Four Teaching of Leofan

Page 1

เรียนทานผูอาน

โอวาทสีข่ องทานเหลีย่ วฝาน

บทประพันธ เอวี๋ยน เหลี่ยวฝาน

แปลและเรียบเรียง เจือจันทน อัชพรรณ (มิสโจ)

ผูพิม พไดหยิบยืมหนัง สือเลม นี้จากเพื่อนผูห นึ่ง เมื่อไดอานแลว เห็นวามี ประโยชน ประกอบกั บเห็นวา ผูแปล (มิส โจ) มีจุด ประสงค ที่ จ ะให พิ ม พ เ ผยแพร เ ป น วิ ท ยาทานโดยไม จํ า กั ด จึ ง ได คั ด ลอก หนั ง สื อ เล ม นี้ จ ากต น ฉบั บ ของโรงเจลั้ ง เต็ ก ตึ้ ง ที่ จั ด พิ ม พ โ ดย ทพ. บั ญ ชา ศิ ริ ไ กร เพื่ อ เผยแพร แ ก ผู ส นใจ โดยผู พิ ม พ พ ยายาม รัก ษาขอความใหเหมือ นตนฉบับเดิม มากที่สุด จะมียกเวนขอความ บางส ว นที่เ ป น ภาษาจี น ได ถู ก ตั ด ออก รวมทั้ ง มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น การเวนวรรคและจัดยอหนาบางสวน นอกจากนี้ผูพิมพไดแนบคาถา ชินบัญชรและบทแผเมตตา เพิ่มเติมไวตอนทายของหนังสือดวย หากมี ค วามผิ ด พลาดประการใด ผู พิ ม พ ข ออภั ย ไว ณ ที่ นี้ และหากจะมีค วามดี อยู บาง ก็ข ออุทิศ กุศ ลผลบุ ญที่ บัง เกิ ดจงมี แ ด ผูแตง ผูแปล ผูจัดพิมพตนฉบับ เจาของหนังสือ บุพการี ครอบครัว ญาติพี่นอ ง เพื่อ นฝูง เจากรรมนายเวร และอื่ นๆ ทั้ง ที่เ อ ยถึ งและ ไมไดเอยถึง ผูพิมพ มกราคม 2550


คํานํา

บทนํา

หนังสือ โอวาทสี่ของทานเหลี่ยวฝาน เปนหนังสือที่ทรงคุณ คา มี ค ติ ส อนใจที่ ใ หส าระมากมายสํา หรั บ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ที่ ถู ก ต อ ง แม จ ะเป น หนั ง สื อ ค อ นขางโบราณก็ ต าม แต ก็เ ป น โอวาทที่ ยั ง ใช ไ ด ทุก ยุคทุก สมัย และดวยความเมตตาของทานเจื อจันทน อัช พรรณ (มิสโจ) ที่ไดบรรจงถอดความเรียบเรียงเปนบทภาษาไทยที่สละสลวย กอปรด ว ยภู มิ ป ญ ญาทางภาษาศาสตร ร ะดั บ มหาวิ ท ยาลั ย แห ง Hong Kong จึง ทํ าใหห นัง สือ เล มนี้ สมบูร ณทั้งเนื้อ หาและสํานวน ที่ ห าผู เ ปรี ย บได ย าก หนั ง สื อ เล ม นี้ ไ ด ถู ก ตี พิ ม พ ค รั้ ง แล ว ครั้ ง เล า จนไมอาจหาสถิติยอดพิมพได เพราะทาน มิส โจ มีจิตเมตตาอนุญาต ใหพิมพเปนวิทยาทานโดยไมจํากัด จึงทําใหหนังสือเลมนี้มีก ารพิม พ ออกมาแจกจายตลอดเวลาเสมอมา

ตนฉบับดั้งเดิมของหนังสือนี้ เปนภาษาจีนโบราณสมัยราชวงศ หมิง (ค.ศ. 1368-1644 หรือ พ.ศ. 1911-2187) ทานผูนิพนธ มีนามวา เหลี่ยวฝาน (สังเกตจากที่ทานเลาใหลูกฟง ทานคงเกิดในราว ค.ศ. 1549 หรือ พ.ศ. 2092 ทานเขียนหนังสือนี้เมื่ออายุ 69 หนังสือ นี้จึงมีอายุประมาณ 363 ป) แรกเริ่มเดิมที ทานมีนามวา เอวี๋ยนเสวียหาย ทานเปนขุนนางจีน ในแผนดินหมิง กอนที่จะไดเขารับราชการ ทานไดพบพระเถระที่ทรง คุณวิเศษทานหนึ่ง ไดสอนใหทานเขาถึงพระพุทธศาสนาอยางแทจริง ทานเหลี่ยวฝานจึงตั้งปณิธานที่จะหลุดพนจากความเปนบุถุช นใหได โดยพัฒนาตนเองดวยวิธีข องพระผูมีพระภาค คือการปฏิบัติอยาง จริ ง จั ง ในศี ล สมาธิแ ละป ญ ญา แล ว เปลี่ ย นชื่ อ ตนเองเสี ยใหม ว า “เหลี่ยวฝาน” ซึ่งมีความหมายตรงตามปณิธานที่ตั้งไว

ขาพเจา ก็เปนอีก ผูหนึ่งที่ตระหนักเห็นถึงคุณ คาของหนังสือนี้ เปนอยางดี และไดรวบรวมจํานวนเงินที่เหลาญาติธรรมบริจาคสมทบ พิมพขึ้นอีกครั้ง ขออานิส งสจากการพิมพค รั้งนี้ จงเปนพลวะปจจัย ใหทั้งผูแปลและรวมพิมพ จงประสบในสิ่งพึงปรารถนาดวยเทอญ

เมื่อการปฏิวัติราชวงศแมนจูของทานซุนยัดเซ็นผานไปได 30 ป พ.ศ. 2485 เปนขณะที่วัฒนธรรมตะวันตกไดไหลหลั่งเขามาทวมทน วัฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม ของจี น อย างน า กลัว นั ก ปราชญ ช าวพุ ท ธจี น ท า นหนึ่ ง มี น ามว า ฮหวางจื้ อ ห า ย ท า นเห็ น ว า หนั ง สื อ ของท า น เหลี่ ยวฝานนี้ มีคุณ ค าต อชีวิ ตของทานอยางลน เหลื อ จึ งใครจ ะให อนุ ช นรุน ต อๆ ไป ไดศึ ก ษาและถือ เปน แบบฉบั บ ในการประพฤติ ดี ปฏิบัติช อบอยางทั่วถึง เพื่อหยุดยั้งกระแสแหงวัฒนธรรมตะวันตก เพื่ออนุรัก ษค วามเปนคนจีนดั้งเดิมที่เต็มเปยมดวยคุณธรรมความ ดีง ามตามหลั ก ธรรมคํ าสั่ง สอนของสมเด็ จ พระสั ม มาสัม พุ ทธเจ า ใหคงอยูตอไป

ดวยความนับถือ ทพ. บัญชา ศิริไกร 1 มิถุนายน 2542

2


โดยที่ตนฉบับเปนหนังสือจีนโบราณ มีค วามหมายลึกซึ้งยิ่งนัก ยากที่คนรุนปจจุบันจะเขาถึงอรรถรสไดทั้งหมด ความจริง ทานฮหวาง ตองการอนุรักษหนังสือจีนโบราณไวเพื่อใหชาติจีนคงอยู ถึงกับสอน หนังสือจีนโบราณตั้งแตชั้นเล็กๆ ในโรงเรียนของทาน ภาษาสมัยใหม เพียงแตใชประกอบการอธิบายใหนักเรียนเขาถึงอรรถรสของหนังสือ จีน โบราณยิ่ง ขึ้ น เท านั้ น แต มีผู ข อร องทานว า การอานหนั ง สือ ที่ ดี แตไมสามารถเขาใจไดโดยงาย ทําใหผูอานขาดความกระตือรือรน และ เมื่อหมดความสนใจเสียแลว ก็ยอมไมไดผลสมเจตนารมณที่ทานตั้งไว ทานเห็นดว ย จึงเริ่มเรียบเรียงเสียใหม เมื่อ พ.ศ. 2485 พิม พดวย หนังสือจีนปจ จุบันที่เปนภาษาพูดของชาวบาน เพื่อเปดโอกาสใหผูที่ ไมรูหนังสือเลย เมื่อมีคนอานใหฟ งก็จ ะเขาใจ สามารถนําไปปฏิบั ติ ใหไดผลดั่งผูที่รูหนังสือเชนกัน

ความชั่ วของทานเอง ที่เ ปนความนึก คิ ดและพฤติก รรมในแตล ะวั น โดยไมเ ขาขางตนเอง จากวันเปนเดือน จากเดือนเปนป บันทึก อยาง ละเอี ย ดลออ ไม ว า จะเป น การแสดงออกทางกาย วาจา หรื อ ใจ เมื่ อเวลาไดผ านไป 2 - 3 ป ปรากฏว าความชั่ว ไดล ดน อยถอยลง ความดีปรากฏมากขึ้น นิสัยใจรอนขี้โกรธก็หายไป จิตใจสงบเยือกเย็น เปนสุข หายจากโรคภัยไขเจ็บ ดว ยคุณ ความดีของหนังสือนี้โดยแท ทําใหทานเปลี่ยนแปลงไปเปนคนละคนกับแตกอน ทานอาศัยแนวทาง ของหนังสือนี้ดุจเข็มทิศ ดําเนินชีวิตไปไดอยางสงบสุขราบรื่น ไมมีอัน ตองตกต่ําเปนอันธพาล เพราะมิไดกออกุศลกรรมที่ทําใหเกิดความ เดือ นรอนทั้งกายและใจแตอยางใด ทานจึงรับตรวจแกใหดวยความ เต็มอกเต็มใจยิ่ง เพื่อบูชาพระคุณของทานเหลี่ยวฝาน เพื่อประโยชนสุข ของอนุชนรุนหลัง เพื่อความผาสุกของประชาชาติทั้งมวลในโลกนี้

สาธุ นัก ปราชญที่เขาถึงพุทธรรม ยอมไมถือความเห็นของตน เปนใหญเสมอไป ทานยอมโอนออนตามความจําเปนเพื่อประโยชนสุข ของชนหมู ม ากเป น ที่ ตั้ ง ข า พเจ า ก็ เ ป น ผู ห นึ่ ง ที่ ไ ด รั บ ประโยชน นี้ เปนอยางยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณทานฮหวางมา ณ ที่นี้ดวย

ในขณะที่ ห นั ง สื อ นี้ อ อกสู ส ายตาของชาวโลกอี ก วาระหนึ่ ง ไม ท ราบว า ท า นฮหวางอายุ เ ท า ใด แต ท า นเจี่ ย งนั้ น อายุ 71 ป และยั ง เป น อาจารย ส อนที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แห ง หนึ่ ง ถ าท านอายุ ยื น ถึงวันนี้ ก็จะมีอายุ 109 ป แลว สําหรับทานเหลี่ยวฝานนั้น ถาทาน มีอ ายุจ นถึง วั น นี้ ก็ จะมีอ ายุ 432 ป โดยประมาณ อย างไรก็ ต าม ไม ว า ทา นทั้ ง สามจะสถิ ต ณ ภพใด ข า พเจ า ผู อ อ นทั้ ง คุ ณ และวุ ฒิ ขอกราบคารวะทานดวยความเคารพอยางสูง และกราบขออนุญาต ท า น ทางจิ ต ที่ บั ง อาจคิ ด ถ อดความหนั ง สื อ นี้ เ ป นภาษาไทย อี ก ทั้ ง สมาคมพุ ท ธรรมแห ง ฮ อ งกงด ว ย ด ว ยกุ ศ ลเจตนาของ ท า นทั้ง หลายที่ก ล า วนามมานี้ และด ว ยแรงกระตุ น ของมิ ส เตอร และมิ ส ซิ ส โฮ ที่ มี เ จตนารมณ เ ช น เดี ย วกั บ ท า น เพี ย งปรารถนา ให พี่ น อ งชาวไทยได รู จั ก กั บ หนั ง สื อ นี้ มี โ อกาสนํ า ไปประพฤติ ปฏิ บัติ ไ ด เพื่อ ให ถึ งพร อมดว ยคุณ ธรรมความดีง าม อั นเป นนิ สั ย

เมื่อทานเรียบเรียงดีแลว ก็นําไปขอใหทานอาจารยเจีย่ งเอวยเฉียว ตรวจแกอี ก ครั้ง หนึ่ งด วยความไมป ระมาท เพราะทา นต องการให หนังสือนี้ขาดตกบกพรองนอยที่สุด ทานอาจารยเ จี่ย งก็เ ปน อีก ท า นหนึ่ ง ที่ได รั บ อิ ทธิ พ ลอัน ดี ง าม จากหนั ง สื อ เล ม นี้ ม ากมาย ท า นเขี ย นเล า ไว ว า เมื่ อ ท า นอายุ ไ ด 15-16 ป นั้น รางกายออนแอ มักเจ็บไขไดปวย ทําใหขาดเรียนเสมอ ทานบิดาจึงนําหนังสือนี้มาใหทานอาน ทานยิ่งอานก็ยิ่งชอบใจ ถึงกับ ลงมือปฏิบัติตามคําแนะนําในหนังสือทันที โดยทําบัญชีบันทึกความดี 3


ของบรรพชนไทยที่ได รับอิ ทธิพ ลของพระพุท ธศาสนา อันชาวไทย รุนตอๆ ไป ควรรับ ไวเป นแบบอยาง ไมใ ชถูก คลื่น แหงวัฒ นธรรม ตะวั น ตกพั ด พาไปตามยถากรรม จนคนไทยไม เ ป นตัว ของตั ว เอง ได โ ปรดหยุด ทํ า ตั ว เป นฝรั่ง ดึง ความเป น ไทยกลั บ คื น มา ช ว ยกั น ยังความผาสุกใหเกิดขึ้นแกประเทศชาติอันเปนที่รักของเราชาวไทยเถิด หากการถอดความทั้งหมดนี้ จะมีขอขาดตกบกพรองประการใด ขอท านไดโ ปรดใหอ ภัย แกข าพเจา ผูรูน อยด วยเถิด จัก เป นพระคุ ณ อยางยิ่ง เจือจันทน อัชพรรณ (มิสโจ) วันวิสาขบูชา จันทรที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2524

4


สัจธรรม

สารบาญ หนา บทนํา

2

กอนเริ่มเรื่อง

6

คุยกับทานผูอาน

7

โอวาทขอที่หนึ่ง การสรางอนาคต

12

โอวาทขอที่สอง วิธีแกไขความผิดพลาด

23

โอวาทขอที่สาม วิธีสรางความดี

28

โอวาทขอที่สี่ ความถอมตน

44

ลําดับการสอบไลของจีนโบราณ

48

คําอธิบายอายตนะโดยยอ

49

เมื่อเกิดมา กรรมของเจา ทั้งทุกขสุข ทุกตัวตน

ใชจะมา ตามมาดวย ชั่ว ดี มีกรรม

แตตัวเปลา ชวยสงผล มีระคน ชักนําไป

เมื่อเกิดมา เจาจะเอา เหมือนกับเงา นําผลให

มีกรรม กรรมนั้น ที่เฝา เกิดทุกขสุข

มาตามเจา ไปไวไหน ตามเจาไป ทุกเวลา

จงทําดี สิ้นจากทุกข ไดรับผล ทั้งชาตินี้

ไวเถิด สบโชคชัย กุศลกรรม ชาติหนา

จะเกิดสุข ที่ใฝหา ล้ํานําพา ผาสุกเอย

น.พ. อาจินต บุณยเกตุ 14 ก.พ. 2531

5


มิใ ชขอชี้ ข าดที่จ ะแก ไขมิ ได จะดีจ ะชั่ ว มิใ ชฟ าดิน จะบั นดาลใหโ ดยไม คํานึงถึงเหตุผ ล ตัวเราเองตางหากคือผูกําหนดอนาคตของตนเอง บุถุชนมักมองชีวิตวาถูกลิขิตมาแลวแนนอนกอนเกิดเสียอีก ความจน ความรวย ความสูง ศักดิ์ความต่ําตอย ความบุญมั่นขวัญยืนหรือไม ลว นแตเกิดจากผลแหงกรรม อันเปนการกระทําดวยเจตนาที่ดีบาง ชั่ว บา ง ที่ ต นเองได ส รา งสมไว แต ช าติ ป างก อ น วิ บ ากย อ มส ง ผล ของชาติ ที่ แ ล ว มาบา ง ที่ ย อ นขึ้ น ไปอี ก หลายๆ ชาติ บ าง ทั ศ นคติ ที่มีตอกรรมเชนนี้ แมจะถูกตอง แตก็มิใชทั้งหมด

กอนเริ่มเรื่อง ลัทธิที่มีอิทธิพลอยางยิ่งในประเทศจีน ก็คือลัทธิของทานขงจื่อ กับทานเหลาจื่อ ท า นขงจื่ อ ท า นดึ ง คนให เ ข า มาอยู ใ นกรอบแห ง จริ ย ธรรม ประเพณีและพิธีกรรม เพื่อใหสังคมอยูเย็นเปนสุขชั่วนิรันดร ทานเหลาจื่ อ ท านแกค นใหหลุ ดจากขอบข ายทั้งมวลในสั งคม ใหดํารงชีวิตผสมกลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติอันเสรี ใหชีวิตเปนอมตะชั่วนิรันดร

ท า นเขี ย นหนั ง สื อ นี้ เ พื่ อ สั่ ง สอนอบรมบุ ต รของท า น ต อ มา ท า นเห็ น ควรพิ ม พ แ จกเป น ธรรมทาน หนั ง สื อ นี้ จึ ง แพร ห ลาย มาจนทุกวันนี้ คําวา “พอ” ในหนังสือนี้ จึงหมายถึงทานเหลี่ยวฝาน นั่นเอง

สมเด็จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ าของชาวพุ ท ธ ทรงเห็ น ว าแมจ ะ รอยรัดชีวิตใหอยูในขอบเขตไดดีเพียงไร หากเกิดความขัดแยงทาง จิตใจ ซึ่งเปนปกติวิสัยของชาวโลก ความทุกขยอมเขาครอบงําทันที ครั้นเมื่อแกคนใหหลุดพนจากพันธนาการของสังคมไดแลว ก็ยังหนี ความทุกขอันเปนไปตามกฎแหงไตรลักษณหาพนไม ตราบใดที่ยังตอง เวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร ตราบนั้นก็ยอมหนีความทุกขในวัฏจักร แหงกรรมไปมิไดเลย นอกจากจะพัฒนาตนเองตามขบวนการของศีล สมาธิ และปญญา ดว ยวิปส สนากรรมฐาน จึงจะหลุดพนจากความ ทุกขทั้งมวลไดโดยสิ้นเชิง

เจือจันทน อัชพรรณ (มิสโจ) อังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2524

ท านเหลี่ ย วฝานเป น ผู ห นึ่ ง ที่ เ ขา ใจและเข าถึ ง คํ า สั่ ง สอนของ พระบรมศาสดา ท านจึ งนิพ นธหนัง สื อนี้อั นเป นประสบการณของ ทานเอง เพื่อชี้ใหลูก ทานเห็นวา ชีวิตที่อยูในกรอบแหงจริยธรรมก็ดี หรื อ จะหลุ ด จากขอบข า ยทั้ ง มวลในสั ง คมก็ ดี ล ว นแต เ กิ ด จาก เจตนารมณของตนเองทั้งสิ้น มิไดขึ้นอยูกับลิขิตของฟาดิน ชาตาชีวิต 6


หากปฏิบัติไดตามที่รูแจงเห็นจริงแลว ยอมจักเปนผูที่ไมตองวกกลับ ทานจึง ถือ ศีล กิ นเจ กลางคื นนอนวั ด กลางวั นเขีย นหนั งสือธรรม วันที่ทานจะจากโลกไป ทานสวดมนต หันหนาสูทิศตะวันตก สวดจน หมดลมไปดวยอาการนั่งอยางสงบ ทานมีชีวิตอยูในโลกเพียง 57 ป แต ก็ เ ป น 57 ป ที่ ท รงคุ ณ ค า ผลงานของท า นเป น คุ ณ ประโยชน ตอ ชนรุนหลัง อย างมหาศาล ผู ดอยปญ ญาขอน อ มคารวะต อท า น และกราบขออนุญาตยอประวัติทานเหลี่ยวฝาน ณ บัดนี้

คุยกับทานผูอาน 7 กรกฎาคม ร.ศ. 199 เที ย นเล ม แรกได ถู ก จุ ด ขึ้ น โดยคุ ณ จรูญ โหราทัย และครอบครัว เปนปจ จัยใหเทียนดวงตอๆ มาถูกจุด สวางไสวและยัง ไมขาดสาย ซึ่งเปนหนังสือธรรมที่ไมส งวนลิขสิทธิ์ ใครใครพิมพ... พิมพ ใครใครแจก... แจก ใครใครขาย... ขาย สบายใจ กันดีทุกฝาย คุ ณ จรู ญ ส ง หนั ง สื อ ชีว ประวั ติ ข องท า นเหลี่ ย วฝานและท า น อวิ๋ น กุ เ ถระมาให จึ ง ได ย อ มาเป น อภิ นั น ทนาการแด ท า นผู อ า น ในโอกาสปทองฉลองความเปนเอกราชของชาติไทย ที่ยืนยงคงอยู และจะคงอยูคู โลก เพราะชาติ ไทยใฝธรรม ชาวไทยสว นมากยังคง ประพฤติดีปฏิบัติช อบ คุณ งามความดีข องทุก ทานเมื่อรวมกันแลว ยอมเปนเกราะปองกันผองภัย เปนพลังกําจัดอธรรม เปนกุศลวิบาก ที่ จั ก ส ง ผลให ป ระเทศไทยบั ง เกิ ด ความผาสุ ก และไพร ฟ า หน า ใส อีกวาระหนึ่งอยางแนนอน

ทานเหลี่ยวฝานเปนชาวเจียงหนาน (กังหนํา) อายุ 433 ปในปนี้ หากทานยังมีชีวิตอยู ทานสอบจิ้นซื่อไดและเขารับราชการเมื่ออายุ 37 ป คนสมัยกอ นมีเ วลาร่ํ าเรี ยนมากกว าพวกเราสมั ยนี้ ทานจึ ง มีความรูกวางขวางลึกซึ้งยิ่งนัก เชี่ยวชาญในวิชาการเกือบทุกแขนง นอกจากพุทธรรมที่ทานสนใจมากจนสามารถเขาถึงพระพุทธศาสนา อย า งถ อ งแท แ ล ว ท า นยั ง เป น นั ก ปราชญ ใ นทางอั ก ษรศาสตร โบราณคดี คณิ ต ศาสตร ดาราศาสตร โหราศาสตร ไสยศาสตร เกษตรศาสตร อุ ท กศาสตร ธรณี วิ ท ยา นิ ติ ศ าสตร รั ฐ ศาสตร ปรัชญา ฯลฯ แมยุทธศาสตรทานก็ช่ําชอง สามารถใชปญญาเอาชนะ โจรสลัด ญี่ ปุ น ที่ โ จมตี ท า นในขณะปฏิ บั ติ ก ารทางทหารที่ ช ายแดน ไดอยางงดงาม ตําแหนงหนาที่ราชการของทานนั้น ดํารงทั้งฝายบุน และฝ า ยบู ซึ่ง นอ ยคนนั ก จั ก มี ค วามสามารถเช น นี้ เมื่ อ ท านถึ ง แก อนิ จ กรรม แม จ ะเป น เวลาที่ มิ ไ ด รั บ ราชการแล ว ฮ อ งเต ก็ ยั ง ทรง ระลึ ก ถึ งคุณ งามความดีของท านอยู จึง ทรงสถาปนายศ และทรง ประกาศเกียรติคุณของทานใหปรากฏไปทั่วแผนดิน

ทานผูจารึกชีวประวัติของทานเหลี่ยวฝาน มีนามวาเผิงซาวเซิง ทานเปนพุทธศาสนิก ที่เครงครัดในศีล จริง จังในการฝก กรรมฐาน ชอบอยู ต ามป า เขาลํ า เนาไพรและวั ด วาอาราม ท า นแต ง ตํ า รา ทางพระพุ ท ธศาสนาไว ม ากมาย ท า นเกิ ด และสอบจิ้ น ซื่ อ ได ใ น รั ช สมั ย พระเจ า เฉี ย นหลงฮ อ งเต ระหวา ง พ.ศ. 2275 – 2338 (ค.ศ. 1732 – 1795) ท า นมี ค วามเฉี ย บแหลมในสรรพวิ ท ยา ทั้ ง หลาย เมื่ อ ท านอายุ 20 เศษๆ ท านมี ค วามมุ ง มั่ น จะประกอบ วี ร กรรมให ชื่ อ เสี ย งเกี ย รติ คุ ณ ปรากฏในประวั ติ ศ าสตร เ หมื อ น บรรพชนทั้งหลาย ตอมา ทานกลั บเห็นวาทางธรรมดีก วาทางโลก

ทานไมห วงแหนหรือกลัวจะหลุดจากตําแหนงหนาที่ในราชการ ใครทําใหประเทศชาติเสื่อมเสียเกียรติภมู ิ ใครใชอาํ นาจโดยไมเปนธรรม 7


ใครทําใหประชาราษฎรเดือดรอน ทานจะตอสูอยางสุดกําลัง แมผูนั้น จะมีความยิ่งใหญเพียงใดทานก็ไมยอมสยบ แตสําหรับตัวทานเองแลว ใครจะใสรายปายสีทานก็ไมนําพา อิจฉากันนักทานก็กราบถวายบังคม ลาไปอยูถิ่นเดิม ของทาน ทานแตงตํารับตําราไวม ากมาย เปนเพชร น้ําหนึ่งในสมัยหมิง

ทานฝก สมาธิเป นเวลาและสม่ําเสมอจนบรรลุฌาน และเจริญ วิปสนากรรมฐานจนบรรลุฌาณ ทานถึงแกอนิจกรรมเมื่ออายุ 74 ป ในขณะที่บุตรของทานอายุ 42 ป แลว คือป พ.ศ. 2166 (ค.ศ. 1623) ผิดจากที่ทานผูเฒาขงพยากรณไวถึง 21 ป โดยมิตองบนบวงตอฟาดิน และท า นผู ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มิ ต อ งสะเดาะเคราะห ป ล อ ยนกปล อ ยปลา อันคุณงามความดีนี้ ชางมีอานุภาพตอชีวิตมนุษยใหเห็นถึงปานนี้หนอ

เมื่อครั้งทานเริ่มรับราชการ เปนนายอําเภออยูทางเหนือ ซึ่งเปน ทอ งที่ที่ ป ระสบอุทกภั ย เสมอ ท านสามารถป อ งกั น น้ํ าท ว มได ด ว ย วิธีการแยกพลัง น้ําออกเปน 3 ทิศ ทาง แมน้ําสายเดียวแตโบราณมา ก็ ก ลายเป น สามสาย ด ว ยป ญ ญาของท า นและความสามั ค คี ของชาวบ า นที่ คิ ด พึ่ ง ตนเองอยา งไม ย อ ท อ ผนึ ก พลั ง อั น นอ ยนิ ด ของแตล ะคน รวมเปนพลังมหาศาล ยิ่งใหญเหนือพลังน้ําที่นากลัว แล ว ท า นให ป ลู ก ต น หลิ่ ว (หลิ ว ) ตามริ ม ฝ ง แม น้ํา และริ ม ฝ ง ทะเล ยาวสุดสายตา คราใดที่คลื่นซัดเขาฝง ทรายจะติดอยูบริเวณตนหลิ่ว ทั บ ถมกั น นานเข า ก็ ก ลายเป น เขื่ อ นธรรมชาติ ป อ งกัน น้ํ า ทว มได เปนอยางดี ทางภาคเหนือของประเทศจีน มักจะมีพายุพัดทรายมาทีละ มากๆ ก็ไดอาศัยตนหลิ่วทั้งหลายนี้ปะทะแรงลมและทรายไวได

ภรรยาของท านก็ ใ จบุ ญ สุ น ทร ธ รรมไมยิ่ ง หย อ นกว า กั นเลย เปนคูชีวิตที่คอยสงเสริมแตในทางที่ดีงาม เปนปจจัยในการทําดีเพื่อกัน และกั น ตลอดเวลา มี อ ยู ค รั้ ง หนึ่ ง ภรรยาของท า นซื้ อ ฝ า ยมาป น เพื่อทําเสื้อหนาว ทานเหลี่ยวฝานทวงวา บานเรามีเสื้อหนาวอยางดี ทําดวยแพรเนื้อดี สอดไสดวยนุน อุนดีอยูแลว ไฉนจะใหลูกใสเสื้อหนาว ที่ทําดวยผาฝายถูกๆ เลา ภรรยาของทานตอบวา ก็เพราะฝายนั้นถูก จึ ง ตั ด ใจขายเสื้ อ หนาวดี ๆ ของลู ก เสี ย ได เ งิ น มามากๆ เพื่ อ ทํ า เสื้อหนาวแจกชาวบานที่กําลังหนาวสั่นอยูนี้ไดทั่วถึง ทานเหลี่ยวฝาน ดีใจมาก พูดดวยความตื้นตันใจวา ถาแมใจบุญถึงปานนี้ ลูกของเรา จะไมมีวันลําบากเปนแนแท บุ ต รของท านก็ ส อบจิ้ น ซื่ อ ได เ ช น ทา น และได เ ป น นายอํ า เภอ ที่ เ มื อ งกว า งตง (กวางตุ ง ) อี ก 21 ป ต อ มาก็ สิ้ น แผ น ดิ น หมิ ง ใน พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ประเทศจี น ตกอยูใ นเงื้อ มมื อ ของ ชาวแมนจูที่สถาปนาราชวงศชิง (เช็ง) ปกครองชาวจีนตามวิสัยเชิงเชน ผูเปนนายอยูนานถึง 267 ป ทานซุงจงซาน (ดร. ซุนยัดเซ็น) กับคณะ จึงไดลบความเปนเจาเขาครองออกจากประวัติศ าสตรไดสําเร็จในป พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911)

แมทานจะกลับมาอยูถิ่นเดิมในบั้นปลายของชีวิต ทานก็ไมนั่งดูดาย คอยช ว ยเหลื อ ดู แ ลทุ ก ข สุ ข ของชาวบ า นอย า งใกล ชิ ด คิ ด ค น วิ ธี ทํ า ไร ไ ถนาให ก า วหน า ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ให แ ผ ว ถางพื้ น ดิ น ที่ ร กชั ฏ จนเกิ ด ประโยชนแ ก ผู ที่ไ ม มี ที่ ดิ น ของตนเอง นอกจากท า นจะสอน ให ช าวบ านมี ความรู ก วา งขวาง มี รายได เ พิ่ม พูนแล ว ท านยั งสอน ใหชาวบานรักกัน ชวยเหลือกัน เสียสละและหมั่นบริจาคจนเปนนิสัย แตละวันทานจะทําตารางการทํางานสวนตัว และสวนที่จะทําเพื่อผูอื่น ไวลวงหนา ทานไมเคยอยูนิ่ง ทํางานตลอดวันอยางมีระเบียบ 8


เปนบุญของเราชาวไทย ที่ไมตองทนถูกเคี่ยวเข็ญเย็นค่ํากรําไป ถึง 267 ป พระคุณของวีรกษัตริยและวีรชนของเรานั้นใหญหลวงนัก แม ป ระวั ติ ศ าสตร จ ะได จ ารึ ก ความยิ่ง ใหญ ไ ว แ ล ว แต เ ราก็ จ ะต อ ง สํานึ ก ในพระคุ ณ จดจํ า ไว ใ นส ว นลึ ก ของดวงใจ เพื่ อ เป นตัว อยา ง อันที่จะปกปองแผนดินไทยตอไปดวยชีวิตของเราทุกคน ท า นหานซานต าซื อ ศิ ษ ย ข องท า นอวิ๋ น กุ เ ถระ เขี ย นประวั ติ เมื่ อ ท านอาจารย ได จ ากไปแลว ผู ดอ ยป ญญาขอกราบคารวะท าน หานซานตาซือ กราบขออนุญาตทานจารึกประวัติของทานอวิ๋นกุเถระ ผูพลิกชีวิตของทานเหลี่ยวฝาน ดังตอไปนี้

บทบาททุก ขณะของป จจุบัน ใหรูเทาทันใหรูทัน ทวงที ให รูอย างไม ยินดียินราย ใหรูอยางหมอที่กําลังตรวจคนไข ใหรูอยางผูพิพากษา กําลังวินิจฉัยคดี วาขณะนี้เรากําลังทําอะไรอยู กําลังรูสึกอยางไรอยู กําลังมีสภาพจิตเปนเชนไร กําลังเผชิญกับสภาวธรรมอะไร เมื่อกระแส แหงกิเลสตัณหาอุปาทานกําลังเกิด-ดับอยูตลอดเวลา วันแลววันเลา คืนแลว คืนเล า ชีวิ ตก็ลว งไปๆ จงเพียรพยายามอยา ทอถอยแมแ ต กาวเดียว แมแตขณะจิตเดียว ที่จะสํารวจตรวจดูสติสัมปชัญญะวาได เจริญงอกงามมีประสิทธิภาพเพียงพอแกก ารปฏิบัติธรรมหรือยั ง จนกวาความรูความเขาใจจะถึงจุดอิ่มตัว ก็จักหลุดพนจากอิทธิพลของ กิเลสตัณหาอุปาทานไดเอง

ทานอวิ๋นกุเถระเกิดเมื่อ ค.ศ. 1500 (พ.ศ. 2043) ในราชวงศหมิง ทานเกิ ดก อนทานเหลี่ย วฝาน 49 ป ท านคิดบวชตั้ง แตยั งเปน เด็ ก สมั ค รเป น ศิ ษ ย กั บ อาจารย ท า นหนึ่ ง ที่ วั ด ต า อวิ๋ น จื้ อ อายุ 19 ป เริ่มฝกฌาน อายุ 25 ป บวชเปนภิกษุ ไดพบอาจารยที่ทรงคุณวิเศษ ณ วัดเทียนหนิง จึงฝากตัวเปนศิษย ไดตัดขาดจากกิจนิมนตทั้งหมด นั่งเขาสมาธิอยูเปนระยะๆ จาก 7 วัน เปน 14 วันครั้ง จนถึง 49 วัน แลวกําหนดใหมจาก 1 เดือนครั้ง เปน 2 เดือนครั้ง จนถึงหนึ่งปเต็ม ไมเ คยกาวลว งธรณีกุ ฏิข องท านไปเลย จิต ทา นใสใจสว าง แต ทาน อาจารยอธิบายวา การฝกจิตเชนนี้ไมสามารถบรรลุมรรคผลนิพพานได แลวสอนใหทานฝกมหาสติปฏฐาน 4 ติดตามการเกิด-ดับ ของจิตใหได ทุกขณะไมวาจะอยูใ นอิริยาบถใด จงตั้ง กายานุปสสนาสติปฏฐาน ณ ที่นั้น เมื่ออยูในความรูสึกอยางไร จงตั้งเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ณ ความรู สึ ก นั้ น เมื่ อ อยู ใ นสภาพจิ ต อย า งไร จงตั้ ง จิ ต ตานุ ป ส สนา สติปฏ ฐาน ณ สภาพนั้น เมื่อเผชิญกับสภาวธรรมใด จงตั้งธัมมานุ ปสสนาสติปฏฐาน ณ สภาวะนั้น ฝกใหสติและสัมปชัญญะคอยกํากับ

ทานอวิ๋นกุเถระ จึงเริ่มฝกมหาสติปฏ ฐาน 4 อยางจริงจัง ทันที บางครั้งไมฉันไมจําวัด ก็มีชีวิตอยูไดอยางเปนสุข อยูมาวันหนึ่งขณะที่ ทานอิ่มจากการฉันอาหาร ทานเผลอตัวเพียงขณะจิตเดียว ชามขาวก็ ตกลงบนพื้น ทันใดนั้น ทานก็เขาถึงความหมายของสติและสัมปชัญญะ อยางสมบูรณ ทานรีบไปกราบเลาใหทานอาจารยฟง ทานอาจารย ผงกศีรษะ รับรองวาระจิตของลูกศิษยวาไดเขาถึงสภาวธรรมแลวจริง ตั้งแตนั้นมา จิตของทานอวิ๋นกุเถระไดรับการพัฒนายิ่งขึ้นเปนลําดับ จนหลุดพนจากกามฉันทะ คือ ความพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ทางกายและกระทบทางใจ หลุดพนจากความพยาบาทอันเปนความคิด ใหรายคนหรือสัตวเสียได หลุดพนจากถีนมิทธะ อันทําใหจิตมืดมัว กายงวงโงกเสียได หลุดพนจากอุทธัจจกุกกุจจะ อันยังความตื่นเตน ฟุงซาน หวาดหวั่น รําคาญใจเสียได หลุดพนจากวิจิกิจฉา อันยังความ เคลือ บแคลงสงสัยไมแนใจในการประพฤติปฏิบัติธรรมตามคําสอน ของสมเด็จพระสัม มาสัมพุทธเจาเสียได การลวงพนนิวรณทั้ง 5 นี้ เปนปจจัยใหทานเขาถึงความหมายของอุปาทานขันธ 5 เห็นความ 9


เกิ ด ขึ้ น -ตั้ ง อยู -ดั บ ไปของรู ป เห็ น ความไม ค งทน ตอ งทรุด โทรม แปรปรวนไปตามเหตุปจจัยของรูป ของเวทนา ของสัญญา ของสังขาร และของวิ ญ ญาณ (กระแสจิ ต ที่ รู บ ทบาทของรู ป เวทนา สั ญ ญา สังขาร เมื่ อเกิด ขึ้น ตั้ งอยู ดับไป) ทา นละสั ญโญชน อัน เปนเครื่อ ง จองจําชีวิตใหตอ งเวียนวายตายเกิดอยูใ นวัฏสงสาร คอยเชื่อมโยง อายตนะภายนอกและภายในทั้ง 6 ทวาร ใหเกิดความประมาท ติดใจ ใหลหลงในรูปธรรมเสียได

ไปกราบนมัสการทานในเวลาตอมา และทานก็ไดสอนใหทานเหลีย่ วฝาน ฝกมหาสติปฏฐาน 4 เชนเดียวกับทาน เมื่อทานหานซานตา ซือไปกราบลาทานเพื่อออกธุด งค ทานให โอวาทวา โบราณทานเดินธุดงคเพื่อ มองเห็นตนเอง ขูดเกลาตนเอง พัฒนาตนเอง เพื่อความหลุดพน เจาจงสําเหนียกอยูเสมอวา จะมีหนา กลับมาพบพอแมพี่นองครูบาอาจารยญาติสนิทมิตรสหายไดอยางไร ถาเดินธุดงคโดยรองเทาสึก เสียเปลา ไมไดรับปรับปรุงแกไขตนเอง ให ดี ขึ้ น เป น การสิ้ น เปลื อ งเงิ น ทองของผู ที่ ถ วายรองเท า เจ า มา ทานหานซานตาซือประทับใจในโอวาทจนสะอื้นไห

เมื่อทานอวิ๋นกุเถระมีสติและสัมปชัญญะตั้งอยูเ ฉพาะหนาเชนนีแ้ ลว กิ เ สสตั ณ หาอุ ป าทานและความเห็ น ผิด ย อ มอาศัย นอนเนื่ อ งอยูใ น จิต ใจของทา นไม ไดอีก แลว สิ่ ง ที่เ กิด ขึ้น ก็ คือ องค ธ รรมอั นยิ่ งใหญ คือ โพชฌงค 7 อันเปนกลุมธรรมสามัคคีที่เกิดขึ้นดวยกัน อิงอาศัย ใหคุณ ตอกันและกัน นํ าไปสูองคปญญาแหง การตรัส รู กลุม ธรรม อันประเสริฐยิ่งนี้เอง ที่ทําใหทานอวิ๋นกุเถระเห็นแจงในอริยสัจ 4 ทุกแง ทุกมุมอยางหมดจด ขามพนความโศกและความร่ําไร ดับไดซึ่งความ ทุกขและโทมนัส มีแตความกระปรี้กระเปราชื่นบาน สงบสบายทั้งกาย และใจ อยูอยางเปนกลางในทุกสิ่ง แมจะมีใครขอใหทานขนสัตวใหหมด โลกเสียกอน ก็เปนสิ่งที่ทําไมได เพราะเมื่อจิตไดหลุดพนจากกระแสแหง การเวียนวายตายเกิดเสียแลว ยอมไมมีทางที่จะหวงหนากัง วลหลัง ไดอีก พระพุทธศาสนาจึงมิใ ชสอนใหชาวพุทธตัดชองนอยแตพอตัว ดังที่หลายทานเขาใจกันอยู

ลู ก ศิ ษ ย ข องท านมี จํ า นวนเพิ่ ม มากขึ้น ทุ ก ที อุ บ าสกอุ บ าสิ ก า มาฟง ธรรมจากทา นเนืองแน น ทานพู ดนอย พูด แตที่เปน ประโยชน แก ผูฟ ง เสี ย งท า นชั ด เจนก อ งกั ง วาน ก อ นที่ ท า นจะจากโลกนี้ ไ ป ทานกลับไปยังบานเกิด โปรดผูคนเปนจํานวนหมื่นจํานวนแสน อยูมาคืนหนึ่ง เปนคืนขึ้น 5 ค่ํา เดือนอาย ป ค.ศ. 1575 (พ.ศ. 2118) ชาวบานเห็นบนหลังคากุฏิที่ทานอยูสวางไสว เหมือนไฟกําลัง ลุกโชติชวงฉะนั้น ครั้นรุงเชาชาวบานพากันไปที่วัด ปรากฏวาทานได ดับขันธไมไหวติงเสียแลว ทุกคนจึง ลงความเห็นวาทานดับขันธดว ย เตโชกสิณนั่นเอง ขณะนั้นทานอายุ 75 ป พรรษา 50 ทานหานซานตาซือรําพึงรําพันวา ตั้งแตทานออกธุดงค ไดพบ พระเถระมากมาย แตจะหาใครสัก รูปหนึ่ง ที่ทรงคุ ณ วิเ ศษเชน ทา น อวิ๋ น กุ เ ถระไม มี เ ลย แม ต อ มาท า นหานซานต า ซื อ พรรษามากขึ้ น ก็ไมสามารถลืมคําสอนของทานได แมปฏิปทาในศีลาจารวัตรของทาน ก็ไดนํามาประพฤติปฏิบัติตามอยางเครงครัด

มีอยูวันหนึ่ง ขณะที่ทานอวิ๋นกุเถระกําลังนั่งเขาสมาธิจนกายไม ไหวติงอยูนั้น ไดมีผูทรงอิทธิพลมาเที่ยววัด เห็นทานนั่งเฉยไมลุกขึ้น ตอนรับก็โกรธ หาวาทานไมมีสัมมาคารวะ ผรุสวาทอยางไมกลัวบาป กรรม ทานจึงยายไปอยูที่วัดชีเสียซาน อันเปนสถานที่ที่ทานเหลีย่ วฝาน 10


ที่หลุมฝงศพของทานอวิ๋นกุเถระ มีศิลาจารึกคุณธรรมอันสูงสง ของทาน โดยทานเหลี่ยวฝาน ทานหานซานตาซือเห็นวาควรมีประวัติ จารึ ก ไวใ ห ช นรุ น หลั ง ได ป ระพฤติ ป ฏิ บัติ ต าม จึง เขี ย นประวั ติ แ ละ คําสั่ ง สอนของท านไวเ ป น หนัง สื อ เล ม หนึ่ ง เสี ย ดายผู ด อยป ญ ญา บันทึกไวไดเพียงนี้ ขอความหลุดพนจงเกิดแกทานผูอานเทอญ เจือจันทน อัชพรรณ (มิสโจ) วันทายสงกรานตในปทองฉลองสองรอยปแหงกรุงรัตนโกสินทร (16 – 4 – ร.ศ. 200)

11


พอจึงเริ่มเรียนหนังสือใหม ก็ทานลุงของลูก ที่เปนลูกพี่ลูกนอง ของพอนี่แหละ ทานไดแนะนําใหพอไปเปนนักเรียนกินนอนที่สํานักเรียน แหงหนึ่ง

โอวาทขอที่หนึ่ง การสรางอนาคต พอ นั้น กําพราทานบิดามาแตอายุยังไมถึง 20 ทานยาของลูก ในเวลานั้นก็มีอายุมากแลว ทานไดบอกใหพอเลิกคิดที่จะเปนขุนนางเสีย หันมาเรียนแพทยดีก วา ทานบอกพอวา การเปนแพทยนั้น นอกจาก จะยึดเปนอาชีพไดดีแลว ยังจะชวยคนยากจนไดอีก ดวย ถามีความ สามารถดีก็จะเปนแพทยที่มีชื่อเสียง ซึ่งเปนความปรารถนาของทาน บิดาที่เสียชีวิตไปแลว

ทานผูเฒาขงไดพยากรณพอไววาจะสอบผานทั้งสามขั้น ขั้นแรก จะไดค ะแนนมาเปนที่ 14 ขั้นกลางจะไดที่ 71 และขั้นที่ส ามจะไดที่ 9 ปรากฏวาผลออกมาเชนนั้นจริงๆ ตอมา ทานก็พยากรณอนาคตของพอไววา ปใ ดจะสอบไดเปน นักเรียนหลวง ไดขาวพระราชทานเปนจํานวนเทานั้นถัง ปใดจะไดส อบ ขั้นสุดทาย ปใดจะไดเปนนายอําเภอ เมื่อเปนนายอําเภอแลวสามปครึ่ง ก็ควรลาออกจากราชการ เพราะอายุ 53 ป ก็จะสิ้นอายุขยั จะนอนตาย อยางสงบในวันขึ้น 14 ค่ํา เดือน 8 เวลาระหวางตี 1 – 3 นาเสียดาย จะไมมีบุตรไวสืบสกุล พอไดบันทึกไวทุกคําเพื่อกันลืม

ตอ มา พอ พบผู เฒ า ทา นหนึ่ ง ที่ วัด ฉื อ อวิ๋น จื้ อ ทานมี เ ครายาว มีราศีผอ งใสยิ่งนัก รูปรางสูงใหญ สงางามราวกับเทพยดา พอจึง คารวะทานดวยความเคารพ ทานพูดกับพอวา เธอจะไดเปนขุนนางนะ ปหนาจะสอบผานไดทั้งสามขั้น ไฉนจึงไมเรียนหนังสือเลา พอจึงเลา สาเหตุใหทานฟง แลวถามชื่อแซและที่อยูของทาน

ในกาลตอๆ มา คําพยากรณของทานผูเฒาขงก็ยังคงแมนยํา เสมอมา มี อ ยู ค รั้ ง หนึ่ ง ท านพยากรณ ไ ว ว า จะได รับ พระราชทาน ขาวหลวงครบจํานวนหนึ่งแลวจึง จะไดส อบขั้นสุดทายเพื่อเตรียมตัว เข า เมื อ งหลวงนั้ น ยั ง ไม ทั น ที่ พ อ จะได รั บ พระราชทานข าวหลวง ครบตามจํานวนที่ทานพยากรณไว พอก็ไดรับคําสั่งใหไปสอบ คราวนี้ สอบตก พ อ เริ่ ม สงสั ย ในคํ า พยากรณ อ ยู ใ นใจ แต แ ล ว ในป ต อ มา มีอาจารยทานหนึ่งที่เคยเปนกรรมการตรวจขอสอบใหพอ ทานเคยชม พอ ว า คํา ตอบทั้ ง 5 ข อของพอ นั้ น เขี ย นได ดี เ หมื อ นขุน นางผู ใ หญ เขียนทูลเกลาฯ ถวายความเห็นตอฮองเตนั่นเทียว ทานวา ถาคนไมมี ความรูจริง ยอมเขียนไมไดเชนนี้ ความสามารถของพอยอมจัก เปน ประโยชนตอแผนดิน ไฉนจึงจะถูกทําลายอนาคตเสียเลา ทานจึงสั่งให

ท า นตอบว า ท านแซ ข ง เปน ชาวอวิ๋ น หนาน ได เ ล า เรี ย นวิ ช า โหราศาสตรอันเปนตําราดั้งเดิม ถายทอดกันมาโดยมิไดแกไขเพิ่มเติม อันใดใหไขวเขวเลย ซึ่งเปนตําราของทานบรมโหราจารยผูยิ่งใหญ แห ง ราชวงศ ซ อ ง พ.ศ. 1503 – 1670 ท า นผู เ ฒ า ข ง ต อ งการ จะถ ายทอดวิ ช านี้ ใ หแ กพ อ พ อ จึง พาทานมาบ านเพื่อ มาพบทา นย า ของลูก ทานกําชับใหพอตอนรับทานผูเฒาใหดี แลว ทดลองใหทาน พยากรณดู ปรากฏวาแมนยําไปเสียทุก สิ่ง แมแตเรื่องเล็ก ๆ นอ ยๆ ก็ไมผิดพลาดเลย

12


พอไปทํางานกับทาน และใหรับพระราชทานขาวหลวงยอนหลังจนครบ จํานวนที่ขาดไป ปรากฏวาเทาจํานวนที่ทานผูเฒาขงคํานวณไวพอดี

ทานอวิน๋ กุเถระหัวเราะแลวก็รองวา โธเอยนึกวาเปนผูวิเศษแลว เสียอีก ที่แทก็ยังเปนบุถุชนอยูนั่นเอง พอจึงกราบถามทานวา ทําไมจึง วาพอ เปนบุ ถุช น ทานตอบวา อันที่จ ริง คนเรานั้นถ าจิต ใจไม วาวุ น ทําใจใหสงบไดแลว ก็เกือบจะสําเร็จเปนพระอรหันต พนจากความเปน บุถุชนไดแลว แตคนธรรมดานั้นจิตใจยากที่จะสงบระงับได การฟุงซาน นี่เองที่ทําให ค นเราถูก ผู ก มัด ดว ยอํานาจพลัง บวกและพลั งลบของ ธรรมชาติ ทําใหไมมีอิสระเสรี ตองขึ้นกับดวงชาตาราศี และการโคจร ของดวงดาวบนทองฟาที่โหราจารยทั้ง หลายไดคิดคนทําสถิติกันไว โหราศาสตรจึงมีขึ้นดวยเหตุนี้ ก็มีแตสามัญชนคนธรรมดาเทานั้นที่จะ ถูก กํ าหนดได ตามวิช าโหราศาสตร แต ค นที่ทํ าความดีม ากๆ แลว ชาตาชีวิตจัก ทําอะไรได โหราศาสตรนั้นหยั่ง ไมถึงกรรมดีก รรมชั่ว ของคนเราหรอก วิชาโหราศาสตรจึงยึดถือเปนบรรทัดฐานไปหมด มิได เพราะคนดีนั้น ถึงแมช าตาชีวิตจะบงไววาไมดีอยางไร แตพลัง แหงกุศลกรรมนั้นใหญหลวงนัก สามารถพลิกความคาดหมายของ โหราศาสตรได คนจนก็กลายเปนคนรวยได คนอายุสั้นก็กลายเปนคน อายุยื นได ในทํานองเดีย วกัน คนที่ ส รา งอกุศ ลกรรมอย างหนัก ไว ชาตาชีวิตก็ไม ส ามารถผูกมั ดเขาไวไดเชนกัน แมจะถูก ลิขิตมาวาจะ ไดดีมีสุขอยางไร แตพลังแหงอกุศลกรรมนั้นหนัก นัก ยอมสามารถ เปลี่ยนความสุขเปนความทุกข ความมีลาภยศกลายเปนหมดลาภยศ ความอายุยืนก็กลายเปนอายุสั้นไดเชนกัน ทานวาพอนั้น ปลอยชีวิต ใหขึ้นอยูกับชาตากรรมมายี่สิบป ไฉนจะไมใชบุถุชนเลา

เมื่อเปนเชนนี้ ยิ่งทําใหพอเพิ่มความเชื่อถือในคําพยากรณของ ทานผูเฒาขง ยิ่งขึ้น เพราะอุปสรรคที่เพิ่งผานพนไปนั้น ทําใหเห็นได ชัดเจนยิ่งขึ้นวา ชาตาชีวิตนั้นไดถูกลิขิตมาแลวอยางแนนอน จะชาจะเร็ว จะมีใครเปนอุปสรรคอยางไรก็หนีไมพน พอจึงปลอยใจใหเปนไปตาม ยถากรรม ไมมีความกระตือรือรน ไมทะเยอทะยานขวนขวาย ไมดิ้นรน ที่จะเอาดีไปกวานี้อีกตอไป ทําใหจิตใจสงบดียิ่งนัก เมื่อพอสอบไดแลวเชนนี้ ก็ตองเดินทางเขาเมืองหลวง (ปก กิ่ง ในปจจุบัน) อยูในมหาวิทยาลัยของหลวงหนึ่งป พอไมไดดูหนังสือหรือ ตําราเรียนใดๆ อีกเลย เอาแตนั่งสมาธิ ไมพูดไมจา ไมคิดอะไรทั้งสิ้น พอครบหนึ่งป พอก็ไดรับคําสั่งใหยายไปเขามหาวิทยาลัยของหลวง ทางใต (นานกิงในปจจุบัน) อันเปนสถาบันสุดทายซึ่งนักศึกษาที่สอบไล ไดตามขั้นตอนตางๆ ในภูมิลําเนาเดิม ของตนมาแลว จะตองเขามา ฝกฝนเตรียมตัวสอบเพื่อออกรับราชการตอไป แตกอนที่พอจะเขาไป ยังสถาบันนี้ ไดแวะไปที่วัดชีเสียซานเพื่อคารวะทานอวิ๋นกุเถระเสียกอน พอไดนั่ งสมาธิกับทา นสองตอสองเปนเวลานานถึงสามวัน สามคื น โดยมิไดหลับนอนเลย พระเถระกลาวกับพอดวยความแปลกใจวา อันธรรมดาบุถุชนนั้น จิตใจวาวุ นสับ สน จึงไม ส ามารถบรรลุฌานได สวนพอนั้ น ไฉนนั่ ง สามวันแลวยังไมเห็นจิตใจวอกแวกเลย พอจึงเลาสาเหตุใหทานฟงวา ทานผูเฒาขงไดพยากรณอนาคตของพอไวแนนอนแลว คิดวุนวายไปก็ ไรประโยชน จึงทําใจใหสบายไรกังวลดีกวา

พอกราบถามทานอีกวา ถาเชนนั้น ชาตาชีวิตเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไดหรือ ทานตอบวา ชาตาชีวิตนั้นเปนสิ่งไมแนนอน อนาคตเราตอง สรางของเราเอง คนทําดีช าตาก็ดี คนทําชั่วชาตาก็ชั่ว เมื่อตองการ อนาคตดีก็ตองทําดี ถาทําแตความไมดี แมชาตาจะดีก็กลายเปนรายไปได 13


ในพุ ท ธรรมก็ ไ ด ก ล า วไว ว า ผู ใ ดตอ งการลาภยศย อ มได ล าภยศ ผูใ ดตองการบุตรธิดายอมไดบุตรธิดา ผูใ ดตองการอายุยืนยอมได อายุยืน หากประกอบแตกรรมดียอมสมปรารถนาแล พระผูมีพระภาค ทรงกลาวไวเชนนี้

สูญเปลาทั้งสองทาง ทางธรรมก็เสียหายแลว ทางโลกก็เสียหายอีก การแสวงหาจากภายนอกนั้น จึงไมไดผลดีเทาที่ควร ทานถามพอวา ทานผูเฒาขงพยากรณไววาอยางไรบาง พอก็เลา ให ทานฟ ง อยางละเอีย ด ท านจึง ถามพอ ว า เธอลองทายดู เองสิ ว า จะสอบไดเปนขุนนางหรือเปลา จะมีบุตรไดไหม

พอ ซั ก ทานตอ ไปว า ท านนั ก ปราชญ เมิ่ง จื่อไดก ล าวไววา หาก ปรารถนาสิ่ ง ไรต อ งได สิ่ ง นั้ น ท า นคงหมายถึ ง สิ่ ง ที่ ก ระทํา ได ท าง นามธรรมละกระมัง คุณธรรมความดีงามนั้น เปนสิ่งที่มนุษยสรางได เองโดยไมตองลงทุน ไมตองไปแสวงหาจากที่ไหน แตทางรูปธรรมนั้น ยศถาบรรดาศักดิ์ ชื่อเสียงและความมั่งคั่งจะแสวงหาไดอยางไรถาไมมี ผูหยิบยื่นให

พ อ คิ ด หาเหตุ ผ ลอยูน าน โดยสํ า รวจตนเองตั้ ง แต อ ดีต จนถึ ง ปจจุบัน แลวจึง ตอบทานวา เห็นทีจะสอบไมได และก็คงจะไมมีบุตร อีกดวย พอใหเหตุผลทานวา คนที่จะไดเปนขุนนางจะตองมีบุญวาสนา สว นพ อนั้ นบุ ญวาสนาน อย ตนเองก็มิ ได สั่ง สมกุ ศ ลกรรมอัน ใดไว ใหเปนพื้ นฐานเพื่อเสริม สรางบุ ญญาบารมีใ ดๆ นิสัยของพอก็ไม ดี ไมมีความอดทน งานหนักไมเอา งานเบาไมสู ใครทําใหไมถูกใจก็โกรธ ไมยอมใหอภัย ใจคอคับแคบ บางครั้งยังอวดดีวามีความรูมากมาย ยกตนขมทาน ใจคิดอยางไรก็จะทําอยางนั้น คนเชนพอนี้ไมสมควร มาสอบเพื่อเปนขุนนางกับเขาเลย

ท า นอวิ๋ น กุ เ ถระตอบพ อ ว า ท านเมิ่ ง จื่ อ กล า วไว ไ ม ผิ ดหรอก พ อ เองที่ เ ข า ใจคํ า สอนของท า นผิ ด ไป ทา นลั่ ก โจ ว เคยกล า วไว ว า ความสุขความเจริญทั้งมวล เกิดขึ้นที่ใจกอนทั้งสิ้น การแสวงหาใดๆ ก็ตาม ต องเริ่ม ตนที่ ใ จกอน ไม เพี ยงแตจ ะได คุณ ธรรมความดี งาม ทางธรรมเท า นั้ น ความสุ ข ความเจริ ญ ลาภยศชื่ อ เสี ย งเงิ น ทอง อันเปนความดีงามทางโลก ก็จะติดตามมาเอง เพราะฉะนั้น การแสวงหา แตสิ่งที่ดีงามนั้นยอมไดสิ่งที่ดีงามตามปรารถนา ในทํานองเดียวกัน หากไมสํารวจตนเอง ไมเริ่ม ตนทําความดีจากตัวเราเอง กลับดิ้นรน คิดแสวงหาจากภายนอก แมจะแสวงหามาได ก็เปนเพียงไดตามชาตา กําหนดไวเท านั้น ไมใ ช ไดเ พราะความดี ของเรา เพราะการแสวงหา จากภายนอกนั้น อาจจะตองใชความพยายามในทางที่ถูกบางผิดบาง ไมไดดวยเลห ก็เอาดว ยกล ไมไดดว ยมนตก็เอาดวยคาถา แสวงหา ดวยแรงขับของกิเลสตัณ หา จึงไมทันไดคํานึงถึงศีล ธรรม เปนการ

แลวพอก็สาธยายใหทานฟงถึงเหตุผลที่คิดวา ตนเองไมสมควร มีบุ ต รจริ ง ดั่ง คําพยากรณ ข องท านผู เฒ าขง ใหทา นอวิ๋ นกุ เ ถระฟ ง ตอไปวา อันธรรมดานิสัยของพอนั้น ชอบความสะอาดมากเกินไป ไมเปนไปตามทางแหงมัช ฌิมาปฏิปทา โบราณทานวาไว อันพื้นดินนั้น ยิ่งไมสะอาดเพียงใด ก็ยอมเจริญดวยพืชพันธุนานาชนิด น้ําที่ใสสะอาด มักจะไมมีปลามาแหวกวายฉันใด พอนั้นชอบความสะอาดมากเกินไป จึงยอมไมมีบุตรฉันนั้น นี่เปนเหตุผลประการที่หนึ่ง

14


ธรรมชาติ ส รรค ส ร า งสรรพสิ่ ง ให มี ความสมดุ ล เพื่ อ ให ชี วิ ต เจริ ญเติ บโตดว ยดี แตพ อ มัก โกรธ ทํ าให ร างกายและจิ ตใจเสี ย ดุ ล อยูเปนนิตย ยอมไมสามารถมีบุตรได นี่เปนเหตุผลประการที่สอง

ทานอวิ๋นกุเถระฟงพอพูดเสียยืดยาวแลว จึงกลาววา ไมเพียงแต พอไมส มควรจะเขาสอบเปนขุนนางเทานั้น ยังมีอีกหลายๆ สิ่งที่พอ ก็ไมสมควรจะไดรับดวย คนในโลกนี้ แมจะอยูในภาวะแวดลอมเดียวกัน ในเวลาที่ไมตางกัน แตบางคนไดรับแตสิ่งดีมีสุข บางคนกลับไดรับแต ความยากจนเปนทุกข มีความแตกตางกันมากมาย ผูรูยอมเขาใจดีวา นั่นลวนแตเปนผลที่เกิดจากใจตนเอง ทุกคนสรางเหตุที่จะทําใหเกิด ผลดีผลชั่วจากใจตนเองทั้งสิ้น ผูไมรูยอมถือวาเปนชาตาชีวิตที่ลิขิต มาแลวอยางแกไขไมได หารูไมวาก็ทุกสิ่งเกิดจากใจตนเอง แลวทําไม ตนเองจะแกไขไมไดเลา คนที่ทําบุญใหทานมากมายนั่นเขากําลังสราง เหตุปจจัยเพื่อความเปนเศรษฐีมีเงินพันชั่งรอยชั่ง ตามความมากนอย ที่เขาทําแลว บางคนจนถึงขนาดอดตาย นั่นก็เพราะเขาสรางเหตุปจจัย มาเชนนั้น มีความตระหนี่เหนียวแนน ไมยอมเกินเลยใคร ทรมานกักขัง สัตวใหอดอยากและอดตายมาแลว ผลจึงเกิดแกเขาเชนนั้น หาใชฟาดิน เกิดความลําเอียงไม ฟาดินก็คือธรรมชาติ ยอมปรานีคนดี ลงโทษคนชั่ว เหมือนดั่งที่ปรานีตอพืชพันธุธัญญาหาร คอยหลัง่ ฝนมาใหความชุม ชื้น คอยสองความสวางมาใหค วามเจริญเติบโต และธรรมชาติก็จะดุดัน กับความไรคุณธรรม กระหน่ําทั้งฝน พายุและสายฟา มนุษยตองตายไป ทามกลางความดุดันของธรรมชาติก็มีไมนอย ทั้งนีย้ อมขึ้นกับความดี ความชั่วในตัวบุคคล ใครดีก็จะไดรับการสงเสริม ใครเลวก็ลงโทษเสียบาง เพื่อใหเกิดความสมดุล กัน

ความเมตตาเทา นั้น ที่ ค้ํ า จุ น โลกไว แต พ อ นั้น จิต ใจขาดความ กรุณาปรานี ไมยอมลดตนลงชวยผูอื่น เต็มไปดวยอัสมิมานะ (การถือ เขาถื อ เรา ถื อ ดี ไม ย อมลงใคร) ไฉนจัก มี บุ ต รได เ ล า นี่ คื อ เหตุผ ล ประการที่สาม การพูดมากทําใหสูญเสียพลัง พออดพูดมากไมได ทําใหรางกาย ไมแข็งแรง นี่คือเหตุผลประการที่สี่ ชีวิตตองอาศัยพลัง ลมปราณและความมีชีวิตชีวา อันเกิดจาก ชีวิตินทรียที่ธ าตุดิน น้ํา ไฟ ลม ผสมอิงอาศัยกั นอยู สามสิ่ งนี้เป น ปจจัยซึ่งกันและกัน คอยผดุงชีวิตไวใหดํารงคงอยู พอดื่มเหลามาก เผาผลาญรางกายตนเองอยูเสมอ ทําใหปจจัยทั้งสามนี้ลดนอยถอยลง จักมีบุตรไดอยางไร แมจะมีได บุตรก็จะไมแข็งแรงและอายุก็คงไมยืน นี่คือเหตุผลประการที่หา ในยามกลางวัน คนเราไมควรนอน ในยามกลางคืน ก็ควรนอน พักผอนใหสบาย แตพอไมชอบนอนกลางคืน ชอบนั่งเขาที่เปนสมาธิ อยูตลอดคืนไดเสมอ ไฉนจัก มีบุตรไดเลา นี่เปนเหตุผ ลประการที่ห ก ที่ทําใหพอคิดวาชาตินี้พอจะมีบุตรไมไดสมจริงดั่งคําทํานายเปนแนแท และนอกจากนี้แลวก็ยังมีสิ่งที่พอทําผิดๆ ไวอีกมากมาย แมจะพูดตอไป ก็คงไมรูจักหมดเปนแน

มีความเชื่อกันมาแตโบราณกาลวา การจะมีบุตรหรือไมนั้น ก็ขนึ้ กับ เหตุ ผ ลเดี ยวกั น ผู ที่ทํา ความดี ติด ต อ กั น มาแล ว ร อ ยชาติ ก็ ย อ มมี บุต รหลานที่ดี ส ามารถสืบ สกุล ให ยืด ยาวได ถึง รอ ยชั่ว คน ผู ที่ทํ า ดี มาสิบชาติติดตอกัน ก็ยอมมีบุตรหลานที่ดีสามารถสืบสกุลใหยืดยาว ได ถึ ง สิ บ ชั่ ว คน ผู ที่ ทํ า ดี ติ ด ต อ กั นเพี ย งสองสามชาติ ก็ ย อ มจะมี 15


บุตรหลานสืบตอไปสองสามชั่วคนเทานั้น ผูที่ไมมีบุตรเลยก็จะเห็นไดวา ไมเคยสั่งสมคุณธรรมความดีที่เปนชิ้นเปนอันมาบางเลย

มีชีวิตใหมเพื่อสรางสมคุณธรรมที่ดีใหม ไมใชชีวิตเกาที่มีแตเลือดเนื้อ และเต็ ม ไปด ว ยความเปน บุ ถุ ช น สร า งชี วิ ต ให ห ลุ ด พ น จากความ ครอบงําของกิเลสตัณหาอุปาทาน สามารถพัฒนาตนเองใหบริสุทธิ์ ผุด ผ อ ง แลว ชี วิต ก็ จ ะมี คุ ณ ค าผิ ดแผกแตกตา งจากชาตาชี วิ ต ที่ ไ ด กําหนดไวแลวในคําพยากรณ

นอกจากบางคนเทานั้นที่ไมไดขึ้นอยูกับเหตุผลดังที่กลาวมาแลว คือ เปน ผู ที่ไม มีห นี้ ก รรมกับ ผู ใดมา ธรรมชาติ แหง การมี บุ ตรธิ ด า ถามองตามทัศนะของกฎแหงกรรมแลว ก็คือการเปดหนาบัญชีลูกหนี้ เจาหนี้ขึ้นมาสะสางกันอีก วาระหนึ่ง บุตรธิดาบางคนเกิดมาทวงหนี้ ก็ทําตัวดื้อรั้นอวดดี กอความเดือนรอนวุนวายเสียหาย จนบิดามารดา ไมมีความสุขตลอดเวลา สวนบุตรธิดาที่เกิดมาใชหนี้บุญคุณที่ติดคาง กันอยูในภพกอนๆ ก็มีความกตัญูกตเวที วานอนสอนงาย เปนที่พึ่ง ทั้งทางกายและทางใจของบิดามารดา นําความปลื้มปติความภาคภูมิใจ มาใหบิดามารดามีความสุขความอิ่มใจอยูเสมอ

ก็รางกายที่กอปรดวยเลือดเนื้อนี้ ยังเปนไปตามลิขิตของดินฟา ทําไมกับชี วิตที่ ก อปรดว ยคุณ ธรรมความดี งาม ฟา ดินจะไมห ยั่ง รู ได ห รื อ โชคชาตาที่ ฟ า ดิ น ลิ ขิ ต มา มนุ ษ ย ยั ง พอหลี ก เลี่ ย งได บ า ง แตเคราะหกรรมที่เกิดจากการกระทําของมนุษยเองก็จะหนีไมพนเลย มีผูเขียนโคลงบทหนึ่งไววา มนุษยตองคอยสํารวจตนเองเสมอ เพื่อจักไดดําเนินชีวิตไปตาม ครรลองคลองธรรม เมื่อกระทําแตความดีงามแลวไซร ไฉนจักไมได ความดีอันเปนผลเลา

กุศลกรรมและอกุศลกรรมในอดีต ลวนเปนเหตุปจจัยใหชีวิตตอง เวียนวายมาพบกันอีกตามกระแสของวิบากกรรม มาเปนพอแมลูกกัน ตามกรรมดีกรรมชั่วที่แตละคนไดกอใหเกิดความสัมพันธกนั มาแตอดีต ผูใดมิไดกอหนี้กรรมไวกับใครเลย ก็ยอมไมมีผูใดตามมาทวงหนี้หรือ มาใชหนี้ ก็ทําใหไมมีบุตรธิดาในชาติปจจุบัน ซึ่งในกรณีเชนนีม้ นี อ ยมาก ทานเหลี่ยวฝานจึงมิไดกลาวไว (ผูถอดความ)

ความดีความชั่ว จึงลวนแตขึ้นอยูกับพฤติก รรมของมนุษ ยเอง ทั้งสิ้น การที่ทานผูเฒาขงพยากรณไวใหนั้น เปนเพียงชาตาชีวิตที่ลิขิต จากฟ า ดิ น ยอ มมี ท างแก ไ ขได จงรี บ สร างคุ ณ ธรรมความดี ง าม เริ่ ม ด ว ยการช ว ยเหลื อ ผู อื่ น โดยไม เ ห็ น แก ตั ว เสี ย สละเพื่ อ ผู อื่ น โดยไม ห วั ง การตอบแทน อย ามุ งหวั ง แต ชื่อ เสี ย ง ทํ าอย างเงี ย บๆ การปดทองหลังองคพระปฏิมานั้น กลับไดบุญมากกวา ถามีคนรูเห็น กันมาก พากันสรรเสริญอนุโมทนาสาธุการ ความมีชื่อเสียงก็จะแบง ความดี ง ามไปเสี ย มาก บุ ญ ก็ จ ะน อ ยลงเพราะได ผ ลในป จ จุ บั น ไปเสียแลวบาง แตถาทําแลวไมโออวดในความดีนั้น ผลบุญก็จะเต็ม ดุจ วารีที่เปย มฝง ใครเลาจะแยงหรือแบงบุญของเราไปได การทําดี เชนนี้ มีหรือจะไมไดเสวยผลแหงความดีนี้

แลวทานก็บอกพอวา เมื่อพอรูตัวเองวาไมดีอยางไรบางแลวเชนนี้ และเขาใจความเปนไปของฟาดินแลวไซร ก็จงรีบเรงสั่งสมคุณธรรม ความดีงามทันที ไมคอยแตจับผิดผูอ่นื สามารถใหอภัยไดแมความผิดนัน้ จะเทียบเทาภูเขาก็ตาม มีขันติอดทนตอความไมพอใจ ไมโ กรธงาย มีแต ค วามเมตตากรุ ณ า ไม พูด มาก ไม ดื่ ม สุ ร า รั ก ษาสุ ข ภาพให ดี ทั้ ง กายและใจ สิ่ ง ที่ แ ล ว มาแล ว ก็ ใ ห คิ ด ว า ตายไปแล ว เมื่ อ วานนี้ แล ว เริ่ ม ต น สร า งสิ่ ง ที่ ดี ง ามขึ้ น มาแทนที่ เหมื อ นเกิ ด ใหม ใ นวั น นี้ 16


คั ม ภี ร โ บราณชื่ อ ว า เอ ก เก็ ง ก็ ไ ด เ น น ถึ ง ความดี ค วามชั่ ว ไวอยางละเอียดลออ สอนคนดีใหรูจักหลบหลีกจากกรรมชั่ว สั่งสมแต กรรมดี เพื่อจัก ไดผ ลดีต อบแทน หากวาลิ ขิตของชาตาชีวิ ตเปนสิ่ ง แนนอนแลวไซร จัก หลีก เลี่ยงกรรมชั่ว สั่งสมแตก รรมดีไดอ ยางไร ในหนาแรกของคัมภีรก็กลาวไววา ครอบครัวใดสั่งสมแตความดีงาม ไมเพีย งแตหั วหนา ครอบครัวเทานั้น ที่จะไดเสวยผลแหงความดีนั้ น แมแตลูกหลานเหลนโหลนก็จะพลอยไดเสวยผลแหงกรรมดีนั้นดวย วิเคราะหดูใ หดีแลว จะเห็นไดวาชาตาชีวิตไมส ามารถควบคุมมนุษ ย ไวไดเสมอไป จิตใจมนุษยสําคัญกวา จิตใจที่ดีงาม ยอมกระทําแตสิ่งที่ ดีงาม และไดรับผลที่ดีงาม ผูมีจิตใจทราม ยอมกระทําแตสงิ่ ทีเ่ ลวทราม และไดผลที่ทราม ทานถามพอวาเชื่อทานหรือไมเลา

เพื่อ เตื อนใจใหรู วาในวั นหนึ่ งๆ เราไดทํ าอะไรไปบาง ดี ม ากกว าชั่ว หรื อ ชั่ ว มากกว า ดี อะไรผิ ด อะไรถู ก จั ก ได แ ก ไ ขปรั บ ปรุ ง ตนเอง ไมทําความผิดซ้ําแลวซ้ําอีก กรรมชั่วเบาๆ ก็ตองนํามาลบกรรมดีออก เสียหนึ่ง ครั้ง กรรมชั่ว หนั ก ๆ ก็ ตอ งลบความดีอ อกหลายๆ ครั้ ง จนกวาความดีจ ะครบสามพัน ครั้ง ดัง ที่ได อธิษ ฐานไว แล วสอนพอ สวดมนต บ ริ ก รรมคาถาเพื่ อ ช ว ยให มี จิ ต มั่ น คง โดยอาศั ย อํ านาจ คุณพระศรีรัตนตรัยเปนสรณะ เพื่อใหคําอธิษฐานหนักแนนสัมฤทธิผล เร็ววัน ท า นยั ง เล า ให พ อ ฟ ง ต อ ไปว า ผูที่ ชํา นาญการวาดฮู (ลงเลข ลงยั นต) ได ก ล าวไว วา หากมนุ ษ ยไ มรู วิธี วาดฮู ได ถูก ตอ งแลว ไซร จะถูก ผีสางเทวดาหัวเราะเยาะเอาได เพราะฉะนั้นการวาดฮูก็ตองหัด ใหเปนไว เคล็ดลับของวิชานี้ อยูที่ตองทําใจใหเปนเอกัคตาใหไดเทานั้น เมื่อเริ่มจับพูกัน ก็ตองหยุดความรูสึกนึกคิดใดๆ ใหหมด ไมวอกแวก ทําจิตใหนิ่ง รวมพลัง จิตทั้งหมดพุงตรงไปยัง ปลายพูกั น แลวจรด ปลายพูกันลงไปที่ก ระดาษ ผา หรือแพรก็ได ทิ้งน้ําหนัก ปลายพูกัน ให แ น นิ่ ง เป น การเบิ ก ทวารฟ าดิ น ด ว ยพลั ง จิ ต ที่ พุง กระทบอย า ง แหลมคม ฮูจะศักดิ์สิทธิ์หรือไมก็อยูที่จุดเริ่มตนนี้เอง เมื่อเริ่มตนแลว ก็ตองเขียนใหจบขบวนการโดยไมหยุดชะงัก ไมตอเติม ไมยกพูกันขึ้น ตองวาดใหตอเนื่องเปนเสนเดียวกัน จิตเปนเอกัคตาตลอดแนวทาง ที่พูกันตวัดไปมา ฮูนี้ก็จะศัก ดิ์สิทธิ์ ไมวาจะอธิษฐานใดๆ ตอฟาดิ น ก็จะสัมฤทธิผลอยางแนนอนและรวดเร็ว

พอเชื่ออยางมาก เพราะทานพูดมีเหตุผล พอจึงคุกเขาลงกราบทาน เพื่อแสดงวารับคําสั่งสอนดวยความเคารพอยางสูง แลวพอไปนั่งลง ณ หนาที่บูชาพระรัตนตรัย สารภาพบาปในอดีตตอพระพักตรสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจาอยางหมดเปลือก แลวอธิษฐานขอใหไดเปนขุนนาง ตอนี้ไปจะเริ่มกระทําความดีใหครบสามพันครั้งเพื่อตอบแทนพระคุณ ฟาดินและบรรพชนของพอ ท า นอวิ๋ น กุ เ ถระเห็ น พ อ มี ค วามตั้ ง ใจทํ า ความดี ถึ ง ปานนี้ จึงเอาตัวอยางบัญชีกรรมดีกรรมชั่วมาใหพอดู แลวสอนพอใหจดบัญชี พฤติ ก รรมของตนเองแต ล ะวัน อยางละเอีย ดถี่ ถว น โดยไมเ ขาขาง ตนเอง ถาเปนกรรมดีก็จดไวขางหนึ่ง ถาเปนกรรมชั่วก็จดไวอีกขางหนึง่ เหมือนบัญชีรับจาย ตองนํากรรมชั่วไปลบกรรมดี ใหเหลือกรรมดี สามพันครั้ง โดยไมมีก รรมชั่วที่ไมไดหัก กลบลบหนี้แลว จึงจะนับวา ทํ า ความดี ไ ด ค รบสามพั น ครั้ ง ต อ งนํ า บั ญ ชี ม าทบทวนดู ทุ ก วั น

ผูที่มีกิเลสธุลีหนาแนนในใจ เหมือนตกอยูใ นความมืดดั่ง อยูใ น ครรภม ารดา ไมส ามารถมองเห็นอะไรอื่น เมื่อจรดปลายพูกันลงไป ครั้งแรก ก็เทากับไดเจาะความมืดใหแสงสวางสองเขาไปได และเมื่อ 17


ตวัดพูกันไปดวยจิตอันแหลมคมเปนสมาธิอยูนั้น ก็เปนการพุงพลังจิต ไปตามพูกันนั้น โดยมีแสงสวางและชาดในพูกันเปนสื่อนําพลังจิตไป พลังจิตประทับอยูตรงไหนความศักดิ์สิทธิ์ก็เกิดที่นั่น

กรรมชั่ว ของเด็ ก นั้น ก็ จ ะเริ่ ม มาใหผ ล จึง ไดเ ห็น ความอายุสั้ น บ าง อายุยืนบาง ความแตกตางจึงบังเกิดขึ้นดวยประการฉะนี้ ฉะนั้น ถาเราไมใหค วามแตกตางระหวางความรวยกับความจน ความสุขกับความทุกข ความตกต่ํากับความรุงเรือง หรือความมีอายุยนื กับอายุสั้น ก็จะสามารถสรางสรรคชีวิตใหเปนไปตามความตองการ ของเราได ถาเราไปใหความแตกตางกับสิ่งเหลานี้เสียกอนแลว เราจะ ไมสามารถสรางชีวิตใหดีตามความตองการของเราไดเลย

การบริกรรมก็ตองทําสม่ําเสมอ ขาดไมไดเชนกัน ตองบริกรรมจน แมปากไมบริกรรมแลว แตใจยังคงบริกรรมอยู บริกรรมจนไมรูสึกวา ตัวเราเปนผูบริกรรม เพราะมนตก็ดี การบริกรรมก็ดี ตัวเราผูบริกรรม ก็ดี ไดผสมผสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเสียแลว จนแยกไมออกเมื่อใด เมื่อนั้นการบริกรรมก็ศักดิ์สิทธิ์ ทานนัก ปราชญเมิ่งจื่อ ไดก ลาวไววา อันวาอายุยืนหรืออายุสั้น หามีค วามแตกตางกันไม ใหหมั่นฝก ฝนตนเองไปจนกวาจะถึงวันนั้น วันนั้นคือวันที่เราจะไดพบความจริงวา ใดๆ ในโลกนี้หามีความแตกตาง กัน ไม ลว นแต เ ป นสภาวธรรมที่ม นุ ษ ยส มมุ ติ กั น ขึ้ น มา ผู ที่ ฝก ฝน ตนเอง จนไมเห็นความแตกตางของสภาวธรรมเมื่อใด ผูนั้นก็เขาถึง สภาวธรรมเมื่อนั้น และไมถูกความไมรูไมเขาใจหลอกหลอนเบียดเบียน หลุดพนจากความรอยรัดของกิเลสตัณหาอุปาทานไดหมดสิ้น

จะยกตัวอยางใหดู เด็ก สองคน คนหนึ่งเกิดมาเปนลูก คนรวย อีก คนเกิดมาเปนลูก คนจน ถา เด็ก รวยคิด วาตนเองวิ เศษกวาผูอื่ น เพราะความรวยกวาผูอื่นแลวไซร ก็จะเกิดความลําพอง ถือเงินเปน อํานาจบาตรใหญ เที่ยวระรานขมเหงเอาแตใจตนเอง สวนลูกคนจนนั้น ถ า คิ ด ว า ตนเองยากจนไม มี เ งิ น เหมือ นลู ก คนรวย ก็ จ ะเกิด ความ นอยเนื้อต่ําใจ เมื่ออยากไดอะไรไมไดดั่งใจ ความกดดันก็จะเปนแรงขับ ให เ ริ่ ม ฉกชิ ง วิ่ ง ราว ลั ก เล็ ก ขโมยน อ ย จนถึง ปล น จี้ ฆ า เจ า ทรั พ ย รุนแรงขึ้นทุกที แมจะตองโทษก็ไมกลัว ไดกินขาวหลวงสบายไปเสียอีก

ถาคิ ดโดยผิว เผิ นก็ จ ะรูสึ ก แปลกใจ เพราะความมีอ ายุ สั้น และ อายุยืนนั้น แตกตางกันอยางตรงกันขามทีเดียว แตถาคิดใหลึกซึ้งแลว ก็จะเห็นไดวาทานพูดไวไมผิดเลย ทุกสิ่งในโลกนี้ลวนเปนสภาวธรรม หนึ่ ง ๆ เท า นั้ น มนุ ษ ย มัก จั ด เข า พวกกัน บ า ง แยกประเภทให บ า ง จนดู สับ สนสลั บซั บซ อนไปหมด ธรรมดาทารกที่เ กิด มาใหมๆ นั้ น หารูไมวาอายุสั้นอายุยืนมีความหมายอยางไรกัน ตอเมื่อเติบโตแลว จึงสามารถแยกแยะความหมาย เลือกคุณคาของสรรพสิ่งโดยคําสอน ของผูใหญบาง จิตดั้ง เดิมเปนเชนนั้นบาง ตอนนี้เองผลแหงกรรมดี

ถาเราแยกแยะความรวยความจนเชนนี้ ก็จะเปนคนดีไปไมไดเลย แตถาไมคิดวาเรารวย จะทําอะไรก็ระมัดระวังไมใหกระทบกระเทือ น ถึง ผูอื่น คิดแตจะชวยเหลือเจือ จานไปทั่วหนา ใชเงินที่ตนเองมีม าก ใหเปนประโยชนแกผูมีนอย อาศัยความรวยที่ตนเองไดเปรียบผูอื่นโดย สภาวธรรม มาเกื้อกูล ผูอื่นที่มีนอยถึงกับขาดแคลนตามสภาวธรรม ความเมตตากรุ ณ าที่ เ กิ ด จากความรู จ ริ ง ในสภาวธรรมนี้ ก็ จ ะ หล อ หลอมให ช อ งว า งระหว า งความรวยความจนนั้ น ป ด สนิ ท ไม ส ามารถเกิ ด ความแตกต า งได เ ลย ส ว นเด็ ก ที่ เ กิ ด มายากจน 18


อั น เป น สภาวธรรมหนึ่ ง นั้ น ถ า ไม ใ ห ค วามแตกต า งในความรวย ความจนแลว ก็จ ะไมมีความรูสึก นอยเนื้อต่ําใจ รูจักขยันหมั่นเพียร สัน โดษในความเปน อยู ซื่ อ ตรงในความประพฤติ รู จั ก ใช แ รงกาย ชว ยเหลื อ ผู อื่ นแทนแรงเงิ น ที่ต นขาดแคลน ไม ค อยคิ ด ที่ จ ะใหผู อื่ น มาชวยตน แตไมรังเกียจที่จะชวยผูอื่น ตั้งหนาทํามาหากิน หนักเอาเบาสู อดออมถนอมตน ไมนานนัก คนจนก็จะกลายเปนคนรวย คนรวยก็จะ ไมจน ถามีนิสัยเหมือนเด็กทั้งสองคนนี้ เมื่อถึงวันนั้น ความแตกตาง จักมีไดอยางไร

การฝกฝนตนเองใหรูจัก ประกอบกรรมทําดีนั้น ยอมเปนการ สั่งสมบุญบารมีโดยแท เราจะตองหมั่นสังเกตพฤติกรรมของเราเอง มีสิ่งใดผิดพลาดก็พยายามแกไข เหมือนดั่งหมอที่พยายามรักษาคนไข ใหหายจากโรคฉะนั้น การสั่งสมบุญบารมีตองพยายามอยูทุกขณะจิต คอยทําคอยไป ไมหวังผลจนเกินกําลัง ไมหยอนยานจนไมกาวหนา เมื่อจิตไดรับการอบรมที่ดี บมใจจนไดที่แลว นั่นคือความสําเร็จที่จะไดรบั ในการประพฤติปฏิบัติธรรม ทานบอกกับพอวา จิตนั้นเกิดดับอยูทุกขณะ ขอใหหมั่นบริกรรม อยาไดหยุดยั้ง จะขาดการสืบตอ เมื่อบริกรรมจนเกิดความชํานาญแลว ก็จ ะกลายเปนนิ สั ย ไมว าปากจะบริก รรมหรือ ไม จิ ตก็ จ ะทํ าไปเอง โดยอัตโนมัติ เมื่ อจิตดิ่ง เปนเอกั ค ตาแลว ไซร ยอ มรวมมนตคาถาที่ บริกรรม ตัวคนบริก รรมและจิตที่บริกรรมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ไมแยกออกจากกัน เมื่อนั้นการบริกรรมก็จะประสบความสําเร็จทันที อธิษฐานไวเชนไรก็จะสมปรารถนาเชนนั้น

แม อายุสั้น อายุ ยาวก็เ ชน กัน ถา เราไม เชื่ อ วาชาตาชี วิต ไดลิ ขิ ต ใหเรามีอายุสั้น เราก็จะไมพะวงถึงความตาย ตั้งหนาประกอบกรรมดี ไมใ ชอ ยูรอความตายไปวันหนึ่ งๆ ผูที่ไมเชื่ อวาชาตาชี วิตได ลิขิตมา ให อ ายุ ยื น ก็จ ะไม ท ะนงตนว า ยั ง มี ชี วิ ต อยู อี ก ยาวนาน เกิ ด ความ ประมาทเกียจครานที่จะประกอบกรรมดี ผัดวันประกันพรุง ดื่มสุรา หานารี เลนพาชีกีฬาบัตร เผาผลาญชีวิตไปทุกวันๆ อายุจัก ยืนนาน ไปไดอยางไร

พอนั้น แตกอนมีชื่อวา “เสวียหาย” ในวันนั้นพอเปลี่ยนชื่อใหมวา เหลี่ย วฝาน เพราะพอรู ซึ้ง แล วว า การสร างอนาคตนั้น จะตอ งเริ่ ม ที่ต นเอง มิใ ชร อคอยโชคชาตามาผลั ก ดั นใหเ ป นไปตามยถากรรม พอจะตองหลุดพนจากความเปนบุถุชนใหได ไมยอมตกอยูในอิทธิพล ของคําพยากรณอีกตอไป นี่คือความหมายในชื่อใหมของพอ ตัง้ แตนนั้ มา พ อ สํ า รวมระวั ง บทบาทของกายวาจาใจอยู ต ลอดเวลาที่ ตื่ น อยู ทําใหผิดแผกไปกวาแตกอนมาก ความมักงาย ตามใจตนเอง ความไม สํารวมอินทรียไดลดนอยลง มีแตความระแวดระวังตั้งสติไมประมาท ดุจดั่งเตรียมพรอมตั้งรับภยันตรายที่กําลังคืบคลานมาหาพอฉะนั้น แมจะอยูใ นที่มืดหรือ ในที่ร โหฐานก็ยังเกรงวาผีส างเทวดาคอยจอง

ความเกิดความตายเปนสิ่ง สําคัญที่สุดของมนุษ ย ถาเราไมใ ห ความแตกตางกับสิ่งที่ก ลาวมาแลวไซร เราจะเกิดในสภาวธรรมใด ก็ต าม ย อ มจั ก ดํ ารงชีวิ ต อยู ไ ดดว ยจิ ตใจที่ป ราศจากความกดดั น รูจักดํารงชีวิตดวยดี ตายดี และไปเกิดในสภาวธรรมที่ดีตอไป ทําไมหรือ เพราะความชั่วรายมิไดอยูที่ความรวยความจน มิไดอยูที่ความมี อายุสั้นหรือยาว ความสุขความทุก ขนั้นยอมขึ้นอยูที่เราจะสามารถ ประกอบคุณงามความดีไดมากนอยเทาใดตางหากเลา 19


จับ ตามองพ อ อยู ต อหนาและลับหลั ง คนจึง ประพฤติ ต นไมต างกั น หากมี ผูใ ดแสดงความไมพ อใจพ อ อยางไร วิ พากษ วิ จารณรุนแรง เพียงใด พอกลับรับฟงไดโดยดุษณี ไมเคยตอลอตอเถียงกับผูใดอีกเลย

สามพันครั้ง พอรุงขึ้นอีกป พ.ศ. 2124 พอก็ไดเจามา จึงตั้งชื่อใหวา “ เทียนชี่” แปลวา ฟาประทาน เวลาใดที่พอ ไดก ระทําความดีทางกายกรรมก็ดี มโนกรรมก็ดี วจีกรรมก็ดี พอก็จะใชพูกันบันทึกไวทันที แตแมเจาเขียนหนังสือไมเปน เมื่อไดชวยพอกระทําความดีครั้งใด ก็ใชกานขนหานจิ้มชาด กดวงไว บนปฏิทิน บางวันใหทานคนยากจนหลายครั้ง ปลอยสัตวมีชีวิตมาก วันหนึ่งๆ แมเจาวงไวถึงสิบกวาวงดวยกัน เพียงสองปกวาก็ทําไดครบ สามพันครั้งอีก คราวนี้ พอนิมนตพระเถระรูปกอนๆ มาทําพิธีอุทิศ บุญกุศลทีบ่ านเราเอง และเริ่มตั้งจิตอธิษฐานขอใหสอบตําแหนงจิ้นสือ ได จะทํ าความดี ใ หครบหนึ่ งหมื่ นครั้ง ตอมาอีก สามป พอก็ สอบได และไดเ ปนนายอําเภอในปนั้นเอง ประมาณ พ.ศ. 2129 (ประมาณ ค.ศ. 1586)

เมื่อกาลเวลาผานไปอีกหนึ่งป พอไดโอกาสเขาทําการสอบไลอกี ครัง้ คราวนี้ไดที่หนึ่ง พลิกความคาดหมายของทานผูเฒาขง ที่พยากรณไววา จะสอบไดที่สาม ทานวาหลังจากสอบครั้งนี้แลว ตอไปจะสอบไมไดอีก แต เ มื่ อ พ อไปสอบก็ส อบได อีก เป น อั นว าคํ า พยากรณ ไมส ามารถ กุมวิถีชีวิตของพอไดอีกตอไป แตก ารทําความดีนั้น มิไดงายอยางที่นึก ไว สํารวจดูแลว ก็พบ ข อ บกพรอ งมากมาย เช น ไม มี ค วามอาจหาญพอที่ จ ะเสี่ ย งชี วิ ต เข า ช ว ยเหลื อ ผู ที่ ป ระสบภั ย บางที จิ ต ใจลั ง เล ไม ส ามารถช ว ยได สุดกําลัง บางทีก็ชวยไปบนวาไป อดติเตียนเสียมิได เวลาปกติกย็ งั มีสติ ควบคุมตนเองไดดีอยู บางทีดื่มเหลาเมามาย ความประพฤติดั้งเดิมก็ กลับมามีบทบาทอีก คะแนนของกรรมดีถูก กรรมชั่วลบไปเสียมาก ทําใหตองใชเวลาเกือบ 11 ป คือตั้งแต พ.ศ. 2112 – พ.ศ. 2122 จึงสามารถรวบรวมการทําความดีไดครบสามพันครั้ง

พอ ได ทําสมุ ดขึ้ นมาเลม หนึ่ ง ใหชื่ อว าสมุด บริหารใจ ตอนเช า อั น เป น เวลาที่พ อ นั่ ง ชํา ระความ พอ ก็ใ ห ค นนํ าสมุ ด นี้ ม าวางไว บ น บัล ลัง กดวย ในแตล ะวัน พอชําระคดีไวอยางไรบาง ก็จะบันทึก ไวใ น สมุดเลมนี้อยางละเอียด เพื่อไวตรวจสอบดูวาจะมีอคติในการชําระความ อยางไรบางหรือ ไม มีความยุติธ รรมเพีย งพอไหม ใหความเมตตา ปรานีเ พี ย งพอไหม เพื่ อ จะได ไว แก ไ ขในวั น ต อ ไป พอตกกลางคื น พอก็ตั้งโตะที่กลางลานบาน พอแตงตัวเต็มยศเพื่อแสดงความเคารพ ตอฟาดิน แลวจุดธูปเทียนบูชาฟาดิน คุกเขาลงอานบันทึกนั้น แลวเผา ถวายฟ า ดิ น หนึ่ ง ชุ ด เก็ บ ไว ห นึ่ ง ชุ ด ที่ พ อ ทํ า เช นนี้ก็ เ พราะพ อ เห็ น ตัวอยางอันดีงามนีม้ าจากขุนนางผูใหญทานหนึ่งในสมัยราชวงศซอง ที่ไดรับการจารึก ไวในประวัติศาสตรจีนดวยความเคารพอยางสูงวา เปนผูที่มีความซื่อสัตย สุจริต มีค วามรับผิด ชอบตอหน าที่ของทา น

บังเอิญขณะนั้น พอไปเที่ยวนอกดานกับเพื่อน จึงมิไดประกอบพิธี อุทิศบุญกุศ ลดังที่ตั้ง จิตอธิษ ฐานไว จนกระทั่งรุง ขึ้นอีก ปห นึ่ง พ.ศ. 2123 เมื่อกลับมาทางใตแลวจึงไปนิมนตทานซิ่งคงและทานเฮวยคง ซึ่งลวนเปนพระเถระที่ทรงคุณวิเศษ มาประกอบพิธีอุทิศกุศลผลบุญ ที่ไดเพียรทําตอเนื่องมาไดรวมสามพันครั้งตามที่ไดตั้งจิตอธิษฐานไว แลว เริ่ ม ตั้ง จิ ตอธิษ ฐานใหม ครั้ง นี้ข อใหไ ดลู ก ที่ ดี จะทํา ความดีอี ก

20


เท ากั บ ชี วิ ต ของทา นเอง ไม ย อมสยบต อ ขุ น นางกั ง ฉิ น ดูแ ลความ ทุก ขสุขของราษฎรและขุนนางใหญนอยอยางไมก ลัวตาย ถามีก าร ฉอราษฎรบังหลวง มีก ารอาศัยหนาที่หรืออิทธิพลกอกรรมทําเข็ญ กับชาวบานหรือขุนนางผูนอยแลวไซร แมผูนั้นจะเปนขุนนางผูใ หญ เป น ที่ โ ปรดปรานของฮ อ งเต สั ก เพี ย งไรก็ ต าม ท านก็ ไ ม เ กรงกลั ว เปนตองนําหลัก ฐานทูล เกลาฯ ถวายฮอ งเตใหไดรับโทษานุโทษจงได เมื่ อ ท านสิ้ น อายุขัย แล ว จึ ง ได รั บ พระราชทานเกี ย รติ ย ศอั น สู ง ส ง ไดรับสถาปนาเปนที่ชิงเซี่ยงกง หมายถึงผูที่กราบทูลดวยความสะอาด บริสุทธิ์ใ จ พออานชีวประวัติอันเกริกเกียรติของทานแลวประทับใจ มาก จึงถือเปนตัวอยางอันดีงามที่จะตองปฏิบัติตามใหได เพื่อปองกัน การชํ า ระความของพ อ มิ ใ ห ด า งพร อ ยเสี ย ความยุ ติ ธ รรมไปได พอจึงกระทําเชนนี้ทุกคืน

เสียภาษีหนักเกินไป ทําไมเรื่องราวเหลานี้ซึ่งพอเห็นเปนเรื่องเล็กนอย แตก็ลวงรูถึงเทวดาฟาดินได และก็ยังสงสัยอยูวา ทําเพียงแคนี้นะหรือ ก็เปนความดีไดถึงหนึ่งหมื่นครั้ง บังเอิญทานฝานอวี๋ยเถระมาจาก ภูเขาอูถายซาน พอจึงกราบถามทานเพื่อใหหายสงสัย ทานตอบวา กุศลกรรมใดก็ตาม ถาทําดวยความจริงใจ บริสุทธิ์ใจ ไมห วังตอบแทนเปนสวนตัว แลว ไซร แม ก ระทํา ครั้ง เดี ยว ก็เท ากั บ กระทําหมื่นครั้ง ไดทีเดียว การที่พอเห็นความทุก ขยากของราษฎร หาทางแก ไ ขผ อ นหนั ก เป น เบา ความสุข ที่ร าษฎรทั้ง อํ า เภอได รั บ ยอมเปนกุศ ลกรรมอันยิ่งใหญ พอจึงเอาเงินเดือนของพอ เดือนนั้น ถวายแกทานฝานอวี๋ยเถระ เพื่อใหทําอาหารมังสวิรัติถวายพระภิก ษุ ในวัดของทาน ซึ่งมีประมาณหนึ่งหมื่นรูป และอุทิศ กุศลกรรมทั้งมวล ไปตามที่อธิษฐานเอาไว

แมของเจาแสดงความวิตกกังวลใหพอฟงวา แตกอนนี้อยูบาน เราเองก็ชว ยกันทําบุญทําทาน มีโอกาสประกอบกรรมดีม าก ไมกี่ป ก็ไดครบสามพันครั้ง แตตอนนี้เราอยูในสถานที่ราชการ ไมมีโอกาส สัมผัสกับคนยากจนเหมือนแตกอน ความดีหนึ่งหมื่นครั้ง เมื่อใดจะทํา สําเร็จไดเลา

ทานผู เฒ า ข ง เคยพยากรณ พอ ไว วา พ อ จะมี อ ายุอ ยูไ ด 53 ป เทานั้น พอก็มิไดอธิษฐานใหตนเองมีอายุยืนยาวแตอยางใด แตปนั้น พอก็ไมเปนไร อยูมาจนบัดนี้ พอมีอายุได 69 ป แลว โบราณทานกลาว ไววา ฟาดินนั้นสุดที่จะหยั่งรูได ชาตาชีวิตจึงเอาแนไมได ชีวิตของใคร คนนั้นก็ตองสรางอนาคตเอาเอง จะใหคนอื่นสรางใหหาไดไม คําพูดนี้ เป น ความจริง ที่ พอ พิ สู จ น ไ ด ด ว ยตนเอง พ อ จึ ง เชื่ อ มั่น ด ว ยความ ประจักษแจงแกใจของพอเองวา ความสุขความทุกข ลวนแตเกิดจาก การกระทํ า ของตนเองทั้ ง สิ้ น ทํ า ดี ก็ ดี ทํ า ชั่ ว ก็ ชั่ ว เป น คํ า ที่ ท า น นั ก ปราชญ โ บราณกล าวกั น ต อ ๆ มาจนถึ ง บั ด นี้ ถา ใครยั ง เชื่ อ ว า สุ ข ทุ ก ข เ ป น สิ่ ง ที่ ถู ก ลิ ขิ ต มาแล ว อย า งแน น อน แก ไ ขไม ไ ด แ ลว ไซร แม ผู นั้ น จะแสนฉลาดปราดเปรื่ อ งอย า งไร เขาก็ ยั ง เป น บุ ถุ ช นอยู หาความกาวหนามิไดเลย

พอก็ไดแตรับฟง ในคืนวันนั้น จะวาบังเอิญหรือไมหนอ พอฝนเห็น เทวดาองคหนึ่ง พอจึงปรับทุก ขกับทานถึงเรื่องที่แมเจาวิตกกังวล ทานบอกกับพอวา พอนั้นไมรูตัวเลย พอไดทําความดีครบหนึ่งหมื่นครั้ง แลว เพียงแตล ดภาษีขาวใหแกราษฎรทั้งหมดที่อยูใ นความปกครอง ของพ อ โดยทั่ ว หน า กั น การบรรเทาภาระอั น หนั ก ของราษฎร เปนกุศลกรรมอันยิ่งใหญ เพราะทําใหราษฎรเปนสุขขึ้น พอตื่นขึ้นมา ก็นึก ขึ้ นได วา พอไดทําไปเชนนั้นจริ งๆ เพราะสงสารราษฎรที่ตอ ง 21


สําหรับตัวของลูกนั้น พอก็ยัง ไมทราบวาอนาคตจะเปนอยางไร แตข อใหลูกจําไววา แมลูกจะมีบุญวาสนาชาตาสูง ก็อยายึดมั่นวาจะ เปนเชนนั้นเสมอไป อาจจะมีวันที่ตกต่ําลงไดถาลูกไมรูจักการระวังตัว ยามใดที่ลูกรูสึกชีวิตมีแตความราบรื่นปลอดโปรงสะดวกสบายไปทุกสิ่ง ลูก ก็อยายึดมั่นวา จะเปน เชนนั้นตลอดไป อาจจะมีวันที่ตอ งประสบ ความยุง ยากเดื อ ดร อ น ถ าลู ก ไม ตั้ งตนอยูใ นศีล ในธรรมอยูเ สมอ ยามใดที่ลูก มีความเหลือเฟอ เงินทองไหลมาเทมา มีความสมบูรณ พูน สุ ข ทุ ก ประการ ก็ อ ย า ยึ ด มั่น วา จะเป นเช น นั้น เสมอไป อาจจะมี สักวันหนึ่ง ที่ลูกจะตองตกระกําลําบาก ระหกระเหินแมจะหาที่คางกาย สักคืนก็ทั้งยาก หากลูกไมรูจักใชเงินใหเปนประโยชนในทางที่ถูกที่ควร ทั้งแกตนเองและแกผูอื่น ยามใดที่มีคนนิยมชมชอบ เคารพนบนอบตอลูก ลูก ก็ จ ะตอ งยิ่ง ทํ าตนให เ ปน ที่นา เคารพยิ่ ง ๆ ขึ้ น ถอมเนื้ อ ถ อ มตั ว ดว ยความจริ ง ใจ มิใ ชเ สแสร ง แกลง ทํา ปากอย างใจอย าง อวดดี วางอํานาจ ยามใดที่ลูก ไดรับยศฐาบรรดาศัก ดิ์อันสู งสง ลูก ก็อย า ยึ ด มั่ น ในโลกธรรมนั้ น ว าจะแน น อนเสมอไป ตอ งเตือ นสติ ต นเอง อยูเสมอวา สักวันหนึ่งยศศักดิ์ชื่อเสียง เงินทองและความสุขทั้งมวล อาจจะพังพินาศไปในพริบตาเดียวก็ได ถาลูกไมหมั่นประกอบความดี ใหยิ่งๆ ขึ้นไป แมลูกจะมีความรูความสามารถเพียงใด ก็จงอยาทะนงตน วาใครก็สูไมได ลูกจะตองหมั่นฝกฝนเพื่อใหความรูนั้นแตกฉานยิ่งขึ้น ถาลูกทําไดเชนนี้ลูกก็จะเปนผูที่มีคุณธรรมอันสูงสง และคงความสูงสง นั้นไวได ไมมีวันที่จะตกต่ํา นอกจากวิบากแหงกรรมเกา ซึ่งไมมใี ครรูว า ในชาติปางกอ นๆ นั้ น ลู ก ไดเ คยทําอกุศ ลกรรมอะไรไวบ าง วิ บาก แหง อกุศ ลกรรมนั้นยอมใหผลเมื่อถึงเวลาเสมอ แตถาลูก มีความดี มากจริงๆ แลว อกุศ ลกรรมบางอยางก็จะกลายเปนอโหสิก รรมไป คือกรรมตามไมทัน

ลูก ต อ งเคารพบู ช าบรรพชน สรรเสริญ คุณ งามความดี ข อง บรรพชนใหแผไพศาล ลูกจะตองปกปดความผิดพลาดของพอแมไว อยาใหเปนที่เสื่อมเสียแกวงศตระกูล ได ชาติบานเมืองเปนสิ่งที่จะตอง เทิดทูนรักษาไวดวยชีวิต ตองมีความซื่อสัตยสุจริตจงรักภักดีตอองต ฮ อ งเต ไ ม เ สื่ อ มคลาย ลู ก จะต อ งสร า งครอบครั ว ให มี ค วามสุ ข ความอบอุนใจตลอดจนคนรับใช ลูกจะตองชวยเหลือเกื้อกูลผูที่ยากไร ให ไ ด ทั น ทว งที ลู ก จะตอ งมีจิ ต สํ ารวมระวั ง อิ นทรี ย อ ยู ตลอดเวลา เพื่อปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นทั้งทางกายวาจาและใจ ลูก จะตองสํารวจตรวจขอบกพรองในตัวของลูก เองทุก ๆ วั น อยาไดขาด และจะตองแกไขความผิดพลาดใหทันทวงทีทุกๆ วันเชนกัน วันใดที่ ลูก มองไมเห็น ความผิ ดพลาดของลูก ก็แสดงวาการปฏิบั ติ ธรรมของลูกไมไดกาวหนาไปเลย และกําลังถอยหลังแลว เพราะฉะนั้น ลูกจะตองหาความผิดพลาดของตนเองใหพบ และแกไขใหไดทันทวงที มิฉะนั้นแลว ลูกจะกาวหนาตอไปไมได เปนการเสียชาติเกิด คําสั่งสอนของทานอวิ๋นกุเถระนั้น ชางลึกล้ําตรงตามสภาวธรรม และเปนความจริงทุกประการ ซึ่งลูกจะตองนํามาครุนคิดวิเคราะหวิจัย หาเหตุผล เพื่อใหประจักษแจงแกใจของลูกเอง และยึดถือนํามาปฏิบัติ ตามคําสั่ง สอนของทานอยางเครงครัด ใหเ กิดเปนจริงเปนจังขึ้นมา ใหได จึงจะไมเสียแรงที่เกิดมาแลว ชาติหนึ่ง มิไดปลอยเวลาอันมีคา ใหผานไปโดยไรประโยชนเลย

22


โอวาทขอที่สอง วิธีแกไขความผิดพลาด

ในอนาคต บุถุชนมักมองไมเห็นบุคคลิกลักษณะอันนาศึกษานี้ กลับเห็นวา เปนการคาดคะเนที่ไมแนนอน

ในยุคชุนชิว กอน พ.ศ. 227 – พ.ศ. 67 เปนระยะเวลาที่อํานาจ ของราชวงศจิว (กอนศตวรรษที่ 11 กอน พ.ศ. 228) เสื่อมถอย หั ว เมื อ งใหญ น อ ยตา งแข็ง ข อ ตั้ ง ตนเปน ใหญ จิ ต ใจคนจี น ในยุค นี้ เสื่อมทรามโหดเหี้ยมมาก ลูกฆาพอ ขุนนางฆาฮองเต ทานนักปราชญ ขงจื่อก็เกิดในยุคนี้ ทานเห็นวาเหตุการณจะรุนแรงยิ่งขึ้น ไมเปนผลดี ตอ ประเทศชาติ จึ ง นํ าหนั ง สื อ เล ม หนึ่ ง มี ชื่ อ ว า ชุ น ชิ ว ซึ่ ง เป น ของ แควนหลู มาแกไขปรับปรุงเสียใหม สวนที่ดีคงไว สวนที่ขาดเพิ่มเติม บันทึกความชั่วรายในยุคนั้นไวในหนังสือ ชุนชิว นี้อยางละเอียดลออ เพื่อไวเตือนใจคนไมใหนํามาเปนเยี่ยงอยาง ขุนนางในสมัยนั้นชางดูคน โดยสังเกตจากกิริยาวาจา ก็สามารถคาดคะเนอนาคตของคนๆ นั้นได สังคมขุนนางในสมัยนั้น จึงมักนําบุคคลิกของใครตอใครมาเปนหัวขอ ในการสนทนา พอจึ งอยากให ลูก ค นหาส วนดี สว นเสียของหนังสื อ เลมนี้ แมจะเปนของโบร่ําโบราณ หางจากยุคเราเกือบสองพันปก็ตาม แตลูกก็จะไดประโยชนจากหนังสือนี้อยางเหลือลน นอกจากเลมนี้แลว ก็ยังมีอกี หลายเลมที่บันทึกประวัติศาสตรในระยะสองพันปนี้ ลูกอานแลว จะไดเขาใจชีวิตดีขึ้น รูจักนําสวนดีของอดีตมาเสริมสรางชีวิตอนาคต ของลูกเองใหเพียบพรอมดวยความเปนคนที่มีศีลมีธรรม หลุดพนจาก ความเปนบุถุชนไดในที่สุด

ธรรมชาตินั้นมีความซื่อตรงยิ่งนัก หากเราเอาอยางธรรมชาติได จิต ใจของเรานี้ ก็ จ ะผสมผสานเป น อั น หนึ่ง อั น เดี ย วกับ ธรรมชาติ ซึ่งก็คือฟาดินนั่นเอง ฉะนั้น ลูกจงสังเกตพฤติกรรมของบุคคลตางๆ วาเขาชอบทํากรรมดีหรือกรรมชั่ว ถาเขาชอบทําแตกรรมดี ทําไดครบ ตามมาตรการ และสูงถึงมาตรฐานแลวไซร ก็จงแนใจเถิด เขาจะตอง ได รั บ ผลดี แ น แต ถ า เขาชอบทํ า แต ก รรมชั่ ว ลู ก ก็ จ งแน ใ จเถิ ด ว า เขาจะต อ งได รั บ ผลเลวร า ยตอบแทน หากลู ก ต อ งการความสุ ข และหางไกลจากความทุ ก ข ลูก จะตอ งรูจัก วิธีแกไขความผิด พลาด ของตนเองเสียกอน ขอ 1. ลูกจะตองมีความละอายตอการทําชั่ว ไมวาจะอยูตอหนา หรื อ ลั บ หลั ง ผู ค น ลู ก ลองคิ ด ดู สิ นั ก ปราชญ แ ต ค รั้ ง โบราณมา ท า นก็เ ป น ชายอกสามศอกเช น ลู ก นี้ แตไ ฉนท า นเหล า นั้ น จึ ง ได รั บ ความเคารพบูช าเป น ปู ช นี ย บุ ค คล แม ก าลเวลาจั ก ได ผ า นไปแล ว เปน รอ ยชั่ วคนก็ตาม ส วนลูก นั้ นเลา ยั งคงเปนกระเบื้อ งที่ แตกอยู เปนเสี่ยงๆ ในชีวิตยังไมไดส รางอะไรเปนชิ้นเปนอันเปนแกนเปนสาร ใหปรากฏเลย ทั้งนี้ ก็เพราะลูกมัวหลงละเลิงอยูกับความสุขทางโลก เหมือนผาขาวที่ถูกสีตางๆ แปดเปอนเสียแลว ยอมหมดความบริสุทธิ์ ผุดผอง มักจะทําอะไรที่ไมสมควรทํา แตคิดวาผูอื่นไมลวงรู ตอไปก็ยิ่ง เหิมเกริมทําผิดมากขึ้นทุกทีโดยไมมีความละอายตอบาป ลงทายก็จะ เหมื อนกั บ สัต ว เ ดรั จ ฉานที่ไม ส ามารถรูว า ตนเองกํ าลั งทํ า อะไรอยู ในโลกนี้ จะมี สิ่ ง ไรอี ก เล า ที่ จ ะน า ละอายไปกว า ที่ ตนเองไม รู ดี รู ชั่ ว ทานนักปราชญเมิ่งจื่อจึงไดกลาวไววา ความละอายและความเกรงกลัว

ธรรมดานิมิตหรือลางสังหรณนั้น มักจะเกิดทางใจ แลวปรากฏ ให เ ห็ นทางอิ ริ ย าบถ บุ ค คลิ ก ลั ก ษณะจึ ง เปรี ย บประดุ จ กระจกเงา ฉายใหเ ห็นบุญวาสนาหรือเคราะหกรรมที่บุคคลนั้นๆ จะตองไดรับ 23


ตอบาปนั้น เปนความยิ่งใหญของมนุษยในโลกนี้ ผูใดมีไวยอมไดชื่อวา เปนปราชญ ผูใดมิไดมีไวยอมเหมือนสัตวเดรัจฉาน ลูกจึงตองเริ่มตน แกไขความผิดพลาดของตนเองดวยกุศลธรรมขอนี้กอน

กรรมดี หากเขาสามารถสั่ง สมความดี ไ ด ม ากกว ากรรมชั่ ว ที่ เ คย กระทํ า มาเป น หมื่ น เท า พั น ทวี แ ล ว ไซร วิ บ ากแห ง กรรมชั่ ว ที่ มิ ใ ช กรรมหนัก จักติดตามมาใหผลไมทันเสียแลว ดุจในถ้ําที่มืดมิดมานาน นั บ พั น ป เพี ย งแต จุ ด ไฟให ส ว า งเพี ยงดวงเดี ย ว ก็ ส ามารถขั บ ไล ความมืด ที่ มี ม านานนั บ พั น ป ใ ห ห มดสิ้ น ไปในพริ บ ตาเดี ย ว ฉะนั้ น ลู ก จงจํ า ไว ว า ความผิ ด ที่ ลู ก กระทํ า ไว น านแล ว หรื อ เพิ่ ง กระทํ า ขอใหรูสํานึกและแกไขเสียทันที จึงจะเอาตัวรอดได ไมตองไปสูทุคติภพ ที่เต็มไปดวยความทุกขทรมาน

ข อ 2. ลู ก จะตอ งมีค วามเกรงกลั ว ต อ การทํ าชั่ ว เทพยดา อยูเบื้องบน ผีส างวิญญาณลวนมีรางโปรงแสง มีอยูเกลื่อนกลาด ทุก หนทุก แหง ซึ่ง นัยนตาของมนุษ ยธรรมดายอ มมองไมเห็น ไมวา ลูก จะทํ าผิ ดอะไรที่ ค นไมรู ผี ส างเทวดาก็รู ห มด ถ าลู ก ทําความผิ ด รายแรง ลูกก็จะตองไดรับเคราะหกรรมไมเบาทีเดียวละ ถาลูกทําผิด เพียงนิดหนอย ก็จะทําใหลูกไดรับความสุขที่กําลังใหผลอยูในปจจุบัน ลดนอยลงทันที ลูกจะไมกลัวไดหรือ

แต ลู ก จะต อ งจํ า ไว ใ ห ดี ว า แม ค วามผิ ด นั้ น เป น สิ่ ง ที่ แ ก ไ ขได ก็อยานอนใจที่จะทําผิดบอยๆ อยานึกวาวันนี้เ ราทําผิดแคนี้ไมเปนไร พรุงนี้เราจะแกไขไมทําอีกก็แลวกัน ถาคิดเชนนี้ ก็ผิดจากวัตถุประสงค ที่พอ พร่ํ าสอนลูก มา อันความผิ ดที่เ กิด จากรูว าผิ ดแลวยัง จงใจทํ า เปนมโนกรรมทีม่ ีโทษหนัก แมลูกตั้งใจจะแกไขในวันพรุง ก็อาจจะสาย ไปเสี ยแล ว เพราะในโลกแห งความวุน วายนี้ ใครจะรับประกัน ไดว า เราจะมีชี วิ ต อยู จ นถึง วั น พรุง นี้ มนุ ษ ย มี ชี วิ ต อยู ไ ด ดว ยลมหายใจ ถ า ลู ก ขาดหายใจเพี ย งครั้ ง เดี ย ว ชี วิ ต นี้ ก็ ไ ม ใ ช ข องลู ก เสี ย แล ว ทุก สิ่ง ลูก ก็นําติดตัวไปดวยไมได เพราะทุก สิ่งเปนรูปธรรม ไมมีใ คร เปนเจาของรูปธรรมไดชั่วนิรันดร สิ่งที่ติดตามลูกไปไดมีเพียงกรรมดี และกรรมชั่วเทานั้น อันเปนนามธรรมที่มนุษยมองไมเห็น จะสัมผัสได ดวยใจเทานั้น หากบุญยังมีเหลือพอ ไดกลับมาเกิดเปนมนุษยอีก ก็จะ เปนคนที่ชื่อเสียงไมดีเปนรอยปพันป แมจะมีลูกหลานที่ดีก็ไมสามารถ ชวยลูก ได หากกรรมหนักไมส ามารถมาเกิดเปนมนุษยอีก ก็จะตอง ตกนรกหมกไหม ทนทุก ขทรมานไปชั่วกัปชั่วกัล ป แมพระพุทธองค ก็ ท รงโปรดไม ไ ด เพราะผู ใ ดทํ า กรรมไว ผู นั้ น เองเป น ผู ไ ด รั บ ผล แหงกรรมนั้น ลูกยังจะไมกลัวไดหรือ

ไมเพียงเทานั้น แมเราจะอยูในบานของเราเอง ในที่รโหฐานก็ตาม ก็ห นี ไ มพ น สายตาของผี ส างเทวดาไปได แม ลู ก จะปกป ด ความผิ ด ไวดีเ พียงไร แตจ ะปกปดผีส างเทวดาหาไดไ ม เพราะแมแตใ นตัวลู ก มีไสกี่ขด ทานเหลานั้นก็มองเห็นทะลุปุโปรงอยูแลว หากวันใดบังเอิญ มีคนแอบรูเห็นเขา ลูก ก็จะกลายเปนคนไรคา ไปทีเดียว อยางนี้แล ว ลูกยังจะไมก ลัวอีกหรือ ไมเพียงเทานั้น หากลูกยังมีลมหายใจอยู แมจะทําความผิดลนฟา ก็ ยั ง มี โ อกาสแก ตั ว ได ถ า ลู ก สํ า นึ ก ในความผิ ด นั้ น ได ทั น ท ว งที ในกาลก อ น มี ช ายคนหนึ่ ง ตลอดชี วิ ตของเขาชอบทํ าแต ก รรมชั่ ว ครั้ นพอใกลจ ะตาย ไดสํานึ ก ผิ ดเพีย งขณะจิ ตเดีย ว และจิ ตสุ ดท าย ที่รู จั ก ผิ ด ชอบชั่ วดี ก็ ยั ง สามารถทํ าให จิ ต ที่ เ กิ ดตอ จากจิ ต สุ ด ท าย (จุ ติ จิ ต ) ได ปฏิ ส นธิ ใ นสุ ค ติ ภพทั นท วงที รอดจากการไปสู ทุ ค ติภ พ อย างหวุ ดหวิด และเมื่ อเขาได ไปสูสุคติ ภพเสี ยก อนเช นนี้ จิ ตที่ รูจั ก ผิดชอบชั่วดีแลวในวินาทีสุดทายนี้ ก็ยอมเปนปจจัยใหเขาประกอบแต 24


ขอ 3. ลูกจะตองมีความกลาที่จะแกไขตนเอง มีกําลังใจทีจ่ ะแกไข อย างจริ งจัง ไมท อ ถอย มีค วามเพี ยรอยางสม่ํ าเสมอ ไมใ ชทํ าบา ง หยุดบาง ความผิดเล็กๆ นอยๆ นั้น เปรียบประดุจหนามตําอยูในเนื้อ ถารีบบงหนามออกเสีย ก็จะหายเจ็บทันที หากเปนความผิดใหญหลวง ก็เปรียบประดุจถูกงูพิษที่รายแรงขบกัดเอาที่นิ้ว ถาลูกไมกลาตัดนิว้ ทิง้ พิษก็จะลุกลามไปถึงหัวใจและตายไดงายๆ ลูกจึงตองมีจติ ใจทีเ่ ด็ดเดีย่ ว กลาเผชิญความจริง รูตัววาผิดตรงไหน ตองแกตรงนั้นทันที อยารีรอ ลั ง เล จะเสี ย การในภายหลั ง ลูก จงศึ ก ษาวิ ช าโป ย ก ว ย ที่ ว า ด ว ย ความแข็งแกรงของฟ า ความออ นโยนของดิน ความมี พลังของไฟ ความเย็นของน้ํา ความกึกกองของเสียงฟารอง ความแรงกลาของลม ความมั่ นคงของขุน เขา และความเปน กระแสของสายธาร แล วลู ก จะเขาใจถึงธรรมชาติแปดประการนี้ ซึ่งตางก็เปนปจจัยใหกันและกัน ในยามที่พายุมา เสียงฟารอง ลมก็จะเปนปจจัยชวยใหฟารองดังยิ่งขึ้น ฟาก็จะชวยลมใหมีกําลังพัดรุนแรงขึ้น ตัว อยางเหลานี้ ถาลูก ศึก ษา ใหเขาใจแลวก็จะสามารถนําวิชาโปยกวยนี้มาประยุกตในชีวิตประจําวัน ใหเกิดประโยชนสุข แกลูกเอง ความผิดถูกความดีชั่ว ลว นเปนปจจัย แก กั น และกั น เมื่ อ รู ว า ผิ ด รี บ แก ไ ขเสี ย ความถู ก ก็ จ ะกลั บ คื น มา เมื่อทําความดีอยูความชั่วไหนเลยจะกล้ํากราย ทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับ ความเด็ดเดี่ยวกลาหาญของลูกเองเทานั้น จงจําไว

ที่เ หตุ ผ ล บางสิ่ง ต อ งแกที่ ใ จ วิธี ก ารแก ไขยอ มแตกต างกั นออกไป ผลที่ไดก็ไมเหมือนกัน ลูกจงฟงใหดี เช น เมื่ อ วานนี้ เ ราฆ า สั ตว วัน นี้ เ ราตั้ง ใจไม ฆ าอี ก ต อ ไป หรื อ เมื่อวานเราโกรธ ผรุสวาทไปมากมาย วันนี้เราตั้งใจไมโกรธอีกตอไป นี่คื อการแก ไขที่ เหตุ ก ารณ ทํา ผิดแล วจึ ง ได คิด ซึ่ง ไมค อ ยจะได ผ ล เพียงระงับไดชั่วคราว เผลอเมื่อใดเราก็จะทําผิดไดอีก การแกไขจึงตองแกกอนที่จะมีก ารกระทําผิดเกิดขึ้น คือ ตองรู เหตุที่จ ะกอใหเกิดความผิดไดเสียกอน เชน การฆาสัตว ถาเราเขาใจ เสี ย ก อ นว า ชีวิ ตใครๆ ก็รั ก ไฉนจึ ง ฆ าสั ต ว อื่ น เพื่ อ เลี้ ย งชี วิ ต เรา ให ยื นยาวเล า ถ ามีใ ครทํ ากับ เราบ างอยางนี้ ลู ก จะยอมหรือ อนึ่ ง การฆาสัตวนั้น ทําใหเกิดความทรมานเจ็บปวดแสนสาหัส นําสัตวตม ในกะทะรอ นๆ กวา จะตายก็ แสบร อนไปทุก ขุม ขน แมเ ราจะบริ โภค อาหารสั ต ว เ อร็ ด อร อ ยเพี ย งไร เมื่ อ เข า ไปอยู ใ นท อ งเราแล ว ก็ จ ะ เปลี่ยนเปนปฏิกูลตอไป ถาเราบริโภคแตพืชผักผลไม เราก็อยูไดอยาง เป น สุ ข เช น กั น ไม เ ดื อ ดร อ นอะไร ไฉนจึ ง ต อ งไปทํ า ลายชี วิ ต ผู อื่ น เพื่อความอิ่ม เพียงชั่ วยาม แตต องทําลายบุญ ที่มีอยูแลว ให นอยลง และเพิ่มบาปใหมากขึ้นดวยเลา ชีวิตที่ประกอบขึ้นดวยเลือดเนื้อนั้น ยอมมีวิญญาณ คือความรูสึก นึก คิ ด เช น เดี ยวกั บ เรา ถ าเราไมส ามารถทํ าให สั ต วเ หล านั้น มารั ก นับถือเรา ไววางใจเรา และอยากอยูใกลเราแลว เราก็อยาสรางความ เคี ย ดแค น ชิ ง ชั ง จนถึ ง จองเวรจองกรรมกั น ขึ้ น เลย ถ าลู ก คิ ด ได เชนนี้แลว ลูกก็จะกลืนเนื้อสัตวเหลานั้นไมลงคอ เมื่อสมัยโบราณกาล ในยุค หินใหม เรามี ผูนําที่ ทรงเปยมดว ยพระเมตตากรุณ าและทรง ปรีชาสามารถยิ่งพระองคหนึ่ง ซึ่งมีพระนามวา ตี้ซุน กอนเสวยราชย

เมื่อลูก มีความละอาย มีค วามเกรงกลัว และมีความกลาหาญ เด็ดเดี่ยวที่จะแกไขความผิ ดพลาดของตนเองแลวไซร ความผิดนั้ น ก็ ย อ มจะลดน อ ยถอยลงจนหมดไปในที่ สุ ด เปรี ย บประดุ จ สายน้ํ า ที่รวมตัว กลายเป นน้ําแข็ ง ในฤดู ใ บไมผ ลิ เมื่อถูก แสงอาทิ ตยก็ยอ ม ละลายกลายเปนน้ําดังเดิม แตความผิดพลาดของมนุษ ยนั้นไมงาย ดั ง ว าไปเสี ย ทั้ ง หมด บางสิ่ ง ต อ งแก ที่ เ หตุ ก ารณ บางสิ่ ง ต อ งแก 25


โดยราษฎรพร อมใจกันเลือ กท าน ทา นเปน ชาวนา ระหว างที่ทํ านา อยูนั้น จะมีชางมาชวยทานไถนา มีนกมาชวยทานถอนหญา ซึ่งปจจุบันนี้ ภาพเชนนี้หาดูไมไดอีกแลว ก็เ พราะมนุษ ยขาดความเมตตาการุณ ย อยางจริงใจนั่นเอง

ถ า มี ค นนิ น ทาว า รา ยลู ก ลู ก ก็ จ ะต อ งคิ ด ให ไ ด ว า เหมื อ นคน จุดกองไฟเผาฟา แมกองไฟจะใหญม หึมาเพียงใด แตฟานั้นวางเปลา ไมมี เชื้อ ที่จ ะติด ไฟได กองไฟจะลุก โชติชว งสั ก เพี ยงใด ก็จะไหมและ มอดไปข างเดีย วในที่ สุ ด คนที่ว า ร ายลู ก เห็ น ลู ก อยู ใ นความสงบ ไมโกรธ ไมตอบโต เขาก็จะหยุดไปเองเชนกัน เพราะการนินทาวาราย นั้ น เหมื อ นนํ า สี ม าป า ยที่ ผ า ขาวนั้ น ย อ มยากที่ จ ะขาวได ดั ง เดิ ม แมลูก จะมีเหตุผลดีอ ยางไร ก็ไมส ามารถจะโตแยงใหขาวกระจางได เปรียบประดุจตัวไหมในฤดูใบไมผลิหลงกินใบหมอนไปดิ้นไป ยิ่งกระดุก กระดิก มากเทาไร ใยใหมก็ยิ่งผูก มัดตัว เองมากเทานั้น ความโกรธ ก็เชนกัน มีแตโทษหามีคุณไม ถาลูกสามารถใชเหตุผลใครครวญดูแลว ทุกสิ่งก็จะไมนาโกรธ ความโกรธก็จะไมเกิดขึ้นกับลูกอีกเลย

เรื่ อ งความโกรธก็ เ ช น กั น ถ า เรารู จั ก คิ ด สั ก นิ ด ว า คนนั้ น แตกต างกั นทั้ง นิสัย สติ ปญญา กรรมในอดีตและป จจุบั น ภู มิหน า ภูมิหลังของแตละคนจึงไมเหมือนกัน บางอยางเขาสูเราไมได บางอยาง เราสูเ ขาไมไ ด เมื่ อ เขาพลาดพลั้ ง ไป ก็ ดว ยความรูเ ทา ไม ถึง การณ เปนความโงเขลาเบาปญญา นาสงสารมากกวา นาใหอภัยมากกวา ถึงแมเขาจะใหรายเรา ก็เปนเรื่องที่เขาทําผิดเอง เราไมเดือดรอนนัก ก็จะไมเกิดความโกรธขึ้นมาไดเลย

วิธีแกไขความผิดพลาดที่พูดไปแลวมี แกไขเมื่อเกิดความผิดขึ้นแลว และแกไขเมื่อยังมิไดทําความผิด วิธีที่ดีที่สุดก็คือ การแกที่ใจนั่นเอง โบราณทานวาไว กิเลสพันหาตัณ หารอยแปด ก็ลวนเกิดที่ใ จทั้ง สิ้ น ถา เราหา มใจมิใ ห เ กิ ดกิ เ ลสตัณ หาได ความผิ ด ใดๆ ก็ เ กิ ดขึ้ น ไม ไ ด ดุจดั่งดวงตะวันสาดแสงสองมาคราใด ความมืดก็หมดไป ปศาจก็ยัง ตองหลบๆ ซอ นๆ ไมกลาออกมาเพนพาน เปรียบไดกับการโคนลม ตนไมที่มีพิษ ลูกจะตองขุดรากถอนโคนใหหมดสิ้น ไมใชคอยๆ ลิดกิ่ง ปลิดใบ ซึ่งไมทันการ

ลูกจะตองคิดใหไดวา ในโลกนี้ ไมมีใครเลยที่ไมเคยทําความผิด คนที่อวดดีอวดวิเศษนั้น หาใชปราชญที่แทจริงไม คนทีม่ คี วามรูสมเปน นักปราชญนั้น ทานมักถอมตน คอยจับผิดตนเอง ไมกลาโกรธเคือง ผูอื่น ไมจับผิดผูอื่น คอยสํารวจตนเองวาไดลวงเกินใครอยางไรบาง หรือเปลา ยามที่มีค นลวงเกินตน ก็จะถามตนเองเสียกอนวาไดเคย ลวงเกินเขาไวกอนหรือไม ยามที่มีคนไมจริงใจตอตน ก็จะถามตนเอง เสียกอนวาไดเคยแสดงความไมจริงใจตอเขากอนหรือไม เรามัวคิดเสีย เชนนี้ เราก็จะไมทันไดโกรธผูอื่น ยิ่งถามตนเองแลว ปรากฏวาไมเคย ลวงเกิน ไมเคยไมจริงใจตอเขามากอน เราก็ยิ่งสบายใจ รับเอาความ ผิดพลาดของผูอ่นื มาเปนบทเรียนฝกฝนตนเองตอไป เราก็จะกลายเปน คนดียิ่งๆ ขึ้น เมื่อคิดไดเชนนี้ ใครทําไมดีกับเรา เราก็รับบทเรียนไว ดวยความยินดี จิตใจไมขุนมัว จักมีความโกรธมาแตไหน

สรุปแลว การแกที่ใจ จึงจะเขาถึงความบริสุทธิ์ผุดผองไดอยาง แทจริง เพียงเกิดความรูสึกวาจะทําผิด ก็รูสึกตัวเสียกอนแลวดวยสติ สัมปชัญญะ ความผิดจึงเกิดขึ้นไมได นี่คือการยับยั้งชั่งใจที่ตองอบรม บม เพาะ ใหส ติป ระคองใจเราไว ตลอดเวลา ทั้ง หมดนี้ ลูก จะตองใช วิจารณญาณใหถูกตองวาคราใดที่ค วรจะใชวิธีใ ดจึงจะเหมาะจะควร 26


ถาลูกนําวิธีมาใชไมเหมาะไมควรก็จะไมทันการ แลวลูกก็จะตองตกอยู ในความโงตอไปไมมีทางไดดี

อะไรบาง ลูกจงดูไวเปนตัวอยางวาคนโบราณนั้น ทานมีความจริงใจ ตอการแกไขเพื่อพัฒนาตนเองเพียงไร

การตั้งปณิธานอันแนวแนที่จะแกไขความผิดพลาดของตนเองก็ดี การอธิ ษ ฐานจิ ต อยู บอ ยๆ ตลอดวั น ตลอดคื น ก็ ดี ล ว นแต จ ะช ว ย กระชับ ความหนัก แนน ให แกลูก นอกจากนี้ ยัง ตอ งมี กัล ยาณมิต ร คอยชวยเหลือ ตักเตือน มีผีส างเทวดาคอยชวยดลใจ จิตใจของลูก ตองเด็ดเดี่ยวแนวแน ทั้งกลางวันกลางคืน ทุกขณะจิต ทุกลมหายใจ เขาออก เพียงสั ก หนึ่งหรื อสองสั ปดาห อยางชาก็ ไมเกินสามเดือ น ยอมปรากฏผลอยางแนนอน

พวกเราสมัยนี้ลวนแตเปนคนหยาบ มีความผิดติดตัวกันมากมาย ราวกับตัวเหลือบที่เกาะเต็มไปหมด แตเราก็ไมเ ห็นไมรูสึก วาอดีตนั้น เราไดทําอะไรผิดพลาดมาบาง นี่ก็เพราะความหยาบของจิต มีดวงตา ก็หามีแววไมนั่นเอง ลูกจงสังเกตคนที่บาปหนา มักจะปรากฏบุคลิกภาพทีอ่ าภัพใหเห็น ไดงายๆ เชน เปนคนขี้หลงขี้ลืม ปวดหัว มึนงง งวงเหงาหาวนอน แม จ ะไม มี เ รื่ อ งรา ยแรงอะไรเกิ ด ขึ้ น ก็ มี จิ ต ใจที่ห งุด หงิด เศร า ซึ ม เลื่อนลอย ขี้หวาดกลัว หาความสุขความราเริงไมได เห็นคนก็ไมกลา สบตาดวย ไมช อบฟงเทศนฟงธรรม บางทีทําดีกับใครก็กลับไดผ ล ในทางตรงกันขาม กลางคืนนอนก็ฝน ราย พูดจาเลอะเลือน จิตใจทอแท เหลานี้ลวนเปนนิมิตของคนบาปหนาทั้งสิ้น ถาลูกรูสึกตัววาเปนเชนนี้ ก็จงรีบหาทางแกไขโดยดวน อยาไดรั้งรออยูเลย

ลูก จงคอยสังเกตถึงจิตใจที่จ ะสงบขึ้น สติปญญาแจมใสสมอง โปรงไมปวดศีรษะ ทําอะไรก็ดูจะงายขึ้น เร็วขึ้น ไมผิดพลาด ไมเครียด จนหงุดหงิด ถาลูกพบคนที่ไมถูกโรคกันมากอนกลับรูสึกเฉยๆ แทนที่ จะเกิดความอิดหนาระอาใจอยางที่เคยเปนมา กลางคืนอาจจะฝนวา ตนเองได อ าเจีย นของดํ า ๆ ออกมา บางที ก็ จ ะฝ น เห็ น นั ก ปราชญ โบราณมาสั่ งสอนแนะนํา บางที ก็จ ะฝน วาได บินไปเที่ย วบนทอ งฟ า บางทีก็จะเห็นเครื่องบูชาพระพุทธเจา ลวนเปนนิมิตดี เพื่อใหลูกรูวา บาปกรรมนั้นไดลดนอยถอยลงแลว แตลูกอยาไดลําพองใจเปนอันขาด มิฉะนั้นความเพียรของลูกจะหยุดกาวหนาไดทันที แตกอนนี้สมัยชุนชิว มีขุนนางในแควนเอวยทานหนึ่ง เมื่ออายุได ยี่สิบป ทานก็รูสึกตัววาตนเองไดทําผิดอะไรมาบาง และสามารถแกไข ไดห มดสิ้น ครั้นเมื่อทานอายุได 21 ป ทานก็รูสึก อีกวาที่คิดวาแกไข หมดแลวนั้น ที่แทยังไมหมดจดดี ครั้นเมื่อทานอายุได 22 ป ทานก็ยัง เห็นอีกวายังเหลือความผิดอะไรอยูบาง เชนนี้ทุกปมา จนเมื่อทานอายุ 50 ป ก็ยั ง รูว าเมื่ อท านอายุ 49 ป นั้ น มีค วามผิ ดที่ ยัง ไมไ ด แก ไ ข 27


ยอดเยี่ยม หาใครเปรียบไดยาก บรรพชนของทานตี้ซุนจะตองยินดี ปรีดาที่มีลูก หลานที่ดีเซนไหวบูช า สวนลูกหลานที่กระทําตนไมดีนั้น แมจะเซนไหวบูชาบรรพชน บรรพชนก็ไมยินดีดวย และไมยอมรับการ เซนไหวบูชาดวย ลูกศึกษาประวัติศาสตรสมัยชุนชิวแลว ลูกก็จะเขาใจ ดีวา ลูกหลานของทานตี้ซุนก็คือแควนเฉินทั้งหมด ไดมีความรุงเรือง อยูนานหลายชั่ว อายุคนทีเดียว อดีตจึงเปนตัวอยางอันดีที่ลูก จะได ศึ ก ษาทํ า ความเข าใจให รู แจ ง เห็น จริ ง และจดจํ า มาแต สิ่ ง ที่ ดี ง าม เพื่อประยุกตใชในชีวิตประจําวันของลูกเอง

โอวาทขอที่สาม วิธีสรางความดี โอวาทขอ ที่ส องนั้ น ท านเหลี่ยวฝานได ส อนวิธี แก ไ ขความผิ ด ในชีวิตปจจุบัน แตการที่ไมทําผิดในชาตินี้ ยังไมสามารถที่จะทําใหชีวิต เสวยผลดี มี สุ ข ไดต ลอดไป เพราะเหตุ ว าแมช าติ นี้ จ ะมิไ ด ก อ กรรม ทําเข็ญเพิ่มขึ้น แตเราจะรูไดอยางไรวาชาติกอนๆ นั้นเราทําความไมดี อะไรไว บา ง ซึ่ ง จะต อ งมี แ น ๆ เพี ย งแต ม ากหรื อ น อ ยเท า นั้ น ที่ เ รา ไมอ าจจะทราบได ซึ่งก็ จะตองไดรั บวิบ ากแหง กรรมในชาตินี้ต อไป ฉะนั้น ไมเพียงแตเราจะตองละการทําชั่วแลว เรายังตองสรางกรรมดี ใหเพิ่มพูนยิ่งๆ ขึ้น โอวาทขอที่สามนี้ ทานเหลี่ยวฝานจึงสอนใหลูกทาน รูจักวิธีสรางความดี

มีขุนนางตําแหนงพระอาจารยทานหนึ่ง มีหนาที่ถวายพระอักษร ฮองเตเมื่อยังทรงพระเยาว ทานผูนี้มีบรรพชนที่ยึดอาชีพแจวเรือจาง มาหลายชั่วคน มีอยูค รั้งหนึ่ง ตั้งแตพระอาจารยยังไมเกิด ฝนตกนาน จนทว มตลิ่ง กระแสน้ําไดพัดพาชีวิตผูคนและทรัพยสินลอยตามน้ํ า มามากมาย ชาวเรือจางตางก็สาละวนเก็บทรัพยสินขึ้นเรือเปนของตน มีแตทานทวดและทานปูของพระอาจารยทานนี้เทานั้นที่ไมยอมแตะตอง สิ่ ง ของใดๆ เลย ตั้ ง หน า ตั้ ง ตาช ว ยชี วิ ต คนที่ ล อยตามกระแสน้ํ า อันเชี่ยวกรากมา ใครๆ ก็พากันหัวเราะเยาะวาทานทั้งสองโง ไมรูจัก ฉวยโอกาสหาความร่ํารวยใสตน แตการณหาเปนเชนนั้นไม เมื่อทานปู ได ลู ก ชายคื อ ท า นบิ ด าของพระอาจารย นี้ ความเป น อยู ข องท า น กลับไมลําบากดังแตกอน ครอบครัวมีความสุข สบายขึ้น ทานทวด สิ้ น บุ ญ ไปแล ว ต อ มาท านปู ก็ ถึ ง แก ก รรมลง มี เ ตา หยิ นท า นหนึ่ ง ซึ่ง เชื่อกันมาวาเปนเทวดาแปลงรางมาปรากฏ ไดแนะนําใหทานพอ ของพระอาจารย นํ า ศพของท านทวดและท านปู ไปฝ ง รวมกั น ในที่ แห ง หนึ่ ง ใกล บ า นซึ่ ง มี ชั ย ภู มิ ดี ม าก เปน มงคลแก ลู ก หลานต อ ไป ทุก วันนี้ฮ วงซุยกระตายขาวนี้เปนที่เลื่องลือกลาวขวัญกันทั่วทุก ทิศ สดุ ดี ใ นเกี ย รติ คุ ณ ของคนแจวเรื อ จ า งที่ เ ป น ท า นทวดและท า นปู

ลูก จะตองอานคัม ภีรเอก เก็งใหเขาใจอยางทะลุปรุโปรง เพราะ เปนคัมภีรที่ดีมากเลมหนึ่ง เพียงหนาแรกก็ใหกําลัง ใจแกผูอานอยาง มหาศาล โดยกลาวไววา ครอบครัวที่ สั่งสมแต ความดี ไมเพี ยงแต หัวหนาครอบครัวจะไดรับผลดีเทานั้น แมลูกหลานเหลนโหลนก็พลอย ได เ สวยผลแหง ความดี นั้นดว ย เพราะเหตุ นี้ ท านตาของท า นขงจื่ อ นักปราชญผูเลื่องชื่อของจีน ทานจึงยกลูกสาวของทานใหกับทานพอ ของทานขงจื่อ เพราะทานไดพิจารณาอยางถี่ถวนแลววา ชายที่จะมา เปนบุตรเขยทานนั้น ไมเพียงแตจะเปนผูประพฤติดีปฏิบัติชอบเทานั้น ยังตองมีบรรพชนที่ป ระพฤติ ดีปฏิบัติ ช อบมาหลายชั่ว อายุ ค นดว ย และก็ เ ป น ความจริ ง ตระกู ล นี้ ไ ด ใ ห กํ า เนิ ด นั ก ปราชญ ที่ ช าวจี น ทั้งประเทศตองสัก การบูช า เปนปูช นียบุค คลที่หายากในโลกผูหนึ่ง คือทานขงจื่อไงละลูก ตอมา ทานขงจื่อไดสรรเสริญทานตี้ซุนที่พอได กลาวใหลูกฟงไวทีหนึ่งแลว วาทานตี้ซุนเปนผูที่มีความกตัญูอยาง 28


ของอาจารย เมื่อพระอาจารยถือกําเนิดมา พออายุได 20 ป ก็สอบไล ไดตามขั้นตอนทั้งหมด ไดรับราชการเปนขุนนาง จนไดเปนพระอาจารย ถวายอัก ษรแกฮองเต เมื่อฮองเตทรงทราบถึงคุณ งามความดีของ ทานทวดและทานปูของพระอาจารย ก็ไดโปรดเกลาฯ พระราชทานยศ ขุนนางใหกั บทานทวด ทานปู และทานพอของพระอาจารยอีก ดว ย เพื่อเปนการแสดงใหปรากฏวาการทําความดีงามนั้น ยอมไดรับสิ่งที่ ดี ง าม สมควรเป น แบบอย า งแก บุ ค คลทั่ ว ไป แม ลู ก หลานของ พระอาจารยก็ไดรับราชการเปนใหญเปนโตตราบจนทุกวันนี้มากมาย

มารวมกับการวินิจฉัยคดีความดวย ทางใดที่จะผอนหนักเปนเบาได ก็ควรใหโอกาสเขาไดกลับตัวกลับใจเปนคนดีตอไป ถาแสดงความโกรธ มากมายเชนนี้ ผูตองหาเกรงอาญา ก็จะรีบยอมรับเสียกอน ทั้งๆ ที่ ตนมิไดทําผิดดัง ที่ถูก กลาวหา จะมิเปนการปรัก ปรําราษฎรไปหรือ ดีใจยังเปนการไมบังควร จักโกรธไดที่ไหน นายอําเภอสํานึกในคําพูด ของเสมี ย นอํ า เภอ แตนั้ น มาก็ ไ ม ก ล า แสดงความโกรธความดี ใ จ ในขณะที่ชําระความอีกเลย เสมียนอําเภอทานนี้มี ค วามยากจน เพราะมีแตเงินเดือนขั้นต่ํ า ไม เ คยขู ดรี ด ราษฎร ไมย อมรั บ ของกํา นั ล จากใคร มี แตชว ยเหลือ ผูต อ งหาและนั ก โทษ วัน หนึ่ง มี ผูต อ งหาหลายคนที่ไ มมี ข า วจะกิ น อดอยากมาตลอดทางจากหัวเมืองไกล หนาตาซีดเซียว หมดเรี่ยว หมดแรง หนาหาสีเลือดไมไดแลว เปนที่นาสงสารยิ่งนัก บังเอิญที่บาน ของเสมียนอําเภอทานนี้ ขาวสารก็กําลังจะหมด เหลืออยูมื้อสุดทาย เทานั้น ถานํามาใหผูตองหาเหลานี้แลว ทานและภรรยาก็จะตองอดขาว มื้อนั้นดวย ทานจึงปรึก ษากับภรรยา เพื่อใหภรรยาเปนผูตัดสินใจ ตกลงทั้ ง สองคนยอมเสี ย สละข า วมื้ อ นั้ น นํ า มาต ม ข า วต ม เลี้ ย ง ผูตองหาทั้งหมด ตอมาภรรยาของทานก็ใหกําเนิดบุตรชายสองคน ลวนแตไดเปนขุนนางผูใหญในเวลาตอมา และหลานของทานอีกสองคน ก็ไดเปนขุนนางผูใหญเชนกัน

มีเ สมีย นอํ า เภอทา นหนึ่ ง แม จ ะมี ตํ า แหน ง เล็ ก ๆ แต จิต ใจนั้ น เป ย มด ว ยเมตตาธรรม เป น คนรั ก ษาระเบี ยบวิ นั ย ของราชการ อยางเครงครัด มีค วามยุติธ รรมเปนที่ตั้ง ไมทําสิ่ง ไรที่ผิดศีลธรรม สวนนายอํ าเภอนั้นเปนคนดุราย อยู ม าวั นหนึ่ง นายอําเภอสั่ง เฆี่ย น ผู ต อ งหาที่ ไ ม ย อมรั บ สารภาพ ตี จ นเนื้ อ แตกเลื อ ดไหลนองพื้ น ก็ยังไมห ายโกรธ เสมียนอําเภอทนเห็นความทารุณ ไมไหว จึงคุก เขา ตอหนานายอําเภอ ขอใหปรานีนักโทษ หยุดตีเสียที นายอําเภอตอบวา ปรานีนะได แตผูตองหาคนนี้ไมรักษากฎหมาย ไมมีศีลธรรม จะไมให โกรธกระไรได เสมียนอําเภอจึงโขกศีรษะลงกับพื้น พลางพูดวา ผูท เี่ ปน ขุนนาง ถาไมชํา ระความตามเหตุผ ลขอเท็จจริง เอาแตอ ารมณต น เปนใหญ ราษฎรยอมไมมีตัวอยางอันดีงามใหประพฤติปฏิบัติตาม จิตใจของราษฎรหาที่ยึดเหนี่ยวเปนสรณะไมได การชําระความนั้น แมจะสอบสวนไดความจริงออกมาแลว ก็ไมควรดีใจ จะทําใหเกิดความ ประมาทเลิ น เล อ ไม ไ ด ค วามจริ ง ที่ อ ยู ลึ ก กว าความจริ ง ธรรมดา ทํ าให ก ารชํา ระความผิด พลาดได ง า ย แม จ ะได ค วามจริง ทั้ง หมด ออกมาแลว ก็ยังไมควรดีใ จ ควรจะเสียใจและสงสารที่เขาทําผิดไป โดยความจงใจก็ดี เพราะรูเทาไมถึงการณก็ดี ยังตองนําเมตตาธรรม

สมัยพระเจาเองจงเปนฮองเต พ.ศ. 1979 – 1992 มีขุนโจร กอกวนจลาจลขึ้นที่เมืองฮกเกี้ย น มีราษฎรและนัก ศึก ษาสนับสนุ น ขุ น โจรกั น มากมาย ฮ อ งเต จึ ง โปรดเกล า ฯ ให น ายทหารคุ ม ทั พ ออกปราบปราม ทานนายทหารผูนี้ ห าทางจั บเปนขุ นโจรไดโ ดยไม สูญเสียชีวิตไพรพลและราษฎรเลย ตอมา ทางดานตะวันออกของเมือง 29


ฮกเกี้ ย นยั ง มี ส มุน ขุน โจรหลงเหลื อ อยู ม ากมาย นายทหารท านนี้ จึงบัญชาใหขุนนางในกรมมหาดไทยของเมืองนั้น แซเจี่ย ใหออกกวาด ลางแทนทาน ถาจับไดใหฆาใหหมดสิ้น แตทานเจี่ยไมยอมปฏิบัติตาม ทานกลับใหคนลอบไปแจงแกราษฎรวา ถาใครไมเขาขางโจรก็ใหเอา ผาขาวแขวนไวที่หนาประตูบานในวันที่กองทหารจะเขาไปตรวจคนโจร ในแตละบาน แลวสั่งหามมิใหทหารขมเหงราษฎร ถาบานใครมีผาขาว แขวนอยู ก็จะไมถูกลงโทษใดๆ ทั้งสิ้น เปนอันวาครั้งกระนั้นราษฎรและ นักศึกษารอดตายประมาณหนึ่งหมื่นคน ทานเจี่ยมีคุณ ธรรมล้ําเลิศ ตอมาบุตรชายสอบไดที่ 1 ไดเปนจอหงวน รับราชการจนไดเปนไจเสีย่ ง ซึ่งเปนตําแหนง สูงสุดในราชการฝายบุน (ฝายบริหารประเทศ) และ หลานชายของทานเจี่ย ตอมาก็สอบไดเปนที่สาม ไดรับราชการเชนกัน

บุตรชายจึง นําไปฝง ไว ใ นที่นี้ อีก ไมน าน ตระกูล นี้เ ขาสอบครั้ง แรก ก็ส อบไดถึงเกาคน และไดเปนขุน นางทั้งหมดเชนกัน ไดเปนขุนนาง ทุกชั่วคน จนมีคําร่ําลือกันไปทั่ววา ไมเคยมีครั้งใดที่การสอบไลจะไมมี คนในตระกูลหลินติดอันดับ อี ก ตระกู ล หนึ่ ง คื อ ตระกู ล เฝ ง บุ ต รชายรั บ ราชการในกอง ประวั ติ ศ าสตร แ ห ง ชาติ ก อ นหน า นั้ น บิ ด าสอบได เ ป น ที่ ซิ ว จ า ย ทุกเชาจะตองไปเรียนตอที่อําเภอ อยูม าวันหนึ่งอากาศหนาวจัดมาก ทา นเดิ นไปตามทางพบคนนอนหนาวจมหิ ม ะอยู คลํา ดู ป รากฏว า แข็ งไปครึ่ งตั ว แล ว ท านรี บถอดเสื้อ หนาวออกใส ใ ห พยุ งใหลุก ขึ้ น พากลับมาบานของทาน ชวยประคบประหงมจนฟนดีดังเดิม คืนนั้น ทานฝนไปวา มีเทวดาองคหนึ่งมาพูดกับทานวา เปนการยากยิ่ง นัก ที่ เ จ า สามารถช ว ยเหลื อ คนให ฟ น รอดตายได อ ย า งหวุ ด หวิ ด เราจะให ห านฉีม าเกิ ด ในตระกู ล ของเจ า ตอ มา บุ ต รชายที่ เ ดี๋ ยวนี้ ทํางานกองประวัติศ าสตรก็เกิดมา จึงขนานนามวา ฉี ตามที่ฝนไป หานฉีทานนี้เกิดในสมัยราชวงศซอง พ.ศ. 1503 – 1670 เปนขุนนาง ในตํ าแหนง ไจเสี่ ย งถึ ง สองรั ช กาล คื อ พระเจ าอิ ง จงฮ อ งเต พ.ศ. 1607 – 1610 และ พระเจาเสินจงฮองเต พ.ศ. 1611 – 1628 เปนที่รักของคนทั่วไป และเปนที่เกรงขามของชาวตางประเทศยิ่งนัก เกี ย รติ คุ ณ ของท า นแผ ไ พศาล เมื่ อ ถึ ง แกอ นิ จ กรรมแล ว พระเจ า เสินจงฮองเตไดโปรดเกลาฯ สถาปนาเปนที่จงเซี่ยงกง เปนเกียรติยศ อั น สู ง สุ ด ที่ ไ ด รั บ การขนานนามว า เป น ผู ที่ อุ ทิ ศ ตนเองเพื่ อ ความ จงรักภักดีและรักชาติยิ่ง

ที่ เ มือ งฮกเกี้ ย น มี ต ระกู ล หนึ่ ง แซ ห ลิ น บรรพสตรี ท า นหนึ่ ง เปนผูใจบุญมาก ชอบทําขนมเลี้ยงคนจน ใครมาขอขนมก็รีบกุลีกุจอ ตักให ไมเคยแสดงสีห นารังเกียจเดียดฉันท ตอมามีเ ทวดาแปลงราง เปนเตาหยินมาขอขนมคุณ ยายทานนี้ทุก เชา และขอมากๆ เสียดว ย ทานก็ไมเคยบนวา ตักใหมากๆ ทุกวันเปนเวลาสามป ตลอดระยะสามปนี้ ไมเคยขาดเลยแมแตวันเดียว ไมเคยใหนอย ไมเคยเบื่อหนายตอการให สามปประดุจหนึ่งวัน เตาหยินแอบชมเชยนางอยูใ นใจวา จะหาใคร ใหทานไดส ม่ําเสมอโดยไมอิดหนาระอาใจเชนนี้ไมไดอีก แลว ทานจึง พู ด กับ นางว า อาตมาฉั น ขนมของท านมาสามป แล ว จึ ง ใคร จ ะขอ ตอบแทนพระคุณ ทานเสียที ที่หลังบานของทานมีที่วางอยู ถาทาน ทําฮวงซุยในบริเวณนี้ได ตอไปลูกหลานเหลนโหลนของทานจะไดเปน ขุนนาง ถาจะเปรียบก็พูดไดวาจะเปนขุนนางมากมายเทากับเมล็ดงา หนึ่งถังใหญ ทีเดียว ท านลองคิดดู ก็แลวกันเมล็ดงานั้นเล็ก เพียงไร อยูในถังใหญๆ จะมีปริมาณมากเพียงไร ตอมา นางไดถึงแกก รรมลง

มีขุนนางทานหนึ่งแซอิ้ง เมื่อตอนที่ทานอยูในวัยกลางคน ไดเปน ซิว จายแลวแตยัง ไมไดเ ปนขุนนาง จึง ไปนั่งท องตําราที่เขาแหงหนึ่ ง 30


ซึ่งปลอดจากผูคนมารบกวน แตเสียงปศาจรองกันมากมาย ชุมนุมกัน อยูใ นบริเวณนั้น ทานแซอิ้งก็ไมก ลัว อยูม าคืนหนึ่ง ทานไดยินเสียง ปศาจคุยกันวา มีผูหญิงคนหนึ่งสามีเดินทางไปหากินแดนไกลนานแลว ไมก ลับมา พอผัวแมผัวก็เลยบังคับให ผูหญิงคนนี้แตง งานเสียใหม ผูหญิงไมยอม จะมาแขวนคอตายแถวนี้ใ นคื นพรุงนี้ ป ศาจตนหนึ่ ง ซึ่งผูกคอตายมาเหมือนกันก็จะมีคนมาแทน และจักไดไปเกิดใหมเสียที ท านแซ อิ้ ง ได ยิน เข าก็ บั ง เกิ ด ความสงสารผู ห ญิ ง คนนี้ ขึ้ น มาจับ ใจ จึ ง นํ า ที่ น าของตนไปขายอย างเงี ย บๆ ไดเ งิ น มาสี่ ตํ า ลึ ง จึ ง เขี ย น จดหมายขึ้นฉบับหนึ่ง แลวสงไปยังบานของแมผัวพอผัวของผูหญิง คนนั้น พอแมเห็นจดหมายก็รูวาไมใชลายมือของบุตรตน พากันสงสัย แตแลวก็ลงความเห็นกันวา จดหมายนั้นอาจจะปลอมกันได แตเงินนั้น ถาไมใชลกู แลวจะเปนใครสงมาใหเลา ก็เชื่อกันวาลูกของตนคงสุขสบายดี จึงสงเงินมาใหพอแมใช เลยกลับใจไมบังคับใหลูกสะใภไปแตงงานใหม ในกาลตอมาเมื่อ บุตรชายของตนกลับบ าน สามีภรรยาก็ไ ดอ ยูกั น เปนปกติสุขตลอดมา

อันเลวรายไดอยางสงบ เมื่อไดเปนขุนนางแลว ลูก หลานก็ยังไดเปน ขุนนางอีกมากมาย มีซิวจายทานหนึ่ง แซชื้อ บิดาเปนผูม่งั คั่งในเมืองซูโจว มีอยูป ห นึง่ ฝนแลงมาก ทานจึงใชใหชาวนาทํานาของทานฟรี ไมเก็บคาเชานาเลย เป น ตั ว อย า งอั น ดี ง ามที่ เ จ า ของนาทั้ ง หลายก็ ป ฏิ บั ติ ต ามเช น กั น ไมเพียงเทานั้น ทานยังนําขาวที่เก็บไวมาแจกจายแกคนยากไรอีกดวย พอตกกลางคืนก็ไดยินเสียงปศาจมารองวา แมจะพูดสักพันครั้งหรือ สักหมื่นครั้ง ขาพเจาขอยืนยันวาเปนความจริง ที่ซิวจายในตระกูลชื้อนี้ จะไดเปนกือหยินแลว ปศ าจรองอยูทุก คืนติดตอกันนาน จนกระทั่ง วันหนึ่ง เมื่อมีการสอบไล ซิวจายทานนี้ก็ไปสอบกับเขาดวย ปรากฏวา สอบไดเปนที่กือหยินจริงตามที่ปศาจมารองบอก บิดาของทานเห็นวา การทําดีเพียงเทานี้ยังไดผลดีถึงเพียงนี้ ทานก็ยิ่งมุมานะทําดียิ่งๆ ขึ้น สะพานชํารุดทานก็ใหคนไปซอมเสียใหดี ถนนหนทางขรุขระสัญจร ไมส ะดวก ทานก็ใ หคนไปซอมใหเรียบรอย ภิก ษุที่ไมมีโยมอุปฏ ฐาก ทานก็ทําสํารับกับขาวไปถวายทุกวัน ใครขาดแคลนขาวปลาอาหาร เสื้อผาและอื่นๆ ทานก็จุนเจืออยูเสมอไมใ หอดอยากยากไร ไมวาใคร จะมีเรื่องทุกขรอนอยางไร ทานชวยไดเปนชวยทันที ตอมาปศาจก็มา รอ งอีก ทุ ก คื น ว า แม จ ะพู ด สั ก พั น ครั้ ง หรื อ สั ก หมื่ น ครั้ ง ข าพเจ า ขอยืนยันวาเปนความจริงที่กือหยิ นในตระกู ล ชื้อนี้จะได เปนขุนนาง ผูใหญที่มีตําแหนงสูงสุดในภูธร ตอมาก็เปนเชนนั้นจริงๆ

ครั้นอีกคืนหนึ่ง ทานแซอิ้งก็ไดยินปศ าจพูดอีกวา ฉันนะจะมีค น มาตายแทนแลวเทียวนา แตซิวจายนี่ทําเสียเรื่องหมด ปศาจอีกตนหนึ่ง ก็พู ดขึ้ นว า งั้น เราก็ ชว ยกั นฆ าเสีย เถอะ ป ศ าจตนแรกบอกว าไมไ ด หรอก เพราะเทพเจาเบื้องบนเห็นเขาเปนคนใจดี จึงไดแตงตั้งใหเขาเปน ขุนนางในยมโลก จึงทํารายเขาไมไดเ สียแลว ทานแซอิ้งไดฟงเชนนั้น ก็ ยิ่ ง มี กํ า ลั ง ใจที่ จ ะทํา ดี ใ ห ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ยามเกิด ทุ พ ภิ ก ขภัย ก็ นํ า ข า ว ไปแจกจ ายแกผูอ ดอยาก ยามเมื่ อญาติมิต รเดือดรอน ก็ช วยเหลื อ อยางเต็ม ความสามารถ ยามประสบภัยพิบัติก็ไมเคยโทษฟาโทษดิน กลั บ โทษตนเองว า ได ก อ อกุ ศ ลกรรมมา จึ ง ยอมรั บ สถานการณ

มีขุนนางอีกทานหนึ่งแซถู รับราชการอยูในเรือนจําที่เมืองเกียฮง ท า นพั ก อยู ใ นเรื อ นจํ า มี เ วลาว า งท า นก็ จ ะไปคุ ย กั บ พวกนั ก โทษ เพื่อจะไดรูความจริงวานักโทษนั้นทําความผิดจริงหรือเปลา ปรากฏวา มีนักโทษหลายคนที่ไมไดกระทําผิดตามที่ถูกกลาวหา ทานจึงทําบันทึก 31


ไปมอบใหผูบังคับบัญชา การพิจารณาโทษในสมัยนั้นก็ตองผานการ พิจารณาคดีสามขั้นตอนดวยกัน เมื่อสอบสวนไดความอยางไรในทองที่ ที่ เ กิ ด เหตุ แ ล ว ก็ ส ง ตั ว นั ก โทษมายั ง คณะกรรมการอี ก ชุ ด หนึ่ ง เพื่อสอบสวนอีกครั้งหนึ่ง เมื่อไดค วามอยางไรแลวก็นําขึ้นทูล เกลาฯ ถวายฮองเตใหทรงวินิจฉัยอีกครั้งหนึ่ง โดยแยกเสนอนักโทษออกเปน สามประเภท คือประเภทที่หนึ่งกระทําความผิดจริง ประเภทที่ส อง เปนนัก โทษที่รอการลงอาญาไว ประเภทที่ส ามเปนนัก โทษที่ควรให อภัยโทษ ทั้งหมดนี้ก็สุดแลวแตฮองเตจะทรงวินิจฉัยอยางไร ถารับสั่ง ให ประหารก็ ป ระหารทั น ที ส ว นพวกที่ ร อการลงอาญา ถ า โชคดี ก็อาจจะไดรับพระราชทานอภัยโทษในวันสําคัญของฮองเต ทานแซถูนี้ เมื่อทานสอบสวนไดค วามจริงจากนักโทษแลว ทานก็ทําบันทึกสงให ผูบังคับบัญชา ธรรมเนียมในสมัยนั้น ถาผูใดสามารถสืบไดความจริง วานัก โทษไมผิดแตถูก ปรักปรํา ก็จะไดรับความดีความชอบ แตทาน แซ ถู นี้ ท านมิ ไ ด คิ ด เอาดี เ อาชอบ กลั บ ยกความดี ค วามชอบให แ ก ผูบังคับบัญชา มีความประสงคแตจะชวยแกทุกขใหกับนักโทษเทานั้น นักโทษถูกปลดปลอยเพราะทานในขณะนั้นสิบกวาคน ราษฎรตางพากัน ชื่นชมยินดี โดยไมทราบวาที่แทเปนการปดทองหลังพระของทานแซถู นั่น เอง ท านแซ ถู ยั ง เสนอต อ ผูบั ง คับ บั ญ ชาวา ในเมื องหลวงแท ๆ ยังมีผูถูก ปรัก ปรํามากมายเชนนี้ ถาหัวเมืองที่ไกลปนเที่ยงออกไป จะได รั บความอยุ ติธ รรมขนาดไหน ควรที่ จ ะแต ง ตั้ ง คนดี มี ค วาม ยุติธ รรมเปนผูตรวจการตางพระเนตรพระกรรณ ทุกๆ หาปควรมี ผูตรวจการไปรื้อฟนคดีมาพิจารณากันใหม ถาเปนการกระทําผิดจริง ก็ยังจะตองพิจารณาวาไดพิพากษาลงโทษสมควรแกโทษหรือเปลา ถาหนัก ไปก็ควรผอนใหเบาขึ้น ถ าเบาไปก็ตองเพิ่มใหหนัก ขึ้นไปอี ก เพื่อทรงความยุติธรรมไว ผูใดมิไดกระทําผิดก็สมควรปลอยตัวไปเสีย ฮองเตทรงเห็ นชอบด วย จึง ทรงแต งตั้งขุน นางแยกยายกั นไปตาม

หัวเมือ งนอ ยใหญ ทา นแซ ถูก็ ได รับการแตง ตั้ง ดวย อยูม าคืนหนึ่ ง ทานฝนไปวามีเทวดามาชมเชยทานวาการกระทําของทานเปนที่ถูกใจ ของฟาดินเปนอันมาก ความจริงทานแซถูมีชาตาชีวิตที่ไรบุตรสืบสกุล แตเนื่องจากความดีครั้งนี้ใหญหลวงนัก ฟาดินจึงประทานบุตรชายให ทานสามคน ตอไปจะไดเปนขุนนางผูใ หญทั้งสิ้น ตอมาความฝนนั้น ก็กลายเปนความจริง มีอีกทานหนึ่งแซเปา บิดาของทานเปนขุนนางตําแหนงขาหลวง ทานมีพี่นองเจ็ดคน ทานเปนลูกคนสุดทอง แตงงานแลวก็ไปอยูบาน พอตาแมยาย ทานชอบพอกับทานบิดาของพอมาก ไปมาหาสูกันเสมอ ท า นเปน คนเก ง มี ค วามรู ม ากมาย แต เ สีย ดายที่ ส อบเป น กื อ หยิ น ตกทุกป ทานสนใจพระพุทธศาสนาและลัทธิเตามาก วันหนึ่งทานไปเที่ยว ที่ ท ะเลสาบแห ง หนึ่ ง ไปพบศาลเจ า เก า ๆ มี ส ภาพทรุ ด โทรมมาก เขาไปในศาลก็เห็นรูปพระโพธิสัตวกวนอิมยืนตากฝนเปยกอยู ทานจึง รีบหยิบเงินในกระเปาของทานซึ่งมีอยูสิบตําลึง ถวายทานเจาอาวาส ใหซอมแซมศาลเจา ใหดีดวย ทานเจาอาวาสบอกวา เงินเพียงเทา นี้ ไม เ พี ย งพอที่จ ะซอ มแซมได ห มด ทา นจึ ง หยิ บ ผ า ที่ เ พิ่ ง ซื้ อ มาสี่ พั บ กับเสื้อผาที่ติดตัวมาอีกเจ็ดชุดถวายแดทานเจาอาวาส คนใชไดหามขึ้น วาเสื้อผา เหลานี้ลว นเพิ่งทํามาใหมๆ แลวทานจะใชอะไรมาแทนเล า ทานบอกวาชางเถิด ขอใหพระโพธิสัตวกวนอิมไมตองตากแดดตากฝน ก็ พ อใจแล ว เราไม มี เ สื้ อ ใสจ ะเป น ไรไป ท านเจ า อาวาสได ฟ ง แล ว ประทั บ ใจมาก ร อ งไห พ ลางพูด วา ของที่ ใ ห ม านั้ น หาไมย ากดอก แต น้ํ า ใจเช น นี้ สิ จ ะหาได จ ากที่ ไ หน ครั้ น ซ อ มแซมเรี ย บร อ ยแล ว ทา นแซ เปาก็ช วนท านบิ ดาใหไ ปไหว เจ าดว ยกัน คื น นั้น ค างอยูที่วั ด ตกดึ ก ก็ มี เ ทพเจ ามาเขา ฝ น ท านบิ ด าว า ขอบใจที่ม าช ว ยให ไ มต อ ง 32


เป ย กฝนอี ก แล ว ต อ ไปบุ ต รหลานของท า นจะได เ ป น ใหญ เ ป น โต ในราชการมากมาย ตอมาก็เปนเชนนั้นจริงๆ

หรือไมมีคนรูเห็ น ทําถูก หรือ ทําผิด ทําดวยความสุจริตหรือทุจริ ต ทําครึ่งๆ กลางๆ หรือทําอยางสมบูรณ ทําใหญหรือทําเล็ก ทํายาก หรือทํางาย ทั้งหมดนี้จะตองใครครวญใหถองแท หากกระทําความดี โดยไม อาศัย เหตุผ ลแล วไซร ความดี นั้ นอาจจะให ผ ลรา ย เปนบาป ไปก็ได เปนการสูญเปลา ไมไดประโยชนอันใดเลย

อีกทานหนึ่งแซจือ ทานบิดารับราชการอยูในกรมราชทัณฑ อยูมา วั น หนึ่ ง มี นัก โทษประหารคนหนึ่ ง ซึ่ ง ถู ก ปรั ก ปรํ า โดยไมไ ด ทํ าผิ ด อันใดเลย ทานบิดาสงสารมากจึงปลอบใจนักโทษวาอยาเปนทุกขไปเลย จะชวยเหลือ นักโทษจึงปรับทุก ขกับภรรยาวา เราซาบซึ้งในบุญคุณ อันนี้ยิ่งนัก แตนาละอายใจที่เรายากจนมาก ไมมีสิ่งของอันใดพอที่จะ นํามาตอบแทนพระคุณ ทาน ก็เห็นมีแตเจาเทานั้นที่จะชวยเหลือเราได พรุงนี้เมื่อทานไปทําการสอบสวนที่บาน เจาจงบอกกับทานตามตรงวา เราขอยกเจ าให เ ป นภรรยาของท าน นางไมอยากทําเชน นี้ ก็ไ ด แต รองไหพลางรับปากไปพลางดวยความเศราสลดใจยิ่ง แตการณกลับ ผิดคาด ทานบิดาของทานแซจือไมยอมรับ และชว ยเหลือจนสําเร็ จ เมื่อออกจากที่คุม ขังแลว สองสามีภรรยาก็เดินทางมาขอบพระคุณ ทาน และพูดวา คุณ ธรรมของทานที่มีตอขาพเจานั้น หายากยิ่งแลว ในโลกนี้ หากขาพเจาไมส ามารถตอบแทนพระคุณ ของทานเสีย บาง คงจะไมสบายใจไปตลอดชาติ จึงใครขอยกลูกสาวใหเปนทาสชวงใช ขอทานอยาไดปฏิเสธเลย ทานบิดาของทานจือก็รับไว แตมิไดใ หเปน ทาสรับใช ทําพิธีแตงงานกันตามประเพณีนิยม ตอ มาจึง ไดใหกําเนิด ทานแซจือ พออายุได 20 ป ทานแซจือก็สอบไลไดเปนขุนนางในกรม ประวัติศาสตร ตอมาลูกหลานก็ไดเปนขุนนางทั้งนั้น

ทีนี้พอจะมาพูดใหฟงทีล ะขอ ขอแรก การทําความดีนั้นทําแลว ดีจริงหรือไม ในสมัยราชวงศหยวน พ.ศ. 1814 – 1911 มีพระเถระ รูปหนึ่งมีนามวาทานจงฟง ฮองเตในสมัยนั้นไดส ถาปนาทานเปนถึง สั ง ฆราช ท า นมี คุณ ธรรมล้ํ า เลิ ศ มี ค นไปนมั ส การท า นมากมาย อยูม าวั นหนึ่ง มี พวกนัก ศึก ษาลัทธิข งจื่ อไดพากัน ไปนมั ส การทา น กราบถามทานถึงปญหาหนึ่งวา พระพุทธศาสนานั้นเนนหนักในเรื่อง กฎแหงกรรม ใครทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว ดุจเงาตามตัว แตบัดนี้ปรากฏวา บางคนทําความดี แตลูกหลานไมเจริญรุงเรือง สวนคนที่ทําชั่วนั้นเลา กลั บ ได ดี มี ห น า มี ตา เช น นี้ แล ว จะเชื่ อ คํ า สอนของพระพุ ท ธศาสนา ไดอยางไรกัน พระเถระจงฟงกลาวตอบวา หากเราจะวินิจฉัยสิ่ง ใด สิ่ ง หนึ่ ง ถ า ใช ทั ศ นะของชาวโลก ก็ จ ะวิ นิ จ ฉั ย ไดแ ง มุ ม ในทางโลก ถาใชทัศนะทางพุทธรรม ก็จะวินิจฉัยไดแงมุมในทางธรรม อันบุถุช น คนธรรมดาไม ส ามารถจะมองเห็ น ได แ จ ม แจ ง เท า เพราะฉะนั้ น การวินิจฉัยในทัศนะทางโลกจึงไมอาจถูกตองเสมอไป บางทีคนดีก็มอง ไปว าเปน คนไม ดี ส วนคนไม ดีก็ ม องเห็ นว าเปน คนดี ไปก็มี ชาวโลก จึง มัก จะไม สํ ารวจตนเอง เอาแต โ ทษฟ า ดิ น ลํ าเอี ย ง แล ว ท านก็ ใ ห พวกนักศึก ษาลัทธิขงจื่อลองยกตัวอยางที่พวกเขาเห็นวาดีและไมดี ออกมา จะได เ ข าใจความหมายของความดี ถอ งแท ขึ้ น บางคนก็ ยกตัวอยางวา การตีคน ดาคนไมดี การออนนอมมีมรรยาทดีจึงจะดี บางคนก็ยกตัวอยางวา การละโมบอยากไดของเขาอื่นไมดี การไมโลภ

ที่พอเลามาใหฟงทั้งหมดนี้ มีอยูสิบเรื่องดวยกัน แมเรื่องราวจะ แตกตางกัน แตก็ลวนเปนการประพฤติดีปฏิบัติช อบทั้งสิ้น แตถาจะ อธิบายใหละเอียดลึกซึ้งกวานี้ ก็ยังจะตองพิจารณาวา การทําความดี นั้นดีจริงหรือดีปลอม บริสุทธิ์ใจหรือไมบริสุทธิ์ใจ ทําแลวมีคนรูเห็น 33


ถือสันโดษเปนความดี ทานจงฟงเถระก็ไดแตสายหนาวาไมใชอยางวา เสมอไป

เริ่มไตรตรอง สํารวจตนเองอยางระแวดระวัง อาศัยกําลังใจของเราเอง ซัก ฟอกจิ ตใจใหใ สสะอาด ไมว าจะทํ าอะไร ก็ ใ ห คิ ดถึง ประโยชนสุ ข ของผูอื่นกอน แลวทําดว ยความบริสุทธิ์ใจ ไมแฝงไวดว ยเจตนาที่จะ ตองการการตอบแทนจากใคร จึงจะเปนความดีโดยบริสุทธิ์ หากเรา ทําความดีเพื่อเอาใจผูอื่นก็ดี หวังการตอบแทนก็ดี ก็ไมใชความดีที่เกิด จากความบริสุทธิ์ใจแลว เปนการเสแสรงเพทุบายเพื่อหวังประโยชนตน เปนที่ตั้ง เปนเจตนาที่ไมบริสุทธิ์ จะถือเปนความดีแทไมได

ทานอธิบายวา ถาเราทําประโยชนเพื่อผูอื่น เรียกวาทําความดี แตถาเราทําเพื่อตัวเราเอง นั่นคือความไมดี ถาเราทําเพื่อประโยชนสุข ของผูอื่น ถึงแมเราจะตีเขาก็ดี ดุดาวากลาวก็ดี ลวนแตเปนการกระทําดี ทั้งนั้น ถาเพื่อประโยชนของเราเอง เราจึงออนนอมตอผูอื่น ทําความ คารวะตอผูอื่น นี่เปนความดีปลอม ไมใชดีจริง ฉะนั้นการกระทําใดๆ ก็ตาม ถาทําเพื่อประโยชนสุขของผูอื่นแลวไซร เปนความดีจริงทั้งนั้น ถาเราทํ าเพื่ อ ประโยชน ข องเราเอง ก็ เ ป นดีป ลอมทั้ ง นั้ น ถ าเราทํ า ดวยความบริสุทธิ์ใจ มีค วามจริ งใจ ไมห วัง สิ่ งตอบแทน จึงจะเป น ความดีที่ดีแท หากยังตองการอามิส สินจางรางวัล จึงจะทําความดี ความดีนั้นก็เปนดีปลอม เพราะฉะนั้น กอนที่จะกลาววาสิ่งนั้นดี สิ่งนั้น ไม ดี คนนี้ ดี คนนี้ ไ ม ดี ก็จ ะต อ งพิ จ ารณาใคร ค รวญทุก แง ทุ ก มุ ม เสียกอน มิฉะนั้น การวินิจฉัยของเราก็จะเกิดการผิดพลาดขึ้นได

สว นความดีขอ ที่ส าม คื อการทํ าดีที่มีผู รู เห็ น และไมมี ผู รูเ ห็ น ถ า เราทํ า ความดี มี ค นรู เ ห็ น มาก ก็ ก ลายเป น ความดี ท างโลกไป แต ทํา แล ว ไม มี ผู รู เ ห็ น เหมื อ นการปด ทองหลั ง พระ นี่ เ ปน ความดี ทางธรรม ความดีทางธรรม ฟาดินยอมประทานผลดีให สวนความดี ทางโลก ก็จะไดรับแตชื่อเสียงเกียรติยศความมั่งคั่งเปนผลตอบแทน การมีชื่ อ เสี ยงโด ง ดั ง นั้ น ชาวโลกมั ก จะเห็ น ว า เปน ผู มี บุ ญ วาสนา แตทางธรรมแลวเห็นวา ผูนั้นมิไดทําความดีมากพอกับการมีชื่อเสียง จึง มัก จะได รับ ผลไม ดีใ นบั้ นปลาย แตค นดี ที่ไ ดรั บการปรั ก ปรําจน เสียชื่อเสียงนั้น ลูก หลานกลับรุงเรืองไดดีมีสุข เพราะผูที่ไดรับการ ปรักปรํา สามารถอดทนตอการถูก ประนามเหยียดหยาม หวานอม ขมกลืน กม หนารับความขมขื่นดวยความสงบ เปนการสั่ง สมกุศ ล กรรมอยางใหญหลวง ลูกหลานจึงมีโอกาสไดดี เพราะฉะนัน้ ลูกจะตอง เห็นความสลับซับซอนอันล้ําลึกของการทําความดีที่ดีแทและดีปลอม จึงจะทําความดีไดถูกตอง

ทีนี้พอจะพู ดถึง ความดีขอที่ส อง คือทําความดีโดยบริสุทธิ์ใ จ หรือแฝงดวยเจตนาใดๆ สมัยนี้คนสวนมากชอบคนที่มีนิสัยไมดื้อรั้น ว าเปน คนดี แต นั ก ปราชญ ท า นมัก จะชอบคนที่ เ ป น ตั ว ของตั ว เอง เพราะคนชนิดนี้มักจะสอนงาย แตหาไดยากมาก คนที่วานอนสอนงาย ชักจูงอยางไรก็ไปอยางนั้น ถึงแมใครตอใครพากันชมเชยวาเปนคนดี นัก หนาก็ต ามที แต ทานนัก ปราชญกลับเห็ นวา คนชนิดนี้ เปน ผูราย ในคุณ ธรรม สอนให ดีไ ดย าก หาความก าวหนา ไม ไ ด เพราะฉะนั้ น ความดี ค วามไม ดี ชาวโลกมั ก เห็ น ตรงข า มกั บ นั ก ปราชญ เ สมอ สว นเทวดาฟ า ดิ นนั้ น มี ค วามเห็น ตรงกั บ นัก ปราชญเ สมอ ดั ง นั้ น การทําความดีจึงมิไดอ าศัยที่ตาดู หูฟง แตต องเริ่ม ที่ใ จของตนเอง

ความดี ข อ ที่ สี่ คื อ ความดี ที่ ทํ า ผิ ด หรื อ ทํ า ถู ก ในแคว น หลู สมัยชุนชิวนั้น มีกฎหมายอยูขอหนึ่งกําหนดวา หากราษฎรในแควนหลู ถูกจับไปเปนเชลยในแควนอื่น หากมีคนไถออกมาได สงคืนแควนหลูไป 34


จะได รั บ เงิ น จํ า นวนหนึ่ ง เป น การตอบแทน เพราะสมั ย ชุ น ชิ ว นั้ น ต า งคนต า งก็ ตั้ ง ตั ว เป น อ อ งกั น รบราฆ า ฟ น เพื่ อ ชิ ง เขตแดนกั น จับเชลยศึกไดก็นําไปเปนขาทาสทั้งหญิงชาย แควนหลูเปนแควนเล็กๆ ไมคอยจะมีกําลังไปสูร บกับใครนัก จึง มักถูก แควนอื่นบุก เขามาจับ ราษฎรไปเปนทาสเสมอ ใครใจบุญอยากทําความดี ก็นําเงินไปไถมาคืน เจ า ผูค รองแคว น หลู ก็จ ะได รั บ เงิ น รางวั ล ทั น ที ตอ มา ท านจื่ อ ก ง ซึ่งเปนศิษยเอกของทานขงจื่อ ทานก็ไปไถเชลยศึกคืนมาใหแควนหลู โดยไมยอมรับเงินรางวัล เพราะทานมีฐานะดีอยูแลว ทําไปโดยมิหวัง ผลตอบแทนใดๆ แตเมื่อทานขงจื่อทราบเรื่องเขา ทานก็โกรธลูกศิษย ของท านมาก ท านบอกว า แควน หลูนั้น คนจนมาก คนรวยมี น อ ย ต อ นี้ ไ ปคงจะไม มี ใ ครกล า ไปไถ เ ชลยศึ ก อี ก แล ว เพราะท า นจื่ อ ก ง ไปทํ าตั ว อย างเอาไว เ ชน นี้ ก็ มี แ ต ค นที่ มี ฐ านะดี จึ ง จะกล าเอาอย า ง ทานจื่อกงได สวนคนที่โลภเงินรางวัลก็ดี คนที่ไมคอยจะมีเงินนักก็ดี ตางก็ไมทําความดีอีก ตอไป เพราะไมไดเงินรางวัลจะทําไปทําไม ดังนี้ จึงเห็นไดวา นักปราชญนั้นไมวาจะทําอะไร ก็จะเปนเยี่ยงอยางแกผูอื่น จึงตองระมัดระวังจะทําอะไรผิดไมได คนก็จะพากันทําตามอยางผิดๆ ไปดวย ความดีก็เลยเปนความดีปลอมไป

ทานจื่อลูนั้นไมดี ชวยแลวก็ไมปฏิเสธการตอบแทน แตนักปราชญทาน มองไกล การทําความดีที่มีค นนําไปเปนเยี่ยงอยางใหเ กิดประโยชน ตอสว นรวมไดจึง จะเปนความดีแท สวนการทําความดีที่ก ลับทําให สถานการณเลวรายลงไป เปนผลรายตอสวนรวมแลวไซร ก็หาชื่อวา เปนความดีแทไม สมมติวามีคนไมดีค นหนึ่ง เที่ยวเกะกะระรานผูคน ถาไมมีคนถือสา เห็นวาการใหอ ภัยเปนคุ ณ ธรรมที่ดี นี่เป นการทํ า ความดีที่ผิด เพราะคนพาลนั้นก็ยิ่งไดใจ กลาทําความผิดหนักยิ่งขึ้น ผูคนก็จะถูกทํารายหนักขึ้น คนพาลนี้ก็จะตองถูกกฎหมายลงโทษอยาง หนัก แตถาเราไมปลอยใหคนพาลเหิมเกริม หาทางกําราบเสียกอนที่จะ สายเกินแก ก็จะเปนผลดีแกทุกฝาย เพราะฉะนั้น บางครั้งการไมใหอภัย คนพาล ชวยกันกําราบใหกลับตัวได กลับจะเปนความดีแท ความดีขอที่หา คือการทําความดีแลวผลทําใหผูอื่นเปนอยางไร แตกอนนี้ มีขุนนางไจเสี่ยงทานหนึ่ง รับราชการในรัชกาลของพระเจา อิง จงฮ อ งเต (พ.ศ. 1979 – 1992) ท านรั บ ราชการด ว ยความ ซื่อสัตยสุจริตไมมีดางพรอย เปนที่เคารพนับถือของคนทั่วไป ตอมา ทา นปลดเกษี ย ณตนเองกลั บ ไปอยู ภู มิลําเนาเดิ ม ของทานที่ ช นบท ประชาชนก็พากันมาเคารพทาน ตางก็เปรียบทานดุจขุนเขาอันสูงสุด ในแผนดินจีน คือทายซาน และเปรียบดุจดาวเหนือที่สุกใสกวาดาวใดๆ ในพิภพ แตมีชายขี้เมาคนหนึ่งมาดาทานซึ่งๆ หนา ทานเห็นเปนคนเมา ก็ ไ ม ถื อ โกรธ กลับ บอกคนรั บ ใช ว าอย าไปเอาเรื่ อ งกั บ คนเมาเลย ปดประตูเสียเถิด ตอมา ชายขี้เมาคนนี้ไดรับโทษประหารชีวิต เมื่อทาน ไจเสี่ยงรูเขาก็เสียใจมาก รําพึง วาถาเราเอาเรื่องเสียแตแรกที่ดาเรา จับ ไปทํ าโทษสถานเบาเสี ยที่ อํ าเภอ เขาก็ จ ะไม ตอ งรั บ โทษประหาร ในวันนี้ เพราะเราแทๆ กรุณาเขาผิดกาละไป ทําใหเขาเหิมเกริมทําชั่ว

ตอมาวั นหนึ่ง ทานจื่ อลู ซึ่งเปน ศิษ ยเอกของทา นขงจื่อ เชนกั น ไดชวยคนตกน้ําไวได ชายคนนั้นใหวัวตัวหนึ่งเปนการตอบแทนที่ได ชวยชีวิตไว ทานจื่อลูก็รับเอาวัวนั้นมา ทานขงจื่อเมื่อทราบเรื่องก็ดีใจ มาก ทานพูดวา ตอนี้ไปในแควนหลูของเรานี้ จะมีคนชอบชวยเหลือผูอื่น เพิ่ม ขึ้นอีก เพราะเมื่อทําความดีแลว มีคนเห็นความดีและไดรับการ ตอบแทนทั น ที ใครๆ ก็ อ ยากจะทํ าความดี เ ชน นี้ กั น มากขึ้น แตใ น สายตาชาวโลกแลว จะตอ งมองในทัศนะกลับกันกับทานขงจื่อเปนแน ชาวโลกจะตองเห็นวาทานจื่อกงดี ชวยคนแลวไมหวังสิ่งตอบแทน สวน 35


จนตัวตาย นี่คือตัวอยางของความใจดี แตกลับทําใหผูอื่นไดรับผลชั่ว ตอบแทน

ของฮอ งเต มีเ งิน มากมาย จึง นําเงิ นหลายพัน ตําลึง มาที่วั ดนั้ นอี ก เพื่อทําบุญ คราวนี้เจาอาวาสใหพระลูกวัดกลาวอนุโมทนาและใหศีล ให พ รแทน พระสนมเกิ ดความสงสั ย ยิ่ ง นั ก จึ ง กราบถามท า นว า เมื่อกอนนี้ขาพเจายากจน มีเงินทําบุญเพียงสองอีแปะ แตทานมากลาว อนุโมทนาคาถาและใหศีล ใหพรขาพเจาดวยตนเอง มาบัดนี้ ขาพเจา พอจะมีเงินบาง จึงนํามาถวายหลายพันตําลึง แตทําไมทานกลับให พระลู ก วัด ทําหนาที่แทนท านเลา ทานเจาอาวาสกลา ววา แต กอนนี้ แม ทา นจะทําบุ ญ น อ ย แต ใ จท านนั้น เป ย มไปดว ยเจตนาที่ เ ป น กุ ศ ล มาบัดนี้ แมทานจะมีเงินทําบุญมาก แตใจของทานนั้นไมเหมือนแตกอน เสีย แล ว จึง ไม จํา เป นที่จ ะตอ งใหอ าตมาไปกล าวเอง นี่คื อตั วอยาง ของการทํ าดี ที่ไม จําเปน ตอ งอาศัย ราคาของเงิน มาวัด ความดี นั้ น ทําบุญดวยเงินนอยนิด กลับเปนบุญที่เต็มเปยม เพราะจิตใจที่เต็มไปดวย กุศลเจตนา แมทําบุญดวยเงินมากมาย หากจิตใจมีศรัทธาเพียงครึ่งๆ กลางๆ การทําความดีนั้นก็จะใหผลเพียงครึ่งๆ กลางๆ เทานั้น

สวนการกระทําที่เห็นวาชั่วแตกลับเปนผลดีนั้น ก็มีตัวอยางเชนกัน มีอยู ค รั้ง หนึ่ ง บ านเมือ งเกิ ดทุ พภิก ขภั ย ราษฎรต างแยง ชิงกันกิ น ในกลางวั น แสกๆ เศรษฐีทา นหนึ่ง จึ ง ไปร อ งต อ นายอํ า เภอขอให ระงับเหตุกอนที่จะเกิดจลาจล แตนายอําเภอไมเอาเรื่อง คนยากจน ก็เลยไดใจ พากันยื้อแยงกันยิ่งขึ้น เศรษฐีเห็นไมเปนการ จึงระดมผูคน ของตนออกปราบเอง เรื่องจึงสงบ การกระทําของเศรษฐีทานนี้แมจะ รุนแรง แตก็ทําดวยความสุจริตใจ หวังมิใหเกิดจลาจล จึงเปนการทํา ความดีแทอีกวิธีหนึ่ง ความดีขอที่หก คือความดีที่กระทําครึ่งๆ กลางๆ และทําอยาง สมบูรณ ในคัมภีรเอกเก็งไดกลาวไววา ผูที่ไมสั่งสมความดี จึงมีความดี ไมพอที่จะไดรับชื่อเสียงดี ผูที่ไมสั่งสมบาป ยอมไมรับเคราะหก รรม ถึงตายได ในประวัติศ าสตร ก็ไดก ลาวถึง ราชวงศเซียง (กอน ค.ศ. ประมาณศตวรรษที่ 16 – 11 กอนพุทธศักราชระหวาง 967 – 467) วา ติ้ว ออ งสั่ง สมแตบาปกรรม ดุ จการรอ ยเงิน เหรี ยญไวเต็ ม พวง จึ ง รั ก ษาแผ น ดิ น และชี วิ ต ของตนเองไว ไ ม ไ ด การสั่ ง สมความดี ความชั่วนั้น ดุจนําของบรรจุลงในภาชนะ ถาสั่งสมทุกวันก็จะเต็มเปยม ถ าสั่ ง สมบ างไมสั่ง สมบ า ง หยุ ด ๆ ทํ าๆ บุญ หรื อ บาปนั้น ก็ พ ร อ ง อยูเสมอ ไมมีวันเต็มไดเลย

อีก ตัวอยางหนึ่ง มีเซียนทานหนึ่งชื่อวา จงหลี ทานเปนชาวฮั่น (ก อ น พ.ศ. 749 – 551) เมื่ อ ตายได สํ า เร็ จ เป น ผู วิ เ ศษ เสวยสุข อยูบนสวรรคหลายรอยป จนถึงสมัยราชวงศถงั พ.ศ. 1161 – 1450 ท า นเซี ย นจงหลี ก็ รั บ ลู ก ศิ ษ ย ไ ว ค นหนึ่ ง มี ชื่ อ ว า ท า นลื่ อ ต ง ป ง ตอมาจนถึงปจจุบันผูคนเรียกทานวา ลื่อ โจว ทานลื่อโจวเปนขุนนาง รับราชการเปนนายอําเภออยูส องครั้ง เมื่อมีโอกาสพบเซียนผูวิเศษ ทานก็ไดรับถายทอดวิช าตางๆ ในลัทธิเตา รวมทั้งการนั่งสมาธิดวย ทานจึงลาออกจากราชการติดตามทานเซียนผูวิเศษไปฝกฌานสมาธิ ที่ภูเขาแหงหนึ่งจนสําเร็จ ไดเปนเซียนเชนกัน ตอมาทานจงหลีไดสอน ใหทานลื่อโจวรูจัก ผสมยาวิเศษ เพียงแตเอายานั้นหยดลงไปที่เหล็ก เหล็ ก นั้ นก็ จะกลายเป นทอง สามารถนํ าไปชว ยเหลือ ความยากจน

แต ก อ นนี้ มี เ ด็ ก สาวคนหนึ่ง เข า ไปในวั ด เพราะอยากทํ า บุ ญ แต มี เ งิน เพี ย งสองอีแ ปะ ความจริ ง ราคาของเงิ น นั้น น อยนิ ด เดี ย ว แตคาของความมีใจอยากทําบุญนั้นเหลือหลาย ทานเจาอาวาสจึงกลาว อนุโมทนาคาถาเอง ใหศีลใหพรเอง ตอมาหญิงนั้นไดเขาวังเปนพระสนม 36


ของผู ค นได ทา นลื่ อ โจ ว จึ ง กราบถามท านอาจารย ว า เมื่อ เปลี่ ย น ไปเป น ทองแล วจะกลั บเป นเหล็ก ดัง เดิม อี ก ไหม ทา นจงหลี บ อกว า เมื่อครบหารอยป แลว ก็จะกลับสภาพเดิม ได ทานลื่อโจวจึงปฏิเสธ ไมยอมทําเหล็ก ใหเปนทอง เพราะทานเห็นวาเมื่อครบหารอ ยปแลว ก็จะทําใหผูคนเสียหายมากมาย เพราะอยูๆ ทองในมือก็กลายเปนเหล็ก ไปเสียแลว ยอมนํามาซึ่งความสูญเสียอยางมากมาย เปนการใหราย ผูอื่นโดยไมเปนธรรม การที่ทานจงหลีลองใจทานลื่อโจวครั้งนี้ ทําให ทานภูมิใจในลูกศิษยของทานเปนอยางยิ่ง เพราะคําพูดเพียงคําเดียว ก็แสดงใหเ ห็นความเปนคนของทานลื่อโจววาสูง สงเพียงไร ทานจึง กลาวกับศิษยรักของทานวา การที่จะบรรลุความเปนเซียนนั้น จะตอง สั่งสมคุณ ธรรมให ไดถึงสามพันอย าง คําพู ดของเจาเพียงคําเดีย ว ก็เทากับไดสรางคุณธรรมครบสามพันอยางแลวในพริบตาเดียว

แตอยูที่ใจเราเทานั้นที่จะทําจิตใจใหวางเปลาจนสามารถบรรจุบุญกุศล ไดเพียงใดตางหาก ความดี ข อ ที่ เ จ็ ด คื อ ความดี ที่ ใ หญ ห รื อ เล็ ก มี ขุ น นางผู ห นึ่ ง มีนามวาเอวยจงตะ รับราชการอยูในกรมประวัติศาสตร อยูม าวันหนึง่ ถูกจับวิญญาณไปยังยมโลก พญายมไดสั่งใหเสมียนในยมโลกนําบัญชี ดีชั่วของทานเอวยมาใหดู ปรากฏวาบัญชีชั่วนั้น ชางมากมายกายกอง วางจนเต็มหองไปหมด สวนบัญชีความดีนั้นเล็กนิดเดียว มีขนาดพอๆ กับตะเกียบขางหนึ่งเทานั้น พญายมสั่งใหคนเอาตาชั่ง มา ปรากฏวา บัญชีค วามดีนั้นแมจะเล็ก นิดเดีย ว แตก ลับมีน้ําหนักมากกวาบัญ ชี ความชั่วที่ร วมกันแลว ทั้งหมด ท านเอวยมีค วามสงสัย เปนอันมาก จึง ถามพญายมวา ขาพเจามีอายุยัง ไม ถึง สี่ สิบป ไฉนจึ งมีความชั่ว มากมายเชนนี้ พญายมตอบวา เพียงแตจิตคิดมิชอบเทานั้นก็เปนบาป แล ว เช น เห็ น ผูห ญิ ง สาวสวย ก็ มี จิ ต ปฏิพั ทธ จิ ต ที่ คิ ด มิ ช อบเช น นี้ ก็จะถูกบันทึกในบัญชีค วามชั่วทันที ทานเอวยถามตอไปวา ถาเชนนั้น ในบัญชีค วามดีอันนอยนิดนี้ไดบันทึก ไววาอยางไร พญายมตอบวา มี อ ยู ค รั้ ง หนึ่ ง ฮ อ งเต ท รงดํ า ริ จ ะซ อ มสะพานหิ น ที่ เ มื อ งฮกเกี้ ย น ท า นเกรงว า ราษฎรจะเดื อ ดร อ น จึ ง ถวายความเห็ น เพื่ อ ยั บ ยั้ ง พระราชดํารินั้นเสีย บัญชีความดีนี้ก็คือสําเนาที่ทานทูลเกลาฯ ถวาย ฮองเตนั่นเอง ทานเอวยก็แยง วา แมขาพเจาจะกระทําดังกลาวจริง แตก็ไมเปนผลสําเร็จ พระองคทรงดําเนินการไปแลว ไมนาเลยที่บัญชี ความดีเพียงอยางเดียว จะมีน้ําหนักมากกวาบัญชีความชั่วที่กองอยู เต็มหองนี้ พญายมจึงพูดวา การที่ทานมีเมตตาจิตตอราษฎร เกรงจะ ไดรับความลําบากกันมากมาย กุศ ลจิตนี้ใหญหลวงนัก ถาหากทาน ยับยั้ งได สํา เร็จ ก็จ ะยิ่ง เพิ่ม ความหนัก ขึ้นอี ก พลัง แหง กุศ ลกรรมนี้ จะยิ่ง ใหญ อีก หลายเทานั ก แม จะเปนเรื่องเล็ก แตถ ากระทําเพื่อชน

การทําความดีนั้น เมื่อทําแลวก็แลวกัน อยาไดนํามาคิดถึงบอย ราวกั บ ว า การทํ า ดี นั้ น ช า งใหญ ยิ่ ง นั ก ใครก็ ทํ า ไม ไ ด เ หมื อ นเรา ถ า คิ ด เช น นี้ ความดี นั้ น ก็ จ ะเหลื อ เพี ย งครึ่ ง เดี ย ว แต ถ า ทํ า แล ว ก็ไมนํามาใสใ จอีก คิดแตจะทําอะไรตอไปอีก จึงจะดี จึงจะเปนความดี ที่ส มบูรณ ไมตกไมหลน เชนการใหเงินแกคนยากจน ในใจของลู ก จะตองอยาคิดวาเราเปนผูให ภายนอกก็อยาไปสนใจวาใครเปนผูรับ แมแตเงินที่เราบริจาคไปแลวก็มองไมเห็นวาสําคัญตรงไหน ใหแลวก็ แล ว กั น ลื ม เสี ย ให ได ไม ก ลั บ มาคิ ด อี ก ใหเ สีย เวลา เช น นี้ เรี ย กว า ทําความดีดวยจิตวางเปลา เมื่อไมไดบรรจุอะไรไวที่จิตเลย จิตนัน้ ก็ยอ ม เต็มเปยมไปดวยกุศลผลบุญ พลังแหงกุศลธรรมเชนนี้ใหญหลวงนัก สามารถทํ าลายเคราะหก รรมได ถึ ง หนึ่ ง พั น ครั้ ง เพราะฉะนั้ น การ ทําความดี จึงมิไดขึ้นอยูกับปริมาณของเงินทองหรือวัตถุที่บริจาค 37


หมูใ หญแลวไซร ความดีนั้นก็ใ หญห ลวงยิ่งนัก หากทําดีเพื่อตนเอง แลวไซร แมจ ะทําดีขนาดไหนก็ไดผลนอยมาก ลูกจงจําไววา การทํา ความดี ไมวาจะเปนความดีมากหรือนอยเพียงใด ก็ขึ้นอยูกับเจตนา ในการทําความดีนั้น เพื่อผูอื่นหรือเพื่อตนเอง

ทั้งทานผูเฒาซูและทานผูเฒาจาง ลว นแตไดก ระทําในสิ่งที่ทําได ยากยิ่ง เงินที่ทานสะสมไวค นละสองปและสิบปนั้น ทานก็หวัง วาเมื่อ ทํามาหากินไมไดแลว ก็จะไดพึ่งเงินจํานวนนี้ประทังชีวิตตอไป เปนเงินที่ ตองใช เวลาอันยาวนานสะสมไววัน ละเล็ก ละนอ ย แตท านทั้ งสองก็ สามารถตัดใจชวยเหลือคนที่ไมรูจักกันเลยแมแตนิด ไดในพริบตาเดียว นี่คือการทําความดีที่ยากยิ่งจริงๆ

ข อ ที่ แ ปด คื อ ความยากง า ยในการทํ า ความดี สมั ย ก อ น ทานผูคงแกเรียนมักจะพูดวา ถาจะเอาชนะใจตนเองใหได ตองเริ่มจาก จุ ด ที่ ข ม ใจได ย ากที่ สุ ด เสี ย ก อ น ถ า สามารถเอาชนะได จุ ด อื่ น ๆ ก็ไมสําคัญเสียแลว ยอมจักเอาชนะไดโดยงาย ลูกศิษยของทานขงจื่อ ชื่ อ ฝานฉื อ ได ถ ามท า นอาจารย ว า เมตตาธรรมนั้ น เป น อย า งไร ทานขงจื่อตอบวา การทําสิ่งที่ยากที่สุดไดเสียกอน จึงจะชนะใจตนเองได เมื่อชนะใจตนเองไดแลว ความเห็นแกตัวก็หมดไป จึงบังเกิดเมตตาธรรม พ อ จะยกตั ว อย า งให ฟ ง ลู ก จะได เ ข า ใจง า ยเข า ที่ ม ณฑลเจี ย งซี มีทานผูเฒาแซซู ทานยังชีพดวยการสอนหนังสือตามบาน อยูมาวันหนึ่ง มีช ายคนหนึ่งเปนหนี้เพราะความยากจน เมื่อ ไมส ามารถชําระหนี้ได เจาหนี้ก็จะยึดภรรยาของชายผูนี้ไปเปนคนใช ทานผูเฒาซูเ กิดความ สงสารสามี ภ รรยาคู นี้ ยิ่ ง นั ก จึ ง ยอมเสี ย สละเงิ น ที่ เ ก็ บ ออมไวไ ด จากการสอนหนังสือเปนเวลาสองป นํามาใชหนี้แทนชายผูนั้น ทําให สามีภรรยาคูนี้ไมตองแยกจากกัน

อี ก ตั ว อย า งหนึ่ ง ของผู ที่ ช นะใจตนเองได คื อ ท า นผู เ ฒ า จิ น ท า นอายุ ม ากแล ว ยั ง ไม มี บุ ต รไว สื บ สกุ ล ด ว ยความหวั ง ดี ข อง เพื่อนบานคนหนึ่ง ไดยกบุตรสาวของตนใหเปนอนุภรรยาของทาน ผูเฒา แตทานกลับไมยอมรับความหวังดีนี้ ทานใหเหตุผลวา ทานนั้น ชราภาพแลว สวนเด็กสาวนั้นอายุยังไมถึงยี่สิบ ควรจะไดสามีที่มีอายุ ไล เ ลี่ ย กั น ท า นจึ ง ไม ค วรที่จ ะไปทํ า ลายความสุ ข และอนาคตของ เด็ ก สาวนี้ เ สี ย ด ว ยความเห็ น แก ตั ว เพี ย งเพื่ อ จะมี บุ ต รไว สื บ สกุ ล เปนการไมสมควรอยางยิ่ง ทานผูเฒาทั้งสามทานนี้ ลวนแตทําในสิ่งที่ ยากยิ่งจริงๆ ฟาดินจึงประทานความสุขความเจริญใหกับทานทั้งสาม ทั้ง ในโลกนี้และโลกหนาเปนแนแท สวนคนที่มีเงินมีอํานาจนั้น ถาจะ กระทําความดี ก็ยอมงายกวาผูที่ไมมีทั้งเงินและอํานาจ แตพวกนี้ก็ ไมคอยชอบทําความดี เพราะฉะนั้น ผูที่มีโอกาสทําความดีไดงายเพราะ มีทั้งเงินและอํานาจกลับไมยอมทําความดี สวนผูที่ไมมีเงินไมมีอํานาจ กวาจะทําความดีไดก็ดวยความยากลําบากยิ่ง นี่คือความแตกตางกัน ในคุณคาของความดี

อีกตัวอยางหนึ่ง มีช ายคนหนึ่ง ดวยความยากจนยิ่งนัก จึงนํา ภรรยาและบุตรชายไปจํานําไว ไดเงินมาพอประทังชีวิต เมื่อถึงกําหนด ไมมีเงินจะไปไถคืน ภรรยาก็เดือดรอนคิดจะฆาตัวตาย บังเอิญทาน ผูเฒาจางรูเรื่องเขา มีความสงสารเปนยิ่งนัก จึง นําเงินที่เก็บสะสม มาแล วถึง สิบป มาใชหนี้แทนให พอ แมลู ก จึง ไดมีโ อกาสกลับ มาอยู รวมกันอีกครั้ง

การทําความดีตอผูอื่นนั้น ก็จ ะตองแลวแตโอกาส จังหวะเวลา ก็ มี ค วามสํ า คั ญ เช น กัน การช ว ยเหลือ ผู อื่ น นั้ น มี วิ ธี ก ารมากมาย ประมวลแลวก็สามารถแยกออกได 10 วิธีดวยกัน คือ 38


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชวยเหลือผูอื่นทําความดี รักและเคารพทุกคนอยางเสมอหนา สนับสนุนผูอื่นใหเปนผูมีความดีพรอม ชี้ทางใหผูอื่นทําความดี ชวยเหลือผูที่อยูในความคับขัน กระทําสิ่งที่เปนประโยชนตอสาธารณะ ไมทําตนเปนปูโสมเฝาทรัพย หมั่นบริจาค ธํารงคไวซึ่งความเปนธรรมะ เคารพผูมีอาวุโสกวา รักชีวิตผูอื่นดุจรักชีวิตตนเอง

ตองใชความอดทนพยายามเพียงไร ทานตี้ซุนนั้นเปนผูฉลาดหลักแหลม ยิ่งนัก เพียงแตทานใชคําพูดกลอมเกลาจิตใจ ผูคนก็จะเชื่อทานเพราะ ตางก็มีความเคารพทานอยูแลว แตทานอุตสาหใชเวลาถึงหนึ่ง ปเต็ม ก็ เ พื่ อ จะใหทุ ก คนกลั บตัว กลับ ใจได ห มด และจะไม ก ลับ ไปเป น คน เห็นแกตัวอีกไมวาในกรณีใด และเปนไปดวยความสมัครใจ ไมใชดวย บังคับหรือขอรอง ใหทุกคนตระหนักถึงความดีที่ตองกระทํารวมกัน เพื่อความผาสุก ของพวกเขาเอง พอจึงสรรเสริญในความอุตสาหะ ของทานยิ่งนัก พอและลูกตางก็มีชีวิตอยูในยุค แหงความมืดมน ผูคนไมคอยมี ศีลธรรมเหมือนดังยุค กอน เพราะฉะนั้นลูกจะตองเจียมเนื้อเจียมตัว อยาไดอวดดีวาวิเศษกวาผูอื่น อยานําความสามารถของลูกไปขมผูอื่น ที่ดอยกวาใหเขาไดอาย จงเก็บความรูความสามารถของเจาไวในใจ อยาไดแสดงออกใหปรากฏแกสายตาผูอื่น ใครพลาดพลั้งลวงเกินลูก ก็จงรูจักใหอภัยอยาไดแพรงพรายความไมดีออกไป เพื่อใหโอกาสเขา กลับตัวกลับใจ และเมื่อไมมีใครรูและก็ทําใหเขาไมกลากําเริบเสิบสาน เพราะทุ ก คนย อ มรัก หน ารั ก ตาไม อ ยากเปน คนเสี ย ชื่ อ เสีย ง จึง ไม วิจ ารณใ หค วามลับของเขาเปน ที่เปดเผยออกไป เขาจึง ไมก ล าที่จ ะ ทําผิดอีก บางคนนั้น เมื่อมีคนรูวาเขาเปนคนไมดีเสียแลวเขาก็ทําตัว เหลวแหลกยิ่งขึ้น เมื่อเปนคนดีไมไดก็ยอมเปนคนชั่วเสียเลย คนเชนนี้ ก็มีใหเห็นๆ อยู ลูกจะตองคอยสังเกตวาผูอื่นนั้นเขามีความสามารถ อะไรบาง ถาเปนสิ่งที่ลูกยังไมมี ก็จงรีบรับเอาความดีนั้นมาใสตนเถิด อยา ไดรี รอเลย ลูก จะตองรูจัก ชมเชยสรรเสริญความดีง ามความ สามารถของผูอื่นใหแผไพศาลไป อยาไดมีจิตริษยา ในชีวิตประจําวัน ของลูก ไมวาจะพูดสักคํา จะทําอะไรสักอยาง จงอยาทําเพื่อประโยชน ตนเอง ตองถือประโยชนสวนรวมเปนสําคัญ ลูกจงจําไวใหดี

ขอ 1. การชวยเหลือผูอื่นทําความดีนั้นเปนอยางไร เมื่ อ ครั้ ง ท านตี้ ซุ น ยั ง มิ ไ ดเ ปน พระเจ าแผน ดิ น จี น สมั ย โบราณ (กอน พ.ศ. 1712 – 1665) ทานไปยังหนองน้ําแหงหนึ่ง เห็นชาวบาน กําลัง จั บปลากั น อยู คนที่แข็ ง แรงก็ พ ากั น ไปยั งที่ ที่ มีน้ํา ลึก ปลาชุ ม สวนพวกที่ไมแข็งแรงและผูชรา ถูกกันใหไปจับปลายังที่ที่มีกระแสน้ํา ไหลเชี่ยวและที่มีน้ําตื้นซึ่งปลาจะไมช อบมาในบริเวณนั้น ทําใหจับปลา ไมได ทานตี้ซุนเห็นดังนั้น ก็บังเกิดความสงสารจับใจ ทานจึงเขาไปชวย คนที่ไม แข็ง แรงและผูช ราหาปลา ใครที่เห็ นแกตั ว ชอบแยง ที่น้ําลึ ก ทานก็นิ่ งเสียไมไปวา เขา ใครที่ไมเห็นแกตัว ทานก็จ ะนําพฤติก รรม ของเขาไปสรรเสริญจนทั่ว ทานเองก็ทําตัวอยางอันดีใหเปนที่ปรากฏ อยู ทุ ก วั น ๆ จนกาลเวลาได ผ า นไปหนึ่ ง ป ชาวบ า นพากั น สํ า นึ ก ในความเห็นแกตัวของตน ตางก็ทําดีตอกันและกัน ในที่นี้พอจะตอง บอกใหลูก รู วา พอ ไม ส นั บ สนุ น ในเรื่อ งการจั บ ปลามาเปน อาหาร เพราะการฆาสัตวตัดชีวิตนั้นเปนบาปอยางยิ่ง แตที่พอยกเรื่องนี้ม า เป น อุ ท าหรณ ก็ เ พื่ อ ให ลู ก เข าใจวา การชว ยให ผู อื่ น ทํ าความดีนั้ น 39


ขอ 2. รักและเคารพทุกคนอยางเสมอหนานั้นเปนอยางไร ผูดีนั้น คือคนที่มีคุณงามความดี และกระทําแตคุณงามความดี อยางสม่ําเสมอ สวนคนเลวนั้นบางทีก็ซอนอยูในคราบของผูดี ปะปนกัน จนบางทีก็ดูไมออก แตถาลูกสังเกตใหดีแลว ก็จะเห็นความแตกตาง ราวกับขาวและดําทีเดียว ผูดีที่มีขอแตกตางจากคนทั่วไปนั้น คือมีน้ําใจ รัก และเคารพทุก คนอยางเสมอหนากัน ธรรมดาคนที่เราไดพบเห็น ในชีวิตประจําวันนั้น บางคนเราก็เคยใกลชิดดวย บางคนก็หางเหินกันไป บางคนสูงศักดิ์ บางคนต่ําตอย บางคนฉลาดหลักแหลม บางคนโงเขลา เบาปญ ญา บางคนมี คุณ ธรรมประจํ าใจ บางคนก็ร ายจนไดชื่อ ว า เปนคนพาล แมทุกคนจะมีสถานภาพและจิตใจไมเหมือนกัน แตทุกคนก็ เปนเพื่อนมนุษยที่ตองเกิดแกเจ็บตายดวยกัน นักปราชญทั้งปวงจึง ไมชอบใหคนเกลียดกันดูถูกกัน ตองรักกันเคารพกันอยางเสมอหนา จึงจะมีสันติสุขเกิดขึ้นได

ก็จ ะกลายเปนคนดีพรอมไปได เพราะฉะนั้น ลูก จงใสใ จในคนที่รัก ดี มุ ง มั่ น จะเป น คนดี ลู ก จงให ค วามช ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ให กํ าลัง ใจ ประคั บ ประคองเพื่ อ ให เ ขาเป น คนดี พร อ มให ไ ด แม เ ขาจะถู ก ผู ค น ปรักปรํา ก็จงชวยชี้แจงปกปองและยอมรับขอปรักปรํานั้นวาลูกก็มี สว นผิด อยูด ว ย เพื่อ ผ อนคลายความรุน แรงที่ จะเกิด ขึ้ นกั บ ตัว เขา จนกวาเขาจะยืนอยู บนขาของเขาเองไดแลว ก็นับวาลูก ไดพยายาม จนถึงที่สุดแลว คนดีคนเลวนั้น มักจะคบหากันไมได คนดียอมคบกับคนดี คนชั่ว ก็ชอบมั่วสุมกับคนชั่ว คนชั่วมักเกลียดชังคนดี ยิ่งในชนบทที่หางไกล ความเจริญดวยแลว คนชั่วมีมากกวาคนดี ชอบขมเหงคนดีอยูเสมอ จนตั้ง ตั วไมติด คนดีมั ก จะเป นคนตรงและไมก ลั วตาย ไมช อบการ แตงตัวที่หรูหรา ไมชอบมีความเปนอยูที่ฟุมเฟอย จึงมักตกเปนขี้ปาก คนชั่ ว ที่ช อบวิพ ากษวิ จ ารณ ค นผิ ด ๆ เพราะฉะนั้ น เมื่ อ ลู ก พบเห็ น เหตุการณเชนนี้ ก็จงชวยปกปองคนดี และชวยชี้ทางใหคนชั่วกลับใจ เปนคนดีเสีย นี่เปนมหากุศลที่ลูกจะตองทําใหได

ขอ 3. สนับสนุนผูอื่นใหเปนผูมีความดีพรอมนั้นอยางไร หยกนั้ น ย อ มมาจากหิ น ชนิ ด หนึ่ ง ถ า เราทิ้ ง ขว า งไม ส นใจก็ เป น เพี ย งหิ น ธรรมดาก อ นหนึ่ ง แม ภ ายในจะมี ห ยกเร น อยู ก็ ไ ม สามารถปรากฏความมีคาของมันได แตถามนุษยนํามาเจียระไนเอา ความเปนหยกออกมาจากหิน และสลัก ใหสวยงามก็จะเปนของมีคา สํ าหรั บ ฮ อ งเต แ ละขุน นาง กลายเป น สั ญ ลั ก ษณที่ จ ะต อ งติ ด ตั ว ไว แสดงถึงความบุญหนักศักดิ์ใหญ ยามที่ฮองเตออกขุนนาง ก็ตองมีหยก ไวแสดงความเปนใหญในแผนดิน ขุนนางเขาเฝาฮองเต ก็ตองถือหยก พระราชทานไวในมือเพื่อแสดงความเคารพและจงรัก ภักดีตอ ฮองเต หยกยั ง นํ ามาใชใ นพิ ธี ก รรมอื่ น ๆ อี ก มากมาย ลู ก ต อ งอย า ลื ม ว า หยกมีความงามและความสําคัญ ขึ้นมาไดเพราะฝมือของมนุษ ยเอง คนก็เ ชน กัน ถามีค นคอยช วยเหลื อใหคํ าแนะนํ าที่ดี คนธรรมดาๆ

ขอ 4. ชี้ทางใหผูอื่นทําความดีนั้นอยางไร เกิดมาเปนมนุษย ทุกคนยอมมีศีลธรรมประจําใจอยูบ า ง มากบาง นอยบา ง ที่ จะไมมี เลยนั้น คงหายาก นอกจากมนุษ ยจะมัว สาละวน อยูกับการแสวงหาลาภยศเงินทองชื่อเสียง โดยไมคํานึงถึงศีลธรรม ทําใหตองตกอยูใ นความหายนะ ถาลูก พบคนเชนนี้ ลูก จงพยายาม ชวยเขา ฉุดเขาใหพนจากความหายนะใหจงได ดุจคนฝนราย ลูกปลุก เขาใหตื่นจากความฝน ใหค วามรูความคิดที่ดีงามแกเขา เขาก็จะตื่น จากฝนร ายกลายเปนคนดี ได เมื่อ ครั้งราชวงศถัง (พ.ศ. 1161 – 1450) มี ขุ น นางท า นหนึ่ ง ท า นเขี ย นหนั ง สื อ สอนใจคนได ดี ม าก 40


เปนที่แพรหลายไปทั่วประเทศจีน ชาวจีนมีความเคารพนับถือทานมาก เมื่ อ ท า นถึ ง แก อ นิ จ กรรมยั ง ได รั บ เกี ย รติ ย ศอั น สู ง ส ง ได รั บ การ สถาปนาจากฮอ งเตใ หเปนที่ “เอวิ๋น” เปนการเชิดชูผ ลงานอันมีทั้ ง รอยแกวร อยกรองที่เยี่ยมยอดนั่นเอง ชาวบานพากันเรี ยกทานว า “หานเอวิ๋ นกง ” ท านเคยกลาวไว วา การตัก เตือ นผูอื่นด วยคําพู ดนั้ น ไมช าก็จ ะถูก ลื ม เลือ นไป ผู อยู ไกลก็ไมส ามารถได ยิน คําเตือ นนั้นได หากบั น ทึ ก ไว เ ปน หนั ง สื อ แม สั ก ร อ ยชั่ ว คนคํ าสอนนั้ น ก็ ยั ง คงอยู สามารถแพรไปไกลกวาพันลี้หมื่นลี้เสียอีก ขอที่หนึ่ง พอไดยกตัวอยาง ใหชวยเหลือผูอื่นดวยการทําตนเปนเยี่ยงอยางแกผูอื่น นานวันเขาก็จะ มีค นตามอย างโดยไมรูตัว สว นขอ นี้พอ ขอยกตัว อย างใหใ ช คําพู ด ใชหนังสือเปนตัวอยาง ลูกก็จะตองใชใหเหมาะสมมิฉะนั้นก็จะไมไดผลเลย ดุจดั่งคนปวย ถาไดยาตรงกับโรคก็จะหายวันหายคืน เหมือนคนที่มี นิสัยแข็งกระดาง ถาเราใชคําพูดตักเตือน เขาจะไมเชื่อโดยงาย พูดไปก็ เสียเวลาเปลา ถาเปนคนที่มีนิสั ยออนโยน การตั ก เตือนด วยคําพู ด มักจะไดผล ลูกไมควรพลาดโอกาสอันดีนี้เสีย ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับลูกตอง ดูค นเปน ตองอานนิสัยไดถูกตอ ง แลวจึงจะวินิจฉัยไดวา คนเชนไร สมควรตักเตือนดว ยคําพูด คนเชนไรสมควรใหเ ขาอานหนังสือเพื่อ แกไขตัวเขาเอง

ไดคุณสักเพียงไร ขอใหชวยใหไดทันทวงทีจึงจะควร ชางเปนคําพูดที่ เปยมไปดวยเมตตาการุณยเสียนี่กระไร ขอ 6. กระทําสิ่งที่เปนประโยชนตอสาธารณะอยางไร ไมวาลูกจะอยูในชนบทเล็กๆ หรือในเมืองใหญๆ หากเปนเรื่องที่ เกี่ยวกับประโยชนสุขของสวนรวมแลว ลูก จะตองไมทอถอยในการ เปนอาสาสมัคร เชน ขุดคูสงน้ําเพื่อไวใชในนายามหนาแลง หรือสราง ทํานบเพื่อปองกันน้ําทวม หรือซอมสะพานที่ชํารุดเพื่อใหการสัญจร ไปมาสะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น หรือใหทานอาหารแกคนอดอยาก หรือใหน้ําแกคนกระหาย แลวลูก ก็ควรชัก ชวนชาวบานใหรวมแรง รว มใจกัน กระทํ าความดีร ว มกั น ใครมี เ งิน ก็ อ อกเงิน ใครมี แรงก็ ออกแรง ผนึกกําลังใหเขมแข็ง จะไดชวยเหลือคนไดมากขึ้น หากใครมา วารายลูก ก็จงอยาใสใจ ถาเราทําดีโดยสุจริตแลว ใครๆ ก็ยอมเขาใจ และชวยปองกันลูกเสียอีก ลูกจงอยาทอถอย ไมวาจะประสบอุปสรรค ใดๆ ก็อยาไดวางมือเปนอันขาด ขอ 7. ไมทําตนเปนปูโสมเฝาทรัพย หมั่นบริจาค อยางไร คําสอนในพระพุทธศาสนานั้นมากมาย พระผูมีพระภาคทรงแนะนํา ใหรูจักใหทานเสียกอน การใหคือการเสียสละ ทานที่บรรลุธรรมแลว ทานเสียสละไดหมด ทั้งอายตนะภายใน (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) และ อายตนะภายนอก (รู ป เสีย ง กลิ่น รส โผฏฐัพ พะและธัมมารมณ ) ก็สิ่ง ที่ประกอบกันขึ้ นมาเปนชี วิตทานยั งเสียสละได เรื่อ งทรัพยสิ น เงินทองของนอกกาย ไฉนจักเสียสละไมได ถาเราสามารถเสียสละได ทุกอยางเชนนี้แลว เราก็จะรูสึกวา เรามิไดแบกภาระอันใดไว ทําใหจิตใจ ปลอดโปรง ไมหวงหนากังวลหลัง ใครทําของเราเสีย ใครขโมยของ เราไปก็ไมเดือดรอนเลยแมแตนิด เพราะเราเสียสละไดหมดจริงๆ ผูที่

ขอ 5. จะชวยเหลือผูที่อยูในความคับขันไดอยางไร เคราะหกรรมยอมเกิดขึ้นไดเสมอไมวากับใครๆ หากลูกพบเห็น คนที่กําลั งตกทุก ขไดยาก ลูก จะตองเขาชวยเหลือใหทันทว งที และ จะตองชวยแกไขสถานการณดวยสติปญญาของลูกอยางรอบคอบ เพื่ อ ให ก ารช ว ยนั้ น ประสบความสํ า เร็ จ ท า นชุ ย จื่ อ ซึ่ ง เป น ขุ น นาง ในราชวงศหมิง ในปลายสมัยพระเจาเซี่ยวจงฮองเต (พ.ศ. 2031 – 2048) ท านกลาวไววา การชวยเหลื อนั้นไมค วรคํานึงว าจะไดบุ ญ 41


ไมส ามารถเสียสละไดทั้งหมด ก็ตองเริ่ม ตนดวยการใหทานบริจ าค ทรัพยเสียกอน คนในโลกนี้เห็นวาปจจัยสี่นั้นเปนสิ่งสําคัญของชีวิต และเงินเทานั้นที่จะบันดาลใหไดมาซึ่งปจจัยสี่ เพราะฉะนั้นคนสวนมาก จึ ง ให ค วามสํ าคั ญ แกเ งิ น เท า ชี วิ ต หาได คิ ด สัก นิ ด ไม ว า หากยั ง มี ลมหายใจก็ดีอยูห รอก ถาหมดลมเมื่อใดมีใ ครเคยเอาอะไรติดตัวไป ได บ าง ผู ที่ รัก เงิ นยิ่ ง ชีวิต จึ งควรฝก ตนให รูจั กการบริ จ าคทรัพ ย ใหทานเสียบาง ใหมๆ ก็จะเกิดความเสียดาย เพราะคนรักเงินยิ่งชีวิต มักเปนคนตระหนี่ ใจคอคับแคบ แตถาหมั่นบริจาคก็จะเกิดเปนนิสัย อันดีงามขึ้น สามารถบริจาคไดมากขึ้น และไมนึกเสียดายดังแตแรก

ชื่อวาเปนผูรูพระคุณ ของพระผูมีพระภาคอยางแทจริง และไดถวาย ความกตัญูกตเวทีแดพระองคอยางถูกตองแลว ขอ 9. เคารพผูมีอาวุโสกวาอยางไร ในครอบครัว ยอมมีบิดามารดา พี่ช ายพี่สาว ที่มีอาวุโสกวาเรา เราต อ งเคารพรั ก รู จัก ปรนนิ บั ติ เ อาใจใส ดู แลทุก ขสุข ให ค วามสุข ความสําราญแกทาน ใหค วามสนิทสนมกลมเกลีย ว ยิ้ม แยมแจม ใส เขาหากัน พูดจากันดวยวาจาอันไพเราะ นานไปก็จะเปนผูมีนิสัยอันดีงาม ในประเทศ ย อ มมี ฮ อ งเต เ ป น ประมุ ข ที่ เ ราจะตอ งแสดงความ จงรักภักดี รับราชการดวยความซื่อสัตยสุจริต รักษากฎหมายยิ่งกวา ชีวิตของลูก เอง อยาอวดดีทําผิดโดยคิดวาพระองคจะไมทรงทราบ การลงโทษคนโดยอาศั ยอํ านาจของกฎหมาย ก็อ ยาเมาอํานาจจน ตัดสินโทษดวยอารมณ อยานึกวาพระองคไมทรงทราบ แลวทําไปดวย ความลําพองใจ โบราณทานวาการรับใชฮองเตก็คือการรับใชสวรรค สวรรคยอมประทานความเจริญความสุขสมบูรณให ถาลูกทําดีพอ

ขอ 8. ธํารงไวซึ่งความเปนธรรมไดอยางไร ธรรมะคือ ประที ปที่ สองวิถี ทางแหง ชีวิ ต เมื่อ หนทางข างหน า สว า งไสว ชี วิ ต ยอ มดําเนิ นไปตามทิ ศ ทางอันถูก ตอ ง ดุ จ ดั่ ง คนที่ มี นั ย น ต าดี ย อ มสามารถเลื อ กทางเดิ น ที่ ส ะดวกที่ สุ ด และดี ที่ สุ ด ได โบราณทานจึง วา ธรรมะคือ การธํารงไวซึ่งฟาดินและมนุษ ย ใหเกิด ความสมดุล ผสมผสานกลมกลืนเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน จะขาดไป แม แ ตสิ่ง หนึ่ง สิ่ง ใดก็ หามิ ไ ด ตอ งเปน ป จ จั ยอิ ง อาศัย ซึ่ ง กั นและกั น ทําใหเกิดสรรพสิ่งดวยธรรมะ ธรรมะทําใหชีวิตหลุดพนจากหวงแหง ความทุกข มีอิส ระเสรีที่จะอยูในโลกตอไปก็ได จะไปใหพนโลกเสียก็ได ฉะนั้น เมื่อลูก เห็นศาลที่บูช านัก ปราชญราชบัณ ฑิต หรือเห็นคัม ภีร โบราณที่ เ ป น ธรรมะอั น สู ง สง ลูก จะต อ งถนอมด ว ยความเคารพ หากมีสิ่งขาดตกบกพรอง ลูกจะตองซอมแซมใหอยูในสภาพดีดังเดิม เพื่ อ เป น ประโยชนแ ก อนุ ช นรุ น หลัง ต อ ไป ลู ก จะตอ งเผยแผธรรมะ ธํารงไว ซึ่ง ธรรมะ ปฏิบัติ ตนด ว ยธรรมะ สอนใหผูอื่น รูจั ก ธรรมะ จึงจะเรียกวาเปนพุทธศาสนิกที่รูซึ้งในพระกรุณาคุณ พระปญญาคุณ และพระบริสุทธิคุณ ของพระผูมีพระภาคเจา ถาลูกทําไดเชนนี้ จึงจะได

ขอ 10. รักชีวิตผูอื่นดุจรักชีวิตตนเองอยางไร มนุษยจักทรงความเปนมนุษ ยอยูได ก็ดวยจิตที่มีเมตตากรุณ า การเอาชนะสิ่งที่ยากที่สุดคือใจของตนเอง ตองเริ่ม ปลูกฝง จิตใหมี เมตตากรุณากอน การสั่งสมคุณธรรมใดๆ ก็ตองเริ่มที่จิตอันกอปร ดวยเมตตากรุณาเชนกัน ในสมัยราชวงศโจวนั้น (กอน ค.ศ. 1100 กอน ค.ศ. 771, กอน พ.ศ. 457 - กอน พ.ศ. 329) ทานโจวกงซึ่งเปน ไจเสี่ยงของพระเจาเฉิงออง ไดแตงหนังสือขึ้นเลมหนึ่งใหชื่อวา โจวหลี่ อั น เป น ต น ตํ า รั บ ที่ ร าชวงศ ต อ ๆ มา ถื อ เป น แบบฉบั บ ว าด ว ยการ บริหารประเทศ หนาที่ความรับผิดชอบของขาราชการ กฎหมายและ 42


จารีตประเพณี รวมทั้งพิธีกรรมตางๆ มีอยูขอหนึ่งที่ทานกําหนดไววา เดือนแรกของป เปนเวลาที่พืช พันธุธัญญาหารมีโอกาสเจริญเติบโต งายแกการตั้งครรภของสรรพสัตว ฉะนั้น การเซนสรวงบูชาในเดือนนี้ จึงหามฆาสัตวตัวเมีย เพราะเกรงวาอาจจะกําลังตั้งครรภอยู นี่ก็เปน ความเมตตากรุณาของทานโจวกง ทานนักปราชญเมิ่งจื่อไดกลาวไววา ผู ดี ย อ มอยู ห า งไกลจากโรงครั ว ที่ มี ก ารฆ า สั ต ว เพราะเพี ย งแต ไดยิน เสีย งผูอื่ นฆาสัตวก็ทําใหจิต ใจหดหูเ ศราหมองได ทานผูใ หญ แตกาลกอนจึงไมยอมบริโภคเนื่อสัตวสี่ประเภท คือ 1. 2. 3. 4.

เท า ที่ เ หยี ย บลงไปบนตัว สัต วโ ดยไม เ จตนา ก็ ไ ม รู ตั ว ว าวั น หนึ่ ง ๆ ไดทําไปกี่ครั้ง ลูกจงระวังใหดี ปองกันใหได นอกจากจะสุดวิสัยจริงๆ มีโคลงโบราณอยูบทหนึ่งซึ่งเปนที่ประทับใจพอจนบัดนี้ ทานวาไววา เพราะรัก หนูจึงเก็บขาวไวใหกิน เพราะสงสารแมลงจึงไมจุดตะเกียง ในยามค่ําคืน ดูเถิดวา คนโบราณนั้นทานมีเมตตากรุณาเพียงไร การทํ า ความดี นั้ น ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด อธิ บ ายเท า ไรก็ ค งไม ห มด จงถือหลัก สิบประการนี้ แลวลูกก็จะแผข ยายการทําดีใ หก วางขวาง ออกไปเอง การสั่งสมคุณ ธรรมใหครบหนึ่งหมื่นครั้ง ก็จ ะอยูเ พีย ง แคเอื้อม

สัตวที่ไดยินเสียงเขาฆา สัตวที่เห็นเขากําลังฆา สัตวที่เลี้ยงอยูเอง สัตวที่เขาจงใจฆาเพื่อใหเราบริโภค

ลูก เห็นใครที่ ไมอยากบริโ ภคเนื้อสัตว แตยังทําไม ไดทันที ก็จ ง แนะนําเขาใหเริ่มไมแตะตองเนื้อสัตวสี่ประเภทนี้ใหไดเสียกอน เริ่ม ฝก เสี ยแต เดี๋ ยวนี้ ความกาวหนาในการปฏิบัติ ธ รรมยอ ม ติดตามมา เมื่อกระแสจิตไดถูก ฝกฝนใหเจริญดวยเมตตาธรรมและ กรุณาธรรมแลวไซร ก็จะไมนึกอยากฆาสัตว สัตวทั้งมวลลวนมีชีวิต จิตใจเชนเราเหมือนกัน การนําตัวไหมลงไปตม ในน้ํารอนๆ เพื่อทํ า เครื่องนุงหม ที่นิยมกันวาสวยงามมีคามาก ที่แทเปนบาปกรรมโดย ไมรูตัว ความจริงผาไหมมิใชเปนสิ่งจําเปนสําหรับชีวิตมนุษย เรานาจะ ใชผาฝายที่ไมตองเบียดเบียนสัตวจะมิดีกวาหรือ แมกระทั่งการถางดิน ฆ าหนอน ก็ ล ว นแต เ ป น บาปกรรมทั้ ง สิ้ น ดู ดู ม นุ ษ ย เ กื อ บทั้ง หมด ล ว นแต เ บี ย ดเบี ย นชี วิ ต ผู อื่ น เพื่ อ ความมี ชี วิ ต ของตนเอง ต อ งทํ า ปาณาติ บาตอยู ต ลอดเวลาที่ มี ชี วิต อยู แม ก ระทั่ ง มื อ ที่ ต บยุ ง บี้ม ด 43


ในคั ม ภี ร อื่ น ๆ ก็ ก ล า วเหมื อ นกั น ว า ทะนงตนย อ มนํ ามาซึ่ ง ความวิบัติ ถอมตนยอมนํามาซึ่งความเจริญ พอไดไปรวมสอบไลกับ นักศึกษาอื่นๆ ตั้งหลายครั้ง ทุกครั้งพอสังเกตเห็นนักศึกษาที่ยากจน บางคน บนใบหนามัก ทอประกายแหงความถอมตน จนบางครั้งพอ คิดอยากจะเอามือทั้งสองของพอไปประคองประกายแหงความถอมตน นั้นมาประดับบนใบหนาของพอเสียบาง และไมตองสงสัยเลย พวกเขา เหลานี้สอบไลไดทุกทีไป

โอวาทขอที่สี่ ความถอมตน โอวาททั้งสามขอที่กลาวจบไปแลวนั้น ลวนแตสอนใหทําความดี สวนโอวาทขอสุดทายนี้ ทานสอนใหรูจักวางตนในการคบหาสมาคม กับบุคคลทั่วไป โดยใหยึดคุณ ธรรมขอนี้ไวคือการถอมตน ไมอวดดี วาตนเองวิเ ศษกว าผู อื่น จะได ไม มีเ รื่อ งกั บใคร ไม ก ลาทํ าความชั่ ว สํานึกอยูเสมอวาตนเองยังทําความดีไมเพียงพอ แลวจะมีความกาวหนา ในการฝ ก ตน และไม เ พี ย งแต จ ะหาความรู เ พิ่ ม เติ ม อยู ต ลอดเวลา แตยังตองรูจักฝกตนใหเขากับคนในสังคมได จะไดไมมีศัตรูทั้งตอหนา และลับหลัง ไมมีอุปสรรคในการสั่งสมคุณ ธรรมความดีงาม

เมื่ อ ตอนที่ พ อ เข า มาสอบในเมื อ งหลวง มี เ พื่ อ นนั ก ศึ ก ษา รวมเดินทางมาดวย รวมทั้งหมดสิบคนดวยกัน พอสังเกตดูเห็นมีคน ที่อายุนอยที่สุด มีชื่อวาปง เปนคนเดียวที่มีความสงบเสงี่ยมเจียมตน มีความถอมตนอยูเปนนิจ พอจึงบอกกับเพื่อนวา คนๆ นี้ตองสอบไล ไดแนนอน เพื่อนถามวาทําไมพอ จึงรูล วงหนาได เลา พอบอกเขาว า ความถ อ มตนยอ มนํ ามาซึ่ง ความเจริ ญ ในหมูพ วกเราทั้ ง สิบ คนนี้ มีใครบางที่ซื่อและจริงใจเหมือนเขา คอยเอาใจเพื่อนฝูง ไมเคยเอาเปรียบ ใครเลย แมใครจะหยอกลอก็ไมโกรธตอบ ใครนินทาวารายก็ไมโตเถียง สํารวมระวังไมยอมปลอยตัว ปลอ ยใจไปตามอารมณเหมือนคนอื่น คนเช น นี้ แม แต ผี ส างเทวดาฟ าดิ น ก็ ยั ง ต อ งให ค วามคุ ม ครองและ ชวยเหลือ เมื่อผลการสอบไลครั้งนั้นปรากฏออกมา ก็เปนจริงดังที่พอ คาดไวทุกประการ

คัมภีรเอกเก็งไดกลาวไววา ผูใดยกตนขมทาน อวดวิเศษกวาผูอื่น ยอมตอ งประสบความเสีย หาย ผูใ ดออ นนอ มถ อมตน ไมจ องหอง ลําพองตน ยอมตองประสบความสุขความเจริญ แมแตแผนดินก็หนีกฎนี้ไมพน ดูแตขุนเขาที่สูงตระหงาน ยืนทะมึน เยยฟาทาดิน ก็ยังตองพังทลายอยูเนืองๆ สวนแองน้ําที่ต่ําตอยนั้น กลั บ มี น้ํ า ขั ง อยู ต ลอดเวลา แม แ ต ป ศ าจก็ ช อบให ร า ยคนทระนง และอภิบาลคนที่ ออนนอมถอมตน วิ ช าโป ยกว ยนั้น ไดแบ งออกเป น 64 หนวย หนวยอื่นๆ ลวนสอนใหเห็นผลดีและผลชั่วในพฤติก รรม ของมนุษย แตหนวยแหงการออนนอมถอมตนนี้ไมมีผลชั่วเลย มีแต ผลดีทั้งสิ้น จึงเห็นไดวาฟาดินเทพยดาผีปศาจและมนุษ ย ลวนนิยม ชมชอบความออนนอมถอมตนกันทั้งสิ้น

เมื่อป พ.ศ. 2120 พออยูในเมืองหลวง พักกับเพื่อนชื่อไคจือ แซเผิง พอสังเกตดูรูสึกเขาเปลี่ย นแปลงไปมาก เมื่อเด็ก ๆ เขาขี้เ ลนซุกซน และเจาอารมณ แตบัดนี้ ดูเขามีสติควบคุมอารมณไดดีมาก เขามีเพื่อน อยู ค นหนึ่ ง เป น คนดี ม าก ฉลาด ซื่ อ ตรง ชอบช ว ยเหลื อ เพื่ อ น คุณ ธรรมสามประการนี้ส มแลว ที่ จัก ขนานนามเขาวากัล ยาณมิต ร 44


เขามัก จะติเ ตียนไคจือ ตอหนา ไคจือไมเคยโกรธหรือโตตอบเขาเลย รับฟงอยางอารมณดีเสมอ พอจึงบอกเขาวา นิสัยอันดีงามของเขานี้ ยอมเปนป จจัยนํ าเขาไปสูความมีบุ ญวาสนา สว นคนที่ต องประสบ เคราะหกรรม ก็เปนเพราะเขาสรางนิสัยไมดีงาม เปนเหตุปจจัยนําเขา ไปสูความหายนะเชนกัน สําหรับเพื่ อนนั้น แมฟาดินก็ ตองประทาน ความชว ยเหลือ ป นี้ เพื่อ นจะตอ งสอบไลไ ด อ ย างแน น อน ต อ มาก็ เปนจริงดังที่พอพูดกับเขาไว

ถอมตนได เมื่อพัฒนาตนเองไดแลว ฟายอมประทานบุญวาสนามาให และก็เปนจริงดังวา เขาสอบไลไดในปนั้นเอง เมื่ อ ป พ.ศ. 2077 มี นั ก ศึ ก ษาแซ จ างคนหนึ่ ง มี ค วามรู ดี เขี ยนบทความก็ดี เป น คนเด น คนหนึ่ง ในบรรดานั ก ศึ ก ษาทั้ ง หมด เขาเดินทางมานานกิงเพื่อเขาสอบ พักอยูที่วัดๆ หนึ่ง เมื่อผลการสอบ ประกาศออกมา ปรากฏวาสอบตก แทนที่จ ะโทษตนเองวาความรู ยังไมถึงจึงสอบไมได กลับโกรธกรรมการคุม สอบหาวาไมยุติธ รรม มีตาก็หามีแววไม บทประพันธดีๆ ก็หาวาไมดี หลวงจีนในวัดทานหนึ่ง ได ยิ น เข า จึ ง ยื น ยิ้ ม อยู เขาก็ เ ลยพาลโกรธท า นหลวงจี น ไปด ว ย หลวงจีนจึงกลาวกับเขาวา ดูดูแลวเห็นทีบทประพันธของทานไมดีจริง เขายิ่งโกรธใหญ ตวาดหลวงจีนวา ยังไมทันเห็นบทประพันธจะรูวาดี ไมดีไดอยางไร หลวงจีนจึงพูดวา การประพันธตองอาศัยความสงบ ทางใจ จิตเปนสมาธิจึงจะเขียนไดดี ทานควบคุมอารมณไมได หวั่นไหว อยูตลอดเวลา จะเขียนบทประพันธไดดีอยางไรได นักศึกษาจางไดสติ จึงคุกเขาขอขมาและมอบตัวเปนศิษย

มีเด็กหนุมคนหนึ่งแซจาว สอบไลไดในภูมิลําเนาของตนเมื่ออายุ ยังไมถึง 20 ป แตตอจากนั้นไปจะสอบกี่ครั้งก็ไมเคยสอบไลไดอีกเลย ต อ มาได ติ ด ตามท า นบิ ด าที่ ต อ งย า ยไปรั บ ราชการที่ อํ า เภออื่ น ในอํ าเภอนั้ น มี บัณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู สู ง อยู ท า นหนึ่ ง แซ เ ฉี ย เด็ ก หนุ ม ได ท ราบข า วก็ รี บ นํ า บทประพั น ธ ข องตนไปหาเพื่ อ ขอคํ า แนะนํ า โดยไมคาดฝน ทานบัณฑิตจับพูกันไดก็ตวัดขอความในบทประพันธนั้น ทิ้งเกือบหมด ถาเปนบางคนก็จะโกรธมาก แตเด็กหนุมคนนี้นอกจาก จะไมโกรธแลว ยังขอบพระคุณทานบัณฑิต รีบแกไขบทความแลวนํามา ใหทานแกไขใหอีก ดวยความออนนอมถอมตนนี้ เปนสิ่งที่หาไดยากยิ่ง พอรุงขึ้นอีกปหนึ่ง เด็กหนุมนี้ก็สอบไลได

หลวงจีนจึงสอนวา การสอบไลไดหรือไม ลวนขึ้นอยูกับชาตาชีวติ ถาชาตาไมดี แมจะเขียนบทประพันธไดดีอยางไรก็สอบไมได จึงตอง แกไขที่ตนเองเสียกอน นักศึกษาจางกราบถามทานวา หากขึ้นอยูกับ ชาตาชีวิตแลวจะแกไขไดหรือ หลวงจีนพูดวา ฟาประทานชีวิตใหเรา แตชาตาชีวิตเราตองสรางสมเอง หากกระทําแตกรรมดีมีศีลมีธรรม ชอบชวยเหลือผูอื่น ยิ่งไมมีผูรูเห็นก็ยิ่งเปนกุศลมหาศาล เมื่อเราสั่งสม ความดีจนเต็ม เปยมแลว เราจะตองการชาตาชีวิตอยางไรก็ไดทั้งนั้น นัก ศึก ษาจางจึงปรารภวา ขาพเจาเปนคนจน จะมีปญญาชวยเหลือ คนอื่นไดอยางไร ทานชี้แจงวา การทําความดีตองเริ่ม ที่ใ จ มุงแกไข

เมื่อป พ.ศ. 2135 พอไดไปเมืองหลวงเพื่อเขาเฝาฮองเต ไดพบ กับเพื่อนคนหนึ่ง ดูเขาชางมีความจริงใจและอารมณดีเสียนี่ก ระไร ประกายแหงความออนนอมถอมตนอยูทั่วบรรยากาศที่รอบๆ ตัวเขา ทําใหพอไดสัม ผัสกับประกายนี้ดวยความชื่นชม พอกลับจากเขาเฝา ไดเลาใหเพื่อนๆ ฟงวา หากฟาจะประทานความเจริญรุงเรืองแกใคร มักจะประทานสติปญญาใหกอน เมื่อมีสติปญญาแลว คนที่เจาอารมณ ก็จ ะเปลี่ ยนเป นคนที่ ค วบคุ ม อารมณได คนที่ อวดดี ก็ก ลายเปน คน 45


ตนเองเสียกอน เชนการออนนอมถอมตนก็ไมตองใชเงินเลย ทําไมทาน ไม ตํ าหนิ ต นเองว าความรู ยั ง ไม เ พีย งพอจึ ง สอบตก แตก ลั บ ไปด า กรรมการควบคุมสอบเลา

การอบรมสั่งสอนจากทานผูรู ไดรับประโยชนจากทานเหลานัน้ ไมจบสิ้น นัก ศึก ษาจึงควรทําตัวเชนนี้ ลูก จงจําไววา คนที่ยกตนขมทาน ถือดี อวดเบงนั้น แมจะไดดิบไดดีก็ไมยั่งยืนนาน

นั ก ศึ ก ษาจางเพิ่ ง ได คิ ด จึ ง เริ่ม ปฏิ บั ติ ต นเสี ย ใหม ลดความ หยิ่งผยองลงไปทุกวันๆ เพิ่มคุณธรรมใหกับตนเองมากยิ่งขึ้นทุกวันๆ ครั้นอีกสามปตอมา ในป พ.ศ. 2080 ในคืนวันหนึ่งไดฝนไปวา ไดไปใน ตึกสูงใหญหลังหนึ่ง เห็นบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่สอบไลวางอยูห นึง่ เลม เมื่อเปดออกดูเห็นทุกหนามีชองวาง เกิดความสงสัยจึงถามคนที่ยืนอยู ใกลๆ วา ทําไมบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่สอบไลไดแลวจึงมีการคัดออก อีก เลา ไดรับคําตอบวา เนื่องจากผูที่ส อบไลไดแลว จะตองผานการ ตรวจสอบในยมโลกทุก ๆ 3 ป ถาใครมีค วามประพฤติไมดี ไมอยูใ น ธรรมก็จะถูกคัดชื่อออก จะสอบอีกอยางไรก็สอบไมได แลวชี้ไปที่วาง บนสมุดบั ญชี นั้นว า สามป ม านี้ เจา ตั้ งใจฝก ตนให กา วหน าไปมาก จะเอาชื่อ เจ าไว ต รงนี้ ขอใหเ จารั ก ตนสงวนตั ว อยา ไดวูว ามทํ าผิ ด เหมือนดังแตกอนอีก ปนั้น เขาก็สอบไลไดที่ 105

โบราณทานวาไว ปรารถนาชื่อเสียงยอมไดชื่อเสียง ปรารถนา ความร่ํารวยก็ยอมไดเปนเศรษฐี ความปรารถนาของมนุษยเปรียบ ประดุจรากแกวของตนไม เมื่อ หยั่งลึก ลงดินแลวตนไมก็จะมีกิ่งกาน ไพศาล ออกดอกออกผลตามฤดูกาล รากแกว ของมนุษ ยก็คือการ ออนนอมถอมตน ไมวาจะเปนเรื่องเล็กนอยหรือเรื่องใหญ เราจะตอง ยึด มั่ น ในคุ ณ ธรรมข อ นี้ ถอ มตนไว เ สมอ ให ค วามสะดวกแก ผู อื่ น เมื่อไมทําใหผูอื่นสะเทือนใจเพราะความอวดดีของเราแลว ฟาดินยอม ประทับใจในความดีของเรา พวกนัก ศึกษามักบนบวงเทพยดาฟาดิน ขอใหสอบไลได แตพวกนี้ไมคอยมีความจริงใจ การบนบวงจึงไมไดผล ทานนัก ปราชญเมิ่งจื่อพูดกับพระเจาฉีเซวียนอองวา พระองคโ ปรด ดนตรี ถาโปรดดวยความจริงใจแลวไซร ชาตาของประเทศฉี ก็จั ก รุง เรื อ งสุ ก ใสเป น แน แตนี่ พ ระองค โ ปรดดนตรี เ พื่ อ ความสุ ข ของ พระองคเ อง หากพระองคสามารถขยายความสุขสวนพระองคนี้ใ ห แผไพศาลไปในดวงใจของราษฎรทุกคนแลวไซร ราษฎรก็จะมีความสุข เหมือนดั่งพระองค และทุกคนก็จะจงรักภักดีตอพระองคอยางสุดหัวใจ เมื่ อนั้ น ชาตาของบา นเมื องฉี จะไมรุ ง เรื อ งสุก ใสอยา งไรได เมื่อ ลู ก ตองการสอบไลไดเปนขุนนาง ลูกก็จะตองตั้งความปรารถนาไวดุจ รากแกวของตนไม แนวแนที่จะทําความดีไมทอถอย สั่งสมความดีงาม ใหไดทุกๆ วัน ลดความถือดีอวดดีใหหมดสิ้นไป สรางอนาคตดวยตัว ลูก เอง ชาตาชีวิตจัก ทําอะไรได ขอใหลูก จงเพียรพยายามตอ ไปเถิด ความสําเร็จยอมรอลูกอยูแลวอยางแนนอน

เมื่ อดู เหตุก ารณ ที่ ผานมาแล ว ย อมจะเห็นได วา สูง จากศีร ษะ มนุษยไปเพียง 3 ฟุตก็มีเทพเจาคอยเฝาดูอยูแลว เราจะตองทําแตสิ่ง ที่เ ป น มงคล หลี ก เลี่ ย งการกระทํา อั น เป น อั ปมงคลเสีย จะดี จ ะชั่ ว จึง อยูที่ตั วเราเอง ถ าควบคุม จิต ใจและความประพฤติข องเราให ดี ไมทําสิ่งที่ฟ าดินและผีส างเทวดาไมพอใจ ไมหยิ่ง ไมโอหัง ไมวูวาม อดทนในสิ่งที่ทนไดยาก ฟ าดินและผีส างเทวดาก็ย อมจะสงสารเรา เห็ น ใจเรา ประทานความช ว ยเหลื อ แก เรา คนที่ จ ะเป น ใหญเ ป น โต ในอนาคตย อ มไมทํ า จิ ต ใจคั บแคบเห็น แกตัว ย อ มไม เ ป น ผูทํา ลาย ความสุขความเจริญของตนเอง ความถอมตนทําใหมีโอกาสที่จะไดรับ 46


บัญ ชี นี้ จ ะช วยกระตุ นเตือ นให เ ราพึ่ง ไดเ มื่อ ยามที่ จ ะโนม เอี ย ง ไปในทางมิชอบ ทําบัญชีนี้ใหไดสม่ําเสมอ ความดีจะเพิ่มขึ้น ความชั่ว จะลดนอยลง จนในที่สุดเหลือแตความดีลวนๆ การบรรลุธรรมยอม บังเกิดขึ้นตามขั้นตอนของการประพฤติดีปฏิบัติช อบอยางแนนอน

บัญชีกรรมประจําวัน วัน/เดือน/ป

กุศลกรรม

หมายเหตุ

อกุศลกรรม

หมายเหตุ

47


สมัยราชวงศถัง ผูสอบจิ้นสือไดแลว จะไดรับพระราชทานเลี้ยง เรี ย กว า งานเก็ บ ดอกไม โดยคั ด เลื อ กจิ้ น สื อ ที่ มี อ ายุ น อ ย 2 ท า น ไปเลือกเก็บ ดอกไม งามและมีชื่ อในอุทยานตางๆ เพื่อ มาเปนหั วขอ ในการแตงโคลงฉันทกาพยกลอนของบัณ ฑิตในงานเลี้ยง ตอมาผูที่ สอบไลไดที่สามก็จะไดรับพระราชทานนามนี้จนถึงสมัยราชวงศเช็ง

ลําดับการสอบไลของจีนโบราณ ซิวจาย นักศึกษาที่สอบไลไดครั้งแรกในภูมิลําเนาของตน หมายถึง ผูฉลาดที่คัดมาแลว กือหยิน ซิวจายที่สอบไลไดอีกครั้ง หมายถึง ผูฉลาดที่สมควร สนับสนุนตอไป จิ้นสือ

ถวนหลู ผูที่สอบไลไดที่ 4 ไมไดเขาเฝา หมายถึงผูที่รับทราบวา สอบไลไดโดยพระบรมราชโองการที่ขุนนางประกาศตอๆ กันออกมาจากทองพระโรง

กือหยินที่สอบไลไดอีกครั้ง เปนบัณฑิตที่ควรสงเสริม ใหเขาสอบรับราชการไดแลว

ฮั่นหลิม ผูที่สอบไลไดที่ 5 ไมไดเขาเฝาเชนกัน หมายถึงบัณฑิต ที่สอบไลไดในขั้นนี้มากมาย ประดุจไมยืนตนตระหงานในปา เปรียบประดุจกําลังของแผนดิน

ท านเหลี่ ย วฝานสอบได จิ้ น สื อ แล ว ก็ ส อบเข ารั บ ราชการเลย จึงมิไดเขาสอบชิง ตําแหนง จอหงวนอีก และเปนเพราะความสันโดษ ของท า นด ว ย เมื่ อ นั ก ศึ ก ษาได ผ า นบั น ได 3 ขั้ น เป น บั ณ ฑิ ต แล ว ถาจะสอบตอ ไปก็ตองเดินทางเขาเมืองหลวง เขาสอบในพระราชวัง ฮองเตทรงคัดเลือกดวยพระองคเอง จอหงวน ผูที่มีลักษณะเปนเลิศ ไดเปนที่หนึ่ง ปงหงัน ผูที่พลาดไปนิด แมเปนรองก็มีสองตาที่ฉลาดไดเปนที่สอง ถัมฮวย ผูเขาใจเก็บดอกไม ไดเปนที่สาม

48


กลุม ธรรมทั้ง 6 คูนี้ มาประจวบกันที่จุดบรรจบคราใด ก็เปน ปจจัยใหเกิดขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทุกครั้งไป ขันธ 5 ก็จะเปนปจจัยใหระบบทั้ง 2 ของชีวิตแสดงบทบาทออกมาทาง กาย วาจา ใจ เปนกุศลกรรมบาง เปนอกุศลกรรมบาง เปนกลางบาง สุดแตระดับการฟงรู ดูออก บอกถูก ทําเปน เห็นแจง แสดงออก ฯลฯ ของแต ล ะบุ ค คลย อ มแตกต า งกั น ตามแรงขั บ ของกิ เ ลส ตั ณ หา อุปาทาน ฯลฯ ขบวนการดังกลาวจักเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ดวยความ ไมคงทน แปรปรวนไปตามเหตุปจจัยคืออนิจจตา เปนปญหาเดือนรอน วุนวายคือทุ ก ขตา กําหนดตามความตองการของเราเสมอไปไมไ ด คืออนัตตา ชีวิตตองเปนไปตามกฎแหงไตรลักษณนี้ตลอดเวลาที่ยังไม สิ้นชาติสิ้นภพ ทานผูอานที่มีสมาธิจิตเปนไปตามมาตรการและสูงถึงมาตรฐาน สามารถเขาสูวิปสสนากรรมฐานแลวไซร ยอมแจมแจงในความหมาย ของอายตนะที่ละเอียดออนลึกซึ้งซับซอนยิ่งกวานี้ไดดวยตนเอง ช ว งเวลาของชี วิ ต นั้ น มี จํ า กั ด นั ก ชี วิ ต ต อ งขึ้ น อยู กั บ ป จ จั ย ภายนอก มากกวาที่จะมีโอกาสเปนตัวกําหนดความเปนไปของตนเอง พระบรมศาสดาจึง ทรงพร่ํ าสอนตลอด 45 พรรษาของพระองค แมในปจฉิมพจนวา จงตั้งตนอยูในความไมประมาท การบรรลุ เ ป า หมายของชี วิ ต จะทั นเวลาหรื อ ไม อยูที่ ค วาม ไมประมาทในอายตนะนี้แล

คําอธิบายอายตนะโดยยอ ชีวิตมี 2 ระบบ คือ ระบบรูปธรรม ไดแกวิถีชีวิตทางกาย ระบบนามธรรม ไดแกวิถีชีวิตทางจิต ทั้ง 2 ระบบนี้ เสมือนเสนขนาน 2 เสน ที่ไมมีวันพบกันที่จุดบรรจบ ไดเลยหากไมมีอายตนะ ซึ่งเปนกลุมธรรมที่เชื่อมโยงวิถีชีวิตทั้ง 2 ระบบ ใหมาอยูในวงจรเดียวกัน ความสัม พันธระหวางอายตนะภายในและ อายตนะภายนอก เปนปจจัยสําคัญยิ่งที่กระตุนใหชีวิตเกิดบทบาทและ พลังงานมากมาย ตั้งแตเกิดจนตาย ชาติแลวชาติเลา ทานเปรียบธรรม 2 กลุมนี้ไววา อายตนะภายใน 6 กลุม คือขบวนการสื่อความหมายทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (สมอง) เสมือนวิถีทางที่นําอาคันตุกะไปสูการพบปะอยางมีเงื่อนไข อายจนะภายนอก 6 กลุม คือขบวนการรุกเราจากรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ เสมือนแขกผูมาเยือน ที่วามีเงื่อนไข ก็เพราะรูปตองผานวิถีทางตาเทานั้น จึงจะเขาถึง ศูนยก ารเห็นไดอ ยางมีร ะเบียบ รูปที่อยูน อกทัศ นวิสัยก็ดี ไมมีเหตุ ปจจัยที่เหมาะสมสนับสนุนก็ดี ยอมไมอยูใ นเงื่อนไขที่จ ะเกิดการเห็น ขึ้นไดอยางเปนขบวนการ อายตนะอีก 5 คูก็เชนกัน เสียงตอ งผาน วิถี ทางหู จึ ง จะเข าถึง ศูน ยก ารไดยิ น กลิ่นตอ งโชยเข าวิถี ทางจมู ก รสตองมาเยือนตามวิถีทางลิ้น โผฏฐัพพะคือสิ่งเราที่ตองสัมผัสผาน วิถีท างกาย เช น ลมกระทบผิว หนัง ผานวิถี ทางกายเขาสู ศูนย ก าย สัม ผั ส ธรรมารมณ คื อ สรรพสิ่ง ทั้ง ปวงที่ ผ านวิ ถี ทางใจ (สมอง) เราใหเกิดความนึกคิดจิตไมวาง

เจือจันทน อัชพรรณ (มิสโจ) จันทรที่ 28 กันยายน 2524 49


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.