สกัดความรู้ : เรื่อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม 2564 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า นฤศร มังกรศิลา หัวหน้างานจัดการ ความรู้ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ และ อาจารย์ประจำ สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร

รายละเอียดของเรื่อง จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสัมมนาแบบ ออนไลน์ เครื อ ข่ า ยการจั ด การความรู ้ เรื ่ อ ง “การใช้ เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน” วันพฤหัสบดี และศุกร์ที่ 1-2 กรกฎาคม ๒๕64 ณ ห้องประชุมออนไลน์ Google Meet สามารถสรุปประเด็นสำคัญ ดังนี้

การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 1 ศาสตราจารย์ ป รั ช ญนั น ท์ นิ ล สุ ข ศาสตราจารย์ ประจำ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะ ครุ ศ าสตร์ อ ุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ การศึกษาไทย และการศึกษา ระดับโลก เปลี่ยนแปลงไปด้วยเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีการสื่อสารรูปแบบใหม่

สรุปความรู้ที่ได้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงาน สรุปได้ดังนี้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน ชุดที่ 1 ศาสตราจารย์ ป รั ช ญนั น ท์ นิ ล สุ ข ศาสตราจารย์ ป ระจำ ภาควิ ช าครุ ศ าสตร์ เทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ คณะครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย รามคำแหง การศึ ก ษาไทย และการศึ ก ษาระดั บ โลก เปลี ่ ย นแปลงไปด้ ว ยเทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารรูปแบบใหม่ เนื่องจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากสถิติของ ETDA ได้แสดงให้เห็นถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ต อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง รวมมั ้ ง จำนวนผู ้ ใ ช้ ส ื ่ อ สั ง คม ออนไลน์จำนวนมากที่สุดติดอันดับโลก โดยที่ คนไทยใช้ เฟซบุ๊ก อยู่ที่ 61 เปอร์เซ็นต์ และ อื่นๆ อีก 39 เปอร์เซ็นต์ และวิ ก ฤตการระบาดไวรั ส โคโรนา 2019 ก็ยิ่งทวีความรุนแรงขึ้นไปด้วย พร้อมกับ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ท ี ่ ม ารองรั บ กา ร เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการการศึกษาไทย รั ฐ บาลในยุ ค นี ้ ต ้ อ งปรั บ รู ป แบบการ บริหารจัดการไปสู่ดิจิทัลเต็มรูปแบบ รวมทั้งการ ปรับรูปแบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่ม มากขึ้น ลดความเลื่อมล้ำทางการเศรษฐกิจ และ การศึกษาไปพร้อมกัน โปรแกรมออนไลน์ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ ความนิ ย ม ในช่วงวิกฤตการระดับไวรัสโคโรนา 2019 เช่น Zoom, Google Hangouts, Skype, Line, Facetime, Facebook Messenger, Microsoft Teams, True Virtual World มี ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการศึกษา และการประชุมออนไลน์ได้ไม่แตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับบริบทการประยุกต์ใช้ที่เหมาะสมกับ สถานศึกษา และธุรกิจ สำหรับการแบ่งบันความรู้ใน สถานศึ ก ษา และหน่ ว ยงานธุ ร กิ จ สามารถ ประยุกต์ใช้โปรแกรมออนไลน์ เพื่อสร้างการมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ให้ ก ารจั ด การความรู ้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนความรู้ภายใน แต่การได้มาซึ่งองค์ ความรู้ที่ที่จับต้องได้ยังคงมีน้อยมาก เนื่องจาก บุคลากรไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการจัดการ ความรู้ และไม่ได้นำความรู้ไปสู่การปฏิบัติอย่าง แท้จริง ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับทุกหน่วยงาน


เนื่องจากผู้ใ ช้อินเทอร์เน็ตจากสถิติของ ETDA ได้ แสดงให้เห็นถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างต่อเนื่อง รวมมั้ง จำนวนผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์จำนวนมากที่สุดติดอันดับโลก โดยที่คนไทยใช้ เฟซบุ๊ก อยู่ที่ 61 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ อีก 39 เปอร์เซ็นต์

เก็บข้อมูล สารสนเทศ และองค์ความรู้ ไว้อย่างดี แต่ไม่ได้นำมาใช้เพื่อการต่อยอดองค์ ความรู้ และนำมาปฏิบัติได้จริง เนื่องจากสาเหตุ ของความหลากหลายของความรู ้ ประเด็ น ความรู้ที่บุคลากรในหน่วยงานรู้สึกดีนำไปใช้ แล้วได้ประโยชน์จริง ดัง นั้นผู้สกัดความรู้มี มุมมองว่า ควร เน้นให้บุคลากรของหน่วยงานในสถานศึกษา หรื อ หน่ ว ยงานธุ ร กิ จ ถ่ า ยทอดความรู ้ ล งใน ช่องทางส่วนตัวอย่าง เช่น Blog, Website และ ที ่ ไ ด้ ร ั บ ความนิ ย ม คื อ Youtube บุ ค ลากร ถ่ า ยทอดด้ ว ยการเขี ย นไม่ เ ป็ น ก็ ส ามารถใช้ วิธีการถ่ายทอดด้วยการพูดผ่านวิดีโอแทน และวิ ก ฤตการระบาดไวรั ส โคโรนา 2019 ก็ยิ่งทวีความรุนแรงขึ้นไปด้วย พร้อมกับ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ท ี ่ ม ารองรั บ กา ร เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการการศึกษาไทย กระตุ้นให้เกิดการใช้สื่อเพื่อเผยแพร่ที่มีความ รวดเร็ว การใช้วิดีโอสั้นก็เป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ใน การดึงดูดความสนใจสำหรับเนื้อหาที่ต้องการให้ บุคลากรทราบในเวลาสั้นๆ และเป็นการกระตุ้น ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันได้ดีขึ้น เช่น Tiktok การจัดการความรู้ เหมือนกับร่างการ ของคน ต้องมีการกระตุ้นให้สมองคิดสิ่งใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อสั่งให้แขน และขาของคนเดิน ไปข้างหน้าได้ด้วยการจัดการความรู้ สร้างสรรค์ ข้อมูลที่มีประโยชน์ในการตัดสินใจทางธุ รกิ จ ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม สรุป การจัดการในยุคเทคโนโลยีนำการ เปลี่ยนแปลง เป็นการจัดการที่ต้องการความ รวดเร็ว และก้าวกระโดด นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพื่อตอบสนองความต้องการของคนยุคดิจิทัล เป็นยุคสมัยที่ปลาเร็วกินปลาใหญ่ เป็นยุคสมัยที่ ต้ อ งการผู ้ น ำการเปลี ่ ย นแปลงเข้ า มาบริ หาร นวัตกรรมใหม่เข้ามาแทนเทคโนโลยีเดิม และ เทคโนโลยีเ ดิ มไม่ส ามารถเท่ าทัน ลู ก ค้ าเป็ น ศูนย์กลาง เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เข้าถึงลูกค้าได้ มากกว่ า ร้ า นค้ า การบริ ห ารจั ด การต้ อง ปรับ เปลี่ยนให้ยืดหยุ่น และเข้าใจพฤติกรรม ผู้บริโภค และต้องยอมรับอย่างการเปลี่ยนผ่าน ที ่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ใจ และเข้ า ถึ ง ได้ ใ นทั น ที โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไปเป็นธรรมดา การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน ชุดที่ 2 แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในวงการการศึกษา 1. Digital Transcript ทรานสคริปต์ ที ่ อ ยู ่ ใ นรู ป แบบดิ จ ิ ท ั ล ที ่ มี Digital Signature ช่วยป้องกันการแก้ไ ขเปลี่ยนแปลงโดยผู ้ ไ ม่ มี อำนาจหน้ า ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง และผู ้ ร ั บ สามารถ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารได้ด้วย


และวิกฤตการระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ก็ยิ่งทวีความ รุนแรงขึ้นไปด้วย พร้อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่มารองรับ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการการศึกษาไทย รัฐบาลในยุคนี้ต้องปรับรูปแบบการบริหารจัดการไปสู่ ดิ จ ิ ท ั ล เต็ ม รู ป แบบ รวมทั ้ ง การปรั บ รู ป แบบการศึ ก ษาให้ มี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ลดความเลื่อมล้ำทางการเศรษฐกิจ และการศึกษาไปพร้อมกัน

โปรแกรมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมในช่วงวิกฤตการ ระดับไวรัสโคโรนา 2019 เช่น Zoom, Google Hangouts, Skype, Line, Facetime, Facebook Messenger, Microsoft Teams, True Virtual World มีประสิทธิภาพใน การบริหารจัดการการศึกษา และการประชุมออนไลน์ได้ ไม่ แตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับบริบทการประยุกต์ใช้ที่เหมาะสมกับ สถานศึกษา และธุรกิจ

ตนเอง รวมทั ้ ง อาจมี ไ ฟล์ แ ลกเปลี ่ ย นข้ อ มู ล ระหว่างระบบดิจิทัล 2. Digital Wallet กระเป๋าเงินดิจิทัล ที่สามารถชำระเงินได้ทุกช่องทางในการดำเนิน ธุรกิจ หรือในสถานศึกษาก็สามารถรับชำระเงิน และจ่ า ยเงิ น คื น ค่ า เล่ า เรี ย น 50 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ให้กับนักเรียน นักศึกษาได้สะดวกมากขึ้น 3. Digital Government ร ั ฐ บ า ล ดิจิทัลที่อำนวยความสะดวกในอนาคต กำหนด Digital ID เป็ น รหั ส เฉพาะของบุ ค คลทำให้ ประชาชนคนธรรมดา และนักเรียน นักศึกษา ไม่ ไ ด้เ ดินทางไปติดต่อหน่ วยงานภาครัฐ เพื่อ ประหยัดเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการเรียนรู้เ กิ ด จาก การใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการนวัตกรรมทาง การศึกษาทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้มองให้ครบทุกมิติ เ ช่ น Digital Strategy Execution, Learning Environment, Emerging Education Trends และ Administrative Systems โดยเทคโนโลยี ท ี ่ เ ข้ า มาขั บ เคลื ่ อ น การศึกษามี 10 เทคโนโลยี คือ E-Learning, Video-Assisted Learning, Blockchain Technology, Artificial Intelligence, Learning Analytics, Gamification, Immersive Learning with VR and AR, STEAM, Social Media in Learning และ Big Data will get bigger เรื่องของข้อมูล แอปพลิเคชัน และการ วิเ คราะห์ ทำงานสอดประสานกัน เนื่องจาก นโยบายของธุ ร กิ จ และสถานศึ ก ษาต่ า งๆ จะต้องปรับให้เกิดสังคมแห่งการขับเคลื่อนด้วย ข้อมูล การใช้ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยี สารสนเ ทศเพื ่ อ การเ รี ย นรู ้ ท ี ่ ส ามารถ เปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษาทั่วโลก และการ ทำงานได้ เพี ย งแค่ น ำปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ม า ประยุ ก ต์ ใ ช้ ได้ แ ก่ Living with Bots, Super Sight, Zero Search, Tailored Streets, Working with Bots, Augmented Creativity, Frictionless Communication, Symbiotic Economy, 5G’s Rapid Rollout และ Global Digital Governance การใช้เ ทคโนโลยี Xaas และ Society as service เ พ ื ่ อ ใ ห ้ บ ร ิ ก า ร ท ุ ก อ ย ่ า ง บ น แพลตฟอร์มที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชื่นชอบ และผู้ ให้บริการต้องการให้ผู้ใช้อยู่กับแพลตฟอร์มให้ ได้นานที่สุด เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในระยะ ยาวต่อไป เทคโนโลยีมาพร้อมกับข่าวปลอม และ ข้อมูลที่เ ป็นเท็จ เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้ทุกวัน ดั ง นั ้ น สิ ่ ง ที ่ ส ถาบั น การศึ ก ษาทำได้ ค ื อ การ กลั่นกรองข่าวสาร หรือข้อมูล สารสนเทศ องค์ ความรู้ต่างๆ ให้ดีก่อนที่จะทำการเผยแพร่ หรือ แบ่งบันข้อมูลออกมาสู่สาธารณะ


สำหรั บ การแบ่ ง บั น ความรู ้ ใ นสถานศึ ก ษา และ หน่วยงานธุรกิจสามารถประยุกต์ใช้ โปรแกรมออนไลน์ เพื่อ สร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว ม เพื ่ อ ให้ ก ารจั ด การความรู ้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนความรู้ภายใน แต่การได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่ที่จับ ต้องได้ยังคงมีน้อยมาก เนื่องจากบุคลากรไม่ค่อยให้ความสำคัญ กับการจัดการความรู้ และไม่ได้นำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ อย่าง แท้จริง ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับทุกหน่วยงาน เก็บข้อมูล สารสนเทศ และองค์ความรู้ไว้อย่างดี แต่ ไม่ได้นำมาใช้เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ และนำมาปฏิบัติได้ จริง เนื่องจากสาเหตุของความหลากหลายของความรู้ ประเด็น ความรู้ที่บุคลากรในหน่วยงานรู้สึกดีนำไปใช้แล้วได้ประโยชน์ จริง ดังนั้นผู้สกัดความรู้มีมุมมองว่า ควรเน้นให้บุคลากร ของหน่วยงานในสถานศึกษา หรือหน่วยงานธุรกิจถ่ายทอด ความรู้ลงในช่องทางส่วนตัวอย่าง เช่น Blog, Website และที่ ได้รับความนิยม คือ Youtube บุคลากรถ่ายทอดด้วยการเขียน ไม่เป็น ก็สามารถใช้วิธีการถ่ายทอดด้วยการพูดผ่านวิดีโอแทน

และวิกฤตการระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ก็ยิ่งทวีความ รุนแรงขึ้นไปด้วย พร้อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่มารองรับ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการการศึกษาไทย กระตุ้นให้ เกิดการใช้สื่อเพื่อเผยแพร่ที่มีความรวดเร็ว การใช้วิดีโอสั้นก็เป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ในการดึงดูดความ สนใจสำหรับเนื้อ หาที่ต้องการให้บุคลากรทราบในเวลาสั้นๆ และเป็นการกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันได้ ดีขึ้น เช่น Tiktok

สรุป แนวโน้มการใช้เ ทคโนโลยีเ พื่อการ พัฒนางานในอนาคต ยังเป็นแนวโน้มเดิม และ เป็นแนวโน้มที่จะไม่กลับไปสู่แนวทางเดิม การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อ การศึกษาเพิ่มขึ้ น และมีค วามจำเป็นต่อ การ บริ ห ารจั ด การสถาบั น การศึ ก ษา จากยุ ค อนาล็อก สู่ยุคดิจิทัลอันเป็นความปกติใหม่ที่จะ นำไปสู่ยุคคงอนตั้ม เป็นยุคเสมือนที่ความเร็ว คอมพิวเตอร์จะเร็วจนกลานเป็นสถานศึกษา เสมือน ระบบสารสนเทศทางการศึกษาจะเป็น พื้นฐานทุกแห่ง ระบบอัจฉริยะทั้งหมดจะเป็น เครื่องมือมาตรฐานในการบริหารจัดสถานศึกษา การเปลี ่ ย นผ่ า นสู ่ ย ุ ค ดิ จ ิ ท ั ล จะผ่ า นไปสู ่ ก าร ประมวลผลแบบควอนตั้ม ผู้บริหารที่เท่าทันต่อ การเปลี่ยนแปลงและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเข้า สู่สถานศึกษาจะเป็นผู้นำแห่งยุคสมัยใหม่ ยุค แห่งเทคโนโลยีที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้ง ใหญ่


การจัดการความรู้ เหมือนกับร่างการของคน ต้องมีการ กระตุ้นให้สมองคิดสิ่งใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อสั่งให้แขน และ ขาของคนเดินไปข้างหน้าได้ด้วยการจัดการความรู้ สร้างสรรค์ ข้อมูลที่มีประโยชน์ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม

สรุป การจัดการในยุคเทคโนโลยีนำการเปลี่ยนแปลง เป็นการจัดการที่ ต้องการความรวดเร็ว และก้าวกระโดด นำ เทคโนโลยี เข้ามาใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของคนยุค ดิจิทัล เป็นยุคสมัยที่ปลาเร็วกินปลาใหญ่ เป็นยุคสมัยที่ต้องการ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงเข้ามาบริหาร นวัตกรรมใหม่เข้ามาแทน เทคโนโลยีเดิม และเทคโนโลยีเดิมไม่สามารถเท่าทัน ลูกค้าเป็น ศูนย์กลาง เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เข้าถึงลูกค้าได้มากกว่าร้านค้า การบริ ห ารจั ด การต้ อ งปรั บ เปลี ่ ย นให้ ย ื ด หยุ ่ น และเข้ า ใจ พฤติกรรมผู้บริโภค และต้องยอมรับอย่างการเปลี่ยนผ่านที่ไม่ สามารถเข้ า ใจ และเข้ า ถึ ง ได้ ใ นทั น ที โดยเฉพาะการ เปลี ่ ย นแปลงเทคโนโลยี ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ตั ้ ง อยู ่ แล้ ว ก็ ด ั บ ไปเป็ น ธรรมดา การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2 แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในวงการการศึกษา


1. Digital Transcript ทรานสคริปต์ที่อยู่ในรูป แบบ ดิ จ ิ ท ั ล ท ี ่ มี Digital Signature ช่ ว ยป้ อ งกั น กา รแ ก ้ ไ ข เปลี ่ ย นแปลงโดยผู ้ ไ ม่ ม ี อ ำนาจหน้ า ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง และผู ้ รั บ สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารได้ด้วยตนเอง รวมทั้งอาจมีไฟล์แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบดิจิทัล 2. Digital Wallet กระเป๋าเงินดิจิทัลที่สามารถชำระ เงินได้ทุกช่องทางในการดำเนินธุรกิจ หรือในสถานศึกษาก็ สามารถรั บ ชำระเงิ น และจ่ า ยเงิ น คื น ค่ า เล่ า เรี ย น 50 เปอร์เซ็นต์ ให้กับนักเรียน นักศึกษาได้สะดวกมากขึ้น 3. Digital Government รัฐบาลดิจิทัลที่อำนวยความ สะดวกในอนาคต กำหนด Digital ID เป็นรหัสเฉพาะของบุคคล ทำให้ ป ระชาชนคนธรรมดา และนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา ไม่ ไ ด้ เดินทางไปติดต่อหน่วยงานภาครัฐ เพื่อประหยัดเงินค่าใช้จ่าย ในการเดินทาง

เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการเรียนรู้เกิดจากการใช้กลยุทธ์การ บริหารจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้มอง ให้ ค รบทุ ก มิ ติ เช่ น Digital Strategy Execution, Learning Environment, Emerging Education Trends แ ล ะ Administrative Systems

โดยเทคโนโลยี ท ี ่ เ ข้ า มาขั บ เคลื ่ อ นการศึ ก ษามี 10 เ ท ค โ น โ ล ย ี ค ื อ E-Learning, Video-Assisted Learning, Blockchain Technology, Artificial Intelligence, Learning


Analytics, Gamification, Immersive Learning with VR and AR, STEAM, Social Media in Learning และ Big Data will get bigger

เรื่องของข้อมูล แอปพลิเคชัน และการวิเคราะห์ ทำงาน สอดประสานกัน เนื่องจากนโยบายของธุรกิจ และสถานศึกษา ต่างๆ จะต้องปรับให้เกิดสังคมแห่งการขับเคลื่อนด้วยข้อมูล


การใช้ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้ที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษาทั่วโลก และการทำงานได้ เพียงแค่นำปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ ไ ด ้ แ ก ่ Living with Bots, Super Sight, Zero Search, Tailored Streets, Working with Bots, Augmented Creativity, Frictionless Communication, Symbiotic Economy, 5G’s Rapid Rollout แ ล ะ Global Digital Governance

การใช้เทคโนโลยี Xaas และ Society as service เพื่อ ให้บริการทุกอย่างบนแพลตฟอร์มที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชื่นชอบ และผู้ให้บริการต้องการให้ผู้ใช้อยู่กับแพลตฟอร์มให้ได้นาน ที่สุด เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในระยะยาวต่อไป


เทคโนโลยีมาพร้อมกับข่าวปลอม และข้อมูลที่เป็นเท็จ เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสารได้ทุกวัน ดังนั้นสิ่งที่สถาบันการศึกษาทำได้คือการ กลั่นกรองข่าวสาร หรือข้อมูล สารสนเทศ องค์ความรู้ต่างๆ ให้ ดี ก ่ อ นที ่ จ ะทำการเผยแพร่ หรื อ แบ่ ง บั น ข้ อ มู ล ออกมาสู่ สาธารณะ

สรุ ป แนวโน้ ม การใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การพัฒ นางานใน อนาคต ยังเป็นแนวโน้มเดิม และเป็นแนวโน้มที่จะไม่กลับไปสู่ แนวทางเดิม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อ การศึกษาเพิ่มขึ้น และมีความจำเป็นต่อการบริหารจัด การ สถาบันการศึกษา จากยุคอนาล็อก สู่ยุคดิจิทัลอัน เป็นความ ปกติใหม่ที่จะนำไปสู่ยุคคงอนตั้ม เป็นยุคเสมือนที่ความเร็ว คอมพิวเตอร์จะเร็วจนกลานเป็นสถานศึกษาเสมือน ระบบ สารสนเทศทางการศึกษาจะเป็นพื้นฐานทุกแห่ง ระบบอัจฉริยะ ทั้งหมดจะเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการบริหารจัดสถานศึกษา


การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลจะผ่านไปสู่การประมวลผลแบบค วอนตั้ม ผู้บริหารที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงและประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเข้าสู่สถานศึกษาจะเป็นผู้นำแห่งยุคสมัยใหม่ ยุคแห่ง เทคโนโลยีที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.