึ่ง กําหนดแหงตน เหยียดออกซึ่งแขนแลวแลทิ้งไปซึ่งกอนดินฉันใด ภายในแหงที่อันเปนที่ตกแหงกอน ดินอันตรุณมนุษยทิ้งไปฉันนั้น ชื่อวาอุปจารแหงบาน อนึ่ง พระเถระทั้งหลายอันเลาเรียนพระสูตรกลาววา “กากวา รณนิยเมน ขิตฺตสฺส” ภายในแหงที่อันเปนที่ตกแหงกอนดิน อันชนทิ้งไปแลวโโยกําหนดที่จะหามเสียซึ่งกา ชื่อวาคามูปจาร ถาจะวาโดยบานมิไดมีรั้วลอมนั้น มาตุคามยืนอยูแทบประตูแหงเรือน อันมีในที่สุดแหง เรือนทั้งปวง แลวแลสาดไปซึ่งน้ําอันใดดวยภาชนะที่อันเปนที่ตกแหงน้ํานั้น ชื่อวาอุปจารแหงเรือน “เอโก เลทฺฑุปาโต” กิริยาที่ตกแหงกอนดินอันมัชฌิมบุรุษทิ้งออกไปแตอุปจารแหงเรือน นั้น โดยนัยอันกลาวมาแลว ชื่อวาบานหนึ่ง เลฑฑุบาต คือตกแหงกอนดิน ที่มัชฌิมบุรุษทิ้งไปเปนคํารบสองนั้น ชื่อวาอุปจารแหงบาน อนึ่ง คํากลาววา “สพฺพเมตํ อรฺญํ” แปลวาประเทศทั้งปวงนี้ ชื่อวาอรัญราวปา พระ อาจารยเวนไวซึ่งบานแลอุปจารแหงบานแลว แลกลาวโดยวินัยปริยายนั้นกอน แลคํากลาววาประเทศ ทั้งปวงออกไปภายนอกแหงธรณีชื่อวาอรัญราวปาอาจารยกลาวไวโดยอธิธรรมปริยาย อนึ่ง ในสุตตันตปริยายนี้ อาจารยซึ่งลักษณะกําหนดวาที่สุด ๕๐๐ ชั่วธนูชื่อวาอรัญญิก เสนาสนะ มีคําพระอรรถกถาจารยทั้งหลายกลาวไวในอรรกถา พระวินัยวานักปราชญพึงกําหนด จําเดิมแตธรณีแหงบานมีรั้วลอม ดวยธนูแหงอาจารยยันโกงไว ตราบเทาถึงที่ลอมแหงวิหาร ไมฉะนั้น บัณฑิตพึงนับกําหนดจําเดิมแตเลฑฑุบาตเปนปฐมแหงบาน มิไดมีรั้วลอมตราบเทาถึงที่ลอมแหงวิหาร ดวยธนูแหงอาจารยอันโกงแลวใหได ๕๐๐ ชั่วธนูจึงไดชื่อวา อรัญญิกเสนาสนะ อนึ่ง ถาแลวาวิหารไมมีที่ลอมเสนาสนะ แลภัตตศาลา แลที่ประชุมสิ้นกาลเปนนิจ แลไม พระมหาโพธิ แลพระเจดียอันใดกอนกวาสิ่งทั้งปวง ผิวแลวามีในที่ใกลแตเสนาสนะ บัณฑิตพึงกระทํา กําหนดซึ่งเสนาสนะเปนอาทิแลวนับได ๕๐๐ ชั่ว ดวยธนูของอาจารยที่โกงไวแลว อนึ่ง พระอรรถกถาจารย กลาวในอรรถกถามัชฌิมนิกายวา “วิหานสฺสป คามสฺเสว” นักปราชญพึงนําออกซึ่งที่อุปจารแหงวิหารดุจดังวาอุปจารแหงบาน แลวแลพึงนับในระหวางแหงเลฑุ บาตกลาวประมาณในอารัญญิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 94 “สเจป อาสนฺเน คาโม โหติ วิหาเร ิเตหิ มนุสฺสการ สทฺโถ สุยฺยติ ปพฺพตนทีอาทีหิ ปน อนฺตริตตฺตา น สกฺกา อุชุ ํคนฺตุ ํ โย ตสฺส ปกติมกฺโค โหติ สเจป นาวาย สยฺจริตพฺโพเตน มคฺเคน ปฺจธนุสติกํ คเหตุพฺพํ โย ปน อาสนฺนคามสฺส องฺคสมฺปาทนตฺถํ ตโต ตโต มคฺคํ ปทห ติ อยํป ธุตงฺกโจโร โหติ สเจ ปน อารยฺญิกสฺส ภิกฺขุโน อุปชฺฌาโย วา อาจริโย วา คิลาโน โห ติ” วาระนี้ไดรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในอารัญญิกธุดงคสืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระ บาลี มีเนื้อความวา “สเจป อาสนฺเน คาโม” ถาแลบานมีอยูในที่ใกล พระภิกษุทั้งหลายอยูในวิหารได ยินเสียงมนุษย ชาวบานเจรจากัน ชนทั้งหลายไมอาจเดินตรงไปไดเพราะเหตุภูเขาแลแมน้ําเปนอาทิ กั้นอยู หนทางอันใดเปนหนทางอันปกติที่จะไปบานนั้น บัณฑิตพึงวัดทวนออกไปใหได ๕๐๐ ชั่วธนู โดยหนทางนั้น อนึ่งหนทางที่จะไปบานนั้น บุคคลจะเขาไปดวยนาวา บัณฑิตพึงถือเอาใหได ๕๐๐ ชั่วธนู โดยหนทางเรือนั้น อนึ่ง อรัญญิกภิกษุรูปใดปดหนทางที่จะไปมาโดยอากาศนั้น ๆ เพื่อจะยังองคแหงบานอัน ตั้งอยูในที่ใกลใหสําเร็จ อารัญญิกภิกษุนี้ชื่อวา ธุดงคโคจร อนึ่ง ถาแลวาพระเถระอันเปนพระอุปชฌาย แลพระเถระอันเปนพระอาจารยของพระ อารัญญิกภิกษุนั้นเปนไข อารัญญิกภิกษุนั้นไมไดที่สบายจะรักษาไข ก็พึงรับอุปชฌายเปนอาทิไปสู เสนาสนะอันใกลบาน แลวพึงกระทําอุปฏฐาก อนึ่ง อารัญญิกภิกษุ พึงออกจากคามันตเสนาสนะในเพลาเชามืดยังอรุณใหตั้งขึ้นในที่อัน ประกอบดวยองคแหงอารัญญิกธุดงค ถาแลวาอาพาธแหงพระอุปชฌายแลอาจารย เจริญเจ็บปวยมาก ในเวลาที่จะยังอรุณใหตั้งขึ้น อารัญญิกภิกษุนั้นพึงกระทําซึ่งกิจของพระเถระอันเปนพระอุปชฌายแล อาจารยนั้น ภิกษุนั้นก็มีธุดงคมิไดบริสุทธิ์ “อิทมสฺส วิธานํ” วิธานแหงอารัญญิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง ถาวาโดยประเภทนั้น อารัญญิกภิกษุธุดงคนี้มีประเภท ๓ ประการ คืออุกฤษฏแลมัชฌิ มะแลมุทุกะ เปนประเภท ๓ ประการดังนี้ พระอุกฤษฏภิกษุนั้น พึงยังอรุณใหตั้งขึ้นในอรัญประเทศสิ้นกาลทั้งปวง มัชฌิมภิกษุไดเพื่อจะอยูในคามันตะเสนาสนะ ในฤดูฝน ๔ เดือน มุกทุกภิกษุนั้น ไดเพื่อจะอยูในคามันตเสนาสนะ ในเหมันตฤดูหนาวดวย อนึ่ง อารัญญิกภิกษุทั้ง ๓ นี้ ออกจากอรัญประเทศมาฟงธรรมเทศนาในคามันตเสนาสนะ ในกาลควรแกอาจารยกําหนด ผิววาอรุณจะตั้งขึ้นธุดงคก็มิไดทําลาย อนึ่ง ฟงธรรมเทศนา กลับไปไมทันถึงธรณี อรุณตั้งขึ้นในมรรคาธุดงคก็มิไดทําลาย อนึ่ง พระธรรมกถึกเถระผูแสดงธรรมลุกขึ้นจากอาสนะแลว ถาแลวาอารัญญิกภิกษุนั้นคิด วาอาตมาจะนอนเสียสักครูหนึ่จึงจะไป เมื่อหลับอรุณตั้งขึ้น ธุดงคแหงพระภิกษุนั้นก็ทําลาย อนึ่ง พระภิกษุทั้ง ๓ จําพวกนี้ ยังอรุณใหตั้งขึ้นในคามันตเสนาโดยชอบใจตน ธุดงคของ พระภิกษุทั้งหลายนั่นก็ทําลาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 95 “อยเมตฺถ เภโท” การทําลายในอารัญญิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่ง อานิสงสแหงพระอารัญญิกธุดงคนั้น องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสสรรเสริญไววา “อารฺญิโก ภิกฺขุ” พระภิกษุที่มีอารัญญิกธุดงคเปนปกตินั้น กระทําอารัญญสัญญาไวในจิต ควรที่ เพื่อจะไดสมาธิที่ตนยังไมได แลควรเพื่อจะรักษาไวซึ่งสมาธิที่ตนไดแลว “สตฺถาปสฺส อตฺตมโน” อนึ่งพระบรมศาสดายอมมีพระหฤทัยชื่นชม แกพระภิกษุที่มี อรัญญิกธุดงคเปนปกติ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาค “เตนหํ นาคิตสฺส ภิกฺขุโน” ดูกรพระภิกษุ ทั้งหลาย พระตถาคตมีพระหฤทัยชื่นชมแกพระนาคิตภิกษุ เพราะเหตุวานาคิตภิกษุนั้นทรงธุดงค คือมี อยูในอรัญราวปาเปนปกติ “อสปฺปายรูปาทโย” รูปแลเสียงแลกลิ่นแลรสแลโผฏฐัพพารมณทั้งปวง มิ อาจสามารถที่จะยังจิตแหงพระภิกษุอันอยูในเสนาสนะอันสงัดใหฟุงซานได พระภิกษุที่อยูในอรัญ เสนาสนะนั้นปราศจากสะดุงจิตแลว ยอมจะละเสียซึ่งอาลัยในชีวิต ยินดีซึ่งรถแหงความสุขอันบังเกิด แตวิเวก นัยหนึ่งสภาวะที่ทรงไวซึ่งธุดงคมีบังสุกุลธุดงคเปนอาทิ ก็สมควรแกพระภิกษุที่ทรงอารัญญิก ธุดงคนี้ เพราะเหตุดังนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาจึงนิพนธพระคาถาวา “ปวิวิตฺโต อสํสฏโ” พระยัติโควาจรเจามีอรัญญิกธุดงคเปนปกตินี้ ยอมยินดีในที่สงัดมิไดระคนดวยคฤหัสถแลบรรพชิต แล ยินดีในอารัญญิกเสนาสนะ ยังพระหฤทัยแหงพระองคพระบรมโลกนาถใหยินดีดวยกิริยาที่อยูปาเปน ปกติ “เอโก อรฺเญ นิวาสํ” ใชแตเทานั้นพระโยคาวจรเจานี้ เมื่ออยูในอรัญประเทศ ยอมจะไดซึ่งรส อันบังเกิดแตความสุข คือเปนองคพระอรหันตอันใด เทพยดาทั้งหลายมีองคอมรินทราธิราชเปนใหญ เปนประธาน ก็มิไดซึ่งความสุขนั้น “ปสุกุลฺจ เอ โสว” พระโยคาวจรเจานี้เมื่อทรงไวซึ่งบังสุกุล ธุดงค เปรียบประดุจดังวากษัตริยอันทรงเกราะ ตั้งอยูในแผนดินอันเปนที่กระทําซึ่งสงคราม กลาวคือ อยูในอรัญประเทศราวปา หัตถซายขวาทรงซึ่งอาวุธจะยุทนาการ กลาวคือทรงธุดงคอันวิเศษสามารถ เพื่อจะผจญเสียซึ่งมารอันเปนไปกับดวยพาหนะ ในกาลมิไดนาน เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุในพระพุทธศาสนาผูดําเนินดวยญาณคติพึงกระทําความยินดีใน อรัญวาส อยูรักษาทรงไวซึ่งอารัญญิกธุดงคดังนี้ สังวรรณนามาในสมาทานแลวิธานแลประเภทะ แลอานิสงสในอารัญญิกธุดงค ก็ตั้งอยูแลว ดวยอาการอันสําเร็จดังกลาวมานี้ ในรุกขมูลิกธุดงคนั้นเมื่อพระภิกษุจะสมาทาน ก็พึงสมาทานดวยพระบาลีทั้งสองคือ “ฉนฺนํ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่งอาวาสที่อยู อันมุงดวยวัตถุทั้งหลายมีกระเบื้องเปนตน แลพระบาลีวา "รุกฺขมูลิกงฺคํ สมาทิยามิ" ขาพระองคจะพึงถือเอาซึ่งรุกขมูลิกธุดงคอันใด อันหนึ่ง ก็ชื่อวาสมาทานแลว "เต ปน รุกขมูลิเกน" อนึ่งพระภิกษุที่มีรุกขมูลธุดงคเปนปกติ พึงเวนเสียซึ่งตนไม ทั้งหลายนี้ คือตนไมอันตั้งอยูในแดนพระนครแหงบรมกษัตริยทั้งสอง แลรุกขเจดียที่มนุษยทั้งหลาย สมมติกลาวกันวา เปนตนไมอันเทพยดาสิงสถิตอยูแลตนไมมียางมีไมรกฟาเปนอาทิ แลตนไมมีผล แลตนไมมีดอก แลตนไมอันคางคาวทั้งหลายเสพอาศัยอยู แลตนไมมีโพรง สัตวทั้งหลายมีทีฆชาติ เปนอาทิ จะยังเบียดเบียนใหบังเกิด แลตนไมอยูในทามกลางวิหาร เมื่อเวนตนไมดังกลาวมานี้แลวพึง ถือเอาตนไมที่ตั้งอยูในที่ตังอยูในที่สุดวิหาร วิหารแหงรุกขมูลธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่งถาจะวาโดยประเภท พระภิกษุที่มีรุกขมูลธุดงคเปนปกตินั้นมีประเภท ๓ ประการ คือ อุกฤษฎแลมัชฌิมะแลมุทุกะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 96 อุกฤษฏภิกษุนั้นถือซึ่งตนไมควรแกชอบใจแลว จะยังชนใหชําระนั้นไมได พึงนําเสียซึ่ง ใบไมอันตกลงแตตนไมนั้นดวยเทาแลแลพึงอยู มัชฌิมภิกษุนั้น ไดเพื่อจะยังชนทั้งหลายอันมาถึงสถานที่นั้นใหชวยชําระภายใตตนไมที่ตน ถือเอานั้น พระมุทุกภิกษุนั้น ไดเพื่อจะเรียกมาซึ่งชนทั้งหลายอันรักษาอารามแลสมณุเทเทศ ทั้งหลายแลว แลใหชําระใหกระทําแผนดินใหเสมอใหโปรยลงซึ่งทรายใหกระทํากําแพงรอบตนไม ใหประกอบประตูแลวแลพึงอยู อนึ่งเมื่อวันฉลอง พระภิกษุรุกขมูลิกธุดงค นั่งอยูภายใตตนไมนั้น พึงไปนั่งอยูในที่อื่นเปนที่ อันกําบัง อนึ่งธุดงคแหงพระภิกษุรุกขมูลิกทั้ง ๓ จําพวกนั้ ยอมจะทําลายในขณะเมือตนสํ ่ าเร็จซึ่ง กิริยาที่อยูในที่มุงดวยหญาแลใบไม อังคุตตรภาณกาจารยกลาววา ธุดงคแหงพระภิษุ ๓ จําพวกนั้น ยอมจะทําลายในกาลคือ ตนรูอยูวาอรุณจะขึ้นมาแลว แลยังอรุณใหตั้งขึ้นในที่มุง "อยเมตฺล เภโท" การที่ทําลายในรุกขมูลิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ อนึ่งอานิสงสแหงรุกขมูลิกธุดงคนี้ คือสภาวะปฏิบัติมีรูปอันเปนไปตามแกนิสัย เพราะเหตุ พระบาลี องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาไววา “รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา” แปลวา บรรพชาอาศัยซึ่งที่นอนแลที่นั่ง ณ ภายใตตนพฤกษา อนึ่งสภาวะที่พระภิกษุทรงซึ่งรุกขมูลิกธุดงคนี้ เปนเหตุเปนปจจัยที่จะใหพระผูทรงพระภาค ตรัสสรรเสริญวา ปจจัยจะบังเกิดแกพระภิกษุนี้นอย ปจจัยนั้นไดดวยงายไมมีโทษ ใชแตเทานั้น อนิจจสัญญายอมจะบังเกิดแกพระโยคาวจรภิกษุนั้น เพราะเหตุถึงซึ่งวิกาล แหงตนไมเนือง ๆ แลปราศจากตระหนี่ในเสนาสนะแลยินดีในนวกรรมแลจะอยูกับดวยรุกขเทวดา แล จะประพฤติเปนไปตามแกคุณทั้งหลาย มีอัปปจฉตาคุณเปนประธาน เหตุใดเหตุดังนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาจึงนิพนธพระคาถาไว "พุทฺธเสฏเนวณฺณิโต” พระผูมีรุกขมูลิกธุดงคเปนปกตินี้ องคพระสัมมาสัมพุทธเจาสรรเสริญวา ปฏิบัติสมควรแกนิสัย พระภิกษุยินดีในที่สงัดนั้น จะเสมอเหมือนดวยภิกษุอันทรงรุกขมูลธุดงคนี้หามิได พระภิกษุที่ทรง ธุดงคอันนี้ จะนําเสียซึ่งตระหนี่ในอาวาส ปวิติตฺ เตน สนฺโต หิ” แทจริงพระภิกษุมีวัตรอันงาม อยูในที่ สงัดคือรุกขมูลอันเทพยดารักษา ก็จะไดทัศนาการเห็นตนไมมีใบไมอันเขียวแลแดงอันหลนลงจากขั้ว ก็จะละเสียซึ่งอนิจจสัญญาสําคัญวาเที่ยง เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุผูประกอบดวยวิจารณปญญา ยินดีในวิปสสนา อยาพึงดูหมิ่นรุกขมูลเสนาสนะอันสงัด อันเปนทรัพยมรดกแหงพระองคสัมมาสัมพุทธ เจา สังวรรณนามาในสมาทานแลวิธาน แลประเภทแลทําลายแลอานิสงสในรุกขมูลิกธุดงค ก็ ตั้งอยูดวยอาการอันสําเร็จแลวนี้ อนึ่งอัพโภกาสิกธุดงคนั้น พระภิกษุพึงสมาทานดวยพระบาลีทั้งสองคือ “ฉนฺนญจรุกฺข มูลลญิจ ปฏิกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคหามเสียบัดนี้ซึ่งเสนาสนะอันมุงแลรุกขมูล แลสมาทานวา "อพฺโภกาสิกงฺคํ สยาทิยามิ" แปลวาขาพระองคจักสมาทานถือเอาอัพโภ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 97 กาสิกธุดงคอันใดอันหนึ่ง ก็ไดชื่อวาสมาทานแลว "ตสฺส ปน อพฺโภกาสิกสฺส" อนึ่งพระภิกษุที่มีอัพโภกาสิกธุดงคเปนปกตินั้น จะเขาไปสู เรือนอันเปนที่กระทําอุโบสถเพื่อจะฟงธรรม และจะกระทําอุโบสถกรรมก็ควร ถาแลพระภิกษุนั้นเขาไปในเรือนเปนที่กระทําอุโบสถแลว ฝนก็ตกลงมา เมื่อฝนยังตกอยูก็ อยาออกไปเลย เมื่อฝนหยุดแลวจึงออกไป พระภิกษุนั้นจะเขาไปสูศาลาโรงภาชนะ แลจะเขาไปสูโรง ไฟเพื่อจะกระทําซึ่งวัตรก็ควร แลจะเขาไปไตถาม พระภิกษุทั้งหลายผูเปนเถระในโรงบริโภคดวยภัตราก็ควร อนึ่งพระภิกษุนั้นมีกิจเพื่อจะใหซึ่งอุเทศ แกพระภิกษุทั้งหลายอื่นแลจะเรียนซึ่งอุเทศดวย ตน เขาสูที่มุงดวยอิฐเปนอาทิก็ควร ก็ควร

และจะยังเตียงแลตั่งเปนอาทิ อันบุคคลเก็บไวไมดีในภายนอก ใหเขาไปอยูในภายในดังนี้

อนึ่งถาแลวาพระภิกษุนั้นเดินไปในหนทาง ตนก็ถือเอาบริขารแหงพระเถระผูใหญไวดวย เมื่อฝนตกลงมา พระภิกษุนั้นจะเขาไปในศาลาที่ตั้งอยูในทามกลางมรรคาก็ควร ถาแลตนมิไดถือเอาบริขารอันใดอันหนึ่ง จะไปโดยเร็วมนสิการวาอาตมาอยูในศาลาดังนี้ ไมควร อนึ่งพระภิกษุนั้นไปโดยปกติแลว แลเขาไปสูศาลาอยูตราบเทาฝนหายจึงควรไป วิธานแหงพระภิกษุมีอัพโภสิกธุดงคเปนปกติบัณฑิต พึงรูดังนี้ นัยแหงรุขมูลิกธุดงค ก็เหมือนกันกับอัพโอภกาสิกธุดงคนี้ อนึ่ง ถาจะวาไปโดยประเภทพระภิกษุมีอัพโภกาสิกธุดงคเปนปกติ ๓ ประการ คือ อุกฤษฏ แลมัชฌิมะแลมุทุกะ อุกฤษฏภิกษุจะอาศัยตนไมแลภูเขา แลเรือนแกวแลอยูนั้นไมควรพึงกระทํากระทอมจีวรใน ที่แจงแทจริงแลวจะพึงอยู มัชฌิมภิกษุนั้นจะอาศัยตนไม ภูเขา แลเรือน แลวแลอยูก็ควรแตทวาอยาเขาไปภายใน มุทุกภิกษุนั้น จะอาศัยเงื้อมภูเขามีแดดอันมิไดบังดวยผาเปนอาทิ แลมณฑปมุงดวยกิ่งไม แลผาอันคาดดวยผาขาว แลกระทอมอันชนทั้งหลายมีชนรักษานาเปนอาทิทิ้งเสียแลวก็ควร อนึ่ง ธุดงคแหงพระภิกษุทั้ง ๓ จําพวกนี้ ยอมทําลายในขณะที่เขาไปสูที่มุงแลรุกขมูลเปน อาทิเพื่อประโยชนจะอยู พระอังคุตตรภาณกาจารยทั้งหลายกลาววา ธุดงคแหงพระภิกษุทั้ง ๓ จําพวกนั้นทําลายใน กาลที่ตนรูวาอรุณจะขึ้นมาแลว แลยังอรุณใหขึ้นมาในที่มุงดวยกระเบื้องเปนอาทิเปนประมาณ "อยเมตฺถ เภโท" กิริยาที่ทําลายในอัพโภกาสิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 98 อนึ่ง อานิสงสอัพโภกาสิกธุดงค องคสมเด็จพระบรมศาสดาตรัสเทศนาไววา “อาวาสปลิ โพธูปจฺเฉโท” พระโยคาวจรภิกษุผูทรงไวซึ่งอพฺโพกาสิกธุดงคนี้ จะตัดเสียซึ่งปลิโพธกังวลในอาวาส แลบรรเทาเสียซึ่งถิ่นมิทธะ และมีปกติเที่ยวไปมิไดขัดของ ดุจมฤคชาติอันไมอาศัยในที่อยู พระภิกษุ นั้นประพฤติเปนไปตามคําสรรเสริญดังนี้ แลไมมีความหวงแหนในอาวาส อาจจาริกไปในทิศทั้งสี่และ จะประพฤติเปนไปตามแกคุณทั้งหลาย มีอัปปจฉาตาทิคุณเปนประธาน เพราะเหตุการณนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาพึงนิพนธพระคาถาไววา "อนาคาริยภาวสฺส อนุรูเป อทุลฺลเภ" แปลเนื้อความวาพระภิกษุที่อยูในอัพโภกาสที่แจง นั้น สมควรแกภาวะแหงตนเปนบรรพชิต เปนที่อันรุงเรื  องดวยประทีปคือรัศมีพิมานจันทรเทวบุตร มี เพดานดาดไปดวยแกวกลาวคือดวงดาวดาราในอากาศ เปนที่อันบุคคลกะพึงไดดวยยาก พระภิกษุนั้น ยอมมีจิตประพฤติดุจดังวามฤคชาติ เพราะเหตุวาหาหวงแหนมิไดในที่อยู “ถีนมิทฺธํ วิโนเทตฺวา” บรรเทาเสียแลว ซึ่งถีนและมิทธะอาศัยซึ่งความยินดีในภาวนา ไมชาไมนานก็จสําเร็จซึ่งรสอันบังเกิด แตบริเวกคือพระนิพพาน เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุผูประกอบดวยปรีชาญาณพึงยินดีในอัพโภกาสิก ธุดงคนี้ สังวรรณนามาในสมาทานและ วิธานและประเภท และทําลาย และอนิสงสในอัพโภกาสิก ธุดงคก็ตั้งอยูดวยอาการสําเร็จดังพรรณนามาฉะนี้ เอวํ ก็มีดวยประการฉะนี้ “โสสานิกงฺคํป น นุสานํ ปฏิกฺขิปามิ โสสานิกงฺคํ สมาทิยามีติ อิเมสํ อฺญตรวจเนน สมาทินฺนํ โหติ เตน ปน โสสานิเกน ยํมนุสฺสคามํ นเวเสนฺตา อมํ สุสาสนฺติ ววตฺถเปนฺติ น ตตฺถว สิตพฺพํ น หิ มตกสรีเร อชฺฌาปเต ตํ สุสานํ นาม โหติ ฌา ปตกาลโพ ปฏาย สเจป ทฺวาทสวสฺ สานิ ฉฑฺฑิตํ สุสานเมวตสฺมิ ปน วสนฺเตน จงฺกมมฎฑปานีทิ การาเปตฺวา มฺรปํ ปฺญาเปตฺ วา ปานียํ บริโภชนียํ อุปฏฐาเปตฺวา ธมฺมํ วาเจนฺเตน น เวทิตพฺพ”ํ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในโสสานิกธุดงคสืบอนุสนธิตามกระแสวาระพระ บาลีมีเนื้อความวา “โสสานิกงฺคํป” เมื่อพระภิกษุจะสมาทานโสสานิกธุดงคนั้น ยอมสมาทานดวยพระ บาลีทั้งสองคือ สมาทานวา “น สุสานํ ปฏิกฺขิปามิ” ขาพระองคจะหามเสียบัดนี้ซึ่งประเทศอันใชปา ชา และบทสมาทานวา "โสสานิกงฺคํ สมาทิยามิ" ขาพเจาจะถือเอาบัดนี้โสสานิกธุดงค คือ จะอยูในประเทศอันเปนที่นอนแหงสัตยอันตรายเปนปกติ อนึ่ง เมื่อมนุษยทั้งหลายจะตั้งบาน ยอมกําหนดซึ่งที่อันใดไวแลว "อิมํ สุสานํ” ที่อันนี้จะ เปนที่สุสานประเทศปาชา โสสานิกภิกษุอยาพึงอยูในที่นั้น “มตกสรีเร อชฺฌาปเต” เมื่อมนุษย ทั้งหลายยังมิไดเผาสรีระมนุษยที่ตายแลว ประเทศที่กําหนดไวนั้นจะไดชื่อวาสุสานประเทศหามิได “ฌาปตกาลโต ปฏาย” จําเดิมแตการเผาสรีระมนุษยทั้งหลายอันตรายแลวที่อันนั้นถึงจะมิไดเผา มนุษยที่ตาย ชนทั้งหลายทิ้งไวถึงสิบป ที่อันนั้นก็ชื่อวาสุสานแทจริง "ตสฺมึ ปน วสนฺเตน" อนึ่งเมื่อโสสานิกภิกษุอยูในที่นั้น จะยังชนทั้งหลายใหกระทําที่ จงกรมและมณฑปเปนอาทิ แลวและยังชนใชตั้งไวซึ่งเตียงและตั่งและหมอน้ําฉันและหมอน้ําใชแลว และบอกซึ่งธรรมนั้นไมควร โสสานิกธุดงคนี้ พระภิกษุจะพึงรักษาดวยยาก เหตุใดเหตุดังนั้น ใหพระภิกษุบอกกลาว ซึ่งพระสังฆเถระและบุรุษนายบานอันบรมกษัตริยประกอบใหรูกอน เพื่อจะปองกันอันตรายอันบังเกิด ขึ้น จึงอยูในสุสานประเทศอยาประมาณ เมื่อจงกรมพึงแลดูประเทศที่เผาดวยจักษุกึ่งหนึ่งจึงจงกรม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 99 อนึ่ง เมื่อพระภิกษุนั้นไปสูสุสานประเทศ ใหแวะลงจากทางใหญ พึงเดินไปโดยทางอันผิด จากทางเพื่อจะไมใหปราฏวาตนเปนโภสานิกภิกษุ และพึงกําหนดอารมณ มีจอมปลวกและตนไมและตอไมเปนตน ไวในเวลากลางวัน แทจริงโสสานิกภิกษุกําหนดไวดังนี้แลว ความสะดุงตกใจกลัวก็จักไมมีแกพระภิกษุนี้ในเวลากลางคืน อนึ่ง เมื่อมนุษยทั้งหลายร่ํารองจะเที่ยวไปในราตรี อยาใหภิกษุนั้นประหารดวยวัตถสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง อนึ่ง โสสานิกภิกษุนั้น จะไมไปสูสุสานประเทศแตสักวันหนึ่งก็มิไดควร ยังคุตตรภาณกาจารยทั้งหลายกลาววา "มชฺฌิมยามํ สุสาเน เข เปตฺวา” โสสานิกภิกษุ นั้นอยูในสุสานประเทศสิ้นมัชฌิมยามแลวก็กลับไปในปจฉิมยามก็ควร อนึ่ง วัตถุอันบุคคลพึงกัดเคี้ยวและพึงบริโภค มีงา และแปง และภัตตอันเจือดวยถั่วและ มัจฉะและมังสะและชีวะ น้ํามัน และน้ําออยเปนอาทิ สิ่งของตาง ๆ นี้เปนที่ชอบใจแกมนุษย พระโส สานิกภิกษุนั้นอยาพึงเสพอยาพึงเขาไปในเรือนสกุล เพราะเหตุวาพระภิกษุนั้นมีสรีระอบไปดวยควรใน สุสานประเทศ และอมนุษยจะติดตามพระภิกษุนั้นเขาไป เพื่อจะยังภัยและโรคเปนอาทิใหประพฤติ เปนไปแกมนุษยทั้งหลายในสุกลนั้น "อิทมสฺส วิธานํ" วิธานแหงโสสานิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดังนี้ "ปเภโต ปน อยํป ติวิโธ" อนึ่ง ถาจะวาโดยประเภทนั้น พระภิกษุที่อยูในสุสานประเทศ เปนปกตินี้มี ๓ จําพวก คือ อุกฏฐะ จําพวก ๑ มัจฉิมะจําพวก ๑ มุทุกะจําพวก ๑ "ธุวทาห ธุวกฺณป ธุวโรทนานิ" มนุษยทั้งหลายเผาซากอสุภสิ้นกาลเปนนิจ และมีซาก อสุภมีอยูเปนนิจ และรองไหอยูเปนนิจมีอยูในสุสานประเทศอันใด พระภิกษุที่รักษาโสสานิกธุดงคเปน อุกฤกษฏพึงอยูในสุสานประเทศอันนั้น ล้ําลักษณะ ๓ ประการ มีเผาอสุภซากสรีระสิ้นกาลเปนนิจเปนอาทิ ในเมื่อลักษณะอันหนึ่งมี อยูในสุสานประเทศอันใด พระภิกษุรักษาโสสานิกธุดงคเปนมัชฌิมมะควรจะอยูในสุสานประเทศอันนั้น ที่อันใดมาตรวาถึงซึ่งลักษณะ กําหนดเรียกวาสุสานประเทศปาชา โดยนัยดังกลาวมาแลว พระภิกษุโสสานิกธุดงค เปนมุทุกะอยางต่ําสมควรที่จะอยูในสถานที่นั้น "อิเมสํ ปน ติณฺณํ น สุสานมฺหิ วาสํ" อนึ่ง ภิกษุ ๓ จําพวกนี้สําเร็จซึ่งอันมิอยูในที่อันใช สุสานประเทศปาชา โสสานิกธุดงคของพระภิกษุ ๓ จําพวกนั้นทําลาย อาจารยผูรจนาตกแตงพระคัมภีรอังคุตตร กลาววา “สุสานอมตทิวเส” ธุดงคพระภิกษุ ๓ จําพวกนี้ ทําลายในวันที่ตนมิไดไปยังสุสานประเทศปาชา เภทคือการทําลายในโสสามิกธุดงค บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ “อยํ ปนานิสํโส” อนึ่งอานิสงสแหงโสสานิกธุดงคนี้ คือจะใหไดสติที่ระลึกถึงซึ่งความตาย และจะใหอยูดวยมิไดประมาท แลจะใหอสุภนิมิตในสรีระวางามหามิได และจะบรรเทาเสียซึ่งกามราคะ และจะใหเห็นสภาวะของกายมิไดสะอาด แลมีกลิ่นอันชั่วเปนอาทิอยูเนือง ๆ และจะใหมากไปดวย ความสังเวช และจะใหละเสียซึ่งความมัวเมาในสภาวะหาโรคมิไดเปนประธาน และจะใหอดกลั้นไดซึ่ง ความสะดุงพึงกลัว และจะเปนที่เคารพของอมนุษย และจะประพฤติเปนไปตามสมควรในคุณ มี อับปจฉตาปรารถนานอยมิไดมักมากเปนอาทิ แทจริงโทษคือประมาท ยอมมิไดถูกตองพระภิกษุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 100 ผูรักษาโสสานิกธุดงค อันหยั่งลงสูหลับดวยอานุภาพมรณานุสสติ ที่ตนไดในสุสานประเทศ ใชแต เทานั้น จิตของภิกษุที่ไดเห็นอสุภเปนตนมากนั้น จะมิไดถึงซึ่งอํานาจแหงความกําหนัดในวัตถุกาม จิต ของพระภิกษุนั้นจะถึงซึ่งความสังเวชเปนอันมาก “นิพุติเมสมาโน โสสานิกงุคํ” พระภิกษุผูแสวงหา พระนิพพาน เรงกระทําซึ่งความเพียรรักษาโสสานิกธุดงคดังนี้ พระภิกษุที่เปนบัณฑิตชาติมีหทัย นอย ไปในพระนิพพานพึงเสวนะซองเสพเพราะเหตุวา โสสานิกธุดงคนี้นํามาซึ่งคุณเปนอันมาก มีประการ อันเรากลาวแลว สังวรรณนามาในสมาทาน และวธาน และประเภท และทําลาย และอานิสงสในโสสานิก ธุดงคนี้ ก็ตั้งอยูดวยอาการอันสําเร็จ ในยถาสันถติกังคธุดงคที่ ๑๒ นั้น มีวาจะพระบาลีวา “อิเมสํ อฺญตรวจเนน” พระภิกษุ สมาทานยถาสันถติกังคธุงดค ล้ําพระบาลีทั้ง ๒ คือ สมาทานดวยพระบาลีวา “เสนาสนโลลุปฺป ปฏิกฺขิปามิ” แปลวา ขาพระองคจะหามเสียซึ่งตัณหา คือความปรารถนาในเสนาสนะและสมาทาน ดวยพระบาลีวา “ยถาสนฺถติกงฺคํ สมาทิยาม” แปลวาขาพระองคสมาทานบัดนี้ซึ่งยถาสันถติกังค ธุดงค สมาทานดวยพระบาลีอันใดอันหนึ่งก็ชื่อวาสมาทานแลว “เตน ปน ยถาสนฺถติเกน” อนึ่ง เสนาสนะอันใดที่เสนาสนคาหาปกภิกษุ ยังภิกษุที่ รักษายถาสันถติกธุดงค ใหถือเอาดวยวาจารวาเสนาสนะนี้ถึงแกทาน ภิกษุที่รักษายถาสันถติกธุดงค พึงยินดีเสนาสนะนั้น ภิกษุที่รักษายถาสันถติกธุดงคอยาใหภิกษุอื่นเขาไปอยู วิธานแหงยถาสันถติกังคธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ “ปเภทโต ปน อยํป ติวิโธ” อนึ่งถาจะวาโดยประเภทภิกษุ ผูรักษายถาสันถติกธุดงคนี้ มี ประเภท ๓ ประการ คือ อุกัฏฐภิกษุ ๑ มัชฌิมภิกษุ ๑ มุทุกภิกษุ ๑ อุกัฏฐิภิกษุที่รักษาเปนอุกฤษฏ ไมไดเพื่อจะถามเสนาสนะที่ถึงแกตนวา เสนาสนะนี้มีในที่ ไกลแลฤๅ เสนาสนะนี้มีในที่ใกลแลฤๅ เสนาสนะนี้อมุษยและทีฆชาติเปนอาทิเบียดเบียนแลฤๅ เสนาสนะนี้รอนแลฤๅ เสนาสนะนี้เย็นแลฤๅ มัชฌิมภิกษุทีปฏิบัติอยางกลางนั้น ไดเพื่อจะถามแตทวาไมไดเพื่อจะไปแลดูดวยสามารถ แหงความปรารถนา มุทุกภิกษุที่ปฏิบัติอยางต่ํานั้น ไดเพื่อจะไปแลดู ถาแลวาไมชอบใจเสนาสนะนั้นก็ถือเอา เสนาสนะอื่น “อิเมสํ ปน ติณฺณํป” อนึ่ง ถาจะวาโดยทําลายนั้น โลภในเสนาสนะนั้นมาตรวาเกิดขึ้นแก ภิกษุ ๓ พวกนี้ ธุดงคของพระภิกษุ ๓ จําพวกนั้นก็ทําลาย “อยํ ปนานิสํโส” อนึ่ง อานิสงสยถาสักถติกธุดงคนี้ คือจะใหพระภิกษุกระทําตามโอวาท ที่องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคกลาวสอนไววา “ยํ ลทฺธํ เตน ตุฏฐพฺพํ” พระภิกษุผูรักษายถาสัน ถติกธุดงคในเสนาสนะอยางไรก็พึงยินดีเสนาสนะนั้น แลพระภิกษุนั้นจะไดอานิสงสคือแสวงหาซึ่ง ประโยชนแกพรหมจรรยทั้งหลาย และจะละเสียซึ่งกําหนดเสนาสนะวาชั่ววาดี และจะละเสียซึ่งยินดี และไมยินดีในเสนาสนะ และจะปดเสียซึ่งชองแหงตัณหามักมาก และจะประพฤติเปนไปสมควรแกคุณ ทั้งหลาย มีอัปปจฉาตาคุณ เปนอาทิ “ยํ ยํ กทฺธํ สนฺตุฏโฐ” พระพุทธโฆษาจารยพึงนิพนธผูกพระคาถาสรรเสริญไววา พระยัติ โยคาวจรเจาผูรักษายถาสันถติกธุดงคไดเสนาสนะอันใดก็ยินดีดวยเสนาสนะอันนั้น และปราศจากวิ กัปปกําหนดตามเสนาสนะวาชั่ววาดี นอนเปนสุขเหนือที่ลาดอันเรียบดวยหญา พระโยคาวจรภิกษุนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 101 ไมยินดีในเสนาสนะอันประเสริฐวิเศษ “หีนํ ลทฺธํ น กุปฺปติ” เมื่อไดเสนาสนะอันชั่วก็มิไดโกรธ ยอม สงเคราหสพรหมจารี อันเปนพวกบวชใหมดวยเสนาสนะ “ตสฺมา อริยตาจิณฺณํ” เหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุผูประกอบดวยธัมโมชปญญาที่ประกอบเนือง ๆ ซึ่งสภาวะยินดีในยถาสันถติกธุดงคอันองค พระอริยเจาซองเสพ เปนที่สรรเสริญแหงพระพุทธเจาอันประเสริฐกวานักปราชญทั้งหลาย สังวรรณนาในสมาทานและวิธาน และประเภท และทําลาย และอานิสงสในยถาสันถติกังค ธุดงคนี้ ก็ตั้งอยูดวยอาการอันสําเร็จ ในเนสัชชิกังคธุดงคเปนคํารบ ๑๓ นั้น พระภิกษุจะสมาทานเนสัชชิกธุดงคดวยพระบาลี “เสยฺยํ ปฏกฺขิปามิ” แปลวาขาพระองคจะหามเสียซึ่งอิริยาบถนอน และจะสมาทานดวยพระบาลีวา “เนสชฺชิกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวาขาพระองคจะสมาทาน เนสัชชิกธุดงคอยางนี้ก็ไดชื่อวาสมาทานแลว “เตน ปน เนสชฺชิเกน” อนึ่งพระภิกษุผูรักษาเนสัชชิก ธุดงคนั้น ราตรีหนึ่ง ๓ ยาม คือปฐมยาม มัชฌิมยาม และปจฉิมยาม พึงลุกขึ้นจงกรมยามหนึ่งแทจริง ล้ําอิริยาบททั้ง ๔ อิริยาบถคือนอนนี้มิไดควรแกภิกษุที่จะรักษาเนสัชชิกธุดงค วิธานแหงเนสัชชิกธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ “ปเภทโต ปน อยํป ติวิโธ” อนึ่งถาจะวาโดยประเภทเนสัชชิกธุดงคนี้มีประเภท ๓ ประ การ คืออุกฤษฏ และมัชฌิมะ และมุทุกะ อนึ่ง พนักพิงและอาโยค อันบุคคลกระทําดวยผาแผนนั้นมิไดควรแกพระภิกษุผูรักษาเนสัช ชิกธุดงคอันเปนอุกฤษฏ ของทั้ง ๓ สิ่ง คือพนักพิงและอาโยคผา วัตถุสิ่งของอันใดอันหนึ่ง ควรแกภิกษุอันรักษา เนสัชชิกธุดงคเปนมัชฌิมะทามกลาง พนักและอาโยคผา แลแผนอาโยค และหมอน และเตียง อันประกอบดวยองค ๙ และองค ๗ ก็ควรแกภิกษุอันรักษาเนสัชชิกธุดงคอันเปนมุทุกะอยางต่ํา เตียงอันบุคคลกระทําดวยพนักพิงหลัง และกระทํากับดวยพนักพิงขางทั้ง ๒ นั้น ชื่อวา เตียงประกอบดวย ๗ “กิร” ดังไดสดับมา มนุษยทั้งหลายกระทําเตียงอยางนั้นถวายแกพระติปฎกจุฬาภยเถระ พระผูเปนเจากระทําความเพียรไดพระอนาคามีมรรคแลว ไดพระอรหัตตเขาสูพระปรินิพพาน อนึ่ง ธุงดคของภิกษุ ๓ จําพวกนี้ ยอมทําลายในกาลเมื่อถึงซึ่งสําเร็จอิริยบถนอน การที่จะทําลายในเนสัชชิกธุดงควา “วินิพนฺธสฺส อุปจฺเฉทนํ” พระภิกษุรักษาธุดงคนี้ จะ ตัดเสียซึ่งอกุศลอันผูกไวซึ่งจิต ที่องคพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาไววา “เมยุยสุขํ อนุยุตฺโต” พระภิกษุประกอบไวเนือง ๆ ซึ่งความสุขคือนอน แลลงไปในขาง ๆ นี้ แลขาง ๆ โนน แลประกอบเนือง ๆ ซึ่งมิทธะ คือเงียบเหงางวงนอนแลวแลยับยั้งอยู แลจะมีอานิสงสคือสภาวะจะใหภิกษุนั้นประกอบ เนือง ๆ ซึ่งกรรมฐานทั้งปวง แลจะใหมีอริยาบถนํามาซึ่งความเลื่อมใส แลจะใหเปนไปตามความ ปรารถนาจะกระทําเพียร แลจะประกอบอยูเนือง ๆ ซึ่งสัมมาปฏิบัติ “อาภุชิตฺวาน ปลฺลงฺกํ” พระยัติโยคาวจรภิกษุคูเขาแลวซึ่งบัลลังก นั่งตั้งกายไวใหตรง อาจสามารถจะยังหทัยแหงมารใหไหว

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 102 “เสยฺยสุขมิทฺธขํสุ หิตฺวา” พระโยคาวจรเจาสละเสียซึ่งนอนเปนสุขแลงวงเหงาเปนสุข มี ความเพียรอันปรารภแลว ยินดีในอิริยาบถนั่งงาม อยูในทาที่จะประพฤติตน ยอมจะไดปติสุขอัน ปราศจากอามิสเหตุใดเหตุดังนั้น พระภิกษุที่มีเพียรพึงประกอบเนือง ๆ ซึ่งเนสัชชิกธุดงควัตร สังวรรณนามาในสมาทาน แลวิธาน แลประเภท แลทําลาย แลอานิสงสในเนสัชชิกธุดงคนี้ บัณฑิตพึงรูดวยประการดังนี้ ในกาลบัดนี้จะสังวรรณนาดวยสามารถแหงพระคาถานี้คือ “กุสลติกฺกโตเจว” จะวินิจฉัย ตัดสินโดยประมาณ ๑ แหงกุศล แลจําแนกซึ่งคุณมีธุดงคคุณเปนอาทิโดยยอแลพิสดาร บัณฑิตพึงรู โดยนัยที่เราแสดงมานี้ มีอรรถสังวรรณนาในบทคือ “กุสลติกฺกโต” นั้นวา แทจริง “สพฺพาเนว ธุตงฺคานิ” ธุดงค ทั้งปวงนี้ คือมีประเภท ๑๓ ประการ บางทีก็เปนกุศล บางทีก็เปนอพยากตธรรม ดวยสามารถแหง ปุถุชนแลพระเสขอริยบุคคล และพระขีณาสวเจา “นตฺถิ ธุตงฺคํ อกฺสลํ” ธุดงคจะเปนอกุศลนั้นมิได อนึ่ง อาจารยองคใดจะพึงกลาววา ธุดงคเปนอกุศลมี “ปาปจฺโฒ อจฺฉาปกโต” พระภิกษุ มีความปรารถนาลามก แลมีอิจฉาความปรารถนาครอบงําย่ํายียอมจะรักษาอารัญญิกธุดงคมิอยูในปา เปนปกติ เมื่ออาจารยกลาวคําอยางนี้แลว บัณฑิตพึงกลาวคําตอบอาจารยนั้นวา เราทั้งหลายมิได กลาววา ภิกษุยอมจะอยูในอรัญราวปาดวยอกุศลจิตแทจริง การที่อยูในอรัญราวปามีพระภิกษุรูปใด พระภิกษุรูปนั้น ก็ชื่อวา อรัญญิกภิกษุ แปลวาภิกษุมีอยูปาเปนปกติ อนึ่งพระภิกษูมีปรารถนาลามกบาง มีปรารถนานอยเปนอัปปจฉบุคคลก็จะพึงมี อนึ่ง “อิมานิ ธุตงฺคานิ” ธุดงคทั้ง ๑๓ ประการนี้ชื่อวาองคแหงพระภิกษุชื่อธุตะ เพราะเหตุ วาภิกษุนั้นมีกิเลสอันกําจัดเสียแลวดวยสามารถสมาทานถือเอาดวยดีซึ่งธุดงค “กิเลสธุนฺนโตวา” นัย หนึ่งญาณคือปญญาไดคําเรียกวาธุตะ เพราะเหตุกําจัดบําบัดเสียซึ่งกิเลสเปนองคแหงธุดงคทั้งหลาย นี้ เพราะเหตุดังนั้นจึงไดชื่อวาธุดงค มีเนื้อความในอปรนัยวา “ตาทิสํ วจนํ” คําเหมือนคํานั้นวาธรรมทั้งหลายชื่อธุตะ เพราะ เหตุวากําจัดเสียซึ่งขาศึก ชื่อวาเปนองคแหงปฏิบัติ เพราะเหตุดังนี้ ธรรมทั้งหลายนั้นจึงชื่อวาธุตังคานิ คําอันนี้อาจารยกลาวแลวในวินิจฉัยอรรถแหงศัพทในหนหลัง การที่จะสมาทานนี้ ชื่อวาเปนองคแหงพระภิกษุใด “น จ อกุสเลน” พระภิกษุรูปนั้นจะได ชื่อวาธุตะ ดวยอกุศลนั้นมิไดมีแทจริงอกุศลนั้นมิไดชําระธรรมอันลามกอันใดอันหนึ่ง การที่จะสมาทาน นั้นอาจารยพึงรองเรียกวา “ธุตงฺคานิ” เพราะเหตุอรรถวิคคหะวา “เยสํ ตํ องฺคํ” กุศลนั้นชื่อวาเปน องคแหงสมาทานทั้งหลายใด สมาทานทั้งหลายนั้นชื่อวา ธุตังคานิ “นาป อกุสลํ” อกุศลไมชําระโลภทั้งปวงมีโลภในจีวรเปนอาทิได กุศลนั้นไดชื่อวาเปน องคแหงปฏิบัติหามิได เหตุใดเหตุดังนั้นคําที่อาจารยกลาววา “นตฺถิ อกุสลํ ธุตงฺกํ” อกุศลจะไดชื่อ วาธุดงคหามิได คําอันนี้อาจารยกลาวดีแลว อนึ่ง ธุดงคพนแลวจากประมาณ ๓ แหงกุศล เปนอธิบายแหงอาจารยทั้งหลายในธุดงคก็ มิไดมี โดยอรรถแหงอาจารยทั้งหลายนั้นธรรมชาติชื่อวาธุดงคมักบังเกิดมี เพราะเหตุธรรมชาตินั้นจะ ชําระเสียกิเลสอันมิไดมี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 103 อนึ่ง “วจนวิโรโธ” ผิดจากคํากลาววา ภิกษุสมาทานซึ่งคุณทั้งหลายชื่อวาธุดงค แลวแล ประพฤติเปนไปก็จะถึงแกอาจารยทั้งหลายนั้น “ตสฺมา ตํ น คเหตพฺพ”ํ เหตุใดเหตุดังนั้น คําที่กลาว วาอกุศลชื่อวาธุดงคนั้น นักปราชญอยาพึงถือเอา การที่สังวรรณนาซึ่งบทโดยกุศลติกกะ บัณฑิตพึงรู ดังนี้กอน ในบทคือ “ธุตาทีนํ วิภาคโต” นั้นมีอรรถสังวรรณนาวา “ธุโต เวทิตพฺโพ” สภาวะชื่อวาธุ ตะ บัณฑิตพึงรูในบทคือ “ธุตาทีนํ วิภาคโต” บุคคลชื่อวาธุตวาท กลาวซึ่งธุตะ บัณฑิตพึงรูในบทคือ “ธุตาทีนํ วิภาคโต” ธรรมทั้งหลายชื่อวาธุตะ บัณฑิตพึงรูในบทตนนั้น ธุดงคทั้งหลายบัณฑิตพึงรูใน บทตนนั้น “กสฺส ธุตงฺคเสวนา” การที่จะเสพซึ่งธุดงคชื่อวาเปนที่สบายแกบุคคลดังฤๅ บัณฑิตพึงรูใน บทคือ “ธุตาทีนํ วิภาคโต” นั้นในบทคือ “ธุโต” นั้นมีอรรถสังวรรณนาวา บุคคลมีกิเลสอันกําจัดเสีย แลวก็ดี ธรรมอันกําจัดเสียซึ่งกิเลสก็ดี ชื่อวา “ธุโต” เปนตนนั้น “ธุตวาโทป เอตถ ปน” อนึ่งวินิจฉัย ในบทคือ “ธุตาวาโท” ที่แปลวาบุคคลกลาวธุตะนั้นวา “อตฺถิ ธุโต น ธุตวาโท” บุคคลมีกิเลสอัน ขจัดแลวมิไดกลาวซึ่งการที่ขจัดเสียซึ่งกิเลสมีจําพวก ๑ “อตฺถิ น ธุวาโท” บุคคลมิไดขจัดกิเลส มิได กลาวซึ่งการที่ขจัดเสียซึ่งกิเลสมีจําพวก ๑ “อตฺถิ เนว ธุโต น ธุตาโท” บุคคลมิไดขจัดกิเลส มิได กลาวซึ่งธรรมที่จะขจัดกิเลสมีจําพวก ๑ “อตฺถิ ธุโต เจว ธุตวาโท” บุคคลมิไดขจัดกิเลสแลว กลาว ซึ่งธรรมอันขจัดกิเลสมีจําพวก ๑ เปน ๔ จําพวกดวยกันดังนี้ บุคคลผูใดขจัดเสียซึ่งกิเลสแหงตน ดวยธุดงคคุณมิไดใหโอวาท แลอนุศาสนสั่งสอน บุคคลผูอื่นดวยธุดงค ดุจดังพระพักกุลเถรเจาบุคคลผูนี้ชื่อวา “ธุโต ธุตวาโท” คือขจัดกิเลสดวยตน ไมกลาวธรรมอันขจัดเสียซึ่งกิเลส “ยถาห ตยิทํ อายสฺมา พกฺกุโล” เหตุใดเหตุนั้นอาจารยพึงกลาว วา “อติทํ อายสฺมา พกฺกุโล” พระพักกุลเถรเจาผูมีอายุ “ธุโต น ธุตวาโท” ทานเปนผูกําจัดเสียซึ่ง กิเลส แตไมกลาวธรรมอันขจัดเสียซึ่งกิเลสแกบุคคลอื่น “โย ปน น ธุตงฺเคน” อนึ่งบุคคลผูใดไมรักษาซึ่งธุดงค มิไดขจัดเสียซึ่งกิเลสทั้งหลาย แหงตน กลาวคําโอวาทสั่งสอนบุคคลผูอื่นดวยธุดงค ดุจดังวาพระอุปนันทเถระ “อยํ น ธุโต ธุตวา โท” บุคคลผูนี้ชื่อวา “น ธุโต ธุตวาโท” คือตนไมรักษาธุดงคมีแตจะกลาวธุดงคใหบุคคลอื่นรักษา อยางเดียว เหตุใดเหตุดังนั้น อาจารยกลาววา “ตยิทํ อายสฺมา อุปนนฺโท” พระอุปนันทเถรเจาผูมี อายุอันเปนบุตรแหงศากยราชนั้นชื่อวา “น ธุโต ธุตวาโท” “โย ปน อุภยวิปฺปนฺโน” อนึ่งบุคคลผูใดวิบัติจากธรรมทั้งสองคือตนก็มิไดรักษาธุดงค แล มิไดกลาวโอวาทอนุศาสนสั่งสอนบุคคลผูอื่นใหรักษาธุดงค ดุจดังพระเถระชื่อวาโลฬุทายี “อยํ เนว ธุ โต นธุตวาโท” บุคคลนี้ชื่อวา “เนว ธุโต น ธุตวาโท” แปลวาตนไมรักษาธุดงค แลไมกลาวธุดงคให โอวาทสั่งสอนบุคคลอื่น เหตุใดเหตุดังนั้น อาจารยจึงกลาววา “ตยิทํ อายสฺมา โลฬุทายี” พระโลฬุ ทายีเถรเจาผูมีอายุนั้นชื่อวา “เนว ธุโต น ธุตวาโท” แปลวาวิบัติจากธรรมทั้ง ๒ ประการดังกลาว มาแลว “โย ปน อุภยสมฺปนฺโน” อนึ่งบุคคลผูใดถึงพรอมดวยธรรมทั้ง ๒ ประการ คือตนก็รักษา ธุดงคแลกลาวโดยโอวาทสั่งสอนบุคคลผูอื่นใหรักษาธุดงคดวย ดังพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถรเจา “อยํ ธุโต เจว ธุตวาโท จ” บุคคลนี้ชื่อวาธุตะธุตวาท แปลวาตนก็รักษาธุดงคผูกําจัดกิเลส ทั้งไดสั่ง สอนผูอื่นใหรักษาธุดงคดวย เหตุใดเหตุดังนั้น อาจารยจึงกลาววา “ตยิทํ อายสฺมา สารีปุตฺโต” พระ ผูเปนเจาสารีบุตร ทั้งไดชื่อวา ธุโต ทั้งไดชื่อวา ธุตวาโท ดวยประการดังนี้ เอวํ ก็มีดวยประการดังนี้ วาระนี้จะไดรับพระราชทานถวายวิสัชนาในสภาวธรรม ๕ ประการ อันเปนบริวารธุดงคเจตนา ในธุดงคนิเทศปริจเฉทที่ ๒ ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรคปกรณ สืบอนุสนธิตามกระแสพระบาลี มีเนื้อความ พระพุทธโฆษาจารยผูรจนาคัมภีรไดแสดงบทวิภาควา “ธุตาทีนํ วิภาคโต” ซึ่งแปลวาโดยจําแนก แหงธรรมชื่อวาธุตะ คือธุดงคอันขจัดกิเลสเปนตน แลมีบทวินิจฉัย ๕ บท ไขอรรถออกจากบท “วภาค ธุตาทีนํ วิภาคโต” นี้คือบท “ธุโต เวทิตพฺโพ” วาธรรมเปนเหตุขจัดกิเลส ชื่อวาธุดงค บัณฑิตพึงรูเปนปฐมที่ ๑ แลบท “ธุตวาโท เวทิตพฺโพ” คือบุคคลผูกลาวธรรมอันขจัดกิเลสคือธุดงค ชื่อวาธุตวาท เปนคํารบ ๒ ทั้ง ๒ บทนี้ ไดวินิจฉัยตามอรรถสังวรรณนามาในขางตนนั้นแลว แตยังอีก ๓ บทคือบท “ธุตธมฺมา เวทิตพฺพา” เปนคํารบ ๓ บทคือบท “ธุตงฺคานิ เวทิตพฺพานิ” เปนคํารบ ๔

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 104 บท “กสฺส ธุตงฺคเสวนา สปฺปายา” เปนคํารบ ๕ นั้น ยังหาไดแสดงไม จะไดวินิจฉัยโดยลําดับบท สืบไป วินิจฉัยในบท “ธุตธมฺมา เวทิตพฺพา” เปนคํารบ ๓ นั้น มีอรรถสังวรรณนาวา “อิเม ปฺจ ธมฺมา” สภาวธรรม ๕ ประการนี้ อันเปนบริวารแหงธุดงคเจตนา “อปฺปจฺฉตา” คือความมีปรารถนามัก นอย ๑ “สนฺตุฏิตา” คือความสันโดษยินดีแตปจจัยของตนที่มีอยู ๑ “สลฺเลขตา” คือความสัลเลข ขัดเกลากิเลสใหเบาบาง ๑ “ปวิเวกตา” คือความยินดีในที่ปริเวกอันสงัดเงียบ ๑ “อิทมฏิตา” คือ ความมีญาณปญญา ๑ สภาวะทั้ง ๕ ประการ ชื่อวาธุตธรรมนี้ คือธุดงคอันเปนเหตุขจัดกิเลส เพราะ เหตุบาลี สมเด็จพระผูมีพระภาคไดตรัสเทศนาไววา “อปฺปจฺฉํเยว นิสฺสาย” ดังนี้เปนซึ่งแปลวา สภาวะคือธุดงคอันเปนเหตุขจัดกิเลสนั้น เพราะอาศัยความมีปรารถนานอยแทจริง มีอรรถรูปวา ในธุตธรรม คือสาภวะแหงธุดงคอันเปนเหตุขจัดกิเลสอันปจฉตาคุณ คือความ ปรารถนานอยในปจจัย กับสันตุฏฐิตาคุณ คือความมีสันโดษยินดีในปจจัยของตนที่มีสภาวะ ๓ ประการ นี้ ไดแกโลโภ คือความไมโลภ สัลเลขตาคุณ คือความสัลเลขขัดเกลากิเลสใหเบาบาง กับปริเวณตาคุณ คือยินดีในปริเวก อันสงัดเงียบ สภาวะทั้ง ๒ นี้ ยอมตกตามคือเปนไปในภายธรรมทั้ง ๒ คือ อโลโภ อโมโห คือความไม โลภ และความไมหลง อิทมัฏฐิตาคุณ คือความถือวาสิ่งนี้เปนประโยชน ไดแกญาณปญญา อันเปนเหตุรูแทจริง มีอรรถสังวรรณนาในบทอิมัฏฐิตานั้นวา พระโยคาพจรยอมขจัดโลภในปฏิกเขปวัตถุคือ สิ่งของอันตองหาม ดวยอโลภะคือไมโลภหวงแหนแลขจัดโมหะที่ปดบังโทษ ในปฏิกเขปวัตถุ เหลานั้นดวยอโมหะ คือไมหลง ใชแตเทานั้น พระโยคาพจรนั้นขจัดเสียไดซึ่งกามสุขัลลิกานุโยค คือความเพียรอัน ประกอบตามความติดชุมอยูในกามสุข อันประพฤติเปนไปดวยอโลภะ คือเสพอาศัยซึ่งปจจัยที่สมเด็จ พระพุทธองคทรงอนุญาตเปนประธาน แลขจัดเสียซึ่งอัตตกิลมถานุโยคคือเพียรกระทําตนใหลําบาก อันประพฤติเปนไปดวยอโมหะ คือไมหลงมีความสัลเลขขัดเกลากิเลสใหเบาบางยิ่งนัก ในธุดงคคุณ ทั้งหลายเหตุใดเหตุดังนั้น สภาวธรรมทั้ง ๕ ประการนี้ บัณฑิตพึงรูวาเปนธุตธรรมคือธุดงคเปนเหตุ ขจัดกิเลส วินิจฉัยในบท “ธุตงฺคานิ เวทิตพฺพานิ” เปนคํารบ ๔ นั้น มีอรรถสังวรรณนาวา “เตรส ธุตงฺคานิ เวทิตพฺพานิ” ธุงดคทั้งหลายบัณฑิตพึงรูมีชื่อดังนี้ คือปงสุกุลิกังดธุดงค ๑ เตจีวริกังค ธุดงค ๑ ปณฑปาติกังคธุดงค ๑ สปทานจริกังคธุดงค ๑ เอกาสนิกังคธุดงค ๑ ปตตปณฑิกังคธุดงค ๑ ขลุปจฉาภัตติกังคธุดงค ๑ อารัญญิกกังคธุดงค ๑ อัพโภกาสิกังคธุดงค ๑ โสสานิกังคธุดงค ๑ ยถา สันติกังคธุดงค ๑ เนสัชชิกังคธุดงค ๒ รวมเปน ๑๓ ประการ มีอรรถรูปวา อนึ่งกลาวโดยเนื้อความ “ลกฺขณาทีหิ วุตฺตาเนว” ธุดงคทั้ง ๑๓ ประการนี้ สมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสเทศนาดวยเหตุมีลักษณะเปนตนแทจริง วินิจฉัยในบท “กสฺส ธุตงฺคเสวนา สปฺปายา” ซึ่งเปนบทคํารบ ๕ มีคําปุจฉาวา การเสพ รักษาซึ่งธุดงคเปนที่สบายของโยคาวจรผูมีจริตเปนดังฤๅ มีคําบริหารโดยอรรถวินิจฉัยวา จําพวก คือผูเปนราคจริต แลเปนโมหจริต

การเสพรักษาซึ่งธุดงคนั้นเปนที่สบายของโยคาวจรสอง

มีคําปุจฉาวา การเสพรักษาซึ่งธุดงคนั้นเปนที่สบายของโยคาวจรผูเปนราคจริต หจริตนั้น เพราะเหตุอยางไร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

แลโม


- 105 มีคําวิสัชนาวา “ธุตงฺเสวนา หิ” การเสพยารักษาซึ่งธุดงคเปนปฏิบัติยากยิ่ง ๑ เปนวิหาร ธรรมอันสัลเลขคือขัดเกลากิเลสใหเบาบางอยาง ๑ แทจริง ราคะคือความกําหนัดในวัตถุกามกิเลสกาม ของโยคาวจรผูเปนราคจริตนั้น “ทุก ขาปฏิปทํ นิสฺสาย” ถาอาศัยความปฏิบัติอันยากลําบากแลวก็ยอมสงบระงับ โมหะ คือความหลงฟนเฟอน อันโยคาวจรผูเปนโมหจริตไมมีความประมาท “สลฺเลขํ นิสฺ สาย” ถาอาศัยความสัลเลขขัดเกลากิเลสใหเบาบางแลวยอมจะละเสียได “หิ ยสฺมา การณา” เพราะเหตุใดเพราะเหตุดังนั้น ในอรรถสังวรรณนาอันเปนบุรพนัยนี้ จึงกลาวการเสพรักษาซึ่งธุดงคเปนที่สบายของโยคาวจรสองจําพวก คือผูเปนราคจริต แลผูเปนโม หจริตดังกลาวแลว ในอปรนัยนั้น “อารฺญิกงฺค รุกฺขมูลิกงฺค ปฏิเสวนาวา” อีกประการหนึ่งล้ําธุดงค ๑๓ ประการ การเสพรักษาในอรัญญังกังคธุดงค แลรุกขมูลิกังคธุดงคทั้งสองนี้ เปนที่สบายแกโยคาวจรผู เปนโทสจริตบาง มีอรรถรูปวา แทจริง เมื่อพระโยคาวจรผูเปนโทสจริตมีวิหารธรรมอยู ไมมีวัตถุแลบุคคลใด มากระทบครึดครือ เพราะความเสพปฏิบัติซึ่งธุดงค “โทโสป วูปสมติ” แมวาโทโสความโกรธเคือง ประทุษรายก็ยอมระงับ สังวรรณนามาในบพวิภาคคือ “ธุตาทีนํ วิภาโต” บัณฑิต วินิจฉัยในบท “สมาสพฺยาสโต” คือวาดวยธุดงคโดยยอแลธุดงคโดยพิสดารตอไป “อิมานิ ปน ธุตงฺคานิ สมาสโต ตีณิ สีสงคานิ ปฺจ อสมฺภินฺนงฺคานีติ อฏเว โหนฺติ” มีอรรถสังวรรณนาวา “อิมานิ ปน ธุตงฺคานิ” ดังกลาววาโดยพิเศษ ถาวาโดยยอธุดงค เหลานี้จัดเปนสีสังคธุดงค คือมีองคเปนศีรษะเปนประธาน แตสามธุดงค ธุดงคที่เปนอภิสัมภีนนังค ธุดงคคือมีองคไมเจือกัน ๕ ธุดงค มีเพียง ๘ เทานั้น ล้ําธุดงค ๘ นั้น ธุดงคเหลานี้คือสปทานจาริกังคธุดงค ๑ เอกาสนิกังคธุดงค ๑ อัพโภกาสิ กังคธุดงค ๑ ทั้ง ๓ นี้เปนองคศีรษะประธานแหงธุดงคทั้ง ๑๓ ประการ ธุดงคดวย

อธิบายวา แทจริงโยคาวจร เมื่อรักษาสปทานจาริกังคธุดงคก็ชื่อวา จักรักษาปณฑปาติกัง

“เอกาสนิกงฺคํ จ รกฺขโต” ใชแตเทานั้น โยคาวจรเมื่อรักษาเอกาสนิกังคธุดงคอยู “ปตฺตปณฺฑิกงฺคขลุปจฺฉาภตฺติกงฺคานิป สุรกฺขนียานิป” อันวาปตตปณฑิกังคธุดงคก็ดี แลขลุ ปจฉาภัตติกังคธุดงคก็ดี ชื่อวาโยคาวจรนั้นพึงรักษาดวยแลว “อพฺโภกาสิกงฺคํ รกฺขนฺตสฺส” เมื่อโยคาวจรรักษาอัพโภกาสิกังคธุดงคอยู “กึ อตฺถิ รุกฺขมูลิกงฺคํ” รุกขมูลิกังคธุดงคยังมีอยางไรเลา อธิบายวาพระโยคาวจรรักษาอัพโภกาสิกังคธุดงค แลวก็ชื่อวารักษารุกขมูลิกังคธุดงคดวย “ยถาสนฺถติกงฺคํ จ รกฺขิตพฺพํ นาม” ใชแตเทานั้น ยถาสันถติกังคธุดงคก็ชื่อวา อันพระ โยคาวจรภิกษุนั้นพึงรักษาดวยอยางเดียวกัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 106 อธิบายวา โยคาวจรภิกษุเมื่อรักษาอัพโภกาสิกังคธุดงคแลวทั้งสองดวยพรอมกัน “อิมา นิ ตีณี สีสงฺคานิ” จึงสรุปรวมความวา สีสังคธุดงคคงมีองคเปนศีรษะประธาน ๓ ธุดงคเหลานี้ ดังที่กลาวมาแลวกับอสัมภินนังคธุดงค คือมีองคไมเจือกัน คืออารัญญิกังคธุดงค ๑ ปง สุกกุลิกังคธุดงค ๑ เตจีวรีกังคธุดงค ๑ เนสัชชิกังคธุดงค ๑ โสสานีกังคธุดงค ๑ เปน ๕ ธุดงคเหลานี้ จึงรวมดวยกันเปนธุดงค ๘ ประการดังนี้ “จตฺตาเรว โหนฺติ” อนึ่งพระพุทธโฆษาจารยเจา แสดงลักษณะธุดงคตามนัยพระพุทธ ฎีกามี ๔ ประเภท อีกใหมเลาวาธุดงคทั้ง ๑๓ ประการนัน ถาจัดเปนปฏสังยุตต คือประกอบอาศัยซึ่ง ปจจัย แลวิริยะเปนปฏิสังยุตตธุดงคแลว ก็มีลักษณะเปน ๔ ประการ “เทฺว จีวรปฏิสํยุตฺตานิ” คือธุดงคเปนปฏิสังยุตตดวยจีวรปจจัย ๒ “ปฺจ ปณฺฑ ปาตปฏิสํยุตฺตานิ” คือธุดงคเปนปฏิสังยุตตดวยบิณฑบาตปจจัย ๕ “ปฺจ เสนาสนปฏิสํยุตฺตานิ” คือธุดงคเปนปฏิสังยุตตเสนาสนะ ๕ “เอกํ วิริยปฏิสํยุตฺต”ํ คือธุดงคเปนปฏิสังยุตตดวยความเพียร ๑ เปนลักษณะประเภทแหงธุดงคเปน ๔ ประการดังนี้ มีความอธิบายวา ล้ําลักษณะแหงธุดงค ทั้ง ๔ ประเภทนั้น เนสัชชิกังคธุดงคเปนวิริยปฏิสังยุตต คือประกอบพรอมจําเพาะดวยความเพียร ธุดงคอีก ๑๒ ขางนอกนี้ มีลักษณะปรากฏใหเห็นชัดอยูแทจริง ธุดงคยังมีอีกเลาเรียกวานิ สสิตธุดงค พระพุทธโฆษาจารยเจาจึงแสดงบทในอรรถสังวรรณนาวา “สพฺพเนว นิสฺสยวเสน เทฺวว โหติ” ธุดงคอันมีลักษณะเปน ๒ ดวยสามารถจัดเปนนิสัย คืออาศัยเปนปจจัยแลวิริยะชื่อวานิสสิต ธุดงค มีความอธิบายวา ธุดงค ๑๒ อันอาศัยซึ่งปจจัย คือจีวรบิณฑบาตเสนาสนะ เรียกวาปจจัยนิ สสิตธุดงค แลธุดงค ๑ อันอาศัยซึ่งความเพียรเรียกวาวิริยนิสสิตธุดงค องคธุดงคมีอีก ๒ “เสวิตพฺพาเสวิตพฺพวเสน” ดวยสามารถธุดงคอันโยคาวจรภิกษุพึง เสพรักษาเรียกวา เสวิตัพพธุดงค และธุดงคอันโยคาวจรภิกษุไมพึงเสพรักษาเรียกวา อเสวิตัพพธุดงค มีอรรถสังวรรณนาวา แทจริงเมื่อพระโยคาวจรภิกษุรูปใดเสพรักษาธุดงคอยู “กมฺมฏานํ วฑฺฒติ” กรรมฐานภาวนายอมเจริญขึ้น “เตน เสวิตพฺพานิ” ธุดงคทั้งหลายนั้น อันโยคาวจรภิกษุรูป นั้นก็ควรเสพรักษา ถาโยคาวจรภิกษุรูปใด ผูเสพรักษาธุดงคอยู กรรมฐานภาวนายอมเสื่อมถอยไป “เตน น เสวิตพฺพานิ” ธุดงคทั้งหลายนั้น อันโยคาวจร ภิกษุรูปนั้นไมควรเสพรักษา อีกประการหนึ่ง โยคาวจรภิกษุใด เมื่อเสพรักษาธุดงคก็ดี ไมเสพรักษาธุดงคก็ดี “วฑฺฒเว น หายติ” กรรมฐานภาวนาของโยคาวจรภิกษุนั้นยอมเจริญไมเสื่อมถอย โยคาวจรภิกษุนั้นเมื่อมีความ อนุเคราะหแกปจฉิมาชนตาชน ผูเกิดมาในภายหลังก็พึงเสพรักษาธุดงคทั้งหลายนั้นเถิด อนึ่ง โยคาวจรภิกษุใด รักษาธุดงคอยูก็ดี มิไดรักษาธุดงคก็ดี “น วฑฺฒเตว” กรรมฐาน ภาวนาของโยคาวจรภิกษุนั้นยอมไมเจริญแทจริง โยคาวจรภิกษุนั้นควรรักษาธุดงคทังหลายนั้นเถิด “อายตึ” เพื่อประโยชนแกวาสนาบารมีเปนเหตุอบรมสืบตอไปในภพเบื้องหนา “เอวํ เสวิตพฺพาเสวิตพฺพวเสน ทุวิธานิป” ธุดงคมี ๒ ประการดวยสามารถเปนเสวิตัพพ ธุดงคแลอเสวิตัพพธุดงค ดังพรรณนามาฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 107 อนึ่ง ธุดงคทั้งหลายทั้งปวง ถากลาวดวยสามารถเจตนาก็มีแตประการเดียวเทานั้น สมดวย คําพระอรรถกถาจารยกลาวในอรรถกถาทั้งหลายมีดังนี้วา “เอกาเยว หิ ธุตงฺคสมาทานเจตนา” มี ความวาแทจริง เจตนาในการสมาทานซึ่งธุดงคเปนอยางเดียวเทานั้น อาจารยบางจําพวกยอมกลาววา “ยา เจตนาธุตงฺค”ํ เจตนาเปนความดําริจะสมาทานใด เจตนาคือความดําริสมาทานนั้นนั่นแลชื่อวาธุดงค คือเปนเหตุอันขจัดกิเลส แสดงลักษณะแหงธุดงคโดยยอ มีสีสังคธุดงค ๓ เปนตน ก็ยุติกาลเทานี้ แตนี้จะสังวรรณนาลักษณะแหงธุดงคโดยวิตถารตอไป “พฺยาสโต ปน” ประการหนึ่ง ถาจะกลาวโดยพิสดาร ธุดงคมี ๔๒ ประการ คือธุดงคแหง ภิกษุ ๑๓ ธุดงค แหงนางภิกษุณี ๘ ธุดงคของสามเณร ๑๒ ธุดงคของนางสิกขมานา แลสามเณรี ๗ ธุดงคของอุบาสก อุบาสิกา ๒ จึงเปนธุดงค ๔๒ ดังนี้ “สเจ หิ อพฺโภกาเส อารฺญิกงฺคสมฺปนฺนสุสานํ โหติ” มีสังวรรณนาวา แทจริง ถา สุสานประเทศปาชาถึงพรอมแกอารัญญิกังคธุดงคมีใดอัพโภกาสอันเปนที่กลางแจง พระภิกษุแมแต รูปเดียวก็อาจเพื่อจะเสพรักษาธุดงคทั้งปวงไดคราวเดียวกัน คืออธิบายวาเปนอันรักษาธุดงคตลอด ทั่วถึงกันสิ้นทั้ง ๑๓ ธุดงคแล ดังจะกลาวโดยพิเศษ ธุดงคทั้ง ๒ คืออารัญญิกกังคธุดงค ๑ ขลุปจฉาภัตติกังคธุดงค ๑ สมเด็จพระผูทรงพระภาค ก็ตรัสหามแกนางภิกษุณีดวยมีสิกขาบทไดทรงบัญญัติไว ธุดงคทั้ง ๓ นี้ คืออัพโภกาสิกังคธุดงค ๑ รุกขมูลิกังคธุดงค ๑ โสสานิกังคธุดงค ๑ “ทุปฺ ปริหารานิ” อันนางภิกษุณีจะรักษาไดดวยยาก “ภิกฺขุนิยา หิ ทุตยิกํ วินาวสิตุ ํ นฺ วฏฏติ” เพราะ เหตุใดเพราะเหตุวาอันนางภิกษุณี ถาเวนทุติยิกาภิกษุณี ที่เปนเพื่อนสองแลวก็ไมควรจะอยู อีกประการหนึ่ง “สมานจฺฉนฺทา ทุติยิกา ทุลฺลภา” นางภิกษุณีทุติยิกาที่เปนเพื่อนสอง ซึ่งมีฉันทะความปรารถนาพอใจอันเสมอกันก็เปนอันไดดวยยากในสถานเห็นปานดังนี้ อนึ่งถาหากนางภิกษุณีนั้น จะพึงไดทุติยิกาภิกษุณีเปนเพื่อนสองที่มีความปรารถนาพอใจ เสมอกันไซร “สํสฏวิหารโต น มุจฺเจยฺย” ก็ไมพึงดนจากวิหารโทษ คือความอยูระคนกัน “เอวํ สติ” ในเมื่อเหตุขัดของอยางนี้มี นางภิกษุณีจะพึงรักษาธุดงคไดเพื่อหวังแก ประโยชนอยางใด “เสววสสา อตฺโถ สมฺปชฺเชยฺย” ประโยชนนั้นไมพึงสําเร็จแกนางภิกษุณีนั้น แทจริง เพราะเหตุแหงนางภิกษุณี ไมพึงอาจปฏิบัติรักษาธุดงคไดดังที่กลาวมานี้ “ปญจ หาเปตฺ วา ภิกขุนีนํ อฏเฐว โหนฺตีติ เวทิตพฺพานิ” ธุดงคทั้งหลาย บัณฑิตพึงรูวา ลดเสีย ๕ ธุดงค แลว ธุดงคของนางภิกษุณียังมีอยู ๘ ธุดงค อธิบายธุดงคทั้ง ๘ นั้น นางภิกษุณีจะพึงเลือกธุดงคหนึ่งธุดงคใด ปฏิบัติรักษาได โดยควร แกจริต แลความสบาย แลความศรัทธาเลื่อมใสของตน ตามพระพุทธบัญญัติที่ทรงอนุญาตไว ประการหนึ่งล้ําธุดงคเหลานั้น โดยควรแกคําที่กลาวแลว ธุดงคทั้งหลายอันเศษยกเตจีวริ กังคธุดงคเสียมี ๑๒ บัณฑิตพึงรูวาเปนธุดงคของสามเณร แลธุดงค ๗ เปนของสิกขมานาแลสามเณรี อนึ่งธุดงคเหลานี้ คือเอกาสนิกังคธุดงค ๑ ปตตปณฑิกังคธุดงค ๖ เปนธุดงคสมควรแก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 108 อุบาสกอุบาสิกา ธุดงคทั้ง ๒ ดังนี้ อันอุบาสกแลอุบาสิกา อาจเพื่อจะปฏิบัติรักษาได เพราะเหตุฉะนี้ ธุดงคมี ๔๒ โดยพิสดารดังที่กลาวมาดวยประการดังนี้ “อยํ สมาสพฺยาส โต วณฺณนา” แสดงดวยอรรถวรรณนาในบท “สมาสพฺยาสโต” คือ ยอแลพิสดารแหงธุดงค อันมีประการตาง ๆ นี้ ก็ยุติกาลแตเทานี้ “สีลสฺส โวทานํ” ความบริสุทธิ์แหงศีลมีประการอันกลาวแลวดวยคุณทั้งหลายใด มีอัปปจฉตาคุณ แลสันตุฏฐิตาคุณเปนตน “เตสํ สมฺปาทนตฺถํ สมาทานตพฺพธุตงฺคกถา กถิตา” การกลาวซึ่งธุดงคอันพระโยคาวจรพึงสมาทาน เพื่อจะใหถึงพรอมแหงคุณมีอัปปจฉตาคุณ แลสันตุฏฐิ ตาคุณเปนตนเหลานั้น อันขาพระองคผูชื่อวาพุทธโฆษาจารยกลาวแลวในคัมภีรพระวิสุทธิมรร ที่ สมเด็จพระผูมีพระภาคไดตรัสเทศนาดวยศีลแลสมาธิปญญา เปนประธานในพระคาถานี้ดวยคําวา “สีเล ปติฏาย นโร สปฺโฺ” มีประมาณเทานี้ “ธุตงฺคนิทเทโส นาม ทุติโย ปริจเฉโท” แสดงมาดวยปริจเฉทเปนคํารบ ๒ ชื่อธุดงคนิ เทส คืแแสดงออกซึ่งธุดงคอันมีประเภท ๑๓ ประการ แลลักษณะแหงธุดงคทั้งยอแลพิสดาร ในคัมภีร พระวิสุทธิมรรค อันขาพระองคผูมีนามวาพุทธโฆษาจารยไดรจนาตกแตงเพื่อใหเกิดความปราโมทย คือตรุณปติอันออนแกสาธุชน ดวยประการดังนี้ รับพระราชทานถวายวิสัชนา ในสภาวธรรมอันเปนบริวารแหงธุดงคเจตนาในบท ธุตธมฺมา เวทิตพฺพา” เปนตนจนตลอดจบธุดงคนิเทศปริจเฉทที่ ๒ ก็ยุติกาลเพียงเทานี้ เอวํก็มีดวยประการฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 109 -

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 1 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-1-

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-2-

สมาธินิเทศ จักวินิจฉัยในพิธีพระกรรมฐาน ตามคัมภีรพระวิสุทธิมรรค อิทานิ ยสฺมา เอวํ ธุตงฺคปหรณสมฺปามทิเตหิ อปฺปจฺฉตาทีหิคุเณหิ ปริโยธาเตหิ อิมสฺมึ สีเล ปติฏิเตน สีเล ปติฏ าย นโร สปฺโญ จิตฺตํ ปฺญฺจ ภาวยนฺติ วจนโต จิตฺตสีเสน นิทฺทิฏโ สมาทิ ภาเวตพฺโพ ฯ พระภิกษุในบวรพุทธศาสนา เมื่อประดิษฐานอยูในพระจตุปาริสุทธิ ศีล มีศีลอันผองแผว บริสุทธิ์ดวยคุณราศีมีมักนอยเปนตน อันตนใหบริบูรณดวยรักษาธุดงคโดยนัยดังสําแดงในศีลนิเทศนั้น แลวเบื้องหนาแตนั้น พึงจําเริญพระสมาธิที่สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคตรัสเทศนา ดวยจิตเปนประธานนั้นสืบ ตอไป เหตุมีพระพุทธฎีกาไววา สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ จิตฺตํ ปฺญฺจ ภาวยํ วาสัตว ประกอบไปดวยไตร เหตุจะปฎิสนธิปญญานั้น เมื่อตั้งอยูในศีลแลวก็พึงจําเริญสมาธิจิต แลพระวิปสสนาปญญาแลพระสมาธิที่ทรงพระ มหากรุณาตรัสเทศนานั้น ยังสังเขปอยูแตจะรูนั้นสิยังรูเปนอันยากแลว ก็จะปวยกลาวไปไยถึงที่จะ จําเริญภาวนานั้นเลาดังฤๅแลกุลบุตรทั้งปวงจําเริญได อาศัยเหตุดังนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจา รู รจนาคัมภีรพระวิสุทธิมรรค เมื่อจะสําแดงพระสมาธินั้น จึงตั้งขอปุจฉาปญญาไวในเบื้องบุรพภาคนั้น กอน เพื่อจะสําแดงพระสมาธิใหพิสดาร กับทั้งนัยแหงภาวนาวิธี ใหแจงแกพระโยคาพจรกุลบุตร ทั้งปวงในกาลบัดนี้ ฯ ในขอปุจฉาปญาหานั้นมี ๘ ขอ ขอเปนปฐมนั้นวาสิ่งดังฤๅไดชื่อวา สมาธิ ขอเปนคํารบ ๒ นั้นวา เหตุดังฤๅจึงไดชื่อวาสมาธิ ขอเปนคํารบ ๓ นั้นวา ลักษณะแลกิจแลผลแลอาสันนการณแหง สมาธินั้นเปนดังฤๅ ขอคํารบ ๔ นั้นวา สมาธิมีประมาณเทาดังฤๅ ขอคํารบ ๕ นั้นวา สมาธิจะเศราหมอง ดวยสิ่งดังฤๅ ขอคํา ๖ นั้นวา สมาธิจะบริสุทธิ์ดวยสิ่งดังฤๅ ขอคํารบ ๗ นั้นวา พระโยคาพจรกุลบุตรจะ จําเริญสมาธินั้นจะจําเริญดังฤๅ ขอคํารบ ๘ นั้นวา ดังฤๅจะเปนอานิสงสแหงสมาธิ ตั้งปุจจาฉาฉะนี้แล ฯ จึงวิสัชนาวา สมาธินี้มีประการเปนอันมากมิใชนอย ถาจะแสดงใหสิ้นเชิงนั้นจะฟุงซานไป บมิไดสําเร็จประโยชนที่จะตองประสงค เหตุดังนั้นสมาธิที่จะแสดงบัดนี้ จะยกขึ้นวาแตสมาธิที่ สัมปยุตตดวยกุศลจิตอยางเดียว ในขอปฐมปุจฉาวา สิ่งดังฤๅไดชื่อวาสมาธินั้น วิสัชนาวาสมาธินี้ใชอื่น ใชไกล ไดแกเอกัคคตาเจตสิกที่มีกําลังกลาบังเกิดพรอมดวยกุศลจิต แลขอทุติยปุจฉาวา สิ่งดังฤๅจึง ไดชื่อวาสมาธินั้น วิสัชนาวาเอกกัคคตาเจตสิกที่มีกําลังกลาบังเกิดพรอมดวยกุศลจิต ไดนามบัญญัติ ชื่อวาสมาธินั้นดวยอรรถวาตั้งจิตแลเจิตสิกทั้งปวงไว ใหแนวแนเปนอันหนึ่งอยูในอารมณอันเดียว แล ขอตติยปุจฉาวา ลักษณะแลกิจแลผลแลอันสันนการณแหงสมาธิเปนดังฤๅนั้น วิสัชนาวาสมาธินั้น มี สภาวะบมิไดกําเริบเปนลักษณะ มีกิริยาขจัดเสียซึ่งฟุงซานเปนกิจ มีกิริยาอันตั้งจิตไวใหมั่น บมิได หวาดหวั่นไหวเปนผล มีความสุขอันติดในกายแลจิตเปนอาสันนการณ อธิบายวาสุขนั้นเหตุอันใกลที่จะใหบังเกิด สมาธิ แลขอปุจฉาคํารบ ๔ ที่วา สมาธิมีประมาณเทาดังฤๅนั้นวิสัชนาวาพระสมาธินี้ ถาแสดงโดยเอกะ นั้น มีประมาณ ๑ ดวย สามารถลักษณะที่บมิไดกําเริบ พระสมาธินี้แมวาจะจําแนกแจกออกไปโดย ประเภทตาง ๆ ก็ดี ที่จะพนจากลักษณะที่ไมกําเริบนี้หามิไดเหตุฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-3เมื่อแสดงโดยลักษณะนั้น ทานจึงรวมพระสมาธิทั้งปวงเขาไวเปน ๑ แสดงในเอกะวาสมาธิ มีประการอันหนึ่งดังนี้ จึงวิสัชนาสืบตอออกไปอีกเลาวา พระสมาธินั้นถาจะแสดงโดยทุกะตางออกเปน ๘ ดวยสามารถทุกะทั้ง ๔ ในปฐมทุกะนั้นตางออกเปน ๒ คือ อุปจารสมาธิประการ ๑ อัปปนาสมาธิ ประการ ๑ ในทุติยทุกะนั้นก็ตางออกเปน ๒ คือ เปนโลกียสมาธิประการ ๑ เปนโลกุตตรสมาธิประการ ๒ ในตติยทุกะนั้นก็ตางออกเปน ๒ คือเปนสมาธิประกอบไแดวยปติประการ ๑ เปนสมาธิหาปติมิไดกระ การ ๑ ในจตุตถทุกะนั้นก็ตางออกเปน ๒ คือ เปนสมาธิเกิดพรอมดวยอุเบกขาประการ ๑ ถาแสดงโดยติกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๑๒ ดวยสามารถติกะทั้ง ๔ ในปฐมติกะนั้น สมาธิ ตางออกเปน ๓ คือ เปนหีนสมาธิอยางต่ําอยางนอยประการ ๑ มัชฌิมสมาธิอยางมัธยมประการ ๑ ปณีตสมาธิอยางยิ่งประการ ๑ ในทุติยติกะนั้นตางออกเปน ๓ คือ สมาธิประกอบวิตกวิจารประการ ๑ สมาธิหาวิตกบมิไดมีแตวิจารนั้นประการ ๑ สมาธิปราศจากวิตกวิจารนั้นประการ ๑ ในตติยติกะนั้นสมาธิตางออกเปน ๓ คือ สมาธิกอปรไปดวยปติประการ ๑ สมาธิกอปรไป ดวยสุขประการ ๑ สมาธิกอปรไปดวยอุเบกขาประการ ๑ ในจตุตถติกะนั้นตางออกเปน ๓ สามารถ ปริตตสมาธิ แลมหัคคตสมาธิแลอัปปมาณสมาธิ อธิบายวาสมาธินั้นเปนกามาพจรอยาง ๑ เปนรูปาพจ รอยาง ๑ เปนโลกุตรอยาง ๑ ถาจะแสดงโดยจตุกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๒๔ ดวยสามารถจตุกะ ๖ ในปฐมจตุกะนั้น ตางออกเปน ๔ คือ ทุกขา ปฏิปทาทันธาภิญญาสมาธิ ปฏิบัติไดดวยยากตรัสรูชาอยาง ๑ ทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญาสมาธิ ปฏิบัติไดดวยยากตรัสรูพลันนั้นอยาง ๑ สุขาปฏิปทาทันธาภิญญาสมาธิปฏิบัติไดดวยงายตรัสรูชานั้น อยาง ๑ สุขาฏิปทาทันธาขิปปภิญญาสมาธิ ปฏิบัติไดดวยงายตรัสรูพลันนั้นอยาง ๑ ในทุติยจตุกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๔ ดวยสามารถปริตตปริตตารมณ คือ สมาธิมิไดชํานาญ มิไดเปนปจจัยแกฌาน เบื้องบน แลอารมณมิไดจําเริญออก ๑ เปนปริตตอัปปมาณารมณ คือ สมาธิมิไดชํานาญ มิไดเปน ปจจัยแกฌานเบื้องบน แลอารมณมิไดจําเริญออก ๑ เปนอัปปมาณอัปปมาณอัปปณารมณ คือสมาธิอันชํานาญ เปนปจจัยแกฌานเบื้องบน แลมีอารมณจําเริญออก ๑ ในตติยจุกะนั้นสมาธิตางออกเปน ๔ ดวย สามารถ ปฐมฌาณ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ที่จัดโดยจตุกนัย ในจตุตถจตุกะนั้นสมาธิ ตางออกเปน ๔ ดวยสามารถเปนหานภาคิยสมาธิ คือ สมาธินั้นโยคาพจรจําเริญไดแลว มีสวนขางจะ เสื่อมสูญไปอยาง ๑ เปน ฐิติภาคิยสมาธิ คือจําเริญไดอยูเพียงใด มีสวนใดที่จะตั้งอยูเพียงนั้นบ มิไดยิ่งขึ้นไป แลบมิไดเสื่อมลงนั้นอยาง ๑ เปนวิเสสภาคิยสมาธิคือโยคาพจรจําเริญได มีสวนขาง วิเศษยิ่ง ๆ ขึ้นไปโดยลําดับแหงฌานนั้นอยาง ๑ เปนนิพเพทภาคิยสมาธิ มีนิพพิทาญาณบังเกิด พรอมใหเหนื่อยหนายจากสังขาร ธรรมนั้นอยาง ๑ ใ นปญจมจตุกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๔ ดวยสามารถ เปนกามาพจาร สมาธิอยาง ๑ รูปาพจารสมาธินั้นอยาง ๑ อรูปาพจรสมาธิอยาง ๑ โลกุตตรสมาธิอยาง ๑ ในฉัฏฐม จตุกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๔ ดวยสามารถฉันหาธิปติสมาธิ กอปรไปดวยความรักความปรารถนา กลาเปนหลักเปนประธานนั้นอยาง ๑ วิริยาธิปติสมาธิกอปรไปดวยความเพียรกลาเปนหลักเปน ประธานนั้นอยาง ๑ จิตตาธิปติสมาธิมีกุศลจิตกลาเปนหลักเปนประธานนั้นอยาง ๑ วิมังสาธิปติสมาธิกอปรไปดวยปญญากลาเปนหลักเปนประธานนั้นอยาง ๑ สิริสมาธิในจตุ กะทั้ง ๖ นี้จึงเปนสมาธิ ๒๔ อยางดวยกัน ถาจะแสดงโดยปญจกะนั้น สมาธิตางออกเปน ๕ ดวยสามารถเปนปฐมฌานสมาธิ ทุติยฌานสมาธิ ตติยฌานสมาธิ จตุตถฌานสมาธิ ปญจมฌาน สมาธิ แสดงเอกะ ๑ ทุกะ ๔ ติกะ ๔ จตุกะ ๖ ปญจกะ ๑ จําแนกแจกออกซึ่งสมาธิ ๕๐ ทัศ วิสัชนาในขอปุจฉาเปนคํารบ ๕ ที่วาสมาธิมีประมาณเทาดังฤๅนั้นเสร็จแลว จึงวิสัชนาใน ขอปุจฉาคํารบ ๕ ที่วาสมาธิจะเศราหมองดวยสิ่งดังฤๅนั้นตอไปวา สมาธิจะเศราหมองนั้น อาศัยแกมี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-4สัญญาแลมนสิการที่เกิดพรอมดวยความรัก ความปราถนา ในปญจพิธกามคุณแลวกาลใด สมาธิก็จะ เศราหมองเสื่อมสูญไปในกาลนั้น แลขอปุจฉาเปนคํารบ ๖ ที่วาสมาธิจะบริสุทธิ์ดวยสิ่งดังฤๅนั้น มีคําวิสัชนาวา สมาธิจะ บริสุทธิ์นั้น อาศัยแกมีสัญญาแลมนสิการที่บมิไดปราศจากวิตกตั้งอยูในภาวนาวิธี เปนวิเสสภาคิยะ แลวกาลใด ก็เปนปจจัยใหสมาธิบริสุทธิ์ในกาลนั้น แลขอปุจคํารบ ๗ ที่วาโยคาพจรจะจําเริญสมาธิ จะ จําเริญเปนดังฤๅนั้น วิสัชนาวาพิธีที่จําเริญโลกุตตรสมาธินั้น สงเคราะหเขาในปญญาภาวนา ในที่อันนี้จะ ประสงควาแตพิธีที่จําเริญโลกิยสมาธิ เมื่อแรกจะจําเริญสมาธินั้น พระโยคาพจรกุลบุตรพึงชําระศีล แหงใหบริสุทธิ์แลวพึงตัดเสียซึ่งปลิโพธใหญนอยทั้งปวงอยาใหมีธุระกังวลอยูดวยปลิโพธสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง ปลิโพธอยางใหญนั้นมีประเภท ๑๐ ประการ คืออาวาสปลิโพธกังวลอยูดวยกุฎิวิหารที่อยูที่ กินเอื้อเพื้ออาลัยบริบูรณดวยรมไมแลน้ํา มีภัตรไดดวยงายเปนอาทินั้นประการ ๑ กุลปลีโพธ กังวลอยู ดวยตระกูลญาติ แลตระกูลโยมอุปฏฐากรวมสุขทุกขดวยบุคคลในตระกูลนั้นประการ ๑ ลาภปลิโพธ กังวลอยูดวยลาภสักการ คือทายกนําเอาจตุปจจัยทานมาถวายเนือง ๆ ตองเปนธุระที่จะกระทํา อนุโมทนาทานแลแสวงพระธรรมเทศนาหาโอกาส ที่จะจําเริญสมณธรรมบมิไดประการ ๑ คณปลิโพธ กังวลอยูดวยหมูดวยคณะเปนธุระที่จะบอกบาลีแลอรรถกถา หาวางที่จะจําเริญ สมณธรรมบมิไดประการ ๑ กัมมปลิโพธ กังวลอยูดวยกระทํานวกรรมเอาใจใสในสิ่งของอันชางไมเปน ตนไดแลบมิได เอาใจใสในการที่กระทําดีแลกระทําชั่วนั้นประการ ๑ อัทธานปลิโพธ กังวลอยูดวยเดิน ทางไกล เปนตนวาจะไปบวชกุลบุตรในที่ไกลประการ ๑ ญาติปลิโพธ กังวลอยูดวย มารดาบิดาพี่ชาย นองหญิง อุปชฌายอาจารย สิทธิวิหารรีกแลอันเตวาสิกที่ปวยที่ไขประการ ๑ อาพาธปลิโพธ กังวลอยูดวยรักษาโรคในกายแหงตนประการ ๑ คันถปลิโพธ กังวลอยูดวย เลาเรียนสังวัธยายปริยัติธรรมเปนนิตยนั้นประการ ๑ อิทธิปลิโพธ กังวลอยูดวยจะจําเริญฤทธิ์รักษา ฤทธิ์นั้นประการ ๑ สิริเปนปลิโพธใหญ ๑๐ ประการดวยกัน แลกิริยาที่จะจําเริญฤทธิ์รักษานั้น เปน ปลิโพธแหงสมาธิวิปสสมาธิสิ่งเดียว จะไดเปนปลิโพธแหงสมาธิภาวนาหาบมิได เพราะเหตุวา โยคาพจรเจาจะไดสําเร็จฤทธิ์แลว ยอมไดดวยอํานาจจําเริญสมาธิภาวนาวา อุปจฺฉินทิตฺวา พระ โยคาพจรผูจะบําเพ็ญสมาธิภาวนานั้น เมื่อตัดปลิโพธอันใหญเสียไดแลว ยังแตปลิโพธนอย ๆ คือผม ยาวเล็บยาว บาตรเปนสนิมจีวรเหม็นสาบนั้นก็พึงชําระเสียใหสิ้น พึงปลงผมตัดเล็บรมบาตรซักจีวร ปลดเปลี้องขุททกปลิโพธเสียใหสิ้นแลว ก็พึงไปสํานักอาศัยอยูในอาวาสเปนที่สบายสมควรแกสมาธิ ภาวนา อยาอยูในอันวิหารอันบมิไดสมควรจะอยู ๑๙ อยาง มหตฺตํ วิหารใหญนั้น ๑ ชิณฺณตํ ๑ คือวิหารเกาคร่ําครานั้น ๑ นวตุตํ วิหารสรางใหมนั้น ๑ ปณฺฐสนฺนิสฺสิตตฺตํ วิหารอยูใกลทางนั้น ๑ โสณฺฑิ วิหารอยูใกลตระพังศิลานั้น ๑ ปณฺณํ วิหารอันกอปรดวยใบไมควรจะบริโภค ๑ บุปฺผํ วิหาร กอปรดวยกอดอกไมนั้น ๑ ผลํ วิหารกอปรดวยดอกไมมีผล ๑ ปนฺถนิยตา วิหารเปนที่คนทั้งปวง ปรารถนาที่จะไปมา ๑ นคสนฺนิสฺสิตฺตา วิหารอยูใกลเมือง ๑ ทารุสสนฺนิสสิตฺตา วิหารอยูใกลที่มีไมฟน ๑ เขตฺตสนฺนิสสิตฺตา วิหารอยูใกลที่นา ๑ วิ สภาคาน ปุคฺคลานํ อตฺถิตา วิหารที่มีวิสภาคบุคคลนั้น ๑ ปฏนสนฺนิสสิตตา วิหารอยูใกลทาน้ํา ๑ ปจฺจนฺตนิสสิตฺตา วิหารอยูใกลปจจันตชนบท ๑ รชฺชสีมนฺตรสนฺสสิตา วิหารอยูใกลแดนพระนคร แหงพระนครทั้งปวง ๑ อสปฺปายตา วิหารอันมีไดสบายดวยวิสสภาคารมณแลผี ๑ กลฺยาณมิตฺานํ อลาโภ วิหารอันมีไดซึ่งกัลยาณมิตร ๑ ประสมเขาเปน ๑๘ ดวยกัน วิหาร ๑๘ เห็นปานดังนี้ พึงละเสีย อยาอยู

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-5วิหารใหญหามมิใหอยูนั้นเปนเหตุมีสงฆอยูมาก ถาสงฆทั้งปวงเกี่ยงเลี่ยงมันมิไดกระทํา วัตตปฏิบัติกวาดแผวลานพระเจดีย และพระมหาโพธิ์มิไดตั้งไวซึ่งน้ําใชและน้ําฉันตนไปอยูนั้น ถึง เวลาเชาตองกระทําวัตตปฏิบัติกวาดแผว ตั้งไวซึ่งน้ําใชแลน้ําฉัน ครั้นไมกระทําก็จะเปนวัตตเภท จะตองอาบัติทุกกฏ ครั้นจะกระทําเลากระทําวัตตปฏิบัติกวาจะสําเร็จนั้นเวลาก็จะสายไป ๆ เที่ยวบิณฑบาตนั้น จะมิไดจังหัน จะลําบากดวยบิณฑบาตประการหนึ่ง วิหารใหญพระสงฆอยูมากอื้ออึง จะจําริญพระ กรรมฐานนั้นมิสูสบาย จิตมักฟุงซาน วิหารที่เขาพึงจะสรางใหมนั้นเลา ถาไปอยูก็จะตองกระทําการ ครั้นนั่งเสียไมกระทําเลา ภิกษุทั้งปวงก็จะยกโทษจะวากลาวได ครั้นจะกระทําการเลาเหน็ดเหนื่อย ลําบากกายอยูแลว ก็มิอาจจําเริญพระกรรมฐานนั้นได อาศัยเหตุฉะนั้นอาวาสที่พึ่งจะสรางใหมนั้นอยา พึงอยู ถาสงฆในอาวาสนั้นใหโอกาสวา ทานจงกระทําสมณธรรมตามสบายเถิด เราจะกระทําเอง ถาไดโอกาสฉะนี้แลวก็พึงอยูเถิด วิหารเกาคร่ําครานั้นเลาหามมิใหอยูเปนเหตุที่จะตองกระทําการ ปฏิสังขรณซอมแปลงกุฏิวิหารเสนาสนะ ครั้นกระทําการก็จะเสื่อมเสียจากพระกรรมฐาน วิหารอยูใกล ทางหามมิใหอยูนั้นอาศัยวาวิหารนั้นเปนที่ไปที่มาแหงเจาภิกษุอาคันตุกะ เมื่อภิกษุอาคันตุกะมาถึง แลว ก็จะออกไปกระทําอาคันตุกะวัตร ถาเจากูมามันเปนเวลาวิกาลอาศัยจําวัดนั้นขัดสนอยู เสนาสนะ อื่นนั้นไมมี มีแตเสนาสนะของตนก็จําจะใหอาคันตุกะ เมื่อใหเสนาสนะขอตนแลว แลไปอยูใตตนรมไม ไปอยูเหนือแผนหลังศิลาราบนั้นจะมิสูสบาย อนึ่งจะเปนกังวลอยูดวย อาคันตุกะ จะมิไดวางที่จะจําเริญพระกรรมฐานแลวิหารที่อยูใกล ตระพังศิลา หามมิใหอยูนั้นอาศัยวาตระพังศิลาเปนที่ประชุมชนทั้งหลายอันปราถนาน้ํา เสียงคนมาตัก น้ํานั้นจะอื้ออึงอยูจะมิสูสบายประการหนึ่ง ถาภิกษุผูปรารถนาจะสุผายอมผาเห็นวาอาวาสนั้นใกลน้ํา ก็ จะเริ่มกันมาสุผายอมผา มาแลวก็ถามหาที่จะเคี่ยวน้ํายอม ถามหาภาชนะอันใสน้ํายอมแลรางยอมผา ครั้นเจากูมาถามหา ก็จําจะบอกวาอยูที่นั้น ๆ แตเวียนบอกเวียนกลาวอยูนั้น ก็จะปวยการที่จะจําเริญ พระกรรมฐาน วิหารอันกอปรดวยใบไมควรจะบริโภคหามมิใหอยูนั้น อาศัยวาสตรีที่เก็บผักนั้น มาเก็บผัก แลจะขับจะรองเลนเสียง จะเย็นเขาไปจับเอาดวงใจจะเปนอันตรายแกพระกรรมฐาน อาวาสกอปรดวย ไมตาง ๆ นั้นเลาหามมิใหอยูเพราะเหตุวา ดอกไมเปนที่ชอบใจของสตรี ๆ ปรารถนาดอกไมมาเก็บ ดอกไมแลว จะขับจะรองไดยินถึงโสตน้ําจิตก็จะประหวัดกําหนัดในเสียง จะเปนอันตรายแกพระ กรรมฐานแลอาวาสกอปรดวยตนไมมีผลเปนตนวา มะมวงแลขนุนหนังหามมิใหอยูนั้นอาศัยวาเมื่อ เทศกาลไมเปนผลแลวคนทั้งปวงชวนกันมาขอ ไมใหเขาก็จะโกรธเขาจะขมเหงเอา หามเขา ๆ ก็จะดา วาตามอัชฌาสัย แลวเขาจะเพียรพยายามกระทําใหเจาภิกษุนั้นไปเสียจากอาวาส เหตุฉะนี้กุลบุตรผู จะจําเริญพระกรรมฐาน อยาพึงอยูในอาวาสกอปรดวยผลไมเห็นปานดังนี้ ฯ อนึ่ง อาวาสที่คนทั้งปวงพอใจไปมานั้นก็หามไมใหอยู คืออาวาสเหมือนดวยทักษิณาคีรี วิหาร แลเจติยคีรีวิหารบรรพตวิหาร ถาภิกษุองคใดไปแลว คนทั้งปวงก็สรรเสริญวาเปนพระอรหันต เกลื่อนกลนกันมาไหวมาบูชา ถาเรียนพระกรรมฐานแลว แลไปอยูในอาวาสเห็นปานดังนั้น คนทั้งปวง ก็จะเกลื่อนกลนกันไปไหวไปบูชาจะไมสบายในที่จะจําเริญพระกรรมฐาน อาวาสอยูในเมืองเลาหามมิ ใหอยูนั้นอาศัยวาหญิงชายชาวเมืองจะเวียนไปเวียนมา ถาภิกษุนั้นครั้นเห็นวิสภาคารมณ คือรูปสตรี นั้นเนือง ๆ แลวก็จะกระสันเปนทุกขดวยกามราคดํากฤษณาการหนึ่งกุมภทาสีกระเดียดกระออมน้ําขึ้น ทานี้ลงทานั้น มันเปนคนชั่วเห็นเจาภิกษุแลวไมหลบไมหลีกเจาภิกษุนั้นจะมิสูสบายดวยกุมภทาสีนี้ ประการหนึ่ง ๆ คนเปนผูใหญมีชื่อเสียงนั้นมักไปมากันในทามกลางวิหารแลว ก็นั่งพักสําราญตามสบายจะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-6ละลุมละลาอยู เจาภิกษุนั้นจะมิไดสบายที่จะจําเริญพระกรรมฐาน เหตุฉะนี้จึงหามมิใหอยูในอาวาส ใกลเมืองแลอาวาสใกลที่ไมที่ฟนเลา ก็หามมิใหอยูอาศัยวาคนที่ปรารถนาวาจะทําเรือนโรงที่นั้น ๆ จะ ไปตัดไมฟนไมในอาวาสไมใหก็จะโกรธคนที่ปรารถนาฟนนั้นเลาก็จะไปเก็บฟน คนนั้นไปคนนี้มาวุน ๆ วาย ๆ ก็จะไมสบายในที่จําเริญพระกรรมฐาน อาวาสอยูใกลนา ๆ ลอมรอบนั้นเลาหามมิใหอยูนั้น อาศัยวาชาวนาจะเขามาทําลานนวดขาวทามกลางแลอาวาสจะอื้ออึง จะไมสบายอยางนี้ประการหนึ่ง บางทีโยมวัดนั้นเลี้ยงโคแลเลี้ยงกระบือไว ปลอยออกไปกินขาวในนาชาวบาน ๆ กับโยม วัดจะขัดเคืองกันจะดากันมากลาวในสํานักสงฆไมตกลง ก็จะพากันไปถึงสํานักพระยาแลมหาอํามาตย ทั้งคฤหัสถแลภิกษุจะไมสบายอยางนี้ประการหนึ่ง เหตุนี้จึงหามมิใหอยูในอาวาสมีนาลอมรอบ แล วิหารที่มีวิสภาคบุคคลอยูนั้น คือภิกษุในอาวาสทุมเถียงเกี่ยงเลี่ยงคอยเอาผิดกันเปนขาศึกกันอยู แล หามมิใหเจาภิกษุที่จะจําเริญพระกรรมฐานอยูนั้น เหตุจะพลอยขุนของดวยวิวาทจะไมสบายที่จํา จําเริญพระกรรมฐาน อาวาสอยูใกลทางนั้นเลาหามมิใหอยู อาศัยดวยวาคนไปดวยเรือแพนาวาคนไปคนนั้นมากมี เสียงอันอื้ออึง จะไมสบายที่จะจําเริญพระกรรมฐาน แลอาวาสอยูใกลประจันตประเทศนั้นเลาหามมิให อยูนั้นอาศัยวาคนในประจันตประเทศนั้น มิไดเลื่อมใสในพระรัตนตรัยไปอยูที่นั้นจะลําบากดวย บิณฑบาต แลอาวาสอยูแดนตอแดนนั้นเลาหามมิใหอยูนั้น อาศัยวาประเทศที่นั้น บางทีพระยาชางนี้ เห็นวาไปขึ้นอยูขางโนนก็ใหยกทัพไปตี ฝายวาพระยาชางโนนเห็นวาขึ้นอยูขางนี้ ก็ใหยกมาตีอีกเลา จะวุนไปดวยการทัพการศึก จะไมสบายในที่จะจําเริญพระกรรมฐานประการหนึ่ง เจาภิกษุไปอยูใน ประเทศแดนตอแดนนั้น พอวามีธุระมีจะเที่ยวไปขางโนนก็ดีขางนี้ก็ดี ราชบุรุษมาพบประสบเขาก็จะวา เปนบุรุษสอดแนมเอาเหตุเอาผล จะเบียดจะเบียนใหไดความลําบาก เหตุฉะนี้จึงหามมิใหอยูในอาวาส ในแดนประเทศแดนตอแดนนั้น อาวาสสอนประกอบดวยวิสภาคารมณ คือกอปรดวยสตรีภาพอยูนั้นก็ดี อาวาสอันกอปรดวย ปศาจรายกาจหยาบชานั้นก็ดี ก็หามมิใหเจาภิกษุผูจําเริญพระกรรมฐานนั้นอยูเหตุจะไมสบายดวยวิ สภาคารมณแลปศาจนั้น อาวาสอันหากัลยาณมิตรมิไดนั้นก็หามมิใหอยู ปุจฉาวา บุคคลจําพวกใดได ชื่อวากัลยาณมิตรวิสัชนาวาบุคคลที่เปนอาจารยแลอุปชฌาย บุคคลมีพรรษาอายุคุณวุฒิเสมอดวย อาจารยแลอุปชฌายนั้นก็ดี ไดชื่อวากัลยาณมิตร ๆ นี้ถามิไดมีในวิหารอันใด เจาภิกษุผูเจริญพระ กรรมฐาน อยาพึงอยูในวิหารอันนั้นเจาภิกษุผูจะเรียนพระกรรมฐานนั้น พึงสละเสียซึ่งวิหารอันมิได สมควร ๑๘ ประการดังพรรณนาฉะนี้แลว พึงอยูในวิหารอันกอปรดวยองค ๕ ประการ นาติทู รํ นาจฺจาสนฺนํ คือมิสูไกลโคจรคามนั้น นักอยูแตภายใน ๒ คาพยุตคือ ๒๐๐ เสนมิสูใกลนัก อยูภายนอก ๓๕ เสนพอไปพอมา กลางวัน มิไดมีคนไปละเลาละลุมนัก กลางคืนก็สงัดมิไดยินเสียงคนเจรจา ๑ เหลือบแลยุงงูเล็กและใหญมีโดย นอย แดดก็มิสูจัดนัก ลมก็มิสูพัดนัก มีที่บังอยูบาง มิสูลําบากดวยรอนนักแลเย็นนักนั้น ๑ ไดจีวร บิณฑบาตเสนาสนะแลยาอันจะระงับความไขดวยงาย มิสูลําบากนักนั้น ๑ ภิกษุผูเปนมหาเถระเปนพหูสุตทรง ทรงซึ่งวินัยแลมาติกาสมควรที่จะไปสูหาไตถามอรรถ ธรรมนั้นก็มี ในวิหารนั้น ๑ ครั้นมีความสงสัยเขาไปไตถามทานก็จะบรรเทาความสงสัยอยูใหปราศจาก สันดาน ที่อันใดลึกทานก็กระทําใหตื่นขึ้น ที่ไมแจงนั้นทานคัดขอขึ้นวากลาวชี้แจงใหแจง ทาน อนุเคราะหฉะนี้ ๑ สิริเปนองค ๕ ประการฉะนี้ วิหารอันใดกอปรดวยองค ๕ ประการดังนี้ เจาภิกษุผูจะเรียนพระกรรมฐานนั้น พึงอยูใน อาวาสอันนั้น กาลเมื่อจะไปสูสํานักแหงอาจารยผูบอกพระกรรมฐานนั้น อยาใสรองเทาอยากั้นรมอยา ใหอันเตวาสิกถือบาตถือจีวร คือกระบอกน้ํามันน้ําผึ้งน้ําออยแวดลอมไป พึงถือเอาบาตรแลจีวรดวย ตนเอง เมื่อไปในระหวางหนทางถาแวะเขาสูวิหารอันนั้น ไมสีฟนอันเปนกัปปยะนั้นพึงหาไปแตกลาง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-7ทาง เมื่อไปถึงที่สํานักแหงอาจารยนั้นแลว อยาไปยับยั้งหยุดพักระงับกายอยูในบริเวณอันอื่น เกลือกจะมีภิกษุที่ไมชอบกันกับอาจารยอันอยูที่นั้น ๆ นี้ ๆ จะยังวิปฏิสารีใหบังเกิด จะยุยงใหกลับมา จากสถานที่นั้นจะเสียการ เหตุนี้เจาภิกษุผูจําเริญพระกรรมฐานแลวพึงตรงไปสูสํานักอาจารยทีเดียว เมื่อไปถึงสํานักอาจารยแลว ถาอาจารยเปนภิกษุหนุมพรรษาออน ออกมาจะรับบาตรรับจีวร ก็อยาพึง ยินดีที่จะสงบาตรสงจีวรให ถาอาจารยนั้นเปนมหาเถรผูใหญมีพรรษาอันแกโดยพิเศษ เจาภิกษุนั้นนมัสการอาจารย แลวก็พึงยืนอยูในที่ควรขางหนึ่ง อยาเพอวางบาตรวางจีวรลงกอน ตออาจารยบอกวาจาวา ดูกอน อาวุโส ทานจงวางบาตรจีวรไวเถิด อาจารยออกวาจาฉะนี้แลว จึงวางบาตรจีวรลงไว ถาอาจารยเตือน ฉันอุทกังเจาภิกษุนั้นปรารถนาจะฉันก็พึงฉันโดยอันควรแกอัชฌาสัย ถาอาจารยเตือนใหชําระเทานั้นอยาเพอชําระกอน เกลือกน้ํานั้นจะเปนน้ําอาจารยตักบมิ ควรที่เจาภิกษุผูเปนศิษยจะนํามาชําระเทา ถาอาจารยบอกวาน้ํานี้ขาหาไดตักไม ผูอื่นตักตางหาก อาจารยบอกดังนั้นก็พึงตักเอาน้ํานั้นไปนั่งในที่อันกําบัง ถามิดังนั้นพึงนั่งในที่แจงเปนที่ลับจักษุแหง อาจารย แลวจึงชําระเทาแหงตน ถาอาจารยนําเอากระบอกน้ํานั้นมาสงให เจาภิกษุพึงกระทําเคารพ ลุกขึ้นรับรองดวยมือทั้งสอง ครั้นจะไมรับกระบอกน้ํามันอาจารยก็จะเสียใจวาไมบริโภครวมจะกินแหนงแคลงเสีย จะไม สงเคราะหบอกวิธีทางพระกรรมฐาน เหตุนี้จึงใหรับเอากระบอกน้ํามันนั้นมาโดยเคารพ ตั้งไวในที่อัน ควรแลว เมื่อจะทาน้ํามันนั้นอยาทาเทาเกลือกน้ํามันจะเปนน้ํามันทาตัวแหงอาจารย บมิควร ตออาจารยบอกวาน้ํามันนี้เปนน้ํามันสําหรับรักษาอวัยวะสิ้นทั้งปวง ทานจงทาเทาเถิด อาจารยอนุญาตดังนี้แลว เจาภิกษุผูเปนศิษยเมื่อจะทาเทานั้นพึงเอาน้ํามันทูนเหนือศีรษะกอนจึงจะทา เทา ครั้นทาน้ํามันเสร็จแลวจึงบอกแกอาจารยวา ขาแตพระผูเปนเจากระบอกน้ํามันนี้ขาพเจาจะขอเอา ไปเก็บไว ถาอาจารยมารับเอากระบอกน้ํามันก็พึงสงใหแกอาจารย วันแรกไปอยูในสํานักอาจารยนั้น อยาเพออาราธนาอาจารย ใหบอกวาพระกรรมฐานกอน พึงเอาใจใสในที่จะกระทําวัตตปฏิบัติแกอาจารยกอนบุคคลผูใดกระทําการอุปฏฐากแกอาจารยโดย ปกติ ก็พึงออนวอนบุคคลผูนั้นขอชองโอกาสที่จะปฏิบัติแกอาจารย สเจ น เทติ ถาบุคคลผูนั้นไมใหก็ พึงคอยหาชองที่วาง ไดชองเมื่อใดก็พึงปฏิบัติเมื่อนั้น เมื่อจะปฏิบัติอาจารยนั้นใหเหลาไมสีฟนเปน ๓ อยาง ๆ ใหญอยางกลางอยางนอย น้ําบวนปากแลน้ําสรงนั้น ก็พึงตั้งไวเปนสองภาชนะ น้ํารอนภาชนะ ๑ น้ําเย็นภาชนะ ๑ ถาอาจารยใชไมสีฟนอยางไรสิ้นทั้ง ๓ วัน ใชน้ําบวนปากแลน้ําสรงอยางไร สิ้นทั้ง ๓ วัน ก็พึงปฏิบัติดวยไมสีฟนอยางนั้นปฏิบัติดวยน้ําบวนปากแลน้ําสรงอยางนั้นเปนนิจกาล ถาอาจารยใชไมมีกําหนดไมสีฟนนั้น ใชอยางใหญบางอยางกลางบางอยางนอยบาง น้ํา บวนปากแลน้ําสรงนั้น ใชน้ํารอนบางน้ําเย็นบางไมมีกําหนดดังนี้ ก็พึงปฏิบัติอาจารยนั้นดวยไมสีฟนแล น้ําบวนปากแลน้ําสรงโดยอันควรแกหามาใหนั้นเถิด พึงกระทําวัตตปฏิบัติอาจารยนั้น โดยนัยแหงอาจ ริยวัตตที่นําแสดงไวในมหาขันธนั้น เมื่อปฏิบัติอาจารยมีกําหนดนานถึง ๑๐ วัน ๑๔ วันลวงแลวจึงขอ เรียนพระกรรมฐานในสํานักอาจารย อาจารยนั้นก็พึงบอกพระกรรมฐานนั้นใหสมควรแกจริตแหงอันเต วาสิกแลประเภทแหงจริตนั้น สําแดงโดยสังเขปมี ๖ ประการ คือราคจริตประการ ๑ โทสจริตประ ๑ โมหจริตประการ ๑ สัทธาจริตประการ ๑ พุทธจริตประการ ๑ วิตักกจริตประการ ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน บุคคล อันเปนราคจริตนั้นมีอัชฌาสัยมักโอโถงรักใครที่งามที่ดี มีสันดานมากไปดวยความกําหนัด ในปญจพิธ กามคุณ บุคคลอันเปนโทสจริตนั้น มีอัชฌาสัยมากไปดวยโทมนัสมักขัดแคนกริ้วโกรธราย บุคคลอัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-8เปนโมหจริตนั้น มีอัชฌาสัย มักลุมมักหลงฟนเฟอนสติอารมณเปนคนโลเลไมยั่งยืน บุคคลอันเปนสัทธาจริตนั้น มีสันดานมักเชื่อฟงผูอื่นมากไปดวยความเลื่อมใสในพุทธาทิ คุณ ยินดีในศีลทานการกุศลสุจริตตาง ๆ บุคคลอันเปนพุทธจริตนั้น มีอัชฌาสัยมากไปดวยพินิจ พิจารณาในคุณแลโทษบุญแลบาปมีปญญาแหลม บุคคลที่เปนวิตักกจริตนั้น มีอัชฌาสัยมากไปดวย วิตกวิจารสันดานโวเวลังเลไมยั่งยืน จริต ๖ ประการนี้ เมื่อจัดโดยมีสกนัยนั้น จําแนกแจกออกไปเปนจริตถึง ๓๖ สําแดงแต ๖ ประการนี้โดยสังเขปสําแดงแตมูลจริตมิไดสําแดงโดยมิสกนัย แลพระกรรมฐานที่เปนจริยานุกูล อนุโลมตามอัชฌาสัยแหงพระโยคาพจรนั้น นักปราชญพึงรูวาพระกรรมฐาน ๑๑ คือ อสุภ ๑๐ กายค ตาสติ ๑ ทั้ง ๑๑ ประการนี้ อนุกูลตามราคจริตเปนที่สบายแหงราคจริต คนเปนราคจริตมักกําหนัดยินดีดวยราคะนั้น สมควรจะจําเริญพระกรรมฐาน ๑๑ ประการนี้ พรหมวิหาร ๔ แลวรรณกสิณแดง ๔ เปน ๘ พระ กรรมฐานทั้ง ๘ นี้อนุกูลตามโทสจริต เปนที่สบายแหงโทสจริตแลอานาปาสติกรรมฐานนั้น เปนที่ สบายแหงโมหจริตแลวิตกจริต คนมักลุมมักหลงคนมักวิตกวิจารนั้น สมควรที่จะจําเริญอานาปานสติ กรรมฐานแลอนุสติ ๖ ประการ คือพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุส สติ เทวตานุสสติ ทั้ง ๖ ประการนี้ สมควรที่บุคคลอัน อันเปนสัทธาจริตจะจําเริญ แลมรณานุสส ติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปฏิกูลมัญญา จตุธาตุวัตถาน ๔ ประการนี้ เปนที่สบายแหงพุทธจริต คนอันกอปรดวยปญญามากนั้น ควรจะจําพระกรรมฐานทั้ง ๑๐ ประการ คือ อรูป ๔ ภูตกสิน ๔ อาโปกสิน ๑ อากาสกสิณ ๑ นั้น เปนที่สบายแหงจิตทั้งปวง จะได เลือกจริตก็หามิได นักปราชญพึงสันนิษฐานเขาใจวากรรมฐานคืออรูป ๔ ประการนั้น แมวาจะเปนที่ สบายแหงจริตทั้งปวงก็ดี อาทิกัมมิกบุคคลที่ไมเคยบําเพ็ญพระกรรมฐานมาแตกอน พึงจะฝกสอนบําเพ็ญในปจจุบัน ชาตินี้ บมิควรจะบําเพ็ญอรูปกรรมฐานทั้ง ๔ นี้ในเบื้องตนอาทิกัมมิก บุคคลพึงเรียนกรรมฐานอันอื่น กอน ไดพระกรรมฐานอันอื่นเปนพื้นแลว จึงบําเพ็ญอรูปกรรมฐานภายหลัง แลกุลบุตรผูจะเรียน กรรมฐานนั้น ถาเรียนในสํานักสมเด็จพระผูมีพระภาค ก็พึงมอบเวนกายอาตมะแกสมเด็จพระพุทธเจา วา อิมาหํ ภควา อตฺตภาวัง ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ เนื้อความวา ขาแตสมเด็จพระผูมีพระภาคขา พระองคเสียสละ คือวามอบเวนซึ่งอาตมะภาพนี้แกสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค ถาจะเรียนในสํานัก อาจารยองคใดองคหนึ่ง ก็พึงมอบเวนกายแกอาจารย อิมาหํ อนฺเต อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจ ชามิ เนื้อความวา ขาแตอาจารยผูเจริญ ขาพเจาเสียสละ คือวามอบกาย ซึ่งอาตมะภาพนี้แก ทานอันมิไดมอบเวนแกอาจารยกอนนั่นยอมจะเปนโทษ คืออาจารยนั่นจะมิไดวากลาวสั่งสอนตนก็จะละเลิกไป จะกระทําสิ่งใดก็กระทําเอาตาม อําเภอใจไมร่ําไมลาอาจารยเห็นวาเปนคนไมดี แลวก็จะมิไดสงเคราะหดวยใหอามิสคือโภชนาหาร จะ มิไดบอกอรรถธรรมใหกุลบุตรไมไดสงเคราะหแตสํานักอาจารยแลว ก็จะจนมิพอใจที่จะเสียคนก็จะ เสียคนไป มิพอที่จะสึกก็สึกไป อาศัยเหตุฉะนี้ จึงใหมอบแกอาจารย เมื่อมอบเวนกายแกอาจารยแลว อาจารยก็จะไดวากลาวสั่งสอน จะกระทําอันใดก็จะมิไดกระทําตามอําเภอใจ จะไปไหนก็จะมิไดตาม อําเภอใจ เมื่อวางายสอนงายประพฤติเนื่องอยูดวยอาจารยแลว อาจารยก็จะสงเคราะหดวยอามิสแล สอนธรรม กุลบุตรนั้นไดสงเคราะห ๒ ประการ แตสํานักอาจารยแลว ก็จะจําเริญในพระศาสนา อนึ่งกุลบุตรผูมีปญญาจะเลาเรียนพระกรรมฐานนั้น พึงกระทําสันดานใหบริบูรณดวย อัชฌาสัย ๖ คือโลภัชฌาสัย เห็นโทษในโลภมิไดโลภนั้น ๑ อโทสัชฌาสัย เห็นโทษในโทโสมิได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-9โกรธ ๑ อโมหัชฌาสัย เห็นโทษในโมหะมิไดลุมหลงนัก ๑ เนกขัมมัชฌาสัย เห็นโทษในฆราวาส เห็น อานิสงสแหงบรรพชา ๑ ปริเวกกัชฌาสัย เห็นโทษในอันประชุมอยูดวยหมูดวยคณะ เห็นอานิสงสแหง อันอยูในสงบสงัดแตผูเดียว ๑ นิสสรณัชฌาสัย เห็นโทษในภพ ยินดีในที่จะยกตนออกจากภพนั้น ๑ พึงกระทําสันดานใหบริบูรณดวยอัชฌาสัย ๖ ประการนี้ แลพระกรรมฐานนั้นสําแดงโดยสังเขปมี ๒ ประการ คือสมถกรรมฐาน ๑ วิปสสนา กรรมฐาน ๑ สมถกรรมฐานนั้นที่สําแดงโดยประเภทตาง ๆ ออกเปน ๔๐ ทัส คือกสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ อาหารปฏิกูลสัญญา ๑ จตุธาตุวัตถาน ๑ พรหมวิหาร ๔ อรูป ๔ สิริเปน ๔๐ ทัศ ดวยกัน กสิณ ๑๐ ประการนั้นคือ ปถวีกสิน ๑ อาโปกสิณ ๑๐ ประการนั้นคือ ปฐวีกสิณ ๑ อาโป กสิณ ๑ เตโชกสิณ ๑ วาโยกสิณ ๑ นีลกสิณ ๑ ปตกสิณ ๑ โลหิตกสิณ ๑ โ อทตกสิณ ๑ อากาศ กสิณ ๑ อาโลกสิณ ๑ สิริเปนกสิณ ๑๐ กระการดังนี้

จักวินิจฉัยในพิธีปฐวีกสิณนั้นกอน พระโยคาพจรเจาผูเห็นภัยในวัฏฏสงสาร ปรารถนาจะ บําเพ็ญพระกรรมฐานอันชื่อวา ปฐวีกสิณนั้น เมื่อตัดสินเสียซึ่งปลิโพธอันนอย มีตนวาปลงแลตัดซื่งผม แลเล็บยาวเสร็จแลวหลีกออกจากบิณฑบาตสําเร็จภัตตกิจ ระงับกระวนกระวายอันบังเกิดแตเหตุที่ บริโภคอาหารแลวนั้น เวลาปจฉาภัตตเขาสูที่สงัดนั่งเปนสุข เมื่อจะถือเอาอุคคหนิมิตในปฐวีธาตุนั้น จะพิจารณาดินที่ตกแตงเปนดวงกสิณนั้นเปนอารมณก็ตาม จะพิจารณาแผนปฐพีมีลานขาว เปนตน ที่ตนมิไดตกแตงเปนดวงกสิณนั้นเปนอารมณก็ตาม เมื่อพิจารณาดินที่มิไดตกแตงเปนดวง กสิณนั้น พึงกําหนดใหมีที่สุดโดยกลมนั้น เทาตะแกรงกวางคืบ ๔ นิ้วเปนอยางใหญ เทาขอบขันเปน เปนอยางนอย อยากําหนดใหใหญกวาตะแกรง อยาใหเล็กกวาขอบขัน เมื่อตั้งจิตพิจารณาไปหลับจักษุลงเห็นดินที่ตนกําหนดนั้น ปรากฏเหมือนที่ลืมจักษุแลว ก็ ไดชื่อวาถือเอาอุคคหนิมิตนั้นเปนอันดี เมื่อตั้งจิตไวไดแตภายในอุคคหนิมิต จิตมิไดเตร็ดแตรไปใน ภายนอกแลว ก็ไดชื่อวาทรงอุคคหนิมิตนั้นไวเปนอันดี ไดชื่อวาเปนอุคคหนิมิตนั้นไวเปนอันดีเปน ปจจัยที่จะใหไดสําเร็จปฎิภาคนิมิต อันปรากฏงดงามดังแวนแกวลวงพนจากสีดิน เมื่อปฏิบัติภาคนิมิตบังเกิดแลวพึงตั้งจิตสําคัญปฏิบัติภาคนิมิตนั้นเปนดวงแกว อาจจะทํา ใหสําเร็จคุณานิงสงสเห็นประจักษ พึงเคารพรักใครผูกพันจิตแหงตนไวในปฏิบัติภาคนิมิตหมายมั่นวา อาตมาจะพนจากชราแลมรณะดวยปฏิบัติอันนี้เปนแท เมื่อเสพปฏิบัติภาคนิมิตนั้นดวยอุปจารสมาธิ จิต เสพเนือง ๆ ไปก็จะไดสําเร็จปฐมฌาน ทุติฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ปจจมฌานโดยลําดับ ๆ แต ทวาจะไดสําเร็จโดยงายดังนี้ แตบุคคลที่มีวาสนาบารมีที่ไดสรางมาแตกอนแตเบื้องพุทธชาตินั้นไดบวชใน พระพุทธศาสนา ถามิฉะนั้นไดบรรพชาเปนดาบส ไดเจริญฌานสําเร็จกิจดวยพิจารณา ปฐวีกสิณ อุปนิสัยหนหลังติดตามมาในปจจุบันชาตินี้ พิจารณาแตแผนดินปฐพีในปริมณฑลแหงลาน พิจารณา แตที่นาอันบุคคลไถก็ไดสําเร็จปฐวีกสิณ ยังฌานใหบังเกิดจําเดิมแตปฐมฌานขึ้นไปตราบเทาถึงปจ มฌานไดงาย ๆ ดวยสามารถอุปนิสัยหนหลัง แลกุลบุตรที่หาอุปนิสัยหนหลังมิไดนั้น พึงกระทําดวงกสิณดวยดินแดงอันบริสุทธิ์ มีสีงา ประดุจดังวาพระอาทิตยเมื่อแรกอุทัย กระทําใหปราศจากสิณโทษ ๔ ประการ คืออยาใหเอาดินเขียว เจือประการ ๑ อยาเอาดินเหลืองเจือประการ ๑ อยาเอาดินแดงเจือสีตางมาเจือประการ ๑ อยาเอาดิน ขาวเจือประการ ๑ พึงออมหนีไปใหพนจากกสิณโทษ ๔ ปรการ ดังนี้ เมื่อกระทําดวงกสิณนั้น อยา กระทําในทามกลางวิหารอันเปนที่สัญจรแหงบุคคลมีสามเณรเปนตน พึงกระทําในเงื้อมแลบรรณศาลา อันเปนที่ลับที่กําบังในสุดแหงวิหาร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 10 ดวงกสิณนั้นจะกระทําเปนตัตรัฏฐะตั้งอยูในที่เดียวก็ตาม จะกระทําเปนสังหาริมะยกไปไหน ไดก็ตาม ถาจะกระทําดวงกสิณที่เรียกวาสังหาริมะยกไปไหนไดนั้น ใหเอาไม ๔ อันมากระทําเปนแม สะดึงแลว จะขึงดวยผาก็ตาม ดวยหนังดวยลําเเพนก็ตามดินที่จะกระทําดวงกสิณ พึงชําระใหบริสุทธิ์ ขยําใหดี อยาใหมีกรวดมีทรายเก็บรากไมรากหญาเสียใหหมด เมื่อทาติดเขากับผาเปนตนที่ขึงไวใน แมสะดึงนั้น พึงกระทําใหเปนวงกลมกวาง ๑ คืบกับ ๔ นิ้ว ขัดใหราบใหดีแลวปรารถนาจะนั่งภาวนาใน ที่ใดจึงยกไปวางลงในที่นั้น แลดวงกสิณที่ตั้งอยูในที่เดียวเรียกวาตัตรัฏฐกะนั้น ถาจะกระทําใหปกไมทอยลงกับพื้นปก ราบรอบเปนมณฑล มีอาการดังฝกบัว แลวจึงเอาเครือลดามาถักเขาที่ไมทอย เกี่ยวประสารเขาใหมั่น แลว จึงเอาดินที่ขยําเปนอันดี มีสีดังพระอาทิตยเมื่อแรกขึ้นนั้นมาใสลงใหเต็มแลว กระทําใหเปน วงกลมกวาง ๑ คืบกับ ๔ นิ้วเหมือนกัน ถาดินสีอรุณนั้นนอยไมพอ จะเอาดินอื่นใสขางลางแลว จึงเอา ดินสีอรุณใสขางบนก็ได เมื่อจะขัดดวงกสิณนั้นใหใชเกียงศิลา อยาใหใชเกรียงไม เหตุวาเกรียงนั้น ถาเปนไมสดกอปรดวยยาง ก็มักพาใหดินสีอรุณนั้นเสียสีสันพรรณ ทําใหกสิณปริมณฑล นั้นมีสีเปนวิสภาคดางพรอยแปลกประหลาดไป ไมตองดวยอยาง ถาเกรียงไมอันใดจะไมพาใหดินสี อรุณเสียสีสันพรรณ เกรียงไมอันนั้นก็นับเขาในเกรียงสิ้นควรใชไดมิไดเปนกสิณโทษ พระโยคาวจรพึง กระทํากสิณมณฑลนั้นใหราบเหมือนหนากลอง ปดกวาดภูมิภาคนั้นใหปราศจากหยากเยื่อเชื้อฝอย แลว จึงอาบน้ําชําระกายใหปราศจากเหงื่อแลไคล เมื่อจะนั่งนั้นใหนั่งเหนือตั่งอันตบแตงตั้งเปนอันดี มีเทาสูง ๒ คืบ ๔ นิ้ว นั่งใหไกลจาก กสิณมณฑลออกไป ๒ ศอกคืบ อยาใหใกลนักอยาใหไกลนักแลสูงนักต่ํานักกวากําหนด ครั้นนั่งไกล นักดวงกสิณก็จะไมปรากฏ นั่งใกลนักก็จะเปนกสิณโทษ คือรอยมือแลรอยเกรียงก็จะปรากฏ เหตุฉะนี้ จึงใหนั่งเปนอยางกลางไมใกลไมไกล มีกําหนดแหงปริมณฑลกสิณ ๔ ศอกคืบเปนประมาณแลกิริยา ที่ตั้งกสิณมณฑลไวเหนือพื้น แลวแลนั่งเหนือตั่ง เทา ๒ คืบ ๔ นั้ว นั้นเลาก็เปนอยางกลางไมสูงไมต่ํา ครั้นนั่งสูงดวงกสิณอยูต่ําก็จะต่ําก็จะตองกมลงดวงกสิณจะเจ็บคอ ครั้นนั่งต่ํานักดวงกสิณ อยูสูงก็จะตองชะเงอขึ้นดูดวงกสิณ จะตองคุกเขาลงกับพื้นจะเจ็บเขา เหตุฉะนี้จึงใหตั้งกสิณมณฑลลง ไวเหนือพื้น แลวใหนั่งเหนือตั่ง เทาสูงคืบ ๔ นิ้ว เปนสถานกลาง อาการที่นั่งนั้นใหนั่งเปนบัลลังก สมาธิ ตั้งกายใหตรงอยาใหเอนใหนอมจึงจะนั่งไดนานมิไดลําบากกาย เสนสายจะมิไดหดหอรัดรึง เมื่อนั่งบัลลังกสมาธิเฉพาะพักตรตอดวงกสิณแลว จึงพิจารณาโทษแหงกามคุณ วา อปฺปสฺสาทา กามา กามคุณนี้มีแตจะกระทําใหเศราใหหมอง จะกระทําใหผองใสมาตรวาหนอย หนึ่งหาบมิได อฏิกงฺขลูปมา เบญจกามคุณนี้เปรียบเหมือนรางอัฐิ ดวยอรรถวามีความยินดีอัน ปราศจากไปในขณะไมมั่นคงไมยั่งยืน ตินุกูปมา ปญจพิธกามคุณนี้เปรียบเหมือนดวยคมแฝกคบคา ดวยอรรถวาเผาลนจิตสันดานสัตวทั้งปวง ใหเดือดรอนหมนไหมอยูเนือง ๆ บมิไดรูแลว องฺคาลสู กาปมา ปญจกามคุณนี้เปรียบเหมือนหลุมถานเพลิงอันใหญ ดวยอรรถวาใหโทษอับหยาบชา ใหได เสวยทุกขเดือนรอนยิ่งนัก ดูนี้นาสะดุงนากลัวนี้สุดกําลัง สุปนกูปมา เบญจกามคุณทั้ง ๕ นี้เปรียบเหมือนความฝน ดวยอรรถวาแปรปรวนไปเปน อื่น ไมยั่งไมยืนไมเที่ยงไมเเทไมสัตยไมจริง ยาจิตกูปมา ปญจพิธกามคุณนี้เปรียบเหมือนของยืม ดวยอรรถวาประกอบไปใน อันมีกําหนดเทานั้นเทานี้ไมมั่นคง รุกฺขผลูปมา ปญจกามคุณทั้ง ๕ นี้ มี แตจะกระทําใหเกิดการพิบัติตาง ๆ เปนตนวาหักแลทําลายแหงอวัยวะใหญนอยทั้งปวง เปรียบเหมือน ผลแหงพฤกษาชาติอันบังเกิดแลว แลเปนเหตุที่จะใหบุคคลทั้งปวงหักกิ่งกานรานใบแหงพฤกษาชาติ นั้น อสิสูลูปมา เบญจพิธกามคุณนี้ เปรียบเหมือนดวยคมดาบ ดวยอรรถวาสับแลแลเถือ ขันธสันดาน ใหเจ็บปวดยวดยิ่งเหลือลนพนประมาณ สสฺติสูลูปมา เบญจกามคุณ ๕ ประการนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 11 เปรียบเหมือนหอกใหญ แลหลาวใหญ ดวยอรรถวารอยสัตวทั้งปวงไวใหดิ้นอยูในกองทุกข แสน ยากลําบากเวทนา สปฺปสิรูปมา เบญจกามคุณทั้งหลายนี้ เปรียบหมือนศีรษะแหงอสรพิษดวยอรรถ พหุปายาสา กามคุณนี้มากไป วานาครั่นนาครามนาสดุงนากลัว นาตระหนกตกประหมาเปนกําลัง ดวยสะอื้นอาลัย มากไปดวยทุกขแลภัย พหุปริสฺสยา มีอันตรายอันเบียดเบียนมาก คมฺมา เบญจกามคุณนี้ เปนแหงปุถุชน บ มิไดประเสริฐ บมิใหเปนที่เกิดแหงประโยชนตนแลประโยชนทาน พระโยคาพจรจึงพิจารณาโทษแหง ปญจกามคุณเปนอาทิดังนี้แลว พึงตั้งจิตใหรักใครในฌานธรรม อันเปนอุบายที่จะยกตนออก จากปญจพิธกามคุณ และจะลวงเสียซึ่งกองทุกขสิ้นทั้งปวง เมื่อระลึกตรึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ยังปรีดาปราโมทยใหบังเกิดดวย กิริยาที่ระลึกถึงพระรัตนตรัยแลว พึงกระทําจิตใหมากไปดวยเคารพรักใครในพิธีทางปฏิบัติ อยาดูถูกดู ต่ํา สําคัญใหมั่นวาปฏิบัติดังนี้ชื่อวาเนกขัมมปฏิบัติ สมเด็จพระสรรเพชญเจาทั้งปวง แลพระปจเจก โพธิ พระอริยสาวกในพระบวรพุทธศาสนานี้ แตสักพระองคเดียวจะไดสละละเมินเสียหาบมิได แตลวน ปฏิบัติดังนี้ทุก ๆ พระองค ครั้นแลวจึงตั้งจิตวาอาตมาจะไดเสวยสุขเกิดแตวิเวก จะไดเสพรสอันเกิดแตวิเวก ดวย ปฏิบัติอันนี้โดยแท พึงตั้งจิตฉะนี้ยังอุตสาหะใหบังเกิดแลว จึงลืมจักษุขึ้นแลดูดวงกสิณ เมื่อเบิกจักษุ ขึ้นนั้น อยาเบิกใหกวางนักจะลําบากจักษุ อนึ่งมณฑลแหงกสิณจะปรากฏแจงนัก อุคคหนิมิตจะไม บังเกิดขึ้น ครั้นเบิกจักษุขึ้นนอยนัก มณฑลแหงกสิณก็จะไมปรากฏแจง จิตที่จะถือเอากสิณนิมิตเปน อารมณนั้นก็จะหดหูยอหยอนจะมีขวนขวายนอย ตกไปในฝายโกสัชชะเกีนจครานจะเสียที อุคคหนิมิต จะมิไดบังเกิดเหตุฉะนี้พึงลืมจักษุอาการอันเสมอ กระทําอาการใหเหมือนบุคคลสองแวนดูเงาหนาแหง ตนปรากฏในพื้นแหงแวน กาลเมื่อแลดูกสิณมณฑลนั้นอยาพิจารณาสี วานี้สีแดง ดังสีดวงพระอาทิตยแรกขึ้น อยา พิจารณาที่แข็งที่กระดาง อยาแยกพิจารณาดังนั้นเลยไมตองการ ถาจะแยกออกพิจารณาแลว ดินที่ ปนดวงกสิณนั้นจะแยกออกไดเปน ๘ ประการ เพราะเหตุวาดินนั้นจะเปนปฐวีสิ่งเดียวหาบมิได อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ สีแลกลิ่นรสแลโอชานั้น มีพรอมอยูทั้ง ๘ ประการ แตทวาปฐวีธาตุนั้น หนา ปฐวีธาตุนั้นก็ไดนามบัญญัติชื่อวาดิน ถึงจะแยกออกพิจารณาไดดังนั้นก็ดี เมื่อไมตองการ แลวก็อยาพึงแยกออกเลย พึงยกเอาแตที่หนาที่มากนั้นขึ้น มนสิการกําหนดวา สิ่งนี้เปนดินเทานั้นเถิด แตสีนั้นโยคาพจรจะละเสียมิไดเพราะเหตุวาสีกับดวงนั้นเนื่องกัน ดูดวงกสิณเปนอันดูสี เหตุฉะนี้พระ โยคาพจรจึงรวบรวมดวงกับสีนั้นเขาดวยกัน เบิกจักษุเล็งแลดูดวงแลสีนั้นหรอมกันแลว จึงตั้งจิตไวใน บัญญัติธรรม กําหนดวาสิ่งนี้เปนดิน แลวจึงบริกรรมวา ปฐวี ปฐวี รอยครั้งพันครั้งบริกรรมไปกวาจะ ไดสําเร็จ อุคคหนิมิต ดินนี้จะเรียกมคธภาษาวาปฐวีแตเทานี้หามิได นามบัญญัติแหงดินนั้นมีมาก ชื่อวามหิ ชื่อ วาเมธนี ชื่อวาภูมิ ชื่อวาพสุธา ชื่อวาพสุนทรา แตทวา ชื่อทั้งนี้ไมปรากฏแจงในโลกเหมือนชื่อปฐวี ๆ นี้ปรากฏแจงในโลก เหตุฉะนี้พระโยคพจรจึงยกเอาชื่อที่ปรากฏ คือปฐวีมากระทําบริกรรมเถิด กาล เมื่อเล็งแลดูดวงกสิณแลบริกรรมวา ปฐวี ปฐวี นั้น อยาลืมอยูเปนนิตย ลืมดูอยูสักหนอยแลวพึงหลับ ลงเลาหลับลงอยูสักหนอยหนึ่งแลว พึงอยาลืมขึ้นเลา ปฏิบัติดังนี้ไปกวาจะไดสําเร็จอุคคหนิมิตแล กสิณนิมิต อันเปนที่ตั้งจิตเปนที่นาวหนวง จิตแหงพระโยคาวจรในกาลเมื่อจําเริญกรรมนั้น ไดชื่อวา บริกรรมนิมิตกิริยาที่จะจําเริญบริกรรมวา ปฐวี ปฐวี นั้นไดชื่อวากรรมภาวนา เมื่อพระโยคาพจรเจา ตั้งจิตไวในกสิณนิมิตบริกรรมวา ปฐวี ปฐวี นั้นถากสิณนิมิตมา ปรากฏในมโนวารหลับจักษุ แลเห็นกสิณมณฑลนั้นเปรียบประดุจเห็นดวยจักษุแลวกาลใด ก็ไดชื่อวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 12 อุคคหนิมิตมาปรากฏแจงในสันดาน ไดชื่อวาสําเร็จกิจแหงอุคคนิมิตในกาลนั้น เมื่อไดอุคคนิมิตในกาล นั้นอยานั่งอยูที่นั้นเลย กลับมานั่งในที่ตนตามสบายเถิด ฯ อนึ่ง ใหพระโยพจรหารองเทาชั้นเดียวไวสักครูหนึ่ง ไมธารกรสักอันหนึ่ง กาลเมื่อสมาธิ ออน ๆ ปราศจากสันดานดวยเหตุสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันมิไดเปนที่สบายแลอุคคหนิมิตอันตรธานหายไปนั้น จะไดใสรองเทาถือไมธารกรนั้น ไปพิจารณาดวงกสิณเหมือนอยางเคยกระทําในบุพพภาค ครั้นไมมี รองเทาใส ก็ตองขวนขวายไปชําระเทาจะปวยการ เหตุฉะนี้จึงใหหารองเทาไวใสสําหรับจะไดกันกิริยา ที่ปวยการ ชําระเทาหาไมธารกรไวสําหรับจะไดกันอันตราย เมื่อพิจารณาดวงกสิณเหมือนอยางที่เคยกระทําในบุพพภาค ไดอุคคนิมิตกลับคืนมา เหมือนอยางแตกอน ก็พึงกลับสูอาวาสมานั่งในที่อยูแหงตนใหเปนสุขเถิด พึงเอาวิตกนั้นเปนผูคราจิต ยกจิตเขาไวในอุคคนิมิต กําหนดกฏหมายจงเนือง ๆ ดําริตริตรึกอยูในอุคคหนิมิตนั้นใหมากโดยพิเศษ เมื่อปฏิบัติดังนี้ก็จะขมขี่นิวรณธรรมลงไดโดยลําดับ ๆ กิเลสก็จะระงับสงบสงัดจากสันดาน สมาธิก็กลา หาญดําเนินขึ้นภูมิ พระอุปจารสมาธิ ปฏิภาคนิมิตก็จะบังเกิด แลอุคคนิมิตกับปฏภาคนิมิตจะแปลกกัน ประการใด มีขอวิสัชนาวา อุคคหนิมิต ยังกอปรไปดวยกสิณโทษ คือเห็นปรากฏเปนสีดิน ดินอยางไรก็ ปรากฏอยางนั้น แลปฏินิมิตนั้นปรากฏประดุจปริมณฑลแหงแวนอันบุคคลถอดออกจากฝก ถามิดังนั้นเปรียบประดุจโภชนะสังข อันบุคคลชําระเปนอันดี ถามิดังนั้นเปรียบประดุจ มณฑลพระจันทรแยมออกจากกลีบพลาหก ถามิดังนั้นเปรียบดวยเวลาหกที่หนาเมฆอันผองยิ่งในหมู เมฆทั้งหลาย ถาจะวาโดยแทวาโดยอรรถอันสุขุมภาพนั้นปฏิภาคนิมิตนี้จะวามีสีพรรณก็วาไมได จะวา มีสัณฐานประมาณใหญนอยก็วาไมได เหตุวา ธรรมชาติอันมีสัณฐานนั้นเขาในรูปธรรม ๆ บุคคล ทั้งหลายพึงเห็นดวยจักษุประสาท จะพึงรูจัก จักษุวิญญานธรรมชาติอันมีสัณฐานนี้ ไดชื่อวาโอฬาริก รูป เปนรูปอยางหยาบ ไดชื่อวาสัมมสนูปครูอันควรจะพิจารณากอปรดวยไตรพิธลักษณะทั้ง ๓ คือ อุ ปาทะ ฐิติ ภังคะ ครอบงําย่ํายีอยูเปนนิจกาล เพราะเหตุที่นับในรูปธรรม อันปฏิภาคนิมิตไมเปนดังนั้น ปฏิภาคนิมิตนี้ บุคคลทั้งหลายบมิพึงเห็นดวยจักษุประสาท บ มิพึงรูดวยจักษุวิญญาณประสาท บมิพึงรูดวยจักษุวิญญาณ ไตรพิธลักษณะทั้ง ๓ มี อุปาทะเปนอาทิ ก็บมิไดครอบงําย่ํายีปฏิภาคนิมิต ๆ นี้ เฉพาะปรากฏแกพระโยคาพจรอันไดสมาธิจิต เฉพาะปรากฏแต ในมโนทวารวิถีปฏิภาคนิมิตนี้บังเกิดแกภาวนาสัญญา จะไดนับเขาในรูปธรรมหามิไดอาศัยเหตุฉะนี้ เมื่อสําแดงโดยอรรถสุขุมภาพเอาที่เที่ยงแทออกสําแดงนั้นปฏิภาคนิมิตนี้จะวามีสีก็วามิได จะวามีสัณฐานก็วามิได จะวาไดเปนแตเปรียบเทียบแตเทียบวาเหมือนดวยสิ่งนั้น ๆ ควรจะวาไดแต เพียงนี้ จําเดิมแตปฎิภาคนิมิตบังเกิดแลว นิวรณธรรมทั้งปวงมีกามฉันทนิวรณเปนตนนั้น ก็ไดชื่อวา พระโยคาพจรขมเสียไดโดยแท กิเลสธรรมทั้งปวงก็ไดชื่อวาสงบสงัดแท จิตนั้นก็ไดชื่อวาตั้งมั่น เปน อุปจารสมาธิแทไดชื่อวาสําเร็จกิจกามาพจรสมาธิภาวนาแตเพียงนั้น แลปฏิภาคนิมิต อันพระโยคาพจรไดพรอมดวยอุปารสมาธิภาวนานั้น มิใชวาไดดวยงายไดยากยิ่งนัก เหตุ ฉะนี้เมื่อปฎิภาคนิมิตบังเกิดแลว ใหพระโยคาวจรมีเพียรจําเริญภาวนาภิยโยภาคครั้งเดียวนั้นอยาคลาย บัลลังกเลย อันอุตสาหะถึงอัปปนาไดดวยบัลลังกอันเดียวนั้น เปนสุนทรสิริสวัสดิ์สถาพรยิ่งนัก ถามิ อาจเพียรใหดําเนินขึ้นถึงภูมิพระอัปปนา ไดก็ใหพระโยคาพจรมีสติอยาไดประมาท พึงอุตสาหะปฏิบัติ ในรักขนาพิธีพิทักษรักษาปฏิภาคนิมิตนั้นเปรียบประดุจ รักษาทารกในครรภที่มีบุญจะไดเปนบรมจักร แลรักขนาพิธีจะรักษาปฎิภาคนิมิตนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาวิสัชนาวา พระโยคาพจรผูจะรักษาปฏิภาคนิมิตนั้นใหเวนเสียซึ่ง เหตุอันมิไดเปนที่สบาย ๗ ประการ คืออาวาสอันมิไดเปนที่สบายประการ ๑ โคจรคามอันมิไดเปนที่ สบายประการ ๑ ติรัจฉานกถาประการ ๑ บุคคลอันมิไดเปนที่สบายประการ ๑ โภชนะมิไดเปนที่สบาย ประการ ๑ ฤดูมิไดเปนที่สบายประการ ๑ อิริยาบถอันมิไดเปนที่สบายประการ ๑ สิริเปนเหตุอันมิได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 13 เปนที่สบาย ๗ ประการดวยกัน อาวาสมิไดเปนที่สบายนั้น พระโยคาพจรจะพึงรูดวยสามารถกําหนดจิต อาวาสอันใดพระ โยคาพจรไปอาศัยบําเพ็ญภาวนาอยูถึง ๓ วัน แลวจิตไมตั้งมั่นลงไดเลย สตินั้นลอยมืดมนไปไมพบไม ปะอุคคหะแลปฏิภาคนิมิตที่เคยบังเกิดแตกอนนั้น ก็สาบสูญไปไมมีวี่แวว จิตที่เคยตั้งมั่นก็ไมตั้งมั่น สติ ที่เคยแนนอนแตกอนนั้นก็ลอยไปไมเหมือนแตกอน อาวาสอยางนี้แลไดชื่อวาอาวาสมิไดสบายแล โคจรคามมิไดสบายนั้น คือบานที่พระโยคาพจรไปอาศัยบิณฑบาตนั้น มิไดอยูในทิศอุดร มิไดอยูใน ทิศทักษิณ ถาบานนั้นอยูขางทิศตะวันตก เมื่อไปบิณฑบาตแลวแลกลับมาสูอาวาสนั้นแสงพระอาทิตยสองหนา ถามิดังนั้นบานอยู ขางทิศตะวันออก เมื่อเวลาออกจากอาวาสไปเพื่อจะบิณฑบาตนั้น แสงพระอาทิตยสองหนาบานนั้น อยูไกลกวา ๓ พันชั่วธนู อยูไกลกวา ๑๕๐ เสน ขาวแพงบิณฑบาตไดดวยยาก โคจรคามอยางนี้แลได ชื่อวาโคจรคามมิไดสบาย แลติรัจฉานกถานั้นมี ๓๒ ประการ ราชกถา คือกลาวถึงพระยามหากษัตริยวามีอานุภาพ มากดังนี้ ๆ รูปโฉมงดงามดังนี้ ๆ รูศีลปศาสตรวิเศษดังนี้ ๆ กลาหาญในการศึกสงครามดังนี้ ๆ กลาว เนื่องโดยโลกียเนื่องดวยฆราวาสอยางนี้ เปนติรัจฉานกถาเปนปฐมโจรกถากลาวถึงโจรวา โจรนั้น ๆ รูปรางสูงต่ําดําขาวพีผอมอยางนั้น ๆ รายกาจกลาหาญกระทําโจรกรรมสิ่งนั้น ๆ ไดทรัพยสิ่งของนั้น ๆ มาอันนี้เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒ มหามตฺตกถา กลาวถึงมหาอํามาตยวาผูนั้นสูงยศสูงศักดิ์ดังนี้ ๆ พระบรมมหากษัตริยโปรดปรานีดังนี้ บริบูรณดวยบุตรภรรยาดังนี้ ๆ จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๓ เสนากถา กลาวถึงเสนาวายกทัพไปเปนกระบวนศึก เสนาชางตกแตงอยางนั้น เสนามาประดับ ประดาอยางนั้น เสนารถแตงดังนี้ เสนาบทจรถือสาตราวุธธนูหนาไมปนใหญปนนอยดังนี้ ๆ จัดเปน ติรัจฉานดถาคํารบ ๔ ภยกถา กลาวถึงภัยอันตราย เปนตนวาชางรายที่นั้น ๆ มันแทงมันไลย่ําไลเหยียบดังนั้น ๆ เสือรายปานั้น มันดอมมันมองคอยจับคอยฟดหยิกขวนคาบคั้นดังนั้น ๆ จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๕ ยุทฺธกถา กลาวถึงการสงครามนั้น ๆ เกิดฆาเกิดฟนเกิดรบเกิดตีกันดังนี้ ๆ จัดเปนติรัจฉานกถาคํา รบ ๖ อนฺนกถา กลาวถึงขาววาที่นั้นงามที่นั้นไมงาม ที่โนนเขากระทําไดมาก ที่นี้เขากระทําไดนอย ไรโนนขาวขาวไรนี้ขาวจาวไรนั้นขาวเหนียว ขาวพรรณนั้น ๆ ฉันมีรส ขาวพรรณนี้ ๆ ฉันไมมีรส กลาวถึงขาวเปนอาทิดังนี้ จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๗ ปานกถา กลาวถึงน้ําวาน้ําที่นั้น ๆ ขุนเปน เปอกตมเปนน้ําใบไมน้ําแรน้ําพลวง น้ําที่นั้น ๆ เปนน้ําใสน้ํานาอาบนากิน กลาวถึงน้ําเปนอาทิ ฉะนี้ วตฺถกถา กลาวถึงนุงผานุงผาหมโขมพัสตร กัปปาสิกพัสตร โกสัย จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๘ พัสตร กัมพลพัสตร สาณพัสตรจัดเปนติรัจฉานคํารบ ๙ สยนกถา กลาวถึงที่หลับที่นอน เปน ติรัจฉานกถาคํารบ ๑๐ มาลากถา กลาวถึงดอกไมสรรพตาง ๆ ในน้ําแลบกเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๑ คนฺธกถา กลาวถึงเครื่องหอมเครื่องลูบไลชโลมทาแตบรรดาสุคันธชาติสรรพทั้งปวงนั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๒ ญาตกถา กลาวถึงญาติแหงตนวากอปรไปดวยสุรภาพแกลวกลาสามารถดังนั้น เคยขี่ยวดยาน คานหามพากันเที่ยวเปนดังนี้ ๆ เปนอาทิจัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๓ ยานกถา กลาวถึงยวดยาน คานหามชาง มารถเกวียนมีประเภทตาง ๆ นั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๔ คามกถา กลาวถึงบาน วาบานตําบลนั้นตั้งอยูเปนอันดี บานนั้นตั้งมิดี บานโนนขาวแพง บานนั้นขาวถูกชาวบานนั้น ๆ แกลว กลาสามารถเปนอาทิดังนี้ จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๕ นิคมกถา กลาวถึงนิคมคือ กลาวถึงบาน ใหญดุจกลาวแลวในนามคาถานั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๖ นครกถา กลาวถึงชนบทดุจกลาว มาแลว จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๗ นครกถา กลาวถึงเมืองนั้นตั้งชอบกล เมืองนั้นตั้งไมชอบกล เมืองนั้นขาวแพง เมืองนั้นขาวถูก คนในเมืองนั้นกลาหาญ คนในเมืองนั้นมิไดกลาหาญ กลาวเปนอาทิ ฉะนี้ เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๘ อิตฺถิกถา กลาวถึงหญิงเปนตนวารูปงามโฉมงามนารักนาใครดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 14 ๆ เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๑๙ สุรกถา กลาวถึงคนกลา กลาชางกลาเสือกกลาศึกสงครามเปนอาทิ นั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๐ วิสิขากถา กลาวถึงตรอกนอยตรอกใหญถนนหนทาง เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๑ กุมฺภ กลาวถึงกุมภทาสี่ที่ตักน้ํา วารูปงามฉลาดขับรองเปนอาทิ เปนติรัจฉานกถาคํารบ ทาสิกถา ๒๒ ปุพฺพเปตกถา กลาวถึงญาติที่ลวงไปแลวแตกอน ๆ นั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๓ นานตฺ ตกถา กลาวตาง ๆ แตบรรดาที่หาประโยชนบมิไดนั้น เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๔ โลกกฺขายกถา กลาวถึงลัทธิโกหก อันพาลในโลกเจรจากันวา แผนดินแผนฟานี้ทาวมหาพรหมตกแตง คําที่วากา เผือกนั้นบมิไดผิด เพราะเหตุที่วากระดูกมันขาว คําที่วานกยางแดงนั้นบมิไดผิด เหตุวาเลือดมันแดง กลาวถึงลัทธิโกหกอันพาลในโลกเจรจากันเปนอาทิฉะนี้ จัดเปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๕ สมฺทฺทก ขายิกา กลาวถึงมหาสมุทรวามหาสมุทรนี้ไดชื่อวาสาคร เหตุวาพระราชบุตรแหงพระยาสาครจัดแจง ใหขุด ใหชื่อวาสมุทร ๆ นั้นเพราะวาพระยากําพระหัตถเขา ใหชนทั้งหลายรูวาทะเลนี้พระยาใหขุด กลาวถึงสมุทรเปนอาทิฉะนี้ เปนติรัจฉานกถาคํารบ ๒๖ อิติภวาภวกถา กลาวถึงภวะแลอภวะมี ๖ ประการ คือกลาว สสฺตทิฏิ วาสัตวโลกเที่ยงอยูไมแปรปรวน คือกลาว อุจฺเฉททิฏิ วาสัตวโลกจุติ แลวก็สูญไป บมิไดปฏิสนธิ ๑ คือกลาวถึงเจริญสมบัติ ๑ คือกลาวถึงเสื่อมจากสมบัติ ๑ คือกลาว สรรเสริญสุขในเสพกาม ๑ คือกลาวอัตตกิลมถานุโยค ประกอบความเพียรใหลําบากกายเปนฝาย ปฏิบัติแหงเดียรถีย ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน ชื่อวาอิติภาวภวกถา สิริเปน ๓๒ ดวยกันกับติรัจฉานกถา ๒๖ ที่กลาวแลวในกอนนั้น ติรัจฉาน ๓๒ ประการนี้รวมกันเขาเปน ๑ บุคคลเปนเหตุอันมิไดเปนที่สบายนั้นไดแกบุคคล อันเปนพาล พอใจแตที่จะเจรจาเปนติรัจฉานกถา มากไปดวยการบํารุงบําเรอกาย คบหาบุคคลเห็น ปานฉะนี้ มีแตจะเศราจะหมอง เปรียบประดุจเอาน้ําใสไประคนดวยน้ําเปอกน้ําตม อับคบบุคคลเห็น ปานฉะนี้ ถึงไดฌานสมาบัติอยูแลว ฌานนั้นก็จะเสื่อมสูญ จะปวยกลาวไปไยถึงปฏิภาคนิมิตนั้นเลา จะ สงสัยวาไมเสื่อมสูญ มีแตจะเสื่อมจะสูญนั้นแลเปนเบื้องหนา และโภชนะมิไดเปนที่สบายนั้น ประสงค โภชนะที่ฉันแลวแลกระทําใหเสียสติอารมณ อธิบายวาโยคาวจรบางพระองคนั้นมีความสบาย ดวย โภชนะที่หวาน ๆ บางพระองคมีความสบายฉันโภชนะที่เปรี้ยว ๆ ครั้นมีความสบายดวยเปรี้ยวไปได รับประทานหวาน มีความสบายดวยหวานไปรับประทานที่เปรี้ยว ที่นั้นไมมีความหมาย กายแลจิตนั้น กําเริบสมาธิที่ยังมิไดบังเกิดนั้นก็มิไดบังเกิดเลยที่แลวก็เสื่อมสูญอันตรธานโภชนะที่ไมชอบอยางนี้แล ไดชื่อวาโภชนะมิไดเปนที่สบาย แลฤดูมิไดเปนที่สบายนั้น ประสงคเอาฤดูที่กระทําใหเสียสติอารมณ อธิบายวาโยคาพจร บางพระองคนั้นมักชอบเย็น บางพระองคมักชอบรอน ครั้นสบายดวยรอนไปตองเย็น มีความสบายดวย เย็นไปตองรอน ในที่นั้นก็ไมมีความสบาย กายแลจิตนั้นก็ฟุงซาน สมาธิที่บังเกิดแลวก็อันตรธาน ที่ยัง มิไดบังเกิดนั้นก็ไมบังเกิดเลย ฤดูที่ไมชอบอยางนี้แลไดชื่อวาฤดูมิไดเปนที่สบาย และอิริยาบถมิได เปนที่สบายนั้นไดแกอิริยาบถอันกระทําใหเสียสติอารมณ อธิบายวาโยคาพจรบางพระองคนั้นชอบ จงกรม บางพระองคนั้นชอบยืน บางพระองคนั้นชอบนอน เหตุฉะนี้ใหพระโยคาพจร พิจารณาอิริยาบถ ทั้ง ๔ นั้นอิริยาบถละ ๓ วัน อิริยาบถอันใดกระทําใหเสียสติอารมณ สมาธิที่เคยบังเกิดแลวก็สูญไป ที่ ยังมิไดบังเกิดนั้นก็ไมบังเกิดเลย อิริยาบถมิไดชอบอยางนี้แลไดชื่อวาอิริยาบถมิไดเปนที่สบาย เหตุ อันมิไดเปนที่สบายทั้ง ๗ ประการนี้ พระโยคาพจรจึงสละเสียพึงเสพซึ่งสบาย ๘ ประการคืออาวาสอันเปนที่สบายประการ ๑ โคจรคาม อันเปนที่สบายประการ ๑ สปฺปายกถา กลาวถอยคําเปนที่สบายประการ ๑ บุคคลเปนที่ สบายประการ ๑ โภชนะเปนที่สบายประการ ๑ ฤดูที่เปนที่สบายประการ ๑ อิริยาบถเปนที่สบาย ประการ ๑ สิริเปนที่สบาย ๗ ประการดวยกัน อาวาสสบายนั้นไดแกอาวาสอันชอบอัชฌาสัย อยูใน อาวาสอันใดบําเพ็ญภาวนาเปนที่ผาสุกภาพ อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตที่ยังมิไดบังเกิดนั้นก็บังเกิดขึ้น ที่บังเกิดแลวก็ถาวรตั้งมั่นมิไดเสื่อมสูญ สติแนจิตตั้งมั่น อาวาสอันชอบดวยฌัชฌาสัยอยางนี้แล ได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 15 ชื่อวาอาวาสสบายเหมือนอยางกุฎีที่มีชื่อจุลนาคเสนในลังกาทวีปนั้น พระภิกษุบําเพ็ญพระกรรมฐาน ในที่นั้นไดบรรลุพระอรหันตคณนาได ๕๐๐ พระองค ที่ไดสําเร็จพระศาสดาพระสกิทาคาในที่อื่น ๆ แลวแลมาไดพระอรหันตในที่นั้นจะนับคณาบมิได แลวิหารอื่น ๆ มีจิตบรรพตวิหารเปนอาทิ แตบรรดาที่พระโยคาพจรสํานักอาศัยกระทําเพียงไดสําเร็จมรรคแลผลธรรมวิเศษเหมือน อยางที่กุฎีที่เรนชื่อวาจุลนาคเสนนี้ ก็ไดชื่อวาอาวาสเปนที่สบายสิ้นทั้งนั้นแลโคจรคามเปนที่สบายนั้น ไดแกโคจรคามที่ตั้งอยูในทิศอุดร ถามิดังนั้นตั้งในทิศทักษิณ เมื่อภิกษุไปบิณฑบาทก็ดี กลับมาแต บิณฑบาทก็ดี แสงพระอาทิตยจะไดสองหนาหาบมิได โคจรคามนั้นอยูภายใน ๓ พันชั่วธนู คือ ๑๕๐ เสน ขาวถูก บิณฑบาทงาย แล สปฺปายกถา ถอยคําอันเปนที่สบายนั้นไดแก กถาวัตถุ ๑๐ ประการ อปฺปจฺฉตา คือกลาวถึงมักนอย ประการ ๑ สนฺตุฎฐิ กลาวถึงสันโดษประการ ๑ ปวิเวโก กลาวถึงวิเวกมีกายวิเวกมีกายวิเวกเปน อสํสคฺโค กลาวถึงปฏิบัติที่บมิไดระคนอยูดวยหมูคณะประการ ๑ วิริยารมฺโภ อาทิประการ ๑ กลาวถึงพิธีที่ปรารถความเพียรประการ ๑ สีลกถา กลาวถึงศีลประการ ๑ สมาธิกถา กลาวถึง สมาธิกรรมฐานประการ ๑ ปฺญากถา กลาวถึงปญญากรรมฐาน วิมุตฺติกถา กลาวถึงอรหันตผล วิมุตติประการ ๑ วิมุตฺติญานทสฺสนกถา กลาวถึงปจจาเวกขณญาณประการ ๑ สิริเปนกถาวัตถุ ๑๐ ประการ กถาวัตถุ ๑๐ ประการนี้แลเรียกวาสัปปายกถา วาเปนถอยคําอันนํามาซึ่งความสบายแกภิกษุผู เจริญพระกรรมฐาน ๆ พึงกลาวแตพอควรแกประการ แลบุคคลอันเปนที่สบายนั้น ไดแกบุคคลอัน บริบูรณดวยศีลาทิคุณ มิไดพอใจเจรจาเปนติรัจฉานกถา มีแตจะแนะจะนํากระทําใหเปนประโยชน จิต ที่ยังมิไดตั้งมั่นก็จะตั้งมั่น จิตที่ตั้งมั่นแลวก็จักตั้งมั่นโดยพิเศษ แลโภชนะอันเปนที่สบายนั้น ไดแก โภชนะอันเปนที่อาศัยแหงพระโยคาพจร ๆ ฉันโภชนะอันใดแลมีความสุข จิตที่ยังมิไดตั้งมั่นก็ตั้งมั่น ที่ตั้งมั่นแลวก็ตั้งมั่นโดยพิเศษ โภชนะสิ่งนั้นเรียกวาโภชนะสบาย แลอุตุสัปปายนั้นไดแกรอนแลเย็นอันเปนที่ชอบ อัชฌาสัย โยคาพจรเจาเสพรอนแลเย็นสิ่งใดแลบังเกิดความสุขจิตที่ยังมิไดตั้งมั่นก็ตั้งมั่น ที่ตั้งมั่นแลว ก็ตั้งมั่นโดยพิเศษ รอนแลเย็นสิ่งนั้นแลไดชื่อวาอุตุสัปปาย แลอิริยาบถสัปปายนั้นไดแกอิริยาบถอันให บังเกิดความสุขโยคาพจร โยคาพจรเสพอิริยาบถอันใด จิตที่ยังมิไดตั้งมั่นก็ตั้งมั่น ที่ตั้งมั่นแลวก็ตั้งมั่น โดยพิเศษ อิริยาบถอันนั้นแลไดชื่อวาอิริยาบถสัปปาย พระโยคาพจรเจาปฏิบัติในรักขนาพิธีเวนเสีย ซึ่งอัปปาย ๗ ประการ เสพซึ่งสัปปาย ๗ ประการ มีนัยดังสําเเดงมาดังนี้ก็อาจจะรักษาปฏิภาคนิมิตนั้น ไวได เมื่อเสพปฏิภาคนิมิตนั้นเปนไปดวยอุปาจารสมาธิจิต บางพระองคก็สําเร็จอัปปนาสมาธิบมิได เนิ่นชา ถาพระโยคาพจรเจาพระองคใดปฏิบัติในรักขนาพิธีดังนี้แลว แลยังบมิไดสําเร็จพระอัปปนา สมาธิ ก็ใหพระโยคาพจรเจาพระองคนั้นปฏิบัติตามพิธีแหง อัปปนาโกศล ๑๐ ประการ ใหบริบูรณใน สันดาน วตฺถุวิสทตา คือกระทําใหวัตถุภายในภายนอกสละสลวยนั้นประการ ๑ นิมิตตฺตกุสลตา ใหฉลาดในนิมิตนั้นประการ ๑ กระทําใหอินทรียเสมอกันประการ ๑ เห็นวาจิตควรจะยกยองก็พึงยก ยองประการ ๑ เห็นวาจิตควรขมก็พึงขมเสียประการ ๑ เห็นวาจิตควรจะเพงดูก็พึงเพงดูประการ ๑ พึง เวนเสียซึ่งบุคคลที่มีจิตมิไดตั้งมั่นประการ ๑ พึงเสพซึ่งบุคคลที่มีจิตตั้งมั่นประการ ๑ พึงรักใครยินดี ในอัปปนาสมาธินั้นประการ ๑ สิริเปนอัปปนาโกศล ๑๐ ประการ ที่วาใหกระทําวัตถุภายในภายนอกให สละสลวยนั้นจะใหทําเปนประการใด อธิบายวากระทําวัตถุภายในใหสละสลวยนั้น คือใหปลงใหตัด เสียซึ่งผมอันยาว ขนอันยาว เล็บอันยาว เมื่อจะเขานั่งนั้น ใหอาบน้ําชําระกายใหปราศจากเหงือและ ไคลกอนจึงนั่งที่วากระทําวัตถุภายในภายนอกใหสละสลวยนั้นคือ ใหสุผายอมผา อยาใหผานั้นเศรา หมองเหม็นสาบเหม็นไอ เสนาสนะนั้นก็พึงปดกวาดใหปราศจากหยากเยื่อเชื้อฝอยทั้งปวง เมื่อวัตถุภายในแลภายนอกสละสลวยดีแลว ขณะเมื่อนั่นนั้นจิตแลเจตสิกก็จะสละสลวย ปญญาก็จะสละสลวยจะรุงเรือง มีอุปมาดุชเปลวประทีปอันไดกระเบื้องดีน้ํามันดีไสดีแลวแลรุงเรือง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 16 เมื่อปญญาสละสลวยรุงเรืองบริสุทธิ์ดีแลว แลพิจารณาสังขาร ๆ ก็จะปรากฏแจงพระกรรมฐานก็ถึงซึ่ง เจริญแลไพบูลย ถากระทําวัตถุภายในภายนอกมิไดสละสลวย คือมิไดชําระเสียซึ่งเล็บยาวผมยาวขน ยาว ผานุงผาหมก็ละไวใหเศราหมองเหม็นสาบเหม็นไอ เสนาสนะก็ไมปดไมกวาด เมื่อจะนั่งเลาก็มิได อาบน้ําชําระกายหมักเหงือหมักไคล เมื่อกระทําดังนั้นจิตแลเจตสิกจะมิไดสละสลวย ปญญาก็มิได สละสลวยจะมิไดรุงเรือง มีอุปมาดุจเปลวประทีบอันไดกระเบื้องชั่วน้ํามันไสชั่ว แลมิไดรุงเรืองนั้น ครั้น ปญญามิไดรุงเรือง มิไดบริสุทธิ์แลว แลพิจารณาสังขารจะมิไดปรากฏแจง พระกรรมฐานมิไดเจริญ ไพบูลย เหตุฉะนี้กุลบุตรผูจะเรียนพระกรรมฐานนั้นพึงกระทําวัตถุภายในภายนอกใหสละสลวย ที่วา ใหฉลาดในนิมิตนั้น คือใหฉลาดที่จะยังนิมิต คือเอกัคคตาจิตอันมิไดบังเกิดนั้นใหบังเกิด นิมิตที่ บังเกิดแลวนั้นก็ใหฉลาดที่จะรักษาไว อยาใหอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตที่ตนไดนั้นเสื่อมสูญเสีย ที่วาใหทําอินทรียใหเสมอกันนั้น คือใหกระทําศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา นั้นเสมอกัน ถาศรัทธานั้นกลากวา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ขมวิริยะ สติ สมาธิ ปญญา อยูแลว วิริยะก็จะมิอาจ สามารถกระทําปคคหกิจ คือบมิอาจค้ําชูจิตนั้นไวใหยั่งยืนอยูในพิธีทางภาวนานั้นได สตินั่นจะมิอาจ กระทําอุปฏฐานกิจ คือมิอาจบํารุงจิตใหยึดเหนวงอารมณแหงพระกรรมฐานนั้นได สมาธินั้นก็จักมิอาจ กระทําอวิกเขปนกิจ คือมิอาจดํารงจิตไวใหแนเปนหนึ่งได ปญญานั้นเลาก็จักมิอาจกระทําทัสสนกิจ คือมิอาจพิจารณาเห็นอารมณคือปฏิภาคนิมิตนั้นได เปนทั้งนี้ก็อาศัยดวยศรัทธานั้นกลาหาญนัก วิริยะนั้นเลาถากลาหาญขมศรัทธา สติ สมาธิ ปญญา อยูแลวศรัทธาจักมิอาจกระทําอธิ โมกขกิจ คือมิอาจกระทําใหจิตนั้นมีศรัทธากลาหาญมีกําลังขมได สติแลสมาธิปญญาก็จักมิอาจ สามารถที่จะใหสําเร็จกิจแหงตน ๆ ได อาศัยดวยวิริยะกลาหาญมีกําลังนัก สมาธินั้นเลาถามีกําลังขม ศรัทธา วิริยะ สติ ปญญา อยูแลว ศรัทธา วิริยะ สติ ปญญา นั้นก็จะมิอาจสามารถสําเร็จกิจแหงตน ๆ ได ทีนั้นความเกียจครานก็จะครอบงําย่ํายีไดเพราะเหตุวาสมาธินั้นเปนฝกฝายโกสัชชะ ปญญานั้นเลา ถากลาหาญขมศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิอยูเเลว ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ก็จะมิอาจสามารถใหสําเร็จกิจ แหงตน ๆ ได ทีนั้นก็จะเห็นผิดเปนเกราฏิยปกขมักโออวดไปกลับหลังมิไดใครจะได ดุจโรคอันเกิดขึ้น ดวยยาพิษแลรักษายากนัก แตสติสิ่งเดียวนั้นถึงจะกลาหาญมีกําลังมาก ก็มิไดเปนโทษ สติยอมรักษาไวซึ่งจิตมิให ฟุงซานเกียจครานได ศรัทธากลา วิริยะกลาปญญากลา จิตจะตกไป ฝายอุทธัจจะฟุงซานอยูแลว สติ ก็รักษามิใหฟุงซานกําเริบได สมาธิกลา จิตจะตกไป ฝายโกสัชชะจะเกียจครานอยูแลว สติก็รักษาไวมิ ใหเกียจครานไดสตินี้เปรียบประดุจดังวา เกลือเจือไปในสูปพยัญชนะทั้งปวง ถามิดังนั้นเปรียบประดุจ ดังมหาอํามาตยผูใหญ อันเอาใจใสรอบครอบไปในราชกิจทั้งสิ้นทั้งปวง สติมากนี้ดีเสียอีก จะเปน โทษนั้นหามิได แตศรัทธา วิริยะ สมาธิ ปญญา ทั้ง ๔ นี้จําจะกระทําใหเสมอกันจึงจะดี ศรัทธานี้ถากลาหาญมีกําลังปญญานอย ก็นาที่จะเลื่อมใสในอันใชฐานะภายนอกพระ ศาสนา ปญญานั้นเลาถาวามีกําลังศรัทธากลาศรัทธานอยก็จะเห็นผิดเปนเกราฏิยปกขไป เมื่อใด ปญญาแลศรัทธากลาเสมอกันแลว จึงจะเลื่อมใสในพระรตนัตยาทิคุณ ๓ ประการ มีพระพุทธคุณเปน ตน สมาธินั้นเลาถากลาหาญวิริยะนอย ความเกียจครานก็จะครอบงําย่ํายี ถาวิรยะกลาสมาธินอยจิต ฟุงซานกําเริบไปเมือใดวิริยะดับสมาธินั้นเสมอใหเสมอกัน จึงจะดีในการที่จะเจริญพระกรรมฐาน เหตุฉะนี้กุลบุตรผูเรียนพระกรรมฐาน พึงกระทําใหศรัทธากับปญญานั้นเสมอกัน ประกอบ วิริยะกลับสมาธินั้นใหเสมอกัน เมื่อมาทั้ง ๔ คือ ศรัทธา ปญญา วิริยะ สมาธิ เดินดีเสมอกันอยูแลว ราชรถกลาวคือจิตก็จะไปไดถึงที่เกษม คืออัปปนาอันเที่ยงแท ถาศรัทธา ปญญา วิริยะ สมาธิ ทั้ง ๔ นี้ ไมเสมอกันจะมิไดอัปปนาฌานเลย จะเปนดังนั้นหรือทานวาไวอีกนัยหนึ่งวา อปจ สมาธิกมฺมิกสฺส พลวตีป สทฺธา วฏฏติ วาภิกษุผูเรียนสมณกรรมฐานนี้ ถึงศรัทธาจะกลาหาญก็ควรอยู เพราะเหตุวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 17 ศรัทธานั้นเมื่อบังเกิดกลาหาญเชื่อแทในพระกรรมฐาน หยั่งลงในพระกรรมฐานเปนมั่นแลว อปฺปนํ ปาปฺณิสฺสติ ก็อาจใหถึงซึ่งอัปปนาฌานโดยประสงคผูเรียกวิปสสนานั้น ถาปญญากลาหาญ มีกําลังก็ ควรอยู ปญญาที่กลานั้นจะไดตรัสรูซึ่งอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ อนัตตลักษณะดวยเร็วพลัน ทาน วาไวเปนกอปรนัยออกมาฉะนี้ ที่วาเห็นจิตควรจะยกยองก็ใหยกยองนั้นคือขณะเมื่อนั่งจิตในพระ กรรมฐานภาวนานั้น ถาเห็นวาจิตนั้นหดหอทอถอยตกไปฝกฝายโกสัชชะเกียจครานแทแลว ก็พึงเจริญธัมม วิจยสัมโพชฌงคแลวิริยสัมโพชฌงค แลปติสัมโพชฌงค ๓ นี้ ตามแตจะเจริญโพชฌงคอันใดอันหนึ่ง พึงกระทําใหจิตอันหดหอนั้นเฟองฟูขึ้นกอน แลวจึงจะเจริญพระกรรมฐานภาวนาสืบตอไป ในกาลเมื่อ จิตหดหอนั้นอยาพึงเจริญปสสิทธิสัมโพชฌงค แลสมาธิสัมโพชฌงค แลอุเบกขาสัมโพชฌงคจิตจะ หดหอหนักไป เปรียบดังชายอันกอเพลิงอันนอย เพลิงนอยจะดับอยูแลวถาเอาหญาสดมูลโคสดฟน สดมาใสเขา กวาดเอาฝุนมามูลเขา เพลิงนั้นก็จะดับไป ถาเห็นเพลิงนั้นนอยอยูแลวแลเอามูลโคแหง ๆ มาติดเขาเอาหญาแหงมาวางลง เอาฟนแหงมาเกรียงออกใสเขาไวอุตสาหเปาไปดวยลมปากเพลิง นั้นก็จะติครุงเรืองเปนแท อันนี้แลฉันใด อุปไมยดังโยคาพจรผูเจริญพระกรรมฐานภาวนา ๆ นั้นเมื่อเห็นวาจิตหดหออยูแลว แล เจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค จิตนั้นก็จะหดหอหนักไป อุปมา ดังเพลิงนอยอันจะดับอยูแลว แลชายเอามูลโคสดหญาสดมาใสลงแลดับไปนั้น ถาเห็นวาจิตหดหออยู แลว แลเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค จิตที่หดหอนั้นก็จะเฟองฟูขึ้น อุปมาดังชายเห็นเพลิงนอยแลว แลเอามูลโคแหงหญาแหงฟนแหงมาใสลงเปาไป ๆ แลไดกองเพลิง อันใหญรุงเรืองนั้น ที่วาจิตควรจะขมก็พึงขมนั้นอธิบายวา ถาจิตฟุงซานดวยสามารถศรัทธากลา วิริยะกลา ปญญากลา เห็นวาฟุงซานกําเริบรอน ก็พึงเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค อุเบกขาสัม โพชฌ.ค พระโพชฌงคทั้ง ๓ นี้ ตามแตจะเจริญโพชฌงคอันใดอันหนึ่ง แลปติสัมโพชฌงค จิตจะ ฟุงซานมากไป กระทําอาการใหเหมือนชายอันจะดับกองเพลิงอันใหญ ๆ นั้น ก็ขนเอาหญาสด ๆ มูล โคสด ๆ ฟนสด ๆ มาทุมลง ๆ เพลิงนั้นก็จะดับไปอันควรแกอัชฌชสัย ถาแลปรารถนาจะดับกองเพลิง อันใหญ แลขนเอาหญาแหงมูลโคแหงฟนแหงมาทุมลง ๆ แลวเพลิงนั้นก็จะหนักไป ๆ ฉันใดก็ดี พระ โยคาพจรผูเจริฐพระกรรมฐานภาวนานี้ ถาเห็นจิตฟุงซานอยูแลวแลเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค จิตนั้นก็กําเริบหนักไป ถาวาจิตฟุงซานอยูแลว แลเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค จิตนั้นก็จะสงบสงัดระงับลง เปรียบประดุจชายอันจะดับกองเพลิงอันใหญ ขน เอาโคมัยแลหญาแลไมที่สด ๆ มาทุมลง ๆ แลเปลวเพลิงดับไปนั้นแลคําที่วาจิตควรจะใหชื่นก็กระทํา ใหชื่นนั้น ขณะเมื่อจิตสังเวชสลดอยูเปนเหตุดวยพิจารณา สังเวควัตถุ ๓ ประการคือ ชาติทุกข ชรา ทุกข พยาธิทุกข มรณทุกข อดีตทุกข อนาคตวัฏฏทุกข ปจจุบันนาหารปริเยฏฐิตทุกขนั้น พระ โยคาพจรเจาเห็นวาจิตนั้นสลดไปก็ถึงระลึกถึง พุทธคุณ ธัมมคุณ สังฆคุณ พึงกระทําจิตนั้นใหผองใส บริสุทธิ์ใหชื่นอยู ดวยระลึกถึงพระรตนัตยาธิคุณอยางนี้แลไดชื่อวากระทําน้ําจิตที่สมควรจะใหชื่นนั้น ใหชื่นชมโสมนัส ที่วาจิตควรจะเพงดูก็ใหพึงเพงดูนั้น คือขณะเมื่อจิตประพฤติเปนอันดี ตามกรรมฐานวิถีอยู แลว พระโยคาพจรถึงประพฤติมัธยัสถเพงดูซึ่งจิต อันประพฤติเสมอไลตามสมถวิถีนั้น กระทําอาการ ใหเหมือนนายสาารถีอันขับรถ เห็นพาชีเดินเสมออยูแลวแลไมตีไมตอนคอยแตดู ๆ ที่วาใหเวนซึ่ง บุคคลอันมีจิตมิไดตั้งมั่นคือใหละเสียซึ่งบุคคลอันมิไดปฏิบัติขมฌาน มีจิตอันฟุงซานกําเริบอยูดวย อารมณตาง ๆ ขวนขวายที่จะกระทําการตาง ๆ นั้น พึงสละเสียใหไกลอยาไดคบหาสมาคม พึงสมาคม ดวยบุคคลอันมีจิตตั้งมั่น ๆ นั้น ไดแกบุคคลผูปฏิบัติในฌาน มักเขาไปหาสูสมาคมดวยทานที่ไดสมาธิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 18 จิต คนจําพวกนี้แลไดชื่อวาบุคคลมีจิตอันตั้งมั่น ๆ นี้ สมควรที่พระโยคาพจรจะพึงคบหาสมาคม ตทธิมุตฺตตา ประการหนึ่งใหมีใจเคารพในอัปปนาสมาธิ พึงกระทําน้ําจิตนั้นใหงอมให เงื้อมไปในอัปปนาสมาธิ สิริเปนอัปปนาโกศล ๑๐ ประการดวยกัน แลพระโยคาพจรผูกระทําความ เพียรในกรรมฐานภาวนานั้น ใหกระทําเพียงแคอยางกลาง อยาใหกลานักอยาใหออนนัก ครั้นกระทํา ความเพียรกลานักจิตก็จะฟุงซานกําเริบระส่ําระสาย ครั้นกระทําความเพียรออนนัก ความเกียจครานก็ จะครอบงําย่ํายีสันดานไดกระทําเพียรแตอยางกลางนั้นแลดี มีอุปมาดุจแมลงผึ้ง ๓ จําพวก แมลงผึ้งจําพวกหนึ่งนั้นมิไดฉลาดรูวา ดอกไมในประเทศโพนบานอยูแลวบินใหเร็วนักก็ เกินไป ครั้นรูตัววาเกินแลวกลับมา ละอองเกสรก็สิ้นเสียดวยแมลงผึ้งจําพวกอื่น ตนก็ชวดไดละออง เกสร ยังแมลงผึ้งจําพวกหนึ่งนั้นเลาก็ไมฉลาด เมื่อจะไปเอาชาติดเกสรนั้นบินชานัก ละอองเกสรก็สิ้น เสียแลวดวยแมลงจําพวกอื่น ตนก็ชวดไดละอองเกสรนั้น แมลงผึ้งจําพวกหนึ่งนั้นฉลาด เมื่อจะเอาชาตินวลละอองเกสรนั้น บินไปไมชานักไมเร็วนัก ก็คลึงเคลาเอาเกสรเรณูนวลไดดังความปรารถนา อันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรที่กระทําความเพียร กลานักแลออนนักนั้น ก็มิไดสําเร็จฌานสมาบัติดังความปรารถนา มีอุปมาเหมือนแมลงผึ้ง ๒ จําพวกที่ มิไดฉลาด บินเร็วนักแลชานักแลมิไดละอองเกสรนั้น พระโยคาพจรที่กระทําเพียรเปนปานกลาง แล ไดสําเร็จกิจอัปนาฌานนั้น มีอุปไมย เหมือนแมลงผึ้งที่ฉลาดบินไมเร็วนักไมชานัก แลไดละอองเกสร สําเร็จดังความปรารถนานั้น ถามิดังนั้นเปรียบตอศิษย ๓ คนอันขีดใบบัวที่ลอยน้ํา อาจารยวาผูใดเอามีดขีดลงใหใบบัวนี้ เปนรอย อยาใหใบบัวนี้ขาดอยาใหจมลงในน้ํา กระทําไดดังนี้แลวจะไดลาภของสิ่งนั้น ๆ แลศิษย ๒ คนนั้นไมฉลาด คนหนึ่งขีดหนักไปใบบัวก็จมไป คนหนึ่งนั้นกลัวใบบัวขาดก็มิอาจกดคมมีดลงได ศิษย ๒ คนก็หาไดลาภสักการไม ศิษยคนหนึ่งนั้นฉลาดขีดไมหนักไมเบานั้น ใบบัวนั้นก็เปนรอยแลวก็ไม ขาดไมจมลงในน้ํา ศิษยนั้นก็ไดลาภสักการอันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรที่กระทําความเพียรกลานักออนนักก็ ไมไดฌาน ที่กระทําเพียรเปนปานกลางนั้นไดฌานมีอุปไมยดังนี้ ถามีดังนั้นเปรียบตออํามาตย ๓ คน พระมหากษัตริยตรัสวา ถาผูใดนําเอาใยแมลงมุมมาไดยาว ๔ วา จะไดพระราชทานทรัพย ๔ พัน อํามาตยสองคนนั้นไมฉลาด คนหนึ่งนั้นฉุดคราเอามาโดยเร็ว ๆ พลัน ๆ ใยแมงมุมนั้นก็ขาดเปนทอน นอยทอนใหญหาไดยาว ๔ วาไม คนหนึ่งนั้นก็กลัวจะขาดมิอาจจับตองใยแมลงมุมนั้นได อํามาตยทั้ง ๒ นี้ก็มิไดทรัพย อํามาตยคนหนึ่งนั้นฉลาดกระทําเพียรพันเอาดวยไม ดวยอาการอันเสมอไมชานักไม เร็วนัก ก็ไดใยแมลงมุมยาว ๔ วา ไดทรัพย ๔ พันกหาปณะอันบรมมหากษัตริยพระราชทาน ถามิดังนั้นเปรียบดวยนายสําเภา ๓ คนผูหนึ่งกลาหาญเกินประมาณ ปะลมพายุกลาก็ไมซา ใบเลย สําเภาก็จะเสียดวยลมพายุกลา คนหนึ่งนั้นปะแตลมออน ๆ ก็ซาใบสําเภาหยุดอยูมิไดแลนไป ถึงที่ควรแกปราถนา คนหนึ่งฉลาดเห็นลมออนก็ชักใบตามเสา เห็นลมกลาก็ซาใบเลนสําเภาไปดวย อาการอันเสมอ ก็ถึงประเทศควรแกปรารถนา ถามิดังนั้นเปรียบเหมือนศิษย ๓ คนอาจารยนั้นวา ถาใครหลอน้ํามันลงไปในปลองไมอยา ใหหกใหบา คนหนึ่งนั้นก็ไมฉลาดกลัวน้ํามันจะหกก็มิอาจเทน้ํามันนั้นลงได ศิษยทั้ง ๒ ก็บมิลาภสัก การ ศิษยผูหนึ่งนันฉลาดคอยเทดวยอันประโยคอันเสมอน้ํามันก็ไหลลงอันเปนอันดี มิไดหกไดบา ศิษยผูนั้นก็ไดลาภอันอาจารยใหสําเร็จโดยจิตประสงค อันนี้แลมีฉันใดพระโยคาพจรที่กระทําความ เพียรกลาหาญยิ่งนักนั้น จิตก็ตกไป ฝายอุทธัจจะฟุงซานไปมิอาจไดสําเร็จฌานสมาบัติ ที่กระทํา ความเพียรออนนั้นเลา จิตก็ตกไปในฝายโกสัชชะเกียจครานไป มิอาจไดสําเร็จฌานสมาบัติ พระ โยคาพจรผูกระทําความเพียรโดยประโยคอันเสมอ ก็ไดสําเร็จฌานสมาบัติมีอุปไมยเหมือนดังนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 19 ในกาลเมื่อพระโยคาพจรเจากระทําบรรลุถึงอัปปนาฌานนั้น ในอัปปนาวิธีกามาพจรชวนะ บังเกิด ๓ ขณะบาง ๔ ขณะบาง ตามวาสนาที่เปนทันธาภิญญาและขิปปาภิญญา ถากุลบุตรนั้นมี วาสนาชา จะเปนทันธาภิญญากามาพจรชวนะก็บังเกิด ๔ ขณะถากุลบุตรมีวาสนาเร็วจะเปนขิปป ภิญญากามาพจรชวนะ ก็บังเกิด ๓ ขณะ กามาพจรชวนะที่บังเกิด ๔ ขณะนั้น ขณะเปนปฐมชื่อวา บริกรรมชวนะขณะเปนคํารบ ๒ ชื่อวาอุปจารชวนะ ขณะเปนคํารบ ๓ ชื่อวาอนุโลมชวนะ ขณะเปนคํา รบ ๔ ชื่อวาโคตรภูชวนะ และกามาพจรชวนะที่บังเกิด ๓ ขณะนั้น ขณะเปนปฐมชื่อวาอุปจราชวนะ ขณะเปนคํารบ ๒ นั้นชื่อวาอนุโลมชวนะ ขณะเปนคํารบ ๓ นั้นชื่อวาโคตรภูชวนะ ขอซึ่งกามาพจรเปน ปฐมเรียกวาบริกรรมชวนะนั้น เพราะเหตุเปนตนเปนเดิมในวิถีอันใหสําเร็จอัปปนา เปนผูตกแตงอัปปนากอนชวนะ อันเปน คํารบ ๒ คํารบ ๓ และคํารบ ๔ และกามาพจรชวนะอันเกิดที่ ๒ เรียกวาอุปจารชวนะนั้น เพราะเหตุ บังเกิดในที่ใกลจะสําเร็จซึ่งฌานและชวนะที่ ๓ เรียกวาอนุโลมชวนะนั้น เพราะเหตุประพฤติอนุโลม ตามบริกรรมชวนะ และอุปจารชวนะอันบังเกิดในตน นัยหนึ่งทานวาชวนะทั้ง ๓ นี้ อนุโลมตามเหตุให ไดสําเร็จซึ่งฌานเบื้องหนา เหตุดังนั้นจึงเรียกวาอนุโลมชวนะ และชวนะที่ ๔ เรียกวาโคตรภูชวนะนั้น เพราะเหตุครอบงําเสียซึ่งกามาพจรโคตรภูปกปดเสียซึ่งกามาพจรชวนะ มิไหบังเกิดสืบตอไปได โคตรภูชวนะนี้ถาบังเกิดที่ ๓ แลว ฌานก็บังเกิดที่ ๔ ที่ ๕ นั้นก็ตกภวังค ถาโคตรภูชวนะ บังเกิดที่ ๔ แลว ฌานก็บังเกิดที่ ๕ ที่ ๖ นั้นเปนภังค ฌานอันพระโยคาพจรแรกไดนั้น บังเกิดขณะ เดียวแลวก็ตกภวังค จะไดบังเกิดเปน ๒ เปน ๓ เปน ๔ เปน ๕ ขณะนั้นหามิไดฌานที่พระโยคาพจร แรกไดนั้น ไมตั้งอยูจนถึง ๓ ขณะเลยเปนอันขาดตอเมื่อไดแลวเบื้องหนานั้น ถาจะปรารถนาใหตั้งอยู สิ้นกาลเทาใด ก็ตั้งอยูสิ้นกาลเทานั้น ที่จะกําหนดขณะจิตนั้นหามิได ถากุลบุตรนั้นมีวาสนาเปนทันธาภิญญาตรัสรูชา ฌานบังเกิดที่ ๕ ถากุลบุตรเปนขีปปา ภิญญาวาสนาเเร็วตรัสรูเร็ว ฌานบังเกิดที่ ๔ ฌานนั้นจะไดบังเกิดในขณะแหงชวนะเปนคํารบ ๖ คํารบ ๗ นั้นหามิได เหตุไฉนฌานจึงมิไดบังเกิดในที่ ๖ ที่ ๗ วิสัชนาวา ฌานมิไดบังเกิดในที่ ๖ ที่ ๗ นั้น เหตุชวนะที่ ๖ ที่ ๗ นั้นใกลที่จะตกภวังค ครั้นใกลอยูที่จะตกภวังคแลวฌานก็มิอาจบังเกิดขึ้นได เปรียบตอบุรุษอันบายหนาตอเขาขาดแลวเลนไป ถาจะหยุดก็จําจะหยุดแตไกลจึงจะหยุด ได ถาไมรออยูแตไกลแลนไปที่ใกลยังอีก ๑-๒ วา ถึงเขาขาดขะหยุดที่ไหนได นาที่จะชวนตกลงไป ในเขาขาดฉันใด คือฌานอันจะบังเกิดนั้น ก็บังเกิดแตขณะแหงชวนะเปนคํารบ ๔ คํารบ ๕ ไกลกันแต ภวังค ยังมีอีก ๑ ขณะ ๒ ขณะจะตกภวังคแลว ฌานก็มิอาจบังเกิดได อุปไมยเหมือนดังนั้น เมื่อฌานบังเกิดขึ้นในสันดานแลว ก็พึงกําหนดไววา อาตมาประพฤติอิริยาบทอยางนี้ ๆ อยู ในเสนาสนะอยางนี้ ๆ ซองเสพโภชนาหารเปนที่สบายอยางนี้ ๆ จึงจะไดสําเร็จฌานสมาบัติ เอา เยี่ยงอยางนายขมังธนูและคนครัว นายขมังธนูผูฉลาดตกแตงสายและคันและลูกนั้นใหดี ยิงไปที่ใด และถูกขนทรายจามรีแลว นายขมังธนูก็กําหนด อาตมายืนเหยียบพื้นอยางนั้น ๆ โกงธนูใหนอมเพียง นั้น ๆ เสียงสายดังอยางนั้น ๆ จึงยิงถูกขนทรายจามรี คนครัวที่ตกแตงพระวรสุทธาโภชนาหารแหงสมเด็จพระบรมกษัตริยนั้นเลา ถามื้อใดแล ชอบพระทัยแลวก็กําหนดไววา เค็มเพียงนั้นผิดเพียงนั้นเปรี้ยวเพียงนั้นพอพระทัยพระมหากษัตริย อัน นี้แลมีอุปมาฉันใด พระโยคาพจรที่ไดสําเร็จฌานสมาบัตินั้น ก็พึงกําหนดอิริยบถและเสนาสนะและ อาหารเหมือนนายขมังธนูและคนครัวนั้น เหตุไฉนจึงใหกําหนดอิริยาบถและเสนาสนะแลอาหารนั้นไว ใหกําหนดไดนั้นดวยสามารถ จะไดสืบตอเมื่อภายหนาเกลือกจะมีความประมาทฌานเสื่อมไปแลว เมื่อจําเริญสืบตอไปนั้นจะได ประพฤติอิริยาบถเหมือนประพฤติมา แตกอนจะไดเสพเสนาสนะโภชนะเหมือนแตกอน ฌานที่เสื่อม สูญไปแลวนั้นจะไดบังเกิดบริบูรณอยูในสันดาน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 20 เมื่อพระโยคาพจรเจาไดสําเร็จปฐมฌานแลว ก็พึงประพฤติปฐมฌานใหชํานาญกอน จึง จําเริญทุติยฌานสืบตอไป พึงกระทําปฐมฌานดวยวสีทั้ง ๕ คือ อาวัชชนวสี ๑ สมาปชชนวสี ๑ อธิษฐานวสี ๑ วุฏฐานวสี ๑ ปจจเวกขณวสี ๑ เปน ๕ ดวยกัน อาวัชชนวสีนั้น คือชํานาญในการ พิจารณา ถาปรารถนาจะพิจารณาองคฌานที่ตนได ก็อาจสามารถพิจารณาไดดวยเร็วพลันมิไดเนิ่นชา ไปเบื้องหนา แตชวนะ ๔ ชวนะ ๕ ภวังค ๒ และ ๓ อาจพิจารณาไดแตชวนะ ๔ ชวนะ ๕ ในภวังคอัน บังเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะนั้นไดชื่อวาอาวัชชนวสี และสมาปชชวนวสีนั้นคือ ชํานาญในการที่จะเขาสู สมาบัติ อาจเขาสูสมาบัติไดลําดับแหงอาวัชชนจิตอันพิจารณาซึ่งอารมณ คือปฏิภาคนิมิตมิไดเนิ่นชา ไป เบื้องหนาแตภวังค ๒ และ ๓ และอธิษฐานวสีนั้น คือชํานาญในการที่จะรักษาไวมิใหฌานจิตนั้น ตกภวังค ตั้งฌานจิตไวไดโดยอันควรแกกําหนดปรารถนา จะตั้งไวเทาใดก็ตั้งไวไดเทานั้น และวุฏฐาน วสีนั้น คือชํานาญในการจะออกจากฌาน กําหนดไววาถึงเวลาเพียงนั้นจะออกจากฌานก็ออกตาม เวลากําหนดไมคลาดเวลาที่กําหนดไว และปจจเวกขณะวสีนั้น คือชํานาญในการจะพิจารณา พึงสันนิษฐานตามนัยแหงอาวัชชน วสีนั้นเถิด ทานวาไวเปนใจความวา ชวนจิตอันบังเกิดในลําดับแหงวัชชนจิตนั้นไดชื่อวาปจจเวกขณชว นะนั้น ๆ ไดชื่อวาปจจเวกขณวสี พระโยคาพจรอันไดปฐมฌานดวยวสี ๙ ประการฉะนี้แลว ภายหลังจึง จะอาจสามารถที่จะจําเริญทุติยฌานสืบตอไป ถาไมชํานิชํานาญฌานมากอนแลวแลจะจําเริญทุติย ฌานสืบตอไป ก็จะเสื่อมจากปฐมฌานและทุติฌานทั้ง ๒ ฝาย เหตุฉะนี้จึงหามไววา ถาไมชํานาญใน ปฐมฌานอยาพึงจําเริญทุติยฌานกอน ตอเมื่อใดชํานาญในปฐมฌานวสี ๕ ประการแลว จึงสมควรที่ จะจําเริญฌานสืบตอไป ชํานาญในทุติยฌานแลวจึงจําเริญตติยฌาน จตุตถฌาน ปญจมฌานสืบตอไป โดยลําดับ และปฐมฌานนั้นมีองค ๕ คือ วิตกอันมีลักษณะะยกจิตขึ้นสูอารมณแหงตน มีปฏิภาคนิมิต แหงปฐวีกสิณเปนอาทินั้นจัดเปนองคปฐม วิจาร มีลักษณะพิจารณาซึ่งอารมณแหงฌาน มีปฏิภาค นิมิตแหงปฐวีกสิณเปนอาทินั้น จัดเปนองคคํารบ ๒ ปติอันมีประเภท ๕ คือ ขุททกาปติ อันใหหนัง พองสยองเกลาและน้ําตาไหล ๑ ขณะกาปติอันปรากฏดุจสายฟา ๑ โอกกันติกาปติอันใหปรากฏ เหมือนระลอกซัดตอง ๑ อุพเพงคาปติอันยังกายใหลอยขึ้น ๑ ผรณาปติอันใหเย็นซานซาบทั่วไปใน กาย ๑ ปติอันประเภท ๔ ดังนี้เปน ๑ จัดเปนคํารบ ๓ สุขอันมีลักษณะยังกายและจิตใหเปนสุขนั้น จัดเปนองคแหงปฐมฌานเปนคํารบ ๔ เอกัคคตาอันมีลักษณะยังจิตใหเปนหนึ่งในอารมณอันเดียวนั้น จัดเปนองคแหงปฐมฌานเปนคํารบ ๕ ทุติฌานนั้นมีองค ๓ คือปติประการ ๑ สุขประการ ๑ เอกัคคตา ประการ ๑ ตติยฌานมีองค ๒ คือสุข ๑ เอกัคคตา ๑ จตุตถฌานมีองค ๒ คือเอกัคคตา ๑ อุเบกขา ๑ อันนี้จัดโดยจตุกนัย ถาจัดโดยปญจกนัยนั้น ปฐมฌานมีองค ๕ เหมือนกัน ทุติยฌานมีองค ๔ เหตุเวนแตวิตก ตติยฌานมีองค ๓ คือปติ ๑ สุข ๑ เอกัคคตา ๑ จตุตถฌานมีองค ๒ คือสุข ๑ เอกัคคตา ๑ ปญจม ฌานมีองค ๒ คือ เอกัคคตา ๑ อุเบกขา ๑ พระโยคาพจรผูเจริญปฐวีกสิณนั้น อาจไดสําเร็จฌาน สมาบัติโดยจตุกนัยและปญจมนัยดังพรรณนามาฉะนี้ ฯ วินิจฉัยในปฐวีกสิณยุติแตเพียงเทานี้

จักวินิจฉัยในอาโปกสิณสืบตอไป พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญอาโปกสิณนั้น ถาเปนกุลบุตรมีวาสนาบารมีเคยไดสรางสมอาโปกสิณมาแตในเบื้องปุริมชาติกอนนั้นแลว ถึงจะมิได ตกแตงกสิณเลยและดูแตน้ําในสระโบกขรณี ดูน้ําในบอ ดูหวงน้ําเค็มที่ขังอยูชายสมุทร ดูน้ําในสมุทร แตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็อาจไดสําเร็จอุคคหนิมิตและปฏิภาคนิมิตนั้นดวยงายดาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 21 ถาแลกุลบุตรนั้นหาวาสนาบารมีมิได ไมเคยสรางสมแตกอนเลยพึงจะไดบําเพ็ญในปจจุบัน ชาตินี้ ก็พึงทําอาโปกสิณดวยน้ําอันบริสุทธิ์ น้ํา ๔ ประการคือ น้ําสีดํา สีเหลือง สีแดง สีขาวนั้น เปน น้ํากอปรดวยกสิณโทษ อยาเอามากระทําเปนอาโปกสิณไมตองดวยบังคับ ใหเอาผาขาวขึงออกในที่ แจง สูเอาน้ําฝนอันบริสุทธิ์มากระทําอาโปกสิณจึงจะตองพระบาลี ถาไมไดน้ําฝนอยางนั้น ไดน้ําฝน อยางอื่นแตใสบริสุทธิ์เหมือนดังนั้นแลวก็เอาเถิด ใหพระโยคาพจรเจาเอาน้ําใสบริสุทธิ์นั้นมาใสลงไป ในบาตรใหเสมอขอบปาก ถามิดังนั้นจะใสน้ํานั้นลงในเตา และภาชนะอันใดอันหนึ่งก็ตาม แตใสใหเสมอขอบปากอยา ใหบกใหพรอง ตั้งไวในที่สงัดเปนที่ลับที่กําบังในที่สุดแหงวิหาร พึงตั้งเตียงทีเทาสูงคืบ ๔ นิ้ว กระทํา พิธีทั้งปวงตามนัยที่สําแดงแแลวในปฐวีกสิณ ครั้นแลวจึงนั่งขัดบัลลังกเหนือเตียงหางกสิณออกมา ๒ ศอกคืบ เมื่อพิจารณาเอาโปกสิณนั้นอยาเพิ่งพิจารณาแยกสีอยาพิจารณาแยกลักษณะที่ไหลซึมซาบ พึงรวมสีน้ํานั้นเขากันดวยกันเปนอันเดียวเล็งแลดวยจักษุแลว ตั้งจิตไวในบัญญัติธรรมวาสิ่งนี้คือ อาโปธาตุ แลวถึงบริกรรมเถิด อาโป ๆ นามบัญญัติแหงน้ํานั้นมากเปนตน วา อุทก วาริ สลิละ แตไมปรากฏเหมือนชื่อวาอาโป ยก เอาแตชื่อวาปรากฏนั้น ขึ้นกระทํากรรมเถิด อุคคหนิมิตในอาโปกสิณนี้ปรากฏดุจไหว ๆ กระเพื่อม ๆ อยู ถาน้ํานั้นกอปรดวยกสิณโทษ คือเจือไปดวยปูมเปอกและฟองนั้นก็ปรากฏในอุคคหนิมิต และ ปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏจากกสิณโทษ ปรากฏดุจพัดใบตาลแกวมณีอันประดิษฐานไวในอากาศ ถามิ ดังนั้นประดุจดวงแวนแกวอันบริสุทธิ์ เมื่อปฏิภาคนิมิตบังเกิดแลว พระโยคาพจรเจาก็กระทําปฏิภาค นิมิตนั้นเปนอารมณ จําเริญไปวาอาโป ๆ ก็จะถึงจตุตถฌานและปญจฌานโดยนัยที่สําแดงแลวในปฐวี กสิณ ฯ วินิจฉัยในอาโปกสิณยุติแตเพียงเทานี้

จักวินิฉัยในเตโชกสิณตอไป พระโยคาพจรผูศรัทธาปรารถนาจะจําเริญเตโชกสิณนั้น พิจารณาเอานิมิตในเปลวเพลิงเปนอารมณ ถาแลพระโยคาพจรนั้น มีวาสนาไดเคยจําเริญเตโชกสินมา ในปุริมชาติปางกอนนั้น ถึงแมมิไดกระทํากสิณเลย แลดูแตเปลวเพลิงอันในที่อันใดอันหนึ่งคือเปลว ประทีปและเปลวเพลิงอันอยูในเตา ถามิดังนั้นแลดูเปลวเพลิงในที่รมบาตรและเปลวเพลิงอันไหมปา ก็อาจสําเร็จอุคคหนิมิตและปฏิภาคนิมิตดวยงายดาย และพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกุลบุตร พึงจะไดจําเริญในปจจุบันชาตินี้ก็พึงกระทําเตโช กสิณ เมื่อจะกระทํานั้นใหเอาไมแกนที่สนิทนั้นมาผาตากไวใหแหงรอนออกใหเปนทอน ๆ จึงนําฟนนั้น ไปสูรุกขมูลและมณฑลประเทศอันใดอันหนึ่งอันเปนประเทศสมควรแลว จึงเอาฟนนั้นกระทําเปนกอง มีอาการดุจดังวารมบาตรจุดเพลิงเขาใหรุงเรืองแลว จึงเอาเสื่อลําแพนมาเจาะใหเปนชองกลมกวาง ประมาณคืบ ๔ นิ้ว จะเอาหนังก็ตามเอาผาก็ตามเจาะใหกวางคืบ ๔ นิ้วเหมือนกันดังนั้น จึงเอาขึงออก ไวในเบื้องหนานั้น ตามพิธีที่กลาวในปฐวีกสิณ เมื่อพิจารณานั้น อยาพิจารณาไมและหญาที่อยูเบื้องหนา เปลวเพลิงที่วับขึ้นไปในเบื้องบน นั้น ก็อยาพิจารณาเอาเปนอารมณ ใหพิจารณาเอาแตเปลวเพลิงที่หนา ที่ทึบในทามกลางที่ปรากฏใน ชองนั้นเปนอารมณ อนึ่ง อยาพิจารณาสีวา เพลิงนี้สีเขียว สีเหลือง สีหมอง สีแดง อยาพิจารณา ลักษณะที่รอนพึงรวมสีกับเปลวที่ทึบนั้นเขาดวยกันเล็งแลดูดวยจักษุ ดวยอาการอันเสมอเหมือนอยาง พิจารณาปฐวีกสิณ ตั้งจิตไวในบัญญัติธรรมวาอันนี้คือเตโชธาตุ กําหนดเอาแตที่หนาทึบนั้นเปน ประมาณแลวพึงบริกรรมวา เตโช ๆ นามบัญญัติแหงเพลิงนั้นมีมาก มีอาทิคือ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ปาวก กณฺหวตฺตนี ชาตเวท หุตาสน

แต


- 22 ทวานามบัญญัติที่เรียกวาเตโชนี้แลปรากฏในโลก เหตุดังนั้นพระโยคาพจรพึงกระทําบริกรรมภาวนาวา เตโช ๆ รอยครั้งพันครั้ง กวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตและปฏิภาคนิมิต อุคคหนิมิตในเตโชกสิณนี้ ปรากฏ ดุจดังตัดเปลวเพลิงนั้นใหขาดแลวและตกลง ถาแลพระโยคาพจรมิไดกระทํากสิณและพิจารณาใน เปลวเพลิงในเตาเปนอาทินั้น กาลเมื่ออุคคหนิมิตบังเกิดนั้นกสิณโทษก็จะปรากฏ คือจะเห็นถานฟนที่เพลิงติด จะเห็น กองถานเพลิงแลควันนั้นปรากฏในอุคคหนิมิตและปฏิภาคนิมิตมิไดหวั่นไหว ปรากฏแกพระโยคาพจร นั้น เปรียบประดุจดังทอนผากัมพลแดงอันประดิษฐานอยูในอากาศ ถามิดังนั้นเปรียบประดุจดังพัด ใบตาลทองและเสาทองประดิษฐานอยูในอากาศ เมื่อปฏิบภาคนิมิตบังเกิดแลว พระโยคาพจรก็จะ สําเร็จจตุตถฌาน ปญจมฌาน เหมือนกันกับนัยที่กลาวแลวในปฐวีกสิณนั้น ณ วินิจฉัยในเตโชกสิณยุติเพียงเทานี้

จักวินิจฉัยในวาโยกสิณสืบตอไป พระโยคาพจรกุลบุตรมีศรัทธาปรารถนาจะเจริญวาโย กสิณนั้น พึงถือเอาวาโยกสิณนิมิตเปนอารมณ อาการที่จะถือเอาวาโยนิมิตนั้นจะถือเอาดวยสามารถได เห็นก็ได จะถือเอาดวยสามารถถูกตองก็ได อาการที่จะถือเอาวาโยกสิณดวยสามารถไดเห็นนั้นเปน ประการใด อธิบายวา อาการที่เห็นลมพัดตองปลายออยและปลายไผ เห็นลมอันพัดตองปลายไมและ ปลายผมและถือเอาเปนอารมณนั้น ไดชื่อวาถือเอาวาโยกสิณดวยสามารถไดเห็น แลอาการที่ถือเอา วาโยกสิณดวยสามารถถูกตองนั้น คือใหกําหนดลมที่พัดมาตองกายแหงตน เหตุดังนั้นโยคาพจรผูปรารถนาจะจําเริญวาโยกสิณนั้น พึงเล็งเห็นดูซึ่งปลายออยแลปลาย ไผแลปลายไม ที่มีใบอันทึบมิไดหาง ซึ่งตั้งอยูในที่เสมอศีรษะอันลมพัดตอง ถามิดังนั้นพึงเล็งแลดูซึ่ง ผมแหงบุรุษอันหนาแลยาวประมาณ ๔ นิ้ว อันลมพัดตอง เมื่อเห็นลมพัดตองปลายออยปลายไผปลาย ไมปลายผมอันใดอันหนึ่งก็พึงตั้งสติไววาลมพัดตองในที่อันนี้ ๆ ถามิดังนั้นลมที่พัดเขามาโดยชอง หนาตางแลฝาถูกตองกายเเหงพระโยคาพจรในที่อันใด พระโยคาพจรเจาพึงตั้งสติไวในที่อันนั้นแลวก็พึงกระทําบริกรรมวา วาโย ๆ เถิดมาม บัญญัติชื่อวาวาโยนี้ปรากฏในโลก เหตุดังนั้นพระโยคาพจรเจาจึงกระทําบริกรรมภาวนา วาวาโย ๆ รอยครั้งพันครั้งกวาจะสําเร็จอุคคหมินิต แลปฏิภาคนิมิตนั้น อุคคนิมิตในวาโยธาตุนี้บังเกิดไหว ๆ ปรากฏดุจวาไอแหงขาวปายาสอันบุคคลพึงปลงลงจากเตา แลปฏิภาคนิมิตนั้นสงบอยูเปนอันดีจะได หวั่นไหวหามิได เมื่ออุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตบังเกิดแลวพระโยคาพจรเจาก็จะสําเร็จจตุตถฌาน แลปญจมฌาน ดุจกลาวแลวในปฐวีกสิณ ฯ วินิจฉัยในวาโยกสิณยุติแตเพียงนี้

จักวินิจฉัยในนีลกสิณสืบตอไป พระโยคาพจรผูศรัทธาปรารถนาจะจําเริญนิลกสิณนั้น พึง พิจารณาเอานิมิตสิ่งอันเขียวเปนอารมณ พระโยคาพจรที่มีวาสนา เคยจําเริญนีลกสิณมาแตปุริมภพ ปางกอนนั้น แลดูแตดอกไมสีเขียวผาเขียว มิฉะนั้นเล็งแลดูวรรณธาตุอันใดอันหนึ่งที่มีสีเขียว อุคคห นิมิตแลปฏิภาคนิมิตก็บังเกิด แลพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกบุคคลพึงจะไดจําเริญนีลกสิณใน ปจจุบันชาตินี้ พึงจะใหเอาดอกไมสีเขียวเปนตนวา ดอกนีลุบลแลดอกอัญชันนั้นมาประดับลงในผอบ มิฉะนั้นประดับลงในฝากลองแตพอใหเสมอขอบปากเปนอันดี อนึ่งอยาใหเกสรแลกานนั้นปรากฏใหเห็นแตกลีบสิ่งเดียว ถามิดังนั้นใหเอาผาเขียวมามวน เขาใสใหเต็มผอบแลฝากลอง เสมอขอบปากอยางนั้นก็ได จะเอาผาเขียวขึงลงที่ขอบปากผอบปากฝา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 23 กลอง กระทําใหเหมือนดังหนากลองอยางนั้นก็ได จะเอาพัสดุที่สีเขียวมีเปนตนวาเขียวขี้ทอง และ เขียวใบไมแลอัณชันอันใดอันหนึ่งมาเปนดวงกสิณเหมือนอยางปฐวีกสิณนั้นก็ได ดวงแหงนีลกสิณนั้น ถาจะกระทําเปนสังหาริมะ ก็พึงกระทําตามวิธีในปฐวีกสิณนั้น ถาจะทําเปนตัตรัฏฏฐกะนั้น ใหปนติด เขากับผา ถาเห็นวาสีแหงผานั้นคลายกับกับดวงกสิณ ก็ใหเอาพัสดุอันใดอันหนึ่งที่มีสีอันแปลกนั้นเขา บังเขาตัดใหปริมณฑลกสิณนั้น ปรากฏแจงออกใหได เมื่อกระทําดวงกสิณสําเร็จดังนั้นแลว ก็พึงนั่งตามพิธีที่กลาวแลวในปฐวีกสิณ เล็งแลดู ปริมณฑลนีลกสิณนั้น แลวก็พึงบริกรรมวา นีลัง ๆ รอยครั้งพันครั้งกวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาค นิมิต อุคคหนิมิตในนีลกสิณนี้มีโทษอันปรากฏ อธิบายวา ถากสิณนั้นทําดวยดอกไมก็เห็นเกสรแลกาน หวางกลีบนั้น ปรากฏแลปฏิภาคนั้นเพิกพนจากมณฑลแหงกสิณปรากฏดุจดังวา พัดใบตาลแกวมณีอัน ประดิษฐานอยูในอากาศ เมื่อปฏิภาคนิมิตบังเกิดแลว อุปจารฌานแลอัปปนาฌานก็จะบังเกิดเหมือน กลาวในปฐวีกสิณ ฯ วินิจฉัยในนีลกสิณยุติแตเพียงนี้

จักวินิจฉัยในปติกสิณสืบตอไป ในปตกสิณนี้ คือพระโยคาพจรพิจารณาดอกไมที่มีสีเหลือง ผาที่สีหลือง ธาตุอันใดอันหนึ่งที่สีเหลืองเปนอารมณ แลไดสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิต ถาพระ โยคาพจรนั้นมีวาสนาไดเคยจําเริญปตกสิณมาแตชาติกอนแลว ก็ไมพักกระทําดวงกสิณเลย เล็งแลดู แตดอกไมอันพิจิตรไปดวยดอกไมอันเหลือง มิฉะนั้นเล็งแลดูแตดอกไมเหลืองอันบุคคลนํามาคาดไว บูชา มิฉะนั้นเล็งแลดูแตผาเหลืองแลวรรณธาตุสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีสีเหลือง ๆ นั้นก็ไดสําเร็จอุคคห นิมิตแลปฏิภาคนิมิตดวยงายดายแลพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกบุคคล มิไดเคยจําเริญปตกสิณมา แตกอน พึงจําเริญในปจจุบันชาตินี้ ก็พึงกระทําปริมณฑลกสิณดวยสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีสีเหลือง จะกระทํา ดวยดอกไมสีเหลืองมีดอกกรรณิกาทองเปนตนก็ได จะกระทําดวยผาสีอันเหลืองก็ไดจะกระทําดวย วรรณธาตุอันใดอันหนึ่งที่มีสีเหลือง ๆ นั้นก็ได พิธีที่กระทํามณฑลก็เหมือนกันกับนีลกสิณ ตางกันแตบริกรรมในปตกสิณนี้ใหบริกรรมวา ปตกัง ๆ กวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนั้น ลักษณะแหงอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนั้น ก็ ปรากฏเหมือนกับนีลกสิณ ตางกันแตสี ฯ วินิจฉัยในปตกสิณยุติแตเพียงนี้

จักวินิจฉัยในโลหิตกสิณสืบตอไป ในโลหิตกสิณนั้น พระโยคาพจรพิจารณาดอกไมแลผา แลวรรณธาตุ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีสีแดงเปนอารมณพระโยคาพจรที่มีวาสนาไดเคยจําเริญโลกหิตกสิณมา แตชาติกอนนั้น เล็งแลดูดอกไมในกอแลดอกไมอันบุคคลดาดบนอาสนะสักการบูชา เปนตนวาดอก ชบาแลดอกหงอนไก แตบรรดาดอกไมทีสีอันแดงนั้นพิจารณาเอาเปนอารมณก็สําเร็จอุคคหมินิต แลปฏภาคนิมิต ถามิดังนั้น ไดเห็นแตผาสีแดงแลวรรณธาตุอันใดอันหนึ่งที่มีสีอันแดง ก็สําเร็จอุคคห มินิตแปฏภาคนิมิต เพราะเหตุวาวาสนาไดเคยบําเพ็ญมากอน และพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกบุคคลพึงจะบําเพ็ญในปจจุบันชาตินี้ ก็พึงกระทําซึ่ง โลหิตกสิณจึงจะควรดวยภาวนาพิธี โลหิตกสิณนั้นใหกระทําดวยดอกไมแดงเปนตนวาดอกชบาแล ดอกหงอนไก แลดอกวานทางชาง ถามิฉะนั้นใหกระทําดวยผาแดงแลวรรณธาตุอันใดอันหนึ่งที่มีสีอัน แดง พึงกระทําตามพิธีที่กลาวแลวในนีลกสิณ ตางแตบริกรรมจําเริญโลหิตกสิณนี้ใหบริกรรมวาโลหิต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 24 กัง ๆ รอยครั้งพันครั้งกวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนั้น ลักษณะแหงอุคหนิมิตแลปฏิภาค นิมิตนั้น ก็ปรากฏเหมือนกันกับนีลกสิณตางกันแตสี อุปจารฌานแลอัปปนาฌานก็จะบังเกิดเหมือน กลาวแลวในปฐวีกสิณ ฯ วินิจฉัยในโลหิตกสิณยุติแตเพียงนี้

จักวินิจฉัยโอทาตกสิณสืบตอไป ในโอทาตกสิณนั้น คือพระโคพจรพิจารณาเอาสิ่งที่ขาว เปนอารมณ พระโยคาพจรที่มีวาสนานั้นเล็งดูแตดอกไมสีขาวที่อยูในกอ แลดอกไมขาวอันบุคคลดาด บนอาสนะสักการบูชาเปนตนวาดอกมะลิ ถามิดังนั้นเล็งแลดูผาขาว แลวรรณธาตุอันใดอันหนึ่งที่มีสี ขาวนั้น อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตก็บังเกิด บางทีแลดูปริมณฑลแหงแผนดีบุกแลมณฑลแหงแผนเงิน แลมณฑลแหงพระจันทร อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตก็บังเกิด แลพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกบุคคล ปรารถนาจะจําเริญโอทาตกสิณนั้น พึงกระมณฑลกสิณดวยสิ่งอันขาว คือดอกไมขาวแลผาขาว แลวรรณธาตุที่ขาว ๆ พิธีกระทํานั้นก็เหมือนกันกับนีลกสิณ ตางแตบริกรรมในโอทาตกสิณนี้ให บริกรรมวา โอทาตัง ๆ ลักษณะแหงอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนั้น ก็ปรากฏเหมือนกับนีลกสิณ ตางกัน แตสี ฯ วินิจฉัยในโอทาตกสิณยุติแตเพียงนี้

จักวินิจฉัยในอาโลกสิณสืบตอไป พระโยคาพจรที่มีวาสนาไดจําเริญอาโลกสิณมาแตกอน เล็งแลดูแตแสงพระจันทรพระอาทิตยอันสองเขามาโดยชองฝาแลชองหนาตางเปนตน ที่ปรากฏเปน ปริมณฑลเปนวงกลมอยูที่ฝาแลพื้น ก็ไดสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตดวยงายดาย บางคาบอยูใน รุกขมูลรมไมมีใบอันทึบอยูในมณฑลอันมุงดวยกิ่งไมมีใบอันทึบแลเห็น พระอาทิตย พระจันทรอันสอง ลงมาปรากฏ เปนปริมณฑลอยูในพื้นพสุธาก็ไดสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิต เพราะเหตุที่มีวาสนา ไดสรางสมมาแตกอน แลพระโยคาพจรที่เปนอาทิกัมมิกบุคคลนั้น ถาจะจําเริญอาโลกสิณก็พึงพิจารณาจันทา โลกแลสุริยาโลก แสงพระจันทรพระอาทิตยสองมาโดยชองฝาเปนอาทิ แลปรากฏเปนปริมณฑลอยู ในฝาเปนอารมณแลวก็พึงบริกรรมวาโอภาโส ๆ ถามิฉะนั้นก็ใหบริกรรมวาอาโลโก ๆ กวาจะไดสําเร็จ อุคคหนิมิต ถายังมิอาจไดสําเร็จดวยพิธีดังนี้ ก็พึงเอาหมอมาเจาะเสียใหเปนชอง จึงเอาประทีปตามไว ขางใน ปดปากหมอเสียใหดีผินชองนั้นไวเฉพาะริมฝา แสงสวางที่ออกโดยชองนั้นจะปรากฏเปน ปริมณฑลอยูในฝา พระโยคาพจรจึงนั่งตามพิธีปฐวีกสิณแลว พึงพิจารณาเอาปริมณฑลที่ปรากฏในริม ฝานั้นเปนอารมณ พึงบริกรรมวาอาโลโก ๆ เถิด อันเจาะหมอใหเปนชองตามประทีปในหมอกระทํา ดังนี้ ปริมณฑลกสิณนั้นตั้งอยูนาน ไมแปรปรวนไปเร็ว ไมหายเหมือนจันทาโลกแลสุริยาโลกแสง จันทรพระอาทิตยที่ปรากฏโดยชองฝาเปนอาทิ เมื่อพระโยคาพจรกระทําบริกรรมวาอาโลโก ๆ รอยครั้งพันครั้งกวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตแล ปฏิภาคนิมิต อุคคหนิมิตในอาโลกสิณนั้นปรากฏดุจดังมณฑล อันปรากฏในฝาแลพื้นแผนดิน ปฎิภาค นิมิตนั้นผองใสเปนแทงทึบ เปรียบประดุจเปนกองแหงแสงสวาง แสงสวางอยางประหนึ่งวามาเปนกอง อยูในที่นั้น จตุตถฌานแลปญฐมฌานจักบังเกิดนั้น ก็เหมือนกลาวแลวในปฐวีกสิณ ฯ วินิจฉัยในอาโลกสิณยุติเพียงเทานี้

จักวินิจฉัยในอากาสกสิณสืบตอไป ในอากาสกสิณนี้ คือพระโยคาพจรพิจารณาเอาอากาศ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 25 เปนอารมณ พระโยคาพจรที่มีวาสนานั้น เห็นแตชองฝาแลชองดาลเห็นแตชองหนาตาง ก็ไดสําเร็จ อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตดวยงาย มิไดลําบากยากใจ พระโยคาพจรที่หาวาสนาหนหลังมิไดถึงจะ บําเพ็ญอากาสกสิณในปจจุบันชาตินี้ ก็พึงกระทําอากาสกสิณสําหรับจะไดเปนที่ตั้งจิต พึงตัดชองฝา มณฑปอันบุคคลมุงเปนอันดีนั้นใหเปนปริมณฑลกลมกําหนดโดยกวางนั้นใหได ๑ คืบกับ ๔ นิ้ว ถามิฉะนั้นจะเอาหนังเอาลําเเพนมาเจาะใหเปนชองกลมกวางคืบ ๔ นิ้ว แลวจะมาขึงไวในที่ เฉพาะหนาก็ตามมาเจาะใหเปนชองกลมกวางคืบ ๔ นิ้ว แลวจะมาขึงไวในที่เฉพาะหนาก็ตามเมื่อ กระทําชองดังนั้นแลว ก็พึงกระทําพิธีทั้งปวง เหมือนดังพิธีที่กลาวไวในปฐวีกสิณตั้งจิตไวในชองนั้น แลว ก็พึงบริกรรมวาอากาโส ๆ รอยครั้งพันครั้งมากกวารอยครั้งพันครั้ง กวาจะไดสําเร็จอุคคหนิมิตแล ปฏิภาคนิมิต อุคคหนิมิตในอากาสกสิณนี้ปรากฏเปนชอง เหมือนชองที่พระโยคาพจรกระทําที่สุดแหง ชองฝา แลที่สุดแหงชองหนังชองลําเเพนนั้นก็ปรากฏอยูในอุคคหนิมิต ครั้นนิมิตดําเนินขึ้นถึงที่เปน ปฏิภาคแลวก็ปรากฏแตอากาสศเปลาที่สุดแหงชองฝาชองหนังลําแพนนั้นไดปรากฏหามิได ปรากฏ เปนอากาศกลมอยูเทากันกับมณฑลกสิณ แตทวามีพิเศษที่แผออกไดเมื่อยังเปนอุคคหนิมิตอยูนั้นแผ ออกมิได ตอเปนปฏิภาคนิมิตแลวจึงแผออกได พิธีที่จะตั้งเตียงแลนั้งบัลลังกสมาธิหลับจักษุแลลืม จักษุ พิจารณาโทษกามคุณ แลอานิสงสฌานแลระลึกถึงพระรตนัตยาทิคุณนั้น พึงกระทําตามพิธีที่ กลาวแลวในปฐวีกสิณนั้น ฯ จบกสิณ ๑๐ แตเทานี้

พระทศพลสัมมาสัมพุทธเจา พระองคเปนผูรูจริงเห็นจริงในสรรพไญยธรรมทั้งปวง ไดทรง แสดงกสิณ ๑๐ อยางทางสมถภาวนาวิธีอันเปนเหตุจะใหบรรลุถึงจตุตถฌานแลปญจมฌานในรูปาพจร ภูมิโดยนัย ที่ไดรับรวมแสดงมานี้เปนสําคัญ ฯ ก็แลเมื่อผูโยคาพจรศึกษารอบรูในกสิณพิธี ตามกสิณภาวนานัยดังนี้แลว ตอนั้นไปก็ควรจะ ศึกษาใหรูในปกิรณกพิธี ทางอิทธิฤทธิ์ตาง ๆ อันจะไดอานุภาพกสิณที่บุคคลจําเริญใหเต็มที่ถึงจตุตถ ฌานนั้น ฯ ในกสิณทั้ง ๑๐ นี้ สวนปฐวีกสิณ เมื่อพระโยคาพจรจําเริญถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลว ก็ สามารถจะอธิษฐานจิตนฤมิตรูปสิ่งของตาง ๆ เปนตนวา นฤมิตคนเดียวใหเปนคนมาก ใหคนมากเปน คนเดียวได แลทําอากาศแลน้ําใหเปนแผนดินแลวเดินยืนนั่งนอนในที่นั้นไดดังประสงค ฯ แลพระโตคาพจร อันจําเริญอาโปกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอษิษฐานจิต นฤมิตแผนดินใหเปนน้ําแลวดําผุดไปไดในแผนดินแลทําฝนใหตกลงได แลนฤมิตใหเปนแมน้ําหวย หนองใหญนอยเกิดขึ้นได แลทําพื้นที่รองภูเขาแลปราสาทเปนตน ใหเปนน้ําแลวโยคคลอนภูเขาเปน ตนใหไหวไดดังประสงค ฯ และพระโยคาพจร อันจําเริญเตโชกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอษิฐานจิต นฤมิตใหบังเกิดควันกลุมแลเปลวไฟสวางได แลทําในถานเพลิงใหตกลงได แลปรารถนาจะเผาสิ่งใด ๆ ก็อาจกระทําใหเกิดไฟ เผาสิ่งนั้นใหไหมได แลทําใหบังเกิดแสดงไฟสวางแลเห็นรูปในที่ไกลที่ใกล ดังวาเห็นดวยตาทิพย แลพระอรหันตทานที่มีเตโชกสิณสมาบัติคราวเมื่อปรินิพพาน ทานสามารถ จําเริญใหเกิดเตโชธาตุเผาสรีรกายของทานไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญวาโยกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐานจิต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 26 แลกระทําใหเปนตัวลอยไปตามลมหรือทวนลมไดแลทําใหลมนอยใหญเกิดไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญนีลกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐานจิต นฤมิตใหรูปเขียว แลทําใหเกิดมืดเขียวคลุมแลทําสิ่งอื่น ๆ ที่สุกใสงามดีใหเสียสีไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญปตกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถอธิษฐานจิต นฤมิตรูปใหมีสีเหลือง แลทําสีอื่น ๆ ใหหมนหมองใหเปนสีผองใสเหลืองดีไดดังประสงค ฯ พระโยคาพจร อันจําเริญโลหิตกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐานจิต นฤมิตรูปใหมีสีแดง แลทําสีอื่นใหเปนสีแดงไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญโอทาตกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐาน จิต นฤมิตรูปใหมีสีขาว แลทํางวงเหงาใหตั้งอยูไกล แลมืดมนใหคลายไป แลทําใหเปนแสงสวางแล เห็นรูปสิ่งของทั้วปวง ดังวาเห็นดวยตาทิพยไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญอาโลกกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐาน จิต นฤมิตรูปใหสวางดวยรัศมี แลงวงเหงาใหตั้งอยูไกล แลทําใหเกิดแสงสวางแลเห็นรูปสิ่งของทั้ง ปวงดังวาเห็นดวยตาทิพยไดดังประสงค ฯ แลพระโยคาพจร อันจําเริญอากาสกสิณถึงจตุตถฌานภูมิเต็มที่แลวก็สามารถจะอธิษฐาน จิต ทําที่ปกปดมิดชิดใหเปดเผย แลนฤมิตใหเกิดอากาศชองวางขึ้นภายในแผนดิน แลภายในภูเขา แลวเขาไปยืนเดินนั่งนอนได แลทะลุไปในที่กั้นกําลังไดดังประสงค ฯ กสิณ ๑๐ นี้ วิธีที่จะอธิษฐานจิต นฤมิตใหเปนอยางหนึ่งอยางใดนั้น เมื่อพระโยคาพจร จําเริญกสิณสวนหนึ่งสวนใด ไดเขาถึงจตุตุฌาน ควรเปนที่ตั้งอภิญญาแลว เมื่อจะอธิษฐานจิตตอง ออกจากจตุตถฌานนั้น แลวจึงยกเรื่องที่ตนประสงคนั้นขึ้นเพงรําพึงอยูใหมั่น ครั้นแลวจึงยกเรื่องที่ ประสงคนั้นขึ้นบริกรรม แลวกลับเขาถึงจตุตถฌานอีกขณะจิตหนึ่งแลว จึงออกจตุตถฌานอีก แลวจึง อธิษฐานตั้งจิตทับลงวา ของสิ่งนี้ ๆ จึงเปนอยางนี้ ๆ พอตั้งจิตอธิษฐานลง สิ่งที่ประสงคนั้นก็เปนขึ้น ในขณะทันใดนั้น ฯ จบกสิณ ๑๐ ประการแตเพียงนี้ ***********

กสิณานฺนตรํ อุทิฎเฐสุ ปน อุทฺธุมาตกํ ฯลฯ ปน อุทฺธุมาตตฺตา อุทฺธุมาตกํ ในลําดับ กสิณนิเทศนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาผูตกแตงพระคัมภีรวินิจฉัยในอสุภกรรมฐาน ๑๐ คือ อุทธุมาต กอสุภ ๑ วินีลกอสุภ ๑ วิปุพพกอสุภ ๑ วิฉิททกอสุภ ๑ วิกขายิตกอสุภ ๑ วิกขิตตกอสุภ ๑ หต วิกขิตกอสุภ ๑ โลหิตกอสุภ ๑ ปุฬุวกอสุภ ๑ อัฏฐิกอสุภ ๑ เปน ๑๐ ทอนดังนี้ อุทธุมาตกอสุภนั้น คือรางกายผีอันพองขึ้นโดยลําดับ จําเดิมแตวันสิ้นแหงชีวิตพอบวมขึ้น บริบูรณ ไปดวยลม วินีลกอสุภนั้น คือรางผีอันมีสีตาง ๆ คือสีแดงสีขาวสีเขียวเจือกัน มีสีอันแดงในที่ อันมีเนื้อมาก มีสีขาวในที่ประกอบดวยหนอง มีสีอันเขียวโดยมากดุจคลุมไปดวยผาสาฎกอันเขียว อาศัยที่มีเขียวโดยมากจึงชื่อวาวินีลกอสุภ วิปุพพกอสุภนั้น คือรางผีอันมีน้ําเหลืองแลหนองอันไหล ออกมาในที่อันปริแลเปอยพังออกนั้น วิฉิททกอสุภนั้น คือรางผีอันขาดเปน ๒ ทอน ทอนกลาง มีกาย ขาดขจัดขจายจากกัน วิกขายิตกอสุภนั้น คือซากผีอันสัตวทั้งปวงเปนตนวาสุนัขบานจิ้งจอกกัดทึ้ง ยื้อแยงโดยอาการตาง ๆ แตขางโนนแลขางนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 27 วิกขิตตกอสุภนั้น คือซากผีอันบุคคลทิ้งไวใหตกเรี่ยรายอยูในที่นั้น ๆ มืออยูขาง ๑ เทาอยู ขาง ๑ ศีรษะอยูขาง ๑ หตวิกตตกอสุภนั้น คือซากผีอันบุคคลผูเปนเวรสับฟนดวยเครื่องศาสตราวุธใน อังคาพยพใหญนอยเปนริ้วเปนรอยกากบาท โลหิตกอสุภนั้น คือรางผีอันแปดเปอนดวยโลหิต อัน ไหลเอิบอาบออกจากสรีรประเทศนั้น ๆ ปุฬุวกอสุภนั้น คือรางผีอันเต็มบริบูรณดวยกิมิชาติ หมูหนอน เบียนบอนคลายอยูทั่วสรีรประเทศตาง ๆ อัฏฐิกอสุภนั้น คือซากผีมีแตรางกระดูกทั้งสิ้นแลมีอยูแต กระดูกอันเดียวก็ไดชื่อวาอัฏฐิกอสุภ โยคาพจรกุลบุตรปรารถนาจะยังอุคคหนิมิต อันชื่อวาอุทธุมาตกะใหบังเกิดในอุทธุมาตกนั้น แลวจะจําเริญอุทธุมาตกฌานพึงเขาไปสูสํานักอาจารย ผูจะใหพระกรรมฐานโดยนัยอันกลาวแลวใน ปฐวีกสิณพึงเรียนพระกรรมฐานในสํานักอาจารยนั้น เมื่อพระอาจารยจะบอกพิธีอันจะไป เพื่อประโยชน จะถือเอาซึ่งอสุภนิมิตนั้น ใหบอกซึ่งกิริยาอันจะกําหนดซึ่งนิมิตโดยรอบคอบ ๑ ใหบอกซึ่งลักษณะอัน จะถือเอาดวยอุคคหนิมิต ๑๑ ประการนั้น ๑ ใหบอกซึ่งกิริยาอันพิจารณาหนทางอันจะไปแลมานั้น ๑ พึงบอกซึ่งวิธีทั้งปวงตราบเทาถึงอัปปนาเปนปริโยสานแกศิษยผูจะเรียนจงถวนถี่ทุกประการ พระโยคาพจรเรียนพิธีทั้งปวงไดชํานาญดีแลว ใหเขาไปในเสนาสนะประกอบดวยองค ๕ ประการดังพรรณนามาแลวในกสิณนิเทศ พึงแสวงหานิมิตคือซากผีอันซึ่งพองขึ้นมานั้น ถาแลพระ โยคาพจรไดขาวเขาบอกวารางผีซึ่งพองขึ้นนั้น เขาทิ้งไวแทบประตูบานอันมีชื่อโพนก็ดี ในปากปาใน หนทางก็ดี แถบเชิงเขาแลรมไมในปาชาก็ดี อยาพึงไปในขณะอันไดฟงจะเกิดอันตรายในระหวางการ ดุจบุคคลอันดวน ๆ ลงไปสูแมน้ํานทีธาร อันเต็มบริบูรณโดยใชทาแลเกิดอันตรายตาง ๆ เปนตนวาตก ลงไปดวยสามารถหาวิจารณปญญามิได เหตุรางอสุภนั้นพาลมฤครายกาจหยาบชาหวงแหนรักษาอยูก็ ดี บางทีฝูงอมนุษยสิ่งสูอยูก็ดี จะกระทําอันตรายแกชีวิตแหงพระโยคาพจรอันไปโดยดวนแลมิได พิจารณานั้น ถาไปแทบประตูบานแลไปโดยทาอาบน้ําแลปลายนาก็ดี จะไปพบวิสภาคารมณแลว คือรูป สตรีภาพอันอยูแทบหนทางนั้น น้ําจิตก็จะเกิดกําหนัดในรูปสตรีภาพจะสํารวมจิตไวมิได อนึ่งซากอุทธุ มาตกนั้น ถาเปนซากอสุภสตรีก็บมิเปนที่สบายแหงพระโยคาพจร เหตุกายบุรุษเปนวิสภาคคือมิไดเปน ที่ชอบอารมณ ในที่จะจําเริญภาวนาแหงสตรีภาพ กายแหงสตรีภาพมิไดชอบอารมณแหงบุรุษ ซาก เฬวระนั้นตายลงใหม ๆ ก็จะปรากฏแกพระโยคาพจร โดยสุภารมณอันเหมาะงาม จะมิไดเปนที่อนิจจัง สังเวช เมื่อพระโยคาพจรเห็นซากเฬวระเปนสุภารมณขมจิตไว ไมหยุดแลวก็จะเปนอันตรายแกศา สนะพรหมจรรย ถาแลพระโยคาพจรมีสติตั้งอยูตักเตือนอาตมาวา กิริยาที่จะมาสํารวมรักษาจิตไวมิให มีภัยในพรหมจรรยแตเพียงนั้นจะไดหนักจะไดยากแกภิกษุผูมีปญญาอยางอาตมานี้หามิได เมื่อมีสติ ตั้งอยูตักเตือนตนไดดังนี้แลวก็พึงไปเถิด เมื่อจะไปนั้นพึงใหบอกกลาวร่ําลาแกพระสงฆเถระ แล พระภิกษุองคอื่นอันมีพาสนาอันปรากฏแลวจึงไป เหตุวาไปสูปาชานั้น ครั้นไดเห็นรูปแลไดฟงเสียงผีแลราชสีหแลเสือโครงเปนอาทิแลวจะ เกิดการกําเริบน้ําจิต ๆ จะสงบอยูมิไดอังคาพยพจะหวั่นไหว มิฉะนั้นขุกอาพาธอันบังเกิดขึ้น ทานจะได ชวยรักษาบาตรแลจีวรในวิหารไวมิใหเปนอันตราย อนึ่งทานจะไดใชภิกษุหนุมแลสามเณรออกไปให ชวยปฏิบัติ อนึ่งมหาโจรที่กระทํากรรมแลวก็ดี ปรารถนาจะกระทําโจรกรรมแตยังมิไดกระทําก็ดี มัก สําคัญเขาใจวาปาเปนที่ปราศจากรักเกียจแกคนทั้งปวง ๆ ไมมีความสงสัยเขาใจดังนี้แลวก็มักมา ประชุมกันอยูในปาชา เมื่อคนทั้งปวงเขาติดตามไป มหาโจรจวนตัวเขาแลว ก็จะทิ้งหอทรัพยไวในที่ ใกลแหงพระภิกษุแลวก็จะพากันหนีไป คนทั้งปวงก็จะจับเอาวาเปนโจรแลจะบียนโบยตีไดความ ลําบาก พระมหาเถระแลภิกษุหนุมที่มีบุญวาสนานั้น ทานจะไดวากลาวปองกันวาอยาเบียดเบียน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 28 เจากูรูปนี้เลย เจากูรูปนี้ไดบอกกลาวแกเราแลว จึงไปดวยการกรรมอันนี้ตางหากจะไดไปกระทํา โจรกรรมฉกลักหามิได ทานวากลาวหามปรามดังนี้แลวทานก็จะกระทําใหเปนสุนทรสิริสวัสดิ์สถาพร อันบอกกลาวเสียกอนแลวจึงไปนั้นมีอานิสงสดังนี้ เหตุดังนั้น พระโยคาพจรบอกกลาวไวใหเปนพยาน ดังนี้แลว พึงใหมีความรักความยินดีชื่นชมโสมนัสในที่จะไดเห็นอสุภนิมิตนั้น ดุจขัตติยราชกุมารอัน ยินดี เสด็จไปที่อภิเษกมงคลสถาน มิฉะนั้นดุจบุคคลผูเปนทานาธิบดีอันชื่นชมยินดีไปสูโรงทาน มิฉะนั้นดุจคนเข็นใจไปสูขุมทรัพย เมื่อพระโยคาพจรจะไปเยี่ยมปาชานั้น เพื่อจะขมขี่น้ําจิตของตนใหพนจากนิวรณโทษทั้ง ๕ ประการนั้น พึงตีระฆังประชุมฆทั้งปวงใหพรอมกันแลวจึงไป เมื่อจะไปนั้นพึงใหพระกรรมฐานเปน ประธานใหไปแตองคเดียว อยามีเพื่อนเปน ๒ อยาไดละเสียซึ่งมูลกรรมฐานเดิม มีพุทธานุสสติเปนตน ที่ตนคอยบําเพ็ญมากอน ดวยอาโภคจิตวาอาตมะไปบัดนี้ เพื่อจะถือเอาซึ่งอุทธุมาตกอสุภกรรมฐาน ใหกระทํามูลกรรมฐานไวในใจแลว พึงใหถือเอาไมเทาเพื่อจะปองกันเสียซึ่งอันตรายอันเกิดแตสุนัขใน ปาชาเปนตน พึงตั้งสติใหมั่นในมูลกรรมฐาน พึงสํารวมอินทรีย ๖ ใหสงัดไวภายใน อยาทําน้ําใจไว ภายนอก เมื่อจะออกจากวิหารนั้นพึงกําหนดประตูวา อาตมะออกจากประตูอันมีชื่อโพน อนึ่ง พึงใหกําหนดหนทางที่ตนไปนั้นวา หนทางอันนี้ตรงไปขางทิศตะวันตก ทิศเหนือทิศ ใตตรงไปสูอนุทิศแหงทิศใหญ ๆ นั้น อนึ่งพึงสังเกตกําหนดวา หนทางอันนี้มาถึงที่นี้แวะไปขางขาง ซายมาถึงที่นี้แวะไปขางขวา กอนศิลาอยูขางนี้ จอมปลวกอยูขางนี้ ตนไมกอไมเครือเถาวัลยขาง ๆ นี้ สังเกตกําหนดดังนี้แลว พึงไปสูพิจารณาอุทธมาตกอสุภนิมิต เมื่อจะไปนั้นอยาไปใตลม กลิ่นซากเฬ วระจะสัมผัสฆานประสาทแลวจะพึงยังสมองศีรษะใหกําเริบ มิฉะนั้นจะยังอาหารใหเกิดการกําเริบออก จากปาก มิฉะนั้นจะพึงใหเกิดวิปฏิสารเดือดรอน วาอาตมะมาสูที่กเฬวระเห็นปานดังนี้พึงใหพระ โยคาพจรเวนทางใตลมเสีย แลวใหไปเหนือลม ผิวาหนทางขางเหนือลมนั้นเดินไมได ดวยมีภูเขาแลกอนศิลาใหญแลรั้วแลหนามนั้นกําบัง อยูในระหวางหนทางขางเหนือลมนั้น เปนเปอกตมเปนน้ําเปนโคลนอยู ก็พึงใหพระโยคาพจรเอามุม จีวรปดนาสิกเสียแลวพึงไปเถิด เมื่อไปถึงแลวอยาเพิ่งเล็งแลอสุภนิมิตพึงใหกําหนดเสียกอน คือพระ โยคาพจรยืนอยูทิศบางแหงนั้นซากอสุภไมถนัด น้ําจิตไมควรภาวนากรรม ก็ใหเวนเสียอยายืนอยูใน ทิศอันั้น ใหไปยืนอยูในที่ไดเห็นซากอสุภถนัด น้ําจิตจะไดควรแกกรรมฐานภาวนา และอยายืนในที่ใตลมกลิ่นอสุภจะเบียดเบียน จิตจะ ฟุงซานไปในอารมณตาง ๆ อยายืนขางเหนือฝูง อมุนษยที่สิ่งอยูในซากอสุภนั้นจะโกรธแลวจะกระทํา ความฉิบหายใหตาง ๆ พึงใหพระโยคาพจรหลีกเลี่ยงเสียสักหนอย อยายืนขางเหนือลมยิ่งนัก อนึ่ง เมื่อจะยืนนั้นอยาใหใกลนัก อยายืนใหชิดเทานักชิดศีรษะนัก เพราะวาพระโยคาพจรยืนไกลซากอสุภ มิไดปรากฏประจักษแจง ยืนใกลนักเกิดภัยอันตรายยืนชิดเทาชิดศีรษะนัก จะมิไดพิจารณาเห็นอสุภ สิ้นทั้งหลาย เหตุดังนั้นพระโยคาพจรอยายืนใหใกลนัก พึงยืนในที่ทามกลางแหงตัวอสุภอันเปนที่ สบายเมื่อยืนอยูดังนี้ ผิวากอนศิลามีอยูริมรูปอสุภนิมิต แลกอนศิลานั้นปรากฏแกจักษุของพระโยคาพจร ก็ให พระโยคาพจรสังเกตกําหนดใหรูตระหนักวา กอนศิลาอยูตรงนี้ อสุภนิมิตอยูตรงนี้ สิ่งนี้คือกอนศิลา สิ่ง นี้คืออสุภนิมิต อนึ่งผิวาจอมปลวกอยูใกลซากอสุภ ก็พึงใหพระโยคาพจรกําหนดใหรูตระหนัก วาจอม ปลวกอันนี้สูงต่ําเล็กใหญและดําขาวยาวสั้นกลมเปนปริมณฑล แลวพึงใหกําหนดสืบไปวาจอมปลวก อยูตรงนี้ อสุภนิมิตนี้ สิ่งนี้คือจอมปลวก สิ่งนี้คืออสุภนิมิต อนึ่งผิวาตนไมมีใกลซากอสุภ ก็พึงใหพระโยคาพจรกําหนดใหแน วาไมนี้เปนไมโพไทรไม เตารางไมเลียบ สูงต่ําดําขาวเล็กใหญอยางนี้ ๆ แลวใหกําหนดตอไปวา ไมอยูตรงนี้ ซากอสุภอยูตรง นี้ สิ่งนี้ตนไมสิ่งนี้คือซากอสุภนิมิต ผิวากอไมอยูใกลซากอสุภก็พึงกําหนดใหรูวา กอไมอันนี้เปนกอไม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 29 เหยี่ยว อันนี้เปนกอชบา อันนี้เปนกอวานชาง กอนี้สูง กอนี้ต่ํา กอนี้เล็ก กอนี้ใหญ แลวใหพึงกําหนด ตอไปวากอไมอยูตรงนี้ อสุภนิมิตอยูตรงนี้ อนึ่งผิวาเครือเถาอยูใกลซากอสุภ ก็พึงใหพระโยคาพจร กําหนดใหแนวาเครือเถานี้เปนเครือฟกเปนเครือถั่วทอง เปนเครือเถาหญานาง เปนเครือเถากระพัง โหม แลวพึงกําหนดสืบตอไปวา เครือเถาอยูตรงนี้ อสุภนิมิตอยูตรงนี้ สิ่งนี้เปนเครือเถา สิ่งนี้เปนอสุภ นิมิต พระโยคาพจรกําหนดดังนี้แลว อันดับนั้นพึงใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยอาการ ๖ คือถือโดยสี ๑ โดยเพศ ๑ โดย สัณฐาน ๑ โดยทิศ ๑ โดยที่ตั้ง ๑ โดยกําหนด ๑ เปนอาการ ๖ ถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยสีนั้น คือใหกําหนดวาซากอสุภ อันนี้เปนรางกายของคนดํา อันนี้เปนรางกายของคนขาว อันนี้เปนรางกาย ของคนที่มีผิวหนังอันพรอยลาย ถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยเพศนั้น อยาพึงกําหนดรางกายอันเปน เพศสตรี อันนี้เปนเพศบุรุษ พึงใหกําหนดแตวาซากอสุภอันนี้เปนรางกายแหงบุคคลอันตั้งอยูใน ปฐมวัย อันรางกายแหงบุคคลอันตั้งอยูมัชฌิมวัยอันนี้เปนรางกายแหงบุคคลอันตั้งอยูในปจฉิมวัย กําหนดโดยสัณฐานแหงอุทธุมาตก วาสิ่งนี้เปนสัณฐานศีรษะ สิ่งนี้เปนสัณฐานคอ สิ่งนี้เปน สัณฐานมือ สิ่งนี้เปนสัณฐานทอง สัณฐานนาภี สัณฐานสะเอว เปนสัณฐานขา สิ่งนี้เปนสัณฐานแขง สิ่งนี้เปนสัณฐานเทา กําหนดโดยทิศนั้นคือใหกําหนดวา ในซากอสุภนี้มีทิศ ๒ ทิศ คือทิศเบื้องต่ํา ทิศ เบื้องบน ทองกายเบื้องต่ํา ตั้งแตนาภีลงมาเปนทิศเบื้องต่ํา ทอนกายบน ตั้งแตนาภีขึ้นไปเปนทิศเบื้อง บน นัยหนึ่งพึงใหพระโยคาพจรกําหนดทิศที่ยืน แลทิศที่อยูแหงซากอสุภ วาอาตมายืนอยูในทิศอันนี้ ซากอสุภกลิ้งอยูในทิศอันนี้ ใหกําหนดทิศเปน ๒ อยางดังนี้ ซึ่งวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยที่ตั้งนั้น พึงใหกําหนดวาซากอสุภที่กลิ้งอยูนี้ มืออยู ที่นี้ เทาอยูที่นี้ ศีรษะอยูดังนี้ ทามกลางกายอยูที่นี้ นัยหนึ่งพึงใหกําหนดที่ยืนแหงตน แลที่อยูแหง ซากอสุภ วาอาตมายืนอยูที่นี้ ซากอสุภกลิ้งอยูที่นี้ พึงใหกําหนดที่ตั้งเปน ๒ อยางดังนี้ จงวาใหถือเอา อุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยปริเฉทนั้น คือใหกําหนดวาซากอสุภนี้กําหนดในเบื้องต่ําดวยเทา กําหนดใน เบื้องบนดวยปลายผม กําหนดโดยกวางดวยหนังเต็มไปดวยเครื่องเนา ๑๒ สิ่งสิ้นทั้งนั้น นัยหนึ่งวาให ถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยปรเฉทนั้น คือใหกําหนดหัตถาทิอวัยวะสิ่งนี้เปนมือสิ่งนี้เปนศีรษะ สิ่งนี้ เปนกลางตัวเเหงอุทธุมาตกอสุภนิมิต พระโยคาพจรพิจารณาที่เทาใดวาเปนอุทธุมาตกะ ก็พึงให กําหนดเอาที่เทานั้นวาหัตถาทิอวัยวะทั้งปวงนี้ก็คงจะพองขึ้นเห็นดังนี้ นาเกลียดนาหนาย อนึ่งพระโยคาพจรไมควรพิจารณารางกายสตรีภาพใหเปนอุทธุมาตกะกรรมฐาน เหตุวากาย สตรีภาพไมควรบุรุษจะพิจารณาเปนพระกรรมฐาน รางกายแหงบุรุษไมควรสตรีภาพจะพิจารณาเปน พระกรรมฐาน รางกายแหงบุรุษแลรางกายแหงสตรีภาพนี้เปนวิสภาคแกกัน อสุภรมณมิไดปรากฏในรูป กายอันเปนวิสภาค ๆ เปนเหตุจะใหน้ําจิต กําเริบฟุงซานไปดวยกิเลสมีราคะเปนตน ขอหวงมีพระบาลี ในอรรถกถามัชฌิมนิกายวา อุคฺฆาฏิตาป หิ อิตฺถิ ปุริสสฺส จิตฺตํ ปริยาทาย ติฏฐติ เนื้อความวา แทจริงรางกายแหงสตรีภาพนั้น แมวาจะเปนอุทธุมาตกเทาพองอยูก็ดี ก็อาจยังจิตแหงบุรุษใหเหือด แหงไปดวยกามราคะได เหตุดังนี้ คือใหพระโยคาพจรถือเอาอุทธุมาตกนิมิตโดยอาการ ๖ แตรางกาย อันเปนสภาพสิ่งเดียว พระโยคาพจรจําพวกใดไดเสพพระกรรมฐานแลรักษาธุดงคเปนตน แตครั้งพระศาสนาพระพุทธเจาปางกอน พระโยคาพจรจําพวกนั้นแตพอเล็งแลดูอุทธุมาต กอสุภ ก็จะไดปฏิภาคนิมิตโดยงาย มิพักลําบาก ผิวาพระโยคาพจรเล็งแลดูอุทธุมาตกอสุภแลว ปฏิภาคนิมิตไดปรากฏ ก็พึงใหพิจารณาอุทธุมาตกนิมิตโดยอาการดังนี้แลว ปฏิภาคนิมิตยังไมบังเกิด ปรากฏ ก็พึงใหพระโยคาพจรพระองคนั้น ถืออุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยอาการ ๕ อีกเลา อาการ ๕ นั้น คือใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยที่ตอ ๑ โดยระหวาง ๑ โดยที่ต่ํา ๑ โดยที่สูง ๑ โดยรอบคอบ ๑ เปนอาการ ๕ สิริทั้งใหมทั้งเกาเขาเปน ๑๑ ซึ่งวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยที่ตอนั้น ใหพิจารณา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 30 เอาแตที่ตอใหญอันปรากฏแลที่ตอในรางกายมีถึง ๑๘๐ คือ ที่ตอนอย ๑๖๖ ที่ตอใหญ ๑๔ ที่ตอนอย นั้นเล็กละเอียดนักอยาพึงพิจารณาเอาเปนอารมณเลย ใหพิจารณาเองแตที่ตอใหญอันปรากฏ คือ มือ เบื้องขวามีที่ตอ ๓ มือเบื้องซายมีที่ตอ ๓ เทาซายเทาขวามีที่ตอขางละ ๔ คือมีที่ตออันละ ๑ สะเอวมี ที่ตออัน ๑ เปนที่ตอใหญ ๑๔ แหงดังนี้ ชื่อวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยระหวางนั้น คือใหพพิจารณาโดยระหวางทั้งปวง คือ ระหวางแหงมือเบื้องขวาแลขางเบื้องขวา คือระหวางมือเบื้องซายแลเบื้องซาย คือทามกลางเทาทั้ง ๒ คือนาภีเปนที่ทามกลางแหงทองคือ ชองแหงหู (อิติศัพทเปนอรรถแหงอาทิศัพทสงเคราะหเอา ชองจมูกเปนตนดวยนั้น ) อธิบายวาใหพระโยคาพจรกําหนดใหรูแทวา อทุธุมาตก อสุภนี้หลับตาลืม ตาอาปากหุบปาก ซึ่งวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยที่ต่ํานั้น คือใหพระโยคาพจรกําหนดที่ลุมที่ ต่ําในอุทธุมาตก คือ หลุมคอ หลุมคอภายในปาก นัยหนึ่งวาใหกําหนดเอาที่ยืนของตนวา อาตมะยืนอยูในที่ต่ํา อุทธุมาตกอยูในที่สูง กําหนด ที่ต่ํานั้นพึงกําหนดใหเปน ๒ อยาง ดังนี้ ซึ่งวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนี้มีที่สูงนั้น คือใหพระ โยคาพจรกําหนดวา อุทธุมาตกอสุภนี้มีที่สูง ๓ แหง คือ เขา ขา หนาผาก นัยหนึ่งวา ใหกําหนดที่ยืน ของตน วาอาตมายืนอยูที่สูง ซากอสุภอยูในที่ต่ํา กําหนดที่สูงนั้นพึงใหกําหนดเปน ๒ อยางดังนี้ ซึ่งวาใหถือเอาอุทธุมาตกอสุภนิมิตโดยรอบคอบนั้น คือใหพระโยคาพจรกําหนดอุทธุมาต กอสุภนั้นใหจงทั่ว เมื่อพระโยคาพจรหยั่งปญญา ใหสัญจรไปในอุทธุมาตกอสุภ โดยอาการ ๕ ดังนี้ แลว ที่อันใดในซากอสุภปรากฏโดยอาการเปนอุทธุมาตก ก็พึงใหพระโยคาพจรตั้งจิตไววาที่อันนี้เปน อุทธุมาตก ผิวาที่อันใดอันหนึ่งมิไดปรากฏโดยอาการเปนอุทธุมาตกเลย ก็ใหพระโยคาพจรกําหนด เอากายเบื้องบนมีพื้นทองเปนที่สุด เหตุที่อันนั้นเนาพองยิ่งกวาที่ทั้งปวงแลว พึงตั้งจิตไววา ที่อันนี้ เปนอุทธุมาตก พระโยคาพจรพึงถือเอานิมิตในซากอสุภนั้นใหดีดวยสามารถอุทธุมาตกนิมิต มีพรรณ เปนตน แลมีสันธิเปนปริโยสานอันควรแกกลาวแลว พึงตั้งสติใหดีแลวพิจารณาเนือง ๆ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณานั้น จะยืนก็ไดจะนั่งก็ไดไมมีกําหนด แตทวาอยาอยูใหไกลนัก ใกลนัก อยูแตพอประมาณ แลวพิจารณาเห็นอานิสงสในอสุภกรรมฐานนั้น สําคัญวาดวงแกว ตั้งไวซึ่ง ความเคารพรักใครจงหนัก ผูกจิตไวในอารมณ ถืออสุภนั้นใหมั่นดวยดําริวา อาตมาจะพนจากชราแล มรณะดวยวิธีปฏิบัติอันนี้แลว ลืมจักษุขึ้นเล็งแลดูอสุภถือเอาเปนนิมิตแลว พึงจําเริญบริกรรมภาวนาไป วา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ รอยคาบพันคาบ ลืมจักษุขึ้นแลวเล็งแลดูแลวพึงหลับลงพิจารณาเลา ควรจะลืมจึงจะลืมควรจะหลับจึงหลับ เมื่อพระโยคาพจรกระทําเนือง ๆ ดังนี้ ไดชื่อวาถือเอาอุคคหนิมิตเปนอันดี ปุจฉาถามวา ถือเอาอุคคห นิมิตเปนอันดีนั้นในกาลใด วิสัชนาวา เมื่อพระโยคาพจรลืมจักษุขึ้นเล็งแลดูแลวหลับลงพิจารณาเลา อันวานิมิตคือซากอสุภนั้น เขาไปปรากฏในละเวกหวางวิถีจิตของพระโยคาพจรเหมือนเมื่อแลดู ดวย จักษุ เปนอันเดียวกันในกาลใด ก็ไดชื่อวาพระโยคาพจรถือเอาอุคคหนิมิตเปนอันดี พิจารณาเปนอันดี กําหนดเปนอันดีดังนี้แลว ผิวาพระโยคาพจรนั้นมิอาจถึงที่สุดสําเร็จแหงภาวนา คือ ปฐมฌานในที่นั้น ก็พึงใหกลับมา สูเสนาสนะ เมื่อจะกลับมานั้น พึงปฏิบัติใหเหมือนเมื่อแรกจะไปพิจารณาซากอสุภ ใหกลับมาแตผู เดียวอยามีเพื่อ พึงใหกระทําอสุภกรรมฐานนั้นไวในใจ พึงตั้งจิตไวใหมั่น สํารวมอินทรียไวใหสงบอยู ภายใน อยาทําน้ําใจอยูภายนอก เมื่อจะออกจากปาชานั้น พึงใหกําหนดหนทางกลับใหตระหนักแนวา หนทางอันนี้ไปขางเหนือขางใตตะวันตกตะวันออก หนทางอันนี้แวะไปซาย หนทางอันนี้แวะไปขวา มี กอนศิลาแลจอมปลวกตนไม แลกอไมเครือเขาเถาวัลยเปนสําคัญอยูขางนี้ ๆ พระโยคาพจรกําหนด หนทางแลวกลับมาสูเสนาสนะดวยประการดังนี้แลว เมื่อจะจงกรมนั้นพึงใหจงกรมในประเทศพื้นแผนดิน อันจําเพาะหนาตอทิศที่อยูแหงอสุภ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 31 นิมิต แมจะนั่งภาวนาก็พึงปูอาสนะใหเฉพาะหนาสูทิศที่อยูแหงอสุภนิมิตนั้น ถามีแหวแลตนไมแลรั้ว กีดขวางอยู พระโยคาพจรมิอาจจะเดินจงกรม มิอาจจะตกแตงอาสนะที่นั่งใหจําเพาะสูทิศอันนั้นได เหตุไมมีที่วางที่เปลา ก็อยาพึงใหพระโยคาพจรเล็งแลดูทิศที่อยุแหงอสุภนิมิต พึงใหตั้งจิตจําเพาะตอ ทิศที่อยูแหงอสุภนิมิตแลว ก็พึงใหเดินจงกรมแลนั่งภาวนาในประเทศอันสมควรนั้นเถิด ฯ จักวินิจฉัยในเนื้อความ ๓ ขอ คือ กําหนดในนิมิตโดยรอบคอบ ๑ คือ ถือเอาอุทธุมาตกอ สุภนิมิตโดยอาการสิบเอ็ด ๑ คือพิจารณาหนทางอันไปแลมา ๑ เปนเนื้อความ ๓ ขอดังนี้ ซึ่งวาใหพระ โยคาจรกําหนดในที่นิมิตโดยรอบคอบนั้น มีคุณานิสงสคืออุทธุมาตกอสุภนิมิตในเขลาเอันมีควรจะไป คือ เวลาสังวัธยายแลกําหนดนิมิตมีไมเปนตนโดยรอบคอบแลวลืมจักษุขึ้นเล็งแลดูซากอสุภ เพื่อจะ ถืออุคคหนิมิต อันวาอุทธุมาตกอสุภนั้น ปรากฏดุจลุกขึ้นหลอกหลอนแลวยืนอยู มิฉะนั้นปรากฏดุจหนึ่งวา เขาครอบงําพระโยคาพจร มิฉะนั้น ปรากฏดุจแลนไลติดตามมา เมื่อพระโยคาพจรเห็นอารมณอันพึง กลัว แปลกประหลาดเหมือนภูตปศาจดังนั้น ก็จะมีจิตกําเริบเปนสัญญาวิปลาสปราศจากสมปฤดี ดุจ คนขลาดผีแลบาผีสิงแลวจะสะดุงตกใจ ใหกายเกิดกัมปนาทมีโลมชาติอันชูชันทั่วสรรพางค เหตุพระกรรมฐานทั้ง ๓๘ ซึ่งจําแนกไวในพระบาลีนั้น พระกรรมฐานบอนใดบอนหนึ่ง ซึ่งจะ มีอารมณอันพึงกลัวเหมือนอุทธุมาตกอสุภกรรมฐานนี้หามิได พระโยคาพจรจะจําเริญพระกรรมฐาน บอนนี้มักฉิบหายจากฌาน เหตุวาพระกรรมฐานบอนนี้มีอารมณอันพิลึกพึงกลัวยิ่งนัก เหตุดังนี้ พระ โยคาพจรพึงหยุดยั้งตั้งสติใหมั่นกระทําอาโภคจิตเนือง ๆ วา ประเพณีซากอสุภซึ่งจะลุกขึ้นหลอกแลว แลนไลติดตามมานั้นไมมีอยาง ผิวากอนศิลาแลเครือเขาแลนไลติดตามมาได ซากอสุภก็จะพึงลุกขึ้น หลอกหลอนแลนไลติดตามกันดังนั้น อนึ่ง กอนศิลาแลเครือเขาแลนไลติดตามไมได ซากอสุภก็มิอาจจะแลนไลติดตามได เหมือนฉะนั้น อันวาอาการอันเห็นปรากฏนี้ เกิดเพราะสัญญาอันกําหนดภาวนาจิต มีแตมาตรวาสัญญา แหงทาน ดูกอนภิกษุผูเห็นภัยในวัฏฏสงสาร อันนี้พระกรรมฐานปรากฏแกทานแลวอยากลัวเลย พระ โยคาพจรกุลบุตรบรรเทาเสียซึ่งสะดุงตกใจ ยังปราสาทเลื่อมใสใหบังเกิดแลว พึงยังภาวนาจิตให สัญจรไปในอุทธุมาตกนิมิตนั้นเถิด พระโยคาพจรก็จะสําเร็จภาวนาวิเศษ คือ ปฏิภาคอัปปนาปฐมฌาน ในเบื้องหนา พระโยคาพจรกําหนดนิมิตโดยรอบคอบนั้นมีคุณานิสงส คือ มิไดเปนที่หลงใหลแหงน้ําจิต ดังนี้ พระโยคาพจรยังนิมิตตคาหะ คือ ถือเอาอุทธุมาตกนิมิตโดยอาการ ๑๑ ใหสําเร็จแลวก็จะไดคุณา นิสงส คือ นอมพระกรรมฐานมาผูกไวในจิต อุคคหนิมิตจะบังเกิดแกพระโยคาพจร ก็เพราะที่ลืมจักษุ ขึ้นเล็งแลอุทธุมาตกอสุภ เมื่อพระโยคาพจรยังภาวนาจิตใหสัญจรไปในอุคคหนิมิต แลวก็จะไดซึ่ง ปฏิภาคนิมิต เมื่อยังภาวนาจิตใหสัญจรไปในปฏิภาคนิมิตแลว ก็จะไดสําเร็จอัปปนา คือ ปฐมฌาน พระ โยคาพจรประดิษฐานอยูในอัปปนาคือ ปฐมฌานแลวจะจําเริญพระวิปสสนา พิจารณาองคฌานเปน อนิจจังทุกขัง อนัตตาแลว ก็จะไดสําเร็จพระอรหัตตัดกิเลสขาด เขาสูพระปรินิพพานควรแกการ กําหนด พระโยคาพจรยังนิมิตคาหะ คือถือเอาอุทธุมาตกนิมิตใหสําเร็จโดยอาการ ๑๑ มีคุณานิสงส คือจะนอมเอากระกรรมฐานมาผูกในจิตดังนี้ แลซึ่งวาใหพระโยคาพจรพิจารณาทางอันไปแลจะมีคุณา นิสงส คือ เปนเหตุจะยังน้ําจิตใหดําเนินไปสูกรรมฐานวิถีนั้นคือ พระโยคาพจรจําพวกนี้ถือเอาซึ่ง อุคคหนิมิตในอุทธุมาตกอสุภแลวกลับมานั้น ผิวามีทายกพวกใดพวกหนึ่งมาพบเขาในละเเวกหวางหนทาง แลวถามถึงดิถี วัน คืน วา ขาแตพระผูเปนเจา วันนี้เปนวันอะไร มิฉะนั้นเขาถามถึงปริศนามิฉะนั้น เขาปราศรัยสั่งสนทนาเปน สุนทรกถา พระโยคาพจรจะนิ่งเสียดวยอาโภคจิตคิดวา ขาเรียนพระกรรมฐานอยูตองการอะไร ที่ขาจะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 32 บอกจะกลาวเจรจาตอบ จะนิ่งเสียดวยอาโภคจิตดังนี้แลว จะเดินไปนั้นไมสมควร ๆ จะบอกเนื้อความ ตามเหตุ ถาทายกเขาถามวันพึงบอกวัน ถามถึงปริศนาพึงแกปริศนา ผิวาไมรูพึงบอกวาไมรู อนึ่ง พึงปราศรัยสนทนาโดยปฏิสันถาร เมื่อพระโยคาพจรประกอบตาง ๆ อยางพรรณนามา นี้ อุคคหมินิตที่พระโยคาพจรไดนั้น ยังไมแมนยํายังออนอยู ก็จะเสื่อมเสียจากสันดาน พระโยคาพจร เมื่ออุคคหนิมิตเสื่อมสูญจากสันดานดังนี้ก็ดี แมวาทีทายกมาถาม ดิถีขึ้นแรมก็พึงบอกใหแกเขา ถา เขาถามปริศนาและโยคาพจรนั้นมิไดรู ก็พึงบอกแกเขาวา ขาไมรู ผิวารูก็ควรจะกลาวแกโดยเอกเทศ พึงใหปราศรัยสนทนาตอบทายกโดยอันสมควร เห็นภิกษุอาคันตุกมาสูสํานักแหงตน ก็พึงใหกระทําปราศรัยสนทนาดวยอาคันตุกภิกษุ อนึ่ง พึงใหพระโยคาพจรบําเพ็ญขุททกวัตรอันนอยเปนตน คือเจติยังคณวัตร ปฏิบัติกวาดแผวเปนตน ในลานพระเจดีย ๑ โพธิยังคณวัตร ปฏิบัติในลานพระมหาโพธิ ๑ อุโปสถาคารวัตร ปฏิบัติในโรง อุโบสถ ๑ โภชนาสาลาวัตร ปฏิบัติในโรงฉัน ขันตาฆราวัตร ปฏิบัติในโรงไฟ ๑ อาจาริยวัตรปฏิบัติแก อาจารย ๑ อุปชฌายวัตร ปฏิบัติพระอุปชฌายะ ๑ อาคันตุกวัตร ปฏิบัติแกภิกษุแกภิกษุอาคันตุก ๑ คมิ ยะวัตร ปฏิบัติแกภิกษุเดินทาง ๑ เมื่อพระโยคาพจรบําเพ็ญขุททกวัตรเปนตนดังนี้ อันวาอุคคหนิมิตอันออนแรกได ก็จะฉิบ หายจากสันดานแหงพระโยคาพจร แมวาพระโยคาพจรจะปรารถนากลับคืนไป ถือเอานิมิตอันนั้นใหม ก็มิอาจจะไปสูประเทศปาชานั้นได เหตุวาฝูงผีมนุษยเนื้อรายหากหวงแหนพิทักษรักษาอยู อนึ่ง แม พระโยคาพจรกลับไปสูปาชานั้นไดก็ดี อุทธุมาตกอสุภนั้นก็อันตรธานเหตุอุทธุมาตกอสุภนั้นไมตั้งอยู นาน ตั้งอยูวันหนึ่งสองวันแลวหายกลายเปนซากอสุภอื่น มีวินีลกอสุภเปนตน พระโยคาพจรมิอาจพิจารณาเอาอุคคหนิมิตนั้นคืนได เหตุอารมณนั้นตางไป แตบรรดาพระ กรรมฐานบอนใดบอนหนึ่ง จะไดดวยยากอยางอุทธุมาตกอสุภกรรมฐานนี้หามิได เหตุดังนั้นเมื่ออุคคห นิมิตหายไป เพราะบอกดิถีวันขึ้นแรมแกทายกเปนตนดวยประการดังนี้แลว พึงพิจารณามรรคาวิถีที่ตน ไปแลมา ตราบเทาถึงที่อันคูเขาซึ่งบัลลังกสมาธิแลวแลนั่งนั้น วาอาตมาะออกจากวิหารที่อยูโดย ประตูอันนี้ ไดไปสูหนทางจําเพาะหนาสูทิศอันโนน ไปถึงที่นั้น อาตมะแวะไปซาย ไปถึงที่นั้นอาตมะ แวะไปขวา ไปถึงอันนั้นมีกอนศิลาเปนสําคัญ ถึงที่อันนั้นมีจอมปลวกแลตนไมกอไมเครือเขาเถาวัลย อันใดอันหนึ่งเปนสําคัญ อาตมะไปโดยหนทางอันนั้นพบซากอสุภอยูที่โนน ยืนอยูที่นั้นหันหนาไปสูทิศอันโนน แล พิจารณานิมิตโดยรอบคอบดังนี้ ถือเอาอสุภนิมิตดังนี้ ออกจากปาโดยทิศชื่อโพนแลวสําเร็จกิจสิ่งนั้น ๆ กลับมาโดยหนทางอันนี้ นั่งอุรุพันธาสนอยูในที่นี้ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาดังนี้ อุคคหนิมิตอัน หายไปก็จะปรากฏกลับคืนดุจหนึ่งวาตั้งอยูจําเพาะหนา พระกรรมฐานของพระโยคาพจรก็จะไตไป ดําเนินไปสูมนสิการวิถีโดยอาการกอน พระโยคาพจรพิจารณาหนทางอันไปแลมานั้นมีคุณานิสงสคือ เหตุจะยังน้ําจิตใหไตไปสูกรรมฐานวิถีดังพรรณนามานี้ เมื่ออุคคหนิมิตปรากฏกลับคืนมา บังเกิดในสันดานดังนี้แลว พระโยคาพจรพึงยังน้ําจิตให สัญจรไปในอุทธุมาตกปฏิกูลแลวพึงพิจารณาใหเห็นอานิสงสวา อาตมะจะยังฌานใหบังเกิดแลวจะ จําเริญพระวิปสสนามีฌานเปนที่ตั้ง พิจารณาฌานเปนพระไตรลักษณแลว จะพนจากชาติชราแลมรณะ เพราะพิธีทางปฏิบัติ อนึ่งพระโยคาพจรพิจารณาเห็นอานิสงสดังนี้ พึงรักษาอุคคหนิมิตไวใหมั่นคงอยา ใหอันตรธาน พึงทําการใหเหมือนคนยากรักษาดวงแกว ธรรมดาคนเข็ญใจไดดวงแกวอันมีราคาเปน อันมากนั้น ยอมมีความเคารพรักใครชื่นชมโสมนัสในดวงแกวดวยสําคัญเขาใจวา แกวดวงนี้บุคคล ผูอื่นจะไดพบไดเห็นเปนอันยากยิ่งนักอาตมาไดดวงแกวนี้มาไวในเรือนเปนบุญลาภล้ําเลิศประเสริฐ เขาใจดังนี้แลวก็มีความรักใครในดวงแกวยิ่งนัก รักษาไวมั่นคงมิไดสูญหายไปไดฉันใดก็ดี โยคาพจรบําเพ็ญพระกรรมฐานอันนี้ ก็พึงใหมีความรัก ความยินดี เหมือนคนเข็ญใจไดดวงแกวอันมี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 33 ราคา โยคาพจรบําเพ็ญพระกรรมฐานอันนี้นี่ยาก พระกรรมฐานบอนอื่น ๆ บําเพ็ญงายแทจริงโยคาพจร จําเริญจตุธาตุกรรมฐานนั้น ก็พึงพิจารณาฌามหาภูตรูป ๔ ของตนเอง โยคาพจรจําเริญอานาปาน กรรมฐานเลา ก็ตั้งสติไวที่ปลายนาสิกแลริมโอษฐ อันถูกลมถูกตองเอาลมเปนนิมิต พิจารณาลมนาสิก ของตน โยคาพจรจําเริญกสิณกรรมฐานกระทําดวงกสิณทําดวงกสิณโดยใหญเทากับตะเเกรง โดย นอยเทาขอบขัน แลวจําเริญภาวนาโดยอัธยาศัยไมเรงไมรัด พระกรรมฐานอื่นคือ อนุสสติแลพรหมวิหารนั้นโยคาพจรไดงายไมพักลําบากกายใจ อันอุท ธุมาตกกรรมฐานคงจะตั้งอยูก็แตวันหนึ่งสองวัน เบื้องหนาแตนั้นก็กลายเปนอื่นมีนีลกอสุภเปนตน เหตุ ดังนั้น พระกรรมฐานบอนอื่นจะเปนของหายากยิ่งกวาอุทธุมาตกกรรมฐานนี้หามิได เมื่อพระโยคาพจร สําคัญเขาใจอุทธุมาตกอสุภเปนดวงแกวดังนี้แลว พึงใหมีความเคารพรักใครในอุคคหนิมิตพึงรักษา อุคคหนิมิตไว อยาใหอันตรธานหายจากสันดานได มีอุปมาเหมือนคนเข็นใจไดดวงแกวมีราคามาก แลวรักษาไวเปนอันดีนั้น อันดับนั้นโยคาพจรนั้นนั่งในที่สบาย กลางวันก็ดีใหผูกจิตไวในนิมิตดวยบริกรรมภาวนา วา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ เอาวิตกชักมาซึ่งนิมิตพิจารณาเนือง ๆ แลว ๆ เลา ๆ อันวาปฏิภาคนิมิตก็บังเกิดแกโยคาพจร อุคคหนิมิตกับปฏิภาคนิมิตมีเหตุตางกัน อุคคหนิมิตนั้นปรากฏ สภาคเห็นเปนอันพึงเกลียดพึงกลัว แลแปลกประหลาดยิ่งนัก แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏดุจบุรุษมีกาย อันพวงพี บริโภคอาหารตราบเทามีประโยชนแลวแลนอนอยูเมื่อโยคาพจรไดปฏิภาคนิมิตนั้นแลว อันวานิวรณกรรม ๕ ประการ ก็ปราศจากสันดานโดยวิขัมภนปหาน พรอมกันกับโยคาพจร ไดปฏิภาคนิมิต แลนิวรณณธรรม ๙ ประการนั้นคือ กามฉันทนิวรณ ๑ พยาบาทนิวรณ ๑ ถีนมิทธนิวรณ ๑ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ ๑ วิจิกิจฉานิวรณเปน ๕ นิวรณคือ กามฉันทะฉิบหายจากสันดานโดย วิขัมภนปหานเหตุโยคาพจรมิไดกระทําไวในใจ ซึ่งกามคุณอันเปนภายนอก แลพยาบาทนิวรณนั้น ปราศจากสันดานโยคาพจร เหตุโยคาจพจรสละเสียซึ่งอาฆาตอันมีความรักเปนมูลเหตุ เปรียบดุจ บุคคลอันละโลหิตเสียแลวก็ปราศจากหนอง แลถีนมิทธนิวรณนั้นปราศจากสันดานพระโยคาพจร เหตุ ปรารภรําพึงเพียงเครงครัดยิ่งนัก แลอุทธัจจกุกกุจจนิวรณนั้นปราศจากสันดาน เหตุโยคาพจรประกอบ เนือง ๆ ในธรรมอันเปนที่ระงับ แลมิไดกระทําใหกําเริบรอน แลวิจิกิจฉานิวรณนั้นคือความสงสัยใน สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค อันเปนผูแสดงซึ่งปฏิบัติแลวิธีทางปฏิบัติ แลผลแหงปฏิบัติคือโลกิย ผลแลโลกุตตรผลนั้นปราศจากสันดาน เพราะเหตุเห็นประจักษแจงในภาวนาวิเศษอันตนไดนิวรณธรรม ๕ ประการนี้ ดับพรอมกันก็ บังเกิดปรากฏแหงปฏิภาคนิมิตอันวาองคฌาน ๔ ประการนี้ คือวิตกอันยกอารมณขึ้นสูจิต ๑ คือวิจาร มี กิริยาอันใหสําเร็จ คือพิจารณาปฏิภาคนิมิต ๑ คือปติบังเกิดแตเหตุคือปฏิภาคนิมิต อันพระโยคาพจร ได ๑ คือสุขอันมีปสสัทธิยุคล คือกายปสสิทธิแลจิตปสสัทธิเปนเหตุ ดวยวาโยคาพจรมีจิตกอปรดวย ปติแลว ปสสัทธิก็บังเกิดแกโยคาพจร ๑ คือเอกัคคตามีสุขเปนเหตุ ดวยสภาวะ โยคาพจรเปนสุขแลว จึงมีสมาธิจิต ๑ องคฌานทั้ง ๕ ประการนี้บังเกิดปรากฏในปฏิภาคนิมิตอันอุปจารฌานนั้น บังเกิดเปน รูปเปรียบแหงปฐมฌาน ก็วาอัปปนาฌานคือปฐมฌานก็ดี แลกิริยาที่ถึงซึ่งชํานาญในปฐมฌานก็ดี เบื้องหนาแตอุปจารฌานนี้ นักปราชญพึงรูโดยนัยดังกลาวแลวในปฐมวีกสิณนั้นเถิด จบอุทธุมาตกอสุภโดยสังเขปเทานี้

ในวินีลกรรมฐาน มีขออธิบายวา ใหพระโยคาพจรพิจารณาซากอสุภมีสีเขียวเปนอารมณ แลวินิจฉัยอธิบายในวินีลกอสุภกรรมฐานนี้ ก็เหมือนกันกับอุทธุมาตกอสุภกรรมฐาน จะแปลก ประหลาดกัน แตบริกรรมในอุทธุมาตกอสุภนั้นบริกรรมวา อุทฺมาตกํ ปฏิกุลํ อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ ใน วินีลกอสุภกรรมฐานนี้ไหบริกรรมวา วินีลกํ ปฏิกุลํ วินีลกํ ปฏิกุลํ ในวินีลกอสุภกรรมฐานนี้ อุคคห

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 34 นิมิตมีสีอันดางพรอยถาปรากฏดังนี้ไดชื่อวาอุคคหนิมิตบังเกิด แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏดวยสามารถ อันหนาขึ้นแหงสีใดสีหนึ่ง คือสีแดงสีขาวสีเขียวเจือกัน แลมีสีใดสีหนึ่งมากแผกลบสีทั้งปวง ถา ปรากฏดังนี้ไดชื่อวาปฏิภาคนิมิตบังเกิด ฯ จบวินีลกอสุภ

ในวิปุพพกอสุภกรรมฐานนั้น ใหโยคาพจรพิจารณาซากอสุภอันมีน้ําหนองไหลเปนอารมณ คือบริกรรมวา วิปุพฺพกํ ปฏิกุลํ วิปุพฺพกํ ปฏิกุลํ รอยคาบพันคาบตราบเทากวาจะไดสําเร็จอุคคห นิมิตแลปฏิภาคนิมิต อุคคหนิมิตในวิปุพพกรรมฐานนี้ ปรากฏดุจมีหนองไหลอยูมิขาด แลปฏิภาคนิมิต นั้นปรากฏเปนรางอสุภสงบแนนิ่งอยูมิไดหวาดไหว ซึ่งปรากฏดุจมีหนองอันไหลอยูเหมือนอุคคหนิมิต นั้นหาบมิได ฯ จบวิปุพพอสุภ

ในวิฉิททกอสุภกรรมฐานนั้น มีขออธิบายวา ใหโยคาพจรพิจารณาซากเฬวระแหงขาศึกแล โจร อันพระมหากษัตริยตรัสใหตัดใหฟน มีศีรษะอันขาด มือขาด เทาขาด แลวกลิ้งอยูในที่สนามรบ แลปาชา อันเปนที่อาศัยแหงโจรแลปาชา ถามิฉะนั้นพึงพิจารณาซากอสุภแหงมนุษย อันพาลฤค เปน ตนวาเสือโครงแลเสือเหลืองขบกัดใหขาดเปนทอน ๆ ทอดทิ้งอยูในไพรสณฑประเทศ เหตุดังนั้นเมื่อ โยคาพจรไปสูที่พิจารณาซากอสุภนั้น ผิวาซากอสุภอันตกอยูในทิศตาง ๆ นั้น ปรากฏแกโยคเทศคลองที่สวางของจักษุแหงพระ โยคาพจร ดวยอาวัชชนะพิจารณาครั้งเดียวก็เปนบุญลาภอันดีนัก ถาแลซากอสุภนั้นมิไดสูโยคเทศ คลองที่สวางแหงจักษุ ดวยพิจารณาครั้งเดียวก็อยาพึงใหพระโยคาพจรถือเอาซากอสุภนั้นมาวางไว ในที่อันเดียวกันดวยมือแหงตน เมื่อถูกตองจับถือดวยมือแหงตนแลวก็จะคุนจะเคยไป จะไมรังเกลียด อายในซากอสุภนั้น เหตุดังนั้นพึงใหพระโยคาพจรใชโยมวัดเเลสามเณรแลผูใดผูหนึ่ง นํามาวางไวในที่อัน เดียวกัน ถาหาผูใดผูหนึ่งจะชวยนํามามิได ก็พึงใหโยคาพจร เอาไมเทาแลไมสาวคัดตอนเขาวางไว ใหหางกันแต ๑ นิ้ว แลวพึงกําหนดจิตจําเริญบริกรรมภาวนาวา วิฉิทฺทกํ ปฏิกุลํ วิฉิทฺทกํ ปฏิ กุลํ รอยคาบพันคาบ ตราบเทาอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตจะบังเกิด อุคคหนิมิตในวิฉิททกกรรมฐาน นี้ เปนอสุภนิมิตปรากฏในละเวกหวางวิถีจิต มีอาการอันขาดในทามกลางเหมือนอยางอสุภนั้น แลปฎิ ภาคนิมิตนั้นปรากฏเหมือนอวัยวะบริบูรณ มิไดเปนชองเปนหวางอยางอุคคหนิมิต ฯ จบวิฉิททอสุภ

ในวิกขายิตกอสุภนั้นมีขออธิบายวา ใหพระโยคาพจรพิจารณาซากอสุภ อันสุนัขเปนตนกัด ทึ้งยื้อครา แลวกําหนดจิตบริกรรมภาวนาวา วิกฺขายิตกํ ปฏิกุลํ วิกฺขายิตกํ ปฏิกุลํ รอยคาบพัน คาบตราบเทาอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตจะบังเกิด อุคคหนิมิตใดวิกขายิตกนี้ปรากฏเหมือนรางอสุภอัน สัตวกัดกินกลิ้งอยูในที่นั้น ๆ แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏบริบูรณสิ้นทั้งรางกาย ปรากฏเปนที่สัตวกัดกิน นั้นหาบมิได จบวิกขายิตกอสุภ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 35 วิขิตตตกอสุภนั้น มีขออธิบายวา ใหโยคาพจรใชโยมวัดแลสามเณรแลผูใดผูหนึ่ง ให ประมวลมาซึ่งอสุภอันที่ตกเรี่ยรายอยูในที่ตาง ๆ มาวางไวในที่อันเดียวกัน มิฉะนั้นใหประมวลมาดวย ตนเอง วางไวในที่อันเดียวกันใหหางกันนิ้วหนึ่ง ๆ แลวพึงกําหนดจิตจําเริญบริกรรมวา วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกุลํ วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกุลํ จงเนือง ๆ อันวาอุคคหนิมิตในวิกขิตตกกรรมฐานนี้ มีสภาวะปรากฏเปน หวาง ๆ เหมือนรางอสุภนั้น แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏเปนรางกายบริบูรณจะไดมีชองหวางหามิได ฯ จบวิกขิตตกอสุภ

ในหตวิกตตกอสุภนั้นมีขอวินิจฉัยอธิบาย ใหพระโยคาพจรประมวลมาเองก็ดี ใชผูอื่นให ประมวลมาก็ดี ซึ่งซากอสุภอันบุคคลผูเปนไพรีปจจามิตร สับฟนมีอาการดังเทากากระทําใหขาดเปน ทอน ๆ ทิ้งไวในที่ทั้งปวงเปนตนวาปาชัฏแลปาชานั้น นํามาวางไวใหหาง ๆ กันละ ๑ นิ้ว ๆ แลวพึง กําหนดจิตจําเริญบริกรรมวา หตวิกฺขิตตกํ ปฏิกุลํ หตวิกฺขิตฺตกํ ปฏิกุลํ จงเนือง ๆ ตราบเทา อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตมาบังเกิดในสันดาน อันวาอุคคหนิมิตบังเกิดปรากฏนั้น ดุจรอยปากแผลอัน บุคคลประหาร แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏเต็มบริบูรณ จะไดเปนชองเปนหวางอยางอุคคหนิมิตนั้นหา มิได ฯ จบหตวิกขิตตกอสุภ

ในโลหิตกอสุภนั้น มีขอวินิจฉัยอธิบายวา ใหพระโยคาพจรพิจารณาดูซึ่งซากอสุภ อัน บุคคลประหารในอวัยวะมีมือและเทาเปนอาทิใหขาด มีโลหิตอันลนไหลออกแลทิ้งไวในที่สนามรบ เปนตนก็ดี แลอสุภมีโลหิตอันไหลออกจากปากแผลฝแลตอมเปนตนแตกออกก็ดี เมื่อเห็นอสุภนั้น พึง กําหนดพิจารณาเอาเปนอารมณแลวจึงจําเริญบริกรรมวา โลหิตกํ ปฏกุลํ โลหิตกํ ปฏิกุลํ จงเนือง ๆ เปนนิตย อันวาอุคคหนิมิต ในโลหิตกอสุภนี้ เมื่อปรากฏในมโนทวารนั้นมีอาการอันไหวดุจผาแดงอัน ตองลมแลงแลไหว ๆ อยูนั้นแลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏเปนอันดีจะไดไหวไดติงหามิได ฯ จบโลหิตกอสุภ

ในปุฬุวกอสุภนั้น มีอรรถาอธิบายวา พระโยคาพจรพิจารณาซึ่งซากอสุภอันบุคคลทิ้งไวสิ้น ๒ วัน ๓ วันแลว มีหนอนอันคลานคล่ําออกมาจากทวารทั้ง ๙ นั้น อนึ่งโสต จะพิจารณาในซากกเฬวระ แหงสัตว มีสุนัขบานสุนัขจิ้งจอกแลมนุษย แลโคกระบือชางมาแลงูเหลือมเปนตนอันมีหมูหนอน ประมาณทั่วกายแหงสัตวนั้น ๆ คลานคล่ําอยูดุจกอบแหงขาวสาลีอันขาวนั้นก็ได เมื่อโยคาพจรเห็น ดังนั้นแลว พึงกําหนดจิตพิจารณาเอาเปนอารมณแลวจึงบริกรรมวา ปุฬุวกํ ปฏิกุลํ ปุฬุวกํ ปฏ กุลํ จงเนือง ๆ เถิด ถาพระโยคาพจรเจามีอุปนิสัยสมควรอยูแลวแตพิจารณาเห็นซากอสุภสัตวก็จะไดอุคคห นิมิตแลปฏิภาคนิมิตโดยงาย มิพักลําบากดุจพระจุลปณฑปาติกติสสเถระอันพิจารณาเห็นซากอสุภ ชาง ในภายในเมืองอันชื่อวากาฬทีฑวาป แลไดสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนั้น อันวาอุคคหนิมิต ในปุฬุวกกรรมฐานนี้ เมื่อปรากฏในมโนทวารนั้น มีอาการอันหวั่นไหว เหมือนหมูหนอนอันสัญจรคลาน คล่ําอยูนั้น แลปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏสงบเปนอันดี ดุจกองขาวสาลีอันขาวนั้น ฯ ในอัญฐิกอสุภนั้น มีอรรถธิบายวาโยคาพจรพิจารณาซากอสุภอันมีรางอัฐิทั้งสิ้น อัน ประกอบดวยมังสะและโลหิต แลผูกรัดดวยเสนใหญนอยก็ได อนึ่งจะพิจารณาทอนอัฐิอันเดียวอันตก อยูในพื้นแผนดินก็ได เหตุดังนั้นโยคาพจรพึงไปสูที่เขาทิ้งอัฐิไวโดยนัยกอนแลว พึงกําหนดอัฐิกับทั้ง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 36 อารมณดวยสามารถแหงกอนศิลาเปนตน อันอยูโดยรอบคอบแลวใหกําหนดโดยสภาวะเปนปกติ วาสิ่งนี้เปนกระดูก แลพึงถือเอาอัฐิ นิมิตโดยอาการ ๑๐ คือ สี ๑ เพศ ๑ สัณฐาน ๑ ทิศ ๑ ที่ตั้ง ๑ ที่กําหนด ๑ ที่ต่ํา ๑ ที่สูง ๑ ระหวาง ๑ ที่ตอ ๑ รอบคอบแหงอัฐิ ๑ สิริเปน ๑๑ ดังนี้อัฐินั้นมีสีขาว ครั้นเมื่อโยคาพจรพิจารณาจึงมิไดปรากฏ โดยปฏิกูล เหตุสีขาวอันนั้นเจือไป ขาโอทาตกสิณ เหตุดังนั้นพระโยคาพจรผูจําเริญอัฏฐิกรรมฐาน พึง พิจารณาใหเห็นวาเปนปฏิกูลพึงเกลียดวาสิ่งนี้เปนรางอัฐิใหจงได ซึ่งใหพิจารณาอัฐินิมิตโดยเพศนั้น คือพิจารณามือแลเทา ศีรษะแลอกแขนแลสะเอว ขา แลแขงแหงรางกายอัฐิซึ่งใหพิจารณารางอัฐิกนิมิตโดยสัณฐานนั้น คือใหพิจารณาอัฐิอันเล็กใหญยาว สั้นกลมแลสี่เหลี่ยม ซึ่งใหพิจารณาโดยทิศแลโอกาสนั้น มีอรรถาธิบายดังพรรณนาแลวในอุทธุมาต กกรรมฐานนั้น ซึ่งใหกําหนดโดยปริจเฉทนั้น คือ ใหกําหนดซึ่งที่สุดแหงอัฐินั้น ๆ เมื่อโยคาพจร กําหนดซึ่งที่สุดแหงอัฐิดังนี้แลว อันวาเพศมีมือเปนตนอันไดปรากฏในอัฐิอสุภนั้น ก็พึงใหโยคาพจร ถือเอาซึ่งเพศมีมือเปนตนนั้นเปนอารมณ แลวพึงจําเริญบริกรรมใหสําเร็จอัปปนาฌานจงได ซึ่งวาใหกําหนดโดยที่ต่ําแลที่สูงนั้น พึงใหกําหนดซึ่งที่ต่ําแลที่สูงแหงอัฐินั้น ๆ อธิบายวา ใหพระโยคาพจรพิจารณาประเทศที่ตั้งแหงอสุภวา อาตมะอยูที่ต่ําอัฐิอยูในที่สูง อาตมะอยูที่สูงอัฐิอยู ที่ต่ํา ซึ่งวาใหโยคาพจรกําหนดโดยที่ตอนั้น คือใหกําหนดซึ่งที่ตอเเหงอัฐิสองทอน แตบรรดาที่ตอกัน นั้น ซึ่งใหกําหนดโดยระหวางนั้น คือใหกําหนดระหวางแหงอัฐินั้น ซึ่งใหกําหนดโดยรอบคอบแหงอัฐิ นั้น ๆ คือใหพระโยคาพจรยังปญญาใหสัญจรไปในรางอัฐิทั้งสิ้นนั่นแลว พึงกําหนดโดยรอบคอบวาอัฐิ อันนี้อยูในที่นี้ ๆ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาดังนี้แลว อุคคหนิมิตปฏิภาคนิมิตยังมิไดบังเกิด ก็พึงให พระโยคาพจรตั้งจิตไวในกระดูกหนาผากพระโยคาพจรถือเอานิมิตโดยอาการ ๑๑ โดยควรในปุฬุวก อสุภเปนตนเบื้องหนาแตอัฐิอสุภนี้เหมือนดังนั้นเถิด โยคาพจรบําเพ็ญพระอัฐิกรรมฐานนี้ จะพิจารณา รางอัฐิทั้งนั้นก็ได จะพิจารณารางอันติดกันอยูโดยนอย หลุดจากกันโดยมากก็ได จะพิจารณาทอนอัฐิ อันเดียวก็ได ตามแตจะเลือกพิจารณาเถิด เมื่อพระโยคาพจรถือเอานิมิตโดยอาการ ๑๑ ในอัฐิกอสุภ อันใดอันหนึ่งดังนี้แลวพึง กําหนดจิตจําเริญบริกรรมวา อฏิกํ ปฏิกุลํ อฏิกํ ปฏิกุลํ จงเนือง ๆ กวาจะสําเร็จอุคคหนิมิตแล ปฏิภาคนิมิต อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตในอัฐิอสุภกรรมฐานนี้เหมือนกันเปนอันเดียว มิไดแปลก ประหลาดกัน ซึ่งวาอุคคหนิมิตเหมือนกันเปนอันเดียวนั้น ควรแตในทอนอัฐิอันเดียว พระโยคาพจร พิจารณาแตทอนอัฐิอันเดียว นิมิตทั้ง ๒ จึงมิไดตางกัน ถาพระโยคาพจรพิจารณารางอัฐิทั้งสิ้น นินิตทั้ง ๒ นั้นก็ปรากฏ ตางกัน อุคคหนิมิตนั้นปรากฏเปนชองเปนหวางอยู ปฏิภาคนิมิตนั้นปรากฏในมโนทวารเปนรางอัฐิ อสุภบริบูรรณสิ้นทั้งนั้น จะเปนชองเปนหวางอยางอุคคหนิมิตหามิได เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาอัฐิ กรรมฐานทั้งหลายนั้นอุคคหนิมิต ปรากฏพึงเกลียดพึงกลัว เพราะเปนกระดูกแทแลโยกโคลงหวั่นไหว ปฏิภาคนิมิตบังเกิดแลวไมโยกโคลง หวั่นไหวแลเกลี้ยงเกลางดงาม จึงใหพระโยคาพจรมีความชื่นชม โสมนัส เหตุนิมิตนั้นเปนที่จะนํามาซึ่งอุปจารแลอัปปนาแกพระโยคาพจร ฯ จบอัฏฐิกอสุภเทานี้

อสุภกรรมฐานทั้ง ๑๐ นี้ ทานจัดไววาเปนที่สบายของบุคคลที่เปนราคจริตอันประพฤติมัก มาก ดวยความกําหนัดยินดีโดยธรรมดา เมื่อจะแยกออกเปนสวน ๆ แลว อสุภสวนหนึ่ง ก็เปนที่สบาย ของบุคคลราคจริตสวน ๆ ตามที่ทานไดแสดงไววา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 37 อุทธุมาตกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต กําหนัดยินดีโดยทรวดทรงสัณฐาน เพราะ ในอสุภนี้สอแสดงใหเห็นวาสรีรสัณฐานนี้ตองถึงความวิปริตพองขึ้นโดยธรรมดา ๆ วินีลกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจิรต มักกําหนัดยินดีโดยผิวพรรณ เพราะในอสุภนี้สอ แสดงใหเห็นวาผิวพรรณนี้ ตองถึงวิปริตเขียวมองหมนหมองไปโดยธรรมดา ฯ วิปุพพกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต มักกําหนัดยินดีโดยสรีระอันปรนปรุงทาบทา ดวยเครื่องหอม เพราะในอสุภนี้สอแสดงใหเห็นวาเครื่องหอมที่ทาบทาในกายนี้ ตองถึงวิปริตเครื่อง หอมกลับไปเปนกลิ่นเหม็นไปโดยธรรมดา ฯ วิฉิททกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจิรต มักกําหนัดยินดีโดยทานกายอันเปนแทงทึบ เพราะในอสุภนี้ สอแสดงใหเห็นวาภายในกายนี้ เปนโพรงเปนชองอยูโดยธรรมดา ฯ วิกขายิตกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต มักกําหนัดยินดีโดยแทงเนื้อที่เปนปจจัยแก แกกิเลสอันแรงกลา มีแทงเนื้อคือเตานมเปนตน เพราะในอสุภนี้ สอแสดงใหเห็นวาแทงเนื้อเหลานี้ ตองถึงความวิปจริตไปโดยธรรมดา ฯ วิขิตตกอสุภ เปนที่สบายของคนราคจริต มักกําหนัดยินดีโดยลีลอาการกิริยาเยื้องกรายยก ยอง แหงอวัยวะนอยใหญ เพราะในอสุภนี้ สอแสดงใหเห็นอวัยวะนอยใหญทั้งปวงนั้น ตองซัดสายไป ตางกันโดยธรรมดา ฯ หตวิกขิตตกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจิรต มักําหนัดยินดีในสรีรสมบัติ ที่ติดตอพรอม เพรียง เพราะในอสุภนี้สอแสดงใหเห็นวาความติดตอกายนี้ ตองหลุดลุยแตกหักไปโดยธรรม ฯ โลหิตกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต มักกําหนัดยินดีโดยความงมงายกาย ที่บุคคล ตกแตงดวยเครื่องประดับตาง ๆ เพราะในอสุภนี้สอแสดงใหเห็นวากายที่ประดับใหงามนี้ เปนปฏิกูล แปดเปอนดวยน้ําเลือดโดยธรรมดา ฯ ปุฬุวกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต มักกําหนัดยินดี โดยความที่ถือกายเปนของ แหงเราแท เพราะในอสุภนี้สอแสดงวากายไมเปนของแหงตน เปนของสาธรารณทั้วไปแกหมูหนอน ทั้งหลายโดยธรรมดา ฯ อัฏฐิกอสุภ เปนที่สบายของบุคคลราคจริต มักกําหนัดยินดีโดยกระดูกฟนสมบูรณ เพราะใน อสุภนี้ สอแสดงใหเห็นวากระดูกฟนนี้เปนปฏิกูลหลุดถอนไปโดยธรรมดา ฯ จบอสุภ

แตนี้จะวินิจฉัยในพระอนุสสติกรรมฐาน ๑๐ อันสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค ตรัสเทศนาไว ในลําดับแหงพระอสุภกรรมฐานนั้น อนุสสตินั้นไดแกอันมีลักษณะใหระลึกเนือง ๆ นัยหนึ่งวาสติที่ สมควรแกกุลบุตรผูบวชดวยศรัทธานั้นชื่อวาอนุสสติ เหตุวาประพฤติเปนไปในอันควรจะระลึกมีระลึก พระพุทธคุณเปนตน พระอนุสสติกรรมฐานนี้ ถาจะวาโดยประเภทตางออกเปน ๑๐ ประการคือพุทธา นุสสติ อันมีลักษณะปรารภรําพึงถึงพระพุทธคุณ เปนอารมณเนือง ๆ นั้นประการ ๑ ธัมมานุสสติอันมี ลักษณะปรารภรําพึงถึงพระธรรมคุณเปนอารมณเนือง ๆ นั้นประการ ๑ สังฆานุสสติ อันมีลักษณะ ปรารภรําพึงถึงพระสังฆคุณเปนอารมณเนือง ๆ นั้นประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 38 สีลานุสสติ คือสติอันปรารภถึงศีลคุณเปนอารมณเนือง ๆ นั้นประการ ๑ จาคานุสสติเปนสติ อันรําพึงกิจที่จะบริจาก จําแนกทานเนือง ๆ นั้นประการ ๑ เทวตานุสสติ คือสติอันรําพึงถึงเทพยดาตั้ง ทวยเทพยดาทั้งปวงไวในที่เปนพยานแลว แลกลับรําพึงถึงคุณของตนมีศรัทธาเปนอาทินั้นประการ ๑ มรณานุสสติ คือสติอันรําพึงถึงความตายเนือง ๆ นั้นประการ ๑ กายคตานุสสติ คือสติอันปรารภรําพึง ไปในอาการ ๓๒ ( ทวตฺตึสาการ) มีผมเปนตนนั้นประการ ๑ อานาปานสติ คืออันปรารภรําพึงซึ่งลม หายใจเขาออกเปนอารมณนั้นประการ ๑ อุปสมานุสสติ คือสติอันรําพึงปรารภเอาพระนิพพานเปน อารมณนั้นประการ ๑ สิริเปนอนุสสติ ๑๐ ประการดวยกัน แตจักสําแดงพิสดารในพุทธานุสสติกรรมฐานนั้น กอน พุทฺธานุสฺสติ ภาเวตุกาเมน พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญพระกรรมฐานนี้พึง กระทําจิตใหประกอบดวยความเลื่อมใส ไมหวั่นไหวในพระพุทธคุณเสพเสนาสนะที่สงัดสมควรแลว พึงนั่งบัลลังกสมาธิตั้งกายใหตรงแลว พึงรําลึกตรึกถึงพระคุณแหงสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคดวย บทวา อิติปโส ภควา ฯลฯ พุทฺโธ ภควาติ มิฉะนั้นจะระลึกวา โส ภควา อิติป อรหํ โส ภควา อิ ติป สมฺมาสมฺพุทฺโธ โส ภควา อิติป วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส ภควา อิติป สุคโต โส ภควา อิติป โลกวิทู โส ภควา อิติป อนุตฺตโร โส ภควา อิติป ปุริสทมฺมสารถิ โส ภควา อิติป สตฺถาเทวมนฺสฺ สานํ โส ภควา อิติป พุทฺโธ ภควา อิติป ภควา ดังนี้ก็ได มิฉะนั้นจะระลึกแคบทใดบทหนึ่ง เปนตนวาอรหังนั้นก็ไดอรรถาธิบายในบทอรหังนั้น วา โส ภควา อันวาสมเด็จพระผูมีพระภาคเจานั้น อรหํ ทรงพระนามชื่อวาอรหัง ดวยอรรถวา พระองคไกลจากขาศึกคือกิเลส นัยหนึ่งวาพระองคหักเสียซึ่งกํากงแหงสังสารจักรจึงทรงพระนามชื่อ วา อรหัง นัยหนึ่งวาพระองคควรจะรับซึ่งจตุปจจัยทั้ง ๔ มีจีวรเปนอาทิแลสักการบูชาวิเศษแหง สัตวโลก จึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง นัยหนึ่งวาพระองคมิไดกระทําบาปในที่ลับจึงทรงพระนามชื่อวา อรหัง แทจริงสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคนั้นสถิตอยูในที่อันไกลเสียยิ่งนักจากกิเลสธรรมทั้งปวง สวาสนานํ กิเลสานํ วิทฺธํสิตตฺตา ราคาทิกิเลสกับทั้งวาสนานั้น พระพุทธองคขจัดเสีย แลวดวยพระแสงแกว คืออริยมรรคฌาณ เหตุดังนั้นจึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง ซึ่งพระองคหักเสียซึ่ง กํากงแหงสังขารจักรนั้นเปนประการใด อธิบายวาสังขารจักรนั้น ไดแกสังสารวัฏอันมีที่สุดเบื้องตนมิได ปรากฏอันสัตวทั้งหลายเวียนเกิดเวียนตาย สังขารจักรนี้มีอวิชชาแลภพ แลตัณหาเปนดุมมีสังขารทั้ง ๓ คือบุญญาภิสังขาร อบุญญาภิสังขาร เปนกํามีชราแลมรณะเปนกง อันปจจัยแหงตนมีเหตุปจจัยเปน ตน รอยเขาดวยเพลาคืออาวสวสมุทัย ประกอบเขาในรถถือภพทั้ง ๓ มีกามภพเปนอาทิขับเข็นไปสิ้น กาลชานาน มีที่สุดเบื้องตนมิไดปรากฏ สมเด็จพระผูมีพระภาคนั้นพระองคเสด็จสถิตเหนือปฐพีกลาวคือศีลดวยพระบาท คือพระวิ ริยในควงพระมหาโพธิแลว จึงทรงพระแสงแกวคือพระอริยมรรคฌาณ อันกระทําใหสิ้นกรรมสิ้นภพสิ้น ชาติดวยพระหัตถ คือศรัทธาฟาดฟนเสียซึ่งกําแหงสังสารจักรทั้งปวง ใหขาดขจัดขจายมิใหคืนคุม ติดกันเขาได เหตุดังนั้นจึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง นัยหนึ่งสังสารจักรนั้นจัดเอาอวิชชาเปนดุม เหตุ อวิชชานั้นเปนมูลเหตุใหบังเกิดรูปเปนธรรม ชราแลมรณะนั้นจัดเปนกงแหงสังขารจักร เหตุวาชราธรรม แลมรณะธรรมนี้ บังเกิดเปนที่สุดแหงภพชาติ เกิดมาแลวก็มีชราแลมรณะเปนที่สุดทุกรูปทุกนาม แล ธรรม ๑๐ ประการ คือสังขาร แลวิญญาณ นามรูปแลฉฬยตนะ แลผัสสะ แลเวทนา แลตัญ หา แลอุปาทาน แลภพ แลชาติทั้ง ๑๐ ประการนี้จัดเปนกําแหงสังสารจักร เหตุวาธรรม ๑๐ ประการนี้ มีอวิชชาเปนเบื้องตน มีชราแลมรณะเปนเบื้องปลาย นัยหนึ่งวาสมเด็จพระพุทธองคนั้น เปนทักขิไณยบุคคลอันเลิศควรจะรับซึ่งจตุปจจัยทั้ง ๔ แลสักการบูชาอันวิเศษ เปนที่บูชาแหงเทพามนุษยสมณะ แลพราหมณาจารยทั้งปวงแตบรรดามีใน โลกนี้ เหตุดังนั้นจึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง นัยหนึ่งวาสมเด็จพระพุทธองคมิไดกระทําบาปในที่ลับ เหมือนอยางสามัญสัตวทั้งปวงที่เปนพาลสําคัญตนวาเปนนักปราชญ เหตุดังนั้นจึงทรงพระนามชื่อวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 39 อรหัง นัยหนึ่งวาสมเด็จพระศาสดาจารยเจานั้นไกลจากคนชั่วคนอสัปบุรุษ อยูใกลคนดีคนสัปบุรุษคน ที่เปนอสัปบุรษมีน้ําใจเปนบาปหยาบชา ตั้งหนาแตที่จะกระทําการ อันเปนอกุศลมิไดทรมานกายแล จิตแหงตนใหเจริญเปนกุศลขึ้นได มากไปดวย โลภะ โทสะ โมหะ มิไดฉลาดในธรรมอันพระอริย เจาสั่งสอน ปฏิบัติผิดคลองธรรมแหงพระอริยเจาหญิงชายจําพวกนี้ แมถึงจะเกิดพบพระพระพุทธองค จะยึดมุมผาสังฆาฏิอยูก็ดีก็ไดชื่อวาอยูไกล มิไดพบไดเห็นพระพุทธองค ๆ ไกลจากคนชั่ว คนอสัป บุรุษเหลานี้ เหตุดังนั้นจึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง แลคนที่เปนสัปบุรุษ มีความเพียรทรมานจิตอันเปนบาปใหเบาบาง จะรักษาศีล ๆ นั้นก็ วิเศษขึ้น ดวยอัฏฐศีล ทสศีล ภิกษุศีล วิเศษขึ้นดวยจําเริญภาวนาพิจารณาพระไตรลักษณเปน อาทิ ตั้งอยูในพระอัปปมาทธรรม มิไดลืมสติระลึกถึงพระพุทธาธิคุณ ภาวนาพระไตรลักษณทุกอิริยบถ นั่งนอนยืนเที่ยวทุกขณะที่ระบายลมอัสสาสะ ปสสาสะ หญิงชายจําพวกนี้จะอยูไกลรอยโยชนพัน โยชนก็ดี เกิดมาไมทันก็ดี ก็ไดชื่อวาอยูใกล ไดชื่อวาพบเห็นสมเด็จพระพุทธองคเปนนิจกาล สมเด็จ พระองคเจาอยูใกลสัปบุรุษเห็นปานดังนี้ จึงทรงพระนามชื่อวาอรหัง ฯ แปลพระนามเปนปฐมคืออรหังยุติแตเทานี้

แตนี้จะแปลพระนามเปนคํารบ ๒ - ๓ คือพระสัมมาสัมพุทโธแลวิชชาจารณสัมปนโนนั้นสืบ ตอไป ในบทสัมมาสัมพุทโธนี้แปลวา โส ภควา อันวาสมเด็จพระผูมีพระภาคนั้น สมฺมาสมฺพุทฺ โธ ตรัสรูพระจตุราริยสัจธรรมทั้ง ๔ ดวยพระองคเอง ดวยอาการมิไดวิปริตเห็นแทรูแทไมเคลือบไม แคลง ตรัสรูประจักษแจงในพระบวรสันดานสมเด็จพระศาสดาจารยนั้น วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ทรง ซึ่งวิชชา ๘ แลจรณะ ๑๕ วิชชา ๘ นั้นไดแกอภิญญาทั้ง ๖ วิปสสนาญาณ ๑ มโนมยิทธิวิชชา ๑ เปน ๘ ประการนี้ จรณะ ๑๕ นั้น คือศีลสังวร ๑ รักษาอินทรียทั้ง ๖ เปนอันดี ๑ รูประมาณใน โภชนะ ๑ กอปรดวยธรรมอันตื่นอยูในกุศล ๑ ศรัทธา ๑ สติ ๑ วิริยะ ๑ ปญญา ๑ พาหุสัจจะ ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ ปฐมฌาน ๑ ทุติยฌาน ๑ ตติยฌาน ๑ จตุตถฌาน ๑ เปน ๑๕ ประการ ดังนี้ พระองคทรงซึ่งวิชชา ๘ แลจรณะ ๑๕ ดังนี้ จึงทรงพระนามชื่อวาวิชชาจะระณะสัมปนโน ฯ แปลพระนามเปนคํารบ ๒ - ๓ ก็ยุติแตเทานี้

ในพระนามเปนคํารบ ๔ นั้นสืบตอไปวา โส ภควา อันวาสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ทรง พระนามชื่อวาสุคโต เหตุพระองคมีพระดําเนินงามเลิศ พระดําเนินของสมเด็จพระพุทธองคนั้นงาม บริสุทธิ์ปราศจากโทษ จึงมีโจทยวาสิ่งดังฤๅเปนดําเนินของสมเด็จพระพุทะองค วิสัชชนาวาพระ อริยมรรคทั้ง ๔ คือพระโสดาปตติมรรค พระสกทาคามิมรรค พระอนาคามิมรรค พระอรหัตตมรรค นี้แล เปนพระดําเนินแหงสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค นัยหนึ่งวาพระพุทธองคเสด็จไปสูประเทศสุนทรสถาน คือ พระอนตมหานิพพานสิ้นสังขาร ทุกข เหตุฉะนี้จึงทรงพระนามชื่อวาสุคโต นัยหนึ่งวาพระองคเสด็จไปเปนอันดีมิไดกลับ อธิบายวา พระองคละเสียซึ่งกิเลสเปนสมุจเฉทปหาน ดวยพระโสดาปตติมรรคญาณแลว พระพุทธองคก็มิได กลับมาสูกิเลสอันละแลว แลกิเลสซึ่งพระพุทธองคละเสียดวยพระสิทาคามิมรรค พระอนาคามิมรรค พระอรหัตตมรรคนั้นเลา พระองคก็ละเสียขาดเปนสมุจเฉท พระองคจะไดกลับสูกิเลสอันละแลวหา มิไดเสด็จไปเปนอันดีดังนี้ จึงไดพระนามวาสุคโต นัยหนึ่งวาทรงพระนามวาสุคโตนั้น เหตุพระองค กลาวซึ่งพระวาจาอันควรในที่ควรจะพึงกลาว ฯ แปลพระนามเปนคํารบ ๔ คือสุคโตยุติแตเทานี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 40 แลพระนามเปนคํารบ ๕ นั้น แปลวาสมเด็จพระผูมีพระภาคนั้นโลกวิทู รูซึ่งโลกดวยประการ ทั้งปวง นัยหนึ่งวาพระองคตรัสรูซึ่งโลก ๓ คือสังขารโลก แลสัตวโลก แลโอกาสโลก สังขารโลกนั้น ไดแกกุศล อกุศล สัตวโลกนั้นไดแกสรรพสัตว อันมีอัธยาศัยตาง ๆ โอกาสโลกนั้นไดแกแผนดินแผน ฟา สมเด็จพระศาสดาจารยเจาตรัสรูในโลกทั้ง ๓ นี้ จึงทรงพระนามวาโลกวิทู และพระนามคํารบ ๖ นั้นแปลวา โส ภควา อันวาสมเด็จพระผูมีพระภาคเจานั้น อนุตฺตโร ประเสริฐโดยพระคุณทั้งปวง หาบุคคลจะประเสริฐเสมอมิได พระองคครอบงําเสียซึ่งสัตวโลกทั้งปวงดวยศีลคุณ สมาธิคุณ ปญญาคุณ วิมุตติคุณ แล วิมุตติญาณทัสสนคุณ แตบรรดาสัตวในไตรโลกธาตุนี้ ผูใดผูหนึ่งจะมีคุณเปรียบดวยพระคุณแหง พระองคนั้นหามิได เหตุดังนั้น จึงทรงพระนามชื่อวา อนุตฺตโร แลพระนามคํารบ ๗ นั้น แปลวา โส ภควา อันวาสมเด็จพระผูมีพระภาค ปริสทมฺมสาถิ ทรมานซึ่งบุรุษอันมีวาสนาควรจะ ทรมาน คือติรัจฉานบุรุษมียาอปาละนาคราชเปนตน แลมุนษยบุรุษมีสัจจนิครนถเปนตน แลอมนุษยมี อาฬกยักษเปนตน แลหมูอมรเทพยดามีอมรินทราธิราชเปนตน แลพรหมบริษัทมีผกาพรหมเปนตน พระพุทธองคทรงทรมานดวยอุบายตาง ๆ ใหเสียซึ่งพยศอันราย ใหตั้งอยูในไตรสรณคมน แลศีล บรรลุพระอริยมรรคอริยผล โดยอันควรแกวาสนาบารมีแหงตน ๆ ที่ไดสรางสมอบรมมา เหตุ ดังนี้ จึงทรงพระนามชื่อวาปุริสทัมมสารถิ แลพระนามเปนคํารบ ๘ นั้นแปลวา โส ภควา อันวา สมเด็จพระผูมีพระภาค สตฺถา เปนครู เทวมนุสฺสานํ แหงเทพยดาแลมนุษยทั้งหลาย อิ ติ เพราะ อิมินา ปกาเรน ดวยเหตุดังนี้ ๆ ในบทดังนี้ ในบทสัตถาเทวมนุสสานังนี้รวมเอาอรรถทั้ง ๑๐ คือ สตฺถา แปลวาพระองค สั่งสอนสัตวยุติในกาลทั้ง ๓ คือ อดีตกาล อนาคตกาล ปจจุปนกาลประการ ๑ สตฺถา แปลวา เบียดเบียนเสียซึ่งกิเลสมีราคะเปนตนประการ ๑ สตฺถา แปลวายังกิเลสใหฉิบหายจากสันดานตน แลบุคคลผูอื่นประการ ๑ สตฺถา แปลวาสั่งสอนสัตวดวยอุบายแหงฌาณทั้ง ๓ คือกามาพจรกุศล ญาณเปนที่ดําเนินสูกามสุคติ ๑ คือรูปาพจรกุศลฐาณเปนที่ดําเนินสูรูปาพจรพรหมโลก ๑ คืออรู ปาพจรกุศลญาณเปนที่ดําเนินถึงอรูปภพประการ ๑ สตฺถา แปลวานําสัตวเขาสูนิเสศนสถานคือพระ นิพพานประการ ๑ สตฺถา แปลวามีอาวุธคมกลา คือปญญาประการ ๑ สตฺถา แปลวาสั่งสอน สัตวดวยประโยชนโดยสมควรประการ ๑ สตฺถา แปลวายังสัตวใหตั้งอยูในประโยชนในโลกนี้ แล โลกหนาประการ ๑ สตฺถา แปลวาเหมือนดังนายสัตถวาหะพอคาผูใหญ อันชักนําหมูพอคาทั้งปวง ใหพนภัยในมรรคอันกันดารประการ ๑ สตฺถา แปลวายังสัตวใหขามชาติกันดาร ชรากันดาร พยาธิ กันดาร มรณกันดารประการ ๑ เปนนัย ๑๐ ประการดังนี้ ฯ แลพระนามเปนคํารบ ๙ นั้นแปลวา โส ภควา อันวาพระผูมีพระภาคนั้น พุทฺโธ ตรัสรู ซึ่งพระจตุราริยสัจ ๔ ดวยพระองค แลยังสัตวหมูอื่นใหตรัสรูซึ่งพระจตุราริยสัจจ นัยหนึ่งวาทรงพระ นามชื่อวาพุทโธนั้น เหตุมีพระบวรสันดานอบรมไปดวยพระอรหัตตมัคคาญาณอันประเสริฐ อันเปน ตนเหตุแหงผลคือสัพพัญุตญาณ อันรูไปในไญยธรรมทั้งปวงมิไดขัดของ นัยหนึ่ง พุทโธ ศัพทนี้รวม ไวซึ่งอรรถถึง ๑๕ ประการ คือ พุทฺโธ แปลวาตรัสรูซึ่งพระจตุราริยสัจ ๔ ประการ ๑ พุทฺ โธ แปลวายังสัตวโลกอันมีบารมีสมควรจะตรัสรูใหใหตรัสรูพระอริยสัจจธรรมประการ ๑ พุทฺโธ แปลวามีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณคือสัพพัญุตญาณ อันสามารถตรัสรูไป ในไญยธรรมทั้งปวงประการ ๑ พุทฺโธ แปลวามีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณคือพระอรหัตต มัคคญาณ อันหักรานกองกิเลสเปนสมุจเฉทปหานหาเศษมิไดประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาตรัสรูพระ จตุราริยสัจดวยพระองคเอง หาผูจะบอกกลาวมิไดประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาเบิกบานดวยพระ อรหัตตมัคคญาณเปรียบประดุจดอกประทุมชาติ อันบานใหมดวยแสงพระสุริยเทพบุตร เหตุไดพระ อรหัตตแลว พระวิเศษญาณทั้งปวงมีอนาคามิมัคคญาณเปนตนเกิด พรอมดวยพระอรหัตตมัคคญาณ นั้นประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาสิ้นจากอาสวะทั้ง ๔ มีกามาสวะเปนตน มีอวิชชาสวะเปนที่สุดประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 41 ๑ พุทฺโธ แปลวามีพระบวรพุทธสันดานปราศจากกิเลส ๑๕๑๑ ประการ พุทฺโธ แปลวามีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ คือปราศจากราคะประการ ๑ พุทฺ โธ แปลวามีพระบวรสันดานปราศจากโทสะประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาพระบวรสันดานปราศจาก พุทฺโธ แปลวาตื่นจากหลับคือกิเลส เปรียบประดุจบุรุษตื่นขึ้นจากหลับประการ โมหะประการ ๑ ๑ พุทฺโธ แปลวาเสด็จไปสูพระนิพพาน โดยทางมัชฌิมปฏิบัติประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาตรัสรู ดวยพระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณแหงพระองคเอง หาผูจะรูบมิไดประการ ๑ พุทฺโธ แปลวาพระองค มีพระบวรพุทธสันดานไดซึ่งพุทธิ คือพระอรหัตตมัคคญาณ เหตุประหารเสียซึ่งอพุทธิคืออวิชชา ประการ ๑ เปนนัย ๑๕ ประการดังนี้ แลพระนามคํารบ ๑๐ คือ ภควา นั้นแปลไดถึง ๘ นัย คือ ภควา นั้น ภควา แปลวา สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคมีอิสริยยศประการ ๑ ภควา แปลวาควรจะรับซึ่งจตุปจจัยทาน คือ ภควา แปลวาแจกซึ่งแกว คือ พระ จีวรแลบิณฑบาทแลเสนาสนะ แลศิลานปจจัยประการ ๑ สัทธรรมประการ ๑ ภควา แปลวาหักเสียซึ่งธรรมอันเปนบาปมีราคะเปนตนประการ ๑ ภควา แปลวาพระพุทธองคมีพระภาค คือ พระบารมีอันพระองคสรางสมมาชานานประการ ๑ ภควา แปลวามีบวรกายแลจิตอันเจริญดวยภาวนาธรรมเปนอันมากประการ ๑ ภควา แปลวาถึง ซึ่งที่สุดแหงภพ คือพระอมตมหานิพพานประการ ๑ เปนนัย ๘ ประการดังนี้ ใชแตเทานั้น ภควา ศัพทนี้ถาแปลตามปรมัตถนัยนั้นแปลได ๕ นัยคือ ภควา แปลวา มีพระภาค คือบารมีธรรมประการ ๑ ภควา แปลวาหักเสียซึ่งกองกิเลสมีราคะเปนตนประการ ๑ ภควา แปลวากอปรดวยบุญสิริประการ ๑ ภควา แปลวาเสพซึ่งทิพยพรหมวิหารประการ ๑ ภควา แปลวาคายเสียซึ่งกิริยาอันเวียนไปในไตรภพ บมิไดบังเกิดสืบไปในภพทั้ง ๓ ประการ ๑ เปน ๕ นัยดังนี้ สิริแปลในบุรพนัย ๘ อปรนัย ๕ จึงเปนแปลแหงภควาศัพท ๑๓ นัยดวยกันพระนามชื่อ วาภควานี้ สมเด็จพระชนนีมารดาจะถวายก็หามิได สมเด็จกรุงสิริสุทโธทนะผูเปนพระปตุราช แลพระ บรมวงศศากยราช อันเปนญาติทั้ง ๒ ฝาย ๆ ละ ๘ หมื่น ๆ จะถวายก็หามิได ใชแตเทานั้นจะไดเปน พระนามอันมเหสักขเทวราช มีทาวสหัสสนัยบพิตรแลสันดุสิตเทวราชเปนประธานถวายก็หามิได พระ นามอันนี้เปนคุณวิโมกขันติกนาม พระองคไดคราวเดียวกันกับพระสัพพัญุตญาณเหนืออปราชิต บัลลังก ณ ควงไมพระมหาโพธิ์ ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้ ทานยกขึ้นวาเปนเนมิตตกนามแตภควาบทเดียว ในคัมภีรนิเทศ แลปฏิสัมภิทานั้น ทานยกขึ้นวาเปนคุณเนมิตตกวิโมกขันตินาม ตั้งแตพระอรหังตลอดจนภควา เมื่อ พระโยคาพจรระลึกถึงพระคุณแหงสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจาโดยนิยมดังกลาวมานี้ แลว ราคะ โทสะ โมหะ ก็มิไดครอบงําน้ําจิตแหงพระโยคาพจร ฯ ก็ซื่อตรงเปนอันดี นิวรณธรรม ทั้ง ๕ มีกามฉันทนิวรณเปนตนก็สงบลง เมื่อจิตสงบลงตรงพระกรรมฐานแลววิตกวิจารอันนอมไปใน พระพุทธคุณก็จะบังเกิด เมื่อวิตกวิจารบังเกิดแลงปติทั้ง ๕ ประการ คือ ขุททกาปติ ขณิกาปติ โอก กันติกาปติ อุพเพงคาปติ ผรณาปติ ก็จะบังเกิดในสันดาน เมื่อปติบังเกิด เเลว กายปสสัทธิ จิตตปสสัทธิ อันเปนพนักงานรํางับกายรํางับจิตก็จะบังเกิด เมื่อพระปสสัทธิทั้ง ๒ บังเกิดแลว ก็เปนเหตุจะใหสุข ๒ ประการ คือสุขในกาย สุขในจิต นั้นบังเกิด เมื่อสุขบังเกิดแลวน้ํา จิตแหงพระโยคาพจรก็จะตั้งมั่นดวยอุปจารสมาธิ อันจําเริญพุทธานุสสตินี้กําหนดใหสําเร็จคุณธรรมแตเพียงอุปจารฌาน บมิอาจใหถึงซึ่ง อัปปนาอาศัยวาน้ําจิตแหงพระโยคาพจร ที่จะลึกซึ่งพระพุทธคุณนั้น ระลึกดวยนัยตาง ๆ มิใชแตใน หนึ่งนัยเดียว อันพระพุทธคุณนี้ลึกล้ําคัมภีรภาพยิ่งนัก หยั่งปญญาในพระพุทธคุณนั้น ไมมีที่สุดไมมีที่ หยุดยั้งไมมีที่ตั้ง เหตุฉะนี้พระโยคาพจรผูจําเริญพุทธานุสสติ จึงคงไดแกเพียงอุปจารฌาน แลทานผู จําเริญพุทธานุสสตินี้ จะมีสันดานกอปรดวยรักใครในสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคจะถึงซึ่งไพบูลย ไปดวยคุณธรรม คือ ศรัทธา สติ ปญญา แลบุญสันดานนั้นจะมากไปดวยปรีดาปราโมทย อาจอด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 42 กลั้นไดซึ่งทุกขแลภัยอันจะมาถึงจิตนั้น จักสําคัญวาไดอยูรวมดวยสมเด็จพระผูมีพระภาค รางกายแหงบุคคลผูมีพระพุทธานุสสติกรรมฐานซับซาบอยูนั้น สมควรที่จะเปนที่สักการ แหงหมูเทพยดาแลมนุษย เปรียบประดุจเรือนเจดีย น้ําจิตแหงบุคคลผูนั้นจะนอมไปในพุทธภูมิจะ กอปรดวยหิริโอตัปปะ มิไดประพฤติลวงซึ่งวัตถุอันพระพุทธองคบัญญัติหามไว จะมีความกลัวแกบาป ละอายแกบาป ดุจดังวาเห็นสมควรพระพุทธองคอยูเฉพาะหนาแหงตน แมวาวาสนายังออนมิอาจ สําเร็จฌานสมาบัติมรรคผล ก็มีสุคติภพเปนเบื้องหนาเหตุดังนั้นนักปราชญผูมีปญญาอยาพึงประมาท ในพุทธานุสสติกรรมฐานอันมีคุณานิสงสเปนอันมาก โดยนัยกลาวมานี้ ฯ จบพุทธานุสสติกรรมฐานแตเทานี้

จักวินิจฉัยในธัมมานุสสติกรรมฐานตอไป พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญซึ่งธัม มานุสสติกรรมฐาน พึงอาศัยเสนาสนะอันควรโดยนัยหนหลังแลวระลึกถึงคุณแหงพระสัทธรรมวา สฺ วากฺขาโต ภควาตา ธมฺโม สนฺทิฏิโก อกาลิโก ฯลฯ วิุูหีติ ในบท สวากฺขาโต นั้น สําแดงคุณแหงพระปริยัติธรรม ที่จัดโดยพระธรรมขันธ ๘ หมื่น ๔ พัน สนฺทิฏิโก แล อกา ลิโล ตลอดจน เวทิตพฺโพ วิุูหิ นั้น สําแดงซึ้งพระพุทธคุณแหงพระนวโลกุตตรธรรมทั้ง ๙ ประการ ถาพระโยคาพจรระลึกถึงคุณแหงพระปริยัติธรรมนั้นพึงใหระลึกวา สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม แปลวา ธมฺโม อันวาพระปริยัติธรรมนั้นถาจะจัดโดยปฎกเปนปฎก ๓ ถาจะจัดโดยพระ ธรรมขันธได ๘ หมื่น ๔ พัน พระธรรมขันธ ถาจะจัดโดยองคมี ๙ ภควตา อันสมเด็จพระผูมีพระ ภาคเจา สฺวากฺขาโต ตรัสเทศนาไพเราะในเบื้องตนในทามกลางในที่สุดกอปรดวยอรรถแล พยัญชนะบริบูรณสําแดงศาสนาพรหมจรรย แลมรรคพรหมจารรยมิไดเหลือเศษ พึงระลึกถึงคุณพระ ปริยัติธรรมดวยบท สฺวากฺขาโต ภควาตา ธมฺโม อันมีอรรถาธิบายดังนี้ ฯ ถาจะระลึกคุณแหงความพระนวโลกตตรธรรมนั้น พึงใหระลึกวา สนฺทิฏิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ แปลวา ธมฺโม อันวาพระโลกุตตรธรรม ๙ ประการ คือพระอริยมรรค ๔ อริยมรรคผล ๔ พระนิพพาน ๑ เปนคํารบ ๙ สนฺทิฏิโก พระนว โลกุตตรธรรม ๙ ประการนี้ พระอริยบุคคลทั้งปลายมีสมเด็จพระพุทธเจาเปนตน ชําระจิตสันดานแหง ตนใหสงบจากราคาทิกิเลสแลว ก็เห็นประจักษแจงดวยปญญาจักษุแหงตนเอง นัยหนึ่งวาพระนว โลกุตตรธรรม ๙ ประการนี้ สนฺทิฏิโก พระอริยบุคคลทั้งปวงรูแทเห็นดวยปจจเวกขณญาณ จะได รูดวยกินิยาที่เชื่อฟงบุคคลอื่นหามิได นัยหนึ่งวาพระอริยบุคคลผูใดสําเร็จพระนวโลกุตตรธรรม สนฺทิฏิโก ยอมผจญเสียซึ่งกิเลสธรรมอันลามกใหพายแพดวยปญญา อันเกิดพรอมดวย นี้ อริยมรรคแลพระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการนั้น อกาลิโก ใหผลหากําหนดกาลบมิได อธิบายวา เมื่อพระอริยมรรคบังเกิดแลวจะไดทั้งสิ้น ๒ - ๓ วัน ๔ - ๕ วัน กอนแลวจึงจะ ใหผลมิได พระอริยมรรคบังเกิดแลว พระอริยผลก็บังเกิดมิไดเนิ่นชา แลพระนวโลกุตตรธรรม นั้น เอหิปสฺสิโก ควรแก เอหิ ปสสิกวิธี อธิบายวาพระอริยมรรคผูใดสําเร็จนวโลกุตตรธรรมนั้น อาจเรียกหาเชื้อเชิญบุคคลผูอื่นวา เอหิ ปสฺส ทานจงมานี่มาดูซึ่งธรรมสิ่งนี้ ๆ อาจจะเรียกจะเชิญ ผูอื่นดังนี้ได เหตุวาพระโลกุตตรธรรมนั้นโดยมีจริงแท บริสุทธิประดุจดวงแกวมณีอันวางไวในผารัตต กัมพล มิฉะนั้นเปรียบประดุจจันทรมณฑลอันปราศจากเมฆ มีรัศมีงามบริสุทธิ์เลื่อนลอยอยูใน อัมพรประเทศเวหาอาศัยเหตุนี้พระอริยบุคคลไดสําเร็จพระโลกุตตรธรรม อาจจะเรียกเชิญใหมาดูได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 43 ดังนี้ พระนวโลกุตตรธรรมจึงเรียกวา เอหิปสฺสิโก แลพระนวโลกุตตรธรรมนั้น โอปนยิโก ควรที่ พระโยคาพจรจะนอมมาไวในจิตแหงตนดวยสามารถจําเริญภาวนา แปลดังนี้ไดแกมรรค ๔ ผล ๔ อัน เปนสังขตะโลกุตตรธรรม ถาแปลวา โอปนยิโก ควรที่พระอริยเจานอมมาติดไวในจิตแหงตนดวย สามารถกระทําใหแจง แปลดังนี้ไดแกพระนิพพานอันเปนสังขตะโลกุตตรธรรมนั้น ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺ โพ วิฺูหิ แลพระโลกุตตรธรรมนั้น นักปราชญทั้งหลายมีอุคฆติตัญูเปนตน จะพึงรูพึงเห็นใน ตนเอง อธิบายวาผูใดไดแลวผูนั้นก็รูเห็นในจิตแหงจิตตน ฯ แปลในธรรมคุณยุติแตเทานี้

เมื่อพระโยคาพจรระลึกซึ่งคุณธรรม มีสวากขาโตเปนตนฉะนี้ ราคะ โทสะ โมหะ ก็จะบ มิอาจที่จะครอบงําย่ํายีจิตสันดานได จิตของพระโยคาพจรนั้นก็จะซื่อตรงเปนอันดี พระโยคาพจรนั้นจะ ขมเสียไดซึ่งนิวรณธรรมเปนตน รางกายแหงบุคคลนั้นจะสมควรแกการบูชาอุปมา ดุจเรือนพระเจดีย เมื่อจิตสงบลงตรงหนาพระกรรมฐานแลว วิตกวิจารอันนอมไปในพระธรรมคุณก็จะบังเกิด เมื่อวิตก วิจารบังเกิดแลวปติทั้ง ๕ ประการก็จะปรากฏในสันดาน เมื่อปติเกิดแลว กายปสสิทธิอันเปนพนักงาน ระงับกายระงับจิตก็จะเกิด เมื่อปสสิทธิทั้ง ๒ เกิดแลวก็เปนเหตุจะใหสุขกายสุขจิตบังเกิด เมื่อสุขเกิดแลว น้ําจิตของ พระโยคาพจรก็ตั้งมั่นดวยอุปจารสมาธิ อันจําเริญธัมมานุสสตินี้กําหนดใหไดคุณแตเพียงอุปจารฌาน มิอาจจะใหถึงซึ่งอัปปนา อาศัยวาน้ําจิตแหงพระโยคาพจรที่ระลึกพระธรรมคุณนั้น ระลึกดวยนัยตาง ๆ ใชอยางเดียว อันพระธรรมคุณนี้ลึกล้ํายิ่งนักหยั่งปญหาในพระธรรมคุณไมมีที่สุด เพราะฉะนั้นผู จําเริญธัมมานุสสติจึงไดเพียงอุปจารฌาน แลวผูจําเริญธัมมานุสสตินี้จะมีสันดานเคารพรักใครในพระ ศาสนา ดวยสําคัญวาเราไดประสบพระศาสดาผูแสดงโอปนยิกธรรมผูประกอบดวยคุณอันนี้ ที่ลวงไป แลวอยางนี้แลจะมีความเคารพยําเกรงโดยยิ่งในพระธรรม แลจะถึงความไพบูลยดวยคุณมีศรัทธาเปน ตน สันดานนั้นจะมากไปดวยปรีดาปราโมทย อาจจะอดกลั้นไดซึ่งทุกขแลภัยอันมาถึงจิตนั้น จะสําคัญวาไดอยูรวมดวยพระธรรมเจา ( คือสําคัญวาพระธรรมสิงในสันดานตน ) รางกายบุคคล อันมีธัมมานุสสติกรรมฐานซับซาบอยูนั้นควรจะเปนบูชาของเทพยดาแลมุนษย เปรียบประหนึ่งเรือน พระเจดีย น้ําจิตของผูนั้นจะนอมไปเพื่อตรัสรูอนุตตรธรรมจะกอปรดวยหิริแลโอตัปปะ มิไดประพฤติ ลวงซึ่งวัตถุอันพระองคบัญญัติไวแมวาวาสนายังออนมิอาจสําเร็จฌานสมาบัติมรรคผล ก็จะมีสุคคติ เปนเบื้องหนา เหตุฉะนี้นักปราชญผูมีปญญาพิจารณาเห็นภัยในวัฏฏสงสาร อยาพึงประมาทในธัมมา นุสสติกรรมฐานอันมีคุณานิสงสดังกลาวแลว ฯ จบธัมมานุสสติเทานี้

จักวินิจฉัยในสังฆานุสสติสืบตอไป สงฺฆานุสฺสติ ภาเวตุกาเมน รโหคเตน ปฏิสลฺลีเนน ฯ ล ฯ สงฺคุณานุสฺสริตพฺพา พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญสังฆานุสสติกรรมฐานนั้น พึง ตั้งสติระลึกถึงคุณพระอริยสงฆวา สุปฏิปนฺโน ภควาโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควาโต สาวกสงฺโฆ ฯ ล ฯ ปุฺญกฺเขตฺตํ โสกสฺสาติ แปลในบทตนวา สาวกสงฺโฆ อันวาพระสงฆ สาวก ภควาโต แหงสมเด็จพระผูทรงสวัสดิภาคย สุปฏิปนฺโน ปฏิบัติเปนอันดี ดําเนินขึ้นสูสัมมา ปฏิบัติ มิกลับจากพระนวโลกุตตรธรรม แลอนุโลมปฏิบัติอนุโลมตามพระนวโลกุตตรธรรม แลอปจจ นิกปฏิบัติมิไดเปนขาศึกแกพระนวโลกุตตรธรรม แลปุพพภาคปฏิบัติอันเปนสวนเบื้องตนแหงพระนว โลกุตตรธรรม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 44 แลพระอริยสงฆสาวกนั้น อุชุปฏิปนฺโน ปฏิบัติซื่อปฏิบัติตรง แหวกเสียซึ่งลามกปฏิบัติทั้ง ๒ คือ อัตตกิลมภานุโยคแลกามสุขัลลิกานุโยค ปฏิบัติโดยมัชฌิมปฏิบัติ คือพระอัษฏางคิกมรรค ละ เสียซึ่งคดอันประกอบในกายแลวาจาจิต ญายปฏิปนฺโน พระอริยสงฆสาวกนั้นปฏิบัติเพื่อไดให สําเร็จพระนิพพาน สามีจิปฏิปนฺโน ปฏิบัติควรแกสามีกรรม ยทิทํ จตฺตาริ ปริสยุคานิ พระอริย สงฆสาวกนั้นจัดเปนคูได ๔ คู คือ โสดาปตติมรรคบุคคลกับโสดาปตติผลบุคคลคู ๑ พระ สกทาคามิมรรคบุคคลกันพระสกทาคามิผลบุคคลคู ๑ พระอนาคามิมรรคบุคคลกับพระอนาคามิผล บุคคลคู ๑ พระอรหัตตมรรคบุคคลกับพระอรหันตบุคคลคู ๑ เปน ๔ คูดวยกัน อฏ ปุริส ปุคฺคลา ถาแยกคูออกนั้นเปนปริสบุคคล ๘ จําพวก เอส ภควาโต สาวกสงฺ โฆ พระอริยสาวกแหงสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค ผูทรงพระสวัสดิภาคยที่จัดเปน ๔ คู เปนปุริส บุคคล ๘ จําพวกดังนี้ อาหุเนยฺโย ควรจะรับซึ่งจตุปจจัยอันเฉพาะบุคคลผูมีศีลนํามาแตไกลแลว แล นอมเขาถวาย ปาหุเนยฺโย แมอาคันตุกทานอันบุคคลทั้งหลายตกแตงไวเฉพาะญาติแลมิตร อันเปน ที่รักที่ชอบใจอันมาแตทิศตาง ๆ นั้นทายกนํามาถวาย ก็สมควรที่พระอริยสงฆจะพึงรับ แลบุคคลที่ไปมาสูโลกทั้งหลายสมมุติเรียกวาแขกนั้น ผูใดผูหนึ่งจะประเสริฐกวาแขก คือ พระอริยสงฆนี้หามิได พระอริยสงฆสาวกนั้น ทกฺขิเณยฺโย ควรจะรับซึ่งทานอันบุคคลเชื่อซึ่งกรรม แลผลแลว แลให อฺชลีกรณีโย ควรแกอัญชลียกรรม อันสัตวโลกยกพระพุมหัตถประนมมือเหนือ เศียรเกลาแลวแลกระทํา อนุตฺตรํ ปุฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส เปนเนื้อนาบุญอันประเสริฐหาเขตอื่นจะ เปรียบมิได แหงสรรพสัตวในโลกนี้ แลพระโยคาพจรผูระลึกถึงคุณแหงพระอริยสงฆ โดยนิยมดังนี้ ยอมจะไดคุณานิสงสตาง ๆ ดุจดังพรรณนาแลวในพุทธนานุสสติธัมมานุสสติกรรมฐานนั้น เหตุฉะนี้ นักปราชญผูมีปญญาพิจารณาเห็นภัยในวัฏฏสงสารอยาพึงประมาทละลืมเสียซึ่ง สังฆานุสสติกรรมฐาน พึงอุตสาหะระลึกเนือง ๆ อยาใหเสียทีที่พบพระพุทธศาสนา แลพระโยคาพจรผู มีศรัทธาจําเริญธัมมานุสสติ สังฆานุสสติกรรมฐานนั้น มีกําหนดจะใหไดสําเร็จแตอุปจารสมาธิ บมิอาจ ดําเนินขึ้นสูภูมิแหงอัปปนาไดเหตุวาพระธรรมคุณ พระสังฆคุณนั้นลึกล้ําคัมภีรภาพยิ่งนัก พระ โยคาพจรหยั่งจิตกิริยา อันระลึกซึ่งพระธรรมคุณและพระสังฆคุณนั้นโดยนัยตาง ๆ ไมมีที่หยุดยั้งไมมี ที่ตั้ง เหตุดังนี้จึงมิไดถึงซึ่งอัปปนาสมาธิ ไดเพียงอุปจารสมาธิ ฯ จบสังฆานุสสติกรรมฐานแตเทานี้

จักวินิจฉัยในสีลานุสสติสืบตอไป สีลานุสฺสติ ภาเวตุกาเมน ฯ ล ฯ อตฺตโน สีลานิ อนุสสริตพฺพานิ พระโยคาพจรผูมีศรัทธา ปรารถนาจะจําเริญสีลานุสสติกรรมฐานนั้น ถาเปนคฤหัสถก็ พึงชําระศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ประการใหบริสุทธิ์ ถาเปนบรรพชิตพึงชําระศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ใหบริสุทธิ์ ใหตั้งอยูในอขัณฑศีลแลอฉิททศีล อสวลศีล แลอกัมมาสศีล นักปราชญพึงสันนิษฐานวา ศีลอัน บุคคลรักษาบริสุทธิ์บริบูรณจะไดขาดในเบื้องตนเบื้องปลาย ประดุจผาสาฏกอันขาดในชายทั้ง ๒ ขาง นั้นหาบมิไดอยางนี้ชื่อวาอขัณฑศีล แลศีลบริสุทธิ์บริบูรณเปนอันดีจะไดขาดในทามกลางเหมือนผาสาฏกอันทะลุในกลางผืนนี้ หามิได อยางนั้นชื่อวาฉิททศีล แลศีลมิไดขาด ๒ องค ๓ องคโดยลําดับมา ๆ มิไดตางประดุจโคตาง อันมีสีแปลกประหลาดบังเกิดขึ้นในหลังแลทอง มีสัณฐานกลมแลยาวเปนตนนั้นชื่อวา อสวลศีล แล ศีลอันมิไดขาดในระหวาง ๆ มิไดพรอยประดุจโคอันลายพรอย ๆ เปนหยาด ๆ นั้น ชื่อวาอกัมมาสศีล เมื่อพระโยคาพจรเจาชําระศีลแหงตนใหบริสุทธิ์ดังนั้นแลว พึงเขาไปสูเสนาสนะอันสงัด ดุจกลาว แลวแตหลัง พึงพิจารณาศีลแหงตนดวยสามารถคุณมีมิไดขาดเปนตนวา อโห วตเม สีลานิ อขณฺฑา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 45 นิ อฉิทฺทนิ อสวลานิ อกมฺมาสานิ ภุชฺชิสฺสานิ วิฺูปสตฺถานิ อปรามตฺถานิ สมาธิสํวตฺตนิกา นิ ดังอาตมาสรรเสริญ ศีลแหงอาตมานี้มิไดขาดในเบื้องตนเบื้องปลายบมิไดทําลายในทามกลาง บ มิไดดางบมิไดพรอย ศีลแหงอาตมานี้เปนไทย บมิไดเปนทาสแหงตัณหา ศีลแหงอาตมานี้เปนที่ สรรเสริญแหงนักปราชญทั้งหลาย มีสมเด็จพระพุทธเจาเปนประธาน ศีลอาตมานี้ตัณหาทิฏฐิมิไดตอง ประพฤติเปนไปเพื่อจะใหสําเร็จอุปจารสมาธิ แลอัปปนาสมาธิ อนึ่งเปนไปเพื่อมรรคสมาธิแลผลสมาธิ เมื่อพระโยคาพจรภิกษุผูเห็นภัยในวัฏฏสงสารระลึก เนือง ๆ ถึงศีลแหงตนโดยนัยดังกลาวมานี้ก็จะมีจิตเคารพในสิกขาบท จะปราศจากอัตตนุวาทภัยคือได ติเตียนเปนตนแมวาจะเห็นโทษมาตรวาหนอยหนึ่ง ก็จะมีความสะดุงตกใจเปนอันมากจะจําเริญดวย คุณธรรมคือ ศรัทธา สติปญญา จะมามากดวยปรีดาปราโมทย แมวาบมิอาจถึงพระอริยมรรค พระ อริยมรรคในชาตินั้นก็จะมีสุคติเปนเบื้องหนา เหตุดังนั้นนักปราชญผูมีปรีชา อยาพึงประมาทในสีลา นุสสติกรรมฐานอันกอปรดวยคุณานิสงสเปนอันมากดังที่ไดกลาวมานี้ พึงจําเริญสาลานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงศีลแหงตนจนเนืองนิตยเถิด ฯ จบสีลานุสสติกรรมฐานแตเทานี้

จักวินิจฉัยใน จาคานุสสติกรรมฐานสืบตอไป จาคานุสฺสติภาเวตุกาเมน ฯลฯ จาโค อนุสฺสริตพฺโพ พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญจาคานุสสติกรรมฐานนั้น พึงมีจิตรักใคร ในจําแนกแจกทานใหเปนนิตยเปนตนเปนเดิม นัยหนึ่งวา เมื่อปรารถนาจะจําเริญจาคานุสสติกรรมฐาน นั้น ใหตั้งจิตของตนวา จําเดิมแตวันนี้ไปเมื่อปฏิคาหกผูจะรับทานมี ถาอาตมาไมไดใหทานโดย กําหนดเปนที่สุด แตขาวคําหนึ่งกอนแลว อาตมาก็จักมิไดบริโภคเลยเปนอันขาด ในวันจะจําเริญจา คานุสสติกรรมฐานนั้น ใหพระโยคาพจรจําแนกแจกทานแกปฏิคาหก อันทรงซึ่งคุณอันวิเศษ แลวพึง เอานิมิตในทางที่ตนให คือกําหนดอาการอันเปนไปดวยบริจากเจตนานั้น ครั้นแลวเขาสูเสนาสนะอันสงัด มีนัยดังกลาวแลวแตหนหลัง พึงระลึกซึ่งบริจากของตน ดวยสามารถกอปรดวยคุณ มีปราศจากตระหนี่เปนตนดวยพระบาลีวา ลาภา วต เม สุลทฺธํ วต เม โยหํ มจฺเฉรมลปริยุฏิตายปชาย วิคตมลมจฺเฉเรน เจตสา วิหรามิ มุตฺตจาโค ปยตปาณี โวสฺสคฺครโต ยาจโยโค ทานสํวิภาครโต อรรถาธิบายในบาลีนี้วา บุญลาภแหงทายกผูบําเพ็ญทาน นั้น สมเด็จพระผูมีพระภาคยอมตรัสสรรเสริญโดยการเปนอันมาก บุญลาภนั้นไดชื่อวาเปนของอาตมา บังเกิดแกอาตมาประการ ๑ ความสั่งสอนอันสมเด็จพระผูมีพระภาคโปรดประทานไวนั้นก็ดี กิริยาที่อาตมาไดบังเกิดมา เปนมนุษยก็ดี สุลทฺธํ วต ไดชื่อวาอาตมาไดเปนอันดียิ่งนัก เพราะเหตุวา สัตวโลกทั้งปวงมีสันดาน มากไปดวยมลทิน คือมัจฉริยะ ๆ ครอบงําไว แลอาตมาอยูบัดนี้ดวยปราศจากมลทินคือตระหนี่ มุตฺต จาโค อาตมามีบริจากอันสละแลว ปยตปาณี มีมืออันลางอยูเปนนิตย เพื่อประโยชนจะคอยหยิบ ไทยทานโดยเคารพ โวสฺสคฺครโต อาตมานี้ควรแกกิริยาอันยาจกมาขอ อธิบายวาถามียาจกมาขอ สิ่งใดอาตมาก็จะใหสิ่งนั้น ทานสํวิภาครโต อาตมามีจิตยินดีในทานยินดีในการจําแนกอธิบายวา กิริยาที่ใหสิ่งของอันตนแตงไว เพื่อจะใหแกปฏิคาหกนั้นเรียกวาทาน แลสิ่งของที่ตนจะบริโภคนั้น ถา หยิบออกใหเรียกสังวิภาค เมื่อพระโยคาพจรระลึกซึ่งบริจากแหงตนโดยนิยมดังนี้ ก็จะมีคุณานิสงสดุจ กลาวแลวในพุทธานุสสตินั้น ความยินดีที่จะบริจากทานนั้น จะวัฒนาการขึ้นไปกวาเกา อัธยาศัยนั้นจะปราศจากโลภจิต จักอนุโลกมตามเมตตา มิไดยอหยอนที่จะบริจากทาน สันดานจะมากไปดวยปรีดาปราโมทย แมถึงวา มิสําเร็จพระอริยมรรคพระอริยผลในชาตินั้น ทําลายเบญขันธก็จะมีสุคคติเปนเบื้องหนา เหตุฉะนี้ นักปราชญผูมีปรีชาอยาพึงประมาทในจาคานุสสติกรรมฐาน อันมีคุณานิสงสดังแสดงมานี้ ฯ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 46 จบจาคานุสสติกรรมฐานแตเทานี้

จักวินิจฉัยในเทวตานุสสติสืบตอไป เทวตานุสฺสติ ภาเวตุกาเมน ฯลฯ อนุสฺสริตพฺ พา พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญเทวตานุสสติกรรมฐานนั้น พึงประพฤติจิตสันดานให กอปรดวยคุณธรรม คือศรัทธาแลศีลแลสุตะแลจาคะแลปญญาเขาสูที่สงัดแลว พึงตั้งเทพยดาไวในที่ เปนพยาน ระลึกถึงเทพยดาอันกอปรดวยคุณมีศรัทธาเปนตนวา สนฺติเทวา จาตุมหาราชิกา เทพย ดาอันอยูในชั้นจาตุมหาราชิกาดวงดึงษา ยามาดุสิตา นิมมานนรดี ปรนิมมิตวสวดีนั้น ๆ ก็ดีเทพย ดาอันอยูในพรหมโลกก็ดี เมื่อเปนมนุษยนั้นกอปรดวยศรัทธา จุติจากมนุษยแลวจึงไดขึ้นไปบังเกิดใน สวรรคเทวโลก แลศรัทธาของอาตมานี่ก็เหมือนศรัทธาแหงเทพยดาเหลานั้น อนึ่งเทพยดาทั้งปวงนั้นเมื่อเปนมนุษยกอปรดวยศีลอุตสาหะ สดับฟงพระธรรมเทศนาและ บริจากทาน กอปรดวยสติปญญาจุติจากอนุษยแลวจึงไดขึ้นไปบังเกิดในเทวดา อาตมานี้กอปรดวย ศีล สุตะ จาตะ จาคะ ปญญา เหมือนดวยเทพยดาเหลานั้น เมื่อตั้งไวซึ่งเทพยดาในที่เปน พยานดังนี้แลว ก็พึงระลึกถึงศรัทธาคุณ ศีลคุณ สุตคุณ จากคุณ ปญญาคุณ ของตนเนือง ๆ ตกวาระลึกเอาศรัทธาทิคุณของเทพยาดาเปนพยานกอนแลว จึงจะระลึกถึงศรัทธาทิคุณของตนตอ ภายหลัง พระโยคาพจรผูประกอบเนือง ๆ ซึ่งเทวตานุสสติกัมมัฏฐานดังนี้ จะเปนที่รักแหงเทพยาดา เปนอันมากจะมีคุณานิสงสเปนอันมาก ดุจกลาวแลวในพุทธานุสสติกัมมัฏฐาน เหตุดังนั้นนักปราชญผู มีปรีชาพึงอุตสาหะจําเริญเทวดานุสสติกัมมัฏฐานจงเนือง ๆ เถิด ฯ จบเทวตานุสสติกัมมัฏฐานแตเทานี้

จักวินิจฉัยในมรณานุสสติกัมมัฏฐานสืบตอไป ตตฺถ มรณ สติยา ภาวนานิทฺเทเส ใน มรณานุสตติภาวนานิเทศนั้นมีกระทูความวาพระโยคาพจรผูจะจําเริญมรณานุสสติกัมมัฏฐานนั้น พึง ระลึกถึงความมรณะ ใหเปนนิรันดรอยูในขันธสันดาน มรณะประสงคเอาซึ่งความขาดแหงชีวิตินทรีย อันมีกําหนดภพอัน ๑ คือบังเกิดขึ้นในภพ เปนสัตวเปนชีวิตแลว และถึงซึ่งจุติทําลายขันธดับสูญขาด ชีวิตินทรียไปจากภพนั้นไดชื่อวามรณะ กําหนดโดยภพควรที่จะเอาเปนอารมณแหงมรณานุสสติ กัมมัฏฐาน และมรณะนั้นมี ๓ ประการ คือสมุจเฉทมรณะ ขณิกมรณะสมมติมรณะ ทั้ง ๓ ปราการนี้ ควรที่จะเอาเปนอารมณแหงมรณานุสสติกัมมัฏฐาน อธิบายวา สมุจเฉทมรณะนั้น ไดแกพระอรหันตอัน ตัดเสียซึ่งวัฏทุกข กิจที่ใหสําเร็จแกพระอรหันตตัดทุกขในสังสารวัฏไดขาดนั้น จัดเปนมรณะประการ ๑ ชื่อวาสมุจเฉทมรณะแลขณิกมรณะนั้นไดแกสังขารธรรมอันดับอันทําลายทุก ๆ ภวังค มรณะอธิบายวา จิต แลเจตสิกซึ่งบังเกิดขึ้นในอุปาทขณะตั้งอยูในฐิติ ขณะแลวดับไปในภวังคขณะนั้นเปนมรณะ ประการ ๑ ไดชื่อวาขณิกมรณะ แลสมมติมรณะนั้นคือความตายอันโลกสมมติ โลกโวหารรองเรียกวาตนไมตายทองแดง เหล็กตายตานสมมติเรียกเปนตนฉะนี้ จัดเปนมรณะประการ ๑ ชื่อวาสมมติมรณะ มรณะทั้ง ๓ ประการ นี้พระโยคาพจรอยาไดประสงคเอาเปนอารมณ ในกาลเมื่อจําเริญมรณานุสสติกัมมัฏฐานในที่นี้มีคําฏี กาจารยอธิบายไววา สมุทเฉทมรณะนั้นมีโดยนอยมิไดมีโดยมาก ฝายขณิกมรณะนั้นเลาก็เกิด ๆ ดับ ๆ เนือง ๆ ไปนัก และสมมติมรณะ คือทองแดงตาย คือเหล็กตายเปนตนนั้นเลาก็มิไดเปนที่เกิดแหงธรรม สังเวช เหตุฉะนี้ มรณะทั้ง ๓ ประการ จึงมิควรที่พระโยคาพจรจะเอาเปนอารมณ ในกาลเมื่อจําเริญมรณนุสสติกัมมัฏฐานและมรณะควรที่จะเอาเปนอารมณนั้น พระอรรถกถา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 47 จารยประสงคเอาแตมรณะทั้ง ๒ คือกาลมรณะประการ ๑ อกาลมรณะประการ ๑ กาลมรณะนั้น คือตาย ดวยสิ้นบุญตายดวยสิ้นอายุ แทจริงสัตวทั้งปวงอันมีกุศลเปนชนกกรรมนําปฏิสนธิในที่อันเปนสุขนั้น ถากุศลซึ่งอุปถัมภอุดหนุนค้ําชูนั้นบมิไดตลอดไป แมวาปจจัยคืออาหารอันจะสืบอายุนั้นยังมีบริบูรณ อยูก็ดี ก็บมิอาจวัฒนาการจําเริญอยูได ยอมถึงซึ่งจุติจากสมบัติพัสถานเคลื่อนคลาดจากที่อันเปนสุข ขาดชีวิตตินทรียเพราะเหตุหากุศลจะอุปถัมภสืบตอไปบมิได มรณะเห็นปานดังนี้ไดชื่อวาบุญญัก ขยมรณะ วาตายดวยสิ้นบุญมีคําฏีกาจารยวาบุญญักขยมรณะตายดวยสิ้นบุญนั้น เปนภพอันบริบูรณ ดวยสมบัติพัสถาน สเจ ภววิปตฺติยํ ิโต ถาสัตวนั้นบังเกิดในวิปตติภพ เปนภพอันกอปรดวยความทุกข ความยาก ทนทุกขเวทนาตราบเทาสิ้นบาปสิ้นกรรมแหงตนแลว และกระทํากาลกิริยาวิปตติภพนั้น ได ชื่อวาปาปกขยมรณะวาตายดวยสิ้นบาป และสัตวอันตายดวยสิ้นอายุนั้น พระอรรถกถาจารยกลาวไววา สัตวอันหาคติสมบัติ กาลสมบัติ อาหารสมบัติบมิได คือบมิไดมีคติบริบูรณ ดุจเทพยดาอันบริบูรณดวย กาล บมิไดมีอาหารบริบูรณ ดุจชาวอุตตรกุรุทวีปอันบริบูรณดวยอาหาร และมีอายุอันนอยประมาณได รอยป ดุจดังอายุมนุษยหญิงชายในกาลทุกวันนี้ก็ดี สัตวอันบริบูรณดวยกาลและอาหาร และอายุยืน นานมากกวาแสนปนั้นก็ดี แตบรรดาสัตวที่สถาพรอยูตราบเทาสิ้นอายุ แลวกระทํากาลกิริยานั้นชื่อวา อายุกขยมรณะสิ้นดวยกัน พึงสันนิษฐานวา สัตวที่สิ้นบุญสิ้นบาปสิ้นอายุแลว ละทํากาลกิริยานั้น ได ชื่อวากาลมรณะตายในกาลอันพึงตาย อกาลมรณํ กมฺมุปจเฉทกวเสน และสัตวทั้งปลายซึ่งกระทํากาลกิริยานั้น ดวยสามารถ อุปจเฉทกรรมนั้นไดชื่อวาอกาลมรณะตายในกาลอันบมิควรจะพึงตาย แทจริงสัตวทั้งหลายซึ่งมีขันธ สันดานอันขาดดวยอํานาจอุปจเฉทกกรรม อันมีกําลังสามารถกระทําใหเคลื่อนคลาดจากที่ในขณะดุจ ดังวาพระยาทุสิมารราช และพระยากลาพุราชเปนตน อันประทุษรายแกขันติวาทีดาบส และแผนดินให ชองลงไปไหมในอเวจีนรกนั้น ไดชื่อวากาลมรณะตายในกาลอันมิควรจะพึงตาย ใชแตเทานั้นสัตว ทั้งหลายอันโบราณกรรมติดตามมาทัน และมีผูฆามาฟนดวยเครื่องสาตราวุธ กระทํากาลกิริยาดวย ความเพียรแหงบุคคลอื่น และอกุศลดลจิตใหประหารชีวิตแหงตนเสียดวยตนเองก็ดี อยางนี้ก็ไดชื่อ วาอกาลมรณะ มรณะทั้ง ๒ ประการ คือกาลมรณะแลอกาลมรณะ อันมีนัยดังพรรณนามานี้ สมควรที่พระ โยคาพจรจะถือเปนอารมณในกาลเมื่อจําเริญมรณานุสสติกัมมัฏฐาน ตํ ภาเวตุกาเมน พระ โยคาพจรผูปรารถนาจะจําเริญมรณานุสสติกัมฐานนั้น พึงเขาไปในที่สงัดอยูแตผูดียวนั้นแลวพึงกระทํา บริกรรม มรณํ ภวิสฺสติ ชีวิตินฺทฺรริยํ อุปจฺฉิสฺสติ ความตายจักมีชีวิตินทรียจักขาดดังนี้ ถามิดังนั้น พึงกระทําบริกรรมวา มรณํ มรณํ ความตาย ๆ ดังนี้ เมื่อกระทําซึ่งบริกรรมนั้นพึงมนสิการกําหนดกฏหมายดวยอุบาย อยาไดกระทํามนสิการ ดวยหาอุบายมิได มีคําฎีกาจารยวิสัชนาวา ซึ่งใหกระทํามนสิการกําหนดกฏหมายดวยอุบาย คือให พิจารณาสติและปญญาพิจารณาใหเห็นธรรมสังเวชวา ความตายนั้นจะมีแกเราเปนแท ชีวิตแหง อาตมานี้จะขาดเปนแท พึงพิจารณาสังเวชฉะนี้ อยาไดบริกรรมเพอไปแตปาก บมิไดปลงปญญา พิจารณาใหเห็นสังเวชในความตายนั้น ไดชื่อวากระทํามนสิการหาอุบายมิได อโยนิโส ปวตฺตยโต หิ แทจริงพระโยคาพจรผูประพฤติซึ่งกิจมาสิการดวยหาอุบายมิไดนั้น ขณะเมื่อระลึกขึ้นมาถึงความตายแหงบุคคลอันเปนที่รักก็บังเกิดความโศกความเศรา อุปมา ดุจบุคคลอันระลึกถึงมารดาบังเกิดเกลา แลบุตรอันเปนที่รักพึงอนิจกรรมไปบังเกิดความโศกเศรา ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของชนที่ตนไมรักใครเกลียดชัง ก็จะเกิดความปราโปรทย ( เชนชนที่มีเวร ตอกันระลึกถึงความตายแหงกันและกันฉะนั้น) ขณะเมื่อระลึกถึงความตายแหงบุคคลอันตนบมิไดรักบ มิไดชังนั้น ก็จักเพิกเฉยบมิไดมีความสังเวช ดุชฉวฑาหิกชนสัปเหรออันเห็นซากกเฬวระและหาสังเวช มิได ถาระลึกถึงความตายเเหงตน ก็มักเกิดความสะดุงตกใจดุจบุคคลภิรุกชาติสันดานขลาด เห็นนาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 48 เพชฌฆาตถือดาบเงือดเงื้ออยูและความสดุงตกใจ นักปราชญพึงสันนิษฐานวาการที่จะเศราโศก จะ บังเกิดความยินดีปรีดา จะหาสังเวชบมิได จะบังเกิดความสดุงตกใจทั้งนี้ก็อาศัยแกปราศจากสติและ ปญญาปราศจากสังเวช กระทํามนสิการดวยหาอุบายบมิได บริกรรมวา มรณัง ๆ นั้นบนเพอไปแตปาก บมิไดเอาสติ และปญญาประกอบเขาเห็นธรรมสังเวชจริง ๆ จึงเปนดังนั้น ถากระทํามนสิการดวยอุบายปลง สติปญญาลงได มีธรรมสังเวชอยูในสันดานแลวไหนเลยจะเปนดังนั้น ก็จะเปนคุณวุฒิอันล้ําเลิศประเส ริญคือระลึกถึงความตายแหงบุคคลอันเปนที่รักก็จะมิไดเศรามิไดโศก ระลึกถึงความตายแหงบุคคลอัน เปนเวรก็จะมิไดชื่นชมโสมนัส ระลึกถึงความตายแหงบุคคลที่ตนไมรักไมชังก็จะมิไดเพิกเฉย จะ บังเกิดความสังเวชบริบูรณในสันดานระลึกขึ้นมาถึงความตายแหงตนเลา ก็ปราศจากความสดุงตกใจ อันกระทํามนสิการดวยอุบายนี้ มีคุณมากกวา มากดุจกลาวมานี้ เหตุดังนั้นพระโยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติกัมมัฏฐาน พึงพิจารณาถึงความตายแหงสัตว ทั้งหลายอันโจรฆาใหตายก็ดี ตายเองก็ดี แตบรรดาที่ทอดทิ้งกลิ้งอยูในที่ทั้งปวง เปนตนวาปาชัฏและ ปาชาที่ตนไดเห็นแตกอนนั้น พึงพิจารณาเปนอารมณในที่จําเริญมรณานุสสติ สติฺจ ปฺญฺจ สํ พึงมนสิการดวยอุบายอันยังสติและปญญา และธรรมสังเวชใหบังเกิดแลวพึง เวคฺจ โยเชตฺวา กระทําซึ่งบริกรรมดวยนัยเปนตนวา มรณํ ภวิสฺสติ ชีวิตินฺทฺริยํ อุปจฺฉิสฺสติ โดยนัยที่สําแดงมาแต หนหลัง เอวํ ปวตฺตยโต เยว เมื่อพระโยคาพจรประพฤติโดยวิถีอันพระอรรถกถาจารยเจาสําเเดงไว ฉะนี้ บางจําพวกที่มีปญญินทรียแกกลานั้น ก็จะขมเสียไดซึ่งนิวรณธรรมมีกามฉันทะเปนตน จะมี มรณารมณตั้งมั่น พระกัมมัฏฐานจะถึงซึ่งอุปจารสมาธิไมลําบากยากใจ อาศัยดวยปญญินทรียอันแก กลา เอตฺตาวตา น โหติ พระโยคาพจรที่มีปญญามิไดแกกลามิไดสําเร็จกิจแหงพระกัมมัฏฐานดวย วิธีประมาณเทานี้ และปรารถนาจะกระทําเพียรในมรณานุสสติกัมมัฏฐานตอไป ก็พึงระลึกถึงความตาย โดยอาการ ๘ ประการคือ วธกปจจุปปฏฐานประการ ๑ สัมปตติวิปตติประการ ๑ อุปสังหรณะประการ ๑ กายพหุสาธารณะประการ ๑ อายุทุพพละประการ ๑ อนิมิตะประการ ๑ อัทธานปริเฉทะ ประการ ๑ ขณปริตตะประการ ๑ รวมเปน ๘ ประการดวยกันอาการเปนปฐมคือวธกปจจุปปฏฐานนั้น มีอรรถาธิบายวา ใหระลึกถึงความตายใหเห็นปรากฏ ดุจนายเพชฌฆาตมีมือถือดาบอันคมกลา ปุจฉาวา เหตุไฉนใหระลึกเชนนี้ วิสัชนาวา ใหระลึกนี้ดวยสามารถจะใหเห็นวาเกิดกับตาย นั้นมาพรอมกัน สัตวทั้งหลายอันเกิดมาในโลกนี้ยอมมีชรา แลขณิกมรณะนั้นติดตามตัวมาทุกรูป ทุก นาม ยถา หิ อหิฉตฺตกํ มกุลํ อุปมาดุจดังเห็ดอันตูม อันพึงขึ้นพื้นนดิน แลพาเอาฝุนติดยอดขึ้นไป นั้น ปฏิสนฺธิจิตฺตํ อุปฺปาทานนฺตรํ แทจริงสัตวทั้งหลายอันบังเกิด ถือเอาปฏิสนธิกําเนิดในโลกนี้ จําเดิมแตปฏิสนธิแลวในลําดับอุปปาทขณะแหงปฏิสนธิจิตนั้น ก็ถึงซึ่งความชราและมรณะ ๆ นั้น ติดตามมากับตน ปพฺพตสิขรโต ปติถสิลา วิย เปรียบประดุจกอนศิลาอันหักตกลงมาจากชะงอนแหง ภูเขา และพาเอาตนไมและหญาที่เนื่องดวยตนนั้นลงมาดวยกัน มรณํป สหชาติยา อาคตํ เกิดกับ ตายนี้มาพรอมกัน เหตุวาความเกิดมีแลว ความตายก็มีดวยบุคคลที่เกิดมานั้นยอมจะถึงซึ่งความตาย เปนแท จําเดิมแตบังเกิดขึ้นแลว ก็บายหนาสูความตาย ดุจพระอาทิตยอันอุทัยขึ้นมาแลวและบายหนา สูอัสดงคต มิไดถอยหลังมาจากวิถีที่ดําเนินไปนั้น ถามิดังนั้นอุปมาดุจดังวานทีธารอันไหลยอยลงมา แตซอกแหงภูเขา มีกระแสอันเชี่ยว ยอมพัดไปซึ่งใบไมและตนหญาแตบรรดาที่ตกลงในกระแสนั้น ไหลหลั่งถั่งลงไปหนาเดียว ที่จะไหลทวนกระแสขึ้นไปมาตรวาหนอยหนึ่งหาบมิไดอันนี้แล มีฉันใด อายุแหงสัตวทั้งปวงก็ลาวงไป ๆ มิไดกลับหลัง ตั้งหนาเฉพาะสูความตาย มีอุปไมยดังนั้นเหตุดังนั้นสมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจา จึงมีพระพุทธฎีกาโปรด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 49 ประทานพระธรรมเทศนาไววา ยเมกรตฺตึ ปมํ คพฺเภว สติมาณโว อพฺภฏิโต วาสยาติ อธิบาย ในบาทพระคาถานี้วา สัตวอันอยูในครรภมารดานั้น จําเดิมแตขณะตั้งปฏิสนธิในราตรีนั้น แลวก็ตั้งแต แปรไป ๆ เดิมเกิดเปนกลละแลวก็แปรไปเปนอัมพุทะ ตั้งแตแปรไป ๆ ตราบเทาถึงมรณภาพเปนที่สุด จะเที่ยงจะแทนั้นหามิได เปรียบประดุจวาหมอก อันตั้งขึ้นมาแลวก็ถึงภาวะเคลื่อนไป ๆ ตราบเทาสูญ หาย มีคําฎีกาจารยวิสัชนาวา ซึ่งพระพุทธฎีกาตรัสวา รตฺตึ ปมํ วาสัตวตั้งปฏิสนธิในเพลาราตรี หนึ่งนั้น วาโดยเยภุยยนัย อันวาธรรมดาสัตวที่ถือปฏิสนธิในเพลาราตรีนั้น มีโดยมากที่จะถือเอา ปฏิสนธิในเพลากลางวันนั้นมีโดยนอย เหตุดังนั้นนักปราชยพึงสันนิฐานวา รัตติศัพทนั้นพระพุทธเจา เทศนาโดยเยภุยยนัย อายุแหงสัตวที่ลวงไป ๆ โดยนัยดังพรรณนาฉะนี้ พระอรรถกถาจารยเจาอุปมาไววา เหมือนดวยอาการอันสิ้นไปแหงแมน้ํานอย ๆ ตองแสง พระสุริยเทพบุตรในคิมหันตฤดูแลง และถึงซึ่งสภาวะเหือดแหงสิ้นไปทุกวันทุกเวลา ถามิฉะนั้นดุจไม มีขั่วอันอาโปธาตุมิไดซาบถึงและหลนลงมาจากตน ณ เพลาเชาธรรมดาผลไมอันมีพรรณตาง ๆ นั้น เมื่อรสแผนดินเอิบอาบซาบขึ้นไปบมิถึง ก็มีขั่วอันเหี่ยวแหงตกลงจากตนในเพลาเชาแลมีฉันใดรูปกาย แหงสัตวทั้งปวงนี้มีรสอาหารซาบไปบมิทั่วก็ถึงซึ่งคร่ําคราเหี่ยวแหงขาดจากชีวิตินรียมีอุปไมยดังนั้น ถามิดังนั้นรูปธรรมนามธรรมทั้งปวงนี้ เมื่อชราแลพยาธิและมรณะเบียดเบียนแลว ก็ถึงซึ่งคร่ําคราเหี่ยว แหงเจ็บปวยลําบากเวทนา มีอัสสาสะปสสาสะอันขาดเปนอสุภสาธารณเปอยเนาทิ้งทอดกระจัด กระจายเรี่ยราดแยูเหนือแผนปฐพี มีอุปไมยดังนั้นมิฉะนั้นเปรียบเหมือนภาชนาดินอันบุคคลประหารดวยไมคอน และแตก กระจัดกระจาย ถามิฉะนั้น สุริยรํสิสมฺผุฏานํ อุสฺ สาววินฺทูนํ วิทฺธํสนํ ดุจดังวาหยาดน้ําคาง อัน พลันที่จะเหือดแหงไดดวยแสงสุริยเทพบุตร เอวํ วธกปจฺจุปฺปฏานโต มรณํ อนุสฺสริตพฺพํ พระ โยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติกรรมฐาน พึงระลึกถึงความตายโดยปจจุปฏฐานดุจนัยที่พรรณามานี้ ใน อาการเปนคํารบ ๒ ซึ่งวาใหพระโยคาพจรระลึกถึงความตายโดยสมบัติวิบัตินั้น คือใหระลึกใหเห็นวา สัตวทั้งปวงเกิดมานี้บริบูรณแลวก็มีความฉิบหายเปนที่สุด ซึ่งจะงดงามจะดีอยูไมนั้นแตเมื่อวิบัติยัง มิไดครอบงํา ถาความวิบัติมาครอบงําแลว ก็สารพัดที่จะเสียสิ้นทุกสิ่งทุกประการ ที่งามนั้นก็ปราศจาก งาม ที่ดีนั้นก็กลับเปนชั่ว มีความสุขแลวก็จะมีความทุกขมาถึงเลา หาโศกเศราบมิไดแลวก็ถึงซึ่งเศรา โศกเลา แตพระเจาธรรมาโศกราชบพิตร ผูมีบุญญานุภาพไดเสวยมไหสุริยสมบัติพรอมเพรียงไป ดวยความสุข ถึงซึ่งอิสระภาพเปนใหญในภูมิมณฑลสกลชมภูทวีป บริจากทานในพระศาสนาคิดเปน ทรัพยนับไดรอยโกฏิมีอาณาจักรแผไปใตปถพี ๑ โยชน เบื้องบนอาการ ๑ โยชน กอปรดวยสมบัติสุข ถึงเพียงนี้ เมื่อมรณะมาถึงก็มีความเศราโศกเฉพาะพักตรสูความตาย ควรจะสังเวชเวทนา สพฺโพ เยว โลกสนฺนิวาโส ชาติยา อนุโคต ชื่อวาโลกสันนิวาสสัตวทั้งปวงนี้ ชาติทุกขยอมติดตามลอลวง ใหลุมหลง ชรานั้นรัดตรึงตราใหถึงความวิปริตตาง ๆ พยาธิทุกขนั้นติดตามย่ํายี ใหปวยไขลําบาก เวทนาเจ็บปวดทั่วสรรพางคกาย สุมรเณ อพฺภาหโต มรณทุกขครอบงําทําลายลางชีวิตอินทรียให เสื่อมสูญพญามัจจุราชนี้จะไดละเวนบุคคลผูใดผูหนึ่งนั้นหามิได ยอมครอบงําย่ํายีสรรพสัตวทั้งปวง ทั่วไปทุกรูปทุกนาม มิไดเลือกวากษัตริยวาพราหมณวาพอคาชาวนา จัณฑาลคนขนหยากเยื่อ อุปมาดุจเขาอันมีศิลาเปนแทงหนึ่งแทงเดียวเบื้องบนจดจนนภากาศ กลิ้งมาแลวแลเวียน ไปในทิศทั้ง ๔ บดเสียซึ่งสรรพสัตววัตถุทั้งปวง บมิไดเลือกสัตวแลสังขารนั้น อันจะตอยุทธพญา มัจจุราชนั้นใชวิสัยที่จะตอยุทธได เพราะเหตุวามรณะสงความนั้นไมมีที่ตั้งแหงพลชางพลมาพลราช รถพลเดินเทาไมมีที่ตั้งคายคูประตูหอรบทั้งปวง จะมีพลพาหนะมากก็มากเสียเปลา ซึ่งจะเอามาตอ ยุทธดวยมรณะสงความนั้นเอามาบมิไดถึงแมจะมีแกวแหวนเงินทองมากสักเทาใด ๆ ก็ดี จะรูเวทมนต ศาสตราคมกลาหาญประการใด ๆ ก็ดี ก็มิอาจเอามาตอยุทธดวยพญามัจจุราชได พระโยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติภาวนานั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ถึงระลึกถึงความตายโดยสมบัติวิบัติดุจ


- 50 พรรณนามาฉะนี้ อุปสํหรณโต แลอาการเปนคํารบ ๓ ที่วาใหพระโยคาพจรระลึกถึงความตายโดย อุปสังหรณะนั้น คือใหระลึกถึงความตายแหงผูอื่นแลวนําเอามาใสตน เมื่อระลึกถึงความตายแหง บุคคลผูอื่นพึงระลึกโดยอการ ๗ ประการ ยสมหคฺคโต คือใหระลึกโดยภาวนามากไปดวยยศ ประการ ๑ ปุฺญมหคฺคโต ใหระลึกโดยภาวนามากไปดวยบุญประการ ๑ ถามมหคฺคโต ให ระลึกโดยภาวะนามากไปดวยกําลังประการ ๑ อิทฺธิมหคฺคโต ใหระลึกโดยภาวะนามากไปดวยฤ ทิธิ์ประการ ๑ ปจฺเจกพุทฺธโต ใหระลึกโดยภาวะพระปจเจกโพธิ์ ๑ สมฺมาสมฺพุทฺธโต ใหระลึก โดยพระสัมมาสัมพุทธเจา ๑ เปน ๗ ประการดวยกัน ซึ่งวาใหระลึกโดยภาวะมากไปดวยยศนั้น คือใหระลึกวาพญามัจจุราชนี้ จะไดรังเกียจ เกรงใจวาทานผูนี้เปนผูดีมีบริวารยศมากอยาเบียดเบียนทานเลย จะไดเกรงใจอยูในฉะนี้หาบมิได แต พระยามหาสมมติราช แลพระยามันธาตุราช พระยามหาสุทัพสนะบรมจักรพัตราธิราชเปนตนเปน ประธาน ซึ่งมีอิสริยยศแลบริวารยศเปนอันมากบริบูรณไปดวยพลพาหนะแลทรัพยสมบัติอันโอฬารริก ภาพนั้นยังตกอยูในอํานาจแหงพญามัจจุราชสิ้นทั้งปวง กิมงฺคํ ปน ก็จะปวยกลาวไปไยถึงตัวเรานี้ เลา อันจะพนอํานาจแหงพญามัจจุราชนั้นหามิได เอวํ ยสมหคฺคโต พระโยคาพจร พึงระลึกถึง ความตายโดยภาวะมากไปดวยยศดุจพรรณนามาฉะนี้ ปฺญมหคฺคโต ซึ่งวาใหระลึกโดยภาวะมากไปดวยบุญนั้น คือใหระลึกตรึกตรองไปถึง บุคคลเปนตนวา โชติกเศรษฐี แลชฏิลเศรษฐี แลอุคคิยเศรษฐี แลเมณฑกเศรษฐี แลปุณณกเศรษฐี แตบรรดาที่เปนคนมีบุญญาภิสมภารเปนมันมากนั้น วาทานโชติกเศรษฐีนั้นมีปรางคปราสาทแลวไป ดวยแกว ๗ ประการ มีพื้นได ๗ ชั้น มีกําแพงแวดลอมนั้นก็ ๗ ชั้น แตลวนแลวไปดวยแกว ๗ ประการ แลวก็มีไมกัลปพฤกษเกิดขึ้นทุก ๆ มุมแหงกําแพง มีขุมทองอันเกิดขึ้นในมุมทั้ง ๔ แหงปรางค ปราสาท ขุมหนึ่งปากกวาง ๑ โยชน ขุมหนึ่งปากกวางกึ่งโยชน ขุมหนึ่งปากกวาง ๓๐๐ เสน ขุมหนึ่ง ปากกวาง ๑๐๐ เสน สมบัติพัสถานของทานนั้นโอฬารริกภาพ มีนางมาแตอุตตกุรุทวีปเปนอัครภรรยา แลชฏิลเศรษฐีนั้นเลามีภูเขาทองขึ้นขางหลังเรือนจะรื้อจะขนสักเทาใด ๆ ก็ไมสิ้นไมสุด เมณฑกะเศรษฐีนั้นเลาก็มีแพะทองเกิดขึ้นดวยบุญเต็มไปในที่ได ๘ กรีส ในทอง แพะนั้นเต็มไปดวยสิ่งสรรพขาวของทั้วปวงจะปรารถนาวัตถุอันใดชักลูกขางอันกระทําดวยเบญจพรรณ ซึ่งปดปากแพะนั้นออกแลววัตถุนั้นก็ไหลหลั่งออกมาจากปากแพะ ไดสําเร็จความปรารถนาทุกสิ่งทุก ประการ แลปุณณกเศรษฐีนั้นเลา เดิมเมื่อเปนลูกจางอยูนั้นออกไปไถนา ขี้ไถก็กลับกลายเปนทอง ครั้นไดเปนเศรษฐีเมื่อพื้นที่จะกระทําเรือนอยูนั้นก็ไดขุมทรัพยเต็มไปในที่จักหวัด บานบุคคลผูมี บุญญาภิสมภารมากมีทรัพยมากถึงเพียงนี้แลว ก็มิอาจเอาทรัพยมาไถถอนตนใหพนจากอํานาจพญา มัจจุราชได อฺเญ จ โลกเก มหาปุฺญาติ วิสฺสุตา ถึงบุคคลจน ๆ ที่ปรากฏวามีบุญมากในโลกนี้ แตผูใดผูหนึ่งจะพนจากอําจาจแหงพญามัจจุราชนั้นหามิได แตลวนถึงซึ่งมรณภาพดับสูญลวง ๆ ไป สิ้นทั้งปวง มาทิเสสุกถาวกา ก็ปวยกลาวไปไยถึงบุคคลเห็นปานดังตัวเรานี้ดังฤๅจะพนอํานาจแหง พญามัจจุราช พึงระลึกไปโดยภาวะมากไปดวยบุญอันนี้ ถามมหคฺคโต ซึ่งวาใหระลึกไปโดยภาวะมาก ไปดวยกําลังนั้น คือใหระลึกถึงบุคคลที่มีกําลังมากเปนตนวา พระยาวาสุเทพ พระยาพลเทพ พระ ยาภิมเสน พระยานุธิฏฐิล พระยาหนุร พระยามหามล พระยาเหลานี้แตละพระองค ๆ นั้นทรงพลกําลัง มาก กําลังนายขมังธนู ๕๐๐ คนจึงเทาพระยาภิมเสนพระองคหนึ่ง บุคคลอันมากําลังมากสามารถ ปรากฏในโลกสันนิวาสเห็นปานดังนี้ ก็มิอาจตอยุทธดวยพญามัจจุราชได กถาวกา ก็จะปวยกลาว ไปไยถึงตัวเรานี้เลาดังฤๅแลจะตอสูดวยพญามัจจุราชนั้นได พึงระลึกโดยภาวะมากไปดวยกําลังดัง พรรณนามาฉะนี้ อิทฺธิมหคฺคโต ซึ่งวาใหระลึกไปโดยภาวะมากไปดวยฤทธิ์นั้น พึงใหระลึกวาบุคคลอันเกิด มาในโลกนี้ ถึงจะมีฤทธิ์ศักดานุภาพเปนประการใด ๆ ก็ดี ก็มิอาจทําสงครามแกพญามัจจุราชได แต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 51 พระมหาโมคคัลลานเถระเจาผูเปนทุติยสาวก แหงสมเด็จพระมหากุณากอปรดวยฤทธาศักดานุภาพ อันล้ําเลิศประเสริฐไดที่เอตทัคคะฝายขางฤทธิ์ แตบรรดาเฉพาะสาวกในพระศาสนานี้ พระองคใด พระองคหนึ่ง จะมีฤทธิ์เหมือนพระโมคคัลลานะหาบมิได พระโมคคัลลานะนี้ยังเวชยันตปราสาทให กัมปนาทหวาดหวั่นไหวดวยมาตรวา สะกิดดวยนิ้วแมเทา อนึ่งเมื่อทรมานพญานันโทปนันทนาคราช นั้นเลา ฤทธิ์แหงพระโมคคัลลานเถรเจาก็ปรากฏวาเลิศรวดเร็วในกิจที่จะเขาสูสมบัติไมมีใครเสมอ มี ฤทธิ์ถึงเพียงนี้แลว ยังวาเขาไปสูปากแหงพญามัจจุราชอันพิลึกกับทั้งฤทธิ์ทั้งเดช ดุจดังวาเนื้ออันเขา ไปสูปากแหงพญาไกรสรราชสีห ก็ตัวอาตมานี้ดังฤๅจะพนพญามัจจุราชเลา พึงระลึกไปโดยภาวะมาก ไปดวยฤทธิ์ดังนี้ ปฺญมหคฺคโต ซึ่งวาใหระลึกโดยภาวะมากไปดวยปญญานั้นคือใหระลึกดวยเห็นวา สัตวทั้งหลาย แตบรรดาที่เวียนวายอยูในกระแสชลาโลกโอฆสาครนี้ ถึงจะมีปญญาเฉลี่ยวฉลาดเปน ประการใด ๆ ก็ดี ก็บมิอาจจะคิดเลศอุบายใหพนจากอํานาจแหงพญามัจจุราชนั้นได จะวาไปไยถึง ผูอื่น ๆ นั้นเลา แตพระสารีบุตรเถรเจา ผูเปนอัครสาวกกอปรดวยปญญาอันกลาหาญ แมฝนจะตกเต็ม ไปในหองจักรวาลตกไปชานานสิ้น ๑ กัปป หยาดเม็ดฝนแลละอองเม็ดฝนนั้นมีประมาณมากนอยสัก เทาใด ๆ พระสารีบุตรเถรเจาก็อาจนับถวน แตบรรดาสัตวในโลกนี้ ยกเสียแตพระบรมโลกนาถเจา พระองคเดียวแลวนอกออกไปกวานั้นแลว ผูใดผูหนึ่งซึ่งจะมีปญญามากเหมือนพระสารีบุตรนั้นหามิได ปญญาแหงพระสารีบุตรเถรเจานั้น ถาจะเอามาแบงออกเปน ๑๖ ยกเสีย ๑๕ เอาแตสวน ๑ สวน ๑ นั้นเอามาแบงออกเปน ๑๖ ยกเสีย ๑๕ เอาแตสวน ๑ อีกเลาแบงลงไป ๆ โดยในดังนี้ถึง ๑๖ ครั้งแลว จึงเอาปญญาพระสารีบุตรที่แบงเสี้ยว ๑ เปน ๑๖ สวนในที่สุดนั้นมาเปรียบดวยปญญา แหงบัณฑิตทั้งชาติทั้งปวง ๆ ก็นอยกวาปญญาแหงพระสารีบุตรเสี้ยว ๑ นั้นอีก พระสารีบุตรได เอตทัคคะฝายขางปญญาถึงเพียงนี้แลว ก็มิอาจลวงเสียอํานาจแหงพญามัจจุราชนั้นได ยังถือซึ่งดับ สูญเขาสูปากแหงพญามัจจุราชจะมิครอบงําเลา พึงระลึกโดยภาวะมากไปดวยปญญาดังกลาวนี้ ปจฺเจกพุทฺธโต ซึ่งวาใหระลึกโดยพระปจเจกโพธิ์นั้นคือใหระลึกวา แทจริงพระปจเจก โพธิ์ทั้งปวงนั้นแตละพระองค ๆ กอปรดวยปญญาพลแลวิริยพลอันเขมแข็งย่ํายีเสียได ซึ่งขาศึกคือ กิเลสธรรมทั้งปวงแลว แลถึงซึ่งปจเจกสัมโพธิญาน ตรัสรูไญยธรรมเองหาอาจารยจะสั่งสอนมิได พระ ปจเจกโพธิ์เจาผูประเสริฐเห็นปานดังนี้ ก็มิอาจลวงลัดจากอํานาจแหงพญามัจจุราชนั้นไดดังฤๅอาตมา จะพนจากอํานาจแหงพญามัจจุราชนั้นเลา พึงระลึกโดยประปจเจกโพธิ์โดยนัยดังกลาวมานี้ สมฺมาสัมฺพุทฺธโต ซึ่งวาใหระลึกโดยพระสัมมาสัมพุทธเจานั้นคือใหระลึกวา ภควา อัน วาสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคผูทรงพระสวัสดิโสภาคยเปนอันงาม พระองคมีพระรูปโฉมพระสรีร กายอันวิจิตรดวยทวัตติงสมหาบุรุษลักษณะ ( ลักษณะสําหรับพระมหาบุรุษ ๓๒) แลพระอสีตยนุ พยัญชนะ ๘๐ ทัศประเสริฐดวยพระธรรมกาย สมาธิขันธ ปญญาขันธ วิมุตติขันธ วิมุตติญาณทัส สนขันธ อันบริสุทธิ์บริบูรณดวยอาการทั้งปวง ปารคโต ถึงซึ่งภาวะมากไปดวยยศมากไปดวยบุญ มากไปดวยกําลังมากไปดวยฤทธิ์มาก ไปดวยบุญ หาผูจะเปรียบเทียบปูนปานบมิได อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ พระพุทธองคเจาหักเสียซึ่งกํา แหงสังสารจักร ตรัสรูดวยพระองคเองโดยอาการมิไดวิปริต หาผูจะถึงสองมิไดในไตรภพ สมเด็จพระ พุทธองคผูแสวงหาศีลหาทิคุณอันประเสริฐเลิศดวยพระคุณศักดานุภาพ เปนที่ไหวสักการะบูชาแหง สรรพเทพา มนุษย อินทรีย พรหม ยมยักษ อสูร คนธรรมพสุบรรณนาค แลสรรพสัตวนิการ ทั้งหลายทั่วทั้งอนันตโลกธาตุไมมีผูจะเทาเทียมเลย มัจจุราชยังมิไดกลัวไดเกรง ยิงมิไดมีความ ละอาย ยังครอบงํากระทําใหสูญเขาสูพระปรินิพพาน ดุจกองเพลิงอันใหญสองสวางทั่วโลก ตองทอ ธารหาฝนประลัยกัลปดับสูญ หาบัญญัติบมิได นีลชฺชํ วีตสารชฺชํ มรณธรรมนี้ ปราศจากความ ละอายปราศจากความกลัว มีแตย่ํายีจะครอบงําทั่วทุกสิ่งสรรพสัตว แตองคสมเด็จพระสัพพัญูเจา มรณธรรมยังมิไดละไดเวน ก็บุคคลเห็นปานดังตัวอาตมานี้ ดังฤๅมรณธรรมจะละเวนเลาก็จะครอบงํา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 52 เหมือนกัน เอวํ สมฺมาสมฺพุทฺธโตสรณํ อนุสฺสริตพฺพํ พึงระลึกถึงมรณะแหงพระสัมมาสัมพุทธเจา ดวยประการฉะนี้ อุปสํหรณํ อันจําแนกดวยประการ ๗ ดุจนัยที่สําแดงมาฉะนั้น นักปราชญพึง สันนิษฐานวารวมเขาเปน ๑ จัดเปนอาการคํารบ ๓ ในวิธีแหงมรณานุสสิตภาวนา แลอาการเปนคํารบ ๔ คือ กายพหุสาธารณนั้น ใหพระโยคาพจรระลึกวา อยํ กาโย อันวารูปกายแหงสรรพสัตวเราทาน ทั้งหลายนี้ เปนสาธารณทั่วไปแกหมูหนอนทั้ง ๘๐ ตระกูล ฉวินิสฺสิตาปาณา หนอนที่อาศัยอยูใน ผิวเนื้อก็ฟอนกัดกินผิวเนื้อ ที่อาศัยอยูในหนังก็ฟอนกัดกินหนัง ที่อาศัยอยูเนื้อล่ําก็ฟอนกัดกินเนื้อล่ํา ชายนฺติ ขียนฺติ หนอน ที่อยูในเอ็นก็กัดกินเอ็น ที่อยูในอัฐิก็กัดอัฐิ ที่อยูในสมองก็กัดสมอง ทั้งหลายนั้นเกิดในกาย แกในกาย ตายในกาย กระทําอุจจาระ ปสสาวะในกาย กายแหงเราทานทั้ง ปวงนี้เปนเครื่องประสูติแหงหมูหนอน เปนศาลาไข เจ็บเปนปาชาเปนเว็จกุฏิเปนรางกาย อุจจาระ ปสสาวะแหงหมูหนอนควรจะสังเวชเวทนา กายแหงเราทานทั้งหลายนี้บางทีหนอนกําเริบกลาหนาขึ้น ฟอนกัดฟอนทึ้งเกินประมาณทนทานบมิได ตายเสียดวยหนอนกําเริบก็มี ภายในกรัชชกายนี้ใชจะมีแต หมูหนอนเบียดเบียนนั้นหามิได โรคที่เบียดเบียนในการนี้เลาก็มีมากกวา อเนกสตานํ ถาคณนานั้นมากกวารอยจําพวก อีก ไหนเหลือบยุงเปนตน จะเบียดเบียนในภายนอกนั้น รายกายที่เปนตกตองแหงอุปทวะตาง ๆ ลกฺขิ อิว อุปมาดุจปอมเปาหมายอันบุคคลตั้งไวหนทาง ๔ แพรง เปนที่ถูกตองแหงหอกใหญแล หอกซัดไมคอนกอนศิลาแลธนูหนาไมปนไฟทั้งปวง เหตุดังนั้นสมเด็จพระมหากรุณา จึงโปรดประทาน อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขฺ ทิวเส นิกฺขนฺเต รตฺติยา ปตีหิ ตาย อิติปฏิสฺ พระธรรมเทศนาไววา จิกฺขิ ภิกษุอันมีมรณสติในบวรพุทธศาสนานี้ในเมื่อเพลาอันลวงไปแลวแลยางเขาราตรีนั้น ก็มา พิจารณาถึงมรณภาพแหงตนวา พหุกา โข เม ปจฺตยา มรณสฺส เหตุที่จะใหอาตมาถึงแกมรณะ มากมายนักหนา อยู ๆ ฉะนี้ถามีอสรพิษมาขบ มีแมลงปองมาแทง มีตะขาบมากัด มรณะแล ทุกขเวทนาก็จะมีแกอาตมาเปนอันตรายแกอาตมา อาตมายืน ๆ อยูฉะนี้ฉวยพลาดลมลงก็ดี จังหันที่ อาตมาฉันในเพลาปุเรภัตรวันนี้ ถาเพลิงธาตุบมิอาจจะเผาใหยอยไดก็ดี แตเทานี้มรณะก็จะมีแก อาตมา จะเปนอันตารยแกอาตมา ปตฺติ วา เม กุปฺเปยฺย มิฉะนั้นดีแหงอาตมานี้กําเริบ เสมหะแหง อาตมานี้กําเริบ ลมสันถวาตอันใหจุกเสียดเจ็บดังเชือกดวยมีดนั้นกําเริบขึ้นก็ดี มรณะก็ดีจะมีแกอาตมา ใหพระโยคาพจรผูจําเริญมรณนุสสติกรรมฐานใหระลึกถึงความตายโดยกายพหุสาธารณ โดยนัยที่พรรณนา นาม แลอาการคํารบ ๕ ที่วาใหพิจารณาซึ่งความตายโดยอายุทุพพลนั้นคือให ระลึกเห็นวาอายุแหงสรรพสัตวทั้งปวงนี้หากําลังบมิไดทุพพลภาพยิ่งนัก อสฺสาสุปุนิพฺพุธํ ชีวิตแหง สัตวทั้งปวงนี้เนื่องดวยอัสสาสะปสสาสะนั้น มิไดประพฤติเสมออยูก็ยังมิไดดับสูญกอน ถาอัสสาสะ ปสสาสะนั้นมิไดประพฤติเสมอ คือหายใจออกไปแลวลมนั้นขาดไปบมิไดกลับเขาไปในกายก็ดี หายใจเขาไปแลวลมนั้นอัดอั้นมิไดกลับออกมาภายนอกก็ดี แตเทานี้ก็จะถึงซึ่งมรณะภาพความตาย อริยาบถทั้ง ๔ นี้เทาเมื่อประพฤติเสมออยูอายุนั้นก็ยังมิไดดับสูญ ถาอิริยาบถนั้นประพฤติไมเสมอ นั่ง นักนอนนักยืนนักเที่ยวนัก ประพฤติอิริยาบถอันใดอันหนึ่งใหหนักนักแลว ก็เปนเหตุที่จะใหอายุอายุสั้น พลันตาย เย็นแลรอนนั้นเลาถามีอยูเสมอ อายุก็ยังมิไดดับสูญกอน ถาเย็นแลรอนนั้นประพฤติบมิได พลสมฺปนฺโนป แมวาถึงบุคคลนั้นจะ เสมอเกินประมาณนักแลว อายุก็ขาดชีวิตินทรียก็จะดับสูญ บริบูรณดวยกําลังก็ดี ถาธาตุอันใดอันหนึ่งกําเริบแลวก็มีกายกระดางเปนโรคตาง ๆ มีอติสารลมแดง เปนตน มีกายอันเหม็นเนา เศราหมองรอนกระวนกระวายทั่วสรรพางคกาย บางทีมีที่ตอกันเคลื่อน คลาดออกจากกัน ถึงซึ่งสิ้นชีวิตเพราธาตุกําเริบนั้นก็มี แลกวฬิงการาหารที่สรรพสัตวทั้งปวงบริโภคนี้ เลา ถาบริโภคพอควรอยูแลวอายุก็ตั้งอยูไดโดยปกติ ถาบริโภคเกินประมาณเพลิงธาตุสังหารใหยอย ยับลงมิไดอายุก็ขาด อาหารนั้นถาไมมีบริโภคเลา ชีวิตินทรียนั้นก็ขาดบมิไดสืบตอไปไดอาศัยเหตุ ฉะนี้ จึงวาชีวิตินทรียเนื่องอยูดวยอาหาร เนื่องไปดวยอัสสาสะและอิริยาบถเย็นรอน แลมหาภูตรูปทุพพลภาพหนักหมิ่นอยูนักที่จะถึงมรณภาพ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

เอวํ อายุทุพพฺพลโต มรณํ


- 53 อนุสฺสริตพฺพํ พระโยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติกรรมฐานนั้น พึงระลึกถึงความตายโดยอายุทุพพล ดุจนัยที่พรรณนามาฉะนี้ แลอาการเปนคํารบ ๖ ซึ่งวาใหระลึกถึงความตายโดยอนิมิตนั้น คือใหระลึก วา สตฺตานํ หิ วีวิตํ กาโล จ เทหนิกฺเขปนํ คติสัตวทั้งหลายอันเกิดมาในโลกนี้ยอมมีสภาวะ กําหนดมิไดนั้น ๕ ประการ ชีวิตํ คือชีวิตนั้นก็หากําหนดมิไดประการ ๑ พยาธิ คือการปวยไขนั้น ก็หากําหนดมิไดประ ๑ กาเล เพลาอันมรณะนั้นก็หากําหนดมิไดประการ ๑ เทหนิกฺเขปนํ ที่อันจะ ทิ้งไวซึ่งกเฬวระนี้ก็หากําหนดมิไดประการ ๑ คติซึ่งจะไปภพเบื้องหนานั้นก็หากําหนดมิไดประการ ๑ เปน ๕ ประการดวยกัน เอตฺตเกเนวชีวิตพฺพํ อันจะกําหนดกฏหมายวาขาจะมีชีวิตอยูเพียงนั้น ๆ ถา ยังไมถึงเพียงนั้นขายังไมตายกอน ตอถึงเพียงนั้น ๆ ขาถึงจะตาย จะกําหนดบมิได กลฺลกาเลป สตฺตา มรนฺติ สัตวทั้งหลายอันบังเกิดในครรภมารดานั้น แตพอตั้งขึ้นเปน กลละฉิบหายไปก็มีเปนอัมพุทะฉิบหายไปก็มี บางคาบเปนเปสิชิ้นเนื้อฉิบหายไปก็มี บางคาบเปนฆนะ เปนแทงเขา แลวฉิบหายไปก็มี บางคาบเปนปญจสาขาแลวฉิบหายไปก็มี อยูได ๑, ๒, ๓ เดือนฉิบ หายไปก็มี อยูได ๔, ๕, ๑๐ เดือนแลวตายไปก็มี สัตวบางจําพวกก็ตายในกาลเมื่อคลอดจากมาตุ คัพโภทร บางจําพวกคลอดจากมาตุคัพโภทรแลวอยูครู ๑ พัก ๑ ตายไปก็มี อยูไดแตวัน ๑, ๒, ๓ วัน แลวตายไปก็มี ที่อยูได ๔, ๕, ๑๐ วันตายไปก็มี อยูได ๑, ๒, ๓ เดือนแลวตายไปก็มี ที่อยูได ๔, ๕, ๑๐ เดือนแลวตายไปก็มี อยูได ๑, ๒, ๓ ปแลวตายไปก็มี ที่อยูได ๑๐, ๒๐, ๓๐ ป แลวตายไปก็มี อัน จะกําหนดชีวิตนี้ก็กําหมดบมิได แลพยาธิปวยไขนั้นก็กําหนดบมิไดเหมือนกัน ซึ่งกําหนดวาเปนโรค แตเพียงนั้น ๆ ขายังไมตายกอน ตอโรคหนักหนาลงเพียงนั้น ๆ ขาจึงจะตายจะกําหนดฉะนี้บมิได สัตวบางจําพวกก็ตายดวยจักษุโรคโสตโรค บางจําพวกก็ตายดวยฆานโรค ชิวหาโรคกาย โรคศีรษะโรคก็มีประการตาง ๆ ตายดวยโรคอันเปนปตตสมุฏฐานก็มี ตายดวยโรคอันเปนเสมหะ สมุฏฐานก็มี วาตสมุฏฐานก็มี ที่จะกําหนดพยาธินี้กําหนดบมิได เพลาตายนั้นจะกําหนดก็บมิได สัตว จําพวกนั้นตายในเวลาเชา บางจําพวกนั้นตายในเวลาเที่ยงเวลาเย็น บางจําพวกตายในปฐมยาม มัชฌิมยามที่กําหนดเพลามรณะนั้นกําหนดบมิได แลที่ทอดทิ้งไวซึ่งกเฬวระซากอสุภนั้นก็กําหนดบ มิได ซึ่งกําหนดวาขาจะตายที่นั้น ๆ ขาจะตายในบานของขาเรือนของขาจะกําหนดฉะนี้ กําหนดบมิได สัตวบางจําพวกเกิดในบาน เมื่อจะตายออกไปตายนอกบาน บางจําพวกเกิดนอกบานเขาไปตายใน บาน บางจําพวกอยูในบานนี้เมืองนี้ ไปตายบานโนนเมืองโนน อยูบานโนนเมืองโนน มาทิ้งกเฬวระไว ที่บานนี้เมืองนี้ ที่อยูในน้ําขึ้นมาตายบนบกที่อยูบนบกลงไปตายในน้ํา ซึ่งจะกําหนดที่ตายนั้นกําหนดบ มิได คติที่จะไปในภพเบื้องหนานั้นเลาที่จะกําหนดวา ขาตายจากที่นี้แลวจะไปบังเกิดในที่นั้น ๆ บาน นั้นตําบลนั้น ก็กําหนดฉะนี้บมิได เทวโลกโต จุตา มนุสฺเสสุ นิพฺพตฺตนฺติ สัตวบางจําพวกนั้นจุติจากเทวโลก ลงมาเกิด ในมนุษยโลก บางจําพวกนั้นจุติจากมนุษยโลกขึ้นไปบังเกิดในเทวโลก บางทีก็ไปบังเกิดในรูปภพ ตลอดอรูปภพ บางทีก็ไปบังเกิดในดิรัจฉานกําเนิด แลเปรตวิสัย แลอสุรกาย แลนรกตามกุศลกรรม แล อกุศลกรรมจะเวียนไปอยูในภพทั้ง ๕ มีอุปมาดังโคอันเทียมเขาไปในแอกยนต ธรรมดาวาโคอันเทียม เขาในแอกยนตนั้น ยอมยกเทาเดินหันเวียนวงไปโดยรอบแหงเสาเกียดบมิไดไปพนจากรอยดําเนิน แหงตน แลมีอุปมาฉันใด สัตวทั้งปวงก็เวียนวนอยูใตนคติทั้ง ๕ คือ นิรยคติ เปตคติ ติรจฺฉานคติ มนุสฺสคติ เทวคติ มิไดไปพนจากคติทั้ง ๕ มีอุปไมยดังนั้น พระโยคาพจรพึงพิจารณาถึงความมรณะโดยอนิมิต มีนัยดังพรรณนามานี้ แลอาการเปนคํา รบ ๗ ที่วาใหพระโยคาพจรระลึกถึงความตายโดยอัทธานปริจเฉทนั้น คือใหระลึกวา ทนุสฺสานํ ชีวิตสฺส นาม เอตรหิ ปริตฺโต อทฺธา ชีวิตแหงมนุษยในกาลบัดนี้นอยนัก ที่อายุยืนทีเดียวนั้นอยูได มากกวารอยปบาง แตเพียงรอยปบาง นอยกวารอยปบาง ถึงรอยปนั้นมีโดยนอย ก็มีแตถอยลงมาเหตุ ดังนั้นสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจา จึงโปรดประทานพระธรรมเทศนาวา อปฺปมายู ํ มนุสฺสานํ หิ เลยฺย นํ สุฏปริโส จเรยฺยาทิตฺตสีโสว นตฺลิ มจฺจุสฺส นาคโม ดูกอนสงฆทั้งปวง บุคคลผูเปนสัป บุรุษนั้น เมื่อรูแจงวาอายุแหงมนุษยนี้นอย ก็พึงประพฤติดูหมิ่นซึ่งอายุแหงตนอยามัวเมาดวยอายุ อยา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 54 ถือวาอายุนั้นยืน พึงอุตสาหะในสุจริตธรรมขวนขวายที่จะใหไดสําเร็จพระนิพพานอันเปนที่ระงับทุกข กระทําการใหเหมือนบุคคลที่มีศีรษะแหงอาตมา พึงอุตสาหคิดธรรมสังเวชถึงความตาย เกิดมาเปน สัตวเปนบุคคลแลว แลพญามัจจุราชจะไมมาถึงนั้น ไมมีเลยเปนอันขาด สมเด็จพระบรมโลกนาถโปรดประทานพระธรรมเทศนา มีอรรถาธิบายดังพรรรณนามาฉะนี้ แลว พระพุทธองคเจาจึงเทศนาอลังกตสูตรสืบตอไป ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว อรโก นาม สตฺถา อโหสิ ดูกรภิกษุทั้งปวงแตกอนโพนพระตถาคตเสวยพระชาติเปนครูชื่อ อรกะ สําแดงธรรมแก พราหมณผูหนึ่งชื่อวาอลังกตพราหมณ ในพระธรรมเทศนานั้น มีใจความวาชีวิตแหงสัตวทั้งปวง บมิได อยูนาน ดุจหยาดน้ําคางอันติดอยูในปลายหญาแลเร็วที่จะเหือดแหงไปดวยแสงอาทิตย ถามิดังนั้นดุจ ตอมน้ํา อันเกิดขึ้นดวยกําลังแหงกระแสน้ํากระทบกันแลเร็วที่จะแตกจะทําลายไป ถามิดังนั้นชีวิตแหง สัตวทั้งปวงนี้เร็วที่จะดับสูญดุจรอยขีดน้ํา แลเร็วที่จะอันตรธาน ถามิดังนั้นเปรียบประดุจแมน้ําไหลลง มาแตธารแหงภูเขา และมีกระแสอันเชี่ยวพัดเอาจอกแหนแลสิ่งสรรพวัตถุทั้งปวงไปเปนเร็วพลัน ถามิดังนั้น ดุจฟองเขฬะอันวุรุษผูมีกําลังประมาลเขาแลว แลบวนลงในที่สุดแหงน้ําแล อันตรธานสาบสูญไปเปนอันเร็วพลัน ถามิดังนั้นดุจชิ้นเนื้ออันบุคคลทิ้งลงกระทะเหล็กอันเพลิงไหมสิ้น วันหนึ่งยังค่ําแลเร็วที่จะเปนฝุนเปนเถาไป ความตายนี้มารออยูใกล ๆ คอยที่จะสังหารชีวิตสัตว ดุจ พราหมณอันคอยอยูที่ลงฆาโคบูชายัญ ชีวิตํ มนุสฺสานํ ปริตฺตํ ชีวิตแหงมนุษยในกาลทุกวันนี้นอย นัก มากไปดวยความทุกขความยาก มากไปดวยความโศกความเศรา สะอื้นอาลัยทั้งปวง บุคคลผู เปนบัญฑิตชาติอยาไดประมาทเลย พึงอุตสาหะกระทําการกุศลประพฤติซึ่งศาสนพรหมจรรย นตฺถิ ชาตสฺส อมรณํ อันเกิดมาแลวก็มีความตายเปนที่สุด มีพระพุทธฎีกาตรัสเทศนาอลังกตสูตรมีความเปรียบชีวิตสัตว ดวยอุปมา ๗ ประการ ดุจนัย ที่พรรณนามาฉะนี้แลว อปรํป อาห สมเด็จพระพุธองคเจาก็มีพระพุทธฎีกาตรัสพระธรรมเทศนาอัน อื่นสืบตอไปเลาวา โยจายํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอวํ มรณสฺสตึ ภาเวติ อโห วตาหํ รตฺตินฺทิวํ ชีเวยฺยํ ภควโต สาสนํ มนสิกเรยฺยํ พหุ ํ วต เม กตํ อสฺส ดูกอนภิกษุทั้งปวง ภิกษุในบวรพุทธซาสนา ที่มี ศรัทธาจําเริญมรณานุสสตินั้นองคใดแลกระทํามนสิการวา อโห วต ดังเราปรารถนาดังเราวิตก อาตมานี้ถามีชีวิตอยูสิ้นทั้งกลางวันแลกลางคืน อาตมาก็จะมนสิการตามคําสิ่งสอนแหงสมเด็จพระผูมี พระภาค อันเปนเหตุที่จะนํามาซึ่งปฏิเวธธรรม คืออริยมรรคอริยผล อาตมาจะประพฤติบรรพชิตกิจ อัน เปนปนะโยชนแกตนนั้นใหมากอยูในขันธสันดาน ตราบเทากําหนดชีวิตอันอาตมาประพฤติเปนไปใน วันหนึ่งคืนหนึ่งนั้น ดูกรภิกษุทั้งปวง ภิกษุรูปใดมีมรณสติระลึกเห็นความตาย มีกําหนดชีวิตวันหนึ่งกับ คืนหนึ่งดวยประการฉะนี้ ตถาคตตรัสวา ภิกษุรูปนั้นจําเริญมรณานุสสติยังออนอยู ยังชาอยู ประกอบดวยความประมาท แลภิกษุอันมีสติระลึกเห็นความตายมีกําหนดแตเชาจนค่ํานั้นก็ดี ที่ระลึกเห็นความตายมี กําหนดเพียงเพลาฉันจังหันมื้อ ๑ นั้นก็ดี ที่ระลึกถึงความตายมีกําหนดเพียงเพลาฉันหังได ๔ , ๕ ปน นั้นก็ดี ภิกษุทั้งหลายนี้ตถาคตก็ตรัสวายังประกอบอยูดวยความประมาท จําเริญมรณานุสสติเพื่อใหสิ้น อาวะนั้นยังออนยังชาอยูมรณสติ นั้นยังมิไดกลาหาญกอน ภิกษุรูปใดจําเริญมรณานุสสติระลึกเห็น ความตายทุกคําจังหันระลึกเห็นความตาย ทุกขณะลมอัสสาสะ ปสสาสะ กระทํามนสิการวาถาอาตมา ยังมีชีวิตอยูสิ้นเพลากลืนจังหันคํา ๑ นี้ ยังมีชีวิตอยูสิ้นเพลาอันระบายลมหายใจออกไปที ๑ นี้อาตมา ก็จะมนสิการตามคําสั่งสอนแหงสมเด็จพระบรมศาสดาจารยเจา จะประพฤติบรรพชิตกิจอันเปน ประโยชนแกตน ใหมากอยูในขันธสันดานแหงอาตมา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอันเห็นความมรณะทุก ๆ คําจังหัน ทุก ๆ อัสสาสะ ปสสาสะเห็น ปานฉะนี้ พระตถาคตสรรเสริญวามีมรณสติอันกลาหาญวาประกอบดวย พระอัปปมาทธรรมอันบริบูรณ วาวองไว ที่จะไดสําเร็จอาสวขัย ขึ้นชื่อวาอาการอันเปนไปแหงชีวิตนี้นอยนัก ที่จะวิสสาสะกับชีวิตของ อาตมาวายั่งยืนไปอยู อาตมายังไมถึงมรณภาพกอนจะวิสสาสะไวใจบได สมเด็จพระมหากรุณาพระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 55 พุทธฎีกาตรัสฉะนี้ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา พระโยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติภาวนานั้น พึงระลึก โดยอันทธานปริจเฉทตามนัยพระพุทธฎีกา ที่สมเด็จพระมหากรุณาธิคุณเจาตรัสพระธรรมเทศนา โดย วิธีพรรณนามาฉะนี้ แลอาการเปนคํารบ ๘ ซึ่งวาใหพระโยคาพจรระลึกถึงความตายโดยขณะปริตตะนั้น คือให พระโยคาพจรระลึกใหเห็นวา ปริตฺโต สตฺตานํ ชีวิตกฺขโณ เอกจิตฺตปฺปวตฺติมตฺ โตเยว ชีวิตขณะ แหงสัตวทั้งปวงนี้นอยนักประพฤติเปนไปมาตรวาขณะจิตอันหนึ่ง ซึ่งมีพระพุทธฎีกาตรัสดวยนัยเปน ตนวาชีวิตแหงสัตวแหงสัตวที่ยืนนานมีประมาณไดรอยปนั้น วาดวยสามารถชีวิตินทรียอันประพฤติ เปนไปมีดวยภพละอัน ๆ วาโดยสมมติโวหาร ถาจะวาโดยปรมัตถนั้น ถาวาถึงภังคขณะแหงจิตที่ใดก็ ไดชื่อวามรณะที่นั้นไดอุปปาทขณะแลฐิติขณะแหงจิตนั้นไดชื่อวามีชีวิตอยู ครั้นยางเขาภังคขณะแลว ก็ไดชื่อวาดับสูญหาชีวิตบมิได แตทวามรณะในภังคขณะนั้น พนวิสัยที่สัตวทั้งปวงจะหยั่งรูหยั่งเห็น เหตุวาขณะแหงจิตอันประพฤติเปนไปในสันดานแหงเราทานทั้งปวงนี้เร็วนัก ที่จะเอาสิ่งใดมา เปรียบเทียบนั้นอุปมาไดเปนอันยาก ดุจพระพุทธฎีกาโปรดไว นาหํ ภิกฺขเว อฺญํ เอกธมฺมํป ปสฺสามิ เอวํ ลหุปริวตฺตํ ยถยิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ แปลวาดูกรสงฆทั้งปวง ลหุปริวตฺตจิตฺติ จิตนี้มีสภาวะพระพฤติเปนอันเร็วยิ่ง นัก ธรรมชาติอื่น ๆ ซึ่งจะวองไวรวดเร็วเหมือนจิตนี้ พระตถาคตพิจารณาไมเห็นสักสิ่งหนึ่งเลย เสยฺย ถาป ภิกฺขเว จตฺตาโร ทฬฺธมฺมา ธนุคฺคหา ดูกรสงฆทั้งหลาย นายขมังธนูทั้ง ๔ อันฝกสอนเปน อันดีในศิลปศาสตรธนูแมนยําชํานิชํานาญนั้น ออกยืนอยูในทิศทั้ง ๔ ดวยยิงลูกธนูไปพรอมกัน ยิงไป คนละทิศ ๆ ลูกศรอันแลนไปในทิศทั้ง ๔ ดวยกําลังอันเร็วฉับพลันเห็นปานดังนั้น แมบุรุษที่มีกําลังอันรวดเร็วยิ่งกวาลมพัดเลนไปในทิศขางตะวันออก ฉวยเอาลูกศรในทิศ ขางตะวันออกนั้นไดแลวกลับแลนมาขางทิศตะวันตกฉวยไดลูกศรขางตะวันตกนี้ เลาแลวก็แลนไป ขางฝายเหนือฝายใต ฉวยเอาลูกศรไดในอากาศทั้ง ๔ ทิศลูกศรทั้ง ๔ ทิศนั้นบมิไดตกถึงพื้น ปถพี เอวรูโป ปุริสเวโค กําลังบุรุษอันวองไวรวดเร็วยิ่งกวาลมเห็นปานดังนี้ จะเอามาเปรียบความเร็วแหง จิตนี้ก็มิอาจจะได จนฺทิมสุริยานํ ชโว ถึงเร็วแหงพระจันทรมณฑลเร็วแหงพระสุริยมณฑลเร็วแหง เทวดาที่แลนหนีหนาจันทรมณฑลนั้นไดก็ดี จะเอามาเปรียบดวยรวดเร็วแหงจิตนี้ ก็มิอาจเปรียบ ได อุปมาป น สุกรา ดูกรสงฆทั้งปวง ขึ้นชื่อวาเร็วแหงจิตนี้ที่จะเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อุปมานั้นอุปมาบ มิไดดวยงาย มีพระพุทธฎีกาตรัสแกสงฆทั้งปวงดวย ประการฉะนี้ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา จิตอันประพฤติเปนไปในสันดานเกิดแลวดับ ๆ แลวเกิด เปนขณะ ๆ กันนั้น จะไดวางไดเวนจะไดหางกันหาบมิได เนื่องกันบมิไดขาด ดุจกระแสน้ําอัน ไหลหลั่งถั่งไปบมิไดขาดสายขึ้นสูวิถีแลวลงภวังคเลาลงสูภวังคแลวขึ้นสูวิถีแลว จิตดวงนี้ดับดวงนั้น เกิดเปนลําดับเวียนกันไป ดุจกงรถอันหันเวียนไปนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานวา ชีวิตแหงสัตวนี้เมื่อวา โดยปรมัตถนั้น มีกําหนดในขณะจิตอันหนึ่ง ตสฺมึ นิรุตฺตมตฺเต แตพอขณะจิตนั้นดับลงอันหนึ่ง สัตวนั้นก็ไดชื่อวาตายครั้งหนึ่ง ดับ ๒ , ๓ ขณะก็ไดชื่อวาตาย ๒ , ๓ ครั้งดับรอยขณะพันขณะจิตก็ได ชื่อวาตายรอยครั้งพันครั้ง ดับนับขณะไมถวนไดชื่อวาตายทุก ๆ ขณะจิตที่ดับ วาฉะนี้สมกันกับอรรถปญหา ที่สมเด็จพระพุทธองคตรัสพระธรรมเทศนาในพระอภิธรรม วา อตีเต จิตฺตกฺขเณ ชีวิตฺถ น ชีวติ น ชีวิสฺสติ อนาคเต จิตฺตกฺขเณ น ชีวิตฺถ น ชีวิติ น ชีวิสฺ สติ วาสัตวอันมีชีวิตในขณะจิตอันเปนอดีตนั้นบมิไดมีชีวิตในปจจุบัน บมิไดมีชีวิตในอนาคต สัตว อันมีชีวิตในขณะจิตเปนอนาคตนั้นก็บมิไดมีชีวิตในอดีตบมิไดมีชีวิตในปจจุบัน สัตวมีชีวิตในขณะจิต เปนปจจุบัน ก็บมิไดมีชีวิตในอดีต บมิไดมีชีวิตในอนาคต อรรถปริศนาอันนี้ สมเด็จพระสัพพัญูเจา ตรัสเทศนาไววาจะใหเห็นอธิบายวา ถาจะวาโดยปรมัตถสัตวอันมีชีวิตอยูในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต อนาคต ปจจุบัน นั้นมีขณะไดละ ๓ ๆ คืออุปปาทขณะประการ ๑ ฐิติขณะประการ ๑ ภังคขณะประการ ๑ มีขณะ ๓ ฉะนี้เหมือนกันสิ้นทุกขณะจิตจะไดแปลกกันหาบมิได แลขณะจิต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 56 แตละขณะ ๆ นั้น มีนามแลรูปเปนสหชาติ เกิดพรอมเปนแผนก ๆ นี้ ดุจบาทพระคาถาอันสมเด็จพระ พุทธองคเจาตรัสพระธรรมเทศนาวา ชีวิตํ อตฺตภาโว จ สุขทุกฺขา จ เกวลา เอกจิตฺตสมายตฺตา ลหุโส วตฺตเต ขโณ เย นิ รุทฺธา มรนฺตสฺส ติฏมานสฺส วาอิธ สพฺเพป สทิสา ขนฺธา คตา อุปปฏิสนฺธิยา อธิบายใยบท พระคาถาวา สหชาตธรรม คือชีวิตอัตตภาพแลสุขแลทุกข แลสหชาตธรรมอันเศษจากสุขแลทุกข แลชีวิตินทรียนั้น ยอมสัมปยุตตดวยจิตแตละอัน ๆ อันมีเหมือนกันทุก ๆ ขณะจิต แลสหชาตธรรม ทั้งหลายนั้น จะไดเจือจานกันนั้นหาบมิได เกิดพรอมกันดวยขณะจิตอันใด ก็เปนแผนกแยกยายอยู ตามขณะจิตอันนั้น แลขณะอันเกิดแหงสหชาตธรรม คือสุขแลทุกขแลชีวิตินทรียเปนตนนั้น ก็รวดเร็ว วองไวพรอมกันกับขณะจิต เย นิรุทฺธา มรนฺตสฺส ติฏมานสฺส วา อิธ แลขันธทั้งหลายแหงบุคคลอันตราย แลถึงซึ่ง ดับพรอมดวยจุติจิตกับขันธแหงบุคคลอันบมิไดตาย แลถึงซึ่งดับในภวังคขณะนอกจากจุตินั้นจะได เหมือนกันสิ้นทั้งปวง แตทวาขันธดับพรอมดวยจุติจิตนั้น มี แปลกกันหาบมิได สพฺเพป สทิสา ปฏิสนธิเกิดตามลําดับคือปฏิสนธิจิตซึ่งถือเอาอารมณแหงชวนะในมรณาสันนวิถีมีกรรม แลกรรมนิมิต เปนอารมณนั้นบังเกิดในลําดับแหงจุติจิต ก็ฝายวาขันธซึ่งดับในภวังคขณะทั้งปวงนอกจากจุติจิตนั้น จะไดมีปฏิสนธิจิตนั้นเปนลําดับหาบมิไดมีจิตอื่นนอกจากปฏิสนธิจิตเกิดเปนลําดับ ตามสมควรแก อารมณซึ่งประพฤติเปนไปในสันดานนักปราชญพึงสันนิษฐานวา ในมรณาสันนวิถีที่จะใกลถึงแกมรณะ นั้นเมื่อยังอีก ๑๗ ขณะจิต แลจะถึงซึ่งจุติจิตแลวแตบรรดาขณะจิต ๑๗ ขณะเบื้องหลังแตจุติจิตนั้น จะไดมีกัมมัชชรูป บังเกิดดวยหาบมิไดแลกัมมัชชรูปซึ่งบังเกิดแตกอนนั้น ก็ไปดับลงพรอมกันกับจุติจิต ครั้นกัมมัชชรูป ดับแลว ลําดับนั้นจิตตัชชรูปแลอาหาร รัชชรูปนั้นก็ดับไปตามกัน ยังอยูแตอุตุชรูปประพฤติเปนไปใน ซากกเฬวระนั้น ตราบเทากวาจะแหลกละเอียดดวยอันตรธานสาบสูญไป อยางนี้นี่เปนธรรมแหงขันธ ดับพรอมดวยจุติจิต ฝายวาขันธซึ่งดับในภวังคขณะทั้งปวง นอกจากจุติจิตนั้นรูปกลาปยังบังเกิดเนือง ๆ อยูยังบมิไดขาด ปทีโปวิย ดุจเปลวประทีปแลกระแสน้ําไหลอันบมิไดขาดจากกัน รูปที่บังเกิดขึ้น กอน ๆ นั้น มีอายุถวน ๑๗ ขณะจิตแลวก็ดับไป ๆ ที่มีอายุยังไมกําหนดนั้น ก็ยังประพฤติเปนไปในสันดานบังเกิดนั้นรอง ๆ กันไปบมิไดหยุด หยอน ที่เกิด ๆ ขึ้นที่ดับ ๆ ไป รูปกลาปทั้งปวงบมิไดขาดจากสันดานนักปราชญพึงสันนิษฐานแมวารูป กลาปบังเกิดติดเนื่องอยูก็ดี เมื่อขณะจิตดับลงนั้น จักไดชื่อวาถึงมรณะ เอวํ ขณปริตฺตโต มรณํ อนุสฺสริตพํพํ พระโยคาพจรผูจําเริญมรณานุสสติภาวนานั้น พึงระลึกถึงความตายโดยขณะปริตตะ โดยนัยอันพระพุทธองคตรัสเทศนาดังพรรณนามาฉะนี้ อิติมิเมสํ ถาพระโยคาพจรเจาระลึกไดแตใน อันใดอันหนึ่ง แลกระทํามนสิการเนือง ๆ อยูแลวจิตอันมีพระกรรมฐานเปนอารมณนั้น ก็ถึงซึ่งภาวนา เสวนะ จะกลาหาญในการภาวนา สติที่มีมรณะเปนอารมณนั้นก็จะตั้งอยูเปนอันดี บมิไดวางไดเวน จะ ขมซึ่งนิวรณธรรมทั้งปวงเสียได องคฌานก็จะบังเกิดปรากฏแตทวาไมถึงอัปปนา จะไดอยูแตเพียงอุป จาระ เหตุวามรณะซึ่งอารมณนั้นเปนสภาวธรรม เปนวัตถุที่จะใหบังเกิดสังเวชเมื่อถือเอามรณะ เปนอารมณแลระลึกเนือง ๆ มักนํามาซึ่งความสะดุงจิตในเบื้องหนา ๆ เหตุดังนั้นภาวนาจิตอัน ประกอบดวยมรณสตินั้น จึงมิอาจถึงอัปปนาได อยูแตเพียงอุปจาระ จึงมีคําปุจฉาสอดเขามาวา โลกุตตรฌาน แลจตุตถารูปฌานก็มีอารมณเปนสภาวธรรม ดังฤๅจึงตลอดขึ้นไปถึงอัปปนาเลา มีคํารบ วา จริงอยู แลทุติยารูปฌานขึ้นเปนอารมณเปนสภาวธรรม จริงอยูซึ่งวาโลกกุตตาฌานตลอดขึ้นไป ถึงอัปปนานั้นดวยภาวนาพิเศษ คือจําเริญวิสุทธิภาวนาขึ้นไปโดยลําดับ ๆ แมอารมณเปนสภาวธรรมก็ ดีอานุภาพที่จําเริญวิสุทธิภาวนาเปนลําดับ ๆ ขึ้นไปนั้นใหผล ก็อาจจะตลอดขึ้นไปไดถึงอัปปนาฌาน ซึ่งทุติยารูปฌานแลจตุตถารูปฌาน มีอารมณเปนสภาวธรรมตลอดขึ้นไปไดถึงอัปปนานั้น ดวยสามารถ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 57 เปนอารัมมณมติกกมะภาวนา คือทุติยารูปนั้นลวงเสีย ซึ่งอารมณแหงปฐมารูปจตุตถารูปนั้นลวงเสียซึ่ง อารมณตติยารูป เหตุฉะนี้แมอารมณเปนสภาวธรรมก็ดี ก็อาจจะถึงอัปปนาไดดวยอารัมมณสมติกกะภาวนาใน มรณานุสสติ หาวิสุทธิภาวนา แลอารัมมณสติกกมะภาวนาบมิได เหตุฉะนี้พระโยคาพจรผูจําเริญมรณา นุสสตินั้น จึงไดอยูแตอุปจารฌานแลอุปจารฌานที่พระโยคาพจรเจาได ในที่จําเริญมารณานุสสตินั้น ก็ถึงซึ่งรองเรียกวา มรณานุสสติอุปจารฌาน ดวยสามารถที่บังเกิดดวย มรณสติ อิมํ จ ปน มรณร สติมนุยุตฺโต ภิกฺขุ บุคคลผูเห็นภัยในวัฏฏสงสารเมื่อเพียรพยายามจําเริญมรณานุสสติภาวนานี้ ก็จะ ละเสียซึ่งความประมาท จะไดซึ่งสัพพภเวสุอนภิรตสัญญา คือ จังบังเกิดความกระสันเปนทุกข ปราศจากที่จะอยูในภพทั้งปวง ชีวิตนิกนฺตึ ชหติ จะละเสียไดซึ่งความยินดีในชีวิต บมิไดรักชีวิต จะติฉินนินทาซึ่งการ เปนบาป จะมากไปดวยสัลลเลขสันโดษคือมักนอย ไมสั่งสมซึ่งของบริโภค ปริกฺขาเรสุ วิคตมจฺเฉ โร จะมีมลทินคือตระหนี่อันปราศจากสันดาน บมิไดรักใครในเครืองบริขารทั้งปวง ก็จะถึงซึ่งคุนเคย ในอนิจจสัญญา จะเห็นอนิจจังในรูปธรรม แลวก็จะไดทุกขสัญญา อนัตตสัญญาอันปรากฏดวยสามารถ ระลึกตามอนิจจสัญญาเห็นอนิจจังแลว ก็จะเปนคุณที่จะใหเห็นทุกขัง เห็นอนัตตา เมื่อเห็นพระไตร ลักษณญานปรากฏแจงในสันดานแลว ถึงเมื่อจะตายก็มิไดกลัวตายจะไดสติอารมณ บมิไดลุมหลงฟน เฟอนสติ แลบุคคลที่มิไดจําเริญมรณานุสสตินั้น ครั้นมาถึงมรณสมัยกาลเมื่อจะใกลตายแลวก็ยอมบังเกิดความสดุงตกใจกลัวความตายนั้น เปนกําลัง ดุจบุคคลอันพาลมฤคราชรายครอบงําไวจะกินเปนภักษาหาร ถามิฉะนั้นดุจบุคคลที่อยูใน เงื้อมมือแหงโจร แลเงื้อมมือแหงนานเพชฌฆาต มีความสะดุงตกใจทั้งนี้อาศัยดวยมิไดจําเริญมรณา นุสสติ อันภาวะจําเริญมรณานุสสตินี้เปนปจจัยที่จะใหสําเร็จแกพระนิพพาน ถายังมิไดสําเร็จพระ นิพพานในชาตินี้ เมื่อดับสูญทําลายขันธขาดชีวิตินทรีย แลวก็จะมีสุคติภพเบื้องหนาเหตุดังนั้น พระ โยคาพจรกุลบุตรผูมีปรีชาเปนอันดีอยาประมาท พึงอุตสาหะจําเริญมรณานุสสติภาวนา อัน ประกอบดวยคุณานิสงสเปนอันมาก ดุจพรรณามาฉะนี้สิ้นกาลทุกเมื่อเถิด ฯ จบวินิจฉัยในมรณานุสสติโดยวิตถารยุติแตเทานี้

จักวินิจฉัยในกายคตาสติกรรมฐานตอไป อิทานิ ยนฺติ อฺญตฺรพุทฺธุปฺปาทาปฺปวตฺตปุพฺพํ ฯลฯ ตสฺส ภาวนานิทฺเทโส อนุปฺปตฺโต เปนคําพระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารยสําแดงไว วา ยนฺตํ กายคตาสติ กมฺมฏานํ อันวาพระกายคตาสติกรรมฐานอันใด อันเวนซึ่งพุทธุปบาท แลวแลมิไดเปนไป อวิสยภูตํ มิไดบังเกิดเปนวิสัยแหงเดียรถียทั้งปวง อันถือผิดภายนอกพระ ศาสนา ภควตา อันสมเด็จพระผูทรงพระภาคตรัสสรรเสริญไวดวยอาการเปนอันมากในสุตตันตปริ ยาย นั้นวา เอกธมฺโม ภิกฺขเว ภาวิโต พหุลีกโต มหโต สํเวคาย สํวตฺตติ ดูกอนภิกษุทั้ง ปวง เอกธมฺโม ธรรมอันหนึ่งคือพระกายคตาสตินี้ ถาบุคคลผูใดอุตสาหะจําเริญมากอยูในสันดาน แลว ก็ยอมประพฤติเปนไปเพื่อจะใหบังเกิดธรรมสังเวช แลเปนประโยชนเปนอันมาก ใชแต เทานั้น โยคกฺเขมาย ประพฤติเปนไปเพื่อจะใหเกษมจากโยคะทั้ง ๔ มีกามโยคะเปนตน แลเปนไป เพื่อจะใหไดซึ่งสติแลสัมปชัญญะเปนอันมาก แลจะใหไดซึ่งปจจเวกขณะญาณ ใชแตเทานั้น ประพฤติเปนไปเพื่อจะใหอยูเปนสุขในอัตตภาพซึ่งเห็นประจักษ แลจะกระทําใหแจงซึ่งไตรวิชชาแล วิมุตติผล ดูกรภิกษุทั้งปวง บุคคลผูใดจําเริญกายคตาสติ บุคคลผูนั้นไดชื่อวาบริโภคซึ่งน้ําอมฤต บุคคลผูใดมิไดจําเริญกายคตาสติบุคคลผูนั้นก็ไดชื่อวามิไดดื่มกินซึ่งอมฤตรส ผูใดคลาดจากพระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 58 กายคตาสติภาวนา ผูนั้นไดชื่อวาคลาดจากน้ําอมฤต ผูใดปฏิบัติผิดจากพระกายคตาสติภาวนา ผูนั้น ไดชื่อวาผิดจากน้ําอมฤต ตสฺส ภาวนา นิทฺเทโส อันวากิริยาที่จะสําแดงภาวนาวิธีแหงพระกายคตา สตินั้นมาถึงแลว จักไดพรรณนาสืบตอไป พระโยคาพจรผูจําเริญพระกายคตาสติกรรมฐานนั้น พึง พิจารณารูปกายแหงตนจําเดิมแตที่สุดเสนผมลงไปตราบเทาถึงบาทา แตบาทาตราบเทาถึงที่สุดเสน ผมใหเห็นรูปกายอันเต็มไปดวยสิ่งอันโสโครกมีประการตาง ๆ นั้นกุลบุตรผูจําเริญซึ่งกายคตาสตินี้ เมื่อ เเรกจะจําเริญนั้นหาอาจารยที่ดังวามาแตหลังแลวก็พึงเรียนในสํานักอาจารยนั้น ๆ เมื่อจะบอกพระกายคตาสติกรรมฐานก็พึงบอกซึ่งอุคคหโกศล ๗ ประการนั้น แลมนสิการ โกศลย ๑๐ ประการ อุคคหโกศล ๗ ประการนั้น วจสา คือใหสังวัธยายอาการ ๓๒ นั้นให ชํานาญใหขึ้นปาก ๑ มนสา คือใหระลึกตามกรรมฐานนั้นใหขึ้นใจ ๑ วณฺณโต คือใหพิจารณา อาการ ๓๒ นั้นโดยสีสันวรรณะ เปนตนวา ดํา แดง ขาว เหลือง ๑ สณฺฐานโต คือใหฉลาดใน ที่พิจารณาโดยสัณฐานประมาณใหญนอย ๑ ทิสโต คือใหฉลาดในที่พิจารณาในเบื้องต่ําเบื้องบน อันกลาวคือทอนกายเบื้องต่ํา ทอนกายเบื้องบน ๑ โอกาสโต คือใหฉลาดในที่พิจารณาซึ่งที่อยู คือใหฉลาดในการพิจารณาอาการ ๓๒ อันมีกําหนดเปน แหงอากาศภายในนั้น ๑ ปริจฺเฉทโต แผนก ๆ กัน ๑ เปน ๗ ประการดวยกัน แลอุคคหโกศลเปนปฐมซึ่งวาใหสังวัธยายพระกรรมฐานใหขึ้นปากนั้น คือใหสังวัธยายทวัต ติงสาการกรรมฐาน แยกออกเปนปญจกะ ๔ เปนฉกะ ๒ ปญจกะ ๔ นั้น คือตจปญจกะ ๑ วักก ปญจกะ ๑ ปปผาสปญฉกะ ๑ มัตถลุงปจกะเปน ๔ ดวยกัน ฉกะ ๒ นั้นคือ เมทฉกะ ๑ มุตตฉกะ ๑ เปน ๒ ดวยกัน ในตจปญจกะนั้นฝายอนุโลม ๕ คือ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ฝาย ปฏิโลม ๕ คือ ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา ในวักกปญจะกะนั้น ฝายอนุโลม ๕ คือ มํสํ นหารู อฏิมิฺชํ วกฺกํ ฝายปฏิโลม ๕ คือ วกฺกํ อฏิมิฺชํ อฏิ นหา รู มํสํ ในปปผาสะปญจกะนั้น ฝายอนุโลม ๕ คือ หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปหกํ ปปฺผาสํ คือ ฝายปฏิโลม ๕ ปปฺผาสํ ปหกํ กิโลมกํ ยกนํ หทยํ ในมัตถลุงคปญจกะนั้น ฝายอนุโลม ๕ คือ อนฺตํ อนฺตคุณํ อุทริยํ กรีสํ มตฺถลุงฺคํ ฝายปฏิโลม ๕ คือ มตฺ ถลุงคํ กรีสํ อุทริยํ อนฺตคุณํ อนฺตํ ในเมทฉกะนั้น ฝายอนุโลม ๖ คือ ปตฺติ เสมฺตํ ปุพฺ โพ โลหิตํ เสโท เมโท ฝายปฏิโลม ๖ คือ เมโท เสโท โลหิตํ ปุพฺโพ เสมฺ หํ ปตฺตํ ในมุตตฉกะนั้น ฝายอนุโลม ๖ คือ อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆานิกา ลสิ กา มุตฺตํ ฝายปฏิโลม ๖ คือ มุตฺตํ ลสิกา สิงฺฆานิกา เขโฬ วสา อสฺสุ พระโยคาพจรพึงสังวัธยายดวยวาจาในตจปญจกะนั้นวา เกสา โลมา นขา ทนฺ วัน แลวถึงสังวัธยายเปนปฏิโลมถอยหลังวา ตโจ ทนฺ ตา ตโจ เปนอนุโลมดังนี้ใหได ๕ ตา นขา โลมา เกสา ใหได ๕ วันอีกเลา แลวจึงสังวัธยายใหเปนอนุโลมปฏิโลม วา เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา ใหได ๕ วันอีก สิริฝาย อนุโลม ๕ ฝายอนุโลม ๕ ฝายอนุโลมปฏิโลม ๕ จึงเปนกึ่งเดือนดวยกัน เมื่อสังวัธยายในตจปญจ กะไดกึ่งเดือนแลว จึงไปสูสํานักอาจารยเรียนเอาซึ่งวักกปญจกะ สังวัธยายปญจกะเปนอนุโลม วา มํสํ นหารู อฏิ อฏิมิฺชํ วกฺกํ ดังนี้ใหได ๕ วัน แลวจึงวัธยายเปนปฏิโล ทวา วกฺกํ อฏิมิฺชํ อฏิ นหารู มํสํ ดังนี้ใหได ๕ วันอีกเลาแลวสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลม วา มํสํ นหารู อฏิมิฺชํ วกฺกํ วกฺกํ อฏิมิฺชํ อฏิ นหารู มํสํ ใหได ๕ วันอีก สิริวันในวักกปญจกะฝายอนุโลม ๙ ฝายปฏิโลม ๕ ฝายอนุโลมปฏิโลม ๕ จึงเปนกึ่ง เดือนดวยกัน ทสโกฏาเส เอกโต หุตฺวา ครั้นแลวจึงเอาตจปญจกะกับวักกะปญจกะผสมเขา กัน สังวัธยายเปนอนุโลมตั้งแตเกศาตลอดจนถึงวักกัง ใหได ๕ วัน แลวจึงวัธยายเปนปฏิโลมถอย หลังลงมา แตวักกังตราบเทาถึงใหเกศาใหได ๕ วันอีกเลา แลวจึงสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลม วา เกสา โลมา ขนา ทตฺตา ตโจ มํสํ ตโจ นหารู อฏิ อฏิมิฺชํ วกฺกํ วกฺกํ อฏิมิฺชํ อฏิ นหารู มํสํ ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา สังวัธยายดังนี้ใหครบ ๕ วันอีก สิริฝายอนุโลม ๕ วัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 59 ปฏิโลมปฏิโลม ๕ วัน จึงเปนกึ่งเดือนดวยกัน เบื้องหนาแตนั้นพึงสังวัธยายในปปผาสปญจกะเปน อนุโลมวา หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปปฺผาสํ ปหกํ ปปฺผาสํ ดังนี้ใหได ๕ วัน แลวจึงสังวัธยายเปน ปฏิโลมวา ปปฺผาสํ ปหกํ กิโลมกํ ยกนํ หทยํ ใหได ๕ วันอีกเลา ครั้นแลวจึงสังวัธยายเปน อนุโลมปฏิโลมวา หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปหกํ ปปฺผาสํ ปปฺผาสํ ปหกํ กิโลมกํ ยกนํ หทยํ สังวัธยายดังนี้ใหครบ ๕ วันอีก สิริฝายอนุโลม ๕ วัน ปฏิโลม ๕ วัน อนโลมปฏิโลม ๕ วัน จึงเปนกึ่งเดือนดวยกันเบื้องหนา แตนั้นจึงเอาโกฏฐาสทั้ง ๑๕ ผสมกัน สังวัธยายเปนอนุโลมตั้งแตเกศาตราบเทาถึงปปผาสังใหได ๕ วันแลว จึงสังวัธยายเปนปฏิโลมถอยหลังแตปปผาสังลงมา ตราบเทาถึงเกศาใหได ๕ วันอีกเลา แลว จึงสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลมใหครอบ ๕ วันอีกเลา จึงเปนกึ่งเดือนดวยกัน ลําดับนั้นจึงไปสูสํานัก อาจารยเรียนมัตถลุงคะปญจกะไดแลว จึงสังวัธยายเปนอนุโลมวา อนฺตํ อนฺตคฺณํ อุทริยํ กรีสํ มตฺถลุงฺคํ ใหได ๕ วันแลวจึงสังวัธยายเปนปฏิโลมวา มตฺถลุงฺคํ กรีสํ อุทริยํ อนฺตคุณํ อนฺตํ ให ได ๕ วันแลว จึงสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลมใหครอบ ๕ วันอีกเลา ตโต เต วีสติโกฎาเส ลําดับนั้นจึงเอาโกฏฐาสทั้ง ๒๐ ผสมกันเขา สังวัธยายเปน อนุโลม ๕ วัน ปฏิโลม ๕ วัน อนุโลมปฏิโลม ๕ วัน จึงเปนกึ่งเดือนดวยกัน ตโต เมทฉกํ อุคฺคณฺหิตฺ วา ลําดับนั้นจึงไปสูสําหนักอาจารยเรียนเอาซึ่งเมทฉกะไดแลว จึงสังวัธยายเปนอนุโลมวา ปตฺตํ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ เสโท เมโท ดังนี้ใหได ๕ วันแลว จึงวัธยายเปนปฏิโลมวา เมโท เสโส โลหิตํ ปุพฺโพ เสมฺหํ ปตฺตํ ดังนี้ใหได ๕ วันแลว จึงสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลมวา ปตฺตํ เสมฺตํ ปุพฺโพ โลหิตํ เสโท เมโท เมโท เสโส โลหิตํ ปุพฺโพ เสมฺหํ ปตฺตํ ใหครอบ ๕ วันอีก ตโต มุตฺตฉกํ อุคฺคณฺหิตฺวา ลําดับนั้น จึงเรียนเอาซึ่งมุตตฉกะสังวัธยายเปนอนุโลม วา อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆานิกา ลสิกา มุตฺตํ ดังนี้ใหได ๕ วัน จึงสังวัธยายวา มุตฺตํ ลสิกา สิงฺ ฆานิกา เวโฬ วสา อสฺสุ ดังนี้ใหได ๕ วันอีกเลา ครั้นแลวจึงสังวัธยายเปนอนุโลมปฏิโลมวา อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆานิกา ลสิกา มุตฺตํ มุตฺตํ ลสิกา สงฺฆานิกา เขโฬ วสา อสฺสุ ใหครอบ ๕ วัน อีก ตโตป ทฺวตฺตึสโกฏฐาเส ลําดับนั้นจึงเอาโกฏฐาสทั้ง ๓๒ ผสมกันสังวัธยายเปนอนุโลมตั้งแต เกศาไปตราบเทาถึงมุตตังใหได ๕ วัน แลวจึงสังวัธยายถอยหลังแตมุตตังไปตราบเทาถึงเกศาใหได ๕ วันอีกเลา แลวจึงสังวัธยายเปอนุโลมปฏิโลมใหได ๕ วันอีก นับจําเดิมแตตนมาผสมกันเขาเปน อุปนิสฺสยสมฺปนฺนสฺส พระภิกษุอันบริบูรณไปดวย เดือนนั้น คิดตามเดือนถวนได ๖ เดือนกัน อุปนิสัย ประกอบดวยปญญาแกกลานั้น เมื่อสังวัธยายพระกรรมฐานโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ โกฏฐาสทั้ง ๓๒ มีเกศาเปนตนนั้น ก็ จะปรากฏแจงในมโนทวารจะสําเร็จกิจอุคคหนิมิต แลปฏิภาคนิมิตโดยงายเพราะเหตุบริบรูณดวย อุปนิสัย เอกจฺจสฺส อุปฏหนฺติ พระภิกษุบางจําพวกที่หาอุปนิสัยมิได สังวัธยายพระเทวทัตติงสา การกรรมฐานโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ ถวนกําหนด ๖ เดือนแลว ยังมิไดสําเร็จอุคคหนิมิตแลปฏิภาค นิมิต ก็พึงอุตสาหะกระทําความเพียรใหยิ่งขึ้นไปกวากําหนด ๖ เดือน อยาไดมาละเสียซึ่งความ เพียร มชฺฌิมปฺญสฺส วเสน ขอซึ่งกําหนดไวใหสังวัธยายถวนกําหนดครบ ๖ เดือนนี้ วาดวย สามารถภิกษุมีปญญาเปนทามกลาง จะวาดวยสามารถภิกษุมีปญญากลา แลภิกษุมีปญญาออนนั้นหา มิได กําหนด ๖ เดือนนี้กําหนดเปนอยางกลาง กาลเมื่อสังวัธยายทวัตติงสาการกรรมฐานนั้น แมวาโกฏฐาสทั้ง ๓๒ ปรากฏพรอมในมโนทวาร บมิอาจจะใหสําเร็จกิจเปนอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิต ไดทั้ง ๓๒ โกฏฐาส เฉพาะปรากฏแตสิ่งหนึ่งสองสิ่งสําเร็จกิจเปนอุคคหนิมิต แลปฏิภาคนิมิตแตสิ่ง หนึ่งสองสิ่งก็ตามเถิด สุดแทแตปรากฏแจงเทาใดก็ใหถือเอาเทานั้น เมื่อสังวัธยายทวัตติงสาการ กรรมฐานนั้นอยาไดพิจารณาโดยสี อยาไดพิจารณาลักษณะมีแข็งกระดางเปนตน พึงมนสิการ กําหนดใหเปนสวน ๆ พิจารณาใหเห็นวาเกศานั้นเปนสวน ๑ โลมานั้นเปนสวน ๑ นขานั้นเปนสวน ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 60 ทันตานั้นเปนสวน ๑ ใหเห็นเปนสวน ๆ ดังนี้สิ้นทั้ง ๓๒ ประการ วิธีสังวัธยายใหขึ้นปากดุจพรรณนามานี้ จัดเปนอุคคหโกศลเปนปฐมเปนปจจัยแกสังวัธยาย ดวยจิต แลอุคคหโกศลเปนปฐมเปนปจจัยแกสังวัธยายดวยจิต แลอุคคหโกศลเปนคํารบ ๒ นั้น คือให พระโยคาพจรนิ่งระลึกถึงทวัตติงสาการกรรมฐานเปนอนุโลมเปนปฏิโลมเหมือนสังวัธยายดวยวาจานั้น สังวัธยายดวยจิตนี้เปนปจจัยใหตรัสรูโดยอสุภปฏิกูล แลอุคคหโกศลเปนคํารบ ๓ ที่วาใหพิจารณาโดย สีนั้นคือใหกําหนดสีแหงอาการ ๓๒ มีเกศาเปนตน แลอุคคหโกศลเปนคํารบ ๔ ที่วาใหกําหนดโดย สัณฐานนั้น คือกําหนดสัณฐานแหงอาการ ๓๒ มีเกศาเปนตน แลอุคคโกศลคํารบ ๕ ที่วาใหกําหนด โดยทิศนั้น คือใหกําหนดโดยทิศเบื้องต่ํา แลทิศเบื้องบน แหงอาการ ๓๒ คือตั้งแตนาภีขึ้นไปจัดเปน ทิศเบื้องบน ตั้งแตนาภีลงมาจัดเปนทิศเบื้องต่ํา แลอุคคหโกศลคํารบ ๖ ที่วาใหพิจารณาโดยอากาสนั้น คือใหกําหนดที่ตั้งแหงอาการ ๓๒ วาโกฏฐาสนี้ตั้งอยูในที่อันนี้ ๆ แลอุคคหโกศลเปนคํารบ ๗ ที่วาใหกําหนดปริจเฉทนั้น ปริเฉทมี ๓๒ ประการ คือสภาคปริจเฉทประการ ๑ วิสภาคประเฉทประการ ๑ สภาคปริจเฉทนั้น คือกําหนดเปน สวนอาการโกฏฐาสอันกําหนดเบื้องต่ําตั้งอยูเพียงนี้ กําหนดเบื้องสูงตั้งอยูเพียงนี้กําหนดเบื้องขวา ตั้งอยูเพียงนี้ กําหนดอยางนี้แลเรียกวากําหนดโดยสภาคแลกําหนดโดยวิสภาคนั้น คือกําหนดโดย สวนอันมิไดเจือกัน วาสิ่งนี้เปนเกศาหาเปนโลมาไม สิ่งนี้เปนโลมาหาเปนเกศาไม อยางนี้แล เรียกวาวิ สภาคปริเฉท กําหนดโดยปริจเฉท ๒ ประการดังนี้ จัดเปนอุคคหโกศลเปนคํารบ ๗ แตนี้จักพรรณาโดยสีสัณฐานเปนตนแหงอาการ ๓๒ นั้นสืบตอไปโดยนัยพิสดาร ใหพระ โยคาพจรผูจําเริญพระกายตาสติพระกรรมฐานนั้น พิจารณาวาเกศาผมนี้มี ๙ ลานเสนเปน วณฺนโต ถาจะพิจารณาโดยสีมีสีดําเปนปกติ ที่ขาวไปนั้นอาศัยความชราตาม ประมาณ เบียดเบียน สณฺานโต ถาจะพิจารณาโดยสัณฐาน มีสัณฐานอันยาว ตนเรียวปลายเรียวดุจคัน ชั่ง ทิสโต ผลนี้เกิดในทิศเบื้องบน บนศีรษะนี้แลเรียกวาทิศเบื้องบน โอกาสโต ถาจะวาโดย โอกาสผมนี้บังเกิดในหนังชุมอันหุมกระโหลกศีรษะแหงเราทั้งปวง ที่อยูแหงผมนี้ ขางหนากําหนดโดยหลุมโดยแหงคอขางทั้ง ๒ กําหนดโดยหมวกหูทั้ง ๒ ปริจฺเฉทโต ถาพิจารณาโดยปริจเฉทกั้น ผมนี้มีกําหนดรากหยั่งลงไปในหนังหุมศีรษะนั้น วิหคฺ คมตฺตํ มีประมาณเทาปลายแหงขาวเปลือก อันนี้วาโดยกําหนดเบื้องต่ํา เบื้องบนที่ยาวขึ้นไปนั้น กําหนดโดยอากาศโดยขวางนั้น กําหนดดวยเสนแหงกันแลกัน ถาพิจารณาโดยสภาคนั้น ผมนั้น บังเกิดขุมละเสน ๆ จะไดบังเกิดขุมละ ๒ เสน ๓ เสนหามิได ถาจะพิจารณาโดยวิสภาค ผมนี้แปลกกับ ขนจะไดเหมือนกันกับขนนั้นหามิได แลผมนี้พระโยคาพจรพึงกําหนดโดยปฏิกูล ๕ ประการ คือปฏิกูลโดยสีประการ ๑ ปฏิกูล โดยสัณฐานประการ ๑ ปฏิกูลโดยกลิ่นประการ ๑ ปฏิกูลโดยที่เกิดประการ ๑ ปฏิกูลโดยที่อยูประการ ๑ เปน ๕ ประการดวยกัน ปฏิกูลโดยสีนั้น พึงพิจารณาวาบุคคลอันบริโภคซึ่งขาวยาคูแลขาวสวย สิ่งของบริโภคทั้งปวงที่ชอบใจบริโภคนั้น ถาเห็นวัตถุอันใดมีสีเหมือนผม ตกลงอยูในสิ่งของปริโภค นั้นสําคัญวาเปนผมแลว ก็บังเกิดเกลียดชัง พิจารณาเปนปฏิกูลโดยสีนั้นดังนี้ แลปฏิกูลโดยสัณฐาน นั้นพึงพิจารณาใหเห็นวา เมื่อบุคคลบริโภคโภชนาหาร สิ่งใดสิ่งหนึ่งในที่มืดนั้น ถาพบปะวัตถุอันใด อันหนึ่งมีสัณฐานเหมือนดวยผม สําคัญวาผมแลวก็บังเกิดเกลียดชังหยิบทิ้งเสียบาง คายเสียบาง เพราะเหตุสําคัญวาผม ผมนี้เปนที่รักแตเมื่อยังติดอยูในกาย ครั้นปราศจากกายแลวก็เปนที่เกลียดที่ชัง จะวาไปไย ถึงผมเลา แมแตเสนไหมใยบัวเปนตน ที่มีสัณฐานเหมือนดวยผม ที่บุคคลสําคัญวาผมนั้น ยังวาเปนที่ เกลียดชังนักหนา พระโยคาพจรพึงพิจารณาใหเห็นเปนปฏิกูลโดยสัณฐาน ดุจพรรณนามาฉะนี้ ที่วา พิจารณาใหเห็นเปนปฏิกูลโดยกลิ่นนั้น คือใหพิจารณาวาผมนี้ ถาบุคคลเพิกเฉยเสียไมเอาใจใส

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 61 ทะนุบํารุงแลวเหม็นสาบเหม็นสาง ถามิดังนั้นถูกไฟ ๆ ไหมแลวก็เหม็นรายกาจหนักหนา พึงพิจารณา ปฏิกูลโดยกลิ่นนั้นดุจพรรณามาฉะนี้ ที่วาใหพิจารณาปฏิกูลโดยที่เกิดนั้นคือใหพิจารณาวา ผมนี้เกิดขึ้นในหนังอันหุมกะโหลก ศีรษะ ชุมไปบุพพโลหิตน้ําดีแลน้ําเสลดเปนตน บังเกิดในที่อันพึงเกลียด ดุจผักอันบังเกิดในประเทศ แหงเว็จกุฎิ เปนที่เกลียดแหงบุคคลทั้งปวง ที่วาใหพิจารณาปฏิกูลโดยที่อยูนั้น คือใหพิจารณาวา ผม นี้เกิดขึ้นในที่อันพึงเกลียดแลว ก็จําเริญในที่อันพึงเกลียดพึงชังนั้นหาบมิได ดุจเสวาลชาติสาหราย เปนตน อันเกิดในที่ลามกแลวแลจมอยูในที่ลามกนั้น พระโยคาพจรพึงพิจารณาเกศาโดยปฏิกูล ๕ ประการดังพรรณนามาฉะนี้ เบื้องหนาแตนั้นใหพระโยคาพจรกําหนดในโลมชาตินี้ ๙ โกฏิเสน มีสี โดยมาก จะไดดําไปสิ้นทั้งนั้นหามิได ที่สีขาวเหลืองนั้นก็มี โอณตคตา มูลสณฺานา มีสัณฐานอันนอมลงดังแลงธนู นัยหนึ่งวาสัณฐานดังรากตาล ถาจะกําหนดโดยที่เกิด ขนนี้เกิดในทิศทั้งปวง คือทิศเบื้องต่ําเบื้องบน กายกึ่งเบื้องต่ํา ตั้งแตนาภีลง มานั้นชื่อวาทิศเบื้องต่ํากาย กึ่งเบื้องบนนั้นตั้งแตนาภีขึ้นไปชื่อวาทิศเบื้องบน ถาจะวาโดยปริเฉท ขนนี้ กําหนดรากอันหยั่งลงไปในหนังนั้น ลิกฺขามตฺตํ ประมาณเทาปลายเหล็กจานแลเมล็ดไขเหา อันนี้ เปนกําหนดโดยเบื้องต่ํา เบื้องบนขึ้นไปนั้นกําหนดโดยอากาศโดยขวางนั้น กําหนดดวยเสนแหงกันแล กัน ถาจะวาโดยสภาค ขนนี้จะไดบังเกิดดวย ตั้งแตขุมละ ๒ เสนนั้นมิไดมี ถาจะกําหนดโดยวิสภาค ขนนี้ตางกับผม ใหพระโยคาพจร พิจารณาเปน ปฏิกูลกรรมฐานวาโลมชาติอันเกิดกับหนังอันหุมกายก็จริง หารูจักกันไม เปรียบเหมือน หญาแพรกอันแตกงอกขึ้นในบานเกา หญาแพรกบานเกาบมิไดรูจักซึ่งกันแลกัน ธรรมทั้งหลายนี้ ปราศจากอาโภค ปราศจากเจตนาเปนอัพยากฤต ยอมสูญเปลาเปนปฏิกูลพึงเกลียด ใชสัตวใชบุคคล ควรจะอนิจจังสังเวช มีกําลังพิจารณาโลมาแลวเบื้องหนาแตนั้นใหพระโยคาพจรกําหนดในเขา วาเล็บ แหงบุคคลอันบริบูรณนั้นมีประมาณ ๒๐ มีสีขาวในที่อันพนเนื้อมีสีแดงในที่อันเนื่องกับดวยเนื้อ มี สัณฐานดังโอกาสที่ตั้งแหงตน นัยหนึ่งวามีสัณฐานดังเมล็ดมะซางโดยมาก นัยหนึ่งมีสัณฐานดัง เกล็ดปลาสีขาวบังเกิดในทิศทั้ง ๒ ตั้งอยูในที่อันเปนปฏิกูลเหมือนกันกับผม พระโยคาพจรพึง พิจารณาใหเห็นวา เนื้อแลเล็บอยูดวยกันก็จริงจะรูกันก็หาบมิได เปรียบเหมือนปลายไมกับเมล็ดใน มะซางที่ทารกเสียบเขาแลว แลถือเลนบมิไดรูจักซึ่งกันแลกันนั้น ธรรมทั้ง ๒ ปราศจากอาโภคแล เจตนาเปนอัพยากฤต มีสภาวะสูญเปลา ใชสัตวใชบุคคลพิจารณาเขาแลว ตโต ปรํ เบื้องหนาแตนั้นใหพระโยคาพจรกําหนดใหทันตาวา ยสฺส ปริปุณฺณา ตสฺส ทฺวตฺตึส ทันตาของบุคคลที่ครบบริบูรณ ๓๒ บางคนก็นอยลงมาก ๒๗ – ๒๙ ก็มี ถาพิจารณาโดย สีมีสีอันขาว ทันตาของบุคคลที่มีสีเสมอนั้นดุจแผนสังขอันบุคคลเจียระไนใหเสมอ ถามิดังนั้นดุจไมอัน ขาว อันตูมอันตั้งไวเสมอกัน ฟนของบุคคที่ซี่มิไดเสมอนั้นมีสัณฐานตาง ๆ กัน ดุจระเบียบชายคาแหง อาสนะอันเกา หนาฟน ๔ ซี่นั้นมีสัณฐานดังเมล็ดในน้ําเตาอันบุคคลปกวางไวเหนือกอนดิน เขี้ยวทั้ง ๔ นั้น มีสัณฐานดังดอกมะลิตูม มีปลายอันเเหลมขึ้นมาอันเดียว รากก็หยั่งลงไปรากเดียว กรามถัด เขี้ยวเขาไปอยางละซี่ ๆ นั้น มีสัณฐานดังไมค้ําเกวียน คือปลายรากนั้นเปน ๒ งาม ที่สุดขางปลาย บนนั้นก็เปน ๒ งาม กรามถัดเขาไปอีกขางซี่นั้นเปน ๓ ปลายก็เปน ๓ งาม กรามที่ถัดเขาไปอีก ขางละซี่นั้นมีรากเปน ๔ งาม ปลายก็เปน ๔ งาม ฟนทั้งหลายนี้เกิดเหนือกระดูกเบื้องบนกระดูก คางเบื้องต่ําเปนปฏิกูล พึงเกลียด ทันตากับกระดูกคางเบื้องบนเบื้องต่ํานั้น จะไดรูจักก็หาไม เปรียบ เหมือนเสาอันบุคคลตั้งลงไวเหนือแผนศิลาปลายใหเขาไปในพื้นเบื้องบน เสาแลแผนศิลามิไดรูจักซึ่ง กันและกันนั้น พึงพิจารณาทันตาเปนปฏิกูลพึงเกลียดเหมือนกับเสา แลหทัยนั้นเลา ถาจะเอาแตผิวเบื้องบนประมวลเขาใหสิ้นทั้งกาย ไดใหญประมาณเทา เมล็ดในพุทรา มีสีนั้นตาง ๆ กัน ดําก็มี หมนก็มี เหลืองก็มี ขาวก็มี สัณฐานนั้นก็ตาง ๆ กัน หนังนิ้วเทานั้นมีสัณฐานดังรังไหม หนังเทานั้นมีสัณฐานดังหนังเกือกอันหุมหัวแลสน หนัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 62 แขงนั้นมีสัณฐานดังใบตาลอันบุคคบหอภัตตไว หนังขานั้นมีสัณฐานดังถุงอันยาวใสเต็มไปดวย ขาวสาร หนังตะโพกนั้นมีสัณฐานดังผากรองน้ําอันเต็มไปดวยน้ํา หนังสันหลังนั้นนั้นมีสัณฐานดัง หุมแผนกระดาษ หนังทองนั้นมีสัณฐานดังหนังอันหุมรางพิณ หนังอกมีสัณฐานดังหนังเปน ๔ เหลี่ยม หนังแขนทั้ง ๒ นั้นมีสัณฐานดังหนังอันหุมแลงธนู หนังมือมีสัณฐานดังฝกมีดโกน ถามิ ดังนั้นดุจถุงอันใสโลเขน หนังนิ้วมือนั้นมีสัณฐานดังอันใสลูกกุญแจ หนังคอนั้นมีสัณฐานดังวา เสื้อ หนังปากนั้นมีสัณฐานดังปรุเปนชองดุจวารังตั๊กแตน หนังศีรษะนั้นมีสัณฐานดังถลกบาตร เมื่อพระโยคาพจรพิจารณานั้นพึงปลงปญญาพิจารณาหนังศีรษะเบื้องบนกอน แลวจึง พิจารณาหนังอันหุมหนา แลวจึงพิจารณากระดูกหนาผาก พรากหนังและกระดูกออกจากกัน พิจารณา ใหเห็นหนังกระดูกตางกัน พึงสงปญญาไปในระหวางหนังกระดูก ดุจบุคคลอันลวงมือเขาไปภายใน ถลกบาตรอันใสอยูกับบาตร เมื่อพิจารณาหนังหนาผากแลวพึงพิจารณาหนังมือขวา แลวจึงพิจารณา หนังมือซายแลวพิจารณาหนังเทาเบื้องขวาเบื้องซาย พิจารณาถึงมาถึงอก พิจารณาขึ้นมาถึงคอ พิจารณาหนังคางเบื้องต่ําเบื้องบน ถาพิจารณาโดยทิศ หนังที่เกิดในทิศทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดย โอกาส หนังนี้หุมอยูทั้วทั้งกาย ถาจะพิจารณาโดยปริจเฉท เบื้องต่ําเเหงหนังนั้นกําหนดดวยพื้นอัน เปนที่ตั้งเบื้องบน กําหนดโดยอากาศ พึงพิจารณาเปนปฏิกูลพึงเกลียดแหงหนังดุจกลาวแลวในเกศา เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณามังสังวา สรีเร นา เปสิ สตปฺปเภทํ มงฺสํ ในกายนี้มี ประเภท ๙๐๐ ชิ้น มีสีแดงดุจทองหลางปา นัยหนึ่งวาเหมือนดอกทองกวาวมีสัณฐานตาง ๆ ชงฺฆมงฺสํ เนื้อแข็งนั้นมีสัณฐานดังใบตาลหอขาว บางอาจารยวามีสัณฐานดังดอกเกตอันตูม เนื้อ ขานั้นมีสัณฐานดังลูกศิลาบด เนื้อตะโพกมีสัณฐานดังกอนเสา เนื้อหลังมีสัณฐานดังเยื่อตาลสุก เนื้อ สีขางมีสัณฐานดังดินทาฝาฉาง เนื้ออันบุคคลทั้ง ๒ นั้น มีสัณฐานดังกอนดินทั้งคูอันบุคคลแขวนไว เนื้อแขนทั้ง ๒ นั้น มีสัณฐานดังหนูใหญ อันบุคคลตัดหางตัดศีรษะตัดเทาถลกหนังเสียแลวและวาง ซอนกันไว บางอาจารยวามีสัณฐานดังเนื้อสุนัข เนื้อแกมนั้นมีสัณฐานดังเนื้อในกระเบาอันติดอยู ใน ประเทศแหงแกม บางอาจารยวามีสัณฐานดังกบ เนื้อลิ้นนั้นมีสัณฐานดังกลีบอุบล เนื้อจมูกนั้นมี สัณฐานดังถึงอันบุคคลคว่ําไว เนื้อขุมตานั้นมีสัณฐานดังลูกมะเดื่อสุกกึ่ง เนื้อศีรษะนั้นมีสัณฐานดังดิน อันบุคคลทากระเบื้องรมบาตรแตบาง ๆ เมื่อกําหนดไปดังนี้เนื้อที่ละเอียดก็ปรากฏแกปรีชาจักษุ ทิสโต ถาจะกําหนดโดยทิศ เนื้อนี้เกิดในทิศทั้ง ๒ ถาจะกําหนดโดนโอกาสเนื้อนั้นหุมอัฐิ ทั่วทั้ง ๓๐๐ ทอน พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกัมมัฏฐานวา มังสังกับอัฐิ ๓๐๐ ทอนอยู ดวยกันก็จริงหารูจักกันไม เปรียบเหมือนฝาอันบุคคลทาดวยดินปนแกลบ ฝาและดินก็หารูจักกัน ไมใช สัตวใชบุคคล เปนสภาวะสูญเปลา ปริจฺเฉทโต ถาจะวาโดยเบื้องต่ําแหงมังสังนั้นก็กําหนดดวยพื้น แหงรางอัฐิ เบื้องบนนั้นกําหนดดวยหนังโดยขวาง กําหนดดวยชิ้นแหงมังสังนั้นเอง ตโต ปรํ เบื้อง หนาแตนั้นพึงพิจารณาในเสนวาเสนใหญ ๆ ๙๐๐ เสนนั้นมีสีขาว บางอาจารยวามีสีดังน้ําผึ้ง มีสัณฐาน ดังดอกคลาอันตูม เสนที่เล็กลงไปกวานั้นมีสัณฐานดังเชือกดายดักสุกร เสนที่เล็กลงไปกวานั้นมี สัณฐานดังเชือกเขายอดดวน เสนที่นอยลงไปกวานั้นมีสัณฐานดังพิณชาวสีหฬ ที่นอยลงไปกวานั้น มี สัณฐานดังเสนดาย เสนในหลังมือหลังเทานั้นมีสัณฐานดังเทานก เสนเหนือศีรษะนั้นมีสัณฐานดังผาทุกุลพัสตรเนื้อหางอันบุคคลวางไวเหนือศีรษะทารก เสน ในหลังนั้นมีสัณฐาน ดังแหและอวนอันบุคคลขึงออกตากไวในที่อันมีแดด เสนทั้งหลายยอมรัดรึงไว ซึ่งกระดูก ๓๐๐ ทอนเกี่ยวประสานอยูทั่วกรัชกาย ผูกพันกระดูก ๓๐๐ ทอนนั้นไว เปรียบประดุจรูปหุน อันบุคคลรอยไวดวยสายยนต เสนใหญที่แลนไปตามชายโครงเบื้องซายนั้น ๕ เสน เบื้องขวา ๕ เสน เสนใหญทั้งหลายนี้ มีที่สุดเบื้องบนรวมกันที่คอนั้นสิ้น เสนใหญที่แลนออกไปตามแขนซาย แขนขวานั้นขางละ ๑๐ เสน คือหนาแขน ๕ เสน หลังแขน ๕ เสน เทาทั้ง ๒ นั้นก็นับไดขางละ ๑๐ เสน คือทองขานั้น ๕ เสน หลังขานั้น ๕ เสนผสมเปนเสนใหญ ๒๐ เสนดวยกัน และเสนที่นอยลง ไปกวานั้นมีสัณฐานดังดายฝนก็มี มีสัณฐานดังเถากระพังโหมก็มี เกี่ยวประประสานไวซึ่งกระดูกนอย ๆ ผูกเนื่องเขากันเอ็นใหญ ถาจะวาโดยโอกาสเสนนี้เกี่ยวประสานอยูทั่วทั้งกรัชกาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 63 ถาจะวาโดยปจเฉทนี้ เสนนี้มีกําหนดเบื้องต่ําอยูในกระดูก ๓๐๐ ทอน กําหนดเบื้องบนแหง เสนตั้งอยูในเบื้องขวานั้น มีกําหนดดวยเสนเหมือนกัน ใหพระโยคาพจรพิจารณาเปนปฏิกูลกัมมัฏฐาน วา เสนกับอัฐิ ๓๐๐ ทอนผูกพันกันอยูก็จริง จะไดรูจักกันก็หามิได เปรียบเหมือนตอกและหวายถักผูก ฝาและมิไดรูจักซึ่งกันและกัน ธรรมทั้งหลายนี้ใชสัตวใชบุคคลและมีสภาวะสูญเปลา ตโต ปรํ เบื้อง หนาแตนั้นพึงพิจารณาอัฐิวา อัฐินี้มีประมาณ ๓๐๐ ทอน คือกระดูกมือ ๖๔ กระดูกเทา ๖๔ กระดูก ออนอาศัยอยูเบื้องอยูในเนื้อนั้น ๖๔ กระดูกสนเทานั้น ๒ กระดูกขอเทานั้น ๒ รวมทั้ง ๒ ขางเปน ๔ กระดูกแขง ๒ กระดูกเขาก็ ๒ ตะโพกก็ ๒ สะเอวก็ ๒ กระดูกสันหลังนั้น ๑๘ กระดูกซี่โครง ๒๔ กระดูกอก ๑๕ กระดูกหัวใจ ๑ กระดูกรากขวัญ ๒ กระดูกไหล ๒ กระดูกแขนก็ ๒ กระดูก ศอกก็ ๒ รวมทั้ง ๒ ขางเปน ๔ กระดูกคอ ๗ กระดูกคาง ๒ กระดูกจมูก ๑ กระดูกกระบอกตา ๒ กระดูกหู ๒ กระดูกหนาผาก ๑ กระดูกสมอง ๑ กระดูกศีรษะ ๙ อันผสมเปน ๓๐๐ ทอน ๑ ดวยกัน กระดูกทั้งหลายนี้มีสีอันขาว มีสัณฐานนั้นตาง ๆ กัน กระดูกปลายนิ้วเทานั้นมีสัณฐานดังลูกบัว กระดูกกลางนิ่วเทานั้นดังเมล็ดขนุนหนัง กระดูก ตนขอแหงนิ้วเทามีสัณฐานดังบัณเฑาะว กระดูกนิ้วเทานั้นมีสัณฐานดังกองแหงดอกคลา อันหลน กระดูกสนเทานั้นมีสัณฐานดังหัวตาล กระดูกขอเทานั้นมีสัณฐานดังสะเบา กระดูกปลายเขงที่ตั้งลง เหนือสนเทานั้นมีสัณฐานดังหนอเปง กระดูกลําแขงนั้นมีสัณฐานดังคันธนู กระดูกเขานั้นมีสัณฐานดัง คันธนู ดังฟองน้ํามันผุดกลมขึ้นแลวและมีขางอันแหวงไปหนอยหนึ่ง กระดูกขานั้นมีสัณฐานดังดาม ขวานอันบุคคลถากมิดี กระดูกสะเอวนั้นมีสัณฐานดังเตาเผาหมอ กระดูกตะโพกนั้นมีสัณฐานดัง พังพานงู อันบุคคลคว่ําลงไวเปนชองนอยชองใหญอยู ๗ แหงก็มี ๘ แหงก็มี กระดูกหลังนั้นมี สัณฐาน อันกลมดุจแผนดีบุกอันบุคคลตัดใหกลมแลวซอน ๆ กันไว กระดูกสันหลังนั้นมีตุมขึ้นในหวาง ๆ คือในระหวางที่จะตอกนขึ้นไปนั้นเปนตุม ๆ เปนฟน ๆ ดุจฟนเลื่อยซี่โครงทั้ง ๒๔ ซี่นั้นที่ยาว ๆ นั้นมี สัณฐานดังเคียวทั้งเลม ที่สั้น ๆ นั้นมีสัณฐานดังเคียวตัดครึ่งเลมกลางเลม เรียบเรียงกันอยูโดยลําดับ ดุจปกไกอันกางอยูนั้น แลกระดูกอก ๑๔ นั้นมีสัณฐานดังเรือนคานหามปกครุฑอันคร่ําครา กระดูกหทัยนั้นมี สัณฐานดังใบทับทิม กระดูกรากขวัญนั้นมีสัณฐานดังดามมีดนอย ๆ กระดูกไหลนั้นมีสัณฐานดังจอบ ชาวสิงหฬอันเกรียนไปขางหนึ่งแลว กระดูกแขนนั้นมีสัณฐานดังดามแวนเวียนเทียน กระดูกขอมือนั้นมี สัณฐานดังแผนดีบุก กระดูกหลังมือนั้นมีสัณฐานดังดอกคลา กระดูกขอปลายนิ้วนั้นมีสัณฐานดัง ลูกเกต กระดูกขอกลางมือมีสัณฐานดังเมล็ดในขนุนหนัง กระดูกตนขอแหงนิ้วมือนั้นมีสัณฐานดัง บัณเฑาะว กระดูกคอทั้ง ๗ นั้นมีสัณฐานดังหนอไมไผอันบุคคลตัดใหกลม กระดูกคางเบื้องต่ํานั้นมี สัณฐานดังคีมแหงนายชางทอง กระดูกคางเบื้องบนนั้นมีสัณฐานดังมีดเกลาเปลือกหอย กระดูก กระบอกตา กระดูกกระบอกจมูกนั้น มีสัณฐานดังผลตาลอันบุคคลฝานเบื้องบนเสียแลว และควักเยื่อ เสียใหหมด กระดูกหนาผากนั้นมีสัณฐานดังเปลือกสังข กระดูกหมวกหูนั้นมีสัณฐานดังฝกมีดโกน กระดูกศีรษะนั้นมีสัณฐานดังเปลือกน้ําเตาอันเกา ถาวาโดยโอกาส กระดูกศีรษะนั้นตั้งอยูบนกระดูกคอ ๆ นั้นตั้งอยูบนกระดูกสันหลัง ๆ นั้นตั้งอยูบนกระดูกสะเอว ๆ นั้นตั้งอยูบนกระดูกขา ๆ นั้นตั้งอยูบน กระดูกแขง ๆ นั้นตั้งอยูบนกระดูกขอเทา ถาจะวาโดยปริจเฉทนั้น กํานดดวยสวนแหงตน ๆ ใหพระโยคาพจรพิจารณาเปนปฎิกูล กัมมัฏฐานเหมือนกับเกศานั้น ตโต ปรํ เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาสมองอัฐิ ถาอัฐิใหญสทองอัฐิก็ มีมาก ถาอัฐิเล็กสมองอัฐิก็มีนอย ถาจะวาโดยสีมีสีอันขาว ถาจะวาโดยสัณฐาน สมองอัฐิอันมีอยูใน ภายในอัฐิใหญ ๆ นั้น มีสัณฐานดังยอดหวายใหญ ๆ อันเผาไฟใหรอนปลอนเปลือกเสียแลวและใสไป ไวในปลองออและปลองไผอันใหญที่อยูในอัฐินอย ๆ นั้น มีสัณฐานดังยอดหวายนอย ๆ อันเผาไฟให รอนปลอนเปลือกออกเสียแลว และใสไวในปลองออและปลองไผอันนอย บังเกิดอยูในทิศเบื้องต่ํา ตั้งอยูภายในอัฐิกับเยื่ออัฐิดวยกันก็จริง จะไดรูจักกันก็หามิได เปรียบดวยนมขน และผาณิตอันอยูใน ไมไผและไมออนั้นมิไดรูจักซึ่งกันและกัน ปราศจากเจตนาเปนสภาวะสูญเปลา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 64 -

๑ ปรมัตถมัญชุสา ฏีกาวิสุทธิมรรควา กระดูกตาง ๆ นอกจากนี้ ก็พด ู วา ๓๐๐ ทอนฉะนั้น จึงใชศพ ั ทวา มตุต-ประมาณ

ปริจฺเฉทโต ถาจะพิจารณาโดยปริจเฉทนั้น กําหนดพื้นภายในแหงอัฐิและเยื่อนั้นเอง เบื้อง หนาแตนั้นพึงกําหนดซึ่งมาม มามนี้มีสีแดงสักหนอยดังเมล็ดในทองหลาง มีสัณฐานดังลอลากเลน แหงคามทารก บางอาจารยวามีสัณฐานดังผลมะมวงสวายกานทั้งคูอันบังเกิดในขั้วเดียวกันอยูในเบื้อง บน ถาจะวาโดยโอกาส มามนั้นเปนชิ้นเนื้อ ๒ ชิ้นประกบกันมีขั้วอันเดียวกัน เนื่องกันกับเสนใหญอัน ออกจากคอหอย มีตนอันเดียวไปหนอยหนึ่งแลวแจกออกเปน ๒ ภาค หุมไวซึ่งหทัยมังสะ พึง พิจารณาใหเห็นวา มามกับเสนใหญอยูดวยกันก็จริง จะไดรูจักกันหามิได เปรียบเหมือนมะมวงสวาย กานทั่ง ๒ เกิดชั้นเดียวกันและมิไดรูจักกันกับขั้วนั้น ธรรมทั้ง ๒ ยอมมีสภาวะสูญเปลา เบื้องหนาแตนั้นพึงกําหนดหทัยวา ดวงหทัยในกายนี้มีสีแดงประดุจดังกลีบอุบลปทุมชาติ มี สัณฐานดังดอกปทุมชาติ อันตูมอันปอกเปลือกเขียวขางนอกออกเสียเลวและวางคว่ําลงไว ขางหนึ่ง เปนชองดุจลูกบุนนาคอันตัดปลายเกลี้ยงภายนอกภายใน ดุจบวบขมมีชองอยูพอประมาณดุจลูก บุนนาค ถาเปนคนมีปญญาเฉลียวฉลาดสัณฐานแหงหทัยนั้นแยมสักหนอย ถาเปนคนมีปญญานอยหา ปญญามิได ดวงหทัยนั้นตูมดุจดอกบัวอันตูม ภายในหทัยวัตถุนั้นมีประมาณกึ่งซองมือเปนน้ําเลี้ยง หทัย เปนที่อาศัยแหงมโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ถาบุคคลเปนราคจริต น้ําเลี้ยงหทัยนั้นแดง ถา เปนโทสจริต น้ําเลี้ยงหทัยนั้นดํา ถาเปนโมหจริต น้ําเลี้ยงนั้นแดงจาง ๆ เหมือนน้ําลางเนื้อ ถาเปน วิตกจริต น้ําเลี้ยงหทัยนั้นขุนมัวมีสีดั่งเยื่อถั่วพู ถาเปนศรัทธาจริต น้ําเลี้ยงหทัยนั้นผองใสดุจสีดอ กกรรณิการ ถาเปนปญญาจริต น้ําเลี้ยงหทัยนั้นบริสุทธิ์สะอาดดุจแกวมณีโชติอันชําระเปนอันดี หทัย นี้เกิดในทิศเบื้องบน ถาจะวาโดยโอกาสเกิดในทามกลางถันยุคลภายในกาย ถาจะวาโดนกําหนด ๆ ดวยสวนหทัยนั้นเอง หทัยกับหวางถันยุคลดวยกันก็จริงมิไดรูจักซึ่งกันและกัน เปรียบตอไมสลับกับ บานประตูและบานหนาตางอยูดวยกันก็จริง มิไดรูจักกัน พึงพิจารณาเปนปฏิกูล พึงเกลียดเหมือน พรรณนามาแตหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาดวยกอนเนื้อในแหงกายมีสีอังแดงออนมิสูแดงนัก หลังกลีบ นอกแหงดอกโกมุท ถาเปนตับ ๆ นั้น ประกอบดวยขั้วอยูภายจะวาโดยสัณฐานขางตนอันเดียว ปลาย นั้นเเฉกออกเปน ๒ แฉก มีสัณฐานดังดอกทองหลาง ถาคนนั้นเขลาตับนั้นใหญแลวก็เปนอันเดียวมี ปลายมิไดแฉก ถาคนนั้นมีปญญาตับนั้นนอยแลวก็เปนแฉกเปน ๒ แฉก ๓ แฉก ตับนั้นบังเกิดใน ทิศเบื้องบน ถาจะวาโดยโอกาสตับนี้อาศัยทักษิณปรัศวจําระขวาแลวตั้งอยูภายในถันยุคล ถาจะวา โดยปริจเฉทกําหนดโดยสวนแหงตับนั้นเอง ตับนั้นขางจําระขวาอยูดวยกันก็จริงมิไดรูจักกันซึ่งกันและ กันหามิได พึงพิจารณาใหเห็นเปนปฏิกูล พึงเกลียดเหมือนกลาวแลวแตหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาใหพังผืด พังผืดมี ๒ ประการ คือ ปฏิฉันกิโลมกะ อัปปฏิ จฉันนกิโลมกะ ปฏิฉันนกิโลมกะนั้น มีสีอันขาวดังทอนผาทุกุลพัสตรอันเกา มีสัณฐานเทาที่อยูแหง ตน ถาจะวาโดนโอภาส ปฏิจฉันนะกิโลมกะนั้นแวดลอมหทัยและมาม อัปปฏิจฉันนะกิโลมกะนั้นหุมหอ มังสะแลว และตั้งอยูในภายใตแหงหนังในกาย พังผืดกับมามมังสะแลหนังเนื้อหทัยอยูดวยกันก็จริง มิไดรูจักซึ่งกันและกัน เปรียบเหมือนทอนผาเกาพันมังสะ ถอยทีถอยมิรูจักกัน ถาจะกําหนดโดย ปริจเฉทเบื้องใตแตมังสะขึ้นมาเบื้องบนแตหนังลงไป โดยขวางนั้นกําหนดสวนแหงพังผืดนั้นเอง พระ โยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกัมมัฏฐานเหมือนกลาวมานั้น เบื้องหนาแตนั้นพึงกํานดในพุงวา พุงในกายนี้มีสีเขียวดังดอกคนทิศอันเหี่ยว มีตนขั้ว ประมาณ ๗ นิ้ว มีสัณฐานดังลิ้นลูกโคดํา เกิดในทิศเบื้องตนตั้งแตนาภีขึ้นไปแอบอยูเบื้องบนแหงพื้น ทองตั้งอยูขางเบื้องซายแหงหทัย ถาบุคคลตองประหารดวยสาตราวุธ พุงนั้นก็ไหลออกมา แลวก็ เที่ยงที่จะถึงแกความตาย ถาจะกําหนดโดยปริจเฉทกําหนดดวยสวนแหงพุงนั้นเอง พุงตับขางเบื้อง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 65 บนพื้นทองอยูดวยกันก็จริงหารูจักกันไม เปรียบเหมือนโคมันอันทาขางเบื้องบนแหงฉาง ถอยทีรูจัก ซึ่งกัน พึงพิจารณาเปนปฏิกูลกัมมัฏฐาน ดังกลาวมาแตหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาในปปผาสะวา ปอดนี้มีประเภทเปนชิ้นเนื้อ ๑๒ ชิ้นติดกันอยู มีสี แดงดังผลมะเดื่ออันสุก มีสัณฐานดังชิ้นขนมอันตัดเสี้ยว ๆ หนา ๆ บางอาจารยวามีสัณฐานดังแผน กระเบื้องเกล็ดนิ่ม อันมุงหลังคา ถาบุคคลอคลอดอาหารมิไดบริโภคสิ่งหนึ่งสิ่งใดแลว เพลิงธาตุก็เผา เนื้อปอดนั้นใหยอบใหเหี่ยวลง กระดุจใบไมอันบุคคลเคี้ยว เนื้อปอดนั้นหารสโอชาบมิได ปปผาสะนั้น เกิดในทิศเบื้องบนตั้งอยูดวยในหวางถันบุคลหอยลงปกซึ่งตน และเนื้อหทัยปปผาสะกับหวางบุคลอยู ดวยกันก็จริง มิไดรูจักซึ่งกันและกัน เปรียบเหมือนรังนกอันหอยอยูใตหวางฉางเกา รังนกหวางฉางเกา ก็มิไดรูจักซึ่งกันแลกัน พึงพิจารณาเปนปฏิกูลกัมมัฏฐาน ดังกลาวมาแลวแตหนหลังนั้น เบื้องหนาแตนั้น พึงพิจารณาไสใหญวา ปุริสสฺสทฺวตฺตํสหตฺถํ ไสใหญของบุรุษยาว ๓๒ ศอก อิตฺถิยา อฏวีสติหตฺถํ ไสใหญของสตรีภาพยาว ๒๘ ศอก ขดเขาอยูนั้น ๒๑ ขดสีขาวดังสี ปูน อันบุคคลกระทําดวยศิลาแลง มีสัณฐานดังซากงูอันบุคคลตัดศีรษะแลวแลขดไวในรางโลหิตเกิด ในทิศทั้งสอง คือ ทิศเบื้องต่ําทิศเบื้องบน ที่สุดเบื้องบนแหงไสใหญนั้นจดลําคอ ที่สุดเบื้องต่ํานั้นจดอ โธทวารเบื้องต่ํา ถาจะวาโดยปริเฉทนั้น มีกําหนดดวยสวนแหงไสใหญนั้นเอง ไสใหญกับภายในกาย อยูดวยกันก็จริง มิรูจักซึ่งกันและกัน เปรียบเหมือนซากงูอันบุคคลตัดศีรษะ แลวใสวางไวในรางโลหิต ถอยทีถอยหารูจักกันไม พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐานดังกลาวแลวแตหลัง ตโต ปรํ เบื้องหนานั้นพึงพิจารณาไสนอยในกายนี้มีสีดังรากนิลุบล สัณฐานก็เหมือนกัน กับรากนิลุบล บางอาจารยวา มีสัณฐานคดไปคดมาดังโคมูล เกิดในทิศทั้ง ๒ เมื่อบุคคลกระทําการ หนักเปนตนวาขุดดินดวยจอบ ผาไมดวยขวาน ไสนอยนั้นก็รึงรัดขนดแหงไสใหญเขาไวใหเรียบกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวดุจดวยยนต อันอัดกระดานยนตเขาไวในขณะเมื่อชักยนต ไสนอยนั้นตั้งอยูใน ระหวางไสใหญ ๒๐ ขด ดุจเชือกนอยรัดวงเชือกใหญอันบุคคลกระทําไวเช็ดรองเทา ไสนอยนี้กําหนด โดยสวนแหงตนเอง ไสนอยรัดไสใหญอยูก็จริงหารูจักกันไม เปรียบดุจเชือกนอยรัดวงเชือกใหญ บ มิไดรูจักซึ่งกันและกัน ใชสัตวใชบุคคล ควรจะสังเวชทนา เบื้องหนาแตนั้น พึงพิจารณาอาหาร ๆ ใหมนั้นคือ ภัตตอันบุคคลกลืนกินแลเคี้ยวกินแลลิ้ม เลียกิน มีสีดังสีอาหารเมื่อแรกกลืนกิน มีสัณฐานดังขาวสารอันบุคคลใสไวในผากรองน้ํามันหอหยอน ตั้งอยูในทิศเบื้องบนอุทรประเทศ อุทรประเทศนั้นมีสัณฐานดังพองลมอันบังเกิดขึ้นในทามกลางแหง ผาเปยก อันบุคคลจับ ๒ ชายแลว แลบิดเขา มหิมฏํ เกลี้ยงอยูภายในภายนอกในนั้นขรุขระ เหมือนดอกลําโพง แลผาปาวารอันติดหยากเยื่อ บางอาจารยวา เหมือนภายในแหงเปลือกขนุนหนัง อันเปอยอากูลไปดวยหมูหนอน ๓๒ จําพวก มีหนอนอันชื่อวา ตักโกตกาเปนตน แลอาหารมีขาวน้ํา เปนตน ถามิไดมีในอุทรประเทศแลวหนอนทั้งหลายก็โลดขึ้นรอยตามวิสัยหนอน แลวก็เฝากัดเฝา ไชซึ่งหทัยมังสะใหแสบไสแสบพุงมิใหมีความสบาย ครั้นบริโภคอาหารเขาไป หนอนทั้งหลายนั้นก็ แหงนหงายอาปากคอยกินอาหารเขาไปที่แรกกลืนลงไป ๑, ๒, คํานั้นกลุมกันเขาชิงกันบริโภค แล อุทรประเทศอันเปนที่ตั้งแหงอาหารนั้นพึงเกลียดยิ่งนัก เปรียบทอน้ําครําอันอยูในบอแทบประตูบาน แหงคนจัณฑาล บอน้ําส่ําสมไปดวยมูตรและคูถเสลดน้ําลาย หนังเนาแลเอ็นเนาอัฐิทิ้งอยูเปนทอน ๆ อาเกียรณดวยแมลงวันแลหมูหนอน เมื่อหนาฤดูรอนมีฝนเม็ดใหญตกลงสัก ๑ หา แตพอน้ําเต็มหลุม แลเเลงไป น้ําในหลุมนั้น ครั้นรอนดวยแสงอาทิตยก็ปุดขึ้นเปนฟองฟูด มีสีเขียวกลิ้นเหม็น เปนที่พึง เกลียดมิควรที่บุคคลจะเขาใกล จะปวยกลาวไปไยถึงลิ้มเลียสูดดมนั้นเลาแลมีฉันใด อาหารในอุทร ประเทศก็พึงเกลียดเหมือนดังนั้น แลอาหารอันบุคคลบริโภคนั้นแลออกดวยครกแลสาก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

คือฟนเบื้องบนเบื้องต่ํามือคือชิวหา


- 66 กลับกลิ้งกลั้วไปดวยเขฬะถึงพึงซึ่งเกลียดดังรากในรางสุนัข ถามิดังนั้นดุจแปงขาวของชองหูกอันอยู ในรากฆาดวย ครั้นตกลงในอุทรประเทศแลวเกลือกกลั้วไปดวยน้ําดีแลลมเสมหะ เดือดขึ้นดวยกําลัง เตโชธาตุปุดขึ้นเปนตอมเปนฟองเบื้องบน บริบูรณดวยหมูหนอนถึงซึ่งสภาวะพึงเกลียดพึงชังแตไดฟง แลวก็พึงเกลียด จะปวยกลาวไปไยถึงการพิจารณาเห็นแจงดวยปญญาจักษุนั้นเลา แลอาหารซึ่ง บริโภคเขาไปนั้นแบงออกเปน ๕ สวนหนอนในกายกินเสียสวน ๑ เพลิงธาตุไหมไปเสียสวน ๑ เปน มูตรเสีย ๑ เปนอาหารเกาสวน ๑ เปนรสซึมซาบไปใหเจริญโลหิตแลมังสะเปนตนสวน ๑ แลวก็ ไหลออกมาโดยทางทวารทั้ง ๙ เปนมูลจักษุ โสตะ ฆานะ เปนตน เปนที่พึงเกลียดยิ่งนัก พระโยคาพจรพึงพิจารณาใหเห็นวา อาหารกับอุทรประเทศอยูดวยกันก็จริงมิไดรูจักซึ่งกัน และกัน เปรียบเหมือนรากสนุขอันอยูในรางสุนัขถอยทีถอย มิไดรูจักซึ่งกันและกัน พึงกําหนดเปน ปฏิกูลพึงเกลียดมาแลวแตหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาในกรีสวา อาหารเกานั้นมิใชอื่นไกล คือ อาหารที่เพลิงธาตุเผาใหยอยมีสีเหมือนดวยอาหารอันบุคคลกลืนกินโดยมาก มีสัณฐานเหมือนที่อยู ของตน เกิดในทิศเบื้องต่ํา ถาจะวาโดยโอกาสตั้งอยูในกระเพราะอาหารเกานั้น ประดิษฐานอยูในที่สุด แหงไสใหญในระหวางแหงนาภีก็เบื้องลาง แลกระดูกหนามหลังขางตนตอกัน แลวัตถุทั้งปวงมีขาวน้ํา เปนตนที่บริโภคเขาไปนั้น เมื่อตกลงไปในกระเพราะอาหารใหม เพลิงธาตุเผาก็ยอยเเหลกละเอียด ออก ประดุจบดดวยแผนศิลาบด ไหลลงไปตามชองแหงไสใหญคุมเขาเปนกอนแลว แลประดิษฐาน อยูในกระเพราะอาหารเกานั้น เปรียบประดุจดินเหลืองอันบุคคลไสไวในปลองไมสูง ๘ นิ้ว ปริจฺเฉทโต ถาจะพิจารณาโดยกําหนด กําหนดดวยพื้นแหงกระเพราะอาหารเกาและสวน แหงอาหารนั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐาน เหมือนกลาวแลวในเกศา อันดับนั้น พึงพิจารณาในสมองศีรษะวา สมองศีรษะซึ่งตั้งอยูในกบาลศีรษะนั้นมีสีขาวดุจดอกเห็นอันขาด จะมีสี ดังนมขนก็ไมเปน ถาจะเปรียบดวยสีแหงนมสดอันชั่วนั้นเห็นควรกัน มีสัณฐานเหมือนที่อยูแหงตนเกิด ในทิศเบื้องบน ถาจะพิจารณาโดยโอกาสสมองศีรษะนั้นเปน ๔ แฉก อาศัยอยูในแถวแฉกทั้ง ๔ ภายในศีรษะประดุจกอนแปง ๔ กอนบุคคลวางประชุมกันไว ถาจะพิจารณาโดยกําหนด สมอง ศีรษะนั้นกําหนดดวยพื้นภายในแหงกบาลศีรษะแลสวนแหงสมองนั้นเอง พึงพิจารณาเปนปฏิกูล กรรมฐานดังกลาวมาแลวแตหลัง อันดับนั้นพึงพิจารณาในปตตังวา เทวฺ ปตฺติตา ปนิพทฺธปตฺตฺจ อปนิพทฺธปตฺตฺจ ดี มี ๒ ประการ ดีฝกประการ ๑ ดีหาฝกมิไดประการ ๑ ดีมีฝกนั้นมีสีดังน้ําผลมะขามอันขม ดีหาฝก มิไดนั้นมีสีดังดอกพิกุลเหี่ยว มีสัณฐานเหมือนที่อยูแหงตน ดีมีฝกนั้นเกิดแตทิศเบื้องบน ดีหาฝกมิได นั้นในทิศทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดยโอกาส ดีอันหาฝกมิไดนั้นซาบอยูทั่วสรรพางคกาย แลดีมีฝกนั้น ตั้งอยูในฝกดี มีสัณฐานดังฝกบวบขมอันใหญ ฝกดีนั้นแอบอยูกับเนื้อตับ ตั้งอยูในระหวางแหงปอด ดี ฝกนั้นถากําเริบแลวสัตวทั้งปวงก็เปนบา มีสําคัญสัญญาวิปลาสปราศจากหิริโอตัปปะ ถาจะพิจารณา โดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงดีนั้นเอง พระโยคาพจรพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐานดุจกลาวแลวในเกศา นั้น อันดับนั้นพึงพิจารณาในเสมหะ วาเสมหะในกายแหงบุคคลนี้ มีประมาณเต็มบาตรในแตง หนู มีสัณฐานเหมือนที่อยูแหงตน เกิดในทิศเบื้องบน คือตั้งแตนาภีขึ้นมา ถาจะพิจารณาโดยโอกาส เสมหะนั้นอยูในพื้นหอง เมื่อบุคคลบริโภคอาหารเขาไปลําคอ อาหารนั้นตกลงไปถูกเสมหะ ๆ นั้นก็ ขาดเปนชองเปนหวางแยกออกไปเปน ๒ ภาคใหชองแกอาหารแลวเสมหะนั้นก็กลับกลัดเกลื่อนเขา หากันดังเกา เสมหะนี้ปกปดไวซึ่งอสุจิในอุทรประเทศ มิไดอสุจิสิ่งกลิ่นขึ้นมาได ถาเสมหะนอยแลว กลิ่นอันเหม็นก็จะฟุงขึ้นมาโดยมุขทวาร ดวยกําลังลมอุทรธังคมาวาต ถาพิจารณาโดยกําหนดดวย สวนแหงเสมหะนั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐานดังเกศานั้นเอง อันดับนั้นพึงพิจารณาในบุพโพวา หนองนี้มีสีอันเหลือง อันวาดวยหนองในกายแหงบุคคล อันมีชีวิต ถาจะวาดวยหนองในซากเฬวระนั้น มีสีดังน้ําขาวอันขนอันบูด มีสัณฐานดังที่อยูแหงตน เกิด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 67 ในทิศทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดยโอกาส คือที่อยูแหงปุพโพนี้ จะไดมีที่อยูที่ขังเปนนิตยนั้นหาบมิได ตอ เมื่อใดถูกตองขวาก ถูกหนาม ถูกเครื่องสาตราวุธ ถูกเปลวเพลิงเปนตน โลหิตขอเทาอยูในฐานที่ใด ปุพโพก็บังเกิดขึ้นในฐานที่นั้น ถาพิจารณาโดยปริเฉทกําหนดดวยสวนแหงตน แตนั้นใหพระโยคาพจร พิจารณาในโลหิตวา เทวํ โลหิตานิ โลหิตมี ๒ ประการ คือ สันนิจิตโลหิต ๑ สังสรณโลหิต ๑ สัน นิจิตโลหิตนั้นคือเลือดขน มีสีสุกดังน้ําครั่งขน ๆ สังสรณโลหิตนั้นคือเลือดเหลวมีสีดังน้ําครั่งอันจาง มี สัณฐานเหมือนที่อยูแหงตน สัณนิจิตโลหิตนั้นเกิดในทิศเบื้องบน สังสรณโลหิตนั้นซาบอยูในอัง คาพยพทั้งปวง ซาบไปตามกระแสเสน เวนไวหนังอันกระดางแลแลง ผมแลขนเล็บแลฟนดุจน้ําอันซา บอยูในกาย ถากระทบกระทั่งถูกตองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เนื้อหนังเปดออกไปในที่ใดแลว ก็ใหหยดยอยใน ฐานที่นั้น แลสันนิจิตโลหิตนั้น มีประมาณเต็มบาตรใบหนึ่งทวมเนื้อตับในสวนเบื้องต่ําลบไปเบื้องบน หทัยวัตถุปอดแลมาม ไหลซึบซาบไปทีละนอย ๆ ชุมไปในมามหทัยวัตถุปอดแลตับ ถาสันนิโลหิตนี้ ไปชุมแลซาบมามแลดวงหทัยเปนตนแลวสัตวทั้งปวงก็อยากน้ํากระหายน้ํา ลําบากเวทนามีกําลัง แปลกประหลาดกวาปกติโลหิตทั้ง ๒ นี้จะกําหนดโดยปริเฉทนั้น กําหนดดวยดวยสวนแหงโลหิต นั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐาน ดังนัยหนหลังอันดับนั้น พระโยคาพจรพึง พิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐาน ดังนัยหนหลัง อันดับนั้น พระโยคาจรพึงพิจรณาเสทกรรมฐาน วาเหงื่อนั้นคืออาโปธาตุอันไหลออกตามขุ ขนเปนตนถาจะพิจรณาโดยมี สีดังน้ํามันงาอันใสมีสัณฐานเหมือนที่อยูแหงตน เกิดในทิศทั้ง ๒ ถาจะ พิจารณาโดยที่โดยอยูเหงื่ออันจะไดมีที่อยูนิตยเหมือนอยางโลหิตหามิได ตอเมื่อใดสรีกายรอนดวย เพลิงแลแดด แลธาตุอันใดอันหนึ่งบังเกิดวิการกําเริบแลว เหงื่อก็ไหลออกมาจากชองแหงขุมเกศาแล โลมาทั้งปวง พระโยคาพจรผูพิจารณาเสทกรรมฐานนั้น พึงพิจารณาเหงื่ออันเต็มไปอยูในขุมผมแลขุม ขน ถาจะพิจารณาโดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงเหงื่อนั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูล เหมือนกับเกศา อันดับนั้น พึงพิจารณาในเมโทวามันขนนั้นมีสีดังเเทงขมิ้นอันบุคคลผา ถาจะพิจารณาโดย สัณฐานมันขนของคนพีที่อยูในระหวางหนังแลเนื้องนั้น มีสัณฐานดังผาทุกุลพัสตรเหลืองเหมือนสี ขมิ้น มันขนของคนผอม ที่อาศัยอยูตามเนื้อแขงเนื้อขาเนื้อหลังที่กระดูกหนามหลัง แลเนื้อเกลียวอุทร ประเทศนั้น มีสัณฐานดังทอนผาทุกกุลพัสตรอันบุคคลพับเปน ๒ ชั้น ๓ ชั้นแลววางไว มันขนนั้นเกิด ในทิศทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดยโอกาส มันขนแหงคนพีนั้น ซาบอยูทั่วสรรพางคกายมันขนของคนผอม นั้นอยูซาบกับเนื้อแขงเนื้อขาเปนตน ถาพิจารณาโดยปริเฉท มันขนนั้นมีกําหนดเบื้องต่ําตั้งแตเนื้อขึ้น ไปเบื้องบนแตหลังลงมา เบื้องขวากําหนดดวยมันขนนั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาใหเห็นเปน ปฏิกูลกรรมฐาน โดยนัยดังสําแดงมาแลวแตหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาในอัสสุวา น้ําตานั้นคืออาโปธาตุที่ไหลออกมาจากจักษุ มีสีดัง น้ํามันงาอันใส มีสัณฐานเหมือนที่อยูแหงตน น้ําตานั้นเกิดในทิศเบื้องบน ถาพิจารณาโดยโอกาส น้ําตานั้นตั้งอยูในขุมตาทั้ง ๒ แตทวาจะไดตั้งอยูเปนนิตยหาบมิได ถาสัตวชื่นชมโสมนัส มิฉะนั้นอด นอน มิฉะนั้นโทมนัสนอยเนื้อต่ําใจรองไหร่ําไร มิฉะนั้นกลืนกินซึ่งอาหารอันเปนวิสภาค มีตนวาเผ็ดนัก รอนนัก มิฉะนั้นผงคลีแลเถาอันหยบแลควันเขาตามรกาลใด น้ําตาก็ไหลออกมาจากขุมตาทั้ง ๒ ขาง ในกาลนั้น แลพระโยคาพจรพึงพิจารณาในอัสสุกรรมฐานนั้น พึงพิจารณาน้ําตาที่ออกเต็มตาทั้ง ๒ นั้น เปนอารมณ ถาพิจารณาโดยปริเฉท มีกําหนดสวนแหงน้ําตานั้นเอง พึงพิจารณาในวสากรรมฐานวา มันเหลวนั้นมีสีดังน้ํามะพราวนัยหนึ่งวามีสี ดังน้ํามันงาอัน บุคคลรดลงในน้ําขาวยาคู มีสัณฐานดังหยาดแหงอันใสลอยอยูเหนือน้ํา ในกาลเมื่ออาบน้ําเกิดในทิศ ทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดยโอภาสมันเหลวนั้นอยูในฝามือฝาเทา หลังมือหลังเทาอยูในชองจมูกแล หนาผากแลจะงอยแหงบานั้นโดยมาก มันเหลวอันอยูในที่ทั้งปวงนั้น ซึ่งจะใหควางอยูเปนนิตยหาบ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 68 มิได ตอเมื่อใดประเทศแหงฝามือฝาเทา หลังมือหลังเทาเปนตนนั้นรอยดวยเพลิงแลแดดรอนดวยกระ กระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง รอนดวยกําเริบแหงธาตุ มันเหลวจึงไหล ออกแตขางโนนขางนี้ ถาจะพิจารณา โดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงมันเหลวนั้นเอง พึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐาน เหมือนกลาวมาแลวแต หนหลัง เบื้องหนาแตนั้นพึงพิจารณาในเขฬะวา เขฬะนั้นคือ อาโปธาตุอันเจือดวยฟอง ซึ่งอยูใน ภายในมุขประเทศของสัตวทั้งปวงนั้นมีสีขาวดังสีฟองมีสัณฐานเหมือนที่อยูของตน นัยหนึ่งวาเขฬา นั้นมีสัณฐานดังฟอง เกิดขึ้นในทิศเบื้องบนคือโอษฐประเทศ ถาจะพิจารณาโดยโอกาส เขฬานั้นมี สัณฐานดังฟอง เขฬะนั้นไหลออกจากกระพุงแกมทั้งสอง แลตั้งอยูเหนือชิวหา แตทวาจะไดอยูเปน นิตยหาบมิได ตอเมื่อใดสัตวทั้งปวงไดเห็นอาการที่ชอบใจ มิฉะนั้นระลึกถึงโภชนาหารอันเปนที่ชอบ ใจ อันตนเคยรับประทานแตกอนนั้น มีความอยากแลวน้ําลายไหลออก ถามิดังนั้นบุคคลเอาวัตถุอันใด อันหนึ่ง เปนตนวาอาหารอันรอนดวยเพลิงแลเผ็ดรอนเปรี้ยวเค็มวางลงไวในปากเขฬะ จึงบังเกิดขึ้น ไหลออกมาจากกระพุงแกมทั้ง ๒ แลวตั้งอยูเหนือชิวหาแลเขฬะซึ่งตั้งอยูในปลายชิวหานั้นเปนเขฬะ อันเหลว เขฬะซึ่งตั้งอยูเหนือชิวหานั้นเปนเขฬะอันขน เมื่อบุคคลเอาขาวเมาแลขาวสาร แลขาทนียะ ของเคี้ยวอันใดอันหนึ่งวางลงในปากนั้น น้ําลายก็ไหลออกมาชุมซาบอาบเอิบไปในขาวของทั้งปวงนั้น บมิไดรูหมดรูสิ้นไปมีอุปมาดังบอทรายอันมิไดขาดน้ํา ถาพิจารณาโดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงเขฬะ นั้นเอง พึงพิจารณาใหเปนปฏิกูลกรรมฐานดังกลาวแลวแตหลัง อันดับนั้นพึงพิจารณาในสิ่งฆานิกากรรมฐานวาน้ํามูกนั้นคือ อสุจิ อันไหลออกจากสมอง ศีรษะ มีสีดังเยื่อในเตาตาลอันออนมีสัณฐานดังที่อยูเต็มชองนาสิก แตทวาจะอยูไดในชองนาสิก เปน นิตยนั้นหาบมิได ตอเมื่อเหตุคือรองร่ําไรถามิดังนั้นกําเริบดวยบริโภคอาหารอันเผ็ดรอนเกินประมาณ ถามิดังนั้นธาตุวิการกําเริบเปนหวัดไอสมองศีรษะนั้นก็กลายเปนเสมหะอันเนาเคลื่อนออกจากภายใน ศีรษะ ไหลลงมาในชองเบื้องบนแหง เพดานแลวก็เต็มอยูในคลองนาสิกบาง บางทีก็ลนไหลออกมา จากคลองนาสิก พระโยคาพจรผูพิจารณาสิงฆานิการกรรมฐานนั้น พึงพิจารณาน้ํามูกที่ไหลออกมาขัง อยูเต็มชองแหงนาสิก ถาจะพิจารณาโดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงน้ํามูกนั้นเอง พระโยคาพจรพึง พิจารณาใหเห็นปฏิกูลกรรมฐานเปนสภาพ เหมือนกลาวมาแลวแตหลัง อันดับนั้นใหพระโยคาพจรพึงพิจารณาใน มนสิการกรรมฐาณวาไขขอนั้นใชอื่นใชไกล คือ มันอันอยูในภายแหงที่ตอในกาย ไขขอนั้นมีสีดังยางกรรณิการมีสัณฐานที่อยูแหงตน ถาจะพิจารณา โดยทิศไขขอนั้นเกิดในทิศทั้ง ๒ ถาจะพิจารณาโดยโอกาส ไขขอนั้นอยูภายใน แหงที่ตอ ๑๐๘ สําเร็จซึ่งกิจพอกแลทาซึ่งที่ตอแหงอัฐิ ถาผูใดไขขอนอนผูนั้นจะลุกขึ้นแลนั่งลง จะเขาไปและออกมา จะคูกายเขาเหยียดกายออก อัฐิที่ขอตอแหงบุคคลผูนั้นเสียงดังกฎะ ๆ เผาะ ๆ อยางเสียงเขาหักนิ้วมือ ถาผูนั้นเดินทางไกลประมาณ ๑ โยชน ๒ โยชน วาโยธาตุเกิดวิการกําเริบ แลวก็ใหเจ็บเนื้อเจ็บทั่ว สรรพางค ถาผูใดไขขอมาก บุคคลผูนั้นจะลุกนั่งยืน เที่ยวคูกายเขาเหยียดกายออกอัฐิที่ขอตอจะได ดังกฎะ ๆ เผาะ ๆ หามิได แมบุคคลผูนั้นจะเดินทางไกลวาโยธาตุก็มิไดเกิดวิการกําเริบ ผูนั้นไมเมื่อย เหน็บกาย ถาจะพิจารณาโดยกําหนด ๆ ดวยสวนแหงไขขอนั้นเอง พิจารณาเปนปฏิกูลดังกลาวใน เกศานั้น อันดับนั้นพึงพิจารณาในมุตตะกรรมฐาน มาสขาโรทกวณฺณํ มูตรนั้นมีสีดังน้ําดางถั่วราช มาศ มีสัณฐานดังน้ําในกระออมคว่ําไว เกิดในทิศเบื้องต่ําคือตั้งแตนาสิกลงมา ถาจะพิจารณาโดย โอกาส มูตรนั้นอยูภายในแหงกระเพาะ มูตรเมื่อเขาไปสูกระเพาะนั้น จะไดปรากฏวาเขาไปทางใดหา มิได เสยฺยถาป นาม อมุเขร วนฆเฏ ประดุจหมอเนื้อหางหาปากบมิไดอันบุคคลคว่ําไวในน้ําครํา น้ําครําซึบซาบอาบเอิบเกรอะเขาไปขังในหมอนั้นจะไดปรากฏวาเขาไปทางนั้น ๆ หาบมิได แลมีฉันใด มูตรที่เกิดเขาไปสูกระเพาะนั้น จะไดปรากฏวาเขาไปทางนั้น ๆ หาบมิได มีอุปไมยดังนั้น แตทางที่ มูตรไหลออกมานั้นเห็นปรากฏ มูตรนี้มิใชอื่นไกลคืออาหารอันบุคคลบริโภคเขาไปนั้นเอง อาหารนั้น แหลกละเอียดออกดวยเพลิงธาตุแลว ก็เกรอะกรองไปในกระเพาะมูตร ครั้นกระเพาะมูตรเต็มแลวก็ให

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 69 สัตวก็ใหสัตวเจ็บปสสาวะ ใหขวนขวายที่จะถายปสสาวะ ถาจะวาโดยปริเฉทกําหนดโดยสวยแหงมูตร นั้นเอง พระโยคาพจรพึงพิจารณาเปนปฏิกูลกรรมฐานดังกลาวแลวในหนหลัง พึงสันนิษฐานวากิริยาที่พระโยคาพจรพิจารณาอาการ ๓๒ อุคคหโดยสีแลสัณฐาน ทิศแล โอกาสแลปริจเฉทดังพรรณนามานี้ อยูในอุคคหโกศลคํารบ ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ อาจารยผูบอกกายคตา สติกรรมฐานถึงบอกอุคคหโกศล ๗ ประการดังพรรณนามานี้ แลมนสิการโกศล ๑๐ ประการนั้น คือ อนุปุพพโต ๑ นาติสีฆโต ๑ นาติสนิกโต ๑ วิกเขปปฏิพาหโต ๑ ปณณติสมติกกมนโต ๑ อนุ ปุพพมุญจนโต ๑ อัปปนาโต ๑ ติสุตตันตะ ๓ ประการ จึงเปน ๑๐ ประการดวยกัน จะพึงกระทํา มนสิการโกศลโดยอนุปุพพะนั้นอยางไร อนุปุพพะนั้นแปลวาดวยลําดับอธิบายวา พระโยคาพจรผู จําเริญพระกายตาสติกรรมฐานนั้น พึงกระทํามนสิการคือระลึกไปตามพระกรรมฐานโดยลําดับ ๆ กัน อยาใหโจนไปโจนมา พึงกระทํามนสิการโดยลําดับ กระทําใหเหมือนบุรุษอันขึ้นสูพระองอันสูง แล คอยขึ้นไปทีละขั้น ๆ เหตุกลัวจะตก อันกระทํามนสิการโดยลําดับนี้ เปนคุณที่จะไมปราศจากพระ กรรมฐานนั้น ๆ จะมิไดตกไปจากสันดาน แลนาติสีฆโตนั้นคือขณะเมื่อกระทํามนสิการ ระลึกโดยลําดับพระกรรมฐานนั้นอยาเร็วนัก พระกรรมฐานจะมิไดปรากฏแจง ๆ นั้นอยางไร ขณะเมื่อระลึกไปตามอาการ ๓๒ จะมิไดเห็นแทลงโดย อาการเปนปฏิกูลพึงเกลียดนั้นแลไดชื่อวาพระกรรมฐานนั้น ถาระลึกเร็วนักแลวก็พลันสําเร็จคือเร็วจบ พระกรรมฐานก็จะมิไดปรากฏ อาศัยเหตุเร็วไปมิทันที่จะกําหนดกฏหมาย แลนาติสนิกโตนั้น คือ ระลึก พระกรรมฐานอยาใหชานัก ครั้นวากระทํามนสิการพระกรรมฐานนั้นชานักเลา ก็มิใหเปนปจจัยที่จะให ไดธรรมวิเศษ แลวิกเขปปฏิพาหโตนั้น คือขณะเมื่อจําเริญพระกรรมฐานอยาใหทําจิตนั้นเตร็จเตรเรราย ไปในอารมณภายนอกพระกรรมฐาน คือใหดํารงจิตไวในปฏิกูลพึงเกลียดจงได ถาแลจิตถือเอาอาการ แลเกศาเปนตนอันมีพรรณนาตาง ๆ กลับเห็นโดยสภาวะวาดีวางามขณะใด ก็ไดชื่อวาเตร็ดเตรไปใน อารมณภายนอกขณะนั้น ก็จะเสียทีพระกรรมฐานนั้นจะฉิบหายเสีย แลปณณติสมติกกมนโตนั้น คือใหลวงเสียซึ่งบัญญัติ คือคําเรียกวาเกศาผม โลมาขนเปน ตน โดยโลกสังเกตนั้นอยาเอาเปนอารมณเลย พึงตั้งดํารงจิตพิจารณาเอาแตปฏิกูลสิ่งเดียวเปน อารมณ เปรียบประดุจชนทั้งหลายเดินทางพบบอน้ําในอรัญประเทศ ในกาลเมื่อมีน้ําอันไดดวยยาก ก็ ปกไมหมายกรุยผูกไวซึ่งกิ่งไมมีใบตาลเปนตน เปนสําคัญไวในที่บอน้ํานั้น ครั้นภายหลังปรารถนาจะ อาบจะกินขณะใดก็เล็งแลดูที่สําคัญนั้น แลวก็ไปลงอาบกินในขณะนั้น เมื่อไปมาเนือง ๆ รอยเทาที่ บทจรนั้น ปรากฏเปนทางแลวกาลใด แตนั้นไปปรารถนาจะกินจะอาบก็มิไดมีกิจที่จะแลดู ซึ่งสําคัญมี ใบตาลเปนตนก็ตามรอยที่ปรากฏเปนทางนั้น แลวก็ลงกินแลอาบตามปรารถนา จะมีอุปมาดุจใดก็ดีเมื่อพระโยคาพจรกระทํามนสิการในกายคตาสิตกรรมฐานนี้ ใหบุคคลนั้น กระทํามนสิการดวยสามารถเอาบัญญัติ คือโลกสังเกตวาสิ่งนี้เปนตน สิ่งนี้เปนขนเปนตนเปนอารมณ กอน ครั้นสภาวะปฏิกูลปรากฏแลว มิละเสียซึ่งบัญยัติ เอาแตปฏิกูลเปนอารมณ มีอุปไมยดุจนั้น แลอนุ ปุพพมุญจนโตนั้น คือใหละเสียโดยลําดับ อธิบายวาเมื่อระลึกพระกรรมฐานโกฏฐาส ๓๒ เปนอนุโลม ปฏิโลมกลับไปกลับมานั้น ถาพระกรรมฐานในโกฏฐานอันใดปรากฏแจง ก็พึงผูกพันใหจิตมั่นคงอยูใน พระกรรมฐานอันนั้น กรรมฐานอันใดมิไดปรากฏแจงก็พึงละเสีย พระกรรมฐานอันปรากฏเห็นแจงแท แนลงโดยปฏิกูล ก็ยอมอาศัยวาสนาหนหลังสุดเเทแตวาชาติกอนนั้น เคยพิจารณาเห็นอวัยวะอันใดวา เปนปฏิกูล พึงเกลียดพึงชังมาชาตินี้ ก็เปนปจจัยที่จะใหจิตหยุดยั้งตั้งมั่นลงในอวัยวะนั้น ๆ แลวจะ ปรากฏเห็นประจักษทักแทลงวาเปนปฏิกูลพึงเกลียดพึงชัง อาศัยเหตุฉะนี้ พระโยคาพจรผูจําเริญพระกายตาสตินี้ พึงตอนจิตของตนไปในอาการ ๓๒ เปนอนุโลมปฏิโลมกลับไปกลับมากวาจิตจะแนวแนลงในอาการอันใดอันหนึ่งวาเปนปฏิกูลแลว ก็จะ สําเร็จแกพระอัปปนา ซึ่งวาใหกระทํามนสิการโกศลโดยอัปปนานั้น คือมนสิการโดยโกฏฐาสแหงอัปป นานั้นเอง พึงเขาในวาอาการ ๓๒ นี้ ถาแลวาสนาพระโยคาพจรอาจพิจารณาใหเห็นเปนปฏิกูลได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 70 ทั้งสิ้น พระอัปปนาก็จะบังเกิดในโกฏฐาสละอันทั้ง ๓๒ นั้น พระโยคาพจรอันจําเริญพระกายคตาสติ กรรมฐาน ระลึกตามอาการ ๓๒ นั้น ถาพระกรรมฐานนั้นปรากฏแลว ก็เปนปจจัยที่จะใหสําเร็จไดเพียง ปฐมฌาน เพราะเหตุเอาปฏิกูลเปนอารมณอันหยาบละวิตกมิได จึงคงไดแตปฐมฌาน ผิวาปฐมฌาน เปนที่ตั้งแลว จึงปรารภพระวิปสสนาปญญาแกกลาแลว พระโยคาพจรก็หนวงซึ่งอริยภูมิคือมรรคแล ผล ซึ่งวามนสิการในติสุตตันตะนั้น คือใหรูลักษณะพระสูตร ๓ คืออธิจิตตสูตร ๑ สีติภาวนาสูตร ๑ โพชฌงคโกศลยสูตร ๑ ที่ทรงพระมหากรุณาตรัสพระธรรมเทศนาโปรดไว เปนอุบายเพื่อจะให พระโยคาพจรประกอบซึ่งวิริยสมาธิ ในอธิจิตสูตรมีพระพุทธฎีกาตรัสวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระโยคาพจรภิกษุจําเริญซึ่งอธิจิต คือสมถภาวนา พึงกระทํานิมิต ๓ ประการไวในใจโดยกาลสมควร คือใหกระทําอาการแหงสมาธิให บังเกิดในจิต แลกําหนดซึ่งอารมณแหงสมาธิในจิตโดยอาการอันควร ๑ คือใหกระทํามนสิการ ซึ่งปคคหนิมิต คือใหกาลที่จะยกจิตขึ้นจากหดหูเกียจคราน ๑ คือ ใหกระทํามนสิการซึ่งอุเบกขา นิมิตไวในใจ คือ รูกาลที่กระทําจิตใหมัธยัสถ ๑ เปน ๓ ประการดวยกัน ผิวาพระโยคาพจรภิกษุนั้น บมิไดรูกาลอันควรแลกระทํามนสิการแตสมาธิสิ่งเดียว จิตนั้นก็ตกไปในฝกฝายโกสัชชะ ถากระทํา มนสิการขวนขวายแตจะยกจะยอจิตฝายเดียว จิตนั้นก็ตกไปฝกฝายอุทธัจจะ จะฟุงซานไป อนึ่งผิวา กระทํามนสิการแตอุเบกขาจิต คืออาการอันมัธยัสถสิ้งเดียวเปนนิตย จิตนั้นก็จะเพิงเฉยไป จะมิไดตั้ง มั่นดวยสัมมาสมาธิเพื่อจะใหสําเร็จกิจคือสิ้นไปแหงอาสวะ ผิวาพระโยคาพจรภิกษุนั้นฉลาดรูกาลที่จะ กระทํามนสิการ กําหนดนิมิตทั้ง ๓ ดังกลาวแลว จิตนั้นก็จะบังเกิดออนเสื่อมประภัสสรบริสุทธิ์ควรแก ภาวนากรรม บมิราวฉานจะตั้งมั่นดวยสัมมาสมาธิ เพื่อจะใหสําเร็จกิจสิ้นอาสวะ ในสีติภาวนาสูตรนั้น มีพระพุทธฎีกาตรัสวา ภิกษุประกอบดวยคุณธรรม ๖ ประการ สามารถ เพื่อจะกระทําใหแจงซึ่งสีติภาวะ กลาวคือพระอมฤตมหานิพพานอันประเสริญหาสิ่งจะเสมอมิไดธรรม ๖ ประการนั้น คือเห็นวาจิตฟุงซานก็ขมไวมิใหฟุงซาน ๑ คือยกขึ้นซึ่งจิตหดหูเกียจคราน ๑ คือเอา ปญญาปลงจิตอันประพฤติเปนอันเสมอใหยินดีอุตสาหะในที่ประพฤติอันเสมอ ๑ ถาจิตนั้นปราศจาก ความยินดี มิไดแลนไปในทางวิธีภาวนาก็พิจารณาซึ่งวัตถุมีชาติทุกข เปนตน ยังจิตใหรื่นเริงอุตสาหะ ในวิธีภาวนา ๑ คือจิตอันมัธยัสถอยางกลางอยูแลวก็เพงดู อยาขวนขวายที่จะขมขะยกจะใหชื่นนั้น ๑ คือใหมีอัธยาศัยนอมไปในปณีตธรรม คือมรรคแลผลคือใหยินดียิ่งนัก ในพระนิพพาน ๑ เปน ๖ ประการ แลโพชฌงคโกศลสูตรนั้น มีพระพุทธฎีกาตรัสพระธรรมเทศนาโปรดไววา ใหผูฉลาดรูกาล ที่จะจําเริญพระโพชฌงคทั้ง ๗ มีปสสัทธิสัมโพชฌงคเปนตน ดุจนัยสําแดงในอัปปนาโกศลยกถานั้น แลว อาจารยผูบอกพระกายคตาสติกรรมฐาน พึงบอกซึ่งมนสิการโกศล ๑๐ ประการ ดังพรรณนามา ฉะนี้ พระโยคาพจรจําเริญพระกายคตาสติกรรมฐาน ไดสําเร็จองอัปปนาปฐมฌานแลวมีอานิสงสเปน อันมาก คืออาจครอบงําเสียซึ่งความกระสันเบื่อหนายปนตเสนาสนะที่สงัดแลความเบื่อหนายในกอง กุศลธรรมอันยิ่ง คือจําเริญฌานสมาธิแลอาจจะครอบงําเสียซึ่งความกําหนัดในปญจพิธกามคุณ แล อาจจะครอบงําเสียซึ่งภัยอันพิลึกพึงกลัว จะประกอบดวยอธิวาสนะขันติอดกลั้น ตอเย็นแลรอนแล ทุกขเวทนาตาง ๆ แลถอยคําผรุสหยาบชาเปนตน อนึ่งจะอาศัยซึ่งประเภทอารมณมีสีตาง ๆ มีสีเขียวเปนตน อันปรากฏในทวัตตังสะโกฏฐาส พิจารณาเอาเปนกสิณบริกรรมก็จะสําเร็จแกอัปปนาตราบเทาถึงจตุตถฌาน แลจะเปนอุปนิสัยใหตรัสรู ตลอดถึงอภิญญา ๖ สมาบัติ ๗ แลมรรคแลผล เหตุดังนั้นนักปราชญผูมีปรีชา อยาไดประมาทพึง อุตสาหะจําเริญพระกายคตสสติกรรมฐาน อันประกอบดวยอานิสงสเปนอันมาก ดังพรรณนามาไวแท แล ฯ จบวินิจฉัยในกายคตาสติเทานี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 71 -

จักวินิจฉัยพระอานาปาสติกรรมฐานสืบตอไป อิทานิ ยนฺตํ ภควา อยํป โข อานาปานสติ สมาธิ ฯลฯ เอวํ ปสํสิตฺวา อนฺตํ อานาปานสติกมฺมฏานํ กาตพฺพนฺติ อันวาพระอานาปานสติ กรรมฐานอันใด สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคผูทรงสวัสดีภาคยตรัสสรรเสริญไววา อยํป โข อานา ปานสติสมาธิ อันวาพระสมาธิอันกอปรดวยสติระลึก พิจารณาลมหายใจออกหายใจเขา พระ โยคาพจรใหบังเกิดแลปฏิบัติเนือง ๆ พระอานาปานสติกรรมฐานนี้ ปณีโตจ เกิดเปนประณีต อเส จนโก เย็นเองหาผูจะรดมิไดยิ่งกวาสรรพกรรมฐานทั้งปวงดุจโอชารสอันอรอย ใหโยคาพจรเจาระลึก มิรูอิ่มเลย เหตุไดซึ่งสุขอันประกอบในกายแลเจตสิกในขณะเมื่อเปนไป แลยังกองกุศลธรรมอันลามก อันมิไดขมนั้นใหอันตรธานหาย เบื่อหนายจากสังขารธรรมโดยลําดับ จําเริญขึ้นไปจนพระอริยมรรค แลว ก็จะระงับอกุศลธรรมไดเปนแท แลพระอานาปานสตินั้น จะพึงจําเริญดวยพิธีดังฤๅ จึงตรัสวาบุคคลระงับบาป เห็นภัย ในวัฏฏสงสาร ไดนามชื่อวาสมณะ ภิกษุมิไดมีในศาสนาอื่นจากพุทธ เฉพาะมีแตในศาสนาแหงพระ ตถาคตนี้ จะทรมานน้ําจิตดวยจําเริญพระอานาปานสติกรรมฐานนั้น ใหจําเริญในที่ ๓ ประการ อันควร จะใหเกิดสมาธิดวยสติอันระลึก ปญญาพิจารณาถึงลมหายใจออกหายใจเขานั้น แลที่ ๓ ประการนั้น คือที่อันพนจากเสาเขื่อนขามออกไปโดยที่สุด ๕๐๐ ชั่วคันธนูไดชื่อวาอรัญญะเปนที่ปา ๑ คือตนรมไว ไมมีรมรอบคอบ ๑ คือที่ ๗ ประการ ภูเขา ซอกเขา ถ่ําเขา ปาชา กลางปาสงัด ที่แจงทุง สงัดลอมฟาง นอกกวาปาแลตนไมอันพรรณนามานั้น ชื่อวาสูญญาที่สงัด ๑ ที่ทั้ง ๓ นี้สมควรแก พระอานาปานสติภาวนา เหตุวาจิตนี้ทรมานยาก ผิวาจิตพระโยคาพจรของอยูในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ แลวก็บมิไดปรารถนาที่จะขึ้นสูอารมณ คืออานาปานสติสมาธิ ดุจโคเกียจอันเทียมรถมีแต จะพารถนั้นออกไปผิดทาง เหตุดังนั้นพระโยคาพจรผูทรมานจิตดวยธรรมภาวนา พึงดูเยี่ยงอยางนายโคบาล ๆ ทรมาน ลูกโคเกียจ อันกินน้ํานมแมโคเกียจแลวแลนําจําเริญขึ้นนั้นพรากลูกโคออกจากแมแลว จึงผูกคอเขา ไวกับเสา ลูกโคนั้นก็ดิ้นไปขางโนนขางนี้ ครั้นหนีไปไมไดแลวก็ทรุดนอนอยูกับเสา แลมีฉันใด พระ โยคาพจรเมื่อทรมานน้ําจิตอันรายอันจําเริญคุนเคยมาดวยดื่มกินซึ่งรสอาหาร คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะนั้น อปเนตฺวา พรากเสียจากอารมณมีรูปเปนตนแลว จึงเขาไปยังปาแลตนไมที่สงัดแลว พึงเอาสติตางเชือกผูกลูกโคคือจิตเขาไวในเสา คือลมอันหายใจออกหายใจเขา แลจิตนั้นก็ดิ้นไปขาง โนนขางนี้ มิไดซึ่งอารมณมีรูปเปนตน อันเคยสั่งสมมาแตกอน มิอาจจะตัดเชือกคือสติใหขาดออกได แลว ก็จะทรุดแนนอนอยูดวยอุปจาร, อัปปนาสมาธิฌานในที่เสนาสนะทั้ง ๓ มีอุปไมยดังนั้น พระอานาปานสติกรรมฐานนี้ มุทฺธ ภูตํ เปนยอดมงกุฏแหงพระกรรมฐานทั้งปวง เปนตนเหตุจะใหสมเด็จพระพุทธเจาพระปจเจกโพธิเจา พระสาวกทั้งปวงไดซึ่งธรรมวิเศษอันอยูเปนสุขเห็นประจักษในชาตินี้ อันจะจําเริญอยูในคามันตะ เสนาสนะใกลบาน อันอึงไปดวยเสียงหญิงตาง ๆ เปนขาศึกเสี้ยนหนาม พระพุทธองคจึงตรัสใหจําเริญ ในที่ทั้ง ๓ เพื่อใหเกิดจตุตถฌานเปนที่ตั้งแลว จะไดพิจารณาจิตเจตสิกในฌานเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา และตรัสรูซึ่งพระอรหัตตผลฌานอันประเสริฐ เสนาสนํ อุปติสิตฺวา สมเด็จพระสรรเพชญ พุทธองคตรัสสําแดงเสนาสนะทั้ง ๔ อันควรจะจําเริญอานาปานสติภาวนา ตองดวยจริต ๓ ฤดู ๓ ธาตุ ๓ คือ ฤดูรอน ๔ เดือนชอบจําเริญในปา ฤดูเหมันต ๔ เดือนชอบจําเริญในรุกขมูล ฤดู วสันต ๔ เดือนชอบจําเริญในที่ทั้ง ๗ ประการ บุคคลเปนโทสจริต ธาตุเสมหะ ธาตุดีมากชอบเพียนในรุกขมูล บุคคลเปนราคจริต ธาตุลม ชอบจําเริญในที่สงัด บุคคลเปนโมหจริตธาตุเสมหะ ชอบเพียรในปา แทจริงพระโยคาพจรอันเพียรใน ปานั้น ดุจดังวาพญาเสือเหลือง ๆ นั้น อาศัยสุมทุมพุมหญาแลราวปาอันชัฏแลเงื่อมเขา ซอนอยูคอย จับมหิงษาสุกรโคกระทิงเปนอาหาร แลมีฉันใด พระโยคาพจรเขาไปลี้ลับอยูในผาเปนตน ก็ถือเอาซึ่ง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 72 พระอริยมรรคพระอริยผลมีอุปไมยดังนั้น เมื่อพระโยคาพจรจําเริญอานาปานสติกรรมฐานนั้น พึงนั่ง บัลลังกสมาธิดุจกลาวแลวในปวีกสิณ พึงตั้งสติไวในที่อันลมหายใจออกหายใจเขาถูกตอง คนจมูก ยาวถูกตองปลายนาสิก คนจมูกสั้นลมถูกเขาตั้งสติไวที่ปลายนาสิก แลริมฝปากอันลมถูกตองโดยที่ ๑๖ ที่อาการ ๓๒ แลพระอานาปานสติกรรมฐานนี้ มีจตุกะ ๔ มีวัตถุ ๑๖ มีอาการ ๓๒ อันวานี้ โดยสรุป จักวินิจฉัยในจตุกะทั้ง ๔ นี้กอน จตุกะนั้นแปลวาประมาณ ๔ เหตุในพระอานาปานสติ กรรมฐานนี้มีประมาณวัตถุทีละ ๔ ๆ ที่ คือ ปฐมจตุกะมี วัตถุ ๔ ทุติยะจตุกะมีวัตถุ ๔ ตติยจตุกะมี วัตถุ ๔ จตุตถจตุกะมีวัตถุ ๔ ฯ จักวินิจฉัยในจตุกะแตละอันออกไป ในปฐมจตุกะนั้นมีวัตถุ ๔ คือ พระโยคาพจรรูวาอาตมา หายใจออกหายใจเขายาวเปนวัตถุที่ ๑ คือ รูวาอาตมาระบายลมออกสั้นเขาสั้นเปนวัตถุที่ ๒ คือ พระ โยคาพจรศึกษาวาอาตมากระทําอัสสาสะกายใหปรากฏแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๓ คือ พระโยคาพจรศึกษาวาอาตมาระงับซึ่งอัลสาสะกายปสสาสะกายอันหยาบแลว จะระบายลมออ กลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๔ ในทุติยจตุกะมีวัตถุ ๔ นั้น คือพระโยคาพจรศึกษาวา อาตมากระทําซึ่งจิตให ปรากฏแลว จนระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๑ คือ ศึกษาวาอาตมายังจิตใหชื่นชมแลวจะระงับ ลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๒ คือ ศึกษาวาอาตมาตั้งจิตไวใหเสมอแลว จะระบายลมออกลมเขา จัดเปนวัตถุ ๓ คือ ศึกษาวาอาตมาระงับจิตสังขารแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๔ ใน ตติยจตุยจตุกะมีวัตถุ ๔ นั้น คือพระโยคาพจรศึกษาวาอาตมากําหนดรูจิตแลว จะระบายลมออกลม เขาจัดเปนวัตถุที่ ๑ คือศึกษาวาอาตมาทําจิตใหบันเทิงแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๒ คือศึกษาวาอาตมาตั้งจิตมั่นแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๓ คือ ศึกษาวาอาตมาเปลื้อง จิตใหพนจากนิวรณธรรม จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุที่ ๔ ในจตุตถจตุกะมีวัตถุ ๔ นั้น คือพระโยคาพจรศึกษาวา อาตมาเห็นพระอนิจจังแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปนวัตถุ ที่ ๑ คือศึกษาวาอาตมาเห็นพระนิพพานอันเปนที่ปราศจากราคะแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปน วัตถุที่ ๒ คือศึกษาวาอาตมาพิจารณาเห็นพระนิพพานอันดับกิเลสแลว จะระบายลมออกลมเขาจัดเปน วัตถุที่ ๓ คือศึกษาวาอาตมาพิจารณาเห็นพระนิพพานอันเปนที่ละกิเลสแลว จะระบายลมออกลมเขา จัดเปนวัตถุที่ ๔ จตุกะละอัน ๆ นี้มีวัตถุละ ๔ จึงเปนวัตถุ ๑๖ อาการ ๓๒ นั้นคือ วัตถุละอัน ๆ มี อาการ ๒ คือลม ออก ๑ ลมเขา ๑ จตุกะทั้ง ๔ ประการนี้ พระพุทธองคตรัสเทศนาดวยสามารถ สติปฏฐานทั้ง ๔ คือเทศนาปฐมจตุกะดวยสามารถกายานุปสสาสติปฏฐาน ไวสําหรับบุรุษผูเปนตน กัม มิกะแรกกระทําความเพียร เทศนาจตุกะที่ ๒ ที่ ๓ ดวยสามารถเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน แลจิตตา นุปสสนาสติปฏฐาน เทศนาจตุกะที่ ๔ นั้นดวยสามารถธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน จตุกะ ๓ ประการนี้ไว สําหรับพระโยคาพจรผูไดฌานแลว มีเนื้อความในพระอรรถกถาวินัยวา เหตุใดจึงตั้งลม ออกกอน พสฺเพสมฺป คพฺภเสยฺย กานํ อันประเพณีสัตวที่อยูในครรภมารดานั้น นิสฺสวาตา มิได หายใจเขาออกเลย ตอจากครรภมารดาแลวลมภายในออกมากอน พัดพาเอาธุลีละเอียดในภายนออก เขาไปถึงตนลิ้นแลวก็ดับ แตนั้นไปสัตวก็หายใจออกเขาตราบเทากําหนดอายุ เหตุดังนั้นจึงตั้งลมออก กอน ซึ่งวาลมออกลมเขายาวชาสั้นเร็วนั้นดวยประเทศรางกายแหงสัตวนั้นสั้นยาว กายสัตวมีชางแลงู เปนตนยาว ลมหายใจออกเขานั้นคอยออกคอยเขาเนือยชา ก็เรียกวาลมหายใจออกเขายาวชา กาย แหงสนัขแลกระตายเปนตนนั้นสั้น ลมหายใจออกเขานั้นสั้นเร็ว ก็เรียกวาลมหายใจเขาออกสั้นเร็ว ฝายมนุษยทั้งปวงนี้บมิไดเหมือนกัน บางคนหายใจออกเขา ฝายจะยาวดวยสามารถขณะ อันชาอยางชางแลงูเปนตน ก็มีบางบางคนก็หายใจออกเขาสั้น ดวยสามารถขณะอันเร็วอยางสุนัขและ กระตายเปนตนก็มี เหตุดังนั้น พระโยคาพจรผูจําเริญพระอานาปานสติกรรมฐาน เมื่ออาตมาหายใจ ออกเขายาว ดวยสามารถกาลอันชาแลเร็ว พึงมีสติระลึกปญญาพิจารณาทุก ๆ อาการ เมื่อพระ โยคาพจรมีสติปญญาระลึกพิจารณาซึ่งลมหายใจออกเขายาวก็ดี ระบายออกเขาสั้นก็ดีโดยอาการ ฉะนี้ สุขุโม ลมนั้นก็จะเปนสุขุมละเอียด เมื่อลมเปนสุขุมละเอียดแลว ก็จะบังเกิดความปรารถนารัก ใครในการอันเพียรภาวนาตอไป สุขุมตรํ ลมนั้นละเอียดเขากวาแตกอน ชื่อวา อติสุขุม แตนั้นก็พึง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 73 เพียรพิจารณาลมอติสุขุมจําเริญพระกรรมฐานสืบไป ปาโมชฺชํ อุปฺปชฺชติ อันวาตรุณปติก็บังเกิด ออน ๆ ดวยภาวนาจิต เมื่อพระโยคาจรจําเริญภาวนาจิตแลไดปราโมทยปติออน ๆ ดังนี้ แลวลมก็จะ ละเอียดยิ่งกวาเกาลมอันปรากฏในขณะนั้น ก็ไดชื่อวาอนิจจาติสุขุมบังเกิดแกพระโยคาพจร ครั้นเพียรพิจารณาตอไปดวยอาการดังนั้น อันวาอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตก็บังเกิด จิต แหงพระโยคาพจรก็กลับจากกิจที่จะเอาลมสุขุม อติสุขุม แลอนิจจาติสุขุมเปน ยึดเอาแตอุคคห นิมิตเปนอารมณ เมื่อปฏิภาคนิมิตบังเกิดปรากฏแทแลว จิตนั้นก็ไดชื่อวา อุปจารฌาน ผิวาพระ โยคาพจรนั้น บารมีควรจะไดปฐมญานก็ยึดเอาปฏิภาคนิมิตนั้นเปนอารมณแลวก็บังเกิดอัปปนาฌาน ในลําดับอุปจารฌานนั้นจิตก็เปนอารมณแลวก็บังเกิดอัปปนาฌาน ในลําดับอุปจารฌานนั้นจิตก็เปน อุเบกขา เล็งดูอารมณในอัปปนาสมาธิฌาน อันกอปรดวยปฏิภาคนิมิตเปนกลางอยู มิไดหยอนไดกลา เพราะไดปฐมฌานอยู ลักษณะพระธรรมภาวนานี้ ชื่อวาพระกายานุปสสนา วาพระสมาธิฌานไดดวยจําเริญธรรม คือสติระลึกปญญาพิจารณากาย คือลมหายใจออกเขาอันยาวแลสั้นดวยกาลอันชาแลเร็วนั้น ใจความ ในที่จําเริญพระอานาปานสตินี้ ใหพระโยคาพจรกระทําะจิตเปนอาการ ๓ คือเมื่อไดลมสุขุมนั้นกระทํา จิตใหยินดีในกามาพจรกุศล ครั้นไดลมอติสุขุมกระทําจิตใหยินดีปรีดายิ่งขึ้นในกามาพจรกุศล เมื่อได ลมอนิจจาติสุขุมแลว เมื่ออุคคหนิมิตปฏิภาคนิมิตจะบังเกิดนั้น ใหกระทําเปนอุเบกขามัธยัสถ เล็งดู อารมณ คือปฏิภาคนิมิตในอุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธินั้น แลอาการจิตทั้ง ๓ นี้ มีในลมออกลมอัน ปรากฏแกพระโยคาพจร ๓ มีในลมเขาอันปรากฏแกพระโยคาพจรทั้ง ๓ มีในลมอันปรากฏแกพระ โยคาพจรทั้งออกทั้งเขา ๓ จึงเปนอาการ ๙ ดังนี้ วินิจฉัยในวัตถุที่ ๑ ที่ ๒ ในปฐมจตุกะยุติแตเทานี้ แลวัตถุที่ ๓ ในปฐมจตุกะ ที่วาพระโยคาพจรสําเหนียกลมใหปรากฏแลว จะระบายลมออก เขานั้น คือใหรูตนลม กลางลม ปลายลม ลมหายใจออกนั้นตนอยูนาภี กลางอยูหทัย ปลายอยูปลาย นาสิก ลมหายใจเขานั้นตนอยูปลายนาสิก กลางอยูหทัย ปลายอยูนาภี ซึ่งพระพุทธฎีกาตรัสให กําหนดตนลม กลางลม ปลายลมดังนี้ สําหรับผูมีบารมีนอยมิอาจรูกําหนดตามพระพุทธฎีกาจึงจะรู พระโยคาพจรบางองคมิพักลําบากดวยจะรูตนลม กลางลม ปลายลมนั้นเลย แตพอระลึกกําหนดก็รู ตนลม กลางลม ปลายลมโดยงาย เพราะเหตุมีบารมีไดบําเพ็ญมาหลายชาติ พระโยคาพจรบางพระองคพิจารณาลมหายใจออกเขาปรากฏรูแตตน ลมกลาง ลมปลาย ลมปลายมิไดปรากฏรู ก็อาจพิจารณาไดแตตนลมสิ่งเดียว ลําบากในกลางลม ปลายลมบางพระองค ปรากฏรูแตกลางลม ตนลมปลายลมมิไดปรากฏรู บางพระองคปรากฏรูเเตปลายลม ตนลม กลางลม มิไดปรากฏรู ก็พิจารณาแตปลายลมอยางเดียว ลําบากในตนลม กลางลม บางพระองคก็รูสิ้นทั้งตนลม กลางลมปลายลม มิไดลําบากในที่หนึ่งเลย ดังนี้แลจึงวา สพฺพกายปฏิสํเวที กระทําอัสสาสะ ปสสาสะ ใหปรากฏสิ้นทั้งนั้น พระโยคาพจรผูเปนตนกัมมิกะแรกกระทําเพียร จงมีสติเพียรพิจารณาให ปรากฏทั้ง ๓ เหมือนพระโยคาพจรเจาในที่สุดนี้ แลวัตถุที่ ๔ ในปฐมจตุกะที่วาใหพระโยคาพจรสําเนียกวา อาตมาระงับอัสสาสะปสสาสะ กายอันหยาบแลวจะระบายลมออกเขานั้นคือใหระงับกายสังขาร คือลมหายใจออกเขาอันหยาบให ละเอียดเขาเปนสุขุมอติสุขุม ครั้นลมสุขุมอติสุขุมอันตรธานหาย ลมบรมสุขุมอันเปนที่สุดบังเกิดแลว ก็ ไดชื่อวาระงับกายสังขาร คือลมหายใจออกเขาเปนอันดี แลซึ่งวาลมหยาบนั้นหยาบมาแตเดิม คือเมื่อ แรกยังมิไดปรารภภาวนา กายแลจิตยังมิไดระงับลง ครั้นปลงสติปญญาพิจารณาไปก็ละเอียดเขา ๆ โดยลําดับ ๆ คือเมื่อพระโยคาพจรไดอุปจารแหงปฐมฌานลมละเอียดเขากวาเมื่อแรกมนสิการ อีกที ๑ ในปฐมฌานอุปจารก็ยังหยาบละเอียดเขาในทุติฌาน ลมในทุติฌานแลอุปจารแหงตติยฌานนั้นก็ยัง หยาบละเอียดลง ในตติยฌาน ลมในตติยฌานแลอุปจารแหงจตุตถฌานนั้น ก็ยังไดชื่อวาหยาบ ครั้นถึง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 74 จตุตถฌานละเอียดยิ่งนัก ถึงซึ่งมิไดเปนไปเลย จตุตถฌานแทจริง อยางนี้วาดวยระงับในสมถกรรม ฐานกอน ระงับโดยพระวิปสสนากรรมฐานนั้น ลมอัสสาสะหยาบในกาลเมื่อพระโยคาพจร ยังมิได พิจารณาพระวิปสสนากรรมฐาน ไปละเอียดลงในกาลเมื่อพิจารณาซึ่งมหาภูตรูปทั้ง ๔ คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ อันเกิดดับ อนึ่งลมอันเปนไปในกาลเมื่อพิจารณามหาภูตรูปนั้น ก็ยังไดชื่อวาหยาบไปละเอียดลง เมื่อพิจารณารูปอาศัย ดิน น้ํา ไฟ ลม ๆ ก็ยังหยาบ ไปละเอียดลงเมื่อพิจารณาจิต เจตสิกอันเกิดกับ อานาปานสติสมาธิ ๆ ก็ยังหยาบ ไปละเอียดลงเมื่อพิจารณารูปธรรมนามธรรมจิตเจตสิก ๆ ก็ยังหยาบ ไปละเอียดลงเมื่อพิจารณาเหตุปจจัยอันจะใหเกิดแลดับแหงนามรูป ๆ ก็ยังหยาบไป ละเอียดลงเมื่อ พิจารณานามรูปกอปรดวยปจจัยตกแตง ๆ ก็ยังหยาบไป ละเอียดลงขณะเมื่อพิจารณาเห็นนามรูปเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ๆ ก็ยังหยาบไปละเอียดลงสมัยเมื่อพิจารณานามแลรูป เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตากลาแท ลมละเอียดโดยพระวิปสสนาดังพรรณนามาฉะนี้ อันนี้แกไขในบทโดยลําดับแหงปฐมจตุกะ คือวัตถุ ๑, ๒, ๓, ๔ ชื่อวากายานุปสสนาสติ ปฏฐาน แรกพระโยคาพจรจะปฏิบัติยุติแตเทานี้ แลจตุกะทั้ง ๓ อันจะพรรณนาไปในเบื้องหนานี้ เปน เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน จิตตานุปสนาสติกรรมฐาน ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน เปนตน สมถกรรม ฐาน แลวิปสสนากรรมฐาน สําหรับพระโยคาพจรผูไดฌานแลว แตในจตุกะเบื้องตนอันเปนสมถกรรม ฐานนั้น พระโยคาพจรผูจําเริญพระอานาปานสติกรรมฐานนั้น พึงกระทํามนสิการดวยวิธี ๘ ประการ คณนา คือกําหนดนับซึ่งลมออกลมเขาประการ ๑ อนฺพนฺธนา คือกําหนดลมระหวางบ มิไดประการ ๑ ผุสฺสนา คือกําหนดใหรูซึ่งที่อันลมถูกตองประการ ๑ ปถนา คือ มนสิการซึ่งอัปป นาฌานประการ ๑ สลฺลกฺขณา คือวิปสสนาประการ ๑ วิวฏฏนา คือพระอริยมรรคประการ ๑ ปาริสุทฺธิ คือ พระอริยผลประการ ๑ ปฏิปสฺสนา คือปจจเวกขณญาณ อันพิจารณาซึ่งมรรคแล ผลประการ ๑ เปน ๘ ประการดวยกัน แลพระโยคาพจรผูเปนกัมมิกะแรกจะเลาเรียนนั้น พึงมนสิการพระกรรมฐานดวยวิธีอันนับ นั้นกอน เมื่อจะนับซึ่งลมออกลมเขานั้น อยาใหนับต่ําลงมากวา ๔ อยาใหเกินขึ้นไปกวา ๑๐ อยานับ ใหโจนคั่นกันไป ถานับซึ่งลมอัสสาสะปสสาสะใหต่ําลงมากวา ๔ จิตตุปบาทแหงพระโยคาพจรตั้งอยู ในที่อันคับแคบแลว ก็จะดิ้นรนไปมิไดสงบดุจหมูโคอันบุคคลขังไวในคอกอันคับแคบแลว ถานับให เกิดขึ้นไปกวา ๑๐ จิตตุปบาทแหงพระโยคาพจรอาศัยซึ่งนับแลวก็จะระเริงไป มิไดกําหนดซึ่งพระ กรรมฐาน ถานับใหคั่นกันไปวา ๑, ๓, ๕ ดังนี้ จิตแหงพระโยคาพจรก็จะกําเริบสงสัยวา พระกรรมฐาน แหงอาตมานี้ถึงซึ่งอันสําเร็จแลวหรือยังมิไดสําเร็จประการใด เหตุดังนั้นพระโยคาพจรพึงละเสียซึ่งนับ อันเปนโทษทั้ง ๓ ประการนี้แลว พึงนับซึ่งลมออกลมเขาดวยกิริยาอันนับชาชื่อวาธัญญามาปกคณนา ดังคนนับตวง ขาวเปลือกนั้น แทจริงอันวาบุคคลตวงขาวเปลือกนั้นเอาทะนานตวงขึ้นซึ่งขาวเปลือกใหเต็ม แลว นับวา ๑ จึงเทลง ครั้นแลวจึงตวงขึ้นใหม เห็นหยากเยื่ออันใดอันหนึ่งติดขึ้นมาก็เทขาวทะนานนั้นเสีย บมิไดเอา จึงนับวา ๑ ไป แลวตวงขึ้นมาใหมนับวา ๒ แลวก็เทตวงขึ้นอีกเลา ครั้นเห็นหยากเยื่ออันใด อันหนึ่งติดขึ้นมาก็มิไดเอา เทขาวทะนานนั้นเสียจึงนับวา ๒ อีกเลา ตราบเทาจนถึง ๑๐ แลมีฉันใด พระโยคาพจรกําหนดนับซึ่งลมอัสสาสะปสสาสะนั้น ถาลมหายใจออกหายใจเขาอันใดปรากฏแจง ก็ ใหนึกนับเอาซึ่งลมอันนั้นวา ๑, ๒ เปนตน ไปตราบเทาจนถึง ๑๐ ๆ ดังคนอันนับตวงขาวเปลือกแลนับ ซึ่งขาวอันเทลงนั้น ๒

วาโดยเนื้อความพิธีวตกุมภาราม ทานใหนับลมอัสสาสวาตะกอน ใหนับลมปสสาสวาตะที่ คือนับเปนคู ๆ ไปจนถึง ๑๐ คู ใหนับวาลมออก ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 75 -

ทสกะ ดังนี้แลวใหนับแตปญจกะขึ้นไปถึงทสกะเลา อธิบายดังนี้ในฎีกาก็ไมมี แตเห็นวาคลายคลึง กับบาลีวา เอวเมว อิมินาป อสฺสาสปสฺสาเสสุ โย อุปฏาติ ตํ คเหตฺวา เอกํ เอกนฺติ อาทึ อตฺวา ยาว ทสทสาติ ปวตฺตมานํ ปวตฺตมานํ อุปสลฺลกฺเขตฺวาว เคณตพฺพํ เนื้อความวา ล้ําลมหายใจ เขาหายใจออกทั้งหลาย ถาลมหายใจออกหายใจเขาอันใดปรากฏแจง ใหพระโยคาพจรนับซึ่งลมนั้น วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ แลวกลับมานับวา ๑ ไปตราบเทาถึง ๑๐ เลา เมื่อพระโยคาพจร กําหนดนับซึ่งลมอันเดินโดนครองนาสิกดวยประการดังนี้ ลมอัสสาสะปสสาสะปรากฏแลวใหพระโยคาพจรละเสียซึ่งนับชา อันชื่อวาธัญญมาปก คณนานั้น พึงนับเร็วเขา ดังนายโคบาลอันนับโคนั้น นายโคบาลอันฉลาดก็เอากรวดใสพกแลว ถือเอา ซึ่งเชือกแลประฏักไปยังคอกโคแตเชาขี่ลงในหลังแหงโคแลวตนก็ขึ้นนั่งบนปลายเสาประตูคอกนั้น โคตัวออกมาถึงประตูคอก นายโคบาลก็ทิ้งกรวดไปทีละเม็ดเปนคะเเนน นับไปวา ๑, ๒, แลหมูโคอัน ขังลําบากอยูในที่คับแคบสิ้นราตรี ๓ ยาม ก็เบียดเสียดกันมาเปนหมู ๆ แลนายโคบาลนั้นก็นับเร็วเขา วา ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ แลมีฉันใด เมื่อพระโยคาพจรนับดวยอันชาโดยนัยกอนนั้น อัสสาสะปสสาสะนั้นปรากฏแลวก็เดินโดยคลองนาสิกเนือง ๆ เขา รูลมเดินเร็วเนื่องกันไป แลว ลําดับนั้นพระโยคาพจรอยาไดเอาสติตามลมอันเขาไปภายในแลออกมาภายนอกเลย คอย กําหนดเอาซึ่งลมอันมาถึงทวาร คือมากระทบซึ่งปลายนาสิกแลริมโอษฐเบื้องบนนั้น พึงใหนับเร็วเขา วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘ วา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ ใหเร็วเขาดังนายโคบาลนันซึ่งโคนั้น พระอานาปานสติ กรรมฐานนี้เนื่องไปดวยสติอันนับ เมื่อนับไปโดยนิคมดังนี้ จิตแหงพระโยคาพจรนั้นก็ถึงซึ่งเลิศเปน หนึ่งดวยกําลังอันนับประดุจเรืออันหยุดอยูในกาะแสน้ําอันเชี่ยว ดวยกําลังถออันบุคคลค้ําไวนั้น เมื่อ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 76 พระโยคาพจรนับเร็วเขาดังนี้ พระกรรมฐานนั้นปรากฏดุจหนึ่งวาเปนไปหาระหวางมิได พระโยคาพจรรูอัสสาสะปสสาสะ เดินหาระหวางมิไดแลว อยาไดเอาสติตามกําหนดซึ่งลมอันออกแลเขานั้นเลย พึงนับใหเร็วเขาโดยนัย กอน ถาพระโยคาพจรยังจิตใหเขาไปตามลมอันเขาไปภายในนั้น แลลมภายในนั้นก็จะครอบงําอันทํา ซึ่งทรวงอกแหงพระโยคาพจรนั้น ใหปรากฏดุจหนึ่งวาเต็มไปดวยมันขน ถาแลซึ่งจิตออกมาตามลม อันออกมาภายนอก จิตแหงพระโยคาพจรก็ฟุงซานไปในอารมณเปนอันมากในภายนอก จึงหามมิให เอาสติตามลมเขาไปเลยตามลมออกมาใหตั้งสติไวในที่อันลมถูกตอง คือปลายนาสิกาแลโอษฐเบื้อง บน พระกรรมฐานภาวนาจึงจะสําเร็จแกพระโยคาพจรผูเจริญนั้น มีคําโจทกถามวา กีวจิรํ ปเนตํ คเณตพฺพนฺติ ซึ่งวาใหนับลมออกลมเขา จะนับใหนานสิ้นกาลเทาดังฤๅ วิสัชนาวาเมื่อนับ ๆ ไปจนลมปรากฏแลวแลหยุดนับเสีย สติแหงพระโยคาพจรนั้นตั้งมั่นลงในอารมณ คือลมหายใจออก หายใจเขาตราบใด ก็นับไปสิ้นกาลตราบนั้น เมื่อพระโยคาพจรกระทํามนสิการดวยคณนาวิธีไดดังนี้ แลว พึงกระทํามนสิการดวยอนุพันธนาสืบไป แลพระโยคาพจร หยุดนับเสียแลวเอาสติกําหนดลม หายใจออกหายใจเขาเนือง ๆ หาระหวางมิไดดังนี้ชื่อวาอนุพันธนาซึ่งวาใหกําหนดลมหายใจออก หายใจเขาดวยสติเนือง ๆ หาระหวางมิไดนั้นจะใหเอาสติกําหนดในที่ตน ที่ทามกลาง ที่ปลายแหงลม หายใจเขาออกนั้นจิตแหงพระโยคาพจรนั้น ก็จะเตร็จแตรไปมาในกายในภายนอกมิไดตั้งอยูในทีเดียว จะระส่ําระสายหวั่นไหวไปในกายแลจิตนั้น เหตุดังนั้นพระโยคาพจร อยาพึงกระทํามนสิการขวนขวาย เอาสติตามกําหนดในที่ตนทามกลางเบื้องปลายนั้นเลย พึงกระทํามนสิการดวยผุสนาปถานานั้นเถิด แลมนสิการดวยผุสนานั้น คือเอาสติกําหนดในที่ลมเปนปกติ คือปลายนาสิกแลริมโอษฐ เบื้องบนที่ใดที่หนึ่งนั้น มนสิการดวยปถนานั้น คือพระกรรมฐานตลอดถึงฌานบังเกิดแลว ใหพระ โยคาพจรเอาจิตกําหนดในที่ลมถูกตองนั้น ไดชื่อวามนสิการดวยปถนาแลวิธีมนสิการดวยผุสนากับปถ นานั้น จะตางกันหาบมิไดเพราะเอาเหตุที่อันลมถูกตองสิ่งเดียวเปนมนสิการเหมือนกัน และจะแปลก กันเหมือนมนสิการ ดวยคณนาแลอนุพันธนานั้นหาบมิได ความซึ่งวามนสิการดวยคณาแลมนสิการ ดวยอนุพันธนาแปลกกันนั้นคือพระโยคาพจรยังมิไดหยุดวิธีนับและนึกนับซึ่งอัสสาสะปสสาสะในอัน ลมถูกวา ๑,๒ เปนตนนั้น ไดชื่อวามนสิการดวยคณนาแลผุสนา เมื่อพระโยคาพจรหยุดนับเสียแลว เอา สติกําหนดในอันที่ลมถูก ก็ไดชื่อวากระทํามนสิการดวยอนุพันธนาแลผุสนา เมื่ออัปปนาฌานบังเกิด แลพระโยคาพจรเอาฌานจิตกําหนดไวในที่อันลมถูกนั้น ไดชื่อวา มนสิการอนุพันธนาผุสนาแลปถนา ซึ่งวาใหพระโยคาพจรกําหนดซึ่งลมในที่อันถูกตองมิใหเอาสติตาม ลมเขาไปตามลมออกมาในที่ทั้ง ๓ คือปลายนาสิกแลหทัยแลนาภีนั้น มีอุปมาตอบุรุษเปลี้ยอันไกว ชิงชา แลนายประตูอันพิจารณาซึ่งคนอันอาจารยกลาวไวในพระอรรถกถาวา เสยฺยถาป ปคุโฬ โทฬาย กิฬตํ มาตา ปุตฺตานํ โทฬํ ขิปตฺวา อันวาบุรุษเปนเปลี้ย เมื่อภรรยากับบุตรแหงตนใหขึ้น นั่งเลนบนชิงชาแลวก็ไกวไปตัวนั้นก็นั่งอยูในที่ใกลเสาชิงชานั้นจะไดขวนขวายในที่จะเล็งแลดูซึ่ง ที่สุดทั้ง ๒ แลทามกลางแหงกระดานชิงชานั้นหาบมิได ก็ไดเห็นซึ่งที่ทั้ง ๓ คือที่สุดทั้ง ๒ แล ทามกลางแหงกระดานชิงชา อันไกวไปแลวแลกลับมาโดยลําดับ อนึ่งโทวาริกะบุรุษอันรักษาประตูนั้น จะไดเปนภาระธุระที่จะเที่ยวถามซึ่งบุคคลภายในแล ภายนอกพระนครวา ทานนี้ชื่อใดมาแตไหนสิ่งอันใดมีในมือนั้น จะถามดังนี้หาบมิได นั่งอยูแทบประตู คอยพิจารณา ซึ่งชนอันมาถึงทวารเขาก็รูวามาแตทิศทั้ง ๒ ฉันใดก็ดี อันวาพระโยคาพจรยืนอยูในที่ ใกลเสาคือที่อันลมถูกตองนั้นแลวก็ไกวไปซึ่งกระดานชิงชา คืออัสสาสะปสสาสะเอาสตินั้นนั่งประจํา ไวในนิมิตคือลมอันจะมาถูกตองนั้น คอยกําหนดซึ่งตนลมกลางลมปลาย ในที่อันถูกตองแหงอัสสาสะ ปสสาสะอันไปแลมาโดยลําดับ ไมพักขวนขวายที่จะตามลมออกมาแลตามเขาไปเลยก็ไดเห็นซึ่ง อัสสาสะปสสาสะอันมาแลไปมากระทบเขาในที่ทั้ง ๓ คือปลายนาสิกแลหทัยแลนานาภีโดยปกติ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 77 ประดุจคนไกวชิงชาอันเห็นซึ่งตนแลปลายแลทามกลางแหงกระดาน มาถึงแทบทวารแหงพระนครนั้น

แลนายประตูอันเห็นซึ่งคนอัน

แลพระโยคาพจรบางจําพวกจําเดิมแตมนสิการซึ่งพระกรรมฐานดวยสามารถอันนึกนับนั้น ลมอัสสาสะก็ดับไปโดยลําดับ กระวนกระวายก็ระงับลง เมื่อกระบนกระวายระงับลงแลวจิตก็เบาขึ้น ครั้นจิตเบาขึ้นแลวกายก็เบาขึ้นดวย ปรากฏประดุจหนึ่งถือซึ่งอาการจะลอยไปในอากาศเมื่อโอฬาริก อัสสาสะลมหายใจหยาบดับลงแลวจิตแหงพระโยคาพจรนั้นก็มีแตนิมิต คืออัสสาสะปสสาสะอันสุขุม นั้นก็ดับลงบังเกิดเปนอติสุขุมเขายิ่งกวาลมอันสุขุมในกอนนั้น ประดุจบุรุษตีเขาซึ่งกังสดาลดวยสาก เหล็ก แลเสียงแหงกังสดาลนั้นดังอยางอยูในกอนแลวแลมีเสียงอันละเอียดเขา ๆ ในภายหลังเปน อารมณโดยลําดับนั้น แลพระโยคาพจรจําเริญซึ่งพระกรรมฐานอันนั้น ครั้นมนสิการไปในเบื้องบน ๆ ก็ยิ่งปรากฏ แจงออก แลพระอานาปานสติกรรมฐานนี้ จงไดเปนดังนี้หาบมิไดยิ่งจําเริญขึ้นไป ๆ ก็ยิ่งละเอียด เขาถึงซึ่งมิไดปรากฏแกพระโยคาพจรผูจําเริญนั้นแลลมนั้นดุจหนึ่งวาหายไป ๆ โดยลําดับ ๆ ในเมื่อ พระกรรมฐานบมิไดปรากฏดังนั้นแลว พระโยคาพจรอยาพึงลุกจากอาสนไป ดวยดําริวาจะไปถาม อาจารยดูก็ดี แลคิดวาพระกรรมฐานของอาตมาฉิบหายแลวก็ดี ถาลุกจากอาสนไปอิริยาบถอันนั่งนั้น กําเริบแลว พระกรรมฐานก็จะเปนอันใหม ๆ ไปเหตุดังนั้นใหพระโยคาพจรนั่งอยูในที่นั้นแลว พึงนํา พระกรรมฐานใหคืนมาแตประเทศอันลมเคยถูกตองเปนปกตินั้น อุบายซึ่งจะนําใหลมคืนมาดังนี้ เมื่อพระโยคาพจรรูวาพระกรรมฐานบมิไดปรากฏแลวพึงพิจารณาคนควาดูวาลมอัสสาสะ ปสสาสะนี้ มีในที่ดังฤๅ หามิไดในที่ดังฤๅ มีแกบุคคลจําพวกไร มิไดแกคนจําพวกไร เมื่อพิจารณาหา ดังนี้ก็รูวาลมหายใจออกเขามิไดมีแกบุคคล ๗ จําพวก คือคนอันอยูในครรภมารดา ๑ คนอันดําลงไป ในน้ํา ๓ แลพรหมอันอยูในอัสญญีภพ ๑ คนตาย ๑ เขานิโรธ ๑ เปน ๗ ดวยกัน เมื่อรูดังนี้แลว พึง ตักเตือนตนเองวา ดูกอนทานผูเปนนักปราชญตัวทานจะไดเปนคนอยูในครรภมารดา แลเปนคนอันดํา นั้นอยูก็หาบมิได อนึ่งจะเปนอสัญญีสัตว เปนคนตายเปนคนเขาจตุตถฌาน แลเปนรูปพรหม อรูปพรหม แล พระอริยเจาอันเขานิโรธสมาบัติก็หาบมิได แลลมอัสสาสะปสสาสะนั้นก็มีอยูจะสูญไปไหน แตทวา ปญญาทานนอยก็บมิอาจจะกําหนดได เมื่อตักเตือนตนดังนี้แลวจึงตั้งซึ่งจิตไวดวยสามารถอันมา กระทบเปนปกติแลว พึงมนสิการซึ่งลมนั้นแทจริง ลมอัสสาสัปสสาสะนั้นถาคนมีนาสิกยาวยอมกระทบ กระพุงจมูกคน นาสิกนั้นลมกระกระทบปลายโอษฐเบื้องบน เหตุดังนั้นใหพระโยคาพจรเอาสติกําหนด ซึ่งลม วาจะมากระทบซึ่งที่อันนี้ ประดุจบุรุษไถนาอันคอยโค แลบุรุษไถนานั้น ครั้นไถไปเต็มกําลังโค แลว ก็ปลดซึ่งโคออกจากแอกปลอยไปสูที่อาหาร ตนนั้นก็เขาอยูในรมไมรํางับกระวนกระวาย ฝายโค นั้นก็เขาไปยังปาชัฏดวยกําลังอันเร็ว แลบุรุษไถนาผูฉลาดปรารถนาจะจับซึ่งโคเทียมแอกอีก จะได ตามรอยเทาโคไปในปาชัฏหาบมิได ถือเอาซึ่งเชือกและประฏักแลว ก็ตรงไปสูทาที่โคเคยลงนั่งคอย นอนคอยในที่นั้น ฝายโคเที่ยวไปสิ้นวันยังค่ําแลวก็ลงไปสูทา อาบน้ําแลวกลับขึ้นมาเจาของนั้นเห็นจึงจับเอา โคนั้นขึ้นมา ผูกดวยเชือกแทงดวยประฏักแลวก็พามาเทียมแอกเขาไถไปใหมเลาแลมีฉันใด พระ โยคาพจรผูจําเริญพระอานาปานสติกรรมฐานนี้ เมื่อลมอัสสาสะปสสาสะสูญไปแลว อยาพึงไป แสวงหาในที่อื่นถือเอาซึ่งเชือกคือสติ ประฏักคือปญญาตั้งไวซึ่งจิตคอยประจําอยูในที่อันลมถูกตอง โดยปกติ อุตสาหะมนสิการกําหนดไปไมชาลมนั้นก็จะปรากฏดุจโคอันลมมาสูทา ลําดับนั้นพระ โยคาพจรก็จับซึ่งอัสสาสะไดผูกใหมั่นดวยเชือกคือสติ เอามาประกอบเขาในที่ลมอันเคยถูกตองนั้น แลว ก็แทงดวยประฏักคือปญญาแลว ก็พึงประกอบซึ่งกรรมฐานจงเนือง ๆ เมื่อพระโยคาพจรประกอบเนือง ๆ ดังนี้บมิชาอุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิต ก็ปรากฏแกพระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 78 โยคาพจรนั้นแลอุคคหนิมิตปฏิภาคนิมิตจะเหมือนกันทุกพระโยคาพจรหาบมิได บางอาจารยกลาววา พระโยาคาพจรบางพระองคอุคคหนิมิตเมื่อบังเกิดขึ้นนั้น มีสัมผัสอันเปนสุขปรากฏดุจหนึ่งวาเปนปุย นุนบางปุยสําลีบาง แลนิมิตทั้ง ๓ นี้เล็งเอาอุคคหนิมิตสิ่งเดียว แลคําพิพากษาในอรรถกถานั้นวา อุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิตนี้ปรากฏแกพระโยคาพจรบางพระองคเปนชวงดังรัศมีดาว แลพวงแกวมณี พวงแกวมณีมุกดาแลพระโยคาพจรบางพระองค อุคคหนิมิตปฏิภาคนิมิตมีสัมผัสอันหยาบปรากฏดัง เมล็ดในฝายบาง ดังเสี้ยนสะเก็ดไมแกนบาง บางพระองคปรากฏดังดายสายสังวาลอันยาวแลเปลว ควันเพลิงบาง บางพระองคปรากฏดุจหนึ่งใยแมลงมุมอันขึงอยูแลแผนเมฆแลดอกบัวหลวงแลจักรรถ บางทีปรากฏดังดวงพระจันทรพระอาทิตยก็มี แลกรรมอันเดียวนั้นก็บังเกิดตาง ๆ กันดวยสัญญาแหง พระโยคาพจรมีตาง ๆ กัน อนึ่งธรรม ๓ ประการ คือลมออก ๑ ลมเขา ๑ นิมิต ๑ จะไดเปนอารมณแหงจิตอัน เดียวกันหามิได ลมออกก็เปนอารมณแหงจิตอัน ๑ ลมเขาก็เปนอารมณืแหงจิตอัน ๑ ตางกันดังนี้ ก็แล พระโยคาพจรพระองคใดบมิไดรูซึ่งธรรมทั้ง ๓ คือลมออกมิไดปรากฏแจง ลมเขาก็มิไดปรากฏแจง นิมิตก็มิไดปรากฏแจง มิไดรูซึ่งธรรมทั้ง ๓ ประการนี้แลว พระกรรมฐานแหงพระโยคาพจรพระองคนั้น ก็มิไดสําเร็จซึ่งอุปจารแลอัปปนา ตอเมื่อใดธรรมทั้ง ๓ นี้ ปรากฏแจงพระกรรมฐานแหงพระโยคาพจร นั้นจึงจะสําเร็จถึงซึ่งอุปจารฌานแลอัปปนาฌานในกาลนั้น เมื่อนิมิตบังเกิดดังนี้แลว ใหพระโยคาพจรไปยังสํานักอาจารยพึงถามดูวา ขาแตพระผูเปน เจา อาการดังนี้ปรากฏแกขาพเจาพระมหาเถรสันทัดในคัมภีรทีฆนิกายนั้น ถาศิษยมาถามดังนั้น อาจารยอยาพึงบอกวานั่นแลคืออุคคหนิมิตแลปฏิภาคนิมิต และจะวาใชนิมิตก็อยาพึงวา พึงบอกวา ดูกรอาวุโส ดังนั้นแลทานจงมนสิการไปใหเนือง ๆ เถิด ครั้นอาจารยบอกวาเปนอุคคปฏิภาคแลว สติ นั้นก็จะคลายความเพียรเสียมิไดจําเริญพระกรรมฐานสืบไป ถาบอกวาดังนั้นมิใชนิมิต จิตพระ โยคาพจรก็จะถึงซึ่งนิราศสิ้นรักใครยินดีในพระกรรมฐาน เหตุดังนั้นอยาไดบอกทั้ง ๒ ประการ พึง เตือนแตอุตสาหะมนสิการไปอยาไดละวาง ฝายพระมหาเถระผูกลาวคัมภีรมัชฌิมนิกายวา ใหอาจารยพึงบอกดูกรอาวุโส สิ่งนี้คืออุคคห นิมิตสิ่งนี้คือปฏิภาคนิมิตบังเกิดแลว ทานผูเปนสัตบุรุษจงอุตสาหะมนสิการพระกรรมฐานไปจงเนือง ๆ เถิด และพระโยคาพจรเปนศิษยพึงตั้งซึ่งภาวนาจิตไวในปฏิภาคนิมิตนั้น จําเดิมแตปฏิภาคนิมิตบังเกิด แลวอันวานิวรณธรรมทั้ง ๕ มีกามฉันทะเปนตนก็สงบลง บรรดากิเลสธรรมทั้งหลายมีโลภะ โทสะ เปน ตนก็รํางับไป จิตแหงพระโยคาพจรก็จะตั้งมั่นลงดวยอุปจารสมาธิ แลพระโยคาพจรนั้น อยาพึง มนสิการซึ่งนิมิต โดยวรรณมีสีดังปุยนุนเปนตน อยาพึงพิจารณาโดยสีอันหยาบ แลลักษณะมีความไม เที่ยงเปนตน พึงเวนเสียซึ่งสิ่งอันมิไดเปนที่สบาย ๗ ประการ มีอาวาสมิไดเปนสบายเปนตน พึงเสพ ซึ่งสบาย ๗ ประการ มีอาวาสสบายเปนตน แลวพึงรักษานิมิตนั้นไว ใหสถาพรเปนอันดี ประดุจนาง ขัตติยราชมเหสีอันรักษาไวซึ่งครรภ อันประสูติออกมาไดเปนบรมจักรพรรดิราชนั้น เมื่อรักษาไวไดดังนี้แลว พระกรรมฐานก็จําเริญแพรหลายแลพระโยคาพจรพึงตกแตงซึ่ง อัปปนาโกศล ๑๐ ประการ ประกอบความเพียรใหเสมอพยายามสืบไป อันวาจตุกฌานปญญจกฌานก็ จะบังเกิดในมิตนั้น โดยลําดับดังกลาวมาแลวในปฐวีกสิณ เมื่อจตุกฌานปญจกฌานบังเกิดแลว ถา พระโยคาพจรมีความปรารถนาจะจําเริญซึ่งพระกรรมฐานดวยสามารถสัลลักขณาวิธีแลวัฏฏนาวิธี จะ ใหถึงซึ่งอริยผลนั้น ใหกระทําฌานอันตนไดนั้นใหชํานาญคงแกวสี ๕ ประการแลว จึงกําหนดซึ่งนาม รูป คือจิตแลเจตสิกกับรูป ๒๘ ปลงลงสูวิปสสนาปญญาพิจารณาดวยสามารถสัมมัสสนญาณเปนตนก็ สําเร็จแกพระอริยมรรคอริยผล มีพระโสดาบันเปนตน เปนลําดับตราบเทาพระอรหัตตผลเปนปริโยสาน ดวยอํานาจจําเริญซึ่งพระอานาปาสติกรรมฐานนี้ เหตุดังนั้นพระโยคาพจรกุลบุตรผูเปนบัณฑิตชาติอยา พึงประมาท จงหมั่นประกอบเนือง ๆ ซึ่งพระอานาปาสติสมาธิอันกอปรดวยอานิสงสเปนอันมาก ดังกลาวมานี้ ฯ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 79 วินิจฉัยในพระอานาปาสติกรรมฐานยุติเทานี้

จักวินิจฉัยในอุปสมานุสสติกรรมฐานสืบตอไป พระโยคาพจรมีความปรารถนาจะจําเริญซึ่ง พระอุปมานุสสติกรรมฐานนั้น ใหเขาไปสูเสนาสนะอันเปนที่สงัดกายแลจิตแลว พึงระพึงซึ่งคุณพระ นิพพานอันระงับซึ่งวัฏฏทุกขทั้งปวงดวยพระบาลีวา มทนิมฺมทโน ก็ได ปปาสวินโย ก็ ได อาลยสมุคฺฆาโต ก็ได วฏฏปริจฺเฉโท ก็ได ตณฺหกฺขโย ก็ได วิราโค ก็ได นิโรโธ ก็ ได นิพฺพานํ ก็ได และพระบาลีทั้ง ๙ อยางนี้เปนชื่อแหงพระนิพพานสิ้น มทนิมฺมทโน นั้นแปลวาพระนิพพานธรรมย่ํายีเสียซึ่งมัวเมา มีความเมาดวยความเปนคน หนุมแลความไมมีโรค แลชีวิตเปนตนใหฉิบหาย ปปาสวินโย นั้นแปลวาพระนิพพานธรรมบรรเทา เสียซึ่งกระหายน้ําคือเบญจกามคุณ อาลยสมุคฺฆาโต นั้นแปลพระนิพพานธรรมถอนเสียซึ่งอาลัย คือเบญจกามคุณ วฏฏปริจฺเฉโท นั้นแปลวาวาตัดเสียซึ่งเวียนไปในภพทั้ง ๓ ใหขาด ตณฺหกฺข โย วิราโค นิโรโธ แปลวาพระนิพพานธรรมถึงซึ่งสิ้นแหงตัณหา หนายจากตัณหา ดับเสียซึ่ง ตัณหา นิพฺพานํ นั้นแปลวา พระนิพพานธรรมออกจากตัณหา และพระโยคาพจรระลึกบทหนึ่งเอา เปนบริกรรม ภาวนาก็ได แตทวาสําเหนียกนามวา นิพฺพานํนั้นปรากฏวาชื่อทั้งปวง ใหพระโยคาพจร ระลึกวานิพฺพานํ ๆ เนือง ๆ ขณะเมื่อพระโยคาพจรจะระลึกซึ่งพระนิพพานคุณอันรํางับซึ่งวัฏฏทุกขทั้ง ปวงนี้ อันวา ราคะ โทสะ และโมหะ ก็จะมิไดครอบงําซึ่งจิตแหงพระโยคาพจรนั้น ขณะเมื่อระลึกซึ่งคุณนิพพานธรรมนั้น จิตแหงพระโยคาพจรก็จะถึงซึ่งอันซื่อตรง ขมลงซึ่ง นิวรณธรรมนั้น ๕ องค อุปจรฌานก็จะบังเกิดแตทวามิไดถึงซึ่งองคอัปปนาฌานเหตุแหงพระนิพพาน นั้น คัมภีรภาพจิตแหงพระโยคาพจรหยั่งลงในอันระลึกพระคุณนั้นมีประการตาง ๆ จึงมิไดถึงซึ่งองค อัปปนา แลฌานอันพระโยคาพจรจําเริญซึ่งอุปสมคุณแลไดนั้น ชื่อวาอุปสมานุสสติฌาน อันวาบุคคล อันเห็นภัยในวัฏฏสงสาร ชื่อวาภิกษุเมื่อหมั่นประกอบเนือง ๆ ซึ่งอุปสมานุสสตินี้ จะมีอันทรียแลจิตอัน ระงับถึงจะหลับแลตื่นก็เปนสุข และจะประกอบดวยหิริโอตตัปปะนํามาซึ่งความเลื่อมใสโดยรอบคอบ จิตนั้นจะหยั่งลงในพระนิพพานคุณ แลจะเปนที่สรรเสริญแลเคารพรักใครแหงเพื่อนพรหมจารี ถาแล มิไดตรัสรูซึ่งมรรคผลในชาตินี้ ก็จะมีสุคติเปนเบื้องหนา เหตุดังนั้นนักปราชญผูมีปญญาอยาได ประมาท หมั่นจําเริญซึ่งอุปสมานุสสติอันกอปรดวยคุณอานิสงสอันเปนมาดุจกลาวมานี้ วินิจฉัยในอุป สมานุสสติกรรมฐานยุติเเตเทานี้ จบอนุสสติ ๑

จักวินิจฉัยในพรหมวิหารสืบตอไป อนุสฺสติกฺมมฏานานนฺตรํ อุทิฏเสุ ปน เมตตฺตา กรุณามุทิตาอุเปกขาติ อิเม จตูสุ พฺรหฺม วิหาเรสุ เมตฺตํ ภาเวตกาเมน ฯลฯ ปจฺจกฺขิตพฺโพ แล พรหมวิหารที่สมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจา ตรัสสําแดงไวในลําดับแหงอนุสสตินั้นมี ๔ ประการ คือ เมตตาประการ ๑ กรุณาประการ ๑ มุทิตาประการ ๑ อุเบกขาประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน พระ โยคาพจรผูเปนอาทิกัมมิกกุลบุตรแรกจะเลาเรียน แลมีความปรารถนาจะจําเริญเมตตาพรหมวิหารนั้น ใหตัดเสียซึ่งปลิโพธ (ความกังวล) ทั้ง ๑๐ ประการ มีอาวาสปลิโพธ (ความกังวลดวยอาวาส) เปน อาทิใหขาดแลว พึงเขาไปสูสํานักอาจารยอันเปนกัลยาณมิตร เรียนเอาซึ่งพระกรรมฐานแลว เพลาเขา กระทําภัตตกิจสําเร็จแลว พึงนั่งในเสนาสนะอันสงัดใหสบายแลว พึงพิจารณาใหเห็นโทษ ในโทโส พิจารณาใหเห็นอานิสงสในขันติ อันโทโสนี้โยคาพจรพึงละเสียไดดวยพระเมตตาภาวนา แลขันตินั้น พระโยคาพจรจะพึงถึงดวยจิตแหงตนแตทวามิไดเห็นโทษในโทโสแลวก็มิ อาจจะละเสียซึ่งโทโสนั้นได มิไดเห็นอานิสงสในกิริยาอันอดกลั้นไดแลว ก็บอาจจะละไดซึ่งขันติ เหตุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 80 ดังนั้นพระโยคาพจรพึงพิจารณาใหเห็นโทษในโทโสโดยพระสูตรเปนตนวา ทุฏโ โข อาวุโส โท เสน อภิภูโต ฯลฯ ปาณํป หนตีติ ดูกรอาวุโสบุคคลอันโทโสประทุษรายมีสันดานอันโทโสครอบงํา นั้น ยอมฆาเสียซึ่งสัตวใหถึงแกมรณภาพสิ้นชีวิต ดวยอํานาจแหงโทโส โทโสนั้นยอมกระทําใหบุคคล ทั้งปวงเศราหมองเดือดรอนทนทุกขเวทนาในจตุราบาย พึงพิจารณาซึ่งโทษแหงโทโสดวยปาระการ ดังนี้แลว พึงพิจาณาใหเห็นอานิสงสแหงขันติตามพระพุทธฎีกาโปรดประทานไววา ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกขา นิพฺพานํ ฯลฯ ขนฺตฺยาภิยฺโยธ วิชฺชติ แปลวาขันติ อันวากิริยา อันอดใจนี้เปนตปะคุณอัน ประเสริฐ บังเกิดเปนเหตุที่จะเผาเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งปวงใหพินาศฉิบหาย สมเด็จพระพุทธเจา ทั้งหลายเห็นปานดังพระตถาคตนี้ยอมสรรเสริญขันติวา เปนทางพระนิพพานอันอุดมเที่ยงแท บุคคล ผูใดมีอธิวาสขันติเปนกําลัง บุคคลผูนั้นตถาคตเรียกวาเปนขีณาสวพราหมณอันประเสริฐ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาเห็นโทษแหงโทโสเห็นอานิสงสแหงขันติดังนี้ แลวก็พึง ประกอบจิตไวในขันติมีอานิสงสอันปรากฏแลวขมเสียซึ่งโทโสอันมีโทษอันตนเห็นแลว เมื่อแรกจะ ปรารภจําเริญซึ่งเมตตานั้น พึงใหรูจักบุคคล ๔ จําพวกจะทํารายซึ่งเมตตาภาวนานั้น คือบุคคลอันมิได เปนที่รักแหงตนจําพวก ๑ คือบุคคลอันมัธยัสถมิไดเปนที่รักที่ชังแหงตนจําพวก ๑ คือบุคคลอันเปน เวรจําพวก ๑ คือบุคคล ๔ จําพวกนี้พระโยคาพระโยจรอยาพึงจําเริญเมตตาไปถึงกอน เหตุไฉนจึงมิ ใหจําเริญเมตตาในบุคคล ๔ จําพวกนี้กอน อธิบายวา พระโยคาพจรจะตั้งซึ่งบุคคลอันมิไดเปนที่รักไว ในที่อันรักใครนั้นลําบากจิตยิ่งนัก อนึ่งจะเอาสหายที่รักนักไปตั้งไวในที่อันมิไดรักไดชังนั้นก็จะเปนอัน ลําบาก ถาทุกขรอนอันใดมาตรวาแตนอยแหงสหายนั้นบังเกิดแลว ตนนั้นก็ยอมถึงซึ่งอาการอันร่ําไร อาลัยถึง อนึ่งจะเอาบุคคลอันมัธยัสถมาตั้งไวที่อันเปนที่รักเลา ก็ลําบากที่จะกระทําได อนึ่งระลึกไป ถึงบุคคลอันเปนเวรแกตนนั้น ความเกิดก็จะบังเกิดเหตุมีสิ่งประทุษรายแกตนไวในกอนเมตตาที่พระ โยคาพจรจําเริญไปนั้นมิอาจจะตั้งได เหตุดังนั้น จึงหามมิใหจําเริญซึ่งเมตตาไปถึงบุคคล ๔ จําพวก นั้นกอน อนึ่งอยาจําเริญเมตตาไปเฉพาะมาตุคาม อยาจําเริญไปในคนตาย ถาพระโยคาพจรปรารภซึ่ง มาตาคามแลว แลจําเริญเมตตาไปโดยเฉพาะมาตุคามนั้น ฉันทราคะ ก็จะบังเกิดประดุจบุตรแหงมหา อํามาตยผูหนึ่ง มหาเถรผูเปนอาจารยบอกวาใหจําเริญเมตตาไปในบุคคลที่รัก แลบุตรอํามาตยนั้นมี ภรรยาเปนที่รัก ก็จะจําเริญซึ่งเมตตาไปเฉพาะตอภรรยาแหงตน เมื่อจําเริญไปดังนั้น จิตก็มืดคลุมไป ดวยราคะอันบังเกิดขึ้น แลบุตรอํามาตยนั้นจะไปหาภรรยาแหงตน บมิอาจซึ่งจะกําหนดปนะตูได ก็ กระทําภิตติยุทธ คือรบกับฝาสิ้นราตรียังรุงบมิอาจจําเริญซึ่งเมตตากรรมฐานได เหตุดังนั้นจึงหามมิใหจําเริญซึ่งเมตตาไปในมาตุคามโดยสวนอันเฉพาะแลบุคคลอันตาย นั้น ถาพระโยคาพจรแผเมตตาไปถึง เมตตาภาวนาแหงพระโยคาพจรนั้น ก็จะมิไดถึงอุปจารฌานแล อัปปนาฌานเหตุดังนั้น จึงหามมิใหจําเริญเมตตาไปในคนที่ตาย อาศัยเหตุฉะนี้พระโยคาพจรผูจําเริญ เมตตานั้นพึงตั้งเมตตาจิตลงในอาตมากอนวา อหํ สุขิโต โหมิ นิทุกฺโข โหมิ อเวโร โหมิ อพฺ ยาปชฺโฌ โหมิ อนีโฆ โหมิ สุขี อตฺตนํ ปริหรามิ แปลเนื้อความวา อหํ อันวาขา สุขิโต เปน สุข นิทุกฺโข หาทุกขมิได โหมิ จงมี ในบทคํารบ ๒ นั้นวา อหํ อันวาขา อเวโร หาเวรมิได อพฺ ยาปชฺโฌ หาพยาบาทมิได อนีโฆ หาทุกขบมิได จงรักษาบัดนี้ อตฺตานํ ซึ่งตน สุขี ใหเปนสุข ให พระโยคาจรจําเริญเมตตาในตนดังนี้จงเนือง ๆ กอน ซึ่งวาใหจําเริญเมตตาในตนเอง อหํ สุขิโต โห มิ เปนตนดังนี้ดวย สามารถจะใหกระซึ่งตนเปนพยาน จะใหเห็นอธิบายวา อาตมานี้มีความปรารถนา แตความเกลียดหนายทุกขฉันใด สัตวหมูอื่นก็ปรารถนาความสุขปฏิกูลเกลียดในความทุกข เหมือนกัน กับอาตมาดังนี้ เมื่อเห็นอธิบายดังนี้แลว จิตแหงพระโยคาพจรนั้น ก็ปรารถนาที่จะใหสัตวหมูอื่นมีความสุข ความเจิรญเหตุดังนั้นจึงใหพระโยคาพจรตั้งเมตตาในตนกอน เมื่อตั้งเมตตาในตนแลวลําดับนั้นบุคคล ผูใดที่เปนที่รักที่ชอบใจแหงตน แลเปนที่สรรเสริญคือเปนอาจารยแหงตนแลคนเสมอกับอาจารยดวย ศีลคุณเปนตนก็ดี แลอุปชฌายแหงตนแลมีคุณเสมอกับอุปชฌายดวยศีลคุณเปนตนก็ดี ก็ใหพระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 81 โยคาพจรจําเริญเมตตาไปในบุคคลผูนั้น ระลึกถึงคุณที่เคยใหปนซึ่งสิ่งของแหงตน แลเคยกลาววาจา เปนที่รักเปนอาทิแกตนในกาลมิฉะนั้นพึงระลึกถึงซึ่งคุณมีสภาวะเปนที่เคารพเปนที่สรรเสริญ มีศีลคุณ แลสุตคุณเปนตนแหงบุคคลผูนั้น เพื่อจะใหพระเมตตาเปนไปดวยงาย พึงจําเริญซึ่งเมตตาพรหมวิหาร ไปในบุคคลผูนั้นโดยนัยผูนั้นเปนตนวา เอส สปฺปุริโส สุขิโต โหตุ นิทุกฺโข แปลเปนเนื้อความ วา เอส สปฺปุริโส อันวาทานผูเปนสัตบุรุษนั้น สุขิโต เปนสุข นิทุกฺโข ปราศจากทุกข โหตุ จง มี เอาบทดังนี้เปนบริกรรมภาวนา แลวจําเริญไปจงเนือง ๆ เมื่อจําเริญเมตตาไปในอุปชฌายผูสั่งสอนดังนี้แลว ลําดับนั้น ใหจําเริญเมตตาไปในบุคคล อันตนจะพึงรัก มีมารดาบิดาเปนตน ลําดับนั้น จึงแผเมตตาไปในบุคคลอันตนมิไดรักมิไดชังเปนแต อยางกลาง ลําดับนั้น จึงแผเมตตาไปในบุคคลผูเปนเวร เมื่อแผเมตตาไปในบุคคลอันเปนเวรนั้นถึงน้ํา จิตนั้นตั้งเมตตาลงมิได อาศัยวาคิดแคนอยูดวยหนหลัง คิดขึ้นมาถึงความหลังแลว มีโทโสบังเกิด ขึ้นมาไมเมตตาลงได ก็พึงกลับระลึกถึงบุคคลอันเปนที่รัก มีครูอุปชฌายอาจารยเปนตนกอนแลว ภายหลังจึงแผเมตตาไปในบุคคลอันเปนเวรนั้น ถาจิตยังมีโทโสอยู ก็พึงใหโอกาสความสั่งสอนแตตน วา อเร กุชฺฌรปุริส ดูกรบุรุษมักโกรธทานไมไดฟงธรรมเทศนาบาง หรือประการใดจึงมาเปนเชนนี้ นี่แนทานเอย สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคทรงพระกรุณาโปรดไววามหาโจรอันรายกาจหยาบชา ตัด เสียอวัยวะใหญนอยของบุคคลผูใดดวยเลื่อยอันคมกลากระทําใหลําบากเวทนาแทบบรรดาตาย ถา บุคคลนั้นมีใจโกรธแกโจรทั้งหลายอันทําแลวแกตนแลว ผูนั้นจะไดชื่อวากระทําตามคําสั่งสอนแหง พระตถาคตหามิได ผูใดแลโกรธตอบแกบุคคลอันโกรธกอน ผูนั้นไดชื่อวาลามกกวาบุคคลอันโกรธ กอน บุคคลผูใดเห็นโกรธแลมิไดโกรธตอบ อดสูทนกลั้นสูบรรเทาเสียได ผูนั้นไดชื่อวาชนะสงคราม อันใหญหลวงยากที่ผูอื่นจะผจญได อันมิไดโกรธตอบนั้นไดชื่อวาประพฤติใหเปนประโยชนตน ประโยชนทาน ประโยชนตนนั้นอยางไร อธิบายวาคนที่ไมโกรธนั้น ยอมมีหทัยวัตถุอันมิไดเดือดรอนพลุง พลานระส่ําระสายความสบายนั้นมีมาก เพราะมีสันดานอันเย็นแลว เปนที่สรรเสริญแหงบัณฑิตชาติผูมี ปญญาจะเปนที่รักใครแหงสรรพเทวดามนุษยถวนหนา โรคาไขเจ็บนั้นมีโดยนอย คนที่ผูกอาฆาต พยาบาทจองเวรแกตนนั้นก็มีโดยนอย สีสันพรรณก็จะเปนน้ําเปนนวล ควรจะเปนที่ทัศนากรแกตาโลก จะมิสูแกเร็ว เมื่อดับจิตนั้นก็จะไดสติ ตนแลวก็จะไดไปบังเกิดในสวรรค บุคคลผูมิไดโกรธตอบแกคนที่ โกรธกอนนั้นจะเปนประโยชนแกตนดังนี้ ที่วาจะเปนประโยชนแกผูอื่นนั้น คือเขาโกรธตน ๆ ไมโกรธ แลวเขาจะโกรธไปไดเปนกระไร หนอยหนึ่งโทโสแหงเขาก็จะรํางับไป เมื่อโทโสอันไหมอยูในสันดาน แหงเขารํางับไปแลวเขาก็จะไดความสบาย อยางนี้แลไดชื่อวากระทําใหประโยชนแกผูอื่นใหพระ โยคาพจรสั่งสอนอาตมาดังพรรณามานี้ ถาโทโสยังไมรํางับลงก็พึงสอนตนดวยนัยอื่นวา อมฺโภ ดุกรทาน สมเด็จพระศาสดา จารยตรัสพระธรรมเทศนาไววา ฉวาลาตํ อุภโต ปทิตฺตํ ดุนฟนอันบุคคลเผาผีมีไฟติดทั้งขางโนน ขางนี้มีกลางดุนเปลื้อนไปดวยคูถนั้นไมมีใครหยิบใครตอง บมิไดสําเร็จกิจเปนฟนในบานในปา สําหรับ แตจะทิ้งอยูเปลาหาประโยชนมิไดฉันใดก็ดีผูใดเห็นเขาโกรธแลโกรธตอบ ผูนั้นก็จะไดชื่อวากระทําตน ใหหาคุณมิได มีอุปไมยดังนั้น เมื่อสั่งสอนตนดวยประการดังนี้ถาแลโทโส ยังมิไดรํางับก็พึงพิจารณา เอาเยี่ยงอยางสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจา เมื่อพระองคยังเปนพระบรมโพธิสัตว แลกอปรดวยขันติ นั้น ใหระลึกวาครั้งหนึ่ง เมื่อสมเด็จพระบรมโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนพระยาสีลวราชรักษาศีลบริสุทธิ์ อํามาตยผูหนึ่งใจบาปหยาบชาประทุษรายในพระราชเทวี จึงไปหาพระยาปจจามิตรมาจับพระองคกับ อํามาตยพันหนึ่งไปฝงเสียในปาชาผีดิบ ประมาณเพียงพระศอ ประสงคจะปลงพระชมมใหสิ้นสูญ พระองคก็มิไดมีพระทัยประทุษรายตั้งขันติเปนเบื้องหนา ครั้นเพลากลางคืนสุนัขจิ้งจอกมาสูปาชาจะกินซากอสุภเขาไปใกลพระบรมโพธิสัตวจะกิน พระองค ๆ เองคางทับไว สุนัขจิ้งจอกคุยดินลงไปจนพระองคขึ้นได ขุดอํามาตยขึ้นสิ้นทั้งพันเทพยดา ก็พาพระองคมาสงถึงปราสาท พระองคก็มิไดประทุษรายตั้งพระยาปจจามิตรในที่เปนมิตร อนึ่ง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 82 พระองคเสวยพระชาติเปนขันติวาทีดาบท พระยากลาพุราชใหเฆี่ยนขับโบยตีทั้ง ๓ จําระ ๆ ละพัน ๆ แลวมิหนําซ้ําใหตัดมือตัดเทา โดดลงมาถีบทามกลางอุระถึงเพียงนี้แลว พระองคจะไดโกรธมาตรวา หนอยหนึ่งหามิไดกลับอวยชัยใหพรเสียอีก ใชแตเทานั้น ควรจะอัศจรรยครั้งเมื่อเสวยพระชาติเปนจุล ธรรมบาลราชกุมาร เปนราชโอรสพระเจามหาปตาปราช ๆ นั้นคือพระเทวทัตต อาศัยเวรานุเวรใหขัด ใหเคืองพระทัย ใหลงราชอาญาเฆี่ยนขันติโดยตัดมือเทาบังคับใหตัดพระเศียรเกลา ขณะเมื่อนาย เพชฌฆาตเขาจะตัดพระเศียรนั้นพระองคตั้งอธิวาสนขันติมิไดโกรธแกพระบิดาแลนายเพชฌฆาตผูจะ ฆา ใชแตเทานั้น ครั้นเมื่อเสวยพระชาติเปนพระยาชางฉัททันต นายพรานชื่อวาโสอุดรยิงถูก พระนาภีดวยลูกศรอันกําซาบไปดวยยาพิษ ถึงเพียงนี้ พระองคก็มิไดขัดมิไดเคืองแกโสอุดรพรานปา กลับยอมใหโสอุดรเลื่อยงางามดวยรัศมีทั้ง ๖ ประการเสียอีก ใชแตเทานั้น ครั้งหนึ่งเสวยพระชาติเปน พญาพานรบุรุษผูหนึ่งตกลงไปในขางเขาขาดขึ้นมิได พระองคแบกมาสง บุรุษนั้นปรารถนาจะเอา มังสะพระองคไปเปนเสบียง เอาศิลาตอพระเศียรถึงเพียงนี้พระองคก็ไมขึงไมโกรธ ใชแตเทานั้น ครั้ง เมื่อเสวยพระชาติเปนพระยาภูริทัตนาคราช หมออาลัมภายกระทําใหลําบากเวทนาพาไปเลนในบาน นอยบานใหญ พระองคจะไดขึงโกรธมาตรวาหนอยหนึ่งหามิได ใชแตเทานั้น ครั้งหนึ่งเสวยพระชาติ เปนพญาสังขบาลนาคราช ไปรักษาศีลอยูบนจอมปลวกแทบฝงแมน้ํา วันหนึ่งบุตรนายพราน ๑๖ คน จับเอาพระองคไปแทงถึง ๘ แหงแลวเอาไวสอดเขาคานหาม ๆ ไปเอาเชือกรอยจมูกผูกไว เขาทําถึง เพียงนี้แลวพระองคก็ไมขึ้งไมโกรธไมทํารายแกเขา พระโยคาพจรพิจารณาถึงเยี่ยงอยางประเพณีมหาสัพพัญูโพธิสัตวดังนี้แลว จิตที่ขัดของ เคียดเเคนในคนผูเปนเวรจะคอยเบาบางบรรเทาลง เมื่อโทโสเสื่อมหายจากสันดานแลว เมตตาจิต ของพระโยคาพจรก็จะเสมอในคน ๔ จําพวก สีมสมฺเภโท กาตพฺโพ อันดับนั้นพระโยคาพจรพึง จําเริญสีมสัมมสัมเภทเมตตา ๆ นั้น วาเมตตาเจือไปในแดนทั้ง ๔ นั้น คือตนของบุคคลผูจําเริญเมตตา นั้นจัดเปนอัน ๑ บุคคลอันที่รักจัดเปนแดนอีก ๑ บุคคลอันเปนมัธยมอยางกลางจัดเปนแดนอัน ๑ บุคคลที่เปนแดนอัน ๑ แดนทั้ง ๔ นี้พึงใหระคนกันเปนอันหนึ่งอันเดียว คือรักตนอยางไรก็ใหรักผูอื่น อยางนั้น รักผูอื่นอยางไรก็ใหรักตนอยางนั้น ประพฤติอยางนี้จึงเปนสัมมสัมเภทอธิบายวาคนทั้ง ๔ คือ ตนของบุคคลผูจําเริญเมตตา ๑ คนที่รัก ๑ คนไมขัง ๑ คนเปนเวร ๑ ทั้ง ๔ นี้นั่งอยูในที่อันเดียวกันยัง มีมหาโจรมากลาววา เอกํ อมฺหากํ เทถ ทานจงใหแกคนแกเราสักคน ๑ เราจะฆาเสียเอาเลือดคอ ไปกระทําพลีกรรมแกเทวดา ผิวาบุคคลนั้น รักผูอื่นผูจําเริญเมตตานั้น พึงคิดวา อสุกํ วา คณฺหนฺตุ มหาโจรจงจับเอา คนนั้นเถิด ถาคิดดังนั้นก็ไดชื่อวาไมกระทําสีมสัมเภท คือเจือกันแหงแดนเหตุวารักตนหารักคนทั้ง ๓ ไม ผิวาผูจําเริญเมตตานั้นรําพึงคิดวา มํ คณฺหนฺตุ มหาโจรจงจับเอาอาตมาอยาไดจับเอาคนทั้ง ๓ นี้ แมถึงจะคิดอยางนี้ก็ดี ก็มิไดชื่อวากระทําสีมสัมเภท เหตุรักแตคนทั้ง ๓ หารักตนเองไม กาลใดแล บุคคลผูจําเริญเมตตานั้น มิไดเห็นซึ่งบุคคลที่ตนจะพึงใหแกมหาโจรแตสักคนหนึ่งในระหวางคนทั้ง ๔ นั้นจิตประพฤติเปนอันเสมออยูในคนทั้ง ๔ นั้น คือตน แลคนทั้ง ๓ ดังนี้แลไดชื่อวาพระโยคาพจร กระทําสีมสัมเภท เมื่อจําเริญพระเมตตาเปนสีมสัมเภทดังนี้แลว พึงแผเมตตาเปน ๓ สถานดวยสามารถ อโน ทิศ โอทิศ ทิสาผรณะ คือแผเมตตามิไดเฉพาะก็ดี เฉพาะก็ดี แผทั่วทิศทั้ง ๑๐ ก็ดี มีเมตตาจิตใหเปน ประโยชนแกสรรพสัตวทั้งปวงเบื้องบนถึงภวัคคพรหมเปนที่สุด เบื้องต่ําตลอดอเวจีนรก โดย ปริมณฑลทั่วอนันตสัตวอันอยูในอนันตจักรวาล พระโยคาพจรแผเมตตาเปนอโนทิศนั้นดวยอาการทั้ง ๕ วา สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺตุ อพฺยาปชฺญา โหนฺตุ อนีฆา โหนฺตุ สุขี อัตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺ เพ ปาณา สพฺเพ ภูตา สพฺเพ ปุคฺคลา สพฺเพ อตฺตภาวปริจาปนฺนา อเวรา โหนตุ ฯลฯ ปริหรนฺตุ แปลเนื้อความวา สพฺเพ สตฺตาอันวาสัตวทั้งหลายอันยังของอยูในรูปปาทิขันธดวยฉันทราคะ อเว รา โหนฺตุจงอยามีเวรแกกัน อพฺยาปชฺฌา โหนฺตุจงอยามีพยาบาทแกกัน อนีฆา โหนตุ จงอยามี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 83 อุปทวทุกขในกาย สุขี อตตานํ ปริหรนฺตุ จงนําใหพนจากทุกขรักษาตนใหเปนสุขทุกอิริยาบถเถิด อยางนี้เปนอาการอัน ๑ สพฺเพ ปาณา อันวาสัตวอันมีชีวิตอยูดวยอัสสาสะ ปสสาสะมีปญจขันธบริบูรณทั้งปวงบท ประกอบเหมือนกันเปนอาการอัน ๑ สพฺเพ ภูตาอันวาสัตวทั้งหลายอันเกิดในจตุโวการภพมีขันธ ๕ ประการ คือรูปพรหม แลสัตวอันเกิดในเอกโวการภพมีขันธ ๑ คือสัญญีสัตวเปนอาการอัน ๑ สพฺเพ ปุคฺคลาอันวาสัตวอันจะไปสูนรกทั้งปวงเปนอาการ ๑ สพฺเพ อตฺตภาวปริยาปนฺนา อันวาสัตวอันนับ เขาในอาตมาภาพ เหตุอาศัยขันธทั้ง ๕ แลบัญญัติวาอาตมาภาพนั้น จึงเอาบทอเวราเปนตนนั้น ประกอบดวยเปนอาการอันเปน ๑ เปน ๕ ดวยกัน ในอโนทิศนั้นแลแผเมตตาไปในอโนทิศนั้นคือเฉพาะเปนสวนวาหญิงชายมีอาการ ๗ วา สพฺเพ อิตฺถิโย อเวรา โหนฺตุ ฯลฯ สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุริสา สพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพ เทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา โหนฺตุ ฯลฯ ปริหรนฺตํ สพฺเพ อิตฺถิ โย นั้น แปลวาบุรุษทั้งหลายทั้งปวง สพฺเพ ปุริสานั้น แปลวาบุรุษทั้งหลายทั้งปวง สพฺเพ อริยา แปลวาพระอริยเจาทั้งหลายทั้งปวง สพฺเพ อนริยาแปลวาไมใชพระอริยเจา คือปุถุชนทั้งหลายทั้ง ปวง สพฺเพ เทวา แปลวาเทวดาทั้งหลายทั้งปวง สพฺเพ มนุสฺสา แปลวามนุษยทั้งหลายทั้ง ปวง สพฺเพ วินิปาติกาแปลวาอสุรกายทั้งหลายทั้งปวงจึงใสอเวราเปนตนเขาทุกบท ๆ เปนอาการ ๗ ดวยกัน แลทิสาผรณะนั้นมีอาการ ๑๐ คือ สพฺเพ ปุรตุถิมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา ฯลฯ ปริหรนฺ ตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย สพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย สพฺเพ ปุรตฺถิ มาย อนุทิสาย สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิ สาย สพฺเพ เหฏิมาย ทิสาย สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา โหนฺตุ ฯลฯ ปริหรนฺตุ อธิบาย เนื้อความวา แผเมตตาไปแกสัตวอันอยูในทิศทั้ง ๑๐ เปนอาการ ๑๐ ประการดวยกัน อาการ ๕ อาการ ๗ อาการ ๑๐ ดังกลาวมานี้ สมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจาตรัสเทศนาไว สําหรับพระโยคาพจรอันไดฌานแลวแผเมตตาเปน เจโตวิมุตติ พรหมวิหารอัปปนา ฌานในกรุณาพรหมวิหารนั้น คือโยคาพจรไดเห็นแลว ซึ่งบุรุษอันเปนกําพรามีรูปวิกลพึงเกลียดเปน คนเข็ญใจไดซึ่งความยากยิ่งนัก มีมือแลเทาอันทานตัดเสียมีแตกระเบื้องขอทานวางไวเฉพาะหนา นอนอนาถอยูในศาลาแหงคนยาก แลมีหมูหนอนอันคลานคล่ําออกจากมือจากเทา แลรองไหรอง คราง เมื่อเห็นแลวจงถือเอาซึ่งสัตวนั้นเปนนิมิต พึงแผซึ่งกรุณาไปวา กิจฺฉาวตายํ สตฺโต อาปนฺโน อปฺเปวนาม อิมมฺหา ทุกฺขา มุฺเจยฺย เอาบทดังนี้เปนบริกรรมภาวนาจําเริญไปลงเนือง ๆ แปลเปน เนื้อความวาดังเราสังเวช สัตวผูนี้ถึงซึ่งความลําบากยิ่งนักแมไฉนพึงพนจากความทุกขบัดนี้เถิด ถาจะแผซึ่งกรุณาไปในสัตวเปนอันมาก ใหเอาบทดังบริกรรมภาวนาวา ทุกฺขา ปมุฺ จนฺตุ ปาณิโน ดังนี้จงเนือง ๆ ถามิไดซึ่งคนอนาถาเห็นปานดังนั้น แมบุคคลอันกอปรดวยความสุข แตทวาเปนคนกระทําบาปหยาบชา มีกายแลวาจาจิตทั้ง ๓ สถานนั้น นิราศจากกุศลธรรมสิ้น ให โยคาพจรนอมซึ่งคนดังนั้นมาเคียงขาง ดวยโทษในอนาคตแลวพึงจําเริญซึ่งกรุณาไปวา บุคคลผูเปน กําพรา แตในมนุษยโลกนี้กอปรดวยความสุขเสวยซึ่งโภคสมบัติลวนแลวดวยความสุข แตทวา กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร แหงผูนี้จะมีเปนกุศลแตอันเดียวก็หามิได แมดับชีวิตแลวที่ไหนจะแคลว อบายทั้ง ๔ ก็จะเสวยแตทุกขโทมนัสจะนับมิได ในอบายภูมิเที่ยงแทเบื้องหนาแตนั้นโยคาพจรพึง จําเริญซึ่งกรุณานั้นไปแกบุคคลอันเปนที่รักแลวใหจําเริญไปแกคนอันมัธยัสถไมรักไมชัง ลําดับนับพึง จําเริญไปแกบุคคลอันเปนเวรแกตน แลวิธีอันจะระงับซึ่งเวรแลกระทําซึ่งสีมสัมเภทนั้น ก็เหมือนดังวิธี อันกลาวแลวในเมตตาพรหมวิหาร เมื่อโยคาพจรเสพซึ่งสมถนิมิตอันเปนไปดวยสามารถสีมสัมเภทนั้น แลว จะจําเริญซึ่งกรุณาไปก็จะถึงซึ่งอัปปนาฌาน โดยนัยดังกลาวในเมตตาพรหมวิหาร ฯ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 84 จบเมตตากรุณาพรหมวิหารแตเพียงเทานี้

ในวิมุทิตาพรหมวิหารนั้น ใหพระโยคาพจรแผซึ่งมุทิตาจิตอันชื่นชมไปในสหายนักเลงนั้น กอน แลสหายเห็นปานนั้นเคยชื่นชมดวยกัน เมื่อจะกลาวซึ่งวาจานั้น สํารวจกอนแลวจึงเจรจากันตอ ภายหลัง ถามิดังนั้นพระโยคาพจรไดเห็น มิฉะนั้นไดฟงขาวแหงบุคคลอันเปนที่รักแหงตนอันกอปร ดวยความสุขเสวยซึ่งอารมณอันเปนสุขนั้น ใหทําจิตใหชื่นชมยินดีดวยความสุขความสบายแหงสหาย นั้นแลว พึงแผมุทิตาไปวา อโห วตายํ สตฺโต สาธุ อโห สฏุ ดังนี้จงเนือง ๆ แปลวา อโห วตดังเรา ชื่นชม อยํ สตฺโต อันวาสัตวผูนี้ดียิ่งนัก ถาจะแผไปซึ่งมุทิตาในสัตวเปนอันมาก ใหเอาบทดังนี้ บริกรรมภาวนาวา สสมฺปตฺติโต มา วิคจฺฉนฺตุ จงเนือง ๆ ในลําดับนั้นจึงจําเริญมุทิตาไปในบุคคลอัน มัธยัสถ แลบุคคลอันเปนเวร แลวิธีอันจะบรรเทาซึ่งเวรแลกระทําซึ่งสีมสัมเภทนั้น มีนัยอันกลาวแลวใน เมตตาพรหมวิหารนั้น ฯ จบมุทิตาพรหมวิหารแตเพียงเทานี้

โยคาพจรปรารถนาจะจําเริญอุเบกขาพรหมวิหารร ใหออกจากตติยฌานอันตนไดในเมตตา พรหมวิหาร แลกรุณาพรหมวิหาร แลมุทิตาพรหมวิหารนั้นแลว จึงบําเพ็ญซึ่งจิตไปใหเฉพาะตอบุคคล อันมัธยัสถไมรักไมชัง พึงยังอุเบกขาจิตใหบังเกิดดวยกรรมวา สตฺตา สตฺตา คตา วา กมฺมสฺสกา โหนตฺ ดังนี้จงเนือง ๆ เมื่อุเบกขาจิตบังเกิดเปนอันดี ในบุคคลอันมัธยัสถแลว ใหโยคาพจรแผซึ่ง อุเบกขาไปในบุคคลอันเปนที่รักแลว จําเริญไปในสหายอันเปนนักเลงแลว จําเริญไปในบุคคลอันเปน เวรแลวจึงกระทําสีมสัมเภทในบุคคลทั้ง ๔ จําพวก ดวยสามารถตั้งจิตใหเสมอกันในบุคคลทั้ง ๔ จําพวกแลว พึงสองเสพกระทําเนิง ๆ ซึ่งสีมสัมเภทนั้นเปนนิมิต เมื่อจําเริญไปดังนี้เนือง ๆ อันวาจตุตถ ฌานก็จะบังเกิดแกโยคาพจรเจานั้นโดยนัยอธิบายอันกลาวแลวในปวีกสิณนั้น ฯ จบอุเบกขาพรหมวิหารแตเทานี้

แลโยคาพจรอันจําเริญซึ่งเมตตาพรหมวิหารนั้น จะไดซึ่งอานิสงส ๑๑ ประการ สุขํ สุปติ คือจะหลับก็เปนสุขดุจเขาซึ่งสมาบัติ ๑ คือตื่นขึ้นก็เปนสุข ๑ มีหนาอันปราศจากวิการดุจดังวาดอกบัว อันบาน ๑ จะนิมิตฝนก็มิไดเห็นซึ่งสุบินอันลามก ๑ จะเปนที่รักแกมนุษย จะเปนที่รักแหงเทวดาและ ฝูงผี ๑ ฝูงเทพยดาจะอภิบาลรักษา ๑ และผูจําเริญเมตตานั้น เพลิงก็มิไดสังหาร จะมิไดเปนอันตราย เพราะยาพิษ ศัสตราวุธอันบุคคลประหารก็มิไดเขาไปในกาย ๑ คือจิตแหงบุคคลผูนั้นจะตั้งมั่นลงเปน องคสมาธิ ๑ คือมีพักตรจะผองดังผลตาลอันหลนจากขั้ว ๑ เมื่อกระทํากาลกิริยามิไดฟนเฟอนสติ ๑ แมจะมิไดตรัสรูมรรคผลในชาตินี้ ก็จะไปบังเกิดในพรหมโลก ๑ เปน ๑๑ ประการดวยกัน เหตุดังนั้น นักปราชญผูมีปญญาพึงหมั่นจําเริญซึ่งเมตตาพรหมวิหาร อันมีอานุภาพเปนอันมากดังกลาวมานี้ ฯ วินิจฉัยในจตุพรหมวิหารยุติเทานี้

พฺรหฺมวิหารนนฺตรํ อุทิฏเสุ ปน อรูเปสุ อากาสานฺจายตนํ ภาเวตุกาโม ฯลฯ จตุตฺถฌานํอุปฺปาเทติ เบื้องหนาแตนี้จะวิสัชนาในอรูปกัมมัฏฐาน ๔ ประการ อันพระพุทธโฆษา จารยเจาผูตกแตงคัมภีรพระวิสุทธิมรรคสําแดงไว ในลําดับแหงพระจตุพรหมวิหาร ๔ ประการ แลอรูป กัมมัฏฐาน ๔ นั้น คืออากาสานัญจายนตนะ ๑ วิญญานัญจายตนะ ๑ อากิญจัญญายตนะ ๑ เนวสัญญา นาสัญญายตนะ ๑ เปน ๔ ดวยกัน อากาสานฺจายตนํ ภาเวตุกาโม พระโยคาพจรกุลบุตร ผูมี ศรัทธาปรารถนาจะจําเริญอรูปกัมมัฏฐานนั้น ยอมจําเริญอากาสานัญจายตนญาณนั้นกอน เหตุวาอรูป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 85 ฌานนี้เปนอารัมมณสมติกกมฌาน ไดสําเร็จลวงอารมณตอ ๆ นั้น จะไดสําเริญรูปฌานเปนปฐมนั้น เพราะเหตุวาลวงเสียซึ่งปฏิภาคนิมิต อันเปนอารมณแหงรูปาพจรจตุตถฌาน จะไดสําเร็จอรูปฌานคํา รบ ๒ นั้น เพราะเหตุลวงเสียซึ่งอากาศอันเปนอรูปฌานเปนปฐม จะไดสําเร็จอรูปฌานเปนคํารบ ๓ นั้น เพราะเหตุที่ลวงเสียซึ่งวิญญาณอันเปนอารมณแหงอรูปฌานเปนคํารบ ๒ จะไดสําเร็จอรูปฌานเปนคํา รบ ๔ นั้น เพราะเหตุที่ลวงเสียซึ่งนัตถิภาวะ (ความลับเปนของไมมี ) อันเปนอารมณแหงอรูปฌานเปน คํารบ ๓ ตกวาตองจําเริญใหเปนลําดับ ๆ ขึ้นไปดังนี้ ที่จะลวงเบื้องตนเสียจะโดดขึ้นไปจําเริญเบื้องปลายนั้นจําเริญบมิได เหตุฉะนี้ พระ โยคาพจรกุลบุตรผูปรารถนาจะจําเริญอรูปกัมมัฏฐานนั้น จึงจําเริญอรูปฌานเปนปฐม อันชื่อวาอา กาสานัญจายตนฌานนั้นกอนเหตุไฉนพระโยคาพจรจึงรักใครอรูปกัมมัฏฐาน พอใจจําเริญอรูป กัมมัฏฐาน รูเป อาทีนวํ ทิสฺวา อธิบายวาพระโยคาพจรพิจารณาเห็นโทษในรูปเหตุนั้น แมวาสัตวทั้ง ปวงจะทะเลาะทุมเถียงกัน ชกตอยตีโบยกันดัวยไมนอยและไมใหญ ไมยาวและไมสั้นก็ดี จะทิ้มแทง กันดวยศัตราวุธตาง ๆ นั้นก็ดี จะเบียดเบียนกันไดดังนี้ที่อาศัยแกกรัชกาย ถาหากรัชกายบมิไดมีจิต เจตสิกไมมีรูปแลว สภาวะชกตอยตีรันทิ่มแทงฟาดฟนเบียดเบียนกันตาง ๆ นั้นหามิได อาพาธสหสฺสานํ ถึงโรคาพยาธิปวยไขมีประการตาง ๆ มากกวามาก มีโรคในตาในหูเปน อาทินั้นก็ยอมบังเกิดในกรัชกาย มีกรัชกายแลวสรรพโรคตาง ๆ ก็บังเกิดขึ้นเบียดเบียนใหปวยใหเจ็บ ใหลําบากเวทนาสาหัสสากรรจ สุดที่จะพรรณนา ถาหารูปบมิไดแลวโรคาพยาธิจะบังเกิดไดที่ไหนเลา ก็หาบมิไดดวยกัน พระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาเห็นโทษดวยประการฉะนี้ ปรารถนาที่จะใหพนรูป เหนื่อยหนายเกลียดกลัวแตรูปนั้นมีกําลัง ประสงคจะใหรูปนั้นดับสูญ จึงอุตสาหะพากเพียรพยายาม จําเริญซึ่งอรูปกัมมัฏฐานทั้ง ๔ ประการ มีอากสานัญจายตนเปนอาทิ มีเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เปนปริโยสานแรกเริ่มเดิมทีเมื่อจะจําเริญอากาสานัญจายตนฌานนั้น พระโยคาพจรเจาเขาสูรูปาพจรจ ตุตถฌานนั้นกอน เมื่อเขาสูจตุตถฌานนั้นถือเอากสิณนิมิตเปนอารมณ กสิณ ๙ ประการ คือ ปวี กสิณ อาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณ นีลกกสิณ ปตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณ อาโลกกสิณ ทั้ง ๙ ประการนี้ ตามแตจะเลือกเอาสิ่งหนึ่งเถิด จะหามหามิไดหามมิใหพิจารณาเอาอารมณแตปริจฉินนากาสกสิณสิ่งเดียวอากาสกสิณที่ ตนกําหนดนั้นพระโยคาพจรพึงละเวนเสีย เมื่อเขาสูรูปาพจรจตุตถฌานมีกสิณอันใดอันหนึ่งนับเขาใน กสิณ ๙ ประการนั้นเปนอารมณแลว พระโยคาพจรพึงเพิกกสิณนั้นเสีย จะไดกําหนดกฏหมายในกสิณ เอาใจใสในกสิณนั้นหามิไดเพิกเฉยบมิไดพิจารณาซึ่งกสิณนิมิต ตั้งจิตพิจารณาเอาอากาศเปนอารมณ เพื่อพิจารณาเอาอากาศเปนอารมณนั้นพิจารณาไป ๆ กสิณนิมิตในเดิมนั้นอันตรธานหาย อากาศเปลา เทาที่วงกสิณนั้นปรากฏในมโนทวารกาลใด พระโยคาพจรกุลบุตรก็พิจารณาเอาอากาศเปนอารมณ กระทําบริกรรมภาวนา อนนฺโต อากาโส อนนฺโต อากาโส (อากาศไมมีที่สุด ๆ) บริกรรมภาวนาไป รอยคาบพันคาบหมื่นคาบแสนคาบ ตราบเทาปฐมอรูปจิตจะบังเกิดในสันดาน ถาจะวาที่แทแตอํานาจรู ปาพจรจตุตถฌานนั้นก็อาจจะลวงรูปเสียได ทานผูใดสําเร็จรูปาจตุตถฌานนั้น ถาปรารถนาจะหนีให พนรูป จะลวงใหพนรูปก็อาจจะไดสําเร็จ แตทวาทานพิจารณาเห็นกสิณนิมิตที่เปนอารมณแหงรู ปาพจรจตุตถฌานนั้น มีสัณฐานเหมือนดวยรูป มีสีสันพรรณนั้น คลายกันกับรูป ก็มีความตระหนกตกใจ กลัวแกรูปนั้นเปนกําลังปรารถนา จะลวงเสียซึ่งนิมิตบมิขอเห็นซึ่งกสิณนิมิตที่เปนอารมณแหงรูป แหงรู ปาพจรจตุถฌาน ยถา หิ ภิรุโก ปุริโส เปรียบปานดุจบุรุษอันขลาดแตอสรพิษนั้น ไปปะอสรพิษไล ในกลางหนทางแลนหนีอสรพิษไปดวยกําลังอันเร็วเหลือบเห็นรอยขีดรอยเขียนเปนรูปงู เห็นใบตาล อันบุคคลถักและพันเปนรูปงู เห็นเสนเชือกและเครือวัลย เห็นแผนดินแตกระแหง ก็มีความสะดุงตก ประหมาสําคัญวางูบมิปรารถนาจะเล็งแลดูซึ่งรอยขีดเปนตนนั้น ฉันใดก็ดี พระโยคาพจรผูพิจารณาเห็นกสิณนิมิตอันมีพรรณสัณฐานเหมือนดวยรูปคลาย ๆ กันกับรูปก็มีความตกประหมาบมิปราถนาจะขอเห็นซึ่งกสิณนิมิตมีอุปไมย ดังนั้นถามิดังนั้น เปรียบตอ บุรุษอันเปนเวร ๆ นั้นตั้งใจคอยเบียดเบียนอยู ไดไปอยูบานอื่น ไปเห็นมนุษยที่เหมือนดวยบุรุษอันเปน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 86 เวรก็สะดุงตกใจ ไมปรารถนาที่จะขอเห็นถามิดังนั้นเปรียบเหมือนบุรุษสุกรแถก เหลือบเห็นหมอขาว และตกใจวิ่งหนีหมอขาว ดวยสําคัญวาสุกร ถามิดังนั้นเปรียบดังบุคคลผูขลาดผี แลเห็นใบตาลในที่มืด และแลนหนีใบตาล ดวยสําคัญวาปศาจฉันใดก็ดี พระโยคาพจรเห็นแตปฏิภาคนิมิตแหงกสิณ อันมีพระ สัณฐานเหมือนดวยรูปปรากฏในมโนทวารก็มีความตกใจ มีอุปไมยดังนั้น พระโยคาพจรอันหนายรูปปรารถนาจะไปใหพนรูปนั้น เมื่อจําเริญรูปาพจรจตุตถฌานที่ตน ไดชํานาญเปนอันดี พิจารณาเห็นโทษแหงจตุตถฌานวา รูปาพจรจตุตถฌานนี้กระทําที่เราเหนื่อย หนายเปนอารมณ มีขาศึกคือโสมนัสอันอยูใกลหยาบวาอรูปสมาบัติจะไดละเอียดเหมือนอรูปสมาบัติ หาบมิได เมื่อพิจารณาเห็นโทษแหงรูปวพจรจตุตถฌานดวยประการดังนี้ ก็สิ้นความรักใครในรูปพจรจ ตุตถฌาน กําหนดเองแตอากาศที่กสิณนิมิตถูกตองเปนอารมณ และอาการที่เพิกกสิณออกนั้นจะได เหมือนอาการอันเพิงขึ้นซึ่งเสื่อลําเเพน และอาการอันแซะขนมปงนั้นหาบมิได อาการที่พระโยคาพจร เพิกเฉย บมิไดกําหนดเอากสิณรูปเปนอารมณ ตั้งจิตเปนกําหนดเอาแตอากาศเปนอารมณ กาลเมื่อ กสิณรูปอันตรธานหาย อากาศมีประมาณเทาวงกสิณที่ปรากฏแจงในมโนทวารนั้น ไดชื่อวากสิณฆาต มากาศ บางคาบอาจารยเรียกวากสิณผุฏฐากาศ บางคาบอาจารยเรียกวากสิณวิวิตตากาศ และอากาศ ที่พระโยคาพจรเพิกกสิณเสียแลวนั้น ยตฺตกํ อิจฺฉติ ถาพระโยคาพจรปรารถนาจงแผออกใหญ เทาใด ก็ใหญออกเทานั้นสําเร็จโดยความปรารถนา ถึงจะแผใหญออกไปใหตลอดออกไปถึงขอบ จักรวาลเปนกําหนดก็อาจแผไดสําเร็จความปรารถนา และอากาศที่พระโยคาพจรเพิกเสียแลวใหพระ โยคาพจรพิจารณาเอาเปนอารมณ กระทําบริกรรมภาวนาวาอากาโส อากาโส จงเนือง ๆ ยกวิตกขึ้นใน อากาศ ตั้งวิตกไวในอากาศ เมื่อวิตกอยูในอากาศนิมิต พิจารณาอากาศชนิดนั้นเนือง ๆ นิวรณธรรมก็ จะสงบจากสันดาน เมื่อนิวรณธรรมสงบแลวจิตจะตั้งไดเปนอุปจารสมาธิแลว ใหพระโยคาพจรสอง เสพอากาศนิมิตนั้นจงเนือง ๆ อยาไดเพิกไดเฉย พึงกระทําบริกรรมภาวนาวาอากาโส จําเริญอากาศ นิมิตนั้นไวใหมั่นในสันดาน ปฐมรูปาฌานอันชื่อวาอากาสานัญจายตนะ จึงบังเกิดยึดหนวงเอาอากาศนิมิตนั้นเปน อารมณ นักปราชญพึงสันนิษฐานวาปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อันเปนรูปปาพจรนั้น บังเกิดขึ้น ถือเอากสิณนิมิตมีปฐวีกสิณเปนตนเปนอารมณและมีฉันใด อากาสานัญจายตนฌานนี้ก็ บังเกิดยึดหนวงเอาอากาศนิมิตเปนอารมณ มีอุปไมยดังนั้น ในปฐมวิถีแรกเริ่มเดิมที เมื่อจะไดสําเร็จอา กาสานัญจายตนะนั้น อัปปนาจิตบังเกิด ขณะเดียวก็ตกภวังค อุเบกขาฌานสัมปยุตตกามาพจรชวนะที่ รอง อัปปนานั้นบังเกิด ๓ ขณะบาง ๔ ขณะบาง โดยสมควรแกวาสนาแหงบุคคลอันเปนทันธาภิญญา และขิปปาภิญญา ถาวาสนาบุคคลนั้นเปนทันธาภิญญา อุเปกขาญาณสัมปยุตตกามาพจรชวนะก็ บังเกิด ๔ ขณะ ขณะเปนปฐมชื่อวาบริกรรม ขณะเปนคํารบ ๒ นั้นชื่อวาอุปจาร ขณะเปนคํารบ ๓ ชื่อวา อนุโลม ขณะเปนคํารบ ๔ ชื่อวา โคตรภู เมื่อโคตรภูบังเกิดที่ ๔ แลวอากาสานัญจายตนจิตก็บังเกิดที่ ๕ ที่ ๖ นั้นตกภวังค ถาวาสนาบุคคลนั้นเปนขิปาภิญญา อุเปกขาญาณสัมปยุตตกามาพจรชวนะก็ บังเกิด ๓ ขณะ ขณะเปนปฐมชื่อวาอุปจาร ขณะเปนคํารบ ๒ ชื่อวาอนุโลม ขณะเปนคํารบ ๓ ชื่อวา โคตรภู เมื่อโคตรภูบังเกิดที่ ๓ แลว อากาสานัญจายตนจิตก็บังเกิดที่ ๔ ที่ ๕ นั้นตกภวังค เปนอรู ปาพจร เปนอัปปนาชวนะ และปฐมอัปปนา วิธีแหงทานที่มีวาสนาเปนขิปปาภิญญานั้น ชวนะจิตบังเกิด ๔ ขณะ ขณะที่ ๑ นั้นเปนเปนกามาพจร ที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ นั้นก็เปนกามาพจร ที่ ๕ นั้นเปนอรูปาพจร เปนอัปปนาจิต และขอซึ่งอรูปเปนปฐม ไดนามบัญญัติชื่อวาอากาสานัญจายจตนะนั้น จะมีอธิบายเปน ประการใด อธิบายวาอากาสานัญจายตนะศัพทนี้ ถาจะแปลตัดออก ๓ บท อากาสะบท ๑ อนัญจะบท ๑ อายตนะบท ๑ อากาสะ แปลวาชองวางอนัญจะนั้นเดิมเปนอนันตะอยูอาเทศ (แปลง) ตะเปนจะ จึง เปนอนัญจะ แปลวาหาที่สุด คืออุทปาทิขณะบมิได อายตนะนั้น แปลวาที่อยู นักปราชญพึงรูซึ่งอรรถาธิบายตามนัยอันฎีกาจารยวิสัชนา ไวใน ฎีกาพระอภิธรรมมัตถสังคหะวา อากาศนั้นไดชื่อวาอนัญจะเพราะเหตุหาอุปาทิขณะและภวังคขณะบ มิได อันธรรมดาวาอากาศนี้ไมรูเกิดไมรูทําลายอันหาที่สุดขางอุปาทขณะแหงอากาศวา อากาศนี้ บังเกิดแตนั้นมาบังเกิดมในวันนั้นคืนนั้นปนั้นเพลานั้น บังเกิดในครั้งนั้น ๆ จะหาที่สุดขางอุปาทขณะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 87 ดังนี้บมิได ประการหนึ่งจะหาที่สุดขางทําลายแหงอากาศวา อากาศนี้จําทําลายไป ในวันนั้นคืนนั้น เดือนนั้นปนั้นเพลานั้น จะหาที่สุดขางทําลายดังนี้บมิได ตกวาฝายขางบังเกิดก็ไมมีที่สุด ฝายขาง ทําลายก็ไมมีที่สุด อาศัยเหตุฉะนี้ อากาศนั้นถึงมาตรวามีนอย มีประมาณเทาวงกสิณก็ดี นอยกวาวง กสิณก็ดี ก็สมควรจะเรียกวาอนัญจ วาหาที่สุดบมิได นักปราชญพึงเห็นอธิบายฉะนี้ อยาพึงเห็นอธิบาย วา อากาศนั้น ตอเมื่อใดแผไปหาที่สุดบมิไดจึงจะไดชื่อวาอนัญจะ ถายังมิไดแผออกใหใหญใหกวาง ยังนอย ๆ อยูแตพอกําหนดไดนั้น จะไดชื่อวาอนัญจะหาบมิได อยาพึงเห็นอธิบายดังนั้น พึงเขาใจ ตามนัยแหงฎีกาจารย ผูตกแตงฎีกาพระอธิธรรมมัตถสังคหะ ดังพรรณนามานั้น เปนใจความวาปฐมรู ปาฌานนั้นยึดหนวงเอาอากาศนิมิต อันหาอุปาทขณะและภวังคขณะมิไดเปนอารมณ อากาศนิมิตอัน หาที่สุดคือ อุปาทขณะและภวังคขณะบมิไดนั้น เปนที่ตั้งเล็งปฐมารูปาฌานเปนที่ยึดที่หนวงที่สํานัก อาศัยแหงปฐมารูปจิต เหตุดังนั้นปฐมารูปจิตนั้นจึงไดชื่อวาอากาสานัญจยตนฌาณ พึงรูแจงโดยนัย อุปมาวา ประดุจเกวียนและประตูชองแหงหนาตาง อันบุคคลปดบังไวดวยผาเขียวและผาขาวผาแดง และผาดําผืนใดผืนหนึ่งนั้นก็ดี ปากโอและปากขันปากหมอและปากกระออม อันบุคคลหุมไวดวยผา เขียวและผาขาวผาแดงผาดําอันใดอันหนึ่งนั้นก็ดี แตบรรดาชองอันบุคคลปดปองหุมไวดวยผานั้น เมื่อ ผาสาฏกยังปดยังปกยังหอยังหุมเปนปกติอยู บุรุษชายหญิงทั้งปวงแลไปก็เห็นแตผาที่ปดที่บัง เห็นแต ผาที่หอหุมจะไดแลเห็นชองหา บมิได กาลเมื่อผาที่ปดที่บังที่หอที่หุมนั้นปลิวไปดวยกําลังลมก็ดี ตกลงดวยวัตถุอันคืน มี ไมหนามเกี่ยวของก็ดี มีผูใดผูหนึ่งมาเปดเผยเลิกรื้อเสียก็ดี กาลเมื่อที่จะหาผาผิดปกหุมหอมิไดแลว บุตรชายหญิงทั้งปวง แลไปก็เห็นชองนั้นปรากฏเปนอากาศเลา อันนี้แลมีฉันใด ผาที่ปกปดหอหุมอยู นั้น ดุจปริมณฑลแหงกสิณที่เปนอารมณแหงรูปาพจรฌาน ประตูเกวียนประตูชองหองหนาตาง ปาก โอแลปากขันปากหมอและปากกระออม อันหาผาสาฎกจะปดปาหุมหอมิไดแลเห็นปรากฏอันอากาศ เปลา เปนชองเปลาอยูนั้น อุปไมยดุจอากาศที่มีกสิณอันเพิก แลเปนอารมณแหงปฐมารูปฌาน กาลเมื่อบุรุษชายหญิงทั้งหลายแลไปเห็นแตผาสาฏกที่ปกปดหอหุม บมิไดแลเห็นชอง แหงประตูเกวียนเปนอาทินั้น มีอุปไมยดังพระโยคาพจรกุลบุตรอันเขาสูรูปาพจรฌาน มีปฏิภาคนิมิต แหงภูตาทิกสิณเปนอารมณ ยังมิไดอากาศเปนอารมณไดกอน กาลเมื่อผาสาฏกปราศจากไปมิไดปด ปงหอหุมอยูเหมือนอยางแตกอน บุรุษชายหญิงทั้งหลายแลไปมิไดเห็นผาสาฏกเห็นแตประตูเกวียน เปนอาทิ ปรากฏเปนอากาศเปลา เปนชองเปลาอยูนั้น มีอุปไมยดังพระโยคาพจรอันหนายจากรูป เพิก กสิณเสียแลวแลพิจารณาเอาอากาศเปนอารมณ ตราบเทาไดสําเร็จปฐมรูปฌาน อันมีนามบัญญัติชื่อ วาอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรไดสําเร็จกิจในภาวนาวิธีมีประมาณเทานี้ เกลียด หนายชิงชัง ซึ่งรูปสัญญาระงับเสียซึ่งสัญญาใหปราศจากขันธสันดานละเสียซึ่งปฏิฆสัญญา ปราศจาก มนสิการในนานัตตสัญญา บมิไดกระทํามนสิการในนานัตตสัญญาแลวกาลใดก็ไดชื่อวาพรอมเพรียง ดวยอากาสานัญจยตนฌานในกาลนั้น แทจริงอรูปฌานนี้มีคุณคามากกวาวามากรํางับดับเสียไดซึ่งรูปสัญญา ละเสียไดซึ่งปฏิฆ สัญญา แลนานัตตสัญญา รูปสัญญานั้นไดแกรูปาพจร ๒๕ แลกสิณทั้ง ๓ เหตุ วาเวนจากอากาสกสิณ ปฏิฆสัญญานั้นไดแกทวิปญจวิญญาณ ๑๐ จิต แทจริงทวิปญจวิญาณ ๑๕ นี้ ไดชื่อวาปฏิฆสัญญา ดวยอรรถวาบังเกิดในปญจทวารวิถี เพราะเหตุที่อารมณมากระทบประสาท แลนานัตตสัญญานั้นไดแก จิต ๔๔ จิต คือกามาพจรกุศล ๘ จิต อกุศล ๑๒ จิต กามาพจรกุศลวิบาก ๑๑ จิต อกุศลวิบาก ๒ จิต กามาพจรกิริยา ๑๑ จิต สิริ ๔๔ จิต นี่แลไดชื่อวานานัตตสัญญาดวยอรรถวามีชาติอันตาง ๆ เปนกุศล ชาติบาง เปนอกุศลชาติบาง เปนอัพยากฤตชาติบาง นักปราชญพึงสันนิษฐานวา พระโยคาพจรจะได สําเร็จอรูปฌานนั้น อาศัยเหตุที่ละรูปาพจรเสียไดอาศัยเหตุที่ละกสิณ ๙ ประการเสียได ถายังละรู ปาพจรจิตเสียมิไดยังละกสิณ ๙ ประการเสียมิไดตราบใด ก็ยังมิไดสําเร็จอรูปฌานตราบนั้น ตอเมื่อใด ละรูปาพจรจิตเสียได ละกสิณ ๙ ประการเสียไดแลว จึงอาจสําเร็จอรูปพจรฌานแตปฏิฆสัญญา คือทวิ ปญญาญาณ ๑๐ จิต แลนานัตตสัญญา คือกามาพจร ๔๔ จิต นอกจากทวิปญญาจวิญญาณนั้น เมื่อ ถึงยังมิไดสําเร็จอรูปฌานกอน ไดแกฌานเบื้องต่ํา คือรูปาพจรฌานก็อาจจะลวงไดอาจจะระงับเสียได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 88 ดวยอํานาจรูปาพจรฌาน แทจริงทานที่เขาสูสมาบัติยับยั้งอยูในสมาบัตินั้นจะไดแลเห็นรูปดวยจักษุ จะไดฟงเสียง ดวยโสตะ จะไดสูดกลิ่นดวยฆานะ จะไดเสพรสดวยชิวหา จะไดเสพสัมผัสดวยกายนั้น หาบมิได จิต สันดานอันประพฤติเปนไปในปญญทวารวิถีนั้นบมิได มีแกทานที่ยับยั้งอยูในทานสมาบัติ อันธรรมดา วาเขาสูสมาบัติยับยั้งอยูในสมาบัตินั้น จิตสันดานเปนแตมโนทวารวิถีสิ่งเดียว จิตประพฤติเปนไปใน ทวารวิถีนั้น จะไดเปนกามาพจรจิตก็หาบมิได จิตที่เปนกามาพจรนั้นบมิไดรู มีในสันดานแหงทานที่ ยับยั้งอยูในสมาบัติ กาลเมื่ออยูในสมาบัติ ใครจะไปจะมาในที่ใกลก็ไมรูไมเห็น ใครจะเจรจาก็ไมไดยิน ถึงจะโหรองตีฆองกลองใกลโสตนั้น ก็ไมไดยินแตรูปแตเสียงสียังไมเห็นไมไดยินแลว ก็จะปวยกลาว ไปไยถึงกลิ่นแลรสสัมผัสนั้นเลาบมิไดรูเลยเปนอันขาด จิตนั้นแนแนวแยูในปฏิภาคนิมิต ซึ่งเปน อารมณแหงฌาน อยูในสมาบัตินั้นระงับจากกามฉันท แลพยาบาท ระงับจากอุทธัจจะแลกุกกุจจะ ระงับจากวิจิกิจฉาแลอวิชชา ระงับจากถีนะมิทธะ จิตที่เปนกามาพจรนั้นบมิไดรูมีเหตุฉะนี้ จึงเห็นแทวา จําเดิมเเตกาลเมื่อไดสําเร็จรูปฌานนั้น ก็อาจจะลวงปฏิฆสัญญาแลนานัติตสัญญาเสียได เวนแตรูป สัญญานั้นแลรูปฌานจะละเสียมิได เออก็เหตุไฉนปฏิฆสัญญาแลนานัตตสัญญาที่สละเสียไดแลว แตในรูปาพจรนั้น สมเด็จ พระพุทธองคจึงยกขึ้นตรัสเทศนาวาอรูปฌานสละละไดเลา อรูปฌานสิเฉพาะแตรูปสัญญาตางหาก ดังฤๅ พระองคมาตรัสเทศนาวา ละปฏิฆสัญญาแลนานัตตสัญญาดวยเลาอาศัยเหตุผลเปนประการใด มีคําพระพุทธโฆษาจารยผูตกแตงพระคัมภีรวิสัชนาวาขอซึ่งมีพระพุทธฎีกาตรัสวาอรูปฌานสละเสียได ซึ่งปฏิฆสัญญาแลนานัตตสัญญานั้น วาดวยสามารถสรรเสริญคุณแหงอรูปฌาน ปรารถนาจะใหกุลบุตร ทั้งปวงมีอุตสาหะจําเริญอรูปฌานจึงตรัสสสรรเสริญดังนี้ เปรียบเหมือนพระพุทธฎีกาที่ตรัสสรรเสริญ จตุตถฌานวาละสุขละทุกข ที่แทนั้นละทุกขเสียไดแตในปฐมฌานครั้นยางเขาตติยฌานก็จะสุขเสียได จตุตถฌานนี้ บังเกิดในกาลเมื่อละทุกขละสุขไดแลว กิจที่จะละทุกขละสุขนั้นจะละไดเปนพนักงาน แหงจตุตถฌานหามิได พระพุทธฎีกาที่ตรัสสรรเสริญวาจตุตถฌานละทุกขละสุขนั้น ตรัสดวยสามารถ สรรเสริญจตุตถฌานปรารถนาจะใหกุลบุตรทั้งปวงมีความอุตสาหะจําเริญจตุตถฌาน จึงสรรเสริญดังนี้ แลฉันใด ขอซึ่งตรัสเทศนาวา อรูปฌานสละละปฏิฆสัญญาแลนานัตตสัญญานั้นก็ตรัสสรรเสริญดวย สามารถ ใหกุลบุตรมีความสุตสาหะจําเริญอรูปฌาน มีอุปไมมยดังนั้น ถามิดังนั้นเปรียบเหมือนพระ พุทธฎีกาที่ตรัสสรรเสริญพระอนาคามิมรรควา ละอกุศลเปนตนวาสักกายทิฏฐินั้น ที่แทก็ละเสียไดแก ในขณะแหงพระโสดาปตติมรรคนั้นแลว ตรัสสรรเสริญดวยสามารถใหกุลบุตรอุตสาหะจําเริญพระ อนาคามิมรรคอันนี้แลฉันใด พระพุทธองคตรัสสรรเสริญอรูปฌาน ก็อุปไมยดังนี้ สงฺเขปโต ถาจะวา โดยยอแตพอใหเห็นวางายในคุณแหงอรูปสมาบัตินั้น นักปราชญพึงรูวาอรูปสมาบัติละจิตแลแจตสิก เปนรูปาพจรเสียได นี่แลเรียกวาละเสียซึ่งรูปสัญญาขอซึ่งอรูปสมาบัติหางไกลจากกามาพจรจิต สลัด จิตแลเจตสิกอันเปนกามาพจรเสียใหไกลจากสันดานนั้น ไดชื่อวาละปฏิฆสัญญา แทจริงสภาวะมีสันดานไกลจากปฏิฆสัญญา คือทวีปญญาจวิญญาน ๑๐ จิตนั้น อยางวาถึง เมื่อเขาสูอรูปสมาบัตินั้นเลย โดยแตอรูปภพอันเปนที่บังเกิดแหงอรูปวิบากนั้น ก็ไกลจากทวิปญจ วิญญาณ ๆ ทั้ง ๑๐ จิตนั้น จะไดมีอรูปภพหาบมิได แตนานัตตสัญญา คือกามาพจรจิต ๔๔ จิต นอกจากทวิปญจวิญญานนั้นแบงออกเปน ๒ กอง ๆ หนึ่ง ๑๗ จิต กองหนึ่ง ๒๗ จิตกอง ๑๗ จิตนั้น คือมหาวิบาก ๘ สัมปฏิจฉันนะ ๒ สัตตีรณะ ๓ ปญจทวาราวัชชนะ ๑ สหนะ ๑ ปฏิฆชวนะ ๒ ทั้ง ๑๗ นี้ จะไดมีในอรูปภพหามิได แตกอง ๒๗ จิตนั้น คือมหากุศล ๘ มหากิริยา ๘ อกุศล ๑๐ มโนทวารวัช ชนะ ๑ เปน ๒๗ จิตดวยกัน นี่แลมิไดมีในอรูปภพ อรูปพรหมที่เปนปุถุชนนั้น ถาออกจากอรูปสมาบัติแลวนานัตตสัญญา คือกามาพจร ๒๗ จิตนี้ ก็ไดชองไดโอกาสอาจจะบังเกิดไดในสันดาน เวนแตอยูในสมาบัตินั้นแลนานานัตตาสัญญา ๒๗

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 89 จิตนี้บมิอาจจะบังเกิดได นักปราชญพึงสันษฐานวาอรูปฌานเปนปฐม ไดชื่อวาอากาสณัญจายตนะนั้น ดวยอรรถวายึดหนวงอากาศอันมีกสิณเพิกแลวเปนที่อยูที่พํานักอาศัย แทจริงอากาศในที่พระ โยคาพจรเพิกกสิณเสียแลวนั้นเปรียบเหมือนทิพยพิมานอันเปนที่อยูที่พํานักแหงเทพยดาทั้งปวง แล อากาศนั้นมิไดมีที่สุดฝายขางบังเกิด บมิไดมีที่สุดฝายขางทําลาย โดยนัยที่วิสัชชนาตามฎีกาอภิธรรม มัตถสังคหะ เหตุฉะนี้ปฐมรูปจิตที่ยึดที่หนวงอากาศนิมิตเปนอารมณนั้น จึงไดนามบัญญัติชื่อวาอา กาสนัญจาตนะ ดวยประกาศฉะนี้ ฯ วินิจฉัยในปฐมมารูปฌานโดยวิตถารยุติแตเทานี้

จักวินิฉัยในอรูปเปนคํารบ ๒ อันชื่อวาวิญญาณัญจายตนะสืบตอไป วิฺญาณฺจายตนํ ภาเวตุกาเม พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญวิญญาณัญจยตนะกรรมฐานนั้น พึงจําเริญ ปฐมารูปณานใหมีวสี ๕ ประการชํานิชํานาญเปนอันดีแลว พึงพิจารณาใหเห็นโทษแหงปฐมารูปฌาน วา อาสนฺนฉรูปาวจรชฺฌานปจุจถิกา ปฐมรูปฌานนี้มีขาศึกคือรูปาพจรฌานอยูใกลจะไดละเอียด เหมือนวิญญาณัญจายตนฌานหาบมิไดเมื่อพิจารณาเห็นโทษแหงปฐมารูปฌานดังนี้ ยังความรักความ ยินดีในปฐมารูปฌานนั้นใหสิ้นไปแลว พึงกระทํามนสิการกําหนดใหเห็นคุณแหงวิญญาณัญจายตน ฌานวา วิญญาณัญจายตนาฌานนั้นละเอียกประณีตบรรจง กระทําจิตใหรักใหใครในวิญญาณัญจาย ตนฌานแลว จึงละเสียซึ่งอากาศนิมิตที่เปนอารมณแหงปฐมารูปฌาน อยาไดเอาใจใสในอากาศนิมิต พึงกํานดจิตยึดหนวงเอาแตปฐมารูปวิญญาณ ที่อาศัยในอากาศนิมิตนั้นเปนอารมณแลวจึงกระทํา บริกรรมภาวนาวา อนนฺตํ วิฺญาณํ อนนฺตํ วิฺญาณํ วิญญาณไมมีที่สิ้นสุด ๆ จงเนือง ๆ ยกวิตก ขึ้นในปฐมารูปวิญญาณกระทําปฐมารูปวิญญาณนั้นเปนที่วิตกโดยวิเศษ เมื่อตั้งวิตกเฉพาะอยูในปฐมารูปวิญญาณนั้นเนือง ๆ อยาไดเพิกเฉยอยาไดมีขวนขวายอัน นอย พึงอุตสาหะบริกรรมภาวนา อนนฺตํ วิฺญาณํ อนนฺตํ วิฺญาณํ รอยคาบพันคาบแสนคาบ ตราบเทาวิญญาณัญจายตนฌาน อันยึดหนวงเอาปฐมารูปวิญญาณเปนอารมณนั้นจะบังเกิด ปฐมารูป ฌานนั้นยึดหนวงเอาอากาศนิมิตเปนอารมณแลวบังเกิดดวยประการฉันใด วิญญาณัตจายตนฌานที่ยึด หนวงเอาปฐมารูปวิญญาณเปนอารมณนี้ บังเกิดดวยอาการอยางนี้ อธิบายวาในปฐมวิธี แรกเริ่มเดิม เมื่อจะไดสําเร็จวิญญาณัญจายตนฌานนั้น อัปปนาจิตบังเกิดขณะจิตหนึ่งก็ตกภวังค กามาพจรชวนะที่ ไดสําเร็จกิจเปนบริกรรมแลอุปจาร เปนอนุโลม แลโคตรภูนั้น สัปยุตตดวยอุเบกขาเวทนาบังเกิด ๓ ขณะบาง ๔ ขณะบาง ตามวาสนาบุคคลที่เปนขิปปาภิญญาแลทันธาภิญญา อากาสานฺจายตน สมติกฺกมา นักปราชญพึงสันนิษฐานวาพระโยคาพจรจะไดสําเร็จวิญญาณัญจายตนฌานนั้น เพราะ เหตุวาลวงเสียซึ่งอากาศนิมิตอันเปนอารมณแหงปฐมรูปฌาน แลวเลยยึดหนวงเอาปฐมารูปวิญญาณ เปนอารมณ ขอซึ่งอรูปฌานเปนคํารบ ๒ มีนามบัญญัติชื่อวาวิญญาณณัญจายตนะนั้นจะมีอธิบายประการ ใด อธิบายวาวิญญาณัตญจายตนะนี้ศัพทนี้ถาจะแปลตัดออกเปน ๓ บท วิญญาณบท ๑ อนันตะบท ๑ อายตนะบท ๑ เปน ๓ บทดังนี้ วิญญาณนั้นแปลวาจิต อนันตะนั้นแปลวาหาที่สุดบมิได อายตนะนั้น แปลวาที่อยู เมื่อสําเร็จรูปวิญญาณัญจายตนะนั้นทานลบนะเสียตัวหนึ่ง อาเทศแปลง ตะ เปน จะ นักปราชญพึงรูโดยอธิบายวา ปฐมรูปวิญญาณที่เปนอารมณแหงวิญญาณัญจายตนฌานนี้ ที่จะไมมี ที่สุดฝายขางบังเกิดฝายขางดับเหมือนอยางอากาศนั่นหาบมิได ปฐมารูปวิญญาณนั้นรูเกิดรูดับ เกิด เร็วดับเร็วประกอบดวยอุปทาขณะ แลฐิติขณะแลภวังคขณะเหมือนกันกับจิตทั้งปวง แตอาศัยเหตุที่ ปฐมมรูปวิญญาณนี้แผอยูในอากาศนิมิต อันหาที่สุดฝายเกิดดับบมิไดก็พลอยไดชื่อวาอนันตะวาหา ที่สุดบมิได เหมือนกันกับอากาศ ตกวาเอาอากาศนั้นมาเปนชื่อแหงตนเปรียบเหมือนมาปาอันชาวกัมโพชจับไดตกอยูใน เงื้อมมือแหงชาวกัมโพชประพฤติตามอํานาจแหงชาวกัมโพช แลไดนามบัญยัติชื่อวากัมโพช แลได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 90 นามบัญญัติเชื่อวากัมโพช แลปฐมารูปวิญญาณนี้ เปนที่ยึดหนวงเปนที่พํานักอาศัยแหงปฐมารูปฌาน คํารบ ๒ เปรียบดุจทิพยวิมารอันเปนที่พํานักอาศัยแหงเทพยดาทั้งปวง อาศัยเหตุที่ยึดหนวงเอาปฐมา รูปญาณที่แผไปในอากาศอันหาอุปาทาทิขณะมิไดเปนอารมณ อรูปฌานเปนคํารบ ๒ นี้จึงไดนาม บัญญัติชื่อวา วิญญาณัญจายตนฌานดวยประการดังนี้ มนสิการวเสน วา อนนฺตํ นัยหนึ่งวาอรูป ฌานเปนคํารบ ๒ ชื่อวาวิญญาณัญจายตนนั้น ดวยอรรถวายึดหนวงเอาปฐมารูปเปนอารมณแลว แล กระทํามนสิการวา อนนฺตํ อนนฺตํ แลขอความอันวิเศษเปนตนวาสําแดงอาการแหงทุติยารูปฌานอันมี สภาวะเบื่อหนายกลัวซึ่งรูป สละละเสียไดซึ่งรูปสัญญา แลปฏิฆสัญญา แลนานัตตสัญญานั้น ก็ เหมือนกันกับนัยที่สําแดงแลวในปฐมารูปฌานนั้น ฯ วินิจฉัยในทุติยารูปกรรมฐานยุติเพียงนี้

อากิฺจฺญายตนํ ภาเวตุกาเมน พระโยคาพจรกุลบุตรซึ่งมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญ อากิญจัญญายตนกรรมฐานนี้ พึงจําเริญทุติยารูปฌานใหมีวสี ๕ ประการใหมีชํานิชํานาญอันดีแลว จึง พิจารณาใหเห็นทุติยารูปฌานวา อาสนฺนากาสานฺจายตนปจฺจตฺถิกาทุติยารูปฌาน นี้ มีขาศึก คืออากาสานัญจายตนฌานอันอยูใกล จะไดละเอียดเหมือนอากิญจัญญายตนฌานหาบมิไดเพื่อ พิจารณา ใหเห็นโทษแหงทุติยารูปฌานดังนี้ ยังความรักความยินดีในทุติยารูปฌานใหสิ้นแลว พึง กระทํามนสิการกําหนดใหเห็นคุณแหงอากิญจัญญายตนฌานวา อากิญจัญญายตนฌานนั้นละเอียด ประณีตบรรจง กระทําจิตใหรักใหใครในอากิญจัญญายตนฌานแลว จึงละเสียซึ่งปฐมมารูปวิญญาณ ที่ เปนอารมณแหงวิญญาณัญจายตนฌาน อยาไดเอาใจใสในปฐมมารูปวิญญาณ พึงกําหนดจิตวา ปฐม มารูปวิญญาณหามีในที่อันนี้ไม ที่อันนี้เปลาจากปฐมารูปวิญญาณ สงัดจากรูปปฐมาวิญญาณ เมื่อกําหนดจิตฉะนี้แลว ก็พึงกระทําบริกรรมภาวนาวา นตฺถิ กิฺจิ นตฺถิ กิญจิ อะไรไมมี ๆ ถามิดังนั้นใหบริกรรมวา สุฺญํ สุฺญํ เปลา ๆ ถามิดังนั้นใหบริกรรมวา วิจิตฺติ วิวิตฺติ วาง ๆ จง เนือง ๆ ยกวิตกขึ้นวาปฐมารูปวิญญาณหามีไม ตั้งวิตกไววาปฐมารูปวิญญาณบไดมี กระทําที่ไมมีแหง ปฐมารูปวิญญาณนั้นเปนขอวิเศษเนือง ๆ อยูแลว นิวรณธรรมทั้งปวงก็จะสงบจากสันดาน เมื่อนิวรณ ธรรมสงบแลว จิตก็จะตั้งไดเปนอุปจารสมาธิ เมื่อจิตเปนอุปจารสมาธิแลวใหพระโยคาพจรสอง เสพนัตถิภาวนานิมิตจงเนือง ๆ อยาไดละเสีย พึงอุตสาหะทําบริกรรมวา นตฺถิ กิฺจิ นตฺถิ กิฺจิ ร อบคาบพันคาบ กวาจิตจะแนลงไปเปนอัปปนาในอารมณที่สําคัญมั่นหมายวาปฐมารูปวิญญาณ บมิได มีนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานวาอรูปฌานเปนปฐมนั้น จิตแนเปนหนึ่งลงในปริมณฑลในอากาศที่เพิก กสิณเสียแลว ในอรูปฌานเปนคํารบ ๒ นั้นจิตแนเปนหนึ่งลงในอารมณที่ละเมินปริมณฑลอากาศนั้น เสียแลว แลสําคัญมั่นวาปฐมารูปวิญญาณนั้น มีเปนแทแผอยูในปริมณฑลอากาศ ในรูปฌานเปนคํารบ ๓ นี้ จิตแนเปนหนึ่งลงในอารมณที่สําคัญมั่นวาปฐมารูปวิญญาณไมมีปริมณฑลแหงอากาศนี้ จะ มีปฐมารูปวิญญาณแผอยูในที่อันนี้หาบมิได ตกวาอากาศก็มีเปนพื้นอยูนั่นแลแตทวาละเสียหากําหนด เปนอารมณไม ที่จะกําหนดวานี่แลคือจะกําหนดวาปฐมารูปวิญญาณมีอยูแผในที่อันนี้ ฝายตติยารูปนั้น กําหนดวาปฐมารูปวิญญาณหามีไม หาแผอยูในที่อันนี้ไม ตกวาทุติยารูป จิตนั้นเปนหนึ่งอยูในอารมณที่สําคัญมั่นวา ปฐมารูปวิญญาณแผอยูในที่อันนี้ ฝายตติยารูปนั้นเปนหนึ่ง อยูในอารมณที่สําคัญมั่นวาปฐมารูปวิญญาณหามีในที่อันนี้ไม ยถา นาม ปุริโส มณฺฑปาสาลาทีสุ ภิกฺขุสงฺฆํ ทิสฺวา เปรียบเสมือนบุรุษผูหนึ่ง แลเห็นพระภิกษุสงฆทั้งปวง อันมีธุระดวยสังฆกิจอันใด อันหนึ่ง มาประชุมกันในมณฑลแลศาลาใหญนอยอันใดอันหนึ่ง บุรุษนั้นก็กระทํามณสิการกําหนดจิต วาพระสงฆประชุมกัน ๆ กําหนดแตเทานั้น จะไดกําหนดวาที่อันพระสงฆประชุมนี้เปนมณฑลเปนที่โรง ฉัน เปนศาลายาวแลกวางมีประมาณเทานั้น มีเสาแลพื้นแลฝาแลที่มุงอยางนั้น ๆ จะไดกําหนดดังนี้หา บมิได ตกวาที่อันพระสงฆประชุมนั้นมิไดเอาใจใสใหรูวา พระสงฆมาประชุมกันในที่อันนี้ ๆ เอาใจ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 91 ใสแตเทานั้น ครั้นพระสงฆทั้งปวงมาประชุมกันกระทําสังฆกิจ สิ้นธุระแลวแลลุกไป บุรุษนั้นกลับแลไป ในภายหลังเห็นที่อันนั้นเปลาอยูไมมีพระสงฆ บุรุษนั้นกําหนดวาพระสงฆไมมีในที่อันนี้แลว ที่อันนี้ เปลาแลว บุรุษนั้นกําหนดจิตแตเทานี้กําหนดเอาแตที่ไมมีพระสงฆนั้นแล เปนอารมณแลมีฉันใดที่อัน พระสงฆประชุมนั้น มีอุปไมยดังอากาศนิมิตที่เพิกกสิณเสียแลว แลเปนอารมณแหงปฐมารูปวิญญาณ พระภิกษุทั้งปวงที่มาประชุมกันนั้น เปรียบตอปฐมารูปวิญญาณที่เปนอารมณแหงอรูปฌานเปนคํารบ ๒ กิริยาที่ภิกษุลุกไปสิ้นไปแลวแลเปลาอยูนั้น เปรียบตอจากอากาศที่เปลา ที่สูญที่ไมมี ปฐมารูป วิญญาณอันเปนอารมณแหงรูปฌานเปนคํารบ ๓ กาลเมื่อบุรุษเห็นพระสงฆประชุมกัน แลเอาใจใส กําหนดแตองคพระสงฆมิไดเอาใจใสดูเสนาสนะที่พระสงฆนั่งนั้นเปรียบเหมือนทุติยารูปจิตอันละเสีย ซึ่งอากาศนิมิตแลว แลยึดหนวงเอาปฐมารูปวิญญาณเปนอารมณ กาลเมื่อบุรุษแลไปไมเห็นพระสงฆ เห็นแตที่เปลาอยู แลกําหนดในใจวาพระสงฆไปหมดแลว ไมมีพระสงฆแลว อันนี้มีอุปไมยดังตติยารูป จิตอันกําหนดอารมณวาเปนปฐมารูปวิญญาณบมิไดมี ๆ แลอรูปฌานเปนคํารบ ๓ นี้ ไดนามบัญญัติชื่อวาอากิญจัญญายตนนั้น จะมีอรรถธิบายเปน ประการใด อธิบายวาอากิญจัญญายตนศัพทนี้ ถาจะแปลตัดออกเปน ๓ บท นะ บท ๑ กิญจนะ ๑ อายตนะ บท ๑ เปน ๓ บทนี้นะนั้นแปลวาบมิได กิญจนะนั้นแปลวาเหลืออยู อายตนนั้นแปลวาที่อยู อาเทศ แผลง นะ เปน อะ เมื่อสําเร็จรูปเปนอากิญจัญญายตนะนั้น อธิบายวานัตถิภาวนานี้เปนอารมณ แหงตติยารูปฌานนั้น จะไดมีปฐมารูปวิญญาณเหลืออยูมาตรวาภังคขณะนั้นก็หาบมิได อารมณที่ สําคัญมั่นวาปฐมารูปวิญญาณไมมีนี่แลเปนที่ยึดที่หนวงที่สํานักที่อาศัยแหงตติยารูปฌาน เปรียบ ประดุจทิพยวิมาณอันเปนที่อยูแหงเทพบุตรแลเทพธิดาทั้งปวง ตกวาอารมณที่สําคัญมั่นวาปฐมารูปวิญญาณไมมีนั้น ตติยารูปจิตกําหนดเอาเปนที่ยึดหนวง เหตุฉะนี้ ตติรูปจิตนั้น จึงไดนามบัญญัติชื่อวาอากิญจัญญายตนฌานดวยประการฉะนี้ ตกวาพระ โยคาพจรกุลบุตรจะไดสําเร็จอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดวยสามารถที่ลวงทุติยารูปจิตไดประการ ๑ ลวงปฐมารูปที่เปนอารมณแหงทุติยารูปจิตนั้นไดประการ ๑ ลวงเปน ๒ สถานดังนี้ จึงไดสําเร็จอา กิญจัญญายตนฌาน แลขอความอันเศษเปนตนวาสําแดงคุณานิสงสแหงตติยารูปฌานวา หนายจาก รูปละเสียไดจากรูปสัญญา แลปฏิสัญญานานัตตสัญญานั้นก็เหมือนกันกับนัยที่สําแดงแตตน ในปฐมา รูปฌานนิเทศนั้น ฯ วินิจฉัยในตติยารูปกรรมฐานยุติแตเพียงนี้

แตนี้จักวินิจฉัยในจตุตถารูปกรรมฐานสืบตอไป เนวสฺญานาสฺญายตนํ ภาเวตุกา เมน พระโยคาพจรกุลบุตรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญเนวสัญญานาสัญญายตนกรรมฐานนั้น พึง จําเริญตติยารูปฌานใหมีวสี ๕ ประการชํานิชํานาญเปนอันดีแลว พึงพิจารณาใหเห็นโทษแหงตติยา รูปฌานวา อาสนฺนวิฺญาณฺจายตนปจฺจตฺถิกา ตติยารูปฌานนี้มีขาศึก คือวิญญาณัญจายตน ฌานอันอยูใกลอารมณแหงตติยารูปฌานนี้ ยอมเแลวดวยสัญญา ๆ นั้นยังหยาบยังเปนโรคเปนภัย ยัง เปนปมเปนเปา ยังเปนลูกศรเสียบแทงจิตสันดานอยูจะไดละเอียดเหมือนเนววัญญายตนฌานหาบมิได เมื่อพิจารณาใหเห็นโทษแหงตติยารูปฌานใหสิ้นแลว พึงกระทํามนสิการกําหนดใหเปนคุณานิสงส แหงเนวสัญญายตนฌานวา เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนี้ละเอียดประณีตบรรจงยิ่งนัก มาตรแมวามี สัญญาอยู ก็เหมือนจะหาสัญญาบมิได พึงพิจารณาใหเห็นคุณานิสงสฉะนี้ ยังความรักความยินดีใหบังเกิดในเนวสัญญานาสัญญายตนฌานแลว จึงลวงเสียซึ่งอารมณ แหงตติยารูปฌานอารมณที่สําคัญวาปฐมารูปฌาน ไมมีนั้นพึงสละละเสียอยาไดมนสิการกําหนด กฏหมายเพิกเฉยเสีย อยายึดอยาหนวงเอา อยาผูกพันไวในสันดาน พึงกําหนดเอาแตตติยารูปฌาน เปนอารมณกระทําบริกรรมวา สนฺตเมตํ ปณีตเมตํ ตติยารูปจิตนี้ ละเอียดประณีตบรรจง บมิได หยาบ ตกฺกาหตา วิตกฺกาหตา กาตพฺพา พึงนํามาซึ่งตติยารูปวิญญาณดวยวิตกโดยวิเศษวิตกวิจาร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 92 เนือง ๆ อยูแลวนิมิตแหงตติยารูปจิตก็จะบังเกิด นิวรรณธรรมก็สงบจากสันดาน เมื่อนิวรรณธรรมสงบ แลว จิตก็จะตั้งไดเปนอุปจารสมาธิแลวใหพระโยคาพจรสองเสพนิมิตแหงตติยารูปจิตเนือง ๆ อยาได ละไดลืมซึ่งอุตสาหะกระทําบริกรรมวา สนฺตเมตํ ปณีตเมตํ ตติยารูปจิตนี้ละเอียด ตติยารูปจิตนี้ ประณีต บริกรรมไป ๆ รอยคาบพันคาบหมื่นคาบแสนคาบ กวาจิตจะแนแนวเปนอัปปนาไดสําเร็จ จตุตถารูปฌานอันชื่อวาเนวสัญญานาสัญญายตนนั้น แทจริงอรูปสมาบัติ ๔ นี้ นับเขาในปญจมฌาน กอปรดวยองค ๒ คือเอกัคคตา แลอุเบกขา วิตก วิจารปติสุข นั้นจะไดเปนองคแหงอรูปสมาบัติหามิได แลขอซึ่งวาใหกระทําวิตกใหตั้งวิตกไว ขอนี้นี่เฉพาะวาบุรพภาคเบื้องตน กาลเมื่อดํารงจิตในบุรพภาคนั้น จะทิ้งวิตกวิจารเสียบมิได จําจะมีวิจารเปนเดิมกอน เพราะเหตุวาอรูปฌานนี้ลวงอารมณกันทุกชั้น ๆ จะยืนอารมณไวอยาง เดียวกันอยางรูปาพจรสมาบัตินั้นยืนไวบมิได อันรูปสมาบัตินั้นถาเอากสิณสิ่งใดเปนอารมณแลว จะตั้ง กสิณนั้นใหขึงไวไมเปลี่ยนกสิณเลย จะเขาฌานตั้งแตปฐมฌานขึ้นไป ใหตลอดตราบเทาถึงปญจม ฌานนั้นก็อาจเขาไดเพราะเห็นวาอรูปฌานนั้น อารมณยืนไมเปลี่ยน อารมณเหมือนรูปฌาน ๆ นี้ลวง อารมณไมยืน ตองลวงอารมณกันทุกชั้น ๆ เหตุดังนั้น ในบุพภาคแรกจําเริญอรูปสมาบัติทั้ง ๔ นี้จึงมิ อาจละวิตกวิจารเสียได ตองมีวิตกวิจารในบุรพภาคกอน ตอถึงอัปปนาจิตแลวจึงปราศจากวิตกวิจาร คงมีองคอยูแต ๒ ประการคือ เอกัคคตากับอุเบกขา ในปฐมอัปปนาแรกไดจตุถารูปฌานนี้ จตุตถารูป จิตบังเกิดขณะ ๑ อุเบกขาญาณสัมปยุตกามาพจรชวนะที่ใหสําเร็จกิจเปนบริกรรมแลอุปจาร เปน อนุโลมแลโคตรภูนั้นบังเกิด ๓ ขณะบาง ๔ ขณะบางอยางสําแดงมาแลวแตหลัง จตุตถารูปฌานนี้ ก็มี คุณานิสงส ละรูปสัญญาแลปฏิฆสัญญาแลนานัตตสัญญาเสียไดเหมือนกันกับอรูปฌานเบื้องตน ที่ สําแดงแลวแตเดิมทีแลจตุตถารูปฌานไดนามบัญญัติชื่อวาเนวสัญญานั้นดวยอรรถวามีสัญญาเวทนา แลสัมปยุตธรรมทั้งปวง อันละเอียดสิ้นทุกสิ่งทุกประการใชจะละเอียดแตสัญญาสิ่งเดียวนั้นหาบมิได ขอซึ่งยกขึ้นวาจตุตถารูปจิตมีสัญญาอันละเอียด ถามาสัญญาก็เหมือนดุจหาสัญญาบมิได ขอนี้นี่วาดวยสามารถประธานนัย ยกสัญญาขึ้นตั้งเปนประธาน ที่แทนั้นจะละเอียดแตสัญญา สิ่งเดียวหาบมิได จิตก็จะละเอียดเจตสิกแตบรรดาสัมปยุตดวยจิตนั้นก็ละเอียด มีคําปุจฉาวา สนฺโต เจ มนสิ กโรติ กถํ สมติกฺกโมโหติ วาดวยพระโยคาพจรผูจําเริญ จตุตถารูปฌานนั้น เมื่อกระทํา มนสิการกําหนดกฏหมายอยูวาตติยารูปจิตละเอียดตติยารูปจิตประณีตวิตกวิจารอยูเนือง ๆ วิสัชนา วา อสมาปชฺชิตุกามตาย พระโยคาพจรกุลบุตรจะลวงตติยารูปฌานเสียไดนั้น เพราะเหตุที่มิได ปรารถนาที่จะเขาสูตติยารูปฌาน เห็นวาตติยารูปฌานละเอียด ตั้งจิตวิจารอยูในตติยารูปจิตก็จริงอยู แลแตทวาหาไดคิดวาจะพิจารณาอารมณ แตงตติยาจิตนั้นไม ที่จะไดคิดวาอาตมาจะเขาสูตติยารูป ฌานอีก อาตมาจะอธิษฐานเอาตติยารูปฌานอีก อาตมาจะออกจากตติยารูปฌานอีกอาตมาจะ พิจารณาติติยารูปฌานอีก จะไดคิดดังนี้หาบมิได อาศัยเหตุฉะนี้พระโยคาพจรนั้นจึงอาจลวงเสียซึ่งตติ ยารูปฌานนั้นได เออก็เหตุไฉนเมื่อเห็นตติยารูปฌานละเอียดประณีตบรรจงดีแลวจึงลวงละเสียไมเขาสูตติ ยารูปฌานเลา ขอซึ่งไมเขาสูตติยารูปฌานนั้นเพราะเหตุที่เห็นวา เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ละเอียดยิ่งกวาตติยารูปประณีตกวาตติยารูป จักรักใครผูกพันอยูในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ปรารถนาเนวสัญญานั้นเปนเบื้องหนา จึงลวงเสียซึ่งตติยารูปฌานเปรียบปานดุจสมเด็จ พระมหากษัตริย อันเสด็จสถิตเหนือคอชางพระที่นั่งตัวประเสริฐ เสด็จโดยนครวิถีถนนหลวงดวยพระ เดชานุภาพเปนอันมาก ทนฺตการาทโย ทิสฺวา ไดทอดพระเนตรเห็นชางทั้งหลายเปนตนวาชางไม แลชางงาอันเลื่อยงาผาเปนซีกนอยแลซีกใหญ กระทําเครื่องไมแลเครื่องเงางามประหลาดตาง ๆ ตาม ศีลปศาสตรตนเคยกระทําบรมกษัตริยนั้นครั้นทอดพระเนตรเห็นก็ทรงพระโสมนัสปรีดาชมเชยวา ชาง เหลานี้ขยันนักหนาฝมือดี ๆ กระทําการชํานิชํานาญควรจะเปนครูเปนอาจารยสั่งสอน ลูกศิษยไดตรัส ชมฝมือชางทั้งปวงก็จริง แตทวาพระองคจะไดปรารถนาที่จะละสมบัติเสียแลวแลจะเปนนายชาง เหมือนอยางชนเหลานั้นหาบมิไดเหตุใด เหตุวาสมบัติประเสริฐเลิศกวาศิลปศาสตรชางทั้งปวงตกวา ชมฝมือชางนั้นชมนักชมหนา แตน้ําพระทัยมิไดปรารถนาที่จะเปนชาง อันนี้แลมีอุปมาฉันใด พระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 93 โยคาพจรผูกระทํามนสิการวาตติยารูปละเอียด ตติยารูปจิตประณีตนั้น มนสิการเอาเปนนักเปนหนาก็ จริงแล แตทวาจะไดปรารถนาที่จะเขาสูตติยารูปฌานอีกหาบมิได จิตนั้นรักใครปรารถนาปรารภอยูใน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน จึงจะลวงเสียบมิไดเขาสูตติยารูปฌาน เพราะเหตุเห็นวาเนวสัญญานา สัญญายตนฌานนั้น มีอานิสงสมากยิ่งกวาตติยารูปฌาน มีอุปไมยดังพระมหากษัตริยอันชมฝมือชาง แลมิไดปรารถนาที่จะถอยพระองคลงเปนชางนั้น เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนี้ บางคาบสมเด็จพระพุทธองคตรัสเทศนาเรียกวาสังขาราว เสสสมบัติเพราะเหตุวาละเอียดดวยแท มีสัญญาก็เหมือนดุจหาสัญญาบมิได ครั้นจะวาไมมีสัญญาเลย ก็วาบมิได เพราะเหตุวาสัญญาละเอียด ๆ นั้น ยังอยูเปรียบเหมือนน้ําที่ยังรอนอยูนั้น จะวาหาเตโชธาตุ บมิได ปราศจากเตโชธาตุนั้นหาบมิได ไมมีเตโชธาตุแลว ดังฤๅ น้ําจะรอนเลา เตโชธาตุนั้นมีอยูเปน แทน้ําจึงรอน แตทวาเตโชธาตุนั้นละเอียดกวาละเอียดที่จะเอามาใชสอยกระทําการหุงตมปงจี่สิ่งใดสิ่ง หนึ่งนั้นใชสอยบมิได สัญญาในจตุตถารูปสมาบัตินั้น ก็ละเอียดกวาละเอียด พนวิสัยที่พระโยคาพจรจะ พิจารณาเอาเปนอารมณแหงพระวิปสสนานิพพิทาฌาณได มีอุปไมยดังนั้น แทจริงพระโยคาพจรที่ บําเพ็ญพระวิปสสนากรรมฐานนั้น ถาไมพิจารณานามขันธกองอื่นเลย จึงพึงพิจารณาแตเนวสัญญานา สัญญายตนขันธกองเดียวนั้น บมิอาจจะยังวิปสสนานิพพิทาญาณใหบังเกิดได อันวิปสสนานิพพิทาญาณจะบังเกิดใหเกลียดหนายในสังสารวัฏนั้นอาศัยแกพิจารณานาม ขันธหยาบ ๆ อันจะพิจารณานามขันธที่ละเอียด ๆ นั้น มิอาจจะยังความเกลียดหนายใหบังเกิดได ตอเมื่อไดมีปญญากลาหาญเปรียบปานดุจดังพระสารีบุตรผูเชี่ยวชาญในการที่จะพิจารณากลาปรูป จึง อาจที่จะพิจารณาเอาจตุตถารูปจิตเปนอารมณแหงวิปสสนานิพพิทาฌาณได สุขุมตฺตํ คตา สัญญา ในเนวสัญญานาสัญญายตนจิตนั้น ถึงซึ่งภาวะละเอียดเปรียบเหมือนน้ํามันทาบาตรแลน้ําอันซับอยูใน หนทาง กิระดังไดยินมาสามเณรองคหนึ่งเอาน้ํามันทาบาตรแลวก็ตั้งไว ครั้นถึงเพลาฉันกระยาคู พระ มหาเถระผูเปนชีตนรองเรียกจะเอาบาตร สามเณรก็วาบาตรติดน้ํามันอยู พระมหาเถระจึงวายกมาเถิด เราจะเทไวในกระบอกน้ํามัน สามเณรจึงวาน้ํามันนั้นขาพเจาทามาตรไวแตพอใหกันสนิม จะมีมากถึง ไดเทใสกระบอกไวนั้นก็หาบมิไดตกวาน้ํามันนั้นสักแตวามี ฉันใดก็ดี สัญญาในเนวสัญญานาสัญญาตน จิตนั้นก็ละเอียดกวาละเอียดสักแตมี มีอุปไมยในเนวสัญญานาสัญญายตนจิตนั้นก็ละเอียดกวาละเอียด สักแตมี มีอุปไมยดังนั้น ยังมีสามเณรองค ๑ เลาเดินทางไกลไปกับพระมหาเถระผูเปนอุปชฌาย สามเณรนั้นเดินไป ขางหนาไปพบน้ําซับอยูที่หนทาง จึงบอกแกพระมหาเถระวาทางเปนน้ําพระเจาขา ถอดรองเทา เสียกอนเถิด ดูกรเจาสามเณร ทานจงเอาผาชุบอาบมาใหแกเรา ๆ รอนนักหนา จะอาบน้ําเสียใหสบาย คลายรอน พระเจาขาที่จะอาศัยอาบอาศัยฉันไมได น้ํานอยแตพอจะชุมรองเทา ใสรองเทาไปนั้น รองเทาจะชุม ขาพเจาจึงบอกใหถอดรองเทา ตกวาน้ํานั้นสักแตวามีฉันใดสัญญาในเนวสัญญานา สัญญายตนจิตนั้นก็ละเอียดกวาอะเอียดสักแตวามี มีอุปไมยดังนั้น แตนี้จักวิสัชนาใน ปกิณกถาใหเห็นแจงวาอรูปสมาบัติตางออกเปน ๔ ประการดังนี้ดวย สามารถ อารมณอันตางลวงอารมณตอ ๆ กัน ปฐมารูปฌาณนั้นลวงเสียซึ่งกสิณนิมิตพิจารณาแต อาการที่มีกสิณเพิกแลวเปนอารมณ ทุติยารูปฌานนั้น ลวงอากาศเสียพิจารณาแตปฐมารูปเปน อารมณตติยารูปฌานนั้น ลวงตติยารูปเสียพิจารณาที่สูญเปลา ที่ไมมีปฐมารูปเปนอารมณ จตุตถารูป ฌานนั้น ลวงสูญที่เปลาที่ไมมีแหงปฐมารูปนั้นเสีย พิจารณาเอาแตตติยารูปจิตเปนอารมณ ตกวา อารมณนั้นตางลวงอารมณตอ ๆ กันฉะนั้น แตองคฌานนั้นจะไดลวงกันหาบมิได อรูปฌานทั้ง ๔ นี้มี องค ๒ ประการ คือเอกัคคตากับอุเบกขาเหมือนกันสิ้นองคแหงอรูปฌานทั้ง ๔ นี้ บมิไดแปลกกัน มีคําปุจฉาวาอรูปฌานทั้ง ๔ นี้ เมื่อแลมีองค ๒ ประการเหมือนกันสิ้นไมแปลกนั้น ทําไฉน จึงประณีตกวากันละเอียดกวากันเปนนั้น ๆ ดวยเหตุผลเปนประการใด วิสัชนาวาองค ๒ ประการ เหมือนกันไมแปลกกันก็จริง แตทวาไมแปลกกันแตองคอารมณนั้นแปลกกัน ประณีตกวากันเปนชั้น ๆ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 94 ละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ เปรียบเหมือนพื้นปรางคปราสาททั้ง ๔ แลแผนผาสาฎก ๔ ผืนอันแปลกกัน กิระดังไดยินมา ยังมีปรางคปราสาทอันหนึ่งมีพื้นได ๔ ชั้น ๆ เบื้องต่ํานั้นบริบูรณไปดวยเบญจกามคุณ คือขับรองรําฟอนดีดสีตีเปาดุริยางคดนตรีทั้งปวงแตลวนเปนทิพย เตียงตั่งที่นั่งที่นอนผานุงผาหม ดอกไมของหอมโภชนาหารสรรพมีพรอม แตลวนแลวดวยเครื่องทิพยบริบูรณนักหนาอยูแลว แตทวา ไมบริบูรณเหมือนชั้นคํารบ ๒ ๆ นั้น บริบูรณยิ่งกวากัน ครั้นขึ้นไปถึงชั้นคํารบ ๓ นั้นก็ยิ่งมากยิ่งบริบูรณ หนักขึ้นไปกวาชั้นเปนคํารบ ๒ ยิ่งขึ้นไปถึงชั้น ๔ ก็ยิ่งบริบูรณกวาชั้น ๓ ได ๑๐๐ เทา ๑๐๐๐ ทวี ตก วาพื้นทั้ง ๔ แหงปรางคปราสาทนั้นเทากัน หาแปลกกันไม แปลกกันแตปญจกามคุณยิ่งกวากันดวย เบญจกามคุณแลมีฉันใด อรูปฌานทั้ง ๔ นี้มีองค ๒ ประการเทากันหาแปลกกันไม แตทวายิ่งกวากัน ดวยอารมณละเอียดกวากันประณีตกวากันเปนชั้น ๆ ดวยสามารถมีอารมณตาง ๆ กันก็มีอุปไมยดังนี้ กิระดังไดยินมา ยังมีสตรีภาพ ๔ คนปนดายดวยกันในที่อันเดียวกัน สตรีภาพผูหนึ่งนั้นปน ดายเสนใหญ ผูหนึ่งปนดายเสนรวม ผูหนึ่งปนดายเสนเล็ก ผูหนึ่งนั้นปนดายเสนละเอียด ครั้นปนเสร็จ แลว ก็เอาออกมาทอผาผืนเทากัน ครั้นตัดออกจากฟมแลว เอามาวัดกันก็กวางเทากันยาวเทากัน แต เนื้อผาไมเหมือนกันเนื้อดีกวากันเปนชั้น ๆ แลฉันใด อรูปฌานทั้ง ๔ นั้นมีองค ๒ ประการเหมือนกันก็ จริงแตยิ่งกวากันดวยอารมณละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ ดวยสามารถมีอารมณอันตาง ๆ กันนักปราชญ พึงสัญนิษฐานวาทุติยารูปฌานนั้นไดอาศัยพึ่งพิงยึดหนวงปฐมารูปวิญญาณ ฝายจตุตถารูปฌานนั้น ไดอาศัยยึดหนวงตติยารูปวิญญาณ อสุจิพหิมณฺฑเปลคฺ เปรียบเหมือนบุรษ ๔ คนยืนอยูที่มณฑป ยังมีมณฑปอันหนึ่งประดิษฐานอยูในประเทศอันอัน โค ลามกโสโครก บุรุษผูหนึ่งเดินมาในสถานที่นั้น แลเห็นมณฑปก็ดีใจ สําคัญวาจะไดสํานักอาศัยหลับ นอนใหเปนสุข ครั้นเขาไปใกลแลเห็นอสุจิก็มีความเกลียดความหนาย บุรุษนั้นมิไดเขาไปในมณฑป เอาแตมือนั้นเขายึดเขาหนวงมณฑปแลว ก็ยืนโหนตัวอยูที่มณฑปอันนั้น ยังมีบุรุษอื่นอีกคนหนึ่งเลา เดินมาในสถานที่นั้น ชายผูนั้นแลเห็นบุรุษที่ยืนอยูกอนยึดหนวงเอามณฑปอยูดังนั้น ก็ดําริวาบุรุษผูนี้ ยืนแอบชายรมชอบกลหนักหนาอาตมาจะไปยืนแอบบุรุษผูนั้นอยูใหสบายใจสักหนอย คิดแลวชายผู นั้นก็เขาไปใกลกอดรัดกรัชกายแหงบุรุษผูนั้นเขาแลว ก็ยืนเปน ๒ คนดวยกัน ยังมีบุรุษผูหนึ่งเดินมาถึง ประเทศที่นั้นอีกคนหนึ่งเลา แลเห็นอาการแหงคนทั้ง ๒ นั้นก็ดําริวาชนทั้ง ๒ นี้ยืนหาดีไม ผูหนึ่งยืน ยึดหนวงมณฑปโหนตัวอยูหาถนัดไม ผูหนึ่งนั้นเห็นดีอยางไรจึงเขาไปยืนกอดยืนรัด บัดเดี๋ยวก็จะพา กันพลันมวนลงไปในโสโครกหาไมชา อาตมานี้ไมเขาไปในสําหนักแหงชายทั้ง ๒ คนนั้นแลว จะยืน อยูที่เปลาภายนอกเถิด คิดแลวบุรุษนั้นก็ยืนอยูที่เปลาภายนอกพนจากประเทศที่ชาย ๒ คนยืน ยังมีบุรุษอื่นอีกคน หนึ่งเลาเดินมาในสถานที่นั้น เห็นอาการอันยืนแหงชนทั้ง ๒ ก็ดําริวาชายทั้ง ๒ คนยืนภายในนั้น ใกล จะตกลงในที่ลามก ชายผูนั้นอยูในที่เปลาภายนอกนี้แลยืนดีแลว อาตมาจะไปยืนอยูดวยเถิด คิดแลว บุรุษนั้นก็ไปยืนแอบแนบชิดรัดรึงกายแหงชายที่ยืนภายนอกนั้น อันนี้แลมีอุปมาฉันใด อากาศที่พระ โยคาพจรเพิกกสิณเสียแลวนั้น มีอุปไมยดังมณฑปอันอยูในที่ประเทศลามกโสโครก ปฐมารูปฌานที่ นาเกลียดหนายจากรูป ยึดหนวงเอาแตอากาศที่มีกสิณเพิกเเลวเปนอารมณนั้น มีอุปไมยดังบุรุษอัน มาถึงกอนเกลียดอสุจิมิไดเขาไปในมณฑป เอาแตมือเขายึดหนวงเอาแตมณฑปแลว แลยืนโหนตัวอยู ที่มณฑปนั้น แลทุติยารูปฌานที่ลวงอากาศเสีย แลยึดหนวงเอาแตปฐมารูปวิญญานเปนอารมณนั้น มี อุปไมยดังบุรุษอันมาที่ ๒ เขารอบรัดบุรุษที่มากอน ยืนยึดหนวงกรัชกายบุรุษที่มาเปนปฐมแลตติยารูป ฌานเปนอารมณที่ลวงเสียซึ่งปฐมารูปวิญญาน ยึดหนวงเอาที่สูญที่เปลาที่ไมมีปฐมารูป มีอุปไมยดัง บุรุษอันมาที่ ๓ เห็นชายทั้ง ๒ คนยืนหาดีไม แลยืนอยูในที่เปลาภายนอกพนจากประเทศที่บุรุษ ๒ ยืน แลจตุตถารูปฌานที่แอบเขาเสียซึ่งที่สูญซึ่งที่สูญที่เปลาแลหนวงเอาตติยารูปวิญญานเปนอารมณ มี อุปไมยดังบุรุษอันมาที่ ๔ เห็นวาชายที่ยืนอยูภายนอกนั้น ยินดีแลเขาอิง ยืนยึดหนวงเอากรัชกายแหง ชายนั้นมีคําปุจฉาวา พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญจตุตถารูปกรรมฐาน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

คือเนวสัญญานาสัญญาย


- 95 ตนฌานนั้นยอมพิจารณาเห็นโทษแหงตติยารูปฌานวา อาสนฺนวิฺญาณฺจายตนปจฺจตฺถิ กา ตติยารูปฌานนี้มีขาศึก คือวิญญาณัญจายตนะอยูใกล จะไดละเอียดเหมือนเวนสัญญานาสัญญาย สนฺตเมตํ ปณีต ตนฌานหาบมิได เมื่อเห็นโทษแหงตติยารูปฌานดังนี้เหตุไฉนจึงบริกรรมวา เมตํ มนสิการกําหนดกฏหมายวา ตติยารูปวิญญานละเอียด ตติยารูปวิญญานประณีตบรรจงเลาความ หนากับความหลังไมเหมือนกัน เดิมสิพิจารณาเห็นโทษ ติเตียนวาเสียไมดีแลว เหตุไฉนเมื่อบริกรรม จึงชมวาดีประณีตเลา อาศัยเหตุผลเปนประการใดวิสัชนาวาเดิมนั้นเห็นวาตติยารูปหยาบ เห็นวาไม ละเอียดเหมือนเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน จึงละลวงเสีย ไมพอใจเขาสูตติยารูปฌานจิตนั้นปรารภ ปรารถนาที่จะเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ครั้นเมื่อจะดํารงจิตขึ้นสูเนวสัญญานาสัญญายตน ฌานนั้น หามีอารมณอันใดอันหนึ่งจะเปนที่ยึดหนวงไม จนเขาแลวก็กลับหนวงเอาตติยารูปเปน อารมณ กลับชมวาละเอียดในกาลเมื่อภายหลังเปรียบเหมือนขาหลวงอันพิจารณาเห็นโทษแหง พระมหากษัตริย แลบาวอันพิจารณาเห็นโทษแหงนายวานายหาศีลหาสัตยบมิได กอปรดวยกาย สมาจาร แลวจีสมาจาร แลมโนสมาจารอันหยาบชาทารุณ ติเตียนวาเจานายเรานี้ไมดีกระทําความชั่ว หยาบชาดังนี้ ๆ เมื่อเห็นวาไมดีแลวจะหาที่พึ้งอื่นเลย ชั่ว ๆ ดี ๆ ก็จําเปนเขาไปสูหาสมาคมแตพอได อาศัยเลี้ยงชีวิตอันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรผูจําเริญเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น เมื่อพิจารณาเห็นโทษแหงตติยารูปจิตวา ตติยารูปจิตนั้นหยาบแลวจะหาอารมณที่ละเอียด วาตติยารูปจิตที่หาบมิได จนใจแลวก็กลับยึดหนวงเอาตติยารูปจิตเปนอารมณ กลับชมวาละเอียด ประณีตบรรจงมีอุปไมยดังนั้น อารุฬฺโห อารุฬฺโห ทีฆนิสฺเสณี ยถา ถามิดังนั้นเปรียบเหมือนบุคคล อันขึ้นบันไดที่ยาวขึ้นไป ๆ ไมมีอันใดจะเปนที่ยึดที่หนวง เหลียวซายแลขวาที่ยึดที่หนวงบมิได ก็กลับ ยึดบันไดนั้นเอง ถามิดังนั้น ปพฺพตฺจ อารุฬฺโห เปรียบเหมือนบุคคลอันขึ้นสูมิสกบรรพต ขึ้นเขา อันแลวไปดวยศิลาเจือกันเมื่อขึ้นไป ๆ ไมมีตนไมเครือเขาเถาวัลยจะยึดจะหนวงแลว บุคคลผูนั้นก็ยึด หนวงเอายอดแหงภูเขานั้นเอาเปนที่ดํารงกาย ถามิดังนั้น ยถา คิริมารุฬฺโห เปรียบเหมือนบุคคลที่ ขึ้นสูเขาดวยศิลา ธรรมดาวาเขาศิลานี้มักกําชับดําเนินไดดวยลําพังกาย ถึงกระนั้นก็ดี เมื่อดําเนินสูงขึ้นไป ๆ ก็ไดอาศัยเทาเขาแหงตน ไดอาศัยกรานเขาแหงตน อันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรปรารถนาจะเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ก็ไดอาศัยยึด หนวงตติยารูป ไดเทาไดกรานไดยึดไดหนวง ตติยารูปวิญญาณจึงอาจจะเขาเนวสัญญานาสัญญายตน ฌาน ไดสําเร็จในรถความปรารถนามีอุปไมยดังนั้น ฯ วินิจฉัยในอรูปกรรมฐานยุติเทานี้

อาทานิ อรูปานนฺตรํ เอกสฺญาติ เอวํ อุทิฏาย อาหาเรปฏิกูล สฺญาย ภาวนานิทฺ เทโส อนุปปฺตฺโต บัดนี้ภาวนานิเทสแหงอาหารปฏิกูลสัญญามาถึงแลว ขาพระพุทธเจาชื่อวาพุทธ โฆษาจารย จะสําแดงพิธีแหงอาหารปฏิกูลสัญญา แกบทมาติกาคือ เอาสัญญาที่ขาพระพุทธเจา สําแดงไวโดยยอนั้น จะวิสัชนาออกใหพิศดารในลําดับแหงอรูปกรรมฐานทั้ง ๔ ประการ เหตุไฉนจึงได ชื่อวา วิสัชนาวาธรรมชาติอันชื่อวาอาหารนั้น ดวยอรรถวานํามาซึ่งวัตถุอันสมควรจะนํามาอธิบายวา ธรรมชาติอันใดมีกิริยาอันนํามาเปนธุระ มีกิริยาอันนํามาเปนกิจธรรมชาติอันนั้น แลไดชื่อวาอาหาร โส จตุพฺพิโธ ถาจะสําแดงโดยสรุป อาหารนั้นมี ๔ ประการ คือกวฬิงการาหารประการ ๑ ผัสสาหาร ประการ ๑ มโนสัญเจตนาหารประการ ๑ วิญญาณาหารประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกันดังนี้ กวฬิงการาหารนั้นไดแกของบริโภคเปนตนวา ขาว น้ํา ขนม ของกินอันบุคคลกระทําเปน คําแลวแลกลืนกิน ผัสสาหารนั้นไดแกผัสสาเจตสิกอันมีลักษณะใหถูกตอง ซึ่งอารมณมโนสัญเจตนา หารนั้นไดแกอกุศลจิต ๑๒ จิตโลกิยกุศลจิต ๑๗ จิตวิญญาณาหารนั้น ไดแกปฏิสนธิจิต โก ปเนตฺถ กึ อาหรติ จึงมีคําปุจฉาวาอาหาร ๔ ประการนั้นแตละสิ่ง ๆ นั้น มีพนักงานประมวลเอาสิ่งอันใดมา นําเอาสิ่งอันใดมา วิสัชนาวา กวฬิงการาหารนั้นนํามาซึ่งรูปกาย มีโอชะเปนคํารบ ๘ ผัสสาหารนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 96 นํามาซึ่งเวทนา ๓ คือ สุขเวทนาและทุกขเวทนา แลอุเบกขาเวทนา มโนสัญเจตนาหารนั้น นํามาซึ่ง ปฏิสนธิจิต ใหประดิษฐานอยูในภพทั้ง ๓ วิญญาณาหารนั้น นํามาซึ่งกัมมัชชรูปแลเวทนาทิตยขันธ ในขณะเมื่อตั้งปฏิสนธิ แลอาหาร ๔ ประการนี้ แตลวนเปนใหตองทุกข ตองภัยตองอุปทอันตรายตาง ๆ เปนอเนกบรรยาย เมื่อสติปญญาพิจารณาโดยละเอียดแลว แตละสิ่ง ๆ นั้นนาสะดุงนากลัวหนักหนา สภาวะมี ความรักความยินดีในการที่จะบริโภค อดกลั้นทนทานมิไดลุอํานาจแกรสตัณหา นี่แลไดชื่อวาภัย บังเกิดแตความยินดีในกวฬิงการาหาร ขึ้นชื่อวายินดีในกวฬิงการาหารนี้ มีภัยมากกวามากนัก เมื่อ ปราศจากสติปญญาหาความพิจารณาบมิได ก็เพิกเฉยอยู อยางประหนึ่งวามีความยินดีในอาหารนั้นหา ภัยมิไดตอมีสติปญญาพิจารณาละเอียดไป จึงจะเห็นวาความยินดีในกวฬิงการาหารนั้น กอปรดวยภัย อันพิลึกควรจะสะดุงตกประหมา ผสฺสาหาเร อุปคมนฺ ภยํ ฝายผัสสาหารนั้นเลา ก็กอปรดวยภัยเหมือนกันกับกวฬิงการา หาร กิริยาที่เขาไปใกลนั้นแลเปนภัยในผัสสาหารอธิบายวา อาการที่มิไดสํารวมอินทรียลุอํานาจแก ความปรารถนา ยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส แลสัมผัสในที่อันบมิควรจะดูจะฟง สุด ดม แลลิ้มเลียสัมผัส นี้แลไดชื่อวาภัยบังเกิดแตกิริยาที่เขาไปผัสสาหาร เมื่อประมาทอยูไมพิจารณาก็เห็นวา ผัสสาหารนั้น หาภัย บมิไดเมื่อพิจารณา ใหละเอียดก็ประกอบไปดวยภัยอันพิลึก มโนสฺเจตนาหาเร อุปฺปตฺติ ภยํ ฝายมโนสัญเจตนาหารนั้นเลา ก็ประกอบดวยภัยอันพิลึกยิ่งขึ้นไปกวาผัสสาหารนั่นรอยเทา กิริยา ที่ใหบังเกิดภพนี้เปนภัยในมโนสัญเจตนาหาร อธิยายวาสัตวทั้งหลายอันจะเวียนวายอยูในกระแสชลา โลก โอฆสงสารนับชาติมากกวามากอเนกอนันต ทั้งนี้ก็อาศัยแกมโนสัญเจตนาหารนั้น แลตกแหงให บังเกิดอาหารที่มโนสัญเจตนาหารกระทําใหเวียนเกิดอยูในภพ ใหชาถึงพระนิพพานนั้นนากลัว สุดกําลัง วิฺญาณาหาเร ปฏิสนฺธิ ภยํ กิริยาที่ตั้งปฏิสนธิในกําเนิดทั้ง ๔ นั้นแลเปนภัยใน วิญญาณาหารอธิบายวาสัตวทั้งหลายไดทุกขไดยากไดความลําบาก ก็อาศัยแกวิญญาณาหารนั้นแล เปนตนเปนเดิม นักปราชญผูมีปญญาพึงพิจารณาใหเห็นในภัยทั้ง ๔ ประการ โดยนัยดังพรรณนามา นี้ กวฬิงฺการาหาโร ปุตฺตมํสูปเมน กวฬิงการาหารของบริโภคมีขาวน้ําเปนอาทินั้น นักปราชญพึง ปลงปญญาใหเห็นโดยอุปมาเหมือนดวยเนื้อแหงบุตร อาการซึ่งเสพกวฬิงการาหารนั้นพึงปลงปญญา ใหเห็นวาเหมือนบริโภคเนื้อบุตร กิร ดังไดยินมาผัวมีพอแมลูก ๓ คนพากันมาในมรรคากันดาร เมื่อ สิ้นเสบียงอาหารแลว และยังขามทางกันดารไปมิพน ผัวเมีย ๒ คนก็จนใจ ขะขวนขวายหาอาหารสิ่ง อื่น ๆ ก็หาไมได หิวโหยอิดโรยนักแลวก็ฆาบุตรนั้นเสียกับทั้งรัก ขณะเมื่อดินเนื้อแหงบุตรนั้นจะมีความ ยินดีปรีดาแตสักหนอยหาบมิไดจําเปนจํากิน กินแตพอใหมีแรงเดินขามทางกันดาร อันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรกุลบุตรผูเสพกวฬิงการาหารนั้น ก็พึงปลงปญญาพิจารณาอาหารนั้นใหเห็น ปรากฏเหมือนดวยเนื้อแหงบุตร อาการที่เสพกวฬิงการาหารนั้นพึงปลงปญญาใหเห็นวา เหมือน บริโภคเนื้อแหงบุตร อยาไดมีความยินดีในอาหารพึงเสพอาหารแตใหพอมีกําลังที่จะตั้งสติอารมณ บําเพ็ญสมณธรรมเอาเยี่ยงผัวเมีย ๒ คน ที่จําเปนจํากินเนื้อลูกแหงตนแตจะใหมีแรงจะไดขามแกง กันดารนั้น ผสฺสาหาโร นิจมฺมคาวูปเมน และผัสสาหารนั้นนักปราชญพึงปลงปญญาใหเห็นโดย อุปมาวาเหมือนดัวยโคอันหาหนังมิได อารมณทั้ง ๕ มีรูปเปนอาทิอันมากระทบประสาทนั้น นักปราชญพึงปลงปญญาใหเห็นวา นกตะกรุมและเหยี่ยวอันบินมาเพื่อประโยชนจะสับจะเฉี่ยวจิกทึ้ง ดังไดยินมา โคอันหาหนังมิไดมีหัวอันอาบไปดวยบุพโพหิตลําบากเวทนาอยูนั้นถาเหลือบเห็นตะกรุม และแรงเห็นกาและเห็นเหยี่ยวบินมาแตไกล ก็ยอมตระหนกตกใจเหลียวหนาเหลียวหลัง เซซังเขาไป ในที่กําบังรักษาตัวกลัวนกตะกรุมและแรงจะยื้อแยงจะทึ้งจะลาก กลัวกาและเหยี่ยวจะสับจะเฉี่ยวจะจิก เจาะอันนี้แลมีฉันใด พระโยคาพจรกุลบุตรก็พึงตั้งสติสัมปชัญญะเปนที่ปดบังจักขวาทิอินทรีย รักษา ตัวพึงกลัวแตอารมณมีรูปเปนตนมากระทบประสาทนั้น ใหเหมือนประดุจโคหาหนังบมิไดกลัวแกแรง กา เปนอาทินั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 97 มโนสฺเจตนาหาโร องฺคารกาสูปเมน มโนสัญเจตนาหาร คือกุศลากุศลกรรมอันเปน เจาพนักงานตกแตงใหเวียนเกิดอยูในภพทั้ง ๓ นั้น นักปราชญพึงปลงปญญาใหเห็นโดยอุปมาเหมือน ดวยขุมถานเพลิง กิริยาที่เวียนเกิดอยูในภพนั้น พึงพิจารณาใหเห็นวา เหมือนดวยกิริยาที่สัตว ทั้งหลายอยูในขุมถานเพลิงอันใหญ ธรรมดาวาสัตวอันตกอยูในขุมถานเพลิงอันใหญรุงเรืองเปนเปลว นั้น ยอมมีกรัชกายพุพองเปอยพังยุยเปนฝุนเปนเถาหาบัญญัติมิไดแลมีฉันใด สัตวทั้งหลายที่เวียนเกิด อยูในภพนั้นก็พินาศฉิบหายดวยชาติทุกขเปนอาทิ ถึงซึ่งภาวะหาบัญญัติมิได มีอุปไมยดังนี้ ผูมีปญญา พึงเกรงพึงกลัวแตกิริยาที่จะบังเกิดในภพทั้ง ๓ ใหเหมือนกลัวภัยในขุมถานเพลิงนั้น วิฺญาณาหาโร สตฺตูปเมน และวิญญาณาหารคือปฏิสนธิวิญญาณทั้ง ๑๙ จิตนั้น นักปราชญพึงปลงปญญาใหเห็นโดยอุปมาวาเหมือนดวยหอกอันใหญ กิริยาที่สัตวทั้งหลายปฏิสนธิใน กําเนิดทั้ง ๔ ประการนั้น นักปราชญพึงปลงปญญาใหเห็นวา เหมือนดวยกิริยาที่นักโทษที่ตองหอก ใหญแหงนายเพชฌฆาตแตอกตลอดหลัง นักโทษที่ตองหอกใหญนั้นมีแตทุกขเปนเบื้องหนา ฉันใดก็ ดี สัตวที่ถือเอาปฏิสนธิในกําเนิดทั้ง ๔ นั้นจําเดิมแตตั้งปฏิสนธิแลวก็มีแตความลําบากเวทนาเปนเบื้อง หนา มีแตมรณาเปนเบื้องหนา มีอุปไมยดังนั้น ผูมีปญญาเรงเกรงกลัวเเตปฏิสนธิจงหนักหนาอยาไดไว เนื้อเชื่อใจแกปฏิสนธินั้นเลย ปฏิสนธินี้มิใชอื่นใชไกลคือดอกไมแหงกิเลสมาร มารนําเอามาลอมาลวง สัตววามาเถิด ๆ มาเถิดที่นี่เถิด มีความสุขมากจะไดเชยชมสมบัติเปนบรมสุข ไปนิพพานนั้นสูญไป เปลา ๆ หาไดเชยชมสมบัติอันใดอันหนึ่งไม กิเลสมารลวงสัตวทั้งปวงดวยการทั้งปวงดังนี้ สัตวที่เปนพาลหาปญญาบมิไดก็สําคัญวาจริง มาตรแมนวามีศรัทธาทําบุญใหทานก็ตั้ง หนาปรารถนามนุษยสมบัติ จะไดปรารถนาพระนิพพานสมบัติหาบมิได เขาใจวาพระนิพพานสูญไป เปลา ๆ หาสนุกสบายไมตกหลงเลหกลแหงกิเลสมาร ๆ ลวงใหหลง แตพอใหปฏิสนธิลงเขาขายเขา รั้วแหงตนเห็นวาหนีไมพนจากวิสัยแหงตนแลว ทีนั้นกิเลสมารก็ปลอยทหารพญามัจจุราชทั้ง ๒ คือ ชราทุกข และพยาธิทุกขนั้นเขาและเล็บทุบตอยทีละนอย ๆ ทวีขึ้น ๆ เททุมรุมรันจนยับเยินเฉินชุกตี จนลุกไมขึ้นแลวภายหลังพญามัชจุราชก็มาฟาดฟนบั่นศีรษะใหขาดสิ้นชีวิตอินทรีย ทั้งนี้ก็อาศัยแก วิญญาณาหาร คือปฏิสนธิจิตนั้นแลเปนตนเปนเดิม เหตุฉะนี้ผูมีปญญาเรงเกรงกลัวแตปฏิสนธินั้นจน หนักหนา พึงแสวงหาพระนิพพานเปนเบื้องหนาอยาไดหลงเลหหลงกลแหงกิเลสมาร และอาหาร ๔ ประการ มีนัยดังวิสัชนามานี้ นักปราชญพึงสัญนิษฐานวา ในหองพระกัมมัฏฐานอาหารปฏิกูลสัญญานี้ เฉพาะยกขึ้นวิสัชนาแตกวฬิงการาหารสิ่งเดียว อาหาร ๓ ประการนั้นจะไดยกขึ้น วิสัชนาในหองพระ กัมมัฏฐานอาหารปฏิกูลสัญญาหาบมิได ตํ อาหาเร ปฏิกูลสฺญํ ภาเวตุกาเมน พระโยคาพจรผูมีศรัทธาปรารถนาจะจําเริญพระ กัมมัฏฐานอันชื่อวาอาหารปฏิกูลสัญญานั้น พึงเรียนเอาพิธีที่จะพิจารณาอาหารปฏิกูลนั้นใหชํานิ ชํานาญ อยาใหพลั้งใหพลาด มาตรแมวาแตบทอันหนึ่งอยาใหผิด รโหคเตน เขาไปในที่สงัดอยูแต ผูเดียวแลวพึงพิจารณากวฬิงการาหารดวยอาการปฏิกูล ๑๐ ประการ คมนโต คือปฏกูลในกิริยาที่ เดินไปนั้นประการ ๑ ปริเยสนโต คือปฏิกูลในกิริยาอันแสวงหานั้นประการ ๑ ปริโภคโต คือปฏิกูล ในกิริยาที่บริโภคนั้นประการ ๑ อาสยโต คือปฏิกูลในประเทศที่อยูแหงอาหารนั้นประการ ๑ นิธาน โต คือปฏิกูลดวยกิริยาอันสั่งสมอยูนานนั้นประการ ๑ อปริปกฺกโต คือปฏิกูลในกาลเมื่อยังมิได ยอยประการ ๑ ปริปกฺกฌค คือปฏิกูลในกาลเมื่อยอยออกแลวประการ ๑ ผลโต คือปฏิกูลโดยผล ประการ ๑ นิสสนฺทโต คือปฏิกูลในกาลเมื่อไหลหลั่งออกมานั้นประการ ๑ สมฺมกฺขนฺโต คือปฏิกูล ดวยกิริยาที่กระทําใหแปดเปอนนั้นประการ ๑ เปน ๑๐ ประการดวยกัน กถํ คมนโต ขอซึ่งใหพิจารณาปฏิกูลในกิริยาที่เดินไปนั้น จะใหพิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรกุลบุตรปลงปญญาใหเห็นธรรมสังเวชวา มหานุภาเวน นาม สาส เน อาตมานี้ เปนบรรพชิตบวชในพระบวรพุทธศาสนาแหงสมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจาอัน มากดวยพระเดชพระคุณมาก ดวยศักดานุภาพล้ําเลิศประเสริฐ หาผูจะเปรียบปานบมิได พุทฺธว จนสชฺฌายํ วา อาตมานี้ บางคาบก็สังวัธยายพระพุทธวจนะอันเปนพระไตรปฏกสิ้นราตรียังรุง บาง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 98 คาบก็บําเพ็ญสมณธรรมจําเริญพระสมถกัมมัฏฐาน อุทัยสองแสงทิพากร

พระวิปสสนากัมมัฏฐานตราบเทาถึงเพลาพระสุริย

กาลสฺเสววุฏฐาย เพลาเชาลุกขากอาสนแลว อาตมานี้ก็ไปสูลานพระเจดีย พระศรีมหา โพธิ์ กระทําวัตตปฏิบัติกวาดเสร็จแลว อาตมาก็ตั้งไวซึ่งน้ําใชและน้ําฉัน กวาดแผวอาวาสบริเวณที่อยู แหงตนแลวก็ขึ้นสูอาสนะกระทํามนสิการระลึกพระกัมมัฏฐาน ๒๐ คนบาง ๓๐ คนบาง โดยอันสมควร แกอัธยาศัย เสนาสนะที่กระทําเพียรแหงอาตมานี้กอปรดวยรมไมและสระน้ํา จะอาบจะฉันเปนผาสุก ภาพบมิไดขัดเคืองดวยอุทกังไมมีมนุษยหญิงชายละเลาละลุม สงบสงัดปราศจากโทษ สมควรที่จะ บังเกิดวิเวกสุขเสนาสนะอันเปนที่สนุกบรมสุขถึงเพียงนี้ ควรแลหรืออาตมาสละละเมิดเสียได ไม เอื้อเฟออาลัยฌานาทิวิเวกเอาบาตรและจีวรบายหนาเฉพาะบานไปเพื่อประโยชนดวยอาหาร เปรียบ ตอสุนัขจิ้งจอกอันบายหนาสูปาชา เพื่อประโยชนจะกินกเฬวระซากอสุภะ ควรจะอนิจจังสังเวชนี้หนัก หนา จําเดิมแตอาตมาเฉพาะหนาสูบานและยางเทาลงจากเตียง และตั้งเหยียบเหนือบรรจถรณเครื่อง ลาดนั้น เทาแหงอาตมาก็จะแปดเปอนผลคุลีละอองเถาแปดเปอนไปดวยมูตรและคูถแสลงสาบเปน อาทิ เหม็นรายเหม็นกาจจําเดิมแตยางบาทจากหองในดําเนินออกไปถึงหนามุขกุฏินั้น เทาแหงอาตมา ก็แปดเปอนดวยลามก เปนตนวาขี้นกขี้คางคาว ปฏิกูลยิ่งขึ้นไปกวาภายในหองนั้นเปน ๒ เทา ๓ เทา ตโต เหฏิมตลํ เมื่อออกจากหนามุขแลวและลงไปถึงพื้นเบื้องต่ํา เทาแหงอาตมาก็แปด เปอนไปดวยลามก เปนตนวาขี้นกเคาและขี้นกพิราบ โสโครกยิ่งขึ้นไปกวาหนามุขนั้นเปน ๒ เทา ๓ เทาอีกเลา ยิ่งลงจากพื้นเบื้องต่ําแลว และดําเนินออกไปถึงบริเวณจังหวัดอาวาสกุฎินั้น ก็ยิ่งโสโครก ปฏิกูลและพึงเกลียดโดยพิเศษมากขึ้นไปกวาพื้นเบื้องต่ํานั้นหลายสวนหลายเทาในจังหวัดบริเวณนั้น โสโครกไปดวยหยากเยื่อเชื้อฝอย ใบไมเกา ๆ อันลมพายุพัดใหตกเรี่ยรายกระจายอยูในสถานที่ที่นั้น ๆ เดียรดาษกลาดเกลื่อน ไหนจะโสโครกดวยมูตรและคูภเสมหะและเขฬะ อันภิกษุหนุมและสามเณรที่ เปนไขไปมิทันถายลงไวถมลงไวนั้นเลาเหม็นเนาเหม็นโขง นารังเกียจเกลียดอายหนักหนา วสฺสกาเล เมื่อเทศกาลวัสสันตฤดูฝนตกหนักนั้น ก็เปนเปอกเปนตมตองเหยียบตองย่ํา เปนทั้งนี้ก็เพราะอาศัยมีประโยชนดวยอาหารนั้นเปนเดิมอดอยูมิได ตองลุยไปในน้ําเนาและอสุจิลามก นาสมเพชเวทนา ปฏิกุลตรา วิหารรจฺฉา ยิ่งออกไปถึงซอยตรอกวิหารนั้น ก็ยิ่งปฏิกูลลามากขึ้นไป กวานั้นเปนสวนหลายเทา เมื่ออาตมาดําเนินไปโดยลําดับยกมือขึ้นนมัสการพระเจดียพระศรีมหาโพธ แลว อาตมาก็เขาไปยืนในโรงวิตกลามกอันเปนโรคสําหรับพระภิกษุถือบิณฑบาตสันโดษไปยืนวิตกวา วันนี้อาตมาจะไปบิณฑบาตในบานนั้นสกุลนั้น ธรรมดาพระภิกษุผูถือบิณฑบาตสันโดษนั้นยอมเฉพาะ วิตกที่บิณฑบาต แตในขณะเมื่อยืนอยูในโรงวิตกเพลาเดียว นอกกวานั้นก็ตั้งหนาเฉพาะตอพระ กัมมัฏฐาน วิตกอยูแตในพระกัมมัฏฐานจะไดวิตกอยูดวยบิณฑบาตในเพลาอื่น ๆ นอกจากเพลาที่ยืน อยูในโรงวิตกนั้นหาบมิไดอาศัยเหตุฉะนี้ พระภิกษุผูพิจารณาอาหารปฏิกูลนั้น พึงปลงธรรมสังเวช พิจารณาวา เมื่ออาตมาเขาไปยืนอยูในโรงวิตก ๆ ถึงบานสกุลที่จะไปบิณฑบาตนั้นแล อาตมาก็บาย หนาออกจากวิหารละเสียซึ่งพระเจดียอันงามประดุจกองแกวมุกดา ละเสียซึ่งไมพระศรีมหาโพธิ์อัน งามประดุจกําแหงนกยูง ละเสียซึ่งเสนาสนะอันบริบูรณดวยสิริประดุจทิพยพิมาน ใหหลงแกประเทศที่ รโหฐานสนุกสบายจะอยูมิได จําเปนจําไปเพราะเหตุมีประโยชนดวยอาหาร คามมคฺคํ ปฏิปนฺเนน กาลเมื่อดําเนินไปในมรรคาอันจะเขาไปสูบาน บางคาบก็เหยียบ เสี้ยนเหยียบหนาม บางคาบก็สะดุดตอไมและหัวระแหง บางคาบก็เหยียบย่ําประเทศอันมีน้ําเปนตม เปนเปอก บางคาบก็ขามประเทศอันน้ําเซาะหักพังลง ลุม ๆ ดอน ๆ ไมควรที่จะไปก็จะไปก็ไปได นา สังเวชเวทนา ถึงกายอาตมานี้ก็โสโครกกายนี้เหมือนดังรางอัฐิ สบงที่นุงนี้เหมือนผาปด ฝแผล รัด ประคตพันสะเอวนี้เหมือนทองผาพันแผลฝ จีวรที่หมนี้เหมือนผาที่ปกคลุมรางอัฐิ บาตรที่ถือมาเพื่อจะ บิณฑบาตนี้ เหมือนกระเบื้องสําหรับจะไดใสยารักษาฝ ยิ่งพิจารณาใหละเอียดก็ยิ่งพึงเหลียดพึงชังนี่ นักหนา คามทฺวารสฺมึป ปาปุณนฺเตน กาลเมื่ออาตมาไปถึงที่ใกลปนะตูบาน อาตมาก็ไดเห็นซาก ชางซากมาซากโคซากกระบือซากงูซากสุนัขซากมนุษย ทอดทิ้งกลิ้งอยูเหม็นขื่นเหม็น อาเกียรณไป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 99 ดวยแมลงวันและหมูหนอนสุนัขเรงกายื้อคราจิกสับเหม็นจับจมูกจับใจ แทบประหนึ่งวาจะทนจะราก ถึงนั้นก็ยอมอดกลั้นจําทนจําทาน เพราะเหตุจะใครไดอาหารไปเลี้ยงชีวิต คามทฺวาเร ตฺวา กาลเมื่อไปถึงประตูบานยืนอยูแทบประตูบานนั้น ใครจะตรงเขาไปบาน ไดงาย ๆ เมื่อไรตองดูซายดูขวา แลดูตรอกบานขางโนนขางนี้เพื่อวาชางรายมารายมันอยูในตรอกนั้น เห็นแลวจะไดหลีกจะไดเลี่ยงจะไดหลบไดหนีเสียแตหาง ๆ ตกวาตองระวังเนื้อระวังตัวนี้ทุกแหงทุก ตําบล กวาจะไปไดถึงที่ภิกษาจารนี้ลําบากยากนักหนา อาการอันพิจารณากิริยาที่ตนลําบากเปนดวย เหตุดวยอาการจําเดิมแตยางเทาลงจากเตียงตราบเทาถึงประตูบานที่เที่ยวภิกขาจารนี้ ไดชื่อวา พิจารณาอาหารอาหารปฏิกูลในกิริยาที่เดินไป เพื่อประโยชนดวยอาหาร กถํ ปริเยสนโต แลขอซึ่ง วาใหพิจารณาอาหารปฏิกูล ในกิริยาที่เที่ยวแสวงหาอาหารนั้นจะใหพิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรปลงปญญาใหเห็นธรรมสังเวชวา เมื่ออาตมาอดกลั้นทนทานที่เหม็น จําเดิมแตแรก ลงจากเตียงดําเนินไปตราบเทาถึงประตูบานที่ภิกขาจารนั้นแลว คามํ ปวิฏเน สงฺฆาฏิ ปารุป เตน ในกาลเมื่อเขาไปในบานนั้นอาตมาจะหมผาอันตัดเปนขันฑผาหมของอาตมานี้ฉีกตัดเปนบั่น ๆ ทอน ๆ และเย็บติด ๆ กัน ไดนามบัญญัติชื่อวาผาสังฆาฏิ กปณเมนุสฺเสน วิย เมื่อพิจารณาดูกายแหงอาตมานี้ เหมือนคนกําพราจริง ๆ ดูผาหม แหงอาตมานี้เลาก็เหมือนผาหมคนกําพรา ดูบาตรนี้เลาก็เหมือนกระเบื้องเกาที่คนกําพราถือเที่ยว ภิกขาจาร อาการที่อาตมาเที่ยวไปในคามวิถีบานโดยลําดับ ๆ แหงตระกูลนั้น จะไดแปลกกันกับอาการ ที่คนกําพราเที่ยวขอทานหาบมิได วสฺสกาเล กาลเมื่อถึงวัสสันตฤดูฝนตกหนักเหยียบลงที่ไหนเปน โคลนที่นั่น น้ําตมนั้นกระเด็นขึ้นเปอนแขงขาผานุงผาหม ตองหยิบชายจีวรขึ้นไวดวยมือขางหนึ่ง มือ ขางหนึ่งนั้นถือบาตรลําบากยากกายนักหนาถึงเพียงนี้อาตมายังอุตสาหะไปเที่ยวได เปนเหตุดวย อาหาร คิมฺหกาเล เมื่อถึงเทศกาลฤดูรอนนั้นเลาตัวอาตมานี้อาเกียรณไปดวยผงธุลี ละอองธุลี ๆ นั้น ปลิวจับศีรษะตราบเทาถึงบาทาลมพัดผานฟุงเขาหูเขาตา ผานุงผาหมนี้เต็มไปดวยผงคุลีนาสังเวช เวทนา ตํ ตํ เคหทฺวารํ ปตฺวา เมื่อไปถึงประตูเรือนนั้น บางคาบก็ยืนเหยียบในประเทศที่เทน้ําซาว ขาว บางคาบก็ไปยืนในประเทศอันเปอนไปดวยน้ํามูกน้ําลาย เปอนไปดวยคูถสุนัข คูถสุกร บางคาบก็ ไปยืนในที่น้ําครํา อันอาเกียรณไปดวยแมลงวันดํา แมลงวันเขียวแมลงวันทั้งหลายบินจับศีรษะจับผา จับบาตร เกจิ เทนฺติ เกจิ น เทนฺติ เจาของเรือนนั้นครั้นเห็นอาตมาไปยืนบิณฑบาต บางคนก็กระทํา ทาน บางคนก็ไมทําทาน บางทีก็ให บางทีก็ไมให กาลเมื่อใหนั้นบางคนก็ใหขาวสุกแรมคืนบูด ๆ แฉะ ๆ บางคนก็ใหของกัดที่เกา ๆ รา ๆ บางคนก็ใหขนมบูดแกงบูดผักบูด อทฺทมานา กาลเมื่อหาศรัทธา บมิไดไมทําทานแลว บางคนก็บอกวาไปโปรดสัตวขางหนาเถิด บางคนก็เพิกเฉยนิ่งเสีย กระทําอยาง ประหนึ่งวาหาเห็นไม บางทีเห็นแลวเมินเสียไมมองดูหนา บางคนก็กลาวหยาบชาวา คจฺฉ เร มุณฺฑก ดูกรคนศีรษะโกนโลนรายไปเสียใหพนอยามายืนกีดขวางอยูที่นี่ตกวาตองทนสูทาน จําเดิม แตเขาสูประตูบานมาตราบเทาจนออกจากบานทั้งนี้ก็มีประโยชนดวยอาหาร คมนโต นักปราชญพึงสันนิษฐานวา อาการที่พระโยคาพจร ปลงธรรมสังเวชพิจารณา กิริยาที่ตนลําบากเปนเหตุดวยอาหาร จําเดิมแตยางเขาประตูบานไปตราบเทาถึงออกจากบาน นี่แลได ชื่อวพิจารณาปฏิกูลในกิริยาที่เที่ยวแสวงหา กถํ ปริโภคโต แลขอซึ่งวาใหพระโยคาพจรปลงปญญา พิจารณาอาหารปฏิกูล ในกิริยาที่ปริโภคนั้น จะใหพิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจร ปลงปญหาใหเห็นธรรมสังเวชวา เมื่ออาตมาเที่ยวแสวงหาอาหารโดยอาการปฏิกูลดุจพรรณนานั้น ได จังหันพอเปนยาปนมัตต ออกจากบานไปนั่งในประเทศอันเปนสุขภายนอกบานนั้นแลวถาอาตมายังบ มิไดลงมือฉันจังหันนั้นตัวยังมิไดจับไดตอง เห็นมนุษยที่เปนอาคันตุกะเดินมา เห็นภิกษุที่ควรจะเปน ครูอาจารยเดินมา และจะเรียกหาจะเชิญใหบริโภคจะนิมนตใหฉันนั้นก็ยังสมควรอยูเพราะเหตุวา จังหันนั้นยังมิไดจับไดตอง ยังไมเปนอาหารปฏิกูลไปกอน ถาไดลงมือฉันอยูแลวไดจับไดตองแลว และจะนิมนตทานผูเปนอาคันตุกะใหฉันนั้นยังเปนที่ละอายอยูหาสมควรไม เหตุวาจังหันที่ไดลงมือฉัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 100 ไดจับตองแลวนั้นเปนอาหารปฏิกูล กาลเมื่ออาตมาลงมือฉัน แลปนอาหารเขาเปนกอน ๆ เปนคํา ๆ กระทําใหเสียพรรณ ปราศจากงามเห็นปานดังนั้น เมื่ออาตมาหยิบเอามาวางลงในปาก กระทําฟนเบื้องบนเปนสาก กระทําฟนเบื้องต่ําเปน ครก กระทําลิ้นเปนมือ กระหวัดกลับกลอกคําขาวใหแหลกกออกดวยครกแลสากคือฟนเบื้องบนเบื้อง ต่ํานั้น เมื่อพิจารณาใหละเอียด นาพึงเกลียดพึงชัง นาอนิจจังสังเวชนี่นักหนา อาหารนั้น แตพอตกถึง ปลายลิ้นที่ชุมไปดวยน้ําลายอันเหลวเขาไปถึงกลางลิ้นก็นุมไปดวยน้ําลายอันขน มลทินอันติดอยูใน ทันตประเทศที่ไมสีฟนสีไปถึงนั้นก็ติดฟนแปดเปอน กระทําใหอาหารนั้นเสียกลิ่นสีในขณะบัดเดี๋ยวใจ มาตรแมวาเปนอาหารประณีตกอปรดวยเครื่องปรุงอันพิเศษเปนประการใด ๆ ก็ดี ที่จะไดคงสีคงกลิ่น คงดีอยูเปนปกตินั้นหาบมิได ปรมเชคุจฺฉภาวํ อุปคจฺฉติ อาหารนั้นถึงซึ่งภาวนาพึงเหลียดพึงชัง ประดุจรากสุนัขอันอยูในราง อชฺโฌหริตพฺโพ อาหารที่อยูในปากนี้ เราทานทั้งปวงกลากลืนกินอยู ไดนั้น อาศัยไมเห็นดวยจักษุไมปรากฏแกจักษุ ถาปรากฏแกจักษุแลว แตสักคําเดียวก็บมิอาจที่จะ กลืนเขาไปได เอวํ ปริโภคโต ปฏิกุลตา ปจฺจเวกฺขิตพฺพา พระโยคาพจรจึงปลงธรรมสังเวช พิจารณาอาหารปฏิกูลในกิริยาที่บริโภคโดยนัยดังพรรณฉะนี้ กถํ อาสยโต แลขอซึ่งวาใหพระโยคาพจรผูมีปญญา พิจารณาปฏิกูลในประเทศที่อยูแหง อาหารนั้นจะใหพิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวาใหพระโยคาพจรปลงธรรมสังเวชพิจารณาวา อาหาร ที่อาตมาบริโภคกอปรดวยอาการปฏิกูลแลเห็นปานฉะนี้ เมื่อเขาไปตั้งอยูในกระเพาะอาหารภายใน อุทรประเทศนั้น ก็ยิ่งโสโครกยิ่งปฏิกูลมากขึ้นไปหลายสวนหลายเทา ประเทศที่อาหารตั้งอยูนั้นนาม บัญญัติชื่อวา อาสยะ ตางกันโดยประเภท ๔ ประการ คือ ปตตาสยะประการ ๑ เสมหาสยะประการ ๑ บุพพาสยะประการ ๑ โลหิตสยะประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกันดังนี้ ที่อยูแหงอาการไดชื่อวาปต ตาสยะนั้นดวยอรรถวาเปนที่ขังอยูแหงน้ําดี ไดชื่อวาเสมหาสยะนั้นดวยอรรถวาเปนที่ขังอยูแหงน้ํา หนองไดชื่อวาบุพพสายะนั้น ดวยอรรถวาเปนที่ขังอยูแหงโลหิตน้ําเลือดน้ําหนอง น้ําดีน้ําเสมหะนี้อยาวาแตเราทานที่ เปนสามัญ บุคคลนี้เลยสํามะหาแตสมเด็จพระพุทธเจาประปจเจกพุทธโพธิ์ บรมจักรพัตราธิราช ยังมี อาสนะอยูสิ่ง ๑ ๆ (มิดีก็เสมหะ มิเสมหะก็บุพโพ มิบุพโพก็โลหิต จํามีอยูสิ่ง ๑ ๆ ที่จะบริสุทธิ์ไปที่ เดียวนั้นหาบมิได ที่อยูแหงอาหารของทานผูมีบุญที่เดียวยังวาไมบริสุทธิ์ ยังมีอาสยะอยูสิ่ง ๑ ๆ ยัง โสโครกอยูถึงเพียงนี้ ก็จะปวยกลาวไปไยถึงคนบุญนอยนั้นเลา คนบุญนอยนี้มีอาสยะพรอมทั้ง ๔ ประการ ที่อยูแหงอาหารของคนบุญนอยนี้ อากูลดวยน้ําดีน้ําเสมหะน้ําบุพโพโลหิตพรอมทั้ง ๔ ประการ แตทวาบางคาบนั้นน้ําดีมากกวาเสมหะแลบุพโพโลหิต บางคาบเสมหะมากกวาน้ําดีแลบุพโพ โลหิต บางทีบุพโพมาก บางทีโลหิตมาก ถาน้ําดีมากอาหารนั้นก็โสโครกพึงเกลียดยิ่งนัก เปรียบดุจ ระคนดวยน้ํามันมะซางอันขน ถาเสมหะนั้นมาก อาหารนั้นก็พึงเกลียดโสโครกพึงเกลียดเปรียบประดุจ ระคนดวยน้ํากากะทิงแลน้ําใบแตงหนู ถาบุพโพนั้นมากอาหารนั้นก็โสโครกพึงเกลียด เปรียบดุจระคน ดวยน้ําเปรียงบูดเปรียงเนา ถาโลหิตนั้นมากอาหารนั้นก็โสโครกพึงเกลียด เปรียบดุจระคนดวยน้ํายอม พระโยคาพจรผูมีปญญาพึงปลงธรรมสังเวช พิจารณาอาหารปฏิกูลในประเทศที่อยูแหงอาหารดวย ประการฉะนี้ กถํ นิธานโต ขอซึ่งวาใหพระโยคาพจรพิจารณาอาหารปฏิกูล ดวยกิริยาที่สั่งสมอยูนาน นั้น จะใหพิจารณาประการใด วิสัชนาวาใหพระโยคาพจรพิจารณาวา อาสเยน มกฺขิโต อาหารอัน แปดเปอนไปดวยน้ําดีน้ําเสมหะน้ําบุพโพโลหิตเปนปานฉะนี้ เมื่อเขาไปสูอุทุรประเทศแลวจะไดอยูใน ภาชนะเงิน ภาชนะทอง ภาชนะแกว หาบมิได อาหารนั้นตั้งอยูในประเทศแหงไสใหญนั้นเกานั้นใหม ยอมออกแลวบางยังบมิไดยอยบาง เหม็นเนาเหม็นโขงสะสมอยู เปรียบประดุจคูถในเว็จกุฏีสะสมกัน นั้นเกานั้นใหม คูถในเว็จกุฏีนั้นสมสมอยูฉันใด อาหารอันตั้งอยูภายในไสก็สะสมนักมีอุปไมยดังนั้น แล อาการที่อาหารสะสมกันนั้น นักปราชญพึงกําหนดดวยอายุบุคคล ถาบุคคลอายุได ๑๐ ป อาหารก็พึง เกลียดเปรียบดุจอยูในหลุมคูถอันมิใชชําระเลยนานถึง ๑๐ ถาบุคคลนั้นอายุได ๒๐ ป ๓๐ ผี ๔๐ ป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 101 อาหารก็พึงเกลียดเปรียบประดุจอยูในหลุมคูถอันมิไดชําระนานถึง ๒๐ ป ๓๐ ป ๔๐ ป ถาบุคคลนั้น อายุได ๕๐ ป ๖๐ ป ๗๐ ป ๘๐ ป อาหารนั้นก็พึงเกลียด เปรียบดุจอยูในหลุมคูถอันบมิไดชําระเลย นานถึง ๕๐ ป ๖๐ ป ๘๐ ป ๙๐ ป ถาบุคคลนั้นอายุได ๑๐๐ ป อาหารก็พึงเกลียดประดุจอยูในหลุมคูถ อันมิไดชําระเลยนานถึง ๑๐๐ ป พระโยคาพจรพึงปลงธรามสังเวช พิจารณาเอาหารปฏิกูลดวยกิริยาที่ สั่งสมอยูนานโดยดังพรรณนามาฉะนี้ กถํ อปริปกฺกโต ขอหนึ่งวาใหพิจารณาอาหารปฏิกูลในกาลเมื่อยังมิไดยอยนั้น จะให พิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวาใหพระโยคาพจรพิจรณาวา โส ปนายํ อาหาโร เอวรูเป โอกาเส นิธานมุปคโต อาหารนั้นเมื่อเขาไปสั่งสมอยูในประเทศแหงไสใหญอันเปนที่โสโครกพึงเกลียดเห็น ปานฉะนี้ อยาวาถึงเมื่อยอยออกแลวนั้นเลย แตยังมิไดยอยนั้นก็พึงเกลียดพึงชังนี่นักหนา เหตุวา ประเทศที่อยูแหงอาหารนั้นเปนประเทศลามก ถาจะวาฝายขางมืดก็มืดนัก ถาจะวาขางเหม็นหรือก็ เหม็นนัก ดุจหลุมอันคนจัณฑาลขุดไวแทบประตูบาน สารพัดจะสะสมสารพัดที่คนจัณฑาลทั้งปวงจะ ทิ้งจะเทลง หญาก็ทิ้งลงไปไมก็ทิ้งไป เสื่อลําแพนขาด ๆ ก็ทิ้งลง ซากมนุษยก็ทิ้งลงชั้นเกาชั้นใหม เมื่อยามแลงนั้นถาอกาลเมฆตั้งขึ้น ยังฝนใหตกลงสักหา ๑ แตพอน้ําเต็มหลุมแลวแลแลงไป น้ําใน หลุมนั้นครั้นตองแสงพระอาทิตยรอนกลาก็พัดขึ้นเปนฟอง ปูดขึ้นเปนปุมเปอกมีสีอันเขียว เหม็นราย เหม็นกาจอาเกียรณดวยหมูมักขิกชาติ แมลงวันดําแมลงวันเขียวตอมอยูเปนเกลียวคลาดอยูคละคล่ํา เปนที่รังเกียจเกลียดหนายแหงมหาชนทั้งปวง ๆ มิขอเห็นมิขอเขาไปใกล อันนี้แลมีฉันใด อาหารที่ บุคคลทั้งปวงกินเขาไปใหม ๆ ยังมิทันที่จะยับจะยอย ยังมิทันที่จะเปนอาหารเกานั้น ก็เกลือกกลั้วไป ดวยน้ําดีเสมหะน้ําบุพโพโลหิต อากูลมูลมองไปดวยซากอสุภตาง ๆ เปนตนวาเนื้อเนาปลาเนาปนปะ สะสมเหม็นขื่นเหม็นขมกลุมกลบตลบอยูทุกเชาค่ําอาเกียรณ ดวยหมูหนอนพลุกพลานคลาดคล่ํา สัญจรเสือกสนไป ๆ มา ๆ สพฺโพ เอกโต หุตฺวา อาหารที่กินวันนี้ก็ดี ที่กินวันกอน ๆ ก็ดีสิ้นทั้งปวงนั้นจะไดอยูเปน แผนก ๆ กันหาบมิได เกลือกกลั้วแปดปนระคนกันเปนอันหนึ่งอันเดียว เสมฺหปฏลปริโยนทฺโธ ชั้น เสมหะนั้นเขาปกคลุมหุมหอเพลิงธาตุนั้นรุมรอนระรมเผา เดือดเปนฟองฟอดปูดขึ้นเปนปุมเปอก โสโครกพึงเกลียดนักหนา มีอุปไมยดุจหลุมแทบประตูบานจัณฑาล อันเต็มไปดวยอสุจิลามกแลเปนที่ โสโครกพึงเกลียดนั้น เอวํ ปริปกฺกโต ปฏิกุลตา เวทิตพฺโพ พระโยคาพจรผูมีปญญาพึงพิจารณา อาหารปฏิกูล ในกาลเมื่ออาหารยังมิไดยอย โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ กถํ ปริปกฺกโต ขอซึ่งวาให พระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาอาหารปฏิกูลในกาลเมื่อยอยออกแลวนั้น จะใหพิจารณาประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรปลงธรรมสังเวชพิจารณาวา กายคฺคินา ปริปกฺโก สมาโน อาหารอัน รอนดวยเพลิงธาตุ เดือดเปนฟองแลวยอยออกประดุจบดดวยศิลาบดนั้น ที่จะเปนคุณอันใดอันหนึ่ง เปรียบประดุจแรเหล็กแรทองแดงแรดีบุกแรน้ําเงินแรธรรมชาติ อันยอยออกดวยเพลิงแลว แลไดเนื้อ เหล็กเนื้อทองแดงเนื้อดีบุกเนื้อเงินเนื้อทองนั้นหาบมิได อาหารที่ยอยออกนั้น มีแตจะเปนเครื่องชั่ว เครื่องเหม็นเครื่องลามก เพราะลงไปในอโธภาคแลว สวน ๑ ที่แบงไปเปนมูตรนั้นก็ยังกระเพาะมูตรให เต็มสวน ๑ ที่แบงออกเปนคูถนั้นลงไปอยูในที่สุดแหงไสใหญใตนาภีแหงเราทานทั้งปวง ประเทศที่อยู แหงอาหารเกานั้น มีสัณฐานดังกระบอกไมไผนอย ประมาณโดยยาว ๘ องคุลี อันบุคคลเอาดินเหลือง ใสลงไวใหเต็ม นี่หากวาลับจักษุแลไมเห็น จึงเพิกเฉยสบายอยูหาเกลียดหาหนายไม ถาปรากฏแก จักษุเห็นดวยจุกษุนี้ จะเปนที่รังเกียจอายหนักหนาหาที่สุดมิได เอวํ ปริปกฺกโต ปฏิกุลตา ปจฺจเวกฺ ขิตพฺพา พระโยคาพจรกุลบุตรผูมีปญญาพึงปลงธรรมสังเวช พิจารณาอาหารปฏิกูลในกาลเมื่อยอย ออกแลวโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ กถํ ผลโต แลขอซึ่งวาใหพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาอาหารปฏิกูลโดยผลนั้น จะให พิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรกุลบุตรผูมีปญญาปลงธรรมสังเวชพิจารณา วา สมฺมา ปริปจมาโน อาหารนี้ถายอยออกเปนอันดี ก็ยังกุณปะโกฏฐาส (สวนซากศพ) เปนตนวา เกศาแลโลมานขาทันตาเนื้อหนังแลเสนสายทั้งปวง ใหชุมชื่นใหจะเริญเปนอันดี อสมฺมา ปริจฺจมา โน อาหารนั้นถายอยออกมิดี ก็ยังรอยแหงโรคเปนตนวา หิดดานแลหิดเปอย มะเร็งแลคุดทะราด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 102 กลากแลเรื้อนมองครอ แลหืดหวัดแลไอ ลงใหญแลลงแดงใหบังเกิดไดทุกขเวทนามีประการตาง ๆ เพราะเหตุอาหารยอยออกบมิดี เอวํ ผลโต ปฏิกุลตา ปจฺจเวกฺขิตพฺพา พระโยคาพจรผูมีปญญา พึงพิจารณาอาหารปฏิกูลโดยผลดุจนัยดังพรรณนามาฉะนี้ กถํ นิสฺสนฺทโต ขอซึ่งวาใหพระโยคาพจรพิจารณาอาหารปฏิกูลในกาลเมื่อไหลหลั่งออก นั้น ใหพิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาวา อชฺโฌหริยมาโน เปส เอเกน ทฺวาเรน ปวิสิตฺวา อาหารอันบุคคลกินนั้น เมื่อเขาไปนั้นไปโดยทวารอัน ๑ เมื่อจะไหล ออกนั้นไหลออกโดยทวารทั้ง ๙ ที่เปนมูลหูนั้น ก็ไหลออกจากชองหู ที่เปนมูลตาก็ไหลจากชอง คลองตา ที่เปนน้ํามูกน้ําลาย ก็ไหลออกจากชองปากชองจมูก ที่เปนมูตรไหลออกจากทวารเบา ที่เปน คูถก็ไหลออกโดยทวารหนัก อชฺโฌหรณสมเย กาลเมื่อจะกลืนกินนั้น บุตรภรรยาพี่นองมิตรสหาย พวกพองลอมกันเปนพวก ๆ บริโภคเปนเหลา ๆ พรอม ๆ กัน พรอมยศพรอมบริวาร นิสฺสนฺทสมเย ปน กาลเมื่อเปนมูตรเปนคูถแลวแลไหลออกนั้น มีความละอายเขาเรนเขาซอนแตผูเดียว ลี้ลับแลวจึง ถายอุจจาระปสสาวะ ปมทิวเส ปริภุฺชนฺโต ในวันเปนปฐม เมื่อบริโภคนั้น ชื่นชมยินดี บริโภค อุทคฺคุทคฺโค มีกายจิตอันสูงขึ้น บังเกิดปติแลโสมนัส นิสฺสทนฺโต ครั้นถึงกาลเมื่อจะไหล ออก เมื่อจะถายออกในวันเปนคํารบ ๒ นั้น ตองปดจมูกชักหนานิ่ว เกลียดหนายกมหนาต่ําตา รตฺโต คิทฺโธ อิจฺฉิโต มุฺฉิโต ในวันเปนปฐมเมื่อเพลาบริโภคนั้น มีความรักความปรารถนาในรสแหง อาหารกําหนัดยินดี อารมณอันฟูขึ้นหลงดวยรสอาหาร อชฺโฌหริตฺวา ครั้นกลืนกินแลวแตพอแรมคืน อยูราตรีเดียว ยางเขาวันเปนคํารบ ๒ เมื่อจะไหลออกถายออกโดยอุจจารมรรคแลปสสาวมรรค ก็มี ความยินดีอันปราศจากอารมณเปนทุกข ทั้งละอายทั้งเกลียดบังเกิดพรอม เหตุดังนั้นโบราณาจารยจึงกลาวซึ่งบาทพระคาถาวา อนฺนํ ปานํ ขาทนียฺจ โภชนียฺจ มหารหํ ฯลฯ เอกรตฺตึ ปริวาสา สพฺพํ ปภวติ ปูติกนฺติ อธิบายวา ขาวแลน้ําของกัดแลของบริโภค สิ้นทั้งปวงนี้ มาตราแมจะมีคามากเปนประการใด ๆ ก็ดี ในกาลเมื่อบริโภคนั้น เขาไปโดยทวารอันหนึ่ง แลว ถึงทีเมื่อจะไหลออกก็ไหลออกโดยทวารทั้ง ๙ เหมือนกันสิ้น จะไดแปลกกัน หาบมิได ปสริวา โร กาลเมื่อบริโภคนั้นประกอบดวยบริวารบริโภคพรอม ๆ กัน กาลเมื่อจะถายออกนั้น เขาเรนซอนลี้ลับ ในที่ปดกําบัง แตผูเดียว อภินนฺทนฺโต การเมื่อบริโภคนั้นชื่นชมโสมนัส กาลเมื่อถายออกนั้น เกลียด หนายชิงชังขาวแลน้ําของกัดแลของบริโภคทั้งปวงนี้ มาตรแมนวามีคามากเปนประการใด ๆ ก็ ดี เอกตรตฺตึ ปริวาสา ถาลวงราตรีแรมอยูราตรีหนึ่งแลวก็บูดเนาโสโครกพึงเกลียดชังนี่นักหนา ผูมี ปญญาพิจารณาอาหารปฏิกูลโดยกิริยาที่ไหลออกดังพรรณามาฉะนี้ กถํ สมฺมกฺขนฺโต แลวขอซึ่งพิจารณาอาหารปฏิกูลโดยกิริยาที่แปดเปอนนั้น จะให พิจารณาเปนประการใด วิสัชนาวา ใหพระโยคาพจรกุลบุตรปลงธรรมสังเวชพิจารณาวา ปริโภค กาเล อาหารนั้นจําเดิมแตแรก บุคคลทั้งปวงบริโภคก็เปอนมือเปอนปากเปอนลิ้นเปอนเพดาน กระทํา มือแลปากแลลิ้นแลเพดานนั้นใหโสโครกพึงเกลียดพึงชัง บางคนตองชําระมือแลว ๆ เลา ๆ ตองบวน ปากแลว ๆ เลา จึงจะหายเหม็นหายกลิ้น ปริภุตฺโต สมาโน อาหารมื้อนี้เปนบุคคลบริโภคแลว แล เขาไปอยูในอุทรประเทศนั้น เพลิงธาตุอันซานอยูในสกลกายเผาใหรอน เผณฺทฺเทหกํ ปูดขึ้นเปนปุม เปนเปอก เปนฟองฟูดขึ้นมา จับซองหูซองตา ชองจมูกแลเพดาน ยถา นาม โอทเน ปจฺ จมเน เปรียบปานดุจหมอขาว อันบุคคลหุงแลตั้งไวบนเตา ครั้นเดือดพลุงขึ้นมาก็มีแกลบแลรําแล ปลายขาวอันลนขึ้นติดปากหมอแลฝาละมีแปดเปอน ฉันใดก็ดี อาหารที่เปนฟองฟูดลนขึ้นไปดวยรอน แหงเพลิงธาตุนั้น เมื่อขึ้นมาจับอยูที่ฟน ก็แปดเปอนเปนมลทินแหงฟน เมื่อขึ้นมาจับลิ้นจับเพดาน ก็ แปดเปอนตามชองจมูกลิ้นแหงเพดานใหสําเร็จกิจเปนเขฬะแลเสมหะ เมื่อขึ้นมาจับชองตาชองจมูกก็ แปดเปอนชองหูชองตาชองจมูก ใหสําเร็จกิจเปนขี้หูขี้ตาขี้จมูกนาพึงเกลียดพึงชัง ที่เปนมูตรเปนคูถ นั้นก็แปดเปอนทวารหนักทวารเบาแลทวารที่อาการแปดเปอนนั้น ถึงบุคคลจะลางจะสีจะชําระอยูทุก วัน ๆ ก็ดี ที่จะบริสุทธิ์สะอาดเปนที่จําเริญใจนั้นหาบมิได หตุ โถ ปุน อุทเกน โธวิตพฺโพ มือที่ชําระ อุจจารมรรคนั้น ตองลางน้ํา ๒ หน ๓ ทน ตองสีดวยโคมัย สีดวยดินสอดวยจุณของหอมจึงปราศจาก ปฏิกูล เอวํ สมฺมกฺขนฺโต ปฏิกุลตา ปจฺจเวกฺขิตพฺพา พระโยคาพจรกุลบุตรผูมีปญญา พึงพิจารณา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 103 อาหารปฏิกูลโดยกิริยาที่แปดเปอนมีนัยพรรณนามาฉะนี้ ตสฺเสวํ ทสหากาเรหิ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาอาหารปฏิกูล ๑๐ ประการกระทําการ ปฏิกูลนั้น เปนที่วิตกยกจิตขึ้นสูอาการปฏิกูลโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ กวฬิงการาหารก็จะปรากฏโดย อาการปฏิกูล ตํ นิมิตฺตํ ปุนปฺปุนํ อาเสวติ เมื่อปฏิกูลนิมิตปรากฏแลว ใหพระโยคาพจรสองเสพ จําเริญปฏิกูลนิมิตนั้นใหมากในสันดาน นิวรณธรรมก็สงบสงัด จิตก็จะตั้งมั่นเปนอุปจารสมาธิที่จะ ถึงอัปปนานั้นไปบมิไดถึง เพราะเหตุอารมณที่พิจารณากวฬิงการาหารนั้นลึกโดยสภาวะธรรมสัญญา นั้น ปรากฏดวยสามารถถืออาการปฏิกูล เหตุดังนั้นพระกรรมฐานนี้ จึงถือซึ่งนามบัญญัติชื่อวาอาหาร ปฏิกูลสัญญา มีแตอุปจารสมาธิ หาอัปปนาสมาธิบมิได แลพระภิกษุผูกระทําเพียรจําเริญพระกรรมฐาน อาหารปฏิกูลนี้ ยอมมีจิตอันหดหูบมิไดยินดีดวยรสตัณหา บริโภคอาหารนั้นแตพอจะไดทรงกายไว บําเพ็ญสมณธรรมเพื่อยกตนออกจากทุกข เปรียบเหมือนชน ๒ คนผัวเมียอันเกลียดเนื้อลูก เสียมิได จําเปนจําบริโภคแตพอจะใหมีแรงขามแกงกันดาร เดชะดวยอุบายที่เคยกําหนดกวฬิงการาหารนี้เปน ปจจัย ก็จะกําหนดกฏหมายซึ่งราคะอันยุติในปญจกามคุณนั้นไดดวยงาย ไมพักลําบากยากใจ ครั้นกําหนดราคะอันยุติในปจกามคุณนั้นไดแลว อุบายนั้นก็จะเปนปจจัยใหกําหนดรูปขันธ กายคาสติก็จะบังเกิดบริบูรณในสันดาน ดวยสามารถพิจารณาในปฏิกูลทั้ง ๖ มีอปริปกกาทิปฏิกูล พิจารณาอาหารอันยังมิไดยอยนั้น เปนตนเปนเดิมอันจําเริญพระกรรมฐานอันนี้ ไดชื่อวาปฏิบัติอนุโลม ตามอสุภสัญญา อิมํ ปฏิปตฺตํ นิสฺสาย พระโยคาพจรกุลบุตรผูมีศัรทธานั้น อาศัยประพฤติปฏิบัติอันนี้ อาจจะไดสําเร็จคุณานิสงส มีถึงซึ่งพระนิพพานอันเปนอมฤตรส อันเปนทีสุดในอาตมาภาพชาติ นี้เห็น ประจักษแจงถาบารมียังออนไมไดสําเร็จพระนิพพาน ครั้นทําลายเบญจขันธแลวก็จะมีสวรรคเปนเบื้อง หนา เหตุฉะนี้ นักปราชญผูมีปญญาพึงอุตสาหะจําเริญอาหารปฏิกูลสัญญา อันกอปรดวยอานิสงสดัง พรรณนามานี้ ฯ วินิจฉัยในอาหารปฏิกูลสัญญายุติแตเทานี้

อิทานิ อาหาเร ปฏิกุลสฺญานนฺตรํ เอวํ ววตฺถานนฺติ เอวํ นิทฺทิฏสฺส จตุธาตุววตฺ ถานฺสฺส ภาวนานิทฺเทโส อนุปฺปตฺโต ในลําดับแหงอาหารปฏิกูลสัญญานี้ บรรลุถึงวนานิเทศแหงจตุ ธาตุววัตถานแลว พระผูเปนพระพุทธโฆษาจารยจึงสําแดงพระจตุธาตุกรรมฐานแกบทมาติกา คือ เอกํ ววตฺถานํ ที่ตั้งไวในเบื้องตนสืบไปในบทหนา ววตฺถานํ นั้นมีอรรถาธิบาย วา สภาวรูปลกฺขณวเสน สนฺนิฏานํ อาการที่พระโยคาพจรปญญาพิพากษาซึ่งสภาวปกติแหงธาติ ดวยสามารถกําหนดกฏหมายใหเห็นแจงในสภาวะปกติแหงธาตุนั้น แลไดชื่อวาววัตถาน เมื่อกําหนด กฏหมายสิ้นทั้ง ๔ ธาตุนั้นไดชื่อวาจตุธาตุววัตถาน พระกรรมฐานอันนี้บางคาบเรียกวาธาตุกรรม กรรมฐาน ดวยอรรถวาพระโยคาพจรผูจําเริญพระกรรมฐานอันนี้ ยอมมีมนสิการกําหนดกฏหมาย ใน ธาตุนั้นเปนหลักเปนประธาน อาศัยที่มนสิการในธาตุ จึงไดชื่อวาธาตุกรรมฐาน บางคาบพระกรรมฐาน อันนี้ ทานเรียกวาจตุธาตุววัตถาน ดวยอรรถวาพระโยคาพจรเจากําหนดธาตุทั้ง ๔ เปนหลักประการ ตกวานามบัญญัติทั้ง ๒ คือธาตุกรรมฐาน แลจตุธาตุกรรมฐานนี้ ถาจะวาโดยอรรถนั้น มีอรรกเปน อันหนึ่งอันเดียวกัน จะไดแปลกกันหาบมิได ตยิทํ ทฺวิธา อาคตํ แลอาการที่กําหนดธาตุนั้น พระอาจารยเจาสําแดงไวเปน ๒ สถาน สงฺเขปโต คือสําแดงโดยนัยสังเขปนั้นเปนประการ ๑ วิตฺถารโต คือสําแดงโดยนัยพิศดาร ประการ ๑ สงฺเขปโต มหาสติปฏาเน พิธีจะกระทํามนสิการในพระธาตุกรรมฐานนี้ สําแดงไวใน มหาสติปฏฐานสูตรโดยนัยสังเขป สําแดงไวในมหาหัตถีปโทปมสูตรแลราหุโลวาทสูตร แลธาตุวิภังค นั้นโดยพิศดาร ขอซึ่งสําแดงสังเขปตามพระบาลีในมหาสติปฏฐานนั้นวา เสยฺยถาป ภิกฺขเว ทกฺโข โคฆาฏโก วา โคฆาฏกนฺเตวาสี วา คาวึ วธิตฺวา จาตุมหาปเถ วิลโส วิภชุชิตฺวา นิสินฺโน อสฺส เอวเมว โข ภิกฺขเว ภิกขุ อิเม กายํ ฯลฯ อธิบายตามพระบาลี อันสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 104 ตรัสเทศนาในมหาสติปฏฐานสูตรนั้นวา ภิกฺขเว ดูกรภิกษุสงฆทั้งปวง บุรุษผูเปนนายโคฆาตหรือเปน อันเตวาสิกแหงนายโคฆาต ฉลาดในการที่จะฆาโคขายเลี้ยงชีวิต เมื่อฆาลงไดแลว ก็เชือดเถือแลเนื้อ โคออกมาเปนชิ้น ๆ กองไวเปนสวน ๆ นั่งขายเนื้อนั้นอยูในประเทศทาง ๔ แพรง คาวึ โป เสนฺตสฺส แรกเริ่มเดิมเมื่อเลี้ยงโคไวนั้น นายโคฆาตก็สําคัญในใจวาอาตมานี้เลี้ยงโคไว อาฆาฏนํ อาหรนฺตสฺส กาลเมื่อนําโคไปสูที่ฆานั้น นายโคฆาตก็สําคัญในใจวา อาตมานี้ นําโคมาสูที่ฆาถึงกาลเมื่อผูกมัดรัดโคเชาไวในที่ฆานั้นก็ดีแลว กาลเมื่อฆาโคแลวโคนั้นตายแลวก็ดี ถายังมิไดเชือดเนื้อ แลเนื้อโคฆาตนั้นออกเปนชิ้น ๆ ยังมิไดแยกออก กองไวเปนสวน ๆ ตราบใดนาย โคฆาตนั้นก็ยังสําคัญในใจวาเปนโคอยูตราบนั้น จิตที่สําคัญวาโคนั้นจะไดปราศจากสันดานหาบมิได ตอเมื่อใดเชือดเถือแลเนื้อโคนั้นออกเปนชิ้น ๆ กองไวเปนสวน ๆ นั่งขายเนื้อนั้น อยูในประเทศทาง ๔ แพรงแลว กาลใดจิตที่สําคัญวาโคนั้น ก็อันตรธานปราศจากสันดานในกาลนั้น มํสสฺญา ปวตฺตติ จิตที่สําคัญวา เนื้อนั้นประพฤติเปนไปในสันดานแหงนายโคฆาต ๆ จะ ได สําคัญวาโคเหมือนอยางหนหลังนั้น หาบมิได กาลเมื่อมหาชนทั้งมาแตทิศทั้ง ๔ ซื้อเนื้อไดแลว แลนําไปนั้น นายโคฆาตก็สําคัญในใจวา มํสํ วิกีณานิ อาตมานี้ขายเนื้อมหาชนทั้งหลายนี้นําเอา เนื้อไป นายโคฆาตจะไดสําคัญวาเราขายโคมหาชนชวนกันมานําเอาโคไปหาบมิได พระโยคาพจร ภิกษุนี้ เมื่อยังมีจิตสันดานเปนพาลปุถุชนอยูแตกอนนั้น บังเกิดเปนคฤหัสถอยูก็ดี เปนพรรพชิตแลวก็ดี เมื่อยังมิไดจําเริญพระธาตุกรรมฐาน ยังบมิไดพิจารณา พรากธาตุทั้ง ๔ ใหตางออกเปนแผลกตราบใด จิตที่สําคัญสัญญาวาอาตมาเปนสัตวเปนมนุษยเปนบุรุษเปนบุคคลนั้น ก็ยังประพฤติเปนไปในสันดาน ยังบมิไดอันตรธานจากสันดานตราบนั้นตอเมื่อใดไดกระทําเพียรจําเริญ พระกรรมฐานพิจารณาพราก ธาตุทั้ง ๔ ใหตางออกเปนแผนก ๆ แยกกันออกเปนกอง ๆ เปนเหลา ๆ แลวกาลใด จิตที่สําคัญสัญญา วา อาตมาเปนสัตวเปนบุรุษเปนบุคคลนั้น จึงอันตรธานปราศจากสันดานในกาลนั้น เมื่อพิจารณาเห็นรางกายแหงตนไมเปนสัตวไมเปนบุคคลแลว จิตก็จะตั้งมั่นสําคัญลงเปน แทวารางกายนี้เปนที่ประชุมแหงธาตุทั้ง ๔ มีอุปไมยดังนายโคฆาตอันแลเนื้อโคออกกองขายในทาง ๔ แพรง แลมีจิตสําคัญวาอาตมาขายเนื้อ ชนทั้งปวงมานําเอาเนื้อไป โดยนัยอุปมาที่สําแดงมาดังนี้ อันนี้สําแดงตามพระบาลีในมหาสติปฏฐานสูตร อันพระพุทธองคตรัสเทศนาโดยนัยสังเขป แตนี้จะ วิสัชนาตามพิธีที่สําแดงไวในมหาหัตถิปโทปมสูตรโดยนัยพิศดาร พระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี สําแดง กตมาวุโส อชฺฌตฺติกา ปวี พิธีพระธาตุกรรมฐานในมหาหัตถิปโทปมสูตรโดยนัยพิศดารนั้นวา ธาตุ ฯลฯ อชฺฌตฺติกา ปวีธาตูติ อธิบายในพระบาลีอันพระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี สําแดงพระ ธรรมเทศนานั้นวา ดูกรอาวุโส สิ่งดังฤๅไดชื่อวา อชฺฌตฺติกา ปวีธาตุ ปฐวีธาตุภายในนั้น จะไดแก สิ่งดังฤๅ สําแดงเปนปุจฉาฉะนี้แลว พระผูเปนเจาก็สําแดงวิสัชนาสืบไปวา ดูกรอาวุโส ธรรมชาติอันใด โลกสมมติวาบังเกิดในตน นับวาเขาในสันดานแหงตนวาอาศัยซึ่งตนแลวแลเปนไป มีลักษณะกระดาง มีอาการอันหยาบ โลกทั้งปวงนับถือวาอาตมา วาเปนของแหงอาตมา ธรรมชาติอันนั้นแลไดชื่อวาปฐวี ธาตุภายใน มิใชอื่นใชไกลไดแกอาการ ๒๐ คือ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตราบเทาถึงกรีสเปน ๑๙ เอามัตถุคังเพิ่มเขาถวนคํารบ ๒๐ นี่แลไดชื่อวาปฐวีธาตุภายใน แลอาโปธาตุภายในนั้นจะไดแกสิ่งดังฤๅ ดูกรอาวุโส ธรรมชาติอันใด โลกสมมติวาบังเกิด ในตน นับวาเขาในสันดานแหงตนวาอาศัยซึ่งตนแลวแลเปนไป มีลักษณะอันเอิบอาบซาบซึม มีอาการ อันหลั่งจากกาย โลกทั้งหลายถือวาอาตมาวาเปนของแหงอาตมาธรรมชาติอันนั้นแลไดชื่อวา อาโปธาตุภายใน มิใชอื่นใชไกลไดแกอาการ ๑๒ คือ ปตฺติ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ ฯลฯ ตราบเทา ถึง สิงฺฆา นิกา ลสิกา มุตฺติ นี้แลไดชื่อวาอาโปธาตุภายใน แลอัชฌัตติกเตโชธาตุภายในนั้น จะ ไดแกสิ่งดังฤๅ วิสัชนาวา ธรรมชาติอันใด โลกสมมติวาบังเกิดในตน วานับเขาในสันดานแหงตน อาศัยซึ่งตนแลวแลเปนไปมีลักษณะอันรอน มีอาการอันใหกระวนกระวายโลกทั้งหลายถือวาอาตมาวา เปนของแหงอาตมา ธรรมชาติอันนั้นแลไดชื่อวาเตโชธาตุภายใน มิใชอื่นใชไกลไดแกเพลิงธาตุทั้ง ๔ คือ สันตัปปคคี ขีรณัคคี ปริหทยัคคี ปริณามัคคี สันตัปปคคี นั้น ไดแกเพลิงธาตุอันกระทําใหกาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 105 อบอุน ขีรณัคคีนั้น ไดแกเพลิงธาตุอันกระทําใหกายเหี่ยวแหงคร่ําครา ใหจักขวาทิอินทรียวิกลวิปริต ใหทดถอยกําลัง ใหเนื้อแลหนังหดหอยอยนเปนเกลียว ๆ ปราศจากงาม ปริหทยัคคีนั้น ไดแกเพลิง ธาตุอันกําเริบขึ้นรอน ๆ จะทนทานบมิไดรองไหร่ําไร ฑยฺหามิ ฑยฺหามิ เรารอน ๆ ปรารถนายา ชโลมเปนตนวา สัปปเนยใสอันชําระไดรอยครั้ง แลโคสิตจันทรอันเย็นสนิท ปรารถนาจะใหพัดใหวี ดวยใบตาลเปนตน แลปริณามัคคีนั้นไดแกเพลิงธาตุอันเผาอาหารใหยอยออกเปนอันดี ขนมของกิน น้ําอัมพบาน น้ําผึ้งน้ําตาล น้ําออยเหลวน้ําออนขน แตบรรดา

ขาวน้ําโภชนาหาร

ที่บุคคลเราทานทั้งปวงสองเสพบริโภคสิ้นทั้งนั้น จะสุกเปนอันดีจะยอยยับเปนอันดีนั้น อาศัยแตเพลิงธาตุอันชื่อวาปริณามัคคี เพลิงธาตุทั้ง ๔ นี้ แลไดชื่อวาอัชฌัตติกเตโชธาตุ แลอัชฌัตติ กวาโยธาตุนั้น ไดแกธรรมชาติในโลกสมมติวาบังเกิดในตน วานับเขาอยูในสันดานแหงตน วาอาศัย ซึ่งตนแลวแลเปนไป มีลักษณะอันค้ําชูอวัยวะนอยใหญ มีอาการอันพัดขึ้น ๆ ลง ซานไปในอังคาพยพ ทั่วสกลกายแหงสรรพสัตว ๆ ถือเอาอาตมาวาเปนของอาตมา มิใชอื่นใชไกลไดแกวาโยธาตุ ๖ จําพวก คือ อุทธังคมาวาต ๑ อโธคมาวาต ๑ กุจฉิสยาวาต ๑ โกฏฐาสยาวาต ๑ อังคมังคานุสารีวาต ๑ อัสสาสะปสสาสะวาต ๑ อุทธังคมาวาตนั้น ไดแกวาโยธาตุอันพัดขึ้นกระทําใหเปนโทษเปนตนวาให วิงวอน ใหรากใหเรอมีประการตาง ๆ แลอโธคมาวาตนั้น ไดแกวาโยธาตุอันพัดใหสําเร็จกิจเปนตนวา ถายอุจจาระแลปสสาวะ แลกุจฉิสยวาตนั้น ไดแกวาโยธาตุอันพัดอยูนอกไส โกฏฐสยาวาตนั้น ไดแก วาโยธาตุอันพัดอยูภายในแหงไสใหญ แลอังคมังคานุสารีวาตนั้น ไดแกวาโยธาตุอันพัดซานไปตาม ระเบียบแหงแถวเสน พัดซานไปในอังคาพยพใหญนอยทั่วสกลสรรพางคใหสําเร็จกิจเปนตนวาคูกาย เหยีบดกายลุกนั่งยืนเที่ยว โดยควรแกอัชฌาสัย อัสสาสะปสสาสะวาตนั้น ไดแกลมหายใจเขาออก สิริดิน ๒๐ น้ํา ๑๒ เพลิง ๔ ลม ๖ เขา ดวยกัน จึงเปนอาการในกาย ๔๒ โดยนัยพิสดารสําแดงมานี้ตามนัย อันพระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี สําแดง พระธรรมเทศนาในหัตถิปโทปมสูตร เอวํ ราหุโลวาเท ธาตุวิภงฺเคสุ แลพิธีที่สําแดงพระ ธาตุกรรมฐานโดยนัยพิศดารมีในราหุโลวาทสูตร แลธาตุวิภังคนั้น ก็เหมือนกันกับนัยที่สําแดงแลวใน มหาหัตถิปโทปมสูตร จะไดแปลกไดเปลี่ยนกันก็หาบมิได ติกฺขปฺญสฺส ภิกฺขุโน พระภิกษุผู จําเริญพระธาตุกรรมฐานนี้ ถามีปญญาแหลมปญญากลาแลว จะพิจารณาโดยพิสดาร วาเกศานี้เปน ปฐวีธาตุประการ ๑ โลมาก็เปนปฐวีธาตุประการ ๑ นขาก็เปนปฐวีประการ ๑ จะพิจารณาโดยนัยพิสดาร เปนอาทิดังปรากฏเห็นเปนเนิ่นชาเพราะเหตุวาปญญานั้นกลา ปญญาเฉียบแหลมอยูแลว เหตุดังนั้น พระภิกษุที่ปญญากลานั้นสมควรจะพิจารณาแตโดยสังเขปวา ยํ ถทฺธลกฺขณํ ธรรมชาติอันใดมีลักษณะกระดาง ธรรมชาติอันนั้นแลไดชื่อวาปฐวีธาตุ ยํ อาพนฺธนลกฺขณํ ธรรมชาติอันใดมีลักษณะอันเอิบอาบซาบซึมมีอาการอันไหลหลั่ง ธรรมชาติอันนั้น แลไดชื่อวา อาโปธาตุ ยํ ปริปาจนลกฺขณํ ธรรมชาติอันใดกระทําใหยับใหยอย ธรรมชาติอันนั้นแล ไดชื่อวา เตโชธาตุ ยํ วิตฺถมฺภลกฺขณํ ธรรมชาติอันใดมีลักษณะอันค้ําชูอังคาพยพใหเสําเร็จดิจ ลุก นั่งยืนเที่ยวธรรมชาติอันนั้นแลไดชื่อวาวาโยธาตุ เอวํ มนสิกโรโต พระภิกษุผูมีปญญาแหลมปญญา กลานั้น เมื่อกระทํามนสิการแตโดยนัยสังเขปนี้ ก็ยิ่งอาจจะยังพระธาตุกรรมฐานใหปรากฏแจงใน สันดานได นาติติกฺขปฺญาสุ แลพระภิกษุที่มีปญญามิสูกลาหาญนั้น เมื่อกระทํามนสิการโดยนัย สังเขปดังนี้ พระกรรมฐานยังบมิไดปรากฏแจงยังมืดมนอนธการอยูก็พึงกระทํามนสิการพระธาตุ กรรมฐาน โดยนัยพิศดาร เหมือนนัยที่สําแดงมาแลวในเบื้องตน พระกรรมฐานจึงปรากฏเปนอันดี เปรียบภิกษุ ๒ รูปสังวัธยายบาลี ไปยาลยอเขาเปนอันมาก องคหนึ่งปญญากลา องคหนึ่งปญญามิสู กลา องคที่มีปญญากลานั้นสังวัธยายไปครั้ง ๑ บาง ๒ ครั้งบาง ภายหลังก็รวบรัดยอเขาดวยอุบาย ไปยาลยอเขา ที่เหมือน ๆ กันในทามกลางนั้นไปยาลยอเขาเสีย สังวัธยายแตที่สุดขางโนนขางนี้ สังวัธยายแตที่แปลก ๆ กัน อาการที่สังวัธยายนั้นจบเร็ว บาลีนั้นก็ชํานาญตลอดทั้งเบื้องตนแลเบื้อง ปลาย เพราะเหตุที่มีปญญากลา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 106 ฝายภิกษุองคที่มีปญญามิสูกลานั้น สังวัธยายเรียงบทออกไปทุกบท ๆ บมิไดยอเขา ดวย อุบายไปยาล สังวัธยายนั้นซ้ําแลวซ้ําเลา เขาใจวาสังวัธยายโดยไปยาล สังวัธยายโดยยอนั้นไมพอ ปาก วาแตครั้ง ๑-๒ ครั้งนั้นไมชํานาญปาก เอามั่นเอาคงบมิได อันไมไปยาลเสียแลวสังวัธยายซ้ํา แลวซ้ําเลาเอามากเขาวานั้นแลบาลีชํานิชํานาญมั่นคงดีตกวาอาการที่สังวัธยายนั้นจบเขา จะได เหมือนพระภิกษุที่มีปญญากลานั้นหาบมิได ภิกษุที่มีปญญากลานั้น เห็นวาสังวัธยายซ้ําแลวซ้ําเลา การที่จะไปยาลเสียก็ไมไปยาล อยางนี้นี่เมื่อไรจะจบ อาการที่พระภิกษุทั้ง ๒ รูปสังวัธยายบาลี มี อารมณมิไดตองกัน เพราะเหตุที่ขางหนึ่งปญญากลา ขางหนึ่งปญญามิสูกลา ยถา อันนี้แลมีอุปมาฉัน ใด พระภิกษุผูจําเริญพระธาตุกรรมฐานนี้ ที่มีปญญากลาก็ควรจะกระทํามนสิการโดยพีธีสังเขปที่มี ปญญามิสูกลา ก็ควรกระทํามนสิการโดยพิศดารมีอุปไมยดังพระภิกษุ ๒ รูปสังวัธยายบาลี ขาง ๑ พอใจยอ ขาง ๑ พอใจพิศดาร เพราะเหตุที่มีปญญากลาแลมิสูกลาโดยนัยที่สําแดงมานี้ เหตุดังนั้น พระภิกษุผูมีปญญากลา จําเริญพระธาตุกรรมฐานนั้น เมื่อเขาไปในที่สงัดอยูแตผูเดียวแลว ก็พึงพิจ จารณารูปกายแหงตนโดยนัยสังเขปวา สภาวะหยาบสภาวะกระดางมีในกายนี้เปนปฐวีธาตุ สภาวะเอิบ อาบซาบซึมหลั่งไหล มีในกายนี้เปนอาโปธาตุ สภาวะรอนวะกระทําใหแกใหยอมมีในกายนี้เปน เตโชธาตุ สภาวะค้ําชูอังคาพยพในกายนี้เปนวาโยธาตุพิจรณาดังนี้แลว พึงกระทํามนสิการกําหนด กฏหมายใหเห็นวา รูปกายแหงตนนี้เปนกองแหงธาตุบมิไดเปนชีวิต เมื่อกระทํากองเพียรสอดสองสอง ปญญา พิจารณาประเภทแหงธาตุดวยประการฉะนี้ อุปจารสมาธิก็จะบังเกิดจะไดสําเร็จอุปจารสมาธิได รวดเร็วบมิไดเนิ่นชา จะไดสําเร็จแตเพียงอุปจารสมาธิบมิอาจที่จะลวงตลอดขึ้นไปถึงอัปปนาสมาธินั้น ได เพราะเหตุพระธาตุกรรมฐานมีอารมณเปนสภาวธรรม อธิบายวาอารมณนั้นไปลงไปหาที่ยั่งที่หยุดบ มิได เปรียบเหมือนแลลงไปในเหวอันลึกบมิไดเห็นพื้น เมื่อหยั่งอารมณไปไมมีที่ยั่งหยุดดังนี้ จิตนั้น หาที่ตั้งบมิได พระอัปปนาสมาธิจึงไมบังเกิดในสันดานจึงไดสําเร็จอยูแตเพียงอุปจารสมาธิ นัยหนึ่งสําแดงไวเปนอปรนัยวา พระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี มีความปรารถนาจะสําแดงให เห็นแจงวา ธาตุทั้ง ๔ ประการนี้ใชสัตวจึงสําแดงธรรมเทศนาจําแนกออกซึ่งโกฏฐาส ๔ ประการ วา อฏิฺจ ปฏิจฺจ นหารุฺจปฏิจฺจ สมฺจ ปฏิจฺจ อากาโส ปริวาริโต รูปนฺเตฺวว สงฺขํ คจฺฉ ติ อธิบายวาธรรมชาติอันใดไดนามบัญญัติชื่อวารูปนั้นอาศัยแกโกฏฐาสทั้ง ๔ ประชุมกันคืออาศัยอัฐิ ประการ ๑ อาศัยแกเสนประการ ๑ อาศัยเนื้อประการ ๑ อาศัยหนึ่งประการ ๑ โกฏฐาสทั้ง ๔ มีอากาศ แวดลอมซายขวาหนาหลังแลวกาลใดก็ไดชื่อวาเรียก ๆ วารูปกาลนั้น โกฏฐาสทั้ง ๔ ซึ่งประชุมกันได นามบัญญัติชื่อวารูปนั้น ถาพระโยคาพจรกุลบุตรมีปญญากลาพิจารณาเอาแตสังเขปเทานี้ ก็อาจจะได สําเร็จอุปจารสมาธิมิไดเนิ่นชา แลอาการที่จําเริญพระธาตุกรรมฐานนี้ กําหนดไวเปน ๔ ประการคือ สสัมภารสังเขป พิจารณาธาตุทั้ง ๔ โดยยอเปนตน ปฐวีธาตุมีอาการกระดางนั้นประการ ๑ สสัมภาร วิภัตติ พิจารณาธาตุทั้ง ๓ โดยประเภทแผนกมีเกสาโลมาเปนอาทินั้นประการ ๑ สัลลักขณสังเขป พิจาณาลักษณะแหงธาตุโดยยอนั้นประการ ๑ สัลลักขณวิภัตติพิจารณาลักษณะแหงธาตุโดยแผนก นั้นประการ ๑ เปน ๔ ประการดังนี้ อาการที่พิจารณาโดยสสัมภารสังเขป สัลลักขณะสังเขปนั้น สมควรแกพระโยคาพจรที่มี ปญญากลา อาการที่พิจารณาโดยสสัมภารวิภัตติ สัลลักขณวิภัตตินั้น สมควรแกพระโยคาพจร ที่มี ปญญามิสูกลา ๆ นั้นพึงเรียนซึ่งอุคคหโกศล ๗ ประการมนสิการ ๑๐ ประการ โดยนัยที่สําแดงแลวใน กายคตาสติพึงพิจารณาโดยนัยพิสดารวา อิเม เกสา นาม กวาพิจารณาเหมือนพรรณนาในพระ กายคตาสติ คือพิจารณาอาการ ๓๒ นั้นโดยปฏิกูลโดยวิภาคเปนอาทิ พระธาตุกรรมฐานนี้สําเร็จดวย พิจารณาอาการในกายเหมือนกันกับพระกายคตาสติแปลกกันแตที่กําหนดจิต ในกายคตาสตินั้น กําหนดจิตวาอาการในกายสิ้นทั้งปวงนี้มีสภาวะปฏิกูลพึงเกลียดพึงชัง อิธ ธาตุวเสน ในพระธาตุ กรรมฐานนี้กําหนดจิตวา อาการในกายสิ้นทั้งปวงนี้มีสภาวะเปนปฐวีธาตุ เปนอาโปธาตุ เปนเตโชธาตุ วาโยธาตุ ตกวาตางกันดวยกําหนดจิตฉะเมื่อพระโยคาพจรกําหนดจิต พิจารณาโดยนิยมดังพรรณนา มานี้ อันวาธาตุทั้งหลายก็จะปลายปรากฏ เมื่อธาตุทั้งหลายปรากฏแลวพิจารณาไปเนือง ๆ ก็จะสําเร็จ แกอุปจารสมาจิตดุจกลาวแลวในหนหลัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 107 อปจ อนึ่งโสด พระโยคาพจรกุลบุตรผูจําเริญจตุธาตุววัตถานภาวนานั้นพึงกระทํามนสิการ ในธาตุทั้ง ๔ ดวยมนสิการอาการ ๑๓ ประการ วจตฺถโต คือใหกระทํามนสิการโดยวิคคหะประการ ๑ กลาปโต ใหกระทํามนสิการโดยกลาปประการ ๑ จุณณโต ใหกระทํามนสิการโดยกิริยาที่กระทํา ใหเปนจุณณประการ ๑ ลกฺขณาทิโต ใหกระทํามนสิการโดยลักษณะแลผลนั้นประการ ๑ สมุฏาน โต ใหกระทํามนสิการโดยสมุฏฐานประการ ๑ นานตฺเตกตฺตโต ใหกระทํามนสิการโดยตางกันแล ใหกระทํามนสิการโดยกิริยาที่ เหมือนกันเปนอันเดียวนั้นประการ ๑ วินิพพฺโภคา วินิพฺโภคโต พรากจากกัน แลบมิไดพรากจากกันประการ ๑ สภาควิสภาคโต ใหกระทํามนสิการที่เปนสภาคแลวิ สภาคประการ ๑ อชฺฌตฺติกพาหิรวิเสสโต ใหกระทํามนสิการโดยอัชฌัตติกวิเศษแลพาหิรวิเศษ ปจฺจยโต ใหกระทํา ประการ ๑ สงฺตหโต ใหกระทํามนสิการโดยกิริยาประมวลเขาประการ ๑ มนสิการโดยปจจัยประการ ๑ อสมนฺนาหารโต ใหกระทํามนสิการโดยอสมันนาหารประการ ๑ ปจฺจยวิภาคโต ใหกระทํามนสิการโดยปจจัยวิสภาคประการ ๑ สิริเปนมนสิการอาการ ๑๓ ประการดวยกัน มนสิการอาการเปนปฐมที่วา ใหกระทํามนสิการโดยวิคคหะนั้นเปนประการใด อธิบายวา ปฐวีธาตุนั้นมีนัยวิคคหะวา ปฐวี ปตฺถตตฺตา ปฐวี แปลวาธรรมชาติอันใด ไดนามบัญญัติชื่อวาปฐวี ธาตุนั้น ดวยอรรถวาแข็งกระดาง พึงรูใหทั่วไปในสรรพธาตุทั้งปวงเถิด สุดแทแตวาธาตุอันใดกระดาง มีประมาณพอหยิบขึ้นไดดวยมือ ธาตุสิ่งนั้นไดชื่อวา ปฐวีธาตุ แลเอาโปธาตุนั้นมีอรรถวิคคหะวา อปฺ โปติ อาปยติ อปฺปายาตีติ วา อาโป แปลวา ธรรมชาติอันใดซึมซาบอาบเอิบไปในปฐวีธาตุเปน อาทิ ธาตุสิ่งนั้นแลไดชื่อว อาโปธาตุ แลเตโชธาตุนั้น มีอรรถวิคคหะวา เตชยตีติ เตโช แปลวาธาตุอัน ใดกระทําใหอบอุนเปนไอเปนควันบํารุงรักษาปฐวีธาตุเปนอาทิ มิใหเปอยใหเนาเผาอาหารใหยอย ธาตุอันนั้นไดชื่อวา เตโชธาตุ แลวาโยธาตุนั้น มีอรรถวิคคหะวา วายตีติ วาโยแปลวา ธาตุอันใดกระทํา ใหไหวใหยกมือยกเทาใหสําเร็จอิริยาบถนั่งนอนยืนเที่ยว ธาตุอันนั้นแลไดชื่อวาวาโยธาตุ วิคคหะดังนี้ เรียกวาวิเศษวิคคหะ อธิบายวา สําแดงอรรถแหงธาตุทั้ง ๔ นั้นใหแปลกกัน ๆ ทีนี้จะวาดวยสามัญวิคคหะสืบตอไปเลา นัยวิคคหะวา สลกฺขณธารณโต ทุกฺขฏานโต ทุกฺขาธานโต จ ธาตุ แปลวาธรรมชาติ ๔ ประการ คือ ดิน น้ํา ไฟ ลม ไดนามบัญญัติชื่อวาธาตุนั้น เพราะเหตุที่ทรงไวซึ่งลักษณะแหงตน ลักษณะที่แข็งกระดาง ลักษณะที่ซุมซาบอาบเอิบลักษณะที่ กระทําใหอบอุน ลักษณะที่ใหไหวใหติงนี่แลไดชื่อวาลักษณะแหงตน แหงดิน น้ํา ไฟ ลม ตกวาดินนั้น ทรงไวซึ่งลักษณะอันกระดาง น้ํานั้นทรงไวลักษณะอันซึมซาบ ไฟนั้นทรงไวซึ่งลักษณะอันอบอุนอัน รอน ลมนั้นทรงไวซึ่งลักษณะอันไหวอันติง นี่แลไดชื่อวาลักษณะแหงตนอาศัยเหตุที่ทรงไวซึ่ง ลักษณะสําหรับตนดังนี้ ดิน น้ํา ไฟ ลม จึงไดนามบัญญัติชื่อวาธาตุ นัยหนึ่ง ดิน น้ํา ไฟ ลม ไดนาม บัญญัติชื่อวาธาตุนั้น เหตุทรงไวซึ่งทุกข เพราะเหตุเปนที่ตั้งแหงทุกข ถา ดิน น้ํา ไฟ ลม หาบมิได ไม เกิดในรูปกายแลว ความทุกขเวทนามีประการตาง ๆ นั้นจะบังเกิดแตที่ดังฤๅ นี่อาศัยเหตุที่มีดินน้ําไฟ ลมบังเกิดขึ้นเปนรูปเปนกายความทุกขเวทนาจึงอากูลมูลมองหาสะสมอยูเปนอเนกอนันต ตกวาดินน้ําไฟลมนี้ทรงไวซึ่งทุกข เปนที่ตั้งแหงทุกขจะนับจะประมาณบมิได อาศัยเหตุ ฉะนี้ ดินน้ําไฟลมจึงไดนามบัญญัติชื่อวาธาตุ วิคคหะอยางนี้เรียกวาสามัญวิคคพะ เหระเหตุวิคคหะอัน เดียวกัน ไดเนื้อความทั่วไปทั้ง ดิน น้ํา ไฟ ลม ทั้งสิ้น ๔ ประการ กิริยาที่พระโยคาพจรกระทํามนสิการ กําหนดธาตุทั้ง ๔ ประการ โดยวิเศษวิคคหะแลสามัญวิคคหะดังนี้ จัดเปนมนสิการอาการเปนปฐม แล มนสิการอาการเปนคํารบ ๒ คือ กลาปโตที่ใหกระทํามนสิการโดยกลาปนั้นเปนประการใด อธิบายวา ในหมวดปฐวีธาตุ ๒๐ มีเกศาเปนอาทิ มีมัตถลุงคังเปนที่สุดนั้น แตละสิ่ง ๆ ลวนกอปรดวยสุทธกลาป ทั้งสิ้น สุทธกลาปนั้นไดแกธรรมชาติ ๘ ประการ ประชุมกันคือปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ สีแลกลิ่นรสแลโอชา ๘ ประการประชุมกันเปนหมวดแลวเมื่อใด ก็เรียกวาสุทธากลาปในกาลเมื่อนั้น ปฐวีธาตุ ๒๐ ประการนี้ แตสิ่งหนึ่งจะไดปราศจากสุทธกลาปก็หาบมิได ผมแตละเสน ๆ ขนแตละเสน ๆ เล็บแตละเล็บ ๆ ฟนแตละซี่ ๆ นั้น แตลวนดิน น้ํา ไฟ ลม สีแลกลิ่น รสแลโอชา ชีวิตินทรียแล ภาวรูปประชุมพรอม จะไดปราศจากดิน น้ํา ไฟ ลม สัแลกลิ่น รสแลโอชา ชีวิตินทรียแลภาวนารูปหาบ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 108 มิได ขอซึ่งเรียกปฐวีธาตุนั้น เพราะเหตุธาตุดินมากกวาธาตุทั้ง ๔ แทจริงผมแลขน เล็บแลฟน ทั้งปวงนี้ ใชจะมีแตปฐวีธาตุสิ่งเดียวนั้นหาบมิได อาโปธาตุที่ซึมซาบอาบเอิบนั้นก็มีอยู เตโชธาตุที่ กระทําใหอบอุนนั้นก็มีอยู วาโยธาตุที่พัดไปในตนเสนผมแลเสนขน เล็บแลฟนนั้นก็มีอยู ตกวาธาตุทั้ง ๔ นั้นก็มีพรอม แตหากวาธาตุดินนั้นมากกวาธาตุทั้ง ๓ สมเด็จพระมหากรุณาจึงยกเอาที่มากขึ้นตรัส เทศนาจัดเอาเสนผมแลขนเล็บแลฟนเปนอาทินั้นเปนปฐวีธาตุหนังและเนื้อ เสนแลอัฐิแลมามแลหัวใจ แลตับพังผืด แลพุงไสใหญและใสนอย อาหารใหมแลอาหารเกา แลสมองศีรษะนั้นกฒีดิน น้ํา ไฟ ลม สีแลกลิ่นรสโอชาเหมือนกันสิ้น ตกวาธาตุทั้ง ๔ นี้มีพรอมทุกสิ่ง แตหากวาดินนั้นมาก ดินนั้นมีภาษีมา กวาธาตุทั้ง ๓ สมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสพระสัทธรรมเทศนา ยกหนังแลเนื้อเปนอาทินั้นขึ้นเปนปฐวี ธาตุ ๒๐ ประการ แลอาโปฐาตุ ๑๒ ประการ มีดีเปนอาทิ มีมูตรเปนที่สุดนั้น แตละสิ่ง ๆ ลวนกอปรดวย ดิน น้ํา ไฟ ลม สีแลกลิ่น รสแลโอชาเหมือนกันสิ้น ธาตุทั้ง ๔ ประการนั้นบริบูรณพรอม จะไดเฉพาะมี แตธาตุน้ําสิ่งเดียวนั้นหาบมิได แตหากวาธาตุน้ํานั้นมีมาก ธาตุน้ํานั้นมีภาษีกวาธาตุทั้ง ๓ สมเด็จพระมหากรุณาจึงยกเอาแตธาตุน้ําที่มีภาษีขึ้นตรัส เทศนา จัดเอาอาการ ๑๒ ประการ มีดีเปนอาทิ มีมูตรเปนปริโยสานนี้ เปนอาโปธาตุ อาการที่กระทํา มนสิการกําหนดกฏหมายกลาปโกฏฐาสในกรัชกาย ใหเห็นวาประกอบดวยกลาป คือประชุมดิน น้ํา ไฟ ลม สีแลกลิ่น แลรสโอชาบริบูรณพรอม นี้แลไดชื่อวามนสิการโดยกลาป จัดเปนมนสิการอาการเปนคํา จฺณฺณโต ที่วาใหกระทํามนสิการโดยกิริยาที่เปนจุณนั้นเปน รบ ๓ นี้แลมนสิการเปนคํารบ ๓ คือ ประการใด อธิบายวา กรัชกายแหงเราทานทั้งปวงนี้ ถามีประมาณเปนปานกลางเหมือนอยางกาย มัชฌิมบุรุษ ไมเล็กไมใหญนัก แลเราจะเอามายอยออกใหเปนจุณนั้น โทณมตฺตา จะตวงได ประมาณโทณะ ๑ คือ ๑๖ ทะนาน จุณ ๑๖ ทะนานนั้นมีอาโปธาตุซึมซาบอาบอิ่มอยูถึงกนกับปฐวีธาตุ ปาลิตา นักปราชญพึงสันนิษฐานวา เตโชธาตุนั้นพนักงานกระทําใหรอนใหอุน เตโชธาตุ บํารุงรักษาปฐวีแลอาโปนั้นไวไมใหเปอยใหเนา ใหจําเริญขึ้นไปเปนอันดีโดยสิริสวัสดี วาโยธาตุยา วิตฺถมฺภิตา ฝายวาโยธาตุนั้น เปนพนักงานอุปถัมภค้ําชูจะไหวจะติงจะสําเร็จอิริยาบททั้ง ๔ นั้น อาศัยแกวาโยธาตุ ๆ เขาอุดเขาหนุนประคับประคองแลว เราทานทั้งปวงซึ่งนั่งนอนยืนเที่ยวกระทํา กิจการทั้งปวงไดสําเร็จมโนรถความปรารถนา เมื่อธาตุทั้ง ๔ ประชุมกับบํารุงรักษาอุปถัมภค้ําชูกันเปนอันดีแลว สมมติสัตวที่โลกโวหาร เรียกวาหญิงวาชายวาสัตววาบุคคลนั้น จึงบังเกิดมีเพราะมีธาตุทั้ง ๔ ประชุมกันเปนหลักเปนประธาน อันสรีรกายแหงเราทานทั้งหลาย จะปรากฏวานอยวาใหญวาต่ํากระดางวามั่นวาทนนั้นอาศัยแกปฐวี ธาตุ ที่จะเปนน้ําเปนเยื่อปลั่งเปลงเครงครัดชุมมันนั้นอาศัยแกอาโปธาตุ ปวี ปติฏิตา อาโปธาตุ นั้นตั้งอยูในปฐวีธาตุไดปฐวีธาตุเปนที่ตั้ง ไดเตโชธาตุเปนอภิบาลรักษา ไดวาโยธาตุเปนผูอุปถัมภ จึง ตั้งอยูไดเปนอันดี มิไดรั่วมิไดไหลออก กระทําสรีรกายประเทศนั้น ใหอิ่มอยูเต็มเปนอันดีมิไดบกมิได พรอง อสิตปตาทิปริปาจิตา แลเตโชธาตุ ๔ ประการนี้ อุณฺห ลกฺขณา มีลักษณะใหอุนใหรอน บังเกิดมีอาการอันพุงขึ้นเปนไอเปนควัน เตโชธาตุนั้นตั้งอยูในปฐวีธาตุ ไดปฐวีธาตุเปนที่ตั้ง ได อาโปธาตุเปนผูชวยสงเคราะห ไดวาโยธาตุเปนผูอุปถัมภ จึงเผาอาหารใหยอยออกเปนอันดี กระทําส รีรประเทศนั้นอบอุนบริบูรณดวยสีสันพรรณเปนน้ําเปนนวล นปูติภาวํ ทสฺเสติ กายแหงเราทาน ทั้งหลายจะไมสําแดงอาการอันเนาเปอยพังนั้น อาศัยแกเตโชธาตุเปนผูอภิบาลรักษา องฺคมงฺคานฺ สารีวาตา แลวาโยธาตุที่พัดซานไปในอวัยวะนอยใหญทั้งปวง จําแนกออกโดยประเภทพิศดารเปน วาโยถึง ๖ ประการ ทีอุทธังมาวาตเปนอาทินั้น มีลักษณะใหสําเร็จกิจจํานรรจาพาทีใหตั้งกายทรง กาย ปวี ปติฏิตา วาโยธาตุ นั้นตั้งอยูในปฐวีธาตุ ไดปฐวีธาตุเปนที่พึ่ง ไดอาโปธาตุเปนผูชวย สงเคราะห ไดเตโชธาตุเปนผูอุปถัมภค้ําชู แลวก็ดํารงดายไวมิใหกายนั้นลมซวนซวดเซไปได เมื่อวาโยธาตุจําพวก ๑ ตั้งกายทรงกายไวแลว วาโยธาตุจําพวก ๑ ก็เขาอุดหนุน สําแดง กายวิญญัติไหวกายอันยุติในอิริยาบถใหนั่งนอนยืนเที่ยว กลับกลอกคูเขาแลเหยียดออกซึ่งหัตถแล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 109 บาท โดยอันควรแกจิตประสงค สรีรยนตที่โลกทั้งหลายสมมติเรียกวาหญิงวาชาย เจานั่นเจานี่ นางนั่น นางนี่ตามประเพณีโลกวิสัยนี้มิใชอื่นเลย คือธาตุทั้ง ๔ นี้เอง หญิงก็แลวดวยธาตุทั้ง ๔ ชายก็แลวดวย ธาตุทั้ง ๔ เมื่อมีปญญาพิจารณาโดยละเอียด สรีระนี้เหมือนดวยรูปหุน อันบุคคลรอยไวดวยสาย ยนต พาลวฺจนํ สรีรยนตนี้ ยอมลอลวงคนหาปญญามิได ใหลุมใหหลงสําแดงลีลาอาการนั้นตาง ๆ ถาปราศจากปญญาแลว ก็พิศวงงงงวยสติสมประดี สําคัญวางดงามวาประณีตบรรจง ที่แทนั้นธาตุ ทั้ง ๔ ทีเดียว ถาจะยอยออกเปนจุณก็ตวงได ๑๖ ทะนาน จะเปนเครื่องเปอยเครื่องเนาเครื่องถม แผนดิน จะมีแกนมีสารแตสักหนอยหนึ่งหาบมิได พระโยคาพจรกุลบุตร อันกระทํามนสิการกําหนด กฏหมายโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้แล ไดชื่อวกระทํามนสิการ โดยกิริยาที่กระทําใหเปนจุณ จัดเปน มนสิการอาการคํารบ ๓ แลมนสิการอาการคํารบ ๔ คือ ลกฺขณาทิโต ที่วาใหพิจารณาธาตุทั้ง ๔ โดยลักษณะแลกิจแลผลนั้นเปนประการใด ธาตุทั้ง ๔ ประการนี้ มีสิ่งดังฤๅเปนกิจมีสิ่งดังฤๅเปนผล อธิบายวาปฐวีธาตุนั้น กกฺขลตฺตลกฺขโณ มีกิริยาที่แข็งที่หยาบที่กระดางนั้นเปนลักษณะ สุดแทแต วาธาตุสิ่งใดเปนธาตุอันแข็งกระดางเปนธาตุหยาบ ควรจะตองควรจะถือควรจะหยิบจะยกได ธาตุสิ่ง นั้นแลไดชื่อวาปฐวีธาตุ ตกวาลักษณะอันที่กระดางนั่นแลเปนลักษณะแหงปฐวีธาตุ ปติฏานรสา ถาจะวาในกิจ นั้น กิริยาที่เปนที่ตั้งแหงธาตุทั้ง ๓ เปนที่พํานักแหงธาตุทั้ง ๓ นั่นแลเปนกิจแหงปฐวี ธาตุ สมฺปฏิจฺฉนฺนปจฺจุปฏานา ถาจะวาโดยผลนั้นกิริยาที่รับรองไวซึ่งธาตุทั้ง ๓ นั้นแลเปนผล แหงปฐวีธาตุ ปกฺขรณกฺขณา แลอาโปธาตุมีกิริยาหลั่งไหลซึบซาบอาบเอิบเปนลักษณะ พฺรู หนรสา ถาจะวาโดยกิจนั้น อาโปธาตุมีกิจอันกระทําใหเปลงปลั่งเครงครัด ใหเจริญสดชื่นชุม มัน สงฺคหปจฺจุปฏานา อุณฺหลกฺขณา แลเตโชนั้น ถาจะวาโดยลักษณะมีลักษณะใหอุนให รอน ปริปาจนรสา ถาจะวาดวยกิจมีกิจอันกระทําใหอาหารยับยอยละเอียดลง มทฺมวานุปฺ ปาทานปจฺจุปฏานา ถาจะวาดวยผลนั้น เตโชธาตุมีกิริยาอันใหซึ่งสภาวะออนนอมแกกายเปนผล อธิบายวากรัชกายแหงเราทานทั้งหลาย จะออนนอมโดยสะดวกอาศัยแก เตโชธาตุ ถาเตโชธาตุดับ ตัวเย็นแลว กายก็แข็งกระดาง อยางประหนึ่งทอนไมและทอนฟน กิริยาที่กระทําใหกายออนนี้แลเปน วิตฺถฺภนลกฺขณา มีกิริยาอันหนุนค้ําชูใหตั้งกายทรงกายไดเปน ผลแหงเตโชธาตุแลวาโยธาตุนั้น ลักษณะ สมุทีรณรสา ถาจะวาดวยกิจ วาโยธาตุนั้นมีกิจอันกระทําใหหวั่นไหว ใหยกเทาใหกลับ เนื้อกลับตัวไดใหจํานรรจาพาที อภินิหารปจฺจุปฏานา ถาจะวาดวยผลนั้น วาโยธาตุมีกิริยาอันนําไปซึ่งกายสูทิศานุทิศ ตาง ๆ ใหกระทําการงานทั้งปวงได โดยควรแกประสงค กิริยาที่พระโยคาพจรกุลบุตรผูมีปญญา กระทํามนสิการกําหนดกฏหมายในลักษณะแลกิจแลผลแหงธาตุทั้ง ๔ โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ จัดเปนมนสิการอาการคํารบ ๔ แลมนสิการอาการคํารบ ๕ ที่วาใหพิจารณาธาตุทั้ง ๔ โดยสุมุฏฐานนั้น เปนประการใด อธิบายวาอาการในกายแหงสรรพสัตวเราทานทั้งปวงนี้ถาจะนับโดยอาการโกฏฐาสนั้น นับไดปฐวีธาตุ ๒๐ อาโปธาตุ ๑๒ เตโชธาตุ ๔ วาโยธาตุ ๖ ประการ สิริเขาดวยกันจึงเปนอาการโกฏฐาส ๔๒ แลอาการโกฏฐาสทั้ง ๔ คือ น้ําตา ๑ มันเหลว ๑ น้ํามูก ๑ โกฏฐาสทั้ง ๔ นี้ มีสมุฏฐาน ๒ บางคาบ บังเกิดแตเพลิงธาตุ บางคาบเกิดแตจิตเพลิงที่เผาอาหารใหยอยนั้น มีสมุฏฐานเดียวบังเกิดแตกุศลา กุศลกรรมสิ่งเดียว อสฺสาสปสฺสาส จิตฺตสมุฏานาว แลลมระบายหายใจเขาออกนั้น มีสมุฏฐานอัน เดียวจะไดบังเกิดแตกรรมแลเพลิงธาตุแลอาหารนั้น หาบมิได อวเสสาสพฺเพจตฺสมุฏานา แล อาการโกฏฐาสอันเศษนอกออกไปจากโกฏฐาสที่สําแดงมาแลวนี้ ยังอีก ๓๒ อยูในสวนแหงปฐวรธาตุ ๑๘ อยูในสวนอาฏปธาตุ ๖ อยูในสวนแหงเตโชธาตุ ๓ อยูในสวนแหงวาโยธาตุ ๕ เหลานี้ลวนแตมี สมุฏฐาน ๔ บางคนนั้นเกิดแตกุศลากุศลกรรม บางคาบบังเกิดแตจิต บางคาบบังเกิดแตเพลิงธาตุบาง คาบบังเกิดแตอาหาร เอวํ

สมุฏานโต

พระโยคาพจรกุลบุตรอันกระทํามนสิการกําหนดกฏหมายธาตุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 110 ประการ โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ จัดเปนมนสิการอาการเปนคํารบ ๕ แลมนสิการอาการคํารบ ๖ ที่วาใหกระทํามนสิการโดยตางกันแลเหมือนกันเปนอันเดียวกันนั้น เปนประการใด อธิบายวาธาตุทั้ง ๔ นี้ ถาจะวาโดยลักษณะก็มีลักษณะตาง ๆ กัน ถาจะวาโดยกิจก็มีกิจตาง ๆ กัน ถาจะวาโดยสมุฏฐานที่มี สมุฏฐานตาง ๆ กัน จะไดเหมือนกันหามิได เมื่อมนสิการโดยลักษณะแลกิจแลผลมนสิการโดย สมุฏฐานนั้น เปนแตละอยาง อยาง ๆ ตาง ๆ กัน โดยนัยดังพรรณนามา ถามนสิการโดยกิริยาที่เปน มหาภูติ มนสิการโดยกิริยาที่เปนธาตุ มนสิการกิริยาที่เปนสังขารธรรม มนสิการโดยกิริยาที่เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้น ธาตุทั้ง ๔ นี้จัดเปนรูปเหมือนกัน เปนมหาภูตรูปเหมือนกัน เปนธาตุเหมือนกัน จะ ไดแปลกกันหาบมิได แทจริงธาตุทั้ง ๔ ประการคือ ปฐวี ปาโป เตโช วาโยนี้ ไดนามบัญญัติชื่อวารูป เหมือนกันนั้นดวยเหตุ ๕ ประการ มหนฺตปาตุภาวโต ไดชื่อวามหาภูตรูป เพราะเหตุปรากฏใหญนั้นประการ ๔ มหาภูตสา มฺญโต ไดชื่อวามหาภูต เพราะเหตุเหมือนดวยภูตปศาจนั้นประการ ๑ มหาปริหารโต ไดชื่อวา มหาภูตเพราะเหตุที่ตองพิทักษรักษาเปนอันมากนั้นประการ ๑ มหาวิการโต ไดชื่อวามหาภูต เพราะ เหตุที่มีวิการวิบัติเปนอันมากนั้นประการ ๑ มหตฺตภูตตฺตา ไดชื่อวามหาภูต เพราะเหตุจะพึงกําหนด ดวยความเพียรเปนอันมากประการ ๑ สิริเปนเหตุ ๕ ประการดวยกัน ขอซึ่งวาธาตุทั้ง ๔ ไดชื่อวา มหาภูต เพราะเหตุที่บังเกิดปรากฏใหญนั้นเปนประการใด อธิบายวาธาตุทั้ง ๔ นี้บังเกิดปรากฏใน สันดาน ๒ ประการ คืออนุปาทินนสันดานประการ ๑ อุปาทินนสันดานประการ ๑ ที่วาปรากฏใหญใน อนุปาทินนสันดานนั้น ไดแกดิน น้ํา ลม ไฟ ไฟเปนปกติ ๆ นี่แลเรียกวาอนุปาทินนสันดาน พระอาจารยเจาสําแดงแลวแตหลังในหองแหงพระพุทธานุสสติกรรมฐาน ทานสําแดงปฐวี อาโป เตโช วาโยอันเปนแกติ กําหนดแผนดินโดยหนา ๒ แสน ๔ หมื่นโยชน กําหนดน้ํารองแผนดิน หนา ๔ แสน ๘ หมื่นโยชน กําหนดลมรองน้ําหนักหนา ๙ แสน ๖ หมื่นโยชน กําหนดโดยขวางนั้น แผนปฐพีแผไปหาที่สุดบมิได เพราะเหตุวาหองจักรวาลมีมากกวามาก จะนับประมาณบมิได น้ํารอง ดินก็แผไปหาที่สุดบมิได ลมรองน้ําก็แผไปหาที่สุดบมิได เหมือนกันกับแผนดิน แลแตโชธาตุคือแสง พระสุริยเทพบุตร แลเปลวเพลิงที่แผอยูในโลกธาตุนี้ ก็หาที่สุดบมิไดเหมือนกัน ตกวาธาตุทั้ง ๔ อัน เปนปกติ บมิไดนับเขาสัตวในบุคคลที่แผไปหาที่สุดบมิได นี่แลไดชื่อวาธาตุทั้ง ๔ บังเกิดปรากฏใหญ ในอนุปาทินนสันดานแลธาตุทั้ง ๔ ที่นับเขาในอนุปาทินนสันดาน จัดเปนสัตวเปนบุคคล โดยในพุทธฏี กาโปรดไววาเตาแลปลาในมหาสมุทรนี้โยชนสติกา บางจําพวกนั้นใหญยาวได ๑๐๐ โยชน บาง จําพวกก็ใหญยาวได ๒๐๐ โยชน ๔๐๐ โยชน ๕๐๐ โยชน ๗๐๐ โยชน ๘๐๐ โยชน ๙๐๐ โยชน ๑๐๐๐ โยชนก็มี ใชแตเทานี้ ยักษแลคนธรรมพ นาคแลสุบรรณแลเทพยดาอินทรพรหมทั้งปวง แตบรรดาที่มีรูปกายอันใหญโตนั้น ก็มีมากกวาจะนับจะประมาณบมิได ตัวเตาตัวปลาที่ใหญ ๆ ตัวนาคตัวครุฑที่ใหญ ๆ รูปอินทรพรหมที่ใหญ ๆ นั้น แตลวนแลวดวยปฐวี อาฏป เตโช วาโยสิ้น ดวยกัน จะไดพนออกไปจากธาตุทั้ง ๔ นี้หาบมิได ธาตุทั้ง ๔ ที่จัดเปนสัตวเปนบุคคล นี่แลไดชื่อวา ปรากฏใหญในอุปาทินนสันดานเปนใจความวาธาตุทั้ง ๔ นี้บังเกิดปรากฏใหญในสันดาน ๒ ประการ คืออนุปาทินนสันดานแลอุปาทินนสันดาน โดยนัยพรรณนามา เหตุดังนี้จึงไดชื่อวามหาภูต และขอซึ่ง ธาตุทั้ง ๔ ไดชื่อวามหาภูต เพราะเหตุเหมือนดวยภูตปศาจนั้นเปนประการใด มายากาโร อมณึเยว อุทกํ มณึ กตฺวา อธิบายวาภูติปศาจที่เจาเลหเจามายานั้น ยอมกระทําการโกหกลอลวงใหคนทั้ง ปวงลุมหลงสําแดงน้ําที่ใส ๆ นั้นวาแกวผลึก วัตถุที่ไมใชแกวลอลวงวาแกว วัตถุที่ไมใชทองลอลวงวา ทอง บางคาบเอาดินมาสําแดงใหเห็นเปนทอง ตัวหาเปนเทพยดาไมสําแดงใหเห็นเปนเทพยดา ตัว หาเปนนกเปนกาไมสําแดงใหเห็นเปนนกเปนกา ภูตปศาจเจาเลหเจามายาลอลวงทั้งปวงใหลุมหลง แลฉันใดธาตุทั้ง ๔ ประการนี้ ลอลวงคนทั้งปวงลุมหลงมีอุปไมยดังนี้ อนีลาเนว หุตฺวา แทจริงธาตุ ๔ ประการนี้ตัวเองหาเขียวไม ยกเอาอุปาทานออกสําแดง ใหเห็นวาเขียว ตัวเองก็หาเหลืองไม ยกเอาอุปาทานออกสําแดงใหเห็นวาแดง ใหเห็นวาเหลือง ตัวเองหาแดงไม ยกเอาอุปาทานออกสําแดงใหเห็นวาแดง ตัวเองหาขาวไม ยกเอาอุปทานรูปออก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 111 สําแดงใหเห็นวาขาว ลอลวงพาลชนใหลุมหลงใหสําคัญวางามวาดี อาการที่ธาตุทั้ง ๔ ลอลวงกัน อาการที่ภูตปศาลลอลวงนั้นคลาย ๆ กัน พอเสมอกัน เหตุนี้ สมเด็จพระมหากรุณาจึงตรัสเทศนา สําแดงนามบัญญัติแหงธาตุทั้ง ๔ ชื่อวามหาภูต ยํ คณฺหนฺติ เนวเต สํตสฺส อนฺโต น พหิ นัยหนึ่ง สําแดงอุปมาวา ภูตปศาจนั้นถาสิงกายคนทรงผูใดแลว ที่วาจะตั้งอยูภายในแหงคนทรงผูทนวาบมิได จะวาตั้งภายนอกการแหงคนทรงก็หาบมิได ถาจะวาอาศัยอยูที่กายแหงคนทรง จะวาเพียงนี้นี่พอจะวา ได อันนี้แลมีฉันใด ธาตุทั้ง ๔ ประการอันอาศัยซึ่งกันแลกัน แลวแลประพฤติเปนไปนี้ที่จะวาธาตุสิ่ง นั้น ๆ อยูภายนอกอยูภายในนั้นวาบมิได มีอุปไมยดังนั้น ตกวาอาการที่ธาตุทั้ง ๔ ประชุมกันอาศัยกัน เหมือนอาการที่ภูตแลปศาจเขาถือกายคนทรงนั้นจะไดแปลกกันหาบมิได อาศัยเหตุฉะนี้สมเด็จพระ พุทธองคจึงตรัสเทศนาเรียกธาตุทั้ง ๔ นี้ โดยนามบัญญัติวามหาภูต นัยหนึ่งสําแดงอุปมาวา ยักขินี ปรารถนาจะกินเนื้อมนุษยเปนภักษาหารนั้น ยอมแปลงกายแหงตนใหปรากฏงดงามเปรียบประดุจเทพ อัปสร บุรุษปญญาบมิได ไมพินิจพิจารณาผวาเขาไป มีแตจะเสียชีวิต กระทําตัวใหเปนอาหารกิจแก นางยักษ บมิเอาตัวรอดได นางยักษขินีลอลวงใหบุรุษทั้งปวงลุมหลง ใหอยูในอํานาจแลมีฉันใด ธาตุ ทั้ง ๔ ประการนี้ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ก็ปดปองกําบังซึ่งปกติแหงอาตมา ที่โสโครกพึงเกลียดที่เปนอสุจินั้น ปกปดเสีย สําแดงใหเห็นวางามวาดี มีอุปไมยเหมือนยักษขีนีแปลงตัวนั้นเที่ยงแท เหตุฉะนี้ สมเด็จ พระสรรเพชญพุทธองคจึงตรัสเทศนานามบัญญัติแหงธาตุทั้ง ๔ ชื่อวามหาภูต แลขอซึ่งวาธาตุทั้ง ๔ ไดชื่อวามหาภูต เพราะเหตุที่ตองพิทักษรักษาเปนอันมากนั้นเปนประการใด อธิบายวาธาตุทั้ง ๔ ที่ ประชุมกัน สมมติวาเปนรูปเปนกายเปนหญิงเปนชายเปนสัตวเปนบุคคลนี้ เราทานทั้งปวงตองเอาใจใส ทะนุบํารุงตองหาใหกินใหอยู หาใหนุงใหหม ถึงเพลารอนตองอาบน้ําชําระขัดสีบํารุงอยูเปนนิตยกาล จึงคอยทุเลาเบาบาง ที่เหม็นโสโครกที่เปนปฏิกูลพึงเกลียดพึงชัง ถาไมทะนุบํารุงแลว มิมากแตสัก เพลาเดียวก็จะถึงวิปริมามแปรปรวนจะเศราหมองเปนที่รังเกียจเกลียดอายนี้เที่ยงแท ตกวาตอง บํารุงรักษานี้สิ้นทั้งกลางวันกลางคืนไมมีที่สุดลงเลย อาศัยเหตุที่เปนธุระตองพิทักษรักษาเปนหนัก เปนหนาดังนี้ ธาตุทั้ง ๔ จึงไดนามบัญญัติชื่อวามหาภูต และขอซึ่งวาธาตุทั้ง ๔ ไดชื่อวามหาภูต เพราะ เหตุที่มีวิการวิปริตเปนอันมากนั้นเปนประการใด อธิบายวาธาตุทั้ง ๔ ที่เปนอนุปาทินนะ คือ แผนดิน และภูเขาปาและมหาสมุทรมหานาทีและกุนนทีทั้งปวงนั้น ก็ยอมถึงการวิปริตดวยเพลิงประลัยกัลป น้ํา ประลัยกัลป ลมประลัยกัลป กําหนดเขตที่ฉิบหายนั้น ใหแสนโกฏิจักรวาลจะมั่นจะคงจะยั่งจะยืนนั้นหา บมิได ธาตุทั้ง ๔ ที่เปนอุปาทินนะ คือสรีรกายแหงสรรพสัตวเราทานทั้งปวงนี้เลา ปวี ธาตุปฺปโก เปน ถาถึงปฐวีธาตุกําเริบแลว ก็แข็งกระดางอยางประหนึ่งวาอสรพิษอันชื่อวากัฏฐมุขมาขบ บุคคล อันกัฏฐมุขอสรพิษขบนั้น มีตัวแข็งกระดาง แลมีฉันใด บุคคลอันมีปฐวีธาตุกําเริบนั้นก็มีกายอันแข็ง กระดางอยางประหนึ่งวาทอนไมทอนฟน มีอุปไมยดังนั้น อาโปธาตุปฺปโกเปน กาลเมื่ออาโปธาตุเกิดวิการกําเริบนั้นเลา สรีรกายแหงสรรพสัตวเรา ทานทั้งปวง ก็บังเกิดเปอยเนาพังออกที่นั่นที่นี่เปรียบดุจตองเขี้ยวอสรพิษอันชื่อวาปูติมุข บุคคลอันปูติ มุขอสรพิษขบ ตองเขี้ยวปูติมุขอสรพิษนั้นมีตัวหวะเปอยเปนรังหนอนเนาพังออกไปแลมีฉันใด เมื่อ อาโปธาตุวิการกําเริบแลว กายแหงบุคคลทั้งปวงก็บังเกิดเปนฝกะอากปากหมู เปนมะเร็งคุดทะราด เปอยพังออกไป ๆ มีอุปไมยดังนั้น เตโชธาตุปฺปโกเปน กาลเมื่อเตโชธาตุเกิดวิการกําเริบนั้น เลา สนฺตตฺโต ภวติ กาโย สรีรกายแหงสรรพสัตวทั้งปวง ก็เกิดรอนกระวนการวายกระหายน้ํา กาย นั้นสุกไหมเกรียมไปอยางไปอยางประหนึ่งตองเขี้ยวแหงอัคคิมุขอสรพิษ บุคคลนัยที่อัคคิอสรพิษขบ นั้น มีกายอันสุกไหมเกรียมไปสิ้นทั้งกรัชกาย เปรียบดุจเพลิงเผาแลมีฉันใด เมื่อเตโชธาตุเกิดวิการ กําเริบแลว สรีรกายแหงสรรพสัตวเราทานทั้งปวง ก็บังเกิดรอนกระวนกระวายกระหายน้ํา กายนั้นสุกไม เกรียมไปทั้งกรัชกาย มีอุปไมยดัจดังตองเขี้ยวอสรพิษอันชื่ออัคคิมุขนั้น วาโยธาตุปฺปโกเปน กาลเมื่อวาโยธาตุเกิดวิการกําเริบแลว อังคาพยพแหงสรรพสัตวเรา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 112 ทานทั้งปวง ก็หักรานขาดออกเด็ดออกไปที่นั่นที่นี่ มีอุปไมยดุจตองเขี้ยวแหงสัตถุมุขอสรพิษนั้น ขึ้น ชื่อวาวาธาตุทั้ง ๔ ยอมมีสภาวะถึงวิการวิปริตเปนอันมาก โดยนัยพรรณนามา เหตุดังนี้สมเด็จพระมหา กรุณาจึงตรัสเทศนาสําแดงนามบัญญัติแหงธาตุทั้ง ๔ นี้ ชื่อวามหาภูตก็มีดวยประการนี้ ใชแตเทานั้น ธาตุทั้ง ๔ ไดชื่อวามหาภูตนั้น เพราะเหตุพระโยคาพจรจะพึงกําหนดดวยความเพียรเปนอันมาก ตกวา นามบัญญัติชื่อมหาภูตนี้ ทั่วไปในปฐวี อาโป เตโช วาโย ทั้ง ๔ ประการ ดิน น้ํา ไฟ ลม ทั้ง ๔ นี้ได ชื่อวามหาภูตเหมือนกัน จะไดแปลกกันหาบมิไดประการ ๑ ดิน น้ํา ไฟ ลม ทั้ง ๔ ประการนี้ไดชื่อวา ธาตุเหมือนกันเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเหมือนกัน จะไดแปลกกันหาบมิได กิริยาที่พระโยคาพจร กระทํามนสิการกําหนดกฏหมาย เห็นวาธาตุทั้ง ๔ มีลักษณะและกิจแลผลสมุฏฐานอันตางกัน แตทวา ไดนามบัญญัติชื่อวาธาตุ ชื่อวาสังขารธรรมเหมือนกัน เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเหมือนกัน อยางนี้ได ชื่อวา นานตฺเตกตฺตโต มนสิการอาการโดยตางกัน และเหมือนกันแหงธาตุทั้ง ๔ จัดเปนมนสิการ อาการกําเริบเปนคํารบ ๖ แลมนสิการเปนคํารบ ๗ ที่วาใหกระทํามนสิการโดยกิริยาโดยกิริยาที่พราก จากกัน แลบมิพรากจากกันนั้นเปนประการใด อธิบายวาพระโยคาพจรกระทํามนสิการกําหนดโดย แผนกแยกธาตุทั้ง ๔ ออกเปนปฐวี ๒๐ อาโป ๑๒ เตโช ๔ วาโย ๖ ครั้นแลวประมวลเขาเปนมัดเปน หมวด กระทํามนสิการวา อาการในกายนี้แตลวนประกอบไปดวยกลาป มี ดิน น้ํา ไฟ ลม สี แลกลิ่น รส แลโอชา ภาวนารูปแลชีวิตินทรียเหมือนกันสิ้น ปวี อาโป เตโช วาโย วณฺโณ คนฺโธ รโส โอชา นั้นจะไดพรากจากกันหาบมิได กิริยาที่กระทํามนสิการโดยแผนกแยกใหตางกันแลว และกลับมนสิการโดยหมวด โดยมิไดพรากจาก กันไดชื่อวาวินิพโภคา วินิพโภคาจัดเปนมนสิการอาการคํารบ ๗ และมนสิการอาการคํารบ ๘ คือ พิจารณาโดยสภาคและวิสภาคนั้นเปนประการใด อธิบายวาปฐวีธาตุและอาโปธาตุ ๒ ประการนั้นเปน สภาคแกกัน เหตุวาเปนธาตุหนักเหมือนกัน เตโชธาตุกับวาโยธาตุนั่นเลาก็เปนสภาคกัน เพราะเหตุวา เปนธาตุเบาเหมือนกัน และธาตุดินธาตุน้ํา ๒ ประการนั้น เปนวิสภาคแปลกกันกับธาตุไฟและธาตุลม เพราะเหตุธาตุดินและธาตุน้ํานั้นหนัก ธาตุไฟและลมนั้นเบา กิริยาที่พระโยคาพจรเจากระทํามนสิการ กําหนดธาตุโดยแปลกกันและบมิไดแปลกกันดังนี้ จัดเปนมนสิการอาการเปนคํารบ ๙ คืออัชฌัตติกพา หิรวิเศษนั้น เปนประการใด อธิบายวาธาตุทั้ง ๔ ที่ใหสําเร็จกิจวิเศษเปนที่อาศัยแหง จักขุนทรีย โสติ นทรีย ฆานินทรีย ชิวหินทรีย เปนวัตถุที่อาศัยแหงวิญญาณนั้น ไดชื่อวาอัชฌัตติกวิเศษ ธาตุ ๔ อื่น จากธาตุที่เปนอัชฌัตติกวิเศษนี้ จัดเปนพาหิรวิเศษสิ้นทั้งปวง นักปราชญพึงสันนิษฐานวา อาการที่พระโยคาพจรมนสิการกําหนดธาตุโดยอัชฌัตติกวิเศษ และพาหิรวิเศษดังนี้ จัดเปนมนสิการอาการเปนคํารบ ๙ และมนสิการอาการคํารบ ๑๐ ที่วาใหกําหนด ธาตุทั้ง ๔ โดยสงเคราะหนั้น เปนประการใด อธิบายวา กิริยาที่กําหนด ปวี อาโป เตโช วาโย ที่ เปนกรรมฐานเหมือนกันเขาไวในหมวดอันเดียวกําหนด ปวี อาโป เตโช วาโย ที่เปนจิตสมุฏฐาน อุตุสมุฏฐาน อาหารสมุฏฐานเหมือนกันเขาไวเปนหมวด ๆ กัน แกบรรดาที่เปนจิตสมุฏฐานเหมือนกัน นั้นเอาไวหมวด ๑ ที่เปนอาหารสมุฏฐานเหมือนกันเอาไวหมวด ๑ กําหนดอยางนี้แลไดชื่อวามนสิการ โดยสงเคราะห จัดเปนมนสิการเปนคํารบ ๑๐ และมนสิการอาการคํารบ ๑๑ ที่วาใหกระทํามนสิการ โดยปจจัยนั้น เปนประการใด อธิบายวากิริยาที่กระทํามนสิการอาการกําหนดวา ปวี อาโป เตโช วาโย ธาตุทั้ง ๔ นี้ถอยทีเปนปจจัยแกกัน ถอยทีถอยอุปถัมภค้ําชูกัน ถอยทีถอยทะนุบํารุงกันนี้แล ชื่อวามนสิการโดยปจจัยเปนมนสิการอาการคํารบ ๑๑ และมนสิการอาการคํารบ ๑๒ คืออสัมนาหารนั้น เปนประการใด อธิบายวากิริยาที่กําหนดวาธาตุทั้ง ๔ นั้น จะไดรูเนื้อรูตัวอาศัยกันแอบอิงพิงพึ่งกันนั้น หาบมิได เปนปจจัยแกกันก็จริงแล แตทวาหารูวาเปนปจจัยแกกันไม พระโยคาพจรมนสิการกําหนดนี้แล ไดชื่อวามนสิการโดยอสัมนาหาร จัดเปนมนสิการ อาการเปนคํารบ ๑๒ และมนสิการอาการเปนคํารบ ๑๓ คือ ปจจัยวิภาคนั้น เปนการใด อธิบายวา ที่ มนสิการกําหนดวากุศาลกุศลกรรมเปนชนกปจจัยและอัตถิปจจัย อวิคตปจจัยแกธาตุในสมุฏฐานทั้ง ๓ เตโชธาตุเปนปจจัยแกธาตุแตบรรดาที่เปนอุตุสมุฏฐาน เปนอัตถิปจจัยและอวิคตปจจัยแกธาตุใน สมุฏฐานทั้ง ๓ เปนอาหารสมุฏฐานแกธาตุที่เปนอาหารสมุฏฐาน เปนอาหารปจจัยและอวิคตปจจัยแก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 113 ธาตุในสมุฏฐาน พระโยคาพจรกําหนดดังนี้แล ไดชื่อวากําหนดโดยปจจัยวิภาคจัดเปนมนสิการอาการ เปนคํารบ ๑๓ พระโยคาพจรกุลบุตรผูจําเริญจตุธาตุววัตถาน เมื่อพิจารณาธาตุทั้ง ๔ โดยมนสิการแตละ อัน ๆ โดยนัยดังพรรณนามานี้ ธาตุทั้งหลายก็จะปรากฏแจง เมื่อธาตุปรากฏแลวกระทํามนสิการไป เนือง ๆ ก็สําเร็จอุปจารสมาธิ พระกัมมัฏฐานอันนี้ไดนามบัญญัติวาชื่อวาจตุธาตุววัตถาน เพราะเหตุวา บังเกิดดวยอานุภาพแหงปญญาที่กําหนดธาตุทั้ง ๔ พระโยคาพจรกุลบุตรผูประกอบซึ่งจตุธาตุววัต ถานนี้ ยอมมีจิตอันหยั่งลงสูสุญญตารมณ เห็นวารางกายมีสภาวะสูญเปลา แลวก็เพิกเสียไดซึ่งสัตต สัญญา คือสําคัญวาสัตว เมื่อเพิกสัตตสัญญาเสียไดแลวก็อาจจะอดกลั้นซึ่งภัยอันพิลึก อันเกิดแต เนื้อรายและผีเสื้อเปนอาทิ แลวก็ปราศจากโสมนัสและโสมนัสในอิฏฐารมณ จะประกอบดวยปญญา เปนอันมาก อาจจะสําเร็จแกพระนิพพานเปนที่สุด แมยังมิสําเร็จแกพระนิพพาน ก็จะมีสุคติเปนเบื้อง หนา นักปราชญผูมีปญญาพึงอุตสาหะเสพซึ่งจตุธาตุววัตถาน อันมีอานุภาพเปนอันมากดังพรรณนามา ฉะนี้ ฯ วินจิฉัยในจตุธาตุววัตถานยุติแตเพียงเทานี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 114 -

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 2 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-1-

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-2-

ปญญาคนิเทศ วิปสสนากัมมัฏฐาน

“ อิทานิ ยสฺมา เอวํ อภิฺญาวเสน อธิคตานิสํสาย ถิรตาย สมาธิภาวนาย สมนฺนาค เตน ภิกฺขุนา สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ จิตฺตํ ปฺญฺจ ภายนฺติ เอตฺถ จิตฺตสีเสน นิทฺทฏ ิ โ สพฺพกาเรน ภาวิโต โหติ ฯลฯ ” บัดนี้จะวินิจฉัยในวิปสสนากัมมัฏฐานสืบตอไป พระบาลีนี้ เปนคําแหงพระพุทธโฆษาจารยผูตกแตงคัมภีรพระวิสุทธิมรรค สําแดงไวใน เบื้องตนแหงปญญานิเทศวาดวยสมาธิสมเด็จพระพูทธองคตรัสเทศนาดวยจิตเปนประธานในบาทพระ คาถาวา ” สีเล ปติฏาย นโร สปฺโญ จิตฺตํ ปฺญฺจ ภาวยํ” นั้น เมื่อพระโยคาพจรภิกษุผู เห็นภัยในวัฏฏสงสาร จําเริญพระกัมมัฏฐานโดยวิธีที่สําแดงแลวในสมาธินิเทศ ไดสําเร็จกิจแหงพระ กัมมัฏฐานมีสันดานกอปรดวยสมาธิภาวนาอันตั้งมั่นโดยพิสดารพิเศษ ไดสําเร็จอานิสงสคือโลกีย อภิญญา ๕ ประการ มีอิทธิญาณเปนตน ชํานิชํานาญในวิธีแหงอภิญญาสิ้นเสร็จแลวกาลใด พระ โยคาพจรภิกษุนั้นก็ไดชื่อวาจําเริญพระสมาธิภาวนาสําเร็จเสร็จสรรพดวยอาการทั้งปวงในกาลนั้น ครั้น เสร็จในสมาธิภาวนาแลว ลําดับนั้นพระโยคาพจรภิกษุนั้นพึงจําเริญซึ่งปญญาสืบตอขึ้นไป เพื่อจะให ไดสําเร็จมรรคผลและพระนิพพาน และวิปสสนาปญญา ที่สมเด็จพระพุทธองคตรัสเทศนาไวในบาทพระคาถา “ สีเล ปติฏ าย นโร สปฺโญ” เปนตน ยังสังเขปยอนักยากที่กุลบุตรทั้งปวงจะลวงรูเห็นได แตเพียงจะใหหยั่งรู สิยังยากแลว ก็จะกลาวไปไยถึงที่จะจําเริญวิปสสนานั้นเลา ดังฤๅกุลบุตรทั้งปวงจักจําเริญได เหตุ ดังนั้น ขาพระองคผูชื่อวาพุทธโฆษาจารยจักสําแดงซึ่งวิปสสนาปญญานั้นโดยนัยพิสดารในกาลบัดนี้ พระพุทธโฆษาจารยกลาวคําปฏิญญาฉะนี้แลว จึงตั้งเปนปุจฉาปญหากรรมไวในเบื้องตน วา สิ่งดังฤๅไดชื่อวาปญญา ซึ่งเรียกปญญานั้น ดวยอรรถาธิบายเปนดังฤๅ ลักษณะแลกิจแลผลสันนการณแหงปญญานั้นเปนดังฤๅ ปญญานั้นเปนประการเทาดังฤๅ จักจําเริญปญญานั้นควรจักจําเริญโดยพิธีดังฤๅ สิ่งดังฤๅเปนอานิสงสแหงปญญาภาวนา พระพุทธโฆษจารย ตั้งปุจฉาปญหากรรมไวในเบื้องตนดวยประฉะนี้แลว จึงกลาวคําวิสัชนา แกคําปุจฉาสืบตอออกไป ในขอปฐมปุจฉาที่ถามวา สิ่งดังฤๅชื่อวาปญญานั้น วิสัชนาวาปญญานี้มีอาการเปนอันมาก มีอยางตาง ๆ มิใชนอย มิใชอยางเดียว สภาวะฉลาดในศิลปศาสตรวิชาชางตาง ๆ ฉลาดในไตรเภทตาง ๆ เปนตนวา เปนแพทย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-3ทายชาตา ทายนรลักษณ ทายจันทคาหะ สุริยคาหะ เปนแพทยรักษาโรคพยาธิรูนวดรูยา ฉลาดใน สรรพวิชาแตบรรดามีในโลกนี้แตแลวลวนดวยปญญาสิ้นทั้งปวง โดยกําหนดเปนที่สุด แตกิริยาที่ฉลาดในการไรการนาการคาขายขวนขวายใหเกิดทรัพย สมบัตินั้น แตลวนแลวดวยปญญาสิ้นทั้งปวง อันจะปรารภประเภทแหงปญญาทั้งปวงใหสิ้นเชิงแลว และจะวิสัชนาจําแนกแจกออกซึ่ง ประเภทปญญาตาง ๆ นั้น อรรถาธิบายจะฟุงซานฟนเฝอเสียเปลา จะไมสําเร็จประโยชนที่ตองประสงค เหตุใดเหตุดังนั้น ขาพระองคผูชื่อวาพุทธโฆษาจารยจะเลือกเอาแตปญญาที่ตองประสงสนั้น มา สําแดงเปนขอวิสัชนาในภาวนาวิธีที่ขาพระองคประสงคจะสําแดงบัดนี้ ในขอปฐมปุจฉาที่ถามวา สิ่งดังฤๅชื่อวาปญญานั้น นักปราชญพึงสันนิษฐานวา วิปสสนา ญาณที่สัมปยุตประกอบดวยกุศลจิตพิจารณาไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้นแล ไดชื่อวา ปญญา ในขอทุติยปุจฉาที่ถามวา ธรรมชาติที่ชื่อวาปญญา ดวยอรรถาธิบายเปนดังฤๅนั้น วิสัชนา วา “ ปชานนตฺเถน ปฺญา” ธรรมชาติซึ่งไดนามบัญญติชื่อวาปญญานั้น ดวยอรรถวาใหรู โดยประการ อธิบายวา กิริยาที่รูชอบ รูดี รูพิเศษ โดยอาการตาง ๆ นั้นไดชื่อวารูโดยประการ ถาจะวาดวยธรรมชาติอันมีกิริยาใหรูนั้น มี ๓ คือสัญญา ๑ วิญญาณ ๑ ปญญา ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ มีกิริยาใหรูอารมณเหมือนกัน แตสัญญากับวิญญาณ ๒ ประการนี้ ไมรูพิเศษเหมือนปญญา สัญญานั้นใหรูแตวาสิ่งนี้เขียว นี้ขาว นี้แดง นี้ดํา เพียงเทานั้น อันจะใหรูถึงไตรพิธลักษณะ คือ อนิจัง ทุกขัง อนัตตานั้น สัญญารูไปไมถึง ฝายวิญญาณนั้น ใหรูจักเขียวแลขาวแลดํา ใหรูตลอดถึงไตรธลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาดวย แตวามิอาจจะเกื้อหนุนใหดําเนินขึ้นถึงอริยมรรคอริยผลได สวนปญญานั้นใหรูพิเศษให รูจักขาวเขียวแดงดํา ใหรูจักไตรธิลักษณะทั้ง ๓ แลวเกื้อหนุนใหดําเนินขึ้นถึงอริยมรรคอริยผล ใหสิ้น ทุกขสิ้นภัยในวัฏฏสงสารได แทจริง ธรรมทั้ง ๓ ประการ คือ สัญญาแลวิญญาณกับปญญานี้เปรียบเหมือนชน ๓ จําพวกคือ ทารกนอย ๆ ๑ บุรุษชาวบานที่เปนผูใหญ ๑ ชางเงินจําพวก ๑ ชน ๓ จําพวกนี้รูจัก กหาปณะแลรูปมาสกไมเหมือนกัน ทารกนอย ๆ นั้น ไดเห็นกหาปณะแลรูปมาสก ก็รูแตวาสิ่งนี้งามวิจิตร อันนี้อันนี้อันสั้นอันนี้ เหลี่ยมแลกลม รูแตเพียงนั้นจะใดรูวาสิ่งนี้โลกสมมติวาเปนแกวเปนเครื่องอุปโภคบริโภคแหงมนุษย ทั้งปวง จะไดรูฉะนี้หามิได ฝายบุรุษชาวบานที่เปนผูใหญนั้น รูวางามวิจิตรรูวายาวสั้นเหลี่ยมกลม แลรู แจงวาสิ่งนี้โลกทั้งหลายสมมติวาเปนแกว เปนเครื่องอุปโภคบริโภคแหงมนุษยทั้งปวง รูแตเทานี้จะรู วากหาปณะอยางนี้ เนื้อสุก เนื้อบริสุทธิ์ไมแปดปน อยางนี้เปนทองแดง ธรรมเนียมอยางนี้เนื้อเงินกึง ทองแดงกึ่งจะไดรูฉะนี้หามิได “ เหรฺญญิโก ” สวนชางเงินนั้นรูตลอดไปสิ้นเสร็จทั้งปวง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-4“ โอโลเกตฺวา ชานาติ” บางคาบแตพอแลเห็นก็รูวา กหาปณะชาตินี้กระทําในนิคมแล คามเขตชื่อโนน ๆ กระทําในนครแลชนบทชื่อโนน ๆ ทําแทบภูเขาแลฝงแมน้ําโนน ๆ อาจารยชื่อนั้น ๆ กระทํา นายชางเงินรูตลอดไปฉะนี้ ดวยกิริยาที่ไดเห็นรูปพรรณสัณฐานกหาปณะ บางคาบนั้นไดยินแต เสียงกาหาปณะกระทบ ก็รูวากหปณะชาตินี้ทําที่นั้น ๆ ผูนั้น ๆ ทําบางคาบไดดมแตกลิ่นหรือไดลิ้มแต รสก็รู ไดหยิบขึ้นชั่งดวยมือก็รู นายชางเงินรูจักกหาปณะพิเศษกวาทารกนอย และบุรุษชาวบานผูเขลา ฉันใด ปญญานี้ก็รูพิเศษกวาสัญญาแลวิญญาณมีอุปไมยดังนั้น นักปราชญพึงสัญนิษฐานวา นามบัญญัติชื่อวาปญญา ๆ นั้นดวยอรรถวารูชอบรูพิเศษ โดย การตาง ๆ ดังนี้ ในขอตติยปุจฉาที่ถามวา ดังฤๅนั้น วิสัชนาวา

ลักษณะแลกิจแลผลอาสันนการณเหตุใกลแหงปญญาเปน

"ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา” ปญญาที่มีลักษณะใหตรัสรูซึ่งสภาวะปกติแหงรูปธรรมทั้ง ปวง อธิบายวาอาการไมเที่ยงไมแทกอปรดวยทุกข ที่ไมเปนแกสารใชตนใชของตน นี่แลเปน สภาวะปกติแหงรูปธรรมแลนามธรรม ขึ้นชื่อวาเกิดมาเปนรูปธรรมนามธรรมแลว ก็มีแตไมเที่ยงเปน ทุกขปราศจากแกนสารนั้น เปนปกติธรรมธรรมดา เมื่อนามแลรูปเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาอยู โดยสถาวะปกติดังนี้ วิสัสนาปญญานั้นใหรูวิปริตคือจะใหรูวาเที่ยงเปนสุขเปนแกนสาร เปนตนเปนของ ตนนั้นหาบมิได วิปสสนาปญญานั้นใหรูชัดใหเห็นแจมแจงวา รูปธรรมนามธรรมนี้เปนอนิจจังไมเที่ยง ไมแทโดยปกติธรรมดา กอปรดวยทุกขตาง ๆ โดยปกติธรรมดา เปนอนุตตาใชตัวตน ใชของแหงตน โดยปกติธรรมดา เพราะวิปสสนาปญญานั้นรูแจงรูชัดฉะนี้ จึงวิปสสนาวา กิริยาที่ใหตรัสรูซึ่งสภาวะ ปกติเห็นรูปธรรมนี้แลเปนลักษณะแหงวิปสสนาปญญา “ ธมฺมานํ สภาวปฏิจฺฉาทกโมหนฺธการวิทฺธํสนรสา” ถาจะวาโดยจิตวิปสสนาปญญา นั้น มีกิจอันขจัดเสียซึ่งมืดคือโมหะ อันปกปดไวซึ่งสภาวะปกติแหงรูปธรรมทั้งปวง อธิบายวา สัตวทั้งหลายแตบรรดาที่เห็นผิด เห็นวาสัตวเที่ยงโลกเที่ยงเห็นวามีความผาสุก สนุกสบาย เห็นวาเปนตนเปนของแหงตนนั้น อาศัยแกโมหะปดปองกําบัง เมื่อโมหะบังเกิดกลาอกุศล มูลดองอยูในสันดานแลวก็จะเห็นวิปริต ที่ผิดก็กลับเห็นวาชอบ ที่ชั่วจะกลับเห็นวาดี นามรูปที่ไมเที่ยง นั้น ที่กอปรดวยทุกขนั้น จะกลับเห็นวาเปนแกนสาร ที่ใชตัวใชตนนั้น จะกลับเห็นวาเปนตัวตน เพราะ เหตุโมหะปกคลุมหุมหอจิตสันดาน โมหะอันทําใหมืดมนอนธการเห็นปานฉะนี้ จะขจัดไปไดนั้นอาศัย แกวิปสสนาปญญา ๆ บังเกิดแลวกาลใด ก็ใหสําเร็จกิจขจัดมืดคือโมหะไดในกาลนั้น “ อสมฺโมหปจฺจุปฺปฏานา ”

ถาจะวาโดยผลนั้น วิปสสนาปญญามีกิริยาใหสําเร็จกิจคือ

มิใหหลง อธิบายวา เมื่อวิปสสนาปญญาบังเกิดกลาเรี่ยวแรงอยูแลว จิตสันดานแหงพระโยคาพจร ก็ จะปราศจากความหลง จะหนักแนนแมนยําอยูในกิริยาที่รูชัดรูแจงวา นามแลรูปเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มิไดกลับหลัง “ สมาธิ ตสฺสา ปทฏานํ ” ถาจะวาโดยอาสันนการณ คือเหตุที่ใกลเปนอุบัติเหตุให วิปสสนาปญญาบังเกิดนั้นมิใชอื่นไกล ไดแกสมาธิ สมาธินี่แลเปนเหตุอันใกล สมาธิบังเกิดกอนแลว วิปสสนาปญญาจึงบังเกิดเมื่อภายหลัง คําวาสมาธิเปนอาสันนการณเหตุใกลใหเกิดวิปสสนาปญญานั้น สมควรแกพระบาลีวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-5“ สมาหิโต ยถาภูตํ ชานาติ ปสฺสติ ” พระโยคาพจรจะเห็นแทรูแนนั้น อาศัยที่มีจิต สันดานอันตั้งมั่นเปนสมาธิแลวกาลใด ก็จะไดวิปสสนาปญญาอันเห็นแทรูแนในกาลนั้น สําแดงลักษณะแลกิจแลอาสันนเหตุแหงวิปสสนาปญญา แกขอปุจฉาเปนคํารบ ๓ ดวย ประการฉะนี้แลว จึงกลาวคําวิสัชนาแกขอปุจฉาเปนคํารบ ๔ สืบตอไป ขอซึ่งถามวาปญญามีประการเทาดังฤๅนั้น วิสัชนาวาวิปสสนานั้นถาจะวาโดยสังเขปมี ประการอันหนึ่ง ดวยสมารถลักษณะที่ใหรูชัดรูแจงซึ่งสภาวะปกติแหงรูปธรรมนามธรรมเปนอนิจจังทุก ขังอนัตตา โดยปกติธรรมดานั้น ถาจะวาโดยประเภทวิปสสนาปญญานั้น ตางออกโดยทุกกะ ๕ ติกกะ ๔ จตุกกะ ๒ ทุกกะ ๕ นั้น ในปฐมทุกกะ จําแนกออกซึ่งปญญา ๒ ประการ คือ โลกิยปญญา ๑ โลกุตตร ปญญา ๑ โลกิยปญญานั้น ไดแกปญญาอันสัมปยุตดวยโลกิยมรรถ อธิบายวา ปญญาอันประกอบในวิสุทธิ ๔ ประการ มีทิฏฐวิสุทธิเปนตน มีปฏิปทาญาณทัส สนวิสุทธิเปนปริโยสาน นั้นแลไดชื่อวาปญญาอันสัมปยุตดวยโลกิยมรรค จัดเปน โลกิยปญญาในที่อัน นี้ แลโลกุตตรปญญานั้น ไดแกปญญาอันสัมปยุตดวยโลกุตตรมรรถทั้ง ๔ ประการ มีโสดา ปตติมรรคเปนตน มีอรหัตตมรรคเปนปริโยสาน ในทุติยทุกกะนั้น จําแนกออกซึ่งปญญา ๒ ประการ คือ อสวปญญา ๑ อนาสวปญญา ๑ อสวปญญานั้น ไดแกปญญาอันบังเกิดเปนอารมณแหงอาสวะ อนาสวปญญานั้น ไดแกปญญาอันมิไดบังเกิดเปนอารมณแหงอาสวะ อธิบายวา ปญญาอันเปนโลกิยะนั้นแลเปนอารมณแหงอาสวะ ปญญาอันเปนโลกุตตระนั้น จะไดเปนอารมณแหงอาสวะมิได ในตติยทุกกะนั้น จําแนกออกซึ่งปญญา ๒ ประการ คือนามววัตถาปนปญญา ๑ รูปววัตถา ปนปญญา ๑ อธิบายวา ปญญาแหงพระโยคาพจร อันปรารถนาซึ่งวิปสสนาแลกําหนดหมายซึ่งนามขันธ ทั้ง ๔ กอง คือ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ นั่นแลไดชื่อวานามววัตถาปน ปญญา แลปญญาแหงพระโยคาพจรที่กําหนดกฏหมายรูปขันธนั้น ไดชื่อวารูปววัตตถาปนปญญา ในจตุตถทุกกะนั้น จําแจกออกซึ่งปญญา ๒ ประการ คือโสมนัสปญญา ปญญาอัมสัมปยุต เกิดกับดับพรอมดวยโสมนัส ๑ อุเบกขาปญญา ปญญาอันสัมปยุตเกิดกับดับพรอมดวยอุเบกขา ๑ อธิบายวา ปญญาอันบังเกิดพรอมดวยกามาพจรกุศลจิต แลปญญาอันบังเกิดพรอมมัคคจิต

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-6๑๖ ดวง แตบรรดาที่ยุติในปฐมฌาน ทุติยฌานฝายปญญากะนั้นไดชื่อวาปญญาสัมปยุตเกิดกับดับ พรอมดวยโสมนัส แลปญญาอันบังเกิดพรอมดวยกามาดวยกามาพจรกุศลจิตทั้งปวง แลปญญาบังเกิดพรอม ดวยมัคคจิต ๔ ดวง ที่ยุติในปญญจมฌานนั้นไดชื่อวาปญญาสัมปยุตเกิดกับดับพรอมดวยอุเบกขา ในปญจมทุกกะนั้น จําแนกออกซึ่งปญญา ๒ ประการ คือปญญาประกอบในทัสสนภูมิ ๑ ปญญาประกอบในภาวนาภูมิ ๑ อธิบายวา

ปญญาที่บังเกิดพรอมดวยโสดาปตติมัคคจิตนั้นแลไดชื่อวาปญญาประกอบ

ในทัสสนภูมิ แลปญญาที่บังเกิดพรอมสกาคามิมรรค ปญญาในภาวนาภูมิ

อนาคามิมรรคอรหันตตมรรค

นั่นแลไดชื่อวา

สําแดงประเภทแหงปญญาดวยทุกกะ ๕ ดังนี้ ลําดับนั้นจึงสําแดงประเภทแหงปญญาดวย ติกกะ ๔ สืบไป ในปฐมติกกะนั้น จําแนกออกซึ่งปญญา ๓ ประการ คือ จินตามยปญญาประการหนึ่ง สุ ตามยปญญาประการหนึ่ง ภาวนามยปญญาประการหนึ่ง อธิบายวา ปญญาอันบังเกิดดวยอํานาจความคิด หาไดสดับตรับฟง ถอยคําอุปเทศแต สํานักแหงผูอื่นไมคิด ๆ ไปก็ไดปญญาเกิดขึ้นในสันดาน ปญญาเกิดขึ้นดวยความคิด สําเร็จดวย ความคิดนั้นไดชื่อวาจิตตามยปญญา แลปญญาอันบังเกิดดวยสามารถไดสดับอุปเทศแตสํานักแหงผูอื่นใหสําเร็จกิจอันควรแก ประสงค ดวยอํานาจไดสดับนั้นชื่อวาสุตมยปญญา แลปญญาอันบังเกิดดวยสามารถเจริญภาวนา ใหถึงซึ่งฌานดวยอํานาจเจริญภาวนานั้น ได ชื่อวาภาวนามยปญญา ที่วาดังนี้สมดวยพระพุทธฎีกาที่โปรดประทานพระสัทธรรมเทศนาไวในพระ อภิธรรม “ ตตฺถ กตมา จินฺตามยปฺญา ฯ เป ฯ” อธิบายความในพระบาลี ที่ตั้งปุจฉาไวในเบื้องตน จินตามยปญญาที่กลาวไวในปฐมติกกะ นั้นเปนดังฤๅ จึงมีคําวิสัชนาวา การงานทั้งหลาย แตบรรดาที่ควรจะสําเร็จดวยอุบายนั้นก็ดี ศิลปศาสตร แลวิชาความรูทั้งหลาย แตบรรดาที่ควรจะใหสําเร็จดวยอุบายนั้นก็ดี ถาบุคคลมิไดสดับฟงซึ่งอุปเทศ แตสํานักแหงผูอื่นเลย แลคิดไดดวยกําลังปญญาแหงตนรูวาการสิ่งนี้ ๆ ควรจะกระทําอยางนี้ศิลป ศาสตรสิ่งนี้ ๆ วิชาสิ่งนี้ ๆ สําเร็จดวยพิธีดังนี้ ๆ แลกิริยาที่คิดไดนั้น คิดไดดวยปญญาดวงใด ปญญา ดวงนั้นแลไดชื่อวาจินตามยปญญา ใชแตเทานั้น โลกยอมมีกรรมเปนของ กระทําดีก็จะดีอยูแกตน เมื่อมิไดสดับตรัสฟงเลย ปญญา

บุคคลที่ไมไดสดับฟงแตสํานักแหงผูอื่นเลย แลคิดไดเองวาสัตวทั้งหลายใน ๆ ตนกระทําดีก็ดีไดดี กระทําชั่วก็ไดชั่ว กระทําไวอยางไรก็จะไดอยางนั้น กระทําชั่วก็จะชั่วอยูแกตน สัตวทั้งหลายมีกรรมเปนของแหงตนสิ้นดวยกัน แลคิดไดเองดังนี้ดวยกําลังปญญาดวงใด ปญญาดวงนั้นไดชื่อวาจินตามย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-7แลสุตมยปญญานั้นเปนดังฤๅ วิสัชนาวา การงานทั้งปวงที่สําเร็จดวยอุบายนั้น ๆ ก็ดี การพิจารณาเห็นวาสัตวมีกรรมเปน ของแหงตนก็ดีเปนตน ตอไดสดับอุปเทศและคําแนะนําหรือสดับธรรมเทศนากอน จึงเกิดปญญาได ปญญาดวงนี้ชื่อวาสุตมยปญญา แลภาวนานามยปญญานั้นเปนดังฤๅ วิสัชนาวาปญญาแหงพระโยคาพจรที่บังเกิดขึ้น ในขันธสันดานในกาลเมื่อยับยั้งอยูในฌาน สมาบัตินั้น ไดชื่อวาภาวนามยปญญา ในทุติยติกกะนั้นสําแดงปญญา ๓ ประการ คือ ปริตตารัมมณปญญา ๑ มหัคคตารัมมณ ปญญา ๑ อัปปมาณารัมมณปญญา ๑ ปญญาที่ปรารภรําพึงซึ่งธรรมทั้งหลายแตบรรดาที่เปนรูปาวจรธรรม แลอรูปวจรธรรมนั้น ยึด หนวงเอาเปนอารมณแลวแลฟระพฤติเปนไปในสันดานนั้น ไดชื่อวาปริตตรัมมณ แลมหัคคตารัมมณ ปญญา เปนใจความวา ปริตตารัมมณปญญาแลมหัคคตารัมมณปญญาทั้งสองนี้ วิปสสนาสิ้นเสร็จทั้งปวง แตบรรดาที่บังเกิดในสันดานแหงพระโยคาพจรที่เปนปุถุชน

ไดแกโลกีย

สวนอัปปมาณารัมมณปญญานั้น ไดแกปญญาอันปรารภรําพึงเอาพระนิพพานเปนอารมณ แลวประพฤติเปนไปในสันดาน ไดแกโลกุตรวิปสสนาที่มีในสันดานของพระเสขบุคคลทั้งปวง ในตติยติกกะนั้น สําแดงปญญา ๓ ประการ คือ อายโกศลปญญา ๑ อปายโกศลปญญา ๑ อุปายโกศลปญญา ๑ ปญญาอันใดในความเจริญ ปญญาอันนั้นไดชื่อวาอายโกศลปญญา อายะนั้น แปลวาความเจริญ ลักษณะแหงความเจริญนั้นมี ๒ ประการ คือ “อนตฺถหานิโต”

ความเจริญบังเกิดแลวขจัดเสียซึ่งความพินาศยังอัปมงคลใหเสื่อมสูญ

ประการ ๑ “ อตฺถุปฺปตฺติโต” ความจําเริญอันเกิดภายหลัง ใหกําลังแกความจําเริญที่เกิดกอน ยังสิริ สวัสดิมงคลที่เกิดแลว ใหภิยโยภาพวัฒนาประการ ๑ อธิบายนี้ สมดวยพระพุทธฎีกา ที่สมเด็จพระพุทธองคเจาตรัสเทศนาไววา “ ตตฺถ กตมํ อายโกสลฺลํ อิเม ธมฺเม มนสิกโรโต อนุปฺแนฺนา เจว อกุสลา ธมฺมา น อุปฺปชฺชนฺติ ฯเปฯ อยํ วุจฺจติ อายโกสลฺล”ํ เนื้อความวาบรรดาธรรมทั้งหลายที่เราตถาคตเทศนาไวในปญญานิเทศนั้น สิ่งดังฤๅไดชื่อ วาอายโกศล ตรัสปุจฉาฉะนี้แลวจึงตรัสวิสัชนาวาปญญาที่บังเกิดในสันดานแหงพระโยคาพจร ยังพระ โยคาพจรใหเห็นแจงรูมิไดลุมหลง ใหพิจารณาเห็นชัดเห็นชอบ ใหเห็นเปนอันดี อาตมากระทํา มนสิการภาวนาซึ่งธรรมสิ่งนี้ ๆ ไวในสันดาน อกุศลธรรมทั้งหลายแตบรรดาที่ยังมิไดบังเกิดนั้น อาตมา ก็สละเสียไดใหปราศจากขันธสันดาน เมื่ออาตมากระทํามนสิการภาวนาซึ่งธรรมสิ่งนี้ ๆ กุศลธรรม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-8ทั้งหลายแตบรรดาที่ยังมิไดบังเกิดนั้น ก็บังเกิดขึ้นในสันดาน ที่บังเกิดแลวนั้น ก็วัฒนาภิยโยภาพ ไพบูลยเปนอันดีปญญาฉลาดเห็นแจงรูแจงไมลุมหลงเห็นชัดเห็นชอบเห็นเปนอันดีอยางนี้แหละพระ ตถาคตตรัสเรียกชื่อวาอายโกศล เปนใจความวา ปญญาที่ฉลาดในมนสิการภาวนาซึ่งธรรมอันเปนปจจัย จําเริญนั้นแลไดชื่อวา อายโกศลปญญา

ใหบังเกิดความ

แลอปายโกศลปญญานั้นเปนดังฤๅ อธิบายวา ปญญาอันฉลาดในที่พิจารณา เปนเคามูลแหงฉิบหายนั้น แลไดชื่อวา อปาย โกศลปญญา อปายะ ๆ นั้น แปลวาความฉิบหาย ลักษณะแหงความฉิบหายนั้นมีสองประการ คือ “อตฺถหานิโต” ความฉิบหายบังเกิดแลว ยังความเจริญใหเสื่อมสูญ ๑ “อตฺถุปฺปตฺติโต” ความฉิบหายบังเกิดภายหลัง ใหกําลังแกความฉิบหายที่บังเกิดกอน ยังความฉิบหายที่บังเกิดอยูแลวนอย ๆ นั้นใหภิยโยภาพ ๑ อธิบายฉะนี้ สมเด็จพระพุทธฎีกา ที่สมเด็จพระพุทธองคเจาตรัสเทศนาวา “ตตฺถ กตมํ อปายโกสลฺลํ อิเม ธมฺเม มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว กุสลา ธมฺมา น อุปฺปชฺชนฺติ” เปนตน อธิบายวาธรรมทั้งหลาย แตบรรดาที่พระตถาคตตรัสเทศนาในปญญานิเทศนั้น สิ่งดังฤๅได ชื่อวา อปายโกศล ๆ นั้นจะไดแกสิ่งดังฤๅ ตรัสปุจฉาฉะนี้แลว จึงตรัสวิสัชนาวา ปญญาที่บังเกิดในสันดานแหงพระโยคาพจร ยังพระ โยคาพจรใหเปนแจงรูแจงมิไดลืมหลงฟนเฟอนใหพิจารณาเห็นชัดเห็นชอบ ใหเห็นเปนอันดีวาอาตมา กระทํามนสิการซึ่งธรรมสิ่งนี้ ๆ ไวในสันดาน กุศลธรรมทั้งหลายแตบรรดาที่ยังมิไดบังเกิดไมบังเกิดขึ้น เลย ที่บังเกิดแลวนั้นก็เสื่อมสูญอันตรธานไปจากสันดานมิไดวัฒนาการจําเริญอยูเปนอันดี ปญญาที่ ฉลาดรูชัดรูชอบรูจักแทซึ่งปจจนิกธรรมอันเปนปจจัยใหบังเกิดความฉิบหายอยางนี้ พระตถาคตตรัส เรียกชื่อวาอปายโกศลปญญา แลอุปายโกศลปญญานั้นเปนดังฤๅ อธิบายวา ปญญาอันมีสภาวะใหฉลาด บังเกิดสมควรแกเหตุประพฤติเปนไปในขณะเมื่อมี เหตุ กระทําใหสําเร็จอุบายตาง ๆ แตบรรดาที่เปนอุบาย ใหเกิดความสุขแลประโยชนตน ประโยชน ผูอื่นไดชื่อวาอุปายโกศลปญญา ในจตุตถติกะนั้น ก็สําแดงปญญา ๓ ประการ คือ อัชฌัตตาภินิเวสปญญา ๑ พหิหธาภินิเวส ปญญา ๑ อัชฌัตตพหิทธาภินิเวสปญญา ๑ ปญญาอันกําหนดหมายซึ่งขันธปญจกแหงตน ถือเอาเปนขันธปญจกภายในกายแหงตน เปนอารมณแลว แลปรารภพึงพิจารณาใหเห็นเปนอนิจจังทุกขังอนัตตานั้น ไดชื่อวาอัชฌัตตาภินิเวส ปญญา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


-9แลปญญาอันกําหนดหมายซึ่งขันธปญจกนอกคือ ถือเอาขันธปญจกแหงผูอื่นเปนอารมณ แลว แลปรารภรําพึงพิจารณาใหเห็นเปนอนิจจังทุกขังอนัตตานั้นก็ดี ถือเอารูปอันเปนภายนอกที่มิได เนื่องดวยชีวิตินทรียนั้นเปนอารมณแลว แลปรารภรําพึงพิจาณาใหเห็นเปนอนิจจังทุกขังอนัตตานั้นก็ดี ปญญาอยางนี้แลไดชื่อวา พหิทธาภินิเวสปญญา แลปญญาที่ถือเอาขันธปญจก ทั้งภายในแลภายนอกเปนอารมณแลว พิจารณาใหเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้น ไดช่อ ื วาอัชฌัตตพหิทธาภินิเวสปญญา

แลปรารภรําพึง

พระผูเปนพระพุทธโฆษาจารย เมื่อสําแดงประเภทแหงปญญาดวยติกกะทั้ง วิสัชนามาฉะนี้ ลําดับนั้นจึงสําแดงประเภทแหงปญญาดวยจตุกกะทั้งสองสืบตอไป

มีนัยดัง

ในปฐมจตุกกะนั้น สําแดงปญญา ๔ ประการ คือ ทุกขสัจจญาณ ๑ ทุกขสมุทยญาณ ๑ ทุกขนิโรธญาณ ๑ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาญาณ ๑ ปญญาอันปรารภรําพึงเอาทุกขสัจจเปนอารมณแลว แลประพฤติเปนไปในสันดานนั้น ไดชื่อ วาทุกขสัจจญาณ ปญญาที่ปรารภพึงเอาตัญหาอันเปนที่กอใหเกิดทุกขนั้นเปนอารมณแลว เปนไปในสันดานนั้น ไดชื่อวาทุกขสมุทยญาณ

แลประพฤติ

ปญญาที่ปรารภรําพึงเอาพระนฤพานเปนอารมณ แลวแลประพฤติเปนไปในสันดานนั้น ได ชื่อวาทุกขนิโรธญาณ ปญญาที่ปรารภรําพึงเอาขอปฏิบัติ อันจะใหถึงซึ่งพระนิพพานเปนที่ดับทุกขนั้นเปนอารมณ แลว แลประฟฤติเปนไปในสันดานนั้น ชื่อวาทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาญาณ ในทุติยจตุกกะนั้นสําแดงปญญา ๔ ประการ คือ อัตถปฎิสัมภิทาญาณ ๑ ธัมมปฏิสัมภิทา ญาณ ๑ นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ปฏิภาน ปฏิสัมภิทาญาณ ๑ อธิบายในปญญา ๔ ประการนี้ สมเด็จพระ พุทธองคโปรดประทานพระธรรมเทศนาไววา “อตฺเถ ญาณํ” ปญญาที่เห็นแจงรูแจงในอรรถ แตกฉานในอรรถขึ้นใจขึ้นปากในอรรถนั้น ไดชื่อวา อัตถปฏิสัมภิทาญาณ ในบทวา อัตถ ๆ นั้นเปนชื่อแหงผล ปญญาที่เห็นแจงรูแจงวาผลสิ่งนั้น ๆ จะบังเกิดมีนั้น อาศัยแกเหตุสิ่งนี้ ๆ เมื่อเหตุมีชื่อดังนี้ ๆ บังเกิดมีแลว ผลมีชื่อดังนี้ ๆ จึงจะบังเกิดมี ปญญากลาหาญ แตกฉานในสรรพผลทั้งปวง รูชํานิชํานาญขึ้นใจขึ้นปากในสรรพผลทั้งปวงนี้แลไดชื่อวา อัตถ ปฏิสัมภิทาญาณ แลปญญาเห็นแจงรูแจงในเหตุวาสิ่ง ๆ ใหบังเกิดผลสิ่งนี้ ๆ ปญญากลาหาญแตกฉานใน สรรพเหตุทั้งปวง รูชํานิชานาญขึ้นปากในสรรพเหตุทั้งปวงนั้นไดชื่อวา ธัมมปฏิสัมภิทาญาณ ถาจะแสดงโดยประเภทนั้น ในบทวา อัตถ ๆ นั้นไดแกธรรม ๔ ประการ คือ “ยํ กิฺจิ ปจฺจยสมฺภูตํ” สรรพผลทั้งปวงแตบรรดาที่บังเกิดแตเหตุทีมีทุกขสัจจเปนตนนั้น ๑ “นิพฺพานํ นฤพานธรรม ๑ “ ภาสิตตฺโถ” อรรถกถาแตบรรดามีในพระไตรปฎก ๑ “ วิปา โก” วิปากจิต ๑ “ กิริยา” กิริยาจิต ๑ เปน ๕ กองดวยกันไดนามชื่อวาอัตถสิ้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 10 “ตํ อตฺถํ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส” เมื่อพระอริยบุคคล พิจารณาซึ่งอรรถ คือ ธรรม ๔ กองนี้แล ปญญากลาหาญแตกฉานในพระธรรม ๕ กองนี้ ไมขัดไมของแลวกาลใด ปญญานั้นก็ไดชื่อวาอัตถ ปฏิสัมภิทาญาณในกาลนั้น กอง คือ

แลธัมมปฏิสัมภิทาญานนั้นเลา

ถาจะสําแดงโดยประเภทในบทวาธัมมะ ๆ ก็ไดแกธรรม ๕

“ โย โกจิ ผลนิพฺพตฺตโก เหตุ” เหตุสรรพทั้งปวงแตบรรดาที่ใหบังเกิดผลมีตนวาสมุทัย สัจจ ๑ “ อริยมคฺโค” อริยมรรคนั้น ๑ “ ภาสิต” พระบาลีทั้งปวงแตบรรดาที่มีในพระไตรปฏกนี้ ๑ “ อกุสสํ” กุศลจิต ๑ “ กุสลํ” อกุศลจิต ๑ รวมเปน ๕ กองดวยกันไดชื่อวาธัมมะทั้งสิ้น “ ตํ ธมฺมํ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส” เมื่อพระอริยบุคคลพิจารณาซึ่งธรรมทั้ง ๕ นี้ แลปญญากลา หาญแตกฉานในธัมมะ ๕ กองนี้ ไมขัดไมของแลวในกาลใด ปญญานั้นไดชื่อวาธัมมปฏิสัมภิทาญาน ในกาลนั้น นักปราชญพึงรูอรรถาธิบายตามนัยพระอรรถกถาจารย จําแนกออกไวในพระอภิธรรมกถา โดยนัยเปนตนวา “ทุกฺเข ญาณํ” ปญญาที่แตกฉานเห็นแจงรูแจงในกองทุกขมีชาติทุกขเปนตน ไดชื่อ วาอัตถปฏิสัมภิทาญาณแตกฉานในผลเพราะเหตุวากองทุกขทั้ง ๑๒ กอง มีชาติทุกขเปนตนนั้นเปน ผลแหงตัณหา ตัณหาเปนเหตุใหบังเกิด ปญญาที่แตกฉานรูแจงเห็นในตัณหา อันมีประเภท ๑๐๘ ประการนั้น ไดชื่อวาธัมม ปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในเหตุ เพราะเหตุวาตัณหานั้นเปนมูลเหตุใหบังเกิดผล คือกองทุกขสิ้นทั้ง ปวง “ชรามรเณ ญาณํ” อนึ่ง ปญญาที่แตกฉานรูแจงเห็นแจงในชราแลมรณะนั้นไดชื่อ วาอัตถปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในผลเพราะเหตุวาชรามรณะนั้น เปนผลแหงตัณหาบังเกิดแตเหตุ คือ ตัณหา แลปญญาแตกฉานเห็นแจงรูแจงในตัณหา อันเปนเหตุใหเกิดชรา แลมรณะนั้น ไดชื่อ วาธัมมปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในเหตุเพราะวาตัญหาเปนมูลเหตุใหบังเกิดผลคือ ชราแลมรณะนั้น “ทุกฺขนิโรเธ ญานํ” อนึ่งปญญาที่แตกฉานเห็นแจงรูแจงในกิริยาที่ดับสูญแหงสังขาร ธรรมทั้งปวงนั้น ไดชื่อวาอัตถปฏิสัมภิทาญาณแตกฉานในผล เพราะวากิริยาที่ดับสูญแหงสังขารธรรม ทั้งปวงเปนผลแหงนิโรธคามินีปฏิบัติบังเกิดแตเหตุ คือนิโรธคามินีปฏิปทา แลปญญาที่แตกฉานรูแจงเห็นแจงในนิโรธคามินีปฏิปทา กลาวคือพระอัฏฐังคิกมรรคนั้น ไดชื่อวาธัมมปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในเหตุเพราะวาอัฏฐังคิกมรรคนี้ เปนมูลเหตุใหบังเกิดผลคือ กิริยาอันดับแหงสังขารธรรมทั้งปวง อนึ่ง ปญญาแตกฉานในพระบาลีที่สําแดงวังคสัตถุศาสนาทั้ง ๙ มีสุตตตะเปนอาทินั้น ได ชื่อวาธัมมปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในเหตุเพราะเหตุวานวังคสัตถุศาสนานี้เปนมูลเหตุบังเกิดผล คือ พระอรรถกถา แลปญญาที่แตกฉานในพระอรรถกถา เห็นแจงรูแจงอรรถอันนี้แกพระบาลีอันนี้ อรรถอันนี้ แกพระคัมภีรอันนี้ ปญญารูแจงฉะนี้ ไดชื่อวาอัตถปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในผล เพราะเหตุวาพระ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 11 อรรถกถานั้น เปนผลแหงนวังคสัตถุศาสนา บังเกิดแตเหตุคือนวังคสัตถุศาสนา อนึ่ง ปญญาที่แตกฉานในกุศลจิต อกุศลจิตเห็นแจงตามพระบาลี คือ “ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ โหติ” เปนอาทินั้นไดชื่อวาธัมมปฏิสัมภิทา ญาณ แตกฉานในเหตุเพราะเหตุวากุศลจิตแลอกุศลจิตนั้นเปนมูลเหตุใหบังเกิดบากจิตทั้งปวง โดย ควรแกกําลังที่กลาแลออนแลปานกลางนั้น แลปญญาที่แตกฉานเห็นแจงรูแจงในวิบากแหงกุศล แลอกุศลทั้งปวงนั้น ไดชื่อวาอัตถ ปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในผล เพราะเหตุวาวิบากจิตทั้งปวงนั้นเปนผลแหงกุศลแลอกุศล บังเกิดแต เหตุคือกุศลแลอกุศล แลนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณนั้น ไดแกปญญาอันเห็นแจงรูแจงแตกฉานในวิคคหะแหงพระ บาลีที่สมเด็จพระพุทธองคตรัสเทศนาไวดวยมูลภาษา คือ ภาษามคธนั้น แตพอไดยินผูอื่นกลาวซึ่ง บาลีก็รูชัดรูสันทัดวาพระบาลีสภาวะนิรุตติ คือมีวิคคหะเปนปกติมิไดวิปริต พระบาลีบมิเปนสภาวะ นิรุตติ คือมีวิคคหะอันวิปริตบมิไดเปนปกติ รูในวิคคหะแหงพระบาลีสันทัดฉะนี้ดวยอํานาจนิรุตติ ปฏิสัมภิทาญาณ “นิรุตฺติปฏิสมฺภิทปฺปตฺโต” แทจริงพระอริยบุคคลที่ถึงซึ่งนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ แตพอได ยินผูอื่นกลาวพระบาลีมีตนวา “ ผสฺโส เวทนา” ก็รูแจงวาพระบาลีเปนสภาวะนิรุตติ กลาวโดยมคธภาษาปกติ มีวิคคหะ เปนปกติ มิไดวิปริตแปรปรวน ถาไดยินผูอื่นกลาววา “ผสฺโส เวทนา” ก็รูแจงวาพระบาลีนี้วิปริตเปน บาลีหยอนวิคคหะมิไดเปนปกติ ปญญารูแจงแตกฉานในวิคคหะตลอดทั่วไปในพระไตรปฏกนี้แล ได ชื่อวานิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ แลปฏิสัมภิทาญาณนั้น ไดแกปญญาที่ยึดหนวงเอาปญญาเปนอารมณแลว แลเปนไปไม ขัดของ เหมือนอยางพระภิกษุที่เรียนพระวินัยปฎกสิ้นแลว แลพิจารณาซึ่งพระวินัยปฎกที่ตนเรียนใน ภายหลัง ไดชื่อวาปญญายึดหนวงเอาปญญาเปนอารมณแลวแลเปนไปในกาลเมื่อพิจารณา ซึ่งพระ วินัยที่ตนเรียนแลว แลเห็นรูแจงเห็นแจงไมขัดของ แตกฉานตลอดเบื้องตนแลเบื้องปลาย สมควรกัน เปนอันดีนั้นรูวาดวยปญญาอันใด ปญญาอันนั้นไดชื่อวา ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ แมถึงพระสูตรพระปรมัตถ แลสัททาวิเศษทั้งปวงนั้นก็ดี เมื่อเรียนรูเสร็จสิ้นสําเร็จแลว แล พินิจพิจารณาในภายหลังนั้นไดชื่อวาปญญายึดหนวงเอาปญญาเปนอารมณ การเมื่อพิจารณา พระสูตรพระปรมัตถ สัททาวิเศษที่เรียนแลว แลเห็นแจงชัดไมขัดของ แตกฉานตลอดเบื้องตนแลเบื้องปลาย สมกันเปนอันดีนั้น รูดวยปญญาดวงใด ปญญาดวงนั้นไดชื่อวา ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณเหมือนกัน นัยหนึ่งวา ปญญาที่รูในบาลีแลอรรถกถาแลบทวิเคราะหสิ้นทั้งปวงนั้น เมื่อรูโดยพิศดาร เปนตนวารูโดยกิจแลผล รูกับดวยอารมณแตกฉานสันทัด พิจารณาเห็นบาลีแลอัตถแลบทวิคคหะทั้ง ปวงนั้นตลอดกันไมมืดมัวสวางกระจางทั้งเบื้องตนแลทามกลางแลเบื้องปลาย สมควรกันเปนอันดีนี้แล ไดชื่อวาปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ “จตสฺโสป เจตา ปฏิสมฺภิทา” แลปฏิสัมภิทาญาณทั้ง ๔ นี้ ยอมถึงซึ่งแตกฉานในภูมิทั้ง ๒ คือ เสขภูมิ ๑ อเสขภูมิ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 12 อธิบายวา ปฏิสัมภิทาญาณที่แตกฉานในสันดานแหงพระอัครสาวกและพระสาวกทั้งปวง นั้น ไดชื่อวาปฏิสัมภิทาญาณแตกฉานในอเสขภูมิ ปฏิสัมภิทาญาณ ที่แตกฉานในสันดาน แหงพระเสขบุคคลเปนตนวา พระอานนทเถระ แล จิตคฤบดี แลธัมมิกอุบาสก แลอุบาลีคฤหบดี แลนางขุชชุตตราอุบาสิกานั้น ไดชื่อวาปฏิสัมภิทาญาณ แตกฉานในเสขภูมิ “ปฺจหากาเรหิ วิสทา โหนฺติ” แลปฏิสัมภิทาญาณจะแกลวกลาสละสลวยนั้น อาศัยแก การประกอบดวยอาการ ๕ ประการ “อธิคเมน” คือถึงพระอรหัตต มิฉะนั้นก็ถึงซึ่งพระโสดา พระสกทาคา พระอนาคา จัดเปน อาการอัน ๑ “สวเนน” คือมีประโยชนดวยสดับตรับฟง แลวแลอุตสาหฟงพระธรรมเทศนาดวยสจจคาร วะ จัดเปนอาการ ๑ “ปริปุจฺฉาย” คือกลาววินิจฉัยพิพากษา ซึ่งอรรถอันรูยาก แลอธิบายอันรูยาก แตบรรดามี ในพระบาลีแลอรรถกถาเปนอาทินั้น จัดเปนอาการอัน ๑ “ปุพฺพโยเคน” คือในบุรพชาติแตกอน ได บําเพ็ญพระวิปสสนาในสํานักแหงพระพุทธเจา ไดจําเริญกลับไปกลับมา คือเจริญตั้งแตบุรพภาค วิปสสนาขึ้นไป ตราบเทาถึงสังขารุเปกขาญาณ อันเปนที่ใกลอนุโลมชวนะแลโคตรภูขวนะนั้น แลว เจริญถอยหลังลงมา ตราบเทาถึงบุรพภาควิปสสนานั้นเลา อยางนี้แลไดชื่อวาเจริญกลับไปกลับมา นัยหนึ่งโยคาพจรภิกษุ เจริญวิปสสนานั้นหาไดเจริญถอยลงมาไม แตทวาเมื่อเวลาจะไป บิณฑบาตนั้น ก็จําเริญตั้งแตที่อยูไปตราบเทาถึงโคจรคาม เมื่อจะกลับมาอารามก็เจริญตามตั้งแต โคจรคามตราบเทาถึงที่อยูอยางนี้ไดชื่อวา เจริญกลับไปกลับมา เปนใจความวา สภาวะไดเจริญวิปสสนาในสํานักแหงพระพุทธเจาแตกอนนั้น ไดชื่อวาบุรพ ประโยค จัดเปนอาการอัน ๑ สิริดวยกันเปนอาการ ๕ เปนปจจัยใหปฏิสัมภิทาญาณแกลวกลาสละสลวย มีคําอปราจารยคืออาจารยอื่นอีกฝายหนึ่ง กลาวไว ณ ที่นี้วาปฏิสัมภิทาปญญาจะแกลว กลาสละสลวยนั้น อาศัยแกการประกอบดวยอาการ ๘ ประการ คือ “ปุพฺพปโยโค” ไดบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐานในสํานักแหงพระพุทธเจาแตปางกอนนั้น ๑ “พาหุสจฺจํ” สภาวะฉลาดในคัมภีรตาง ๆ แตบรรดาหาโทษมิไดแลฉลาดในศิลปศาสตร ตาง ๆ แตบรรดาที่ปราศจากโทษนั้น ๑ “เทสภาสา” สภาวะฉลาดในภาษา ๑๑ หรือฉลาดแตภาษามคธอยางเดียว ก็จัดเปนความ ฉลาดในเทศภาษาได ๑ “อาคโม” สภาวะเรียนซึ่งพระพุทธวจนะได ไมมากสักวาเรียนไดแตยมกวรรค ในคัมภีร พระธรรมบทนั้นก็จัดไดชื่อวา เรียนพระพุทธวจนะ ๑ “ปริปุจฺฉา” ไตถามซึ่งขอพิพากษา ในอารรถกถาทั้งปวง แตบรรดามีพระไตรปฎกนั้น ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 13 “อธิคโม” สภาวะซึ่งไดมรรคแลผลมีพระโสดาเปนตน มีพระอรหัตตเปนที่สุดนั้น ๑ “ครุสฺสนฺนิสฺสโย” สภาวะอยูในสํานักแหงครูที่มากไปดวยสดับตรับฟง มากดวยปญญา ปรีชาฉลาดนั้น ๑ “ตถา มิตฺตสมฺปตฺติ” สภาวะคบหากัลยามิตร อันเปนพหูสูตรกอปรดวยสติคารวะปญญา อันมากนั้น ๑ อาการทั้ง ๘ นี้ เปนเหตุเปนปจจัยที่จะใหปฏิสัมภิทาญาณ ปญญาแกลวกลาสละสลวย สิ้น คําอปราจารยแตเทานี้ “พุทธา จ ปจฺเจกพุทฺธา จ” สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา แลพระปจเจกพุทธเจาทั้งปวง นั้น ยอมถึงปฏิสัมภิทาดวยอาการ ๒ ประการ คือบุพพปโยค ไดบําเพ็ญพระวิปสสนาไวในสํานักพระพุทธเจาแตกอนนั้นประการ ๑ อธิคมะ ไดสําเร็จมรรคแลผลมีพระโสดาเปนอาทิ มีพระอรหัตตเปนปริโยสานประการ ๑ เปน ๒ ประการดวยกัน “สาวกสาวิกา” ฝายพระสาวกสาวิกาทั้งปวงนี้ ถึงซึ่งปฏิสัมภิทาดวยอาการ ๕ แลอาการ ๘ โดยนัยที่กลาวแลวแตหลัง อนึ่ง ปญญาที่ใหสําเร็จเพียรในกรรมฐานภาวนานี้ ก็นับเขาในปฏิสัมภิทาปญญานี้เอง จะได ตางออกไปจากปฏิสัมภิทาปญญานี้หาบมิได แลกาลเมื่อจะถึงซึ่งปฏิสัมภิทาปญญานั้น พระเสขบุคคลถึงปฏิสัมภิทาในที่สุดแหงเสขผล สมาบัติคือ โสดาปตติผลญาณแลสกทาคามิผลญาณแลอนาคามิผลญาณ ฝายพระอเสขบุคคลนั้น

ถึงปฏิสัมภิทาในที่สุดแหงอเสขผลสมาบัติ

คือพระอรหัตตผล

ญาณ ไดใจความวา ปฏิสัมภิทาทั้ง ๔ จะเกิดแกพระโสดาบันบุคคลนั้นยอมเกิดในที่สุดแหงโสดา ปตตผลญาณ เกิดแกพระสกทาคามิบุคคลในที่สุดแหงสกทาคามิผลญาณ เกิดแกพระอนาคามิบุคคล ในที่สุดแหงอนาคามิผลญาณ เกิดแกพระอรหันตบุคคลในที่สุดแหงอรหัตตผลญาณ พระพุทธโฆษาจารยเจาสําแดงประเภทแหงปญญาดวยทุกกะ ๕ ติกกะ ๔ จตุกกะ ๒ วิสัชนาในขอปุจฉาเปนคํารบ ๔ ที่ถามวาปญญามีอาการมากนอยเทาดังฤๅนั้นจบแลว จึงวิสัชนาในขอ ปุจฉาเปนคํารบ ๕ สืบตอไป ขอที่ถามวาปญญานั้น ควรจักจําเริญดวยพีธีดังฤๅ ขอนี้พระผูเปนเจาสําแดงขอวิปสสนาวา “ยสฺมา อิมาย ปฺญาย ขนฺธายตนอินฺทฺริยสจฺจสมุปฺปา ทาทิเภทา ธมฺมา ภูมิสีลวิ สุทฺธิ เจวจิตฺตวิสุทธิจาติ อิมา เทฺว วิสุทฺธิโย มูลํ ฯ เป ฯ ปฺจ วิสุทฺธิโย สมฺปาเทนฺเตน ภาเวตพฺ พา”

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 14 อธิบายวา พระโยคาพจรผูมีศรัทธา ประสงคจักจําเริญวิปสสนาภาวนานั้น พึงตั้งธรรม ๖ กองไวเปนพื้นกอน ธรรม ๖ กองนั้น คือ ขันธกอง ๑ อายตนะกอง ๑ ธาตุกอง ๑ อินทรียกอง ๑ อริยสัจกอง ๑ ปฏิจจสมุปบาทเปนอาทิกอง ๑ รวมเปน ๖ กองดวยกัน กองที่เปนปฐมที่ ๑ นั้น ไดแกขันธทั้ง ๕ ประการ มีรูปขันธเปนอาทิ กองที่ ๒ นั้นไดแก อายตนะ ๑๒ ประการ มีจักขวายตนะเปนอาทิ กองคํารบ ๓ นั้นไดแกธาตุ ๑๘ ประการ มีจักขุธาตุเปน ตน กองคํารบ ๔ นั้นไดแกอินทรีย ๒๒ มีจักขุนทรียเปนอาทิ กองคํารบ ๕ นั้นไดแกอริยสัจจธรรม ๔ ประการ กองคํารบ ๖ นั้นไดแกปฏิจจสมุปบาทธรรมมีอวิชชาเปนทิ อาหาร ๔ ประการมีกวฬิงการาหาร เปนอาทิก็นับเขาในกองคํารบ ๖ เมื่อพระโยคาพจรตั้งธรรม ๖ กองไวเปนพื้น คือพิจารณาใหรูจักลักษณะแหงธรรม ๖ กอง ยึดหนวงเอาธรรม ๖ กองนี้เปนอารมณไดลําดับนั้นพึงเอาศีลวิสุทธิมาเปนราก บําเพ็ญศีลบําดพ็ญ สมาธิใหไดสําเร็จเปนอันดีแลว จึงจําเริญวิสุทธิ ๕ ประการสืบตอขึ้นไปโดยลําดับเอาทิฏฐิวิสุทธิแล กังขาวิตรณวิสุทธิเปนเทาซายเทาขวา เอามัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิแลปฏิปทาญาณทัสสวิสุทธิ เปนมือซายมือขวาแลว เอาญาณทัสสนวิสุทธิเปนศีรษะเถิด จึงจะอาจสามารถที่จะยกตนออกจาก สงสารวัฏได แลขันธ ๕ ประการที่จัดเปนพื้นนั้น ในที่หนึ่งสําแดงรูปขันธ ที่สองสําแดงวิญญาณขันธ ที่ สามสําแดงเวทนาขันธ ที่สี่สําแดงสัญญาขันธ ที่หาสําแดงสังขารขันธ มีคําปุจฉาวา เหตุไฉนพระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารยจึงยกเอาวิญญาณขันธ ที่สมเด็จ พระสรรเพชญพุทธองคตรัสเทศนาไวเปนที่หามาสําแดงในที่สอง คิดสําแดงรูปขันธในที่หนึ่งแลว สําแดงวิญญาณขันธในที่สอง อาศัยแกเหตุผลเปนประการใด มีคําวิสัชนาวา “ตตฺถ ยสฺมา วิญญาณขกฺนฺเธ วิฺญาเต อิตเร สุวิฺเญยฺยา โหนฺติ” อธิบายวา บริษัททั้งปวงนี้ ถารูจักวิญญาณขันธกอนแลว ก็อาจจะรูจักเวทนาขันธสังขาร ขันธนั้นดวยงายดาย อันขันธทั้ง ๓ คือเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ นั้นเปนกองแหงเจตสิก ประพฤติ เนื่องดวยวิญญาณขันธ รูวิญญาณขันธประจักษแจงแลวก็รูจักเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ โดยสะดวก เหตุพระพุทธโฆษาจารยเจา ผูแตงคัมภีรพระวิสุทธิมรรคขันธในที่สองสําแดงเวทนาทิตย ขันธในที่ ๓-๔-๕ ดวยประการฉะนี้ รูปขันธกําหนดโดยเอกวิธโกฏฐาส ไดแกธรรมชาติอันมีลักษณะรูฉิบหายประลัยดวยเย็น รอนเปนอาทิ เปนสวนอยางเดียว แตบรรดาสรรพสิ่งทั้งปวง ที่รูฉิบหายดวยเย็นแลรอนเปนตน ไดนาม บัญญัติชื่อวารูปสิ้นดวยกัน แลรูปนั้นเมื่อสําแดงโดยทุกกะตางออกเปน ๒ คือ ภูตรูปประการ ๑ อุปาทายรูปประการ ๑ ภูตรูปนั้นไดแกธาตุทั้ง ๔ คือ ปฐวีธาตุ ๑ อาโปธาตุ ๑ เตโชธาตุ ๑ วาโยธาตุ ๑ สําแดงซึ่งลักษณะแลกิจแลผลแหงภูตรูปนั้น มีพิศดารอยูในจตุธาตุววัตถานนิเทศนั้นแลว ในที่นี้จักสําแดงซึ่งอาสันนการณแหงภูตรูป ที่ยังมิไดสําแดงในจตุธาตุววัตถานนิเทศนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 15 นักปราชญพึงสันนิษฐานวา ภูตรูปคือธาตุทั้ง ๔ ประการนี้ ถอยทีถอยเปนอาสันนการณ แหงกันแลกัน อธิบายวา อาโปธาตุโชธาตุวาโยธาตุทั้ง ๓ นี้เปนเหตุอันใกลที่จะใหบังเกิดปฐวีธาตุ แลเตโชธาตุวาโยธาตุปฐวีธาตุทั้ง ๓ นี้ เปนเหตุอันใกลที่จะใหบังเกิดอาโปธาตุ วาโยธาตุปฐวีธาตุอา)บธาตุทั้ง ๓ นี้ เปนเหตุอันใกลที่จะใหบังเกิดเตโชธาตุ แลปฐวีธาตุอาโปธาตุเตโชธาตุทั้ง ๓ นี้ เปนเหตุอันใกลที่จะใหบังเกิดวาโยธาตุ ตกวาธาตุทั้ง ๔ ถอยทีถอยเปนอาสันนเหตุแหงกันแลกัน บังเกิดดวยกัน จะไดพลัดพราก ปราศจากกันหาบมิได มีอาโปแลวก็คงมีปฐวีธาตุ มีเตโชแลวก็คงมีปฐวีธาตุ มีวาโยแลวก็คงมีปฐวีธาตุ มีเตโช แลวก็คงมีอาโปธาตุ มีวาโยแลวก็คงมีอาโปธาตุ มีปฐวีแลวก็คงมีอาโปธาตุ มีวาโยแลวก็คงมีเตโชธาตุ มีปฐวีแลวก็คงมีเตโชธาตุ มีอาโปแลวคงมีเตโชธาตุ มีปฐวีแลวคงมีวาโยธาตุ มีอาโปแลวคงมีวาโย ธาตุ มีเตโชแลวคงมีวาโยธาตุ จะไดลวงพนหางไกลกันหาบมิได แลอุปาทายรูปนันไดบังเกิดแกรูป ๒๕ ประการนั้น แตบรรดาที่อาศัยซึ่งภูตรูปเปนที่ตั้งแลว แลบังเกิด อุปาทายรูป ๒๔ ประการนั้น คือ จักขุประสาท ๑ โสตประสาท ๑ ฆานประสาท ๑ ชิวหา ประสาท ๑ กายประสาท ๑ รูปารมณ ๑ สัททารมณ ๑ คันธารมณ ๑ รสารมณ ๑ อิตถินทรีย ๑ ปุริสินท รีย ๑ ชีวิตินทรีย ๑ หทัยวัตถุ ๑ กายวิญญัติ ๑ วจีวิญญัติ ๑ อากาสธาตุ ๑ ลหุตารูป ๑ มุทุตารูป ๑ กัมมัญญตารูป ๑ อุจจายรูป ๑ สันตติรูป ๑ ชรตารูป ๑ อนิจจตารูป ๑ กวฬิงการาหารรูป ๑ สิริเปนอุปา ทายรูป ๒๔ ประการดวยกัน จักษุประสาทถาจะวาโดยลักษณะ “รูปาภิฆาฏารหภูตปฺปสาทลกฺขณํ”

มีผองใสแหงภูตรูปอันควรจะกระทบซึ่งรูปารมณ

เปนลักษณะ อธิบายวา ถาจะกําหนดโดยละเอียดนั้น จักษุประสาทก็ไมพนจากปฐวีอาโปเตโชวาโย ก็อยูในปฐวี อาโปเตโชวาโยนั้นเอง ภูตรูปนั้นเองจัดขึ้นเปนจักษุปนะสาท เพราะเหตุที่ภูตรูปอันนี้มีพรรณอันผองใส บริสุทธิ์ควรจะสองเอารูปารมณทั้งปวงได เปรียบประดุจกระจกมีคุณพิเศษแปลกประหลาดจากภูตรูป อื่น ๆ แตบรรดามี ณ ภายในกายนี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะผองใสสองเอารูปารมณทั้งปวงไดเหมือนอยางภูต รูปนี้ไมมีเลยเปนอันขาด อาศัยเหตุที่มีพิเศษแปลกประหลาดสองเอารูปารมณทั้งปวงไดดังนี้ สมเด็จ พระมหากรุณาธิคุณจึงตรัสเทศนากําหนดตามบัญญัติแหงภูตรูปอันนี้ ชื่อจักษุประสาท นัยหนึ่ง สําแดงลักษณะแหงจักษุประสาทนั้น โดยอปรนัยวา “ทฏุกามตานิทานกมฺมสมุฏาภูตปฺปสาทลกฺขณํ” วาจักษุประสาทนี้ มีผองใสแหง ภูตรูปอันบังเกิดแตกรรม อันมีสภาวะปรารถนาเพื่อจะเล็งแลดูเปนเหตุเปนลักษณะ อธิบายวาจะกําหนดโดยละเอียดแหงภูตรูปซึ่งผองใส ไดนามบัญญัติชื่อวาจักขุประสาทนี้ บังเกิดแตกุศลกรรมอัน สัตวทั้งหลายกระทํามีความปรารถนาจะเล็งแลดูซึ่งรูปเปนมูลเหตุ คือแตกอน นั้นสัตวทั้งปวงมีความปรารถนาที่จะเล็งแลดู ซึ่งรูปเปนมูลเหตุแลวจึงบําเพ็ญการกุศลตั้งความ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 16 ปรารถนาที่จะใหตนมีจักษุบริสุทธิ์บริบูรณ ครั้นกุศลนั้นติดตามตกแตงผลแหงภูตรูปในประเทศแหง จักษุจึงผองใส ควรจะสอดสองเอารูปารมณทั้งปวงที่มากระทบประสาทนั้นได ภูตรูปที่ผองใสนั้นจึงได นามบัญญัติพิเศษชื่อวาจักษุประสาทกําหนดดังนี้ ถาจะวาโดยกิจนั้น “รูเปสุ อาวิฺชนรสํ” จักษุประสาทนั้น มีกิริยาอันชักฉุดยื้อคราพาเอาจิตวิญญาณแหง บุคคลไปในสํานักแหงรูปารมณนั้นเปนกิจ อธิบายวาบุคคลอันแลเห็นซึ่งรูปนั้น ยอมมีจิตวิญญาณอันเเลนไปในรูปในขณะที่แลเห็น เมื่อจิตวิญญานแลนไปในรูป รูวารูปสิ่งนั้นสิ่งนี้รูวาดีวาชั่วแลว ถาไมมีความปรารถนาก็ละเมินเสีย หลีกเลี่ยงไปโดยอันควรแกอัชฌาสัย ถามีความปรารถนาก็เขาไปใกลจับเอาตัวชมเชย ตามวิสัยแหง ตน ตกวาใจนั้นไปกอน แลวกายจึงไปเมื่อภายหลัง นักปราชญพึงสันนิษฐานเถิดวา จิตจะไปติดพันอยู ในรูปก็เพราะที่แลเห็น กายจะไปติดไปพันอยูในรูปก็เพราะที่แลเห็น เหตุฉะนี้ สมเด็จพระมหากรุณาธิคุณเจา จึงตรัสเทศนาวาจักษุประสาทนี้ มีกิจอันชักฉุดยื้อ คราพาเอาจิตวิญญาณแลบุคคลไปในสํานักแหงรูปารมณก็มีดวยประการฉะนี้ ถาจะวาโดยผลนั้น “จกฺขุวิฺญาณสฺส อาธารภาวปฺปฏานํ” ตั้งอยูเปนอันบดีมิไดพิบัติฉิบหาย ก็ใหสําเร็จผลคือทรงไวซึ่งจักษุญาณ

จักษุประสาทนี้ เมื่อ

อธิบายวา จักษุวิญญาณทั้งสองจิต คือฝายกุศลวิบากจิต ๑ ฝายอกุศลวิบากจิต ๑ ทั้งสอง จิตนี้จะบังเกิดไดนั้น อาศัยแกความมีจักษุประสาท ถาไมมีจักษุประสาทแลว จักษุวิญญาณสองจิตนั้น ก็ไมบังเกิดไดเลยเปนอันขาด ตกวาจักษุวิญญาณสองจิต ไดจักษุประสาทเปนที่รับที่รองแลว จึง บังเกิดไดในสันดาน เหตุฉะนี้ สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคจึงตรัสเทศนาวา จักษุประสาทนี้ใหสําเร็จ ผลคือ ทรงไวซึ่งจักษุวิญญาณ ถาจะวาโดยอาสันนการณ คือเหตุอันใกลที่จะใหจักษุประสาทบังเกิดนั่นวา “ทฏุกามตา นิทานกมฺมชฺชตปฺปทฏานํ” จักษุประสาทนี้มีภูตรูปอันเปนกัมมสมุฏฐาน ที่มีความปรารถนา จะทัสสนาการเปนมูลเหตุเปนอาสันนการณ อธิบายวา สัตวทั้งหลายในโลก ยอมมีความปรารถนาจะเล็งแลดูซึ่งเปนมูลเหตุแลวจึง บําเพ็ญการกุศล ปรารถนาจะใหบริบูรณดวยจักษุ ครั้นกุศลนั้นใหผลติดตามแตงภูตรูปในประเทศแหง จักษุนั้นในกาลใด ภูตรูปในจักษุประเทศที่กุศลตกแตงนั้นก็เปนเหตุอันใกลที่จะใหไดจักษุประสาทใน กาลนั้น ขอซึ่งจักษุประสาทบังเกิดแตกรรมนั้น วาดวยสามารถสัตวที่บังเกิดในสคติภพ ถาสัตวนั้น บังเกิดในทุคติภพแลว ก็พึงรูเถิดวา จักษุประสาทนั้นบังเกิดแตอกุศลกรรม บังเกิดเพื่อจะใหไดเห็น ทุกขเห็นภัย ๆ สมควรแกอกุศลกรรมที่ตนกระทําไวนั้น แลโสตประสาทนั้น ถาจะวาโดยลักษณะ “สทฺทภิฆาฏรห ภูตปฺปสาทลกฺขณํ” วามีอัน ผองใสแหงภูตรูปอันควรจะกระทบซึ่งสัททารมณเปนลักษณะ อธิบายวาถาจะกําหนดโดยละเอียดนั้น โสตประสาทก็ไมพนจาก ปวี อาโป เตโช วาโย ก็อยูใน ปวี อาโป เตโช วาโย นั้นเอง ภูตรูปนั้นเองขึ้นเปนโสตประสาท เพราะเหตุที่ภูตรูป อันนี้ผองใสบริสุทธิ์วองไวในที่จะรับซึ่งศัพทสําเนียงตาง ๆ ได มีคุณพิเศษแปลกประหลาดจากภูตรูป อื่น ๆ แตบรรดามี ณ ภายในกายนี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะผองใสวองไวในที่จะรับสําเนียงใหไดยิน สําเนียง เหมือนดังภูตรูปอันนี้ไมมีเลยเปนอันขาด อาศัยเหตุที่มีคุณพิเศษแปลกประหลาดใหไดยินศัพท สําเนียงตาง ๆ ไดดังนี้ สมเด็จพระมหากรุณาธิคุณเจาจึงตรัสเทศนากําหนดนามบัญญัติ แหงภูตรูปอัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 17 นี้ชื่อวา โสตประสาท นัยหนึ่ง สําแดงลักษณะแหงโสตประสาทนั้นโดยอปรนัยวา “โสตุกามตานิทานกมฺมสมุฏานภูตปฺปสาทลกฺขณํ วาโสตประสาทนี้มีผองใส แหงภูตรูปอันบังเกิดแตกรรม อันมีสภาวะปรารถนาเพื่อจะสดับฟงเปนเหตุเปนลักษณะ อธิบายวา ถากําหนดโดยละเอียดนั้น ภูตรูปซึ่งผองใสไดนามบัญญัติชื่อวาโสตประสาท บังเกิดแกอกุศลกรรม อันสัตวทั้งหลายกระทําดวยมีความปรารถนาจะสดับตรับฟงเปนมูลเหตุ คือแต กอนนั้นสัตวทั้งปวงมีความปรารถนา จะสดับตรับฟงเปนมูลเหตุแลวบําเพ็ญการกุศล ตั้งความปรารถนา ที่จะใหตนมีโสตบริสุทธิ์บริบูรณครั้นกุศลนั้นติดตามตกแตงผลภูตรูปในประเทศแหงโสตจึงผองใส ควร จะรับเอาสัททารมณทั้งปวง แตบรรดาที่มากระทบโสตประสาทนั้นไดภูตรูปที่ผองใสวองไวในที่จะ รับสัททารมณทั้งปวงนั้น จึงไดนามบัญญัติพิเศษ ชื่อวาโสตประสาท โดยกําหนดดังนี้ ถาจะวาโดยกิจนั้น “สทฺเทส อาวิฺชนรสํ” โสตประสาทนี้มีกิริยาอันชักฉุดยุดครา พาเอา จิตวิญญาณแลตัวบุคคลนั้นไปในสํานักแหงสัททารมณนั้นเปนกิจ อธิบายวา บุคคลอันไดสวนากาล สดับซึ่งศัพทสําเนียงตาง ๆ นั้น แตพอสําเนียงแวววับมา กระทบประสาท ก็ยอมมีจิตวิญญาณอันแลนไปในสําเนียง ในขณะที่ไดสวนาการสดับ เมื่อจิตวิญญาณ แลนไปสูสําเนียงรูวาดีแลชั่ว ไพเราะแลมิไดไพเราะดังนี้แลว ถาไมมีความปรารถนาจะฟง ก็ละเมิด เหินหางเสีย ไปตามอัชฌาสัยแหงตน ถามีความปรารถนาที่จะสลับก็เขาไปใกลตั้งโสตสดับโดย อัน ควรแกความประสงคตกวาใจนั้นไปกอนแลว กายจึงไปเมื่อภายหลัง นักปราชญพึงสันนิษฐานเอาเถิด วา จิตจะไปติดพันอยูในสําเนียงนั้นก็เพราะการฟง กายจะไปติดพันอยูในสําเนียงนั้นก็เพราะการฟง เหตุนี้สมเด็จพระมหากรุณาจึงตรัสเทศนาวา โสตประสาทนี้มีกิจอันชักฉุดยุดคราพาเอาจิตวิญญาณ แหงบุคคลไป ในสํานักแหงสัททารมณก็มีดวยประการฉะนี้ ถาจะวาโดยผลนั้น “โสตวิฺญาณสฺส อาธารภาวปจฺจุปฺ ปฏานํ” โสตประสาทนี้ เมื่อ ตั้งอยูเปนอันดีบมิไดพิบัติฉิบหายก็ใหสําเร็จผลคือทรงไวซึ่งโสตวิญญาณ อธิบายวา โสตวิญญาณทั้งสองจิต เปนกุศลวิบากจิต ๑ ฝายอกุศลวิบากจิต ๑ ทั้งสองจิตนี้ จะบังเกิดไดนั้น อาศัยแกมีโสตประสาทถาไมมีโสตประสาทแลว โสตวิญญาณสองจิตนั้นก็ไมบังเกิด ไดเลยเปนอันขาด ตกวาโสตวิญญาณสองจิตนั้นไดพึ่งโสตประสาท ไดโสตประสาทเปนที่รับรองไว จึงบังเกิดไดในสันดานเหตุฉะนี้สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคจึงตรัสเทศนาวา โสตประสาทนี้ให สําเร็จผลคือทรงไวซึ่งโสตวิญญาณ ถาจะวาโดยอาสันนการณ คือเหตุอันใกลที่จะใหโสตประสาทบังเกิดนั้นวา “โสตกาตา นิทานกมฺมชฺชภูตปฺปทฏานํ” โสตประสาทนี้มีภูตรูปอันเปนกัมมสมุฌฐาน ที่มีความปรารถนาจะ สวนาการเปนมูลเหตุนั้น เปนอาสันนการณ อธิบายวาสัตวทั้งหลายในโลกนี้ ยอมมีความปรารถนาจะสวนาการสดับซึ่งศัพทสําเนียงนั้น เปนมูลเหตุแลว จึงบําเพ็ญการกุศลปรารถนาจะใหตนนั้นมีโสตอันบริสุทธิ์บริบุรณ ครั้นกุศลนั้นใหผล ติดตามตกแตงภูตรูปในประเทศแหงโสตนั้นในกาลใด ภูตรูปในประเทศแหงโสตที่กุศลตกแตงนั้นก็ เปนเหตุอันใกล ที่จะใหโสตประสาทบังเกิดในกาลนั้น แลขอซึ่งวา โสตประสาทบังเกิดแตกุศลกรรมเลา ก็วาดวยสามารถสัตวที่บังเกิดในสมบัติ ภพ ถาสัตวนั้นบังเกิดในวิบัติภพแลวก็พึงเขาใจวาโสตประสาทนั้นบังเกิดแตกุศลกรรม บังเกิดเพื่อจะ ใหไดฟงซึ่งสําเนียงทุกขสําเนียงภัยอันพิลึกตาง ๆ โดยอันควรแกอกุศลกรรมแหงตน ๆ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 18 แลฆานประสาทนั้นเลา ถาจะวาโดยลักษณะ คนฺธาภิฏารห ภูตปฺปสาทลกฺขณํ” มีกิริยา อันผองใสแหงภูตรูป อันควรจะกระทบแหงคันธารมณทั้งปวงเปนลักษณะ อธิบายวา ถากําหนดวาโดยละเอียดนั้น ฆานประสาทก็ไมพนจาก ปวี อาโป เตโช วาโย ก็อยูใน ปวี อาโป เตโช วาโย นั้นเอง ภูตรูปนั้นเองขึ้นเปนฆานรูปประสาท เพราะเหตุภูตรูป อันนี้ผองใสบริสุทธิ์ ควรจะรับเอาสรรพกลิ่นตาง ๆ ได มีคุณพิเศษแปลกประหลาดจากภูตรูปอื่น ๆ แต บรรดามี ณ ภานในกรัชกายนี้สิ่งใดจะผองใส ควรจะรับเอาสรรพกลิ่นตาง ๆ ได เหมือนอยางภูตรูปอัน นี้ไมมีเลยเปนอันขาด อาศัยเหตุที่มีคุณพิเศษแปลกประหลาด รับเอาสรรพสิ่งตาง ๆ ไดดังนี้ สมเด็จ พระมาหกุรณาจึงตรัสเทศนากําหนดนามบัญญัติแหงภูตรูปอันนี้ ชื่อวาฆานประสาท นัยหนึ่ง สําแดงลักษณะแหงฆานประสาทโดยอปรนัยวา “ฆายิตุกามตานิทานกมฺมสมุฏ ฐานภูตปฺปสาทลกฺขณํ วาฆานประสาทนี้มีกิริยาอันผองใสแหงภูตรูปอันเปนกัมมสมุฏฐาน อันมี ความปรารถนาเพื่อจะดมกลิ่นเปนเหตุเปนลักษณะ อธิบายวา ถาจะกําหนดโดยละเอียดนั้น ภูตรูปซึ่งผองใสไดนามบัญญติชื่อฆานประสาทนั้น บังเกิดแตกุศลกรรมอันสัตวทั้งหลายกระทําดวยความปรารถนาจะดมซึ่งเปนมูลเหตุ คือแตกอนสัตวทั้ง ปวงมีความปรารถนาจะสูดดมกลิ่นเปนมูลเหตุแลวจึงบําเพ็ญการกุศล ตั้งความปรารถนาที่จะใหตนมี นาสิกประเทศบริสุทธิ์บริบูรณ ครั้นกุศลนั้นติดตามตกแตงผลภูตรูปในประเทศแหงนาสิกจึงผองใส บริสุทธิ์ ควรจะรับเอาสรรพสิ่งตาง ๆ แตบรรดาที่มากระทบประสาทนั้นได ภูตรูปที่ผองใสในประเทศ แหงนาสิกนั้น จึงไดนามบัญญัตพิเศษชื่อวาฆานประสาทโดยกําหนดดังนี้ ถาจะวาโดยกิจนั้น “คนฺเธสุ อาวิญชนรสํ” ฆานประสาทนี้มีกิริยาอันยืดยุดฉุดคราซึ่งจิต วิญญาณแลตัวบุคคลนั้น ไปในสํานักแหงคันธารมณทั้งปวงเปนนิจ อธิบายวา บุคคลอันไดสูดดมซึ่งสรรพกลิ่นตาง ๆ นั้นยอมมีจิตวิญญาณอันเเลนไปในกลิ่น รูวากลิ่นหอมกลิ่นเหม็น ถารูวากลิ่นดีกลิ่นชั่ว ถาไมมีความปรารถนาก็เพิกเฉยละเลยเสีย บมิได เอื้อเฟออาลัย ถามีความรักความใครความปราถนา ก็แสวงหาซึ่งที่เกิดแหงกลิ่นนั้นจนพบจนปะ ตกวา จิตจะไปติดไปพันอยูในกลิ่นก็เพราะไดสูดไดดม กายจะไปติดไปพันอยูในวัตถุอันเปนที่เกิดแหงกลิ่น นั้น ก็เพราะไดสูดไดดมเหตุฉะนี้ฆานประสาทซึ่งใหสําเร็จกิจสูดดมนี้ สมเด็จพระมหากรุณาจึงตรัส เทศนาวา มีกิจอันยื้อยุดฉุดคราพาเอาจิตวิญญาณแลตัวบุคคลไปในสํานักแหงคันธารมณก็มีดวย ประการฉะนี้ ถาจะวาโดยแลนั้น “ฆานวิฺญาณสฺส อาธารภาวปจฺจุปฺปฏ านํ” ฆานประสาทนี้เมื่อ ตั้งอยูเปนอันดีมิไดพิบัติฉิบหาย ก็ใหสําเร็จผลคือทรงไวซึ่งฆานวิญญาณ อธิบายวา ฆายวิญญาณทั้งสองจิต คือฝายกุศลวิบากจิต ๑ ฝายอกุศลวิบากจิต ๑ ทั้งสอง จิตนี้จะบังเกิดไดนั้นอาศัยที่มีฆานประสาท ถาไมมีฆานประสาทแลว ฆานวิญญาณทั้งสองจิตนั้นก็ไม บังเกิดไดเลยเปนอันขาด ตกวาฆานวิญญาณสองจิตนั้นไดพึ่งฆานประสาท ไดฆานประสาทที่เปนรอง แลว จึงบังเกิดไดในสันดานเหตุนี้สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคจึงตรัสเทศนาวา ฆานประสาทนี้ ให สําเร็จผลคือทรงไวซึ่งฆานวิญญาณ ถาจะวาโดยอาสันนการณ คือเหตุอันใกลที่จะใหฆานประสาทบังเกิดนั้นวา “ฆายิตุกาม ตานิทานกมฺมชฺชภูตปฺปทฏานํ ฆานประสาทนั้นมีภูตรูปเปนกัมมัฏฐาน ที่มีความปราถนาจะสูดดม เปนมูลนั้นเปนอาสันนการณ อธิบายวา สัตวทั้งหลายในโลกนี้ยอมมีความปรารถนาจะสูดดมซึ่งสรรพกลิ่นตาง ๆ เปน มูลเหตุแลว จึงบําเพ็ญการกุศลปรารถนาจะใหฆานะนั้นบริสุทธิ์บริบูรณ ครั้นกุศลนั้นใหผลติดตาม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 19 ตกแตงภูตรูปในนาสิกประเทศนั้นในกาลใด ภูตรูปในนาสิกประเทศที่กุศลตกแตงนั้นก็เปนเหตุอันใกล ที่จะใหฆานประสาทบังเกิดในกาลนั้น แลชิวหาประสาทอันเปนพนักงานรับรอง ซึ่งรสอารมณ มีประการตาง ๆ นั้นก็ดี กาย ประสาทอันเปนเจาพนักงานรับรองโผฏฐัพพารมณตาง ๆ นั้นก็ดี ถาจะวาโดยลักษณะแลกิจแลผล แล อาสันนการณนั้นนักปราชญพึงเขาใจเอาตามนัยที่สําแดง แลวในประสาททั้งสามนั้นเถิดอรรถธิบาย เหมือน ๆ กัน แปลกกันแตใจความเทานั้น ชิวหาประสาทนั้นมีใจความวา บังเกิดแตกุศลธรรม อันบุคคลกระทําดวยมีความปรารถนา จะลิ้มเลียรสเปนมูลเหตุ เปนภูตรูปพิเศษผองใสบริสุทธิ์ ควรที่จะรับรองไวซึ่งสรรพรสตาง ๆ เปน ลักษณะ ชิวหาประสาทนั้นมีกิจธุระ ในที่จะฉุดคราพาเอาจิตวิญญาณแลตัวบุคคลไปสูรส มีผลคือทรง ไวซึ่งชิวหาวิญญาณ ยังชิวหาวิญญาณทั้งสองจิตใหบังเกิด มีภูตรูปพิเศษบังเกิดแตกุศลกรรมเปนอา สันนการณ ในกายประสาทนั้น มีใจความวาบังเกิดแตกุศลกรรมอันบุคคลกระทําดวยมีความปรารถนา จะสัมผัสเปนมูลเหตุ เปนภูตรูปพิเศษผองใสบริสุทธิ์ ควรจะรับรองสัมผัสแหงโผฏฐัพพารมณตาง ๆ เปนลักษณะ กายประสาทนั้นมีกิจธุระ ในที่จะฉุดคราพาเอาจิตวิญญาณแหงบุคคลไปสูอํานาจแหง สัมผัส มีผลคือทรงไวซึ่งกายวิญญาณยังกายวิญญาณทั้งสองจิตใหบังเกิดมีภูตรูปพิเศษบังเกิดแต กุศลกรรมเปนอาสันนการณ นักปราชญพึงสันนิษฐานเถิดวา ขอซึ่งวิสัชนาวา ฆานประสาท ชิวหาประสาท กายประสาท บังเกิดแตกุศลนั้น วาดวยสามารถสัตวที่บังเกิดในสุคติภพ ถาสัตวนั้นบังเกิดในทุคติภพแลว ก็พึงรูเถิด วา ฆานประสาท ชิวหาประสาท กายประสาทนั้น บังเกิดแตอกุศลกรรม บังเกิดเพื่อจะใหไดเสวย ทุกขเวทนามีประการตาง ๆ สามควรแกอกุศลกรรมที่คนกระทําไวนั้น แลอธิบายในคําแหงเกจิอาจารยแลอปราจารยนั้น จะยกเสียไมวิสัชนาแลว เพราะเหตุคํา นั้นหาแกนสารมิได จะเลือกวิสัชนาแตคําที่เปนแกนสารนั้น “กมฺมเมว จ เนสํ วิเสสการณํ ตสฺมา คมมวิเสสโตเอตสํ วิเสโส น ภูตวิ เสสโต” นักปราชญพึงสันนิษฐานวา กุศลกรรมแลอกุศลกรรมนั้นเอง ใหสําเร็จกิจอันวิเศษแหงภูตรูป ทั้ง ๕ คือ ปวี อาฏป เตโช วาโย จะแปลกประหลาดใหสําเร็จกิจเปนจักษุประสาทไดนั้น อาศัย แกกุศลแลอกุศล ถึงปญจพิธประสาททั้ง ๕ มีจักษุประสาทเปนตน จะแปลกประหลาดกันก็ดวยอํานาจ กุศลแลอกุศลทั้งปวง จะแปลกกันโดยธรรมดาภูตรูปนั้นหาบมิได ภูตรูปนั้นถึงจะแปลกประหลาดกัน ก็ บมิอาจสามารถจะยังประสาทใหบังเกิดได กรรมที่บังเกิดนั้นแลประชุมแตงยังจักขวาทิประสาทให แปลกประหลาดกัน แลจักษุประสาท โสตประสาททั้งสองนั้น มีปกติรับรองซึ่งรูปารมณแลสัททารมณอันยัง มิไดมาถึง อธิบายวา จักษุประสาทนั้นรับเอาอารูปารมณอันอยูในที่ไกลแตบรรดาที่ยังมิไดมาถึง จะ ไดรับเอารูปารมณที่มากระทบกระทั่งถึงประเทศที่อยูแหงประสาทนั้นหาบมิไดเลย ฝายโสตประสาทนั้นเลา ก็รับเอาสัททารมณอันอยูในที่ไกลแลที่ใกล แตบรรดาที่ยังบมิได มาถึงเหมือนกัน จะไดรับเอาสัททารมณที่กระทบกระทั่งถึงประเทศที่อยูแหงประสาทนั้นบมิไดเหตุใด เหตุวาจักษุประสาทแลโสตประสาทนั้น เปนที่อาศัยแหงจักษุวิญญาณแลโสตวิญญาณมีปกติยึดหนวง ไดแตอารมณ ที่ยังมิไดติดพันอยูดวยประสาทอันเปนที่อารมณแหงตน ๆ ถาอารมณนั้นมาติดพันอยู ดวยที่อาศัยแหงตนแลว ๆ จักษุวิญญาณแลโสตวิญญาณนั้น ก็บมิอาจยึดหนวงเอาอารมณนั้นไวใหอยู

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 20 ในอํานาจแหงตนได อาศัยเหตุฉะนี้จึงมีขออรรถาธิบายวา จักษุประสาทแลโสตประสาทนี้ มีปกติรับ เอาอารมณ แตบรรดาที่ยังมิไดมาถึง แทจริงจักษุวิญญาณนี้ อาจจะเห็นซึ่งอณูแลปรมาณูอันอยูในประเทศอันไกลแลใกล ที่ยัง มิไดติดพันอยูในจักษุประสาทอันเปนที่พํานักอาศัยแหงตน เมื่ออณูแลปรมาณูปลิวเขาสูจักษุติดพันอยู ในประสาทอันเปนที่สํานักแหงตน จักษุวิญญาณจะไดเห็นหามิได ฝายวาโสตวิญญาณนั้นเลา อาจจะไดยินเสียงสรรพสิ่งทั้งปวงแตบรรดาอยูในประเทศอัน ไกลแลใกล แตบรรดาที่ยังมิไดมาติดพันในโสตประสาท อันเปนที่สํานักอาศัยแหงตน เมื่อเสียงอันดัง หนักเปนตนวาเสียงสายฟาฟาด แลเสียงไกรสรราชสีหดังเต็มที่สนั่นกระเทือนกระทบถึงโสตประสาท อันเปนที่พํานักอาศัยแหงตนแลวโสตวิญญาณก็บมิอาจจะยึดหนวงเอาเสียงนั้นเปนอารมณได ตกวา ไดยินนั้น ไดยินแตในกาลเมื่อเสียงยังมิไดกระทบโสตประสาท เมื่อเสียงกระทบถึงโสตประเสาทแลว หูก็ตึงไปบมิอาจจะไดยินสําเนียงที่มากระทบถึงโสตประสาท อาศัยเหตุฉะนี้ จึงมีขออรรถาธิบายวา จักษุประสาทแลโสตประสาทนี้ มีปกติรับเอาซึ่งอารมณแตบรรดาที่ยังมิไดมาถึง ฝายฆานประสาทแลชิวหาประสาทแลกายประสาทนั้น สารมณ แลโผฏฐัพพารมณ อันมากกระทบถึง

มีปกติรับรองซึ่งคันธารมณ

แล

อธิบายวาฆานประสาทรับเอาซึ่งกลิ่นทั้งปวง แตบรรดาที่เฟองฟงมากระทบกระถึงประเทศ ที่อยูแหงฆานประสาท ฝายวาชิวหาประสาทนั้น มีปกติรับเอาซึ่งรสทั้งปวง แตบรรดาที่มากระทบถึง ประเทศที่อยูแหงชิวหาประสาท ฝายวากายประสาทนั้นเลาก็รับเอาสัมผัสตาง ๆ แตบรรดาที่มากระทบ ถึงประเทศที่อยูแหงกายประสาทนั้นเหตุใด วาฆานประสาทแลชิวหาประสาทแลกายประสาทนั้นเปนที่ พํานักอาศัยแหงฆานวิญญาณ แลชิวหาวิญญาณ แลกายวิญญาณ ๆ นั้นมีปกติยึดหนวงไดแตอารมณ บรรดาที่มาติดพันอยูดวยประสาทอันเปนอาศัยแหงตน ๆ ถาอารมณนั้นบมิไดมาติดพันอยูดวยอาศัย แหงตน ๆ แลว ฆานวิญญาณแลวชิวหาวิญญาณแลกายวิญญาณนั้น ก็บมิอาจจะยึดหนวงเอาอารมณ นั้นไวใหอยูในอํานาจแหงตนได อาศัยเหตุฉะนี้ จึงมีขออรรถาธิบายวา ฆานประสาทแลชิวหาประสาท แลกายประสาทนี้ เปนปกติรับเอาซึ่งอารมณแตบรรดาที่มาถึง แลจักษุประสาทนั้น มีสัณฐานนอยเทาศีรษะเหาประดิษฐานอยูในทามกลางแหงตาดํา อัน แวดลอมดวยปริมลฑลแหงตาขาว จักษุประเทศนี้ มีสัณฐานดังกลีบอุบลเขียว อาเกียรณดวยโมลชาติ อันมีพรรณอันดํา เนื้อจักษุนั้นมีสัณฐานเปนกลีบ ๆ เปนชั้น ๆ นับได ๗ ชั้น จักษุประสาทนั้นซาบตลอด ทั้ง ๗ ชั้น เปรียบปราดุจปุยสําลีอันบุคคลประชีใหดีซอน ๆ กันใหได ๗ ชั้น แลวแลเอาน้ํามันหอมอัน ขนหยอดลงในทามกลาง แลน้ํามันปุยซาบสําลีทั้ง ๗ ชั้นนั้น จักษุประสาทนั้นเปรียบประดุจน้ํามันหอย อันขนที่หยดลงในทามกลาง จักษุประสาทนั้นเปนเงาอยางประหนึ่งวากระจก ถารูปารมณสิ่งใดมาประดิษฐานเฉพาะหนา ในกาลใด เงาแหงรูปารมณสิ่งนั้นก็ปรากฏในจักษุประสาทในกาลนั้น จักษุประสาทนี้ มีธาตุทั้ง ๔ เปนผูชวยอุปการะบํารุงรักษาเปรียบประดุจดังวาขัตติยราชกุมาร อันพระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะบํารุงบําเรอ พระนมผูหนึ่งนั้นอุมไว พระนมผูหนึ่งนั้นตักเอาน้ํามาโสรจ สรง พระนมผูหนึ่งนั้นนําเอาเครื่องมาประดับ พระนมผูหนึ่งนั้นนําเอาพัชนีพัดมาวีใหขัตติยราชกุมารอัน พระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะบํารุงรักษามีอุปมาฉันใด จักษุประสาทนี้มีธาตุทั้ง ๔ เปนผูชวยอุปการะ บํารุงรักษามีอุปไมยดังนั้น แทจริงปฐวีธาตุนั้นทรงไวซึ่งจักษุประสาทเปรียบประดุจพระนมที่อุมชูอาโปธาตุนั้นบํารุงให สดใหชื่นประคับประคองไว เปรียบประดุจพระนมที่ตักน้ํามาโสรจสรง เตโชธาตุนั้นบํารุงมิใหเปอยเนา เปรียบประดุจพระนมที่เอาเครื่องประดับ วาโยธาตุนั้นบํารุงใหกลับใหกลอกได เปรียบประดุจพระนม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 21 อันนําเอาพัชนีมาพัดวีให ใชจะมีแตธาตุทั้ง ๔ เปนผูอุปการะเทานี้หาบมิได ฤดูแลจิตแลอาหารนั้น ก็เปนผูชวย อุปถัมคค้ําชู อายุนั้นเปนผูเลี้ยงดู พรรณแลกลิ่นรสเปนอาทินั้นเปนบริวารแวดลอม จักษุประสาทเปน วัตถุที่เกิดแหงจักษุวิญญาณ เปนทวารแหงจิต ๔๖ แตบรรดาที่เปนไปในจักษุทวารวิถีโดยอันควรแก อารมณ จักษุประสาทเปนพนักงานใหเห็นรูปสรรพสิ่งทั้งปวง “วุตฺตํป เจตํธมฺมเสนาปตินา” คํากอนที่สําแดงมานั้น สมกันกับบาทพระคาถา อันพระผู เปนเจาธรรมเสนาสารีบุตรวิสัชนาไววา “เยน จกฺขุปสาเทน รูปานิ สมนุปสฺส ปริตฺตํ สุขุมํ เอตํ อูกาสิรสมูปมํ” อธิบายในพระคาถาวา บุคคลอันเห็นรูปสรรพสิ่งทั้งปวงนั้นเห็นดวยอํานาจจักษุประสาทอัน ใด จักษุประสาทนั้นเปนรูปอันนอยเปนสุขุมรูป มีสัณฐานนอยเทาศีรษะเหา พระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี วิสัชนาไวฉะนี้ ตกวากิริยาที่เห็นรูปนั้น เฉพาะเห็นดวยจักษุประสาทอันนอยอันละเอียดเทานั้นเอง จะได เห็นดวยสสัมภารจักษุ คือเนื้อแลหนังเสนโลหิตแลโลมา ซึ่งประดิษฐานอยูในกระบอกตานั้นหาบมิได แลสสัมภารโสต คือเนื้อแลหนัง เสนโลหิตโลมา ซึ่งประดิษฐานอยูในประเทศแหงหูนั้นเลา จะไดเปนพนักงานใหไดยินสําเนียงทั้งปวงก็หาบมิได ที่เปนเจาพนักงานใหไดฟงศัพทสําเนียงนั้น คือ โสตประสาทตางหาก โสตประสาทนั้นก็เปนสุขุมรูป เปนรูปอันละเอียดเหมือนกันกับจักษุประสาท แปลกกันแตที่อยู โสตประสาทนั้นตั้งอยูในประเทศอันมีสัณฐานดังวงแหวนเปนที่งอกขึ้นแหงโลมชาติ เสนเล็ก ๆ สีแดงอยู ณ ภายในชองแหงสสัมภารโสต โสตประสาทนั้นมีก็มีธาตุทั้ง ๔ เปนผูอุปการะ มี ฤดูแลจิตแลอาหารเปนผูอุปถัมภมีอายุเปนผูเลี้ยง มีสีแลกลิ่นแลรสแลโอชาเปนบริวารแวดลอมให สําเร็จกิจเปนวัตถุที่เกิดแหงโสตวิญญาณ ใหสําเร็จกิจเปนทวารแหงจิต ๔๖ แตบรรดาที่ประพฤติ เปนไปในโสตทวารวิถีนั้น โดยอันสมควรแกอารมณเปรียบประดุจดังขัตติยราชกุมาร อันพระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะซึ่งมีวินิจฉัยอันกลาวแลวในจักษุประสาทแตหลัง แลฆานประสาทนั้นเลา ก็เปนสุขุมเปนรูปอันละเอียดเหมือนกันกับโสตประสาท แปลกกัน แตที่อยู ฆานประสาทนั้นตั้งอยูในประเทศอันมีสัณญานดังเทาแพะ ภายในแหงชองสสัมภารฆาน อธิบายวาเนื้อแลหนังแลเสนแลโลหิตแลโลมา ซึ่งประดิษฐานอยูในนาสิกประเทศนั้นแล ไดชื่อวาสสัมภารฆาน ฆานประสาทนี้ก็มีธาตุทั้ง ๔ เปนผูอุปการะ มีฤดูจิตเปนอาหารเปนผูอุปถัมภค้ําชู มีอายุเปนผูเลี้ยงผูดูมีสีแลกลิ่นรส แลโอชาเปนบริวารแวดลอมใหสําเร็จกิจเปนวัตถุที่เกิดแหงฆาน วิญญาณ ใหสําเร็จเปนทวารแหงจิต ๔๖ ดวง แตบรรดาที่ประพฤติเปนไปในฆานทวารวิถีโดยอัน สมควรแกอารมณ เปรียบประดุจดังขัตติยราชกุมารอันพระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะ มีนัยดังพรรณนา มาแตหลัง แลชิวหาประสาทนั้นเลา ก็เปนสุขุมรูปอันละเอียดเหมือนกันแปลกกันแตที่อยู ชิวหา ประสาทนั้น ตั้งอยูในประเทศอันมีสัณฐานดังปลายกลีบแหงดอกอุบล อยูเบื้องบนแหงสสัมภารชิวหา ในทามกลางแหงสสัมภารชิวหานั้น ชิวหาประสาทนี้มีธาตุทั้ง ๔ เปนผูอุปการะ มีฤดูแลจิตแลอาหาร เปนผูอุปถัมภค้ําชู มีอายุเปนผูเลี้ยงผูดู มีสีแลกลิ่นแลรสแลโอชาเปนบริวารแวดลอมใหสําเร็จกิจ เปน วัตถุที่เกิดแลชิวหาวิญญาณ ใหสําเร็จเปนทวารแหงจิต ๔๖ ดวง แตบรรดาที่ประพฤติเปนไปในชิวท วารวิถี โดยอันควรแกอารมณเปรียบประดุจขัตติยราชกุราช อันพระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะ มีวินิจฉัย ดังวิชนามาแลวนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 22 แลกายประสาทนั้นก็เปนสุขุม อันละเอียดเหมือนกันแปลกแตที่อยูกายประสาทนี้ซาบอยู ทั่วสรีรกาย เปรียบประดุจน้ํามันอันซาบอยูในปุยฝายอันบุคคลประชีแลวเปนอันดี กายประสาทนี้ก็มี ธาตุทั้ง ๔ เปนผูอุปการะ มีฤดูแลจิตแลอาหารเปนผูอุปถัมภค้ําชู มีอายุเปนผูเลี้ยงผูดู มีสีแลกลิ่นแลรส แลโอชาเปนบริวารแวดลอมใหสําเร็จกิจเปนวัตถุที่เกิดแหงกายวิญญาณใหสําเร็จกิจเปนทวารแหงจิต ๔๖ ดวง แตบรรดาที่ประพฤติเปนไปในกายทวารวิถีโดยสมควรแกอารมณเปรียบประดุจดังขัตติยราช กุมาร อันพระนมทั้ง ๔ กระทําอุปการะมีนัยดังวิสัชนามาแลวนั้น ตกวากายประสาทนี้ซาบอยูในอุปปาทินนกรูปสิ้นทั้งปวง แตบรรดาที่เปนเนื้อหยิกเจ็บนั้น แลไดชื่อวาอุปาทินกรูป เหมือนอยางปลายเล็บที่พนเนื้อ ผมแลขนแลฟนที่หยิกไมเจ็บนั้น ไดชื่อวาอนุ ปาทินนกรูปในอนุปาทินนกรูปนั้นหามีกายประสาทซาบอยูไม กายประสาทนี้ซาบอยูแตในอุปทินนกรูป สิ้นทั้งปวงเปนปจจัยใหรูโผฏฐัพพารมณ จะรูจักสัมผัสวาออนวากระดางนั้น อาศัยแกกายประสาทพิบัติ แลว กายก็เปนเหน็บตายไปบมิไดรูซึ่งสัมผัสสรรพสิ่งทั้งปวง แทจริงประสาททั้ง ๕ นี้ มีสภาวะนอมไปสูอารมณอันควรแกปกติแหงตน จักษุประสาทนั้น ยอมนอมไปสูอารมณ อันเปนวิสัยแหงตนเปรียบประดุจงูอันนอมจิตไปสู จอมปลวกอันเปนที่อยูแหงตน อันธรรมดาวางูนั้นยอมยินดีในจอมปลวก พอใจอยูในจอมปลวกนั้นยิ่ง นัก ไปเที่ยวแสวงหาอาหารแลวก็กลับมาเฉพาะหนาสูจอมปลวก จะไดละเวนเสียซึ่งจอมปลวกอันเปน ที่อยูแหงตนหาบมิได อันนี้แลอุปมาฉันใด จักษุประสาทนั้นก็เฉพาะหนาสูรูปารมณ จะไดละเวนเสียซึ่ง รูปารมณอันเปนวิสัยแหงตนนั้นหาบมิไดอุปไมยดังนั้น นัยหนึ่งอธิบายวา งูนั้นถาจะเลื้อยไปในสถานที่ใด ๆ ก็พอใจเลื้อยไปในที่อันรก ๆ หาพอใจ ที่จะเลื้อยไปในประเทศที่แจง ๆ นั้นไม อันนี้แลมีอุปไมยฉันใด จักษุประสาทนั้นก็เล็ดลอดดูไปในที่อัน ลี้ลับ อันบุคคลปกปดกําบัง มีอุปมาดังงูอันพอใจที่จะเลื้อยไปในที่รก ๆ นั้น แลโสตประสาทนั้น ยอมนอมไปสูสัททารมณอันเปนวิสัยแหงตน เปรียบประดุจดังจระเข อันมีจิตนอมไปสูประเทศอันมีน้ํา อันธรรมดาจระเขนั้นเปนชาติสัตวน้ํา มาตรแมนวาจะขึ้นสูบก ก็มีจิต ประหวัดอยูในน้ํา จะไดละเวนเสียซึ่งน้ําอันเปนวิสัยแหงตนนั้นหาบมิได อันนี้แลมีอุปมาฉันใด โสต ประสาทก็เฉพาะหนาสูสัททารมณจะไดละเวนเสียซึ่งสัททารมณ อันเปนวิสัยแหงตนหาบมิไดมี อุปไมยดังนั้น นัยหนึ่งอธิบายวา จระเขนั้นหูไว หูนั้นระวังอยูที่จะฟงเสียง ตรับอยูที่จะฟงเสียง เมื่อซอน ตัวอยูในน้ําอันเปนวังนั้น ถาไดยินสําเนียงสัตวอันควรจะเปนภักษาหารแหงตน ปรากฏในประเทศที่ใด ก็โผนโลดไลไปในประเทศที่นั้น แลมีอุปมาฉันใด โสตประสาทนั้นก็ระวังอยูในที่จะฟงเสียง ตรับอยูที่ จะฟงศัพทสําเนียงตาง ๆ แตพอไดยินแววก็แลนถึง แลนไปในประเทศที่ปรากฏแหงสําเนียง มีอุปไมย ดังนั้น แลฆานประสาทนั้น ยอมนอมไปสูคันธารมณ อันเปนวิสัยแหงตนเปรียบประดุจปกษีชาติ อันมีจิตนอมไปในประเทศอากาศอันธรรมดานกนั้น มีอากาศเปนวิสัย มาตรแมนวาจะลงจับอยูที่พื้น ปฐพีก็ดี จับอยูที่พฤกษาลดาวัลย พนัสพนมไพรที่ใด ๆ ก็ดี ก็มีจิตประหวัดอยูในอากาศจะไดสละละ วางเสียซึ่งอากาศหามิได อันนี้แลมีอุปมาฉันใด ฆายนประสาทนั้น ก็อยูเฉพาะหนาคันธารมณจะไดเวน เสียซึ่งคันธารมณ อันเปนวิสัยแหงตนนั้นหาบมิไดมีอุปไมยดังนั้น แทจริงฆานประสาทนี้ ไมรูสละละเมินซึ่งกลิ่นใดอันหนึ่ง สุดแทแตกลิ่นมากระทบถึงแลว ก็ รับรองเอาเปนของแหงตนสิ้นทุกสิ่งทุกอัน กลิ่นเผ็ด กลิ่นรอน กลิ่นเปรี้ยว กลิ่นหวาน กลิ่นฝาด กลิ่น เบื่อ กลิ่นหอม กลิ่นเหม็น สรรพกลิ่น นั้นแลฆานประสาทรับรองสิ้น ฆานประสาทจะไดเลือกไดเวนเสีย ซึ่งกลิ่นอันชั่ว ๆ เลือกเอาแตกลิ่นดี ๆ นั้นหาบมิได เพราะเหตุวากลิ่นนั้นเปนวิสัยแหงตน มีอุปมาดัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 23 ปกษีชาติอันอากาศเปนวิสัยมิไดสละละวางเสียซึ่งอากาศนั้น แลชิวหาประสาทนั้น ยอมนอมไปสูรสารมณอันเปนวิสัยแหงตนเปรียบประดุจสุนัขบาน อันมีจิตนอมไปในบานอันเปนวิสัยแหงตน ธรรมดาวาสุนัขบานนั้น ยอมรักใครซึ่งถิ่นแหงตน ผูกพันใน ถิ่นแหงตน ถึงถิ่นแหงตนนั้นบังเกิดพิบัติดวยอันตรายพอใจที่จะไปจากถิ่นแหงตน สนัขรักถิ่นมีจิตนอม ไปในถิ่นแหงตน แลมีอุปมาฉันใด ชิวหาประสาทก็นอมไปสูรสารมณอันเปนวิสัยแหงตน มีอุปไมย ดังนั้น แลกายประสาทนั้น ยอมนอมไปสูโผฏฐัพพารมณอันเปนวิสัยแหงตน เปรียบประดุจดังสุนัข จิ้งจอก อันมีจิตนอมไปในปาชาผีดิบ ธรรมดาวาสุนัขจิ้งจอกนั้นยอมรักใครในปาชาผีดิบ ผูกพันอยูใน ปาชาผีดิบบมิไดวาง เพระเหตุที่ไดกินซากอสุภเปนอาหารมีอุปมาฉันใด กายประสาทนั้นก็นอมไปสู โผฏฐัพพารมณอันเปนวิสัยแหงตนมีอุปไมยดังนั้น สําแดงมานี้ โดยนัยพิสดารตามพระบาลี แตนี้จะเก็บเอาแตใจความมาวิสัชนาโดยสังเขป แตพอเปนอุปการะแกกุลบุตรผูมีศรัทธาบําเพ็ญเพียรในพระวิปสสนากรรมฐานนั้น แทจริงอุปาทายรูป ๒๔ ประการนั้น เมื่อจัดโดยนัยแหงพระอภิธัมมัตถสังคหะนั้นจัดเปนประสาทรูป ๕ วิสัยรูป ๔ ภาวะรูป ๒ หทัยรูป ๑ ชวิตรูป ๑ อาหารรูป ๑ ปริจเฉทรูป ๑ วิญญัติรูป ๒ วิการรูป ๓ ลักษณะรูป ๔ ประสาทรูป ๕ นั้นไดสําแดงแลวโดยนัยพิสดาร แลรูปซึ่งจะวิสัชนาไปในเบื้องหนา ตั้งแตวิสัยรูปไปนั้นจะสําแดง แตโดยนัยสังเขป นักปราชญพึงสันนิษฐานเถิดวา วิสัยรูป ๔ ประการนั้น ไดแกอารมณทั้ง ๔ ประการ คือ รู ปารมณประการ ๑ สัททารมณประการ ๑ คันธารมณประการ ๑ รสารมณประการ ๑ เปน ๔ ประการ ดวยกัน รูปารมณนั้นไดแกรูปสรรพสิ่งทั้งปวง รูปอันประกอบดวยวิญญาณก็ดี รูปอันหาวิญญาณบ มิไดก็ดี สุดแทแตเปนรูปควรจะเห็นเปนอารมณแหงจิต อันยุติในจักษุทวารแลว ก็ไดชื่อวารูปารมณสิ้น ดวยกัน แลสัททารมณนั้นไดแกเสียงสรรพสิ่งทั้งปวง เสียงเพราะก็ดี เสียงไมเพราะก็ดี เสียงสัตว อันประกอบดวยวิญญาณก็ดี เสียงฆอง เสียงเครื่องดุริยดนตรี พิณพาทยทั้งปวงก็ดี สุดแทแตวาเปน เสียงเปนอารมณแหงจิตอันยุติในโสตทวารแลว ก็ไดชื่อวาสัททารมณสิ้นดวยกัน แลคันธารมณนั้นไดแกสรรพสิ่งทั้งปวง กลิ่นหอม กลิ่นเหม็น กลิ่นรอน กลิ่นเย็น กลิ่นสิ่งใด ๆ ก็ดี สุดแทแตวาเปนกลิ่นอันควรจะเปนอารมณแหงจิต อันยุติในฆานทวารแลวก็ไดชื่อวา คันธารมณ สิ้นดวยกัน แลรสารมณ ไดแกสรรพสิ่งทั้งปวง รสเปรี้ยว รสเค็ม รสเฝอนฝาด รสเผ็ด รสแสบ รสขม รส จืด รสหวาน รสสิ่งใด ๆ ก็ดี สุดแตวาเปนรสควรจะเปนอารมณแหงจิตอันยุติในชิวหาทวารแลว ก็ไดชื่อ วารสารมณสิ้นทั้งนั้น ประสมเขาดวยกันเปนอารมณ ๔ ประการ อารมณทั้ง ๔ ประการนี้ สมเด็จพระศาสดาจารย ตรัสเทศนาวาวิสัยรูป ๔ ประการ แลภาวะรูป ๒ ประการนี้ คืออิตถีภาวรูปประการ ๑ ปริสภาวรูปประการ ๑ เปน ๒ ประการ ดวย อิตถีภาวรูปนั้น บังเกิดเนื่อง ๆ กันอยูในสันดานแหงสตรีบมิไดรูขาดสาย อิตถีภาวรูปนี้ เปน ใหญในที่จะกระทําใหรูปกายเปนสตรีใหกิริยามารยาทอากัปปะอาการทั้งปวง เปนกิริยามารยาทอากัป ปะอาการแหงสตรี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 24 ก็ฝายวาปุริสภาวรูปนั้น บังเกิดเนื่อง ๆ กันอยูในสันดานแหงบุรุษมิไดรูขาดสาย ปุริสภาวรูป นี้ เปนใหญในที่จะกระทําใหรูปกายเปนบุรุษ ใหกิริยามารยาทอากัปปะอาการทั้งปวงเปนกิริยามารยาท อากัปปะแหงบุรุษ ถาบุรุษจะกลายเปนสตรี ขณะเมื่อเพศจะกลับเปนสตรีนั้นปุริสภารูปดับไป บมิไดบังเกิดสิ้น ภาวะ ๑๗ ขณะจิต เมื่อปุริสภาวรูปดับไปแลวไมบังเกิดลวงไปไดถึง ๑๗ ขณะจิตแลวอิตถีภาวรูปจึง บังเกิดขึ้นในลําดับนั้น เมื่ออิตถีภาวรูปบังเกิดขึ้นแลว รูปก็กลายเปนสตรีไป กิริยามารยาทอากัปปะอาการทั้งปวง ก็กลายเปนสตรีไปในกาลนั้น ถาหญิงจะกลับเพศเปนชายเลา ขณะเมื่อเพศจะกลายเปนชายนั้นอิตถีภาวรูปก็ดับไป บ มิไดบังเกิดสิ้นภาวะ ๑๗ ขณะจิต เมื่ออิตถีภาวรูปดับลวงไปไมบังเกิดถึง ๑๗ ขณะจิตนั้นแลวปุริ สภาวรูปก็บังเกิดขึ้นในสันดาน ครั้นปุริสภาวรูปกายบังเกิดแลวรูปกายก็กลายเปนบุรุษ กิริยามารยาท อากัปปะอาการทั้งปวง ก็กลายเปนบุรุษสิ้นในกาลนั้น สตรีจะกลายเปนบุรุษนั้นอาศัยดวยกุศลมีกําลัง กุศลที่ตนไดรักษาศีล ๘ เวนจากเมถุน สังวาสนั้นก็ดี กุศลที่ตนไดรักษาศีลกาเมสุมิจฉาจารไมเอาใจออกนอกสามีนั้นก็ดี กุศลทั้งสองประการ นี้ ถามีกลาหาญอยูในสันดานสตรีภาพผูใด ถาสตรีภาพผูนั้นมีความปรารถนาที่จะเปนชาย ก็จะไดเปน ชายสําเร็จมโนรถความปรารถนากุศลกลามีกําลังแลว เพศสตรีนั้นก็จะกลับกลายเปนบุรุษไป กุศลนั้น เขาชักนํากําจัดเสียซึ่งอิตถีภาวรูปนั้นดับสูญไปแลว ก็ตกแตงปุริสภาวะใหเกิดขึ้นในสันดาน ใหรูปกาย แลกิริยามารยาท อากัปปะอาการทั้งปวงกลับกลายเปนบุรุษใหเห็นประจักษแกตาในอัตตภาพชาตินี้ เพศสตรีกลายเปนบุรุษนั้น มีเยี่ยงอยางแตปางกอนครั้งสมเด็จพระพุทธองค ยังทรงทรมาน มีพระชนมโปรดเวไนยสรรพสัตวอยูนั้น สตรีผูหนึ่งมีนามโคตรมิไดปรากฏในวาระพระบาลี สตรีผูนั้นมี ศรัทธาไปบวชเปนนางภิกษุณีในพระศาสนา อุตสาหะรักษาศีลบริสุทธิ์เปนอันดี นางภิกษุณีนั้น ครั้นวา มีจิตอันเบื่อหนายจากที่จะเปนสตรีภาพมีความปรารถนาจะใครเปนบุรุษ เมื่อมีความปรารถนาดังนั้น อาศัยดวยกุศลกลา อิตถีภาวรูปก็อันตรธานหาย ปุริสภาวรูปที่เปนใหญกระทําใหรูปกายเปนผูชายนั้นก็ บังเกิดขึ้นมาใหมทันใด นางภิกษุณีก็กลายเปนบุรุษไปในกาลนั้น ครั้นกลายเปนบุรุษไปแลว สมเด็จ พระพุทธองคก็ทรงกรุณาโปรดใหมาอยูกับภิกษุสงฆทั้งปวง ฝายขางบุรุษเลาที่กลายเปนสตรีนั้นก็มีมาแตปางกอน บุตรชายโสโรยเศรษฐี อยูในโสโรย นครแตครั้งกอน เมื่อสมเด็จพระพุทธองคยังทรงทรมานมีพระชนมโปรดเวไนยสรรพสัตวอยูนั้น บุตรชายเศรษฐีนั้นวันหนึ่งออกไปภายนอกพระพารา ลงไปสูทาเพื่อจะอาบน้ํา ไดเห็นพระมหากัจ จายนเถระทานยืนหมผาจีวรอยูในที่แหงหนึ่ง ก็บังเกิดความปรารถนาอันเปนบาปวา พระมหาเถระองค นี้รูปรางทานงามดีนักหนา ถาเปนภรรยาของอาตมานี้จะดีทีเดียว ขอหนึ่งภรรยาของอาตมานี้ ถามีรูป โฉมสีสัณฐพรรณอยางพระมหาเถระองคนี้จะดีทีเดียว เมื่อจิตคิดลาลมแตเทานี้ ปุริสภารูปนั้นก็อันตรา ธานหาย รูปกายก็กลายเปนสตรีไปในขณะบัดเดียวนั้น ครั้นกลายเปนสตรีไปแลว ก็หนีไปสูเมืองตัก กศิลา ไปอยูเปนภรรยาของบุตรชายเศรษฐีเมืองตักกศิลา อยูจําเนียรนานมาเบื้องหนาไดพบกันกับ สหายใหสหายไปอาราธนานิมนตพระมหากัจจายนเถระมาฉัน กระทําอภิวันทนบนอมนมัสการขอ ประทานโทษ ครั้นพระมหาเถระเจาโปรดใหอภัยโทษแลวอิตถีภาวรูปก็อันตรธานหาย ปุริสภาวรูปที่ เปนใหญในที่กระทําใหเปนผูชายนั้นจึงบังเกิดขึ้น กระทําในรูปกายเปนผูชายคงคืนดังเกา วามาทั้งนี้ จะใหเห็นวาหญิงจะกลายเปนชายนั้น อาศัยดวยกุศลมีกําลัง ฝายผูชายจะ กลายเปนหญิงนั้น ก็อาศัยดวยมีความประมาทพลาดพลั้งลงที่ใดที่หนึ่งแลว เพศก็กลายเปนสตรีไป บุรุษจะเปนสตรีนี้มีงาย สตรีจะใครเปนผูชายนั้นเปนอุดมเพศ เปนเพศอันอุดม บุคคลอันปรารถนา ปจเจกภูมิ แลพุทธภูมินั้น จะสําเร็จก็อาศัยดวยอยูในเพศเปนบุรุษ ๆ นั้น จึงสรางบารมีปรารถนาพุทธ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 25 ภูมิปจเจกภูมินั้นก็ได ถาเปนสตรีเพศอยูแลว จะสรางบารมีปรารถนาพุทธภูมิ ปจเจกภูมินั้นขัดอยู ให ปรารถนาเปนบุรุษเสียกอนครั้นไดเปนบุรุษแลวจึงใหปรารถนาพุทธภูมิ ปจเจกภูมิ ความปรารถนาจึงจะ สําเร็จ ถาไมปรารถนาเปนบุรุษกอน แลปรารถนาตรงเอาพุทธภูมิ ปจเจกภูมินั้น ความปรารถนาไม สําเร็จ เหตุฉะนี้จึงวาเพศบุรุษนั้นไดชื่อวาอุดมเพศ อุดมกวาเพศสตรีพึงเขาใจเถิดวาพรรณนามาทั้งนี้ จะใหเห็นแจงวา อิตถีภาวรูปนั้นเปนใหญที่จะตกแตงใหรูปกายเปนบุรุษ แลหทัยรูปนั้นพึงเขาใจวาไดแกหทัยวัตถุเนื้อหัวใจนั้น แลเรียกวาหทัยรูป เนื้อหัวใจนั้นเดิมที ก็จัดเขาใจหมวดปฐวีธาตุจัดเปนมหาภูตรูปแลว มาภายหลังจัดเปนหทัยรูปเลาอาศัยเหตุอันใด อาศัย วาเนื้อหัวใจนั้นเปนที่ตั้งวิญญาณ เปนใหญกวาเนื้อทั้งปวงวิเศษแปลกกวากอนเนื้อทั้งปวงนั้นแลทาน จึงจัดเปนหทัยรูป ดวยสามารถจะใหเห็นแปลกกันนั้น แลชีวิตรูปนั้นจะไดแกสิ่งอันใด ชีวิตรูปนั้น ไดแกรูปชีวิตินทรียสําแดงโดยประเภท ชีวิตินทรียนี้มี ๒ ประการ คือรูปชีวิตินทรียประการ ๑ อรูปชีวิตินทรียประการ ๑ เปน ๒ ประการฉะนี้ อรูปชีวิตินทรียนั้น ประการ ๑ ชื่อวาอรูปชีวิตินทรีย

ไดแกจิตแลเจตสิก

แตบรรดาจิตแลเจตสิกนั้นทานจัดเปนอินทรีย

แลอาการ ๓๒ อันประชุมกันนั้น ทานก็จัดเปนอินทรียประการ ๑ ชื่อวารูปชีวิตินทรีย รูป ชีวิตินทรียนี้แล ทานยกขึ้นเปนรูปประการ ๑ ชื่อวาชีวิตรูป แทจริงอาการ ๓๒ นี้ เมื่อเรียกแตละอยาง ๆ ก็มีชื่อตาง ๆ กัน ชื่อวาผม ชื่อวาเล็บ ชื่อวาฟน เปนตน ครั้นวาจัดเปนหมวด ๆ กัน ก็เรียกวาปฐวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ ครั้นวาธาตุทั้ง ๔ ประการ ประชุมกันเขาเปนอันหนึ่งอันเดียว ก็เรียกวารูปชีวิตินทรีย มีครุวนาดุจวา รถ ๆ นั้นเมื่อเรียกแตละสิ่ง ๆ ก็เรียกวางอน วาเอก วาแปรก วาดุม วาเพลา วากํา วากง ครั้นเรียกรวมกันเขาก็เรียกวาราชรถอันนี้มี ฉันใด อาการ ๓๒ นั้นเมื่อเรียกเรียงออกไป ก็ไดนามชื่อวาผม ชื่อวาขน ชื่อวาเล็บ ชื่อวาฟนเปน ตน ครั้นจัดเปนหมวดเขาก็เรียกวา ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ครั้นรวมกันเขาสิ้นทั้งนั้น ก็ เรียกชื่อวา ชีวิตรูป อุปไมยดังทัพพะสัมภาระทั้งปวงมีกํามีกงเปนตน อันประชุมกันแลว และไดนาม ปรากฏวา ราชรถนั้น ทีนี้จะวาดวยอาหารรูปสืบตอไป อาหารรูปนั้นไดแกกวฬิงการาหาร คือสิ่งของที่เราทาน บริโภคทุกวันนี้ ขาวและน้ําขนมของกินมัจฉะมังสะทั้งปวงนี้ จัดเปนรูปประการ ๑ ชื่อวาอาหารรูป แต ทวาเมื่อยังไมไดบริโภคนั้น ยังไมไดชื่อวาอาหารรูปกอน ตอเมื่อไดบริโภคแลวอาหารนั้นซับซาบไป แลว จึงไดชื่อวาอาหารรูป โอชะแหงอาหารอันซับซาบไปทั่วสกลกายนั้น ซาบทั่วเมื่อเพลาปุจจุสมัย คือเวลาจะใกล รุงนั้นแลเปนเพลาอาหารซับซาบทั่วสกลกาย โอชะอาหารนั้นซาบไปทั่วทั้งขุมผมและขุมขน เหตุ ดังนั้นบุคคลทั้งปวงจึงนอนเปนสุขในเวลาจะใกลรุงนั้นยิ่งกวาเพลาทั้งปวง จะฝนเห็นเลา ฝนในเวลาจะใกลรุงและแกเพลาทั้งปวง เหตุวามีความสบาย เพราะโอชะ อาหารซับซาบทั่วทั้งสกลกายนั้น มีครุวนาดังพฤกษาชาติตนไมทั้งหลายอันงามประหลาดเมื่อเพลาจะ ใกลรุง ธรรดาวาตนไมนี้งามในเพลาจะใกลรุงนั้นยิ่งกวาเพลาทั้งปวง เหตุวาเพลาจะใกลรุงนั้นรส แผนดินซับซาบทั่วทุกกิ่งนอยกิ่งใหญ ใบออนและใบแกทั้งปวง รสแผนดินนั้นจําเดิมแตหัวค่ําก็ซับซา บขึ้นไปโดยลําดับ ซาบไปในลําตนแลวก็ซาบไปในกิ่งใหญ ๆ ครั้นแลวก็ซับซาบไปในกิ่งนอย ๆ ซา บออกไป ๆ เมื่อถึงซึ่งเพลาปจจุสมัยก็ซาบไปทุกใบทุกกานนั้นแล ตนไมจึงมีสีอันงามหนักหนาใน เพลานั้น ครั้นวารุงขึ้นแลว รสแผนดินก็ถอยลงมา ๆ จากใบแลวก็ถอยลงมาจากกิ่ง ถอยลงมาจากลํา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 26 ตนลงไป ๆ ตราบเทาถึงแผนดินตอเพลาค่ําลงอีกเลา รสแผนดินนั้นจึงกลับซับซาบขึ้นไปเหมือนใน หนหลัง ตนไมตนใดรสแผนดินซับซาบอยู ตนไมนั้นมีสัณฐานพรรณในกานงามเปนที่นํามาซึ่งความ เลื่อมใส ตนไมตนใดรสแผนดินซับซาบไปมิไดทั่ว ตนไมนั้นก็มีใบกานอันเหี่ยวแหงคร่ําครา ถึงซึ่ง สภาวะแกเฒาชราตายยืนตนอยูก็มี เปนทั้งนี้เพราะรสแผนดินมิไดซาบกันขึ้นไป “เสยฺยถา” อันนี้แล มีฉันใด กายแหงเราทานทั้งปวง เมื่ออาหารซับซาบอยูทั่วก็จําเริญครัดเครงอยูโดยสิริสวัสดี ครั้น อาหารซับซาบไปมิไดทั่วแลว ก็เหี่ยวแหงคร่ําคราถึงภาวะแกเฒาชราทุพพลภาพทุกสสิ่งทุกประการ เมื่อหนุมเมื่อสาวอยูนั้นถึงนอนก็หลับสนิทแรงก็มาก ผิวเนื้อก็ครัดเครงเปลงปลั่งอยู เนื้อทั้งปวงอาศัย ดวยอาหารซับซาบอยูทั่วทุกขุมขนและขุมผม ครั้นวาลวงเขาปจฉิมวัยอาหารก็ไมซับซาบเหมือนแต กอนแลว นอนก็มิใครจะหลับ ผมที่ดําก็กลับขาว เนื้อหนังที่เครงครัดก็เหี่ยวแหงหดหูเปนเกลียว เรี่ยวแรงนั้นก็ทุพพลภาพลดถอยนอยไป อาศัยแกอาหารไมซับซาบเปนปกติอยางแตกอน มีอุปมาดัง ตนไม อันรสแผนดินมิไดซับซาบทั่วไป และมีใบกานอันคร่ําเครงเหี่ยวแหงไปดูมิไดงามแกตาโลกทั้ง ปวงนั้น อาหารนี้เปนใหญในที่จะอุปถัมภค้ําชูซึ่งรูป เหตุฉะนี้ทานจึงจัดเปนรูปอันหนึ่ง ชื่อวาอาหาร รูป และปริจเฉทรูปนั้นจะไดแกสิ่งอันใด ปริจเฉทรูปนั้นไดแกอากาศธาตุ อากาศนั้นแปลวา เปลา ธาตุนั้นแปลวาธาตุ พึงเขาใจเถิด วา บรรดาที่เปลา ๆ อยูในกายแหงเราทั้งหลายคือชองหูชองปากชองจมูกเปนอาทิ นี้แลเรียกวา อากาศธาตุ แตบรรดาชองเปลา ๆ อยูในกายนี้ ไดชื่อวาอากาศธาตุทั้งสิ้น อากาศธาตุนี้จัดเปนรูป ประการ ๑ ชื่อวาปริจเฉทรูป และวิญญัติรูป ๒ ประการ คือ กายวิญญัติประการ ๑ วจีวิญญัติประการ ๑ กายวิญญัตินั้น ไดแกกายแหงเราทานทั้งปวง อันหวั่นไหวอยูในอิริยาบถทั้ง ๔ คือขณะเมื่อ นั่งลงก็ดีลุกขึ้นก็ดีนอนลงก็ดี ขณะเมื่อเที่ยวนั้นก็ดี ไดชื่อวาวิญญัติสิ้นทั้งนั้น สุดแทแตวาไหวกาย ขณะใดขณะนั้นก็ไดชื่อวากายวิญญัติ และวจีวิญญัตินั้น ไดแกวาจาที่เปลงออกขณะเมื่อพูดจาปราศรัยเจรจาไปเจรจามาก็ดี ขณะ เมื่อขับเมื่อรองเมื่อสวดเรียนวากลาวสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ดี ไดชื่อวาวิญญัติทั้งสิ้น สุดแทแตออกวาจาขณะ ใดขณะนั้นก็ไดชื่อวาวจีวิญญัติ กายวิญญัติและวจีวิญญัติ ๒ ประการนี้ ทานจัดเปนวิญญัติรูป ๒ ประการ และวิการรูป ๓ ประการนั้น คืออันใดบาง วิการรูป ๓ ประการนั้น คือ รูปสสลหุตาประการ ๑ รูปสสมุทุตาประการ ๑ รูปสสกัมมัญญตา ประการ ๑ เปน ๓ ประการดวยกัน รูปสสลหุตานั้น แปลวา ความเบาแหงรูป อธิบายวา ขณะเมื่อเราทานทั้งปวงจะกระทําการกุศลก็ดี จะกระทําการอกุศลก็ดี และมีกาย อันเบาประหลาดขึ้น กายนั้นเบาวองไวอยูในที่จะกระทําการทั้งปวงนั้น ไดชื่อวารูปสสลหุตา และรูปสสมุทุตานั้น แปลวา ความออนแหงรูป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 27 อธิบายวา รูปกายอันมิไดกระดางกระเดื่องอยูในที่กระทําการทั้งปวง กระทําการทั้งปวงนั้น ไดชื่อวารูปสสมุทุตา

ออนนอมไปในที่

และรูปสสกัมมัญญตานั้น แปลวา ดีในการแหงรูป อธิบายวา เมื่อเราทานกระทําการสรรพสิ่งทั้งปวงนั้น ถามีกายอันสบายอยูในที่กระทําการ ไมฉุกเฉินยับเยินไปดวยทุกขภัยในที่อันใดอันหนึ่ง กายนั้นดีอยูในที่กระทําการ ควรอยูในการไมเปน อันตรายอันใดอันหนึ่งนั้นแล ไดชื่อวารูปสสกัมมัญญตา พึงเขาใจเถิดวา รูปสสลหุตา รูปสสมุทุตา รูปสสกัมมัญญตา ๓ ประการนี้ ทานจัดเปนวิการ รูป ๓ ประการ แลลักษณะ ๔ ประการนั้น คืออันใดบาง ลักษณะรูป ๔ ประการ คือ รูปสสอุจจโยประการ ๑ รูปสสัตติประการ ๑ รูปสสชรตาประการ ๑ รูปสสอนิจจตาประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน รูปสสอุจจโยนั้น กอใหเกิดแหงรูป อธิบายวา รูปใดเกิดขึ้นในเดิมแรกเมื่อตั้งปฏิสนธิ รูปอันนั้นไดชื่อวาอุจจยรูป และสันตติรูปนั้น ไดแกรูปอันบังเกิดสืบ ๆ ใหใหญวัยเปนหนุมเปนสาว รูปอันใดบังเกิดสืบ ตอใหใหญใหวัยเปนหนุมเปนสาวนั้น รูปอันนั้นไดชื่อวาสันตติรูป และชรตารูปนั้น ไดแกรูปอันแกเฒาชราคร่ําคราลง รูปกายแหงเราทานทั้งหลาย อันแก เฒาชรา ตามืด หูหนัก ฟนหัก แกมตอบ สันหลัง ขอถดถอยกําลัง เนื้อหนังหดหูเปนเกลียวนั่นแลได ชื่อวาชรตารูป แลอนิจจตารูปนั้น คือ รูปอันไมเที่ยงเกิดแลวและถึงซึ่งสถาวะฉิบหายทําลายไป พึงเขาใจ เถิดวารูปทั้งปวงอันมีนัยดังพรรณนามาฉะนี้ ไดชื่อวาอุปทายรูป เหตุวาอาศัยซึ่งมหาภูตรูปทั้ง ๔ ประการ แลวจึงบังเกิดมี และรูปทั้งหลายนี้ “อตีตํ วา” ที่ลวงไปแลวกอน ๆ นั้นไดชื่อวาอดีตรูป “อนาคตํ วา” รูปอันจะบังเกิดสืบไปในภายหนานั้น ไดชื่อวาอนาคตรูป “ปจฺจุปฺปนฺนํ วา” รูปอันบังเกิดขึ้นในปจจุบันนั้น ไดชื่อวาปจจุบันรูป “อชฺฌตฺตํ วา” รูปที่บังเกิดในภายใน คือประสาททั้ง ๕ มีจักษุประสาทเปนตน มีกาย ประสาทเปนปริโยสานนั้น ไดชื่อวาอัชฌัตตรูป อัชฌัตตรูปนั้น แปลวารูปภายใน ประสาททั้ง ๕ คือ จักษุประสาท โสตประสาท ฆาน ประสาท ชิวหาประสาท กายประสาทนั้นประดิษฐานอยูภายใน อาศัยเหตุดังนั้น จึงไดชื่อวาอัชฌัตตรูป “พหิพฺธา วา” และรูปนอกจากประสาททั้ง ๕ นั้น ไดชื่อวาพหิทธารูป อธิบายวา เปนรูปภายนอกไมประดิษฐานในภายในเหมือนประสาททั้ง ๕ เหมือนอยาง หัวใจ ตับ ปอด และมาม ไสนอย ไสใหญทั้งปวงนั้น ก็ตั้งอยูในภายในตน แตทวาไมเปนภายใน เหมือนดวยประสาททั้ง ๕ เหตุดังนี้ทานจึงไมจัดเปนอัชฌัตตรูป ทานจัดเปนอัชฌัตตรูปเปนรูปภายใน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 28 นั้น แตประสาททั้ง ๕ นอกกวานั้นทานจัดเปนพหิทธารูปสิ้นทั้งนั้น “โอฬาริกํ วา” และรูปที่หยาบ ๆ คือรูปารมณประการ ๑ สัททารมณประการ ๑ คันธารมณ ประการ ๑ รสารมณประการ ๑ ปฐวีธาตุประการ ๑ เตโชธาตุประการ ๑ วาโยธาตุประการ ๑ เปน ๗ ประการดวยกัน เอาประสาททั้ง ๕ มาใสเขาดวยเปน ๑๒ รูป ทั้ง ๑๒ ประการนี้ไดชื่อวาโอฬาริกรูป วา เปนรูปอันหยาบ “สุขุมํ วา ” และรูปนอกออกไปกวา ๑๒ ประการนี้ ไดชื่อวาสุขุมรูป แปลวารูปอันละเอียด “หีนํ วา” รูปที่ชั่ว ๆ นั้นไดชื่อวาหีนรูป “ปณีตํ วา” รูปที่งาม ๆ ดี ๆ ไดชื่อวาปณีต รูป “ยํ ทูเร วา สนฺติเก วา” รูปที่อยูไกล ๆ นั้นไดชื่อวาทูเรรูป รูปที่อยูใกลนั้นไดชื่อวาสันติเกรูป “ตเทกชฺฌํ อภิสฺูหิตฺวา” สมเด็จพระมหากรุณาประมวลรูปทั้งปวงเขาเปนหมูหมวด เปนกองอันเดียว จึงใหชื่อวารูปขันธ “เกนตฺเถน” เหตุใดจึงไดชื่อวารูป อธิบายวา ธรรมดาอันชื่อวารูป ๆ นี้ อาศัยดวยรูฉิบหายดวยรอนเย็น รูฉิบหายดวยความ อยากขาวอยากน้ํา รูฉิบหายดวยโรคาพยาธิตาง ๆ นานา ไดสําแดงรูปขันธโดยสังเขปแตเทานี้ แตนี้จะแสดงวิญญาณขันธสืบตอไป และวิญญาณขันธนั้น ไดแกจิต ๘๙ โดยสังเขป พิศดาร ๑๒๑ ที่จัดจิต ๘๙ โดยสังเขปนั้น จัดเปนกามาพจรจิต ๕๔ รูปาพจรจิต ๑๕ อรูปาพจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ ประสมเขาดวยกันเปน ๘๙ ดวง และกามาพจร ๕๔ นั้นจัดเปนอกุศลจิต ๑๒ ดวง คือเปนโลภมูล ๘ โทสมูล ๒ โมหมูล ๒ เปน ๑๒ ดวงดวยกัน โลภมูล ๒ ดวงนั้น จัดเปนทิฏฐิสัมปยุต ๔ ดวง อยางไรจึงเรียกวา ทิฏฐิสัมปยุต อธิบายเปน ประการใด อธิบายวา จิตอันประกอบดวยความหวงแหนในสิ่งของทั้งปวงอันประกอบดวยวิญญาณและ วิญญาณมิได มีความรักใครในสิ่งของทั้งปวงนั่นมั่นคง ความรักนั้นตรึงตราอยูมีครุวนาดุจเขมากับ น้ํามันยางอันตรึงตราอยูที่ผาสาฎกอันขาว จะยกสิ่งของ ๆ ตนออกทําบุญใหทานนั้นยกแแกมิได ถา เห็นสิ่งอันใดเปนของ ๆ เขาแลว ดําริแตจะนอมเอามาเปนของ ๆ ตน ความโลภเห็นปานดังสําแดงมา ฉะนี้ไดชื่อวาทิฏฐิสัมปยุต มีสิ่งของสิ่งใดแลวถือมั่นวาของ ๆ เรา ๆ มิใหกระจัดกระจาย ไมใหผูใดผูหนึ่ง เปนอยางนั้น แลพึงเขาใจเถิดวา โลภจิตเปนทิฏฐิสัมปยุต ๆ นั้น แปลวาประกอบ โลภจิตดวงใดมีทิฏฐิประกอบ โลภ จิตดวงนั้นไดชื่อวา ทิฏฐิสัมปยุต ทิฏฐินั้นแปลวาเห็น ทิฏฐิบังเกิดดวยโลภจิต ยอมใหเห็นไปในที่จะ นอมเอาของ ๆ ทานมาเปนของ ๆ ตนใหเห็นแตจะได พึงเขาใจวาจิตที่โลภเห็นจะไดมิไดคิดหนาคิดหลัง มิไดหยุดมิไดยั้งผูกพันมั่นคงที่จะรักใคร ได ชื่อทิฏฐิสัมปยุต และทิฏฐิวิปปยุตนั้น แปลวาปราศจากทิฏฐิ แตโลภก็โลภอยูอยางนั้น ทิฏฐิไมประกอบดวยก็

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 29 ไดชื่อวาทิฏฐิวิปปยุต โลภก็โลภอยูแตทวาไมเห็นแตจะไดอยางเดียว ถอยหนาถอยหลังหยุดรั้งยั้งอยูนั้น ไดชื่อ วาทิฏฐิวิปปยุต พึงเขาใจเอาแตกระทูความเถิดวา โลภจิตดวงใดประกอบดวยทิฏฐิโลภจิตดวงนั้นไดชื่อ วาทิฏฐิสัมปยุต โลภจิตที่หาทิฏฐิบังเกิดประกอบมิไดนั้น ไดชื่อวาทิฏฐิวิปปยุต แลโลภจิตที่เปนทิฏฐิสัมปยุต ๔ ดวงนั้น จัดเปนโสมนัส ๒ ดวง คือขณะเมื่อโลภเจตนา บังเกิด และไปทําอกุศลกรรมตาง ๆ ตามที่เจตนานั้น ถามีความชื่นชมโสมนัสรื่นเริงไปในที่กระทําบาป นั้น ไดชื่อวาโสมนัสสัมปยุต ยินดีในการโลภนั้นไดชื่อวาโสมนัสสัมปยุต ถาโลภอยูกระนั้น ไมชื่นชมยินดีในการโลภ โลภเฉย ๆ อยูกระนั้นไดชื่อวาอุเบกขาสัมปยุต และโลภจิตที่เปนทิฏฐิวิปปยุต ๔ ดวงเทานั้น ก็เปนโสมนัส ๒ ดวง เปนอุเบกขา ๒ ดวง เหมือนกับทิฏฐิสัมปยุต ตกวาในโลภมูลที่สัมปยุตดวยอุเบกขานั้น คือเปน ๔ ดวงดวยกัน ทีเ่ ปน โสมนัสสัมปยุตนั้นก็เปน ๔ เหมือนกันกับอุเบกขา และโลภมูลอันสัมปยุตดวยอุเบกขานั้น จัดเปนสสังขาริก ๒ ดวงเปน อสังขาริก ๒ ดวง คือขณะเมื่อบังเกิดโลภเจตนานั้น ถาบังเกิดดวยมีผูใดผูหนึ่งมาชักชวน มีผูใดผูหนึ่งมา ชักชวนแลว จึงบังเกิดโลภอยางนั้นไดชื่อวาสสังขาริก ถาหาผูชวนมิไดน้ําใจกลาหาญบังเกิดโลภดวย ลําพังใจเองนั้น ไดชื่อวาอสังขาริก แลโลภมูลที่เปนโสมนัสสัมปยุต ๔ ดวงนั้น ก็จัดเปนสสังขาริก ๒ เปนอสังขาริก ๒ ดวง เหมือนกันกับที่เปนอุเบกขา ผูมีปญญาพึงสันนิษฐานวาโลภมูลที่ทานตั้งไวแลว ทานจึงเอาทิฏฐินั้นผาเปน ๒ ออกไป ดวยสามารถเอาทิฏฐิผา ครั้นแลวเอาเวทนา คือโสมนัสแลอุเบกขานั้นมาผาอีกเลา ที่เปน ๒ อยูนั้นจึง เปน ๔ ออกไป ครั้นแลวทานจึงเอาสังขารคือสังขาริกแลอสังขาริกนั้นมาผาอีกเลา ที่เปน ๔ อยูน้น ั จึง ๘ ออกไป จึงนับโลภมูลได ๘ ดวงดุจพรรณนามานี้ แลโทสมูล ๒ ดวงนั้น จัดเปนสสังขาริกดวง ๑ อสังขาริกดวง ๑ โทสมูลที่เปนสสังขาริกนั้นอธิบายวา จิตนั้นมิไดกริ้วโกรธดวยลําพังตนเอง ตอมีผูมาวานั่น ๆ นี่ๆ ยุยงไป ใจนั้นจึงกลาหาญขัดเคืองกริ้วโกรธขึ้นเมื่อภายหลัง มีความโกรธดวยสามารถมีผูยุยง อยางนี้ ไดชื่อวา สสังขริก แลอสังขาริกนั้น คือจิตนั้นกลาหาญโกรธดวยลําพังดวยกําลังใจตัวเอง หาผูยุยงมิได โกรธ เองหาผูยุยงมิไดนั้น ไดชื่อวาอสังขาริก ประสมเขาเปนโทสมูล ๒ ดวงดวยกัน แลโมหมูล ๒ ดวงนั้นเลาจัดเปนวิจิกิจฉาสัมปยุตดวง ๑ อุทธัจจสัมปยุตดวง ๑ วิจิกิจฉาสัมปยุตดวยโมหะนั้นเมื่อเกิดแลว ก็ใหสงสัยสนเทหไปในคุณพระรัตนตรัย สงสัยไปในผลศีลผลทานผลแหงความเจริญภาวนา สดับฟงพระสัทธรรมเทศนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ให


- 30 แลอุทธัจจสัมปยุตนั้น เมื่อบังเกิดแลวก็ใหอารมณลุมหลงฟุงซานไปในการกุศลทั้งปวง ผสมเขาดวยกันเปนโมหมูล ๒ โทสมูล ๒ โลภมูล ๘ เขาดวยกันจึงเปนอกุศล ๑๒ ดวง แลวิบากจิต ๒๓ ดวงนั้น จัดเปนกุศลวิบากอเหตุ ๘ อกุศลวิบาก ๗ มหาวิบาก ๘ เปนวิบาก ๒๓ ดวงดวยกัน กุศลวิบากอเหตุ ๘ ดวงนั้น คืออุเบกขาสหคตจักขุวิญญาณดวง ๑ อุเบกขาสหคตโสต วิญญาณดวง๑อุเบกขาสหคตฆานวิญญาณดวง ๑ อุเบกขาสหคตชิวหาวิญญาณดวง ๑ สุขสหคตกาย วิญญาณดวง ๑ สัมปฏิจฉันนะดวง ๑ อุเบกขาสันตีรณะดวง ๑ โสมนัสสสันตีรณะดวง ๑ เปน ๘ ดวง ดวยกัน อุเบกขาสหคตจักษุวิญญาณจิตนั้น มีลักษณะใหรูจักซึ่งรูปวาดีแลชั่วงามแลบมิงาม อันจะ รูจักรูปสรรพสิ่งทั้งปวง ยอมรูดวยจักขุวิญญาณจิตดวงนี้ ๆ สหคตเกิดพรอมดวยอุเบกขาเวทนา เปนจิต สําหรับอยูในจักษุทวารวิถี ถารูปมาปรากฏแจงแกจักษุแลวเมื่อใดจักษุวิญญาณนี้ก็เขารับเปนพนักงาน ใหรูซึ่งรูปในกาลเมื่อนั้น เมื่อเราทานทั้งหลายทั้งปวงเห็นรูปนั้นเห็นดวยจักษุประสาท เมื่อรูจักรูปนั้น รูจักดวยจักขุวิญญาณจิต แลอุเบกขาสหคตโสตวิญญาณนั้นเลา มีลักษณะใหรูจักเสียงสรรพสิ่งทั้งปวง โสตวิญญาณ จิตอันสหคตดวยอุเบกขาดวงนี้เปนจิตสําหรับเกิดในโสตทวานวิถี ถาเสียงมากระทบโสตประสาทแลว กาลเมื่อใด โสตวิญญาณก็เขาเปนพนักงานใหรูจักซึ่งเสียงในกาลเมื่อนั้นเมื่อเสียงมาหระทบประสาท นั้นเราทานทั้งปวงไดยินดวยอํานาจโสตประสาท ไดยินแลวแลจะรูวาเสียงนั้นรูดวยวิญญาณ จะรูดวย โสตประสาทนั้นหาบมิได โสตประสาทนั้นเปนพนักงานแตที่จะใหไดยินเทานั้น โสตแลวิญญาณนี้แล เปนพนักงานใหรูจักเสียง แลอุเบกขาสหคตฆานวิญญาณนั้น เปนพนักงานใหรูจักกลิ่นเปนจิตอันบังเกิดสําหรับฆาน ทวารวิถี ถากลิ่นมากระทบฆานประสาทแลวกาลเมื่อใด ฆานวิญญาณก็เขารับเปนพนักงานใหรูจักกลิ่น ในกาลเมื่อนั้น แลฆานประสาทนั้นเปนพนักงานแตที่จะมิใหจมูกนั้นคัด ใหจมูกนั้นดีปกติอยูเปน พนักงานแตเทานั้น ที่จะรูจักกลิ่นนั้นเปนพนักงานแหงฆานวิญญาณตางหาก ไมเปนพนักงานแหงฆาน ประสาท แลชิวหาวิญญาณอันสหคตอุเบกขานั้น พึงเขาใจเถิดวาจิตดวงนี้บังเกิดสําหรับอยูในชิวหา ทวารวิถี ถาลิ้นถูกตองรสแลวกาลเมื่อใด ก็เขาเปนพนักงานใหรูจักรสในกาลเมื่อนั้น จะรูจักรสนั้นรูดวย สามรถชิวหาวิญญาณจิต ชิวหาประสาทนั้นเปนพนักงานแตที่จะบํารุงลิ้นไวมิใหลิ้นนั้นเสียเปน พนักงานแตเทานั้น จะเปนพนักงานใหรูจักรสดวยนั้นหาบมิได แลกายวิญญาณ อันสหคตสุขเวทนานั้นเลา พึงเขาใจเถิดวาจิตดวงนี้สําหรับอยูในกายทวาร วิถี เปนพนักงานใหรูจักซึ่งสิ่งอันตนสัมผัส จะรูจักซึ่งสิ่งอันตนสัมผัสวาออนกวากระดางวาละเอียดวา หยาบนั้น อาศัยกายประสาทเปนที่ตั้ง แตทวาที่รูนั้นดวยกายวิญญาณ กายประสาทนั้นเปนพนักงานแต ที่จะบํารุงไวมิใหเปนเหน็บชามิใหกายนั้นตายไป ใหกายนั้นดีอยูเปนปกติ เมื่อกายอยูดีเปนปกติไม เหน็บชา ดวยสามารถกายประสาทนั้นสัมผัสมาถูกตองกายในกาลเมื่อใด กายวิญญาณก็เขารับเปน พนักงานใหรูวาออนวากระดางวาละเอียดวาหยาบในกาลเมื่อนั้น ผูมีวิจารณปญญา พึงสันนิษฐานเขาใจเถิดวา เมื่อรูปมาปรากฏแจงแกจักษุแลว แลเราทาน ทั้งปวงจะเห็นรูปนั้น เห็นดวยจักษุประสาท จะรูวาขาววาเขียววาเหลืองวาแดงวาหมนนั้น รูดวยอํานาจ สัญญา จะรูจักวาขาวคือสิ่งนั้น ๆ เขียวคือสิ่งนั้น ๆ แดงเปนสิ่งนั้น เหลืองเปนสิ่งนั้น ดําเปนสิ่งนั้น หมน เปนสิ่งนั้น จะรูจักวาสิ่งนี้ ๆ ดวยอํานาจจักษุวิญญาณ จะรูวาดํานอยดํามากชั่วดีงามมิงามนั้นอาศัยแก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 31 ปญญา รูดวยอํานาจปญญา ขณะเมื่อมีเสียงมาปรากฏแกโสตนั้นเลา จะไดยินเสียงนั้นอาศัยแกโสตประสาท ไดยินแลว แลจะรูวาสิ่งนั้น ๆ เสียงคนนั้น ๆ จะรูฉะนี้ รูดวยสามารถสัญญา จะรูวาเสียงแข็งเสียงออนเสียงหวาน นั้นรูดวยสามารถวิญญาณ จะรูเสียงเพราะแลมิไดเพราะ เสียงกลมแลมิไดกลมมีกระแสมาก มีกระแส นอย จะรูวิเศษฉะนี้ รูดวยสามารถปญญา ขณะเมื่อกลิ่นมาปรากฏแกฆานประสาทนั้นเลา เราทานทั้งปวงจะรูวากลิ่นเหม็นกลิ่นหอม นั้น รูดวยอํานาจสัญญา จะรูจักวากลิ่นเหม็นนี้เปนกลิ่นสิ่งนั้น กลิ่นหอมนี้เปนกลิ่นสิ่งนั้น ๆ จะรูฉะนี้ดวย อํานาจวิญญาณ จะรูวากลิ่นหอมอยางนี้เปนกลิ่นดี อยางนี้เปนกลิ่นอยางกลาง อยางนี้เปนกลิ่นอยาง ต่ํา จะรูวิเศษฉะนี้รูดวยสามารถปญญา ขณะเมื่อรสมาถูกตองซึ่งชิวหานั้นเลา เราทานทั้งปวงจะรูวาเปรี้ยวเค็มฝาดเฝอนเผ็ดรอน หวานขมนั้น อาศัยแกชิวหาประสาทเปนที่ตั้ง แตทวาที่รูนั้นจะดวยสามารถลําพังชิวหาประสาทนั้นหา มิได จะรูรสวาขมหวานเปรี้ยวเค็มฝาดเฝอนนั้น รูดวยสามารถสัญญาจะรูจักรสเปรี้ยวนี้เปนรสสิ่งนั้น ๆ รสเค็มนี้เปนรสสิ่งนั้น ๆ จะรูฉะนี้ดวยวิญญาณ จะรูวารสขมเชนนี้มีคุณอยางนั้นมีโทษอยางนั้น ชอบ โรคสิ่งนั้น ไมชอบโรคสิ่งนั้น จะรูวิเศษอยางนี้ รูดวยสามารถดวยปญญา ขณะเมื่อถูกตองสิ่งหนึ่งสิ่งใดเขา แลจะรูวาหยาบวาเละเอียดวาออนกวากระดาง จะรูวาสิ่ง นั้น ๆ รูดวยอํานาจสัญญา แลวิญญาณจะรูวาสิ่งนั้นถาไดสัมผัสถูกตองแลว จะเปนคุณหรือโทษอยาง นั้นจะรูวิเศษฉะนี้รูดวยอํานาจปญญา เปนใจความวาจิตทั้ง ๕ มีอุเบกขาสหคตจักขุวิญญาณเปนตน มีสุขสหคตวิญญาณเปน ปริโยสานนี้ เปนจิตบังเกิดสําหรับปญจทวารวิถีมีจักขุทวารเปนตน มีกายทวารเปนปริโยสานดุจดัง พรรณนามาฉะนี้ แลสัมปฏิจฉันนจิตนั้นเปนพนักงานจะรับเอาซึ่งอารมณทั้งปวง อันปรากฏแกทวารทั้ง ๕ เมื่อรูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ มากระทบประสาท วิญญาณจิตทั้ง ๕ ที่พรรณนามาแตหลังนั้น บังเกิดใหเกิดใหรูจักอารมณแลวกาลใดเมื่อใด สัมปฏิจฉันนจิตนั้น ก็บังเกิด ขึ้นเปนพนักงานรับเอา อารมณมีรูปเปนตน เปนประธานในกาลเมื่อนั้น สัมปฏิจฉันนจิตนั้นบังเกิดแตทวารทั้ง ๕ คือ จักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร จะไดบังเกิดในมโนทวารนั้นหามิได แลอุเบกขาสันตีรณจิตกับโสมนัสสสันตีรณจิตสองดวงนั้น เปนพนักงานที่จะรับพิจารณาซึ่ง อารมณ เมื่อสัมปฏิจฉันนจิตบังเกิดรับเอาอารมณมาแลวกาลเมื่อใดสันตีรณจิตเขารับตอ พินิจพิจารณา อารมณนั้นสืบไปในกาลเมื่อนั้น จิตที่พรรณนามานี้ ประสมเขาดวยกันเปน ๘ ดวงเรียกวากุศลวิบาก อเหตุ แลอกุศลวิบาก ๗ ดวงนั้นเลา จัดเปนจักขุวิญญาณดวง ๑ โสตวิญญาณดวง ๑ ฆาน วิญญาณดวง ๑ ชิวหาวิญญาณดวง ๑ กายวิญญาณดวง ๑ สัมปฏิจฉันนจิตดวง ๑ สันตีรณดวง ๑ ประสมเขากันเปน ๗ ดวง จักขุวิญญาณนั้น ก็เปนพนักงานใหรูจักรูปเหมือนกันกับจักขุวิญญาณที่สําแดงมากอนนั้น ตางกันแตวาดวงกอนเปนฝายกุศล ที่จะวาบัดนี้เปนฝายอกุศล จักขุวิญญาณที่สําแดงมากอนนั้น เปน พนักงานใหรูจักรูปอันเปนบุญ จักขุวิญญาณที่บัดนี้เปนพนักงานใหรูจักรูปอันเปนบาปเห็นรูปอันชั่วเห็น รูปลามกแลวกาลเมื่อใด จักขุวิญญาณฝายอกุศลดวงนี้ก็บังเกิดเขาเปนพนักงาน ใหรูจักรูปในกาลเมื่อ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 32 นั้น ถาเห็นวารูปที่เปน มีตนวาเห็นพระสงฆสามเณร พระสถูป พระเจดีย พระศรีมหาโพธิ์ พระ ปฏิมากร เห็นรูปที่เปนบุญฉะนี้ จักขุวิญญาณที่เปนฝายอกุศลก็บังเกิดเขาเปนพนักงาน ใหรูจักที่เปน กุศลนั้น จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวงนี้ เปนจิตสําหรับจักขุวิญญาณวิถีดวยกัน แตทวาเมื่อจะบังเกิดนั้น เปลี่ยนกันเปนวาระ ๆ ถาเห็นรูปที่เปนบุญ ก็เปนวาระแหงจักขุวิญญาณที่เปนฝายกุศลจะบังเกิด ถา เห็นรูปที่เปนบาปก็เปนวาระแหงจักขุวิญญาณฝายอกุศลจะบังเกิด โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ สัมปฏิจฉันน สันตีรณ ฝายอกุศล วิบากที่สําแดงบัดนี้ ก็มีลักษณะเหมือนกันกับที่สําแดงกอน แปลกกันแตบุญและบาป ที่สําแดงกอนนั้น เปนฝายบุญที่สําแดงบัดนี้เปนฝายบาปพึงเขาใจวาสุดแทแตวาไดฟงเสียงอันเปนบาปไดดมกลิ่นอัน เปนบาป ไดลิ้มเลียรสอันเปนบาป ใหสัมผัสถูกตองที่เปนบาป แลวกาลเมื่อใด โสตวิญญาณ ฆาน วิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ สัมปฏิจฉันน สันตีรณที่เปนฝายบาปนั้น ก็บังเกิดเปนพนักงาน แหงกัน ๆ ไปในกาลเมื่อนั้นถาไดฟงเสียงที่เปนบุญ ไดดมกลิ่นที่เปนบุญ ไดลิ้มรสที่เปนบูญดวยสัมผัส ที่เปนบุญแลว จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ สัมปฏิจฉันน สันตีรณ ฝายกุศลที่สําแดงในกาลกอน ก็บังเกิดเปนที่ ๆ เปนแหง ๆ เปนพนักงานแหงกันและกันดัง พรรณนามานี้ แลมหาวิบาก ๘ ดวงนี้ จัดเปนญาณสัมปยุต ๕ ดวง เปนญาณวิปปยุต ๔ ดวง มหาวิบาก ทั้งหลายนี้ก็จัดเปนสสังขาริก อสังขาริก จัดเปนโสมนัสแลอุแบกขา เหมือนอยางที่พรรณนามาใน กามาพจรมหากุศล ที่สําแดงมาแลวในคัมภีรพระอภิธรรมมัตถสังคิณี จะยกไวจะสําแดงในกิริยาจิต ๑๑ ประการ กิริยาจิต ๑๑ ประการนั้น จัดเปนอเหตุกกิริยา ๓ มหากิริยา ๘ เปน ๑๑ ดวย อเหตุกกิริยานั้น จัดเปนปญจะทวาราวัชชนะประการ ๑ มโนทวาราวัชชนะประการ ๑ สหน จิตประการ ๑ เปน ๓ ประการดวยกัน ปญจทวารามัชชนะนั้น เปนจิตสําหรับพิจารณาซึ่งอารมณในทวารทั้ง ๕ เมื่อรูปารมณมา ปรากฏแจงแกจักษุประสาท สัททารมณมาปรากฏแกโสตประสาท คันธารมณมาปรากฏแกฆาน ประสาท รสารมณมาปรากฏแกชิวหาประสาท โผฏฐัพพารมณมาถูกตองกายประสาทกาลเมื่อใด ปญจ ทวาราวัชชนะจิตนี้ ก็บังเกิดขึ้นกอนจิตทั้งปวงใหพิจารณาอารมณมีรูปารมณเปนตนเปนประธานในกาล เมื่อนั้น เมื่อปญจทวาราวัชชนะจิตบังเกิดดับไปแลว จักขุวิญญาณแลโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ แลสัมปฏิจฉันน สันตีรณ จึงบังเกิดไดในกาลเมื่อภายหลัง อันพิจารณา อารมณในปญจทวารนั้น เปนพนักงานแหงปญจทวาราวัชชนะจิต แลมโนทวาราวัชชนะจิตนั้น เปนจิตอันพิจารณาาอารมณในมโนทวาร ในมโนทวารวิถีนั้น มี มโนทวาราวัชชนะจิตเปนตน มโนทวาราวัชชนะจิตนั้นบังเกิดกอนแลว ชวนะแลตทาลัมพณะ จึง บังเกิดสืบตอไปในลําดับ มโนทวาราวัชชนะจิตดวงนี้ เมื่อบังเกิดในปญจทวาราวิถีนั้นใหสําเร็จเปนโวฏฐชวนกิจ เมื่อ บังเกิดในมโนทวารวิถีนั้น บังเกิดเปนมโนทวาราวัชชนะ แลหสนจิตนั้น เปนจิตแหงพระขีณาสพ จะไดมีในสันดานแหงปุถุชนนั้นหามิได หสนจิตนี้ เปนพนักงานที่จะใหยิ้มแยม พระขีณาสพเจานั้น อันจะยิม ้ จะเเยมนั้นยอมยิ้มแยมดวยหสนจิตดวงนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 33 บังเกิดประสามเขาเปนอเหตุกกิริยา ๓ ดวยกัน แลมหากิริยา ๘ ดวงนั้นเปนญาณสัมปยุต ๔ เปนญาณวิปปยุต ๔ เปนโสมนัสแลอุเบกขา สสังขาริก แลสสังขาริกเหมือนนัยที่พรรณนามาในกามาพจรมหากุศล อันสําแดงแลวในคัมภีรตน คือ อภิธัมมัตถสังคิณี ประสมมหากิริยา ๘ กับอเหตุกกิริยา ๓ เขาดวยกัน จึงเปนกามาพจรกิริยา ๑๑ ประการ ประสมกามาพจรวิบาก ๒๓ มหากุศล ๘ อกุศล ๑๒ กามาพจรกิริยา ๑๑ เขาดวยกัน จึงเปน กามาพจร ๕๔ ดวงดวยกัน แลรูปพจรจิต ๑๕ นั้น จัดเปนกุศล ๕ วิบาก ๕ เขาดวยกันจึงเปน ๑๕ รูปกุศล ๕ นั้น จัดเปนปฐมฌานจิตประการ ๑ ทุติยฌานจิตประการ ๑ ตติยฌานจิตประการ ๑ จตุตถฌานจิตประการ ๑ ปญจมฌานจิตประการ ๑ เปน ๕ ดวงดวยกัน จัดเปนฝายกุศล ที่เรียกวาฌานโลกีย ๆ นั้นมิใชอื่นใชไกล ไดแกรูปาวจรกุศลจริตทั้ง ๕ มีปฐมฌานจิตเปน ตนเปนประธานนี้ รูปาวจรวิบาก ๕ นั้น จัดเปนปฐมฌานวิบากประการ ๑ ทุติยฌานวิบากประการ ๑ ตติยฌานวิบากประการ ๑ จตุตถฌานวิบากประการ ๑ ปญจมฌานวิบากประการ ๑ เปน ๕ ประการ ดวยกัน ปฐมฌานวิบากจิตนั้น เปนพนักงานใหปฏิสนธิในปฐมฌานภูมิพรหม ทุติยฌานวิบากแลตติย ฌานวิบาก ๒ ดวงนั้นปฐมฌานเปนพนักงานใหปฏิสนธิในทุติยฌานภูมิพรหม จตุตถฌานวิบากนั้น เปนพนักงานใหปฏิสนธิในตติยฌานภูมิพรหม ปญจมฌานวิบากนั้น เปนพนักงานใหปฏิสนธิในจตุตถฌานภูมิพรหม ประสมเขาดวยกันเปน รูปาวจรวิบาก ๕ แลรูปาวจรกิริยา ๕ นั้น จัดเปนปฐมฌานกิริยาประการ ๑ ทุติยฌานกิริยาประการ ๑ ตติย ฌานกิริยาประการ ๑ จตุตถฌานกิริยาประการ ๑ ปญจมฌานกิริยาประการ ๑ เปน ๕ ประการดวยกัน รูปาวจรกิริยาทั้ง ๕ นี้ จะบังเกิดแตในสันดานทานที่เปนพระขีณาสพจะมีในสันดานเราทาน ปุถุชนนั้นหามิได ปถุชนทั้งปวงนั้น ถาจะไดฌานก็ไดแตฌานอันเปนกุศล จะไดฌานอันเปนกิริยานั้น หามิได อาศัยวากิริยาจิตนี้ ไมมีในสันดานแหงปถุชนทั้งปวง แลอรูปาวจาจิตร ๑๒ นั้นจัดเปนกุศล ๔ วิบาก ๔ กิริยา ๔ เปน ๑๒ ดวยกัน อรูปกุศล ๔ นั้นจัดเปนอากาสานัญจายตนกุศลดวง ๑ วิญญาณัญจายตนกุศลดวง ๑ อา กิญจัญญายตนกุศลดวง ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลดวง ๑ เปน ๔ ดวยกัน แลวิบาก ๔ ดวงนั้น จัดเปนอากาสานัญจายตนวิบากประการ ๑ วิญญาฌัญจายตนวิบาก ประการ ๑ อากิญจัญญายตนวิบากประการ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน แลอรูปาวจรกิริยาทั้ง ๔ นั้น จัดเปนอากาสานัญจายตนกิริยาประการ ๑ วิญญาฌัญจายตน กิริยาประการ ๑ อากิญจัญญายตนกิริยาประการ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 34 พึงเขาใจเหมือนนัยที่พรรณามาในรูปาวจรกุศลนั้นเถิดวาอรูปวจรกุศล ๔ ดวงนั้น บังเกิดมี แตปุถุชนอันไดฌานโลกีย จะไดในสันดานแหงพระขีณาสพหามิได แลอรูปวิบากทั้ง ๔ นั้น เปนพนักงานใหปฏิสนธิในอรูปพรหมทั้ง ๔ ขั้น แลอรูปกิริยาทั้ง ๔ นั้น มีในสันดานทานที่เปนขีณาสพ จะไดมีในสันดานโลกิยชนหามิได ประสมกุศลแลวิบากแลกิริยาเขาดวยกันจึงเปนอรูปาวจรจิต ๑๒ แลโลกุตตร ๘ จัดเปนมรรค ๔ เปน ๙ ดวยกัน ประสมกามาวจรจิต ๕๔ อรูปาวจร ๑๒ โลกุตตร ๕ เขาดวยกันเปนจิต ๙๙ โดยสังเขป แลจิต ๘๘ นี้ สมเด็จพระมหากรุณาธิคุณเจาสงเคราะหเขาเปนขันธอัน ๑ ชื่อวาวิญญาณ ขันธ เมื่อสําแดงวิญญาณขันธในที่ ๒ ดวยประการฉะนี้ ลําดับนั้นจึงสําแดงเวทนาขันธ สัญญา ขันธ สังขารขันธสืบตอไป เวทนาขันธไดแกเวทนาเจตสิก อันมีลักษณะใหเสวยซึ่งอารมณเวทนาเจตสิกนี้ เมื่อจําแนก ออกโดยอารมณนั้น แยกออกไปเปน ๕ ประการ คือ เมื่อสุขเวทนาประการ ๑ ทุกขเวทนาประการ ๑ โสมนัสสเวทนาประการ ๑ โทมนัสสเวทนา ประการ ๑ อุเบกขาเวทนาประการ ๑ เปน ๕ ประการดังนี้ ขณะเมื่อมีความสุข เสวยอารมณอันเปนสุขนั้น ไดชื่อวาสุขเวทนา ขณะเมื่อตองภัยไดทุกข เสวยอารมณอันเปนทุกขนั้นไดชื่อวาทุกขเวทนา ขณะเมื่อโสมนัสรื่นเริงบังเทิงใจเสวยอารมณ อันชื่น ชมหฤหรรษนั้นไดชื่อวาโสมนัสเวทนา ขณะเมื่อมีความนอยเนื้อต่ําใจ เสวยอารมณอันเปนโทมนัสขัด แคนนั้นไดชื่อวา โทมนัสเวทนา ขณะเมื่อไมสุขไมทุกขไมชื่นชมโสมนัสยินดีปรีดาไมนอยเนื้อต่ําใจสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งเสวยอารมณอันเปนมัธยัสถนั้นไดชื่อวาอุเบกขาเวทนา เวทนาทั้ง ๕ ประการดังพรรณนามาฉะนี้ แตละอัน ๆ แจกออกไปโดยทวารนั้นไดละ ๖ ๆ สุขเวทนาก็แจกออกไปเปน ๖ ทุกขเวทนาก็แจกออกไปเปน ๖ โสมนัสแลโทมนัสแลอุเบกขานั้นก็ แจกออกไปเปน ๖ ๆ เหมือนกัน สุขเวทนาที่แจกออกไปเปน ๖ นั้น จัดเปนจักขุสัมผัสสชาสุขเวทนาประการ ๑ โสตสัมผัสส ชาสุขเวทนาประการ ๑ ฆานสัมผัสสชาสุขเวทนาประการ ๑ ชิวหาสัมผัสสชาสุขเวทนาประการ ๑ กาย สัมผัสสชาสุขเวทนาประการ ๑ มโนสัมผัสสชาสุขเวทนาประการ ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน จักขุสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกความสุขอันบังเกิดแตจักษุสัมผัส ไดเห็นสิ่งอันเปนที่ ชอบเนื้อจําเริญใจ ไดเห็นซึ่งรูปอันเปนที่รักใคร แลมีความสุขดวยไดเห็น ไดเสวยอารมณเปนสุข สวัสดิ์ดวยสามารถไดเห็นรูปนั้น ไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาสุขเวทนา แลโสตสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกความสุขอันบังเกิดแตโสตสัมผัส ไดฟงดุริยางคดนตรี ดีดสีตีเปาขับรองเสียงสิ่งใด ๆ ก็ดีไดฟงแลวมีความสุขเสวยซึ่งอารมณอันเปนสุข เพราะเหตุไดฟงนั้น ไดชื่อวาโสตสัมผัสสชาสุขเวทนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 35 แลฆานสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกเวทนาอันบังเกิดแตฆานสัมผัสสไดดมกลิ่นกฤษณาก ลําพักจวงจันทร แลพรรณดอกไมอันหอมเปนที่ชื่นชูอารมณแลวมีความสุข เสวยอารมณอันเปนสุข เพราะเหตุไดสูดดมนั้น ไดชื่อวาฆานสัมผัสสชาสุขเวทนา แลชิวหาสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกเวทนาอันบังเกิดแตชิวหาสัมผัสไดลิ้มซึ่งรสอัน ประณีตบรรจง เปนที่ชอบอารมณแหงตน แลมีความสุขเสวยอารมณเปนสุข เพราะไดลิ้มเลียนั้นไดชื่อ วาชิวหาสัมผัสสชาสุขเวทนา แลกายสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกเวทนาอันบังเกิดแตกายสัมผัสสไดสัมผัสถูกตองสิ่ง ใดสิ่งหนึ่ง อันเปนที่จําเริญใจแหงตน แลมีความสุขเสวยอารมณเปนสุข เพราะไดถูกตองนั้นไดชื่อวา กายสัมผัสสชาสุขเวทนา แลมโนสัมผัสสชาสุขเวทนานั้น ไดแกเวทนาอันบังเกิดแตมโนสัมผัส ขณะเมื่อรูเหตุผลตน ปลายสิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว แลมีความสุขเสวยอารมณอันเปนสุขเพราะเหตุน้ําใจนั้น ไดชื่อวามโนสัมผัสส ชาสุขเวทนา ถาจะวาใหเห็นชัดแจงดวยกันแลว พระโยคาพจรเจาอันจําเริญภาวนานั้น เมื่อลักษณะ อันหนึ่งมาปรากฏแกจิตของทาน แลทานมีความสุขเสวยอารมณอันเปนสุข เพราะเหตุลักษณะมา ปรากฏแจงแกจิตนั้นไดชื่อวามโนสัมผัสสชาสุขเวทนา สุขเวทนาสิ่งเดียวนี้ แจกออกไปเปนเวทนาถึง ๖ ประการ ดวยสามารถทวารทั้ง ๖ ดุจ พรรณนามาฉะนี้ แลทุกขเวทนานั้นเลาก็แจกออกไปเปน ๖ เหมือนกัน เปนจักขุสัมผัสสชาทุขเวทนาประการ ๑ โสตสัมผัสสชาทุกขเวทนาประการ ๑ ฆานสัมผัสสชาทุกขเวทนาประการ ๑ ชิวหาสัมผัสสชา ทุกขเวทนาประการ ๑ กายสัมผัสสชาทุกขเวทนาประการ ๑ มโนสัมผัสสชาทุกขเทวนาประการ ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน อธิบายก็เหมือนกันกับหนหลัง เปนใจความวา สุดแทแตเห็นรูปสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มิได ชอบเนื้อพึงใจแลมีความทุกข เปนตนวา เห็นราชสีหเสือโครงเสือเหลือง เห็นอสรพิษนอยใหญ เห็น แรดเห็นชาง เห็นโคเถื่อนแลความกลัววา มันจะกระทํารายจะเปนอันตรายแกชีวิต แลมีความทุกข เสวยอารมณอันเปนทุกข เพราะไดเห็นอยางนี้แลไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาทุกขเวทนา เมื่อเห็นภูตแลปศาจอันรายกาจหยาบชา จะเบียดเบียนอาตมะนั้นก็ดี เห็นชนที่เปนเวรกัน เห็นใจรอันรายแลกลัวจะเกิดภัยแกตัวแลมีความทุกขนั้นก็ดี สุดแทแตวาไดทุกขเพราะไดเห็นแลวก็ได ชื่อวาจักขุสัมผัสสชาทุกขเวทนาทั้งนั้น ถาไดฟงเสียงเลา เปนตนวาไดฟงเสียงภูตแลปศาจ เสียงสีหราชพยัคฆาทิปมหิงสาสรรพ เสียงนั้น สุดแทแตวาฟงแลวแลมีความตระหนกตกใจกลัววาจะมีภัยแกอาตมา แลมีความทุกขเสวย อารมณอันเปนทุกขเพราะไดฟงเสียงนั้น ไดชื่อวาสัมผัสสชาทุกขเวทนา ถาไดกลิ่นเปนตนวาไปในปาไดกลิ่นเสือ ไปเรือไดกลิ่นจรเข ไดกลิ่นสัตวอันรายแลกลัวจะ เปนอันตรายนั้นก็ดี ไดกลิ่นอันชั่วอันเหม็นเปนที่พึงเกลียด แลไมสบายอารมณนั้นก็ดี สุดแทแตวาได กลิ่น แลวแลหาความสบายมิได เสวยอารมณอันเปนทุกขเพราะเหตุไดกลิ่นนั้นไดชื่อฆานสัมผัสสชา ทุกขเวทนา ถาไดบริโภคสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีตนวายาพิษ กินแลวแลกลัวจะเปนอันตรายแกชีวิตนั้นก็ดี ไดกิน ซึ่งสิ่งนั้นเปรียวนักขมนักฝาดนัก ไมใครจะหายขมไมใครจะหายฝาด แลไมสบายเพราะรสนั้นก็ดี สุด แทแตวาไมสบายเพราะรส เสวยอารมณเปนทุกข เพราะเหตุที่ลิ้มเลียแลบริโภคนั้นแลว ก็ไดชื่อวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 36 ชิวหาสัมผัสสชาทุกขเวทนา ถาไดสัมผัสถูกตองสิ่งของ อันเปอยอันเนาแลมีความเกลียดความอายก็ดี ไดถูกตองขวาก แลหนามบุงรานริ้น แลมีความเจ็บความปวดความแสบความคันนั้น ตองปะรการดวยเครื่องสาตราวุธ แลมีความเจ็บปวดยิ่งนั้นก็ดี ตองผูกตองพันตองโบยตองรัดตองจําตองจอง แลบังเกิดความ ทุกขเวทนามีประการตาง ๆ แลวก็ดี สุดแทแตวาไดอารมณอันเปนทุกขเพราะกายสัมผัสนั้นแลว ก็ได ชื่อวากายสัมผัสสชาทุกขเวทนาสิ้นดวยกัน ถาเหตุผลสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาปรากฏแจงแกน้ําใจเหมือนนอนหลับอยูแลฝนเห็นราย เมื่อฝน เห็นรายแลหาความสบายมิได เสวยอารมณอันเปนทุกขอยางนี้ ไดชื่อวามโนสัมผัสสชาทุกขเวทนา เวทนาสิ่งเดียวแจกออกไปโดยทวาร เปนทุกขเวทนา ๖ ประการดวยกัน ดุจพรรณนามาฉะนี้ ยังโสมนัสเวทนาโทมนัสสเวทนา และอุเบกขาเวทนานั้นเลาก็แจกออกไปสิ่งละหก ๆ เหมือนกัน แจกเปนจักขุสัมผัสสชาฐาน ๑ เปนโสตสัมผัสสชาฐาน ๑ เปนฆานสัมผัสสชาฐาน ๑ เปน ชิวหาสัมผัสสชาฐาน ๑ เปนกายสัมผัสสชาฐาน ๑ เปนมโนสัมผัสสชาฐาน ๑ เปน ๖ อยางเหมือนกัน พึงเขาใจเปนใจความเถิดวา ขณะเมื่อเราทานทั้งปวงไดเห็นบิดามารดาคณาญาติมิตรสหาย อันเปนที่รัก เปนพี่ปานาอาบุตรภรรยาอันเปนที่รักนั้นก็ดี เห็นรูปพระปฏิมากร พระสถูปพระเจดีย พระ ศรีมหาโพธิ์ พระสงฆสามเณร องคใดองคหนึ่งอันเปนที่ใหบังเกิดศรัทธาเลื่อมใสนั้นก็ดี แลวมีความ ชื่นชมโสมนัสยินดีปรีดา หัวเราะราเริงบังเทิงใจอยางนี้แลไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาโสมนัสเวทนา ถามิดังนั้น เห็นรูปที่ขัน ๆ แลชอบใจหัวเราะราเริงอยางนี้ ก็ไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาโสมนัส เวทนาเหมือนกัน ถาแลเห็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งปนไมเปนที่รัก เปนตนวาเห็นคนอันเปนอริกันอยูแลว โทมนัสขัดเคืองคิดแคนขึ้นมาอยางนี้ ไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาโทมนัสเวทนา เวทนา

ถาไดเห็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งเขา แลมัธยัสถเปนทามกลางอยู

ถามีความ

ไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาอุเบกขา

ถาไดฟงสําเนียงอันชอบใจ เปนตนวาไดฟงสําเนียงสวดมนตภาวนาเสียงสําแดงพระ สัทธรรมเทศนา แลมีความชื่นชมยินดียิ้มแยมแจมในปรีดาปราโมทยอยางนี้ ไดชื่อวาโสตสัมผัสสชา โสมนัสเวทนา ถาฟงเสียงสิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว แลเปนโทมนัสขัดเคืองขึ้นมาเปนตนวา ไดยินเขาติฉินนินทา ไดยินเขาดาตัดพอเยยหยันเปรียบ ๆ เปรย ๆ ไดยินแลวแลมีความโกรธแคนขัดเคืองขึ้นมาอยางนี้ได ชื่อวา โสตสัมผัสสชาโทมนัสเทวนา วาเวทนาเกิดแตโสตสัมผัส ถาไดยินแลวแลมัธยัสถเปนทามกลางอยู ไดชื่อวาโสตสัมผัสสชาอุเบกขาเวทนา ถาไดกลิ่นเปนตนวา กลิ่นดอกไมธุปเทียนน้ํามันหอมกระแจะจันทร อันบุคคลนําไปบูชาไว ในลาน พระพุทธรูปพระสถูปเจดีย แลมีความชื่นมโสมนัสยินดีปรีดาปราโมทย ก็ไดชื่อวาฆานสัมผัสส ชาโสมนัสเวทนา พึงเขาใจไปทั่วเถิดวาสุดแทแตวาจะไดกลิ่นแลว แลมีความชื่นชมยินดีปรีดาปราโมทย ก็ได ชื่อวาฆานสัมผัสสชาโสมนัสเวทนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 37 ถาไดกลิ่นชั่ว กลิ่นอันมิไดชอบแลมีความโทมนัสขัดเคืองแคนขึ้นมาก็ไดชื่อวาฆานสัมผัสส ชาโทมนัสสเวทนา วาโทมนัสเกิดแตฆานสัมผัส ถาไดกลิ่นแลวแลมัธยัสถทามกลางอยู ก็ไดชื่อวา ฆานสัมผัสสชาอุเบกขาเวทนา ถาไดลิ้มเลียรสแลวก็ชื่อชมยินดี เหมือนอยางนักเลงสุรานั้นไดดื่มกินสุราก็ชื่นชมวา เอร็ดอรอย นับถือกันดวยกินสุรายินดีปรีดาดวยกันอยางนั้นไดชื่อวาชิวหาสัมผัสสชาโสมนัสสเวทนา ถาไดลิ้มเลียรสแลวมีความนอยเนื้อต่ําใจ เหมือนหนึ่งทานที่เปนสัปบุรุษ อุตสาหรักษาศีล ของตนจะใหบริสุทธิ์ปราศจากมลทิล ครั้นวามีผูมาขมขืนใหกินสุรายาเมา เมื่อเขาขืนกรอกขืนเทลงใน มุขทวารสุรานั้นลวงลําคอเขาไปได ก็มีความนอยเนื้อต่ําใจนั้นหนักหนา อยางนี้ไดชื่อวาชิวหาสัมผัสส ชาโทมนัสสเวทนา เปนใจความวา สุดแทแตวาลิ้มเลียรสแลวมีความขึงความโกรธมีความนอยเนื้อต่ําใจแลว ก็ ไดชื่อวาโทมนัสสเวทนาเกิดแตชิวหาสัมผัส ถาไดลิ้มเลียรสแลว

และมัธยัสถเปนทามกลางอยู

ก็ไดชื่อวาชิวหาสัมผัสสชาอุเบกขา

เวทนา ถาไดถูกตองสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ชอบอารมณ เปนตนวาไดเชยชมซึ่งรูปอันเปนวิสภาค และ บังเกิดความกําหนัดยินดีดวยราคะดํากฤษณาหรรษาภิรมยตามกิจประเวณีคดีโลก อยางนี้ไดชื่อวากาย สัมผัสสชาโสมนัสสเวทนา ถาถูกตองเขาแลวและมีความโทมนัสขัดแคน เหมือนหนึ่งวาคนนั้นอยูแลว ไมปรารถนาที่จะ ถูกตองตัวเรา วาใหเห็นใกล ๆ เถิด เหมือนหนึ่งวาคนที่กายชั่วเปอนไปดวยตมและโคลน อสุจิลามก เหม็นเนาเหม็นโขง คนเปอยหวะเปนเรื้อนและมะเร็งคุดทะราด มิไดสะอาดเราไมปรารถนาจะให ถูกตอง ครั้นขืนเขาเบียดเสียดเขามาใหถูกตองกายเรา ๆ ก็มีความแคนยิ่งนักหนาอยางนี้แล ไดชื่อวา กายสัมผัสสชาโทมนัสสเวทนา วาโทมนัสเกิดแตกายสัมผัส ถาจะมาถูกตองเขาแลว และมัธยัสถเปน ทามกลางอยูก็ไดชื่อวากายสัมผัสสชาอุเบกขาเวทนา ถาและอารมณที่เปนอติอิฏฐารมณมาปรากฏแจงแกมโนทวารเหมือนหนึ่งวาหลับลงและฝน เห็นที่ชอบใจ เปนตนวาฝนเห็นวาบูชาพระรัตนตรัยดวยดอกไมและของหอมเครื่องสักการบูชาสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง ฝนวาไดฟงพระธรรมเทศนาก็ดี เมื่อฝนเปนอาทิฉะนี้ และมีความชื่นชมโสมนัสยินดีปรีดาอยางนี้ แล ไดชื่อวามโนสัมผัสสชาโสมนัสเวทนาวาเวทนาเกิดแตมโนสัมผัส ถาฝนเห็นที่ชั่วไมชอบอารมณ โทมนัสเวทนา

และบังเกิดโทมนัสขัดแคน

ก็ไดชื่อวามโนสัมผัสสชา

ถาฝนและมัธยัสถเปนทามกลางอยู ก็ไดชื่อวามโนสัมผัสสชาอุเบกขาเวทนา เวทนาทั้งหลายนี้ เมื่อจัดดวยภูมินั้นก็จัดเปนกามาพจรเวทนา ๕๔ รูปาพจรเวทนา ๑๕ อรูปพจรเวทนา ๑๒ โลกกุตตรเวทนา ๘ เปน ๘๙ ดวยกันเทากันกับจิต มากนักหนาถึงเพียงนี้ เหตุ ดังนั้นสมเด็จพระชินสีหบรมศาสดาจารย จึงสงเคราะหเวทนาทั้งปวงเขาเปนกองอันหนึ่งก็เรียกวา เวทนาขันธ และสัญญาเจตสิกนั้น พระพุทธองคก็สงเคราะหเขาไวเปนกองอันหนึ่งเหมือนกันกับเวทนา สัญญาเจตสิกนั้น เมื่อจําแนกออกไปโดยทวารนั้น จัดเปนสัญญา ๖ ประการ เปนจักษุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 38 สัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ โสตสัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ ฆานสัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ ชิวหา สัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ กายสัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ มโนสัมผัสสชาสัญญาประการ ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน จักขุสัมผัสสชาสัญญานั้น ไดแกสัญญาอันยุติในจักษุเกิดแตไดเห็นเปนตน ไดเห็นแลว และสําคัญไดวาคนนั้นคนนี้สิ่งนี้สําคัญดวยสามารถไดเห็น อยางนี้ไดชื่อวาจักขุสัมผัสสชาสัญญา ถาไดฟงเสียงและสําคัญวาเสียงสิ่งนั้น ๆ เสียงคนนั้น ๆ สําคัญไดดวยสามารถไดยินเสียงนี้ ไดชื่อวาโสตสัมผัสสชาสัญญา ถาไดดมกลิ่นและสําคัญไดวาเปนกลิ่นสิ่งนั้น ๆ กลิ่นคนนั้น ๆ สําคัญไดดวยสามารถไดดม กลิ่นนั้น ไดชื่อวาฆานสัมผัสสชาสัญญา ถาไดลิ้มเลียดูกอนจึงสําคัญไดวาสิ่งนั้น ๆ เปนรากไมอันนั้น เปนยา สิ่งนั้นเปนของสิ่งนั้น ๆ ไดสําคัญดวยสามารถไดลิ้มไดเลีย ไดบริโภคนี้ ไดชื่อวาชิวหาสัมผัสสชาสัญญา ถาไดสัมผัสถูกตองกอนจึงสําคัญไดวาเปนสิ่งนั้น เปนผูนั้น เปนตนของผูนั้นสําคัญไดดวย สามารถไดถูกตองดังนี้ ไดชื่อวากายสัมผัสสชาสัญญา ถาสําคัญไดดวยมโนทวาร เหมือนทานเปนโยคาพจรเลาเรียนซึ่งสมถกัมมัฏฐานและ วิปสสนากัมมัฏฐาน เมื่ออุคคหะและปฏิภาคะปรากฏแกมโนทวาร และทานสําคัญไดวาสิ่งนี้เขียว สิ่งนี้ เหลือง สิ่งนี้แดงสําคัญไดดวยจิตอยางนี้ไดชื่อวามโนสัมผัสสชาสัญญา ภิกษุและสามเณรที่ทานมีศรัทธาอุตสาหะเลาเรียน ซึ่งคันถธุระนั้นเลา เมื่อชํานิชํานาญ แลวทานระลึกขึ้นมา ทานก็รูวาบทนี้บาทนี้คาถานี้อยูในคัมภีรนั้น ๆ สําคัญไดวาอยูผูกนั้น บรรทัดนั้น สําคัญไดดวยใจอยางนี้ ไดชื่อวามโนสัมผัสสชาสัญญา ลักษณะที่สําคัญไดวาอยูในคัมภีรนั้นผูกนั้น นั่นแลเปนลักษณะแหงสัญญา ลักษณะที่จําไดนั้น เปนพนักงานแหงสติปญญาตางหาก จะเปนพนักงานแหงสัญญานั้นหา มิได สัญญานี้ใหรูแตหยาบ ๆ ใหรูแตวาอยูที่นั้นใหรูแตเทานั้น อันจะรูวิเศษขึ้นไปนั้นลักษณะแหง ปญญาสัญญานั้นรูแตหยาบ วิญญาณนั้นใหรูเปนอยางกลาง ปญญานั้นใหรูเปนอยางยิ่งใหรูวิเศษกวา สัญญาและวิญญาณ เปนใจความวา สัญญาที่เกิดขึ้นแลว และใหสําคัญไดดวยสามารถลําพังใจไมไดเห็น ไมได ยิน ไมไดดม ไมไดลิ้มเลีย ไมไดสัมผัสถูกตองสําคัญไดดวยลําพังใจแหงตน อยางนี้ไดชื่อวามโน สัมผัสสชาสัญญาจัดโดยทวารนั้นไดสัญญาถึง ๖ ประการ ดังพรรณนามาฉะนี้ ถาจะจัดโดยภูมิ สัญญานั้นจัดเปนกามาพจรสัญญา ๕๔ รูปาพจรสัญญา ๑๕ อรูปพจร สัญญา ๑๒ โลกุตตรสัญญา ๘ ผสมเขาเปนสัญญา ๘๙ เทากันกับจิตมากนักหนาถึงเพียงนี้ นั้นแหละ สมเด็จพระชินสีหบรมศาสดาจารยจึงจัดสัญญาเขาเปนกองหนึ่ง ไดชื่อวาสัญญาขันธ สังขารขันธนั้นไดแกเจตนาเจตสิก ๆ นั้น มีลักษณะอันจะชักนําซึ่งจิตและเจตสิกทั้งหลาย บรรดาที่เกิดพรอมดวยตน เจตนานั้นเมื่อแจกออกไปโดยทวารนั้น แจกเปนจักขุสัมผัสสชาเจตนา โสตสัมผัสสชา เจตนา ฆานสัมผัสสชาเจตนา ชิวหาสัมผัสสชาเจตนา กายสัมผัสสชาเจตนา มโนสัมผัสสชาเจตนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 39 มโนสัมผัสสชาเจตนา ยกแตเวทนาสัญญาเสียแลวยังเหลืออยู ๕๐ นั้น จัดเปนสังขารขันธสิ้นทั้งนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจา เมื่อสําแดงรูปขันธในที่ ๑ สําแดงวิญญาณขันธในที่ ๒ เวทนา ขันธในที่ ๓ สัญญาขันธในที่ ๔ สังขารขันธในที่ ๕ ดวยประฉะนี้ ลําดับนั้นจึงจําแนกอรรถาธิบายแหงพระบาลีออกไปตามนัยแหงพระอภิธรรมบทภาชนียวา “อทุธาสนฺตติสมยเขณวเสน จตุธา อตีตํ นาม โหติ” วาเบญจขันธอันจะไดชื่อวาอดีต และอนาคต และปจจุบัน มีกําหนดปริเฉท ๔ ประการ คือ อัทธาปริเฉทประการ ๑ สันตติปริจเฉท ประการ ๑ สมยปริจเฉทประการ ๑ ขณปริจเฉทประการ ๑ อัทธาปริจเฉทนั้น กําหนดอัทธา ๓ ประการ คือ อดีตอัทธาประการ ๑ อนาคตอัทธา ประการ ๑ ปจจุบันอัทธาประการ ๑ “ปฏิสนฺธิโต ปุพฺเพ อตีตํ” กําหนดกาลอันเปนเบื้องหลังในกอน ตั้งแตปฏิสนธิในปจจุบัน ภพนี้ไป ไดชื่อวาอดีตอัทธา อัทธา

“จตุโต อุทฺธ”ํ กําหนดกานอันเปนเบื้องหนา ตั้งแตจุติจิตในปจจุบันภพนี้ไดชื่อวาอนาคต

“อุภินฺนมนฺตเร” กําหนดกาลในระหวางแหงจุติและปฏิสนธิในปจจุบันภพนี้ ไดชื่อวา ปจจุบันอัทธา กําหนดอัทธาทั้ง ๓ คืออดีตอัทธา อนาคตอัทธา ปจจุบันอัทธา นี่แลไดชื่อวาอัทธา ปริจเฉท และสันตติปริจเฉทนั้น กําหนดสันตติ ๓ ประการ คือ อดีตสันตติประการ ๑ อนาคตสันตติ ประการ ๑ ปจจุบันสันตติประการ ๑ เปน ๓ ประการดวยกัน “สภาคเอกอุตุสมุฏานเอกาหาวสมุฏานฺจ” ขอซึ่งจะรูกําหนดสันตตินั้น รูดวยฤดู รอนและเย็นอันยังบมิไดแปลก สมุฏฐานรูปอันยังมิไดแปลก รูดวยอาหาร อธิบายวา ในระหวางที่หนาวอยู และยังไมกลับรอน รอนอยูและยังไมกลับหนาวนั้นก็ดี ใน ระหวางที่แสบทองอยูยังมิไดบริโภคอาหารและยังไมกลับอิ่มนั้นก็ดี ที่อิ่มอยูยังไมกลับแสบทองนั้นก็ดี กําหนดกาลในระหวาง ๒ อยางนี้ไดชื่อวาปจจุบันสันตติ รอนและเย็นที่แปลก อาหารสมุฏฐานรูปที่แปลก มีแลวในเบื้องหลังแหงปจจุบันสันตติ ได ชื่อวาอนาคตสันตติ ปริจเฉท

กําหนดสันตติทั้ง ๓ คือ อดีตสันตติ อนาคตสันตติ ปจจุบันสันตติ นี้แลไดชื่อวาสันตติ และสมัยปริจเฉทนั้น กําหนดสมัย ๓ ประการ คือ อดีตสมัย อนาคตสมัย ปจจุบันสมัย

“เอกวิถึ เอกชวน เอกาสมาปตฺติสมุฏานํ” นักปราชญพึงสันนิษฐานวา กามาพจรชวนเสวยอารมณ แหงละวิถี ๆ นั้นจัดเปนสมัยแตละอัน ๆ ถาจะวาฝายสหรคตนั้น การที่เขาสูสมาบัติแตละครั้ง ๆ นั้น จัดเปนสมัยแตละอัน ๆ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

กาลอัน


- 40 สมัยที่เปนเบื้องหลัง ๆ นั้น ไดชื่อวาอดีตสมัย สมัยที่จักมีในเบื้องหนานั้น ไดชื่อวาอนาคต สมัย สมัยที่ประกอบในปจจุบันนี้ ไดชื่อวาปจจุบันสมัย กําหนดสมัยปริจเฉท ๓ ประการฉะนี้ แลขณปริจเฉทนั้น กําหนดเปน ๓ ประการ เปนอดีตขณะ อนาคตขณะ ปจจุบันขณะ เหมือนกัน อดีตขณะนั้นคือ ขณะจิตที่ดับในเบื้องหลัง ๆ อนาคตขณะนั้น คือขณะจิตที่จะบังเกิดใน เบื้องหนา ๆ ปจจุบันขณะนั้น “ขณตฺตยปริยาปนฺนํ” คือขณะจิตอันประกอบดวยขณะทั้ง ๓ คือ อุป ปาทขณะ ฐิติขณะ ภังคขณะ ที่บังเกิดในปจจุบัน เปนใจความวาขันธทั้ง ๕ ที่สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคตรัสเทศนามาเปนอดีต อนาคต ปจจุบันนั้น มีการสังเกตดวยปริจเฉททั้ง ๔ คือ อัทธาปริจเฉท สมยปริจเฉท ขณปริจเฉท โดนพรรณา มาฉะนี้ และลักษณะที่จะจัดรูปธรรม เปนอดีต อนาคต ปจจุบันดวยสามารถสันตตินั้น เฉพาะจัดแต อุตุชรูป และอาหารชรูป และจิตชรูป “กามฺมสมุฏฐานสฺส อตีตาทิเภโท นตฺถ”ิ และกัมมัชชารูปนั้นจะไดจัดเปนอดีต อนาคต ปจจุบัน ดวยสามารถสันตติหาบมิได กัมมัชชรูปนั้นผูอุปถัมภค้ําชูทั้ง ๓ กองจะพลอยเปน อดีต อนาคต ปจจุบัน ก็เพราะอุปถัมภแกอุตุชรูป อาหารรูป จิตชรูป วิสัชนาในเบญจขันธ อันเปนอดีต อนาคต ปจจุบัน ยุติแตเทานี้ แตนี้จะวิสัชนาดวยเบญจขันธภายในและภายนอกสืบตอไป “นิยกชฺฌตฺตํป อชฺฌตฺตํ ปร ปุคฺคลิกํปจ พหิทฺธาติ เวทิตพฺพ”ํ นักปราชญพึงรูวาขันธทั้ง ๕ ซึ่งยุติในสันดานแหงตนนี้แล ไดชื่อวาเบญจขันธภายใน และขันธทั้ง ๕ ที่ยุติในสันดานแหงบุคคลผูอื่น ๆ นั้น ไดชื่อวาเบญจขันธภายนอก “โอฬาริกสุขุมเภโท วุตฺตนโยว” วิสัชนามาแลวแตหลังเถิด

และรูปขันธที่จะหยาบ จะละเอียดนั้น พึงรูโดยนัยที่

ในที่นี้จะวิสัชนาแตในหีนรูป และประณีตรูปสืบตอไป หีนรูปนั้นไดแกรูปอันชั่ว ประณีตรูปนั้นไดแกรูปอันประณีตบรรจง อธิบายวา รูปแหงพรหมอันอยูชั้นอกนิฏฐนั้นไดเอามาเปรียบกันกับรูปพรหมในชั้นสุทัสสี ๆ เปนหีนรูป รูปพรหมในชั้นอกนิฏฐเปนปณีตรูป และรูปพรหมในชั้นสุทัสสีนั้น ถาเอามาเปรียบมาเทียบ กันกับรูปพรหมในชั้นสุทัสสา ๆ เปนหีนรูป รูปพรหมในชั้นสุททัสสีเปนปณีตรูปและรูปพรหมในชั้นสุทัส สานั้น ถาเอามาเปรียบมาเคียงกันกับรูปพรหมในชั้นอตัปปา ๆ เปนหีนรูป รูปพรหมในชั้นสุทัสสีเปน ปณีตรูปและอรูปพรหมในชั้นอตัปปา ๆ เปนหีนรูป รูปพรหมในชั้นสุทัสสาเปนปณีตรูปและอรูปพรหม ในชั้นอตัปปานั้น ถาเอามาเปรียบมาเคียงกันกับรูปพรหมในชั้นอวิหา ๆ เปนหีนรูป รูปพรหมในชั้นอตัป ปาเปนปณีตรูปตกวาพรหมในชั้นสูงชั้นบนนั้นรูปปณีตกวาพรหมในชั้นต่ํา พรหมชั้นต่ํา ๆ นั้นรูปเลวกวา พรหมชั้นบน ๆ ซึ่งดีกวากัน ชั่วกวากันเปนจํานวนลําดับ ๆ เปนชั้น ๆ กัน โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ พึงรูหีนรูปแลปณีตรูป ใหตลอดลงมาตราบเทาถึงกามาวจรรูป โดยนัยดังสําแดงมานี้เถิด แตทวา สําแดงดังนี้ ยังเปนปริยายอยูอยางไมแทกอน ถาจะวาโดยปริยาย จะวาแทนั้นรูปอันใดบังเกิดดวย กุศลวิบาก รูปอันนี้เรียกวา ปณีตรูป รูปอันใดบังเกิดดวยอกุศลวิบากรูปอันนั้นไดชื่อวา หีนรูป แลรูปที่ เปนทูเรรูป สันติเกรูปนั้น นักปราชญพึงรูตามประเทศที่ไกลแลใกลนั้นเถิด ที่ไกลแลที่ใกลนั้นก็ไกล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 41 เปนชั้น ๆ ใกลกันเปนชั้น ๆ โดยลําดับ ๆ เหมือนอยางที่ทานจัดเปนหีนรูป แลปณีตรูปนั้น เปนใจความวา รูปทั้งปวงแตบรรดาที่สําแดงมานี้ สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคประมวล เขาเปนหมวดเปนกองแลว ก็ตรัสเรียกนามบัญญัติชื่อวารูปขันธ ธรรมสิ่งอื่น ๆ ที่พนไปจากรูปนี้ จึงจะ จัดเขาเปนกอง ๆ ก็ดี พระพุทธองคจะไดตรัสเรียกชื่อวารูปขันธหาบมิไดสําแดงรูปขันธตามนัยแหง พระธรรมบทภาชนีย ยุติการเทานี้ แตนี้จะสําแดงเวทนาขันธ ตามนัยแหงพระอภิธรรมบทภาชนียสืบตอไป แทจริงเวทนาที่จะหยาบจะละเอียดนั้น เปนดวยสามารถชาติประการ ๑ เปนโดยสภาวะปกติ ประการ ๑ เปนดวยสามารถบุคคลประการ ๑ เปนดวยสามารถโลกิยแลโลกุตตรประการ ๑ เปน ๔ ประการดังนี้ ขอซึ่งเวทนาหยาบแลละเอียด ดวยสามารถชาตินั้นเปนประการใด อธิบายวาเวทนาอันประกอบในอกุศลจิตนั้น แลวิปากาพยากตเวทนา แลกิริยาพยากตเวทนา

ไดชื่อวาเปนเวทนาอันหยาบกวากุศลเวทนา

“สาวชฺชกิริยเหตุโต” เพราะเหตุวาเวทนาอันยุติในอกุศลจิตนั้น ประพฤติฟุงซานบมิได ระงับ เปนเหตุใหกระทําการอันกอปรดวยโทษทุจริตตาง ๆ “กิเลสสนฺตาปภาวโต” อันหนึ่งวาอกุศลเวทนาฟุงซานบมิไดระงับ เพราะเหตุ ประกอบดวยกิเลส เดือดรอนดวยอํานาจกิเลส เหตุดังนั้นอกุศลเวทนาจึงไดชื่อวาหยาบกวากุศล เวทนา ดวยประการฉะนี้ “วิปากาพฺยากตาย โอฬาริกา” แลชื่อวาอกุศลเวทนาหยาบกวาวิปากาพยากตเวทนา นั้น “สพฺยาปารโต สอุสฺสาหโต” เพราะเหตุวาอกุศลเวทนานั้น กอปรดวยขวนขวายกอปรดวย อุตสาหะ กอปรดวยวิบาก เดือดรอนอยูดวยอํานาจกิเลส กอปรดวยพยาบาทแลโทษทุจริตอันยุติใน กายทวารวจีทวารมโนทวาร “กิริยาพยากตาย โอฬาริกา” แลขอที่วาอกุศลเวทนาหยาบกวากิริยาพยากตเวทนานั้น กอปรดวยวิบากเดือดรอนอยูดวยกิเลสกอปรดวยพยาบาทแลโทษทุจริตมีประการตาง ๆ ตกวาอกุศลเวทนานั้น หยาบกวากุศลเวทนา แลวิปากาพยากตเวทนา

แลกิริยาพยากต

เวทนา ฝายกุศลเวทนา วิปากาพยากตเวทนานั้น กิริยาพยากตเวทนา ฝายกุศลเวทนา วิปากาพยากตเวทนานั้น อกุศลเวทนาดวยประการฉะนี้

กิริยาพยากตเวทนานั้นไดชื่อวาละเอียดกวา

แลอกุศลเวทนานั้นเลา ไดชื่อวาหยาบกวาพยากตเวทนาทั้งสองประการ เพราะเหตุวา ประกอบดวยขวนขวายแลอุตสาหะประกอบดวยวิบาก ตกวาพยากตเวทนานั้นละเอียดกวากุศลเวทนา “ชสติวเสน โอฬาริกสุขุมตา เวทิตพฺพา” นักปราชญผูมีปญญาพึงรูเวทนาวาหยาบกวา กันละเอียดกวากัน ดวยอํานาจชาติโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 42 เวทนาจะหยาบละเอียดโดยสภาวะปกตินั้น เปนประการใดเลา อธิบายวาทุกขเวทนานั้นหยาบกวาสุขเวทนา แลอุเบกขาเวทนา ๆ นั้นละเอียดวา ทุกขเวทนา ทุกขเวทนานั้นไดชื่อวาหยาบ เพราะเหตุวาปราศจากยินดี มีแตความลําบากนั้นแผซานไป ใหบังเกิดสะดุงตกใจประหวั่นขวัญหาย ครอบงํากระทําใหลําบากกาย ลําบากจิต อันธรรมดา ทุกขเวทนานี้มีแตกระทําใหเศราหมองหมนไหมนั้นตาง ๆ ที่จะใหสบายกายสบายจิตมาตรวานอยหนึ่ง นั้นหาบมิได เหตุดังนั้นจึงวาหยาบกวาสุขเวทนาอุเบกขาเวทนา แลสุขเวทนานั้น ถาจะเปรียบกับอุเบกขาก็ไดชื่อวาหยาบกวาอุเบกขา เพราะเหตุวาสุข เวทนานั้น ยังแผซานยังกระทําใหกายกําเริบอยูไดประพฤติระงับสงบสงัดเหมือนดังอุเบกขาเวทนานั้น หาบมิได เหตุฉะนี้สุขเวทนาจึงไดชื่อวาหยาบกวาอุเบกขาเวทนา พึงรูวาเทวนาหยาบกวากันละเอียด กวากัน โดยสภาวะปกติตามนัยที่แสดงมานี้ อธิบายวาเวทนาอันยุติ ในสันดานแหงบุคคลที่หาบมิไดเขาสูสมาบัตินั้น หยาบกวาเวทนา อันยุติในสันดานแหงบุคคลที่หาบมิไดเขาสูสมาบัติ มีจิตสันดานอันฟุงซานกําเริบในอารมณตาง ๆ เมื่อ จิตสันดานยังฟุงซานอยูดังนั้นเวทนาที่เปนพนักงานเสวยอารมณฟุงซานกําเริบอยู บมิไดระงับ เหมือนกันกับจิตเหตุฉะนี้เวทนาในสันดานแหงบุคคลที่เขาสูสมาบัติ จึงไดชื่อวาหยาบกวาเวทนาใน สันดานแหงบุคคลที่เขาสูสมาบัตินั้น ๆ ไดชื่อวาเปนเวทนาอันเปนสขุมเปนเวทนาอันละเอียด แลบุคคลที่เขาสูสมาบัติเหมือนกันนั้นวามีเวทนาอันละเอียดนั้น กวากันเปนชั้น ๆ จะไดเหมือนกันหาบมิได

ก็ยังหยาบกวากันละเอียด

เวทนาในทุติยฌานนั้น ละเอียดกวาเวทนาในปฐมฌาน ๆ นั้นหยาบกวาเวทนาในทุติยฌาน แลเวทนาในตติยฌานละเอียดวาเวทนาในทุติยฌาน ๆ นั้นหยาบละเอียดกวาเวทนาในตติยฌาน และ เวทนาในจตุตถฌานนั้นละเอียดกวาเวทนาในตติยฌาน เวทนาในปฐมารูปฌานนั้นละเอียดกวาเวทนา ในรูปาพจรจตุตถฌาน เวทนาในทุติยารูปฌานนั้นกวาเวทนาในทุติยารูปฌาน เวทนาในจตุคถารูป ฌานละเอียดกวาเวทนาในตติยารูปฌานตกวาละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ หยาบกวากันเปนชั้น ๆ ดวย สามารถสมบัติอันสูงกวากันนักปราชญผูมีปญญาพึงรูเวทนากวาหยาบละเอียด ดวยสามรถบุคคล โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ แลเวทนาจะหยาบจะละเอียดดวยสามารถ เปนโลกิยะแลโลกุตระนั้นเปนประการใด อธิบาย วา เวทนาในโลกิยจิตนั้นหยาบกวาเวทนาในโลกุตตรจิต เพราะเหตุโลกิยจิตนั้น กอปรดวยอาสวะ ๔ ประการ โอฆะ ๔ ประการ โยคะ ๔ ประการ คณฐะ ๔ ประการ นิวรณ ๕ ประการ อุปาทาน ๔ ประการ กิเลส ๑๐ ประการ สังโยชน ๑๐ ประการ ถึงกิเลสที่นับโดยพิสดารได ๑๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ นั้นก็ยอมประกอบในโลกิยจิต เหตุนี้ เวทนาในโลกิยจิตนั้นจึงไดชื่อวาเปนเวทนาอันหยาบ ฝายวาจิตเปนโลกุตตระนั้นสิปราศจากกิเลสสิ้งทั้งปวง เหตุฉะนี้เวทนาในโลกุตตรจิตนั้น จึง ไดชื่อวาสุขุมเวทนาเปนเวทนาอยางละอียดอยางยิ่ง สําแดงเวทนาอยางหยาบอยางละเอียด โดยชาติแลสภาวะหยาบ แลละเอียดโดยบุคคล โดยภูมิโลกิยะแลโลกุตตระเทานี้ แตนี้จักยกเอาชาติ แลสภาวะแลบุคคลแลภูมิโลกิยะโลกุตตระ มา สําแดงเจือกันใหเห็นตางแหงเวทนาขันธ ตามนัยแหงบทภาชนียในคัมภีรพระอภิธรรมนั้น แทจิรงอกุศลวิบากเวทนานั้นสิเปนชาติพยากฤตเมื่อจัดโดยชาตินั้นจัดเปนสุขุมเวทนา เมื่อ จัดโดยสภาวะแลบุคคลแลภูมินั้นจัดเปนโอฬาริกเวทนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 43 แลกุศลวิบากเวทนานั้นเลาเมื่อจัดโดยชาติเปนสุขุมเวทนา เมื่อจัดโดยบุคคลโดยภูมินั้น ถา บังเกิดในสันดานแหงปุถุชน บังเกิดในภูมิโลกิยจิตก็จัดเปนโอฬาริกเวทนา ถาบังเกิดในสันดานแหง พระอริยบุคคล บังเกิดในภูมิโลกุตตรจิตนั้นก็จัดเปนสุขุมเวทนา ผูมีปญญาพึงรูในเวทนาอันตางดวยวิธี ที่จัดชาติจัดสภาวบุคคลจัดภูมิกันโดยนัยที่สําแดงมานี้ ประการหนึ่งใหรูเวทนานี้ถึงมีชาติเสมอกันก็ยังหยาบกวากันละเอียดกวากันเปนอยาง ๆ อยู จะไดเหมือนกันเปนแบบเดียวกันหามิไดเหมือนอยางกุศลเวทนานั้น เมื่อจัดโดยชาติจัดเปนโอฬาริก เวทนาสิ้งทั้งปวง ครั้นเอามาเปรียบมาเคียงกันแตในกองแหงตนนั้น เวทนาในโมหจิต หยาบกวา เวทนาในโลภจิต ๆ นั้นหยาบกวาเวทนาในโมหจิต เวทนาในโมหจิตที่เห็นผิดเปนนิยตมิจฉาทิฏฐินั้น หยาบวาเวทนาในโมหจิตที่เห็นผิดเปนอนิยตมิจฉาทิฏฐิ ถึงเปนนิยตมิจฉาทิฏฐิเหมือนกันก็ดีที่มีโทษ มาก เปนกัปปฏฐีติจะทนทุกขเวทนานานจนสิ้นกาลกัลปนั้น มีเวทนาอันหยาบกวาเวทนาในจิตที่เปน นิยตมิจฉาทิฏฐิแลมีโทษนอย บิมิไดตั้งอยูนานสิ้นกัลป ถึงเปนกัลปทิฏฐิดวยกัน จะตั้งอยูนานสิ้นกัลป หนึ่งเหมือนกัน จิตที่เปนอสังขาริกถือผิดโดยธรรมดาผูจะชักชวนมิไดนั้น มีเวทนาอันหยาบกวาเวทนา ในจิตที่เปนสสังขาริกถือผิดดวยมีผูชวน “อวิเสเสน อกุสลา พหุวิปากา โอฬาริกา” ถาจะวิสัชนาโดยมิไดแปลกนั้นแตบรรดา อกุศลจิตที่ใหโทษมากนั้นมีเวทนาอันหยาบ กวาเวทนาในอกุศลจิตที่ใหโทษนอย ใหผลนอย

ฝายกุศลนั้น กุศลจิตแตบรรดาที่ใหผลมาก มีเวทนาอันละเอียดกวาเวทนาในกุศลจิตที่

กุศลที่เปนเบื้องต่ําในกามาพจรนั้น มีเวทนาหยาบกวากุศลจิตที่เปนอรูปพจร ๆ นั้นวามี เวทนาละเอียดเปนอุกฤฏถึงเพียงนี้ ก็ยังหยาบกวาเวทนาในกุศลจิตที่เปนอรูปพจร ๆ นั้นละเอียดเปน อุกฤษฏถึงเพียงนี้ ก็ยังหยาบกวาเวทนาในกุศลจิตที่เปนพระโลกุตตระ ๆ ละเอียดยิ่งนัก นัยหนึ่งวาจิตกองเดียวกันเปนกามาพจรกุศลเหมือนกันก็ดีเวทนาจะไดเหมือนกันหาบมิได “ทานมยา โอฬาริกา” จิตที่เปนทานมัยใหสําเร็จกิจบําเพ็ญทานนั้นมีเวทนาหยาบกวา เวทนาในจิตเปนศีลมัยใหสําเร็จกิจบําเพ็ญศีล ๆ นัยวาเวทนาละเอียดแลว ก็ยังหยาบกวาเวทนาในจิต ที่เปนภาวนามัย ใหสําเร็จกิจบําเพ็ญภาวนา ถึงภาวนาจิตเหมือนกันก็ดี วามีเวทนาละเอียดแลวก็ยังไมละเอียดเหมือนกัน “ทุเหตุกา โอฬาริกา” ภาวนาจิตที่เปนทุเหตุนั้น มีเวทนาหยาบกวาภาวนาจิตที่เปนไตร เหตุนั้น เวทนาละเอียดกวาภาวนาจิตทุเหตุ ถาเปนไตรเหตุดวยกันเลา ภาวนาจิตที่เปนไตรเหตุ สสังขาริกนั้นมีเวทนาหยาบกวาเทวนา ในภาวนาจิตที่เปนไตรอสังขาริก ตกวากามาพจรกุศลจิตไตรอสังขาริก อันสัมปยุตดวยอุเบกขาเวทนานี้แล มีเวทนาละเอียด กวากามาพจรกุศลจิตทั้ง ๗ ดวง ถึงฌานจิตดวยกันก็มีเวทนาละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ ถึงพระโลกุตต รจิตดวยกันก็มีเวทนาละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ เวทนาในจิตพระโสดานั้น หยาบกวาเวทนาในจิตพระสกทาคา ๆ นั้นวาละเอียดแลว ก็ยัง หยาบกวาเวทนาในจิตพระอนาคา ๆ นั้นวาละเอียดแลว ก็ยังหยาบกวาเวทนาในจิตพระอรหันต ตกวาละเอียดกวากันเปนชั้น ๆ เปนลําดับ ๆ กันดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 44 “ขนฺเธสุ ญาณเภทตฺถ”ํ เบื้องหนาแตนี้จะสําแดงพิธีอันพิจารณาเบญขันธ เพื่อจะใหพระ โยคาพจรกุลบุตรมีปญญาแตกฉานฉลาดในพิธีพิจารณาเบญขันธ อันเปนภูมิพื้นที่ตั้งแหงพระวิปสสนา ปญญา “วิฺญาตพฺโพ วิภาวินา” นักปราชญพึงรูในพิธีพิจารณาในเบญจขันธ ๖ ประการ “กมโต” คือพิจาณาโดยลําดับประการ ๑ “อตฺถสิทฺธิโต” คือพิจารณาโดยอัตถสิทธิ ประการ ๑ “อนุนาธิกโต” คือพิจารณาโดยมิไดหยอนมิไดยิ่งประการ ๑ “อุปมาโต” คือพิจารณา โดยอุปมาประการ ๑ “ทฏพฺพโต” คือพิจารณาโดยเห็นประการ ๑ “วิเสสโต” คือพิจารณาโดย วิเศษประการ ๑ สิริเปนพิธีพิจารณาเบญจขันธ ๖ ประการดวยกัน “กมโต” ขอซึ่งวาใหพิจารณาโดยลําดับนั้น กําหนดลําดับมี ๕ ประการ คือ อุปปตติกกมะ ลําดับที่บังเกิดนั้นประการ ๑ ปหานักกมะลําดับที่สละนั้นประการ ๑ ปฏิปตติกกมะ ลําดับที่ปฏิบัตินั้น ประการ ๑ ภูมิกกมะ ลําดับแหงภูมิประการ ๑ เทศนากกมะ ลําดับแหงเทศนา ๑ เปน ๕ ประการ ดวยกัน อุปปตติกกมะ ลําดับที่บังเกิดนั้น ใหพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาเปญจขันธ จิตเดิมแต แรกปฏิสนธิในครรภแหงมารดานั้นมาตราบเทาถึงจุติจิต ใหเห็นแจงวาสรรพสัตวทั้งหลายที่บังเกิดใน ครรภแหงมารดานั้น “ปมํ กลฺลํ โหติ” เดิมเมื่อแรกตั้งปฏิสนธินั้นเปนกลละมีประมาณเทาหยาด น้ํามันงาอันใหญอยูนั้นถึง ๑ วัน จึงคอยขนเขาเปนอันพุทะมีสัณฐานดังดีบุกอันแหลมแหลวเปนอัมพุ ทะอยู ๗ วันจึงขนเปสิคือชิ้นเนื้อมีสัณฐานดังปุมเปลือกในเปลือกไขเปสิอยู ๗ จึงเปนฆนะขนเขาเปน แทงเปนฆนะอยู ๗ วัน “ปฺจ สาขา ชายนฺติ” จึงเปนปญจสาขาแตกเปนปุม ๕ แหงคือ มือ ๒ เทา ๒ ศีรษะ ๑ เรียกวาปญจสาขาอยูนั้นก็ ๗ วัย “สตฺตเมว สตฺตาเห” เมื่อลวงไปไดเจ็ดวัน ๗ หน คิดเปน ๔๙ วัน ดวยกันแลว จักขุทสกะ อันเปนกัมสมุฏฐานกลาปนั้นบังเกิดขึ้น ครั้นจักขุทสกะเกิดแลว “อติกฺกนฺเต” ลวงไปอีก ๗ วันจึงจะ บังเกิดโสตทสกะ ไปอีก ๗ วันจึงบังเกิดฆานทสกะ ไปอีก ๗ วันจึงบังเกิดชิวหาทสกะ ลวงไปอีก ๗ วันจึงบังเกิดกายสทกะ ตกวาหูตาอายตนะก็บังเกิดในขณะนั้น เมื่อตั้งรูปกายขึ้นไดแลว แลโอชะแหง อาหารที่มารดาบริโภคนั้นซับซาบซึ่งแผไปในกายแหงทารกกาลใด อาหารสมุฏฐานกลาปก็บังเกิดขึ้น จําเดิมแตนั้นไป นักปราชญผูมีปญญา พึงคิดธรรมสังเวชเถิดวาสัตวอันบังเกิดในครรภแหงมารดานั้น แสน ทุกขแสนลําบากนั่งอยูบนกระเพาะอาหารเกาอาหารใหมอยูบนศีรษะ ตัวสัตวนั้นอยูกลาง คางนั้นเทา ลงอยูเหนือเขา มือทั้งสองกอดเขานั่งหยองผินหนาเขาไปขางกระดูกสันหลังมารดามีครุวนาดุจดัง วานรหนีฝน เขาไปอยูในโพรงไมเมื่อยามฝน แสนยากแสนลําบากแสนเวทนา กาลเมื่อนประสูติจาก ครรภมารดานั้นก็สุดลําบากเสวยทุกขเวทนานั้นสาหัส มีอุปมาดังชางสารตัวใหญอันบุคคลไสออกไป ตามชองดานอันนอยแลไดเสวยทุกขเวทนามีกําลัง เมื่อพนจากครรภมารดาแลวแลรองไหดิ้นรนไดใน กาลนั้น รูปกลาปทั้ง ๒๑ กลาป จึงมีพรอมในสันดานสัตวจําเดิมแตนั้นไป สําแดงมาทั้งนี้ ดวยสามารถสัตวนั้นเปนศัพกไสยกสัตว เปนสัตวอันบังเกิดในครรภมารดา ถาสัตวนั้นบังเกิดในกําเนิดสังเสทชะ แลอุปปาติกะในปฏิสนธิขณะเมื่อตั้งปฏิสนธินั้น มี กัมมัชชรูปบังเกิดพรอมถึงเจ็ดกลาป คือ จักขุทสกะ โสตสทกะ ฆานทสกะ ชิวหาทสกะ กายทสกะ ภาวทสกะ วัตถุสกะเปนเจ็ดกลาปดวยกันฉะนี้ เจดกลาปนี้ วาโดยอุกฤษฏ ถาจะวาโดยโอมมกในปฏิสนธิขณะแหงสังเสทชสัตว แลอุปปา ติกสัตวนั้น มีรูปเกิดพรอมแตสามกลาป คือ กายทสกะ ภาวทสกะ วัตถุทสกะ เหมือนกันกับคัพภไสยก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 45 สัตว ตอมาในประวัติการณ รูปกลาปทั้งปวงจึงบังเกิดพรอมจําเดิมแตนั้นไปก็มีแตจะบายหนาเขามา ชรามรณะ สภาวพิจารณาเบญจขันธ จําเดิมแตแรกปฏิสนธินั้น เปนลําดับ ๆ มาตราบเทาถึงจุติจิต นี้แล ไดชื่อวาอุปปตติกกมะพิจารณาขันธโดยลําดับที่เกิด แลปหานักกมะพิจารณาขันธโดยลําดับที่สละเสียนั้น ใหพระโยคาพจรเจาพิจารณากอง กิเลส ซึ่งพระอริยมรรคทั้ง ๓ ละเสียขาดโดยลําดับ ๆ กัน แทจริงกิริยาที่จะละกิเลสไดนั้น ไดชื่อวาละ ขันธเสียไดเพราะกิเลสทั้งหลายเปนตนวา โลภะ โทสะ โมหะ นั้นนับเขาในสังขารขันธ เวทนาแล สัญญาวิญญาณที่เกิดพรอมดวยกิเลสนั้น นับเขาในเวทนาขันธ สัญญาขันธแลวิญญาณขันธ เมื่อพระ อริยมรรคทั้ง ๔ ประการบังเกิดในสันดานแลละกองกิเลสเสียไดเปนลําดับ ๆ คือพระโสดาละอกุศลจิต ได ๕ ดวงพระสกทาคาละกองกุศลจิตที่หยาบไดละเอียด พระอนาคาละโทสจิตขาดได ๒ ดวง พระ อรหัตตละกุศลจิตเสียไดสิ้นเสร็จ ละกิเลสไดเปนลําดับ ๆ ดังนี้ ไดชื่อวาละขันธเสียไดโดยลําดับ ๆ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา กิริยาที่พิจารณากองกิเลสอันพระอริยมรรคทั้ง ๔ ละเสียโดย ลําดับ ๆ นี้แล ไดชื่อวาปหานักกมะพิจารณาขันธโดยลําดับที่สละเสียได แลปฏิบัติติกกมะ พิจารณาขันธโดยลําดับแหงปฏิบัตินั้น คือใหพิจารณาศีลวิสุทธิแลว ลําดับนั้นใหพิจารณาจิตวิสุทธิ ลําดับนั้นใหพิจารณาทิฏฐิวิสุทธิ ถัดนั้นใหพิจารณากังขาวิตรณวิสุทธิ ถัดนั้นใหพิจารณาปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ในที่สุดนั้นใหพิจารณาญาณทัสสวิสุทธิ ปฏิบัติ

กิริยาพิจารณาวิสุทธิ ๗ ประการ โดยลําดับ ๆ ดังนี้แลไดชื่อวาพิจารณาขันธ โดยลําดับแหง

เพราะเหตุวากายแลจิตที่ไดสําเร็จกิจ ปฏิบัติวิสุทธิ ๗ ประการนั้นจะไดพนจากเบญขันธหา บมิได แตลวนนับเขาในเบญขันธสิ้นทั้งนั้น เหตุฉะนี้ กายเมื่อพิจารณาวิสุทธิ ๗ ประการนั้นจึงไดชื่อวาปฏิปตติกกมะ พิจารณาขันธโดย ลําดับแหงปฏิบัติก็มีดวยประการฉะนี้ แลภูมิกกมะ พิจารณาขันธโดยลําดับแหงภูมินั้น ใหพิจารณาเบญจขันธอันเปนไปในภูมิทั้ง ๔ คือ กามาพจรภูมิ รูปาพจรภูมิ อรูปาพจรภูมิ โลกุตตรภูมิ แลเทศนากกมะ พิจารณาขันธโดยลําดับแหงเทศนานั้น คือใหพิจารณาพระสติปฏฐานทั้ง ๔ สัมมัปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ อันฐังคิกมรรค ๘ ใหพิจารณาทานกถา ศีลกถา สัคคกถา กามาทีนวกถา เนกขัมมานิสังสกถา กิริยาที่พิจารณาพระสัทธรรมสิ้นทั้งปวงนี้ ไดชื่อ วาพิจารณาขันธโดยลําดับแหงเทศนา เพราะวาธรรมทั้งปวงนี้ จะพนออกไปจากขันธบัญญัติหาบมิไดแตลวนนับเขาในขันธสิ้นทั้ง ปวงโดยกําหนดอุกฤกฏนั้นจนถึงมัคคจิตผลจิตก็นับเขาวิญญาณขันธ เวทนาสัญญาแลเจตสิก แต บรรดาที่เกิดพรอมดวยมัคคจิตผลจิตนั้น ก็นับเขาในเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธสิ้นทั้งปวงจะ ไดพนขันธบัญญัติหาบมิได อาศัยเหตุฉะนี้ กิริยาที่พิจารณาพระสติปฏฐานเปนอาทิ พิจารณาทานกถาเปนอาทินั้น จึง จัดไดชื่อวาพิจารณาขันธโดยลําดับแหงพระสัทธรรมเทศนา ก็มีดวยประการฉะนี้ เปนใจความวา ขอซึ่งใหพิจารณาขันธโดยลําดับนั้น กําหนดลําดับนั้นถึง ๔ ประการ คืออุป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 46 ปตติกกมะ ปหานักกมะ ปฏิปตติกกมะ ภูมิกกมะ เทศนากกมะ พิจารณาโดยลําดับเกิดดับละลําดับ ปฏิบัติลําดับภูมิลําดับเทศนา โดยนัยดังพรรณามาฉะนี้ “วิสฺสโต” แตนี้จักสําแดงกิจที่พิจารณาขันธโดยวิเศษนั้นสืบไปขอซึ่งวาใหพิจารณาขันธ โดยพิเศษนั้น จะใหพิจารณาเปนประการใด “โก จ เนสํ วิเสโส” สิ่งไรนั้นเปนวิเศษแหงเบญขันธ อธิบายวาวิเศษแหงเบญจขันธจะมีนั้น อาศัยแกอุปาทาน ๆ นี้แลเปนวิเศษในเบญจขันธ ทีเดียว เบญจขันธมีเหมือนกัน เปนหญิงเหมือนกัน เปนชายเหมือนกัน ถาใครยังประกอบดวยอุปาทาน ผูนั้นไดชื่อวาโลกิยปุถุชน ทานที่หาอุปาทานมิไดนั้น ไดชื่อวาอริยบุคคล ตกวาอุปาทานนี้แลกระทําให แปลกแหงเบญจขันธ ๆ แปลกกันดวยสามารถกอปรดวยอุปาทานแลหาอุปาทานบมิได อธิบายดังนี้ สมดวยพระพุทธฏีกาที่สมเด็จพระพุทธองคโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนา วา “ภิกฺขเว” ดูกรภิกษุสงฆ “สุณาถ” ขอทานทั้งหลายตั้งโสตสดับเถิด เราพระตถาคตจะ ตรัสเทศนาขันธ ๕ ประการ อุปาทานขันธ ๕ ประการ ใหทานทั้งปวงฟง “กตเม ปฺจกฺขนฺธา” ขันธโดยอุปาทาน ๕ ประการนั้นเปนดังฤๅ ตรัสปุจฉาดวยพระองคแลว ก็ตรัสวิสัชนาดวยพระองคเลาวา “ยํ กิฺจิ ภิกฺขเว รูป” ดูกรภิกษุสงฆ รูปทั้งปวงที่เปนอดีตแลอนาคตแลปจจุบัน ภายนอก ในไกลแลใกลดีแลชั่วหยาบแลละเอียดสิ้นทั้งปวงนั้น เราพระตถาคตประมวลเขาเปนหมวดเปนหมูเปน กองอันเดียวกันเรียกวา รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ ที่เปนอดีตอนาคต ปจจุบันภายนอกภายในไกลแลใกลดีแลชั่วหยาบแลละเอียดสิ้นทั้งปวงนั้น เราพระตถาคตประมวลเขา เปนหมวด ๆ เปนกอง ๆ เหลารูปเหมือนกันจัดไวเปนกองหนึ่ง เรียกวารูปขันธ เหลาเวทนาเหมือนกันจัดไวกอง ๑ เรียกวาเวทนาขันธ เหลาสัญญาเหมือนกันจัดไวกอง ๑ เรียกชื่อวาสัญญาขันธเหลาเจตสิกเหมือนกัน จัดไวกอ ๑ เรียกชื่อวาสังขารขันธ เหลาจิตเหมือนกันจัดไวกอง ๑ เรียกชื่อวาวิญญาณขันธสิริเขา ดวยกันจึงเปนขันธ ๕ ประการก็มีดวยประการฉะนี้ รูปูปาทานขันธประการ ๑ เวทนาปาทานขันธประการ ๑ สัญูปาทานขันธประการ ๑ สังขา รูปาทานขันธประการ ๑ วิญญาณูปาทานขันธประการ ๑ เปน ๕ ประการดังนี้ อุปาทานขันธ ๕ ประการนี้ จะไดนอกจากขันธทั้ง ๕ ที่กลาวแลวนั้นหาบมิไดรูปเหมือนกัน เวทนาเหมือนกัน สัญญาเหมือนกันสังขารเหมือนกันวิญญาณเหมือนกันนั้นแล แตทวากอปรดวยอา สวะกอปรดวยอุปาทานแลว เราพระตถาคตตรัสเรียกชื่อวารูปูปาทานขันธ เวทนูปาทานขันธ สัญู ปาทานขันธ สังขารูปาทานขันธ วิญญาณูปาทานขันธ ตกวาพระสัทธรรมเทศนาแสดงขันธ ๕ ประการ ในเบื้องตนนั้น ประสงคเอาขันธแหงพระอริยบุคคลที่ปราศจากอาสวะแลอุปาทาน อุปาทาน ๕ ประการที่ตรัสเทศนาในเบื้องปลายนี้ประสงคเอาขันธแหงบุคคลที่ประกอบดวยอาสวะแลอุปาทานขันธ ๕ ประการ อุปาทานขันธ ๕ ประการ มีนัยดังพรรณนามานี้ เทียรยอมเปนอนิจจังเปนทุกขังเปนอนัตตา นักปราชญพึงสันนิษฐานวาขันธทั้ง ๕ ประการมีนัยดังวิสัชนาฉะนี้ จัดเปนพื้นกลาวคือใหพิจารณาเอา เปนอารมณ ในกาลเมื่อจะเริญพระวิปสสนากรรมฐาน แลอายตนะ ๖๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย ๒๑ พระ อริยสัจ ๔ ที่จัดเปนพื้นนั้น นักปราชญพึงรูวาอายตนะ ๑๒ ประการ คือ จักขวายตนะประการ ๑ โส

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 47 ตายตนะประการ ๑ ฆานายตนะประการ ๑ ชิวหายตนะประการ ๑ กายายตนะประการ ๑ มนายตนะ ประการ ๑ รูปายตนะประการ ๑ สัททาตนะประการ ๑ คันธายตนะประการ ๑ รสายตนะประการ ๑ โผฏฐัพพายตนะประการ ๑ ธัมมายตนะประการ ๑ เปน ๑๒ ประการดวยกัน จักขวายตนะนั้นไดแกจักษุทั้งสอง จักษุทั้งสองซายขวานี้สมเด็จพระมหากรุณาเจาตรัส เทศนาเรียกวาจักขวายตนะ โสตายตนะนั้นไดแกชองหูทั้งสอง ฆานายตนะนั้นไดแกจมูก ชิวหายตนะ นั้นไดแกลิ้น กายายตนะไดแกกายทั้งปวง อวัยวะนอยใหญนอกออกไปจากจักษุแลโสตนอกไปจาก จมูกแลลิ้น ก็ไดชื่อวากายยตนะทั้งสิ้นทั้งนั้น แลมนายตนะนั้นไดแกหทัยวัตถุ ๆ คือเนื้อหัวใจนั้นแล ได ชื่อวามนายตนะ รูปายตนะนั้น ไดแกสรรพรูปทั้งปวงอันเปนภายนอกแหงกายสัททายตนะนั้น ไดแกสรรพ เสียงทั้งปวง คันธายตนะนั้น ไดแกสรรพกลิ่นทั้งปวง รสายตนะนั้น ไดแกสรรพรสทั้งปวง โผฏฐัพ พายตนะนั้นไดแกสิ่งทั้งปวงที่เราทานไดสัมผัสถูกตอง เราทานทั้งปวงไดสัมผัสถูกตองสิ่งใดดวยกาย สิ่งนั้นปลไดชื่อวาโผฏฐัพพายตนะ แลธัมมายตนะนั้นไดแกจิตแลเจตสิกทั้งปวง แตบรรดาจิตแล เจตสิกนั้นจัดเปนอายตนะอันหนึ่ง ชื่อวาธัมมายตนะเปน ๑๒ ประการ ดุจพรรณนามาฉะนี้ “กสฺมา” เหตุไฉนจึงไดชื่อวาอายตนะ ออไดชื่อวาอายตนะนั้นดวยอรรถวาเปนที่ประชุม ดวยอรรถวาเปนบอเกิด อธิบายวา จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ทั้งปวงนี้แตลวนเปนที่ประชุมแหงรูปแลเสียงกลิ่น แลรสแลเครื่องสัมผัส เหตุดังนั้นจึงเรียกวาจักขวายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายต นะ ดวยประการฉะนี้ แลธาตุ ๑๔ ประการนั้นคือ จักขุธาตุประการ ๑ โสตธาตุประการ ๑ ฆานธาตุประการ ๑ ชิวหาธาตุประการ ๑ กายธาตประการ ๑ มโนธาตุประการ ๑ รูปธาตุประการ ๑ สัททาธาตุประการ ๑ คันธธาธาตุประการ ๑ รสธาตุประการ ๑ โผฏฐัพพธาตุประการ ๑ ธัมมธาตุประการ ๑ จักขุวิญญาณ ธาตุประการ ๑ โสตวิญญาณธาตุประการ ๑ ชิวหาวิญญาณธาตุประการ ๑ กายวิญญาณธาตุประการ ๑ มโนวิญญาณธาตุประการ ๑ ประสมเขาเปนธาตุ ๑๘ ประการดวยกัน จักขุธาตุนั้นไดแกจักษุ โสตธาตุนั้นไดแกหู ฆานธาตุนั้นไดแกจมูก ชิวหาธาตุนั้นไดแกลิ้น กายธาตุนั้นไดแกธาตุทั้งปวง อวัยวะนอยใหญทั้งปวง นอกจากไปจากจักขุแลโสตฆานแลชิวหา ก็ได ชื่อวากายธาตุสิ้นทั้งนั้น แลมโนธาตุนั้น ไดแกปญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑ จิตทั้ง ๒ ดวงนี้ไดชื่อวา มโนธาตุ รูปธาตุนั้นไดแกสรรพรูปทั้งปวงกายนอกกาย สัททธาธาตุนั้นไดแกสรรพเสียงทั้งปวง คันธ ธาตุนั้นไดแกสรรพกลิ่นทั้งปวง รสธาตุนั้นไดแกสรรพรสทั้งปวง โผฏฐัพพธาตุนั้นไดแกสรรพสิ่งทั้ง ปวง อันเราทานไดสัมผัสถูกตอง ธัมมธาตุนั้นไดแกเจตสิกทั้ง ๕๒ นั้นแลจักขุวิญญาณธาตุ โสต วิญญาณธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ กายวิญญาณธาตุ นั้นไดแกจักษุวิญญาณ แลโสต วิญญาณแลฆานวิญญาณแลชิวหาวิญญาณแลกายวิญญาณ อันเกิดสําหรับในปญจทวารวิถี มีนัยดัง พรรณนามาแลวนั้น แลมโนวิญญาณธาตุนั้นไดแกจิต ๖๗ คือ มโนทวาราวัชชนะ ๑ ชวนจิต ๕๕ ตทาลัมพณ จิต ๑๑ ผสมเขาเปน ๖๗ ดวยกัน ธาตุนี้มี ๑๘ ประการดุจพรรณนามาฉะนี้ แลอินทรีย ๓๒ นั้น คือจักขุนทรีย ๑ โสตินทรีย ๑ ฆานินทรีย ๑ ชิวหินทรีย ๑ กายินทรีย ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 48 มนินทรีย ๑ อิตถินทรีย ๑ ปุริสินทรีย ๑ ชีวิตินทรีย ๑ สุขินทรีย ๑ ทุกขินทรีย ๑ โสมนัสสินทรีย ๑ โทมนัสสินทรีย ๑ อุเปกขาทรีย ๑ สัทธินทรีย ๑ วิริยินทรีย ๑ สตินทรีย ๑ สมาธินทรีย ๑ ปญญินทรีย ๑ อนัญญตัญญัสสามิตินทรีย ๑ อัญญิทรีย ๑ อัญญาตาวินทรีย ๑ เปน ๒๒ ประการดังนี้ จักขุนทรียนั้นไดแกจักขุประสาท โสตตินทรียนั้นไดแกโสตประสาท ฆานนินทรียนั้นไดแก ฆานประสาท ชิวหินทรียนั้นไดแกชิวหาประสาท กายินทรียนั้นไดแกกายประสาท มนินทรียนั้นไดแก จิต อิตถินทรียนั้นไดแกอิตถิภาวรูป ปุริสินทรียนั้นไดแกปุริสภาวรูป ชีวิตินทรียนั้นไดแกชีวิต สุขินทรีย นั้นไดแกความสุข ทุกขินทรียนั้นไดแกความทุกข โสมนัสสินทรียนั้นไดแกกิริยาที่ชื่นชมยินดี โทมนัส สินทรียนั้นไดแกกิริยาที่นอยเนื้อต่ําใจ อุเปกขินทรียนั้นไดแกกิริยาที่มีสันดานเปนกลางอยู สัทธินทรีย นั้นไดแกศรัทธาอันมีลักษณะใหผองใสใหถือ วิริยินทรียนั้นไดแกความเพียร สตินทรียนั้นไดแกสติ อันมีลักษณะใหระลึก สมาธินทรียนั้นไดแกขณิกสมาธิแลอุปาจารสมาธิแลอัปปนาสมาธิปญญินทรีย นั้น ไดแกปญญาอันมีลักษณะรูพิเศษ อนัญญตัญญัสสามิตินทรียนั้นไดแกโสดาปตติมรรคญาณ อัญญิ นทรียไดแกโสดาปตติผลญาณ สกทาคามิมรรคญาณ สกทาคามิผลญาณ อนาคามิมรรคญาณ อนาคามิผลญาณแลพระอรหัตตมรรคญาณ อัญญาตาวินทรียนั้นไดแกพระอรหัตตผลญาณธรรมชาติ ทั้ง ๒๒ ประการนี้ ไดนามบัญญิตชื่อวาอินทรียนี้ ดวยอรรถวาเปนใหญในกิริยาที่ใหสําเร็จโดยสมควร แกกําลังแหงตน ๆ สําแดงอินทรีย ๒๒ ประการโดยนัยสังเขปยุติการเทานี้ แลพระอริยสัจ ๔ ประการนั้น คือ ทุกขอริยสัจประการ ๑ ทุกขสมุทัยอริยสัจประการ ๑ นิโรธอริยสัจประการ ๑ นิโรธคามินีปฏิปทานอริยสัจประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน ทุกขอริยสัจนั้นไดแกมูลแหงสัตวทั้งปวง แลชาติทุกข แลชราทุกข พยาธิทุกขมรณทุกข เปนตนเปนประธาน ชาติทุกขอันบังเกิดแกสัตวอันอุบัติบังเกิด เอากําเนิดในวัฏฏสงสารนี้ก็ดี ชราทุกขํ อันมีลักษณะกระทําใหอินทรียคร่ําครา ตามืด หูหนัก ฟนหัก แกมตอบ ผิวหนัง หดหูวิการวิกลวิปริตนั้นก็ดี พยาธิทุกข อันมีลักษณะใหปวยไข ลําบากกายอินทรียมีประการตาง ๆ นั้นก็ดี มรณทุกข อันมีลักษณะตัดเสียซึ่งชีวิตอินทรียนั้นก็ดี โสกทุกข อันมีลักษณะใหเดือดรอนพลุงพลานระส่ําระสาย อยู ณ ภายในใจก็ดี ปริเทวทุกข อันมีลักษณะใหรองไหร่ําไรมีน้ําตา อันไหลฟูมฟองนองเนตรอยูนั้นก็ดี ทุกขทุกขอันมีลักษณะกระทําใหจิตหดหูสลดระทดทอดใจใหญอยูนั้นก็ดี อันมีลักษณะให ขัดแคนขึ้งเคียดนอยเนื้อต่ําใจนั้นก็ดี อปายาสทุกข อันมีลักษณะใหสะอึกสะอื่นอาลัยนั้นก็ดี อัปปเยหิสัมปโยคทุกข อันมีลักษณะใหขัดของหมองมัวตรอมใจเปนเหตุประกอบอยูดวย สิ่งอันมิไดเปนที่รักนั้นก็ดี ปเยหิวิปปโยคทุกขอันมีลักษณะใหเศราสรอยละหอยไหในกาล เมื่อพลัดพรากจากที่รักนั้น ก็ดี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 49 ยัมปจฉันงนลภติทุกข อันมีลักษณะใหหมกมุนวุนวายไปในขณะเมื่อปรารถนาสิ่งใด แล มิไดสมปรารถนานั้นก็ดี ทุกขทั้ง ๑๒ ประการ มีชาติทุกขเปนตนนี้เที่ยวยอมเบียดเบียนสัตวทั้งปวงใหไดความทุกข ลําบากเวทนาอันหาทีสุดมิได เหตุฉะนี้กองทุกขทั้ง ๑๒ ประการนี้ จึงไดชื่อวาทุกขอริยสัจ แลทุกขสมุทัยอริยสัจนั้น ไดแกตัณหาอันมีลักษณะใหปรารถนาเบญจกามคุณทั้ง ประการ คือรูปแลเสียงกลิ่นแลรสสัมผัสถูกตอง

ตัณหานั้นมีลักษณะ ๒ ประการ คือ ปรารถนาในกิเลสกามประการ ๑ ปรารถนาในพัสดุกาม ประการ ๑ แลกิเลสกามนั้น คือปรารถนาในที่จะชมเชยชมกามราคะดํากฤษณาแลปรารถนาในความ สรรเสริญเยินยอเเลยศศักดิ์ตบะเตชะ แลปรารถนาบมิใหบุคคลผูอื่นสูงกวาตัว แลเสมอกับดัวยตัวใน เหตุอันยิ่งสรรพทั้งปวง แลพัสดุกามนั้น คือปรารถนาทรัพยอันไมมีวิญญาณคือแกวแหวนเงินทอง ขาวปลาอาหาร ผาผอนแลเครื่องนุงหม เครื่องประดับแลเครื่องใชสอยทั้งปวง แลปรารถนาทรัพยอันประกอบดวย วิญญาณเปนตนวา ชางมาแลขาหญิงขาชายทั้งปวง แลลักษณะแหงตัญหานั้น มีอาการอันมากถึงรอยแปดประการสําแดงแตมาเทานี้ โดยสังเขป แตพอจะใหเปนกระทูความอันจะบังเกิดองคปญญา อันประกอบดวยสังเวชอันกระทรวง แหงตัญหา อันเปนเจาหมูเจากรรมใหญในที่จะใหบังเกิดขึ้นความทุกขทั้งปวงนั้น นักปราชญผูมี ปญญาพึงเขาใจเปนใจความเถิดวา ตัณหาอันมีลักษณะใหปรารถนารูปแลเสียงกลิ่นรสสัมผัสถูกตอง ทั้งปวงนี้ แลเปนรากเปนเงาเคามูล เปนเหตุใหบังเกิดสรรพทุกขทั้งปวง เหตุดังนี้จึงไดชื่อวา ทุกข สมุทัยอริยสัจ นิโรธอริยสัจนั้นไดแกพระนิพพานอันออกตัณหา หนายจาก ราคะ โทสะ โมหะ ดับราคะ โทสะ โมหะ ใหสิ้นสูญจากสันดานพระนิพพานนี้เปนที่ดับเสียซึ่งกองทุกขทั้งปวง มีชาตทุกขเปน ประธาน เหตุดังนั้นจึงไดชื่อวา นิโรธอริยสัจ แลนิโรธคามิรีปฏิปทาอริยสัจนั้น ไดแกอัฏฐังคิกมรรคทั้ง ๘ ประการ คือ สัมมาทิฏฐิ ๑ สัมสังกัปโป ๑ สัมมาวาจา ๑ สัมมากัมมันโต ๑ สัมมาอาชีโว ๑ สัมมาวายาโม ๑ สัมมาสติ ๑ สัมมาสมาธิ ๑ เปน ๘ ประการดวยกัน สัมมาทิฏฐินั้นไดแกปญญาอันเปนโลกีย ตลอดขึ้นไปตราบเทาถึงมรรคญาณผลญาณ สัมมาสังกัปโปนั้นไดแกวิตกในที่ชอบ สัมมาวาจานั้นไดแกถอยคําอันปราศจากวจีทุจริต สัมมากัมมันโตนั้นไดแกกายสมาจาร อันปราศจากกายทุจริต สัมมาอาชีโวนั้นไดแกกิริยาที่เลี้ยงชีวิต เปนธรรม สัมมาวายาโมนั้น คือปฏิบัติในสัมมัปปธานทั้ง ๔ สัมมาสตินั้นคือปฏิบัติในสติปฏฐานทั้ง ๔ สัมมาสมาธินั้นไดแกขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ พระอัฏฐังคิกมรรค ๘ ประการนี้เปนหนทางอันตรง สําหรับที่จะปฏิบัติใหไดสําเร็จพระ นิพพาน อันเปนที่ระงับดับกองทุกข เหตุดังนั้นจึงไดชื่อวานิโรธคามินีปฏปทาอริยสัจ แลปฏิจจสมุปปาทาธรรมที่จัดพื้นที่ ใหพิจารณาเอาเปนอารมณแหงวิปสสนากรรมฐานนั้น เปนประการใด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 50 แลปฏิจจสมุปปาทธรรม มีกระทูความตามที่สมเด็พระพุทธองคตรัสเทศนาวา อวิชชาคือโมหะนั้น เปนปจจัยใหบังเกิดสังขาร คือกุสลากุสลจิต สังขารนั้นเปนปจจัยให บังเกิดวิญญาณ คือปฏิสนธิวิญญาณนั้นเปนปจจัยใหบังเกิดนามธรรมแลรูปธรรม นามรูปนั้นเปนปจจัย ใหบังเกิดผัสสะ มีจักขุสัมผัสเปนตน ผัสสะนั้นเปนปจจัยใหบังเกิดสุขเวทนา ทุกขเวทนา โสมนัสส เวทนาโทมนัสสเวทนา อุเบกขาเวทนา เวทนานั้นเปนปจจัยใหบังเกิดตัณหา ตัณหานั้นเปนปจจัยให บังเกิดอุปาทานคือ ตัณหาที่กลาหาญมีกําลัง อุปาทานนั้นเปนปจจัยใหบังเกิดกัมมภพแลอุปปตติภพ ภพนั้นเปนปจจัยใหบังเกิดชาติ ๆ นั้นเปนปจจัยใหบังเกิดชราแลมรณะแลโสกปริเทวทุกข โทมนัสส ทุกข อุปายสทุขโทมนัสส อุปายาส สรรพความรําคราญเคืองเครื่องเศราหมองทั้งหลายอันมากกวา มากทั้งสิ้น เฉพาะมีแกบุคคลอันยังประกอบดวยอวิชชา อวิชชานุสัยยังนอนนิ่งอยูในสันดานตราบใด ออกจากกระเปาะอวิชชาไมไดตราบใด สรรพทุกขทั้งปวงมีโสกเปนอาทิก็มีอยูตราบนั้น ครั้นโสกเปน อาทิครอบงําแลวก็หลงในวัตถุในอารมณ หลงในสัตวในสังขารในภพแลบุคคลหลงในทุกขเปนอาทิ สิ้นสติสมปฤดีอาการดังบา เพราะเหตุมีโสกเปนอาทิครอบงําครั้นหลงไปไมรูสึกตนดังนี้แลวก็เปน โอกาสแหงอวิชชาบังเกิดในกาลเมื่อนั้น โสกเปนอาทิเปนปจจัยแกอวิชชาโดยแท ประการหนึ่ง โสกเปนอาทิก็บังเกิดเปนแตกามาสวะ ในขณะบุคคลวิโยคพลัดพรากพัสดุ กามแลกิเลสกาม แลอาสวะทั้งหลายคือทิฏฐาสวะภวาสวะ ก็บังเกิดดวยโสกปริเทวทุกขโทมนัส เหมือนกัน อันวาเทพยดาทั้งหลายมีอายุยืน บริบูรณดวยสีสัณฐพรรณมากดวยสุขสถิตสถาพรยืนนาน ในวิมานอันสูง อันวาเทพยดาทั้งหลายนั้น ครั้นไดฟงพระสัทธรรมเทศนาแหงสมเด็จพระสุคตทศพล ญาณถึงซึ่งภัยความกลัวสะดุงจิต เกิดสังเวชตาง ๆ อันบังเกิดแกเทพยดา เมื่อเบญจวรรณบุพพนิมิต บังเกิดนั้นครั้นแลวก็เกิดอัสสาทะ มีกําลังดวยฉันทราคะอาลัยในอุปปตติภพ คือขันธอันบังเกิดแตกรรม นั้นขณะนั้นภวาสวะก็บังเกิดอวิชชาสวะก็พลอยบังเกิด เหตุดังนั้นจึงไดชื่อวาโสกปริเทวะเปนอาทิเปน ปจจัยแกอวิชชาดวยประการดังนี้ เมื่ออวิชชาเปนปจจัยเปนมูลมีแลว สังขารเปนปตยุบันก็มีอันบังเกิดดวย สังขารเกิดแลว วิญญาณก็เกิดดวยตราบเทาถึงชรามรณะใหมเลาเหตุผลเปนปรัมปราสืบ ๆ แหงเหตุผลสืบเนื่องกันหา ที่สิ้นที่สุดลงมิไดเหตุ ฉะนั้นภวจักรมีองค ๑๒ มีอวิชชาเปนตน มีชรามรณะเปนที่สุดนั้นประพฤติเปนไป ผูกเนื่องดวยเหตุแลผลหาที่สุดลงมิได จึงชื่อวาสําเร็จกิจดวยโสกเปนอาทิ มีคําปุจฉาตอไปเลาวา เมื่ออวิชชาประพฤติเปนไปหาที่สุดระหวางลงมิไดดังนั้น ถาจะวา อวิชชาเปนกลางอวิชชาเปนปลายก็จะไดอยู คําที่วา “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา” ดังนี้ กลาวดวย สามารถอวิชชาเปนตนก็ผิด วิสัชนาวาคําที่วา “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา” จะไดกลาวดวยสามารถเปนตนนั้นหามิได กลาวไวเปนประธานตางหาก เพราะเหตุอวิชชานี้เปนประธานแกวัฏฏะทั้ง ๓ คือ กิเลสวัฏฏ กัมมวัฏฏวิ ปากวัฏฏ เมื่ออวิชชาบังเกิดขึ้นดวยวัตถุอารมณสัมผัส แลเกิดขึ้นดวยอาสวะโสกเปนอาทิก็ดี แล อวิชชานุสัยที่ยังละเสียมิไดก็ดี อวิชชาเหลานี้แลเปนอาสันนะเหตุเปนประธานที่จะใหวัฏฏะธรรม บังเกิด แลวัฏฏะทั้ง ๓ บังเกิดแลวรัดรึงเกี่ยวกระหวัดไวในคนพาลในสังสารวัฏฏะอันแวดลอมไปดวย ทุกขตาง ๆ เหตุจับมั่นซึ่งอวิชชา คือวายังมิไดละเสียซึ่งอวิชชาอันเปนประธาน ดุจหนึ่งวา ขนดตัวแหง อสรพิษซึ่งกระหวัดเขาซึ่งแขนแหงบุคคล อันจับมั่นซึ่งศีรษะแหงอสรพิษอันเต็มไปดวยพิษมิไดละเสีย นั้น ตอเมื่อใดตัดเสียไดซึ่งอวิชชา ดวยอรหัตตมรรคประหารแลวก็พนจากวัฏฏะธรรมทั้ง ๓ ประกอบ เมื่อนั้นดุจหนึ่งตัดศีรษะแหงอสรพิษขาดแลว แลสละเสียซึ่งขนดตัวแหงอสรพิษจากแขนนั้น สมดวย วาระพระบาลี “อวิชฺชยเตฺวว อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ” แปลวา “สงฺขารนิโรโธ” อันวา ความดับซึ่งสังขาร เหตุชื่อวาอวิชชาหาเศษมิได ดวยพระอรหัตแทจริง เหตุดังนั้นจึงกลาววาสังขาร บังเกิดแตอวิชชาเปนปจจัยนี้ ดวยสามารถอวิชชาเปนประธานธรรมเทานั้น จะไดกลาวดวยสามารถเปน ตนนั้นหามิได นักปราชญพึงรูวาภวจักรหาที่สุดลงบมิไดดวยประการฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 51 อนึ่ง ภวจักรปราศจากผูแตงผูกระทํารูเสวยนั้นหตุใด แลสังขารเปนอาทิที่เปนผลนั้น ประพฤติเปนไปแตเหตุทั้งหลายมีอวิชชาเปนอาทิสิ่งเดียว ภวจักรนั้นก็ไมมีผูตกแตงคือพรหมแลปชา บดีมเหศวรอันสัตวนับถือ พระพรหมผูประเสริฐตกแตงโลก เปนโลกบิดาวามานี้ก็เปลาสิ้นทั้งนั้น อนึ่ง เปลาจากตัวตน ผูจะเสวยสุขทุกขทั้งปวง เหตุดังนั้นจึงไดชื่อวาภวจักรปราศจากผู ตกแตงผูกระทํา ไมมีบุคคลผูเสวยดวยประการฉะนี้ อนึ่งเลา ภวจักรนี้สูญเปลาจากสภาวะเที่ยงจริง เหตุมีเกิดแลดับอยูทุกเมื่อสูญจากสภาวะ งาม เหตุเปนธรรมอันเศราหมองกอปรไปในธรรมอันเศราหมองเปลาจากสุข เหตุมีเกิดแลดับ เบียดเบียนอยูเปนนิจนิรันดร สูญเปลาจากตน ไมประพฤติตามอํานาจแตงตน เหตุประพฤติเนื่องอยู ดวยปจจัยของตน สังขารทั้งปวงมีอวิชชาเปนอาทิมิใชตน มิไดเปนของตนมิไดในตนมิไดอํานาจแหง ตน จึงไดชื่อวาภวจักรเปนสุญญตาสูญเปลาดวยประการดังนี้ เมื่อนักปราชญรูแจงวา ภวจักรมีองค ๑๒ มีอวิชชาสําเร็จดวยโสกเปนตน มีเบื้องตนมิได ปรากฏ ปราศจากผูกระทําเสวยเปลาจากตัวตนดังนี้แลว พึงรูซึ่งมูล ๒ แลอัทธา ๓ มูล ๒ นั้น คือ อวิชชาเปนมูล ๑ ตัณหาเปนมูล ๑ เปนมูล ๒ อัทธา ๓ นั้น คือ อดีตอัทธา ๑ ปจจุบันอัทธา ๑ อนาคตอัทธา ๑ อวิชชาสังขารทั้งปวงนี้ จัดเปนอดีตอัทธา วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภาวะ ๘ นี้จัดเปน ปจจุบันอัทธา ชาติ ชรา มรณะ ๓ นี้ จัดเปนอนาคตอัทธา อนึ่ง ภวจักรอันเดียวจัดเปน ๒ ดวยสามารถแหงมูล ๒ คือ ตัณหา อุปาทาน ภวะ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา นับเปนหนึ่งชื่อวาอวิชชาเปนมูลตัณหาที่เปนมูลนั้น ตั้งตัณหาเปน ประธานดังนี้ ตัณหา อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา อุปาทาน ภวะ ชาติ ชรา มรณะ นับเปนหนึ่งชื่อวาตัณหาเปนมูล แลภวจักรทั้ง ๒ นั้น ฝายอวิชชามูลภวจักร สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสเทศนาดวย อํานาจแหงสัตวเปนทิฏฐิจริต มากดวยทิฏฐิ สวนตัณหามูลนั้น พระพุทธองคตรัสเทศนา ดวยอํานาจแกสัตวเปนตัณหาจริต มากดวย ตัณหา อนึ่ง อวิชชามูลนั้น พระพุทธองคตรัสเทศนา ดวยอวิชชาเปนสังสารนายกแกทิฏฐิจริต บุคคล ประการหนึ่งอวิชชามูลภวจักรนั้น พระพุทธองคเจาตรัสเทศนาเพื่อจะสําแดงแจงซึ่งผลมิได ขาดแหงเหตุ เพราะผลยังเกิดเพื่อจะเพิกเสียซึ่งอุจเฉททิฏฐิ สวนตัณหามูลภวจักรนั้น พระพุทธองคเจาตรัสเทศนาเพื่อจะสําแดงแจงซึ่งชรามรณะแหง สัตวทั้งหลายอันบังเกิดมานี้ เพื่อจะเพิกเสียซึ่งสัสสตทิฏฐิ อนึ่งอวิชชามูล พระพุทธองคเจาเทศนา เพื่อจะสําแดงซึ่งลําดับแหง สัขาร วิญญาณ นาม รูป สฬายตนะ แหงศัพภไสยกสัตว อันมีอายตนะอันบังเกิดโดยลําดับ ตั้งรูปแรกแตกลละรูปนั้น ฝายตัณหามูล พระพุทธองคเจาเทศนา เพื่อจะสําแดงซึ่งอุปปติกะ สัตวทั้งหลายมีอายตนะ เปนอาทิ บังเกิดพรอมกันในขณะเดียวแตแรกปฏิสนธิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 52 นักปราชญพึงสันนิษฐานเขาใจเถิดวา ภวจักรนี้ มีสนธิ ๓ สังคหะ ๔ มีอการ ๒๐ มีวัฏฏะ ๔ ภวจักรพัดผันไปหาที่สุดลงมิได สมาธิ ๓ นั้น คือ ระหวางสังขารกับปฏิสนธิวิญญาณตอกันชื่อวาเหตุแลสนธิอัน ๑ ระหวางเวทนากับตัณหาตอกัน ชื่อวาผลเหตุสนธิอัน ๑ ระหวางภพกับชาติตอกัน ชื่อวาเหตุบุพพกผลสนธิอัน ๑ เปน สนธิ ๓ ดังนี้ เบื้องตนแลเบื้องปลายแหงสนธิทั้งหลาย เปนสังคห ๔ คือ อวิชชากับสังขารเปนสังคหะ อัน ๑ วิญญาณกับนามรูปสฬายตนะผัสสะเวทนาเปนสังคหะอัน ๑ ตัณหากับอุปาทานภวเปนสังคหะ อัน ๑ ชาติกับชรากับมรณะเปนสังคหะอัน ๑ เปนสังคหะ ๔ ดังนี้ อาการ ๒๐ นั้น คือ “อดีต เหตุโย ปฺจ อิทานิ ผลปฺจกํ อิทานิ เหตุโย ปฺจอายตึ ผลปฺจกํ” ดังนี้เปนอาการ ๒๐ ดวยกัน แลอดีตเหตุ ๕ นั้น คือ อวิชชาสังขารเปนเดิม ไดแกคนพาล ครั้นอวิชชาครอบงําแลวก็หลงอยูในอวิชชา ก็ยินดีปรารถนาซึ่งอารมณ ตัณหาก็บังเกิด ครั้นตัณหาบังเกิดแลวก็ถือมั่น อุปาทานก็เกิด ครั้นอุปาทานเกิดแลวเจตนาก็บังเกิด เหตุดังนั้นแล ตัณหาอุปาทานภวะนี้ พระพุทธองคถือเอาดวยอวิชชาศัพทเปนอดีต เหตุ ๕ คือ อวิชชา สังขาร “ปุริมกมฺมภวสฺมึ โมโห อวิชฺชา ตัณหา อุปาทาน ภวะ นี้สมดวยพระพุทธฎีกาตรัสบัณฑูรไววา อายุหนา สงฺขารา นิกนฺติ ตณฺหา อุปคมนํ อุปาทานํ เจตนา ภโว อิติ อิเม ปฺจ ธมฺมา ปุริมกมฺม ภวสฺมึ อิธปฏิสนฺธิยา ปจฺจโยติ” แปลวา อันวาหลงอันใดในทุกขอริยสัจเปนตน แลบุคคลหลงดวย โมหะอันใด แลกระทําตาง ๆ มีกายทุจริตเปนอาทิ หลงนั้นคืออวิชชา เมื่อบุคคลกระทํากรรมอันนั้น ปุริมเจตนาอันใดบังเกิดขึ้นปรารภวาจะใหทานแลจัดแจง เครื่องอุปการะไวนาน แตเดือนหนึ่งปหนึ่งแลวแลประดิษฐานนั้นถึงมือปฏิคคาหก เจตนานั้นชื่อวาภาวะ อันหนึ่งชวนะเจตนาทั้ง ๖ ในตน ในอาวิชชนะวิถีอันเดียว ชื่อวาอายุหนสังขารสัตตมะชวนะเจตนา ชื่อ วาภวะอันหนึ่งเจตนาทั้งปวงชื่อวาภวะธรรมอันสัมปยุตดวยเจตนาชื่อวาอายุหนสังขาร ไดแกอดีต สังขาร แลความปรารถนาจะเกิดในเมืองฟาเมืองสวรรค กระทํา ความปราถนานั้นชื่อวาตัณหา

ในพิภพอันใดดวยผลแหงกรรมที่ตน

“อุปคมนํ” อันวาเขาใจผิดอันใด กวาหระทํากรรมนี้แลวเราจะไดเสพกามคุณสุขในที่อันมี ชื่อโนน เราไดกระทํากรรมนี้แลว เราจักขามพนจากฐานที่นี้ เขาใจผิดถือมั้นดังนี้ ชื่อวาอุปาทาน อันวาเจตนาแหงทายกอันตกแตง วัตถุทานยกยื่นใหแกปฏิคคาหกก็ดี แลสัตตมะชวะ เจตนาก็ดี เจตนาอันใดชื่อภวะ ธรรม ๕ ประการนี้แลชื่อวา “อดีเต เหตุโย ปฺจ อิทานิ ผลปฺจกํ” ผล ๕ นั้น คือ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา เปนปจจุบัน แตเหตุ ๕ อันเปน อดีตเหตุนั้น ยุติดวยวาระพระบาลีพระพุทธฎีกาตรัสบัณฑูรไววา “อิธ ปฏิสนฺธิ วิฺญาณํ โอกนฺติ” นามรูป ปสาโท อายตนํ ผุฏโฐ ผสฺโส เวทยิตํ เวทนา อิติ อิเม ปฺจ ธมฺมา” แปลวา “ยํ จิตฺต”ํ อันวาจิตอันใดนักปราชญกลาววาปฏิสนธิ “อิธ ภะว” ในปจจุบันภพนี้ เหตุบังเกิดขึ้นแลวแล สืบตอกันเขากับภพ “ตํ จิตฺต”ํ อันวาจิตนั้น “วิญญานํ” ชื่อวาวิญญาณ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 53 อันวาหยั่งลงอันใดแหงรูปนาม ดุจมาแลวแลเขามา “คพฺเภ” ในครรภแหงมารดา กิริยาที่ หยั่งลงนี้ชื่อวานามรูป “โย ปสาโท” อันวาผองใสอันใดแหงวิญญาณทั้งหลาย อายตนะ ๕ มีจักขวายตนะเปนตน

ผองใสนั้นชื่ออายตนะ

คือ

“โย ผสฺโส” อันวาผัสสะอันใดถูกตองซึ่งอารมณ ดุจรูรูปธรรมแลวบังเกิด อันวาถูกตอง อารมณนั้นชื่อวาผัสสะ “ยํ เวทยิตํ” อันวาเสวยรสแหงอารมณอันใด อันบังเกิดพรอมดวยผัสสะ อันมีปฏิสนธิ วิญญาณเปนปจจัยก็ดี อันมีสาฬยตนะเปนปจจัยก็ดีอันวาเสวยซึ่งรสแหงอารมณนั้น อันวาธรรมชาตินั้น ชื่อวาเทวนา อันวาธรรม ๕ ประการนี้แลเปนปจจัยแหงกรรม อันกระทํากอนในภพโนน “อิทานิ เหตุโย ปฺจ” เหตุ ๕ ประการในปจจุบันภพนี้ คือ ตัณหา อวิชชา สังขาร อุปาทาน ภวะ ปจจุบันเหตุดังนี้ ตั้งตัณหา อุปาทาน ภวะ เปนเดิม อวิชชามาเขาดวยตัณหา อุปาทานศัพท สังขารมาเขา อีกดวยภาวะศัพท เปนปจจุบันเหตุ ๕ ประการ ยุติดวยวาระพระบาลีวา “อิธ ปริปกฺกตฺตา อายตนานํ โมโห อวิชฺชา อายุหนา สงฺขารา นิกนฺติ ตณฺหา อุปคมนฺ อุปาทานํ เจตนา ภโว อิติ อิเม ปฺจ ธมฺมา” โมโห อันวาหลงในธรรมทั้งหลายดุจกลาวมาแลว แหงสัตวทั้งหลายมีอายตนะอันแกกลา ชื่อวาอวิชชา อธิบายวาสัตวอยางนอย ๆ มีจิตสันคติ จิตประหวัดทุพพลภาพมิอาจกอสรางชนกกรรมทั้ง ปวงได ตอเมื่อมีอายตนะแกกลาจึงจะสําเร็จเจตนากรรมได เหตุดังนั้น ครั้นมีอินทรียแกกลาแลว ประกอบกรรมอันใดในขณะใด อวิชชาก็บังเกิดดวยในขณะนั้น อรรถาธิบายพิเศษ นักปราชญพึงรูเถิดดุจกลาวนั้นเถิด “อายตึ ผลปฺจกํ” ผล ๕ นั้น คือ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ชื่อวาเปน ผลในอนาคต เหตุธรรม ๕ ประการ มีวิญญาณเปนอาทินี้ จัดเปนปจจุบันนี้อัทธาเปนผลแท อาจารยกลาวดวยชาติศัพท เพราะชาติธรรมนั้น เปนอนาคตอัทธา เปนสวนอนาคต ฝาย ชรามรณะเปนชรามรณะของวิญญาณเปนตน คือ ชรานาม ชรารูป แลมรณะแหงนาม แลรูปสมดวย วาระ พระบาลีวา “อายตึ ปฏิสนฺธิ วิฺญาณํ โอกนฺติ นามรูป ปสาโท อายตนํ ผุฏโ เวทนา อิติ อิเม ปฺจ ธมฺมา” ความแปลกก็เหมือนกัน เปนการ ๒๐ ดวยกันชื่อวาภวจักร มีอาการ ๒๐ ดัง พรรณนามาฉะนี้ อนึ่งเลาธรรม ๕ ประการดังกลาวมาแลว ในปุริภพชื่อวากัมมสัมภารธรรม ๕ ประการ ใน ปจจุบันภพชื่อวาวิปากธรรม ธรรม ๕ ประการในปจจุบันภพชื่อวากัมมสัมภาร ธรรม ๕ ประการในอนาคตชื่อวาวิปากธรรม จัดเปนกรรม ๑๐ ประการ จัดเปนวิบาก ๑๐ ประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 54 กรรม แลวิบาก ๒ ประการนี้ ชื่อวากัมมสังเขป วิบากสังเขป ชื่อวากัมมวัฏฏ วิบากวัฏฏ ชื่อ วากัมมปวัตติ วิบากปวัตติ ชื่อวากรรมสันตติ วิบากสันตติ ชื่อวากิริยาเหตุแลกิริยาผลเหตุดังนั้นอันวา ภวจักรนี้ “สเหตุก”ํ ประกอบดวยเหตุ ประกอบดวยทุกขัง อนิจจัง อันตตา มีสภาวะฉิบหายตาง ๆ มิไดดวยเหตุแท มีแตเกิดแลดับอยูเปนนิจนิรันดรไมตั้งอยูนานสิ้นกาลเทาใดคอยแตที่จะผันจะแปล พิการอยูดวยพลันดับดวยพลันสูญ ไมยืนไมยาว ไมแข็งไมกลา พลันผุ พลันทําลาย คอยที่จะหาผล แหงตน คือ ชราแลมรณโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสอยูทุกเมื่อจะมีสัตวมีบุคคลตนเองแลผูอื่นจะ มีในธรรมนี้บางหาบมิไดเลยเปนเหตุกับผลแทจริง เหตุใดดังนั้น “ ธมฺโม พุทฺเธน เทสิโต” อันวาพระจตุราวิยสัจจธรรมแลมรรคตราบเทาถึงอัคคมรรค ญาณ สมเด็จพระพุทธองคทรงตรัสบัญฑูรไวเพื่อจะใหดับเหตุธรรมมูลธรรม คือ อวิชชา ตัณหา อันวาศาสนพรหมจารย คือ ศีล สมาธิ ปญญา สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสเทศนาไวเพื่อ จะใหสิ้นแหงวัฏฏทุกขเมื่ออวิชชาตัณหาดับไดแลว อันวาวัฏฏทุกขทั้ง ๓ อันตัดขาดแลวดวยอัคค ญาณเปนที่สุด ตราบใดวัฏฏะนั้นก็บมิไดเปนไป คือวาจักรมีพัดผันไปตราบนั้น เมื่อสัตวบุคคลมิไดมีใน ธรรมอันเนื่องดวยเหตุนั้นแลว ฝายอุจเฉททิฏฐิแลสันนติทิฏฐิก็หามิไดในเมื่อนั้น “ติยทเมวํ ภูมฺมานํ ” อันวาภวจักรนี้เมื่อผัดผันไป ดุจนัยกลาวมาแลว นัก ปราชญพึงรูโดย มาติกาอุเทศวาร ๕ ประการโดยสมควรใหมเลา คือ สัจจปภวะ ๑ กิจจะ ๑ วารณะ ๑ อุปมา ๑ คัมภีร นัย ๑ สัจจปจจปภวะนั้น มีนัยทีพระอรรถกถาจารยเจาสําแดงมาในสัจจนิเทศในลําดับนั้นแลว กิจจะนั้นคือภวจักรทั้ง ๑๒ นี้ มีกิจจะสอง ๆ คือสําเร็จกิจ แลเปนปจจัยแกธรรมอันอื่น เหตุ ใดอวิชชา ยังสัตวทั้งหลายอันกอปรดวยอวิชชาใหหลงในอริยสัจ แลหลงในวัตถุ ดวยสามารถปดเสีย ซึ่งอริยสัจแลวัตถุแลว ก็เปนปจจัยใหสังขารบังเกิด ฝายสังขาร

มีกิจจะตกแตงซึ่งสังขตธรรม

อันควรตนจะพึงตกแตงแลวก็เปนปจจัยแก

วิญญาณ สวนวิญญาณ รูซึ่งอารมณแลวก็เปนปจจัยแกนามรูป ฝายนามเลา ค้ําชูอุดหนุนซึ่งกันและกันดุจไมออสองมัด แลวก็เปนปจจัยแกสฬายตนะ สวนสฬายตนะประพฤติเปนไปในอารมณเฉพาะแหงตนมีรูปารมณเปนตนแลวก็เปนปจจุย แกสัมผัส ฝายวาสัมผัสถูกตองอารมณแลว ก็เปนปจจัยแกเวทนา สวนเวทนา เสวยรสแหงอารมณแลว ก็เปนปจจัยแกตัณหา ฝายตัณหา กําหนดในอารมณอันควรจะกําหนดแลว ก็เปนปจจัยแกอุปาทาน สวนอุปาทาน ถือมั่นในธรรมอันพึงถือเอาแลว ก็เปนปจจัยแกภวะ ฝายภวะซัดไปซึ่งสัตวในคติตาง ๆ แลว ก็เปนปจจัยแกชาติ ฝายชาติ ยังอุปาทินนกขันธในภพกําหนดคติตาง ๆ แลวก็เปนปจจัยแกชรามรณะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 55 สวนชรามรณะ อาศัยซึ่งความแกขึ้นแลทําลายแหงขันธทั้งหลายแลวก็เปนปจจัยใหปรากฏ ในภพอื่น เหตุเปนที่เกิดโสกเปนตน เหตุดังนั้น ภวะจักรนี้ประพฤติเปนไปโดยกิจละสอง ๆ ในบททั้งปวง นักปราชญพึงรูโดย สมควรนั้นเถิด วารณะนั้น คือหามเสียซึ่งมิจฉาทัสสนะเห็นผิดในธรรมทั้งหลาย คือ “ อวิชฺชาปจฺจยา สงฺ ขารา” บทนี้พระพุทธองคเจาตรัสเทศนาประสงคจะหามเสียซึ่งความเห็นผิดแหงสัตว อันถือวาโลก แลตัวตนมีผูแตงมีผูกระทํา อนึ่ง “ สงฺขารปจฺจยา วิฺญาณํ” บทนี้ พระพุทธองคตรัสเทศนา เพื่อจะหามเสียซึ่ง ความถือผิดวาดวยตัวตนออกจากภพนี้แลวยางไปสูภพอื่น “ วิฺญาณปจฺจยา นามรูป” บทนี้เทศนา เพื่อจะหามเสียซึ่งฆนสัญญา คือสัตวถือวาตน เปนแทงเปนกอนแหงปญจขันธอันมิไดเปนแทง แลทําลายแหลกไปเปนจุรณะวิรุณรออยูนั้น ดุจบุคคล ผาผลเมล็ดตาลเปนสองซีกฉะนั้น “นามรูปปจฺจยา สฬายตานํ ” เปนอาทิ บทนี้ตรัสเทศนาไวประสงคจะหามเสียซึ่งเห็น ผิดวา เห็นตน ตนฟง ตนสูดดมลิ้มเลียถูกตอง ตนรู ตนสัมผัส ตนเสวยอารมณ ตนปรารถนา ตนถือเอา จับเอาซึ่งวัตถุ ตนกอสราง ตนเกิด ตนแก ตนตาย ในสภาวธรรมอันเปลาจากตนมีผูใดเห็นเปนอาทิ เหตุดังนั้น ภวจักรพระองคเจาตรัสเทศนา เพื่อจะหามเสียซึ่งถือมั่นมิจฉาทิฏฐิตาง ๆ วาโลกแลตัวตนมี ผูกระทําดังนี้ อุปมานั้นคือ อวิชชามิใหเห็นจริงแทแหงสภาวธรรมทั้งหลายอันเปนแตนามรูปโดนสามัญ ลักษณะนั้นหามิไดเลย ดุจคนตามืดทั้งสองขางมิไดเห็นซึ่งสรรพรูปารมณทั้งปวงนั้น แลวอวิชชามา เปนปจจัยใหบังเกิดสังขาร เจตนาเปนเหตุใหเกิดทุกขเลา ดุจหนึ่งคนตามืดไมเห็นทางมืดแลพลาดไป นั้น แลวสังขารเปนปจจัยใหบังเกิดวิญญาณอันจะตกแตงไปสูภพอื่นเลาดุจหนึ่งคนตามืดพลาดแลวแล ลมลง แลวิญญาณมาเปนปจจัยใหเกิดเปนนามรูป อันประกอบดวยทุกขธรรมตาง ๆ อันมีอยู สําหรับภพที่เกิดนั้น แลประกอบดวยสังกิเลสธรรมเปนอันมาก มีอยูในที่เกิดนั้นดุจคนตามืดพลาดลม ลงแลวแลตองเสี้ยนหนามเกิดวิการฟกซ้ํานั้น แลวนามรูปมาเปนปจจัยใหเกิดสฬายตนะอันเปนบอเกิด แหงสังขารทุกข ดุจฟกซ้ําแกขึ้นจวนจะทําลายแลวมีตอมนอย ๆ คือกาฬผุดขึ้นแซมเลา สฬายตนะ มาเปนปจจัยใหเกิดผัสสะ มีกิจกระทบถูกตองซึ่งอารมณดุจคนตามืด ประมาท แลกระทบถูกแผลที่ฟกซ้ํานั้น แลวผัสสะมาเปนปจจัยใหเกิดเวทนาอันเปนสุขเวทนา ทุกขเวทนา แล อุเบกขาเวทนา ใหสฬายตนะทั้งมวล ดุจความเจ็บอันบังเกิดเขานั้น แลวเวทนาเปนปจจัยใหบังเกิด ตัณหา คือความปรารถนากามภพ รูปภพ อรูปภพ ดุจหนึ่งปรารถนาเพื่อจะพยายาลซึ่งความเจ็บนั้น แลวตัณหาเปนปจจัยใหบังเกิดอุปาทาน อันถือมั่นเขาใจผิดในธรรมทั้งหลายมีกามภพเปน อาทิอันเปนพิษนั้น ดุจปรารถนาจะเยียวยาพยาบาลซึ่งความเจ็บ แลวแลทายากินยาผิดสําเเดงอันมิ ชอบโรคนั้น แลวอุปาทานมาเปนปจจัยใหบังเกิดภพ อันซัดไปซึ่งสัตวในภพคติตาง ๆ ดุจยาทามิชอบ โรคในอุปาทินนกสรีระ แลวภวะมาเปนปจจัยใหบังเกิดชาติ อันสะสมอยูดวยทุกขเปนอันมาก มีคัพโภกันติมูลทุกข

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 56 เปนอาทิ ดุจหนึ่งวาเกิดกําเริบแหงฟกซ้ําเปนบุพโพโลหิต เพราะเหตุทายาพอกยาอันมิชอบโรคนั้น แลวชาติมาเปนปจจัยใหบังเกิด ชรา มรณะ อันคร่ําคราทําลายจากปจจุบันขันธ ดุจหนึ่งวา แตกทําลายออกแหงฟกซ้ํา เหตุวาวิการแกขึ้นดวยบุพโพโลหิตเทานั้น อุปมาอุปไมยวิเศษ ในภวจักรมีองค ๑๒ นี้ เปนเอกัฏฐานุปมาเปรียบเฉพาะแตอันธกบุรุษ สิ่งเดียว ดวยอุปไมยภวจักรแตละบท ๆ พระอรรถกถาจารยเจาปรารถนาจะเปรียบอุปมานานาฐาน จึง ยกบทบาลีสืบใหมเลาวา “ ยสฺมา วา ปน” เปนอาทิเหตุใหแลอวิชชาครอบงําสัตวทั้งหลายใหหลงมิ ใหรูเห็นซึ่งสภาวะธรรม คือทุกขแลพระไตรลักษญณญานเปนอาทิ แลใหรูเห็นวาวิปริตผิดจาก สภาวะธรรมดุจตอแลฝาอันปดเสียซึ่งมังสจักษุ มิใหเห็นสรรพรูปารมณทั้งปวง แทจริงธรรมดาวา บุคคลมีตอแลฝาเขาปดจักษุอยูแลวก็มิไดเห็นรูปทั้งปวง แมจะเห็นบาง ราง ๆ เลา ก็เห็นวิปริตพรางพรายไปไมเห็นแจงฉันใดก็ดี บุคคลที่มีอวิชชาครอบงําแลวก็มิไดบัญญัติ เปนสัมมาปฏิบัติ ถาปฏิบัติเลาก็ปฏิบัติแตผิด มิใชทุกขอริยสัจเปนตน ถาเห็นเลาก็เห็นแตที่ผิดมี อุปไมยฉันนั้น ประการหนึ่งคนพาล ครั้นมีอวิชชาครอบงําแลวก็กอสรางแตสังขารธรรม ๆ เกี่ยวพันตัวไว ดวยสังขาร อันจะนอมนําตนไปเกิดใหมเกิดอีกใยภพหาที่สุดมิได ดุจหนึ่งตัวดวงแมลงหุมพันตนไว ดวยฝงรังเหตุสังขารกระทําแตจะใหวนเวียนอยูภายในแหงวัฏฏะทั้ง ๓ คือ กัมมวัฏฏ กิเลสวัฏฏ วิ ปากวัฏฏนั้น สวนวิญญาณ ครั้นไดสังขารเปนผูอุปถัมภกแลว ก็ไดชึ่งที่พึ่งในคติตาง ๆ ดุชราชกุมาร ครั้นปริณายกคือ เชฏฐามาตยชวยอุปถัมภกแลวก็ไดสําเร็จแกสิริราชสมบัติเหตุวิบากวิญญาณนิยมอุป ปตนิมิต กระทําอุปปตติภพเปนอารมณ คือหนายวาภพอันตนจะพึงไปบังเกิด อธิบายวาวิญญาณนี้ กําหนดตามสังขารทั้ง ๓ กอง มีกามาพจรกุศลเปนตน ตนก็เล็ง กามาพจรและกระทํากามาพจรเปนอารมณยังนามรูป คืออุปตติขันธเปนอันมาก คือ เทวดา มนุษย ดิรัจฉานนกเนื้อนอนใหญ ดวยหนอนเปนอาทิ ในปฏิสนธิกาลแลประวัติกาลดุจคนมายากระทํามายา ลอลวง สําแดงไมจริงตาง ๆ ฝายสฬายตนะ ตั้งมั่นในนามแลรูปก็ถึงซึ่งเจริญแพรหลายไพบูลยภาวะวิเศษดวยที่ตั้ง ดุจ หนึ่งกอไมอันตั้งอยูในภูมิอันดี สวนผัสสะเลา ก็บังเกิดสัมผัสแหงอายตนะทั้ง ๒ คืออัชฌัตติกายตนะพาหิรายตนะ เปนวิส ยีสยาธาร เฉพาะหนาตอกันแลกันนั้น ดุจไฟอันบังเกิดดวยธนูไมเปนสีไฟทับฝนซึ่งกันแลกันนั้น สวนตัณหา ครั้นเสวยเวทนาอันเปนสุข ปรารถนาสุขอันอื่นอีกไดเสวยทุกขแลวปรารถนาหา สุขก็เจริญยิ่งขึ้นไปอีก ดุจบุคคลถูกไฟแลวอยากน้ําหาไดกินซึ่งน้ําเกลือ แลวแลกระหายอยากน้ํานั้น ฝายอุปาทาน เมื่อบุคคลอยากยินดีที่จะบังเกิดในภพแลว ก็ถือมั่นซึ่งสังขารทุกขในภพที่ เกิดตามตัณหานั้น ดุจบุคคลอยากน้ําแลวไดกินซึ่งน้ําระงับความอยากน้ํา สวนภาวะเลา เมื่อบุคคลไดซึ่งที่เกิดแลวก็ยินดีดวยตัณหาทิฏฐิอันถือมั่นผูกพันในภพ อัน พรอมเพรียงดงยทุกขอันนํามาซึ่งความฉิบหายดุจปลาอันโลภในเหยื่อแลวคาบกินซึ่งเบ็ดอันเกี่ยวกับ เหยื่อนั้น ฝายชาติเลา เมื่อภพมีแลวก็มีดวย ดุจพืชมีแลวหนอก็มีดวย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 57 ฝายชรามรณะ ครั้นชาติคือความเกิดมีแลวก็ตามมาดวย ดุจตนไมอันบังเกิดขึ้นแลวก็จะลม ลงเลา เหตุดังนั้น อันวาดวยอุปไมยตอภวจักรนี้ นักปราชญพึงรูโดยเอกัฏฐานุปมา แลนามฐานุป มา เปนสทิสูปนา แลวิสทิสุปมาดุจพรรนามาฉะนี้ คัมภีรนั้น คือภวจักรปจจยาการเทศนา กอปรดวยคัมภีรคือความลึก ๔ ประการ คือ อัตถ คัมภีร ๑ ธัมมคัมภีร ๑ เทศนาคัมภีร ๑ ปฏิเวธคัมภีร ๑ อัตถคัมภีรนั้น คือกิริยาที่จะตรัสรูซึ่งผลแหงเหตุ คือชรามรณะมีมาแตชาติ เวนจากชาติแล จะมาแตธรรมอันอื่นหามิไดเลย คือมาแตชาตินั้นเปนเที่ยงแท แลตรัสรูสภาวะแหงชรามรณะมีไปใน เบื้องหนา ๆ สมควรแกปจจัยแหงตน คือชาติจริงแทมิไดผิดมิไดมีมาแตธรรมอันอื่นยากนักยากหนา สังขารมีมาแตอวิชชาเวนจากอวิชชาแลวมิไดมี คือมีมาแตอวิชชานั้นเปนเที่ยงแท แลจะตรัสรูสภาวะ แหงสังขารมีไปในเบื้องหนา ๆ สมควรแกปจจัยแหงอวิชชานั้นจริงแทมิไดผิด มิไดมีมาแตธรรมอันอื่น จะรูอยางนี้ยากกวายากนัก ปจจัยการภวจักรจึงไดชื่อวา อัตถคัมภีร อนึ่งธรรมนั้น ไดแกเหตุคืออวิชชามีแดนอํานาจเปนไปเทาใดเปนปจจัยเปนเหตุดวย ประการใด แลมาเปนปจจัยใหเกิดสังขารแลสังขารมีอวิชชาเปนปจจัยดวยประการนั้นตรัสรูยากนัก แล ชาติมีแดนอํานาจเปนไปเทาใดเปนเหตุปจจัย แลมาเปนปจจัยใหเกิดชรามรณะ แลชรามรณะ มีชาติเปนปจจัยดวยประการนั้น ตรัสรูก็ยากนักหนาเหตุดังนั้น ปจจยาการภว จักรจึงไดชื่อวา ธัมมคัมภีร เทศนาคัมภีรนั้น คือเวไนยสัตวทั้งปวงจึงพึงตรัสรู ซึ่งพระปจจยาการธรรมนี้ดวยประการใด สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสพระสัทธรรมเทศนาซึ่งพระปฏิจจสมมุปบาทปจจยาการนี้ โดยควรแก พุทธอัชฌาสัย แลอนุกูลตามเวไนยอัชฌาสัย จริตวาสนาอินทริยาธิมุตตแหงสัตวอันพึงตรัสรูนั้น เทศนาเปน ๔ อยางในพระสูตรทั้งปวง บางพระสูตรเปนอนุโลมเทศนา บางพระสูตรเปน ปฏิโลมานุโลมเทศนา เปนปฏิสนธิจตุสังเขปเปนทวีสนธิติสังเขป เปนเอกสนธิทวีสังเขป ดุจวัลลีหารก บุรุษ ๆ ตัดเครือเขา ๔ จําพวก ซึ่งวิสัชนาในตนแรกปรารภแลวนั้นชื่อวาเทศนาคัมภีร ปฏิเวธคัมภีรนั้น คือสภาวะอันใดแหงอวิชชาเปนตน แลธรรมทั้งหลายมีอวิชชาเปนตนนั้น สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสรูโดยลักษณะแหงตน มีอญาณลักษณะเปนตน สภาวะนั้นลึกยิ่งนัก เหตุ จะหยั่งลงเปนอันยาก แมพระญาณอันอื่นนอกจากพระสัพพัญุญาณแลว มิอาจเพื่อจะหยั่งลงในภว จักรปจจยาการนั้นได ชื่อวาปฏิเวธคัมภีร คํากอนก็สมดวยคําหลัง อวิชชานี้มีสภาวะเปนขาศึกแกญาณอันจะตรัสรูซึ่งทุกขาทิ ลักษณะ จะเห็นซึ่งทุกขาทิลักษณะแลตรัสรูซึ่งอริยสัจ สวนอวิชชาครอบงําเสียมิใหรูมิใหเห็นโดยแท สวนสังขารมีสภาวะตกแตงแลสัมปยุตตธรรม แตตางออกเปนสภาวะ คือ อบุญญาภิสังขาร เปนบุญญาภิสังขาร เปนอเนญชาภิสังขาร ฝายวิญญาณมีสภาวะสูญเปลา แลมิไดขวนขวายจะยางไปอื่นจากมาตรวาอุปปาทะ ฐิติ ภังคะ แลวแลบังเกิดขึ้นสภาวะตอเขากันกับภพใหม สวนนามรูปเลา มีสภาวะเกิดกับพรอมกันดวย แลพรากจากกันแตนามฝายนาม แลนาม วิโยคจากรูป ๆ วิโยคจากนาม แลรูปฝายรูปขางกลาปรวมกันในกลาปเดียว ในภพบางอันนั้นแล รูปสํา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 58 เสร็จมนกิจแลรูปมนกจตามวิสัยแหงตน สวนสฬายตนะนั้นเลา มีสภาวะเปนใหญคืออินทรียมีจักขุนทรียเปนตน แลสภาวะเปนโลก ธรรมแลเปนทวารเปนขเตเปนวินัยแหงรูปารมณเปนตน อันมาสูโยคเทศ มีสภาวะถูกตองแลกระทบ แหงสัมผัสทั้งหลาย ๕ มีสภาวะเสวยซึ่งรสแหงอารมณ ๖ มีจักขุสัมผัสเปนอาทิ แลประชุมเขาแล ปรากฏพรอมกัน แหงจิตเจตสิกธรรมทั้งหลายมีจักขุทวาริกจิตเปนตน สวนเวทนาเลา มีสภาวะเปนสุขเปนทุกข เปนอุเบกขาเปนตนนิชชีวธรรม แลวรูเสวยอารมณ ตาง ๆ ดุจมีชีวิต สวนตัณหามีสภาวะยินดี ดวยสัมปติกอภินันทะ แลพลวตัณหาดุจกล้ํากลืนซึ่งอารมณแล วัตถุแลว แลซาบซานอยูในวัตถุอารมณคือ สกปริกขารเปนอาทิ เปนตัณหานที ตัณหาสมุทรจะถมให เต็มใหตื้นขึ้นเปนอันยากนัก ฝายอุปาทานเลา มีสภาวะถือมั่นดวยกาม แลถือมั่นดวยทิฏฐิถือมั่นดวยสีลวัตร แลถือมั่น โดยประการอันจากลักษณะอันจริงแทมาตรวานามรูปแลบุคคลอันจะขามเปนอันยากนัก สวยภพมีสภาวะขวนขวาย แลกอสรางเจตนากรรม เพื่อภพแลซัดโยนไปซึ่งสัตวในกําเนิด คติ ฐิติ สัตตาวาสเปนอันมาก ฝายชาติเลา มีภาวะเกิดขึ้นแลเกิดดวยดี แลหยั่งลงแลปรากฏขึ้นดวยสามารถคัพภไสยกะ สังเสทชะ อัณฑชะ อุปปาติกะปฏิสนธิในภพเปนอาทิ สวนชรามรณะ มีสภาวะกอปรดวยขยายธรรม คืออุปาทินนกขันธใหม ๆ อยูแลวใหเกาเขา เลา ดวยฟนหักแกมตอบศรีษะหงอกยอหยอนแหงอังคาอวัยวะเปนอาทิ แลใหแปรปรวนดวยทําลาย ขันธเปนสมมติมรณะ แลขณิกมรณะ เศษจากทิฏฐานสัตว สังขารอันเปนที่รักเปนอาทิ บุคคลจะหยั่งรู หยั่งเห็นดวยเหตุนี้เปนอันยากยิ่ง ภวจักรนี้สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสเทศนา ชื่อวาปฏิเวธคัมภีร ดวยประการฉะนี้ แลนัยเภทอีก ๔ ประการ คือ เอกัตตนัย ๑ นานัตตนัย ๑ อพยาปารนัย ๑ เอวังธัมมตานัย ๑ นักปราชญพึงรูดุจนัยที่สําแดงมาในติกอุทสวาร ชื่อวาวรรณะนั้นเถิด “อิทํ หิ คมฺภีรโต อคาธํ ” หิ เพราะ “ ยสฺมา” เหตุใด “ตสฺมา ” เหตุนั้น “โกจิ ปุคฺค โส ” อันวาบุคคลผูใดผูหนึ่ง เมื่อยังทําลายมิไดซึ่งภวจักรนี้ “ อคาธํ” อันหาที่พึ่งมิไดโดยลึกนัก นั้น “ทุรติยานํ ” อันวาบุคคลจะลวงขามพนเปนอันมาก เหตุชัฏดวยนัยตาง ๆ “ญาณาสินา” ดวย ดาบคือวิปสสนาปญญาเปนอาทิอันลับอานเปนอันดีเหนือศิลาอันประเสริฐ คือสมาธิ แลบุคคลนั้น “ อนตีโต” ก็มิอาจลวงขามเสียไดซึ่งสารภัยอันทับทวีอยูเปนนิจนิรันดร ดุจมณฑลแหงอสุนีบาตใน มาตรวาแตความฝน คือวาจะฝนเห็นวาขามสังสารภัยก็หามิได เหตุการณดังนั้นพระพุทธโฆษาจารย เจา เมื่อจะกลาวอางสาธกสูตรซ้ําเพื่อจะสําแดงซึ่งปฏิจจสมุปบาท อันลึกล้ําคัมภีรภาพอันมีในมหา นิทานสูตรในคัมภีรทีฆนิกายโนน จึงกลาววา “ วุตฺตํปเจตํ คมฺภีโร จายํ อานนฺท ปฏิจจสมุปฺปาโท คมฺภีราวกาโสจ” เปนอาทิ เหตุใด จึงมีพระพุทธฎีกาตรัสไวแกพระอานนทดังนี้ แลแมน้ําไดนาม ๔ ประการ คือ แมน้ําอันหนึ่งตื้นประมาณเพียงเขา สะสมดวยหญาแลใบไมมีพรรณขุนเขียวดวยน้ําหญาน้ํา ใบไม ดูไปปรากฏดุจลึกสัก ๑๐๐ วา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 59 แมน้ําอันหนึ่งลึกประมาณสัก ๑๐๐ ศอก มีน้ําใสดุจน้ําแกวแลดูไปดุจตื้นเพียงเขา แมน้ําอันหนึ่งตื้น แลดูไปก็เห็นวาตื้น ดุจน้ําในอางเปนอาทิ แมน้ําอันหนึ่งลึก แลดูไปก็เห็นวาลึก ดุจน้ําในมหาสมุทรในเชิงเขาพระสุเมรุราช ดูกรสําแดงอานนท อันวาพระปฏิจจสทุปบาทนี้ ลึกก็ลึกแลพิจารณาไปก็ปรากฏลึก ดูกร สําแดงอานนท “อยํ ปชา ” อันวาสัตวนิกายนี้ เหตุมิไดรูซึ่งพระปฏิจจสมุปบาทธรรมนี้ โดยญาตปริญญา ภิสสมัย “อนนฺโพธา ” เหตุมิไดรูตีรณปญญา แลปหานปริญญา “ตนฺตากุลกชาตา ” ฟนเฝอยิ่งนักดวยกิเลสวัฏฏ กัมมวัฏฏ วิปากวัฏฏ ดุจดวยแหงนาย ชางหูกอันหนูกัด จะสางออกใหเห็นวานี้ ตนนี้ปลาย จะประสมตนตอตน ปลายตอปลายนั้นยากนักหนา “คณคณฺฑิกชาตา ” ถามิดังนั้นฟนเฝอนดุจรังนกกระจาบ “มุฺชปพฺพชฺภุตา ” ยุงดุจหนึ่งหญาปลองมุงกระตาย อันบุคคลฉีกกระทําเชือกผูกเขา แลว บุคคลจะสะสางประสมกันเขายากนักหนาเวนไวแตบุคคลผูมีเพียรจึงจะสะสางไดในตนตอตน ปลายตอปลาย ฉันใดก็ดี พระปฏิจจสมุปบาทธรรมนี้ ฟนเฝอยุงเหยิงยิ่งนัก อุปไมยเหมือนดังนี้ สัตวทั้งหลายเวนจากพระโพธิสัตวทั้ง ๒ จําพวกแลวมิอาจสางได เมื่อสัตวทั้งหลายสาง มิไดแลว ก็ฟนเฝอยุงอยูดวยทิฏฐิตาง ๆ อันมากกวามากนักก็ลวงเสียมิไดซึ่งอบายภูมิทั้ง ๔ คือ นรก ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย แลสังสารวัฏฏ หมองมัวดวยสรรพทุกขตาง ๆ คือ ชาติ ชรา มรณะ โสกปริเทว ทุกข โทมนัส บมิรูแลวยุติแลวสนธิเลา ปฏิสนธิแลวจุติเลา วิญญาณฐิติ ๗ สัตตาวาสทั้ง ๙ หาที่สุดลง มิได เหตุใดเหตุดังนั้น เปนคําสั่งสอนแหงพระพุทธโฆษาจารยเจาวา “ ปณฺฑิโต” พระโยคาพจรผูมีปญญา เมื่อปฏิบัติจะใหเปนความสุขความเจริญแกตนและ ผูอื่น พึงสละเสียซึ่งนวกรรมการปลิโพธคันอันอื่นแลว แมไฉนก็จะพึงไดญาณอันหยั่งลงสูหองแหง ปจจยาการอันคัมภีรภาพพนพิสัยแหงประเทศญาณ เปนพื้นภูมิแหงพระวิปสสนากรรมฐานดวยประการ ใด ประกอบดวยสติเปนอันดี แลพึงประกอบความเพียรเนือง ๆ จงทุกเมื่อดวยประการดังนี้เถิด ได วิสัชนามาในพระปฏิจจสมุปบาทธรรมยุติเเตาเทานี้ เมื่อพระโยคาพจรตั้งธรรม ๖ กอง มีขันธทั้ง ๕ เปนตน มีพระปฏิจจสมุปบาทเปนที่สุดไว เปนพื้น คือพิจารณาใหรูจักลักษณะแหงธรรมทั้ง ๖ กอง ยืนหนวงเอาธรรมทั้ง ๖ กองนี้ไวเปนอารมณ ไดแลวลําดับนั้นจึงเอาศีลวิสุทธิ แลจิตวิสุทธิมาเปนราก ศีลวิสุทธินั้นไดแกพระปฏิโมกขสังวรศีล ที่สําแดงแลวในพระปาฏิโมกข จิตตวิสุทธินั้น ไดแกอัฏฏฐสมาบัติ ๘ ประการ ที่สําแดงแลวในพระสมถกัมมัฏฐาน เมื่อตั้งศีลวิสุทธิ จิตวิสุทธิ ๒ ประการไวเปนรากแลว ลําดับนั้นใหพระโยคาพจรจําเริญวิ สุทธิทั้ง ๕ สืบขึ้นไปโดยลําดับ ๆ เอาทิฏฐิวิสุทธิ แลกังขาวิตรณวิสุทธิเปนเทาซายเทาขวา เอามัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ แลปฏิปทา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 60 ญาณทัสสนวิสุทธิเปนมือซายมือขวาแลวเอาญาณทัสสนวิสุทธิเปนศีรษะเถิด ยกตนออกจากวัฏฏสงสารได

จึงจะอาจสามารถที่จะ

แลทิฏฐิวิสุทธินั้น มีอรรถาธิบายเปนประการใด อันวาปญญาอันพิจารณาซึ่งนามรูปโดยสามัญลักษณะ มีสภาวะเปนวิปริณามธรรม บมิ “ผุสฺ เที่ยงเปนอาทิก็ดี โดยสภาวะลักษณะ คือลักษณะแหงตนบมิไดทั่วไปแกสิ่งอื่นมีอาทิคือ สนลกฺขโณผสฺโส ” อันวาผัสสะเจตสิกอันมีถูกตองเปนลักษณะ “กฺกขฬลกฺขณา ปวี ” อันวา ปฐวีธาตุมีสภาวะกระดางเปนลักษณะ ปญญาอันพิจารณาเห็นโดยสภาวะลักษณะเปนอาทิดังนี้ก็ดี ก็ ไดชื่อวาทิฏฐิวิสุทธิ เหตุปญญาดังพรรณนามานี้ ชําระเสียซึ่งมละมลทินคือทิฏฐิอันเห็นผิดเห็นวาตนวา ตนในนามแลรูปนั้น “ ” “ตํ สมฺปาเทตูกาเมน สมถยานิเกน ” แลพระโยคาพจรเจาผูเปนสมถยา นิก บําเพ็ญสมถกัมมัฏฐานนั้น ถาปรารถนาจะยังทิฏฐิวิสุทธิใหบริบูรณ ก็พึงเขาฌานสมาบัติอันใด อันหนึ่งตามจิตประสงคยกเสียเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติเหตุเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ นั้นลึกละเอียดนัก ปญญาโยคาพระจรกุลบุตรผูเปนอาทิกัมมิกแรกทําความเพียรจะพิจารณาไดเปนอัน มาก ยกเวนสัญญานาสัญญายตนะเสียแลวพึงเจริญตามชอบน้ําใจเถิด “อฺญตรโต วุฏาย ” เมื่อออกจากสมาบัติอันใดอันหนึ่งที่ตนไดจําเริญแลว ก็พึง พิจารณาซึ่งองคแหงญาณ มีวิตกเปนอาทิเจตสิกธรรมทั้งปวงแตบรรดาที่สัมปยุตดวยองคแหงฌานนั้น ใหแจงโดยลักษณะแลกิจแลปจจุปปฏฐาน แลอาสันนการณแหงองคฌานแลธรรมอันสัมปยุตดวยองค ฌานนั้นแลว ก็พึงกําหนดกฏหมายวาองคฌาน แลธรรมอันสัมปยุตดวยองคฌานนี้ แตลวนเปน นามธรรมทั้งสิ้น ดวยอรรถวานอมไปจําเพาะหนาสูอารมณ เมื่อกําหนดกฏหมายดังนี้แลว แลแสวงหา ที่อยูแหงนามธรรมนั้น ก็จะเห็นแจงวาหทัยวัตถุเปนที่อยูแหงนามธรรม แลเปนที่อาศัยแหง นามธรรม “ ยถา นาม ปุริโส” มีอุปมาดุจบุรุษอันเห็นอสรพิษ ณ ภายในเรือน “อนุพนฺธมโน ” บุรุษผูนั้นติดตามสกัดดู ก็รูแจงวาอสรพิษอยูที่นี่ ๆ และมีอุปมาฉันใด พระโยคาพจรผูแสวงหาที่อยู แหงนามธรรมนั้นก็เห็นแจงวาหทัยวัตถุ เปนที่อยูแหงนามธรรมมีอุปไมยดังนี้ “ รูป ปริคฺคณฺเหติ” แลวพระโยคาพจรเจาพิจารณารูปธรรมตอไปเลา ก็เห็นแจงหทัย วัตถุนั้นอาศัยซึ่งภูตรูปแลรูป ๆ ทั้ง ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโช วาโย นั้นเปนที่อาศัยแหงหทัยวัตถุ คืออุ ปาทายรูปอื่น ๆ จากหทัยวัตถุนั้นก็อาศัยภูตรูปสิ้นดวยกัน เรียกวารูป ๆ นั้น ดวยอรรถวารูฉิบหายดวยอุปทวะอันตรายตาง ๆ “สงเขปโต ววตฺถาเปติ ” ลําดับนั้นพระโยคาพจรเจา จึงกําหนดกฏหมายโดยสังเขปวา “นมนลกฺขณํ นามํ ” นามธรรมนี้มีลักษณะอันนอมไปสูอารมณ “รูปนลกฺขณํ รูป ” รูปธรรมนี้มีลักษณะรูฉิบหายดวยอันตราย ๆ มีรอนแลเย็นเปนอาทิ พระโยคาพจรผูเปนวิสุทธิ วิปสสนายานิกคือเปนแตฝายพิจารณาสิ่งเดียวนั้นก็ดี ยอมพิจารณาธาตุทั้ง ๔ ประการโดยนัยสังเขป โดยนัยพิสดาร ดวยธาตุปริคคหณอุบายอันใดอันหนึ่งอาจารยสําแดงแลวในจตุธาตุววัตถาน “อาวีภูตา ธาตูสุ ” ในเมื่อพิจารณาธาตุทั้ง ๔ ประการโดยลักษณะแลกิจปรากฏแจงแลว พระโยคาพจรเจาพึงพิจารณาสืบตอไปในอาการ ๓๒ มีเกศาเปนอาทิ มีมัตถลุงคังเปนปริโยสาน แทจริง เกศานี้จัดเปนปฐวีธาตุก็จริง แตยังมีอาโปเตโชวาโยซับซาบอยู ซึ่งเปนปฐวีสิ่ง เดียวนั้นหามิได เกศาแตละเสน ๆ นั้นกอปรไปดวยรูปกลาปถึง ๕ กลาป เปนกัมมัชชสมุฏฐานกลาป ๒ อาหารสมุฏฐานกลาป ๑ จิตตสมุฏฐานกลาป ๑ อุตุสมุฏฐานกลาป ๑ เปน ๕ กลาปดวยกัน ในกัมมัชชสมุฏฐานกลาป ๒ นั้น คือ กายทสกะกลาป ๑ ภาวทสกะกลาป ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 61 กายทสกะนั้น กอปรไปดวย ๑๐ ประการ คือ ปวี อาโป เตโช วาโย วัณโณ คันโธ รโส โอชา เปน ๘ เอาชีวิตกับกายประสาทเพิ่มเขาเปน ๑๐ เรียกวากายทสกะ ภาวสกะนั้นมีรูป ๑๐ ประการเหมือนกัน แปลกกันแตภาวะรูปขางกายทสกะนั้นมีกาย ประสาทเปนคํารบ ๑๐ ขางสภาวทสกะนี้มีภาวรูปเปนคํารบ ๑๐ เขาดวยกันเปนกัมมัชชรูป ๑ กลาป ดังนี้ แลอาหารสมุฏฐานกลาป ๑ นั้น คือ สุทธัฏฐกลาป กอปรดวยรูป ๘ ประการ คือ ปวี อาโป เตโช วาโย วัณโณ คันโธ รโส โอชา เปน ๘ ประการดังนี้ ยังจิตสมุฏฐานกลาปอันหนึ่ง อุตุสมุฏฐานกลาปอันหนึ่งนั้น ก็เหมือนกันกับอาหารสมุฏฐาน กลาป คือจัดเอาแตสุทธัฏฐกลาปมีรูป ๘ ประการ เหมือนกัน สิริรูปในกัมมัชชสมุฏฐฐานกลาป ๒๐ ในอาหารสมุฏฐานกลาป ๘ ในจิตตสมุฏฐานกลาป ๘ ในอุตุสมุฏฐานกลาป ๘ จึงเปนรูป ๔๔ ประการดวยกัน ตกวาผมแตละเสนนี้ ประกอบดวยรูปถึง ๔๔ โลมาเลาก็เหมือนกันประกอบดวยรูปถึง ๔๔ ยกแต อุทริยัง กรีสัง ปุพโพ เสโท อัสสุ เขโฬ สิงฆานิกา มุตตัง ยกเสีย ๘ กระการนี้แลว ยังโกฏฐาส ทั้ง ๒๔ มีเกศาเปนอาทินั้นแตลวนปรกอบดวยรูป ๔๔ ดวยกัน แลโกฏฐาสทั้ง ๔ คือ เสโทเหงือ อัสสุน้ําตา เขโฬน้ําลาย สิงฆานิกาน้ํามูก ทั้ง ๔ นี้กอปร ดวยรูปกลาป ๒ กลาป เปน อุตุสมุฏฐานกลาป ๑ จิตตสมุฏฐานกลาป ๑ อุตุสมุฏฐานกลาป ๑ นั้น จัดเอาสุทธัฏฐานกลาปดวยรูป ๘ ประการ คือ ปวี อาโป เตโช วาโย วัณโณ คันโธ รโส โอชา เปน ๘ ประการดังนี้ แลจิตตสมุฏฐานกลาปนั้น ก็จัดเอาแตสุทธัฏฐานกลาปมีรูป ๘ ประการเหมือนกัน สิริในอุตุสมุฏฐานกลาป ๘ จิตตสมุฏฐานกลาป ๘ จึงเปน ๑๖ ประการดวยกัน ตกวา เวโท อัสสุ เขโฬ สิงฆานิกา โกฏฐานทั้ง ๔ ประการนี้ แตละสิ่ง ๆ กอปรไปดวยรูป ๑๖ รูปดวยประการดังนี้ แลโกฏฐานทั้ง ๔ คือ อุทริยังอาหารใหม กรีสังอาหารเกา ปุพโพหนอง มุตตัง มูตรทั้ง ๔ ประการนี้ กอปรดวยรูปกลาปอันหนึ่ง ๆ คืออุตุสมุฏฐานกลาป มีรูป ๘ ประการ คือ ปวี อาโป เตโช วาโย วัณโณ คันโธ รโส โอชา เปนคํารบ ๘ ตกวาอุทริยังก็มีรูป ๘ กรัสังก็มีรูป ๓ ปุพโพ หนองก็มีรูป ๘ มุตตังกฌมีรูป ๘ พระโยคาพจรเจาผูบําเพ็ญทิฏฐิวิสุทธิ พึงพิจารณาอาหาร ๓๒ ประการโดยนัยวิตถาร ดุจดังจะพรรณนามาฉะนี้ “อิมสฺมึ ทฺวตฺตึสากาเร อานีภูเต ” ในเมื่อพิจารณาทวัตติงสาการปรากฏแจงในสันดาน แลว พระโยคาพจรเจาจึงพิจารณาอาการอีก ๑๐ ประการสืบตอไปเลา แลอาการ ๑๐ ประการนั้น คือ เตโชธาตุ ๔ วาโยธาตุ ๖ จึง ๑๐ ประการ เตโชธาตุอันชื่อวาปริณามัคคี ที่เปนพนักงานเผาอาหารใหยอยนั้นเมื่อเปนกัมมสุฏฐานมีรูป บังเกิดพรอมดวยกลาป ๑ คือชีวิตนวกะ เมื่อเปนจิตตสมุฏฐาน แลอุตุสมุฏฐาน อาหารสมุฏฐานมีรูป เกิดพรอมไดละ ๘ ๆ คือสุทธัฏฐานกลาปประสมเขาเปนรูป ๓๓ “ ตถา จิตฺตเช อสฺสาสปสฺสาสโกฏาสมฺหิ” ในเมื่อโกฏฐาสอันหนึ่ง คือ อัสสาสะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 62 ปสสาสะ ระบายลมหายใจเขาออก เมื่อเปนจิตตัชชะเกิดแตจิตนั้น มีรูปเกิดพรอม ๙ ประการ คือธาตุ ทั้ง ๔ วัณโณ คันโธ รโส โอชา รวมเขาเปน ๘ เอาสัททารมณอัน ๑ เพิ่มเขาอีก เรียกวาสัททานวกะ เมื่อเปนกัมมสุมฏฐาน อุตุสมุฏฐาน อาหารสมุฏฐาน มีรูปเกิดพรอมละ ๘ ๆ คือ สุทธัฏฐก ลาปเปนประธานเขาดวยกันเปนรูป ๓๓ “ เสเสสุ อฏสุ อากาเรสุ” แลอาการทั้ง ๘ ประการ คือเพลิง ๓ ลม ๕ อันเศษจาก ปริณามัคคี แลลมอัสสาสะปสสาสะนั้นก็มีรูปบังเกิดพรอม ๓๓ เหมือนกัน “ ตสฺเสวํ วิตฺถารโต ทฺวาจตฺตาฬีสาการวเสน” เมื่อพระโยคาพจรเจา พิจารณาอาการ ทั้ฃ ๔๒ คือ ปีธาตุ ๒๐ อาโปธาตุ ๑๒ เพลิง ๔ ลม ๖ ปรากฏแจงโดยนัยพิสดารดังพรรณนามาฉะนี้ แลว “สฏี รูปานี ปากตานิ ” อันวารูป ๖๐ ประการ คือจักขุทสกะ ๑๐ โสตทสกะ ๑๐ ฆานทส กะ ๑๐ ชิวหาทสกะ ๑๐ กายทสกะ ๑๐ วัตถุทสกะ ๑๐ รวมเปน ๖๐ ดวยกันก็ปรากฏแจงเปนอันดี “ เอกโต กตฺวา” พระโยคาพจรเจาจึงประมวลรูปทั้งปวงนั้นเขาเปนหมวดอันเดียวกัน พิจารณาโดยลักษณะวารูปทั้งปวงนี้มีลักษณะรูฉิบหายเหมือนกันสิ้น จะมั่นจะคงจะเที่ยงจะแทแตสัก สิ่งหนึ่งนั้นหามิได “ตสฺเสวํ ปริคฺคหิตรูปสฺส ” เมื่อพระโยคาพจรเจา พิจารณาเห็นกองรูปดวยประการดังนี้ แลว “ ทวารวเสน อรูปธมฺมา” อันวาอรูปธรรมทั้งปวง คือจิตแลเจตสิกก็ปรากฏแจงแกพระ โยคาพจรเจานั้น ดวยสามารถทวาร คือจักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร กายทวาร มโนทวาร “เสยฺยถีทํ ” จึงมีคําปุจฉาวาจิตแลจิตสิกจะปรากฏดวยสามารถทวารนั้นเปนดังฤๅ จึงวิสัชนาวา จิตเจตสิกนี้มีทวารทั้ง ๖ เปนที่อาศัย เมื่อพิจรณาทวานทั้ง ๖ แจงประจักษ แลวก็จะรูจักจิตเจตสิกที่อาศัยทวาารทั้ง ๖ นั้นเปนแท จับที่อยูไดแลว คนอาศัยนั้นจะไปไปก็จับได ดวยกัน แลจิตที่อาศัยทวารทั้ง ๖ นั้น จัดเปนโลกิยจิต ๘๑ คือ ทวิปญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓ มโนวิญญาณธาตุ ๖๘ แลเจตสิกที่เกิดพรอมดวยโลกิยจิต ๘๑ นั้น คือ ผัสโส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มสิการทั้ง ๗ นี้ เปนสัพพจิตสาธารณทั่วไปในจิตทั้งปวง “อวิเสเสน ” สําแดงดังนี้ ดวยสามารถมิแปลกกัน แทจริงจิตทั้งปวงนั้น ถามีแตสัพพจิต สาธารณเจตสิก บังเกิดพรอมแตประการนี้ก็ยังบิมิตางกันกอน ตอเมื่อใดมีเจตสิกอื่นนอกออกไปกวานี้ ประกอบ จิตจึงแตกแยกจึงตางกันออกไปดวยอํานาจเจตสิก เจตสิกไวแต ๗ ประการ คือ สัพพจิตสาธรณเจตสิกนั้น สําแดงจิตเลนก็สําแดงแตจิตโลกิยะ จิตที่เปนโลกุตตรนั้นจะไดสําแดงไวหามิได “ อนธิกตตฺตา” เหตุวาจิตโลกุตตระนั้น พระโยคาพจรผูบําเพ็ญสมถวิปสสนายังไมได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 63 สําเร็จกอน ดังฤๅจะพิจารณาได เหตุฉะนี้โลกุตตรจิตนั้น ทานจึงมิไดสําแดงจึงยกเสีย สําแดงแตจิต โลกิยะในที่นี้ ตกวาสําแดงแตจิตอันควรที่พระโยคาพจรเจาจะพิจารณาได “เอกโต กตฺวา ” พระโยคาพจรเจานั้น ก็ประมวลจิตแลเจตสิกนั้นเขาดวยกัน พิจารณา โดยลักษณะวา จิตแลเจตสิกทั้งปวงนี้มีลักษณะนอมไปสูอารมณ จะเที่ยงจะตรงจะยั่งจะยืนนั้นหามิได เกิดเร็วดับเร็ว เปนอนิจจังมิไดเที่ยงแท “เอโก โยคาวจโร ” พระโยคาพระจรเจาบางจําพวก ๆ หนึ่งนั้นก็พิจารณานามรูปโดย พิสดาร ดวยอุบายอันสําแดงไวในจตุธาตุววัตถาน “อปโร โยคาวจรโร” พระโยคาพจรองคอื่นบางจําพวกนั้น ก็พิจารณานามรูปดวยสามารถ เปนธาตุ ๑๘ ประการ มีจักขุธาตุเปนอาทิ มีมโนวิญญาณธาตุเปนปริโยสาน แทจริง “ มํสปณฺฑ”ํ อันวากอนเนื้ออันประดิษฐานอยูในกระบอกจักษุ เสนดายคือเอ็น นอย ๆ หากมารัดมารึงไว “ เสตกณหอติกณฺหมณฺฑลวิตฺตํ อายตนวิตฺถตํ” กอนเนื้อนั้นมีพรรณอันขาวยาวกวาง เต็มกระบอกจักษุ วิจิตรดวยดวงตาดําเปนสองสีมีดําสีลานนั้นสีหนึ่ง โลกทั้งหลายเรียกกอนเนื้อนั้นวา ดวงเนตรดวงตา “ตํ อคเหตฺวา ” พระโยคาพจรจะไดถือเอากอนเนื้อนั้นมาเปนอารมณในขณะพิจารณานั้น หามิไดทานกําหนดเอาแตจักษุประสาทซึ่งกลาวแลวในขันธนิเทศ ที่นอยเทาศีรษะเหาอยูใน ทามกลางแหงดวงตานั้นแลเปนอารมณ กําหนดจักษุประสาทนั้นโดยนามบัญญัติวาจักขุธาตุ “ นิสฺสยถูตา จตสฺโส ธาตุโย” และธาตทั้ง ๔ อันเปนที่อาศัยแหงจักขุประสาทนั้นก็ดี วัณโร คันโธ รโส โอชา และชีวิตินทรียเปนสหชาติ เกิดพรอมดวยจักขุประสาท เปนบริวารแหงธาตุทั้ง ๕ ก็ดี กัมมัชชรูป ๒๐ รูป กายทสกะ ๑๐ ภวทสกะ ๑๐ ที่เกิดพรอมดวยจักขุประสาทนั้นก็ดี อาหารัชรูป ๙ จิตตัชชรูป ๘ ที่เกิดพรอมดวยจักขุประสาทนั้นก็ดี รูปทั้งสิ้นทั้ง ๕๓ ประการนี้ พระโยคาพจรเจาจะ ไดกําหนดวาจักขุธาตุหามิได กําหนดวาจักขุประสาทสิ่งเดียววาจักขุธาตุ ในโสตธาตุ ฆานธาตุ ชิวหาธาตุ กายธาตุนั้น พระโยคาพจรเจาก็พิจารณากําหนดเอาโสต ประสาท ฆานประสาท ชิวหาประสาท จะไดกําหนดเอารูป ๕๓ ซึ่งเกิดพรอมดวยโสตาทิประสาทนั้น หามิได ในกายธาตุก็พิจารณากําหนดเอาแตกายประสาท ๔๓ คือ ชีวิตนวกะ ๙ ภาวทสกะ ๑๐ โอชัฏฐ มกรูปอันเปนอาหารัชชะ จิตตัชชนะ ๒๔ เปน ๔๓ แตบรรดาที่เกิดพรอมดวยกายประสาทนั้น พระ โยคาพจรเจาจะไดพิจารณาหามิไดเฉพาะพิจารณาแตกายประสาท เกจิอาจารยวา รูปเกิดพรอมดวยกายประสาทนั้น ๔๕ เหตุวาอุตุชชรูป จิตตัชชรูปนั้น ไดแกสัททวนกะ นับชีวิตวนกะ ๔ ภาวทสกะ ๑๐ จิตตัชชรูป ๙ อาหารัชชรูป ๙ เปน ๔๕ พระ โยคาพจรเจาจะไดพิจารณารูป ๔๕ ซึ่งเกิดพรอมดวยกายประสาทนั้นหามิได เฉพาะพิจารณาแตกาย ประสาทอยางเดียว แลประสาททั้ง ๕ คือ จักขุประสาท โสตประสาท ฆานประสาท ชิวหาประสาท กาย ประสาทนี้เปนอารมณ ๕ ประการ คือ รูปปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ สิริ ประสาททั้ง ๕ อารมณทั้ง ๕ เขาดวยกันเปนธาตุ ๑๐ ประการ “ อวเสสานิ รูปานิ” และรูปอันเศษจากนั้น จัดเปนกัมมธาตุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 64 ตกวาจักขุประสาทนั้นเปนจักขุธาตุ โสตประสาทนั้นเปนโสตธาตุ ฆานประสาทนั้นเปนฆาน ธาตุ ชิวหาประสาทนั้นเปนชิวหาธาตุ กายประสาทนั้นจัดเปนกายธาตุ จัดรูปารมณเปนรูปาธาตุ สัททา รมณเปนสัททธาตุ คันธารมณจัดเปนคันธธาตุ รสารมณเปนรสธาตุ โผฏฐัพพารมณเปนโผฏฐัพพธาตุ จัดรูปวิเศษเปนธัมมธาตุ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ ที่อาศัยโสตประสาท ฆาน ประสาท ชิวหาประสาท กายประสาท นั้นจัดเปนโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณธาตุ กาย วิญญาณธาตุ ปจทวาราวัชชนวจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑ นั้น รวมเขาเปนอันเดียวเรียกวามโนธาตุยังจิตอีก ๖๘ นอกนั้นเรียกวามโนวิญญาณธาตุ “ผสฺสาทโย ” เจตสิกทั้งหลาย มีผัสสะเปนตนซึ่งสัมปยุตดวยโลกิยจิตทั้ง ๘๑ นั้น ก็จัด เขาในกัมมธาตุ สิริเขาดวยกันเปน ๑๘ พระโยคาพจรเจาบางพระองคนั้น พิจารณานามรูปดวยสามารถ จัดเปนธาตุ ๑๘ ประการฉะนี้ “อปโร ทวาทสายตนวเสน ” และพระโยคาพจรองคอื่นบางจําพวกนั้นเลา ก็พิจารณา นามและรูปดวยสามารถเปนอายตนะ ๑๒ ประการมีจักขวายตนเปนอาทิ มีธัมมายตนะเปนปริโยสาน ในจักขวายตนะนั้นมีรูป ๕๓ ประการ โดยนัยดังกลาวแลวในจักขุธาตุ พระโยคาพจรเจาก็ เฉพาะพิจารณาแตจักขุประสาทนั้น และวาเปนจักขวายตนะ เฉพาะพิจารณาแตโสตประสาทวาเปนโส ตายตนะเฉพาะพิจารณา แตฆานประสาทวาเปนฆานายตนะ เฉพาะพิจารณาแตชิวหาประสาทวาเปนชิวหายตนะ เฉพาะพิจารณาแตกายประสาทวาเปนกายายตนะ พิจารณารูปารมณเปนรูปายตนะ พิจารณาสัททา รมณเปนสัททยตนะ พิจารณาคันธารมณเปนคันธายตนะ พิจารณารสารมณเปนรสายตนะ พิจารณา โผฏฐัพพารมณเปนโผฏฐัพพายตนะ พิจารณาวิญญาณ ๖ มีจักขุวิญญาณเปนอาทิเปนมนายตนะ พิจารณาเจตสิกธรรมทั้งปวงมีผัสสะเปนอาทิ และรูปอันเศษนั้นเปนธรรมายตนะ สิริเปนอายตนะ ๑๒ ประการดวยกัน อายตนะ ๑๒ ประการนี้ ถาจะยอเขาใหเปนกองแหงรูปธรรมนามธรรม ๒ ประการ ก็พึงแยก อายตนะออกสองสวน สวนหนึ่งนั้นนับเขากับมนายตนะ จัดเปนกองแหงนามธรรม ยังสวนหนึ่งนั้นนับ เขากับอายตนะ ๑๐ ประการ มีจักขวายตนะเปนตน มีโผฏฐัพพายตนะเปนที่สุด จัดเปนกองแหง รูปธรรม เปนใจความวา ปญญาอันพิจารณานามและรูปนั้นมีลักษณะ ๒ ประการ คือ สามัญญ ลักษณะ ๑ สภาวะลักษณะ กิริยาที่พิจารณาเห็นวา นามและรูปนี้ไมเที่ยงแทแปรปรวนอยูเหมือนกัน นามธรรมก็ไม เที่ยง รูปธรรมก็ไมเที่ยง นามธรรมก็แปรปรวน รูปธรรมก็แปรปรวนเหมือนกัน พิจารณาเห็นทั่วไปดังนี้ ไดชื่อวาพิจารณานามรูปโดยสามัญญลักษณะ และกิริยาที่แยกออกไปแตละสิ่ง ๆ อันวาผัสสะเจตสิกมีลักษณะใหถูกตองซึ่งอารมณ เวทนาเจตสิกมีลักษณะอันเสวยซึ่งอารมณ พิจารณานามธรรมโดยนัยเปนตนดังนี้ก็ดี พิจารณารูปธรรม โดยนัยเปนตนวา ปวีธาตุ มีลักษณะอันกระดางนั้นก็ดี ไดชื่อวาพิจารณานามและรูปโดยสภาวะ ลักษณะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 65 ตกวาปญญาที่พิจารณานามและรูปโดยสามัญญลักษณะ สภาวลักษณะดังนี้แลไดชื่อ วาทิฏฐิสุทธิ สําแดงทิฏฐิวิสุทธิโดยนัยสังเขปเทานี้ แตนี้จะวิสัชนาในกังขาวิตรณวิสุทธิสืบไป กังขาวิตรณวิสุทธินั้นมิใชอื่นไกล ไดแกปญญานั้นเอง ปญญาที่พิจารณาเห็นเหตุ เปน ปจจัย แหงนามธรรมและรูปธรรม เขาใจชัดวานามธรรมบังเกิดแตปจจัยสิ่งนี้ ๆ รูปธรรมบังเกิดแตปจจัย สิ่งนี้ ๆ เขาใจรูสันทัดปราศจากสงสัยในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต และอนาคต และปจจุบันแลวในกาลใด ปญญานั้นก็ไดชื่อวากังขาวิตรณวิสุทธิในกาลนั้น “ตํ สมฺปาเทตุกาโม ” พระโยคาพจรภิกษุผูมีความปรารถนาเพื่อจะยังปญญาชื่อวากังขา วิตรณวิสุทธินั้นใหสมบูรณ ก็พึงประพฤติจิตสันดานใหเหมือนแพทย เอาเยี่ยงอยางแพทยผูฉลาดใน การรักษาโรค ธรรมดาวาแพทยผูฉลาดนั้น เมื่อจะรักษาซึ่งโรคพิจารณาดูโรคนิทานใหเห็นแจงวาโรค สิ่งนี้บังเกิดแตเหตุปฐวีธาตุกําเริบ โรคสิ่งนี้บังเกิดแตอาโปธาตุกําเริบ โรคสิ่งนี้บังเกิดแตเหตุแหง เตโชธาตุ และวาโยธาตุกําเริบ เมื่อรูชัดสันทัดแทในโรคสมุฏฐานแลว แพทยนั้นจึงประกอบยา ตามที่ “ยถา ” อันนี้มีครุวนาฉันใด พระโยคาจรภิกษุ ก็พึงพิจารณาหาเหตุหาปจจัยอันเปนที่เกิด แหงนามธรรม และรูปธรรม ใหเห็นแจงวานามธรรมบังเกิดแตเหตุปจจัยสิ่งนี้ ๆ รูปธรรมบังเกิดแตปจจัย สิ่งนี้ ๆ พึงประพฤติเอาเยี่ยงแพทยผูฉลาดที่พิจารณาดูซึ่งโรคนิทานฉันนั้น ถามิฉะนั้น ใหพระโยคาพจรภิกษุเอาเยี่ยงบุคคลอันมีสันดานมากไปดวยความกรุณา ได เห็นทารกอันนอนหงายอยูในกลางตรอก และแสวงหาบิดามารดาแหงทารกนั้น ธรรมดาวาบุคคลผูมีสันดานมากไปดวยความกรุณานั้น ถาเห็นทารกนอย ๆ นอนหงายอยู ในกลางตรอกกลางถนน ก็ยอมมีจิตสันดานกัมปนาทหวาดหวั่นไหว ตะลึงใจวา “ อยํ ปุตฺต โก” ทารกผูนี้ลูกของใคร ๆ เอามานอนหงายไวที่ทามกลางหนทางอยางนี้ ใครเปนบิดามารดาแหง ทารกผูนี้หนอ บุคคลผูมากไปดวยความกรุณาแสวงหาบิดามารดาแหงทารกผูนั้น และมีอุปมาฉันใด พระโยคาพจรภิกษุก็แสวงหาซึ่งเหตุปจจัยแหงนามรูป และมีอุปไมยดังนั้น แทจริง พระโยคาพจรผูแสวงหาซึ่งเหตุปจจัยแหงนามและรูปนั้นเดิมทีใหพิจารณาวา “อิทํ นามรูป ” นามและรูปแหงสรรพสัตวทั้งปวง แตบรรดามีในไตรโลกสันนิวาสนี้ ยอมมีเหตุมีปจจัย ประชุมแตสิ้นทั้งปวง อันจะปราศจากเหตุปราศจากปจจัยนั้นหาบมิได ถานามและรูปไมมีเหตุไมมี ปจจัยบังเกิดแตธรรมดาแหงตนแลว ก็หนาที่นามและรูปแหงสัตวทั้งปวง แตบรรดาที่มีในภพทั้งปวงนี้ จะเหมือน ๆ กันเปนอันหนึ่งอันเดียวจะมิไดแปลกประหลาดกัน สัตวที่บังเกิดเปนยมเปนยักษเปน อสุรกายกุมกัณฑ เปนนิกรเทพคนธรรพนั้นก็จะเหมือนกันเปนพิมพเดียว รูปพรรณสัณฐานนั้นจะไม หางไกลกัน อนึ่งสัตวที่บังเกิดในมุนษยสุคติ กับสัตวบังเกิดในทุคตินั้นก็จะเหมือน ๆ กันสิ้นทั้งปวง จะ หาที่ดีกวากันชั่วกวากันนั้นจะหาไมได เพราะเหตุวานามและรูปนั้นบังเกิดโดยธรรมดาแหงตนเองหา เหตุหาปจจัยบมิได นี้สิไมเปนดังนั้น นามและรูปนี้แปลกประหลาดกันทุก ๆ ภพจะไดเหมือนกันหาบ มิได นามและรูปในสุคติภพนั้นอยางหนึ่ง ในทุคติภพนั้นอยางหนึ่ง ในฉกามาพจรสวรรคอยางหนึ่ง ใน รูปภพนั้นอยางหนึ่งจะไดเหมือนกันนั้นหาบมิได ถึงบังเกิดในหมูเดียวกันในพวกเดียวกันก็ดีที่จะ เหมือนกันนั้นไมเหมือนกันเลยเปนอันขาด โดยกําหนดเปนที่สุด จนแตพี่นองซึ่งเปนลูกแฝดก็ยังมี แปลกประหลาดกันอยู จะไดเหมือนกันแททีเดียวก็หามิได อาศัยเหตุฉะนี้จึงเห็นแจงวานามและรูปนี้ มีเหตุมีปจจัยประชุมแตงสิ้นดวยกัน ถาไมมีเหตุ ไมมีปจจัยประชุมแตง นามและรูปบังเกิดโดยธรรมดาแหงตน แลวนามและรูปก็จะเหมือนกันสิ้นทั่วทั้ง ไตรภพมณฑลสกลไตรโลกธาตุ ดังฤๅจะเปลี่ยนจะแปลกกันเลา นามและรูปที่บังเกิดขึ้นเกา ๆ กับนาม รูปที่บังเกิดขึ้นใหม ๆ นั้น ก็เหมือนกันทุก ๆ ชาติ จะไมตางกัน นี้สิไมเปนดังนั้น นามและรูปนี้ เปลี่ยนแปลงไปทุก ๆ ชาตินี้อยางหนึ่ง ชาติหนาอยางหนึ่ง ชาติโนนอยางหนึ่ง จะไดเหมือนกันอยูเปน นิจจะไดเหมือนกันอยูสิ้นกาลทุกเมื่อนั้นหามิได อาศัยเหตุฉะนี้เห็นวา นามและรูปนี้มีเหตุมีปจจัย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 66 ประชุมแตงอยูเปนแท “ น อิสฺสราทิเหตุกํ” ประการหนึ่งเหตุและปจจัยที่ประชุมแตงซึ่งนามและรูปนั้น จะไดแก พระมเหศวรและทาวมหาพรหมนั้นหาบมิได พระมเหศวรและทาวมหาพรหมนั้น บมิไดเปนเหตุปจจัยที่ จะตกแตงซึ่งนามธรรมและรูปธรรม อันจะถือลัทธิวาพระมเหศวรและทาวมหาพรหมตกแตงซึ่งนามและ รูปนั้นบมิชอบ บมิสมควรจะเชื่อฟงเอาเปนบรรทัดฐานได เพราะเหตุวาองคพระมเหศวรและทาว มหาพรหมนั้นบมิไดพนไปจากรูปธรรมและนามธรรม เมื่อสําแดงโดยปรมัตถอันสุขุมนั้น รูปธรรม นามธรรมนั้นเองจัดเปนพระมเหศวร จัดเปนทาวมหาพรหม ในที่อันนี้ ถาเกจิอาจารยจําพวกใดกลาวคําสอดเขามาวา พระมเหศวรและทาวมหาพรหม นั้น คงเปนรูปธรรมและนามธรรมเทานั้นเอง กลาวคําเสียดเขามาฉะนี้ ในอธิบายแหงเกจิอาจารยนั้น พิจารณาเห็นรูปธรรมนามธรรมอื่น ๆ นอกออกไปจากพระ มเหศวรและทาวมหาพรหมนั้น แตลวนมีเหตุมีปจจัยประชุมแตงสิ้นทั้งปวง แตรูปธรรมนามธรรมที่เปน องคแหงพระมเหศวรเปนองคแหงทาวมหาพรหมนั้น หาเหตุหาปจจัยประชุมแตงมิไดอัชฌาสัยแหง เกจิอาจารยนั้นพิจารณาเห็นดังนี้ เมื่อเห็นอธิบายตามอัชฌาสัยแหงเกจิอาจารยนั้น พระมเหศวรก็เหมือนกันเปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน ทาวมหาพรหมก็จะเหมือนกันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะหาแปลกประหลาดกัน นี้ไมเปน ดังนั้นพระมเหศวรแปลก ๆ ประหลาดกันอยู ทาวมหาพรหมแปลก ๆ ประหลาดกันอยู จะไดเหมือนกัน หามิได เหตุฉะนี้จึงจะเชื่อฟงเอาตามอธิบายแหงเกจิอาจารยนั้นเชื่อฟงเอาบมิได นามและรูปที่เปน องคพระมเหศวรนั้นก็มีเหตุมีปจจัยประชุมแตงนามและรูปที่เปนองคทาวมหาพรหมนั้นก็มีเหตุมีปจจัย ประชุมแตงสิ้นดวยกัน เมื่อเห็นวานามรูปมีเหตุมีปจจัยแทแลว ลําดับนั้นพระโยคาพจรจึงพิจารณาหาซึ่งธรรมอัน เหตุตัวปจจัยนั้นวา “ เก นุ โข เต” ธรรมสิ่งดังฤๅ เปนเหตุเปนปจจัยตกแตงซึ่งรูปธรรมนามธรรม เมื่อพิจารณาซึ่งธรรมอันเปนตัวปจจัยดังนี้ ก็มีมนสิการกําหนดจิตพิจารณาซึ่งรูปกายนั้นกอน เห็น วา “อยํ กาโย ” รูปกายนี้ “นิพฺพตฺตมาโน ” เมื่อจะบังเกิดนั้น จะไดบังเกิดภายในหองแหงอุบล และบัวหลวงและบัวขาวและจงกลนีเปนอาทินั้นหาบมิได จะไดบังเกิดภายในแหงแกวมณีและแกว มุกดาหารเปนอาทินั้นหาบมิได รูปกายนี้บังเกิดภายในอุทรประเทศแหงมารดาเบื้องบนนั้นกําหนดดวย กระเพราะอาหารใหม เบื้องต่ํานั้นกําหนดดวยกระเพราะอาหารเกา เบื้องหนานั้นกําหนดดวยกระดูก หนามสันหลังแหงมารดา “อนฺตอนฺตคุณปริวาริโต ” ไสใหญและไสนอยนั้นแวดลอมอยูโดยรอบ มีกลิ่นอันเหม็น เปนปฏิกูลพึงเกลียดพึงชัง ที่อันนั้นเปนที่คับคับแคบยิ่งนัก อาหารที่รูปกายแหงสัตวบังเกิดในที่นั้น เปรียบประดุจกิจมิชาติหมูหนอน อันบังเกิดในปลาเนาแลขนมบูดแลที่น้ําคลําไหลรูปกายแหงสัตวทั้ง ปวงนี้บังเกิดดวยธรรม ๔ ประการ คือ อวิชชาประการ ๑ ตัณหาประการ ๑ อุปาทานประการ ๑ กรรม ประการ ๑ ธรรม ๔ ประการนี้เปนเหตุใหบังเกิดรูปกายสิ้นทั้งปวง อาหารนั้นเปนปจจัยในกิจอุปถัมภก อุดหนุน ตกวาอวิชชาและตัณหา แลอุปาทานทั้ง ๓ ประการนี้ เปนที่อาศัยแหงรูปกาย เปรียบ ประดุจมารดาอันเปนที่อาศัยแหงทารกกรรมนั้นเปนเหตุบังเกิดรูปกาย เปรียบประดุจบิดาอันยังทารก ใหบังเกิด อาหารนั้นอุปถัมภอุดหนุนซึ่งรูปกาย เปรียบประดุจแมนมอันอุมชูทารก เมื่อพิจารณาเห็นซึ่งเหตุ แลปจจัยแหงรูปกายดวยประการดังนี้ แลวลําดับนั้นพระโยคาพจร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 67 จึงพิจารณาเห็นซึ่งเหตุแหงนามกายวา “ จกฺขฺจ ปฏิจฺจ รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกขุวิฺญาณํ” วา จักขุประสาทแลรูปารมณแลว จึงบังเกิดขึ้นในสันดาน ฝายวาโสตวิญญาณอันอาศัยโสตประสาท แลสัททารมณแลว จึงบังเกิดฆานวิญญาณนั้นอาศัยฆานประสาท แลคันธารมณแลวจึงบังเกิด ชิวหา วิญญาณนั้นอาศัยชิวหาประสาทแลรสารมณ แลวจึงบังเกิดกายวิญญาณนั้นอาศัยกายประสาทแล โผฏฐัพพารมณ แลวจึงบังเกิดมโนวิญญาณนั้นอาศัยหทัยวัตถุแลธัมมารมณแลวจึงบังเกิด เมื่อพระโยคาพจรภิกษุพิจาณาเห็นชัดรูสันทัด วานามรูปบังเกิดแตเหตุปจจัยโดยนัยดัง พรรณามานี้แลว ลําดับนั้นก็จะเขาใจประจักษตลอดไปในอดีตแลอนาคตแลปจจุบัน จะรูชัดสันทัดแท วานามรูปในปจจุบันนี้บังเกิดแตเหตุปจจัยแลมีฉันใด นามรูปในอดีตที่บังเกิดแลวแตหลัง ๆ นั้น ก็ บังเกิดแตเหตุแตปจจัยฉันนั้น ถึงนามรูปที่จะบังเกิดตอไปในอนาคตเบื้องหนานั้น ๆ ก็จะบังเกิดแตเหตุ ปจจัยสิ้นดวยกัน เมื่อเขาใจแจงประจักษตลอดไปในอดีตแลอนาคต วาเหมือนกันกับปจจุบันนี้แลว ลําดับนั้นพระโยคาพจรภิกษุ ก็จะสละวิจิกิจฉาเสียไดสิ้นทั้ง ๑๖ ประการ แลวิจิกิจฉาทั้ง ๑๖ ประการ จัดเปนวิจิกิจฉาในอดีต ๕ ในอนาคต ๕ ปจจุบัน ๖ สิริเขา ดวยกันเปนวิจิกิจฉา ๑๖ ประการ วิจิกิจฉาในอดีต ๕ ประการนั้น คือสงสัยในอดีตชาติเบื้องหลัง ๆ วา “ อโห กึ นุ โข อหํ อตีตมทธานํ” ดังเรารําพึงในอดีตกาลเบื้องหลัง ๆ นั้น อาตมะไดบังเกิดหรือเปนประการใด สงสัย ฉะนี้เปนอดีตวิจิกิจฉาเปนปฐม แลอดีตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๒ นั้น คือสงสัยวาในอดีตกาลนั้น อาตมะไมไดบังเกิดหรือเปน ประการใด แลอดีตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๓ นั้น คือ สงสัยวาในอดีตกาลนั้นอาตมะไดเปนขัตติยชาติ หรือพราหมณชาติ หรือเปนชาวนา พอคาพอครัวเปนประการใด แลอดีตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๔ นั้น คือสงสัยวาในอดีตกาลนั้น อาตมะมีรูปพรรณสัณฐาน ใหญนอยสูงต่ําดําขาวเปนประการใด แลอดีตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๕ นั้น คือ สงสัยวาในอดีตกาลนั้น แตแรกเริ่มเดิมทีอาตมะ บังเกิดเปนสิ่งดังฤๅ แลวอาตมะมาบังเกิดเปนสิ่งดังฤๅเลา กําหนดสงสัยในอดีต ๕ ประการฉะนี้ แลสงสัยในอนาคต ๕ ประการนั้น คือสงสัยวา “ ภวิสฺสามิ นุ โข อหํ อนาคตมทฺธานํ” ในอนาคตเบื้องหนานั้น อาตมาจะไดบังเกิดอีกหรือเปน ประการใด สงสัยฉะนี้เปนอนาคตวิจิกิจฉาเปนปฐม แลอนาคตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๒ นั้น คือสงสัยวาสืบตอไปในอนาคตกาลเบื้องหนานั้น อาต มะจักบมิไดบังเกิดอีกหรือเปนประการใด แลอนาคตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๓ นั้น คือสงสัยวาสืบตอไปในอนาคตกาลนั้น อาตมะจะได บังเกิดเปนขัตติยชาติ หรือจักไดบังเกิดเปนพราหมณชาติหรือจักไดบังเกิดเปนชาวนาพอคาพอครัว เปนประการใด แลอนาคตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๔ นั้น คือสงสัยวาสืบไปในอนาคตกาลเบื้องหนานั้น อาตตะ จักไดบังเกิดมีรูปพรรณสัณฐานใหญนอยสูงต่ําดําขาวเปนประการใด แลอนาคตวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๕ นั้น คือสงสัยวาสืบไปในอนาคตกาลนั้น อาตมะจักได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 68 บังเกิดในสิ่งดังฤๅกอนแลว อาตมะจักบังเกิดเปนสิ่งดังฤๅอีกเลา กําหนดสงสัยในอนาคต ๕ ประการ ฉะนี้ แลสงสัยในปจจุบัน ๖ ประการนั้น คือสงสัยในสันดานอันเปนภายในวา “อหํ นุ โขสฺมิ ” ดังเรารําพึง ทุกวันนี้ไดชื่อวาอาตมะบังเกิดอยูหรือไมเปนประการใด สงสัยฉะนี้ เปนปจจุบันวิจิกิจฉา เปนปฐม แลปจจุบันวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๒ นั้น คือสงสัยวา “โน นุ โขสฺมิ ” ดังเรารําพึง ทุกวันนี้ได ชื่อวาอาตมะไมไดบังเกิดหรือเปนประการใด แลปจจุบันวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๓ นั้น คือสงสัยวาทุกวันนี้ไดชื่อวาอาตมะบังเกิดเปนขัตติย ชาติ หรือพราหมณชาติ หรือเปนชาวนาพอคาพอครัวเปนประการใด แลปจจุบันวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๔ นั้น คือสงสัยวาทุกวันนี้ไดชื่อวาอาตมะบังเกิด มีรูปพรรณ สัณฐานใหญนอยสูงต่ําดําขาวเปนประการใด แลปจจุบันวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๕ นั้น คือสงสัยวา “อยํ นุ โข สตฺโต กุโต อาคโต” เรารําพึง สัตวผูนี้มาแตไหน มาบังเกิดในที่นี้

ดัง

แลปจจุบันวิจิกิจฉาเปนคํารบ ๖ นั้น คือสงสัยวาสัตวผูนี้มาบังเกิดในที่นี้แลว จักไปบังเกิด ในที่ไหนอีกเลา กําหนดสงสัยในปจจุบัน ๖ ประการฉะนี้ เมื่อพระโยคาพจรภิกษุ พิจารณาเห็นชัดรูวาสันทัดวานามแลรูปบังเกิดแตเหตุแตปจจัย เหมือนกันทั้งอดีตแลอนาคตปจจุบันเห็นชัดฉะนี้แลวก็จะสละละสงสัย ๑๖ ประการนั้นเสียได ดวยอนุ ภาพปญญาที่พิจารณาเห็นนามรูปกับทั้งเหตุแลปจจัยนั้น ตกวาปญญาที่พิจารณาเห็นนามธรรมรูปธรรมกับทั้งเหตุแลปจจัยนี้แลไดนามบัญญัติชื่อวา กังขาวิตรณวิสุทธิ เปนที่ชําระสันดานใหบริสุทธิ์ขามพนจากสงสัย ๑๖ ประการ “อปโร โยคี ” แลพระโยคาพจรจําพวกอื่นบางพระองคนั้นก็พิจารณาเห็นปจจัยแหง นามธรรมวามี ๒ ประการ พิจารณาเห็นปจจัยแหงรูปธรรมวามี ๔ ประการ แลปจจัยที่จะใหบังเกิดธรรมมี ๒ ประการนั้น คือสาธารณปจจัยประการ ๑ อสาธารณปจจัย ประการ ๑ สาธารณปจจัยนั้น ไดแกทวารทั้ง ๖ มีจักขุทวารเปนตน แลอารมณทั้ง ๖ มีรูปารมณเปนตน แทจริงทวารทั้ง ๖ คือ จักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร มโนวาร ได ชื่อวาเปนสาธารณปจจัยแหงนามธรรม ดวยอรรถวาเปนเหตุใหบังเกิดจิตแลเจตสิกทั่วไปฝายกุศลแล อกุศลแลอพยากฤต แลอารมณทั้ง ๖ คือ รูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ ธัมมารมณ นั้นเลา ก็ไดชื่อวา เปนสาธารณปจจัยแหงนามธรรมนั้น ดวยอรรถวาเปนเหตุใหบังเกิดจิตแลเจตสิก ทั่วไปทั้งฝายกุศลแลอกุศลแลอพยากฤตเหมือนกับทวารทั้ง ๖ แลอสาธารณปจจัยแหงนามธรรมนั้น ไดแกเหตุทั้งหลายตาง มีมนสิการเปนตนเปนประธาร นักปราชญพึงสันนิษฐานวา โยนิโสมนนิการคือกําหนดกฏหมายในที่อันดี มีตนวากําหนดอานิสงสแหง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 69 ศีลทานการกุศลตาง ๆ นั้นก็ดี กอปรไปดวยอุบายในกิริยาที่ปลงปญญาพิจารณาพระไตรลักษณนั้นก็ดี สดับตรับฟงพระสัทธรรมเทศนาเปนอาทินั้นก็ดี จัดเปนอสาธารณเหตุนามธรรมที่เปนฝานกุศล อธิบายวาจิตแลเจตสิกที่เปนกุศลนั้น ยอมบังเกิดแตเหตุคือโยนิโสมนสิการ แลกิริยาที่สดับ ตรับฟงพระสัทธรรมเทศนาเปนอาทิจะไดบังเกิดแตเหตุสิ่งอื่นหามิได เหตุฉะนี้ โยนิโสมนการแลกิริยา ที่สดับตรับฟงพระสัทธรรมเทศนาเปนอาทินี้ จึงจัดเปนอสาธารณเหตุแหงนามธรรมที่ฝายกุศล แลกิริยาที่กระทํามนสิการในที่อันชั่ว สดับตรับฟงโอวาทอันชั่วผิดจากพระธรรมวินัยนั้น เปนเหตุใหบังเกิดจิตแลเจตสิก แตบรรดาที่เปนฝายอกุศลนั้น ๆ จะไดบังเกิดแตสิ่งอื่นหามิได เหตุฉะนี้ กิริยาที่กระทํามนสิการในที่อันชั่ว สดับตรับฟงโอวาทอันชั่ว ผิดจากพระธรรมวินัยนั้นจึงจัดเปนอสา ธารณเหตุแหงนามธรรมฝายขางอกุศล แลเจตสิกอันเปนกุศลแลอกุศลนั้น ก็มีอวิชชาแลตัณหากับคติแลกาลเปนอาทินั้น เปนเหตุ ใหบังเกิดจิตแลเจตสิก แตบรรดาที่เปนฝายวิบาก ๆ นั้น จะไดบังเกิดแตเหตุสิ่งอื่นหามิได เหตุฉะนี้ เจตนาอันกุศลแลอกุศลแลอวิชชาแลตัณหา กับคติแลกาลเปนอาทินั้นจึงจัดเปนอสาธารณเหตุแหง นามธรรมที่เปนฝายวิบาก แลภวังคจิตกันสันตีรณจิต แลกามาพจรกิริยาจิต แลอรหันตตผลจิตนั้น เปนอสาธารณเหตุ แหงนามธรรมที่เปนฝายกิริยา เพราะเหตุวาภวังจิตนั้น เปนเหตุใหบังเกิดปญจทวารวัชชนะแลมโนทวา ราวัชชนะสันตีรณจิตนั้น เปนเหตุใหบังเกิดโวฏฐวนจิตกามาพจรกิริยาจิตนั้นแลมหัคคตกิริยาจิต อรหัตตผลนั้น เปนเหตุใหบังเกิดกิริยาจิตทั้งปวง เวนไวแตปญจทวาราวัชชนะแลมโนทวา ราวัชชนะ สําแดงในปจจัยแหงนามธรรมมี ๒ ประการ คือ สาธารณปจจัยประการ ๑ อสาธารณปจจัย ประการ ๑ มีนัยดังวิสัชนามานี้แลว จึงสําแดงปจจัยแหงรูปธรรม ๔ ประการสืบตอไป ปจจัยแหงรูปธรรม ๔ ประการนั้น คือ กรรมประการ ๑ จิตประการ ๑ เตโชธาตุประการ ๑ อหารประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน กรรมนั้นไดแกกุศลแลอกุศล อันเปนเจาพนักงานตกแตงซึ่งรูปกุศลนั้นตกแตงรูปที่งามที่ดี ประณีตบรรจง อกุศลนั้นตกแตงรูปอันชั่วที่พิกลพิการตาง ๆ แลบรรดาสรรพสัตวทั่วไปในไตรโลกธาตุ นี้ ซึ่งจะมีรูปงดงามดี เปนที่เจิมใจแหงเทพามนุษยนั้น อาศัยแกกุศลตกแตง จะมีรูปชั่วพิกลพิการพึง เกลียดพึงชังนั้น อาศัยแกอกุศลตกแตง เหตุฉะนี้ กุศลแลอกุศลที่เปนเจาพนักงานตกแตงรูปนั้น ทาน จึงจัดเปนปจจัยแหงรูปธรรรมประการ ๑ ประการ ๑

แลจิตทั้งปวงที่เปนที่เปนเจาพนักงานใหบังเกิดในรูปนั้นได ทานก็เปนปจจัยแหงรูปธรรม

อธิบายวาจิตที่จัดเปนหมวดโดยนัยสังเขป ๘๙ จิตนั้น ยกอรูปวิบาก ๔ จิตกับทวิปญจ วิญญาณ ๑๐ จิตออกเสียแลว ยังคงอยูแตง ๗๕ จิตนั้น เปนเจาพนักงานใหบังเกิดไดสิ้นทั้ง ๗๕ จิต เหตุฉะนี้ ๗๕ คือ กามาพจรจิต ๔๔ รูปาพจรจิต ๑๕ อรูปาพจรจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ นั้น ทานจึง จัดเปนปจจัยแหงรูปธรรมประการ ๑ เพลิงธาตุที่เปนเจาพนักงาน รูปธรรมประการ ๑

ใหบังเกิดอุตุสมุฏฐานรูปในฐิติขณะนั้นก็จัดเปนปจจัยแหง

อาหารที่เปนเจาพนักงานใหบังเกิดอาหารสมฏฐานรูป ในฐิติขณะนั้น ก็จัดเปนปจจัยแหง รูปธรรมประการ ๑ สิริเปนปจจัยแหงรูปธรรม ๔ ประการฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 70 รูปธรรมนามธรรมในปจจุบันนี้ บังเกิดแตปจจัยสิ้นทั้งนั้นแลมีฉันใด รูปธรรมนามธรรมใน อดีตแลอนาคตนั้น ก็บังเกิดแตปจจัยเหมือนกันดังนั้น พระโยคาพจรกุลบุตรอันพิจารณาเห็นวา รูปธรรมนามธรรมในอดีตแลอนาคตแลปจจุบัน บังเกิดแตปจจัยโดยนัยดังวิสัชนามาฉะนี้ก็อาจสละละเสียซึ่งวิจิกิจฉาไดทั้ง ๑๖ ประการ เหมือนอยาง นัยที่สําแดงมาแลวแตหลัง “อปโร โยคี” พระโยคาพจรกุลบุตรจําพวกอื่นบางพระองคนั้นก็พิจารณาเห็นปจจัยแหง นามรูป โดยปฏิโลมนัยแหงปฏิจจสมุปบาทธรรมวา นามแลรูปแหงสรรพสัตวทั้งปวง จะถึงซึ่งชราแล มรณนั้นอาศัยแกมีชาติ ๆ จะมีนั้น อาศัยแกภพ ๆ จะมีนั้นอาศัยแกมีเวทนา ๆ จะมีนั้นอาศัยแกผัสสะ ๆ จะมีนั้น อาศัยแกมีสฬายตนะ ๆ จะมีนั้น อาศัยแกมีวิญญาณ ๆ จะมีนั้น อาศัยแกมีสังขาร ๆ จะมีนั้น อาศัยแกอวิชชา เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณานามแลรูป เห็นวาประกอบดวยปจจัยโดยปฏิโลมนัย แหงปฏิจจสมุปปบาทธรรมดวยประการฉะนี้ก็อาจสละละเสียซึ่งโสฬสวิจิกิจฉา ๑๖ ประการ ให ปราศจากขันธสันดานแหงอาตมะได พระโยคาพจรจําพวกอื่น บางพระองคนั้นเลาก็พิจารณานามแลรูป เห็นวาประกอบดวย ปจจัย ตามอนุโลมนัยแหงปฏิจจสมุปปบาทธรรมวา สังขารทั้ง ๓ ประการ คือบุญญาภิสังขาร อบุญญา ภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร จะบังเกิดนั้นยอมบังเกิดแตปจจัยคืออวิชชา ๆ นั้นเปนปจจัยใหบังเกิด สังขาร ๆ เปนปจจัยให บังเกิดวิญญาณ ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดนามแลรูป เปนปจจัยใหบังเกิดสาฬยต นะ ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดผัสสะ ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดเวทนา ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดตัณหา ๆ เปน ปจจัยใหบังเกิดอุปาทาน ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดภพ ๆ เปนปจจัยใหบังเกิดชาติ ๆ เปนปจจัยใหบังเกิด ชราแลมรณะ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณานามและรูป เห็นวาประกอบดวยปจจัยตามอนุโลมนัย แหงปฏิจจสมุปบาทดวยประการฉะนี้ ก็อาจสละละเสียซึ่งโสฬวิจิกิจฉา ๑๖ ประการ ใหปราศจากขันธ สันดานแหงอาตมาะไดเหมือนกัน “อปโร โยคี ” ยังพระโยคาพจรจําพวกอื่นบางพระองคนั้นก็พิจารณาซึ่งปจจัยแหงนามรูป โดยกัมมวัฏฏ แลวิปากวัฏฏ เห็นแจงชัดวาธรรม ๕ ประการ คืออวิชชาแลสังขาร แลตัณหาแล อุปาทาน แลภวะนั้น ไดชื่อวากัมมวัฏฏ วิญญาณ แลนามรูป แลสฬายตนะ แลผัสสะ แลเวทนานั้น ได ชื่อวาวิปากวัฏฏ อธิบายวาโมหะ ที่ปดบังปญญา เห็นพระไตรลักษณะเปนอาทินั้นไดชื่อวาอวิชชา กุศลแลอกุศลที่ตกแตงปฏิสนธิวิญญาณเปนอาทินั้น ไดชื่อวาสังขาร กิริยาที่ยินดีในภพ ปรารถนาสมบัติในภพนั้น ไดชื่อวาตัณหาความที่ปรารถนาบังเกิดกลา ใหถือมั่นวาเปนของ ๆ ตนนั้น ไดชื่อวาอุปาทาน กุศลเจตนาแลอกุศลเจตนา ที่ใหสําเร็จกิจอันเปนบุญแลบาปนั้นไดชื่อวาภวะ ปฏิสนธิจิตนั้น ไดชื่อวาวิญญาณ กัมมัชชรูปที่เกิดพรอมดวยปฏิสนธิจิตกับรูปธรรม นามธรรม แตบรรดาที่บังเกิดในเบื้องหนา ๆ แหงปฏิสนธิจิตนั้น ไดชื่อวานามรูป ประสาททั้ง ๕ มีจักขุ ประสาทเปนตนกับหทัยวัตถุนั้น ไดชื่อวาสฬาตนะ สัมผัสทั้ง ๖ มีจักขุสัมผัสเปนอาทิไดชื่อวาผัสสะ กิริยาที่เสวยอารมณเปนสุขแลทุกขแลโสมนัสโทมนัสแลอุเบกขานั้น ไดชื่อวาเวทนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 71 เปนใจความวาธรรมทั้ง ๕ คือ อวิชชา แลสังขาร แลตัณหาแลอุปาทาน แลภวะ ซึ่งบังเกิด ในปุริมภพแตกอน ๆ นั้น ไดชื่อวากัมมวัฏฏ ๆ นั้นดวยอรรถวา เปนปจจัยใหบังเกิดวิญญาณ แลนามรูป แลสฬายตนะ แลผัสสะ แลเวทนา ในปจจุบันภพนี้ แลธรรม ๕ ประการมีวิญญาณเปนอาทิ ซึ่งบังเกิดในปจจุบันภพนี้ ไดชื่อวาวิปากวัฏฏ ๆ นั้น ดวยอรรถวาเปนผลแหงกัมมวัฏฏบังเกิดแตกิริยาอันกัมมวัฏฏตกแตงใหบังเกิด แลธรรมทั้ง ๕ คือ อวิชชา แลสังขาร ตัณหา แลอุปาทาน แลภวะ ซึ่งบังเกิดในปจจุบันภพ นี้ ก็ไดนามบัญญัติชื่อวากัมมวัฏฏเหมือนกัน ดวยอรรถวาเปนปจจัยใหบังเกิดวิญญาณ แลนามรูป แลสฬายตนะ แลผัสสะ แลเวทนา ในอนาคตภพเบื้องหนา แลธรรม ๕ ประการมีวิญญาณเปนอาทิ ซึ่งจักบังเกิดมีในอนาคตภพเบื้องหนานั้น ก็ไดชื่อ วาวิปากวัฏฏเหมือนกัน ดวยอรรถวาเปนผลแหงกัมมวัฎฎในปจจุบันภพ บังเกิดแตกิริยาอันกัมมวัฏฏใน ปจจุบันภพแตงใหบังเกิด แลกรรมทั้ง ๑๒ ประการมีทิฏฐธรรมเวทนียกรรมเปนอาทิ มีอุปฆาตกรรมนั้นเปนปริโยสาน นั้น ก็สงเคราะหเขาในกัมมวัฏฏนี้จะไดเปนอื่นหามิได แลกิริยาที่กรรมทั้งปวงใหผลในสุคติแลทุคตินั้น ก็สงเคราะหเขาในวิปากวัฏฏนี้เอง จะได พนไปจากวิปากวัฏฏนี้หามิได เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาซึ่งปจจัยแหงนามรูป โดยนัยแหงกัมมวัฏฏแลวิปากวัฏฏ ดวย ประการฉะนี้ก็อาจสละละเสียซึ่งโสฬสวิจิกิจฉา ๑๖ ประการ ใหปราศจากสันดานแหงอาตมาไดโดยนัย ดังพรรณนามาแลวแตหลังนั้น นักปราชญพึงสันนิษฐารวา กุศลากุศลกรรม แลกุศลากุศลวิบากกัมมวัฏฏแลวิปากวัฏฏ กิริยาที่ประพฤติแหงกรรม แลกริยา ที่ประพฤติแหงวิบาก สืบตอแหงกรรมแลสืบตอแหงวิบาก กิริยา กรรมผลแหงกิริยาธรรม ซึ่งประพฤติเปนไปในโลกนี้แลไดชื่อวาสัตวโลกทองเที่ยวไปในภพ วิบากนั้นประพฤติเปนไปแตปจจัยคือกรรม บังเกิดแตกรรมภพเบื้องหนา ๆ นั้น แตลวน บังเกิดแตกรรมสิ้นทั้งปวง เมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นฉะนี้ ละสนเทหสงสัยเสียไดทั้ง ๑๖ ประการแลว ก็จะ เห็นประจักษแจงวา สัตวโลกทั้งหลายซึ่งไดนามบัญญัติโดยสมมติสัจมีประเภทตาง ๆ ซึ่งได ทองเที่ยวไปในสรรพภพ แลกําเนิดทั้ง ๕ เที่ยวไปในคติทั้ง ๕ แลวิญญาณฐิติทั้ง ๗ สัตตวาสทั้ง ๙ นั้น จะไดเปนอื่นพนออกไปจากรูปธรรมนามธรรมนี้หามิได คือ นามธรรมรูปธรรมที่ประพฤติเนื่องดวย เหตุผลนี้เอง นอกจากไปจากเหตุแลว สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะไดตกแตงซึ่งนามรูปนั้นหามิได เหตุที่วิสัชนามา แตหลังมีอวิชชาเปนอาทินั้นแลตกแตงซึ่งนามแลรูปสิ้นทั้งปวง ประการหนึ่งนอกออกจากไปจากผล คือพนออกไปจากวิบากจิตแลว สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได เปนผูเสวยหามิได วิบากจิตนั้นแลเปนผูเสวยซึ่งสุขแลทุกขสิ้นทั้งปวง เมื่อมีเหตุแลว นักปราชญ ทั้งหลายก็รองเรียกชื่อแหงเหตุนั้นชื่อวาการก อนึ่งเมื่อวิบากประพฤติเปนไปในสันดานนั้น นักปราชญทั้งหลายก็รองเรียกวิบากนั้น ชื่อวา ปฏิสังเวทกะคือเปนผูเสวย พระโยคาพจรผูมีปญญาพิจารณาเห็นฉะนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ไดชื่อวาเห็นชอบเห็นแท

ไดชื่อวาเห็นดวย


- 72 ปญญาอันดี กิริรยาที่พระโยคาพจรพิจารณาเห็นดังนี้สมดวยอธิบายอันพระโบราณาจารยสําแดงไว โดยบาทพระคาถาวา กมฺมสฺส การโก นตฺถิ วิปากสฺส จ เวทโก สุธธมฺมา ปวตฺตนฺติ เอวเมตํ สมทสฺสนํ ฯ เอวํ กมฺเม วิปาเก จ วตฺตมาเน สเหตุเก พีชรุกฺขาทีกานํว ปุพฺพาโกฏิ น ขายติ ฯ เปฯ สุฺญธมฺมา ปวตฺตนฺติ เหตุสมฺภารปจฺจยาติ อธิบายในพระบาทคาถาวา สิ่งอื่นนอกออกไปจากอวิชชาเปนอาทิแลว จะไดเปนผูตกแตง ซึ่งนามรูปนี้หามิได สิ่งอื่นนอกออกไปจากวิบากจิตแลว จะไดเปนผูเสวยหามิได สัตวโลกซึ่ง ทองเที่ยวไปในไตรภพนี้ คือรูปธรรมเทานี้เอง จะเปนสิ่งอื่นพนจากอรูปธรรมนามธรรมนี้หามิได กิริยาที่พระโยคาพจรพิจารณาเห็นฉะนี้ ไดชื่อวาเห็นชอบเห็นโดยดีเห็นไมวิปริต แทจริง สรรพสัตวซึ่งจะทองเที่ยวไปในสังสารวัฏที่มีสุดเบื้องตนบมิไดปรากฏนั้น อาศัยแก กรรมแลวิบาก ในเมื่อกรรมแลวิบากกอปรดวยเหตุดังกลาวแลวนั้น ประพฤติเปนไปเนื่อง ๆ กันอยูแลว กิริยาแลวที่จะหยั่งรูซึ่งที่สุดเบื้องตนแหงสงสารนั้น ก็เปนอันพนวิสัยที่จะหยั่งรูหยั่งเห็นเปรียบเหมือน พืชคามแลพฤกษาชาติตาง ๆ ซึ่งบังเกิดเนื่อง ๆ สืบ ๆ กัน มาตามประเพณีโลกวิสัยนั้น สุดที่จะคนควา หาขอมูลใหตลอดไปถึงที่สุดเบื้องตนนั้นได แลมีอุปมาฉันใด กิริยาที่จะหยั่งรูที่สุดเบื้องตนแหงสงสาร นั้น ก็พนวิสัยที่จะหยั่งรูหยั่งเห็นมีอุปไมยดังนั้น อาการที่กรรมวิบาก กอปรดวยเหตุดังกลาวแลว ประพฤติเปนไปในสงสารในอนาคตกาล ภายหนานั้น ปรากฏเปนอันมากยิ่งนัก จะไดปรากฏนิดหนอยนั้นหามิได ดิรัตถียนิครนถ ภายนอกจากพระพุทธศาสนานั้นไมพิจารณาเห็นเหตุอันสําแดงมานี้ ก็ถือ มั่นสําคัญผิดประพฤติตามลัทธิวิปริตแหงตน ๆ ถือวาสัตววาบุคคล เห็นผิดเปนสัสสตทิฏฐิ แลอุจเฉท ทิฏฐิถือตามมิจฉาลัทธิ ทิฏฐิทั้ง ๖๒ ประการ กลาวถอยคํานั้นเกงแยงผิด ๆ กันจะไดเขากันหามิได ดิ รัตถียทั้งหลายนั้นครั้นติดอยูในบวงทิฏฐิเปลื้องทิฏฐิเสียมิได เที่ยวทองลองลอยอยูตามกระแสแหง ตัณหา ๆ พัดพาใหเวียนตายเวียนเกิดเอากําเนิดมิรูสุดสิ้นเสวยทุกขเวทนาหาที่สุดมิได ไปไมพนจาก สงสารทุกขเลย เพราะเหตุถือผิดเห็นวาเปนตัวเปนสัตวเปนบุคคลนั้น ฝายพระสาวกในพระพุทธศาสนานี้ เห็นชอบเห็นจริงรูแทวาไมใชสัตวใชบุคคล ปญญานั้น ลึกละเอียด เห็นวาเปนกองแหงรูปธรรมนามธรรมแลว เห็นตลอดลงไปถึงเหตุถึงปจจัย เห็นชัดวาสิ่ง นั้น ๆ เปนเหตุใหเกิดรูปธรรม สิ่งนั้น ๆ เปนเหตุใหเกิดนามธรรม ประการหนึ่งเห็นละเอียดลงไปวา กรรมกับวิบากนี้แยกกันอยูเปนแผนก ๆ กัน จะไดปะปน ระคนกันหามิได กรรมนั้นมิไดมีในวิบาก มิไดระคนอยูดวยวิบาก ฝายวิบากนั้นก็มิไดมีในกรรม มิได ระคนอยูดวยกรรม แลกรรมวิบากนี้ถึงมาตรแมวาจะอยูตางกัน ไมปะปนระคนกันก็จริงแลแตทวาเปน ปจจัยแกกัน ถอยทีถอยอาศัยแกกันจะไดละเวนกันหามิได กรรมไมละวิบาก วิบากไมละกรรม จะมีครุวนาฉันใด มีครุวนาดุจดังวาแวนสองไฟกับ แสงอาทิตย อันเปนปจจัยใหเพลิงติด เพลิงนั้นจะไดมีอยูในแสงอาทิตยนั้นก็หามิได จะไดมีอยูในแวน สองไฟแลโคมัยอันแหงนั้นก็หาไม อนึ่งจะวาเพลิงนั้นอยูภายนอกพนออกจากแสงอาทิตย แลพน ออกไปจากแสงแวนแลโคมัยนั้นก็วาไมได แตทวาอาศัยแสงอาทิตย แลแวนสองไฟ แลโคมัยอันแหง นั้นประชุมกันตกแตง เปนเหตุเปนปจจัยแลวผลคือเพลิงนั้นก็ติดขึ้น อันนี้แลมีฉันใด เมื่อกรรมมีเหตุ เปนปจจัยแลววิบากคือผลแหงกรรมนั้น ก็บังเกิดมีขึ้นแลมีฉันนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 73 ถาจะวาที่แทนั้น วิบากจะไดมีอยูภายในแหงกรรมก็หามิได จะไดมีอยูภายนอกแหงกรรมก็ หามิได แตทวาอาศัยมีกรรมเปนเหตุเปนปจจัยแลว วิบากก็บังเกิดโดยสมควรแกกรรมที่เปนกุศลแล อกุศลนั้น นักปราชญพึงสันนิษฐานวานามรูปนี้ มิใชอื่นใชไกลคือวิบากแหงกรรม แลขอซึ่งวานามรูป ไดนามบัญญัติ ชื่อวามนุษย ชื่อวาเทพยดา ชื่อวาอินทรพรหมยักษอสูรคนธรรมพนาคสุบรรณตาง ๆ นั้นเปนสมมุติสัจกําหนดเรียกตามวิสัยโลกยังเอาเที่ยงจริงบมิได เมื่อพิจารณาโดยละเอียดตรองเอาที่ เที่ยงที่จริงแลว ก็คงเปนแตรูปธรรมนามธรรมเทานั้นเอง นามแลรูปนี้เปนธรรมอันเปลาสูญปราศจาก แกนสาร บังเกิดแตสัมภาระคือเหตุแลปจจัยประชุมแตงอิศวรนารายณอินทรพรหมผูหนึ่งผูใดจะได ตกแตง รูปธรรมนามธรรมนี้หามิได สิ้นคําโบราณาจารยแตเทานี้ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาเห็นปจจัยแหงรูปนามแลรูป โดยนัยแหงกัมมวัฏฏ แลวิปากวัฏฏ สละละเสียไดซึ่งโสฬวิจิกิจฉา ๑๖ ประการใหปราศจากสันดานแลว รูปธรรมนามธรรมอันเปนอดีตแล อนาคตแลปจจุบันนั้น ก็จะปรากฏดวยสามารถแหงจุติแลปฏิสนธิปญญา อันชื่อวาญาตปริญญานั้น ก็ บังเกิดมีในสันดานแหงพระโยคาพจร ๆ นั้น ก็จะรูแจงชัดวาขันธปญจกซึ่งบังเกิดแตปจจัย คือกรรมอัน บังเกิดในอดีตภพนั้น ก็ดับ ทําลายไปในอดีตภพจะไดยางเขามาสูปจจุบันภพนี้หามิได ขันธปญจกซึ่งเกิดในปจจุบัน ภพนี้เปนขันธอันอื่นบังเกิดขึ้นใหม แตทวาอาศัยมีกรรมในอดีตภพนั้นเปนปจจัยขันธในปจจุบันนี้จึง บังเกิด แลขันธซึ่งบังเกิดในอดีตภพนั้นสักสิ่งหนึ่งซึ่งจะไดยางมาสูปจจุบันนี้หามิได อนึ่งขันธซึ่งมีในอดีตกรรมปจจัย บังเกิดขึ้นในปจจุบันภพนี้เมื่อตั้งอยูควรแกกาลกําหนด แลว ก็ดับทําลายไปในปจจุบันนี้เองจะไดยางไปสูอนาคตเบื้องหนานั้นหามิได ขันธซึ่งบังเกิดในภพ เบื้องหนานั้น เปนขันธอันอื่นเกิดขึ้นใหม แตทวาอาศัยมีกรรมในอดีตภพเปนปจจัยบาง มีกรรมใน ปจจุบันภพนี้เปนปจจัยบาง ขันธในอนาคตจึงบังเกิด แลขันธที่บังเกิดในปจจุบันภพนี้ แตสักสิ่งหนึ่งจะ ไดยางไปสูอนาคตภพเบื้องหนานั้นหามิได ขอซึ่งขันธบังเกิดสืบตอเนื่อง ๆ กันนั้น ก็บังเกิดแตกรรม เปนปจจัย เปรียบเหมือนอาจารยอันบอกธรรมแกอันเตวาสิก ธรรมอันอาจารยบอกนั้น จะออกจากปาก อาจารยแลวแลจะเขาสูปากอันเตวาสิกนั้นหามิได แตทวาอาศัยกิริยาที่อาจารยบอก อาศัยกิริยาที่ อาจารยสาธยายไปกอนนั้นเปนปจจัยแลว อันเตวาสิกจึงสาธยายตามนั้นได โดยนัยอันควรแกอาจารย กอน ตกวาอันเตวาสิกจะสาธยายไดขึ้นใจขึ้นปากนั้น อาศัยแกเหตุที่ไดฟงอาจารยสาธยายกอน ใชวา สาธยายในปากอาจารยนั้น จะแลนเขามาสูมุขทวารแหงอันเตวาสิกนั้นหาบมิได อันนี้แลมีฉันใด ขันธ ปญจกซึ่งเกิดสืบ ๆ สันดานเวียนไปในจตุรโอฆสงสาร บังเกิดแตปจจัยอันสืบเนื่องตอ ๆ กัน มีอุปไมย ฉันนั้น ถามิฉะนั้นเปรียบเหมือนคนเปนโรค อันไขทูตใหนําอาการที่ปวยมาบอกแกาทานผูมีความ วิเศษ ๆ นั้น ก็เสกน้ํามนตสงใหแกทูตใหทูตนั้นดื่มซึ่งน้ํามนต น้ํามนตอันทูตดื่มกินนั้น จะไดเขาไป ทองคนปวยนั้นหามิได แตทวาอาศัยกิริยาที่ทูตดื่มกินซึ่งน้ํามนตนั้นเปนปจจัยแลว โรคแหงคนปวยนั้น ก็ระงับ โรคระงับแตปจจัยแลมีฉันใด ขันธปญจกที่เกิดสืบ ๆ สันดานนั้น ก็บังเกิดแตปจจัยมีอุปไมยฉัน นั้น ถามิฉะนั้น เหมือนเงาที่ปรากฏในแวน ในกาลเมื่อตกแตงประดับกาย อธิบายวาเมื่อบุคคล จะหวีผมผัดหนานั้น ยอมอาศัยเอาเงาในแวนเปนแบบอยาง หนาอยางไรเงาในแวนก็อยางนั้น อาการ ที่ประดับหนานั้นอยางไร ก็ปรากฏในแวนอยางนั้น ใชวาหนาจะไปอยูในแวนก็หามิได วิธีที่ประดับหนา นั้นจะไดยางไปสูพื้นแหงแวนนั้นก็หาไม แตทวาอาศัยแวนกับหนานั้นประชุมกันเปนปจจัย แลวเงา หนาแลวิธีประดับหนานั้น ก็ปรากฏในพื้นแหงแวนทุกประการ อันนี้แลมีฉันใดขันธปญจกซึ่งบังเกิด สืบสันดานทองเที่ยวไปในวัฏฏสงสารนี้ ก็บังเกิดแตปจจัยมีอุปไมยฉันนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 74 ใชวาขันธในอดีต จะยางมาในปจจุบัน จะยางไปในอนาคตนั้นก็หามิได บังเกิดไปในภพใน ภพใด ๆก็ดับทําลายไปในภพนั้น ๆ ขันธที่บังเกิดในภพอดีต ก็ดับไปในภพอดีตนั้น ที่เกิดในปจจุบัน ภพก็ดับไปในภพปจจุบัน ที่จักเกิดไปในอนาคตก็ดับไปในอนาคต แลกิริยาที่เบญขันธบังเกิดสืบตอไปหาที่สุดมิไดนั้น อาศัยแกเหตุที่เปนปจจัยสืบ ๆ กัน เปรียบเหมือนเปลวประทีป ธรรมดาวาเปลวประทีปอันบุคคลจุดตอ ๆ กันนั้น ใชเปลวประทีปอันนี้จะ ยางไปสูเปลวประทีปอันนั้น เปลวประทีปนั้นจะยางไปสูประทีปโนนหามิได ติดอยูในประทีปอันเดียว ก็ รุงเรืองอยูในประทีปอันนั้น ติดอยูที่ไหนก็ดับไปที่นั้น ซึ่งจะรุงเรืองตอ ๆ ไปหาที่สุดบมิไดนั้น อาศัยแก จุดตอ ๆ กันเปนปจจัยแลมีฉันใด ขันธปญจกบังเกิดเวียนไปในวัฏฏสงสารนี้ ก็บังเกิดแตปจจัยสืบ ๆ กันมีอุปไมยฉันนั้น แลขันธซึ่งบังเกิดแตปจจัย บังเกิดสืบ ๆ เนื่อง ๆ กันไมรูสิ้นรูสุดนั้น จะไดปะปนระคนกันหา มิได ตั้งอยูเปนแผนก ๆ กัน ถาจะวาโดยละเอียดนั้น แตจิตในวิถีอันเดียวกันก็ระคนกันไมบังเกิดเปนแผนก ๆ แยกกัน อยูแตละขณะ ๆ เหมือนอยางปญจทวาราวัชชนะจิต ที่บังเกิดในตนแหงจักขุทวารวิถีนั้น จักขุวิญญาณ บังเกิดเปนลําดับ แตจักขุวิญญาณนั้นแมวาบังเกิดในลําดับปญจทวาราวัชชนะจิตก็จริงแล แตทวาจะ ไดมีธรรมสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ติดเนื่องมาแตปญจทวาราวัชชนะจิตนั้นหามิได จักขุวิญญาณนั้นบังเกิดใน ขณะหนึ่งโดยอันควรแกปจจัยแล วิสัยแหงตน จะไดแปดปนระคนอยูดวยปญจทวาราวัชชนะนั้นหา มิได จึงสัมปฏิจฉันนะแลสันตีรณะ แลโวฏฐวนะ แลชวนะ แลตทาลัมพณะนั้นก็บังเเกิดโดยอันควรแก ปจจัยแลวิสัยแหงตน ๆ จะไดแปดปนระคนกันหามิไดอันนี้แลมีฉันใด ในเมื่อปฏิสนธิจิตบังเกิดแลว จิต สันดานซึ่งประพฤติเปนไปในเบื้องหนาปฏิสนธินั้น ก็บังเกิดโดยปจจัยแลวิสัยแหงตน ๆ จะไดแปดปน ระคนกัน มาตรวาขณะหนึ่งนั้นหามิไดมีอุปไมยดังนั้น ในกาลเมื่อจะสิ้นชาติสิ้นภพนั้นจุติบังเกิดแลว ปฏิสนธิจิตก็บังเกิดในลําดับแหงจุติ จุติจิต บังเกิดขึ้นในขณะหนึ่งดับแลวปฏิสนธิจิตก็บังเกิดในลําดับนั้น จะไดเปนชองเปนวาง มาตรวาหนอย หนึ่งหามิได ขณะเมื่อตั้งปฏิสนธินั้นจะไดมีธรรมสิ่งใดสิ่งหนึ่งยางมาแตจุตินั้นหามิได ปฏิสนธิจิตนั้นบ มิไดระคนดวยจุติจิตบังเกิดสมควรแกปจจัย คือกุศลากุศลประชุมแตง เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาเห็นปจจัยแหงนาม แลรูปปรากฏดวยอาการทั้งปวง จําเดิมแต จุติแลปฏิสนธินั้นหาดวยประการฉะนี้ ปญญานั้นจะแกลวกลามีกําลัง วิจิกิจฉา ๑๖ ประการก็จะ ปราศจากสันดานเปนอันดีโดยพิเศษ ใชจะปราศจากไดแตเพียงโสฬสวิจิกิจฉาเทานี้หาบมิได กิริยาที่ สงสัย ๘ ประการ มีสงสัยในพระศาสดาจารยเปนอาทินั้นก็ปราศจากสันดารจะสละละไดเปนอันดี แลว จะขมขี่สละละทิฏฐิ ๑๖ เสียได ดวยอํานาจปญญาอันชื่อวา กังขาวิตรณวิสุทธิ อันมีลักษณะขาม สนเทหสงสัยไดในกาลทั้ง ๓ ดวยกิริยาอันพิจารณาซึ่งปจจัยแหงนามแลรูป ดวยนัยตาง ๆ อยาง พรรณนัยมาฉะนี้ ปญญาอันชื่อวากังขาวิตรณวิสุทธินี้ บางทีพระพุทธองคตรัสเทศนาเรียกวาธัมมัฏฐิติญาณ บางทีตรัสเทศนาเรียกวายถาภูตญาณ บางทีตรัสเทศนาเรียกวา สัมมาทัสสนญาณ ตางกันแต พยัญชนะ อรรถจะไดตางกันหาบมิได อรรถอันเดียวกันพระโยคาพจรผูประกอบไปดวยปญญากังขา วิตรณวิสุทธิพิจารณาเห็นอยางพิจารณามาฉะนี้ จะมีคติอันเที่ยง จะไดนามบัญญัติชื่อวาจุลโสดาใน พระพุทธศาสนาแลว จะไดซึ่งที่พึ่งคือพระอริยมรรคจะไดซึ่งความชื่นชมคือพระอริยผล เหตุดังนั้น ภิกษุผูเห็นภัยในวัฏฏสงสารมีประโยชนดวยกังขาวิตรณวิสุทธิญาณพึงมีสติบําเพ็ญเพียรพิจารณา ซึ่ง ปจจัยแหงนามและรูปสิ้นกาลทุกเมื่อ อยาไดประมาทลืมเสียซึ่งพิธีอันพิจารณาซึ่งปจจัยแหงรูปธรรม นามธรรม โดยนัยที่วิสัชนามาฉะนี้ วิปสสนาซึ่งปญญาอันชื่อวากังขาวิตรณวิสุทธิ โดยสังเขปยุติการ เทาที่ แตนี้จักแสดงซึ่งมัคคญาณทัสสนวิสุทธิตอไป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 75 “ อยํ มคฺโค อยํ น มคฺโคติ เอวํ มคฺคฺจ อมคฺคญจ ญตฺวา ิตณาณํ ปน มคฺคามคฺค ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ สมฺปาเทตุกาเมน กลาป สมฺมสฺนสงฺขาตาย นยวิปสฺสนาย โยคา กรณีโย ” “ กสฺมา อารทธวิปสฺสกสฺส โอภาสาทิสมฺภเว มคฺคามคฺค ญาณ ทสฺสกมฺวโต อารทฺธ วิปสฺสกสฺส หิ โอภาสาที่สุ สมฺภูเตสุ มคฺคามคฺคญาณํ โหติ” ในมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินี้ มีอรรถาธิบายวาปญญาที่บังเกิดแลวตั้งอยูในสันดาน รู แทเห็นแทวาสิ่งนี้คืออริยมรรค สิ่งนี้มิใชอริยมรรคนี้แลไดชื่อวามัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ พระโยาคาพจรผูกระทําความเพียร ปรารถนาจะยังมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ใหบริบูรณ ในสันดานนั้น พึงเพียรพยายามบําเพ็ญพระวิปสสนาปญญา พิจารณาดูกลาปอยาไดเกียจครานในกาน บําเพ็ญพระวิปสสนา เหตุดังฤๅ เหตุวามัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิวิสุทธินั้นเฉพาะบังเกิดแกพระโยคาพจรผูมี วิปสสนาอันแกกลาบริบูรณแลว แลมีอุปมากิเลสอันใดอันหนึ่งมีโอภาสเปนตน เสียดเขามาบังเกิดใน สันดาน แทจริงกาลเมื่อวิปสสนาปญญาแกกลาบริบูรณแลว ถาอุปกิเลสมีตนวาโอภาสเสียดเขามา บังเกิดในสันดานกาลใด มัคคามัคคาญาณ คือองคปญญา อันพิจาณาเห็นแทรูแทวาสิ่งนี้เปนอุปกิเลส มิใชอริยมรรค สิ่งนี้เปนอริยมรรค ปญญารูดังนี้ จึงจะบังเกิดมีในสันดานกาลนั้น ถาวิปสสนาปญญายัง มิไดแกกลาอุปกิเลสเปนตนวา โอภาสยังมิไดบังเกิดในสันดานตราบใด มัคคามัคคญาณก็ยังมิได บังเกิดในสันดานตราบนั้น เหตุฉะนี้พระโยคาพจรผูปรารถนาจะยังมัคคามัคคญาณ สันดานนั้น พึงใหกระทําเพียรบําเพ็ญพระวิปสสนาใหกลาขึ้นกอน

ทัสสนวิสุทธิใหบังเกิดบริบูรณใน

“ วิปสฺสนาย จ กลาปสมฺมสฺสนํ อาทิ” แลกิจที่จะบําเพ็ญวิปสสนาใหแกกลาขึ้นนั้น มี กิริยาที่พิจารณากลาปเบื้องตน เหตุดังนั้นพิธีที่พิจารณากลาปนั้น พระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารย จึงวิสัชนาไวในลําดับแหงกังขาวิตรณวิสุทธิ เพื่อจะใหเห็นใจความวากิจที่จะพิจารณากลาปนี้แล เปน เดิมเหตุที่จะใหวิปสสนาปญญาแกกลา เปนปจจัยที่จะใหมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิบริบูรณใน สันดาน “ อปจ” นัยหนึ่งพระผูเปนเจาพุทธโฆษาจารย จึงวิสัชนาไววา “ ตีรณปริญฺาย วตฺต มานาย” เมื่อตีรณปริญญาประพฤติเปนไปในสันดาน สําเร็จกิจแหงตีรณปริญญาแลว ทีนี้แลมัค คามัคคญาณจึงจะบังเกิดในสันดาน แลตีรณปริญญานั้น เทียรยอมบังเกิดในลําดับแหงญาตปริญญา ๆ บังเกิดแลว ตีรณปริญญา จึงบังเกิดในสันดาน แลลักษณะปริญญานั้นถาจะวาโดยฝายโลกิยะ จัดประเภทแหงโลกิยปริญญานั้น เปน ๓ ประการ คือ ญาตปริญญา ๑ ตีรณปริญญา ๑ ปหานปริญญาเปน ๓ ปนะการ ดังนี้ ญาตปริญญานั้น คือ อภิญญาปญญาอันบังเกิดใหรูจักสภาวะลักษณะแหงสังขารธรรมทั้ง ปวงโดยแท เห็นวารูปนี้มีกิริยาที่รูฉิบหายเปนสภาวลักษณะ เวทนานี้มีกิริยาที่เสวยอารมณเปนสภาว ลักษณะปญญารูแทในลักษณะเปนอาทิดังนี้แล ไดชื่อวาญาตปริญญา แลตีรณปริญญานั้น คือ ปญญาอันมีพระไตรลักษณเปนอารมณปญญานั้นจะยกขึ้นสามัญญ ลักษณะ พิจารณาเห็นเสมอกันทั่วไปในสังขาร ธรรมทั้งปวง เห็นวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้น ๆ ไมเที่ยง กอปรดวยทุกขไมใชตน เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเหมือนกันสิ้นมิไดแปลก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 76 มิไดผิดกัน ปญญาพิจารณาพระไตรลักษณโดยสามัญญลักษณะทั่วไปในสังขารธรรมทั้งปวงดังนี้แล ไดชื่อวาตีรณปริญญา แลปหานปริญญานั้น คือ ปญญาอันมีพระไตรลักษณเปนอารมณละเสียซึ่งอนิจจสัญญาดวย อํานาจพระอนิจจัง ละเสียซึ่งสุขปญญาดวยอํานาจพระทุกขัง ละเสียซึ่งอัตตสัญญาดวยอํานาจพระ อนัตตา ถึงละไมไดขาด ละไดเปนตทังคปหานแลวิกขัมภนปหานแตเพียงนั้นก็ควรจะเรียกวาปหาน ปริญญาได แตจัดเปนฝายโลกิยะ ยังมิไดขึ้นถึงภูมิโลกุตตระ นักปราชญพึงสันนิจฐานวา ปริญญา ๓ ประการ คือญาตปริญญา ตีรณปริญญา ปหาน ปริญญานี้ ถาบังเกิดพรอมดวยมรรคจิตผลก็ไดชื่อวาโลกุตตรปริญญา ถาบังเกิดพรอมดวยโลกิยจิต ก็ เรียกวาโลกิยปริญญา แลมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิจะบังเกิดนั้น ก็บังเกิดในลําดับแหงตีรณปริญญาอันเปน โลกิยะ แลโลกิยปริญญา ๗ ประการนี้จะไดบังเกิดในภูมิอันอื่นหามิได บังเกิดในภูมิแหงวิปสสนา นั้นเอง “สงฺขารปริจจฺฉทโต ปฏาย ” จําเดิมแตกําหนดกฏหมายสังขารธรรมทั้งปวงไป ตราบ เทาถึงที่พิจารณาปจจัยแหงนามแลรูปนั้นจัดเปนภูมิแหงปญญา เปนที่เกิดแหงญาตปริญญา “ กลาปสมฺมสฺสนโต ปฏาย” จําเดิมแตพิจราณากลาปไปตราบเทาสําเร็จอุทยัพพย ญาณนั้น จัดเปนภูมิแหงตีรณปริญญาเปนที่เกิดแหงตรณปริญญา จําเดิมแตไดสําเร็จภังคานุปสสนาญาณไป ตราบเทาถึงที่สุดเบื้องบนคือยอดวิปสสนานั้น จัดเปนภูมิแหงปหานปริญญา เปนที่เกิดแหงปหานปริญญา “ปจฺจตฺตลกฺขณปฏิเวธสฺเสว อาธิปจฺจํ ” นักปราชญพึงรูวาปญญาที่เกิดในภูมิแหงญาต ปริญญานั้น เปนใหญใหตรัสรูสภาวะลักษณะอันแทแหงสังขารธรรมทั้งปวง แลปญญาที่เกิดภูมิตีรณปริญญานั้น เปนใหญใหรูซึ่งสามัญลักษณะคือใหรูแหงสังขารธรรม ทั้งปวงนี้ เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเหมือนกันสิ้นจะไดแปลกกันหามิได แลปญญาที่บังเกิดในภูมิแหงปหานปริญญานั้น เปนตนเปนเดิม

เปนใหญในกิจอันสละเสียซึ่งอนิจจสัญญา

แทจริงจําเดิมแตวิปสสนาแกกลาขึ้น ยางเขาภูมิแหงปหานปริญญาแลว “ อนิจฺจโต สฺสนฺโต” เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาพระอนิจจังจําเริญอนิจจานุวิปสสนา ก็ อาจสละละเสียซึ่งอนิจจสัญญาลักษณะที่สําคัญวาเที่ยงนั้น อาจบําบัดใหปราศจากขันธสันดานแหง ตนได “ทุกฺขโต ปสฺสนฺโต ” ถาพระโยคาพจรนั้นพิจารณา ทุกขังเจริญทุกขานุปสสนา ก็อาจจะ สละละเสียซึ่งสุขสัญญลักษณะที่สําคัญวาเปนสุขนั้น อาจบําบัดใหปราศจากขันธสันดานแหงตนได “ อนตฺตโต ปสฺสนฺโต” ถาพระโยคาพจรนั้นพิจารณาพระอนัตตาเจริญอนัตตานุปสสนา ก็ อาจจะสละละเสียซึ่งอัตตสัญญาลักษณะที่สําคัญวาเปนตัวเปนตนเปนของแหงตน ก็อาจบําบัดให ปราศจากขันธสันดานแหงตนได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 77 ขึ้นชื่อวาเพียรบําเพ็ญวิปสสนา วิปสสนาแกกลายางเขาถึงภูมิแหงปหานปริญญา มาตร แมวายังไมไดสําเร็จพระอริยมรรคก็อาจสละละวิปลาศเปนตนคือ นิจจสัญญา สุขสัญญา อัตตสัญญา ได เปนตทังคปหาน แลวิกขัมภนปหาน พระโยคาพจรกุลบุตร อันสถิตอยูในภูมิแหงปหานปริญญานั้น ถาจะเจริญนิพพิทานุปสสนาก็ อาจสละละเสียซึ่งตัญหาอันกอปรดวยปติใหปราศจากขันธสันดานได “ วิรชฺชนฺโต” ถาเจริญวิราคานุปสสนาไดสําเร็จพระอริยมรรค ก็อาจสละละซึ่งราคะให ปราศจากขันธสันดานได เปนสมุจเฉทโดยอันควรแกกลากําลัง แหงพระอริยมรรคที่ตัดกิเลสเปน สมุจเฉทปหาน ซึ่งอยูในภูมิแหงปหานปริญญานั้น ถาเจริญนิโรธานุปสสนาหนวงเอาพระนฤพานเปน อารมณไวแลว ก็อาจละตัณหาอันกอนใหเกิดเสียไดเปนสมุจเฉทปหาน ถาเจริญปฏินิสสัคคานุปสสนา ก็อาจสละละเสียซึ่งทิฏฐิขาด ปราศจากตัณหาอุปาทานโดยอันควรแกกําลังแหงพระโลกุตตรธรรมที่จะ ขจัดกิเลสเปนสมุจเฉทปหาน นักปราชญพึงสันนิษฐานวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินั้นบังเกิดในลําดับแหงโลกิยตีรณ ปริญญานั้น ๆ บังเกิดในลําดับแหงญาตปริญญานั้น ๆ บังเกิดดวยอํานาจเจริญวิปสสนากรรมฐาน ตกวาวิปสสนานี้ เปนมูลเหตุที่จะใหไดสําเร็จมัคคามัคคญาณเหตุนี้ พระโยคาพจรผู ปรารถนาจะยังมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิใหบริบูรณในสันดานนั้น พึงกระทําเพียร เจริญวิปสสนา พิจารณากลาปนั้นเปนตนเปนเดิมกอน “ กลํ” ขอซึ่งวาพิจารณากลาปนั้น จะใหพิจารณาเปนอยางไร อธิบาย ปญญาอันพิจารณายอสังขารธรรม อันเปนภายในแลภายนอกหยาบละเอียดไกลแล ใกลเปนอดีต อนาคต ปจจุบันรวมเขาดวยกันแลวแลกําหนดโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นวาไม เที่ยงเปนทุกขไมใชตนเหมือนกันอยางนี้แล ไดชื่อวาพิจารณากลาปจัดเปนปฐมวิปสสนา ๆ เบื้องตน นั้นมีนามปรากฏชื่อวาสัมมัสสนญาณ ประเภทแหงสัมมัสสนญาณนั้น พระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารยจําแนกออกโดยนัยพระ บาลี ในคัมภีรพระปฏิสัมภิทามรรควา “ อตีตา นาคตปจฺจุปปฺนฺนานํ ธมฺมานํ สงฺขิปตฺวา ววตฺถาเน ปฺญาสมฺมสฺสนญาณํ ” อธิบายวาวิปสสนาปญญาที่ยอสังขารธรรมทั้งปวง อันเปนอดีตอนาคตปจจุบันเขาดวยกัน แลว แลพิจารณาโดยพระไตรลักษณนั้นแล ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา วิปสสนาปญญาอันยอรูปขันธในอดีตอนาคตปจจุบันเขา ดวยกัน ยอรูปภายในภายนอก รูปหยาบ รูปละเอียด รูปอยูไกล รูปอยูใกล เขาดวยกันแลวแลกําหนด โดยอนิจจังนั้น จัดเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ยอรูปขันธเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยทุกขังนั้น จัดเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ยอรูปขันธเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยอนัตตานั้นจัดเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ปญญาที่ยอเวทนาขันธ ทั้งอดีตอนาคตปจจุบัน ภายในภายนอกอยางหยาบอยางละเอียด อยางดีอยางชั่ว ไกลแลใกลเขาดวยกันแลวแลกําหนดโดยอนิจจัง เห็นวาไมเที่ยงไมแทเหมือนกันนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 78 ก็จัดเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ปญญาที่ยอเวทนาขันธเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยทุกขังนั้นก็จัดเปนสัมมัสสนญาณ ประการ ๑ ปญญาที่ยอเวทนาขันธเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยอนัตตาเห็นวาไมใชอาตมาใชของ อาตมานั้น ก็จัดเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ปญญาที่พิจารณายอสัญญาขันธ ในอดีตอนาคตปจจุบันเขาดวยกันยอมสัญญาขันธอยาง หยาบอยางละเอียด อยางดี อยางชั่ว ภายนอก ภายใน ไกลแลใกล เขาดวยกันแลว แลกําหนดโดย อนิจจังนั้นจัดเปนสัมมัสนญาณประการ ๑ ปญญาที่ยอสัญญาขันธเขาดวยกันแลว สัมมัสสนญาณประการ ๑ ปญญาที่ยอสัญญาขันธเขาดวยกันแลว

แลกําหนดโดยทุกขังเหมือนกันนั้น

ก็จัดเปน

แลกําหนดอนัตตานั้นก็จัดเปนสัมมัสสนญาณ

ประการ ๑ ปญญาที่ยอสัญญาขันธที่เปนอดีตเปนตน พิจารณาโดยอนิจจังเปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ พิจารณาโดยทุกขัง เปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ พิจารณาโดยอนัตตา เปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ปญญาตอวิญญาณขันธที่เปนอดีตเปนตน พิจารณาโดยอนิจจังเปนพิจารณาโดยอนัตตา เปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ สิริรวมสัมมัสสนญาณ สัมมัสสนญาณประการ ๑ พิจารณาโดยทุกขัง เปนสัมมัสสนญาณประการ ๑ ในขันธทั้ง ๕ นี้ เมื่อสัมมัสสนญาณ ๑๕ ประการดวยกัน ใชแตเทานั้น ปญญาที่พิจารณาทวารทั้ง ๖ คือจักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร มโนทวารกอทวารทั้ง ๖ ในอดีตแลอนาคตแลปจจุบันเขาดวยกัน ยออทวารทั้ง ๖ อันเปน ภายในแลภายนอกอยูไกลอยูใกล อยางหยาบ อยางละเอีอด อยางดี อยางชั่วเขาดวยกันแลวแล กําหนดโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้นเห็นวาทวารทั้ง ๖ ไมมั่นไมคงไมยั่งไมยืนไมเที่ยงไมแท มีแต ทุกขเปนเบื้องหนาใชของอาตมาใชของอาตมาเหมือนกัน จะไดแปลกไดผิดกันหาบมิได ปญญาที่ พิจารณาทวารทั้ง ๖ โดยพระไตรลักษณดังนี้ ก็จัดเปนสัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ สิริเขาดวยกัน เปนสัมมัสสนญาณในทวารทั้ง ๖ ได ๑๘ ประการดวยกัน ใชแตเทานั้น ปญญาที่พิจารณาอารมณทั้ง ๖ คือ รูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ ธัมมารมณ ยออารมณทั้ง ๖ อันเปนภายนอกแลภายใน อยางหยาบ อยาง ละเอียด อยางชั่วอยางดี อยูไกลอยูใกลเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยอนิจจังทุกขังอนัตตา เห็นวา ไมเที่ยงไมจริงกอปรดวยทุกขดวยภัย ใชอาตมา ใชของอาตมาเหมือนกันสิ้น ปญญาที่พิจารณา อารมณทั้ง ๖ โดยพระไตรลักษณดังนี้ ก็จัดเปนสัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ ตกวาอรมณแตละสิ่ง ๆ นั้น กอปรดวยสัมมัสสนญาณไดละสิ่ง ๆ สิริรวมเขาดวยกันเปนสัมมัสสนญาณในอารมณ ๖ ได ๑๘ ประการดวยกัน แตปญญาที่พิจารณาวิญญาณทั้ง ๖ คือ จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ ยอวิญญาณทั้ง ๖ อันเปนภายนอกภายใน อยางหยาบอยาง ละเอียดอยางชั่วอยางดี ไกลแลใกลเขาดวยกันแลว แลกําหนดโดยอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็จัดเปน สัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ เหมือนกันกับนัยหนหลัง สิริเปนสัมมัสสนญาณในวิญญาณทั้ง ๖ ได ๑๘ ประการดวยกัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 79 ใชแตเทานั้น

ปญญาอันพิจาณาสัมผัสทั้ง

มีจักขุสัมผัสเปนอาทิมีมโนสัมผัสเปน

ปริโยสาน พิจารณาเวทนาทั้ง

มีจักขุสัมผัสสชาเวทนาเปนตน

มีมโนสัมผัสสชาเวทนาเปน

พิจารณาสัญญาทั้ง

มีจักขุสัมผัสสชาสัญญาเปนตน

มีมโนสัมผัสสชาสัญญาเปน

พิจารณาเจตนาทั้ง

มีจักขุสัมผัสสชาเจตนาเปนตน

มีมโนสัมผัสสชาเจตนาเปน

ปริโยสาน ปริโยสาน ปริโยสาน พิจารณาตัณหาทั้ง ๖ มีรูปตัณหาเปนตน มีธัมมตัณหาเปนปริโยสาน พิจารณาวิตกทั้ง ๖ มีจักขุทวาริกวิตกเปนตน มีมโนทวาริกวิตกเปนปริโยสาน พิจารณาวิจารทั้ง ๖ มีจักขุทวาริกวิจารเปนตน มีมโนทวาริกวิจารเปนปริโยสาน พิจารณาธาตุทั้ง ๖ มีจักขุธาตุเปนตน มีมโนธาตุเปนปริโยสาน พิจารณากสิณทั้ง ๑๐ มีปวีกสินเปนตน มีอาโปกสินเปนปริโยสาน พิจารณาอาการ ๓๒ มีเกศาโลมาเปนตน มีมัคถลุงคังเปนปริโยสาน พิจารณาอายตนะ ๑๒ มีจักขวายนะเปนตน มีธัมมายตนะเปนปริโยสาน พิจารณาธาตุ ๑๘ มีจักขุธาตุเปนตน มีมโนวิญญาณธาตุเปนปริโยสาน พิจารณาอินทรีย ๒๒ มีจักขุนทรียเปนตน มีอัญญาตาวินทรียเปนปริโยสาน พิจารณาธาตุทั้ง ๓ คือกามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ พิจารณาภพทั้ง ๙ คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญีนาสัญญีภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ ปญจโวการภพ พิจารณารูปชฌานทั้ง ๔ คือปฐมมัชฌาน ทุติยัชฌาน ตติยัชฌาน จตุตถัชฌาน พิจารณาอัปปมัญญาทั้ง ๔ คือเมตตาพรหมวิหาร กรุณาพรหมวิหาร มุทิตาพรหมวิหาร อุเบกขาพรหมวิหาร พิจารณาอรูปชฌานทั้ง ๔ มีอากาสานัญจายตนัชฌานเปนตน มีเนวสัญญานาสัญญายตนัช ฌานเปนปริโยสาน ปริโยสาน

พิจารณาองคแหงปฏิจจสมุปบาทธรรมทั้ง ๑๒ ประการ มีอวิชชาเปนตน มีชราแลมรณะเปน

ยอธรรมทั้ง ๑๙ กองเขาดวยกันเปนกอง ๆ รวมอดีตอนาคตแลปจจุบันเขาดวยกัน รวม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 80 ธรรมกายภายนอกภายใน อยางหยาบอยางละเอียด อยางชั่วอยางดี ไกลแลใกลเขาดวยกันเปนกอง ๆ แลวก็กําหนดธรรมทั้ง ๑๙ กองนั้นโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พิธีที่ยอมธรรม ๑๙ กองเขาดวยกัน พิจารณาโดยนัยที่พิจารณาเบญจขันธเปนอาทินั้น จัดเปนสัมมัสสนญานแตละอัน ๆ เหมือนกันกับที่ สําแดงแลวในเบญขันธเปนอาทินั้น เหตุฉะนี้ในสัมผัสสราสีนั้น จึงนับสัมมัสนญาณได ๑๘ ประการ ในฉเวทนาราสีนั้น จึงนับสัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ ในฉสัญญาราสี แลฉเจตนาราสี ฉตัณหาราสี นับสัมมัสสนญาณไดกองละ ๑๘ ประการ ๆ เหมือนกัน

ฉวิตกราสี

ฉวิจารราสี

ฉธาตุราสี

ก็

ในจตุกกัชฌานราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๑๒ ประการ ในจตุกกัชฌานราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๑๒ ประการ ในจตุกกอัปปมัญญาราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๑๒ ประการ ในทสกกสิณราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๓๐ ประการ ในทวัตติงสโกฏฐาสราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๙๖ ประการ ในทวาทสายตนราสีนั้น นัยสัมมัสสนญาณได ๓๖ ประการ ในอัฏฐารสธาตุราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๕๔ ประการ ในพาวีสตีนทรียราสีนั้น นับสัมมัสสญาณได ๖๖ ประการ ในตรีธาตุราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๙ ประการ ในนวภวนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๒๗ ประการ ในจกุกสมาบัติรานั้น นับสัมมัสสนญาณได ๑๒ ประการ ในทวาทสปฏิจจสมุปปาทังคราสีนั้น นับสัมมัสสนญาณเขาดวยกันจับเดิมแตพิจารณาเบญจ ขันธนั้นมา จึงเปนสัมมัสสนญาณ ๖๐๓ ประการดวยกัน สัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ นั้น มีโอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการสิ้นดวยกัน โอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการนั้นสําเร็จดวยติกกะอันหนึ่ง ทุกกะ ๔ ทุกกะ ติกกะอันหนึ่งนั้น ไดแกอดีตติกกะ อันสมเด็จพระสรรเพชญพุทธองค โปรดประทานพระ สัทธรรมเทศนาในคัมภีรพระอภิธัมมัตถสังคิณีวา “อตีตา ธฺมมา อนาคตา ธฺมมา ปจฺจุปฺปนฺนา ธฺมมา ” แลทุกกะ ๔ ทุกกะนั้น ไดแกอัชฌัตถทุกกะประการ ๑ โอฬาริกทุกกะประการ ๑ หีนทุกกะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 81 ประการ ๑ ทูเรทุกกะประการ ๑ ที่พระพุทธองคตรัสเทศนาไวในคัมภีรพระอภิธัมมัตถสังคิณี นักปราชญพึงสันนิษฐานโดยกระทูความวา สัมมัสสนญาณแหงพระโยคาพจรกุลบุตรอันพิจ ราณาสังขารธรรมนั้น นับเขาในติกกะ ๑ ทุกกะ ๔ คือพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาสังขารธรรม อัน เปนอดีตแลอนาคตแลปจจุบันนั้น ไดชื่อวาสัมมัสนญาณกอปรไปในติกกะอันหนึ่งคืออดีตติกกะ กาลเมื่อพิจาณาสังขารธรรมอันเปนภายนอกแลภายใน ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณ กอปรไป ในอัชฌัตมทุกกะ กาลเมื่อพิจารณาสังขารธรรมอยางหยาบอยางละเอียดนั้น ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณ กอปรไป ในพาหิกทุกกะ กาลเมื่อพิจารณาสังขารธรรมอยางชั่วอยางดีนั้น ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณ กอปรไปในหีนทุก กะ กาลเมื่อพิจารณาสังขารธรรม อยูไกลอยูใกลนั้น ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณ กอปรไปในทูเรทุก กะ ในทุกกะ ๔ ทุกกะนี้ แยกออกเปนบทได ๘ บท ติกกะอันหนึ่งนั้น แยกออกเปนบทได ๓ บท ๘ กับ ๓ เขากันเปน ๑๑ เรียกวาโอกาสปริเฉท ๑๑ ยุติในสัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ ก็มีดวย ประการฉะนี้ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา กิจที่พระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาสังขารมีตนวาเบญจขันธ อันเปนสวนอดีตกาลลวงแลวแตหลังนั้นจัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารธรรม อันเปนอนาคตขางหนานั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารธรรม อันเปนสวนในปจจุบันนั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารธรรม โอกาสปริจเฉทประการ ๑

อันเปนสวนภายใน

พิจารณาสังขารธรรม โอกาสปริจเฉทประการ ๑

อันเปนสวนภายนอก

คือพิจารณาในรางกายแหงตนนั้นเอง

จัดเปน

คือพิจารณารางกายแหงบุคคลนั้น

จัดเปน

พิจารณาสังขารธรรม ที่หยาบที่กระดางนั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจราณาสังขารที่สุขุมภาพละเอียด ๆ นั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารที่ลามกนั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารที่ดีที่ประณีตบรรจงนั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารธรรมแตบรรดาที่อยูไกล ๆ นั้น ก็จัดเปนโอกาสปริจเฉทประการ ๑ พิจารณาสังขารธรรมมีตนวา เบญจขันธแตบรรดาที่อยูใกล ๆ นั้นก็จัดเปนปริจเฉทประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 82 สิริเขาดวยกันเปนปริจเฉท ๑๑ ประการ ยุติในสัมมัสสนญาณแตละอัน ๆ ตกวาสัมมัสสนญาณทั้ง ๖ รอย ๓ ประการนั้น แตลวนมีโอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการ เหมือนกันสิ้น ถาจะนับ สัมมัสสนญาณโดยประเภทแหงโอกาสปริจเฉทนั้นเปนสัมมัสสนญาณถึง ๖๖๓๓ ประการดวยกัน จะยกขึ้นวิสัชนาบัดนี้ ในสัมมัสสนญาณเบื้องตน ก็ยุติในเบญจขันธ ๕ ประการนั้นกอน ถาจะ วาแตสัมมัสสนญาณ ที่ยุติในเบญจขันธ ๕ ประการนั้น สําแดงโดยยอนับสัมมัสสนญาณได ๑๕ ประการ ถาจะสําแดงโดยประเภทแหงโอกาสปริจเฉทนั้น นับสัมมัสสนญาณได ๑๖๕ ประการ ถาจะวาแตรูปขันธสิ่งเดียวนั้น สําแดงโดยยอนับสัมมัสสนญาณได ๓ ประการ คือสัมมัสสน ญาณ อันพิจารณารูปโดยอนิจจังนั้นประการ ๑ พิจารณารูปโดยทุกขังนั้นประการ ๑ พิจารณารูปโดย อนัตตานั้นประการ ๑ สิริสัมมัสสนญาณเปน ๓ ประการดังนี้ แตสัมมัสสนญาณที่พิจารณารูปโดยอนิจจังประการ ๑ นั้น เมื่อสําแดงโดยประเภทแหง โอกาสปริจเฉทนั้น แตกออกไปเปน ๑๓ ประการ “วุตฺตํ เหตํ ” จริงอยู พระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี สําแดงพระธรรมเทศนาไวในคัมภีรพระปฏิสัมภิทามรรควา สัมมัสสนญาณเปนปฐมนั้น พิจารณารูปใน อดีตโดยอนิจจังวา “ยํ อดีตํ รูป ตํ ยสฺมา อตีเตเยว ขีณํ นยิมํ ภวํ สมฺปตฺตนฺติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา ” รูปอันใดมีอดีตบังเกิดขึ้นในอดีตภพหลังตั้งแต ๑ ชาติ ๒ ชาติ ๓ ชาติ ๔ ชาติ ๘ ชาติ ๙ ชาติ ๑๐ ชาติรอยชาติพันชาติหมื่นชาติแสนชาติตราบเทาถึงอเนกอนันตชาติ รูปทั้งปวงนั้นเทียรยอมสิ้นไป ฉิบหายไปในอดีตชาติสิ้นไปฉิบหายไปในอดีตชาติ สพสิ้นทั้งนั้น ที่จะยืนยงคงอยูสืบมาตอมา ตราบ เทาถึงปจจุบันชาติชาติปจจุบันภพนี้หาบมิได เกิดมาชาติใดฉิบหายไปชาตินั้น มีในชาติใดสิ้นไปใน ชาตินั้น ยืนยงคงอยูไมมาก แตสักสองชาติก็คงอยูมิได เกิดชาติใดตายชาตินั้น เกิดภพใดตายภพนั้น เหตุฉะนี้ แตบรรดารูปที่มีในอดีตนั้น เทียรยอมเปนอนิจจังไมเที่ยงไมแทพอหมดพอสิ้น พระพุทธองค ตรัสเทศนาวารูปในอดีตเปนอนิจจัง ดวยอนาถวาฉิบหายไปสิ้นไปนี้ สมควรหนักหนา อนึ่งนักปราชญบางแหงไดยอความในสัมมัสสนญาณ ดังที่กลาวมาแลวนี้ ใหสั้นเขาไปอีก อยางหนึ่ง มีนัยดังจะแสดงตอไปนี้ ใชแตเทานั้น ปญญาที่พิจารณาทวารทั้ง ๖ คือจักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร มโนทวาร ที่เปนอดีตเปนตน กําหนดโดยอนิจจัง ทุกขังอนัตตานั้น ๆ ก็จัดเปนสัมมัสสน ญาณแตละอยาง ๆ สิริรวมเขาดวยกันเปนญาณในทวาร ๖ ได ๑๘ ประการ ใชแตเทานั้น ปญญาที่พิจารณาอารมณทั้ง ๖ คือรูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ ธัมมารมณ ที่เปนอดีตเปนตน กําหนดโดยอนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้นก็จัดเปนสัมมัสสน ญาณละอยาง ๆ รวมสัมมัสสนญาณ ในอารมณทั้ง ๖ เปนญาณ ๑๘ ประการ แลปญญาที่พิจารณาวิญญาณทั้ง ๖ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ ทั้งอดีตอนาคต ปจจุบัน จนถึงไกลใกล กําหนดโดยอนิจจัง ทุก ขัง อนัตตานั้น ๆ ก็จัดเปนสัมมัสนญาณละอยาง ๆ รวมสัมมัสสนญาณในวิญญาณ ๖ เปน ๑๘ ประการ แลปญญาที่พิจารณาสัมผัส ๑ คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กาย สัมผัส มโนสัมผัส ที่เปนอดีตเปนตน กําหนดโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้น ก็นับสัมมัสสนญาณได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 83 ๑๘ ประการ แลปญญาที่พิจารณาเวทนาทั้ง ๖ คือจักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆาน สัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา ที่เปนอดีต เปนตนกําหนดโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้น ๆ ก็นับสัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ แลปญญาพิจารณาสัญญา ๖ คือจักขุสัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชาสัญญา ฆานสัมผัสส ชาสัญญา ชิวหาสัมผัสสชาสัญญา กายสัมผัสสชาสัญญา มโนสัมผัสสชาสัญญาที่เปนอดีตเปนตนนั้น กําหนดโดยอนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้น ๆ ก็นับสัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ แลปญญาพิจารณาโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในเจตนา ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาเจตนา โสต สัมผัสสชาเจตนา ฆานสัมผัสสชาเจตนา ชิวหาสัมผัสสชาเจตนา กายสัมผัสสชาเจตนา มโนสัมผัสส ชาเจตนา ที่เปนอดีตเปนตนนั้น ๆ ก็นับสัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ แลปญญาพิจารณาโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในตัณหา ๖ คือ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา ที่เปนอดีตเปนตน ก็นบ ั สัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ แลปญญาพิจารณาโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในวิตก ๖ คือ จักขุทวาริกวิตก โสตทวาริก วิตก ฆานทวาริกวิตก ชิวหาทวาริกวิตก กายทวาริกวิตก มโนทวาริกวิตก ที่เปนอดีตเปนตน ก็ นับสัมมัสนญาณได ๑๘ ประการ แลปญญาพิจารณาโดย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในวิจาร ๖ คือ จักจุทวาริกวิจาร โสตทวาริก วิจาร ฆานทวาริกวิจาร ชิวหาทวาริกวิจาร กายทวาริกวิจาร มโนทวาริกวิจาร ที่เปนอดีตเปนตน ก็ นับสัมมัสสนญาณได ๑๘ ประการ แลพิจารณาในธาตุ ๖ มีจักขุธาตุเปนตนก็ไดญาณ ๑๘ ประการ แลพิจารณาในกสิณ ๑๐ มีปฐวีกสิณเปนตน ก็ไดญาณ ๑๐ ปารการ แลพิจารณาในอาการ ๓๒ มีเกศาเปนตน ก็นับญาณได ๙๖ ประการ แลพิจารณาอายตนะ ๓๒ มีจักขวายตนะเปนตน ก็นับญาณได ๒๖ ประการ แลพิจารณาธาตุ ๑๘ มีจักขุธาตุเปนตน ก็นับญาณได ๕๔ ประการ แลพิจารณาอินทรีย ๒๒ มีจักขุนทรียเปนตน มีอัญญาตวินทรียเปนที่สุด ก็นับญาณได ๖๖ ประการ แลพิจารณาในธาตุ ๓ คือ กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ ก็นับญาณได ๙ ประการ แลพิจารณาภพ ๙ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญานาสัญญา ภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ ปญโวการภพ ก็นับญาณได ๒๒ ประการ แลพิจารณารูปฌาน ๔ คือ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ก็ไดฌาน ๑๒ ประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 84 แลพิจารณาพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ก็ไดฌาน ๑๒ ประการ แลพิจารณาอรูปฌาน ๔ มีอากาสานัญจายตนฌานเปนตน มีเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เปนที่สุด ก็ไดญาณ ๑๒ ประการ แลพิจารณาองคแหงปฏิจจสมุปปาบาทธรรม ๑๒ มีอวิชชาเปนตน มีชรามรณะเปนที่สุด ก็ ไดญาณ ๓๖ ประการ นักปราชญพึงสัมมัสสนญาณในเบญจขันธ ๑๔ ในฉทวาร ๑๘ ใน ฉวิญญาณ ๑๘ ในฉ สัมผัส ๑๘ ในฉเวทนา ๑๘ ในฉสัญญา ๑๘ ในฉเจตนา ๑๘ ในฉตัณหา ๑๘ ในฉตัณหา ๑๘ ในฉวิตก ๑๘ ในฉวิจาร ๑๘ ในฉธาตุ ๑๘ ในทสกวิณ ๓๐ ในทวีตติงสาการ ๙๖ ในทวาทสอายตน ๓๒ ใน อัฏฐารสธาตุ ๕๔ ในพาวีสติอินทรีย ๖๖ ในตุรีธาตุ ๙ ในนวภพ ๒๗ ในจตุรูปฌาน ๑๒ ในจตุพรหม วิหาร ๑๒ ในจตุอรูปฌาน ๑๒ ในทวาทสององคแหงปฏิจจสมุปปบาทธรรม ๒๖ ประการ รวมธรรมทั้ง ๒๓ กองทั้งสิ้น เปนสัมมัสนญาณ ๖๐๓ ประการดวยกันฉะนี้ แลสัมมัสสนญาณแตละอยาง ๆ นั้นมีโอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการสิ้นดวยกัน โอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการนั้น สําเร็จดวยติกกะ ๑ ทุกกะ ๔ ติกกะ ๒ นั้นไดแกอดีตติกกะ ที่สมเด็จพระพุทธองคตรัสเทศนาในพระอภิธัมมัตถสังคิณีวา “ อตีตา ธมฺมา อนาคตา ธมฺมา ปจฺ จุปฺปนฺนา ธมฺมา” แลทุกกะ ๔ นั้นไดแกอัชฌัตตทุกกะ ๑ โอฬริกทุกกะ ๑ หีนทุกกะ ๑ ทูเรทุกกะ ๑ ตามที่ พระพุทธองคเจาตรัสไวในพระอภิธัมมสังคิณีวา ธรรมที่เปนภายนอกแลภายใน ธรรมที่หยาบแล ละเอียด ธรรมที่เลวทรามแลประณีตดี ธรรมที่มีไกลแลใกลดังนี้ นักปราชญพึงสันนิษฐานโดยกระทูความวา สัมมัสสนญาณแหงพระโยคาพจรอันพิจารณา สังขารธรรมนั้น นับเขาในติกกะ ๑ ทุกกะ ๔ เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาสังขารธรรมเปนอดีต แล อนาคตปจจุบันนั้นไดชื่อวาสัมมัสสญาณประกอบในติกกะ ๑ คืออดีตติกกะ เมื่อพิจารณาสังขารธรรมอันเปนภายในแลภายนอกนั้น ในอัชฌัตตทุกกะ

ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณประกอบ

เมื่อพิจารณาสังขารธรรมอยางหยาบอยางละเอียดนั้น ไดชื่อวาประกอบในโอฬาริกทุกกะ เมื่อพิจารณาสังขารธรรมอยางชั่วอยางดีนั้น ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณประกอบในหีนทุกกะ เมื่อพิจารณาสังขารธรรมอยูใกลแลไกลนั้น ไดชื่อวาสัมมัสสนญาณประกอบในทูเรทุกกะ ในทุกกะ ๔ นี้แยกเปนบทได ๘ บท ในติกกะ ๑ นั้นแยกเปนบทได ๓ บท ๘ กับ รวมกัน เปน ๑๑ รวมกันเปน ๑๑ เรียกวาโอกาสปริจเฉท ๑๑ ยุติในสัมมัสสนญาณ ๆ ก็มีดวยประการฉะนี้ ในสัมมัสสนญาณ ๖๐๓ ประการนั้น อันหนึ่ง ๆ แตลวนมีโอกาสปริจเฉท ๑๑ ประการ ๆ เหมือนกันสิ้น ถาจะนับสัมมัสสนญาณโดยประเภทโอกาสปริจเฉทนั้นเปนถึง ๖๖๓๓ ประการดวยกัน “ เพราะเอา ๑๑ คูณ ๖๐๓”

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 85 จะยกขึ้นวิสัชนาบัดนี้ ในสัมมัสสนญาณเบื้องตนที่ยุติในเบญจขันธ ๕ ประการนั้น กอน “วุตฺตํ เหตํ ” จริงอยูพระผูเปนเจา พระธรรมเสนาบดีสารีบุตร สําแดงธรรมเทศนาไวในคัมภีร ปฏิสัมภิทามรรควา สัมมัสสนญาณเปนปฐมนั้น พิจารณารูปในอดีตโดยอนิจจังวา “ยํ ดตีตํ รูป ตํ ยสฺ มา อตีเตเยว ขีณํ ” เปนตนวาความวารูปอันใดมีในอดีต บังเกิดขึ้นในอดีตภพชาติหลัง ตั้งแตชาติ หนึ่งถืออเนกอนันตชาติ รูปทั้งปวงนั้นยอมสิ้นไปฉิบหายใปในอดีตชาติอดีตภพสิ้นทั้งนั้น ที่จะยืนยงคง สืบตอมาถึงปตยุบันชาติ ปตยุบันภพนี้หามิได เกิดมาชาติใดฉิบหายไปในชาตินั้น มีในชาติใดสิ้นไปใน ชาตินั้น จะยืนยงคงอยูไมมากแตสักสองชาติก็คงอยูมิได เกิดชาติใดตายชาตินั้น เกิดภพใดตายภพ นั้น เหตุฉะนี้แตบรรดารูปที่มีในอดีตภพนั้นยอมเปนอนิจจังไมเที่ยงไมแทหมดทั้งสิ้น พระพุทธองค ตรัสเทศนาไววารูปในอดีตเปนอนิจจังดวยอรรถาวาฉิบหายไปสิ้นไปนี้ สมควรนักหนา ดังกลาวมาแลว ขางตน ปญญาที่พิจารณารูปในอดีตโดยอนิจจังดังนี้จัดเปนสัมมัสสนญาณ อันจําแนกโดยประเภท แหงโอกาสปริจเฉทประการ ๑ แลสัมมัสสนญาณเปนคํารบ ๒ พิจารณารูปในอนาคต โดยอนิจจังวา “ยํ อนาคตํ อนนฺตรภเว นิพฺพตฺตลฺสติ ตํป ตตฺเถว ขียิสฺสติ น ตโต ปรํ ภาวํ คมิสฺสตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา ” รูปอันใดเปนอนาคตจะบังเกิดในภพอันเปนลําดับนั้น เมื่อบังเกิดแลวรูปนั้นก็จะสิ้นไปฉิบหายไป ใน ภพอันเปนลําดับนั้นเปนแท ที่จะยืนยงคงอยูตอสืบไปในภพเบื้องหนากวานั้นหามิได มีสภาวะเปน อนิจจังดวยอรรถวาสิ้นไปฉิบหายไปไมยั่งไมยืนไมมั่นไมคง แตบรรดารูปทั้งปวงที่จะเกิดในอนาคตนั้น สุดแทแตเกิดมาในภพใดชาติใด ก็จะฉิบหายไปสิ้นในภพนั้นในชาตินั้น จะยืนยงคงอยูไดโดยนอยแต สักสองภพก็คงอยูบมิได เกิดชาติใดก็จะตายชาตินั้นเกิดภพใดก็จะตายภพนั้น ปญญาอันพิจารณารูป ในอนาคตเบื้องหนาโดยอนิจจังดังพรรณนามาฉะนี้แลจัดเปนสัมมัสนญาณคํารบ ๒ แลสัมมัสนญาณคํารบ ๓ นั้น พิจารณารูปในปจจุบันโดยอนิจจังวา “ยํ ปจฺจุปฺปนฺนํ รูปนฺ ติป อิเธว ขียติ น อิโต คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา ” รูปอันใดเปนปตยุบันนั้น เมื่อบังเกิดอยูใน ปจจุบันภพนี้รูปนั้นเทียรยอมฉิบหายไปสิ้นไปในปจจุบันภพนี้เปนแท จะยืนยงคงอยูสืบตอไปในเบื้อง หนาแตปจจุบันนี้หาบมิได เกิดชาตินี้ก็ฉิบหายบรรลัยไปในชาตินี้ เอาเที่ยงเอาจริงบมิได มีสภาวะเปน อนิจจัง ดวยอรรถวาฉิบหายไปสิ้นไปไมมั่นไมคง ปญญาพิจารณารูปในปจจุบันโดยอนิจจังดังนี้แล จัด เปนสัมมัสสนญาณที่ ๓ สัมมัสสนญาณที่ ๔ นั้น พิจารณารูปภายในโดยอนิจจังวา “ยํ อชฺฌตฺตํ ตํป อชฺฌตฺตเมว ขียติ น พหิทุธภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา ” รูปอันใดเปนภายในบังเกิดขึ้นภายใน เมื่อ บังเกิดแลว รูปนั้นก็จะสิ้นไปฉิบหายไปในภายใน เมื่อบังเกิดแลว รูปนั้นก็จะสิ้นไปฉิบหายไปในภายใน จะไดยืนยงคงอยูสืบตอไปจนถึงเปนพหิทธารูป เปนรูปภายนอกนั้นหาบมิได รูปภายในนั้น เทียรยอม สิ้นไปในภายในฉิบหายไปในภายในเปนแท เหตุฉะนี้รูปภายในนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานวาเปน อนิจจัง ดวยอรรถวาสิ้นไป ฉิบหายไป ไมมั่นไมคง ปญญาพิจารณารูปภายในโดยอนิจจังดังนี้แล จัด เปนสัมมัสนญาณที่ ๔ แลสัมมัสสนญาณที่ ๕ นั้น พิจารณารูปภายนอกโดยอนิจจังวา “ ยํ พหิทฺธาเยว ตํป พหิทฺธาเยว ขียติ น อชฺฌตฺตภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา” รูปอันใดเปนภายนอกบังเกิด ภายในภายนอก รูปอันนั้นเทียรยอมสิ้นไปฉิบหายไปในภายนอกนั้นเปนแท จะไดยั่งยืนอยูจนตราบเทา ถึงเปนอัชฌัตตะรูป เปนรูปภายในนั้นหามิได รูปภายนอกนั้นมีแตจะสิ้นไปภายนอกฉิบหายประลัย ไป ในภายนอกเปนอนิจจังดวยอรรถวาสิ้นไปไมยั่งไมยืนไมมั่นคง ปญญาพิจารณารูปภายนอกโดยอนิจจัง ดังนี้ จัดเปนสัมมัสสนญาณที่ ๕ แลสัมมัสสนญาณที่ ๖ นั้น พิจารณารูปอยางหยาบโดยอนิจจังวา “ยํ โอฬาริกํ ตํป ตตฺ เถว ขียตํ น สุขุมภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา ” รูปอันใดเปนรูปอันหยาบ บังเกิดขึ้นเปนรูป อันหยาบแลวก็สิ้นไปฉิบหายไปในที่อันบังเกิดนั้นเอง จะไดยืนยงคงอยูจนตราบเทาถึงเปนสุขุมรูป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 86 เปนรูปอยางละเอียดนั้นหาบมิไดเกิดในที่หยาบก็ฉิบหายไปในที่หยาบ สิ้นไปในที่หยาบ เปนอนิจจัง ดวยอรรถวาสิ้นไป ไมมั่นไมคง ปญญาพิจารณารูปอยางหยาบโดยอนิจจังดังนี้แล จัดเปนสัมมัสสน ญาณที่ ๖ แลสัมมัสสนญาณที่ ๗ นั้น พิจารณารูปอยางละเอียดโดยอนิจจังวา “ ยํ สุขุมํ ตํป ตตฺเถว ขียติ น โอฬาริกภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถว วา” รูปอันใดเปนรูปอยางละเอียด บังเกิดเปนรูป อันละเอียดแลว ก็สิ้นไปฉิบหายไปในที่อันบังเกิดนั้นเอง จะไดยืนยงคงอยูจนตราบเทาถึงเปนโอฬาริก รูป เปนรูปอยางหยาบนั้นหาบมิได เกิดในสวนอันละเอียด ก็สิ้นไปในสวนอันละเอียด เปนอนิจจังไมยั่ง ไมยืน ฉิบหายไปสิ้นไป ไมมั่นไมคงไมเที่ยงไมแท ปญญาพิจารณารูปอยางละเอียด โดยอนิจจังดังนี้ แล จัดเปนสัมมัสสนญาณคํารบ ๗ แลสัมมัสสนญาณคํารบ ๘ นั้น พิจารณารูปอยางชั่วโดยอนิจจังวา “ยํ หีนํ ตตฺเถน ขียตํ น ปณีตภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา” รูปอันใดเปนรูปอยางชั่ว บังเกิดขึ้นเปนรูปอยางชั่วแลว ก็ สิ้นไปฉิบหายไปในที่บังเกิดนั้นเอง จะไดตั้งอยูตราบเทาไดประณีตรูป เปนรูปอยางดีอยางประณีตนั้น หาบมิได เกิดเปนสวนอันชั่ว ก็สิ้นไปฉิบหายไปในสวนอันชั่ว ควรจะเปนอนิจจังสังเวชนี่หนักหนา ปญญาพิจารณารูปที่ชั่วโดยอนิจจังดังนี้แล จัดเปนสัมมัสสนญาณคํารบ ๘ แลสัมมัสสนญาณคํารบที่ ๙ นั้น พิจารณารูปอยางประณีตโดยอนิจจังวา “ ยํ ปณีตํ ตํป ตฺตเถว ขียติ น หีนภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา” รูปที่อยางประณีตนั้น เมื่อบังเกิดแลวก็สิ้น ไปในสวนอันประณีต จะไดตั้งอยูเปนอันเที่ยงอันแทหาบมิได จะถึงซึ่งภาวะเปนหีนรูปหาบมิได ยังอยู เปนสวน ๆ รูปแลวก็สิ้นไปในสวนแหงประณีตรูป ปญญาพิจารณาพระอนิจจัง ซึ่งบังเกิดมีในประณีตรูป นี้แล จัดเปนสัมมัสสนญาณคํารบที่ ๙ แลสัมมัสสนญาณคํารบที่ ๑๐ นั้น พิจารณารูปอันอยูไกลโดยอนิจจังวา “ ยํ ทูเร ตํป ตตฺ เถว ขียติ น สนฺติเกภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺเถน วา” รูปอันใดเปนทูเรรูปอันอยูในประเทศอัน ไกลนั้น “ตตฺเถว ขียติ ” รูปนั้นยังมิทันที่จะเปนสันติเกรูป ยังมิทันที่จะมาถึงในที่ใกล ก็สิ้นไปฉิบ หายไปในที่ใกลนั้นเอง อันธรรมดารูปธรรมนี้อายุยืน ๑๗ ขณะจิต จะไดยืนยงไปหวา ๑๗ ขณะจิตนั้นหาบมิได สุด แทแตบังเกิดครบ ๑๗ ขณะจิต แลวก็ดับตอ ๆ กันไปโดยลําดับ ๆ เหตุฉะนี้ สมเด็จพระผูมีพระภาคจึงมี พระพุทธฎีกาโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนาวา รูปที่อยูไกลเปนทูเรรูปนั้น ยังมิทันที่จะมาใกล ยังมิ ทันที่จะเปนสันติเกรูปก็สิ้นไปฉิบหายไปในที่ใกลนั้นเอง จะยั่งจะยืนจะมั่นจะคงจะเที่ยงจะแทหาบมิได ปญญาพิจารณารูปอันอยูไกลโดยอนิจจังดังนี้แล จัดเปนสัมมัสสนญาณคํารบที่ ๑๐ แลสัมมัสสนญาณคํารบที่ ๑๑ นั้น พิจารณารูปอันอยูใกลโดยอนิจจังวา “ยํ สนฺติเก ตํป ตตฺเถว ขียติ น ทูเรภาวํ คจฺฉตีติ อนิจฺจํ ขยตฺถน วา ” รูปอันใดเปนสันติเกรูปอยูในประเทศที่ ใกล “ ตตฺเถว ขียติ” รูปนั้นยังมิทันจะเปนทูเรรูป ยังมิทันที่จะไปถึงประเทศที่ไกล ๆ ก็สิ้นไปฉิบ หายไปในที่ใกลนั้นเอง เพราะเหตุรูปธรรมนี้อายุยืน ๑๗ ขณะจิต เกิดเร็วดับเร็วนี้หนักหนา ควรจะเปน อนิจจังสังเวชยิ่งนัก ปญญาพิจารณารูปอันอยูใกลโดยอนิจจังดังนี้แล จัดเปนสัมมัสสนญาณคํารบ ๑๑ โดยนัยประเภทแหงโอกาสปริจเฉทที่สําแดงแลวแตหลัง แตสัมมัสสนญาณที่พิจารณารูปโดยทุกขัง พิจารณารูปโดยอนัตตานั้น เมื่อจําแนกออกโดย ประเภทแหงโอกาสปริจเฉทนั้น ก็จัดเปนสัมมัสสนญาณ ๑๑ ประการ ๆ เหมือนกันกับสัมมัสสนญาณที่ พิจารณารูปโดยอนิจจังแปลกกันแตวา “ทุกขํ ภยตฺเถน อนตฺตา อสารกตฺเถน ” แปลกกันแตเทานี้ อื่น ๆ จะไดแปลกกันหาบมิได กิจที่จะพิจารณารูปในอดีตแลอนาคตแลปจจุบัน พิจารณารูปภายใน ภายนอก พิจารณารูปอยางหยาบอยางละเอียดอยางชั่วอยางดี อยูไกลอยูใกลนั้น เหมือนกันเปน อันหนึ่งอันเดียว จะไดผิดทํานองเดียวกับหาบมิได แปลกกันแตที่กําหนดจิตโดยอนิจจัง ทุกขัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 87 อนัตตา สัมมัสสนญาณ ๑๑ ในเบื้องตนนั้นกําหนดจิตโดยพระทุกขัง สัมมัสสนญาณในเบื้องปลายนั้น กําหนดจิตโดยพระอนัตตา กําหนดจิตโดยทุกขังนั้นใหวา “ ทุกขํ ภยตฺเถน” เมื่อกําหนดจิตโดยอนัตตานั้นใหวา “ อนตฺตา อสารกตฺเถน” ในบทวา “ทุกขํ ภยตฺเถน ” นั้นมีอรรถอธิบายวารูปในอดีตแลอนาคตแล ปจจุบันรูปภายในภายนอกอยางหยาบอยางละเอียดอยางชั่วอยางดี อนูไกลแลอยูใกลนั้นเทียรยอม กอปรไปดวยทุกขมีชาติทุกขเปนประธาน เกิดมาเปนรูปแลวก็มีทุกขเปนเบื้องหนา มีแตทุกขเปนที่สุด ชราแลพยาธิแลมรณะนั้นติดตามรัดรึงตรึงตรา ติดตามเบียดเบียนลางผลาญอยูทุกเมื่อ สุดแทแตรูป ขึ้นแลวก็มีกองทุกขกองภัยกองอุปทวอันตรายตกตองย่ํายีบีฑา โดยสภาวะแหงตนอันจะเปลาปลอด รอดพนจากกองทุกขกองภัยนั้นไมมีเลยเปนอันขาด เหตุฉะนี้พระธรรมเสนาบดีสารีบุตร จึงแสดงพระ สัทธรรมเทศนาสั่งสอนใหพระโยคาพจรผูพิจารณารูปโดยทุกขนั้นใหเจริญภาวนาวา “ ทุกขํ ภยตฺ เถน” ก็มีดวยประการฉะนี้ แลวในบทวา “อนตฺตา อสารกตฺเถน ” นั้น มีอรรถอธิบายวา รูปธรรมทั้งปวงนี้ เมื่อ พิจารณาไปโดยปรมัตอรรถอันสุขุมภาพนั้นแตลวนใชตัวใชตนอาตมา “อสารกตฺเถน ” ดวยอรรถวา หาแกนสารมิไดแตสักสิ่งสักอัน เมื่อพิจารณาดูรูปในอดีตถอยหลังไปตั้งแต ๑ ชาติ ๒ ชาติ ๓ ชาติ ๔ ชาติ ๕ ชาติ ๖ ชาติ ๗ ชาติ ๘ ชาติ ๙ ชาติ ๑๐ ชาติ ๑๑ ชาติ ๑๒ ชาติ ๑๐๐ ชาติ ๑,๐๐๐ ชาติ ๑๐,๐๐๐ ชาติ ๑๐๐,๐๐๐ ชาติ ตราบเทาถึงอเนกอนันตชาติ จะไดมีรูปอันใดอันหนึ่งเปนเกนสารมาตร วาหนอยหนึ่งหาบมิได พิจารณาไปขางฝายอนาคตเบื้องหนานั้นเลาก็ลวนไมเปนแกนสาร ใชอาตมา ใชของแหงอาตมาอธิบายวาถารูปเปนของอาตมาอยูแลว ก็จะบังคับปญชาจะวากลาวสั่งสอนได จะไม ปวยไมไขจะไมกระทําใหไดรับความลําบากเวทนา สัตวทั้งปวงก็จะอยูเปนเปนสุขปราศจากโรคาพยาธิ เพราะเหตุที่รูปอยูในบังคับบัญชาแหงตน นี่สิรูปหาอยูในบังคับไม วาไรก็ไมฟงดื้อดึงนี่หนักหนา วา ไมใหเจ็บก็เจ็บ วาไมใหแกก็ขืนแก วาไมใหตายก็ขืนตาย ตกวาไมฟงถอยฟงคําเลย วาไมใหผมหงอก ก็ขืนหงอก วาไมใหฟนหักก็ขืนหัก วาไมใหหนังเหี่ยวก็ขืนเหี่ยว วาไมใหตามืดก็ขืนมืด ตกวาสารพัด จะแปรปรวนไปทุกสิ่งทุกประการ ไมอยูในบังคับบัญชาแหงตน ไมอยูในถอยในคําในโอวาทความสั่ง สอนแหงตน เหตุฉะนี้จึงจะเห็นแทวาใชอาตมาใชของแหงอาตมา จะหาแกนสารบมิไดไมเปนอาตมา ไมเปนของแหงอาตมา แตรูปในอดีตแลอนาคตเทานั้นหาบมิได ถึงรูปในปจจุบันนี้ก็เปลาจากแกนสาร ใชอาตมาใชของอาตมาเหมือนกัน พิจารณาดูรูปภายในตัวเองนี้ เห็นวาไมเปนแกนสาร ใชอาตมาใช ของอาตมา แลวพิจารณาดูรูปผูอื่น ๆ อันเปนรูปภายนอกนั้นเลา ก็ไมเปนแกนสาร ใชตัวใชตน เหมือนกันสิ้น จะไดแปลกประหลาดกันหาบมิได แตลวนลงมาทํานองคลองพระอนัตตาสิ้นดวยกัน ดู รูปที่หยาบ ๆ นั้นเห็นวาเปนอนัตตาแลว เหลียวดูรูปที่ละเอียดนั้น ก็เปนอนัตตาเหมือนกัน เปนแบบอัน เดียวกันสิ้นทั้งนั้น ดูรูปที่ชั่วที่พึงเกลียดพึงชังนั้น เห็นวาเปนอนัตตาหาแกนสารมิได แลวกลับมาดูรูป ที่งามหาที่ดีประณีตบรรจงนั้นก็เปนอนัตตาหาแกนสารมิไดสิ้นดวยกัน พิจารณาดูรูปที่อยูาใกล ๆ นั้นก็ เปนอนัตตา พิจารณาดูรูปที่อยูไกล ๆ ก็เปนอนัตตา แทจริงเมื่อพิจารณาโดยปรมัตถ พิจารณาโดยละเอียดนั้น รูปธรรมนี้ใชตัวใชตนใชของ อาตมา อันจะกําหนดตามลัทธิดิรัตถียวารูปนี้เปนผูอยูเปนผูพํานักอาศัย รูปนี้เปนผูกระทําเปนผูตกแตง รูปนี้เปนผูเสวยสุขแลทุกข รูปนี้อยูในอํานาจประพฤติตามอํานาจอันกําหนดเห็นดังนี้ ไดชื่อวาเห็นบมิ ชอบ ไดชื่อวาเห็นวิปริตเอาสัตยเอาจริงบมิได เปนคําสมมกิวาเอาตามอัชฌาสัย วาตามถนัดแหงตน ตามชอบใจแหงตนวาโดยปรมัตถวาโดยสัจโดยแทนั้น รูปนี้บมิไดเปนอาตมา บมิไดเปนของแหง อาตมา บมิไดอยูในอํานาจแหงตน บมิไดประพฤติตามอํานาจแหงตน เหตุฉะนี้พระธรรมเสนาบดีสารี บุตรมหาเถรเจาผูยิ่งดวยปญญา จึงแสดงพระสัทธรรมเทศนาสั่งสอนวาใหพระโยคาพจรผูพิจารณารูป โดยอนัตตานั้นเจริญภาวนาวา “ อนตฺตา อสารกตฺเถน” ก็มีดวยประการฉะนี้ นัยหนึ่งพระผูเปนเจาธรรมเสนาบดี ปรารถนาจะแสดงพิธีในที่มนสิการ กําหนดกฏหมายพระ อนิจจาทิลักษณะนั้น ดวยอาการตาง ๆ ปรารถนาจะแสดงเปนปริยายผลัดเปลี่ยนถอยคํา ในมนสิการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 88 พิธีใหเปนหลายอยางตาง ๆ กัน จึงกลาวพระบาลีเปนคําเปลี่ยนสืบตอไปวา “รูป อตีตานาคตปจฺจปฺปนฺนํ อนิจฺจํ สงฺขตํ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ขยธมฺมํ วยธมฺมํ วิ ราคธมฺมํ นิโรธธมฺมํ” อธิบายวา รูปทั้งปวงแตบรรดาที่เปนอดีตแลอนาคตแลปจจุบันนั้นเปนอนิจจัง เทียรยอมไม เที่ยงไมแท แปรปรวนวิปริตมีประการตาง ๆ ไมยั่งไมยืนไมมั่นไมคง “ สงฺขตํ” รูปธรรมทั้งปวงนี้ ปจจัยคืออวิชชาแลตัณหากรรมแลอาหาร ประชุมแตงโดยอันควรแกกําลัง “ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ” รูปธรรมทั้งปวงนี้ไดชื่อวา ปฏิจจสมุปปนนธรรมดวยอรรถวาอาศัยเหตุอาศัยปจจัยแลวจึงบังเกิด บ มิไดบังเกิดโดยธรรมดาแหงตน “ ขยธมฺมํ วยธมฺมํ” รูปธรรมนี้มีสภาวะสิ้นไปฉิบหายไปเปนปกติ ธรรมดา “ วิราคธมฺมํ” รูปนี้มีสภาวะอันนักปราชญพึงเหนื่อยพึงหนายพึงเกลียดพึงชัง “ นิโรธธมฺม”ํ รูปนี้มีสภาวะดับสูญทําลายไปไมเที่ยงไมจริง “เอโส นโย เวทนาทีสุ ” นักปราชญพึง รูในกองเวทนาแลกองสัญญา กองสังขาร กองวิญญาณนั้นหมือนกันกับกองรูป อธิบายวา กาลเมื่อพิจารณารูปนั้นเจริญภาวนาวา “รูป อตีตา นาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อนิจฺจํ สงฺขตํ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ขยธมฺมํ วยธมฺมํ วิราคธมฺมํ นิโรธธมฺมํ ” ฉันใด กาลเมื่อพิจารณา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้น ก็พึงเจริญภาวนาใหเหมือนกันดังนั้น แปลกกันแตที่เปนอิตถีลิงคแล นปุงสกลิงค เมื่อพิจารณากองรูปนั้นใหวา “รูป อตีตา นาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อนิจฺจํ สงฺขตํ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ขยธมฺมํ วยธมฺมา วิราคธมฺมํ นิโรธธมฺมํ” เมื่อพิจารณากองเวทนาใหวา “เวทนา อตีตา นาคตปจฺจุปฺปนฺนา อนิจจา สงฺขตา ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา ขยธมฺมา วิราคธมฺมา นิโรธธมฺมา ” เมื่อพิจารณากองสัญญานั้นใหเจริญภาวนาวา “สฺญา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อนิจฺจา สงฺข ตา ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา ขยธมฺมา วยธมฺมา วิริคธมฺมา วยธมฺมา วิราคธมฺมา นิโรธธมฺมา ” กาล เมื่อพิจารณากองสังขารนั้นใหเจริญภาวนาวา “ สงฺขารา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อนิจฺจา สงฺขตา ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา ขยธมฺมา วยธมฺมา วิราคธมฺมา นิโรธธมฺมา” กาลเมื่อพิจารณากองวิญญาณนั้น ใหเจริญภาวนาวา “ วิฺญาณํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อนิจฺจํ สงฺขตํ ปฏิจฺจมุปฺปนฺนํ ขยธมฺมํ วยธมฺมํ วิราคธมฺมํ นิโรธธมฺมํ” ตกวาบาลีที่เจริญภาวนานี้มีระเบียงแหงบทเหมือนกัน แปลกกันแต ที่เปนอิตถีลิงคแลนปุงสกลิงค ก็มีดวยประการฉะนี้ แลกุลบุตรผูมีเพียรบําเพ็ญพระวิปสสนาญาณนั้น เมื่อพระวิปสสนาปญญาแกกลาแลว แล ลวงลุถึงพระอริยมรรคพระอริยผลนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานวา ในมรรควิถีที่พระอริยมรรคจะบังเกิด นั้น อนุโลมญาณบังเกิดขึ้นเปนชั้นรองพระอริยมรรคนั้น แลพระโยคาพจรกุลบุตรผูจะไดสําเร็จอนุโลม ญาณ จะไดลุแกพระอริยมรรคนั้นยอมทําไดดวยอํานาจสัมมัสสนญาณ อันพิจารณาสังขารธรรมโดย พระไตรลักษณะญาณอันอาการ ๔๐ แลอาการทั้งหลาย ๔๐ ทัศนั้น จักแสดงในเบื้องหนา ในที่นี้จะยก ไวกอน ครั้นจะแสดงในที่นี้ความก็จะซ้ําไป เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรไดสําเร็จกิจในสัมมัสสนญาณ แลว ลําดับนั้นใหพระโยคาพจรเจริญอุทยัพพยญาณสือตอขึ้นไป พิธีที่จักเจริญอุทยัพพยญาณนั้น ใหพระโยคาพจรพิจารณานิพพัตติลักษณะแหงรูปขันธนั้น กอนขันธทั้งปวง แตในนิพพัตติลักษณะแหงรูปขันธสิ่งเดียวนั้น พึงพิจารณาใหตางกันออกเปนลักษณะใหได ๕ ประการ ลักษณะเปนปฐมนั้นใหพิจารณาวา “อวิชฺชาสมุทยา รูปสมุทโย ” วารูปขันธกองรูป ๒๘ ประการ คือ มหาภูตรูป ๔ อุปาทายรูป ๒๔ จะบังเกิดนั้นจะบังเกิดขึ้นลอย ๆ จะบังเกิดขึ้นเปลา ๆ เปลือย ๆ นั้นหาบมิได อาศัยแกอวิชชาเปนเหตุเปนปจจัย มีอวิชชาเปนรากแลวตนลํากลาวคือ รูปขันธ นั้นจึงจะบังเกิดขึ้นได แทจริงอวิชชาคือโมโหอันปกปดซึ่งปญญา พระไตรลักษณํ์กํากับเสียซึ่งจตุสัจจ ญาณ มิใหพิจารณาเห็นแจงในพระจตุราริยสัจจนั้น เปนรากเปนเงาเปนตนเปนเดิมใหบังเกิดรูปขันธ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 89 เกิดอวิชชากอนจึงเกิดรูปขันธ อวิชชายังบังเกิดเปนปจจัยอยูตราบให รูปขันธก็ยังบังเกิดอยูตราบนั้น กิริยาที่พระโยคาพจรเจา พิจารณาเห็นรูปขันธบังเกิดแตปจจัย คืออวิชชานั้นจัดเปนลักษณะเปนปฐม แลลักษณะเปนคํารบ ๒ นั้น ใหพิจารณาวา “ ตณฺหาสมุทยา รูปสมุทโย” วารูปขันธกอง รูป ๒๘ จะบังเกิดนั้น จะบังเกิดแตอวิชชาสิ่งเดียวนั้นหาบมิได ตัณหามีลักษณะใหปรารถนารูปเสียง กลิ่นรสสัมผัสถูกตองแลธัมมารมณตาง ๆ ที่จําแนกแจกออกเปนตัณหา ๑๐๘ ประการนั้น ก็เปนเหตุ เปนปจจัยใหบังเกิดรูปขันธเหมือนกับอวิชชา แทจริงตัณหานี้ จัดเปนรากแหงรูปขันธอีกประการ ๑ รากคือ ตัณหายังมีอยูตราบใด ตนลํา คือรูปขันธก็บังเกิดวัฒนาการอยูตราบนั้น ตกวามีตัณหากอนแลวจึงมีรูปเหมือนภายหลัง เกิดตัณหากอนแลวจึงเกิดรูปเมื่อภายหลัง พึงรูเถิดวา กิริยาที่พระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นวารูปขันธบังเกิดแตปจจัยคือตัณหานั้น จัดเปน ลักษณะคํารบ ๓ แลลักษณะเปนคํารบ ๓ นั้น ใหพระโยคาพจรเจาพิจารณาวา “กมฺมสมุทยา รูปสมุท โย” รูปขันธนั้นใชจะบังเกิดแตอวิชชา แลตัณหาสองสิ่งเทานั้นหาบมิได กุศลกรรมแลอกุศลกรรมนั้น ก็เปนเหตุเปนปจจัยใหบังเกิดรูปขันธเหมือนกันกับอวิชชาแลตัณหา เมื่อกุศลากุศลกรรมบังเกิดตนเกิด ลํา คือรูปขันธ ๆ จะบังเกิดแลว ๆ เลา ๆ บมิไดสิ้นบมิไดสุด บมิไดหยุดบมิไดยั้ง ตายแลวเกิดเกา เกิด แลวดับ ๆ แลวเกิดนับครั้งบมิไดนั้น ก็อาศัยแกราก คือกุศลากุศลกรรม ๆ ยังมีอยูตราบใด รูปขันธก็จะ บังเกิดสืบตอติดเนื่องกันไปบมิรูหยุดรูสิ้นตราบนั้น มีกุศลากุศลกรรมกอนแลวจึงมีรูปเมื่อภายหลัง เกิด กุศลกรรมอกุศลกรรมกอนแลวจึงเกิดรูปเมื่อภายหลังผูมีปญญาพึงรูเถิดวากิริยาที่พระโยคาพจรเจา พิจารณาเห็นวารูปขันธบังเกิดแตปจจัยคือกุศลากุศลกรรมนั้น จัดเปนลักษณะคํารบ ๓ แลลักษณะเปนคํารบ ๔ นั้น ใหพระโยคาพจรเจาพิจารณาวา “อาหารสมุทยา รูปสมุท โย” วารูปขันธนั้นใชจะบังเกิดแตอวิชชา แลตัณหา แลกุศลากุศลกรรม ๓ สิ่งเทานั้นหาบมิได กวฬิง การาหารคือขาวแลน้ําขนมของกินทั้งปวงนี้ ก็เปนปจจัยใหบังเกิดรูปขันธอีกประการ ๑ แทจริงอาหารนี้ เลี้ยงชีวิตอุปถัมภค้ําชูรูปขันธใหถาวรวัฒนาการสัตวทั้งหลายจะมีเนื้อมี เลือดบริบูรณพูนเกิดผิวผองเปนน้ําเปนนวลนั้นก็อาศัยแกอาหาร ถาไมมีอาหารจะบริโภคแลวเนื้อแล เลือดก็เหือดจะแหงจะเสียสีเสียสัณฐาน จะสิ้นกําลังวังชาหิวโหยอิดโรยแรงไปตราบเทาถึงแก มรณภาพ อันรูปขันธบังเกิดแตอาหารนี้ เห็นงายรูงาย เห็นทั่วกันรูทั่วกัน จะไดลี้ไดลับหาบมิได พึง สันนิษฐานวา กิริยาที่พระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นวารูปขันธบังเกิดแตปจจัยคืออาหารนี้ จัดเปน ลักษณะคํารบ ๔ แลลักษณะคํารบ ๕ นั้น คือเฉพาะพิจารณาแตนิพพัตติลักษณะอธิบายวา เฉพาะพิจารณา แตชาติกําเนิดแลกิริยาที่บังเกิดแหงรูปแลอาการที่รูปเปนขึ้นใหม ๆ มีขึ้นใหม ๆ เฉพาะพิจารณาแต เทานี้มิไดพิจาณาตลอดลงไปถึงอวิชชา แลตัณหากรรม แลอาการ อันเปนมูลเหตุใหบังเกิดรูป ตกวา ละเหตุเสียพิจารณาเอาแตผล ละรากเสียพิจารณาเอาแตลําตน พิจารณาตรงเอาแตอาการที่รูปบังเกิด นี้แลเปนลักษณะคํารบ ๙ สิริเขากันเปนพีธีพิจารณารูปขันธ ฝายขางนิพพัตติลักษณะ ๕ ประการ “รูปขนฺธสฺส อุทยํ ปสฺสนฺโน” เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณานิพพัตติลักษณะเปน นิพพัตติลักษณะแหงรูปขันธ ตางออกเปนลักษณะ ๕ ประการ โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ “รูปขนฺธสฺส วยํ ปสฺสติ” ลําดับนั้น พระโยคาพจรกุลบุตรจึงพิจารณาวิปริณามลักษณะ เห็นวิปริณามลักษณะแหงรูปขันธนั้นตางออกเปนลักษณะ ๕ ประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 90 ลักษณะเปนปฐมนั้น พิจารณาเห็นวา “อวิชฺชานิโรธา รูปนิโรโธ” วารูปจะดับสูญเปน อนุปปาทนิโรธ ดับขาดบมิไดเกิดอีกสืบไปในอนาคตนั้น อาศัยแกดับอวิชชา ตัดรากคืออวิชชาเสียได ขาดเปนสมุจเฉทปหาร ดวยพระแสงแกวคือ พระอรหัตตมัคคญาณอันคมกลา อวิชชาสิ้นสูญ บมิจะ กลับคืนมาบังเกิดอีกได ไมมีรากคืออวิชชาแลวกาลใด ตนลําคือรูปขันธนั้น ก็จะดับจะสูญจะสิ้นจะสุด บมิอาจจะบังเกิดสืบไปในอนาคตนั้น ตกวารูปขันธจะดับขาดนี้ อาศัยแกอวิชชาเปนตนเปนเดิม ดับ อวิชชาเสียไดขาดจากสันดานแลวรูปขันธจึงจะดับขาดจึงจะไมบังเกิดสืบไปได พึงรูวาอาการที่พระ โยคาพจรพิจารณาเห็นวารูปขันธจะดับก็อาศัยแกดับตนเหตุคืออวิชชานั้น จัดเปนลักษณะเบื้องตน ลักษณะเปนปฐม แลลักษณะเปนคํารบ ๒ นั้น คือพระโยคาพจรพิจารณาเห็นวา “ตณฺหานิโรธา รูปนิ โรโธ” วารูปละดับขาดนั้น อาศัยแกดับตัณหาเสียดวย ตัณหาตนขาดจากสันดานเปนสมุจเฉทปหาน แลวรูปจึงจะดับขาดถึงอวิชชาจะดับแลว ถาตัณหายังมิไดดับ ตณหายังไหลนองมองมูลอยูในสันดาน ตราบใด รูปก็จะบังเกิดอยูตราบนั้น ตอเมื่อใดดับอวิชชาแลวก็ดับตัณหาขาด ดับขาดทั้งอวิชชาแล ตัณหาไมมีติดพันอยูในสันดารแลวนั้นแล รูปจึงจะขาดเปนแทบมิไดบังเกิดสืบไปในเบื้องหนาได กิริยาที่พระโยคาพจรพิจารณาเห็นวา รูปขันธจะดับอาศัยแกดับตัณหา อันนี้จัดเปนลักษณะคํารบ ๒ แลลักษณะเปนคํารบ ๓ นั้น คือพระโยคาจรพิจารณาเห็นวา “กมฺมนิโรธา รูปนิโรโธ” วา รูปจะดับขาดเปนอุปปาทนิโรธนั้นอาศัยแกดับกุศลากุศลกรรมเสีย ดวยตัดกุศลแลอกุศลเสียใหขาด ดวยอํานาจพระอรหัตตมรรคแลว รูปจึงจะดับขาดจะไมบังเกิดสืบไปได อันจะดับแตอวิชชาแตตัณหา ไมดับกุศลกรรมเสียดวยนั้นบมิอาจจะดับรูปใหขาดได กุศลกรรมแลอกุศลกรรมนี้ ก็เปนสําคัญในที่จะ ตกแตงใหเกิดรูปเกิดกาย กุศลากุศลกรรมยังไมดับไมสูญตราบใด รูปขันธนั้นก็ยังจะบังเกิดอยูตราบ นั้น อันจะดับรูปขันธนั้นจําจะดับกุศลากุศลกรรม เสียใหขาดกอนจึงจะดับได นักปราชญพึงรูวา กิริยาที่ พระโยคาพจรพิจารณาวาเห็น รูปขันธจะดับก็อาศัยแกดับกุศลากุศลกรรม อันนี้จัดเปนลักษณะคํารบ ๓ แลลักษณะเปนคํารบ ๔ นั้น คือพระโยคาพจรพิจารณาเห็นวา “อาหารนิโรธา รูปนิ โรโธ” วารูปจะดับนั้น อาศัยแกอาหารดวยประการหนึ่ง พึงรูวาอาหารรัชชารูปนั้น เมื่อจะบังเกิดก็ บังเกิดแตอาหาร เมื่อจะดับนั้นก็ดับแตอาหาร เปนใจความวา พระโยคาพจรกุลบุตรพิจารณาเห็นวา อา หารัชชารูปจะดับอาศัยแกอาหารนั้นจัดเปนลักษณะคํารบ ๔ แลลักษณะคํารบ ๕ นั้น คือพระโยคาพจรเจาพิจารณาเฉพาะเอาแตวิปริณามลักษณา เฉพาะพิจารณาเอาแตกิริยาที่สิ้นสูญที่ดับทําลายแหงรูป จะไดพิจารณาตลอดลงไปถึงกิริยาที่ดับ อวิชชาแลดับตัณหา ดับกรรมแลอาหารอันเปนตนเหตุนั้นหาบมิได เฉพาะพิจารณาเอาแตเบื้องปลาย พิจารณาเอาแตผล พิจารณาเอาแตตนแตลําในเบื้องบน บมิไดพิจารณาตลอดถึงรากถึงเงา พิจารณา แตตื้น ๆ บมิไดลึก เฉพาะเอาแตที่สิ้น ที่สูญที่ดับ ทําลายแหงรูปนี้ แลจัดเปนลักษณะคํารบ ๕ สิริ ดวยกันจึงเปนพิธีพิจารณารูปขันธฝายขางวิปริณาธรรมลักษณา ๕ ประการ ประมวลพิธีพิจารณาฝายนิพพัตติลักษณะ ๕ วิปริณามลักษณะ ๕ เขากัน จึงเปนลักษณะ ๑๐ ประการ ยุติในรูปขันธ ประดับในหองอุทยัพพยญาณ โดยนัยที่สมเด็จพระผูมีพระภาค โปรดประทาน พระสัทธรรมเทศนาไวในอุทยัพพยญาณวิภังค แลเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาขันธ ก็ประกอบดวยลักษณะไดละสิบ ๆ เหมือนกันสิ้น เวทนาขันธก็ประกอบดวยลักษณะ ๑๐ สัญญาขันธก็ประกอบดวยลักษณะ ๑๐ สังขาร ขันธก็ประกอบดวยลักษณะ ๑๐ วิญญาณขันธก็ประกอบดวยลักษณะ ๑๐ จักเปนฝายนิพพัตติลักษณะ ขันธละหา ๆ เปนฝายวิปริณามลักษณะนั้นขันธละหา ๆ เหมือนกันกับรูปขันธ แปลกกันแตพิธีที่ พิจารณาในอาการฐานเทานั้น ขอซึ่งพิจารณาวา “อาหารสมุทยา รูปสมุทโย อาหารนิโรธา รูปนิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 91 โรโธ” วารูปจะเกิดอาศัยแกเกิดอาหาร รูปจะดับอาศัยแกดับอาหาร ขอซึ่งพิจารณาอาหารอยางนี้ให พิจาณาแตในรูปขันธ ครั้นยางเขาเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธแลว ใหยกพิธีพิจารณาอาหาร นั้นออกเสีย เอาพิธีพิจารณาที่พิจารณานามรูปเขาใสแทน ครั้นยางเขาวิญญาณขันธใหเอาพิธี พิจารณานามรูปเขาใสแทนตนวามีพิเศษในเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ ฝายนิพพัตติลักษณะ วา “ผสฺสสมุทยา เวทนาสมุทโย ผสฺสสมุทยา สฺญาสมุทโย ผสฺสสมุทยา สงฺขารสมุทโย ” อธิบายวา เวทนาจะบังเกิดนั้น อาศัยแกเกิดผัสสะ สัญญาจะเกิดนั้น อาศัยแกเกิดผัสสะ สังขารจะบังเกิดนั้น อาศัยแกเกิดผัสสะ แลฝายวิปริณามลักษณะนั้นวา “ผสฺสนิโรธา เวทนานิโรโธ ผสฺสนิโรธา สฺญานิโรโธ ผสฺสนิโรธา สงฺขารนิโรโธ ” อธิบายวา เวทนาจะดับ อาศัยแกดับผัสสะ สัญญาจะดับ อาศัยแกดับผัสสะ สังขารจะดับ อาศัยแกดับผัสสะ มีพิเศษในเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ นั้นฉะนี้ แลพิธีพิจารณาพิเศษในวิญญาณขันธนั้น ฝายนิพพัตติลักษณาวา “นามรูปสมุทยา วิฺ ญาณสมุทโย” วาจักขวาทิวิญญาณจะบังเกิดในอาศัยแกบังเกิดนามรูป แลฝายวิปริณาลักษณะนั้นวา “นามรูปนิโรธา วิฺญาณนิโรโธ” วาจักขวาทิวิญญาณจะ ดับนั้น อาศัยแกดับนามรูป มีพิเศษในวิญญาณขันธฉะนี้ แลพิจารณา เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ ใหเห็นวาบังเกิดแตอวิชชา แลตัณหา แลกุศลากุศลกรรมนั้น ก็เหมือนกันกันในที่แสดงแลวในรูปขันธ ตกวาขันธแตละอัน ๆ นั้นมีนิพพัตติลักษณะ ๔ ประการ วิปริณามลักษณะ ๕ ประการ สิริเขา ดวยกันทั้งหาขันธนั้น เปนนิพพัตติลักษณะ ๒๕ วิปริณามลักษณะ ๒๕ ประการ ประมาลนิพพัตติลักษณะ แลวิปริณามลักษณะเขากันทั้งสิ้น จึงเปนลักษณะ ๕๐ ทัศ ประดับ ในอุทยัพพยญาณดวยประการฉะนี้ ครั้นเมื่ออุทยัพพยญาณบังเกิดดังนี้แลว ในระหวางนั้นจึงบังเกิดอุปกิเลส ๑๐ ประการ “โอภาเส” แสงอันสวางเกิดแตวิปสสนาจิต ซานออกไปจากสรีราพยพ ๒ คือ ปติทั้ง ๕ มีขุททกาปติเปนอาทิ เกิดพรอมดวยวิปสสนาจิต ๑ คือ “ปสฺสทฺธิยุคฺคลํ” เกิดดวยวิปสสนาใหระงับ ความกระวนกระวายในกายแลจิตนั้น ๑ “อธิโมกฺโข” คือศรัทธาอันมีกําลัง ประกอบดวยพระวิปสสนาจิต ๑ “ปคฺคาโห” คือความเพียร อันประกอบดวยวิปสสนาจิต มิไดหยอนมิไดครานัก ๑ “สุข”ํ คือวิปสสนา อันประณีตยิ่งนัก ๑ “ญานํ” คือวิปสสนาญาณ อันกลายิ่งนัก ๑ “อุปฏฐานํ” คือสติอันประกอบดวยวิปสสนาจิต อาจเห็นจะระลึกซึ่งกิจอันกระทําสิ้นกาล ชานานเปนอาทิ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 92 “อุเปกฺขา” คือวิปสสนูเบกขา อันบังเกิดมัธยัสถในสังขารแลอาวัชชนูเบกขา อันบังเกิดใน มโนทวาร มัธยัสถในสังขาร ๑ “นิกนฺติ” คือตัณหาอันมีอาการอันละเอียด กระทําอาลัยในวิปสสนา ๑ แลธรรม ๑๐ ประการ มีอาทิคือโอภาส ชื่อวาอุปกิเลส เพราะเหตุบังเกิดมานะทิฏฐิ สําคัญวา อาตมาถึงมรรคผล เปนที่เศราหมองแหงวิปสสนา มีใหเจริญขึ้นไปได ใหยับยั้งหยุดความเพียรแต เทานั้น เมื่อุปกิเลสบังเกิดขึ้นดังนี้ ปญญาแหงพระโยคาพจรกําหนดพิพากษาเขาใจวา ธรรม ทั้งหลายมีอาทิ คือโอกาสนี้ เปนอุปกิเลสแกวิปสสนาใชทางมรรคผล วิปสสนาอันดําเนินตามวิปสสนา วิถี โดยอันดับตามวิปสสนาภูมิ มีอาทิคืออุทยัพพยญาณ ตราบเทาถึงอนุโลมญาณนั้นตางหาก เปน หนทางมรรคผล ปญญาอาคันตุกะบังเกิดกําหนดรูทางมรรคผลและใชทางมรรคผลไดดังนี้ในกาลใด ก็ ไดชื่อวามัคคาญาณทัสสนะบังเกิดในสันดานกาลนั้น จบมัคคาญาณทัสสนวิสุทธิแตเทานี้ แตนี้จะวิสัชชาในปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิสืบตอไป ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินั้น มิใชอื่นมิใชไกล ไดแกวิปสสนาปญญาในเบื้องบุรพภาค ๘ ประการ มีอุทยัพพยญาณเปนตน มีสังขารุเบกขาญาณเปนยอด แตบรรดาที่บริสุทธิ์ปราศจากอุปกิเลส กับสัจจานุโลมิกญาณ ๑ เปนคํารบ ๙ สัจจานุโลมิกญาณนี้ มิใชอื่นใชไกล คืออนุโลมชวนะซึ่งบังเกิดเปนที่รองแหงพระอริยมรรค นักปราชญพึงสันนิษฐานวา วิปสสนา ๙ ประการคือ อุทยัพพยญาณ ภัคคญาณ ภยตูปฏฐานญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุกามยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปกขาญาณ สัจจานุโลมิก ญาณ นี้แลจัดไดชื่อวาปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ เพราะพนจากอุปกิเลสดําเนินตามวิปสสนาวิถี สูงขึ้น ไป ๆ ถึงที่ใกลพระอริยมรรคเหตุดังนั้นพระโยคาพจรกุลบุตรผูมีปญญาปรารถนาจะยังปฏิปทาญาณทัส สนวิสุทธินี้ ใหบริบูรณในสันดาน ก็พึงกระทําเพียรเจริญวิปสสนาปญญามีอุทยัพพยญาณเปนตน แต บรรดาที่พนจากอุปกิเลสนั้น เจริญใหกลาหาญตราบเทาดําเนินขึ้นถึงอนุโลมญาณ ยึดหนวงเอาพระ นิพพานเปนอารมณได มีคําปุจฉาวา อุทยัพพยญาณนี้ พระโยคาพจรไดเจริญในกาลเมื่อปฏิบัติซึ่งมัคคามัคค ญาณทัสสนวิสุทธินั้นแลวเหตุไฉนจึงใหเจริญอุทยัพพยญาณอีกเลา อาศัยแกประโยชนเปนประการใด วิสัชชนาวา ขอซึ่งใหเจริญอุทยัพพยญาณอีกนั้น มีประโยชนจะใหกําหนดกฏหมายซึ่ง อนิจจาทิลักษณะ ๆ ที่ยังไมแจงนั้น จะใหเห็นแจงประจักษโดยอันควร จึงใหเจริญอุทยัพพยญาณซ้ํา อีกเลา แทจริงอุทยัพพยญาณที่เจริญ ในหองมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินั้นยังเศราหมองขุนมัว อยูดวยมลทิลนิรโทษ คืออุปกิเลสทั้ง ๑๐ ประการ ยังหาผองใสบริสุทธิ์ไม บมิอาจที่จะกําหนด กฏหมายไตรพิธลักษณไดโดยสัจจโดยแท อุทยัพพยญาณที่พระโยคาพจรเจริญซ้ําใหม เจริญในหอง แหงปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินี้ บริสุทธิ์ปราศจากจากอุปกิเลสอาจสามารถจะใหกําหนดกฏหมายซึ่ง ไตรพิธลักษณะไดโดยอันควรแนแท เหตุดังนั้น สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาจึงพระมหากรุณา โปรดให พระโยคาพจรเจริญอุทยัพพยญาณซ้ําอีก ในกาลเมื่อปฏิบัติในหองปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินี้ จึงมีคําปุจฉาวา อาศัยเหตุที่พระโยคาพจรไมกระทํามนสิการในธรรมดังฤๅ พระไตรลักษณ จึงไมปรากฏ ธรรมสิ่งดังฤๅปกปดไว พระไตรลักษณจึงไมปรากฏ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 93 วิสัชชนาวา อนิจจลักษณะจะไมปรากฏแจง อาศัยเหตุที่พระโยคาพจรมิไดกระทํามนสิการ ในกิริยาที่บังเกิดและฉิบหาย นัยหนึ่งวาสันตติปกปดกําบังอยู อนิจจลักษณะจึงบมิไดปรากฏ แลทุกขลักษณะจะไมปรากฏแจงนั้น อาศัยเหตุที่พระโยคาพจรบมิไดกระทํามนิสิการใน กิริยาที่อาพาธเบียดเบียนเนือง ๆ นัยหนึ่งวาอิริยาบถปกปดกําบังอยู ทุกขลักษณะจึงบมิไดปรากฏ แลอนัตตลักษณะจะไมปรากฏแจงนั้น อาศัยที่พระโยคาพจรบมิไดกระทํามนสิการในพิธี พิจารณาพรากธาตุทั้ง ๔ ใหตางออกเปนแผนก ๆ นัยหนึ่งวาฆนสัญญาปกปดกําบังอยู อนัตตลักษณะ จึงบมิไดปรากฏ มีคําปุจฉาวา สันตติที่ปกปดอนิจจลักษณะไวนั้น จะไดแกสิ่งดังฤๅ วิสัชชนาวา สันตตินั้นใชอื่นใชไกล ไดแกสภาวะวืบตอแหงชีวิตลักษณะที่เห็นวาชีวิตจะ ยั่งยืน จะสืบตอไปสิ้นวันคืนเดือนปเปนอันมากนี้แล พระอรรถกถาจารยเจาเรียกวาสันตติปดปองกําบัง อนิจจลักษณะไวมิใหเห็นอนิจจลักษณะโดยอันควรแนแท ก็ไฉนจึงจะเห็นอนิจจลักษณะโดยอันควรแนแทได ออถาปรารถนาจะใหเห็นอนิจจลักษณะ โดยอันควรแนแทนั้นพึงอุตสาหะเพียรพยายามที่จะกีดกันสันตติออกเสียใหหางไกล อยาใหสันตตินั้น ปดปองกําบังอยูอนิจจลักษณะจึงจะปรากฏโดยอันควรแนแท กระทําไฉนเลา จึงจะกีดกันสันตติออกเสียใหหางไกลได จะปฏิบัติเปนประการใด จึงจะ พรากสันตติออกได ออ ถาปรารถนาจะกันเสียซึ่งสันตติ จะพรากสันตติออกเสียใหหางไกลนั้น พึงอุตสาหะ มนสิการกําหนดกฏหมายใหเห็นที่เกิดและที่ฉิบหายแหงสังขารธรรม อยาไดประมาท พึงคิดถึงความ ตายจงเนือง ๆ พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้เร็วที่จะดับจะทําลาย จะยั่งจะยืนจะมั่นจะคงนั้นหาบ มิได เกิดมาแลวก็มีแตจะดับสูญเปนที่สุด กองแหงรูปธรรมนามธรรมทั้งปวงนี้ มีแตจะฉิบหายทําลาย ไปเปนเบื้องหนา รูปขันธนี้มีครุวนาดุจดังวากอนแหงฟองน้ํา อันลอยไปตามกระแสน้ําแลวก็แตก ทําลายแลว ยังไมเร็วพลัน รูปขันธนี้วาเร็วที่จะทําลายแลว ยังไมเร็วเทาเวทนาขันธอีกเลา เวทนาขันธนี้เร็วนักหนาที่จะแปรปรวน เร็วนักหนาที่จะดับจะทําลาย ทีครุวนาดุจปุมเปอก แหงน้ํา อันเร็วที่จะแปรจะปรวน เร็วที่จะแตกจะทําลาย ฟองน้ําที่เปนกอน ๆ ลอยไปลอยมาตาม กระแสน้ํานั้นวาเร็วแตกเร็วทําลายแลวจะไดเร็วเทาปุมเปอกแหงน้ํานั้นหาบมิได ปุมเปอกน้ําที่เกิดขึ้น ใหม ๆ ผุดขึ้นเปนเม็ด เหนือพื้นน้ําดวยกําลังกระแสน้ํากระทบน้ํานั้นเร็วแตกเร็วทําลายยิ่งขึ้นไปกวา ฟองน้ําที่เปนกอน ๆ แลมีครุวนาฉันใดเวทนาขันธนี้ก็เร็วที่จะแปรปรวน เร็วที่จะดับจะทําลายยิ่งขึ้นไป กวารูปขันธมีอุปไมยดังนั้น สัญญาขันธนี้ก็จะแปรปรวน เร็วที่จะดับจะทําลายยิ่งขึ้นไป ปรากฏและอันตรธานหายไปเปนอันเร็วพลัน

มีอุปมาดุจดังวาพยับแดดอัน

สังขารขันธเลาก็หาแกนสารบมิได มีครุวนาดุจตนกลวยอันปราศจากแกน วิญญาณขันธนั้นเลา จะยั่งจะยืนจะมั่นจะคงนั้นหาบมิได

เทียรยอมลอลวงใหลุมใหหลงมีครุวนาดุจบุคคลที่เปนเจามารยา

เมื่อมีสติปญญามนสิการกําหนดกฏหมาย เห็นที่เกิดและฉิบหายแหงอุปทานขันธทั้ง ๕ มิไดเห็นวาขุนธทั้ง ๕ นั้นจะยั่งจะยืนจะสืบตอไปสิ้นวันคืนเดือนปเปนอันมากแลวกาลใด ก็ไดชื่อวากีด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 94 กันสันตติออกเสียได พรากสันตติออกเสียไดในกาลนั้น เมื่อกันเสียไดซึ่งสันตติพรากสันตติออกเสีย ไดแลว อนิจจลักษณะก็ปรากฏในสันดานเปรียบปานประดุจวาปริมณฑลพระจันทร อันหาเมฆพลาหก จะปกปดมิไดแลวและแจมใสบริสุทธเปนอันงาม สุดแทแตไมมีสันตติปดปองกําบังแลว อนิจจลักษณะ ก็จะปรากฏแจงโดยอันควรแกแท แลอิริยาบถที่ปกปดทุกขลักษณะไวนั้น เปนดังฤๅ วิสัชนาวา อิริยาบถนั่ง อิริยาบถนอน อิริยาบถยืน อิริยาบถเดิน ทั้ง ๔ นี้แลปกปดกําบังไว มิไดเห็นแจงในทุกขลักษณะ อธิบายวาสัตวทั้งหลายในโลกนี้ กาลเมื่ออยูดีกินดีไมปวยไมไขชนทั้งปวงเห็นวาสบายดี อยูนั้น เพราะเปลี่ยนอิริยาบถ นั่งเหนื่อยแลวนอน ๆ เหนื่อยแลวนั่ง ยืนเหนื่อยแลวเดิน ๆ เหนื่อยแลว ยืน เปลี่ยนอิริยาบถอยูเนือง ๆ เปนนิตยฉะนี้ จึงคอยสบายอยูบางแตละครั้งละคราว ถาไมเปลี่ยน อิริยาบถเลย นั่งขึงไปยืนขึงไปก็ดี เดินไปไมหยุดไมหยอนเลยก็ดี ไมเปลี่ยนอิริยาบถโดยนิยมดังนี้ไม มาสักครึ่งวันก็จะเจ็บจะปวด จะเสียดจะแทงจะลําบากเวทนานี้เปนหนักหนา นี่หากวาเปลี่ยนอิริยาบถ อยูเปนนิตยจึงคอยมีความสบายอยูบาง เหมือนอยางอิริยาบถนอกนี้เห็นวาคอยระงับกายเปนสุขกวา อิริยาบถทั้งหลาย ถึงกระนั้นก็ดีถานอนไปขางเดียวไมกลับไมกลอก ไมพลิกซายไมพลิกขวา นอน หนาเดียวไปแลวมิมากสักครึ่งคืน ก็จะจับเอาตัวทุกขเวทนาได ที่ชมวานอนสบาย ๆ นั้นถาไมพลิกซาย ขวานอนอยูที่เดียวเถิด มิตัวแข็งก็หลังแข็งนั่นแล ซึ่งจะไมลําบากนั้นอยาไดสงสัย นี้แลจึงวาขณะเมื่อ ปวยไมไขสมมติวาอยูดีกินดีนั้น ดีอยูดวยสามารถเปลี่ยนอิริยาบถถาไมเปลี่ยนอิริยาบถแลว ก็จะจับเอา ตัวทุกขเวทนาไดเปนหนักเปนหนาสภาวะเปลี่ยนอิริยาบถนี้ บําบัดความลําบากเวทนาเสียไดเปนอัน มากกวามาก หากละเลิงอยูไมพิจารณาใหละเอียดก็หลงชมอยูวามีความสบาย เมื่อพิจารณาให ละเอียดไปมีความลําบาก กายแหงเราทานทั้งปวง ไดชื่อวาเปนไขอยูเปนนิตยนี่หากวาพิทักษรักษา อยูเปนนิตยนิรันดร ขณะเมื่อรอนเอาน้ํารดขณะเมื่อหนาวเอาผาหมเอาเพลิงมากอนผิงขณะแสบทอง เอาขาวและขนมมาบริโภคประทับลม จึงจะมีความสุข ตกวาตองพิทักษรักษาอยูนี่ทุกวันทุกเวลา ถา ไมพิทักษรักษาทํานุบํารุงเลยนี้ความลําบากเวทนาจะเปนสาหัสสากรรจ โดยกําหนดที่สุดแตจะนอน เสียแลวถานอนขึงอยูชานานทีเดียว ยังวามีความลําบากนี้เปนหนักเปนหนา อาศัยละเลิงอยูไมพินิจ พิจารณา ก็สําคัญวาอาตมานี้มีความสบาย ทุกขที่บําบัดไปดวยสามารถเปลี่ยนอิริยาบถนั้นพิจารณาไม เห็น เหตุฉะนี้ พระอรรถากถาจารยจึงวิสัชนาวา ทุกขลักษณะจะมิไดปรากฏแจงนั้น อาศัยอิริยาบถปด ปองกําบังอยู อิริยาบถนั้นปดปองกําบังไวมิใหเห็นทุกขลักษณะโดยอันควรแกแท แตที่วาอิริยาบถจะ ปดจะปงทุกขลักษณะไวไดนั้น อาศัยไมพิจารณาใหละเอียด ถาอุตสาหะมนสิการกําหนดกฏหมายเอา ทุกขเวทนาอันมาถึงในขณะเมื่อนั่งนักนอนนักยืนนักเดินนัก แตเทานี้เอาเปนอารมณไดแลวกาลใด ก็ จะเห็นทุกขลักษณะปรากฏโดยอันควรแนแทในกาลนั้น ๆ แลฆนสัญญที่ปกปดซึ่งอนัตตลักษณะไวนั้นเปนดังฤๅ วิสัชนาวา ฆนสัญญานี้มิใชอื่นใชไกล ไดแกจิตที่สําคัญมั่นหมายในอวัยวะนอยใหญวาเปน แทงวาเปนปกแผน คือสําคัญวาแขง วาขา วามือ วาเทา วาศอก วาแขน วาหนา วาตา วาแกม วาคาง วาทอง วาหลัง วาหญิง วาชาย วาสัตว วาบุคคลสําคัญเปนหมวด ๆ เปนเทา ๆ ฉะนี้แลจัดไดชื่อวาฆน สัญญาเขาปดเขาปองไวมิใหพิจารณาเห็นอนัตตลักษณะโดยอันสมควรแกแท ถาขับไลฆนสัญญาเสีย มิไดตราบใด อนัตตลักษณะก็มิไดปรากฏแจงตราบนั้น ก็เหตุไฉนเลาจึงขับไลฆนสัญญาออกเสียได ออ ซึ่งขอไลฆนสัญญาออกเสียมิไดนั้น ดวยสามารถมิไดมนสิการกําหนดกฏหมายใหเห็น นานาธาตุวินิพโภค คือมิอาจพรากธาตุทั้ง ๔ ใหตางออกเปนแผนก ๆ ได มิอาจพิจารณาใหละเอียด ไปได เห็นวารูปกายแหงเราทานทั้งหลายเกิดมาในโลกนี้แตลวนประชุมแหงธาตุทั้ง ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโซ วาโย ดิน น้ํา ไฟ ลม ประสมกันเขาก็สมมติเรียกวาตัว วาตน วาหญิง วาชาย ที่แทจะเปนตัวเปน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 95 ตนเปนสัตวเปนบุคคล จะเปนหญิงหรือชายนั้นหาบมิได ที่เรียกวาแขง วาขา ที่เรียกวามือ วาเทา เรียกวาศอก วาแขน วาเนื้อ วานม วาหนา วาตานั้น เรียกโดยบัญญัติโวหาร เมื่อวาที่แทเปนกองแหง ปฐวี อาโป เตโช วาโย สิ้นทั้งนั้น ผม และขน เล็บ ฟน หนัง แลเนื้อ เอ็น และกระดูกเยื่อใน กระดูก และมาม และหทัยวัตถุ และพังผืด และปอด และตับ และพุงไสนอย และไสใหญ อาหารเกา อาหารใหม สมองศีรษะ อาการ ๒๐ นี้แตลวนปฐวีธาตุสิ้นทั้งปวง ดี แล เสลด เลทอด และหนอง และเหงื่อ มันขน มันเหลว น้ําตา น้ํามูก น้ําลาย ไขขอ และมูตร ทั้ง ๑๒ ประการนี้แตลวนอาฏปธาตุ สิ้นทั้งปวง ธรรมชาติกระทําใหอบอุนอยูในกาย มิใหกายนั้นเย็น ใหอาหารที่บริโภคนั้นยับยอยออก มิใชอื่นมิใชไกลคือแตโชธาตุ ที่หายใจเขาไปหายใจออกมา พูดจาวากลาวลุกนั่งยืนเที่ยว กระทําการ สารพัด สิ่งทั้งปวงนี้กระทําไดดวยอํานาจแหงวาโยธาตุ ตกวาสิ้นกายนี้ แตลวนแลวไปดวยธาตุททั้ง ๔ นี้ก็เปนปฐวีธาตุนั้นก็อาโปธาตุ นี้ก็เปน เตโชธาตุ นั้นก็เปนวาโยธาตุ แตลวนไมเปนแกนเปนสาร เปรียบปานดุจดังวาไมงิ้วและกลวยอัน ปราศจากแกน สภาวะมีสติปญญามนสิการกําหนดกฏหมายใหเห็นนานาธาตุวินิพโภคพรากธาตุทั้ง ๔ ใหตางออกเปนแผลก ๆ กันดุจพรรณนามาฉะนี้ ถามิไดมีในสันดานแหงบุคคลผูใด ๆ มิอาจสมารถจะ พิจารณาพรากธาตุทั้ง ๔ ออกเปนแผนกได ฆนสัญญาก็เขาอยูเปนเจาเหยาเจาเรือน อากูลมองมูลใน สันดานบุคคบผูนั้น ฆนสัญญานี้ปกปดอนัตตลักษณะ ๆ จึงมิไดปรากฏแจง และอนัตตลักษณ ๆ จึง มิไดปรากฏแจง และอนัตตลักษณะจะปรากฏแจงนั้น อาศัยแกขับไลฆนสัญญาเสียไดจากขันธสันดาน ก็ทําไฉนเลาจึงจะขับไลกําจัดฆนสัญญาเสีย ก็พึงอุตสาหะกระทํามนสิการกําหนดกฏหมาย ใหเห็นในนานาธาตุวินิพโภค พิจารณาพรากธาตุทั้ง ๔ ออกไปเปนแผนก ๆ ดุจดังพรรณนามาแตหลัง ไดแลวกาลใด ก็จะขับจะไลกําจัด ฆนสัญญาเสียจากขันธสันดานไดในกาลเมื่อนั้น เมื่อกําจัดฆน สัญญาเสียไดจากขันธสันดานแลว อนัตตลักษณะก็จะปรากฏแจงโดยอันควรแนแท แลพระโยคาพจรผูปฏิบัติ ในหองปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินี้พึงใหรูในที่จําแนกแยกออก ใหเห็นแจงเห็นชัดวา สิ่งนี้เปนอนิจจัง สิ่งนี้เปนอนิจจลักษณะ สิ่งนี้เปนทุกขัง สิ่งนี้เปนทุกขลักษณะ สิ่งนี้เปนอนัตตา สิ่งนี้เปนอนัตตาลักษณะ พึงจําแนกออกใหเห็นชัดแจงฉะนี้ แลวัตถุที่เปนอนิจจังนั้นไดแกขันธปญจก เหตุไฉนจึงไดวาดังนั้น อธิบายวาขันธทั้ง ๕ นั้น มีสภาวะไมเที่ยงไมแทหวนหันผันแปรไปมามีประการตาง ๆ เหตุฉะนี้ พระพุทธฎีกาจึงตรัสวาวัตถุที่ เปนอนิจจังนั้นไดแกขันธปญจก แลอนิจจลักษณะนั้น ไดแกการที่วิปวิตแปรปรวนเกิดแลวก็ดับ ๆ แลวก็เกิดแหงขันธปญจก นั้นเอง จะเปนสิ่งอื่นหาบมิได แลวัตถุที่เปนทุกขังนั้น ก็ไดแกขันธปญจกนั้นเอง เหตุมีพระพุทธฎีกาตรัสไววา “ยทนิจฺจิ ตํ ทุกขํ” สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้นแลเปนทุกขัง เหตุไฉนจึงวาขันธปญจกเปนทุกขัง อธิบายวาขันธ ปญจกนี้มากไปดวยโรคพยาธิตาง ๆ มากไปดวยทุกขเวทนายํายีบีฑาอยูเนือง ๆ ไมสิ้นไมสุดไมหยุด ไมยั่ง เหตุฉะนี้ จึงเห็นแทวาวัตถุที่เปนทุกขังนั้น ไดแกขันธปญจนั้นเอง แลทุกขลักษณะนั้นเลา ก็ใชอื่นใชไกลไดแกโรคาพยาธิเบียดเบียนซึ่งขันธปญจก ไดแก อาการที่ขันธปญจกลําบากเวทนาอยูเนื่อง ๆ บมิรูแลวนั้นเอง จะเปนสิ่งอื่นหาบมิได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 96 แลวัตถุที่เปนอนัตตานั้นก็ไมใชอื่น ไดแกขันธปญจากนั้นเอง เหตุมีพระพุทธฎีกาโปรด ประทานไว “ยํ ทุกฺขํ ตํ อนตฺตา” สิ่งใดเปนทุกขังสิ่งนั้นแลเปนอนัตตา ก็เหตุไฉนเลา ขันธปญจกนี้ เปนอนัตตา อธิบายวาขันธปญจกนี้บมิไดอยูในอํานาจแหงตนวาไมไดวาไมไดฟง วาไมใหแกก็ขืนแก วาไมใหตายก็ขืนตาย บมิไดประพฤติตามอํานาจ เหตุฉะนี้ จึงเห็นแทวาวัตถุที่เปนอนัตตานั้น ไดแก ขันธปญจกนั้นเอง แลอนัตตลักษณะนั้นก็มิใชอื่น ไดแกอาการที่ขันธปญจกบมิไดประพฤติตามอํานาจนั้นเอง จะเปนสิ่งอื่นหาบมิได พระโยคาพจรกุลบุตร จะกําหนดกฏหมายไตรพิธลักษณะไดโดยกิจอันแท โดยทัยสําแดง มาฉะนี้ ก็อาศัยแกมีอุทยัพพยญาณอันปราศจากอุปกิเลส บังเกิดขึ้นในขันธสันดาน เมื่อพระโยคาพจร กําหนดกฏหมายไตรพิธลักษณะไดดังนี้แลว แลเพียรพิจารณาเปรียบเทียบนามรูปทั้งปวงไปโดยไต รพิธลักษณะนั้นเนือง ๆ อุทยัพพยญาณนั้นก็จะกลาหาญโดยพิเศษ สังขารธรรมก็จะปรากฏแจงใน ญาณจักษุเปนอันเร็วพลัน ในเมื่อปญญากลาหาญสังขารปรากฏเปนอันเร็วพลันแลววิปสสนาญาณนั้น ก็จะลวงเสียซึ่งอุปปาทะแลฐิติบมิไดพิจารณา ซึ่งขณะอันบังเกิดแลขณะอันตั้งอยูแหงรูปธรรม นามธรรม จะเฉพาะพิจารณาแตกิริยาที่สิ้นไปแลฉิบหายไปนั้นฝายเดียว อนึ่งโสตวิปสสนญาณนั้น จะลวงเสียซึ่งอุปาทินนกะปวัตติแลสังขารนิมิต บมิไดพิจารณา ซึ่งกิริยาที่ประพฤติเปนไปแหงอุปาทินนกะรูป บมิไดพิจารณาสังขารนิมิตอันปรากฏในญาณจักษุจะ เฉพาะพิจารณาแตกิริยาที่ดับที่ทําลาย แหงรูปธรรมนามธรรมนั้นเปนอารมณจติแหงพระโยคาพจรนั้น จะตั้งมั่นอยูในสํานัก ที่จะพิจารณา ที่สิ้น ที่ฉิบหายแลที่ดับที่ทําลาย แหงรูปธรรมนามธรรมนั้นบมิได เคลิบเคลิ้ม เมื่อปญญาที่เกิดเสียเฉพาะพิจารณาแตที่ดับดังนี้ ปญญานั้นก็ไดนามบัญญัติใหมชื่อวา ภัง คานุปสสนาญาณ ถึงมาตรแมวาพระโยคาพจรนั้นจะพิจารณาเห็นวาสังขารบังเกิดดังนี้ ดับดังนี้ยัง พิจารณาเห็นอยูทั้งเกิดทั้งดับก็ดี ถาเห็นเกิดกับดับนั้นปรากฏในที่อันเดียวกันแลว วิปสสนาญาณนั้นก็ ไดชื่อวาภังคานุปสสนาญาณ อธิบายดังนี้ อาศัยเหตุที่มีพระพุทธฎีกาโปรดประทานไววา “กถํ อารมฺมณปฏิกงฺขา ภงฺ คานุปสฺสเน ปฺญวิปสฺสเน ญาณํ” ตรัสเปนกเถกุกามยตาปุจฉาวา วิปสสนาปญญา อันชื่อวาภังคญาณรูซึ่งอารมณแลว แล พิจารณาที่ดับที่ทําลายเนือง ๆ เห็นดับเห็นทําลายเนือง ๆ นั้นเห็นประการใด ตรัสปุจฉาดวยพระองคเองดังนี้แลว จึงตรัสวิสัชนาดวยพระองควา “รูปารมฺมณโต จิตฺตํ อุปปชฺชิตฺวา ภิชฺชติ ตํ อารมฺมณํ ปฏิสงฺ ขาตสฺส จิตฺตสฺส ภงฺคํ อนุปสฺสนา” อธิบายวา ภังคญาณพิจารณาที่ดับที่ทําลายเนือง ๆ เห็นดับเห็นทําลายเนือง ๆ นั้น คือเห็น ขณะจิตที่ดับเนือง ๆ กันเปนลําดับ ๆ พิจารณาเห็นดวยปญญาจักษุ วาจิตซึ่งบังเกิดเปนปฐมนั้น ถาเอา รูปเปนอารมณบังเกิดขึ้นขณะหนึ่งแลวแลดับ จิตเปนคํารบ ๒ จึงบังเกิดขึ้น จิตเปนคํารบ ๒ นั้นก็เอารูป เปนอารมณเหมือนกันบังเกิดขึ้นขณะหนึ่งแลวก็ดับไปอีกเลาเมื่อจิตเปนคํารบ ๒ ดับแลวจิตเปนคํารบ ๓ จึงบังเกิดขึ้นเปนลําดับ จิตเปนคํารบ ๓ นั้นก็เอารูป เปนอารมณ บังเกิดขึ้นขณะหนึ่งแลวก็ดับไป เหมือนกัน ลําดับนั้นจิตเปนคํารบ ๔,๕,๖ คํารบ ๗,๘,๙ คํารบ ๑๐,๑๑,๑๒ คํารบ ๑๔,๑๕,๑๖ คํารบ ๑๗ จึงบังเกิดเนือง ๆ กัน เอารูป เปนอารมณเหมือน ๆ กันตั้งอยูขณะหนึ่ง ๆ แลวก็ดับตาม ๆ กันไป บัดเดี๋ยวดับเดี๋ยวทําลาย ดับเนือง ๆ กันไป ไมเวนไมวางไมหางไมไกลกันเลย นาสังเวชเวทนา ปญญาบังเกิดกลา พิจารณา เห็นจิตดับเนือง ๆ กันฉะนี้แล ไดชื่อวาภังคญาณ ที่ดับทําลายเนือง ๆ เห็นดับเห็นทําลายเนือง ๆ ตก ปญญาบังเกิดพรอมดวยจิตที่บังเกิดกอน ๆ นั้น พิจารณารูปารมณโดยขยะแลวยะ พิจารณาเห็นรูปา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 97 รมณนั้นโดยกิริยาอันสิ้นไปฉิบหายไปเปนปกติธรรมดา แลปญญาบังเกิดพรอมดวยจิตที่บังเกิด เบื้องหลัง ๆ นั้น พิจารณารูปารมณโดยขยะแลวยะแลว พิจารณาซึ่งกิริยาอันทําลายแหงจิตกอน ๆ นั้น ดวยเลา พิจารณาเปนสองอารมณดวยกัน มีพระพุทธฎีกาตรัสวิสัชนาฉะนี้แลว ลําดับนั้นจึงตรัสเปนกเถตุกามยตาปุจฉาอีกเลา วา “กถํ อนุปสฺสติ” ภังคญาณซึ่งพิจารณาที่ดับที่ทําลายเนือง ๆ เห็นดับดวยทําลายเนือง ๆ นั้น เห็นดวยอาการเปนดังฤๅ ตรัสปุจฉาฉะนี้แลว จึงตรัสวิสัชนา “อนิจฺจโต อนุปสฺสติ โน นิจฺจโต ทุกฺขโต อนุปสฺสติ สุขโต อนตฺตโต อนุปสฺสติ โน อตฺตโต นิพฺพินฺทติ โน วิรชฺชติ โน รชฺชติ ฯลฯ อาทานํ ปทหติ” อธิบายวาภังคญาณนั้น พิจารณาเห็นดับเห็นทําลายโดยอาการเปนอันมาก มีตนวาเห็นโดย อนิจจัง คือเห็นวาไมเที่ยงนั้นโดยฝายเดียวจะไดเห็นวาเที่ยงหามิได นัยหนึ่งเห็นดับเห็นทําลายนั้น โดยอาการอันประกอบดวยทุกขัง จะไมเห็นวาเปนสุขหาบมิได นัยหนึ่งเห็นดับเห็นทําลายนั้นโดย อาการใชอาตมาใชของอาตมา จะไดเห็นโดยอาการเปนของอาตมานั้นหาบมิได เมื่อเห็นดับเห็นทําลายโดยอาการที่เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาดวยประการฉะนี้แลว จิต สันดานแหงพระโยคาพจรนั้นก็จะเห็นเหนื่อยหนายจากรูปธรรมนามธรรม จะไดมีความชื่นชมยินดีดวย รูปธรรมนามธรรมนั้นหาบมิได สันดานนั้นปราศจากความกําหนัด บมิไดกําหนัดดวยสามารถราคดํา กฤษณา บมิไดรักใครในรูปธรรมนามธรรมระงับดับเสียซึ่งตัณหา บมิไดใหชองแกตัณหา บมิใหตัณหา นั้นกอทุกขกอภัยสืบตอไปได สละละเสียซึ่งกิเลสธรรมทั้งปวง เปนตทังคปหาน จิตนั้นนอมไปสู นิพพาน เอาพระนิพพานเปนเบื้องหนา บมิไดปรารถที่จะเวียนตายเวียนเกิด ตกวากาลเมื่อพิจารณาเห็นโดยอนิจจังนั้น สละละเสียไดซึ่งอนิจจสัญญา ๆ ที่สําคัญวา เที่ยงวาแทนั้น พระโยคาพจรสละเสียไดเปนตทังคปหานในกาลเมื่อเห็นดับ เห็นทําลาย โดยอาการ เปนอนิจจังนั้น ละสุขสัญญา คือสําคัญวาประกอบดวยสุขนั้น สละละเสียไดเปนตทังปหาน ในกาลเมื่อเห็น ดับเห็นทําลายโดยอาการแหงทุกขัง แลอัตตสัญญา คือสําคัญวาเปนตน วาเปนของแหงตนนั้นสละละเสียไดเปนตทังปหาน ใน กาลเมื่อเห็นดับเห็นทําลายโดยอาการแหงอนันตา แลความยินดีปรีดาในรูปธรรมนั้น พระโยคาพจร สละละเสียไปเปนตทังปหาน ในกาลเมื่อเห็นทําลายแลวแลเหนื่อยหนาย เกลียดชังซึ่งรูปธรรม แลราคดํากฤษณาที่กระทําใหกําหนัดรักใครนั้น สละเสียไดเปนตทังปหาร ในกาลเมื่อเห็น ดับเห็นทําลายแลบังเกิดความเนื่อยหนายแลว แลปราศจากความยินดีปรีดา แลตัณหาซึ่งเปนเจาหมู เจากรมใหญใหบังเกิดทุกขบังเกิดใหบังเกิดภัยใหบังเกิดอุปทวะอันตรายตาง ๆ นั้น สละละเสียได เปนตทังปหาน ในกาลเมื่อเห็นดับทําลายแลวแล บังเกิดความเหนื่อยหนายปราศจากความยินดีปรีดา ในรูปธรรม แลวแลสงจิตไปสูพระนิพพานยินดีในพระนิพพาน แลกิเลสธรรมทั้งปวง อันกระทําใหขุนของหมองมัวเสียสติสัมปชัญญะ พระโยคาพจรเจา สละละเสียไดเปนตทังปหาน ในกาลเมื่อนอมจิตไปสูพระนิพพาน มิไดปราถนาที่จะเวียนตายเวียนเกิด สําแดงมาฉะนี้ ตามนัยแหงปฐมจิตที่บังเกิดขึ้นพิจารณารูปยึดหนวงเอารูปเปนอารมณถา ปฐมจิตนั้นเอาเวทนาเปนอารมณก็ดี เอาสัญญาเปนอารมณก็ดี เอาสังขารเปนอารมณก็ดี เอาวิญญาณ เปนอารมณก็ดี เอาจักขวายตนะเปนตนเปนอารมณก็ดี เอาชนะมรณะเปนอารมณก็ดี สุดแทแตปฐมจิต นั้นเอาสิ่งใดเปนอารมณแลว ทุติยจิตแลตติยจิตตลอดไปตราบเทาถึงจิตเปนตคํารบ ๑๗ ก็เอาสิ่งนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 98 เปนอารมณเหมือนกันทั้ง ๑๗ ขณะนั้นนักปราชญพึงรูวาปญหาซึ่งบังเกิดพรอมดวยจิตที่บังเกิดกอน ๆ นั้นพิจารณาอารมณมีเวทนาเปนตนโดยขยะแลวยะ พิจารณาเห็นวาอารมณมีเวทนาเปนตนนั้น มีกิริยา อันสิ้นไปฉิบหายไปเปนปกติธรรม แลปญญาซึ่งบังเกิดพรอมดวยจิตที่บังเกิดเบื้องหลัง ๆ นั้น พิจารณาอารมณมีเวทนาเปนตนโดยขยะแลวยะแลว พิจารณาซึ่งกิริยาอันดับทําลายแหงจิตกอน ๆ นั้นดวยเลา เปนสองอารมณดวยกัน ปญหานั้นพิจารณาเห็นดับเห็นทําลายโดยอาการแหงอนิจจัง ทุก ขัง อนัตตา สละละเสียซึ่ง นิจจสัญญา สุขสัญญา อัตตสัญญา เปนตทังปหาน ดวยอํานาจพระไตร ลักษณสละละเสียซึ่งความยินดี เปนตทังปหารดวยอํานาจเหนื่อยหนาย สละละเสียซึ่งราคะเปนตทัง ปหาน มิไดรักใครในอารมณมีเวทนาเปนตนนั้น ดวยอํานาจที่เห็นพระไตรลักษณแลวแลเหนื่อยหนาย ปราศจากความยินดีปรีดา สละเสียซึ่งตัณหาอันเปนเจาพนักงานใหเกิดกองทุกขเปนตทังปหาน ดวย อํานาจที่สิ่งจิตนอมไปสูพระนิพพานโดยนัยที่สําแดงมาแลวแตหลัง ตกวากิริยาที่สละละ นิจจสัญญา แลสุขสัญญา แลอัตตสัญญาเสียไดเปนตทังคปหาน แล ความยินดีแลราคดํากฤษณา ละตัณหาแลกิเลสธรรมเสียไดเปนตทังปหานนั้น ละไดดวยความสามารถ พิจารณากิริยาที่ดับที่ทําลายแหงสังขารธรรมนั้นเปนตนเปนเดิม เหตุฉะนี้ปญญาที่เห็นอนิจจัง ละเสีย ไดซึ่งอนิจจสัญญาเปนตทังคปหาน ไดนามบัญญัติชื่อวาอนิจจานุปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่เห็นทุกขังละ เสียไดสุขสัญญาเปนตทังคปหานไดนามบัญญัติชื่อวาทุกขาปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่กระทําใหเหนื่อย หนายจากสังขารธรรม ละเสียไดซึ่งความยินดีในสังขารเปนตทังคปหานไดนามบัญญัติชื่อวานิพพิทา นุปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่กระทําใหปราศจากความกําหนัดรักใครในสังขารธรรม ละเสียไดซึ่งราคะ เปนตทังคปหาน ไดนามบัญญัติชื่อวาวิราคานุปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่กระทําใหนอมจิตไปสูพระ นิพพาน สละละเสียซึ่งตัณหาเปนตทังคปหาน ไดนามบัญญัติ ชื่อวานิโรธานุปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่ สละละเสียซึ่งกิเลสธรรมทั้งปวง เปนตทังคปหาน นอมจิตไปสูนิพพานไดนามบัญญัติชื่อวาปฏินิสสัค คานุปสสนานั้นก็ดี ปญญาที่สําแดงมาสิ้นทั้ง ๒ ประการนี้นับเขาในภวังคญาณสิ้นดวยกัน เพราะเหตุ ปญญาทั้ง ๗ นี้บังเกิดแตกิริยาที่เห็นดับเห็นทําลายแหงสังขารธรรมนั้นเปนตนเปนเดิม แทจริงวิปสสนาญาณทั้ง ๗ ประการ มีอนิจจานุปสสนาเปนตนมีนัยดังวิสัชนามาฉะนี้ บางที สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคตรัสเทศนาโดยบัญญัตินามชื่อวา ปริจจาคปฏินิสสัคคานุปสสนา เพราะ เหตุวา สละละเสียซึ่งกิเลสธรรมทั้งปวง กับทั้งขันธาภิสังขารนั้นเปนตทังคปหาน บางทีตรัสเทศนา วิปสสนาทั้ง ๗ นี้ โดยบัญญัตินามชื่อวาปกขันธปฏินิสสัคคานุปสสนา เพราะเหตุวาวิปสสนาญาณ ทั้งนี้ เห็นโทษแหงสังขตธรรมแลวแลนอมไปสูพระนิพพาน สงจิตไปสูพระนิพพาน นักปราชญพึงสันนิษฐานเปนใจความวา ปญญาที่จะละเสียซึ่งที่เกิดเฉพาะพิจารณาเอาแต ที่ดับนั้นแล ไดชื่อวาภวังคญาณ สมดังบาทพระคาถาวา วตฺถุสงฺกมนา เจว

สฺญาย จ วิวฏฏนา

อาวฏฏนา พลฺเจว อารมฺมณานิ วฺเยน นิโรเธ อธิมุตฺตตา

ปฏิสงฺขา วิปสฺสนา อุโภ เอเกว วตฺถุนา อยลกฺขณวิปสฺสนา

อารมฺมณฺจ ปฏิสงฺขา สุฺญโต จ อุปฏานํ กุสโล ตีสุ อนุปสฺสนาสุ

ภงฺคฺจ อนุปสฺสติ อธิปฺญา วิปสฺสนา จตสฺโส จ วิปสฺสนาสุ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 99 ตโย อุปฏาเน กุสลตา

นานาทิฏีสุ น กมฺปตีติ

อธิบายในบาทพระคาถาวา ปญญาอันลวงเสียซึ่งวัตถุอันตนพิจารณาในเดิม คือเดิมนั้นถา พิจารณารูปอยูกอน ก็ละรูปนั้นกลับเสียมาพิจารณาซึ่งจิต จิตหมูใดพิจารณารูปแลวแลดับ พระ โยคาพจรก็หยั่งปญญาพิจารณาจิตหมูนั้น โดยกิริยาที่ดับทําลาย ตกวาเห็นดับเห็นทําลายแหงรูปนั้น กลับเห็นดับเห็นทําลายแหงจิตนั้นเลา พิจารณารูปนั้นเห็นวาดับเร็วทําลายเร็วแลวกลับพิจารณาจิต ก็ เห็นวาจิตนั้นดับเร็วทําลายเร็วยิ่งกวารูปนั้นอีกเลา กิริยาที่เห็นดับเห็นทําลายนั้นเนือง ๆ กันหาระหวาง บมิได นี้แลเปนวิสัยแหงภังคญาณ ๆ นั้น ละเสียซึ่งที่เกิด ตั้งอยูในกิริยาอันพิจารณาซึ่งที่ดับ องอาจ ในที่จะพิจารณาอารมณเดิม แลวแลละอารมณเดิมเสีย กลับพิจารณาอารมณหลังเปนอันรวดเร็วยิ่งนัก บมิไดเนิ่นชา รูอารมณทั้งสองฝายเห็นดับเห็นทําลาย ทั้งเบื้องปลายแลเบื้องตน กําหนดกฏหมาย อารมณทั้งสองฝาย คืออารมณที่เห็นกับอารมณที่มิไดเห็นนั้น เหมือนกันเปนอันเดียว เห็นแทวา สังขารธรรมในปจจุบันที่อยูนี้ดับทําลายฉันใด สังขารธรรมในอดีตแลอนาคตที่มิไดเห็นนั้นก็ดับทําลาย ดังนั้น วยลักษณะวิปสสนากลาวคือภังคญาณนี้ เมื่อเห็นดับเห็นทําลายเนือง ๆ กันฉะนี้ ก็ยังจิตใหยินดี ในพระนิพพานธรรม กระทําจิตใหยินดีใหออนใหนอมมหโอนใหเงื้อมไปสูพระนิพพาน อันเปนปรมัตถ ธรรมล้ําเลิศประเสริฐยอดธรรมทั้งปวง ภังคญาณนี้เมื่อกลาหาญยางขึ้นถึงภูมิอธิปญญาวิปสสนาแลวก็ เห็นสังขารธรรมนั้นปรากฏชัดโดยสูญเปลา ตลอดทั้งเบื้องตนแลเบื้องปลาย ทั้งฝายอดีตแลอนาคต แลปจจุบัน เหตุดังนั้น พระโยคาพจรผูปฏิบัติในหองภังคญาณ พึงฉลาดในอนุปสสนา ๓ ประการ คือ อนิจจานุปสสนา ทุกขานุปสสนาแลอัตตานุปสสนา ใชแตเทานั้น พึงใหฉลาดในวิปสสนาทั้ง ๔ คือ นิพพิทานุปสสนาวิราคานุปสสนาปสสนา นิ โรธานุปสสนา ปฏินิสสัคคานุปสสนา แลวใหฉลาดในอุปฐาน ๓ ประการ คือ ใหฉลาดในที่จะพิจารณาสังขารใหปรากฏ โดย ขยะ คือสิ้นไป ๆ โดยปกติธรรมดานั้นประการ ๑ โดย ขยะ คือฉิบหายประลัยไปดวยภัยอันตรายตาง ๆ นั้นประการ ๑ เมื่อสูญสิ้นไปเปลาปราศจากแกนสารนั้นประการ ๑ เมื่อฉลาดในปญญาภาวนาพิธีดังนี้แลว สันดานแหงพระโยคาพจรนั้นก็จะตั้งมั่นบมิไดหวาด หวั่นไหวดวยอํานาจทิฏฐิตาง ๆ มีสัสสตทิฏฐิเปนประธานเมื่อไมหวาดหวั่นไหวดวยอํานาจทิฏฐิ ไมตก ไปในฝายมิจฉาทิฏฐิแลวกิริยาที่มนสิการวาสังขารธรรมที่ยังมิไดดับก็จะดับไปเปนแท ซึ่งยังมิได ทําลายก็จะทําลายเปนแท มนสิการดังนี้ก็จะประพฤติเปนไปในสันดานพระโยคาพจร ๆ นั้น ก็จะสละละ เสียซึ่งอุปปบาทนิมิต แลฐิตินิมิต แลปวัตตินิมิต คือเหตุที่จะใหเห็นวาสังขารธรรมบังเกิด สังขารธรรม ตั้งอยูสังขารธรรมประพฤติเปนไปในสันดาน จะปราศจากสันดานแหงพระโยคาพจร ๆ นั้นจะคงเห็นแท แตกิริยาที่ดับทําลายนั้นอยางเดียว เปรียบเหมือนบุคคลอันเปนภาชนะที่ราวฉานตลอดแลว แล พิจารณาเห็นแตที่จะแตกทําลายนั้นอยางเดียว มิฉะนั้นเปรียบเหมือนบุคคลอันเปนธุลีอันแตกเรี่ยราย กระจายอยู แลพิจารณาเห็นแตที่จะสาบจะสูญจะอันตรธานหายไปนั้นอยางเดียว มิฉะนั้นเปรียบ เหมือนบุคคลอันเห็นฝนแทงงาแตกทําลายสิ้นแลว แลพิจารณาเห็นวาเมล็ดงานี้มีแตจะสาบสูญสิ้นจะ อันตรธานนั้นอยางเดียว มิฉะนั้นเปรียบเหมือนดังบุรุษที่ยืนอยูริมกระโบกขรณี แลบุรุษที่ยืนอยูริมฝงน้ํา กาลเมื่อเม็ดฝนใหญ ๆ ตกลงมาเหนือหลังน้ํานั้น ฟองน้ําก็บังเกิดขึ้นเปนตอม ๆ เปนเม็ด ๆ ใหญ ออกไป ๆ บัดเดี๋ยวใจก็จะแตกจะทําลายอันตรธานสูญสิ้นบมิไดตั้งอยูนาน บุรุษที่ยืนอยูริมขอบสระ บุรุษที่ยืนอยูริมฝงน้ํานั้นเห็นอาการอันทําลายไป แหงฟองน้ํา แลมีฉันใด พระโยคาพจรเจาผูปฏิบัติใน หองภังคญาณ ก็พิจารณาเห็นอาการอันดับอันทําลายแหงสังขารมีอุปไมยดังนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 100 เมื่อภังคานุปสสนาญาณถึงซึ่งกลาหาญมีกําลังแลว อานิสงส ๘ ประการซึ่งเปนบริวารแหง ภังคญาณนั้น ก็จะบังเกิดแกพระโยคาพจร อานิสงส ๘ ประการนั้น “ภวปฏิปหานํ” คือ จะละเสียไดซึ่งสัสสตทิฏฐิประการ ๑ “ชีวิตนิกนฺติปริจฺจาโค” คือ จะสละละเสียไดซึ่งความยินดีในชีวิต บมิไดรักชาติประการ ๑ “สทา ยุตฺตปยุตฺตา” คือ จะมีเพียรบําเพ็ญพระกรรมฐานสิ้นกาลเปนนิตยประการ ๑ “วิสุทฺธา ชีวิตา” คือ จะประพฤติเลี้ยงชีวิตบริสุทธิ์ ปราศจากโทษประการ ๑ “อุสฺสุปฺปหานํ” คือ จะสละละเสียซึ่งขวนขวายในกิริยาที่จะแสวงหาเครื่องอุปโภค แล ปริโภค แลบริขารตาง ๆ จะตั้งอยูในที่มักนอยประการ ๑ “วิคตยตา จ” คือ มีความกลัวอันปราศจากบมิไดสดุงตกใจกลวแกภัยอันตรายตาง ๆ นั้น ประการ ๑ “ขนฺต”ิ คือ จะมีสันดานอันอดกลั้น กอปรดวยอธิวาสนขันติประการ ๑ ประการ ๑

“โสวจฺจปฏิลาโภ”

คือ

จะไดซึ่งคุณคือสภาวะวางายสอนงายบมิไดกระดางกระเดื่อง

“อารติรติสหนฺต”ิ คือ จะอดกลั้นไดซึ่งความกระสันแลความยินดีบมิไดลุอํานาจแหง ความกระสันแลความยินดีนั้นประการ ๑ รวมเปน ๘ ประการดวยกัน อานิสงสทั้ง ๘ ประการนี้ จะบังเกิดเปนบริวารแหงภังคญาณ จะสําเร็จแกพระโยคาพจร อันมีสันดานประกอบดวยภังคญาณอันกลาหาญมีกําลังเหตุดังนั้น โบราณาจารยจึงกลาวซึ่งบาทพระ คาถาสาธกเนื้อความที่กลาวแลวนั้นวา “อิมานิ อฏ คุณมตฺตมานิ” “ทิสฺวา ตหึ สมฺมสตึ ปุนปฺปุน”ํ “อาทิตฺตเจลสฺสิรสูปโม มุน”ิ “ภงฺคานุปสฺสี อมตสฺส ปตฺติยา” อธิบายในบาทพระคาถาวา บุคคลผูเปนนักปราชญ บําเพ็ญเพียรในหองพระวิปสสนา กรรมฐาน เมื่อพิจารณาเห็นคุณานิสงสอันอุดมทั้ง ๘ ประการ มีนัยดังพรรณนามาฉะนี้ พึงมีอุตสาหะ พิจารณาสังขารธรรมจงเนือง ๆ อยาไดประมาท จําเร็ญพระวิปสสนาปญญานั้น ไดกลาหาญใหยางขึ้น ถึงภูมิภังคญาณนั้นใหจงได พึงมนสิการกําหนดในใจ ใหเห็นอาการที่ดับที่ทําลายไปแหงรูปธรรม นามธรรมนั้น ติดพันกันอยูกับตนเปนนิตยนิรันดรพิจารณาใหเห็นดับเห็นทําลายนั้นเนือง ๆ ในตน เปรียบประดุจบุคคลอันเพลิงไหมผาโพกศีรษะ แลพิจารณาเห็นอาการที่ไหมที่รอนนั้นเนือง ๆ ในตน ติดพันอยูกับตน ปญญาอันพิจารณาเห็นดับเห็นทําลายดังนี้ อาจจะเปนปจจัยใหเห็นพระนิพพาน อาจ ใหถึงพระนิพพานสําเร็จมโนรถความปรารถนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 101 “ภงคานุปสฺสนาญาณํ นิฏิตํ” สําแดงภังคานุปสสนาญาณโดยพิสดาร ยุติการเทานี้ แตนี้จะสําแดงภยตูปฏฐานสืบตอไป ตามวาระพระบาลีวา “ตสฺเสวํ สพฺพสงฺขารานํ ขยวยเภทา นิโรธา อารมฺมณํ ภงฺคานุปสฺสนานํ อา เสวนฺตสฺส พหุลีกโรนฺตสฺส ปพฺพภวโยนิคติ ิติสตฺตาวาเสสุ สเภทกา สงฺขารา สุเขน ชีวิตุ กามสฺส ภิรุกปริสฺส สีหพฺยคฺฆทิปอจฺฉตรจฺฉยกฺขรกฺขสจณฺฑโคณจณฺฑกุกฺกุรปริภินฺนมท จณฺฑหตฺถิโฆรอาสิวิสอสนิจกฺกสุสานรณภูมิชลิต องฺคารกาสุ อาทโย วิย มหาภยํ อฏหนฺติ” เมื่อพระโยคาพจรสรองเสพซึ่งภังคานุปสสนาญาณ อันกลาหาญมีกําลังดวยประการฉะนี้ ลําดับนั้นภยตูปฏฐานญาณก็จะบังเกิดในสันดานแหงพระโยคาพจร ๆ ก็จะพิจารณาเห็นภัยแหงสังขาร ธรรม อันเวียนตายเวียนเกิดทองเที่ยวไปในภพทั้งปวง อันอากูลไปดวยกําเนิดทั้ง ๔ คือ อัณฑชะ แล ชลัมพุชะ แลสังเสทชะ แลอุปปาติกะ ประกอบดวยคติทั้ง ๕ คือ นิรยคติ แลเปตคติ แลติรัจฉานคติแล นุสสคติ แลเทวคติตางกันโดยประเภทแหงวิญญาณฐิติ ๗ แลสัตตาวาส ๙ โยคาพจรกุลบุตรผูมี สันดานกอปรดวยภยตูปฏฐานญาณนั้น พิจารณาเห็นภัยเปนอันมาก เปรียบประดุจบุรุษภิรุกชาติ ปรารถนาจะไดมีชีวิตอยูโดยสุข แลพิจารณาเห็นภัยอันจะบังเกิดแตราชสีห แลเสือโครงเสือเหลือง พิจารณาเห็นภัยอันจะบังเกิดแตโครายแลกระบือรายแลชางอันซับมันแลอสรพิษ พิจารณาเห็นภัยอัน จะบังเกิดแตขวานฟา ปาชาแลการรณรงคแลขุมถานเพลิงอันรุงเรืองเปนอาทิ พระอรรถกถาจารยเจา จึงสําแดงอุปมาแหงภยตูปฏฐานญาณนี้โดยนัยนิเทศวารวา “เอกิสฺสา กิร อิตฺถิยา ตโย ปุตฺตา” ดังไดยินมาวามีสตรีผูหนึ่งมีบุตรชาย ๓ คน บุตรชายทั้ง ๓ คนนั้นกระทํากรรมอันผิดประพฤติซึ่งทุจริตในพระราชฐาน พระมหากษัตริยแจงเหตุอัน นั้น จึงบังคับนายเพชฌฆาตใหจับบุตรชายแหงสตรีนั้นไปทั้ง ๓ คน เพื่อจะใหประหารชีวิตเสียทั้ง ๓ คนนั้น สตรีผูเปนมรรดาแลเห็นนายเพชฌฆาตนําเอาบุตรชายทั้ง ๓ คนนั้นไป ก็รองไหวิ่งตามไปถึงที่ ตะแลงแกงนายเพชฌฆาตจึงตัดศีรษะลูกชายใหญดวยดาบอันคมกลาใหขาดตกลงแลว ก็ปราถนา เพื่อจะตัดศีรษะลูกชายคนกลางนั้นสืบตอไป สตรีผูนั้นแลเห็นเขาตัดศีรษะลูกชายใหญขาดตกลงแลว ก็เหลี่ยวหนามาดูลูกชายคนโตเลานายเพชฌฆาตก็ฟนใหศีรษะตกลง สตรีผูนั้นก็สละเสียซึ่งอาลัยลูก ชายนอย มาดําริวาลูกชายนอยคนสุดทองของอาตมานี้ไหนเลยจะรอดเลา เขาก็จะฆาเสียเหมือนกัน สตรีผูนั้นพิจารณาเห็นความตายแหงลูกชายทั้ง ๓ คน ฉันใดก็ดี ภยญาณนี้ก็ใหพิจารณาเห็นความตาย ในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต อนาคต ปจจุบันมีอุปไมยดังนี้ ถามิดังนั้น เปรียบประดุจสตรีครรภบุตรถึง ๑๑ คน เกิดคนไหนก็ตายคนนั้น สุดแทแตคลอด ออกมาแลวก็ตาย แตตายไปถึง ๙ คนดวยกันแลวไมรอดแตสักคน ลูกที่คลอดในวาระเปนคํารบที่ ๑๐ นั้นเลา พอคลอดพนครรภ สตรีนั้นเอามือทั้งสองประคองลูกอุมขึ้นไวก็ตายอยูในมือ ครั้นวามีครรภ ขึ้นมาในวาระเปนคํารบ ๑๑ ยังมิไดคลอด สตรีนั้นก็สละละเสียซึ่งอาลัยในบุตรที่อยูในครรภ มาดําริวา ลูกอยูในครรภแหงอาตมานี้ไหนเลยจะรอดเลา นาที่จะตายไปเหมือนกัน สตรีผูเปนมารดาพิจารณา เห็นความตายแหงลูกชายทั้ง ๑๑ คนเหมือนกันเปนอันเดียว แลมีฉันใดภยญาณนี้ก็พิจารณาเห็นความ ตายในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต อนาคต แลปจจุบันมีอุปไมยดังนั้น กาลเมื่อสตรีผูเปนมารดา พิจารณาเห็นความตายแหงลูกทั้ง ๙ คนที่ตายแลวนั้น มีอุปไมย ดังภยญาณอันพิจารณาเห็นความตายในอดีตชาติเบื้องหลัง กาลเมื่อสตรีผูเปนมารดาพิจารณาเห็นความตายแหงลูกชายเปนคํารบ ๑๐ ซึ่งตายอยูในมือ นั้น มีอุปไมยดังภยญาณอันพิจารณาเห็นความตายในชาติที่เปนปจจุบัน กาลเมื่อสตรีผูเปนมารดาพิจารณาเห็นความตายแหงลูกชาย เปนคํารบที่ ๑๑ ซึ่งอยูในครรภ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 102 นั้น มีอุปไมยภยญาณอันพิจารณาเห็นความตายในชาติอันเปนอนาคตเบื้องหนา ฯ ในที่อันนี้มีคําปุจฉาวา ภยตูปฏฐานญาณนี้ เมื่อบังเกิดมีในสันดานแหงพระโยคาพจรนั้น ยัง พระโยคาพจรใหมีความสะดุงตกใจกลัวอยูหรือ ๆ ไมสะดุงตกใจกลัวเปนประการใด มีคําวิสัชนาวา “น ภายติ” ภยตูปฏฐานญาณนี้นั้น จะกระทําใหพระโยคาพจรสะดุงตกใจ กลัวหาบมิได แตปญญาที่ตั้งอยูในภูมิภังคญาณนั้นสิยังขจัดความกลัวเสียไดแลว ก็จะปวยกลาวไปไย ถึงปญญาที่แกยังขึ้นถึงภูมิภยตูปฏฐานญาณนี้ได ดังฤๅความสะดุงตกใจกลัวจะบงเกิดแกพระ โยคาพจรเลา ขึ้นชื่อวาปญญาแกกลาแลวนี้ไมมีความกลัวเลยเปนอันขาด แลขอซึ่งปญญาไดนาม บัญญัติชื่อวา ภยตูปฏฐานญาณนั้นดวยสามารถที่พิจารณาเห็นภัย จะมีครุวนาฉันใด มีครุวนาดังบุรุษ อันเห็นขุมถานเพลิงทั้ง ๓ อันมีอยูแถมประตูพระนคร ในกาลเมื่อเล็งแลดูขุมถานเพลิงทั้ง ๓ อันมี เปลวรุงโรจนโชตนาการนั้น บุรุษนั้นจะไดสะดุงตกใจกลัวหาบมิได เปนแตพิจารณาเห็นภัยวา สัตว จําพวกใดตกลงในขุมถานเพลิงทั้ง ๓ นี้ สัตวจําพวกนั้นก็จะไดเสวยทุกขเวทนาอันหยาบ ชาสาหัส มิไดนอยไดเบาเลยเปนขันขาด “สยํ น ภายติ” ตกวาบุรุษผูนั้นตกเองหากลัวไมแลมีฉันใด ภยตูปฏ ฐานญาณนี้ก็มิไดกระทําใหพระโยคาพจรสะดุงตกใจกลัว เปนแตใหพิจารณาเห็นมรณภัยในกาลทั้ง ๓ คือ อดีตแลอนาคต แลปจจุบัน มีอุปไมยดังนั้น ถามิฉะนั้นเปรียบเหมือนบุรุษอันเห็นหลาว ๓ เลม คือ หลาวไมตะเคียน หลาวเหล็ก หลาว ทอง ปกเรียงกันอยูในคูแทบประตูพระนครบุรุษนั้นครั้นเห็นก็มีความดําริ ถาสัตวจําพวกใดตกลงถูก หลาวทั้ง ๓ สัตวจําพวกนั้นก็ไดเสวยทุกขเวทนา อันหยาบชากลาแข็งบมิไดเลยเปนอันขาดมิตายก็จะ ลําบากแทบบรรดาตาย “สยํ น ภายติ” ตกวาบุรุษนั้นตนเองหากลัวไม หาสะดุงตกใจไม เปนแต พิจารณาเห็นมรณภัยในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต แลอนาคต แลปจจุบัน มีอุปไมยดังนั้น มีคําปุจฉาวา กาลเมื่อกระทํามนสิการโดยอนิจจังเห็นอนิจจังนั้นสิ่งดังฤๅ ปรากฏอันเปนภัย อันพิลึกแกพระโยคาพจร กาลเมื่อมนสิการโดยทุกขังนั้น สิ่งดังฤๅปรากฏเปนภัยอันพิลึกแกพระโยคาพจร กาลเมื่อ มนสิการโดยอนัตตานั้น สิ่งดังฤๅปรากฏเปนภัยอันพิลึกแกพระโยคาจร มีคําวิสัชนาวา กาลเมื่อมนสิการโดยอนิจจังเห็นอนิจจังนั้นนิมิตคือสังขารธรรมปรากฏเปน ภัยอันพิลึกแกพระโยคาพจร เพราะเหตุวาเห็นอนิจจังแลวก็เห็นความตายแหงสังขารธรรมเมื่อเห็น ความตายแทสันทัด เห็นสัตวเห็นเที่ยงที่จะตายนั้นกาลใด สังขารธรรมทั้งปวงก็ปรากฏเปนภัยอันพิลึก แกพระโยคาพจรในกาลนั้น โยคาพจร

แลกาลเมื่อมนสิการโดยทุกขังเห็นทุกขังนั้น

รูปารูปภวปวัตติปรากฏเปนภัยอันพิลึกแกพระ

รูปปารูปภปวัตตินั้น คือกิริยาที่รูปธรรมแลอรูปธรรมประพฤติเปนไปในภพ เมื่อมีปญญาแล พิจารณาเห็นทุกขังแลวก็เห็นวากิริยาที่เวียนไปในภพนี้ อากูลมูลมองไปดวยกองทุกขกองภัยมี ประการตาง ๆ ความทุกขนั้นเบียดเบียนอยูเนือง ๆ บมิไดมีที่สุด บมิไดมีที่หยุดยั้งถึงสุคติภพที่โลกนับ ถือวาเปนสุขนั้น ก็ยังประกอบดวยทุกขติดตามย่ํายีบีฑาอยูเนือง ๆ บมิรูสิ้นสุดเหตุฉะนี้ เมื่อมีปญญา พิจารณาเห็นทุกขังสันทัดแทแนในใจแลวกาลใด กิริยาที่รูปธรรมแลอรูปธรรมอันเวียนไปในไตรภพนั้น ก็ปรากฏ เปนภัยอันพิลึกแกพระโยคาพจรในกาลนั้น แลกาลเมื่อมนสิการโดยอนัตตาเห็นอนัตตานั้น สองประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

นิมิตแลวัตติปรากฏเปนภัยอันพิลึกสิ้นทั้ง


- 103 อธิบายวากาลเมื่อเห็นพระอนัตตานั้น รูปธรรมนามธรรมปรากฏโดยเปลาสูญ เปรียบประดุจ บานรางอันเปลาหาคนอยูบมิได มิฉะนั้นเปรียบประดุจพยับแดด อันปรากฏเปนแสงระยับ ๆ แลวแล เคลื่อนหายไปบัดเดี๋ยวใจไมยั่งไมยืน มิฉะนั้นเปรียบประดุจเมืองแหงคนธรรพเทวบุตรอันบังเกิดขึ้นตอ พอเปนที่เลน โดยควรแกอัชฌาสัยแหงคนธรรพเทวบุตรแลวแลสาปสูญไปในขณะบัดเดี๋ยวใจนั้น บาน รางแลพยับแดดแลเมืองแหงคนธรรพเทวบุตร อันตรธานเปนอันเร็วพลันสูญเปลาบมิไดเปนหลักเปน ประธาน แลมีฉันใดรูปธรรมนามธรรมก็อันตรธานเปนอันเร็วสูญเปลา บมิไดเปนประธาน มีอุปไมย ดังนั้น เมื่อเห็นรูปธรรมนามธรรมปรากฏโดยเปลาโดยสูญ บมิไดเปนหลักเปนประธานดวยประการ ฉะนี้ อันวานิมิตแลปวัตติคือสังขารธรรมอันบังเกิดแลกิริยาที่สังขารธรรมทองเที่ยวไปในภพทั้งสอง ประการนี้ ก็ปรากฏเปนภัยอันพิลึกแกพระโยคาพจร ที่พิจารณาเห็นพระอนัตตาและกระทํามนสิการ โดยอนัตตานั้น “ภยตูปฏานญาณํ นิฏิตํ” สําแดงภยตูปฏฐานญาณยุติการแตเทานี้ แตนี้จะสําแดงอาทีนวญาณสืบตอไป “ตสฺส ตํ ภยตูปฏานญาณํ อาเสวนฺตสฺส ภาเวนฺตสฺส พหุลีกโรนฺตสฺส” เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรเสพซึ่งภยตูปฏฐานญาณจะเริญเนือง ๆ กระทําไวใหมากในขันธ สันดานแลว อันวาภพแลกําเนิดคติแลวิญญาณฐิติแลสัตตาวาส ก็ปรากฏโดยสภาวะที่เรนที่ซอนบมิได ปรากฏโดยสภาวะหาที่พึงที่สํานักที่พิทักษรักษาบมิไดสิ้นทั้งนั้น พระโยคาพจรก็สิ้นรักสิ้นใครสิ้นความ ปราถนา อาลัยในสังขารธรรมสิ้นทั้งปวง ภพทั้ง ๓ นั้นก็ปรากฏประดุจขุมถานเพลิงอันเปนเปลว รุงโรจน โชตนาการมหาภูตรูปทั้ง ๔ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุนั้น ก็ปรากฏประดุจ อสรพิษ ทั้ง ๔ ตัวอันมีพิษอันพิลึก ปญจขันธทั้ง ๕ คือรูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ นั้นก็ปรากฏดุจนายเพชฌฆาตทั้ง ๔ อันถือดาบเงือดเงื้อไวคอยอยูที่จะฟาดฟน อายตนะภายในทั้ง ๖ คือ จักขวายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ มนายตนะ นั้นก็ปรากฏประดุจบานรางบานเซ บานเปลาสูญสิ้นทั้ง ๖ บาน อายตนะ ภายนอกทั้ง ๖ คือ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ ธัมมายตนะนั้นก็ปรากฏประดุจโจร ๖ คนอันมี ฝมือกลาหยาบชาทารุณ เขาบานไหนก็จะฆาจะฟนชาวบานนั้นใหถึงซึ่งความพินาศฉิบหาย วิญญาณฐิติ ๗ แลสัตตาวาส ๙ นั้น ก็ปรากฏประดุจเพลิง ๑๖ กองไหมเปนเปลวโดยรอบ กอปรดวยรัศมีเพลิงรุงโรจนโชตนาการ “สพฺพสงฺขารา” สังขารธรรมทั้งปวงนั้นก็ปรากฏประดุจ ฝมืออันใหญอันมีพิษปวดแสบลนพนที่จะอดกลั้นมิฉะนั้น “โรคภูตา” สังขารธรรมทั้งปวงก็ปรากฏ “สลฺลภู ประดุจบังเกิดเปนโรคพยาธิเบียดเบียนใหลําบาก เวทนาอยูเปนนิจนิรันดร มิฉะนั้น ตา” สังขารธรรมทั้งปวงจะปรากฏประดุจดังเกิดเปนลูกศรเสียบแทงอยูในกรัชกายสิ้นกาลทุกเมื่อ มิฉะนั้น “อฆภูตา อาพาธภูตา” สังขารธรรมทั้งปวงจะปรากฏประดุจเปนกองทุกขกองอาพาธ แล กองโทษอันใหญปราศจากความยินดี เมื่อปญญาพิจารณาเห็นฉะนี้ จิตสันดานแหงพระโยคาพจรนั้นก็ จะมากไปดวยสังเวชจะพิจารณาเห็นแตโทษฝายเดียว เปรียบประดุจบุรุษอันมีความปรารถนาเพื่อจะ เลี้ยงชีวิตใหเปนสุข แลเขาไปสูปาอันตั้งอยูดวยอาการอันควรจะเปนที่ผาสุกสนุกสบาย เมื่อเเรกเขา ไปสูปานั้นไมรูวาปานั้นไมรูวาประกอบดวยสัตวราย ครั้นรูวามีสัตวรายก็สิ้นความผาสุกสิ้นความสนุก สบาย จิตนั้นประกอบดวยความรังเกียจ พินิจพิจารณาเห็นแตโทษนั้นฝายเดียวอันนี้แลมีฉันใด อาทีนว ญาณนั้น เมื่อบังเกิดในสันดานแหงพระโยคาพจรแลว ก็ใหพระโยคาพจรนั้น พิจารณาเห็นภพแลคติ เห็นวิญญาณฐิติแลสัตตาวาสนั้น ปราศจากสุขไมมีความสนุกสบายเลยพิจารณาเห็นแตโทษนั้นฝาย เดียว มีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้นเปรียบเหมือนบุรษอันปรารถนาหาความสุข

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

แลหลงเขาไปในถ้ําอันประกอบไปดวย


- 104 เสือโครง เดิมนั้นหารูวาเสือโครงอยูในถ้ํานั้นไม ตอเมื่อเขาไปนอนไปหลับระงับกายแลว จึงรูวาเสือ โครงตัวใหญอาศัยอยูในถ้ําอันนั้น เมื่อรูวาเสืออยูในถ้ําก็สิ้นรักสิ้นใคร ไมมียินดีที่จะหลับจะนอน ใจนั้น ประกอบดวยความรังเกียจ มิไดเห็นคุณอันหนึ่งเลย เห็นแตโทษฝายเดียวอันนี้แลมีฉันใด อาทีนว ญาณนั้นก็พิจารณาเห็นสังขารธรรมทั้งปวงวา ปราศจากคุณมีแตโทษนั้นฝายเดียวมีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้น เปรียบเหมือนบุรุษอันลงสูประเทศที่น้ําลึก อันประกอบดวยจระเขแลมังกรแลผีเสื้อ น้ําอันราย สําคัญวาจะเลนน้ําใหสนุกสบาย ตอลงไปในน้ําวายออกไปถึงที่ลึกแลวจึงจะรูวามีจระเขราย มีมังกรแลผีเสื้อน้ํา ครั้นรูก็สิ้นความปรารถนา สิ้นสนุกสบาย พินิจพิจารณาเห็นโทษนั้นฝายเดียว อันนี้ แลมีฉันใด อาทีนวญาณก็พิจารณาเห็นแตโทษแหงสังขารนั้นฝายเดียว มีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้น “มนุสฺสิตขคฺคา วิย ปจฺจตฺถิกา” เปรียบประดุจบุรษอันมีขาศึกถือดาบแวดลอม ขยับอยูที่จะฟาดจะฟน บุรุษนั้นเห็นแตโทษฝายเดียว แลมีฉันใด อาทีนวญาณ ก็พิจารณาเห็นแตโทษ แหงสังขารนั้นฝายเดียว มีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้น “สวีสํ วิย โภชนํ” เปรียบเหมือนบุรษอันหลงบริโภคอาหารที่ระคนดวยยาพิษ บุรุษนั้น พิจารณาเห็นแตโทษนั้นฝายเดียวมีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้น อาทีนวญาณ ยอมเห็นโทษแหงสังขาร เปรียบประดุจบุรษเดินทางกันดารอาเกียรณ ดวยโจรราย แลพิจารณาเห็นแตโทษนั้นฝายเดียว มิฉะนั้น “อทิตฺตํ อิว อาคารํ” เปรียบเหมือนบุรุษเจาของเรือนอันเห็นเรือนไฟไหมติด ตลอดแลว แลพิจารณาเห็นแตโทษนั้นฝายเดียว มิฉะนั้น “อุยฺยุตฺตเสนา วิย รณภูมี” เปรียบเหมือนเสนาอันยกออกไปสูที่สมรภูมิ แล พิจารณาเห็นแตโทษฝายเดียว นักปราชญสันนิษฐานวา ภยปฏฐานญาณกับอาทีนวญาณนี้มีอรรถเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะไดตางกันนั้นหาบมิไดตางกันแตพยัญชนะเมื่อจะสําแดงโดยนิเทศ สําแดงที่แทนั้น ภยตูปฏฐาน ญาณกับอาทีนวญาณนี้ก็อันเดียวกันนั้นแล จะไดตางกันหาบมิไดเพราะเหตุวา เห็นภัยกับเห็นโทษนั้น ไมหางไกลกัน เหตุดังนั้นสมเด็จพระมหากรุณาจึงโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนาวา “กถํ ภยตูปฏาเน ปญญา อาทีนเว ปญญา อุปฺปาโท ภยนฺติ ภยตูปฏาเน ปฺญา อาทีนเว ญาณํ ปวตฺตํ ภยนฺติ นิมิตฺตํ ภยนฺติ ฯ เป ฯ อุปายาโส ภยนฺติ ภยตูปฏาเน ปฺญํ อา ทีนเว ญาณํ” มีพระพุทธฎีกาตรัสเปนกเถตุกามยตาปุจฉาวา ปญญาอันพิจารณาเห็นภัยประพฤติเปนไปใน หองแหงภยตูปฏฐาณญาณ แลจัดเอาสําแดงในหองแหงอาทีนวญาณ ยกขึ้นเปนอาทีนวญาณนั้น จะ ไดแกปญญาดังฤๅ ตรัสปุจฉาฉะนี้แลว ก็ตรัสวิสัชนาวาปญญาที่พิจารณาเห็นวากิริยาที่บังเกิดแตปจจัยคือปุริม กรรม เกิดแลวเกิดเลา เกิดที่นี้แลวไปเกิดที่นั้น ๆ แลวไปเกิดที่โนน เวียนเอากําเนิดเกิดแลวเกิดเลาไม สิ้นไมสุดไมหยุดไมยั้งนี้แลเปนภัยอันใหญหลวงเปนภัยอันพิลึก ควรจะสังเวช ควรจะสะดุงตกประหมา ปญญาพิจารณาเห็นกิริยาที่บังเกิดวาเปนภัยอยางนี้จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา กิริยาที่รูปธรรมแลอรูปธรรม แตบรรดาที่บังเกิดแลวแลประพฤติ เปนไปในภพเสวยทุกขเวทนามีประการตาง ๆ ไมรูหมดรูสิ้นนั้น ก็เปนภัยอันใหญหลวง เปนภัยอันพิลึก ควรจะขนพองสยองเศียร ควรจะตระหนกตกใจกลัวเปนกําลัง เห็นภัยดังนี้ ก็จัดเปนอาทีนวญาณ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 105 ประการ ๑ ปญญาอันพิจารณาเห็นนิมิต คือเห็นสังขารธรรมวาเปนภัยอยูเองโดยปกติธรรมดา ถึงภัย อื่น ๆ ไมมีมา หาภัยอื่นจะเบียดเบียนบมิได สังขารนั้นก็จะเบียดเบียนตนเองอยูเปนภัยอยูเองโดย สภาวะปกติ ปญญาพิจารณาเห็นสังขารธรรมวาเปนภัยอยางนี้ ก็จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ “อายุหนาภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นกุสลกุสลากรรม ซึ่งเปนเหตุเปนปจจัยตกแตง ปฏิสนธิในเบื้องหนา ๆ วาเปนภัยย่ํายีบีฑาสรรพสัตวทั้งปวงนี้ ก็จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ “ปฏิสนฺธิภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นปฏิสนธิวิญญาณวาเปนภัยนั้น ก็จัดเปนอาทีนวญาณ ประการ ๑ “คติภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นปฏิสนธิคติทั้ง ๕ คือ นิรยคติ เปตคติ ติรัจฉานคติ มนุสส คติ เทวคติ วาเปนภัยเบียดเบียนบีฑานั้นก็จัดเปนอาทีนวญานประการ ๑ “นิพฺพตฺติภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นวากิริยาที่บังเกิดในกําเนิดแลวิญญาณฐิติ แลสัตตา วาสนั้นเปนภัยแท ๆ ถึงจะบังเกิดขึ้นไมมีนามธรรมเลย คงบังเกิดแตรูปธรรมเหมือนอยางสัตวในอสัญี ภพนั้นก็คงเปนภัยอยู เที่ยงแท อนึ่งไมมีรูปธรรมเลย คงบังเกิดแตนามธรรมเหมือนอยางสัตวอรูปภพนั้น ก็คงเปนภัยอยู โดยปกติธรรมดา จะปราศจากภัยนั้นหาบมิไดขึ้นชื่อวาบังเกิดขึ้นแลว ก็มีแตภัยนั้นแลเปนเบื้องหนา ปญญาที่พิจารณาเห็นกิริยาที่ขันธบังเกิด ในกําเนิดแลวิญญาณฐิติแลสัตตาวาสวาเปนภัยอยางนี้ก็ จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ “อุปฺปตฺติภยํ” ปญญาพิจารณาเห็นวิบากปวัตติ คือเห็นวากิริยาที่วิบากจิตใหสําเร็จผลในป วัตติกาลโดยสมควรแกกรรมนั้น เปนภัยอันพิลึกย่ํายีบีฑาสรรพสัตวสิ้นทั้งปวงเห็นอยางนี้ก็จัดเปน อาทีนวญาณประการ ๑ “ชาติภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นชาติอันบังเกิดเปนปจจัยแกชราเปนอาทิวา เปนภัยอัน พิลึกนั้น ก็จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ “ชราภยํ”ปญญาที่พิจารณาเห็นความขราวาเปนภัยนั้น ก็จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ “พฺยาธิภยํ” อาทีนวญาณประการ ๑

ปญญาที่พิจารณาเห็นพยาธิทุกข

อันเบียดเบียนบีฑาสัตวทั้งปวงวาเปน

“มรณภยํ” ปญญาที่พิจารณาเห็นมรณะอันสังหารผลาญชีวิตสัตววาเปนภัยอันพิลึกนั้น ก็ จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ เห็นโศกทุกขวาเปนภัย เห็นปริเทวทุกขโทมนัสวาเปนภัยเห็นอุปายาสทุกขเปนภัยนั้น ก็ จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ มีพระพุทธฎีกาโปรดประทานพระสัทธรรมเทศนา ยกเอาปญญาที่เห็นภัยนั้น มาสําแดงเปน อาทีนวญาณดวยประการฉะนี้ เพราะเหตุวากิริยาที่เห็นภัยกับเห็นโทษนี้จะไดไกลกันหาบมิได เมื่อ เห็นภัยแลวก็เห็นโทษ ๆ แลวก็เห็นภัย ภัยกับโทษนั้นอรรถอันเดียวกันตางกันแตพยัญชนะ พึงรูเถิดวา ภยตูปฏฐานกับอาทีนวญาณนี้ ตางกันแตชื่อตางกันแตพยัญชนะ มีอัตถาธิบายเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 106 มีพระพุทธฎีกาตรัสเทศนาอาทีนวญาณ ดวยประการฉะนี้แลวลําดับนั้นจึงตรัสเทศนา สําแดงสันติปทญาณ อันมีอารมณเปนปฏิปกษกับอารมณแหงอาทีนวญาณนั้นสืบไปวา “อนุปฺปาโท เขมนฺติ สนฺติปเท ญาณํ อปฺปวติตํ ฯ เป ฯ อนุปฺปายาโส เขมนฺติ สนฺติป เท ญาณํ” อธิบายวา ปญญาอันพิจารณาเห็นวากิริรยาที่ไมบังเกิดอีกนั้นแล เปนเกษมปราศจากภัย พิจารณาเห็นอยางนี้ ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ อธิบายวา ปญญานั้นนอมไปสูพระนิพพาน อันเปนที่ระงับสังขารธรรมทั้งปวง เหตุดังนี้ จึง เรียกวาสันติปทญาณ ใชแตเทานั้น ปญญาที่พิจารณาเห็นวากิริยาที่รูปธรรมแลอรูปธรรม บมิไดประพฤติเปนไป ในภพนี้ แลเปนที่เกษมปราศจากภัยพิจารณาเห็นอยางนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณเหมือนกัน ใชแตเทานั้น ปญญาอันพิจารณาเห็นวากิริยาที่นิมิต คือหาสังขารธรรมบมิได สังขารธรรม สิ้นสูญไปไมมีสืบตอไปอีกนั้น ไดชื่อวาเกษมปราศจากภัยดวยแท ถายังมีสังขารธรรมอยูตราบใด ก็ไดชื่อวามีภัยอยูตราบนั้น ถาไมมีสังขารธรรม ขาดจาก สังขารธรรมแลวกาลใด ก็ไดชื่อวาถึงที่เกษมปราศจากภัยในกาลนั้น ปญญาอันพิจารณาเห็นวากิริยาที่หาสังขารธรรมบมิไเดนั้น ไดชื่อวาถึงที่อันเกษมปราศจาก ภัย เห็นอยางนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ อนึ่ง ปญญาอันพิจารณาเห็นวากุสลากุสลกรรม ซึ่งเปนเหตุเปนปจจัยตกแตงปฏิสนธิในภพ เบื้องหนานั้น ถาไมมีในสันดานแหงสัตวจําพวกใด สัตวจําพวกนั้น ก็ไดชื่อวาถึงที่เกษมปราศจากภัย เปนแท ปญญาพิจารณาเห็นฉะนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาที่พิจารณาเห็นวา ถาหาปฏิสนธิวิญญาณบมิได สิ้นปฏิสนธิวิญญาณแลวก็ไดชื่อวา เกษมปราศจากภัยเปนแท ปญญาพิจารณาเห็นอยางนี้ก็จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวาชาติบมิได ไมเวียนเอาชาติสิ้นชาติแลวก็ไดชื่อวาเกษมปราศจาก ภัย เห็นอยางนี้ ก็จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวาหาชราบมิได สิ้นแกสิ้นชรานั้นก็ไดชื่อวาเกษมปราศจากภัย เห็น อยางนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวาถาหากโรคาพยาธิบมิไดพนจากโรคาพยาธิ สิ้นจากพยาธิแลว ก็ได ชื่อวาเกษมปราศจากภัย เห็นอยางนี้ก็ไดชื่อวา สันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา ถาหามรณะบมิไดไมเวียนตายตอไปแลวก็ไดชื่อวาเกษมปราศจาก ภัย เห็นอยางนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา สิ้นความโศกเศราแลว ก็ไดชื่อวาเกษมนิราศภัย เห็นอยางนี้ ก็ จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา ถาหาปริเทวนาการบมิได ตัดความรองไหร่ําไรขาดแลว ไมรูรองไห

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 107 ตอไปอีกแลวกาลใด ก็ไดชื่อวาเกษมนิราศภัย ในกาลนั้น ปญญาเห็นอยางนี้ ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณ ประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา ถาปราศจากสะอื้นอาลัยสิ้นสุดแลว ตัดสะอื้นอาลัยขาดแลว ก็ได ชื่อวาถึงที่เกษมนิราศภัย เห็นอยางนี้ก็ไดชื่อวาสันติปทญาณประการ ๑ นักปราชญพึงสันนิษฐานวา สันติปทญาณนี้นอมไปสูพระนิพพานพิจารณาเอาคุณพระ นิพพาน ที่ปราศจากทุกข ปราศจากภัยนั้นเปนอารมณฝายวาอาทีนวญาณนั้น พิจารณาเอาทุกขเอาภัย เปนอารมณ ตกวาปญญาทั้งสองนี้มีอารมณนั้นผิดกันอยูฉะนี้ เหตุดังนั้นพระผูเปนเจาพุทธโฆษาจารย จึงสําแดงอรรถาธิบายวา สันติปทญาณนี้มีอารมณเปนปฏิปกษกันกับอารมณแหงอาทีนวญาณ ถาจะ นับโดยพิสดารนั้นอาทีนวญาณที่พิจารณาเห็นภัยนี้นับได ๑๕ ประการ ดวยสามารถบท ๑๕ แตทวา บททั้ง ๒ คือ นิพฺพตฺติกยํ ๑ ชาติภยํ ๑ ทั้ง ๒ บทนี้เปนคําเปลี่ยนแหงบทเบื้องตน คือ “อุปฺปาโท ภยํ” บททั้ง ๒ คือ คติภยํ ๑ อุปตฺติภยํ ๑ ทั้งสองบทนี้เปนคําเปลี่ยนแหงบท คือ “ปวตฺติภยํ” บท ๖ บท คือ ชราภยํ ๑ พยาธิภยํ ๑ มรณภยํ ๑ โสโกภยํ ๑ ปริเทวภยํ ๑ อุปายาโสภยํ ๑ ทั้ง ๖ บทนี้เปนคําเปรียบแหงบท คือ “นิมิตฺตภยํ” อาศัยเหตุที่เปนคําเปลี่ยนเสีย ๑๐ บทแลว ยังคงอยู ๕ บท คือ อุปฺปาโทภยํ ๑ ปวตฺติภยํ ๑ นิมิตฺตภยํ ๑ อายุหนาภยํ ๑ ปฏิสนฺธิภยํ ๑ ทั้ง ๕ บทนี้เปนวัตถุอาทีนวญาณ นักปราชญผูจะนับอาทีนวญาณ ที่พิจารณาเห็นเปนภัยนั้นพึงนับเอาแต ๕ ประการ นับเอา ตามบทที่จัดเปนวัตถุ แหงอาทีนวญาณนั้น บทที่เปนคําเปลี่ยน ๑๐ บทนั้น อยานับเอาเลยเพราะยอ เขาเสียในบท ๕ บท นั้นแลว ถึงในสันติปทญาณนั้นก็ยอเสีย ๑๐ บท นับเอาแต ๕ บท นับสันติปทญาณแต ๕ ประการ พึงถือเอาอาทีนวญาณนั้นเปนเยี่ยงอยางเถิด สมเด็จพระมหากรุณาเมื่อตรัสเทศนาสันติปทญาณ โดยนัยดังวิสัชนามาฉะนี้แลว ลําดับนั้น จึงตรัสเทศนาอาทีนวญาณซ้ําอีกเลา อาทีนวญาณที่ตรัสเทศนาซ้ําอีกเลานี้ มีอารมณตางกันกับ อาทีนวญาณที่ตรัสวิสัชนาในที่เดิม ๆ นั้น พิจารณาโดยนัยอาทีนวญาณ ที่ตรัสเทศนาอีกเลานี้ พิจารณาโดยทุกขังวา “อุปฺปาโท ทุกฺขนฺติ ภยตูปฎเน ปฺญา อาทีนเว ญาณํ ปวตฺตํ ฯลฯ อุปายาโส ทุกขนฺติภยตูปฎาเน ปฺญา อาทีนเว ญาณํ” อธิบายวา ปญญาที่พิจารณาเห็นวา “อุปฺปาโท ทุกฺข” กิริยาที่บังเกิดแลว ๆ เลา ๆ ไมสิ้น ไมสุดไมหยุดไมยั้งนี้ เปนทุกขอันใหญแหงสรรพสัตวทั้งปวง พิจารณาเห็นอยางนี้ จัดเปนอาทีนว ญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา “ปวตฺติทุกฺขํ” กิริยาที่รูปธรรมแลอรูปธรรม แตบรรดาที่บังเกิดแลว แลประพฤติเปนไปในไตรภพนี้ประกอบไปดวยทุกขเปนอันมากยิ่งนัก ไมรูหมดไมรูสิ้น เห็นอยางนี้ก็ จัดเปนอาทีนวญาณประการ ๑ ปญญาที่พิจารณาเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยทุกขนั้นก็ดี พิจารณาเห็นวากุสลากุสล กรรม ที่เปนปจจัยตกแตงปฏิสนธิในเบื้องหนานั้นเปนกองทุกขก็ดี พิจารณาเห็นวาปฏิสนธิเปนกอง ทุกขก็ดี พิจารณาเห็นวาเปนกองทุกขก็ดี เห็นวาบังเกิดกในกําเนิด ๔ วิญญาณฐิติ ๗ สัตตาวาส ๙

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 108 เปนกองทุกขนั้นก็ดี พิจารณาเห็นวากิริยาที่วิบากจิตใหสําเร็จผลเปนกองทุกขก็ดี เห็นวากิริยาที่เวียน เอาชาติกําเนิดเปนกองทุกข สภาวะโศกเศราเปนกองทุกข กิริยาที่รองไหร่ําไรเปนกองทุกขกิริยาที่ สะอื้นไหเปนกองทุกขสิ้น ทั้งปวงนี่แตลวนจัดเปนอาทีนวญาณและอัน ๆ นับอาทีนวญาณที่พิจารณา เห็นทุกขโดยนัยพิสดารไดถึง ๑๕ ประการ ตามบท ๑๕ บทนั้น แตทวาใหนับเอาแต ๕ ยอบท ๑๐ บท ที่เปนคําเปลี่ยนเขาเสียตามนัยหนหลัง เมื่อสําแดงอาทีนวญาณ อันพิจารณาเห็นกองทุกขโดยสังเขป คือ รวมเขาเสียสําแดงแต ๕ ประการเสร็จแลว ลําดับนั้นจึงสําแดงสันติปทญาณสืบตอไปตามนัยไปยาลวา “อนุปฺปาโท สุขนฺ ติ ขนฺติ ปเท ญาณํ อปฺปวตฺตํ ฯ เป ฯ อนุปฺปายาโส สุขนฺติ สนฺปเทติ ญาณํ” อธิบายวา ปญญาอันพิจารณาเห็นวา กิริยาที่สิ้นภพสิ้นชาติบมิไดบังเกิดสืบไปนี้เเลเปนสุข แท ปญญาเห็นฉะนี้ จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา ถารูปธรรมแลอรูปธรรมบมิไดประพฤติเปนไปในไตรโลกแลวก็ จัดเปนสุขโดยแท เห็นฉะนี้จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา หาสังขารธรรมมิไดสิ้นสูญขาดจากสังขารธรรมแลวก็เปนสุขแท เห็นฉะนี้จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวา ถากุสลากุสลกรรมจะตกแตงปฏิสนธิบมิไดแลวก็เปนสุขแท เหตุ ฉะนี้ จัดเปนสันติปทญาณประการ ๑ ปญญาพิจารณาเห็นวาหาปฏิสนธิคติบมิไดเปนสุขแทนั้นก็ดี เห็นวาถาไมบังเกิดในกําเนิด ๔ ไมบังเกิดในวิญญาณฐิติ ๗ แลสัตตาวาส ๙ แลวก็เปนสุข แท เห็นอยางนั้นก็ดี เห็นวาถาวิบากจิตบมิอาจใหสําเร็จผลได ตัดวิบากขาดนี้แลเปนสุขแทเห็นอยางนี้ก็ดี เห็นวาถาไมเวียนเอาชาติสืบตอไปแลวก็เปนสุขแท เห็นอยางนั้นก็ดี เห็นวาหาชราบมิไดเปนสุขแทก็ดี เห็นวาหาพยาธิบได เปนสุขแทก็ดี เห็นวาหามรณะบ มิไดเปนสุขแทก็ดี เห็นวาหาความโศกบมิไดเปนสุขแทก็ดี เห็นวาหาปริเทวทุกขบมิไดเปนสุขแทก็ดี เห็นขาดจากสะอื้นอาลัยเปนสุขแทก็ดี ปญญาพิจารณาเห็นตาง ๆ อยางสําแดงมาฉะนี้ แตลวนจัดเปน สันติปทญาณแตละอัน ๆ นับโดยพิสดารได ๑๕ ประการ แตทวารวบเขาเสียคงยกขึ้นสําแดงแต ๕ ประการเหมือนดวยสันติปทญาณที่สําแดงแลวแตหลัง ลําดับนั้น จึงมีพระพุทธฏีกาตรัสเทศนาสําแดงอาทีนวญาณซ้ําอีกเลามีลําดับแหงบทนั้นห มือนนัยหนหลัง แปลกกันแตวิธีที่พิจารณา ในวารเปนปฐมนั้น อาทีนวญาณ พิจารณาเห็นวาอาการมีความบังเกิดเปนตน แตลวนเปน ภัยสิ้นทั้งปวง ในวารเปนคํารบ ๒ นั้น อาทีนนวญาณพิจารณาเห็นวาอาการมีบังเกิดเปนตนแน แตลวน เปนทุกขสิ้นทั้งปวง ในวารเปนคํารบ ๓ ที่สําแดงบัดนี้ อาทีนวญาณพิจารณาเห็นวาอาการทั้งปวง มีบังเกิดสืบ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 109 ตอไปเปนตนนั้น แตลวนประกอบไปดวยอามิสทั้งปวง อามิสนั้นประสงคเอาธรรม ๓ ประการ คือ กิริยาที่เวียนไปในสงสาร ก็จัดเปนอามิสประการ ๑ ขันธาทิโลก ก็จัดเปนอามิสประการ ๑ กิเลสธรรมทั้งปวง ก็จัดเปนอามิสประการ ๑ เปนใจความวา ปญญาพิจารณาเห็นอาการทั้งปวงมีบังเกิดสืบตอไปเปนตน มีสะอื้นอาลัย เปนที่สุดวาประกอบดวยอามิสนั้นจัดเปนอาทีนวญาณแตละอัน ๆ นับโดยบท ๑๕ มี “อุปฺปาโท สา มิส”ํ เปนตนมี “อุปฺปายาโส สามิสํ” เปนที่สุดนั้นไดอาทีนวญาณถึง ๓๕ แตทวารวบเขาเสีย ๑๐ บท นับเอาแต ๕ บทในเบื้องหนาตกวานับเอาอาทีนวญาณแต ๔ ประการโดยนัยหนหลัง เมื่อสําแดงอาทีนวญาณ ดวยประการอันประกอบดวยอามิสจบลงแลวลําดับนั้นจึงสําแดง สันติปทญาณ อันเปนไปดวยอาการอันพิจารณาเห็นวากิริยาที่ไมบังเกิดสืบไปเปนตน ตราบเทาจนถึง กิริยาที่ขาดจากสะอื้นอาลัยเปนที่สุดนั้น แตลวนปราศจากอามิสทั้ง ๓ ประกอรคือ ปราศจากกิริยาที่ เวียนไปในสงสารประการ ๑ ปราศจากขันธาทิโลกประการ ๑ ปราศจากกิเลสประการ ๑ เมื่อสําแดงสันติปทญาณ อันพิจารณาซึ่งอาการอันปราศจากอามิสโดยบท ๑๕ มี “อนุปฺ ปาโท นิรามิสํ” เปนอาทิ มี “มีอนุปฺปายาโส นิรามิสํ” เปนที่สุด รวบเขาเสีย ๑๐ บทนับเอาแต ๕ บทในเบื้องตน คงนับสันติปทญาณแต ๕ ประการเสร็จแลว ลําดับนั้นจึงสําแดงอาทีนวญาณดวยบท ๑๕ บทอีกเลา มี “อุปฺปายาโส สงฺขารา” เปนตน มี “อุปฺปาโท สงฺขารา” เปนที่สุด อธิบายวาอาทีนวญาณนั้น พิจารณาเห็นวากิริยาที่บังเกิดสืบตอไปไมสิ้นไมสุด เกิดแลวเกิด เลานั้นมิใชอื่น คือสังขารธรรม วัตถุที่บังเกิดแลวแลประพฤติเปนไปในภพ เสวยทุกขเวทนามีประการตาง ๆ นั้น ก็มิใชอื่น คือสังขารธรรมตลอดไปจนถึงอุปายาสทุกขอันมีลักษณะใหอาลัยนั้นแตลวนเปนสังขารธรรมสิ้นทั้งนั้น จะไดเปนอื่นหาบมิได ในวาระอันนี้ ก็รวบบท ๑๐ บทเขาเสีย นับเอาแต ๕ บทในเบื้องตน คงนับเอาทีนวญาณแต ๕ ประการโดยนัยหนหลัง เมื่อสําแดงอาทีนวญาณดวยอาการอันพิจารณา ซึ่งกิริยาที่บังเกิดเปนตนวาเปนสังขารธรรม จบลงแลว ลําดับนั้นจึงสําแดงสันติปทญาณอันเปนไปดวยอาการอันพิจารณาเห็นวา กิริยาที่ไมบังเกิด สืบไปเปนตนตราบเทาจนถึงกิริยาที่ขาดจากสะอื้นอาลัยเปนที่สุดนั้น แตลวนเปนนิพพานอื่นดวยกัน จะเปนสิ่งอื่นหาบมิได ในวาระอันนี้ก็รวบบท ๑๐ บทเขาเสีย นับเอาแต ๕ บท ในเบื้องตน คงนับสันติปทญาณแต ๕ ประการเหมือนนัยหนหลัง สกนัยวา

เมื่อสําแดงสันติปทญาณโดยสทุธิกนัยจบลงแลว ลําดับนั้นจึงสําแดงสันติปทญาณโดยมิ “อุปฺปาโท สงฺขารา อนุปฺปาโท นิพฺพานนฺติ สนฺติปเท ญาณํ ปวตฺตํ ฯ เป ฯ อุปฺปา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 110 ยาโส สงฺขารา อนุปฺปายาโส นิพฺพานนฺติ สนฺติปเท ญาณํ” อธิบายวา ปญญาที่พิจารณาเห็นวา กิริยาที่บังเกิดสืบตอไปนั้นเปนสังขารธรรม กิริยาที่ไม บังเกิดสืบตอไปนั้นเปนนิพพาน ปญญาพิจารณาเห็นดังนั้น ตลอดไปตราบเทาถึงปญญา อันพิจารณา เห็นวาสะอื้นอาลัยเปนสังขารธรรม ปราศจากสะอื้นอาลัยเปนนิพพานตลอดถึงบทที่จัดเปนสันติปท ญาณแตละอัน ๆ แตทวาควรจะรวบเสีย ๑๐ บท เพราะเหตุเปนคําเปลี่ยน ควรจะนับเปนสันติปทญาณ แต ๕ บทในเบื้องตน ประดุจนัยที่สําแดงแลวแตหลัง สิริอาทีนวญาณ จําเดิมแตบทวาระเปนปฐมนั้นมา เปนอาทีนวญาณ ๒๐ ทัศ ฝายสันติปท ญาณนั้น สิริแตตนมาเปนสันติปทญาณ ๒๕ แตทวาภัยแลทุกขแลอามิสแลสังขารนั้น เปนเววจนะแหง กัน ตางกันแตพยัญชนะอรรถาธิบายบมิไดตางกัน เหตุฉะนี้ ถึงทีเมื่อจะสําแดงสังเขปนั้น ทานยอมยน เขาเสียนับเอาอาทีนวญาณคงอยูดวยแต ๕ สันติปทญาณก็คงอยูแต ๕ ประการ ประสมเขาเปน ปญญา ๑๐ สมดวยบทพระคาถาวา อุปฺปทฺจ ปวตฺตฺจ นิมิตฺตํ ทุกฺขนฺติ ปสฺสติ อายุหนํ ปฏิสนฺธึ ญาณํ อาทีนเว อิทํ อานุปฺปาทํ อปฺปาวตฺตํ อนิมิตฺตํ สุขนฺติ จ อานายุหนา ปฏิสนฺธิ ญาณํ สนฺติปเท อิทํ อาทีนเว ญาณฺจ ปฺจฏาเนสุ ชายติ ปฺจฏาเน สนฺติปเท ทสฺญาเณ ปชานาติ ทฺวินฺนํ ญาณานํ กุสลาตา นานาทิฏีสุ น กมฺปตีติ อธิบายในบาทพระคาถานี้ ก็เหมือนอรรถาธิบายอันกลาวแลวแตหลังมีวิเศษแตที่สําแดง อานิสงสในเบื้องปลาย ขอสําแดงอานิสงสนั้นวา พระโยคาพจรเจาทั้งหลายผูไดซึ่งปญญา ๑๐ คือฝายอาทีนว ญาณ ๕ ฝายสันติปทญาณ ๕ แลวแลฉลาดรวบปญญาทั้ง ๑๐ นี้เขาไวใหเปนแตสอง คืออาทีนว ญาณ ๕ นั้นรวบเขาเปน ๑ สันติปทญาณนั้นรวบเขาเปน ๑ รูสันทัดชัดเจนในปญญา ๒ ประการนี้แลว กาลใดพระโยคาพจรนั้นก็จะมิไดกัมปนาทหวั่นไหวดวย มิจฉาลัทธิทิฏฐิธรรมนิพพานวาททิฏฐิเปนตน เปนประธานในกาลนั้น ขอซึ่งสําแดงสันติปทญาณ ประดับไวในหองแหงอาทีนวญาณนี้ ดวยมีประโยชนจะสําแดง อานิสงสแหงอาทีนวญาณ ที่สําเร็จดวยอํานาจแหงภยตูปฏฐานญาณนั้นประการ ๑ จะใหบังเกิดชื่นชมโสมนัส แกพระโยคาพจรนั้นประการ ๑ เพราะเหตุวาพิจารณาเห็นภัยเห็นโทษแลว จิตก็จะนอมไปในพระนิพพานธรรม อันเปน ปฏิปกษแหงภัยแลโทษนั้น “อาทีนวานุปสฺสนาญาณํ นิฏิตํ” จบอาทีนวญาณแตเทานี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 111 แตนี้จะสําแดงนิพพิทาญาณสืบตอไป “เอวํ สพฺพสงฺขารา อาทีนวโต ปสฺสนฺโต” เมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นสังขาร ธรรมทั้งปวงประกอบดวยโทษ โดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้ จิตนั้นก็จะมีความกระสันเหนื่อยหนายจาก ภพ เหนื่อยหนายจากกําเนิดแลคติ เหนื่อยหนายจากวิญญาณฐิติ แลสัตตาวาสบมิไดรักใครอาลัย อาวรณอยูในโลกสันนิวาส เปรียบประดุจดังพระยาสุวรรณราชหงสอันมิไดยินดีที่จะลงในหลุมอัน โสโครกแทบประตูบานจัณฑาล พระยาสุวรรณราชหงสนั้นยอมยินดีที่จะลงในเชิงเขาจิตรกูฏ แลมหา สระทั้ง ๘ อันนี้แลมีฉันใด พระยาราชหงสคือ พระโยคาพจรเจานั้น เมื่อพิจารณาเห็นโทษแหงสังขาร ธรรมทั้งปวงโดยนัยที่สําแดงมาแลวแตหนหลังนั้น ก็บังเกิดความกระสันเหนื่อยหนายบมิไดยินดีใน สังขารธรรม ยินดีอยูแตในกิริยาที่จะจําเริญอนุปสสนาทั้ง ๗ คือ อนิจจานุปสสนา ทุกขานุปสสนา อนัตตานุปสสนา นิโรธานุปสสนา โดยนัยที่สําแดงมาแลวแตหลัง “เอวํ ตถา” มีอุปมาดังพระยา สุวรรณราชหงส อันมิไดยินดีในหลุมแทบประตูบานจัณฑาล ยินดีแตจะลงในเชิงเขาจิตรกูฏแลมหา สระทั้ง ๗ นั้น ถามิฉะนั้นเปรียบประดุจราชสีห อันมิไดยินดีที่จะอยูกรงทอง ราชสีหนั้นยอมยินดีอยูในปา พระหิมวันต อันกวางขวางได ๓ พันโยชน แลมีฉันใด ราชสีหคือพระโยคาพจรนั้น ก็บมิไดยินดีในสุคติ ภพทั้ง ๓ คือ กามสุคติภพแลรูปภพแลอรูปภพ ยินดีอยูแตในอนุปสสนาทั้ง ๓ คือ อนิจจานุปสสนา ทุก ขานุปสสนา อนัตตานุปสสนา มีอุปไมยดังนั้น มิฉะนั้นเปรียบประดุจพระยาคชสารตัวประเสริฐ เชื่อชาติฉัททันตมีพรรณเผือกผูผอง มีหาง แลงวงนิมิตประถึงพื้น มีอิทธิฤทธิ์ดําเนินไดในเวหา อันมิไดยินดีที่จะอยูในทามกลางพระนคร พระยา ฉัททันตนั้นยอมยินดีที่จะอยูในฉัททันตสระในปาหิมวันตแลมีฉันใด พระยาคชสารคือพระโยคาพจรนี้ มิไดยินดีในสังขารธรรมทั้ง ยินดีในพระอมตะมหานิพพาน อันเปนที่ระงับสังขาร มีจิตนอมไปสูพระ นิพพานโอนไปสูพระนิพพานเงื้อมไปสูพระนิพพาน มีอุปไมยดังนั้น นักปราชญพึงสันนิษฐานวา นิพพิทาญาณกับภยตูปฏฐานญาณแลอาทีนวญาณทั้ง ๓ ประการนี้ ตางกันแตชื่อเรียก ตางแตพยัญชนะอรรถอันเดียวกัน อรรถจะไดตางกันหาบมิได เหตุดังนั้น พระโบราณาจารยจึงกลาวสระบาลีสําแดงขออันนี้วา “ภยตูปฏานํ เอกเมว ตินินามานิ ลภติ” วา ภยตูปฏฐานญาณอันเดียวนี้แลไดชื่อ ๓ ชื่อ เมื่อพิจารณาสังขารโดยภัยก็ไดชื่อวาภยตูปฏฐานญาณ เมื่อพิจารณาสังขารโดยโทษ ก็ไดชื่อวาอาทีนวญาณ เมื่อเห็นภัยเห็นโทษแหงสังขารแลวแลเหนื่อย หนาย ก็ไดชื่อวานิพพิทาญาณ “นิพฺพิทานุปสฺสนาญาณํ นิฏิตํ” สําแดงนิพพิทาญาณจบแตเทานี้ แตนี้จะสําแดงมุญจิตุกามยตาญาณตอไป “อิมินา นิพฺพินทาญาเณน อิมสฺส กุลปุตฺตสฺส นิพฺพินทนฺตสฺส อุกฺกณฺนฺตสฺส” เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรผูจําเริญนิพพิทาญาณนี้ มีความกระสันเหนื่อยหนายจากสังขาร ธรรม บมิไดยินดีปรีดาในสังขารธรรมแลวนั้นกาลใด จิตแหงพระโยคาพจรนั้นก็มิไดเกี่ยวมิไดของ บ มิไดติดพันอยูในสังขารธรรมอันใดอันหนึ่งเลย จิตนั้นปรารถนาแตที่จะไปใหพนจากแห แลปรารถนา จะใครพนจากแห มิฉะนั้นเปรียบประดุจดังกบอันอยูในปากงู แลปรารถนาจะใครพนจากปากงู มิฉะนั้นเปรียบประดุจไกปาอันบุคคลผูขังไวในกรง แลปรารถนาจะไปใหพนจากกรง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 112 มิฉะนั้นเปรียบประดุจเนื้ออันติดบวงมั่น แลดิ้นรนปรารถนาจะไปใหพนจากบวง มิฉะนั้นเปรียบประดุจงู อันอยูในเงื้อมมือแหงหมองู แลปรารถนาจะหนีไปใหพนจากเงื้อม มือแหงหมองู มิฉะนั้นเปรียบประดุจชางสาร อันจมอยูในเปอกตม แลปรารถนาจะรื้อตนใหพนจากเปอก ตม มิฉะนั้นเปรียบประดุจพระยานาค อันอยูในปากแหงพระยาครุฑ แลปรารถนาแตที่จะไปให พนจากปากครุฑ ปากราหู ศัตรู

มิฉะนั้นเปรียบประดุจพระจันทร อันอยูในปากแหงราหู แลปรารถนาจะออกไปใหพนจาก มิฉะนั้นเปรียบประดุจบุรุษ อันศัตรูแวดลอมอยูโดยรอบ แลปรารถนาจะไปใหพนจากปาก ปลาอันของอยูในแหเปนอาทินั้น ดิ้นรนขวนขวายที่จะไปใหพนแลมีฉันใด

พระโยคาพจรกุลบุตรผูไดสําเร็จมุญจิตุกามยตาญาณ จากสังขารธรรม มีอุปไมยดังนั้น

ก็มีความปรารถนาแตจะไปใหพน

“มุฺจิตุกามยตาญาณํ นิฏิตํ” สําแดงมุญจิตุกามยตาญาณจบแตเพียงเทานี้ แตนี้จะสําแดงปฏิสังขาญาณสืบตอไป เกหิ สงฺขาเรหิ มุฺจิตุกาโม”

“โส เอวํ สพฺพภวโย นิคติิติวาสตเตหิ สเภท

เมื่อพระโยคาพจรกุลบุตรปรารถนาจะไปใหพนจากสังขารธรรมอันประกอบดวยประเภทอัน ตางดวยสามารถทองเที่ยวไปในพิภพทั้งปวง แลกําเนิด ๔ แลคติ ๕ วิญญาณฐิติ ๗ สัตตาวาส ๙ ประการฉะนี้แลว “ติลกฺขณํ อาโรเปตฺวา” พระโยคาพจรเจานั้นพึงยกปญญาขึ้นสูพระไตรลักษณ พิจารณาสังขารธรรมทั้งหลายดวยปฏิสังขานุปสสนาญาณกําหนดกฏหมายโดยอาการเปนอันมากใน พิธีพิจารณา อนิจจังลักษณะนั้น พิจารณาโดยอาการเปนอาทิคือ “อนิจฺจนฺติกโต” พิจารณาโดย อาการอันบมิไดเที่ยงนั้นประการ ๑ “ตาวกาลิกโต” พิจารณาโดยอาการเหมือนดวยของยืมเขามาประการ ๑ “อุปปาทฺวยปริจฺฉินฺนโต”

พิจารณาโดยกําหนด

ซึ่งกิริยาอันบังเกิดแลวแลฉิบหาย

ประการ ๑ “ปโลกโต” พิจารณาใหเห็นสังขารธรรมนั้น มีสภาวะขาดเด็ดกระเด็นออกดวยอํานาจ พยาธิทุกขแลมรณาประการ ๑ “จลโต”

พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนั้น ไหวอยูดวยพยาธิแลชราแลมรณะธรรมนั้น

ประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 113 “ปภงฺโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนั้น บางคาบมีสภาวะทําลายเอง ทําลายดวยความเพียรแหงผูอื่นอีกประการ ๑

บางคาบ

“อธุวโต” พิจารณาใหเห็นสังขารธรรมบมิไดตั้งอยูเปนนิตยยอมทอดทิ้งกลิ้งอยูในสถาน ประเทศตาง ๆ ไมมีกําหนดประการ ๑ “วิปริณามธมฺมโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมมีสภาวะวิปริตแปรปรวนประการ ๑ “อสารกโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมหาแกนสารบมิได “วิถวโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม มีแตความฉิบหายเปนเบื้องหนา บมิไดพนจาก ความฉิบหายประการ ๑ “สงฺขตโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมแลวดวยกุสลากุศลประชุมแตงประการ ๑ “มรณธมฺมโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม มีแตความตายเปนที่สุดประการ ๑ ใหพระโยคาพจรเจายกปญญาขึ้นสูอนิจจลักษณะ พิจารณาดวยอาการเปนตนดังนี้ ในพิธีพิจารณาทุกขลักษณะนั้น ใหพระโยคาพระจรเจาพิจารณาดวยอาการเปนอาทิ คือ “อภิณฺหปฏิปฬนโต” พิจารณาโดยอาการอันทุกขเบียดเบียนสังขารธรรมเนือง ๆ บมิรู แลวประการ ๑ “ทุกฺขขมโต” พิจารณาใหเห็นวากองทุกขทั้งปวงมีชาติทุกขเปนตนซึ่งครอบงําย่ํายี สังขารธรรมนั้น ยากนักที่จะอดกลั้นทนทานไดประการ ๑ ประการ ๑ ๑

“รุวตฺถุโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม เปนวัตถุอันชั่วเปนของชั่วยิ่งกวาของทั้งปวง “โรคโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม เปนโรคอยูเปนนิตยเปนไขอยูเปนนิตยประการ

“คฌฺฆโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมเปนที่ไหลออกแหงกิเลสแลอสุจิโสโครกตาง ๆ เหมือนดวยฝปางเนาที่แตกเปนบุพโพโลหิตหวะเปอยออกไปนั้นประการ ๑ “สลฺลโต” พิจารณาใหเห็นสังขารธรรม เหมือนดวยลูกปนอันยกเสียดเสียบแทง ยากนักที่ จะถอนไดประการ ๑ “อฆโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนั้น ประกอบดวยสิ่งอันลามกกวามากพนวิสัยเปน ที่ติฉินนินทาแหงพระอริยเจา ๆ เกลียด อาย เบื่อหนายประการ ๑ “อาพาธโต” พิจารณาใหเห็นสังขารธรรม ประการดวยอาพาธเปนนิตยนิรันดร สิ่งใดที่ไม เปนที่รักไมเปนที่ปรารถนานั้น สังขารธรรมชักนําเอาสิ่งนั้นมาใหสิ่งนั้นบังเกิดขึ้นจนไดพิจารณาดังนี้ ประการ ๑ “อีติโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนั้นเปนตัวจัญไร นํามาซึ่งความรายความฉิบหาย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 114 เปนอันมากประการ ๑ “อุปทฺทวโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมเปนตัวอุบาทวสิ่งที่ชั่วไมเคยพบ สังขารธรรม ขืนเอามาสะสมลงประการ ๑ “ภยโต พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมเปนบอเกิดแหงภัยทั้งปวงประการ ๑ “อุปสคฺคโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้ คือตัวอันตรายติดตามย่ํายีบีฑาประการ ๑ “อตาณโต” หนึ่งไดประการ ๑

พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมทั้งปวงนี้ บมิอาจคุมครองรักษาสัตวผูใดผู

“อเลณโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมปราศจากที่เรนซอนถึงคราวจะปวยไขถึงคราว จะแกตาย จะหาที่เรนซอนใหพนปวยพนไขใหพนตายนั้นหาไมไดเลยเปนอันขาด พิจารณาดังนี้ ประการ ๑ “อสรณโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม บมิอาจเปนที่พึ่งคุมครองปองกันชาติ แล ชราพยาธิ แลมรณะไดนั้นประการ ๑ “อาทีนวโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยโทษประการ ๑ “อฆมูลโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมเปนเคาเปนมูลแหงทุกขประการ ๑ “วธกโต” เพชฌฆาตประการ ๑

พิจารณาใหเห็นวา

สังขารธรรมมีปกติเบียดเบียนบีฑาเหมือนดังนาย

“สาสวโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมประกอบดวยอาสวะกิเลสประการ ๑ “มารามิสฺสโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมเปนเหยื่อแหงมารประการ ๑ “ชาติธมฺมโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมอากูลมูลมองไปดวยชาติทุกขประการ ๑ “ชราธมฺมโต”

พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมเอาเกียรณไปดวยชราทุกขติดตามรัดรึง

ประการ ๑ “พยาธิธมฺมโต”

พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยพยาธิทุกขครอบงําย่ํายี

ประการ ๑ “มรณธมฺมโต”

พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมีความมรณะอันแตกทําลายเปนที่สุด

ประการ ๑ “โสกธมฺมโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมประกอบไปดวยโศกทุกข คือมากไปดวย ความเดือดรอนระส่ําระสายประการ ๑ “ปริเทวธมฺมโต” น้ําตาไหนนั้นประการ ๑

พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยปริเทวทุกข คือรองไหร่ําไร

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 115 “อุปายาสธมฺมโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยอุปายาสทุกข คือสะอื้น อาลัยประการ ๑ “สงฺกิเลสิกธมฺมโต” ภายนอกประการ ๑

พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมากไปดวยเศราหมองภายในและ

ใหพระโยคาพจรเจา ยกปญญาขึ้นสูทุกขลักษณะพิจารณาดวยอาการเปนตนดังนี้ นัยหนึ่งใหพระโยคาพจรพิจารณาโดยอสุภลักษณะ อันบังเกิดเปนบริวารแหงทุกขลักษณะ นั้นดวยอาการเปนอาทิ “อชฺญโต” คือพิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้จักไดเปนที่ชอบเนื้อชอบเจริญใจแหง นักปราชญ ผูเห็นโทษดวยปญญาจักษุนั้นหาบมิไดประการ ๑ ๑ ประการ ๑

“ทุคฺคนฺธโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมเนื้ออากูลไปดวยกลิ่นเหม็นกลิ่นเนาประการ “เชคุจฺฉโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้เปนของพึงเกลียดอยูเองเปนปกติธรรมดา

“ปฏิกุลโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมโสโครกอยูเองแลวมิหนําซ้ําเอาสิ่งของอื่น ๆ โสโครกไปดวยประการ ๑ “อมณฺฑนหตโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้ ถาไมประดับแลวก็ปราศจากงามมี งามอันขะจัดจาก เพราะเหตุที่ไมประดับเมื่อไมตกแตงขัดเกลา ไมประดับเครื่องประดับแลว อยาวาถึง จะงามแกปญญาจักษุแหงนักปราชญเลย แตจะงามแกตาอันธพาลปุถุชนก็หางามไมพิจารณาให เห็นชัดดังนี้ประการ ๑ “วิรูปโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้ไมดีเลยแตสักสิ่งสักอัน พิจารณาใหเห็นแต ลวนไมดีอยางนี้ประการ ๑ “วิกจฺฉโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้พึงเกลียดตลอดภายในภายนอก พึงเกลียด ทั้งพื้นต่ําและพื้นบน พึงเกลียดแกตน พึงเกลียดบุคคลผูอื่น พิจารณาอยางนี้ประการ ๑ ใหพระโยคาพจร ขลักษณะดวยประการฉะนี้

ยกปญญาขึ้นพิจารณาขึ้นพิจารณาอสุภลักษณะ

อันเปนบริวารแหงทุก

ในพิธีพิจารณาอนัตตลักษณะนั้น ใหพระโยคาพจรเจาพิจารณาดวยอาการเปนอาทิ คือ “ปรโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมมีสภาวะแปรปรวนเปนอื่น ไมยั่งยืนไมมั่นไมคง ประการ ๑ “รตฺตโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมเปนริตตธรรม เพราะเหตุเปลาจากสภาวะเที่ยง แทและงาม เปลาจากสภาวะเปนสุขและเปนอาตมาบมิไดเหมือนดังใจที่จะกําหนดกฏหมายประการ ๑ “ตุจฺฉโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนั้นควรจะรองเรียกชื่อวาตุจฉธรรม เพราะเหตุ วาสังขารธรรมนี้ ที่จะงามจะดีเปนสุขอยูนั้นนอยนักนอยหนา ใหพิจารณาดังนี้ประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 116 “สุฺญโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้เปนเครื่องดับเครื่องสูญประการ ๑ “อสามิกโต” พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้หาเจาของบมิไดเพราะเหตุมาประพฤติ ตามวิสัยแหงตน ตามถนัดแหงตน หาผูจะบังคับบัญชาวากลาวบมิไดประการ ๑ “อนิสฺสรโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้หาผูจะเปนใหญขูเข็ญขมขูบมิไดเลยเปน อันขาด ถึงทานที่มีอาชญานุภาพปราบปรามปจจามิตรไดทั่วไปในพื้นปฐพีมณฑลนั้นก็ดี ก็มิอาจ ปราบปรามสังขารธรรมได สังขารธรรมนี้เปนอิสระอยูแกตน ประพฤติตามวิสัยแหงตนถึงที่จะเจ็บก็เจ็บ ถึงที่จะปวดก็ปวด ถึงที่จะเมื่อยก็เหมื่อย ถึงที่จะมึนก็มึน ถึงที่จะแกก็แก ถึงที่จะตายก็ตาย ใครจะหาม ก็ไมฟง เพราะเหตุฉะนี้จึงหาวาผูใดจะเปนใหญขูเข็ญขมขูบมิได พิจารณาใหเห็นชัดดังนี้ประการ ๑ “อสวตฺติโต” พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมบมิใชตนบมิใชของแหงตน เพราะเหตุไม ประพฤติตามอํานาจแหงตนนั้นประการ ๑ ใหพระโยคาพจรเจายกปญญาขึ้นสูอนัตตลักษณะ พิจารณาใหเห็นดวยอาการเปนตนดังนี้ มีคําปุจฉาวา เหตุไฉนจึงใหพิจารณาดังนี้ วิสัชนาวา ใหพิจารณาฉะนี้เพราะเหตุจะใหสําเร็จอุบายที่จะใหเปลื้องตนออกพนจากสังขาร ธรรม เปรียบเหมือนบุรุษผูหนึ่งสุมปลาครอบงูเหาตัวหนึ่งลง บุรุษนั้นสําคัญวาปลา ยื่นมือลงไปตาม ชองสุมควาเอาตนคอแหงงูเหานั้นได ก็ดีใจวาทีนี้เราจับปลาไดสําเร็จความปรารถนาแหงเราแลว “อุกฺขิปตฺวา” ครั้นยกขึ้นมาพนน้ําแลวแลเห็นแสกศีรษะทั้งสามรูวางูมีพิษ ความสดุง ตกใจเห็นโทษ ก็มีจิตหนายจากอาลัยในที่จะถือเอา บุรุษนั้นมีความปรารถนาจะสละงูใหพนจากมือมิ ใหทํารายอาตมาได จึงจับหางงูคลายขนดจากแขนตัวแลว ยกขึ้นแกวงเบื้องบนศีรษะสองสามรอบ กระทําใหงูทุพพลภาพถอยกําลังลง สลัดพนจากมืออาตมาแลวก็รีบเร็วขึ้นจากน้ํายืนยังขอบฝงสระ แลวกลับหนามาดูหนทางอันขึ้นมาไมเห็นอสรพิษติดตามมาแลวก็ดําริวา อาตมาพนจากอสรพิษอัน ใหญอุปไมยดวยตัวพระโยคาพจรกุลบุตร เมื่อไดอาตมาภาพก็ยินดีถือวาเปนของอาตมา ดุจบุรุษจับ คองูภายในสําคัญวาปลาแลวยินดีนั้น เมื่อพระโยคาพจรเจาจําเร็ญพระวิปสสนาหยั่งลง เห็นสังขาร ธรรมโดยพระไตรลักษณะทั้ง ๓ คือ พระอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ อนัตตลักษณะแลว และมีความ สะดุงภยตูปฏฐานญาณ ปานดังบุรุษยกมือขึ้นจากชองสุมเห็นแสกศีรษะทั้งสามแหงงูแลวสะดุงตกใจ นั้น เมื่อพระโยคาพจรเล็งเห็นโทษในสังขารดวยอาทีวานุปสสนาญาณแลว และเหนื่อยหนายดวย นิพพิทานุปสสนาญาณนั้น ปานดังบบุรุษเห็นแสกศีรษะทั้งสามรูวา วางูมีความสะดุงตกใจ เล็งเห็น โทษแลวก็หนาย ปรารถนาเพื่อจะสละใหพนจากอาตมา เมื่อพระโยคาพจรยกสังขารธรรมขึ้สูพระไตร ลักษณะอีกเลาเมื่อจะตกแตงแสวงหาอุบายอันจะพนจากสังขารธรรมดวยปฏิสังขานุปสสนาแสวงหา อุบายอันสละงูใหพนจากอาตมานั้น แทจริงขณะเมื่อบุรุษคลายงูจากแขนอาตมาแลวแกวงเวียนเหนือ เศียรสิ้นสามรอบ กระทําใหทุพพลภาพบมิอาจเพื่อจะเลี้ยวขบอาตมาได ก็สละใหพนอาตมาไดเปนอัน ดี จะมีอุปมาฉันใด และพระโยคาพจรพิจารณาสังขารยกขึ้นสูพระไตรลักษณะ กระทําใหทุพพลภาพ ใหถึงซึ่งสภาวะบมิอาจเพื่อจะปรากฏดวยอาการอันเล็งเห็นวาเปนสุขวาตัวตนแลว ก็สละใหพนเปนอัน ดี ก็อุปไมยดังนั้น ปญญาแสวงหาอุบายอันละสังขารธรรมดังนี้ สันดานแหงพระโยคาพจรนั้น

ไดชื่อวาปฏิสังขานุปสสนาญาณบังเกิดใน

“ปฏิสงฺขานุปสฺสนาญาณํ นิฏฐิตํ” สําแดงปฏิสังขานุปสสนาญาณจบเทานี้ แตนี้จักสําแดงสังขารุเบกขาญาณสืบตอไป

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 117 “โส เอวํ ปฏิสงฺขานุปสฺสนาญาเณน สพฺเพ สงฺขารา สฺญาติ ปริคฺคหิโต” พระ โยคาพจรกุลบุตรนั้น เมื่อกําหนดกฏหมายพินิจพิจารณาเห็นวาสังขารธรรมเปนเครื่องสูญ ดวยปฏิสัง ขานุปสสนาญาณโดยนัยดังพรรณนามาฉะนี้แลวลําดับนั้นพระโยคาพจรจึงกําหนดอาการที่สูญ ประกอบดวยเงื่องเปนสองเงื่อนแลว จึงพิจารณาที่สูญดวยอาการ ๑ แลวกระจายออกอีกเลา พิจารณา ที่สูญอาการ ๘ ครั้นแลวขยายออกอีกพิจารณาที่สูญดวยอาการ ๑๐ แลวไมหยุดแตเพียงนั้นขยาย ออกอีกพิจารณาที่สูญดวยอาการ ๑๒ แลวไมหยุดแตเพียงนั้นแผขยายออกพิจารณาที่สูญดวยอาการ ๔๒ โดยนัยพิสดาร แลขอซึ่งกําหนดอาการที่สูญ ประกอบดวยเงื่อนเปนสองเงื่อนนั้น คือพระโยคาพจรกําหนด วา “สุฺญมิทํ อตฺเถ” สังขารธรรมนี้เปลาจากอาตมา บมิไดเปนอาตมาประการ ๑ กําหนด วา “สฺญมิทํ อตฺตนิเยน” สังขารธรรมนี้เปลาจากของอาตมา บมิไดเปนของอาตมาประการ ๑ เปน ๒ เงื่อนฉะนี้ และขอซึ่งพิจารณาใหกระจายขยายออกเปน ๔ เงื่อนนั้น คือพระโยคาพจรพิจารณาวา อันหนึ่งหามิได เปนเงื่อนอัน ๑

“นาหํ กฺวจินิ” ตัวตนแหงเรานี้จะไดมีในที่ใดที่หนึ่งในกาล

พิจารณาวา “น กสฺสจิ กิฺจนตสฺมึ” ตัวแทนแหงเราที่เราควรจะสําคัญวาเปนของตน ควรจะนําไปใหเปนธุระกังวลแกบุคคลผูใดผูหนึ่งนั้นจะไดหาบมิได พิจารณาดังนี้เปนเงื่อนอัน ๑ พิจารณานาวา “น จ กฺวจินิ” ตัวตนแหงผูอื่นนั้นเลา จะไดมีในที่ใดที่หนึ่งในกาลอันใด อันหนึ่งหาบมิได พิจารณาเห็นดังนี้เปนเงื่อนอัน ๑ พิจารณาวา “น จ มม กวฺจินิ กสฺมิฺจิ กิฺจนตฺถิ” ตัวตนแหงผูอื่น ที่ผูอื่นควรจะสําคัญ วาเปนของตน ควรจะนํามาใหเปนธุระกังวลสิ่งใดสิ่งหนึ่งแกเรานี้ จะไดมีหาบมิได พิจารณาดังนี้เปนอัน ๑ สิริเปนอาการเห็นวาใชอาตมา ใชของแหงอาตมาทั้งภายในและภายนอก ตนเองก็เห็นวา ของแหงตน ขอซึ่งโลกสังเกตกําหนดวาสัตววาบุคคล วาหญิงวาชายวามิตรวาชายวามิตรวาสหายวาพี่ วานองนั้นเมื่อพิจารณาใหละเอียดไปจะไดคงอยูตามสังเกตกําหนดนั้นหาบมิได แตลวนใชตนใชของ ตน เปนสูญภาพเปลาไปสิ้นทั้งนั้น และขอซึ่งกระจายออกพิจาณาที่สูญดวยอาการทั้ง ๖ นั้นเลา คือพระโยคาพจรพิจารณาวา “จกฺขุสุฺญํ อตฺเตน วา” จักขุประสาทนี้เปลาจากอาตมา บมิเปนของอาตมาประการ ๑ “จกฺขุสุฺญํ อตฺตนิเยน วา” อาตมาประการ ๑ ประการ ๑

พิจารณาวาจักขุประสาทเปลาจากอาตมา บมิเปนของ

“จกฺขุสุฺญํ นิจฺเจน วา” พิจารณาวาจักษุประสาทเปลาจากสภาวะเที่ยง บมิไดเที่ยงแท “จกฺขุสุฺญํ ทุเวน วา” พิจารณาวาจักษุประสาทเปลาจากสภาวะยั่งยืนมั่นคง บมิมั่นมิคง

ประการ ๑ “จกฺขุสุฺญํ สสฺสเตน วา” พิจารณาวาจักษุนี้เปลาจากชื่อวาเที่ยง ตามลัทธิดิรัตถียที่ถือ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 118 วาจักษุเที่ยงนั้น เปลาเเทไมมีสัตย ไมมีจริง พิจารณาดังนี้ประการ ๑ “จกฺขุสูฺญํ อปริณามธมฺเมน วา” พิจารณาวาจักษุประสาทนี้เปลาจากอวิปริณามธรรม ที่จะไมแปรปรวนนั้นหาบมิได มีแตแปรปรวนเปนเบื้องหนา พิจารณาดังนี้ประการ ๑ สิริเปนลักษณะพิจารณาที่สูญแหงจักษุประสาทดวยการ ๖ ดังนี้ แลพิธีอันพิจารณาที่สูญ แหงโสตประสาท ฆานประสาท ชิวหาประสาท กายประสาท และหทยวัตถุนั้น แตละสิ่ง ๆ ก็ประกอบดวยอาการละหก ๆ เหมือนกันกับพิจาณาที่สูญแหงจักษุ ประสาท แลรูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ ธัมมารมณ นั้นก็ดี จักษุวิญญาณ และโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ นั้นก็ดี จักขุสัมผัส แลโสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัสนั้นก็ดี ตลอดตราบเทาถึงชราและมรณะนั้นแตละสิ่ง ๆ แตลวนประกอบดวยพิธีพิจารณาที่สูญ บริบูรณดวยอาการหก ๆ เหมือนกันกับพิธีพิจารณาที่สูญแหงจักษุประสาท มีนัยดังสําแดงมาแลวนั้น และขอซึ่งกระจายออกพิจารณาที่สูญดวยอาการ ๘ นั้น คือพระโยคาพจรพิจารณาวา “รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สาราปคตํ นิจฺจสารสาเรน วา ” รูปนี้ไดชื่อวาใชแกนใชสาร บมิเปน แกนสาร ปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวาคุณ คือนิสสาระนั้นมิไดในรูป จะหาคุณที่เที่ยงแหงรูปนั้นหา บมิไดเลยเปนอันขาด แกนสารคือสภาวะเที่ยงนั้น มิไดมีในรูปโดยปกติธรรมดาพิจารณาดังนี้ จัดเปน อาการพิจารณาที่สูญแหงรูปนั้นปฐม แลอาการพิจารณาวา “ รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สาราปคตํ ธุวสารสาเรน วา” รูปนี้ที่ไดชื่อวาใช แกนใชสาร บมิเปนแกนสารปราศจากแกนสารเพราะเหตุวาคุณ คือธุวสารนั้นมิไดในรูป จะหาคุณที่ ยั่งยืนมั่นคงแหงรูปนั้นหามิไดเลยเปนอันขาด แกนสารคือสภาวะยั่งยืนมั่นคงนั้นมิไดมีในรูปเปนปกติ ธรรมดาพิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณาที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๒ แลอาการพิจารณาวา “ รู ป อสฺสารํ สาราปคตํ สุขสารสาเรน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใชแกนสาร บมิไดเปนแกนสาร ปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวาคุณคือสุขสารนั้นมิไดมีในรูป จะหาคุณคือความสุข อันบังเกิดแตรูปนั้น หาไดเปนอันยากยิ่งนัก คุณสารคือความสุขนั้นมิไดมีในรูปปกติธรรมดาพิจารณา ดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณาที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๓ แลอาการพิจารณา “ รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สาราปคตํ อตฺต สารสาเรน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใช แกนสาร บมิเปนแกนสารปราศจากแกนสารเพราะเหตุวา คุณคืออัตตสารนั้นมิไดมีในรูป อันจะหาคุณ เปนตนเปนของแหงตน ซึ่งจะมีในรูปนั้นหาบมิไดเลยเปนอันขาด คุณสารคือสภาวะเปนตน เปนของ แหงตนนั้นบมิไดมีในรูปเปนปกติธรรมดาพิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณาที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๔ แลอาการพิจารณาวา “ รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สาราปคตํ นิจฺเจน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใชแกนสาร ปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวารูปนี้เปลาสภาวะเที่ยงพิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณาที่สูญแหง รูปเปนคํารบ ๕

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 119 แลอาการพิจารณาวา “ รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สาราปคตํ ธุเวน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใชแกนสาร ปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวารูปนี้เปลาจากสภาวะยั่งยืนแลมั่นคง อันจะแสวงหากิริยาที่ยั่งยืนมั่นคง แหงรูปนี้หาเสียเปลายิ่งหาไปก็ยิ่งเปลายิ่งสูญ บมิไดพบไดปะรูปที่ยั่งยืนที่มั่นคงพิจารณาดังนี้ จัดเปน อาการพิจารณาที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๖ แลอาการพิจารณา “ รู ป อสฺสารํ สาราปคตํ ตสฺสเตน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใชแกนสาร บมิเปน แกนสารปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวารูปนี้เปลาจากกิริยาที่ถือวาเที่ยงลัทธิเดียรถียที่ถือวารูปเที่ยง นั้น ถือเปลาไมสัตยไมจริง พิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณาที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๗ แลอาการพิจารณา “รู ป อสฺสารํ นิสฺสารํ สารปคตํ อวิปริณามธมฺเมน วา” รูปนี้ไดชื่อวาใช แกนสาร บมิไดเปนแกนสารปราศจากแกนสาร เพราะเหตุวา รูปนี้เปลาจากอวิปปริณามธรรม รูปนี้ที่จะ ไมแปรไมปรวนไปนั้นหาบมิได มีแตแปรปรวนไปเปนเบื้องหนา พิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการพิจารณา ที่สูญแหงรูปเปนคํารบ ๘ แลเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แตละขันธ ๆ นั้น พระโยคาพจรพึงพิจารณาที่สูญดวย อาการ ๓ เหมือนอยางพิจารณาที่สูญแหงรูปนี้เถิด ถึงจักขุแลโสตฆานแลชิวหา ตลอดไปตราบเทาถึงชราแลมรณะ นั้นใหพระโยคาพจรพิจารณาที่สูญแตละสิ่ง ๆ นั้น ใหประกอบดวยอาการ ๘ สิ้นดวยกัน แลวใหพระโยคาพจรพิจารณาที่สูญโดยนัยอุปมาวา รูป แลเวทนา แลสัญญา แลสังขาร แลวิญญาณ จักขุแลโสต ฆาน แลชิวหาตลอดไปตราบเทาถึงชราแลมรณะนั้นปราศจากแกน สาร “ยถา นโฬ” เปรียบประดุจไมอออันสูญเปลาปราศจากแกน มิฉะนั้น “ยถา เอรณฺโฑ” เปรียบประดุจไมละหุงไมมะเดื่ออันปราศจากแกน มิฉะนั้น “ยถา สตวจโฉ” เปรียบประดุจไมสนุนแลไมมองกวาวอันปราศจากแกน มิฉะนั้น “ยถา เผณุปณฺโฑ” เปรียบประดุจกอนแหงฟองน้ํา แลปุมเปอกอันหาแกนสาร มิได มิฉะนั้น “ยถา มรีจิ ยถา กทฺทลี” เปรียบประดุจพยับแดด ตนกลวยอันปราศจากแกน มิฉะนั้น “ยถา มายา” เปรียบประดุจคําโกหกมารยา อันหาแกนสารบมิได จบพิจารณาที่สูญโดยอาการ ๘ เทานี้ แลพิจารณาที่สูญกระจายออกโดยอาการ ๑๐ นั้น “รตฺตโต” คือใหพระโยคาพจรกุลบุตร พิจารณาซึ่งรูปโดยสภาวะเปลาจากแกนสาร มีนิจ สารเปนอาทิประการ ๑ “ตุจฺฉโต” ใหพิจารณาซึ่งรูปโดยสภาวะ มีอายุนอยแลลามกประการ ๑ “สุฺญโต” ใหพิจารณารูปโดยเปลาจากอัตตสาร คือบมิไดเปนตัวเปนตนประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 120 “อนตฺตโต” ใหพิจารณารูปโดยสภาวะ ไบมิไดประพฤติตามอํานาจประการ ๑ “อนิสฺสริยโต” ใหพิจารณารูปโดยสภาวะ ไมมีผูใดผูหนึ่งจะเปนอิสรภาพสามารถจะบังคับ บัญชาไดประการ ๑ “อกามํ การิยโต” ใหพิจารณารูปโดยสภาวะไมกระทําความปรารถนา จะกระทําใหเที่ยง อยูเปนตนนั้น กระทําไมไดสําเร็จดังใจนึกใจหมาย เปรียบบุคคลอันเอาฟองน้ํามากระทําซึ่งภาชนะเปน ตนและกระทําไมไดสําเร็จดังใจนึกใจหมาย ใหพิจารณาดังนี้ประการ ๑ “อลพฺภนียโต” ใหพิจารณารูปโดยอาการกิริยาอันบุคคลผูใดผูหนึ่งมิพึงกลาวได วาทาน จงเปนดังนี้ ๆ อยาไดเปนดังนี้ ๆ ถึงจะวาก็วาเสียเปลารูปเสียเปลาหาฟงถอยฟงคําไม วากับไมวานั้น เหมือนกันใหพิจารณาดังนี้ประการ ๑ “อวตฺตนโต” ใหพิจารณารูปตนโดยกิริยาที่บมิอาจคงดีคงงามอยูตามอํานาจแหงผูอื่น แลบมิอาจยังรูปผูอื่น ใหคงดีคงงามอยูตามอํานาจแหงตนประการ ๑ “ปรโต” ใหพิจารณารูปโดยกิริยาที่เหมือนดวยผูอื่น เพราะเหตุที่วาไมไดไวไมไดฟง ไม พอใจจะใหแกขืนแก ไมพอใจจะใหตายขืนตาย เมื่อวาไมไดไวไมไดฟงดังนี้ จะวาเปนตนก็มิใชตน เพราะเหตุวาเหมือนดวยผูอื่น เมื่อพิจารณาใหละเอียดไปดังนี้ เหมือนผูอื่นแทไมแปลกผูอื่นเลย ให พิจารณาดังนี้ประการ ๑ “วิวิตฺตโต” ใหพิจารณารูปโดยกิริยาที่สงัดจากเหตุผลแล อธิบายตามคําฎีกาจารยนั้นวา ผลมิตั้งอยูดวยเหตุ เหตุที่ใหบังเกิดผลนั้นบมิไดตั้งอยูดวย ผล อันนี้อธิบายตามคําฎีกาจารย นักปราชญพึงสันนิษฐานวาผลนั้นไดแกรูป แลเวทนาแลสัญญาแลสังขาร แลวิญญาณ ที่ เปนผลนั้นจะไดตั้งอยูกันกับเหตุ ติดพันกันกับเหตุ คือกุศลแลอกุศลนั้นบมิได เปนปจจัยแกกันก็จริง แล แตทวาอยูเปนแผนก ๆ แยกกันอยูเปนหมวด ๆ กัน จะไปปะปนระคนกันหาบมิได ขอซึ่งวารูปสงัดจากเหตุผลแลนั้น สิริประสงคเอากิริยาที่เหตุกับผลบมิไดระคนปนกัน สิริ อาการซึ่งพิจารณาที่ศูนยแหงรูปเขาดวยกันเปนอาการ ๑๐ โดยนัยดังพรรณามาฉะนี้ พิธีพิจารณาศูนยแหงรูปกระจายออกโดยอาการ ๑๐ นี้ พระโยคาพจรพึงเอาแบบอยาง พิจารณา เวทนา แลสัญญา แลสังขาร แลวิญญาณ ใหประกอบดวยอาการละสิบ ๆ ตลอดไปตราบเทา ถึงชราแลมรณะนั้นเถิด แลพิจารณาที่ศูนยกระจายออกไปโดยอาการ ๑๒ นั้น คือใหพิจารณาวา “รูป น สตฺโต” รูปนี้ใชสัตวบมิไดเปนสัตว ขอซึ่งโลกโวหารรองเรียกสัตวนั้น ประสงคเอา กิริยาที่ประชุมกันแหงรูปแลเวทนา แลสัญญา แลสังขาร แลวิญญาณ แตรูปสิ่งเดียวนั้นจะไดชื่อวา สัตวหาบมิได กิริยาที่พิจารณารูปวาใชสัตวนี้ จัดเปนอาการเปนปฐม แลกิริยาที่พิจารณา “รูป น ชีโว” รูปนี้มิใชชีวิต จัดเปนอาการคํารบ ๒ กิริยาที่พิจารณา “รูป น นโร” รูปนี้มิใชคน จัดเปนอาการคํารบ ๓

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 121 กิริยาที่พิจารณา “รูป น ภาโว” รูปนี้ไมใชมาณพ จัดเปนอาการคํารบ ๔ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น อิตฺถี” รูปนี้มิใชหญิง ขอซึ่งโลกโวหาร รองเรียกวาหญิง สมมติสัจยังหาแทไม เมื่อสําแดงโดยปรมัตถสัจอรรถอันสุขุม สําแดงโดยแทนั้น รูปนี้มิใชหญิงบมิได เปนหญิงพิจารณาดัง จัดเปนอาการคํารบ ๕ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น ปุริโส” รูปนี้มิใชบุรุษ จัดเปนอาการคํารบ ๖ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น อตฺตา” รูปนี้บใชตน บมิเปนตนจัดเปนอาการคํารบ ๗ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น อตฺตนิยํ” รูปนี้บมิใชของตน บมิเปนตนจัดเปนอาการคํารบ ๘ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป นาหํ” รูปนี้ใชเรา มิใชของแหงเราขอซึ่งโลกโวหารกลาว วา “อหํ ๆ” วาเรา ๆ นั้นจะไดแกรูปนี้หามิได รูปนี้มิใชเรา พิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการคํารบ ๙ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น มม ” รูปนี้มิใชของแหงเรา ขอซึ่งโลกกลาววา “มม” วา ของ ๆ เรานั้น จะไดแกรูปนี้หาบมิได รูปนี้มิใชของเรา พิจารณาดังนี้จัดเปนอาการคํารบ ๑๐ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น อฺญสฺส” รูปนี้มิใชของแหงผูอื่นขอซึ่งโลกโวหารกลาว วา “อฺญสฺส ๆ” วาของผูอื่น ๆ นั้น จะไดแกรูปนี้หาบมิได รูปนี้มิใชของแหงผูอื่น พิจารณาดังนี้ จัดเปนอาการคํารบ ๑๑ กิริยาที่พิจารณาวา “รูป น กสฺสจิ” รูปนี้มิใชของแหงผูใดผูหนึ่ง ๆ นั้นจะไดแกรูปนี้หาบ มิได รูปนี้มิใชของผูใดผูหนึ่งพิจารณาดังนี้จัดเปนอาการคํารบ ๑๒ พิธีพิจารณาที่สูญแหงรูปนี้ ประกอบดวยอาการ ๑๒ ฉันใด พิธีพิจารณาที่สูญแหงเวทนา แลสัญญา แลสังขาร แลวิญญาณ ตลอดออกไปตราบเทาถึงชราแลมรณะนั้น พระโยคาพจรพิจารณา ใหประกอบดวยอาการ ๑๒ ๆ เหมือนดังนั้น มีคําฎีกาจารยวิสัชนาวา บท ๘ บทจําเดิมแต “รูป น สตฺโต” ไปตราบเทาจนถึงถึง “รูป น อตฺตานิยํ” นั้น สําแดงใจความใหเห็นวารูปแลเวทนาเปนอาทินั้น เปลาจากสภาวะเปนตน สูญจาก สภาวะเปนตน บมิไดเปนตนเลยเปนอันขาด แลบท ๔ บทในเบื้องปลายนั้น สําแดงในความใหเห็นวา รูปแลเวทนาเปนอาทินั้น บมิควร ที่พระโยคาพจรจะมาใหเปนปลิโพธกังวลอยูแตสิ่งใดสิ่งหนึ่งได แลพิธีพิจารณาที่สูญ แผออกดวยอาการ ๔๒ นั้น “อนิจฺจโต” คือใหพระโยคาพจรพิจารณารูปโดยอนิจจังประการ ๑ “ทุกฺขโต” ใหพิจารณารูปโดยทุกขังประการ ๑ “โรคโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวาเปนโรคอยูเปนนิตย เปนไขอยูเปนนิตยประการ ๑ “คณฺฑโต” ใหพิจารณารูใหเห็นวา เปนที่ไหลออกแหงกิเลสแลอสุจิโสโครกตาง ๆ เหมือนดวยฝปากเนาที่แตกเปนบุพโพโลหิตเปอยหวะนั้นประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 122 “สลฺลโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เหมือนดวยลูกปนอันยอกเสียดเสียบแทง ยากนักที่จะ ชักจะถอนไดประการ ๑ “อฆโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ประกอบดวยลามกเปนอันมากเปนที่ติฉินเกลียดหนาย แหนงแหงพระอริยเจาประการ ๑ “อาพาธโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ประกอบอยูดวยอาพาธเปนเนืองนิตย สิ่งที่ไมรัก ปรารถนานั้นชักนําเอามาใหบังเกิดขึ้นประการ ๑ “ปรโต” ใหพิจารณารูปเหมือนผูอื่น เพราะเหตุที่วาไมไดไวไมไดฟงประการ ๑ “ปโลกโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ขาดเด็ดกระเด็นออกดวยอํานาจชราทุกขแลพยาธิ แลมรณะนั้นประการ ๑ “อีติโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปนจัญไรนํามาซึ่งความรายความฉิบหายประการ ๑ “อุปทฺทวโต” ใหพิจารณาใหเห็นวา เปนอุปทวะชนเอาที่ชั่วที่ไมไดมาสะสมประการ ๑ “ภยโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวาเปนบอเกิดแหงภัยประการ ๑ “อุปสคฺคโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปนตัวอันตรายติดตามย่ํายียีฑาประการ ๑ “จลโต”

ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ไหวดวยโลกธรรม ไหวดวยชราแลพยาธิแลมรณะ

ประการ ๑ “ปภงฺคโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา บางคาบทําลายเอง บางคาบทําลายดวยความเพียร แหงผูอื่นประการ ๑ “อธุวโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ไมตั้งอยูยั่งยืนไปเลยยอมทอดทิ้งกลิ้งอยูในประเทศ ตาง ๆ ไมมีที่กําหนดประการ ๑ “อตาณโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา บมิอาจจะคุมครองรักษาสัตวผูใดผูหนึ่งไดประการ ๑ “อเลณโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ปราศจากที่เรนซอนถึงคราวจะปวยไข ถึงคราวจะ แกจะตายแลว จะหาที่เรนซอนใหพนปวยพนไข ใหพนแกพนตายนั้นหาไดไมประการ ๑ “อสรณโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา รูปนี้บมิอาจบังเกิดเปนที่พึ่งอาศัย คุมครองปองกัน ชาติและชราพยาธิและมรณะไดนั้นประการ ๑ “ริตฺตโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปลาจากเที่ยงและงามเปลาจากสภาวะเปนสุขและ เปนอาตมาประการ ๑ ๑

“ตุจฺฉโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา งามอยูเปนอันนอยมีความสุขอยูเปนอันนอยประการ “สุฺญโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปนธรรมอันเปลาอันสูญโดยปกติธรรมดาประการ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 123 “อนตฺตโต” ใหพิจารณารูปโดยมิไดเปนอาตมาประการ ๑ “อนสฺสาทโต” ใหพิจารณารูปโดยสภาวะ มีความโสมนัสอันนอยนักนอยหนาประการ ๑ “อาทีนวโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา รูปนั้นมากไปดวยโทษประการ ๑ “วิปริณามธมฺมโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา รูปมีสภาวะวิปริตแปรปรวนประการ ๑ “อสารกโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา หาแกนสารบมิไดประการ ๑ “อฆมูลโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปนเคาเปนมูลแหงทุกขประการ ๑ “วิธกโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา มีปกติเบียดเบียนเปรียบประดุจนายเพชฌฆาตประการ ๑ “วิภวโต” ฉิบหายประการ ๑

ใหพิจารณารูปใหเห็นวา มีแตความฉิบหายเปนเบื้องหนาบมิไดพนจากความ

“อาสวโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ประกอบอยูดวยอาสวะกิเลสประการ ๑ “สงฺขโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา รูปนั้นแลวดวยกุศลและอกุศลประชุมแตงประการ ๑ “มารามิสฺสโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา เปนเหยื่อแหงมารประการ ๑ “ชาติธมฺมโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา อากูลมูลมองไปดวยชาติทุกขประการ ๑ “ชราธมฺมโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ความชรารัดรึงตรึงตราประการ ๑ “มรณธมฺมโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา มีสภาวะเที่ยงที่จะตายประการ ๑ “โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสธมฺมโต” ใหพิจารณารูปใหเห็นวา ประกอบดวยความ โศกเศราและรองไหร่ําไร และกิริยาที่สลดหดหูและโทมนัสขัดเคืองสะอึกสะอื้นอาลัย เปนปกติ ธรรมดาประการ ๑ “สมุทยโต” ใหพิจารณารูปใหเห็น รูปนี้นายชางเรือนคือตัณหาตกแตงไวประการ ๑ ประการ ๑

“อตฺถงฺคมโต”

ใหพิจารณารูปอันมีสภาวะเกิดแลวดับเนือง ๆ กันมาหาระหวางมิได

“นิสฺสรณโต” ใหพิจารณาซึ่งกิริยาอันจะบรรเทาเสียซึ่งฉันทะราคะสละละเมินฉันทะราคะ เสีย อยารักอยากําหนัดในรูปประการ ๑ สิริเขาดวยกัน จึงเปนอาการอันพิจารณาสภาวะสูญเปลาแหงรูปแผออกโดยพิสดาร ๔๒ ประการดังนี้ วิธีที่พิจารณาเวทนาและสัญญาพิจารณาสังขารและวิญญาณนั้น พระโยคาพจรพึงพิจารณา ใหประกอบดวยอาการ ๔๒ ๆ เหมือนอยางพิจารณารูปนี้เถิด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 124 พิจารณาดังนี้ สมเด็จพระสรรเพชญพุทธองคตรัสสรรเสริญวา ดูกรโมฆราชพราหมณ นักปราชญผูมีสตินั้น ยอมพิจารณาซึ่งขันธาทิโลกคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ดวย อาการ ๔๒ มีพิจารณาเห็นวา ไมเที่ยงเปนตน มีพิจารณากิริยาที่สละเสียซึ่งฉันทะราคะเปนที่สุดดุจ พรรณนามาฉะนี้สิ้นกาลทุกเมื่อ “โลกํ อเวกฺขสฺสุ” ขอทานจงมีสติพิจารณาขันธาทิโลกดวยอาการ ๔๒ นี้ สิ้นกาลทุกเมื่อ เถิด อยาไดประมาท บุคคลผูเปนนักปราชญบําเพ็ญพระวิปสสนากัมมัฏฐาน พิจารณาขันธาทิโลกดวย อาการ ๔๒ โดยนัยพิสดารดังนี้ นักปราชญนั้นอาจเพื่อจะเพิกถอนเสียไดซึ่งสักกากายทิฏฐิอาจขาม พนจากจตุรโอฆสงสาร ไปสูพระนิพพานลับนัยนตาพญามัจจุราชมิอาจแลเห็น อริยนักปราชญเห็นปาน ฉะนี้ พระพุทธโฆษาจารยเจา ยกเอาพระพุทธฏีกามาสาธกใหมั่นดวยประการฉะนี้ จึงสําแดง วิปสสนาพิธีสืบตอไป “เอวํ สุฺญโต ทิสฺวา ติลกฺขณํ อาโรเปตวา” เมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นเบญจขันธ โดยเปลาโดยสูญยกปญญาขึ้นสูพระไตร ลักษณ กําหนดกฏหมายสังขารธรรมโดยอาการ ๔๒ ดังนี้ จิตแหงพระโยคาพจรนั้นก็จะสิ้นกลัวสิ้น สะดุงสิ้นรักสิ้นใครจะตั้งอยูในที่เปนอุเบกขามัธยัสถ ไมถือวาเบญจขันธเปนอาตมา เปนของอาตมา “วิสฺสฏภริโย วิย ปุริโส” เปรียบประดุจบุรุษอันมีภริยาหยาขาดแลว และมัธยัสถอยูใน ภริยานั้น พระผูเปนเจาพุทธโฆษาจารยจึงสําแดงอุปมาโดยนัยพิสดารวา บุรุษผูหนึ่งมีภริยาเปนที่ชอบ อัชฌาสัย เปนที่รักที่จําเริญใจยิ่งนัก บุรุษนั้นถาไมไดเห็นหนาภริยาแตสักครูหนึ่งอยูมิได ถาเห็นภริยา นั้นไปยืนอยูดวยบุรุษอื่นก็ดี บุรุษนั้นมีความโทมนัสขัดแคนเปนหนักหนา “อปเรน สมเยน” อยูจําเนียรภาคไปเบื้องหนา บุรุษนั้นพิจารณาเห็นโทษ เห็นวาภริยานั้น ไมซื่อไมสัตยตอตนแลว ก็ทิ้งขวางรางหยาภริยานั้นเสีย บมิไดสําคัญวาเปนของอาตมา “ตโต ปฏฐาย” จําเดิมแตอยาขาดเสียแลว ถึงจะเห็นสตรีนั้นไปนั่งเลนเจรจาคบหาสมาคมกับใคร ๆ ก็ดี บุรุษ นั้นจะไดกริ้วโกรธโทมนัสขัดเคืองมาตรวานอยหนึ่งหามิได ตกวาจิตแหงบุรุษนั้นตั้งอยูในอุเบกขา อัน นี้แลมีอุปมาฉันใดเมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาเห็นเบญจขันธโดยเปลาสูญ ยกปญญาขึ้นสูพระไตร ลักษณกําหนดกฏหมายสังขารธรรมโดยอาการ ๔๒ ดังนี้ จิตแหงโยคาพจรนั้นก็จะสิ้นสะดุงกลัวสิ้นรัก สิ้นใคร จะตั้งอยูในที่เปนอุเบกขามัธยัสถ ไมถือวาเปนเบญจขันธเปนอาตมาเปนของอาตมา มีอุปไมย ดังนั้น เมื่อจิตตั้งมั่นอยูในที่เปนอุเบกขาแลว สันดานนั้นก็มีแตจะหดหูไมเบิกบาน ไมติดไมพันอยู ในภพทั้ง ๓ และกําเนิด ๔ คติ ๕ วิญญาณฐิติ ๗ สัตตาวาส ๙ สันดานนั้นมีแตจะเกลียดจะหนาย กับ ที่จะเปนอุเบกขาเทานั้น ตกวาจิตนั้นไมติดไมพันอยูในโลกสันนิวาสนั้นเลย เปรียบประดุจใบบัวอันมี กานออนสลวย และหยาดน้ําตกลง หยาดน้ําบมิไดติดไดขัง ถามิฉะนั้น จิตแหงพระโยคาพจรหดหู เปรียบประดุจปกไกอันตองเพลิง เอาเอ็นกระดางอัน บุคคลทิ้งเขาไปในเพลิงและหดหูเขานั้น นักปราชญพึงสัณฐานวา สังขารุเบกขาญาณอันประพฤติ มัธยัสถอยูในสังขารธรรมมีนัยดังวิสัชนามาฉะนี้ ถาเห็นพระนิพพานอันเปนโกฏฐาสอันระงับโดยละเอียด ปญญานั้นก็สละละเสียซึ่งสังขารป วัตติทั้งปวง แลวก็เลนไปสูนิพพานยึดหนวงเอา พระนิพพานเปนอารมณ

ถาปญญานั้นยังมิไดเห็นพระนิพพานโดยละเอียดยังยึดหนวงเอา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 125 พระนิพพานเปนอารมณมิได ก็กลับมายึดหนวงเอาสังขารธรรมเปนอารมณพิจารณาสังขารธรรมนั้น แลว ๆ เลา ๆ มีอาการเหมือนการนั้น อันพอคาเลี้ยงไวสําหรับจะไดกําหนดทิศ “กิร” ดังไดยินมา พอคาสําเภาทั้งหลายอันไปเที่ยวคาขายในทองพระมหาสมุทรนั้น ยอม เลี้ยงกาจําพวกหนึ่งไวในสําเภาสําหรับจะไดแกอับแกจน ในกาลเมื่อสําเภาซัดออกไปไมเห็นฝง กาล เมื่อสําเภาตองลมพายุกลาพายุใหญ สําเภาซัดออกไปตกทะเลลึกแลไมเห็นฝงนั้น ไมรูแหงที่จะยัก ยายบายสําเภาไปขางไหนไดจนใจแลว ชาวสําเภาก็ปลอยกานั้นใหบินขึ้นสูอากาศ กานั้นครั้นบินขึ้น ไปสูงแลวก็เหลี่ยวซายแลขวา เห็นฝงปรากฏขางไหนก็บินไปขางนั้น ชาวสําเภาก็บายสําเภาแลนไป ตามกา ถากานั้นเหลี่ยวซายแลขวายังไมเห็นฝงปรากฏกอน ก็บินยอนมาสูเสากระโดงสําเภา ครั้นแลว ก็บินขึ้นไปอีก ดูซายดูขวายังไมเห็นฝงก็กลับมายั้งอยูที่ปลายเสากระโดงนั้นอีกเลา ตกวาบินขึ้นเนือง ๆ ถาเห็นฝงก็บินไปเฉพาะหนาสูฝง ถาไมเห็นฝงก็กลับมาจับปลายเสากระโดงเกา อันนี้แลมีอุปมาฉัน ใด วิปสสนาปญญาชื่อวาสังขารอุเบกขาญาณนั้น เมื่อพิจารณาเห็นพระนิพพานสันทัดก็สลัดซึ่ง สังขารปวัตติ มิไดเอาสังขารแลนไปสูพระนิพพานยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณ ถายังไมเห็น พระนิพพานสันทัด ยังบมิอาจจะยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณได ก็กลับยึดหนวงเอาสังขารเปน อารมณ พิจารณาสังขารนั้นแลว ๆ เลา ๆ ครั้นแลวขยับขึ้นพิจารณาพระนิพพานนั้นเนือง ๆ ถายังไม เห็นพระนิพพานนั้นปรากฏก็ลงมาพิจารณาสังขารยึดหนวงเอาสังขารเปนอารมณอีกเลา มีอุปไมยดัง กาบินขึ้นเนือง ๆ ยังมิไดเห็นฝงปรากฏกอน และบินมาจับปลายเสากระโดงอยูนั้น วิปสสนาปญญาอัน ชื่อวาสังขารุเบกขาญาณนี้ มีกิจอันพิจารณาซึ่งสังขารธรรมโดยพิธีประการตาง ๆ พิจารณาแผออกไป โดยพิศดารแลวพิจารณาใหยอใหนอยถอยเขามาเปนชั้นเลา ๆ มีอาการเหมือนบุคคลอันรอนแปง แผนแปงออกไปแลวและรอนเขาใหกลมอยูในปลายกระดงมิฉะนั้นมีอาการเหมือนบุคคลอันดีดฝายที่ หีบแลวดวยแมกง บุคคลออนรอนแปงและบุคคลอันดีดฝายนั้น มีแตจะยีแปงแลฝายใหแหลกละเอียด มิใหหยาบใหคายอยูได และมีฉันใด สังขารุเบกขาญาณก็ย่ํายีสังขารดวยพีธีพิจารณาใหแหลก ละเอียด มีอุปไมยดังนั้น สังขารุเบกขาญาณนี้ เมื่อย่ํายีสังขารใหแหลกละเอียด ดวยพิธีพิจารณาโดยนัยที่สําแดง แลวแตหนหลัง ครั้นเห็นสังขารธรรมทั้งปวงปรากฏโดยเปลาโดยสูญสิ้นแลว ก็หายสะดุงหายกลัวแต สังขารหายรักใครในสังขารตั้งอยูในที่มัธยัสถ บมิไดพิจารณาสืบตอไปโดยนัยพิศดาร คงอยูแตใน อนุปสสนา ๓ ประการ คือ อนิจจานุปสสนา และทุกขานุปสสนา และอนัตตานุปสสนา เมื่อตั้งอยูใน อนุปสสนาทั้ง ๓ ประการนี้ สังขารุเบกขาญาณนี้ถึงสภาวะเปนวิโมกขมุข ๓ ประการ คือ อนิมิตตวิโมขมุขประการ ๑ อัปปณิหิตวิโมกขมุขประการ ๑ สุญญตวิโมกขมุขประการ ๑ ดวยอํานาจที่มีสันธินทรีย และสมาธินทรีย และปญญินทรียเปนอธิบดีปจจัย ตกวาสังขา รุเบกขาญาณแยกออกเปนวิโมกขมุข ๓ ประการ นี้แยกออกดวยอํานาจอนุปสสนาทั้ง ๓ นี้เอง ถาสัง ขารุเบกขาญาณนั้นคงตั้งอยูเปนอนิจจานุปสสนา พิจารณาสังขารโดยกําหนดแตที่เกิดไปตราบเทาดับ เห็นสังขารธรรมนั้นปรากฏโดยสิ้นไมฉิบหายไป มีสัทธินทรียเปนอธิบดีปจจัยแลว ขยับขึ้นพิจารณา พระนิพพานยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมรณไดกาลใด ก็ไดนามบัญญัติชื่อวาอนิมิตตวิโมกขมุข ในกาลนั้น ถาสังขารุเบกขาญาณนั้น คงตั้งอยูในทุกขานุปสสนาสังขารธรรมนั้นปรากฏโดยนัย ความ สังเวชนั้นบังเกิดในจิตสันดานประกอบดวยสมาธินทรียเปนอธิบดีปจจัย ปญญานั้นขยับขึ้นพิจารณา พระนิพพานยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณไดกาลใด ก็ไดนามบัญญัติชื่อวาอัปปณิหิตวิโมกขมุข ในกาลนั้น ถาสังขารุเบกขาญาณนั้นคงตั้งอยูในอนัตตานุปสสนา พิจารณาสังขารธรรมโดยอาหารอัน ใชของอาตมาใชของอาตมา เห็นสังขารธรรมนั้นปรากฏโดยเปลาโดยสูญ มีปญญินทรียเปนอธิบดี

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 126 ปจจัยแลว จะขยับขึ้นพิจารณาพระนิพพานเปนอารมณไดกาลใด ก็ไดนามบัญญัติชื่อวาสุญญตวิโมก ขมุขในกาลนั้น ขอซึ่งเรียกวาวิโมกขมุขนั้น ดวยอรรถวาเปนอุบายใหไดวิโมกขธรรม ๓ ประการ คือ อนิมิตต วิโมกข และอัปปณิหิตวิโมกข และสุญญตวิโมกข วิโมกขทั้ง ๓ นี้มิใชอื่น คือพระอริยมรรค ๆ ไดชื่อวา วิโมกขนั้นดวยอรรถนาพนจากกิเลส พระอริยมรรคไดชื่อวาอนิมิตตวิโมกขนั้น ดวยอรรถวาพระโยคาพจรไดดวยกิริยาที่กระทํา มนสิการโดยอนิจจัง และสันดานมากไปดวยสัทธินทรีย พระอริยมรรคไดชื่อวาอัปปณิหิตวิโมกขนั้น ดวยอรรถวาพนจากกิเลส ดวยอรรถวาพระ โยคาพจรไดกิริยาที่กระทํามนสิการโดยทุกขังและมีสันดานมากไปดวยปสสัทธิเจตวิกและมีสมาธินท รีย และพระอริยมรรคไดชื่อวาสุญญตวิโมกขนั้น ดวยอรรถวาพนจากกิเลสดวยอรรถวาพระ โยคาพจรไดดวยกิริยาที่กระทํามนสิการ โดยอนัตตาแลมีสันดานมากไปดวยปญญินทรีย นัยหนึ่งวาพระอริยมรรค จะไดนามบัญญัติชื่อวา อนิมิตตวิโมกขแลอัปปณิหิตวิโมกข แล สุญญตวิโมกข ไดดวยอํานาจนิพพานธรรมที่บังเกิดเปนอารมณ ถานิพพานที่เปนอารมณแหงมัคคจิต นั้นก็ปรากฏแจงโดยอาการอันหาสังขารนิมิตบมิได พระอริยมรรคจิตนั้นก็ปรากฏชื่อวาอนิมิตตวิโมกข ถาพระนิพพานธรรมที่เปนอารมณแหงมัคคจิตนั้น ปรากฏแจงโดยอาการอันหาราคาทิปณิธิ บมิได พระอริยมรรคจิตนั้นก็ไดนามปรากฏชื่อวาอัปปณิหิวิโมกข ถาพระนิพพานที่เปนอารมณแหงจิตนั้น ปรากฏแจงโดยอาการอันเปลาสูญจากสังขารธรรม พระอริยมรรคจิตนั้นก็ไดนามปรากฏชื่อวาสุญญตวิโมกข นัยหนึ่งพระอนิจจานุปสสนานั้น จะเรียกวาอนิมิตตวิโมกขก็สมควรเพราะเหตุวา พิจารณา เห็นสังขารธรรมไมเที่ยง สละละเสียซึ่งกิริยาที่ถือวามั่นวาสังขารธรรมเที่ยง แลทุกขานุปสสนานั้น จะเรียกวาอัปปณิหิตวิโมกขก็สมควรเพราะเหตุพิจารณาเห็นวาสังขาร ธรรมประกอบดวยทุกข สละละเสียซึ่งกิริยาอันถือวา สังขารธรรมประกอบดวยสุข แลอนัตตานุปสสนานั้น จะเรียกวาสุญญตวิโมกขก็สมควรเพราะเหตุพิจารณาเห็นวา สังขาร ธรรมใชอาตมาของอาตมา สละละเสียซึ่งกิริยาที่ถือมั่นวา สังขารธรรมเปนอาตมาเปนของอาตมา สังขารุเบกขาญาณนี้ เปนปจจัยที่จะใหสําเร็จเปนพระกริยบุคคล ๗ จําพวก คือ สัทธานุสารี จําพวก ๑ สัทธาวิมุตรติจําพวก ๑ กายสักขีจําพวก ๑ อุภโตภาควิมุตติจําพวก ๑ ธัมมานุสารีจําพวก ๑ ทิฏฐิปตตจําพวก ๑ ปญญาวิมุตติจําพวก ๑ รวมเปน ๗ จําพวกดวยกัน อธิบายวาพระโยคาพจรผูมนสิการในอนิจจานุปสสนา มีสันดานมากไปดวยสัทธาแลปญญิ นทรียนั้น ถาสําเร็จพระโสดามรรคในขณะใดก็ไดนามบัญญัติชื่อวา สัทธานุสารีในขณะนั้น ครั้นไดพระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล พระ อรหัตตมรรค พระอรหัตตผลนั้น ก็ไดชื่อวาสัทธาวิมุตติเหมือน ๆ กัน แลพระโยคาพจรผูมนสิการในทุกขาวิปสสนา มีสันดานมากไปดวยปสสิทธิ แลสมาธินทรีย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 127 เมื่อไดสมเร็จพระโสดามรรคก็ไดนามชื่อวาสักขีบุคคล เมื่อไดสําเร็จพระโสดาผล พระสกิทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล พระอนาคามิผล พระอรหัตตมรรค พระอรหัตตผลนั้น ก็ไดนามชื่อวากายสักขีบุคคล เหมือน ๆ กัน แลพระโยคาพจรผูไดรูปฌานแลว อรหัตตผล ก็ไดนามชื่อวา อุภโตภาควิมุตติ

แลรูแฌานเปนที่ตั้ง

จําเร็ญวิปสสนาอันลุถึงพระ

แลพระโยคาพจรผูมนสิการในพระอนัตตานุปสสนา มีสันดานมากไปดวยปญญาแลปญญิ นทรียนั้น เมื่อไดสําเร็จพระโสดามรรคก็ไดนามชื่อวาธัมมานุสารีบุคคล เมื่อสําเร็จพระโสดามรรค พระโสดาผล พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล อนาคามิมรรค พระอนาคามิผล พระอรหัตตมรรคนั้น ก็ไดนามชื่อวาทิฏฐิปตตบุคคล

พระ

เมื่อไดสําเร็จพระอรหัตตผลนั้น ไดนามชื่อวาปญญาวิมุตติบุคคล สังขารุเบกขาญาณนี้ เปนปจจัยที่จะใหสําเร็จเปนพระอริยบุคคล ๗ จําพวก โดยนัยวิสัชนา มาฉะนี้ วิปสสนาญาณนั้น ๓ ประการ คือ มุญจิตุกามยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเบกขาญาณนี้ ตางกันแตพยัญชนะ ตางกันก็แตชื่อ มีอรรถอันเดียวกันเปนปญญาอันเดียว สังขารุเบกขาญาณนี้ จะเรียกวาสิกขัปปตตวิปสสนาก็สมควรเพราะเหตุวาถึงซึ่งความเปน องคแหงวิปสสนาทั้งปวง มิฉะนั้นจะเรียกวาวุฏฐานคามินีวิปสสนาก็สมควร เพราะเหตุวา สังขารุเบกขา ญาณนี้ดําเนินถึงภูมิพระอริยมรรคสืบตอกันกับพระอริยมรรค แลวุฏฐานคามินีวิปสสนา อันจะสืบตอเขากับดวยพระอริยมรรคนั้นจะไดเหมือนกันหาบมิได วุฏฐานคามินีสิปสสนา แหงพระโยคาพจรบางพระองคนั้นเดิมทีพิจารณาสังขารภายใน ครั้น ถึงเมื่อกาลเมื่อกาลเมื่อสืบเขากับพระอริยมรรคนั้นก็พิจารณาสังขารภายในคงเดิมอยู บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณาสังขารกายนอก ถึงกาลเมื่อสืบตอเขา กับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณาสังขารภายนอกคงเดิมอยู พระโยคาพจรบางพระองคนั้น เดิมทีวิฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาสังขารภายนอก ครั้นถึง กาลเมื่อสืบตอเขากับพระอริยมรรคนั้นพิจารณาสังขารภายใน พระโยคาพจรบางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาสังขารภายใน ครั้นถึง กาลเมื่อสืบตอเขากันดวยพระอริยมรรคนั้นก็พิจารณาสังขารภายนอก พระโยคาพจรบางพระองค เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณารูปธรรม ครั้นถึงกาลเมื่อ สืบเขากันดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณารูปธรรมคงเดิมอยู บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณารูปธรรมครั้นถึงกาลเมื่อสืบตอเขากับ ดวย พระอริยมรรคนั้นพิจารณาอรูปธรรม บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณาอรูปธรรม ครั้นถึงกาลเมื่อสืบตอเขา กับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็ยังพิจารณาพิจารณาอรูปธรรมคงเดิมอยู

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 128 บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณาอรูปธรรม ครั้นถึงกาลเมื่อสืบตอเขา กับดวยพระอริยมรรคนั้น พิจารณารูปธรรม พระโยคาพจรบางพระองค เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณารูปธรรมแลอรูปธรรมเขา ดวยกัน ครั้นถึงกาลเมื่อจะสืบตอเขากับพระอริยมรรคนั้น พิจารณาเบญขันธพรอมกันเปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน พระโยคาพจรบางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณาสังขารโดยอนิจจัง ครั้น เมื่อสืบตอเขากับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณาโดยอาการอนิจจังคงเดิมอยู บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนา พิจารณาสังขารโดยอนิจจัง ครั้นเมื่อสืบตอเขา กับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณาโดยทุกขัง บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาโดยอนิจจังเมื่อสืบตอเขากับดวยพระ อริยมรรคนั้น พิจารณาสังขารโดยอาการอนัตตา บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาสังขารโดยอาการทุกขัง ครั้นถึงกาล เมื่อสืบเขากับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณาโดยอาการทุกขังคงเดิมอยู บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาโดยทุกขังเมื่อสืบตอเขากับดวยพระ อริยมรรคนั้น ก็พิจารณาโดยอนิจจัง บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาโดยทุกขัง ครั้นเมื่อสืบตอเขากับพระ อริยมรรคนั้น พิจารณาโดยอนัตตา บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาสังขารโดยอาการอนัตตา ครั้นถึงกาล เมื่อสืบตอเขาดวยกับพระอริยมรรคนั้นก็พิจารณาโดยอาการอนัตตาคงเดิมอยู บางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาโดยอนัตตา ครั้นถึงกาลเมื่อสืบตอเขา กับดวยพระอริยมรรคนั้น พิจารณาสังขารธรรมโดยอนิจจัง พระโยคาพจรบางพระองคนั้น เดิมทีวุฏฐานคามินีวิปสสนาพิจารณาสังขารธรรมโดยอนัตตา ครั้นถึงกาลเมื่อสืบตอเขากับดวยพระอริยมรรคนั้น ก็พิจารณาสังขารธรรมโดยอาการทุกขัง นักปราชญพึงสันนิษฐานวา วุฏฐานมินีวิปสสนานี้มิใชอื่นใชไกลไดแกปญญาทั้ง ๓ คือ สัง ขารุเบกขาญาณ แลอนุโลมญาณแลโคตรภูญาณ ในที่นี้พระผูเปนเจาพุทธโฆษาจารย ซักเอาเนื้อความอุปมามาสาธกไว เพื่อจะสําแดงให เห็นแจงในวิปสสนาญาณทั้งปวง จําเดิมแตเบื้องตนมาตราบเทาถึงมรรคญาณ ผลญาณ อันเปน อวสานที่สุดวา “เอกา อิร วคฺคุลี” ยังมีคางคาวตัวหนึ่ง แลเห็นตนมะทรางมีกิ่ง ๕ กิ่งก็ดีใจ สําคัญวา ตนไมอันนั้นเห็นทีจะมีดอกมีผลบริบูรณหนักหนา อาตมะจะไปจับอยูที่ตนไมตนนั้นเถิด เพลาราตรีวันนี้ อาตมะจะไดบริโภคซึ่งดอกแลผลตามความปราถนา ดําริฉะนี้แลวก็บินไปจับอยูที่ตนมะทรางอันมีกิ่ง ๕ กิ่ง ครั้นเพลาราตีนั้นก็บินออกจากที่อันตนจับอยูลูบดูกิ่งอันหนึ่งก็ไมเห็นดอกผลที่ตนควรจะถือเอา เปนอาหารนั้น จะมีแตสักหนอยหนึ่งหาบมิไดคางคาวจึงบินไปลูบดูกิ่งอันเปนคํารบ ๒ นั้นเลา ก็เปลา ไปไมเห็นดอกแลผลอันใดอันหนึ่ง คางคาวจึงบินไปลูบดูกิ่งเปนคํารบ ๓ คํารบ ๔ คํารบ ๕ นั้นเลา ก็

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 129 เปลาไปไมเห็นผลอันใดอันหนึ่ง ที่ตนควรจะถือเอาเปนอาหาร คางคาวนั้นก็มาดําริวาอนิจจาเอย อาตมานี้เฝาอยูที่ตนไมนี้วันหนึ่งยันค่ําคิดวาจะไดรับประทานอาหารอันใดอันหนึ่งบาง มิรูก็เฝาเลน เปลา ๆ ทีเดียวไมไดดอกไมไดผลสักหนอย ก็อาตมาจะมาเฝาอยูที่ตนไมตนนี้ จะตองการอันใดเลา อาตมาจะไปสูตนไมตนอื่นเถิดดําริฉะนี้แลวคางคาวนั้นจึงสละละเสียซึ่งอาลัยในตนไมนั้นแลว ก็บินขึ้น ไปสูกิ่งยอดแหวนดูเบื้องบนแลว ก็บินไปในอากาศไปจับในตนไมตนอื่นที่มีผล “ยถา” อันนี้แลมี อุปมาฉันใดอุปไมยดังพระโยคาพจรเจาอันจําเริญซึ่งวิปสสนาญาณแลว แลไดซึ่งมรรคแลผล แลพระ โยคาพจรนั้นเปรียบเหมือนดังคางคาว ตนมะทรางอันมีกิ่งนั้นเปรียบเหมือนเบญขันธทั้งหา ขณะเมื่อ คางคาวบินไปจับอยูในตนไมมะทรางดวยสําคัญวาจะไดรับประทานดอกแลผลเปนอาหารนั้น เปรียบ เหมือนดังวาพระโยคาพจรอันมีปญญายังมิไดแกกลา ยังสําคัญอยูในขันธทั้ง ๕ วาเปนตน วาเปนของ แหงอาตมา ขณะเมื่อคางคาวบินออกจากที่ตนจับดูซึ่งกิ่งมะทรางอันเปนปฐม แลมิไดเห็นดอกแลผล อันใดอันหนึ่งที่ควรถือเอาเปนอาหารนั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันพิจารณาซึ่งรูปขันธนั้นหาแกนสาร บมิได ไมเปนผลประโยชญอันใดอันหนึ่งขณะเมื่อคางคาวลูบดูกิ่งอันเปนคํารบ ๒ คํารบ ๓ คํารบ ๔ คํารบ ๕ แลเห็นวาหาดอกหาผลมิไดนั้นเปรียบดุจพระโยคาพจรอันพิจารณาเห็นซึ่งเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วาหาแกนสารบมิได ไมเปนผลไมเปนประโยชญ ขณะเมื่อคางคาวสละละเสีย ซึ่งอาลัยในตนมะทราง มิไดปรารถนาที่จะอยูในตนมะทรางนั้น เปรียบดังพระโยคาพจรอันไดซึ่งมุญจิ ตุกามยตาญาณ แลปฏิสังขาญาณ แลปฏิสังขารุเบกขาญาณ แลปรารถนาจะไปใหพนจากสังขาร คิด อานอุบายจะไปใหพนจากสังขารเปนอุเบกขา มัธยัสถมิไดเอื้อเฟออยูในสังขารธรรมทั้งหลายนั้น ชวนะ นะ

ขณะเมื่อคางคาวบินไปสูกิ่งยอดกิ่งตรงขึ้นไปนั้น เปรียบประดุจพระโยคาพจรอันไดอนุโลม ขณะเมื่อคางคาวแหงนดูในเบื้องบนอากาศนั้น

เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งโคตรภูชว

ขณะเมื่อคางคาวบินไปในอากาศนั้น เปรียบประดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งมรรคญาณ ขณะเมื่อคางคาวบินไปอยูที่ตนไมอันมีผล เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งผลญาณ พระอรรถกถาจารยชักอุปมาอันนี้มาเปรียบไว นําอุปมาอันอื่นมาเปรียบเลา วายังมีฆรสามิก บุรุษเจาของเรือนผูหนึ่งบริโภคอาหารในเพลาเย็นแลวก็ขึ้นสูที่นอน ๆ หลับในราตรี เกิดเพลิงขึ้นใน เรือนติดถนัดแลวเผอิญบุรุษนั้นจึงตื่นขึ้นเห็นเพลิงก็สะดุงตกใจวาอนิจจาเอย อาตมานี้อยูกลางไฟที่ เดียว แลวก็จะตายเสียในไฟเลาทําไฉนอาตมาจะพนเพลิงออกไปตามทางอันใดหนอ ดําริฉะนี้แลว ชายผูนั้นก็แลดูทางที่จะออกไป ครั้นเห็นทางพอที่จะวิ่งออกไปไดชายนั้นก็ออกจากที่แลว ก็วิ่งออกมา ดวยเร็วพลัน ครั้นพนเพลิงแลวชายนั้นก็ยืนอยูในที่อันเพลิงไหมมิไดถึง “ยถา” อันนี้แลมีฉันใด อุปไมยดังพระโยคาพจรอันจําเริญวิปสสนาแลไดซึ่งมรรคแลผล ฆรสามิกบุรุษเจาของเรือน เปรียบดังพระโยคาพจร เรือนนั้นเปรียบเหมือนเบญจขันธทั้ง ๕ ขณะเมื่อบุรุษเจาของเรือนบริโภคอาหารในเพลาเย็นแลว ก็ขึ้นสูที่นอน ๆ หลับไปในราตรี นั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันมีปญญายังออนยังสําคัญอยูในขันธทั้ง ๕ วาเปนอาตมาเปนของแหง อาตมา ขณะเมื่อบุรุษตื่นขึ้นเห็นเพลิงติดถนัดโดยรอบคอบแลว แลมีความสะดุงตกใจกลัวนั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันพิจารณาเห็นที่เกิดที่ดับที่ฉิบหายที่ทําลายแหงสังขารแลว แลมีความสะดุง ตกใจกลัวแตสังขารธรรมนั้น ขณะเมื่อบุรุษปรารถนาจะออกมาใหพนเพลิง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ก็เล็งดูทางที่จะออกนั้นเปรียบดังพระ


- 130 โยคาพจรอันไดซึ่งมุญจิตุกามยตญาณ แลสังขารุเบกขาญาณแลวแลปรารถนาจะใหพนจากสังขาร คิดอานอุบายจะไปใหพนจากสังขารมิไดเอื้อเฟออาลัยรักใครในสังขารนั้น ขณะเมื่อบุรุษแลเห็นหนทางที่จะวิ่งวางออกไปไดนั้น อนุโลมชวนะ

เปรียบดังพระโยคาพจรอันไดซึ่ง

ขณะเมื่อบุรุษวิ่งควบออกมานั้น เปรียบดังพระโยคาพจรอันไดซึ่งมรรคญาณ ขณะเมื่อบุรุษออกพนออกจากจากเพลิงแลว แลยืนอยูในที่อันเพลิงไหมมิไดนั้น เปรียบดัง พระโยคาพจรอันไดซึ้งผลญาณ พระอรรถกถาจารยนําอุปมานี้มาสําแดงแลว ชักอุปมาอันอื่นมาเปรียบอีกเลา ยังมีบุรุษ ชาวนาผูหนึ่งไปไถนาในเพลากลางวัน แลวเพลาเย็นลงนั้นก็ตอนโคเขาคอก แลวบุรุษผูนั้นก็นอนหลับ ไปในเพลาราตรี เมื่อบุรุษนั้นนอนหลับแลว โคทั้งหลายก็แหกคอกออกได ปลายนาหนีไป “ปจฺจูส สม เย” เมื่อเพลาปจจุสมัยจะใกลรุง บุรุษผูนั้นตื่นขึ้นแลไปดูโคที่คอกมิไดเห็นวา โคหนีไปแลวชาย นั้นก็ตามรอยโคนั้นไป ตามไป ๆ เห็นโคของพระมหากษัตริยเขา ก็สําคัญวาเปนโคของตัวอาศัยดวย ยังขมุกขมัวอยู ชายคนนั้นก็ตอนโคของพระมหากษัตริยมา ครั้นสวางขึ้นมารูวามิใชโคของอาตมาเปน โคของพระมหากษัตริยตางหาก ก็มีความสะดุงตกใจวามิเปนการแลว อะไรอาตมานี้ตอนเอาโคของ พระมหากษัตริยมาที่เดียวนี่หรือ ถาเขาเห็นบัดเดี๋ยวนี้ เขาก็จะจับเอาอาตมาวาเปนผูรายแล ไมไดแลว จําจะหนีเอาตัวรอดอยาใหทันราชบุรุษจับได ถาเขาจับตัวแลวมิฉิบหายก็ตายนั้นแล จําจะหนีไปใหพน กอน ดําริฉะนี้แลว ชายผูนั้นก็ละทิ้งโคทั้งปวงเสีย ออกจากที่นั้นแลวก็วิ่งตะบึงไป เห็นวาไกลวาไกล พนภัยที่เขาจะจับจะกุมเอาเปนผูรายแลว ชายผูนั้นจึงยืนอยู “ยถา” อันนี้แลมีฉันใดเปรียบเหมือน พระโยคาพจรอันจําเริญพระวิปสสนาแลว แลไดซึ่งมรรคแลผล บุรุษเจาของโคนั้นเปรียบประดุจพระโยคาพจร โคนั้นเปรียบประดุจเบญจขันธ ขณะเมื่อบุรุษผูนั้นตอนโคของพระมหากษัตริยไป ดวยสําคัญวาเปนโคของตัว เหมือนพระโยคาพจรอันมีปญญายังออน ยังเห็นวาเปนอาตมาเปนของอาตมาอยู ขณะเมื่อบุรุษผูนั้นรูวามิใชโคของตัว เปนโคแหงพระมหากษัตริยตางหาก พระโยคาพจรพิจารณาเห็นสังขารธรรม โดยพระไตรลักษณ

เปรียบ

เปรียบประดุจ

ขณะเมื่อบุรุษมีความสะดุงตกใจกลัวเขาจะจับจะกุม เอาเปนผูรายนั้นเปรียบประดุจดังพระ โยคาพจรอันไดซึ่งภยตูปฏฐานญาณ แลัวแตสังขารธรรมทั้งปวง ขณะเมื่อบุรุษปรารถนาจะไปใหพนเขาจับนั้น เปรียบประดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งมุญจิตุ กามตญาณ คือปญญาอันปรารถนาจะไปใหพนจากสังขารธรรม ขณะเมื่อบุรุษละโคเสียปรารภเพื่อจะวิ่งหนีเอาตัวรอดนั้น โคตรภูชวนะ

เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่ง

ขณะเมื่อเจาของโควิ่งตะบึงไปจะใหพนภัยนั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งมรรคญาณ ขณะเมื่อชายคนนั้นไปยืนอยูในที่ไกลพนภัยนั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งผลญาณ พระอรรถกถาจารยนําอุปมานี้มาสําแดงแลว ๆ นําอุปมาอื่นมาสําแดงอีกเลา วายังมีบุรุษผู หนึ่งสมัครสังวาสกับดวยนางยักขินีดวยสําคัญวาเปนหญิงมนุษย มิไดรูวาเปนนางยักขินีนอนอยู

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 131 ดวยกันในราตรี ยักขินีผูนั้นสําคัญวาชายผูนั้นหลับแลว ก็ไปสูปาชาผีดิบไปกินซากอสุภแหงมนุษย บุรุษผูนั้นเห็นนางยักขินีลุกหนีไป ก็มีความสงสัยวาภริยาของอาตมานี้ไปไหนหนอ ลุกขึ้นติดตาม สะกดรอยออกไปก็เห็นภริยาไปกินซากผีอยูที่ปาชา ก็รูวาภริยานั้นเปนยักขินีครั้นรูแลวก็มีความสะดุง ตกใจกลัวนั้นนักหนา วาอะไรนี่หนออาตมาไมรูเลยวาหญิงนี้เปนยักขินี สําคัญเอาเปนดิบเปนดีวาหญิง มนุษยอยูสมัครสังวาสแลวกับมันมิเปนการแลว นานไปเบื้องหนามันจะกินอาตมาเสีย อาตมาจะอยูไป กับมันนี้มิได จําจะหนีไปใหพนเถิด ดําริฉะนี้แลวชายนั้นก็บายหนาออกจากสถานที่นั้น วิ่งหนีไปดวย เร็วพลันไปถึงที่อันนางยักขินีนั้นจะตามเอาตัวมิไดแลวก็อยูในที่อันนั้น “ยถา” อันนี้แลมีอุปมาฉันใด อุปไมยดังพระโยคาพจร อันจําเริญพระวิปสสนาไดแกกลาแลว แลกระทําใหแจงซึ่งมรรคแลผล บุรุษนั้นเปรียบดุจพระโยคาพจร ยักขินีนั้นเปรียบประดุจเบญจขันธ ขณะเมื่อบุรุษสมัครสังวาสกับนางยักษ รักใครนางยักษ ดวยสําคัญสัญญาวาภริยาของของ ตนนั้น เปรียบประดุจพระโยคาพจรเมื่อยังเปนพาลปุถุชนอยูยังลุมหลงรักใครในเบญจขันธ สําคัญวา เปนตัวเปนตนวาเปนของอาตมา ขณะเมื่อบุรุษเห็นภริยาไปกินซากอสุภอยูที่ปาชานั้น แลรูวาเปนยักขินีนั้น เปรียบประดุจพระ โยคาพจร เมื่อมีปญญาพิจารณาเห็นสังขารธรรมโดยอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ขณะเมื่อบุรุษสะดุงตกใจกลัวแตภัย อันจะบังเกิดโดยยักขินีไปนั้น เปรียบประดุจโยคาพจร อันไดซึ่งภยตูปฏฐานญาณ ขณะเมื่อบุรุษปรารถนาจะหนีนางยักขินีไปนั้น เปรียบดุจโยคาพจรอันไดมุญจิตุกามยตญาณ คือปญญาอันปรารถนาจะไปใหพนจากสังขารธรรม ขณะเมื่อบุรุษละเสียซึ่งนางยักขินีที่ในปาชา โยคาพจรอันไดซึ่งโคตรภูชวนะ

แลบายหนาจะเลนหนีไปนั้น

เปรียบดุจ

ขณะเมื่อบุรุษเลนหนียักขินีไปดวยเร็วพลันนั้น เปรียบดุจโยคาพจรอันไดซึ่งมรรคญาณ ขณะเมื่อบุรุษหนีไปอยูที่อันยักขินีติดตามไปมิไดนั้น

เปรียบเหมือนโยคาพจรอันไดซึ่งผล

ญาณ พระอรรถกถาจารยชักอุปมาอันนี้มาสําแดงแลว จึงชักอุปมาอันอื่นมาสําแดงอีกเลาวา “เอกา อิตฺถี” ยังมีสตรีผูหนึ่งกําหนัดในลูก รักลูกนั้นรักนักที่เดียว วันหนึ่งสตรีผูนั้นขึ้นไป อยูเบื้องบนปราสาท ไดยินเสียงทารกรองไหที่กลางถนนสําคัญวาลูกของตน ผลุดลุกขึ้นไดก็เลนลง มาจากปราสาทรองวาใครทําอะไรแกลูกขา วิ่งลงมาครั้นถึงก็เขาเอาทารกผูนั้นอุมสําคัญวาลูกของตน ตอแลดูหนาจึงรูวาเปนลูกของคนอื่น ก็มีความละอายมาดําริวา อนิจจา ๆ อาตมานี้สําคัญผิดแลว นี่ลูก เขาอื่นนี่หรือ ชางหลงอุมไดเปนดินเปนดี ถาเจาพอเจาแมเขาเห็น เขาจะวาอาตมานี้ลักลูกของเขา บังเกิดความละอายแลดูซายแลดูขวาแลวก็วางทารกนั้นลงไว กลับขึ้นไปสูปราสาทดวยเร็วพลัน ไป นั่งอยูบนปราสาท “ยถา” อันนี้แลมีฉันใดสตรีนั้นอุปไมยดังพระโยคาพจร ทารกนั้นเปรียบประดุจ เบญจขันธ เมื่อสตรีสําคัญวาทารกเปนลูกของตัวแลอุมขึ้นนั้น ปุถุชนอยู ยังสําคัญในเบญขันธวาเปนอาตมาเปนของอาตมา

เปรียบดุจโยคาพจรเมื่อยังเปนพาล

ขณะเมื่อสตรีมีความละอายกลัวเขาจะวาลักลูกเขานั้น เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งภย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 132 ตูปฏฐานญาณ ขณะเมื่อสตรีปรารถนาจะวางทารกลงนั้น แลเหลี่ยวดูซายแลขวานั้น มีครุวนาดุจโยคาพจร อันไดซึ่งมุญจิตุกามยตญาณ ขณะเมื่อสตรีวางทารกลงนั้น เปรียบดุจโยคาพจรอันไดซึ่งอนุโลมชวนะ ขณะเมื่อสตรีปรารภที่จะขึ้นไปสูปราสาทนั้น เปรียบดุจโยคาพจรอันไดซึ่งโคตรภูชวนะ เมื่อสตรีขึ้นสูปราสาท เปรียบดุจพระโยคาพจรอันไดซึ่งอริยมรรคญาณ ขณะเมื่อสตรีขึ้นไปนั่งอยูบนปราสาทนั้น เปรียบดุจโยคาพจรอันไดซึ่งผลญาณ จบปฏิทาญาณทัสสวิสุทธิทิเทศ ปริจเฉทคํารบ ๒๑ เทานี้ “อิโต ปรฺ โคตฺรภูญาณํ โหติ ตํ มคฺคสฺส อาวชฺชนฏานิ ยตฺตาเนว ปฏิปทาญาณทสฺ สนวิสุทฺธิ น ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ ภชฺชติ อนฺตจา อพฺโกหาริกเมว โหติ วิปสฺสนา โสเตปติตตฺตา ปน วิปสฺสนาติ สงฺขยํ คจฺฉติ” จักวินิจฉัยในปริจเฉทเปนคํารบ ๒๒ ชื่อวา ญาณทัสสนวิสุทธินิเทศเปนลําดับแหงปฏิทา ญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ ตามวาระพระบาลีมีตนวา “อิโต ปรํ โคตฺรภูญาณํ โหติ” แปลเนื้อความวา เมื่ออนุโลมญาณดับแลว เบื้องหนาแตนั้นโคตรภูญาณก็บังเกิดแลโคตรภูญาณนั้น จะนับเขาวาเปน องคปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิก็หาบมิได จะนับเขาวาเปนญาณทัสสนวิสุทธิก็หาบมิได เหตุตั้งอยูในที่ เปนอาวัชชนะแหงมรรคญาณ ตกอยูในระหวางกลาง ควรจะนับเขาไดแตเพียงชื่อวาวิปสสนา เพราะ เหตุวาตกลงในกระแสแหงพระวิปสสนาติดพนเนื่องกันมา ญาณอันประเพฤติเปนไปในมรรคทั้ง ๔ คือ พระโสดาปตติมรรค ๑ พระสกทาคามิมรรค ๑ พระอนาคามิมรรค ๑ พระอรหัตตมรรค ๑ ญาณอัน เปนไปในมรรคทั้ง ๔ นี้ชื่อวาญาณทัสสนวิสุทธิดวยอรรถวารูวาเห็นซึ่งพระจตุราริยสัจจ แลบริสุทธิ์จาก ราคาทิกิเลส ล้ําพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ นั้น จะพรรณนาแตพระโสดาปตติมรรคญาณเปนปฐมนั้น กอน เมื่อพระโยคาพจรยังพระโสดาปตติมรรคญาณใหสําเร็จนั้นเลา กิจอันใดที่ควรจะพึงกระทําเมื่อ พระโยคาพจรเจายังพระวิปสสนาโดยลําดับตราบเทาถึงอนุโลมญาณ เปนที่สุดใหบังเกิดก็เปนอัน สําเร็จกิจทั้งปวงนั้น ใจความวา เมื่ออนุโลมญาณเกิดสามขณะ กําจัดเสียซึ่งกองมืดโมหันธการ กิเลสอยาง หยาบแลหยาบอันปกปดปญญาบมิไดเห็นพระจตุราริยสัจจใหอันตรธานไปโดยสมควรแกกําลังอาตมา แลว จิตแหงพระโยคาพจรนั้น ก็บันดาลกลับจากสังขารธรรมทั้งปวง มิไดของอยูในภพสังขารปานดุจ หนึ่งวาตอมน้ํา อันกลมกลิ้งไปจากใบบัวอันวาสังขารธรรมทั้งปวงก็ปรากฏเห็นโดยกังวลดังนี้แลว อัน วาโคตรภูญาณเมื่อกระทําพระนิพพานเปนอารมณ ขมเสียซึ่งปุถุชนโคตรแลจะใหถึงซึ่งพระอริยโคตร คือ อริยภูมิแลโคตรภูญาณนี้บังเกิดเปนปฐมาวัชชนะ คือแรกพิจารณาเล็งเห็นพระอมตมหานิพพานแล ใหสําเร็จซึ่งสภาวะเปนปจจัยแกพระอริยมรรคดวยอาการ ๖ คือ เปนอนันตรปจจัย สมนันตรปจจัย แล อาเสวนปจจัย อุปนิสยปจจัย นัตถิปจจัย วิคตปจจัยแลเปนที่สุดยอดแหงพระวิปสสนา บังเกิดในที่สุด แหงอนุโลมญาณอันมีอาเสวนะเนือง ๆ นั้น จึงมีคําอุปมาสาธกสําแดงอาการอันประพฤติเปนไปในอารมณตาง ๆ แหงอนุโลมญาณแล โคตรภูญาณทั้งหลาย อันเปนไปในชวนวาระวิถีอันเดียวกัน คําอุปมาวา ยังมีบุรุษผูหนึ่งมีความ ปรารถนาเพื่อจะโดดขามเหมืองอันใหญ แลวจะไปประดิษฐานยังฝงฟากโนน บุรุษนั้นก็เลนไปดวย กําลังอันเร็ว แลวก็ยึดหนวงเอาซึ่งเชือกก็ดี ซึ่งไมเสาก็ดีอันผูกหอยไวในกิ่งไมแลวก็หอยโหนโนมไป ครั้นถึงที่ตรงเบื้องบนฝงฟากโพนแลว ก็ยังมิไดละวางเชือกแลไมเสาเสียจากกร ก็คอยหนวงตัวลง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 133 ประดิษฐานยังฝงฟากโพน มีสกลกายกําเริบหวั่นไหวยังบมิตั้งตัวไดเปนอันดี จะมีอุปมาดุจใด อันวา พระโยคาพจรนี้ปรารถนาจะเอาาจิตไปประดิษฐานในพระอมตนิพพาน อันเปนฝงฟากโพนแหงภพ สงสารนี้ก็เปนไปดวยกําลังอันเร็ว กลาวคือพระวิปสสนามีอุทยัพพยญาณเปนอาทิ ก็ยึดหนวงเอาเชือก กลาวคือรูปขันธก็ดีซึ่งไมเสากลาวคืออรูปขันธ มีเวทนาเปนอาทิอันใดอันหนึ่งก็ดีอันผูกหอยอยูในกิ่ง ไม กลาวคืออาตมาภาพดวยกายคืออนุโลมญาณอันพิจารณาพระไตรลักษณมีอนิจจังเปนอาทิแลว ก็ ยังมิไดละเสียซึ่งเชือกแลไมเสา กลาวคือรูปเวทนาเปนอาทินั้น ก็หอยโหนแกวงกายไปดวยอนุโลมชวนะเปนปฐมแลว ก็มี จิตนอมไปสูพระนิพพานดวยอนุโลมญาณเปนคํารบ ๒ ดุจบุรุษมีกายอันนอมลงในฝงฟากโพนแหง เมืองใหญ พระโยคาพจรก็มีจิตใกลพระนิเพานอันควรจะพึงถึงในปจจุบันขณะดวยอนุโลมชวนะเปนคํา รบ ๓ เปรียบดุจบุรุษมีการอันซึ่งเบื้องบนฝงฟากโพนแหงเหมืองใหญ พระโยคาพจรก็มิละเสียซึ่ง อารมณ คือสังขารมีรูปเปนอาทิ ดวยกิริยาที่ดับอนุโลมจิตเปนคํารบ ๓ แลว ก็มีสันดานตกไปในพระ นิพพาน อันเปนฝงฟากโพนแหงสรรพสังสาร ดวยโคตรภูญาณก็ยังไปบมิไดประดิษฐานเปนอันดี ดุจ หนึ่งบุรุษมีสรีระกายอันหวั่นไหว อาศัยเหตุโคตรภูญาณหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณขณะเดียว ยังหาอาเสวนปจจัยรวมอารมณกันบมิได โคตรภูจิตดับแลว ลําดับนั้นพระอริยมรรคญาณจึงบังเกิด พระโยคาพจรเจาก็ไดชื่อวาประดิษฐานเปนอันดีในพระนิพพานดวยอริยมรรคนั้น ล้ําอนุโลมญาณและ โคตรภูญาณอันบังเกิดในบุรพภาคแหงพระอริยมรรคนั้น อนุโลมญาณเปนพนักงานอาจจะบรรเทาเสีย ซึ่งโมหันธการกองกิเลสอันปกปดไวซึ่งพระจตุราริยสัจจ แตทวาบมิอาจเพื่อกระทําซึ่งพระนิพพานเปน อารมณได ฝายโคตรภูญาณอาจเพื่อจะบรรเทาเสียซึ่งมืดคือ กิเลสอันปกปดซึ่งพระจตุราริยสัจจ นั้น ได “ตตฺรายํ อุปมา” มีขอความอุปมาสาธกใหเห็นวา อนุโลมฌาณกับโคตรภูญาณมีกิจ ตางกัน “เอโก จกฺขุมา ปุริโส” ยังมีบุรุษผูหนึ่งมีจักขุบริบูรณปรารถนาจะใครแลดูดวง พระ จันทรมณฑลอันกอปรดวยนักขัตตฤกษ ออกมาสูที่แจงในราตรีภาค เงยพักตรเล็งแลดู ณ เบื้องบน พระจันทรมณฑลก็บมิไดปรากฏเหตุเมฆพลาหกปดไวหลายชั้น ในขณะนั้นจึงเกิดมีลมจําพวกหนึ่งพัด เพิกพื้นเมฆอันหยาบใหเกลื่อน ลมจําพวกหนึ่งจึงพัดอีกเลา กําจัดพื้นเมฆที่เปนอยางกลางใหเปลื้อง ไป ลมจําพวกหนึ่ง จึงพัดขจัดพื้นเมฆอยางละเอียดใหเกลื่อนหายพื้นนภาลัยก็บริสุทธิ์ บุรุษผูนั้นแล เห็นดวงจันทรอันแจมจาจึงรูวาพระจันทรกอปรดวยนักขัตตฤกษนั้น ๆ แลกองกิเลสอยางหยาบอยาง กลางอยางละเอียดนั้น เปรียบดุจหนึ่งเมฆทั้งสามชั้นอนุโลมจิตเกิดสามขณะเปรียบดุจหนึ่งลมสาม จําพวก โคตรภูญาณนั้นเปรียบตอบุรุษบริบูรณพระอมตนิพพานเปรียบดังดวงพระจันทร แลกิริยาอันอนุโลมจิตทั้งสามขจัดเสียซึ่งกองมืด คือกิเลสอันปกปดพระจตุราริยสัจจนั้น เปรียบดุจหนึ่งลมสามจําพวก อันพัดพลาหกใหเกลื่อนไปโดยอนุกรมลําดับ เมื่อแลกองมืดคือกิเลสอัน ปกปดพระอริยสัจจขจัดแลว แลโคตรภูญาณก็ทัศนาการเห็นพระนิพพานเปรียบอาการดุจหนึ่งบุรุษเห็น พระจันทรมณฑล อันบริสุทธิ์ในพื้นนภางคประเทศ อันมีพื้นพลาหกอันตรธานไปแลวนั้น แทจริงพระ อนุโลมญาณทั้งสามขณะ อาจเพื่อจะบรรเทาซึ่งกองมืดปดปงพระอริยสัจจแลมิอาจเพื่อจะเห็นพระ นิพพาน เปรียบดุจหนึ่งลมสามจําพวกอันสามารถจะกําจัดพื้นพลาหก อันปกปดซึ่งดวงพระจันทรให เกลื่อนไป แลมิอาจเพื่อจะสําเร็จกิจคือเห็นพระนิพพานสิ่งเดียว มิอาจเพื่อจะบรรเทาเสียซึ่งกิเลส ดุจ หนึ่งบุรุษอาจเพื่อจะเล็งจะเเลซึ่งดวงพระจันทร แลมิอาจกําจัดเสียซึ่งเมฆพลาหกใหอันตรธานได เหตุ ใดเหตุดังนั้น อันวาโคตรภูญาณนั้นแมวามิไดเปนอาวัชชกิจก็ดี แตทวาตั้งอยูที่อาวัชชนะพิจารณาเห็น พระนิพพานมีอาการดุจหนึ่งจะใหสําคัญแกพระอริยมรรค วาทานจะบังเกิดดวยอาการดังนี้แลว ก็ดับไป ฝายพระอริยมรรคญาณก็บมิไดละซึ่งสําคัญ อันโคตรภูญาณนั้นใหก็บังเกิดเปนอนุพันธเนื่องตามซึ่ง โคตรภูญาณ ดวยสามารถระหวางมิไดปรากฏ ก็ทําลายลางซึ่งกองกิเลสคือ โลภะ โทสะ โมหะ อัน มิไดเคยทําลายแตกอนใหขาดเปนสมุจเฉทปหานโดยอันควรแกกําลัง “ตตฺรายํ

อุปมา”

จึงมีคําอุปมาวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ยังมีนายขมังธนูผูหนึ่งปรารภเพื่อจะสําแดงซึ่งศิลป


- 134 ศาสตร จึงยังบุคคลใหตั้งไวซึ่งแผนกระดานแลวดายไมแกนประดูไดรอยชั้น ในประเทศที่ไกล ประมาณ ๘ อุสุภ แลวจึงเอาผาพันพักตรแลวก็สอดใสลูกปน พาดสายใหมั่นกับคันธนูแลวก็ยืนเบื้อง บนจักรยนต อันมีอาการเหมือนจักรแหงนายชางหมอ จึงมีบุรุษผูหนึ่งชวยผัดผันจักรยนตนั้นใหเวียน ไป แลนายขมังธนูนั้นมีปลายปนเฉพาะหนสูแผนกระดาน ไดรอยชั้นแลวกาลใดบุรุษผูอื่นนั้นก็ตีไมให สําคัญในกาลนั้น ฝายนายขมังธนูก็มิไดละเสียซึ่งสําคัญตีไมนั้นแลว ก็ปลอยลูปปนไปตองแผน กระดานทั้งรอยชั้นนั้นแตกขะจัดขะจายทําลายลง แลพระโคตรภูญาณนั้นเปรียบดุจหนึ่งสําคัญคือตีไม พระอริยมรรคญาณเปรียบดุจหนึ่งนายขมังธนูกิริยาที่พระอริยมรรคมิไดละเสียซึ่งสําคัญอันโคตรภู ญาณใหเห็นแลว แลกระทําพระนิพพานเปนอารมณ จึงทําลายเสียซึ่งกองกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ อันยังบมิทําลายแตกอนนั้น เปรียบประดุจหนึ่งนายขมังธนูบมิไดละเสียซึ่งสําคัญเสียงตีไมนั้น แลวแลวางปนไปตองแผนกระดานรอยชั้นแตกทําลายลงนั้น “น เกวลฺจ” แลพระอริยมรรคนั้นจะสําเร็จกิจแตทําลายกองกิเลสมีโลภเปนอาทิแต เทานั้นหามิได พระอริยมรรคนั้นใหสําเร็จกิจเปนอันมาก คือยังหวงสมุทรสาคร กลาวคือสังสารวัฏฏ ทุกข อันหาที่สุดเบื้องบนบมิไดใหเหือดแหง แลหับประตูจตุราบายภูมิทั้ง ๔ แลกระทําซึ่งอริยทรัพย ๗ ประการใหเฉพาะหนา แลละเสียซึ่งหนทางผิด คือมิจาฉาทิฏฐิเปนอาทิแลระงับเสียซึ่งเวรภัยทั้ง ปวง แลวก็นอมอาตมาแหงพระโยคาพจรเจานั้นใหถึงซึ่งสภาวะเปนเปนบุตร อันเกิดแตพระอุระของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาแลวก็ประพฤติเปนไปเพื่อจะใหไดผลานิสงสอื่นอีก เปนเอนกอนันตจะนับ บมิได “เอวํ อเนกานิสํสทายเกน” อันวาญาณอันสัมปยุตดวยพระโสดาปตติมรรค อันมีปกติให ถึงซึ่งอานิสงสเปนอันมากดุจกลาวมานี้แลชื่อวาโสดาปตติมรรคญาณเปนปฐม ครั้นโสดาปตติมรรคญาณเกิดขณะจิตเดียวดับแลว ลําดับนั้นพระโสดาปตติผลจิต อันเปน ผลวิบากแหงโสดาปตติมรรคนั้นก็บังเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะ โดยอันควรแกทันธาภิญญาแลขิปปาภิญญา อธิบายวาอนุโลมเกิด ๒ ขณะ ชวนะจิตเปนคํารบ ๓ ชื่อวาโคตรภูวชนะจิตเปนคํารบ ๔ เปน พระโสดาปตติมรรคพระโสมดาปตติผล จิตเกิด ๓ ขณะ พอครบชวนะจิต ๗ ขณะ ในชวนะวารวิถี อันหนึ่งดังนี้ไดชื่อวาขิปปาภิญญา ถาแลอนุโลมญาณเกิด ๓ ขณะ ชวนะโคตรภูจิตก็เปนคํารบ ๔ พระโสดาปตติมรรคเกิดเปน คํารบ ๕ พระโสดาปตติผลชวนะเกิด ๒ ขณะก็ครบชวนะจิต ๗ ขณะดังนี้ ชื่อวาทันธาภิญญา เมื่อพระอริยผลเกิดในลําดับแหงพระโสดาปตติมรรคดังนี้ แลวพระโยคาพจรเจานั้นก็ไดชื่อ วาโสดาบัน เปนอริยสาวกคํารบ ๒ แมวามีพระวิปสสนาปญญายังออนตกอยูขางประมาท ก็เที่ยวทอง เอาปฏิสนธิกําเนิดอยูในเทวโลกแลมนุษยโลก ๗ ชาติ ก็อาจเพื่อจะกระทําใหสิ้นแหงทุกข คือจะได ซึ่งพระอรหัตตเปนคํารบ ๗ นั้น ผลปริโยสาเน ครั้นพระโสดาปตติมผลเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะแลว จิต แหงพระโยมคาพจรเจานั้นก็จะลงสูภวังคลําดับนั้นจึงมโนทวาราวัชชนจิตตัดกระแสภวังค บังเกิดขึ้น เพื่อประโยชนจะพิจารณาซึ่งพระอริยมรรคแลวก็ดับไป ลําดับนั้นจึงกามาพจรชวนะจิต อันกอปรดวย ญาณเกิด ๗ ขณะ พิจารณาพระอริยมรรควา อาตมามาสูอริยภูมิโดยหนทางนี้แลวก็ลงสูภวังคมโนทวา วัชชนะตัดกระแสภวังคแลกามาพจรญาณสัมปยุตชวนะจิตเกิดอีก ๗ ขณะ พิจารณาพระอริยผลแล พิจารณาพระนิพพานพิจารณากองกิเลสที่ละเสีย แลพิจารณากองกิเลสอันเหลืออยูเปนสวนที่พระ อริยมรรคเบื้องบน จะพึงละเปนปจจเวกขณะชวนะวารหาชวนะวิถีดวยกัน พระสกทาคามิบุคคลแลพระอนาคามิบุคคล ก็มีปจเวกขณะชวนะวาระละ ๕ ๆ เหมือนกัน แตพระขีณาสวะจําพวกเดียว ก็มีปจจเวกขณะชวนวารแต ๔ คือ พิจารณามัคควาร ๑ พิจารณาพลวาร ๑ พิจารณาพระนิพพานวาร ๑ พิจารณากิเลสที่มละเสียวาร ๑ เปนคํารบ ๑ ลดวารที่

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 135 จะพิจารณาซึ่งกิเลสจึงคงแต ๔ วาร ปจจเวกขณะแหงพระโสดาบันบุคคล ๓ จําพวก ๆ ละ ๕ เปนปจจเวกขณะวาร ๑๔ แหง พระขีณาสพ ๕ วาร เขากันเปนปจจเวกขณะวาร ๑๙ อันนี้วาโดยอุกฤษฏ สงเคราะหเอาซึ่งปจจเวก ขณะวาร อันเต็มบริบูรณจึงเต็ม ๑๙ พระเสขบุคคลเจาบางพระองคบมิไดพิจารณากิเลสอันละเสีย แล บมิไดพิจารณากิเลสอันเหลืออยูในสันดานก็มีบาง อาศัยเหตุบมิไดพิจารณาดังนี้ จึงทาวมหานาม สากยราชทูลถาม สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาวากิเลสธรรมดาฤๅซึ่งมีอยูภายในสันดาน อันขาพระองค บมิไดละเสีย โลภะ โทสะ โมหะ จึงยังจิตแหงขาพระองคใหฟุงซานในกาลบางคาบฉะนี้ เพราะ ธรรมดาดังฤๅ เนื้อความพิสดารอยุในจุฬทุกขักขันธสูตร มัชฌิกนิกายมูลปณณาสกโนน “เอวํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ปน โสตาปนฺโน อริยสาวโก” พระอริยสาวกเจาผูถึงซึ่งพระโสดา เมื่อพิจารณาดวยประการดังนี้แลว บางพระองคก็นั่งอยูเหนืออาสนะนั้นแทจริง ก็กระทําความเพียร สืบไป เพื่อจะยังกามราคะพยาบาทอันบาปใหเบาบาง ละจะไดถึงซึ่งพระโลกุตตรภูมิเปนคํารบ ๒ บาง พระองคก็อยูจําเนียรภายภาคหนาจึงคอยกระทําเพียรก็ดี เมื่อกระทําเพียรนั้นก็พิจารณาสังขารธรรม อันมีประเภท คือ แลเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ดวยพระไตรลักษณญาณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หยั่งลงสูวิถีทางพระวิปสสนา เมื่อปฏิบัติไปฉะนี้ถึงที่สุดสังขารุเบกขาญาณแลว จะขึ้นสูมรรค วิถีจึงจะมีอาวัชชนะตัดกระแสภวังคแลว อนุโลมจิตเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะแลว โคตรภูญาณบังเกิด พระ สกทาคามิมรรคก็บังเกิดในลําดับแหงโคตรภูญาณนั้น ญาณอันสัมปยุตดวยพระสกทาคมิมรรคจิตนั้น แลไดชื่อวาสกทาคามิมรรคญาณเปนคํารบ ๒ พระสกทาคามิมรรคเกิดขณะจิต ๑ สําเร็จกิจกระทําซึ่ง กามราคพยาบาทอันหยาบใหเบาบางแลวดับลง ลําดับนั้นพระสกทาคามิผลจิตก็บังเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะโดยนัยดุจกลาวแลวพระโยาคาพจรเจานั้น ก็ไดชื่อวาพระอริยบุคคลเปนคํารบ ๔ ชื่อวาพระสกทา คามิบุคคล อธิบายวา ถายังบมิไดมรรคแลผลเบื้องบนในชาตินั้น จะจุติจากมนุษยโลกนี้แลวจะบังเกิด ในกามพจรเทวโลก จุติจากเทวโลกแลวจะกลับมาเอาปฏิสนธิในมนุษยโลกนี้อีกคราวหนึ่ง จึงจะสําเร็จ แกพระอรหัตตสิ้นสังขารทุกขทั้งปวง เมื่อพระสกทาคามิผลจิตเกิดแลว เบื้องหนาแตนั้นไปก็มีปจจเวกขณะวารพิจารณามรรค เปนอาทิ ดุจนัยดังกลาวมาแลว “เอวํ ปจฺจเวกฺ ขิตฺวา” พระอริยสาวกชื่อวาสกทาคามี เมื่อพิจารณา ปจจเวกขณะญาณดังนี้แลว นั่งอยูเหนืออาสนะนั้นแทจริง ก็กระทําความเพียรสืบตอไป เพื่อจะมละเสีย ซึ่งกามราคพยาบาทใหหาเศษเหลือบมิได และจะใหถึงซึ่งพระโลกุตตรภูมิเปนคํารบ ๓ บางพระองคก็ยับยั่งอยู จําเนียรภายภาคหนาจึงกระทําความเพียรสืบตอไปก็ดี เมื่อการ กระทําความเพียรนั้นก็พิจารณาสังขารธรรมดวยพระไตรลักษณ คือ อนัจจิง ทุกขัง อนัตตา หยั่งลงสู วิถีทางลําดับแหงพระวิสสนาปฏิบัติไปฉะนี้ ครั้นถึงที่สุดสังขารุเบกขาญาณแลว มโนทวาราวัชชนะตัด ก็กระแสภวังค อนุโลมโคตรภูญาณก็บังเกิดเปนลําดับกัน พระอนาคามิมรรคก็บังเกิดในลําดับแหง โคตรภู ใหสําเร็จกิจอันมละเสียซึ่งกามราคาพายบาทอันหาเศษบมิได ญาณอันสัมปยุตดวยพระ อนาคามิมรรคนั้นแล ไดชื่อวาอนาคามิมรรคญาณเปนคํารบ ๓ ครั้ง พระนาคามิมรรคผลจิตก็บังเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะ พระโยคาพจรเจานั้นก็เปนพระอริยบุคคลคํารบ ๖ ชื่อวาอนาคามีบุคคล อธิบายวา ถายังมิไดพระอรหัตตในชาตินั้น ครั้นจุติจากชาตินั้นแลวก็จะไดบังเกิดใน สุทธาวาส จักมิไดกลับมาเอาปฏิสนธิในกามโลกนี้เลยก็จะสําเร็จแกพระอรหัตตนิพพานในสุทธาวาส เมื่อพระอนาคามีผลผลดับแลวจิตแหงพระโยคาพจรเจานั้นก็ลงสูภวังคอาวัชชนะจิต ก็ตัดกระแสภวังค ขึ้นสูวิธีปจจเวกขณะชวนะวารพิจารณา พระอริยมรรคเปนอาทิ ดุจนัยดังกลาวแลว “เอวํ ปจฺจเวกฺขิตฺ วา” พระอนาคามีอริยสาวกเจา เมื่อพิจารณาดังนี้แลว บางองคก็นั่งอยูเหนืออาสนะนั้นแทจริง กระทํา ความเพียรสืบตอไป เพื่อจะมละเสียซึ่งสังโยชน ๕ ประการคือ รูปราคอันยินดีที่จะบังเกิดในรูปภพ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 136 คือ รูปราคอันยินดีที่จะบังเกิดในอรูปภพ ๑ คือ มานะ ๑ อุทธัจจะ ๑ อวิชชา ๑ ใหหาเศษมิได แลจะ ใหถึงซึ่งโลกุตตรภูมิเปนคํารบ ๔ คือพระอรหัตตมรรค บางพระองคก็ยับยั้งอยูจําเนียรนานไปภายภาคหนา จึงปรารถนากระทําเพียรตอไปก็มี พระ อนาคามีอริยสาวกเจานั้น เมื่อกระทําเพียรก็พิจารณาสังขารธรรมดวยปญญา อันประกอบดวยพระไตร ลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หยั่งลงสูพระวิปสสนาวิถีโดยลําดับตราบเทาที่สุดแหงสังขา รุเบกขาญาณแลว ในเมื่ออนุโลมโคตรภูญาณทั้งหลายเกิดดวยอาวัชชนะวารอันหนึ่งแลว ลําดับนั้น พระอรหัตตมรรคก็บังเกิดขึ้นขณะจิต ๑ ละเสียซึ่งสังโยชน ๕ ประการ ดวยสมุจเฉทปหานแลวก็ดับไป ญาณอันสัมปยุตดวยพระอรหัตตมรรคนั้นก็ไดชื่อวา พระอรหัตตมรรคญาณเปนคํารบ ๕ ลําดับนั้นพระ อรหัตตผลจิต ก็บังเกิดขึ้น ๒ ขณะ ๓ ขณะ พระโยคาพจรเจานั้นก็เปนองคพระอริยบุคคลคํารบ ๘ ชื่อ วาพระอรหันตมหาขีณาสพ ทรงชื่ออาตมาภาพเปนที่สุดเเหงสังขารทุกขแลมีภาระอันหนัก คือขันธแล กิเลสแลอภิสังขารอันปลงเสียแลวแลมีประโยชนแหงตนคือพระอรหัตตอันถึงแลว แลมีสังโยชนทั้ง ปวงอันประกอบสันดานไวในกําเนิดก็สิ้นแลว ก็พนจากสรรพกิเลสเหตุตรัสรูซึ่งอรรถแหงธรรมทั้งปวงมี ขันธเปนอาทิ ดวยโยนิโสมนสิการ แลเปนเนื้อนาบุญเขตควรเพื่อจะรับซึ่งทักขิณาทาน แลอัญชลีกรรม แหงสัตวโลกกับทั้งเทวดาโลกทั้งปวงหาสิ่งเสมอมิได ดวยบังเกิดแหงพระอรหัตตผลจิตมีประมาณ เทานั้น ญาณอันเปนไปในพระอริยมรรค มีพระโสดาปตติมรรคเปนตนมีพระอรหัตตผลมรรคเปน ปริโยสาน เปนญาณ ๔ ประการอันพระโยคาพจรพึงถึงโดยลําดับพรรณนามาฉะนี้แล ชื่อวาญาณทัส สนวิสุทธิ “อิทานิ อิมิสฺสาเยว จตุตฺญาณทสฺสนวิสุทฺธิยา อนุภาว วิชชานนตฺถํ” กาลบัดนี้ นักปราชญพึงรูวาสภาวะ ๓ ประการ คือ สภาวะแหงพระอริยมรรค มีพระโพธิปกขิยธรรมบริบูรณ ประการ ๑ คือกิริยาอันออกจากสังขารธรรม คือสังขารนิมิตแลสังขารปวัตติ แลประกอบดวยผลสอง ประการ ๑ คือพระอริยมรรคละเสียซึ่งธรรมอันจะพึงมละประการ ๑ คือกิจ ๔ มีปริญญากิจเปนตน ๑ เปนประการ “” วุตฺตานิ พระพุทธโฆษาจารยเจากลาวไว เพื่อจะใหโยคาพจรกุลบุตรรูซึ่งอานุภาพ แหงจตุตถญาณทัสสนวิสุทธินี้ โดยสภาวะควรแกมีในอภิสมัย กาลเมื่อตรัสรูซึ่งพระอริยมรรคนั้น “อิเม สตฺตตึส ธมฺมา” ธรรมทั้งหลาย ๓๗ คือ สติปฏฐาน ๔ คือสัมมัปปธาน ๔ คืออิทธิ บาท ๔ คืออินทรีย ๕ คือพละ ๕ คือ โพชฌงค ๗ คือพระอริยมรรคมีองค ๘ เปน ๓๗ ดวยกัน ชื่อวา พระโพธิปกขิยธรรม “ปกฺเข ภวนตา” เหตุตั้งอยูในสภาวะเปนคุณูปการแกพระอริยมรรคจิต อันไดนามบัญญัติ ชื่อวาโพธิ ดวยอรรถวาตรัสรู “เตสุ โพธิปกฺขิเยสุ” ล้ําพระโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการนั้นจะวาแตสติปฏฐานนั้นกอน “อุปฺปฏานํ” อันวาสติอันหยั่งลงเนือง ๆ ในอารมณมีรูปกายเปนอาทิแลว แลตั้งมั่น ชื่อ วาสติปฏฐาน มีประเภท ๔ ประการ “ปวตฺติโต” เหตุประพฤิตเปนไปดวยกิจอันถือเอาซึ่งอาการวาบมิงามในรูปกาย แลอาการ วาเปนทุกขในกองเวทนา แลอาการวาบมิเที่ยงในกองวิญญาณ แลอาการวาใชตนไมใชตนไมใชแกน สารในธรรมทั้งหลายมีนิวรณธรรมเปนอาทิในบุรพภาค แลใหสําเร็จปหานกิจอันมละเสียซึ่งวิปลาศ คือ สําคัญวางามเปนสุขวาเที่ยงวาตน ในขณะเมื่อเปนมรรคสติปฏฐาน เหตุดังนั้นจึงเปนพระสติปฏฐาน ๔ ประการ “ปธานํ” ความเพียรอันยุติในกายแลจิต ชื่อวาสัมมัปปธานดวยอรรถวางาม เหตุปราศจาก

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 137 สภาวะพึงเกลียดคือกิเลส แลอรรถวาเปนใหญเปนประธานใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ คือเพียรพยายามละเสียซึ่งอกุศลธรรม อันบังเกิดแลว ๑ คืออกุศลธรรมที่ยังมิไดบังเกิดก็เพียรบมิใหบังเกิดตอไปได ๑ คือเพียรใหบังเกิดแหงอกุศลธรรมอันยังบมิไดบังเกิด ๑ คือเพียรใหถาวรภิยโยภาพแหงกุศลธรรมอันบังเกิดแลว ๑ คือเพียรใหสําเร็จกิจ ๔ ประการดังนี้ จึงเปนสัมมัปปธาน ๔ ในพระอิทธิบาท ๔ นั้น “อิทฺธ”ิ แปลวาเปนเหตุจําเริญ แลถึงซึ่งสภาวะเปนอุกฤษฏ ไดแกพระโลกุตตรมรรคทั้ง ๔ ธรรมทั้งหลาย มีฉันทะเปนตน ชื่อวาอิทธิบาท ดวยอรรถวาเปนประธาน แลเปนเหตุจะใหไดซึ่งอิทธิ คือพระโลกุตตรมรรคแลพระอิทธิบาทนั้นมีประเภท ๔ ประการ คือ ฉันทิ ทธิบาท ๑ วิริยิทธิบาท ๑ จิตติทธิบาท ๑ วิมังสิทธิบาท ๑ พระโยคาพจรเจาเมื่อจําเริญภาวนากระทําซึ่งกุศลฉันทะ คือความปรารถนาจะเปนใหญเปน ประธานใหสําเร็จแกพระโลกุตตรมรรค แลฉันทะคือความปรารถนานั้น ไดชื่อวาฉันทิทธิบาท พระโยคาพจรเจากระทําซึ่งวิริยะเปนใหญเปนประธาน จึงสําเร็จแกพระโลกุตตรมรรค วิริยะ นั้นไดชื่อวาวิริยิทธิบาท พระโยคาพจรเจากระทําซึ่งกระทําจิตแลปญญาเปนใหญเปนประธาน ใหสําเร็จแกพระโล กุตตรมรรค จิตนั้นก็ไดชื่อวาจิตติทธิบาท ๔ ปญญานั้นไดชื่อวาวิมังสิทธิบาท แลพระอิทธิบาททั้ง ๔ มีฉันทะเปนอาทิดังกลาวมานี้ เปนพระโลกุตตรเเท ประการหนึ่ง ธรรมทั้งหลายมีผัสสะเปนอาทิ อันสัมปยุตดวยพระโลกุตตรมรรค อันพระ โยคาพจรไดดวยอํานาจแหงฉันทาธิบดีวิริยาธิบดี จิตตาธิบดี วิมังสาธิบดี ก็ไดชื่อวาอิทธิบาท ดวย อรรถวาเปนโกฏฐาส แหงอิทธิ อนึ่งธรรมทั้ง ๔ ประการมีฉันทะเปนอาทิ เมื่อเปนอิทธิบาทนั้นก็คงเปนอธิบดีดวย อัน ลักษณะอธิบดี จะมีพรอมกันทั้ง ๕ ในจิตตุปบาทอันเดียวกันหาบมิไดคงจะเปนแตสิ่งหนึ่ง คือฉันทะ เปนอิทธิบาทในจิต ตุปบาทใดแลวก็หาม วิริยิทธิบาท จิตติทธิบาท วิมังสิทธิบาทในจิตตุปบาทนั้น วิริยะเปนอิทธิบาทในจิตจิตตุปบาทอันใดแลว ก็เปนอันหาม ฉันทะ จิตตะ วิมังสา อิทธิบาท ในจิตตุป บาทนั้น จิตตะ แลวิมังสาก็ดี เปนอิทธิบาทในจิตตุปบาทอันใด ก็เปนอันหามอิทธิบาทอื่นในจิตตุป บาทนั้นคงเปนอิทธิบาทไดแตสิ่งเดียว จะเปนอิทธิบาทพรอมกันถึง ๒ ก็ดี, ๓ ก็ดี, ๔ ก็ดีในขณะจิต เดียวนั้นหาบมิไดเปรียบประดุจหนึ่งวา ราชกุมาร ๔ พระองคอันอยูในราชสมบัติอันเดียว จะครองราช สมบัติเปนใหญพรอมกันในกาลเดียวทั้ง ๔ พระองคนั้นหาบมิได คงจะเปนอธิบดีอิสรภาพพรอม ครอบครองสมบัติแตพระองค ๑ พระราชกุมาร ๓ พระองคนั้นก็เปนผูอุปถัมภก็ชวยใหสําเร็จกิจราชการ และพระอิทธิบาททั้ง ๔ นี้ก็มีอาการเหมือนกันดังนั้น อินทรีย ๕ คือสัทธินทรีย ๑ คือวิยินทรีย ๑ คือสตินทรีย ๑ คือสมาธินทรีย ๑ คือปญญินท รีย ๑ เปน ๕ ประการดวยกัน สัทธาเจตสิกใหสําเร็จ เปนใหญในสัมปยุตธรรม ดวยสภาวะครอบงําซึ่งมิจฉาวิโมกข คือ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 138 ความเลื่อมใสหยั่งลงในที่ผิดจึงไดชื่อวาสัทธินทรีย วิริยเจตสิกนี้สําเร็จกิจเปนใหญในที่จะครอบงําเสีย ซึ่งโกสัชชะปกษ คือกุศลจิตตุปบาท มีถีนมิทธะเปนประธาน จึงไดชื่อวา วิริยินทรีย เจกสิกใหสําเร็จกิจเปนใหญในที่จะครอบงําเสีย ประมาทหลงลืมแลมีสติ จึงไดชื่อวาสตินทรีย

ซึ่งอกุศลธรรมอันประพฤติเปนไปดวย

เอกัคคตาเจตสิกใหสําเร็จเปนใหญ ในที่จะครอบงําอกุศล อันเปนฝกฝายใหฟุงซาน คือ อุทธัจจะ จึงไดชื่อวาสมาธินทรีย  ปญญาเจตสิกใหสําเร็จเปนใหญ ในสัปปยุตธรรมดวยสภาวะครอบงําเสียซึ่งความหลง จึง ไดชื่อวาปญญินทรีย ก็มีดวยประการฉะนี้ พละธรรม ๕ ประการนั้น ก็ใชอื่น คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญานั้น ชื่อวาพละ ดวย สภาวะมิไดหวาดไหว แลสภาวะถาวรตั้งมั่นในสัมปยุตธรรมทั้งปวง “สตฺตา ธมฺมา” ธรรมทั้งหลาย ๗ มีสติเปนตน มีอุเบกขาเปนปริยโยสาน ไดนามบัญญัติ ชื่อวาโพชฌงค ดวยสภาวะเปนองคแหงพระอริยสาวกผูอื่นจากนิทรา คือกิเลสอันครอบงําในสันดาน แลตรัสซึ่งจตุราริยสัจจ แลกระทําซึ่งพระนิพพานใหแจง

ขอความพิสดารในพระสัตตโพชฌงค ก็มีนัยอันกลาวในอัปปนาโกสลกถานั้นแลว “อฏมฺธมา” ธรรมทั้งหลาย ๘ มีสัมมาทิฏฐิเปนตนมีสัมมาสมาธิเปนปริโยสาน ไดนาม บัญญัติชื่อวามัคคังคะองคแหงพระอริยมรรคดวยสภาวะเปนเหตุออกจากวัฏฏทุกข ขอความพิสดารมี ในหนหลังแลว แลพระโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ซึ่งพรรณนามาฉะนี้ เมื่อพระโยคาพจรเจา ยังเจริญโลกีย วิปสสนาอยูในบุรพภาคนั้น ก็ไดในขณะจิตตาง ๆ คือ กายยานุปสสนาสติปฏฐาน อาการ ๑๔ มีพระอานาปานสติเปนตน

ก็เฉพาะไดเมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาซึ่งกายดวย

เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ก็เฉพาะไวเมื่อพระโยคาพจรเจาพิจารณาเวทนาซึ่งอาการ ๕ มี สุขเวทนาเปนอาทิ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ก็เฉพาะไดเมื่อพิจารณาซึ่งจิตดวยอาการ ๑๘ มีจิตอันกอปรดวย ราคาเปนอาทิ ธัมมานุปสสนาสติปฏฐานนั้น ก็เฉพาะไดเมื่อพิจารณาซึ่งธรรมทั้งหลาย ๕ มีนิวรณเปนอาทิ พระสติปฏฐาน ๔ ประการ พระโยคาพจรเจาในขณะจิตตาง ๆ ดวยประการดังนี้ พระสัมมัปปธาน ๔ ก็ไดในจิตตาง ๆ พระสัมมัปปธานเปนปฐมนั้นเฉพาะไดกาลเมื่อพระ โยคาพจรเห็นอกุศลธรรมอันใด อันมิไดเคยบังเกิดแกตนในอาตมาภาพ แลบังเกิดมีแกบุคคลผูอื่น ก็

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 139 มนสิการในใจวาอาตมาจะปฏิบัติเพื่อจะมิใหบังเกิดแกอกุศลธรรมดังนั้น อกุศลธรรมบังเกิดได

แลวก็จะพยายามเพื่อจะมิให

สัมมัปปธานเปนคํารบ ๒ ก็ไดเมื่อพระโยคาพจรเจารูวาอกุศลธรรมอันประพฤติเปนไปใน สันดานแหงตนแลว ก็เพียรเพื่อจะมละเสียซึ่งอกุศลธรรมนั้นจากสันดาน สัมมัปธานเปนคํารบ ๓ นั้น ไดเมื่อพระโยคาพจรพยายามเพื่อจะยังฌานแลวิปสสนาอันยัง มิไดเคยบังคับในอาตมาภาพนี้ ก็ใหบังเกิดขึ้น สัมมัปปธานเปนคํารบ ๔ นั้น ไดเมื่อพระโยคาพจรพยายามยังฌานแลวิปสสนาอันบังเกิด แลว ก็ใหบังเกิดภิยโยภาพเนือง ๆ ไปมิใหเสื่อมจากสันดาน พระสัมมัปปธานทั้ง ๔ มีในจิตตุปบาทตาง ๆ ในโลกิยวิปสสนาดังนี้ ฝาพระอิทธิบาททั้ง ๔ นั้น ก็ไดในจิตตาง ๆ เมื่อกระทําฉันทะเปนอธิบดีแลว แลยังกุศล ธรรมใหบังเกิดในจิตตุปปบาทอันใด จึงไดฉันทิทธิบาทในจิตตุปบาทนั้น เมื่อกระทําวิริยจิตตะปญญา เปนอธิบดีแลวยังกุศลธรรมใหบังเกิดในจิตตุปบาทใด ๆ จึงไดวิริยจิตตะวิมังสาจิตตุปบาทในอิทธิบาท นั้น ๆ ฝาพระอัษฏางคิกมรรคนั้นก็ดี เมื่อเกิดกับดวยโลกิยจิตก็ไดในจิตตาง ๆ กัน คือพระโยคาพจรปรารภถึงมิจฉาวาจา คือวจีทุจริต ๔ ประการเปนอารมณพิจารณาเห็น โทษแลว ก็เวนเสียในจิตตุปบาทอันใดจึงเฉพาะใดสัมมาวาจาในจิตนั้น เมื่อพิจารณาเห็นโทษในมิจฉากัมมันตะ คือ กายทุจริต แลมิจฉา อาชีวะ แลวก็เวนเสียใน จิตตุปบาทอันใด ก็เฉพาะไดสัมมากัมมันตะ แลสัมมาอาชีวะตาง ๆ กันกับจิตตุปบาทนั้น ๆ โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ จัดเปนแผนกเอาพระสติปฏฐานแลพระสัมมัปปธาน และพระ อิทธิบาท แลพระสัมมาวาจาเปนอาทิ ก็ดีบัณฑิตไดในจิตตาง ๆ ในกาลเมื่อประพฤติเปนไปแหงโลกิย วิปสสนาดวยอาการดังนี้ “อิเมสํ ปน จตุนฺนํ ญาณานํ อุปฺปตฺติกาเล” กาลเมื่อพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ บังเกิด นั้น อันวาพระโพธิปกขิยธรรมทั้งปวงที่ควรจะไดนั้น ก็ไดพรอมกันในขณะจิตเดียว เพราะเหตุมีอารมณ อันเดียวกันคือยึดหนวงเอาซึ่งพระนิพพานเปนอารมณก็ไดสําเร็จกิจกําจัดขาศึกแหงตน ๆ อาศัยเหตุนี้ พระอริยมรรคทั้ง ๕ ก็ประดับดวยพระโพธิปกขิยธรรม ๓๗ บริบูรณโดยปริยาย พระอริยผลทั้ง ๔ นั้น คงไดพระโพธิปกขิยธรรมบริบูรณ แต ๓๓ ประการ เวนพระ สัมมัปปธานทั้ง ๔ เพราะเหตุบมิไดมีพยายามสืบตอไปแลว เปนแตทิฏฐฐานธรรมสุขวิหาร ระงับหทัย สันดานใหเย็นดุจหนึ่งบุคคลเอากระออมน้ํามารดซ้ําในที่มีเพลิงอันดับแลวนั้น อาศัยเหตุนี้แมวาวิริยะ เจตสิก คือสัมมาวายาโมมีในอริยผลจิตก็ดีก็บมิไดมีนามบัญญัติวาเปนองคสัมมัปปธานดวยประการ ดังนี้ “เอวํ เอกจิตฺเต ลพฺภมาเนสุ เจเตสุ ” ล้ําพระโพธิปกขิยธรรม ๒๗ ประการ อันไดในจิต อันเดียวดังกลาวมานี้ “เอากาวสติ” สติตัวเดียวมีพระนิพพานเปนอารมณ ก็ไดชื่อวาสติปฏฐาน ๔ ดวยสามารถใหสําเร็จกิจอันมละเสียซึ่งวิปลาส มีสําคัญวางามในเปนอาทิ “เอกเมว วิริยํ” วิริยะตัวเดียว เอาพระนิพพานเปนอารมณแลวก็ใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 140 อันยังอกุศลบมิไดเคยบังเกิดก็มิใหบังเกิดเปนอาทิก็ไดชื่อวาพระสัมมัปปธาน ๔ ในจิตอันเดียวกัน ฝายพระโพธิปกขิยธรรมอันเศษ ๕ โกฏฐาส มีพระอิทธิบาทเปนอาทินั้นคงตัว จะลดลง เจริญขึ้นอยางโกฏฐานทั้งสอง คือพระสติปฏฐานแลพระสัมมัปปธานนี้หาบมิได นัยหนึ่งพระโพธิปกขิยธรรม ๓๗ นี้ ถาจะวาโดยสภาวะธรรมมิไดวาดวยประเภทที่สําเร็จกิจ ตาง ๆ ก็คงแต ๑๔ คือสติ ๑ วิริยะ ๑ ฉันทะ ๑ จิตตะ ๑ ปญญา ๑ สัทธา ๑ สมาธิ ๑ ปติ ๑ ปสสัทธิ ๑ อุเบกขา ๑ สัมมาสังกัปปโป ๑ สัมมาวาจา ๑ สัมมากัมมันโต ๒ สัมมาอาชีโว ๑ เปน ๑๒ ธรรม ทั้งหลาย ๑๔ นี้ เมื่อจําแนกไปในประเภท ๓๗ นั้น เปนไปดวยอาการ ๖ โกฏฐาส คือธรรมทั้ง ๙ มีอาการหนึ่ง ๆ นั้น เปนโกฏฐาส ๑ คือธรรมอันหนึ่งตั้งอยูดวยอาการ ๒ นั้น เปนโกฏฐาส ๑ “อถ จตุธา” คือธรรมอันตั้งอยูดวยอาการ ๔ เปนโกฏฐาส ๑ คือธรรมอันตั้งอยูดวยอาการ ๕ เปนโกฏฐาส ๑ คือธรรมอันตั้งอยูดวยอาการ ๘ เปนโกฏฐาส ๑ คือธรรมอันตั้งอยูดวยอาการ ๙ เปนโกฏฐาส ๑ เปน ๖ โกฏฐาส ดวยกัน ธรรมทั้งหลาย ๘ มีอาการหนึ่ง ๆ นั้น คือ ฉันทะ ๑ จิตตะ ๑ ปติ ๑ ปสสิทธิ ๑ อุเบกขา ๑ สัมมาสังกัปโป ๑ สัมมาวาจา ๑ สัมมากัมมันตะ ๑ สัมมาอาชีวะ ๑ แลธรรมทั้งหลาย ๙ นี้ คงตั้งอยูดวยอาการหนึ่ง ๆ เหตุฉันทะนั้นตั้งอยูดวยอาการเปนแต ฉันทิทธิบาทสิ่งเดียว จิตตะก็เปนแตจิตติทิทธิบาทสิ่งเดียว ปติก็เปนแตปติสัมโพชฌงคสิ่งเดียว ปสสัทธิก็เปนไดแตปสสัทธิสัมโพชฌงคสิ่งเดียว อุเบกขาก็เปนแตอุเบกขาสัมโพชฌงคสิ่งเดียว วาจา แลกัมมันตะ แลอาชีวะทั้ง ๓ นั้นก็ดี ก็ตั้งอยูดวยอาการอันเปนองคอัษฏางคิกมรรค คือสัมมาวาจา แล สัมมากัมมันตะ แลสัมมาอาชีวะ สิ่งเดียว ๆ ธรรมทั้งหลาย ๙ นี้แลไดชื่อวาตั้งอยูดวยอาการอันเดียว แทบมิไดเจือไปในโกฏฐาสแหงพระโพธิขิยธรรมกองอื่น ๆ เลย ธรรมอันหนึ่ง ตั้งอยูดวยอาการ ๒ นั้น คือสัทธาสิ่งเดียวตั้งอยูดวยอาการเปนสัทธินทรีย ๑ เปนสัทธาพละ ๑ ธรรมสิ่งเดียวตั้งอยูดวยอาการ ๔ นั้น คือสมาธิสิ่งเดียวเปนไดถึง ๔ อยาง คือเปนสมาธินท รีย ๑ เปนสมาธิพละ ๑ เปนสมาธิสัมโพชฌงค ๑ เปนสัมมาสมาธิ ในองคอัษฏางคิกมรรค ๑ เปน อาการคํารบ ๓ ธรรมอันหนึ่งตั้งอยูดวยอการ ๕ นั้น คือปญญาอันเดียวเปนไดถึง ๕ อยาง คือเปนวิมังสิทธิ บาท ๑ เปนปญญินทรีย ๑ เปนปญญาพละ ๑ เปนธรรมวิจยะสัมโพชฌงค ๑ เปนสัมมาทิฏธิในองค อัษฏางคิกมรร ๑ จึงเปนอาการคํารบ ๕ ธรรมอันหนึ่งตั้งอยูดวยอาการ ๘ นั้น คือสติตัวเดียวเปนสติปฏฐานถึง ๔ อยาง แลวเปนสติ นทรียเปนสติพละ เปนสติสัมโพชฌงค เปนอัษฏางคิกมรรค คือสัมมาสติ จึงเปนอาการ ๘ ธรรมอันหนึ่ง ตั้งอยูดวยอาการ ๙ นั้น คือวิริยะตัวเดียวแจกเปนพระสัมมามัปปธาน ๔ เปนวิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 141 ริยิทธิบาท ๑ เปนวิริยินทรีย ๑ เปนวิริยะพละ ๑ เปนวิริยะสัมโพชฌงค ๑ เปนองคมรรคคือสัมมาวายา โม ๑ เปนคํารบ ๘ ดวยกัน เหตุใดเหตุดังนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาผูรจนา พระคัมภีรวิสุทธิมรรคบั้นปลายนั้น จึง นิพนธบางพระคาถาไวในเบื้องปลาย “เอวํ จุทฺทเสว อสมฺภินฺนา โหนฺติ เต โพธิปกฺขิยา โกฏาสโต สตฺตวิธา สตฺตตึสเภท โต สกิจฺจนิปฺผาทนโต สรูเปน จ วุตฺติโต สพฺเพว อริยมคฺคสฺส สมฺภเว สมฺภเวนฺติ เต” อธิบายในบาทพระคาถาวา “เต โพธิปกฺขิกา” อันวาพระโพธิปกขิยธรรม ๓๗ นั้น จัดเปนสภาวะธรรมมิไดแจกเจือไปก็คงแต ๑๔ เมื่อสงเคราะหเปนโกฏฐาสสราสิได ๗ กอง คือพระสติ ปฏฐาน ๔ เปนกองตน พระอัษฏางคิกมรรคเปนปริโยสาน แจกออกเปนประเภท อาการที่สําเร็จกิจแหงตน ๆ โดยสารูปเรียกชื่อตาง ๆ ออกจึงเปน ประเภท ๓๗ ประการ โดยนัยดังพรรรณนามาแลวนั้น วามาดวยสภาวะบริบูรณ นักปราชญพึงรูดวยประการดังนี้

แหงพระโพธิปกขิยธรรม

ในญาณทัสสนวิสุทธิทั้ง

นั้น

แตนี้จะวินิจฉัย ในวุฏฐานพละสมาโยคตอไป วุฏฐานะ นั้นแปลวาออกจากนิมิตแลปวัตติ นิมิตนั้นคือสังขารธรรมอันตัณหาสมุทัยหาก ตกแตงจึงไดชื่อวานิมิต ตัณหาสมุทัย อันเปนเหตุประพฤติเปนไปแหงสังขารธรรมนั้น ชื่อวาปวัตติ กิริยาที่จะออก จากนิมิตแลปวัตตินี้ ตอเมื่อพระอริยมรรคบังเกิดจึงออกได แทจริง เมื่อพระโยคาพจรยังจําเริญโลกิยวิปสสนาปญญาอยูนั้นก็ยังบมิไดออกจากนิมิต แลปวัตติ ยังมิไดออกจากนิมิต เพราะเหตุยกสังขารนิมิตขึ้นสูพระไตรลักษณ แลวพิจารณายึดหนวง เอาเปนอารมณอยูยังบมิไดออกจากตัณหาสมุทัยอันเปนเหตุ ประพฤติเปนไปแหงสังขารนิมิตนั้น อาศัยเหตุฉะนี้โลกิยวิปสสนาปญญาก็ไดชื่อวา ยังบมิไดออกจากภาคทั้ง ๒ คือสังขารนิมิตแลตัณหาป วัตติ ขณะเมื่อโคตรภูญาณบังเกิดก็ดีก็ยังบมิออกจากตัณหาปวัตติ เหตุโคตรภูญาณบมิได เปน พนักงานที่จะตัดตัณหาสมุทัยใหขาดได แตทวาออกจากสังขารนิมิตไดเพราะเหตุละซึ่งอารมณคือ สังขารนิมิตแลว ก็ยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณเหตุดังนั้นพระโคตรภูญาณจึงไดชื่อวา เอก โตวุฏฐานคือออกจากภาคอันหนึ่ง ฝายพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ นั้น ออกจากนิมิต ออกจากปวัตติ ออกจากนิมิต เพราะเหตุ วางอารมณ คือสละสังขารเสียแลว และหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณ ออกจากปวัตติ เพราะเหตุ ตัดตัวสมุทัยใหขาดเปนสมุจเฉทปหาน เหตุฉะนี้ พระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ จึงไดชื่อวา อุภโตวุฏฐาน คือออกจากภาคที่ ๒ นั้น วิสัชนาการจําแนกในวุฏฐานเปนใจความแตเทานี้

ทีนี้จะจําแนกในพละสมาโยค คือพระอริยมรรคอันประกอบดวยกําลัง ๒ ประการ จึงออก จากนิมิตแลปวัตติได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 142 กําลัง ๒ ประการนั้น คือพระสมถะพละ ๑ พระวิปสสนาพละ ๑ สมถะพละนั้น คือสมาธิ วิปสสนาพละนั้น คือปญญา ในขณะเมื่อพระโลกุตตรมรรคญาณบังเกิดนั้น พระสมถะกับพระวิปสสนามีกําลังเสมอกัน จะยิ่งหยอนกวากันอยางโลกิยะภาวนาหาบมิได แทจริงกาลเมื่อพระโยคาพจร จําเริญโลกิยะสมาบัติ ทั้ง ๘ นั้น ยิ่งดวยกําลังพระพระสมถะ กาลเมื่อพิจารณาสังขารธรรมดวยอนิจจานุปสสนาเปนอาทินั้น ยิ่งดวยกําลังพระวิปสสนา ครั้นถึงขณะเมื่ออริยมรรคญาณบังเกิดแลวกําลัง ๒ ประการ มีพระนิพพาน เปนอารมณ เปนเอกรสะมีกิจเสมอกันเหตุสภาวะบมิไดลวงซึ่งกัน เหตุดังนั้นอันวากิริยาอัน ประกอบดวยพละ ๒ ประการ ก็มีในพระอริยมรรคทั้ง ๔ ดวยประการฉะนี้ สิ้นใจความในพระสมาโยคแตเทานี้ ลําดับนี้จะวาดวยปหาตัพพะธรรมตอไป คือธรรมทั้งหลายอันพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ จึงพึงมละเสียตามสมควรแกกําลังแทจริง พระอริยมรรคทั้ง ๔ นั้น ใหสําเร็จกิจมละเสียซึ่ง ปจจนิกธรรมทั้งหลาย ๑๘ กลาวคือสังโยชน ๑ กิเลส ๑ มิจฉัตตะ ๑ โลกธรรม ๑ มัจฉริยะ ๑ วิปลาส ๑ คันถะ ๑ อคติ ๑ อาสวะ ๑ โอฆะ ๑ โยคะ ๑ นิวรณ ๑ ปรามาส ๑ อุปาทาน ๑ อนุสัย ๑ มนทิล ๑ อกุศลกรรมบถ ๑ อกุศลกรรมบถ ๑ อกุศลจิตตุปบาท ๑ สิริเปน ๑๘ ชื่อวาปจจนิกธรรม อันวาธรรมทั้งหลาย ๑๐ มีกามราคะเปนอาทิ ชื่อวาสังโยชน เหตุประกอบไวซึ่งขันธสันดาน ในปรโลก ใหเนื้องกันกับขันธสันดานในอิธโลก แลประกอบไวซึ่งกรรมดวยผลแหงกรรม แลประกอบ ไวซึ่งสัตวกับดวยสังขารทุกข จึงไดชื่อวาสังโยชน ล้ําสังโยชน ๑๐ นั้นยกเอาแตสังโยชน ๕ คือรูปราคสังโยชน ๑ อรูปราคสังโยชน ๑ มาน สังโยชน ๑ อุทธัจจสังโยชน ๑ อวิชชาสังโยชน ๑ เปนคํารบ ๕ ชื่อวาอุทธัมภาคิยสังโยชน เหตุ ประกอบไวซึ่งขันธสันดานเปนอาทิ อันบังเกิดในภาคเบื้องบน คือรูปภพอรูปภพ สังโยชนอีก ๕ ประการ คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สี ลัมพัตตะปรามาส ๑ กามราคะ ๑ ปฆิฆะคือโทโส ๑ เปนคํารบ ๕ ชื่อวา อโธภาคิยสังโยชน เหตุประกอบไวซึ่งขันธสันดานเปนอาทิอัน บังเกิดในเบื้องต่ํา คือกามภพ ธรรมทั้งหลาย ๑๐ คือ โลภะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ มานะ ๑ ทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ ถีนะ ๑ อุทธัจจะ ๑ อหิริกะ ๑ อโนตตัปปะ ๑ เปน ๑๐ ประการดวยกันชื่อวากิเลส เหตุเศราหมองดวยตนเอง แลยังสัมปยุตธรรมใหเศราหมอง ธรรม ๑๐ ประการนี้ มีมิจฉาทิฏฐิเปนตน มีมิจฉาสมาธิเปนปริโยสานกับทั้งมิจฉาวิมุตติหยั่ง ศรัทธาลงไปในที่ผิด แลมิจฉาญาณเปนคํารบ ๑๐ ชื่อมิจฉัตตะ เหตุประพฤติเปนไปในทางผิดเปนกาม สุขัลลิกานุโยค แลอัตตกิลมถานุโยค ธรรมทั้งหลาย ๘ คือ ลาภ ๑ อลาภะ หาลาภบมิได ๑ ยโส คือมียศ ๑ อยโส ๑ คือหายศบ มิได ๑ คือความสุข ๑ คือความทุกข ๑ คือความนินทา ๑ คือความสรรเสริญ ๑ ธรรม ๘ ประการนี้ ชื่อ วาโลกธรรม เหตุวาขันธาทิโลกประพฤติเปนไปตราบใด ธรรม ๘ ประการนี้ ก็บไดเสื่อมสูญตราบนั้น เทียรยอมประพฤติตามซึ่งโลก ๆ ก็ประพฤติตามซึ่งธรรม ๘ ประการ ๆ จึงไดชื่อวาโลกธรรม ในที่นี้จะยกเอาธรรม ๒ ประการ คือโลภอันยินดีในลาภเปนอาทิ ๑ คือโทสาอันเคียดแคน เพราะหาลาภบมิไดเปนอาทิ ๑ ชื่อวาโลกธรรมคงแต ๒

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 143 มิจฉริยะ ๕ นั้น คือ อาวาสมัจฉริยะ ความตระหนี่ในอาวาส ๑ คือ กุลมัจฉริยะ ความตระหนี่ ในตระกูลโยมอุปฏฐาก ๑ คือลาภมัจฉริยะความตระหนี่ในจตุปจจัยลาภ ๑ คือธรรมมัจฉริยะ ความ ตระหนี่ในสรีระวรรณแลสัทธาธิคุณวรรณ ๑ เปน ๕ ประการดวยกัน ถาจะวาใจความ ก็ไดแกมัจฉริยะเจตสิกตัวเดียว เกิดกับโทสะจิตคิดแตวาจะมิใหมีสิ่ง ๕ ประการ มีอาวาสเปนตน แกบุคคลผูอื่น ใหเปนของอาตมาผูเดียว ถาเห็นวามีทั่วไปแกบุคคลผูอื่นแลว ก็ใหอดกลั้นบมิได วิปลาส ๓ ประการนั้น คือ สัญญาวิปลาส ๑ จิตวิปลาส ๑ ทิฏฐิวิปลาส ๑ ประพฤติเปนไป โดยเห็นวาเที่ยง วาสุข วาตัว วาตน วางาม ในวัตถุทั้งหลายอันบมิเที่ยงมิเปนสุข ใชตน ใชงาม ธรรม ๔ ประการ คืออภิชฌา ๑ พยาบาท ๑ คือสีลัพพัตตะปรามาส ๑ คืออิทังสัจจภินิเวส คือมั่นในคําของตนวาสัตววาบุคคลนั้นมีจริง จะวาอยางอื่นนั้นผิดไป ๑ แลธรรม ๕ ประการนี้มีชื่อวาคันถะ เหตุวาผูกพันรัดรึงตรึงไวซึ่งนามกายรูปกาย ในสังสาร ทุกขหาที่สุดบมิได อคตินั้นแจกออกดวยอาการเปน ๔ คือ ฉันทาคติ ๑ โทสาคติ ๑ โมหาคติ ๑ ภยาคติ ๑ เปน ๔ ประการ ยกเอาใจความเปนแต ๒ คือ กระทําซึ่งกิจอันบพึงกระทํา ดวยรักษาโกรธดวยหลง ดวยกลัว ๑ คือ มิไดกระทําซึ่งกิจอันควรจะพึงกระทําดวยเปนอาทิ ๑ เปนใจความแต ๒ ประการเทานี้ ชื่อวาอคติ เหตุเปนที่พระอริยเจาทั้งหลายบมิพึงดําเนินไป ธรรม ๔ ประการคือราคะอันยินดีในกาม ๑ คือราคะอันประกอบดวยสัสสตะทิฏฐิ ๑ คือราคะ อันประกอบดวยอุจเฉททิฏฐิ ๑ คืออวิชชา ๑ แลธรรม ๔ ประการนี้ ชื่อวาอาสวะดวยเหตุ ๓ ประการ คือประพฤติเปนไปโดยธรรม ตราบ เทาถึงโคตรภู เปนไปตามภพตราบเทาถึงภวัคคะพรหม ก็เปนอารมณแหงอาสวะไดสิ้น ๑ คือเปนกระแสไหลออกบมิขาดสายดวยอสุจิ คือกิเลสโดยทวารทั้ง ๖ อันบุคคลมิไดสํารวม รักษา ดุจหนึ่งน้ําอันไหลออกจากชองกระออม ๑ คือเปนเหตุสั่งสมซึ่งสังขารทุกข ๑ อาศัยเหตุ ๓ ประการนี้ ธรรม ๔ ประการจึงไดนามชื่อวา อาสวะแลอาสวะธรรมทั้ง ๔ นั้นแล ชื่อวาโอฆะ ชื่อวาโยคะ ชื่อวาโอฆะนั้น ดวยสภาวะฉุดคราไวซึ่งสัตวอันตกลงในกระแสโอฆะใหลมจมอยูในภพสาคร แลใหมีมหาสมุทร จตุราบายจะลวงขามไดดวยยาก ชื่อวาโยคะนั้น ดวยอรรถวาประกอบไวซึ่งสัตวทั้งหลายกับดวยอารมณแลความทุกข บมิให พรางออกได อธิบายวาบมิไดสละอารมณมีอาการอันเคยถือเอานั้น อนึ่ง สัตวผูกระทําซึ่งบาปเห็นปานใด จึงไดเสวยความทุกขเวทนา ก็ประกอบซึ่งสัตวนั้นไว ดวยบาปเห็นปานนั้นเนือง ๆ จึงไดชื่อวาโยคะ ธรรม ๕ ประการ คือ กามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ ถีนมิทธะ ๑ อุทธัจจะกุกกุจจะ ๑ วิจิกิจฉา ๑ เปนคํารบ ๕ ชื่อวานิวรณ ดวยอรรถวากั้นกําบังเสียซึ่งกุศลจิต คือฌานสมาบัติในเบื้องตน แลนําจิต สันดานไปสูวาสนาคือกิเลส แลวก็ปกปดเสียมิใหพิจารณาเห็นซึ่งกุศลเปนอาทิ ดุจหนึ่งวัตถุอันบุคคล กั้นกําบังไวดวยฝาแลบานประตูหนาตางเปนตน จึงไดชื่อวานิวรณธรรม

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 144 แลปรามาสนั้น เปนชื่อแหงมิจฉาทิฏฐิ ๆ ชื่อวาปรามาส เหตุลวงเสียซึ่งสภาวะมีสุภเปนอาทิ แหงธรรมทั้งหลายมีกายเปนตนแลวประพฤติดวยอาการอันถือวางามเปนอาทิ อุปาทาน ๕ นั้น มีนัยกลาวแลวในปฏิจจสมุปปาทนิเทศนั้นแลว ธรรม ๗ ประการ คือ กาม ราคะ ๑ ปฏิฆะ ๑ มานะ ๑ มิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ ภวราคะ ๑ อวิชชา ๑ เปนคํารบ ๗ ชื่อวาอนุสัยดวย ดวย อธิบายวา อันบุคคลมิไดหักหาญกําจัดเสียดวยพระอริยมรรคญาณก็ยังมีกําลังกลาสามารถจะเปน ปจจัยแกกามราคะ เปนอาทิเนือง ๆ ไปเมื่อยังไมไดพรอมดวยปจจัยก็นอนนิ่งสงบอยู ครั้นพรอมดวย ปจจัยแลว ก็บังเกิดกําเริบใหลวงทุจริต ถึงกาย วาจา ธรรม ๓ ประการ คือราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ชื่อวามละแปลวามลทิน ดวยอธิบายวา ตนเองก็เศราหมองไมบริสุทธิ์แลวกระทําซึ่งธรรมทั้งหลาย อันประกอบดวยตนนั้นใหเศราหมองมิให บริสุทธิ์ ดุจหนึ่งเปอกตม เหตุฉะนี้จึงไดชื่อวามลทิน อกุศลกรรมบถมีประเภท ๑๐ ประการ มีปาณาติบาทเปนตน มีอภิชฌาเปนปริโยสาน ไดนาม ชื่อวาอกุศลกรรมบถ ดวยอธิบายวาเปนขาศึกแกกุศล เปนคลองหนทางทุคติ คือบายภูมิทั้ง ๔ อกุศลจิตตุปบาทมีประเภท ๑๒ คือ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒ เขาดวยกัน เปน ๑๒ พระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ ใหสําเร็จกิจมละเสียซึ่งปฏิปกขธรรมทั้งหลายมีสังโยชนเปนตน โดยสมควรแกประกอบตามลําพัง มีปุจฉาวา “กถํ” พระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ ใหสําเร็จกิจมละเสียซึ่งปฏิปกขธรรม ควรแก ประกอบนั้น มีประการดังฤๅ มีคําวิสัชนายกวาแตสังโยชนกอน ล้ําสังโยชน ๑๐ ประการ พระโสดาปตติมรรคญาณ ให สําเร็จกิจประหารเสียซึ่งสังโยชน ๕ ประการ อันเปนสวนเสพกามธาตุ คือสักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ กามราคะ ๑ ปฏิฆะคือโทสะ ๑ เปน ๕ ประการ สักกายทิฏฐินั้นสังเคราะหเอาทิฏฐิ ๖๒ อันมีสักกายทิฏฐิเปนประธาน แลสังโยชน ๓ ตัว คือ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาสนั้นพระโสดาปตติมรรคญาณฆาเสีย หาเศษมิได ฝายกามราคะแลปฏิฆะนั้น พระโสดาบันแบงประหารเสียแตที่มีกําลังอันจะใหบังเกิดใน อบาย แลกามราคะปฏิฆะอันเหลืออยูใยสันดานพระโสดาบันนั้น ก็จัดเปน ๒ สถาน ๆ หนึ่งเปนอยาง หยาบสถานหนึ่งเปนอยางสุขุม อยางหยาบนั้นเปนสวนอันพระสกทาคามิมรรคญาณจะพึงฆาเสีย อยางสุขุมนั้นเปนสวนพระอนาคามิมรรคญาณจะพึงฆาเสีย จึงสิ้นอโธภาคิยสังโยชน ๕ ประการ ดวย กําลังพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ ยังอทุธัมภาคิยสังโยชน ๕ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะอวิชชานั้น เปนสวนอัน พระอรหัตตมรรคญาณพึงฆาเสียแทจริง พระอริยมรรคญาณเบื้องต่ําทั้ง ๓ นั้น จะไดแบงปนฆาเสียบางอยางกามราคะปฏิฆะนั้นหาบ มิได เนื้อความจะไปขางหนานั้นก็ดี ถาวาสวนสังกิเลสใด ๆ อันพระอริยมรรคญาณองคใดฆาเสีย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 145 แตทวาหานิยมลงวา ฆาเสียแทจริงไมนักปราชญพึงเขาใจวา สังกิเลสนั้นกําลังที่จะใหถึงอบายแบงปน ประหารเสียแตพระ อริยมรรคญาณเบื้องต่ํานั้นบางแลว ถานิยมลงวาฆาเสียแทจริงในที่ใด ก็พึงเขาใจวา สังกิเลสนั้นเฉพาะฆาเสียดวยอริยมรรคเบื้องบนสิ่งเดียว พระอริยมรรคญาณบังเกิดกอนนั้น บมิได แบงปนประหารเสียบางเลยเหมือนอยางอุทธัมภาคิยสังโยชน ๕ ประการ อันพระอรหัตตมรรคญาณ ประการเสียนี้เถิด ถากิเลสทั้ง ๑๐ ยกเอาแตกิเลส ๒ ตัว คือ ทิฏฐิ กับวิจิกิจฉา เปนสวนพระโสดาบันฆาเสีย ไดทั้งสิ้น พระอนาคามิมรรคญาณประการเสียซึ่งโทสกิเลส พระอรหัตตมรรคญาณสังหารกิเลส ๗ ตัว คือ โลภะ ๑ โทสะ ๑ มานะ ๑ ถีนะ ๑ อุทธัจจะ ๑ อหิริกะ ๑ อโนตตัปปะ ๑ เปนคํารบ ๗ ดวยกัน บรรดามิจฉัตตะเปน ๑๐ ประการ ยกเอาแต ๔ คือ มิจฉาทิฏฐิ ๑ มุสาวาท ๑ มิจฉากัมมันตะ ๑ มิจฉาอาวีชะ ๑ เปนสวนอันพระโสดาปตติมรรคพึงฆาเสีย มิจฉัตตะ ๓ ตัว คือมิจฉาสังกัปโป ๑ ปสุณาวาจา ๑ ผรุสวาจา ๑ เปนสวนอันพระ อนาคามิมรรคญาณพึงฆาเสีย ยังมิจฉัตตะอีก ๖ ตัว คือ สัมผัปปลาป ๑ มิจฉาวายามะ ๑ มิจฉาสติ ๑ มิจฉาสมาธิ ๑ มิจฉาวิมุตติ ๑ มิจฉาญาณ ๑ เปน ๖ ประการดวยกัน เปนสวนมิจฉัตตะอันพระอรหัตตมรรคญาณไดฆา เสีย ความเคียดแคนในโลกธรรม คือโกรธแคนดวยหาลาภหายศบมิไดและเคียดแคนดวยทุกข และเขานินทา ความโกรธตัวนี้พระอนาคามิมรรคญาณพึงฆาเสีย ความยินดีในโลกธรรมมีลาภเปนอาทิ ขาดดวยพระอรหัตตมรรคญาณ มัจฉริยมรรค ๕ ประการ มีตระหนี่ในอาวาสเปนอาทินั้นเปนสวนพระโสดาปตติมรรคญาณฆาเสียแทจริง วิปลาส ๓ ประการ คือสัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส ทิฏฐิวิปลาส อันประพฤติเปนไปโดย สําคัญวาเที่ยง ในสิ่งอันบมิไดเที่ยง เห็นวาเปนตัวเปนตน ในสิ่งอันใชตัวใชตน กับทิฏฐิวิปลาสอันเห็น วา สุขในกองทุกขและเห็นวางามในกองอสุภ วิปลาสเหลานี้เปนสวนอันพระโสดาปตติมรรคพึงฆาเสีย พระอนาคามิมรรคญาณประการเสียซึ่งสัญญาวิปลาส แลจิตตวิปลาสอันสําคัญวางาม ใน สิ่งอันมิงาม พระอรหัตตมรรคญาณประหารซึ่งสัญญาวิปลาส จิตวิปลาสอันสําคัญวาสุขในกองทุกข ล้ําคันถะ ๔ ยกเอาแต ๒ คือสีลัพพัตตปรามาส กายคันถะ และอิทังสัจจาภินิเวส กายคันถะ เปนสวนพระโสดาปตติมรรคพึงฆาเสีย พระอนาคามิมรรคญาณประหารเสียซึ่งพยาบาท กายคันถะอัน เดียวพระอรหัตตมรรคญาณก็ประหารเสียซึ่งคันถะอันหนึ่ง คืออวิชชา อคติ ๒ ประการนั้น เปนสวนพระโสดาปตติมรรคญาณประหารเสียทั้งสิ้น แทจริงในกองอาสวะโอฆะโยคะนั้น พระโสดาปตติมรรคญาณไดประหารเสียซึ่งทิฏฐิอา สวะ ทิฏฐิโอฆะ ทิฏฐิโยคะ พระอนาคามิมรรคญาณประหารเสียซึ่งอวิชชาสวะ อวิชชาโอฆะ อวิชชา โยคะ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 146 ในนิวรณธรรมนั้น พระโสดาปตติมรรคญาณฆาเสียแตวิจิกิจฉานิวรณ ๓ ตัว คือ กามฉันทะ พยาบาท กุกกุจจะ นี้เปนสวนนิวรณอันพระอนาคามิมรรคพึงฆาเสีย ยังมีถีนมิทธนิวรณ แลอุทธัจจนิวรณ ๒ ตัวนี้ เปนสวนพระอรหัตตมรรคญาณพึงประหารเสีย บรรดาอุปาทานทั้งหลาย ๔ นั้น แมวารูปราคะ อรูปราคะ ก็นับเขาในกามุปาทาน เพราะเหตุ วาโลกิยธรรมทั้งปวงนั้น มาในวาระบาลีวา “กามา” ดวยสามารถแหงวัตถุกาม เหตุดังนั้น อันวากามุ ปาทานนี้จึงยกมาเปนสวนอันพระอรหัตตมรรคญาณพึงฆาเสียในภายหลัง อุปาทาน ๓ ตัว คือทิฏฐิอุปาทาน และสีลัพพัตตุปทาน และอัตตวาทุปาทานนั้น เปนสวน อันพระโสดาปตติมรรคญาณไดประหารเสียกอนแลว ล้ําอนุสัย ๗ ประการนั้น ยกแยกออกแตสอง คือทิฏฐิอนุสัยกับวิจิกิจฉาอนุสัย ๒ ตัวนี้ เปน สวนอันพระโสดาปตติมรรคญาณฆาเสียแทจริง อนุสัย ๒ ตัว คือกามราคานุสัย และปฏิฆานุสัยนั้น เปนสวนพระอนาคามิมรรคญาณพึง ประหารเสีย อนุสัยอีก ๓ ตัว คือ กามานุสัย ภวรราคานุสัย อวิชชานุสัย เปนสวนพระอรหัตตมรรคญาณ พึงฆาเสีย ล้ํามลทิน ๓ ประการ พระอนาคามิมรรคญาณประหารเสียซึ่งมลทินตัวหนึ่ง คือโทสมละ ยังมลทินอีก ๒ คือ ราคมละ และโมหมละนั้น เปนสวนพระอรหัตตมรรคญาณพึงประหาร เสีย ในกองอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนั้น ยกเอาแต ๕ คือ ปาณาติบาท ๑ อทินนาทาน ๑ กาเมสุมิจฉาจาร ๑ มุสาวาส ๑ มิจฉาทิฏฐิ ๑ เขาดวยกันเปน ๕ สวนกรรมบถอันพระโสดาปตติมรรค ญาณไดประหารเสีย อกุศลกรรมบถ ๓ ตัว คือ ปสุณาวาจา และผรุสวาจา และพยาบาทเปนสวนพระ อนาคามิมรรคญาณไดฆาเสีย พระอรหัตตมรรคญาณไดประหารเสีย ซึ่งอกุศลกรรมบถ ๒ คือ สัมผัปปลาป กับอภิชฌา ในกองอกุศลจิตตุปบาท ๑๒ นั้น พระโสดาปตติมรรคญาณไดฆาเสีย ๕ จิตตุปบาทคือโลภ มละจิตกอปรดวยทิฏฐิ ๔ กับวิจิกิจฉา ๑ พระอนาคามิมรรคญาณไดประหารเสียซึ่งอกุศลจิต ๒ คือโทสมูล เปนสสังขาริก ๑ อสังขา ริก ยังอกุศลจิตตุปบาท ๕ คือโลภมูลจิต อันปราศจากทิฏฐิ ๔ กับ อุทธัจจจิต ๑ เปนสวนอัน พระอรหัตตมรรคญาณฆาเสีย และพระอริยมรรคญาณองคใด ๆ ฆาเสียซึ่งอกุศลธรรม ๒ กอง คือ อกุศลกรรมบถ ๑๐ กอง อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ กอง ๑ พระอริยมรรคญาณองคนั้นก็ไดชื่อวามละเสียซึ่งอกุศลธรรมนั้น เหตุใด เหตุหนึ่ง พระพุทธโฆษาจารยจึงกลาวไวในเบื้องตนวา พระอริยมรรคญาณทั้ง ๘ ใหสําเร็จกิจมละเสีย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 147 ซึ่งปจจนิกธรรมทั้งหลาย มีประโยชนเปนอาทินั้นโดยสมควรแกกําลังดวยประการดังนี้แล จึงมีคําปรวาทีโจทนาวาพระอริยมรรคญาณ ๔ มละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย มีสังโยชน เปนอาทิฉันใด แลอกุศลกรรมมีสังโยชนเปนตนนั้น เปนอดีตหรือ หรือเปนอนาคต หรือเปนปจจุบัน ถาจะวาพระอริยมรรคมละเสียซึ่งอกุศลธรรม อันเปนอดีตความเพียรอันสัมปยุตดวยพระ อริยมรรคนั้น ก็หาผลหาประโยชนบมิได เพราะเหตุอกุศลธรรมทั้งหลายสิ้นไปลวงไปหามีเองไมกอน แลว พระอริยมรรคก็พลอยมละเสียเมื่อภายหลัง จะไดมละเสียดวยกระทําเพียรนั้นหาบมิได อนึ่ง ผิวาพระอริยมรรคญาณนั้น มละเสียซึ่งอกุศลธรรมมีสังโยชนเปนอาทินั้นเปนอนาคต มิฉะนั้นความเพียรพยายามนั้นก็คงวาหาผลหาประโยชนมิได เพราะเหตุไรเลา เพราะอกุศลธรรมที่จะ พึงมละเสียนั้นยังหามีไมในขณะเพียรนั้น ถาจะวาพระอริยมรรคญาณทั้ง ๔ มละเสียซึ่งอกุศลธรรมมีสังโยชนอาทินั้นเปนปจจุบัน ถา จะวาดังนั้นก็ยังบมิพนจากโทษคือความเพียรหาผลหาประโยชนบมิไดนั้น เพราะเหตุอกุศลธรรมมี สังโยชนทั้งหลายอันจะพึงมละเสียนั้น มีพรอมกันกับดวยความเพรียร เกิดพรอมกันก็พากันดับไปจะวา ใครมละใคร ใครผจญใคร ใครฆาใคร ก็บมิรูจะวาได อนึ่งโสด บุคคลผูมีจิตกําหนัดอยูดวยราคะ ก็ไดชื่อวามละเสียซึ่งราคะในขณะอันกําหนัด นั้น บุคคลผูโกรธก็จะมละเสียซึ่งความโกรธทั้งโกรธนั้น บุคคลผูหลงและกระดางดวยมานะ และกอปร ดวยมิจฉามิฏฐิและมีจิตฟุงซานสงสัยอยู และถึงซึ่งกิเลสมีกําลังก็จะเปนอันมละเสียซึ่ง โมหะ มานะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ วิจิกิจฉานุสัยกิเลส กุศลกับอกุศลกรรมก็ประพฤติเนื่องกํากับเปนคูดุจหนึ่งโคเทียมแอก อันเดียวกัน เมื่อวากุศลอกุศลเขาปนกันเกิดฉะนี้พระอริยมรรคภาวนา ก็ไดชื่อวาสังกิเลสเกิดกับดับ พรอมดวยสังกิเลสบริสุทธิ์มิได อนึ่ง ถาจะวาพระอริยมรรคญาณ มละอกุศลธรรมมีสังโยชนเปนอาทิเปนอดีตนั้นก็หาบมิได เปนอนาคตก็หาบมิได เปนปจจุบันนั้นก็หาบมิได ถาจะวาดังนั้นก็เปนอันวามรรคญาณภาวนาหามีไมใน กิริยาที่กระทําอริยมรรคอริยผลใหแจงก็หามีไม กิริยาที่มละกิเลสก็หามีไม ที่จะตรัสรูธรรมวิเศษก็หามี ไม เหตุอะไรเลา เหตุวากิเลสธรรมทั้งหลายทั้งปวงในกาลทั้ง ๓ และพระอริยมรรคญาณมิไดมละ กิเลสอันเปนอดีตเปนอาทิแลว ก็ไดชื่อวามรรคภาวนาเปนอาทินั้นหาบมิได คําสักกวาทีบริหารวา “อตฺถิ มคฺคภาวนา อตฺถิ ผลสจฺฉิ กิริยา อตฺถิ กิเลสปหานํ อตฺถิ ธมฺมาภิสมโย” แมวาพระอริยมรรคมิไดมละอกุศลธรรมเปนอดีต เปนอนาคต เปนปจจุบันดังนั้น และ จะมิไดมีมรรคภาวนา จะไมมีผลสัจฉิกิริยา และจะมิไดมีกิเลสปหานแลธรรมาภิสมัยนั้น อันมรรคภาวนา และผลสัจฉิกิริยาเปนอาทินั้นคงมีเปนแท ฝายปรวาทีจึงยอนถามวา “เสยฺยถาป ตรุโณ อมฺพรุกฺโข” อันวาตนไมมะมวงหนุมมีผล ยังมิไดบังเกิด มีบุรุษผูหนึ่งมาตัดมูลรากแกวแหงตนมะมวงนั้นเสีย ผลมะมวงที่ยังมิไดเกิด และควรจะ บังเกิดในภายภาคหนา ก็บังเกิดบมิได ก็ชื่อวาผลนั้นถึงแกพินาศฉิบหาย เพราะบุรุษตัดรากเสียนั้น เมื่อพระโยคาพจรพิจารณาเล็งเห็นซึ่งโทษในอุปาทะ คือขันธอันบังเกิดและฉิบหายเขาใจเปนแทวา ขันธนั้นเปนเหตุเปนปจจัยแกกิริยาอันบังเกิดแหงกิเลส เมื่อหาขันธบังเกิดมิไดแลว กิเลสก็มิไดบังเกิด เมื่อพิจารณาเห็นโทษในอุปาทะ ถือขันธมันมีความเกิด ความฉิบหายฉะนี้แลว จิตแหงพระโยคาพจร เจานั้น ก็เรงเหนื่อยหนายจากอุปาทะ สละอาลัยแลวก็เเลนไปในอนุปปาทะ คือพระอมตะมหานิพพาน อันหาความเกิดความฉิบหายบมิได อันวากิเลสทั้งหลายใดที่ยังมิไดบังเกิด แตทวาคอยโอกาสจะ บังเกิด เพราะเหตุปจจัยคือขันธ อันวากิเลสที่ยังมิไดบังเกิดนั้นแล ก็บมิไดบังเกิดขึ้นได อาศัยเหตุนี้ พระโยคาพจรมีจิตอันสัมปยุตดวยพระอริยมรรคญาณ ยึดเหนี่ยวเอาพระนิพพานเปนอารมณ ก็ไดชื่อวา กิเลสทั้งหลายนั้นอันพระอริยมรรคมละเสีย ก็ถึงแกพินาศฉิบหายเพราะเกิดขึ้นมิไดดุจผลมะมวงนั้น

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 148 กิริยาที่จะดับกิเลสก็อาศัยแกดับเหตุคือขันธ จะดับทุกขก็อาศัยแกดับเหตุคือกิเลส เมื่อดับ ทุกขแลวก็เปนอันดับผล อาศัยเหตุฉะนี้นักปราชญพึงเขาในเปนแทวา ความเพียรคงมีผล กิรย ิ าที่ เจริญมรรคและผลทําใหแจงและกิเลสประหารก็มีเปนแท ดวยประการดังนี้ มีคําอธิบายในขอความซึ่งวากิเลสทั้งหลาย ยังมิไดบังเกิดและบังเกิดขึ้นบมิไดในภายหนา เพราะวาจําเริญมรรคภาวนา และไดชื่อวาพระอริยมรรคมละเสียซึ่งกิเลสทั้งหลายนั้น ขอความอันนี้แล เปนอันแสดงกิริยามละเสียซึ่งภูมิลัทธิกิเลสคือกิเลสอันมีภูมิตั้งไดแลว และบังเกิด ภูมินั้นจะไดแกขันธสันดานอันบังเกิดเปนอารมณแหงวิปสสนาปญญา คือขันธแหงปุถุชน อันบังเกิดในภพทั้ง ๓ คือ กามเทพ และรูปเทพ และอรูปภพ อันปุถุชนผูเปนเจาของขันธ ยังบมิได พิจารณากําหนดขันธนั้น ดวยปญญาและพระวิปสสนาขันธนั้นไดชื่อวาเปนภูมิที่เกิดแหงกิเลสอันนอน ประจําอยูในขันธสันดานนั้น จําเดิมแตกําเนิดในกาลใด ๆ ก็เปนภูมิที่เกิดกิเลสในกาลนั้น ๆ ขันธใน อดีตก็เปนที่ตั้งแหงกิเลสในอดีตขันธ ในปจจุบันก็เปนภูมิที่เกิดแหงกิเลสในปจจุบันขันธในอนาคตเปน ภูมิที่เกิดแหงกิเลสในอนาคต อนึ่งขันธอยางนี้ ถาเปนกามาพจรขันธก็เปนวัตถุที่อยูแหงกิเลสอันมี อนุสัย อันบุคคลมิไดมละดวยมรรคญาณในกามาพจรสันดาน ถาเปนรูปาพจรขันธ แลอรูปพจรขันธก็ เปนวัตถุที่อยูแหงอนุสัยกิเลส อันบุคคลยังมิไดมละเสียดวยพระอริยมรรคญาณ ในรูปาพจรขันธ สันดาน แลอรูปาพจรขันธสันดาน กิเลสอันประจําอยูในขันธสันดานแหงปุถุชนดังพรรณนามาฉะนี้ เมื่อ ยังมิไดโอกาสก็ยังสงบแตทวาคอยจะบังเกิดกําเริบขึ้นในขณะเมื่อไดโอกาสขางหนา กิเลสอยางนี้แล ไดชื่อวาภูมิลัทธิกิเลส ก็ถาแลบุคคลผูเปนเจาของขันธนั้น พิจารณากําหนดขันธทั้งปวงดวยพระวิปสสนาปญญา ตราบเทาถึงพระอริยมรรคญาณบังเกิดตนก็ตั้งอยูในอริยภูมิ มีพระโสดาบันเปนอาทิแลว ก็มละเสียซึ่ง กิเลสอันเปนมูลแหงวัฏฏทุกข อันประพฤติเปนไปในขันธสันดานกอนดวยพระอริยมรรคมีพระโสดา ปตติมรรคเปนอาทินั้น จําเดิมแตนั้นไปขันธสันดานแหงพระอริยบุคคลนั้น ๆ ก็มิไดนับเขาวาเปนภูมิ เหตุบมิเปนวัตถุที่เกิดแหงวัฏฏมูลกิเลสที่มละเสียแลวนั้น ฝายโลกียปุถุชนทั้งปวง อันมีกิเลสเปนมูลแหงวัฏฏสงสารประจําอยูในสันดานเปนนิตย เหตุบมิไดมละเสียซึ่งอนุสัยกิเลสแมวาจะกระทําทํากรรมสิ่งใด ๆ เปนฝายกุศลแลอกุศลก็ดี ก็ลวนเปน มูลแหงวัฏฏทุกข อันประจําอยูในขันธสันดานแหงปุถุชนนั้นจะวาประจําอยูในรูปขันธสิ่งเดียว มิไดอยู ในขันธอันอื่น มีเวทนาขันธเปนอาทิ ก็วาได จะวาประจําอยูใน เวทนาสัญญา สังขาร วิญญาณขันธ แต ละสิ่ง ๆ ก็อยาพึงวา เหตุวาวัฏฏมูลกิเลสนั้นประจําอยูในขันธทั้ง ๕ หาสวนวิเศษเปนแผนบมิได ดุจ หนึ่งวารสปฐวีเปนอาทิถาซาบอยูในตนไม แทจริงในเมื่อตนไมใหญตั้งอยูในพื้นปฐวี อาศัยรสปฐวีแล รสอาโปเปนอุปการแลว ก็วัฒนาการจําเริญดวยรากแลลําตนและคาคาบ กิ่งนอยกิ่งใหญใบออนใบแก ผลิดอกออกผลยังนพดลใหบริบูรณดวยปริมณฑลกิ่งกาน ก็ประดิษฐานสืบรุกขประเพณีดวยพืช ปรัมปราตราบเทากัลปาวสาน อันวารสปฐวี แลรสอาโปก็ดี จะวาตั้งอยูในรากสิ่งเดียว มิไดตั้งอยูในลํา ตนเปนอาทิก็อยาพึงวา จะวาอยูในประเทศมีมูลเปนตนมีผลเปนที่สุด แตละสิ่งเดียว ๆ ก็วาบมิได เหตุ วารสปฐวีเปนอาทินั้นซาบไปในพฤกษาพยพหาสวนเศษบมิไดก็ดี แลกิเลสอันประจําอยูในขันธ สันดานแหงปุถุชนก็มีอาการเหมือนดังนั้น ผิวาบุรุษผูใดผูหนึ่ง มีจิตเหนื่อยหนายปรารถนาจะไมให ตนไมนั้นจําเริญดวยดอกแลผลสืบตอไปจึงเอาเงี่ยงกระดูกปลาอาบยาพิษ ตอกเขาในตนไมนั้นทั้ง ๔ ทิศ ดวยอํานาจพิษครอบงํากําจัดเสีย ซึ่งรสปฐวีแลอาโปใหเหือดแหงไป ตนไมนั้นก็มิอาจเพื่อจะยัง รุกขสันดานใหบังเกิดสืบตอไปไดฉันใดก็ดี เมื่อกุลบุตรผูเปนเจาของขันธ มีกมลกระสันเหนื่อยหนาย ในขันธปวัตติแลว ก็ปรารถนาเพื่อจะจําเริญมรรคภาวนาทั้ง ๔ ในขันธสันดานแหงอาตมา มีอุปมาดุจ ดังบุรุษประกอบยาพิษไวในทิศทั้ง ๔ แหงตนไม อันวาขันธสันดานแหงกุลบุตรนั้น อันกําลังยาพิษ คือ จตุมรรคญาณครอบงําสัมผัสกําจัดวัฏฏมูลกิเลสใหสิ้นหาเศษบมิได แตนั้นไปก็มีแตประเภทแหงกรรม ทั้งปวง มีกายกรรมเปนอาทิถึงซึ่งสภาวะ เปนแตกิริยาอพยากฤต หาผลหาวิบากบมิได แลขันธสันดาน นั้นก็ถึงซึ่งสภาวะจักมิไดบังเกิดในภพใหมแลว ก็มิอาจเพื่อจะยังสันดานประเพณีใหเกิดสืบตอไปใน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 149 ภพอันอื่น ไดจะทรมานอยูควรแกกาลกําหนด ถึงจุติแลว ก็จะดับสูญสําเร็จแกพระนิพพาน ปราศจากเชื้ออุปาทานทั้ง ๔ ดุจเปลวอัคคีอันสิ้นเชื้อไสน้ํามันนั้นแลวดับไป

ดวย

“เอวเมตฺถ เยน เยน ปหาตพฺพา ธมฺมา” อันวากิเลสธรรมทั้งปลาย อันพระอริยมรรค ญาณอันใด ๆ มละเสีย อันวากิริยามละกิเลสธรรมทั้งหลายนั้น นักปราชญพึงรูในญาณทัสสนะนิเทศ ดวยประการดังนี้ แตนี้ไปจะวินิจฉัยในกิจ ๔ ประการนั้น ๆ คือปริญญากิจ ๑ คือ ปหานกิจ ๑ คือสัจฉิกิริยากิจ ๑ คือภาวนากิจ ๑ กิจ ๔ ประการนี้ สมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจามีพระพุทธฎีกาตรัสบัณฑูรไววา เปนดวย ขณะเดียวกัน คือขณะเดียวกัน คือขณะเมื่อมรรคญาณทั้ง ๔ คือพระโสดาปตติมรรคญาณเปนอาทิอัน ใดอันหนึ่งบังเกิดกิจละเสีย ๆ ก็สําเร็จดวยขณะอันเดียว ในกาลเมื่อตรัสรูซึ่งพระจตุราริยสัจจนั้น แลกิจ ๔ ประการนั้น นักปราชญพึงรูโดยสภาวะ ยุติดวยคําโบราณาจารยเจาพวกอภัยคิรี วาสี กลาวเปนอุปมาสาธกไวดังนี้ สเมติ”

“ยถา ปทีโป อปริมํ เอกกฺขเณน จตฺตาริ กิจฺจานิ กโรติ ฯลฯ จตฺตาริ สจฺจนิ อภิ

อธิบายความตามวาระบาลี “ปทีโป” อันวาประทีปน้ํามันอันบุคคลตามไว แลประทีปนั้น ใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ คือยังเกลียวไสใหเกรียมไมประการ ๑ คือขจัดเสียซึ่งอันธการ ๑ คือสําแดง แสงอาโลกใหสวางประการ ๑ คือสังหารน้ํามันใหสิ้นไปประการ ๑ เปนกิจ ๔ ประการ พรอม ๆ กัน ในขณะเดียว จะไดกอนจะไดหลังหาบมิไดฉันใดก็ดี พระอริยมรรคทั้ง ๔ แตละพระองค ๆ ก็ใหสําเร็จกิจตรัสรูซึ่งอริยสัจจ ๔ ประการในขณะ เดียว ก็มีอาการดุจนั้น แลพระอริยมรรคญาณ ใหสําเร็จกิจ ๔ ประการนั้น คือตรัสรูซึ่งสมุทัยสัจจดวยกําหนดเบญจขันธแลว แลโดยบมิหลง ๑ คือตรัสรูซึ่งสมุทัยสัจจ โดยมละเสียดวยสมุจเฉทปหาน ๑ ประจักษ ๑

คือตรัสรูซึ่งพระนิโรธสัจจ

ดวยสัจฉิกิริยาภิสมัย คือกระทําพระนิพพานเปนอารมณโดย

คือตรัสรูซึ่งพระอัษฏางคิกมรรคดวยภาวนาภิสมัย บังเกิดเนื่องมาแตบุรพภาคภาวนา ๑

คือตรัสรูดวยพระอริยมรรคญาณ อัน

มีคําอธิบายเปนใจความวา เมื่อพระโยคาพจรเจากระทําพระนิพพานเปนอารมณแลวก็ได ชื่อวาถึงวาเห็นวาตรัสรู พระอริยสัจจทั้ง ๔ ในขณะเดียวกัน ยุติดวยพระพุทธฎีกา ตรัสพระสัทธรรม เทศนาโปรดไววา “ โย ภิกฺขเว ทุกฺขํ ปสฺสติ ทุกฺขสมุทยํป ปสฺสติ” ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูใดหยั่งปญญาเล็งเห็นทุกขสัจจโดยแทแลวบุคคลผูนั้นก็ได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 150 ชื่อวาเห็นซึ่งทุกขสมุทัยสัจจ ไดชื่อวาเห็นซึ่งทุกขนิโรธสัจจ แลทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจจ พรอมกันในขณะเดียว นักปราชญพึงสันนิษฐานเปนใจความวา เมื่อพระโยคาพจรเห็นพระอริยสัจจทั้ง ๔ คือ ทุกขสัจจก็ดี ทุกขสมุทัยก็ดี แลทุกขนิโรธ แลทุกขนิโรธมินีปฏิปทาก็ดี แตอันใดอันหนึ่งแลวก็ ไดชื่อวาเห็นพระอริยสัจจทั้ง ๔ ๆ เสมอพรอมกัน “อปรมฺป วุตฺต”ิ ประการหนึ่ง สมเด็จพระพุทธองคมีพระพุทธฎีกาตรัสฉะนี้อีกเลาวา ญาณ อันใดแหงพระโยคาพจรผูมีสันดานกอปรไปดวยพระโลกุตตรมรรคญาณนั้นแลว ชื่อวาประพฤติเปนไป ในทุกขสัจจเปนไปในทุกขสมุทัย เปนไปในทุกขนิโรธ เปนไปในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาปฏิบัติ “ตตฺถ ยถา ปทีโป” นักปราชญพึงรูซึ่งอรรถาธิบาย ขอความเปรียบเทียบพระอริยมรรค ญาณ ใหสําเร็จกิจกับดวยดวงประทีปดังนี้เลา กิริยาที่พระอริยมรรคญาณ เกลียวไสใหไหมไป

สําเร็จกิจกําหนดซึ่งทุกขสัจจนั้นเปรียบดวยดวงประทีปยัง

กิริยาที่พระอริยมรรคญาณ มละเสียซึ่งสมุทัยนั้น เปรียบดวยดวงประทีปอันขจัดเสียซึ่ง อันธการ กิริยาที่พระอริยมรรคญาณ ยังองคอัฏฐางคิกมรรค มีสัมมาสังกัปปะเปนอาทิใหสําเร็จ ดวย สามารถเปนสหชาตาทิปจจัยนั้นเปรียบตอดวงประทีปอันสําแดงอาโลกสองแสงสวางขางโนนขางนี้ กิริยาที่พระอริยมรรคญาณ สําเร็จกิจกระทําใหแจงซึ่งพระนิโรธสัจจอันเปนเหตุใหสิ้นสรรพ กิเลสนั้น เปรียบดุจดวงประทีปอันสําเร็จกิจสังหารน้ํามันใหเหือดแหงสิ้นไป “อปโร นโย” มีนัยอุปมาอันอื่นอีกเลา “สุริโย” อันวาพระสุริยมณฑล เมื่อแรกอุทัย ขึ้นมาใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ คือสําแดงรูปารมณใหปรากฏแจงแกตาโลกประการ ๑ คือขจัดเสียซึ่งมหันธการกองมืด ๑ คือสําแดงอาโลกสองรัศมีไปในหองแหงจักรวาลประเทศ ๑ คือบรรเทาเสียซึ่งความลําบาก คือระทดหนาวแหงสัตวทั้งหลาย ๑ แลสุริยเทพยมณฑลใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ ดังพรรณนามาดังนี้ พรอมดวยขณะอันปรากฏแหงอาตมา จะเปนกอนเปนหลังหาบมิไดฉันใดก็ดี อริยมรรคญาณนี้ ก็ใหสําเร็จกิจ ๔ ประการพรอมกันในขณะเดียวก็มีอาการดุจนั้น

แลพระ

นักปราชญพึงรูขอความเปรียบเทียบอุปมาดังนี้ พระอริยมรรคญาณ จําเร็จกิจกําหนดซึ่งทุกขสัจจนั้น เปรียบตอพระอาทิตยสําแดงรูปทั้ง ปวงใหปรากฏแกตาโลก พระอริยมรรคญาณสําเร็จกิจ มละสมุทัยนั้นเปรียบดวยพระอาทิตยสําเร็จกิจ คือกําจัดเสีย ซึ่งอันธการกองมืด

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 151 พระอริยมรรคญาณสําเร็จกิจ ยังองคมรรคมีสัมมาสังกัปปะเปนตนใหจําเริญ ดวยสภาวะเปน สหชาตาทิปจจัยนั้น เปรียบดวยดวงพระอาทิตยอันสําเร็จกิจ สําแดงอาโลกใหสองแสงสวางไปในหอง จักรวาล พระอริยมรรคญาณสําเริจ กระทําใหแจงซึ่งพระนิโรธ อันเปนเหตุจะระงับสรรพกิเลสใน สันดาน ปานดุจดังพระอาทิตยอันสําเร็จกิจระงับซึ่งความเย็นสะทาน ในสันดานสัตวทั้งปวง นัยหนึ่งนักปราชญพึงรูกระทูความอุปมาอุปไมย ดุจนาวาอันนําของขามคลองน้ํา แลนาวา นั้นใหสําเร็จกิจ ๔ ประการ คือมละเสียซึ่งฝงฟากโพนประการ ๑ คือตัดกระแสสายน้ําประการ ๑ คือนําไปซึ่งของ ประการ ๑ คือถึงซึ่งฝงฟากโพนประการ ๑ เปนกิจ ๔ ประการ พรอมกันขณะเดียวกันฉันใดก็ดี พระอริยมรรคญาณสําเร็จกิจประเภททั้ง ๔ ก็มีอาการดุจนั้น กิริยาที่พระอริยมรรคญาณสําเร็จกิจ กําหนดซึ่งทุกขสัจจนั้นมีอาการดุจนาวามละฝงฟาก โนน พระอริยมรรคญาณสําเร็จกิจเปนปหานเสีย ซึ่งทุกขสมุทัยคือตัณหานั้น มีอุปมาดุจเรืออัน ตัดกระแสสายน้ําไป แลนาวาสําเร็จกิจนําไปซึ่งของอันบรรทุกใสไปนั้น ฉันใดก็ดี พระอริยมรรคญาณก็ สําเร็จกิจใหเจริญซึ่งอัฏฐางคิกมรรค มีสัมมาสังกัปปะเปนอาทิดวยสามารถเปนสหชาตาทิปจจัยแล นําไปซึ่งทรัพยอันประเสริฐคือสัตตตึสสัมโพธิปกขิยธรรมก็มีอุปไมยดุจนั้น อนึ่ง นาวานั้นสําเร็จกิจฝงฟากโนน มีอุปไมยฉันใด พระอริยมรรคญาณก็สําเร็จ กระทําให แจงซึ่งพระนิพพาน อันบังเกิดเปนฝงฟากโพนแหงสงสารสาคร ก็มีอุปไมยดุจนั้น แลพระโลกุตตรมรรค อันมีญาณประพฤติเปนไปดวยอํานาจแหงกิจ ๔ กาลเมื่อตรัสรูซึ่ง พระจตุราริยสัจจ โดยนัยพรรณนามานี้ แลสัจจทั้ง ๔ นั้น เปนเอกปฏิเวธ คืออาการอันตรัสรูพรอมกันในขณะเดียว แจกโดยตถัตถะ คือสภาวะจริง บมิไดวิปริต ๔ ประการเปนอาการ ๑๖ อธิบายวา แตทุกขสิ่งเดียว มีอรรถวาเปนสภาวะจริง บทิไดวิปริต ๔ ประการ จึงไดชื่อวา ทุกขสัจจ สมุทัย แลนิโรธ แลมรรคก็ดี ก็มีอรรถเปนสภาวะจริง บมิไดวิปริตสิ่งละสี่ ๆ จึงไดชื่อวา สมุทัยสัจจ นิโรธสัจจ มรรคสัจจ สภาวะจริงแหงทุกขมีอาการ ๔ นั้น “ปฬนตฺโถ” คือสภาวะเบียดเบียนประการ ๑ “สงฺขตถฺโถ” คือสภาวะอันปจจัยประชุมแตงประการ ๑ “สนฺตาปตฺโถ” คือสภาวะรอน โดยรอบคอบประการ ๑ “วิปริณามตฺโถ” คือสภาวะแปรปรวนประการ ๑ เปนอาการ ๔ ดวยกัน ชื่อ สภาวะแทแหงทุกขบมิไดวิปริต คืออรรถวาเบียดเบียนก็เบียดเบียนแทจริงจะแปรผันเปนอื่นวาทุกข แลว จะไมเบียดเบียนหาบมิได วาปจจัยประชุมแตงก็แทจริง วารอนก็รอนจริงโดยแทวาแปรปรวนก็ แปรปรวนจริงโดยแท จะเปนอื่นหาบมิได

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 152 ฝายสมุทัยก็มีอรรถอันแท ๔ ประการ “อายุหนตฺโถ” คือสภาวะกระทําใหกอเกิดกอง ทุกขประการ ๑ “นิทาตฺโถ” คือสภาวะสําแดงซึ่งผลคือทุกขประการ ๑ “สํโยคตฺโถ” คือสภาวะ ประกอบไวดวยประกอบสังขารทุกขประการ ๑ “ปลิโพธตฺโถ” คือสภาวะใหขังอยูในเรือนจํา คือภพ สงสารประการ ๑ เปนอรรถ ๔ ประการ เปนสภาวะจริงแทแหงสมุทัย พระนิโรธก็มีสภาวะจริง ๔ ประการ “นิสฺสรณตฺโถ” คือสภาวะออกจากอุปธิ คือตัณหา สมุทัย ตัณหานุสัยประการ ๑ “วิเวกตฺโถ” คือสภาวะสงัดจากหมู คือหากิเลสแลสังสารทุกขมิได ประการ ๑ “อสงขตตฺโถ” คือสภาวะอันปจจัยมิไดประชุมตกแตงประการ ๑ “อมตตฺโถ” คือ สภาวะเปนอมฤตยรสเปนธรรมที่ไมตายประการ ๑ เปนอรรถ ๔ ประการดวยกัน เปนสภาวะจริงแทแหง พระนิโรธ ฝายพระอริยมรรค ก็มีอรรถเปนสภาวะจริงแทดวยการ ๔ “นิยฺยานตฺโถ” คือสภาวะออก จากวัฏฏสงสารประการ ๑ “เหตวตฺโถ” คือเหตุเห็นพระนิพพานประการ ๑ “ทสฺสนตฺโถ” คือเปน สภาวะเห็นพระนิพพาน ๑ “อธิปเตยฺยตฺโถ” คือสภาวะเปนอธิบดีในที่เห็นพระนิพพานแหงสหชาติ ธรรมประการ ๑ เปน ๔ ประการดวยกัน เปนอรรถอันแทบมิไดวิปริตแหงพระอริยมรรค ธรรม ๔ ประการ มีทุกขเปนอาทิชื่อวาสัจจะ ดวยอรรถอันแทโดยอาการ ๑๖ นี้ พระอาจารย สงเคราะหเอาสัจจะทั้ง ๔ นั้นดวยอาการอันเดียวคือเอาแตอรรถวาจริง มิไดวิปริตเทานั้น เปนใจความ วา เมื่อสงเคราะหเอาดวยอาการอันเดียวดังนี้แลว สัจจะทั้ง ๔ นั้นก็นับวาเปน ๑ แลวพระโยคาพจรนั้น ก็ตรัสรูพระจตุราริยสัจจนั้นดวยญาณอันเดียว แลสัจจะทั้ง ๔ นั้นก็ไดชื่อวาเอกปฏิเวธดวยประการดังนี้ มีคําโจทนาดังนี้เลานี้ อรรถทั้งหลายมีอรรถวาโรค แลอรรถวาเปนปม เปนอาทิแหงสัจจะ ทั้งหลาย ๔ มีทุกขเปนอาทิก็ยังมีอยู เหตุดังฤๅพระอาจารยจึงกลาวไววา แตอรรถละสี ๆ นั้นวาดวย อรรถอันควรจะปรากฏดวยลักษณะแหงตน แลเล็งเห็นสัจจะอันอื่นมีสมุทัยเปนตน อธิบายวาอรรถ ทั้งหลายใด อันควรจะปรากฏดวยสภาวะแหงตนก็ดี ดวยสามารถแหงสัจจะอันอื่นก็ดี แลอรรถ ทั้งหลายนั้นมีอาการละสี่ ๆ มีอาการเบียดเบียนเปนอาทิตาง ๆ กันสิริเปนอาการ ๑๖ แท คําที่วามานี้ ยุติดวยคําภายหลัง อันสัจจญาณนี้ สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสเทศนาใน พระบาลีสัจจวิภังคนั้น ตรัสเทศนาดวยสามารถแหงญาณอันหระทําซึ่งสัจจะสิ่งละอัน ๆ เปนอารมณ เปนสัจจญาณ ๔ ประการมีญาณอันปรารภเอาทุกขเปนอารมณเปนอาทิตาง ๆ กัน ตรัสเทศนาดวย อรรถ ก็ตรัสเทศนาโดยสามารถแหงญาณปรารภสัจจอื่น ๆ เปนอารมณแลวก็ใหสําเร็จกิจในสัจจะ ทั้งหลายอันเศษ เปนอันสําเร็จโดยนัยพระบาลี “โย ภิกฺขเว ทุกฺขํ ปสฺสติ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูใดเห็นซึ่งทุกขสัจจ บุคคลผูนั้นก็ไดชื่อวาเห็นสมุทัยสัจจ ไดชื่อวาเห็นซึ่งนิโรธสัจจ ล้ําอรรถทั้ง ๒ คือสภาวะแหงตน เล็งแลเห็นซึ่งสัจจะอันอื่นนั้นกาลใดพระอริยสัจจญาณ กระทําซึ่งสัจจะละอัน ๆ เปนอารมณนั้นขณะเมื่อเอาทุกขเปนอารมณนั้น “ปฬนตฺโถ” อันวาอรรถวา เบียดเบียนก็ปรากฏตามสภาวะลักษณะแหงตน คือทุกขสัจจ “สงฺขตตฺโถ” แลทุกขสัจจ มีอรรถวา ปจจัยประชุมแตงเปนอรรถคํารบ ๒ ก็ปรากฏดวยเล็งเห็นสมุทัยสัจจ อธิบายวากองทุกขคือเบญจขันธ อันกอปรดวยชาติทุกขเปนอาทินี้จะไมมีผูเปนพนักงาน ตกแตงแลจะบังเกิดเองหาบมิได จําจะมีผูตกแตงจึงจะบังเกิดได ผูตกแตงนั้นก็ใชอื่นใชไกล คือตัว ตัณหาสมุทัยเปนพนักงานไดตกแตง ใหเกิดทุกขราสิในภพกําเนิดแลคติฐิติสตตวาส จึงไดเสวยชาติ ชราพยาธิมรณะทุกข แลอบายทุกข ทั้งนี้ก็เพราะตัณหาสมุทัยเปนปจจัยตกแตง เมื่อสัจจญาณเล็งเห็นตัวสมุทัย ผูเปนพนักงานตกแตงมีอยูฉะนี้แลวอันวาทุกขสัจจมีอรรถ วามีปจจัยประชุมแตงก็ปรากฏแจงเพราะสําแดงเหตุคือสมุทัย ดวยประการดังนี้

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 153 “สนฺตาปตฺโถ” แลทุกขสัจจมีอรรถคือสภาวะรอนเปนคํารบ ๓ ก็ปรากฏเพราะเล็งเห็น มรรคสัจจ ๆ นั้นกอปรดวยคุณอันเย็นระงับเสียซึ่งความรอนคือราคาทิกิเลส เหตุใดเหตุดังนั้น อันวา ทุกขสัจจมีอรรถวารอนก็ปรากฏ เพราะเล็งเห็นมรรคสัจจ เปรียบอาการดุจหนึ่งนางรูปนันทชนปท กัลยาณี กลับมีรูปอันต่ําชาปรากฏแกพระอานนท อันไดทัศนาการซึ่งสิริแหงนางเทพกัญญา อนึ่ง ทุกขสัจจมีอารรถ คือสภาวะเปนวิปริณามแปรปรวนบมิเที่ยงแท เปนอรรถคํารบ ๔ นั้น ปรากฏ เพราะเล็งเห็นพระนิโรธสัจจนั้น ๆ บมิไดเปนวิปริณามธรรมโดยเที่ยงแท มิไดแปรปรวนไปดวย ความเกิดความแกความตาย ฝายทุกขสัจจอันมีลักษณะเปนปริณามนั้นก็ปรากฏแกสัจจญาณเพราะ เล็งเห็นนิโรธเที่ยงอยูนั้น ทุกขสัจจมีอรรถ ๔ “ปฬนตฺโถ” อรรถเปนปฐม คือสภาวะเบียดเบียนปรากฏดวยสภาวะ แหงตน ยังอรรถ ๓ คืออรรถวาปจจัยประชุมแตง อรรถวารอน อรรถวาแปรปรวนนั้น ก็ปรากฏดวย เล็งเห็นสัจจะอันอื่น คือสมุทัยยสัจจ นิโรธสัจจ มรรคสัจจดวยประการดังนี้ เมื่อสัจจญาณกระทําซึ่งสมุทัยสัจจะเปนอารมณในกาลใด “อายุหนตฺโถ” อันวาอรรถวาประมวลซึ่งทุกข ก็ปรากฏโดยสภาวะลักษณะแหงตนคือ สมุทัย มิไดเล็งเห็นสัจจะอันอื่นในกาลนั้น “นิทานตฺโถ” อันวาสภาวะเปนนิทาน คือสําแดงผลเปนอรรถคํารบ ๒ แหงสมุทัย ก็ ปรากฏดวยเล็งเอาซึ่งทุกขอันเปนผลแหงตนเปรียบดุจหนึ่งโภชนาหารของผิดสําแดง ก็ปรากฏวาเปน โรคนิทานเพราะเห็นพยาธิอันบังเกิดแตอสัปปายโภชนะนั้น “สํโยคตฺโถ” อันวาสภวะประกอบสัตวไวดวยสังขารทุกขเปนอรรถคํารบ ๓ แหงสมุทัย สัจจ ก็ปรากฏดวยเล็งเห็นนิโรธอันเปนเหตุพรากออกจากสังขารทุกขนั้น “ปลิโพธตฺโถ” อันวาสภาวะเปนปลิโพธิ คือกั้นกําเสียซึ่งอริยมรรค แลไดขัดของอยูใน เรือนจํา คือวัฏฏทุกขเปนคํารบ ๔ แหงสมุทัยสัจจ ปรากฏดวยเล็งเห็นซึ่งมรรคสัจจ อันบังเกิดเปน ปฏิบัติตัดปลิโพธออกจากวัฏฏสงสาร สมุทัยสัจจมีอรรค ๔ ประการดวยสภาวะแหงตน แลปรากฏดวยเล็งเห็นสัจจะอันอื่น ดวย ประการดังนี้ อนึ่งสัจจญาณกระทําซึ่งนิโรธสัจจสิ่งเดียว เปนอารมณในกาลใด “นิสฺสรณตฺโถ” อันวาสภาวะออกจากอุปธิทั้งปวง เปนอรรถแหงนิโรธก็ปรากฏดวยสภาวะ แหงตน มิไดเล็งเห็นซึ่งสัจจะอันอื่นในกาลนั้น “วิเวกตฺโถ” อันวาสภาวะสงัดจากอุปธิวิเวก ก็เปนอรรคคํารบ ๒ แหงนิโรธ ก็ปรากฏดวย เล็งเห็นสมุทัยสัจจ อันมิไดสงัดจากหมูกิเลสทั้งหลาย “อสงฺขตตฺโถ” อันวาสภาวะอันปจจัยมิไดประชุมแตงเปนอรรถคํารบ ๓ แหงนิโรธ ก็ ปรากฏดวยเล็งเห็นมรรคสัจจ อธิบายวามรรคสัจจนั้น แมพระโยคาพจรเจามิเคยพบเห็นเลยมาแตกอน ในสังสารวัฏอันมี ที่สุดเบื้องตนมิไดปรากฏ พึงมาปรากฏในกาลบัดนี้ ก็เห็นเปนมหัศจารรยอยูแลว แตทวาเปนสังขตะ ธรรมแท เหตุประกอบดวยปจจัยมีสหชาตปจจัยเปนอาทิ ตกแตงอยูปราศจากปจจัยอยางนิโรธสัจจ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 154 อยางนิโรธสัจจนี้หามิได อันนิโรธสัจจสิ่งเดียวนี้แลปราศจากปจจัย เหตุดังนั้นอันสภาวะชื่อ อสังขตะ เปนอรรถแหงนิโรธสัจจ อันหาปจจัยมิไดก็ปรากฏยิ่งนัก เพราะเหตุเล็งเห็นมรรคสัจจดวยประการดังนี้ อนึ่งโสด “อมตตฺโถ” อันวาสภาวะเปนอมฤตยรสเปนอรรถคํารบ ๔ แหงนิโรธก็ปรากฏ ดวยเล็งเห็นทุกขสัจจ อธิบายวา ทุกขสัจจนั้น ไดชื่อวาพิษ เหตุเบียดเบียนสัตวใหลําบากหาที่สุดมิได ฝายพระ นิพพานเปนอมฤตยะโอสถอันประเสริฐบังเกิดเปนยาดับพิษคือทุกข อาศัยเหตุเล็งเอาทุกขสัจจดังนี้ นิโรธสัจจจึงมีอรรถปรากฏวาเปนอมฤตยรสเปนคํารบ ๔ อนึ่งเมื่อสัจจญาณกระทําซึ่งมรรคสัจจสิ่งเดียว เปนอารมณในกาลใด “นิยฺยาวตฺโถ” อันวาอรรถอันเปนปฐม คือสภาวะออกจากวัฏฏสงสารเปนอรรถแหงมรรค สัจจ ก็ปรากฏดวยสภาวะแหงตนมิไดเล็งเห็นสัจจะอันอื่น “เหตวตฺโถ” อันวาสภาวะเปนเหตุ เปนอรรถคํารบ ๒ แหงมรรคสัจจ ก็ปรากฏดวยสิ่งเห็น ซึ่งสมุทัยสัจจ คือเขาใจเปนแทวาตัณหาสมุทัยนั้นบมิไดเปนเหตุใหถึงพระนิพพาน ฝายมรรคสัจจนี้ เปนเหตุใหถึงพระนิพพานแทจริง อรรถเปนคํารบ ๓ นั้น “ทสฺสนตฺโถ” คือกิริยาอันเปนอรรถแหงมรรคสัจจ ก็ปรากฏดวย เห็นนิโรจจ อันเปนอันจันตะบรมสุขุมคัมภีรอารมณยิ่งนัก เปรียบอาการดุจหนึ่งบุรุษมีจักษุอันผองใส เมื่อเล็งเห็นรูปารมณอันละเอียดแลว ก็เขาใจวาจักษุของอาตมานี้ผองใสบริสุทธิ์จากมลทิน “อธิปเตยฺยตฺโถ” อันวาสภาวะเปนอธิบดีศร อันเปนอรรถคํารบ ๔ แหงมรรคสัจจนั้น ปรากฏดวยเล็งเห็นซึ่งทุกขสัจจ อันกอปรดวยเอนกโทษแผไฟศาล ปานประหนึ่งบุคคลไดทัศนาการ ซึ่งชนกําพราอันอาดูรเดือดรอนอยูดวยอเนกโรคาหาที่พํานักมิได อิสรภาพอันหาโรคาพยาธิมิไดนั้นก็ ปรากฏดวยโอฬาริกายิ่งนัก “เอวเมตฺถ สลกฺขณวเสน” ล้ําอรรถทั้งหลายนั้น อันวาอรรถละสี่ ๆ แหงอริยสัจจละอัน ๆ องคสมเด็จพระผูทรงพระภาคเจาตรัสเทศนาโดยสภาวะปรากฏแหงอรรถอันหนึ่ง ดวยสามารถลักษณะ แหงตนแลปรากฏแหงอรรถละสาม ๆ อันเศษ ดวยเล็งเห็นซึ่งอริยสัจจอันอื่นดวยประการฉะนี้ แลอรรถทั้งปวงนั้นก็ถึงซึ่งสภาวะอันพระโยคาพจร ตรัสรูซึ่งอริยสัจจอันอื่น ดวยประการ ฉะนี้ แลอรรถทั้งปวงนั้นก็ถึงซึ่งสภาวะอันพระโยคาพจร ตรัสรูดวยสัจจญาณอันเดียว ในขณะ เมื่อโลกุตตรมรรคญาณบังเกิดนั้น “อิมานิ ยานิ ตานิ ปริฺญาทีนิ จตฺตาริ กิจฺจานิ อตฺตานิ” บัดนี้จะถวายวิสัชนาการจําแนกในกิจ ๔ ประการ คือปริญญากิจ ปหานกิจ สัจฉิกิริยากิจ ภาวนากิจ ล้ํากิจ ๔ ประการนั้น “ติวิธา หิโต ปริฺญา” ปริญญากิจสิ่งหนึ่ง มีประเภท ๓ ปหานก็มี ประเภท ๓ สัจฉิกิยามีกิจประเภท ๓ ภาวนากิจก็มีประเภท ๓ “วินิจฺฉโย ญาตพฺโพ” นักปราชญพึง รูวินิจฉัยในกิจ ๔ ประการดังนี้ “ติวิธา” ปริญญากิจมีประเภท ๓ นั้น คือญาตปริญญา ๑ ตีรณปริญญา ๑ ปหานปริญญา ๑ ปริญญาทั้ง ๓ นี้ ก็มีนบ ั ดังกลาวมาแลวในมัคคามัคคญาณทัสสนะวิสุทธินิเทศ ในหนหลังแลว ใน

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 155 ที่นี้จักวิสัชนาแตใจความสังเขป ตามวาระพระบาลีวา “สพฺเพ ภิกขเว อภิฺเญยฺ ยํ” ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย ปญญาแหงพระโยคาพจรกําหนดนามและรูปกับทั้งปจจัยแลว แลรูด  วยลักษณะรสปจจุปฏ ฐานปทัฏฐาน นี้แลเปนภูมิเปนแผนกญาตปริญญา ปญญาแหงโยคาพจร อันพิจารณานามรูปดวยพระไตรลักษณจับเดิมแตสัมมัสสนญาณ พิจารณากองกลาปตราบเทาถึงอนุโลมญาณนี้แลเปนภูมิเปนแผนกแหงตีรณปริญญา ปญญาแหงโยคาพจร อันประพฤติเปนไปดวยนัยเปนตน คืออนิจจานุปสสนา “นิจฺจสฺญํ ปชหติ” มละเสียซึ่งสําคัญวาเที่ยงในไตรภพสังขาร ดวยอนิจจานุปสสนาเปนอาทิดังนี้ชื่อวา ปหาน ปริญญา ปหานปริญญานี้ มีญาณอันประพฤติเปนไป อริยมรรคญาณ เปนภูมิที่ดําเนินโดยแผนก

จับเดิมแตภังคานุปสสนาตราบเทาถึงพระ

“อยํ อิธ อธิปฺเปโต” ปหานปริญญานี้เปนที่ตองประสงคในที่นี้เพราะเหตุวา วิสัชนามา ดวยการอันตรัสรูซึ่งจตุราริยสัจจ ญาตปริญญาแลตีรณปริญญาทั้ง ๒ นี้ ยกขึ้นวาดวยแตพอจะใหรูจัก ประเภทแหงปริญญาจะเปนที่ตองประสงคในที่นี้หามิได “อปจ” นัยหนึ่งถาจะวาญาตปริญญาแลตีรณปริญญาทั้งสองตองประสงคดวยก็วาได ดวย ปริญญาทั้ง ๒ นี้ ตองอยูในที่จะใหสําเร็จประโยชนคือพระอริยมรรคประการ ๑ ขณะเมื่อพระอริยมรรค ญาณบังเกิด ยึดหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณ “ปหานํป” มละเสียซึ่งธรรมหมูใด ธรรมหมูนั้นก็ ไดชื่อวาญาตะชื่อวาตีรณะ วาอันพระอริยมรรคญาณหากรูหากพิจารณาโดยนิยมเที่ยงแท เหตุใดเหตุ ดังนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานวาปริญญาทั้ง ๓ นี้ เปนกิจแหงพระอริยมรรคญาณโดยปริยายนามดังนี้ สิ้นความในปริญญากิจโดยสังเขปแตเทานี้ “ตถา ปหานํป” ฝายปหานกิจนั้นก็มีประเภท ๓ ประการ เหมือนปริญญาคือเปน วิกขัมภนปหาน ๑ ตทังปหาน ๑ สมุจเฉทปหาน ๑ ล้ําปหานทั้ง ๓ ประการนั้น จะยกวิสัชนาแต วิกขัมภนปหานนั้นกอน “ยํ ปหานํ” อันวาปหานอันใด คือกิริยาอันพระโยคาพจรเจาขมเสียซึ่งนิวรณธรรม แลปจจ นิกธรรมทั้งหลายมิไดเกิดกําเริบอันทําครอบงําสันดานไดสิ้นกาลชานานดวยโลกิยสมาธินั้น ๆ “วิกฺ ขมุภนํ วิย” ดุจหนึ่งบุคคลขมเสียซึ่งเสวาลชาติ คือจอกแหนสาหรายดวยกระออมอันวางลงเหนือ หลั่งน้ําอันกอปรดวยเสวาลชาติ อนึ่งเปนคํารบโบราณคติพระโบราณาจารยกลาวไว เหมือนดวยศิลา ทับหญา “โลกิยสมาธินา” กิริยาที่ขมนิวรณธรรมดวยโลกิยสมาธิดังนี้วาวิกขัมภนปหาน “ปาลิยํ ปน” ฝายพระบาลีนั้นวา องคสมเด็จพระสรรเพชญตรัสพระสัทธรรมเทศนา เฉพาะแตขมขี่นิวรณธรรมแท เปนวิกขัมภนปหานพระบาลีอันนี้ นักปราชญพึงเขาใจวา องคสมเด็จพระ ผูมีพระภาคตรัสเทศนาเฉพาะวาแตทีปรากฏ เหตุวาเมื่อพระโยคาพจรออกจากญานแลว ก็ยอมปรากฏ แกบุคคลผูอื่น เขาใจวาทานผูมีจิตมิไดพยายาม แลปราศจากถีนมิทธะ แทจริงอันวานิวรณธรรมทั้งหลาย มีกามฉันทเปนอาทินั้นแตในบุรพภาคปฏิบัติ เมื่อยังมิได อัปปนาฌานก็ดี ก็มิไดครอบงําจิตสันดานอันเปนอันเร็วพลัน แมออกจากอัปปนาญานแลว ก็มิได ครอบงําจิตสันดานเปนอันเร็วพลัน กิริยาที่ขมขี่ริวรณธรรมนั้น จึงปรากฏดังกลาวแลว ฝายปจจนิกธรรมทั้งหลายอื่น ๆ มีวิตกเปนอาทิ อันเปนจะพึงขมเสียดวยทุติฌานเปนอาทิ นั้น จะไมครอบงําจิตสันดานก็เพราะแตในอัปปนามึทุติยญานเปนอาทิ ครั้นออกจากญานแลววิตกวิจาร ก็ครอบงําจิตสันดานไดเปนอันเร็วพลัน เหตุดังนั้นกิจที่ขมขี่ปจจนิกธรรมมีวิตกเปนอาทินั้นไดชื่อวา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 156 ปรากฏแกผูอื่น เหตุดังนั้น กิริยาที่ขมนิวรณธรรมมีกรรมฉันทเปนอาทินั้นไดชื่อวาปรากฏแจง อาศัย เหตุฉะนี้สมเด็จสรรเพชญพุทธเจา จึงตรัสเทศนาเฉพาะแตขมนิวรณสิ่งเดียวเปนวิกขัมภนปหาน ในพระบาลีนั้นวา “ยํ ปหานํ” อันวาปหานอันใดคือกิริยาอันมละเสีย ขจัดเสียซึ่งธรรมอัน ควรจะพึงมละเสียนั้น ๆ ดวยองคคือญาณอันบังเกิดเปนอวัยวะแหงวิปสสนานั้น ๆ ดุจหนึ่งกิริยาดวง ประทีป อันบุคคลตามไวในราตรีภาค ขจัดเสียซึ่งมืด ปหานดังนี้ชื่อวา ตทังคปหานจัดโดยประเภทได ๑๓ คือกิริยาอันโยคาพจรมละเสีย ซึ่งสักกายทิฏฐิดวยกําหนดซึ่งนามแลรูป ๑ คือมละเสียซึ่งอเหตุกทิฏฐิ แลวิสมเหตุกทิฏฐิ แลมลทินคือกังขาดวยกําหนดซึ่งปจจัยแหง นามแลรูป ๑ คือมละเสียซึ่งลัทธิ อันถือผิดถือเอาซึ่งประชุมแหงนามแลรูปวาตนวาของตนดวยพิจารณา กลาป ๑ คือมละเสียซึ่งทางอันผิด สําคัญวาทางในธรรมอันใชทางดวยมัคคา มัคคววัตถานญาณ ๑ คือมละเสียซึ่งอุจเฉททิฏฐิ ดวยอุทยทัสสนะ คือญาณอันรูซึ่งลักษณะเกิดแหงนามแลรูป ๑ คือมละเสียซึ่งสัสสตทิฏฐิดวยญาณอันเห็นซึ่งลักษณะแหงนามแลรูป ๑ คือมละเสียซึ่งสําคัญ คือสภาวะหามิได ในนามรูปอันกอปรดวยภยตูปฏฐานญาณ ๑ ๑

คือมละเสียซึ่งสําคัญผิด อันประพฤติเปนไปดวยสามารถยินดีในเบญจขันธ ดวยทีนวญาณ คือมละเสียซึ่งสัญญาอันกําหนดยิ่งนัก ดวยนิพพิทาญาณ ๑ คือมละเสียซึ่งสภาวะมิไดเปลื้องปลอยตน ใหพนจากนามแลรูปดวยมุญจิตุกามยตญาณ ๑

คือมละเสียซึ่งโมหะอันเปนปฏิปกษแกปฏิสังขาญาณ คือปญญาอันตกแตงอุบายอันจะมละ เสียซึ่งสังขาร ๑ คือมละเสียซึ่งมิไดมัธยัสถในสังขารดวยอุเบกขาญาณ ๑ คือมละเสียซึ่งอันผิดจากคลองอริยสัจจ คือถือเอาวาเที่ยงเปนอาทิในสังขาร ดวยอนุโลม ญาณ ๑ เปน ๑๓ ดวยกัน ชื่อตทังคปหาน พระพุทธโฆษาจารยแสดงตทังคปหาน โดยอนุโลมลําดับแหงสุวิสุทธิดังนี้แลว บัดนี้ ปรารถนาเพื่อจะสําแดงตทังคปหานนั้น ดวยสามารถแหงอัฏฐารสมหาวิปสสนา จึงกลาววาระพระบาลี เปนอาทิคือ “ยํ วา ปน” แปลวาตามวาระพระบาลีวา “ยํ ปหานํ” อันวาปหานอันใดประพฤติ เปนไปในมหาวิปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งสุขสัญญา สําคัญวาเปนสุขดวยทุกขานุปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งสําคัญวาตน ดวยอนัตตานุปสสนา ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 157 คือมละเสียซึ่งตัณหาอันประกอบดวยปติดวยนิพพานุปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งราคะ ดวยวิราคานุปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งสมุทัย ดวยนิโรธานุปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งถือมั่นดวยตัณหาทิฏฐิในปญจขันธ ดวยปฏินิสสัคคานุปสสนา ๑ คือมละเสียซึ่งสําคัญวาเปนแทงหนึ่งแทงเดียว ดวยสามารถแหงสันตติเนื่องบมิไดขาด แล ประชุมไปดวยกองนามแลรูปแลกิจจารยดวยขยานุปสสนาคือปญญาอันวิจารพรากสังขารออกจากแทง แลวก็เล็งเห็นวาอนิจจัง “ขยตฺ เถน” ดวยสภาวะสิ้นไป ๑ คือมละเสียซึ่งอายุหนะ คือกิริยาอันเพียรพยายามใหเกิดอภิสังขารมีบุญญาภิสังเปนอาทิ ดวยขยานุปสสนา คือสภาวะเล็งเห็น ซึง่ ทําลายสังขาร โดยปจจักขสิทธิ์ แลอนุมานสิทธิ์ แลนอมจิต ไปในนิโรธคือสังขารภังคนั้น ๑ คือมละเสียซึ่งธุวสัญญา สําคัญวาถาวรมั่นคงในสงสาร ดวยวิปริณามานุปสสนา คือปญญา อันเล็งซึ่งสังขารมีรูปสัตวเปนอาทิอันลวงเสียซึ่งปริจเฉทนั้น ๆ มีปฏิสนธิแลจุติเปนตน แลวแลประพฤติ แปรเปนอื่นแลแปรไปดวยอาการ ๒ คือชราแลมรณะแหงสังขารอันบังเกิด ๑ คือมละเสียซึ่งอนิจจานิมิต คือกําหนดวาเที่ยงดวยอนิจจานิมิตตานุปสสนา คือปญญาอัน พิจารณาเห็นวาเปนอนิจจัง ๑ คือมละเสียซึ่งปณิธิ คือความปรารถนา ซึ่งสุขในสังขารดวยอัปปณิหิตานุปสสนา คือ ปญญาอันพิจารณาเห็นแตทุกขฝายเดียว คือมละเสียซึ่งอภินิเวส ถือเอามั่นวา “อตฺถิ อตฺตา” ตัวตนนี้มีดวยสุญญตานุปสสนา คือ ปญญาพิจารณาเห็นวาสูญเปลาจากตน ๑ คือมละเสียซึ่งถือมั่นวา เปนแกนสารในสังขารธรรมอันหาแกนมิได ดวยอธิปญญาธรรม วิปสสนา ไดแกปญญาอันรูซึ่งอารมณมีรูปเปนอาทิ แลวแลเห็นซึ่งทําทั้งหลายแหงอารมณนั้น แล ทําลายแหงจิตมีรูปเปนอาทินั้น เห็นอารมณแลวก็ถือเอาสภาวะสูญเปลาดวยสามารถแหงทําลายดวย มนสิการวาสังขารธรรมแทจริง มีแตจะทําลายไปฝายเดียวมรณธรรมนั้นเลา ก็มีแตสังขารธรรมเปนแท จะมีสัตวมีบุคคลผูอื่นจากสังขารทําลายหามิได ๑ คือมละเสียซึ่งสัมโมหาภินิเวส อันประพฤติเปนไปดวยสามารถแหงกงขาเปนอาทิวา ดังอา ตมาะรําพึง ตัวอาตมะนี้ มีแลหรือในอดีตกาลแลเปนไปดวยถือผิด เปนตนวาสัตวโลกบังเกิดแตพระ อิศวรนารายณตกแตงดวยยถาภูตญาณทัสสนะ คือกําหนดซึ่งนามแลรูปกับทั้งปจจัย ๑ คือมละเสียซึ่งอาลยาภินิเวส คือถือมั่นผูกอาลัยในสังขาร เหตุมนสิการกําหนดวาสังขารอัน ใดนอยหนึ่ง ที่ควรจะเปนที่แอบอิงอาศัยนั้นมิไดปรากฏดวยอาทีนวานุปสสนา คือปญญาอันบังเกิด ดวยสามารถแหงภยตูปฏฐานญาณเห็นซึ่งโทษในภพทั้งปวงเปนอาทิ ๑ คือมละเสียซึ่งโมหะอันเปนปฏิปกษแกสังขาญาณ ดวยปฏิสังขานุปสสนาคือปญญาอันตน แตงอุบาย จะเปลื้องตนใหพนจากสังขาร ๑ คือมละเสียซึ่งโยคาภินิเวสคือ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

ประพฤติเปนไปแหงกามสังคโยคาทิกิเลส

ดวยวิวัฏฏา


- 158 นุปสสนา สังขารุเบกขาญาณแลอนุโลมญาณ ๑ อันวาปหานอันสําแดงมาในมหาวิปสสนาทั้ง ๑๘ ประการก็ชื่อวาตทังคปหาน นักปราชญ พึงรูโดยพิสดาร ดวยประการดังนี้ สมุจเฉทปหานนั้น เมื่อพระโยคาพจรเจา มละเสียซึ่งธรรมทั้งหลาย มีอนุสัยสังโยชญเปน อาทิ พระอริยมรรคญาณ สัฃขารเสียมิไดประพฤติเปนไปในสันดาน มีอาการดุจหนึ่งอสุนีจักรอันตก ตองตนไม ๆ นั้นก็ถึงแกพินาศ มิอาจเพื่อจะเจริญสืบรุกขสันดานตอไปได ล้ําปหาน ๓ ประการ ดัง พรรณนามาแลวนั้น ยกเอาแตสมุจเฉทปหานสิ่งเดียว เปนที่ตองประสงคในที่นี้ ถาจะวาฝายหนึ่งเลา แมวาปหานทั้ง ๓ คือวิกขัมภนปหาน และตทังคปหานก็ดีเมื่อประพฤติเปนไปในบุพรภาคปฏิบัติแหง พระโยคาพจรนั้นก็เปนอุปการะเพื่อจะใหสําเร็จประโยชญ คือสมุจเฉทปหานแทจะแปรเปนอื่นหาบ มิได เหตุดังนั้นนักปราชญพึงสันนิษฐานเถิดวาปหานทั้ง ๓ ประการนั้น เปนกิจแหงพระอริยมรรคญาณ ทั้งสิ้น ดวยปริยายนามดังนี้ เปรียบอาการดุจหนึ่งบรมกษัตราธิราชอันพิฆาตฆาซึ่งพระยาอันเปน ปจจามิตรเสียแลวแลไดปราบดาภิเษก การทั้งปวงที่กระทํามาตราบเทาถึงสําเร็จราชสมบัตินั้นแมวา ผูอื่นจากบรมกษัตริยกระทําก็ดี ชนทั้งปวงก็ยอมกลาววา บรมกษัตริยสิ้นทั้งนั้น ฉันใดก็ดี นักปราชญ พึงสันนิษฐานวา ปหานทั้ง ๓ ประการ มีวิกขัมภนปหานเปนอาทิ เปนกิจแหงพระอริยมรรคญาณดุจ ดังนั้น สิ้นใจความในปหานกิจเทานี้

จักถวายวินิจฉัยในบท คือสัจกิริยาสืบตอไป สักฉิกิริยา มีประเภท ๒ ประการคือ โลกิยสัจฉิกิริยา กระทําอารมณใหแจงฝายโลกิยะ ๑ คือโลกุตตรสัจฉิกิริยา กระทําอารมณใหแจงฝายโลกุตตระ ๑ ในโลกิยสัจฉิกิริยานั้น มีประเภท ๒ ประการ คือ ทัสสนะสัจฉิกิริยา ๑ ภาวนาสัจฉิกิริยา ๑ พระโยคาพจรถูกตองซึ่งฌานมีปฐมฌานเปนอาทิดวยฌานสัมผัสส อาตมาะได ดังนี้ก็ไดชื่อวาโลกิยสัจฉิกิริยา

คือรูแจงวาฌานนี้

ประการหนึ่งธรรมทั้งหลายใด แมวาจะใหเกิดในสันดานแหงตน ดุจหนึ่งวาวิญญาณแลมรรค แลผลนั้นก็ดี แตทวาบุคคลหารูดวยญานแหงตน มิไดถือเอาแตคําผูอื่นดวยสามารถกําจัดเสียซึ่งโมหะ อันปกปดไวซึ่งธรรมทั้งหลายนั้น แลธรรมทั้งหลายนั้นก็ไดชื่อวาอันบุคคลกระทําใหแจงดวยโลกิยสัจฉิ กิริยา กิริยาอันพระโยคาพจรเห็นพระนิพพาน ในขณะแหงพระโสดาปตติมรรคบังเกิดชื่อวา ทัส สนะสัจฉิกิริยา ทัสสนะนั้นเปนชื่อแหงพระโสดาปตติมรรค เพราะเหตุเห็นพระนิพพานกอนพระ อริยมรรคเบื้องบน ๆ ฝายโคตรภูญาณนั้น แมวาเห็นพระนิพพานกอนพระโสดาปตติมรรคก็ดี ก็ไดชื่อ วาทัสสนะ เพราะเหตุวา เห็นแลวแลมิไดสําเร็จอันพึงกระทํา คือกําจัดกิเลสอยางพระอริยมรรคนั้น กิริยาอันพระโยคาพจรเห็นพระนิพพาน ในขณะแหงพระอริยมรรคตรัยเบื้องบน มีพระสกทาคามิมรรค เปนอาทิชื่อวา ภาวนาสัจฉิกิริยา ภาวนานั้น เปนชื่อแหงพระอริยมรรคเบื้องบน เพราะหตุวาจําเริญใน อารมณคือพระนิพพาน อันพระโสดาปตติมรรคเห็นแลวนั้น ในที่นี้พระอาจารยประสงคเอาแตสัจฉิกิริยา ๒ ประการ คือทัสสนะสัจฉิกิริยา แลภาวนาสัจฉิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 159 กิริยา เหตุดังนั้น นักปราชญพึงสันนิษฐานวา ภาวนากระทําใหแจงซึ่งพระนิพพาน ดวยสามารถ แหงทัสสนะภาวนาทั้ง ๒ นั้น เปนกิจแหงพระอริยมรรคญาณนี้สิ้นความในสัจฉิกิริยาเทานั้น ฝาย ภาวนากิจนั้นเลา ที่พระอาจารยเจาประสงคกลาวในที่นี้ก็มี ๒ ประการคือ โลกิยภาวนาประการ ๑ โลกุตตรภาวนาประการ ๑ ล้ําภาวนา ๒ นั้น พระโยาคาพจรยังศีล สมาธิ ปญญา อันเปนฝายโลกิยะใหบังเกิด แลอบรม สันดานดวย ศีล สมาธิ ปญญานั้นชื่อวาโลกิยภาวนา พระโยคาพจรยังศีล สมาธิ ปญญา อันเปนฝายโลกุตตระใหบังเกิด แลอบรมสันดานดวยโล กุตตรศีลเปนอาทินั้น ชื่อวาโลกุตตรภาวนา ในที่นี้พระอาจารยประสงคเอาแตโลกุตตรภาวนา คําที่วามานี้ยุติดวยคําภายหลัง เมื่อพระ อริยมรรคญาณทั้ง ๔ ยังศีล สมาธิปญญาอันโลกุตตระใหบังเกิดแลว ก็อบรมสันดานแหงพระ อริยบุคคล ดวยโลกุตตรศีลเปนตนนั้น ดวยภาวนาเปนสหชาตาทิปจจัย เหตุใดเหตุดังนั้น อันวาโล กุตตรภาวนานี้แลไดชื่อวา เปนนิจแหงพระอริยมรรคญาณ วินิจฉัยในกิจ ๔ มีปริญญากิจเปนตน สิ้นความโดยสังเขปเทานี้ อันวาปริจเฉทเปนคํารบ ๒๒ ชื่อวา ญาณทัสสนะวิสุทธิเทศในอธิการแหงปญญาภาวนา ใน คัมภีรพระวิสุทธิมรรค อันพระพุทธโฆษาจารยเจารจนาไว เพื่อประโยชนจะใหบังเกิดปราโมทยยินดี แหงสัปปุริสชน ก็ยุติการจบบริบูรณเทานี้ “ปฺญาภาวนาย โก อานิสํโส” พระพุทธโฆษาจารยเจาจึงวิสัชชนาในปญหากรรม คือ คําปุจฉาถามวา ธรรมดังฤๅเปนอนิสงสแหงปญญาภาวนา ในที่นี้ยากที่จะสําแดงโดยพิสดารใหเสร็จสิ้นได จะสําแดงแตใจความโดยสังเขป “นานากิเลสวิทฺธํสนํ” กิริยาที่พระโยคาพจรกําจัดเสียซึ่งกิเลสตาง ๆ มีสักกายทิฏฐิเปน อาทิ ดวยวิกขัมภนปหาน แลตทังคปหานจําเดิมแตกําหนดซึ่งนามแลรูป อันนี้นักปราชญพึงรูวาเปน อานิสงสแหงโลกิยปญญาภาวนา “อริยมคฺคกฺขเณ” พระโยคาพจรกําจัดเสียซึ่งกิเลสตาง ๆ มีสังโยชนเปนอาทิ ในขณะ บังเกิดแหงพระอริยมรรคทั้ง ๔ อันนี้แลเปนอานิสงสแหงโลกุตตรปญญาภาวนา “น เกวลฺจ” ใชจะประสงสเอาแตภาวะกําจัดกิเลส เปนอานิสงสแหงปญญาภาวนาแต เทานั้นหาบมิได “อริยผลรสานุภาวนํป” แมวากิริยาอันพระอริยบุคคลไดเสวยรสแหงพระอริยสามัญญผล ทั้ง ๔ มีพระโสดาปตติผลเปนตน ก็ไดชื่อวาเปนอานิสงสแหงปญญาภาวนา “ทฺวิหากาเรหิ รสานุภาวนํ” แลกิริยาอันเสวยรส แหงอริยผลนั้นมี ๔ ประการ คือ เสวย รสแหงอริยผล ประพฤติเปนไปในมัคควิถีประการ ๑ คือเสวยรสแหงอริยผล อันเปนไปดวยสามารถ แหงผลสมาบัติประการ ๑ เปนรสแหงพระอริยผล ๒ ประการดวยกัน มีกระทูความในปญญา ๙ ประการ ทานตั้งไวเพื่อประโยชนจะสําแดงใหแจงความ ซึ่งวา พระอริยผลประพฤติเปนไปในผลสมาบัติ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 160 ปฐมปญหานั้นวา ผลสมาบัตินั้นเปนดังฤๅ ทุติยปญหานั้นวาบุคคลดังฤๅเขาไปสูผลสมาบัติ ตติยปญหานั้นวา บุคคลดังฤๅมิไดเขาสูผลสมาบัติ จตุตถปญหานั้นวา บุคคลเขาสูสมาบัตินั้น เพื่อประโยชนดังฤๅ ปญจมปญหานั้นวา กิริยาอันเขาซึ่งผลสมาบัตินั้นเปนดังฤๅ ฉัฏฐมปญหานั้นวากิริยาที่จะตั้งอยูในผลสมาบัตินั้นดวยอาการดังฤๅ สัตตมปญหานั้นวา จะออกจากผลสมาบัตินั้นดวยอาการดังฤๅ ฉัฏฐมปญหานั้นวา ธรรมดังฤๅเกิดในลําดับแหงผล นวมปญหานั้นวา ผลนั้นเกิดในลําดับแหงผลดังฤๅ ซึ่งถามในปฐมปญหาวา คือผลสมาบัตินั้นเปนดังฤๅ วิสัชนาวากิริยาอันประพฤติเปนไป แหงพระอริยผลฌานดวยแหงอัปปนาคือ อันบังเกิดเปนอารมณนอมจิตเขาสูพระนิพพานนั้นแล ชื่อวา ผลสมาบัติ ในทุติยปญหา กับตติยปญหา วาบุคคลดังฤๅเขาซึ่งผลสมาบัติแลบุคคลดังฤๅมิไดเขาซึ่ง ผลสมาบัติ ทานวิสัชนาเปนปจฉาสตินัยคือวิสัชนาขางตติยปญหากอน แลวจึงยอนวิสัชนา ทุติยปญหา ตอภายหลัง วาปุถุชนทั้งปวงมิไดเขาซึ่งผลสมาบัติเหตุดังฤๅ เหตุผลสมาบัตินั้น อันปุถุชนทั้งปวงยัง มิไดถึง พระอริยทั้งปวงเขาสูผลสมาบัติ เหตุผลสมาบัตินั้นพระอริยบุคคลไดแลว ถาจะวาโดยพิเศษเปนแผนก พระอริยเขาเบื้องบน ๆ มีพระสกทาคามีเปนตน ก็มิไดเขาซึ่ง ผลสมาบัติเบื้องต่ํา ๆ มีพระโสดาปตติผลเปนตน เหตุผผลสมาบัติเบื้องต่ํานั้น ระงับจากสันดาน เพราะวาถึงซึ่งภาวะเปนบุคคลอันตางไปแลว ฝายพระอริยบุคคลเบื้องต่ํา ก็มิอาจเขาสูผลสมาบัติเบื้องบนไดเหตุยังไปมิไดถึง ตน ๆ

นักปราชญพึงสันนิษฐานเปนแทวา พระอริยบุคคลทั้งปวงเฉพาะเขาไดแตผลสมาบัติแหง

ในปญหาคํารบ ๔ ที่วาบุคคลเขาสูสมาบัติเพื่อประโยชนดังฤๅนั้นวิสัชนาวา บุคคลมีประ โยนชจะอยูสบายในอัตตาภาพอันเห็นประจักษในปจจุบันนั้น จึงเขาสูผลสมาบัติ มีสาธกอุปมาเปรียบคําวา บรมกษัตริยอันเสวยความสุขในสิริราชสมบัติ แลเทพยดาอัน เสวยสุขในทิพยสมบัติ ฉันใดก็ดี ฝายพระอริยสาวกทั้งหลาย ก็กําหนดซึ่งกาลเวลาดวยมนสิการวา อาตมาจะเสวยซึ่งโลกุตตรสุข แลวก็เขาสูผลสมาบัติ ในขณะอันปรารถนาก็มีอุปไมยดังนั้น

แลตั้งอยูในสมาบัติดวยอาการดังฤๅ แลออกจากสมาบัติดวยอาการดังฤๅนั้น วิสัชชนาโดย ลําดับกิริยาที่พระอริยบุคคลเขาสูสมาบัตินั้นดวยอาการ ๒ คือมิไดมนสิการซึ่งอารมณอันอื่นจากพระ นิพพาน ๑ คือกระทําซึ่งพระนิพพานเปนอารมณไวในใจ ๑

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 161 นักปราชญพึงรูลําดับแหงกิริยา อันพระอริยบุคคลจะเขาสูผลสมาบัติดังนี้ พระอริยสาวกผูมีประโยชญ ดวยผลสมาบัตินั้นพึงเขาสูที่รโหฐานเปนที่ควรแกการวิเวก แลวมีจิตออกจากอารมณตาง ๆ แลเรนอยูในพระกรรมฐาน พึงพิจารณาสังขารจําเดิมแตอุทยัพพญาณ เปนอาทิตราบเทาถึงอนุโลมญาณ อันวาวิตสันดานแหงพระอริยสาวก อันมีลําดับพระวิปสสนาประพฤติ เปนไปดังนี้ ก็เขาไปในอารมณคือพระนิโรธ ดวยสามารถแหงผลสมาบัติ ในลําดับแหงพระโคตรภู ญาณอันเปนสังขารเปนอารมณ อนึ่งพระเสขบุคคล มีพระโสดาบันเปนอาทิ พิจารณาสังขารดวยอุทยัพพยญาณเปนตน ดังกลาวมานี้ เมื่อพระอัปปนาจะบังเกิดก็เกิดเปนจิตแทจะบังเกิดมรรคจิตหาบมิได เพราะเหตุวามี อัชฌาสัยนอยไปในผลสมาบัติเปนทิฏฐธรรมสุขวิหารโดยแท จะเจริญพระวิปสสนา เพื่อจะใหถึงซึ่ง พระอริยมรรคเบื้องบนนั้นยังบมิไดกอนอาศัยเหตุนี้ มรรคจิตจึงไมบังเกิดแทจริง บังเกิดแตผลที่อาตมา ไดไวแตกอนนั้น อนึ่งมีคําอาจารย พวกอภัยคีรีวาสีกลาวไวฉะนี้ วาแตพระเสขบุคคลคือพระโสดาบัน มี ความดําริวาอาตมาจะเขาซึ่งผลสมาบัติปรารภเจริญพระวิปสสนา ก็เปนพระอนาคามีบุคคลไป พึงใหนักปราชญรูแทกลาวแกอาจารยเหลานั้นดังนี้วา ถาทานจะถือเอาอธิบายดังนั้น ก็ยัง ไมคงอยูแตเพียงนั้น แมพระอนาคามีบุคคลเมื่อเจริญพระวิปสสนา เพื่อจะเขาสูสมาบัติก็ผลัดตัวไป เปนพระอรหันต ๆ ก็จะผันแปรไปเปนพระปจเจกโพธิ์ ๆ ก็จะไปเปนพระสัพพัญูพุทธเจา ก็จะไดโดย ลัทธิแหงทาน เหตุดังนั้นอันคําอาจารยพวกนี้ บมิควรที่จะถือเปนประมาณได คําพระอาจารยทั้งหลาย ก็หามในพระบาลี เหตุดังนั้นคําอภัยคีรีอาจารยนั้น นักปราชญอยาพึงเอา พึงถือเอาคํามีผลจิตแทจริง บังเกิดแกพระเสขบุคคลอันเขาสูผลสมาบัติ มรรคจิตจะบังเกิดบมิได คํานี้แลนักปราชญพึงถือเปน ประมาณได ประการหนึ่งพระอริยสาวกเจาทั้งปวง เมื่อแรกไดพระอริยมรรคมีพระโสดาปตติมรรคเปน อาทิ แลพระอริยมรรคนั้น ยุติในปฐมฌานคือประกอบดวยฌาน ๕ คือ วิตก วิจาร ปตี สุข เอกกัคคตา เหมือนดวยปฐมฌาน พระอริยผลอันบังเกิดในผลสมาบัติวิถีนั้นก็ประกอบดวยองคฌาน ๕ เหมือนดวย องคปฐมฌาน ผิวาพระอริยมรรคอันพระอริยสาวกไดนั้น เหมือนดวยทุติยฌานเปนตนอันใดอันหนึ่ง คือมละองคมีวิตกวิจารยเปนอาทิอันหนึ่งนั้น อันวากิริยาอันพระอริยบุคคลเขาสูผลสมาบัติก็มีดวย ประการดังกลาวมานี้ สภาวะตั้งอยูในผลสมาบัตินั้น ก็ตั้งอยูดวยอาการ ๓ คือมิไดมนสิการ ซึ่งนิมิตทั้งปวง อธิบายวา มิไดเอารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเปนอารมณ ๑ คือกําหนดกาลแตกอนเขาสูผลสมาบัตินั้นวา อาตมาจะอยากจากสมาบัติในกาลมีชื่อโพน ๑ เมื่อกาลมีกําหนดนั้นยังไปมิไดตราบใด ก็ตั้งอยูในสมาบัตินั้นดวยอาการ ๓ ดังกลาวมานี้ กิริยาที่จะออกผลสมาบัตินั้นเลา ก็ออกดวยอาการ ๒ คือกระทํามนสิการ ซึ่งสังขารธรรมทั้ง ปวง มีรูปนิมิตเปนตน เปนอารมณประการ ๑ แลขอที่กระทํามนสิการ ซึ่งนิมิตทั้งปวง มีรูปนิมิตทั้งปวง เปนอารมณนั้น จิตอันนั้นจะเอานิมิตทั้งปวงเปนอารมณได ในขณะเดียวขณะอันออกจากสมาบัตินั้นหา มิไดโดยแท แตทวาคําซึ่งมนสิการซึ่งนิมิตทั้งปวงนั้นวา ดวยสามารถสงเคราะหเอาซึ่งอารมณทั้งปวง หานิยมบมิไดตามแตจะปรากฏ เหตุดังนั้นถาจะเอาใจความ ก็คือนิมิตอันใดอันหนึ่งมีกรรมนิมิตเปน อาทิที่เปนอารมณแหงภวังคจิต ติดพันมาแตแรกปฏิสนธิในปจจุบันภพนั้น เมื่อพระอริยสาวกมละ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 162 อารมณ คือพระนิพพาน แลกระทํามนสิการซึ่งอารมณ มีกรรมนิมิตเปนอาทิ กิริยาที่ออกจากผลสมาบัติ ก็มีดวยภวังคจิตนั้น

ผล ๆ บังเกิดในลําดับแหงธรรมดังฤๅนั้น วิสัชชนาวา ผลจิตแทจริงเกิดในลําดับแหงผลก็มี บาง บางทีภวังคจิตบังเกิดในลําดับแหงผลก็มี อนึ่งผลนั้นที่บังเกิดในลําดับแหงมรรคก็มี ผลบังเกิดใน ลําดับแหงผลก็มี ผลบังเกิดแหงโคตรภูก็มี ผลบังเกิดในลําดับแหงเนวสัญญานาสัญญายนะก็มี ล้ําผล ทั้งปวงอันบังเกิดในลําดับแหงมรรคนั้น เฉพาะไดแตมรรควิถี ๆ นั้น ผลจิตบังเกิด ๒ ขณะ ๓ ขณะ ผล ที่บังเกิดเปนปฐมนั้นชื่อวาเกิดในลําดับแหงผลอันบังเกิดภายหลัง ๆ นั้น ชื่อวาเกิดในลําดับแหงผลอัน บังเกิดกอน ๆ ในผลสมาบัติวิถีนั้นเลา ผลที่บังเกิดแรกนั้นในลําดับแหงโคตรภู ๆ ในที่นี้ไดแกอนุโลม ญาณ อันถือเอาสังขารเปนอารมณสมดวยวาระพระบาลีอันสมเด็จพระสรรเพชญพุทธเจาตรัสพระ สัทธรรมเทศนา ในพระคัมภีรพระมหาปฏฐานวา “อรหโต อนุโลมํ ผลสมาปตฺติยา อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย เสกฺขานํ อนุโลมํ ผล สมาปตฺตยา อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโย” แปลเนื้อความวา อนุโลกจิตแหงพระอรหันต เปนอนันตรปจจัยแกผลสมาบัติแหงพระ อรหันต อนุโลมจิตแหงพระเสขบุคคลเปนอนันตรปจจัยแกผลสมาบัติแหงพระเสขบุคคล ดังนี้ปราชญ พึงรูเถิดวา โคตรภูที่นําหนาผลสมาบัตินี้ไดแกอนุโลมจิตตามวาระพระบาลีในคัมภีรพระมหาปฏฐานนั้น เมื่อพระอริยสาวกเจา เขาซึ่งนิโรธสมาบัตินั้น แลออกจากนิโรธ แลออกจากนิโรธสมาบัติ นั้นดวยผลจิตอันใด คือพระอนาคามิผลก็ดี พระอรหัตตผลก็ดีตามสมควรแกบุคคล พระอนาคามิผล แลพระอรหัตตผลนั้นแล ไดชื่อวาเกิดในลําดับแหงเนวสัญญานาสัญญายตนะแมวาลวงไปถึง ๗ วัน แลวก็ดีก็ไดชื่อวาเกิดในลําดับ เพราะเหตุมิไดมีจิตอื่นบังเกิดขึ้นในระหวาง ๗ นั้น ผลจิตทั้งปวงที่ กลาวมาแลวนั้น ยกเสียแตผลจิตอันเกิดในมรรควิถี เหลือนั้นไดชื่อวาอันเปนไปดวยสามารถแหงผล สมาบัติทั้งสิ้น “เอวเมตํ มฺคฺคมิ ถิยํ” อันวาผลจิตนั้นประพฤติเปนไปโดยอาการ ๒ ดวยสามารถ บังเกิดในมรรควิถีแลผลสมาบัติวิถี ดวยประการดังนี้ “นิโรธสมาปตฺติสมาปชฺชนสมตฺถตา” กิริยาที่เสวยรสแหงอริยสามัญญผลที่จะเปน ปญญาภาวนานิสงส สุดแตเพียงนั้นหาบมิได แมวาภาวนาสามารถเพื่อจะเขาซึ่งนิโรธสมาบัติก็ดี นักปราชญพึงรูวาจัดเปนอานิสงสแหงปญญาภาวนา จึงมีปญหากรรม เพื่อจะสําแดงใหปรากฏแหงนิโรธสมาบัติในคําวังเขปนั้นวา “กา นิโรธ สมาปตฺต”ิ ธรรมดังฤๅ ชื่อวานิโรธสมาบัติบุคคลดังฤๅเขาถึงนิโรธสมาบัติมิได บุคคลเขานิโรธ สมาบัติไดนั้น เขาไดในภพดังฤๅ บุคคลเขานิโรธสมาบัตินั้นเพื่อประโยชนดังฤๅ อนึ่งกิริยาที่เขานิโรธ นั้นดวยอาการดังฤๅ เมื่อเขาแลวแลจะตั้งอยูในนิโรธนั้น ดวยอาการดังฤๅ ออกจากนิโรธนั้น นอมไปใน ธรรมดาดังฤๅ อนึ่งบุคคลรูกระทํากาลกิริยา กับบุคคลผูเขาในนิโรธนั้น จะแปลกกันดังฤๅ อนึ่งนิโรธ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 163 สมาบัตินั้นเปนสังขตธรรมหรือ ๆ เปนอสังจตธรรม อนึ่งจะวาจะเปนโลกิยธรรมหรือ ๆ จะวาเปนโล กุตตรธรรม จะวาเปนนิปผันธรรมหรือ ๆ จะวาเปนอนิปผันธรรม สิริเปนปญหากรรม ๑๐ ขอ วิสัชนาในปฐมปญหานั้นวา กิริยาอันมิไดประพฤติเปนไปแหงจิตแลจิตสิกทั้งหลาย ดวย สามารถดับไปโดยอนุกรมนั้นแล ชื่อวานิโรธสมาบัติ ในทุติยปญหา แลตติยปญหา คือถามวาบุคคลดังฤๅ เขานิโรธสมาบัติมิไดนั้น ทานวิสัชนา ตติยปญหากอน เพราะเหตุเปนครุฏฐาน แลวจึงกลับวิชนาทุติยปญหาตอภายหลัง เพราะเปนอครุฏ ฐาน อยางบุคคลผูรูทาง บอกมรรคาใหแกผูอื่นวา “วามํ มุฺจ ทกฺขิณํ คณฺห” วาทานจงมละเสีย ซึ่งทางซาย แลวจึงถือเอาซึ่งทางขวา มีคําวิสัชนาวาบุคคลที่เปนปุถุชนทั้งปวงก็ดี พระโสดาบันบุคคลทั้งปวงก็ดี พระสกทาคามิ บุคคลทั้งปวง แมวามีปกติไดซึ่งอัฏฐสมาบัติก็ดี ก็บมิอาจเพื่อเขานิโรธสมาบัติไดเหมือนกันกับบุคคล อันมิไดซึ่งอัฏฐสมาบัติ เพราะวายังมิไดเปนองคปริปุรณาจารีคือกระทําใหบริบูรณในสมาธิอาศัยเหตุ ไดมละเสียซึ่งกามฉันทเปนอาทิ อันเปนขาศึกแกสมาธินั้น ดวยสมุจเฉทปหาน แลสภาวะที่จะกระทํา ใหบริบูรณในสมาธินั้น อาศัยแกมละกามฉันทเปนอาทิขาดดวยแท อนึ่ง พระอนาคามีบุคคลอันเปนสุกขวิปสสกะก็ดี พระอรหันตอันเปนสุกขวิปสสกะก็ดี ก็บมิ อาจเพื่อขะเขานิโรธได เพราะเหตุมีแตกําลังวิปสสนาสิ่งเดียว หากําลังสมาธิคืออัฏฐสมาบัติบมิได สภาวะอาจเพื่อจะเขานิโรธสมาบัติไดนั้น อาศัยแกบริบูรณกําลัง ๒ ประการ คือวิปสสนาแล สมาธิ บุคคล ๒ จําพวก คือ พระอนาคามีบุคคล อันมีปกติไดซึ่งอัฏฐสมาบัติจําพวก ๑ พระขีณาสพ บุคคลอันมีปกติไดชื่งอัฏฐสมาบัติจําพวก ๑ อาจเพื่อจะเขาไดซึ่งนิโรธสมาบัติ เพราะเหตุประกอบดวย กําลัง ๒ ประการ ขอความที่กลาวมานี้ ยุติดวยพระบาลีอันพระะรรมเสนาบดีกลาวเปนอุเทศวารไวในคัมภีร พระปฏิสัมภิทามรรควา “ทฺวีหิ พเลหิสมนฺ นาคตตฺตา ฯลฯ นิโรธสมาปตฺติยา ญาณนฺต”ิ แปล เนื้อความวาปญญาอันเจริญดวยวสีสามารถ เหตุประกอบดวยคุณสัมปทา ๔ คือกําลังสองประการ ๑ คือระงับแหงไตรพิธสังขาร ๑ คือประพฤติเปนไปแหงโสฬสญาณประการ ๑ คือประพฤติเปนไปแหงน วานุรุบุรพวิหารสมาบัติประการ ๑ ชื่อวาญาณอันเปนไปเพื่อจะเขาซึ่งนิโรธ แลคุณสัมปทากอปรดวพละ ๒ เปนอาทินี้ ก็เฉพาะมีแกพระอริยบุคคล ๒ จําพวก คือพระ อนาคามีบุคคล คือพระขีณาสพบุคคลอันมิไดเหตุใดเหตุดังนั้น จึงเฉพาะเขานิโรธได แตพระ อริยบุคคล ๒ จําพวก จําพวกอื่นบมิอาจเขานิโรธได มีคํานิเทศวารพิศดารแหงอุทเทศวาระบาลี กําลังทั้ง ๒ ประการนั้นไดแกสมถพละ ๑ วิปสสนาพละ ๑ จึงมีคําปญหากรรม “กตมํ สมถพลํ” ธรรมดังฤๅชื่อวาสมฤพละ วิสัชนาวา กิริยาอันมิไดฟุงซานใด คือจิตเปนเอกัคคตารมณดวยอํานาจแหงเนกขัมมวิตก ฉันขมเสียซึ่งกายฉันท ผลอํานาจแหงกุศลจิตตุปบาทอันมีโลกะเปนประธาน ประพฤติเปนไปดวย อาการขมเสียซึ่งกามฉันท กิริยาที่มิไดฟุงซานคือเอกกัคคตาจิต ขมเสียซึ่งกามฉันทนี้ไดชื่อวาสมถ พละ ดวยอรรถวาระงับซึ่งปจจนิกธรรมมีกามฉันทเปนอาทิ และมิไดกัมปนาการดวยปฏิปกขธรรม อนึ่ง อันวาสภาวะมิไดฟุงซานอันใด กลาวคือเอกัคคตาจิตตั้งมั่นดวยอํานาจพยาบาทวิตก อันขมสียซึ่งวิตกพยาบาท และอํานาจแหงกุศลจิตตุปบาท อันมีอโทสะเปนประธาน อันประพฤติ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 164 เปนไปดวยอํานาจขมเสียซึ่งพยาบาทนั้น อยางนั้นก็ไดชื่อวาสมถพละโดยอรรถอันนี้ อนึ่ง กิริยาอันมิไดฟุงซานอันใด กลาวคือเอกัคคตาจิตสมาทานตั้งมั่นดวยอํานาจอาโลก สัญญา อันบังเกิดดวยกระทําอารมณใหปรากฏเปนพระอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหตุขมเสียไดซึ่งถีน มิทธะแลวและกระทําไวในใจใหดี อนึ่ง สภาวะมิไดฟุงซานอันใด กลาวคือเอกัคคตาจิตตั้งมั่นดวยอํานาจแหงจิตสมาทานพระ รัตนตรัยมั่น ฆาเสียไดซึ่งอุทธัจจะก็ดีสภสวะมิไดฟุงซานอันใด กลาวคือเอกัคคตาจิตตั้งมั่นดวย สามารถแหงโยคาพจรผูพิจารณา ซึ่งสละสังขารแลวและหายใจออก และหายใจเขาสําเร็จดวยอานา ปาสติ อันถึงซึ่งสภาวะเปนยอดแหงกิริยาที่ขมเสียซึ่งมิจฉาวิตกทั้งปวงก็ดี และกิริยาอันมิไดฟุงซาน กลาวคือเอกัคคตาจิตตั้งมั่นดังนี้ ๆ ก็ไดชื่อวาสมถพละ ดวย อรรถาธิบายดุจกลาวแลว พระพุทธโฆษาจารยเจาสําแดงซึ่งสมถพละ ดวยสามารถแหงอุปาจารฌาน ดุจพรรณนามา ฉะนี้แลว บัดนี้ปรารถนาเพื่อจะสําแดงสมถพละนั้น ดวยสามรถอันถึงซึ่งกําลังอันตั้งมั่น อันขาศึก ทั้งหลายในภายนอกบมิอาจครอบงําย่ํายีได ดวยอํานาจแหงอัปปนาสมาธิสมบัติ ๘ ประการ จึงตั้ง กระทูปญหาวาระบาลีวา “สมถพลนฺติ เกนตฺเถนสมถพลํ” แปลคําปุจฉาวา “ยํ สมถพลํ” อันวา กําลังสมถะอันใด “วุตฺตํ” อันอาจารยกลาวไว “ตํ สมถพลํ” อันวากําลังสมถะนั้น ดวย อรรถาธิบายเปนดังฤๅ จึงวิสัชนาเปนใจความสังเขปวา สมาธิอันสัมปยุตดวยฌาน คือสมาบัติ ๘ ประการ คือ ปฐมฌานจิตตั้งมั่น มิไดไหวดวยปญจนิวรณธรรมทุติยฌานจิตตั้งมั่น อันมิไดไหวดวยวิตกวิจาร ตติ ฌาณสมาธิจิตตั้งมั่นมิไดไหวดวยปติ จตุตถฌานสมาธิจิตตั้งมั่นมิไดไหวดวยสุขโสมนัส เอกัคคตาจิต ในอากาสานัญจายตสมาธิมิไดไหวดวยรูปสัญญา ปฏิฆสัญญา อัตตสัญญาวิญญาณัญจายตนสมาธิ มิไดไหวดวยอากาสานัญจายนะ อากิญจัญญายตนสมาธิจิต มิไดไหวดวยวิญญาณัญจายตนะเนว สัญญานาสัญญายตนสมาธิมิไดหวั่นไหวดวยอากิญจัญญายตนะ และจิตสมาทานตั้งมั่นมิไดจลาจล หวั่นไหว เพราะเหตุอุทธัจจะและกองสรรพกิเลสธรรม อันสหรคตดวยอุทธัจจะและปญจขันธ ทั้งหลาย “อิทํ อกปฺปนียตํ” อันวากิริยาอันมิไดฟุงซาน คือสภาวะแหงจิตมีอารมณเปนอันเดียว ได นามบัญญัติชื่อวาสมถะพละนี้ โดยอรรถาธิบายวา ตั้งมั่นมิไดหวั่นไหวดวยปจจนิกธรรมดังพรรณนามา นี้แลว ก็สิ้นความในสมถะพละนิเทศวารเทานี้ จึงมีคําปุจฉาในวิสัชนาพลนิเทศวารวา “กตมํ วิปสฺสนาพลํ” กําลังพระวิปสสนานั้นคือสิ่ง ดังฤๅ วิสัชนาวา พระวิปสสนา ๗ ประการ คือ อนิจจานุปสสนา ๑ ทุกขานุปสสนา ๑ อนัตตานุปสสนา ๑ นิพพิทานุปสสนา ๑ วิราคา นุปสสนา ๑ นิโรธานุปสสนา ๑ ปฏินิสสัคคานุปสสนา ๑ รวมกันเปน ๗ ประการดวยกัน “ยา ปฺญา” อันวาปญญาอันใดแหงพระโยคาพจรอันพิจารณาเห็นอนิจจลักษณะ คือขยวยะวิปสสนามิเที่ยงแหงขันธ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอายตนะมีจักขุเปน อาทิ และชรามรณะธรรมทั้งปวงลวนเปนอนิจจัง ดวยอรรถวาบังเกิดขุนแลวก็สิ้นไป เกิดในอดีตฉิบ หายไปในอดีต บมิทรมานไดมาถึงปจจุบัน เกิดในปจจุบันบมิไดไปถึงอนาคต เกิดในอนาคตก็ดับไปใน ที่เกิดนั้น ๆ สา ปฺญา ” อันวาปญญานั้น คือพิจารณาเห็นอนิจจลักษณะดังชื่อวาอนิจจานุปสสนา

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 165 ปญญาพิจารณาเห็นสังขารธรรมรูปเปนอาทินั้น วากอปรไปดวยทุกขโดยสภาวะที่พิลึกพึง กลัว เหตุอันความเกิดและความดับหากเบียดเบียนและทุกขโดยสภาวะที่พิลึกพึงกลัว เหตุอันความ เกิดและความดับหากเบียดเบียนและทุกขอันเกิดในจตุราบาย และพื้นแหงโรคมีจักขุโรคเปนอาทิ ปญญาพิจารณาเห็นโดยทุกขลักษณะดังนี้ ชื่อวาทุกขานุปสสนา ปญญาอันพิจารณาเห็นสังขาร มีรูปเปนอนัตตลักษณะโดยอรรถวาสูญเปลาจากแกนสาร โดยใชตัวใชตนใชสัตวใชบุคคลมิไดอยูในอํานาจแหงตน เปลาจากคนพาลปริกัปป ชื่อวาอนัตตา นุปสสนา ปญญาอันพิจารณาเห็นสังขารทุกข ดังกลาวแลว ไดชื่อวานิพพิทานุปสสนา

แลวแลเหนื่อยหนายในสังขารธรรมเพระเห็นโทษ

ปญญาพิจารณาเห็นความปราศจากกําหนัดในสังขาร ชื่อวาวิราคานุปสสนา นา

ปญญาพิจารณาเห็นเนือง ๆ ในคุณพระนิพพานอันเปนที่ดับแหงสังขาร ชื่อวานิโรธานุปสส ปญญาอันพิจารณาในที่สละอาลัยในสังขาร มีรูปเปนอาทิ ชื่อวาปฏินิสสัคคานุปสสนา

และพระอนุปสสนาทั้ง ๘ ประการ มีอนิจจานุปสสนาเปนอาทิดังพรรณนามาฉะนี้ แตละอัน ๆ ชื่อวาวิปสสนาพละ ขอความที่พรรณนามานี้ ไดอรรถธิบายแตวิปสสนาศัพท อรรถแหงพลศัพทยังมิไดปรากฏ กอน จึงมีคําปุจฉาดวยอรรถพลศัพทวา โดยอรรถาธิบายเปนดังฤๅ

“เอกตฺเถน วิปสฺสนาพลํ”

วิสัชนาวา วิปสสนาพละคือจิตตั้งมั่น หวาดไหวได จึงไดชื่อวาวิปสสนาพละ

พระอนุปสสนาพละนั้น

อันขาศึกบมิอาจเพื่อจะครอบงําใหกัมปนาการ

อธิบายวา พระอนิจจานุปสสนาพิจารณาเห็นสังขารธรรมวาเปนอนิจจังไมเที่ยงแทแลว ก็ มิไดหวาดไหวเพราะวิปลาส คืออนิจจสัญญาอันสําคัญวาเที่ยง ทุกขานุปสสนา อนัตตานุปสสนา พิจารณาเห็นธรรมสังขารธรรมเปนทุกขวาหาแกนสารบ มิไดแลว ก็มิหวาดไหวเพราะขาศึก คือวิปลาสสัญญาสําคัญวามีสุข และสําคัญวาตัวตนในสังขาร ปญญาอันพิจารณาเห็นแตเหนื่อยหนายถายเดียวแลว ก็บมิไดไหวเหตุขาศึกคือตัณหาอันมี ในสังขารมีรูปเปนอาทิ ปญญาอันพิจารณาปราศจากราคะคือกําหนดมิหวาดไหว เพราะขาศึกราคะ ปญญาพิจารณานิโรธ คือพระนิพพานอันเปนที่ดับสังขารมิไดไหวเพราะขาศึก คือตัณหา สมุทัย ปญญาพิจารณาสละอาลัยในสังขาร มิไดไหวเพราะขาศึก คืออาทานประทาน อันถือมั่น ดวยตัณหาและทิฏฐิ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 166 ปญญาอันพิจารณาเห็นแจงในสังขารธรรมทั้งปวงแลว มิไดไหวเพราะเหตุอวิชชาและกอง สรรพกิเลสธรรม อันสหรคตอวิชชาและรูปจตุขันธ และกอปรดวยอวิชชา “อิทํ วิปสฺสนาพลํ” อันวาสภาพแหงพระอนุปสสนาปญญามิไดจราจล เพราะปจจนิกธรรม มีสําคัญวาเที่ยงเปนอาทิ เพราะครอบงําเสียซึ่งปจจนิกธรรมมทั้งปวงแลวและตั้งมั่นดังนี้ เชื่อวา วิปสสนาพละ แลคุณสัมปทาคํารบ ๒ ชื่อวาระงับสังขาร ๓ ประการนั้น มีนิเทศวารปุจฉาวา สังขาร ๓ ประการนั้น คือสิ่งดังฤๅ วิสัชนาวา สังขารทั้ง ๓ นั้น คือ วจีสังขาร ๑ กายสังขาร ๑ จิตจสังขาร ๑ และวจีสังขารนั้นไดแกวิตกวิจาร เปนพนักงานผูตกแตงซึ่งวจีเภท อธิบายวา เมื่อบุคคล กลาวถอยคําอันใดอันหนึ่ง ก็อาศัยแกวิตกวิจารยกจิตขึ้นสูอารมณ พิจารณากอนแลวจึงออกวจีเภท คือ วาจาเมื่อภายหลังอาศัยเหตุนี้ อันวาวิตกวิจารนั้นจึงไดนามบัญญัติวาวจีสังขาร กายสังขารนั้น ไดแกจิตตขวาโยธาตุ คืออัสสาสะ ปสสาสะ ลมหายใจออกหายใจเขา และ ลมอัสสาสะวาตปสสาสะวาตนั้น ไดนามบัญญัติชื่อวากายสังขาร โดยบทวิคคะหะ “กาเยน สงฺขริยนฺ “เย อสฺสาสปสฺสาสา” อันวาลมอัสสาสะและปสสาสะทั้งหลาย ตีติ กายสงฺขารา” แปลวา ใด “กาเยน” อันนามกายกลาวคือจิตแลรูปกายคือสหชาตรูป “สงฺขริ ยนฺติ” ตกแตงดวยสามารถ เปนชนกปจจัย และสหชาตปจจัย เหตุใดเหตุดังนั้น อันวาลมอัสสาสะวาตและปสสาสะวาตจึงไดชื่อวา กายสังขาร อนึ่ง ลมอัสสาสะวาตและปสสาสะวาตนั้น เมื่อบังเกิดในกายประพฤติเนื่องดวยกาย จึงได ชื่อวากายสังขาร ยุติดวยวาระบาลีอันพระธรรมทินนาเถรีภิกษุณีกลาวไวแกวิสาขาอุบาสกวา “อสฺ สาสปสฺสาสาโข อาวุโส วิสาข กายิกา เอเต ธมฺมา กายปฏิพทฺธา ตสฺมา อสฺสาสปสฺสาสา กาย สงฺขารา” จิตตสังขารนั้นไดแกสัญญาเวทนา โดยวิคคหะวา “จิตฺเตน สงฺขริยนฺติ จิตฺตสงฺขา รา” แปลวา “เย ธมฺมา” อันวาธรรมใด “จิตฺเตน” อันจิต “สงฺขริยนฺต”ิ ตกแตง เหตุใดเหตุ เหตุดังนั้น อันวาธรรมทั้งหลายนั้น “จิตฺตสงฺขารา” ชื่อวาจิตตสังสาร ๆ ไดแกสัญญาและเวทนา อธิบายวา สัญญาเปนพนักงานหมายอารมณ เวทนาเปนพนักงานเสวยรสแหงอารมณ เมื่อ บังเกิดก็อาศัยจิตเปนใหญเปนประธานเปนอุปาทปจจัยใหบังเกิด ๆ ในจิต ประพฤติเนื่องดวยจิตไดชื่อ วาตกแตง จึงไดนามบัญญัติชื่อวาจิตตสังขารในที่นี้ ยุติดวยวาระพระบาลี “สฺญา จ เวทนา จ เจต สิกา เอเต ธมฺมา จิตฺตปฏิพทฺธา ตสฺมา สฺญา จ เวทนา จ จิตฺตสงฺขาราติ” และวจีสังขาร คือวิตกวิจารนั้นระงับไปในขณะหนึ่ง เมื่อพระอริยสาวกเขาสูทุติยฌานสมาธิ กายสังขารคือลมหายใจเขาออกนั้นระงับในขณะเมื่อสูจตุตถาฌานสมาธิ “ตสฺมา อสฺสาสปสฺสาสา กายสงฺขารา” เพราะเหตุฉะนั้น อัสสาสะปสสาสะลมมหายใจออกและลมหายใจเขาจึงไดนาม บัญญัติชื่อวากายสังขาร จิตตสังขาร คือสัญญาเวทนา ระงับไปในขณะเมื่อเขานิโรธสมาบัติปญญาอันมีวสีสามารถ ชํานาญ กอปรดวยระงับสังขาร ๓ ประการ โดยลําดับพรรณนามาฉะนี้ ก็เปนอุปการูปนิสสัยคุณสัมปทา ในนิโรธสมบัติ นิเทศวารปุจฉาในคุณสัมปทา ขอความที่วาวสีภาวนาเปนไปดวยญาณจิรยา ๒๖ และญาณ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 167 จริยา ๑๖ นั้น คือสิ่งใดบาง วิสัชนาวา พระอนุปสสนา ๘ ประการ คือ อนุปสสนา ๗ ประการ มีอนิจจานุปสสนาเปนอาทิ มีปฏินิสสัคคานุปสสนาเปนปริโยสานที่กลาวแลวในวิปสสนาพละนั้น จัดเปนฌาณจริยาละอัน ๆ และ วิวัฏฏนฺปสสนาปญญา อันพิจารณาเห็นพระนิพพานอันปราศจากกรรมวัฏฏ คือ อภิสังขารเจตนา อวิชชา ตัณหา อุปาทาน นามและรูปเปนอาทิ จัดเปนญาณจริยาอันหนึ่ง เปนคํารบ ๘ ฝายโลกิยญาณจริยา ๑ พระอริยมรรคญาณ ๔ พระอริยผลสมาบัติญาณ ๓ จัดเปนญาณ จริยาละอัน ๆ เปนโลกุตตรญาณจริยา ๘ ประการคือ ญาณจริยาฝายโลกิยะ โลกุตตตระ ๘ เขากันเปน ญาณจริยา ๑๖ เปนอุปนิสสยูปการ แกพระนิโรธญาณ นิเทศวารปุจฉาในคุณสัมปทา ชื่อวาสมาธิจริยา ๙ นั้น คือธรรมดังฤๅ วิสัชนาวา รูปพจรอัปปนาฌาณพจร ๔ คือปฐมฌานก็ไดชื่อวาสมาธิจริยา อธิบายวา เปนไปแหงพระอัปปนาสมาธิ ทุติฌาน ตติยฌาน จตุตถฌานก็ดี ก็ไดชื่อวา สมาธิจริยาละอัน ๆ อรูปสมาธิบัติ ๔ ประการ คืออากาสานัญจายตนสมาบัติ และวิญญาณัญจายตนสมาบัติ และอากิญจัญญายตนสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ก็จัดเปนสมาธิจริยาละอัน ๆ รูปาพจ รฌาน ๔ อรูปาพจรฌาน ๔ เขากันเปนสมาธิจริยา ๓ ประการ แตฝายพระอัปปนาสมาธิ อันวาองคฌาน ๕ คือ วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตา อันเปนไปในบุรพภาคคืออุปจาร มีอา วัชชนะตาง ๆ เพื่อจะไดซึ่งพระอัปปนา คือปฐมฌาน อันประกอบดวยองคคือ วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตาก็ดีเปนไปในอุปจาร เพื่อจะไดซึ่งพระอัปปนา คือทุติยฌาน คติฌาน จตุตถฌาน และอรูป สมาบัติทั้ง ๔ ก็ดี ก็จัดเปนสมาธิจริยาอันเดียว โดยสําคัญเปนอุปาจารสมาธิ ก็ครบจํานวนถวน ๙ กับ ทั้งพระอัปปนาสมาธิ ๘ ประการนั้น และพระสมาธิจริยา ประกอบในนิโรธสมาบัติฌาน

ประการดังพรรณนามานี้

ก็จัดเปนอุปการูปนิสสัยคุณสัมปทา

บุคคลที่มีสัทธาทิอินทรียอยูขางออน เจริญซึ่งปฐมมรรคดวยสามารถแหงพระวิปสสนาอัน มิไดกลาแลว และมาสูภาวะเปนพระโสดาบันบุคคลคือตั้งอยูในพระโสดาปตติผล พระอริยบุคคลอยาง นี้ไดนามชื่อวา สัตตักขัตตุปรมโสดาบัน อธิบายวา ถายังมิไดพระอรหัตตในชาตินั้น จะเที่ยวทองถือเอาปฏิสนธิกําเนิด ในสุคติภพ คือกามาพจรสวรรค แลมนุษยสุคติเจือกันอีกเปน ๗ ชาติ ก็จะกระทําที่สุดแหงสกลวัฏฏทุกข คือได พระอรหัตตในชาติเปนคํารบ ๗ นั้น บุคคลที่มีอันทรียเปนปานกลาง เจริญปฐมมรรคใหบังเกิดดวยวิปสสนาอันเปนมัชฌิมแลว แลถึงซึ่งพระโสดาปตติผล พระโสดาบันบุคคลอยางนี้ ชื่อวา โกลังโกละโสดาบัน ดวยอรรถวาจะออก จากตระกูลแลวและไปสูตระกูลเลา จึงไดชื่อวา โกลังโกละ คําอธิบายวา จําเดิมแตกระทําใหแจง ซึ่งพระโสดาปตติผลแลวก็มิรูเกิดในตระกูลอันต่ําชา ลามกเลย จะบังเกิดในมหาโภคตระกูล แลโกลัง

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 168 -

ขึ้นไป ตราบเทาถึง ๖ ชาติ ก็จะสําเร็จพระอรหัตตในชาติเปนคํารบ ๖ ถาบุคคลมีสัทธาทิอินทรียอันกลาขึ้นกวานั้น เจริญปฐมมรรคปญญาดวยวิปสสนาอันกลา แลว แลไดพระโสดาปตติผล เปนเอกพีชีโสดาบันจะไปยังภพกําเนิด ในสุคติภพ แลไดพระโสดาปตติ ผล เปนเอกพีชีโสดาบันจะไปยังภพกําเนิด ในสุคคติภพ คือมนุษยก็ดีสวรรคก็ดี อีกชาติเดียวก็จะได พระอรหัตต สิ้นสังขารทั้งปวง ในคัมภีรปรมัตถมัญชุสา ฏีกาพระวิสุทธิมรรค มีกระทูความปุจฉาวาธรรมดังฤๅเปนนิยมให พระโสดาบันบุคคลมีประเภทเปน ๓ สถานะฉะนี้ วิสัชนาวา พระวิปสสนาแหงพระอุปริมรรคตรัยเบื้องบนหาก็นิยมใหมีประเภทเปน ๓ ดังนั้น แทจริง ผิวาวิปสสนาปญญา อันพิจารณาสังขารธรรม เพื่อจะใหถึงซึ่งมรรคตรัยเบื้องบนมีกําลังกลา ก็นิยมใหพระโสดาบันบุคคลนั้นเปนเอกพีชี ผิวาวิปสสนาปญญา หากจะออนลงกวานั้นก็นิยมใหเปนโกลังโกละถาออนนักลงกวานั้น ก็ นิยมใหเปนสัตตักขัตตุปรมะ บุคคลผูเจริญมรรคปญญาเปนคํารบ ๒ ไดสําเร็จโลกุตตรผลเปนอริยบุคคลชื่อวาสกทาคามี อธิบายวา ถายังมิไดอรหัตตในชาตินั้น จะจุติจากอัตตภาพนี้แลวแลบังเกิดในเทวโลก จุติ จากเวทโลก แลวจะกลับมาเอาปฏิสนธิในมนุษยสุคติอีกคราวหนึ่ง จึงจะสําเร็จแกพระอรหัตตสิ้นวัฏฏ ทุกข ขอความที่ซึ่งวาจะกลับมาถือเอาปฏิสนธิ ในมนุษยสุคติอีกคราวหนึ่งนั้น เปนนิยมใหเวนเสีย ซึ่งพระสกทาคามีบุคคล ๔ จําพวก แลวเฉพาะถือเอาแตจําพวกเดียว แทจริงพระสกทาคามีบุคคลบางพระองค ไดพระสกทาคามิผลในมนุษยโลกนี้แลวก็ไดพระ อรหัตตดับขันธปรินิพพานในมนุษยโลก นี้บางพระองคไดพระสกทาคามิผลในมนุษยโลกนี้แลว จุติขึ้น ไปบังเกิดในเทวโลกจึงไดพระอรหัตตบางพระองคไดพระสกทาคามิผล ในเทวโลกแลว ก็ไดพระ อรหัตต ปรินิพพานในโลกนั้น บางพระองคก็ไดพระสกทาคามิผลในเทวโลกแลว จุติลงมาเอาปฏิเอา ปฏิสนธิในมนุษยนี้ จึงไดพระอรหันตต แลพระอริยบุคคล ๔ จําพวกที่กลาวมานี้ ก็ไดนามบัญญัติชื่อวาพระสกทาคามีบุคคล แต ทวาพระอาจารยมิไดประสงคเอา ดวยบทวา “สกึเทว” ที่แปลวาจะกลับมาเอาปฏิสนธิในมนุษยนี้ คราวหนึ่งนั้นประสงคเอาแตพระสกทาคามีบุคคลที่ไดพระสกทาคามิผลในมนุษยนี้แลว แลจุติไป บังเกิดในเทวโลกอยูตราบเทากําหนดอายุแลว จุติจากเทวโลกกลับเอาปฏิสนธิในมนุษยนี้คราวหนึ่ง จึงไดพระอรหัตต จัดเปนสกทาคามีบุคคลเปนคํารบ ๖ พระอาจารยถือเอาดวยบทคือ “สกึเทว” ใน ที่นี้ บุคคลผูจําเริญมรรคปญญาเปนคํารบ อนาคามีบุคคล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท

แลวไดสําเร็จแกโลกุตตรผลนั้น

ไดนามชื่อวา


- 169 อธิบายวา ถายังมิไดพระอรหัตตในชาตินั้น จะไดบังเกิดในพรหมโลก แลวจะมิไดกลับมา เอาปฏิสนธิในกามโลกนี้เลย จึงไดชื่อวาอนาคามี แลพระอนาคามีบุคคล ที่มีปกติมละเสียซึ่งกามโลกนี้แลว แลตัดกิเลสเปนสมุจเฉทปทาน ไดกิเลสปรินิพพานในสุทธาวาสพรหมโลกนั้นมีประเภท ๕ จําพวก คืออันตราปรินิพพายีจําพวก ๑ คือ อุปหัจจปรินิพพายีจําพวก ๑ คือสสังขารปริพพายีจําพวก ๑ คืออสังขารปรินิพพายีจําพวก ๑ คือ อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีจําพวก ๑ เขากันเปน ๕ จําพวก โดยอินทรียเวมัตต คือสภาวะกลาแลออน แหงสัทธาอินทรีย อันยังปญญาวิมุตติใหเกือบแก อธิบายวา พระอนาคามีจําพวกใด บังเกิดในสุทธาสภพอันใดอันหนึ่งแลว ยังมิถึงทามกลาง อายุ ก็ไดสําเร็จแกกิเลสปรินิพพาน คือไดพระอรหัตต พระอนาคามีจําพวกนี้แลไดนามชื่อวา อันตรา ปรินิพพายีเปนปฐม พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด บังเกิดในสุทธาวาสอันใดอันหนึ่งแลว ตอลวงถึงทามกลาง อายุจึงไดพระอรหัตต พระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ ชื่ออุปหัจจปรินิพพายี เปนคํารบ ๒ พระอนาคามิบุคคลจําพวกใด เมื่อยังพระอรหัตตมรรคใหบังเกิดไดโดยงายสบายมิได ลําบาก พระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ ชื่อวาสสังขารปรินิพพายีเปนคํารบ ๓ พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด เมื่อยังพระอรหัตตมรรคใหบังเกิดก็ใหบังเกิดดวยยาก อนาคามีบุคคลนั้น ชื่อวาอสังขารปรินิพพายีเปนคํารบ ๔

พระ

พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด บังเกิดในสุทธาวาสเบื้องต่ํา ๆ แลวมิไดพระอรหัตตใน สุทธาวาสเบื้องต่ําๆ นั้น จุติในสุทธาวาสเบื้องต่ําที่เกิดแลว ก็ขึ้นไปบังเกิดในสุทธาวาสเบื้องบน ๆ ตราบเทาถึงชั้นอกนิฏฐแลวจึงไดพระอรหัตตในอกนิฏฐภพนั้น พระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ชื่อวา อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีเปนคํารบ ๕ ในคัมภีรฎีกาจัดเปนประเภทใหวิเศษเฉพาะอีกเลาวา นักปราชญพึงรูจตุกกะ ชื่ออุทธังโสโต อกนิฏฐคามิจตุกกะ เพื่อจะไดรูซึ่งประเภทแหงพระอนาคามีบุคคลทั้งหลายดังนี้ พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด ชําระสุทธาวาสเทวโลกทั้งหลาย ๕ จําเดิมแตชั้นอวิหาแลวก็ ไปบังเกิดในชั้นอกนิฏฐ จึงไดพระอรหัตต พระอนาคามีบคคลจําพวกนี้ชื่อวา อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี อธิบายวา มีกระแสตัณหาแลกระแสวัฏฏะในเบื้องบน แลไปสูอกนิฏฐเปนที่ ๑ พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด ชําระสุทธาวาสเทวโลกเบื้องต่ํา ๓ ชั้นเสร็จแลว ก็ขึ้นไปชั้น สุทัสสีสุทธาวาส จึงไดพระอรหัตตพระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ ไดนามบัญญัติชื่อวา อุทธังโสโตอก นิฏฐคามี อธิบายวา มีกระแสตัณหาแลกระแสวัฏฏะในเบื้องบน แตทวาไปบมิไดไปถึงชั้นอกนิฏฐ เปน ที่ ๒ พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด จุติจากอาตมาภาพนี้แลว ก็ไปบังเกิดในชั้นอกนิฏฐที่เดียวก็ ไดพระอรหัตต พระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ชื่อวาอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี เปนที่ ๓ พระอนาคามีบุคคลจําพวกใด เกิดในสุทธาวาสเบื้องต่ํา แตอวิหาตราบเทาถึงสุทัสสี เกิดใน ชั้นใดก็ไดพระอรหัตตในชั้นนั้น พระอนาคามีบุคคลจําพวกนี้ ชื่อวาอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี เปน ๔

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 170 ประเภทที่กลาวมานี้ชื่อวา อุทโธโสโตอกนิฏฐคาตุกกะ อนึ่งพระอนาคามีบุคคลทั้งหลาย อันเกิดในชั้นสุทธาวาสอันเปนปฐมคือชั้น อวิหา อันมีอายุ ไดพันมหากัปป มีประเภท ๑๐ อยาง คือพระอนาคามีบุคคลที่ไดพระอรหัตต ในลําดับที่ไดเกิดนั้นจัดเปนอยาง ๑ ที่เนิ่นไปกวานั้น แตทวายังไมถึงทามกลางอยู คือที่สุด ๕๐๐ มหากัปป ก็ไดพระอรหัตตนั้น จัดเปนอยาง ๑ ที่พอถึงทามกลางอายุที่สุด ๕๑๐ กัปป จึงไดพระอรหัตตจัดเปนอยาง ๑ เปน ๓ อยาง ดวยกัน ชื่อวาอันตราปรินิพพยายี พระอนาคามีบุคคลที่ถึงทามกลางอายุคือที่สุด จัดเปนอยาง ๑ ชื่อวาอุปหัจจปรินิพพายี

๕๐๐

มหากัปป

แลวจึงไดพระอรหัตต

พระอนาคามีบุคคลที่มิไดพระอรหัตต ในชั้นอวิหาสุทธาวาสทรมานอยูถวนถึงพันมหากัปป แลว จุติขึ้นไปบังเกิดในสุทธาวาสเบื้องบน คือชั้นอตัปปา จึงไดพระอรหัตตจัดเปนอยาง ๑ ชื่อวา อุทธังโสโตเปนคํารบ ๕ จําพวกดวย แจกเปนอสังขารปรินิพพายี ก็ไดทั้ง ๕ อยาง เปนสสังขารปรินิพพายี ก็ไดทั้ง ๕ อยาง สิริ เปนพระอนาคามีบุคคล ๑๐ อยางแตชั้นอวิหาสุทธาวาส ในชั้นอตัปปามีอายุได ๒ พันมหากัปป ในชั้นสุทัสสีมีอายุได ๔ พันมหากัปปก็ดี ในชั้นสุทัส สีอันมีอายุยืนได ๕ พันมหากัปปก็ดี ก็มีประเภทแหงพระอนาคามีบุคคลชั้นะสิบ ๆ เขากันเปน ๔๐ แต ชั้นสุทธาวาสเบื้องต่ําทั้ง ๔ นั้น ฝายชั้นอกนิฏฐสุทธาวาสนั้น หาอุทธังโสตบมิได คงมีแตอันตราปรินิพพายี ๓ จําพวก อุป หัจจปรินิพพายีจําพวก ๑ เปนคํารบ ๔ แจกเปนอสังขารปรินิพพายี ๔ เปนสสังขารปรินิพพายี ๔ เขาดวยกันเปนพระอนาคามี บุคคล ๘ จําพวกในชั้นอกนิฏฐ สิริเปน ๔๘ กับทั้งประเภทที่กลาวในชั้นสทุธาวาสเบื้องต่ําทั้ง ๔ ดวยกัน พระโยคาพจรผูเจริญพระอริยมรรคเปนคํารบ ๔ คือพระอรหัตตบางพระองคเปนสัทธาวิมุตติ คือกระทําศรัทธาเปนใหญแลวก็พนจากกิเลสบางพระองคเปนปญญาวิมุตติ คือพนจากกิเลสดวย ปญญาเปนใหญเปนประธาน บางพระองคเปนอุภโตภาภาควิมุตติ อธิบายวา พนจากรูป ดวยอรูปสมบัติ แลพนจากนามกายคือกองกิเลส ดวยอรหัตตจึงได นามบัญญัติชื่อวา อุภโตภาควิมุตติ บางพระองคก็ทรงไตรวิชชา บางองคก็ทรงฉฬภิญญา บางองคก็ถึงประเภทแหงจตุ ปฏิสัมภิทา เปนมหาขีณาสพอันประเสริฐเปนขีณาสพบุคคล ๖ อยางโดยสังเขป จัดโดยพิสดารตั้งแต แรกโสดาบันบุคคลนั้นมา โสดาบันบุคคลที่จัดเปน ๓ จําพวก คือ สัตตักขัตตุปรมะก็ดี โกลังโกละก็ดี เอกพีซีก็ดี แตละพวก ๆ แจกเปนพวกละสี่ ๆ ดวยประเภทแหงปฏิปทา ๔ มีทุกขา ปฏิปทาทันธา ภิญญาเปนอาทิสิริเปน ๑๒ พระสกทาคามีบุคคลที่พนจากกิเลส ดวยสุญญตวิโมกข คือเอาอนัตตาเปนอารมณ ในขณะ แหงวุฏฐานคามีวิปสสนา ในมรรควิถีสืบตอเขาดวยพระสกทาคามีมรรคก็จัดเปน ๔ จําพวกดวย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 171 ประเภทแหงประฏิบัติ ๔ ที่พนจากกิเลสดวยนิมิตตวิโมกข คือเอาทุกขังเปนอารมณก็ดี ก็มีประเภทละ สี่ ๆ สิริเปนสกทาคมีบุคคล ๑๒ จําพวกดวยกัน ฝายพระอรหัตตมีประเภท ๑๒ ดวยสามารถแหงวิโมกข ๓ แลปฏิปทา ๔ เหมือนกับพระ สกทาคามี แลวแจกเจือสัทธาธุระก็ได ๑๒ ปญญาธุระก็ได ๑๒ แจกดวยไตรวิชา แลฉฬภิญญา แล ปฏิสัมภิทาก็ไดสิ่งละ ๑๒ สิริเปนพระอรหัตต ๖๐ ทัศ แลพระอริยบุคคลเจาทั้งหลายที่พรรณามานี้ เปนพระโสดาบัน ๒๔ พระสกทาคามี ๑๒ พระ อนาคามี ๔๘ พระอรหัตต ๖๐ สิริเปนอริยบุคคลได ๑๔๔ กับทั้งพระปจเจกสัมพุทธเจา ๑ แลพระ สัพพัญูพุทธเจา ๑ จึงรวมพระอริยบุคคลทั้งสิ้นเปน ๑๔๖ ดวยกัน กิริยาที่สําเร็จซึ่งสภาวะเปนอริยะ ปญญาภาวนา ไววา

แหงพระอริยบุคคลทั้งหลายนั้นก็สําเร็จดวยโลกุตตร

“เตน วุตฺต”ํ เหตุดังนั้น พระพุทธโฆษาจารยเจาผูรจนาคัมภีรพระวิสุทธิมรรคจึงไดกลาว “อาหุเนยฺยภควาทิสิทฺธิป อิมิสฺสา โลกุตฺตรปฺญภาวนาย อานิสํโสติ เวทิตพฺโพ”

แปลความวา กิริยาที่สําเร็จคุณมีชื่อวา “อาหุเนยฺย” เปนอาทิก็เปนอานิสงสแหงโลกุตตร ปญญาภาวนา “เอวํ อเนกานิสํสา” อันวากิริยาอันเจริญซึ่งอริยปญญานี้ มีผลานิสงสเปนปริยายจะ นับประมาณมิไดดวยประการดังนี้ เหตุใด เหตุดังนั้น นักปราชญผูประกอบดวยวิจารณะปญญาพึงอุตสาหะกระทําซึ่งความ เสนหารักใคร จงรักภักดียิ่งนักในทางพิธีที่เจริญซึ่งพระโลกุตตรปญญานั้นเถิด แสดงมาดวยปญญาภาวนานิสังสนิเทศ ปริจเฉทเปนคํารบ ๒๓ ก็จบขอความตามวาระพระ บาลี ในคัมภีรพระวิสุทธิมรรคบั้นปลายยุติการแตเพียงนี้แล

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 172 -

พุทฺธโฆสคุณปกาสกเวยฺยากรณํ

ไวยากรณประกาศคุณของพระพุทธโฆษาจารย

ปรมวิสุทฺธิสทฺธาทุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิเตน สีลาจารชฺวมทุทวาทิสมุทยสมฺทิเตน สกสมย สมยนุตรคหาณาชฺโฌคาหนสมตฺเถน ปฺญาเวยฺยตฺติยสมนฺนาคเตน ติปฎกปริยตฺติปฺปเภเท สาฏกเถสตฺตถุสาสเน อปฺปฏิหตญาณปฺปภาเวน มหาเวยฺยกรเณนกรณสมฺปตฺติขนิตสุขวินิคฺ ตมธุโรฬารวจนลาวณฺณยุตฺเตน ยุตฺตมุตฺตวาทินา วาทิวเรน หมาถวินา ปฏินฺนปฏิสมฺภิทาปริ วาเร ฉฬภิฺญาปฏิสมฺภิทาทิเภทคุณปฏิมณฺทิเต อุตฺตริมนุสฺสธมฺเม อปฺปฏิหตพุทฺธินํ เถรานํ สปฺปทีปานํ เถรานํ มหาวิหารวาสีนํ สาลงฺการภูสิเตน วิปุลวิสุทฺธพุทฺธินา พุทฺธโฆโสติ ครูหิ คหิตนาคเธยฺเยน เถเรน ปุรณฺฑเขฏกวตฺตพฺเพน กโต วิสุทฺธิมคฺโคนาม ฯ

สจฺจาธิฏฐานคาถ ตาว ติฏาตุ โลกสฺมึ

โลกนิตฺถรเณสินํ

ทสฺเสนฺโต กุลปฺปตฺตานํ

นยํ สีลวิสุทฺธิยา

ยาว พุทฺโธติ นามมฺป

สุทฺธจิตฺตสฺส ตาทิโน

โลกสฺมึ โลกเชฏสฺส

ปวตฺตตี มเหสิโนติ ฯ

คําแปล วิสุทฺธิมคฺโค นาม คัมภีรนี้มีชื่อวาวิสุทธิมรรค “พุทฺธโฆโสติ ครูหิ คหิตนามเธยฺเยน เถ เรน ปุรณฺฑเขฏกวตฺตพฺเพน กโต” อันพระเถระมีนามาภิไธยที่ครูทั้งหลายไดถือเอาวา พุทธโฆษะ คือมีกิตติคุณปญญาอันกึกหองดุจสมเด็จพระพุทธเจาในคราวพุทธสมัย ซึ่งมีพระชนมอยูแลเรียกวา พระพุทธโฆษาจารยอันบัณฑิตพึงกลาววา เปรียบประดุจเปนปุรัณฑเชฏกะ คือโลหอันมีอํานาจของขัต ติยราชไดรจนาตกแตงไว “ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฆิเตน” แลพระพุทธโฆษาจารยนั้น ประกอบดวยคุณ คือศรัทธาแลปญญาแลความเพียรอันบริสุทธิ์อยางยิ่ง อันสมุทัยแหงคุณมีศีลแล มารยาทแลความซื่อตรงแลความออนนอมเปนตน ใหบังเกิดขึ้นพรอมแลว แลสามารถจะหยั่งลงใน การถือลัทธิความรูของตน แลลัทธิความรูของผูอื่น “ปฺญาเวยฺยตฺติสมนฺนาคเตน” ประกอบดวย

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 173 ความฉลาดเฉียบแหลมดวยปญญา มีอนุภาพแหงญาณปญญาอันไมมีอันตรายขจัดสกัดกั้นไดในศา สนธรรมคําสั่งสอนของสมเด็จพระบรมศาสดา อันมีประเภท คือพระปริยัติไตรปฎก พรอมทั้งอรรถ กถา “มหาเวยฺยยากรเณน” เปนผูรูคัมภีรไวยากรณใหญ คือศัพทศาสตรคัมภีรสัทธาวิเศษทั้งปวง แลประกอบดวยถอยคําอันกลมเกลี้ยงอันไพเราะยิ่ง ซึ่งเคลื่อนออกแลวโดยงาย อันกรณสมบัติคือบุญ เปนที่เกิดกอสรางใหบังเกิดแลว “ยุตฺตมุตวาทินา” มีปกติกลาวซึ่งธรรมอันควรแลธรรมเปนวิมุตติ หลุดพน มีปกติกลาวถอยคําอันประเสริฐ “มหากวินา” เปนนักปราชญมหากวีแตกฉานไปในสุตะกวี คือรูสดับจํา อัตถะกวี รูคิดอรรถขอความ จินตะกวี รูคิดประพันธตกแตงปฏิภาณกวี รูกลาวเจรจา โตตอบแกไขดวยปญญาอันคลองแคลวพรอมองค ของนักปราชญกวีทั้งสี่ “เถรานํมหาวิหาร” คือ เปนเครื่องอลงการของวงศพระเถระเจาทั้งหลายผูมีปกติอยูในมหาวิหาร อันเปนประทีปวงศของพระ เถระเจาแลพระเถระเหลานั้น เปนผูมีปญญาไมมีอันตราย ขจัดขัดของได ในอุตตริมนุสสธรรมอันยิ่ง ของมนุษย คืออริยมรรคอริยผลอันประดับดวยคุณอันประเภทแหงธรรม มีอภิญญาหก แลปฏิสัมภิทา เปนตน อันแวดลอมไปดวยปฏิสัมภิทาญาณอันแตกฉาน “วิปุลวิสุทฺธิพุทฺธินา” แลพระผูเปนเจาพระพุทธโฆษาจารยนั้นเปนผูมีพุทธิ อันไพบูลย กวางขวางแลบริสุทธิ์วิเศษ “พุทฺโธติ นามมป” แมพระคุณนามวา พระพุทธเจาดังนี้ “มเหสิโน” ของสมเด็จพระศรี สักยมุนีบรมศาสดา ผูแสวงซึ่งคุณใหญมีศีลมีคุณเปนตน “สุทฺธจิตฺตสฺส ตาทิโน โลกเชญสฺส” ผูมีกมลจิตอันบริสุทธิ์ผองใสมีตามทิคุณอัน มั่นคงมิไดหวั่นไหวในโลกธรรม แลเปนบรมโลกเชษฐคือ เปนใหญยิ่งวิเศษที่สุดในโลก “ยาว โลกสฺมึ ปวตฺตติ ” ยังเปนไปในโลกอยูตราบเทาถึงกาลเพียงใด “ทสฺสนฺโต นยํ สีลวิสุทฺธิยา” คัมภีรพระวิสุทธิมรรคนี้แสดงอยูซึ่งนัยแหงสีลวิสุทธิ แก กุลบุตรทั้งหลาย ผูแสวงหาธรรมอันเปนเครื่องรื้อตนออกจากโลก “ตาว ติฏตุ โลกสฺมึ” จงตั้ง ดํารงอยูในโลกจนตราบเทาถึงกาลเพียงนั้นเทอญ ฯ

จบ

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


- 174 -

หนังสือ พระวิสุทธิมรรค เลม 3 คัดจาก http://www.larnbuddhism.com/visut/ พิมพโดย แมพลอย โกกนุท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.