สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การร้อยมาลัย (Garland Making) รหัสวิชา HE 2042208
อาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
หัวข้อ...ประเภทของมาลัยแบ่งตามหน้าที่ใช้สอย ส่วนประกอบของมาลัย ความสวยงามของมาลัย ขั้นตอนการร้อยมาลัย
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ประเภทของมาลัย 1.ถ้าแบ่งตามหน้าที่ใช้สอยมีดังนี้ 1.1 มาลั ย ชายเดี ย ว หมายถึ ง มาลั ย ที่ มี ลักษณะเป็นพวงกลมมีอุบะห้อยเป็นชายเพียงพวงเดียวซึ่ง บางคนอาจเรีย กว่า มาลัย มื อ มาลัย ข้ อ มื อ หรื อ มาลั ย คล้ อ งแขนก็ ไ ด้ ถ้ า ใช้ ใ นการทู ล เกล้ า ฯ ถวายก็ เ รี ย กว่ า มาลัยข้อพระกร มาลัยชายเดียวนี้ใช้สาหรับคล้องมือ คล้อง แขน หรือบูชาพระ 1.2 มาลัยสองชาย หมายถึง มาลัยที่นิยมผูก ต่อกับริบบิ้น หรือโบทั้งสองชาย และมีอุบะห้อยชายมาลัย ข้างละพวง มาลัยสองชายนี้ใช้สาหรับคล้องคอบุคคลสาคัญ ในงานนั้น ๆ ใช้แขวนหน้ารถ หรื อ หั ว เรื อ ก็ ไ ด้ บางคนเรี ย กมาลั ย ประเภทนี้ ว่า มาลั ย คล้องคอถ้าใช้คล้องคอเจ้าบ่าวเจ้าสาว เรียกว่า มาลัยบ่าว สาว
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 1.3 มาลัยชาร่วย หมายถึง มาลัยขนาดเล็ก ๆ น่ารักกระจุ๋มกระจิ๋ม สาหรับมอบให้กับบุคคลเป็นของ ชาร่วย ตอบแทนการขอบคุณที่มาร่วมงานนั้น ๆ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ส่วนประกอบของมาลัย
1.ตัวมาลัย 2. อุบะ 3. ซีก
4. ริบบิ้น 3 1. ตัวมาลัย อาจใช้เป็นมาลัยกลม มาลัยแบน มาลัยรี มาลัยสามเหลี่ยม มาลัยสี่เหลี่ยม มาลัยตุ้ม 2. อุบะ ที่นิยมใช้ห้อยประดับพวงมาลัย ได้แก่ อุบะตุ้งติ้ง อุบะแขก อุบะพู่ อุบะไทยธรรมดา เป็นต้น 3. ซีก ที่ใช้ผูกรัดรอยต่อระหว่างตัวมาลัยกับอุบะนั้น ควรเป็นซีกที่มีขนาดสัดส่วนที่เหมาะสมกับตัวมาลัย 4. ริบบิ้น นับว่าเป็นส่วนประกอบอย่างหนึ่ง สาหรับพวงมาลัยที่ใช้คล้องคอ มาลัยชาร่วย มาลัยมือ ถือ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ความสวยงามของมาลัย ความสวยงามของมาลัยนั้นย่อมจะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้ 1. สัดส่วนของมาลัย มาลัยแต่ละแบบแต่ละชนิดนั้นย่อมมีสัดส่วนที่เฉพาะในพวงนั้น ๆ ซึ่ง ไม่อาจกล่าวเป็นตัวเลขที่กาหนดเป็นกฎเกณฑ์ได้ตายตัวแน่นอน แต่ต้องคานึงถึงสัดส่วนเป็นสาคัญ อันดับ แรก โดยจะต้อ งคานึงถึ งขนาดของมาลัย ต่อ ความยาวของอุ บ ะ จ านวนขาของอุ บ ะที่ใช้ ขนาดของมาลัยซีกที่จะใช้รัด และส่วนประกอบอื่น ๆ ทุกชิ้น ควรจะต้องได้สัดส่วนกัน
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 2.สีสันของมาลัย สีของดอกไม้ ใบไม้ที่ร้อยมาลัยก็เป็นสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งเช่นกัน ควรจะ เป็นสีที่สดใสไม่เศร้าหมอง ในมาลัยแต่ละพวงแต่ละแบบนั้น ควรจะใช้สีที่มีความกลมกลืนเข้ากันได้ ในบางส่วน แต่บางส่วนที่ควรจะเน้นให้เกิดจุดเด่นการใช้สีที่ตัดกันจะช่วยเพิ่มความน่าดูและสวยงาม ขึ้นได้อย่างมาก เช่น มาลัยที่ร้อยใส่ลวดลายต่าง ๆ ควรจะเลือกใช้สีที่ตัดกันเพื่อจะได้เน้นลายให้ เด่นชัดขึ้นอย่างชัดเจน
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 3. ฝีมือการร้อย ควรจะต้องมีความประณีตตั้งแต่การตัดกลีบ การพับกลีบ การส่งกลีบ การร้อย เรียงลาดับได้เรียบเสมอกัน การผูกมัดไว้ให้เรียบร้อย สิ่งเหล่านี้ถ้าทาด้วยความประณีตจะทาให้เกิดความ สวยงาม
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 4.ความสดของดอกไม้ ดอกไม้หรือใบไม้ที่ใช้ในการร้อยมาลัย ควรจะต้องสดและใหม่อยู่เสมอควรได้รับ การดูแลรักษาที่ดีอย่างถูกต้องตามธรรมชาติของดอกไม้ชนิดนั้น ๆ ด้วย ควรหลีกเลี่ยงการจับต้องอย่างแรง และในระหว่างการร้อยมาลัยนั้นก็ควรจับต้องดอกไม้ ใบไม้อย่างเบามือ เพื่อจะได้ไม่เกิดรอยช้าเหี่ยวเฉา ง่าย สามารถจะคงความสดอยู่ได้นานเท่าที่ควร
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ขั้นตอนการร้อยมาลัย การเตรียมเข็มมาลัย 1.ตรวจดูเข็มมาลัยว่าตรงหรือไม่ ถ้ามีส่วนใดโค้งงอจะต้องคลึงให้ตรงเสียก่อน โดยวางเข็ม มาลัยลงบนพื้นเรียบแล้วใช้ไม้เรียบ ๆ วางทับเข็ม คลึงไปมา 2.ตรวจดูว่าเข็มเป็นสนิมหรือไม่ ถ้าเป็นต้องใช้กระดาษทรายชนิดละเอียดเบอร์ 0 ขัดให้สะอาด เสียก่อน 3.ใช้น้ามันวาสลินทาเข็มให้ลื่น แล้วเช็ดให้สะอาด การเตรียมแป้นใบตอง ก่อนอื่นจะต้องสารวจดูว่าจะร้อยมาลัยอะไรบ้าง จานวนกี่เข็ม ก็ควรทาแป้นให้ครบ โดย ถือหลักเกณฑ์ว่าการร้อยมาลัย 1 เข็ ม จะต้องใช้แป้นใบตอง 2 อัน ขนาดเท่ ากัน คือ ขนาดใหญ่กว่ามาลัยที่จะร้อยเล็กน้อย
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร การถือเข็มมาลัย จะต้องถือเข็มด้วยมือซ้าย ในท่าที่ถนัดแน่นและมั่นคง จะอยู่ระหว่าง 3.5 นิ้ว นับจากก้นเข็มขึ้นมา เวลาจะพับกลีบดอกไม้ในการร้อยมาลัยจะต้องใช้มือขวา พับ เพราะว่ามือซ้ายยังต้องถือเข็มอยู่ แล้วใช้มือซ้ายเพียงหัวแม่มือและนิ้วชี้ช่วยมือ ขวา จับปลายกลีบดอกที่พับไว้เท่านั้น การปลิดกลีบกุหลาบ นับว่าเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งที่จะต้องทาให้ถูกวิธี เพื่อให้กลีบที่ปลิดออก มาแล้วจะได้ไม่บอบช้า ซึ่งจะช่วยคงความสวยสดอยู่ได้นานทีเดียว มีขั้นตอนละ วิธีการดังนี้คือ ใช้มือซ้ายจับก้านดอกกุหลาบคว่าลง มือขวาจับกลีบกุหลาบชั้น บนแล้วค่อยดึงเข้าหาตัว หมุนก้านกุหลาบออกข้างนอกอย่างช้า ๆ กลีบกุหลาบ ก็จะหลุดออกโดยไม่บอบช้าตามที่ต้องการ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร การตัดกลีบดอกไม้และใบไม้ ดอกไม้ แ ละใบไม้ บ างอย่ า งที่ ใ ช้ ร้ อ ยมาลั ย เช่ น ดอก เฟื่องฟ้า ดอกบานบุรี ใบกระบือ ใบแก้ว ใบมะยม ใบชบา ฯลฯ ก่อนจะนามาร้อยต้องตัดกลีบให้มีขนาดรูปทรง การพับกลีบใบไม้ ใบไม้ที่ใช้ร้อยมาลัย มีวิธีการพับกลีบใบแบบต่าง ๆ ดังนี้ 1. การพับกลีบทบครึ่งแล้วทบกลีบออกมาทั้งสองข้าง การพับกลีบ แบบนี้จะต้องตัดใบไม้ให้มีรูปทรง ควรวางด้านปลายใบขึ้นข้างบนเสมอและ ควรหลีกเลี่ยงเส้นกลางใบด้วยเพราะถ้ามีเส้นกลางใบติดอยู่ที่ กลีบจะทาให้ มองดูรู้สึกแข็งกระด้างเกินไป และไม่ควรใช้ใบอ่อนจะเหี่ยวง่าย
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 2. การพับกลีบใบแบบทบครึ่งธรรมดาโดยไม่ต้องทบกลีบออกข้าง จะต้องตัดใบก่อน แล้วพับ การพับกลีบแบบนี้จะเห็นได้ว่า ถึงแม้จะเป็นใบไม้ที่เล็กหรือแคบก็ใช้ได้ใบไม้ที่ แข็งกรอบแตกง่าย ควรใช้ วิธีการพับแบบนี้
3.การพับกลีบใบแบบม้วนเป็นหลอดกลม
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
วิธีการร้อยมาลัย ก่อนที่จะร้อยมาลัยจะต้องใส่หรือร้อยแป้นใบตองก่อน 1 แป้น อยู่ในระดับเหนือ มือ ที่จับ เข็มมาลัย ใช้วาสลินทาเข็มให้ลื่นแล้วจึงเริ่มร้อยกลีบแรก โดยต้องร้อยจากทางด้านซ้ายสุดแล้วกลีบต่อ ๆ มา ค่อยหมุนตามเข็มนาฬิกา แต่ละชั้นก็ควรให้สับหว่างกัน ด้วย ขณะร้อย ต้องหมั่นทาวาสลินที่ เข็มโดยเฉพาะดอกไม้ใบไม้ที่มียางมาก ๆ และต้องพรมน้าบางตามความเหมาะสม เมื่อร้อยจบเข็มแล้ว จะต้องใส่หรือร้อยแป้นใบตองปิดทับอีก 1 แป้น
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร วิธีการรูดมาลัยออกจากเข็ม 1. พรมน้าดอกไม้ให้ทั่วเข็มกะว่าให้เปียกถึงเข็ม ( ถ้าเป็นดอกพุดไม่ต้องพรมเพราะดอกพุดจะบานง่าย ) 2. ทาน้ามันวาสลินตั้งแต่ใต้แป้นใบตองจนถึงก้นเข็ม 3. คนหนึ่งจับคีมหนีบเข็มมาลัยด้านปลายเอาไว้ให้ มั่ น คง อี ก คนหนึ่ ง ใช้ มื อ ขวาจั บ เข็ ม หลวม ๆ ด้ ว ย นิ้ว หั ว แม่มือ กับ นิ้ว ชี้ แต่ใช้ นาหนัก จากนิ้ ว กดลงบนแป้ น ใบตองที่ปิดคลุมมาลัยอยู่ ส่วนมือซ้ายจับเข็มหลวม ๆ ใต้ แป้นด้วยนิ้ว หัวแม่มือกับ นิ้วชี้ ดันแป้นใบตองขึ้นเล็กน้อ ย พร้อมกับเอานิ้วกลางละนิ้วนางเข้าหนีบประกบเข็มไว้ด้วย เพื่อกันมาลัยรวนเสียรูปทรงและลวดลาย
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
จบการนาเสนอ Thank you